สัตว์เล้อื ยคลาน|101
งเู ขยี วหางไหม้ตาโต
Kramer's Pit Viper
ลกั ษณะ กนิ อาหารไดห้ ลากหลายตงั้ แตห่ นู นก สตั วเ์ ลอ้ื ย
เปน็ งพู ษิ ขนาดเลก็ ถงึ ขนาดลาง ความยาว คลานจำ�พวกกงิ้ กา่ และกบ พน้ื ทปี่ า่ ทอี่ าศยั ไดแ้ ก่
ลำ�ตวั ยาวถึง 71 เซนติเมตร ลำ�ตวั อ้วนปอ้ ม ป่าดิบแล้ง ป่าดิบช้นื มรสุมตะวนั ออกเฉียงใต้
ปลายหางค่อนข้างส้ัน และปลายหางม้วน หัว
รปู สามเหลยี่ ม แตกตา่ งจากคอชดั เจน ตาขนาด การแพรก่ ระจาย
ใหญ่ เกล็ดบนหัวหลังจากเกล็ดระหว่างจมูก
(internasals) เป็นเกล็ดขนาดเล็ก รูเปิดดัง ใ น ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ท่ี มี ร า ย ง า น ก า ร แ พ ร่
กล่าวเป็นแอ่งรับคลื่นความร้อนอินฟราเรดอยู่ กระจายไว้ ได้แก่ กรุงเทพฯ จังหวัดจันทบุรี
ดา้ นหนา้ ของตา เกลด็ จมกู (nasals) เกลด็ แกม้ จังหวัดนครราชสีมา จงั หวดั ปทุมธานี จงั หวัด
(loreal) และเกลด็ เหนอื ตา (supraoculars) มี สมุทรปราการ จังหวัดสระบุรี และ จังหวัด
ขนาดใหญ่ เกล็ดปกคลมุ บนหัวเรียบ แล้วเกล็ด สิงหบ์ ุรี
สถานภาพ
บนลำ�ตวั คอ่ ยๆ กลายเปน็ เกลด็ มสี นั นบั บรเิ วณ สถานะกังวลน้อยที่สุด (LC) โดยบัญชี
กลางตัวมี 21 แถว เกล็ดใต้ท้องขนาดใหญ่ แดงของสหภาพเพ่ือการอนุรักษ์ธรรมชาติ
160-175 เกล็ด หัว ลำ�ตัว และหางเป็นสี (IUCN) สถานะกังวลน้อยที่สุด (LC) โดย
เขยี ว ปลายหางเปน็ สีแดงคลำ้ � เกลด็ ขา้ งลำ�ตัว Thailand red data และไมไ่ ด้ถกู จัดสถานะ
(ventrolateral scales) สีขาวทำ�ใหม้ องเห็น เปน็ สัตว์ป่าคุม้ ครอง
เป็นเส้นสีขาวอยู่ตามขอบข้างลำ�ตัวทั้งสองข้าง
ใตค้ างสเี ขียวอมฟา้ เลก็ น้อย สว่ นใต้ทอ้ งสีเขียว
แหล่งอาศัยและพฤติกรรม ...
.
ออกหากินเวลาพลบคำ่ � และกลางคืน
ชือ่ ไทย : งเู ขียวหางไหมต้ าโต
ชอ่ื สามญั : Kramer’s Pit Viper
ช่ือวิทยาศาสตร์ : Trimeresurus macrops
102 | สัตวเ์ ลื้อยคลาน
งจู งอาง
King Cobra
ลักษณะ แหลง่ อาศยั และพฤตกิ รรม
เปน็ งพู ษิ ขนาดใหญม่ าก (งพู ษิ ทมี่ ขี นาด ออกหากินเวลากลางวันตามพื้นดิน
ใหญท่ สี่ ดุ ในโลก) ลำ�ตวั เรยี ว ยาว เกลด็ บนหวั อาหารของงจู งอางมคี วามพเิ ศษจากงชู นดิ
ขนาดใหญ่ รูจมกู ขนาดใหญ่ ปลายปากคอ่ น อนื่ ๆ เนอ่ื งจากมันงเู ป็นอาหารหลัก เวลาชู
ขา้ งทู่ สามารถแผ่แม่เบี้ยไดเ้ หมือนกนั แตแ่ ม่ คอแผ่แม่เบ้ียจะขู่เสียงดัง เกิดจู่โจมเหย่ือ
เบยี้ ไมก่ วา้ งเท่างูเหา่ แตส่ ามารถยกตัวได้สงู หรือกัดจะกัดติดแน่น และปล่อยพิษเป็น
กว่างเู หา่ โดยสงู ถงึ ประมาณ 1/3 ของลำ� ระยะ อาศัยท้งั ในปา่ และในเขตชมุ ชนเมอื ง
ตัว เกล็ดบนหัวเป็นแผน่ กวา้ ง เกล็ดบนหลัง
3 แถวทีอ่ ยใู่ นแนวกลางตวั มขี นาดใหญก่ ว่า การแพร่กระจาย
แถวอนื่ เกลด็ บนหลงั และทางดา้ นบนของหาง ส า ม า ร ถ พ บ ไ ด้ ทั่ ว ทุ ก ภ า ค ข อ ง
มพี นื้ ผวิ เรียบ เกลด็ ท้องขยายกวา้ ง เกล็ดใต้ ประเทศไทย
หาง 5 แถวแรกเป็นแถวเดี่ยวแต่ท่ีเหลอื เป็น
แถวคู่ เกลด็ รอบลำ�ตวั ในตำ�แหนง่ กงึ่ กลางตวั สถานภาพ
จำ�นวน 15 เกลด็ เกล็ดทอ้ งจำ�นวน 266 สถานะมีแนวโน้มจะสูญพันธุ์ (VU)
เกล็ด และเกลด็ ใต้หางจำ�นวน 106 เกลด็ โดยบญั ชแี ดงของสหภาพเพอื่ การอนรุ กั ษ์
สีลำ�ตัวด้านหลังพบได้ต้ังแต่สีดำ� ไปจนถึงสี ธรรมชาติ (IUCN) สถานะกงั วลนอ้ ยทสี่ ดุ
นำ้ �ตาล มีแถบสีขาวหรือนำ้ �ตาลอ่อนพาดอยู่ (LC) โดย Thailand red data และถูก
ตลอดลำ�ตวั (แถบจะชัดมากในวยั เดก็ ) ดา้ น จดั สถานะเปน็ สตั ว์ปา่ คมุ้ ครอง
ท้องสีว่างกว่าด้านหลังและมีแถบสีดำ� หรือ
เทาเข้มสับหว่างอยู่ โดยแถบอาจจะเป็นแถบ
ไม่สมบรู ณ์ เปน็ แถบจางๆ
ชื่อไทย : งูจงอาง บองหลา เหา่ ดง
ช่อื สามญั : King Cobra
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ : Ophiophagus hannah .
สตั วเ์ ลื้อยคลาน|103
104 | สตั ว์เล้อื ยคลาน
สตั วเ์ ลือ้ ยคลาน|105
เตา่ เหลือง
Elongated Tortoise
ลกั ษณะ การแพร่กระจาย
เต่าบกขนาดกลาง ลักษณะกระดองยาว
คลา้ ยหมวกเหลก็ ทหารตรงกลางนนู และลาดลง สามารถพบไดท้ ัว่ ทกุ ภาคของประเทศไทย
ทางด้านหนา้ และด้านทา้ ยกระดอง แขน และขา
แขง็ แรง ซง่ึ ขาดา้ นหลงั เปน็ ลกั ษณะคลา้ ยเทา้ ชา้ ง สถานภาพ
(club-like) มเี กลด็ ขนาดใหญท่ ผ่ี วิ หนงั ระหวา่ ง
น้ิวไมม่ พี งั ผดื แต่ละตีนมี 5 เลบ็ กระดองท้อง สถานะใกลส้ ูญพนั ธุ์ (EN) โดยบัญชแี ดง
ตวั ผจู้ ะเวา้ เขา้ ไป สว่ นตวั เมยี จะแบนราบกระดอง ของสหภาพเพื่อการอนุรกั ษธ์ รรมชาติ (IUCN)
สถานะใกลส้ ญู พนั ธุ์ (EN) โดย Thailand red
data และถกู จดั สถานะเปน็ สัตว์ปา่ คุ้มครอง
สเี หลอื งอมน้ำ�ตาล สลี ำ�ตวั พบไดต้ ้ังแต่สีเหลอื ง
จนถึงสีคลำ้ � และมีรอยเปื้อนสีดำ�คล้ำ�อยู่ตรง
กลางเกล็ดด้านหลงั
แหล่งอาศยั และพฤตกิ รรม
เตา่ ชนิดนีช้ อบความช้นื พบไดท้ ่วั ไปในทุก
สภาพปา่ หรอื ในสวนยางพารา กนิ พชื และผลไม้
เปน็ อาหารหลกั บางครงั้ สามารถพบวา่ กนิ เนอ้ื ได้
ด้วย เชน่ ซากสตั ว์ และหอย
ช่ือไทย : เต่าเหลอื ง เตา่ เพก็
ช่อื สามัญ : Elongated Tortoise
ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ : Indotestudo elongata
.
106 | สัตวเ์ ล้อื ยคลาน
เต่าหับ
Asian Box Turtle
ลักษณะ สถานภาพ
เป็นเต่าขนาดกลาง ความยาวกระดอง สถานะมีแนวโนม้ ใกล้สูญพันธุ์ (VU) โดย
หลงั 21 เซนตเิ มตร กระดองเป็นรปู วงกลม บญั ชแี ดงของสหภาพเพอ่ื การอนรุ กั ษธ์ รรมชาติ
กระดองโค้งมน ใต้ท้องสีดำ� หวั และคอสเี หลือง (IUCN) สถานะมีแนวโน้มใกล้สูญพันธ์ุ (VU)
เส้นสีดำ�จากคอพาดมาเหนือตาไปยังปลายจมูก โดย Thailand red data และถูกจัดสถานะ
และพาดไปยังตาอกี ข้างลงไปยังคออีกข้าง เสน้ เปน็ สัตว์ปา่ คุ้มครอง
สีดำ�ลากจากปลายจมูกผ่านตาลากลงไปถึงคอ
เส้นสีดำ�ลากจากปลายจมูกไปใต้ตาและไปส้ิน
สุดที่มุมปาก ปากล่างมีเส้นสีดำ�จากปลายปาก
ล่างพาดไปตามขากรรไกรล่างและไปส้ินสุดที่
มุมปากลา่ ง
แหลง่ อาศัยและพฤตกิ รรม
กินอาหารได้หลากหลายทั้งพืชและสัตว์
บริเวณท่ีพบ ได้แก่ ราบลุ่มพนื้ ที่ชุ่มน้ำ�
การแพรก่ ระจาย
สามารถพบไดท้ ่วั ทกุ ภาคของประเทศไทย
ภาคใต้ (จังหวดั ชมุ พร จงั หวดั ระนอง จังหวดั
พงั งา และจังหวดั กระบี่)
ชอื่ ไทย : เต่าหบั
ชือ่ สามัญ : Asian Box Turtle
ชือ่ วิทยาศาสตร์ : Cuora amboinensis
.
สตั วเ์ ลื้อยคลาน|107
108 | สตั ว์เล้อื ยคลาน
สัตวเ์ ลือ้ ยคลาน|109
เต่านา
Big-headed Snail-eating Turtle
ลักษณะ เลก็ ปลาขนาดเลก็ และยงั กนิ ซากสตั วอ์ ีกด้วย
เป็นเต่าขนาดกลาง ความยาวกระดอง พบอาศัยตามแหล่งน้ำ�ที่ไหลเบาๆ ไม่ว่าจะเป็น
หลัง 21 เซนติเมตร กระดองเป็นรปู วงรี คอ่ น คลอง แม่นำ้ � ทางน้ำ�เล็กๆ บงึ และนาขา้ ว
ขา้ งวงกลม บนกระดองมสี นั อยู่ 3 แถว แถว
กลางอยตู่ ามแนวกลางกระดอง สว่ นอกี 2 แถว การแพรก่ ระจาย
อยู่ขนาบข้างสันที่อยู่ตรงกลางตัว ลำ�ตัวและ
กระดองสีดำ� หางสนั้ มาก ใตท้ อ้ งสเี หลอื งและมี ในประเทศไทยสามารถพบได้ทั่วไปใน
ภาคกลาง และภาคตะวันออก ภาคเหนือตอน
รอยปื้นสีดำ�แทรกอยู่ บนหน้ามีเส้นสีขาวหรือสี
ครีมปรากฏอยู่ โดยรูปแบบเป็นดังน้ี เส้นสีขาว
จากคอพาดมาเหนอื ตาไปยงั ปลายจมกู และพาด
ไปยงั ตาอกี ขา้ งลงไปยงั คออกี ขา้ ง เสน้ สขี าวอกี
เส้นลากจากจมูกท้ังสองฝั่งโคง้ เปน็ ตวั “S” มา
ใต้ตา และพาดไปยังคอ ปลายจมกู สีขาว ใต้รูจ
มูกทั้งสองข้างมีเส้นสีขาวลากลงมาต้ังฉากกับ
ริมฝปี าก และพาดไปตามขอบปากบนไปบรรจบ
กบั เสน้ ทมี่ าจากหลงั ตา ปากลา่ งดา้ นซา้ ยและขวา ล่างทั้งหมด ส่วนภาคเหนือตอนบนมีรายงาน
มเี สน้ สขี าวเป็นรปู โคง้ อยู่ รอยแตม้ สีขาวอยู่มุม บ้าง ได้แก่ จงั หวัดพะเยา จังหวัดแพร่ จังหวดั
ปากล่าง เส้นสีขาวอีกเส้นลากจากคอมาสิ้นสุด อุตรดิตถ์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้แก่
ทีบ่ ริเวณขมบั ทั้งสองข้าง จังหวัดนครราชสีมา ส่วนภาคใต้สามารถพบ
ได้เกือบท่ัวพ้ืนท่ี ยกเว้นจังหวัดท่ีไม่ติดกับกับ
ชายฝง่ั ทะเล
แหลง่ อาศัยและพฤติกรรม
ออกหากนิ เวลากลางคนื สว่ นใหญก่ นิ สตั ว์
ไดแ้ ก่ หอย หนอน สตั วไ์ มม่ กี ระดกู สนั หลงั ขนาด สถานภาพ
ไมถ่ กู จดั สถานะโดยบญั ชแี ดงของสหภาพ
เ พ่ื อ ก า ร อ นุ รั ก ษ์
ธรรมชาติ (IUCN)
ชอ่ื ไทย : เตา่ นา Thailand red
ช่ือสามัญ : Big-headed Snail-eating Turtle data และไม่ถูกจัด
ชอ่ื วิทยาศาสตร์ : Malayemys macrocephala ส ถ า น ะ เ ป็ น สั ต ว์ ป่ า
คุม้ ครอง
... .
110 | นก
ไก่ป่า
Red Junglefowl
ลกั ษณะ
ลักษณะคล้ายไก่แจ้ แต่ขามีสีเทา ตัวผู้ มีหงอนขนาด
ใหญใ่ หญ่ เดือยแหลม หนังที่หน้าและเหนยี งบนหัวสีแดงสด อก
และทอ้ งสีดำ� สรอ้ ยคอสเี หลืองทอง ปีกและหางสดี ำ�เหลอื บเขยี ว
หางยาว มขี นหางคูก่ ลาง
ยาวโค้งออกไป โคนหาง
ดา้ นบนสขี าวฟู ลำ�ตวั ดา้ น
ลา่ งสเี ขยี วเหลอื บเขม้ ตวั
เมยี ขนาดหงอนเล็กกว่า
ตวั ผู้ หวั และคอสีเน้อื ลำ�
ตัวสนี ้ำ�ตาลเขม้ หางยาว
ปานกลาง
แหล่งอาศัยและพฤติกรรม
เอาศยั ตามปา่ ไผ่ ปา่ ดิบแลง้ และป่ารอยตอ่ ระหว่างปา่ ดิบ
แลง้ และปา่ เตง็ รงั มกั พบเปน็ ฝงู เลก็ ๆ คยุ้ เขย่ี หากนิ เมลด็ พชื ผลไม้
และแมลง อยตู่ ามพืน้ ป่า ในฝูงหนง่ึ จะมตี วั ผคู้ มุ ตวั เมยี หลายตัว
ตวั ผู้มักขนั เป็นระยะ โดยเฉพาะในชว่ งตอนเชา้ และพลบคำ่ � หากิน
เวลากลางวัน บินได้ไม่ไกลและไมส่ ูงมาก เสยี งร้อง “เอก๊ -อ๊ี-เอ๊ก-
เอ๊ก” ขณะตกใจรอ้ ง “กะต๊าก-กะตา๊ ก” ฤดูผสมพันธ์อุ ยู่ระหวา่ ง
เดอื นธนั วาคมถงึ พฤษภาคม ตวั ผสู้ ามารถจบั คตู่ วั เมยี ไดห้ ลายตวั
การแพร่กระจาย
สามารถพบได้ทวั่ ทุกภาคของประเทศไทย
สถานภาพ
สถานะกงั วลนอ้ ยทส่ี ดุ (LC) โดยบญั ชแี ดงของสหภาพเพอื่
การอนรุ กั ษธ์ รรมชาติ (IUCN) ไมไ่ ดถ้ กู จดั สถานะโดย Thailand
red data และจัดเป็นสัตวป์ า่ คมุ้ ครอง
ชื่อไทย : ไกป่ ่า
ช่ือสามัญ : Red Junglefowl
ช่ือวทิ ยาศาสตร์ : Gallus gallus
. ชือ่ ไทย : ไกฟ่ ้าพญาลอ
ชอ่ื สามัญ : Siamese fireback
. ช่ือวทิ ยาศาสตร์ : Lophura diardi
..
นก | 111
ไก่ฟา้ พญาลอ
Siamese fireback
ลักษณะ ในธรรมชาติไก่ฟ้าพญาลอมักมีนิสัยป้องกัน
ลำ�ตวั เพรยี ว ขายาวกว่าไก่ฟา้ ชนิดอืน่ มี อาณาเขต ผู้ชอบอาศัยอยู่โดดเดี่ยวหรือจับ
ความสวยงามท่ีสุดชนิดหนึ่งของประเทศไทย คู่หากินกับตัวเมียในฤดูผสมพันธ์ุ ออกหากิน
ตัวผู้ มหี นา้ กากสีแดงสด บนหัวมเี ส้นขนแตก ตอนกลางวนั และขน้ึ นอนตามตน้ ไมส้ งู ในเวลา
พมุ่ ตรงปลายสดี ำ�เหลอื บนำ้ �เงนิ ยาวโคง้ ไปดา้ น กลางคนื สามารถพบเหน็ ไดง้ า่ ยตามถนนทผี่ า่ น
หลงั ปากสเี หลอื งขนุ่ รอบคางใตห้ นา้ กากลงมา ป่า เสียงร้อง “บ้ัค-บั้ค-บ้ัค” มักร้องรัวเวลา
มขี นสีดำ� ลำ�ตวั ด้านบน อก คอ และปีกมีสีเทา ตกใจ ฤดผู สมพนั ธอ์ุ ยรู่ ะหวา่ งเดอื นกมุ ภาพนั ธ์
เขม้ ลกั ษณะเดน่ คอื ขนตอนทา้ ยของลำ�ตวั ใกล้ ถงึ เดอื นกรกฎาคม ตวั ผเู้ กยี้ วตวั เมยี โดยใชว้ ธิ ี
โคนหางจะมีสีเหลืองแกมสีทอง ขนคลุมโคน ยดื อก กางปกี และกระพอื ปกี ถๆี่ การผสมพนั ธุ์
หางมีสีดำ�เหลือบนำ้ �เงินขอบสีแดงอิฐซ้อนกัน ตัวเมียจะหมอบลงกับพ้ืน ตัวผู้จะข้ึนเหยียบ
หลายชนั้ หางมสี ดี ำ�เหลอื บเขยี วยาวและโคง้ ลง หลงั และใชป้ ากจิกหัวตวั เมยี
ขนคลุมปกี มีลายสดี ำ�ขอบขาว ท้องสดี ำ� แขง้ สี
แดงมเี ดอื ย ตวั เมยี ลำ�ตวั สนี ้ำ�ตาลแดง ปกี และ การแพร่กระจาย
หางมีลายสเี นื้อสลบั ดำ�
บางส่วนของภาคเหนือ ภาคตะวันออก
เฉียงเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงใต้ ของ
ประเทศไทย
แหลง่ อาศัยและพฤติกรรม
อาศัยตามป่าทึบ เช่น ป่าดงดิบแล้ง
ปา่ ดงดบิ ชน้ื และป่าดงดบิ เขา บางครั้งพบอยู่ สถานภาพ
ตามปา่ โปรง่ เชน่ ปา่ เตง็ รงั แลปา่ เบญจพรรณ
มักพบเป็นฝูงเล็กๆ กินตัวหนอน แมลง สถานะกงั วลน้อยท่ีสุด (LC) โดยบญั ชี
ไสเ้ ดือน สตั วข์ นาดเลก็ เมลด็ หญา้ เมลด็ พืช แดงของสหภาพเพ่ือการอนุรักษ์ธรรมชาติ
ผลไมส้ กุ ทห่ี ลน่ ตามพนื้ เชน่ ลกู ไทร เปน็ อาหาร (IUCN) มสี ถานะจดั อยใู่ นกลมุ ทใี่ กลถ กู คกุ คาม
(NT) โดย Thailand red data และจัดเปน็
สัตวป์ ่าคุ้มครอง
.
112 | นก
นกกระจอกตาล
Plain-bakced Sparrowl
ลักษณะ
ตวั ผู้ กระหมอ่ ม หลังคอ และตะโพกมสี เี ขยี ว
อมเทา บรเิ วณหลงั ขนคลุมไหล่ และแถบหลังตามี
สีนำ้ �ตาลแดง แก้ม และด้านล่างของลำ�ตัวสีเหลือง
ออ่ น คอสดี ำ� ปากและขาสเี ทาเข้ม ตัวเมยี ลำ�ตวั ด้าน
บนมีสีน้ำ�ตาลอมเทา ส่วนลำ�ตัวด่านล่างมีสีเหลือง
จาง คอสีเนื้อ
แหลง่ อาศยั และพฤติกรรม
มกั พบเป็นฝงู เล็กๆ กระโดดหากนิ ตามพน้ื ดนิ
และขึน้ ไปเกาะพักบนต้นไม้ เสยี งรอ้ ง “ชี-รัฟ-ชี-รฟั ”
การแพรก่ ระจาย
สามารถพบได้ทัว่ ทุกภาคในประเทศไทย
สถานภาพ ชื่อไทย : นกกระจอกตาล
ชอ่ื สามญั : Plain-bakced Sparrow
สถานะกังวลน้อยท่ีสุด (LC) โดยบัญชีแดง ช่อื วทิ ยาศาสตร์ : Passer flaveolus
ของสหภาพเพื่อการอนรุ กั ษ์ธรรมชาติ (IUCN) ไม่
ได้ถูกจัดสถานะโดย Thailand red data และจดั
เป็นสตั วป์ ่าค้มุ ครอง
นก | 113
นกกระจอกบ้าน
Eurasian Tree Sparrow
ลกั ษณะ การแพรก่ ระจาย
ตัวผู้ กระหม่อม หลงั คอ และตะโพกมีสี สามารถพบไดท้ ่วั ทุกภาคในประเทศไทย
เขยี วอมเทา บริเวณหลัง ขนคลมุ ไหล่ และแถบ
หลงั ตามสี นี ำ้ �ตาลแดง แกม้ และดา้ นลา่ งของลำ� สถานภาพ
ตวั สีเหลอื งอ่อน คอสีดำ� ปากและขาสเี ทาเข้ม
ตัวเมีย ลำ�ตวั ดา้ นบนมสี ีน้ำ�ตาลอมเทา สว่ นลำ� สถานะกงั วลน้อยท่ีสุด (LC) โดยบญั ชี
ตวั ด่านลา่ งมสี เี หลืองจาง คอสีเนอ้ื แดงของสหภาพเพ่ือการอนุรักษ์ธรรมชาติ
(IUCN) ไม่ได้ถูกจัดสถานะโดย Thailand
แหลง่ อาศยั และพฤติกรรม red data และจดั เปน็ สัตวป์ ่าคุ้มครอง
มักพบเป็นฝูงเล็กๆ กระโดดหากินตาม
พื้นดิน และขึ้นไปเกาะพักบนต้นไม้ เสียงร้อง
“ช-ี รฟั -ช-ี รฟั ”
.. ชือ่ ไทย : นกกระจอกบ้าน . . .
ชอ่ื สามญั : Eurasian Tree Sparrow .... . . .
. .. ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ : Passer montanus
114 | นก
นกกระจอกใหญ่
House Sparrow
ลักษณะ เมีย แต่มลี ายขดี สนี ้ำ�ตาลจางๆทีห่ ลงั และลำ�ตัวด้าน
ตัวอ้วนกลม หัวมีลักษณะกลมใหญ่ หางส้ัน ล่างสีขาวหม่น
ปากหนา ปกติเพศเมยี มขี นาดเล็กกวา่ เพศผู้ เพศผู้
จะตัวใหญ่ขึ้นในฤดูหนาว เพศเมียจะตัวใหญ่ขึ้นใน แหล่งอาศยั และพฤตกิ รรม
ฤดผู สมพนั ธุ์ ซง่ึ ขนึ้ อยกู่ บั ชนดิ ยอ่ ย และสง่ิ แวดลอ้ ม
มักพบเป็นฝูงเล็กๆ มักกระโดดจิกกินเมล็ด
ตัวผู้ ขนคลุมหลังไหล่มีสีนำ้ �ตาลมีลายดำ� พชื ทร่ี ว่ งหล่นตามพ้ืนดิน เสยี งรอ้ ง “ชี-รฟั -ชี-รัฟ”
บริเวณหลังตอนล่าง ตะโพก และหาง มีสีน้ำ�ตาล
การแพรก่ ระจาย
แกมเทา กระหม่อมสีเทาค่อนข้างเข้มกว่า แก้มและ สามารถพบได้ทั่วไปในภาคกลางถึงบริเวณ
ขนคลมุ ลำ�ตวั ดา้ นลา่ งสเี ทาออ่ น บรเิ วณระหวา่ งปาก ภาคเหนือของประเทศไทย
จนถึงตา ตา คอและขนคลุมอกส่วนบนสีดำ� ในช่วง
ฤดผู สมพนั ธปุ์ ากจะเปน็ สดี ำ� แตน่ อกฤดผู สมพนั ธจุ์ ะ สถานภาพ
เปน็ สเี นอื้ ๆและขนอกสว่ นบนทเี่ ปน็ สดี ำ�สนทิ จะจางลง
สถานะกังวลน้อยที่สุด (LC) โดยบัญชีแดง
ของสหภาพเพ่ือการอนรุ ักษ์ธรรมชาติ (IUCN) ไม่
ตัวเมีย ขนคลุมลำ�ตัวโดยทั่วไปเป็นสีน้ำ�ตาล ไดถ้ กู จัดสถานะโดย Thailand red data และจดั
อ่อน ค้ิวและปากสีเนื้อคล้ายนกกระจอกตาลเพศ เปน็ สัตวป์ ่าคมุ้ ครอง
ช่ือไทย : นกกระจอกใหญ่ .
ชื่อสามัญ : House Sparrow
ช่อื วิทยาศาสตร์ : Passer domesticus
นก | 115
นกกระจาบทอง
Asian golden weaver
ลกั ษณะ การแพรก่ ระจาย
คลา้ ยนกกระจาบธรรมดา เพศผมู้ ขี นบน สามารถพบได้ท่ัวไปในภาคกลางถึง
หวั หน้าอก ท้องและตะโพกสเี หลอื งสด ด้าน บรเิ วณภาคเหนอื ตอนลา่ ง และบางแหง่ ใน
ขา้ งหวั และใต้ลำ�คอเป็นสดี ำ� หลังปีกและหาง ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ของประเทศไทย
สีน้ำ�ตาลและมีลักษณะเป็นลายเหมือนกัน แต่
ปากหนาและสีแก้มคลำ้ �กว่า บริเวณลำ�ตัวด้าน
บนสนี ำ้ �ตาล มีลายทางสีเนือ้ คอมีสีขาว ปาก
สีชมพูอ่อน ขาสนี ้ำ�ตาลออ่ น
แหลง่ อาศัยและพฤตกิ รรม
อาศัยตามพงหญ้าริมแหล่งนำ้ � เช่น สถานภาพ
หนอง บึง มักพบบนิ ไปตามท่งุ ชอบลงไปกนิ สถานะกังวลนอ้ ยท่ีสดุ (LC) โดยบัญชี
เมล็ดข้าวในทุ่งนา ทำ�รังเป็นก้อนกลมอยู่บน แดงของสหภาพเพ่ือการอนุรักษ์ธรรมชาติ
พงหญ้าสูงบริเวณรมิ น้ำ� เสียงร้อง “ชิด-ชดิ - (IUCN) มสี ถานะจดั อยใู่ นกลมุ ทใี่ กลถ กู คกุ คาม
ชิด-ชิด” (NT) โดย Thailand red data และจัดเปน็
สตั วป์ ่าคุม้ ครอง
ชอ่ื ไทย : นกกระจาบทอง .
ช่ือสามญั : Asian golden weaver
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Ploceus hypoxanthus
116 | นก
นกกระจาบธรรมดา
Baya weaver
ลกั ษณะ การแพร่กระจาย
มปี ากสเี นอ้ื อมชมพู ลำ�ตวั สนี ำ้ �ตาลแกมเหลอื ง
และมีลายทางสีเน้ือ ข้างแก้มเรียบไม่ลาย หัวมีลาย สามารถพบไดท้ ่วั ทุกภาคในประเทศไทย
คลำ้ � คอสขี าว ลำ�ตวั ดา้ นบนมลี ายจากขอบขนสอี อ่ น
ลำ�ตวั ดา้ นลา่ งสเี นอื้ อกสนี ้ำ�ตาลออ่ น ขาสชี มพใู นฤดู สถานภาพ
ผสมพันธุ์ ตัวผู้มีปากดำ�ค่อนข้างยาว หน้าผากถึง
ท้ายทอยเหลืองสด หน้าสีคล้ำ� หลัง ปกี และลำ�ตัว สถานะกังวลน้อยที่สุด (LC) โดยบัญชีแดง
ดา้ นบนน้ำ�ตาลดำ�มลี ายจากขอบขนสนี ำ้ �ตาลออ่ น ลำ� ของสหภาพเพอื่ การอนุรักษธ์ รรมชาติ (IUCN) ไม่
ได้ถกู จัดสถานะโดย Thailand red data และจัด
เปน็ สตั ว์ปา่ คุม้ ครอง
ตัวดา้ นล่างนำ้ �ตาลออ่ นแกมเหลอื ง
แหล่งอาศัยและพฤติกรรม
อาศยั ตามท่งุ นา ท่งุ หญา้ และพน้ื ทชี่ มุ่ น้ำ� ทำ�
รังทรงกลม มีทางเข้าเป็นท่อยาวห้อยอยู่บนต้นไม้
สูง อย่รู วมกันเป็นฝูงคอ่ นข้างใหญ่ เสียงร้อง “ชิด-
ชิด-ชิด-ชดิ ”
ชอื่ ไทย : นกกระจาบธรรมดา่ . .
ช่ือสามัญ : Baya weaver .
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ : Ploceus philippinus
นก | 117
นกกระจบิ ธรรมดา
Common Tailorbird
ลักษณะ
หนา้ ผากและกระหมอ่ มสแี ดง ควิ้ และหนา้
ขาวแกมเทา ลำ�ตวั ด้านบนเขียวคลำ้ � ลำ�ตัวด้าน
ลา่ งขาว บางคร้งั ใตค้ อเหน็ เป็นสดี ำ�โดยเฉพาะ
ขณะร้อง คล้ายนกกระจบิ คอดำ� แตก่ น้ และขน
คลุมใตโ้ คนหางขาว
แหล่งอาศัยและพฤตกิ รรม
อาศัยอยู่ตามป่าโปรง่ ปา่ ชายเลน พ้นื ที่
เกษตรกรรม เขตชมุ ชน และมกั พบไดบ้ อ่ ยตาม
สวนหย่อมรอบบา้ น กระโดดจิกกนิ หนอน และ
แมลงตามพมุ่ ไม้ ไมค่ อ่ ยอย่นู ่ิง และรอ้ งเสยี ง
ดังไปพร้อมกบั กระดกหางอยู่เสมอ เสยี งร้อง
“จิบ๊ -จบิ๊ -จิบ๊ ” ในฤดผู สมพันธ์ุ ขนหางคกู่ ลาง
ของตวั ผจู้ ะงอกยาวออกมามาก
การแพร่กระจาย
สามารถพบไดท้ ่วั ทกุ ภาคในประเทศไทย
สถานภาพ
สถานะกงั วลน้อยทส่ี ดุ (LC) โดยบัญชี
แดงของสหภาพเพ่ือการอนุรักษ์ธรรมชาติ
(IUCN) ไม่ได้ถูกจัดสถานะโดย Thailand
red data และจดั เปน็ สัตว์ปา่ คุ้มครอง
ช่อื ไทย : นกกระจิบธรรมดา
ชอื่ สามญั : Common Tailorbirdr
ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ : Orthotomus sutorius
. . .
.... . . .
118 | นก
นกกระจบิ หญา้ สีน้ำ�ตาล
Brown Prinia
ลกั ษณะ การแพร่กระจาย
นกกระจิบหญ้าสีนำ้ �ตาลมีขนาดใหญ่กว่านก
ภาคกลาง บางแห่งของภาคตะวันออกเฉียง
กระจิบหญ้าชนิดอืน่ หางยาวไม่มีปลายสขี าว ลำ�ตัว เหนอื และภาคเหนือของประเทศไทย
สนี ำ้ �ตาล ไมม่ คี ิ้วสีขาวหรอื สีอ่อน หวั ท้ายทอย และ
หลังมลี ายขดี สีเขม้ ปากสนี ้ำ�ตาลหรอื สเี นื้อ ตัวผู้ขน สถานภาพ
ชดุ ผสมพนั ธมุ์ ปี ากสดี ำ� ขนลำ�ตวั แกมสเี ทา ลายสเี ขม้
จางลง ขาสชี มพู สถานะกังวลน้อยที่สุด (LC) โดยบัญชีแดง
ของสหภาพเพ่อื การอนุรกั ษธ์ รรมชาติ (IUCN) ไม่
แหลง่ อาศยั และพฤติกรรม ไดถ้ ูกจดั สถานะโดย Thailand red data และจัด
อาศยั อยตู่ ามปา่ โปรง่ และทงุ่ หญา้ มกั พบเกาะ เปน็ สตั ว์ปา่ คุ้มครอง
สง่ เสยี งรอ้ งอยตู่ ามพงหญา้ หรอื พมุ่ ไมข้ นาดเลก็ และ
กระดกหางอยู่เสมอ เสยี งร้อง “ชี้บ-ช้ีบ” ในฤดผู สม
พันธุ์ ลำ�ตัวด้านบนมีสีเทาแซมเข้มขึ้น สีของปาก
เปล่ยี นเปน็ สีดำ�
ชื่อไทย : นกกระจิบหญา้ สีนำ้ �ตาล .
ชือ่ สามัญ : Brown Prinia
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ : Prinia polychroa
นก | 119
นกกระจบิ หญ้าสเี รียบ ลกั ษณะ
Plain Prinia เปน็ นกขนาดเลก็ มคี วิ้ ยาวสขี าว หรอื ขาว
แกมเหลือง หวั และลำ�ตวั ดา้ นบนนำ้ �ตาล ลำ�ตัว
ด้านล่างขาวแกมนำ้ �ตาลเหลือง ขนหางใหญ่
กว่านกกระจิบหญ้าอกเทาและนกกระจิบหญ้า
สีข้างแดง ปลายหางด้านล่างขลิบน้ำ�ตาลเข้ม
และขาว ลำ�ตวั ด้านล่างสีเนื้อ ขาสชี มพู
แหล่งอาศัยและพฤตกิ รรม
อาศยั อยู่บรเิ วณทุง่ หญ้า นาขา้ ว พืน้ ท่ี
เกษตรกรรม ปา่ โปรง่ และปา่ ชายเลน มกั พบ
เกาะอยู่ตามยอดหญ้าสูง ส่งเสียงร้องพร้อม
กระดกหางเสมอ ชอบบินไล่กนั ขึ้นลงเหนือพง
หญ้า เป็นนกกระจิบหญ้าชนิดท่ีพบค่อนข้าง
บ่อย เสยี งร้อง “จด๊ี -จ๊ดี -จดี๊ ”
การแพร่กระจาย
สามารถพบได้ทัว่ ทุกภาคในประเทศไทย
สถานภาพ
สถานะกังวลน้อยที่สดุ (LC) โดยบัญชี
แดงของสหภาพเพ่ือการอนุรักษ์ธรรมชาติ
(IUCN) ไม่ได้ถูกจัดสถานะโดย Thailand
red data และจดั เป็นสัตว์ป่าคมุ้ ครอง
ชื่อไทย : นกกระจบิ หญ้าสีเรียบ . .
ช่อื สามญั : Plain Prinia .
ช่ือวทิ ยาศาสตร์ : Prinia inornata
120 | นก
นกกระติ๊ดข้ีหมู
Scaly-breasted Munia
ลกั ษณะ
มปี ากสดี ำ�หรอื สเี ทาเขม้ หวั อก และลำ�ตวั ดา้ น
บนสนี ำ้ �ตาลเข้ม มลี ายขีดสขี าวกระจาย คอสนี ำ้ �ตาล
เข้ม ลำ�ตัวด้านล่างขาวแกมเทามีลายเกล็ดสีนำ้ �ตาล
กลางทอ้ งถึงก้นขาว หางน้ำ�ตาลแกมเหลือง นกวัย
ออ่ น ลำ�ตวั สนี ำ้ �ตาลออ่ นกวา่ ไมม่ ลี ายเกลด็ ทอ่ี ก ปาก
ล่างสีอ่อนกวา่ ปากบนู
แหลง่ อาศยั และพฤติกรรม การแพร่กระจาย
อาศัยอยู่บริเวณทุ่งหญ้า พ้ืนที่เกษตรกรรม สามารถพบไดท้ ัว่ ทุกภาคในประเทศไทย
ป่าโปร่ง และพ้ืนที่ชมุ ชน มักพบหากนิ เป็นฝูงตามที่
โลง่ บนิ ตามกนั เป็นกล่มุ หากินตามพงหญา้ และนา สถานภาพ
ขา้ ว กนิ เมลด็ พชื ทร่ี ว่ งหลน่ ตามพนื้ หรอื เกาะกนิ ดอก
หญ้าตามยอดหญา้ เสยี งร้อง “คดิ -อ้อี อ้ี ี้อ”ี้ สถานะกังวลน้อยที่สุด (LC) โดยบัญชีแดง
ของสหภาพเพือ่ การอนรุ กั ษ์ธรรมชาติ (IUCN) ไม่
ไดถ้ ูกจัดสถานะโดย Thailand red data และจัด
เปน็ สัตวป์ า่ คุ้มครอง
ช่อื ไทย : นกกระต๊ิดข้ีหมู . .
ชื่อสามัญ : Scaly-breasted Munia .
ช่ือวิทยาศาสตร์ : Lonchura punctulata
นก | 121
นกกระต๊ิดตะโพกขาว ลักษณะ
Scaly-breasted Munia ปากมสี ีเทา ตะโพกและท้องขาว ตัดกบั
หัว อก ลำ�ตัวด้านบนสีน้ำ�ตาลเข้ม หน้าและ
ปีกสีน้ำ�ตาลดำ� มีลายขีดสีจางท่ีบริเวณหลัง
และอก ลำ�ตัวด้านลา่ งสีขาว มปี ลายหางเรยี ว
แหลม ขาสดี ำ�
ชือ่ ไทย : นกกระตดิ๊ ตะโพกขาว . แหลง่ อาศยั และพฤติกรรม
ชื่อสามัญ : Scaly-breasted Munia
ชือ่ วิทยาศาสตร์ : Lonchura striata อ า ศั ย อ ยู่ บ ริ เ ว ณ ทุ่ ง ห ญ้ า พ้ื น ท่ี
เกษตรกรรม ปา่ โปรง่ และพนื้ ทช่ี มุ ชน มักพบ
อยู่รวมกันเป็นฝูงตามทุ่งหญ้าและที่โล่ง บิน
ตามกนั เปน็ กลมุ่ หากนิ ตามพงหญา้ และนาขา้ ว
กินเมล็ดพืชที่ร่วงหล่นตามพื้นดินและเกาะกิน
ตามยอดหญา้ เสียงร้อง “พริท-พริท-พริท”
เสียงแหลมเล็ก
การแพรก่ ระจาย
สามารถพบไดท้ ัว่ ทกุ ภาคในประเทศไทย
สถานภาพ
สถานะกงั วลนอ้ ยท่สี ดุ (LC) โดยบัญชี
แดงของสหภาพเพ่ือการอนุรักษ์ธรรมชาติ
(IUCN) ไม่ได้ถูกจัดสถานะโดย Thailand
red data และจดั เป็นสตั ว์ป่าคุ้มครอง
122 | นก
นกกระต๊ิดสีอิฐู
Chestnut Munia
ลักษณะ
ปากมีสีเทาแกมฟ้า สีน้ำ�ตาลแดงสลับดำ� หัว
และอกสดี ำ� ตดั กับขนลำ�ตวั สีน้ำ�ตาลแดง กลางท้อง
และก้นนำ้ �ตาลเข้มเกือบดำ� ขาสีดำ� นกวัยอ่อนมีลำ�
ตัวสีน้ำ�ตาลเรียบ ๆ คลา้ ยนกกระติ๊ดหัวขาววัยออ่ น
กระหม่อมสีเขม้ ู
แหล่งอาศัยและพฤตกิ รรม
อาศยั อยบู่ ริเวณทงุ่ หญ้า หนอง บึง และพน้ื ท่ี
เกษตรกรรมในที่ราบ รวมถงึ พ้นื ทีช่ ายฝัง่ ทะเล มัก
พบอยู่รวมกันเป็นฝงู ตามทุ่งหญ้าและท่โี ลง่ บินตาม
กันเป็นกลุ่ม หากินตามพงหญา้ และนาข้าว กินเมลด็
พืชท่ีร่วงหล่นตามพื้นดินและเกาะกินตามยอดหญ้า
เสยี งรอ้ ง “พ-่ี พี่-พ”่ี
การแพรก่ ระจาย
สามารถพบได้ท่ัวทุกภาคในประเทศไทย
สถานภาพ
สถานะกังวลน้อยท่ีสุด (LC) โดยบัญชีแดง
ของสหภาพเพอื่ การอนุรักษธ์ รรมชาติ (IUCN) ไม่
ได้ถกู จดั สถานะโดย Thailand red data และจัด
เปน็ สตั วป์ า่ คมุ้ ครอง
ช่อื ไทย : นกกระติ๊ดสอี ิฐู
ชอ่ื สามญั : Chestnut Munia
ช่ือวทิ ยาศาสตร์ : Lonchura atricapilla
.
.
นกกระแตแตแ้ ว๊ด นก | 123
ลักษณะ
Red-wattled lapwing
เป็นนกขนาดตัวใกล้เคียงกับนกเขาใหญ่
ปกี และหลงั มีสนี ้ำ�ตาลออ่ นมแี ววสมี ่วง หัว อก
และคอหรือด้านหน้าคอสีดำ� มีแถบสีขาวท่ีเห็น
ชดั เจนระหวา่ งทอ้ งถงึ หาง ปกี ยาวจนเกอื บคลมุ
หาง หางส้ันมีสีดำ� ปลายหางสีน้ำ�ตาลและขาว
หรือดำ� มีต่ิงเน้ือสีแดงพาดทางด้านหน้าจาก
ขอบตาหนึ่งไปอีกขอบตาหนึ่ง ปากแดงปลาย
ดำ� ขายาว สเี หลอื ง ตวั ผมู้ ีปกี และเดอื ยทเ่ี ท้า
ยาวกวา่ ตวั เมยี
แหล่งอาศยั และพฤตกิ รรม
อาศัยอยู่รวมกัน 2-3 ตัวในที่โล่งที่มี
น้ำ� เช่น ทุ่งนา หนอง บงึ พ้นื ที่เกษตรกรรม
ทุ่งหญ้า บางครั้งอาจอยู่รวมกันเป็นฝูงใหญ่
มักว่ิงไปวิ่งมาเป็นระยะสั้นๆ และจะก้มลงแบบ
เอยี งโดยไมไ่ ดก้ างปีก เพ่ือจกิ อาหาร เสียงร้อง
“แต-แต-้ แวด้ ” ดังล่ันติดต่อกนั
ชอื่ ไทย : นกกระแตแตแ้ วด๊ การแพรก่ ระจาย
ช่ือสามัญ : Red-wattled lapwing
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Vanellus indicus สามารถพบได้ทั่วทุกภาคในประเทศไทย
. สถานภาพ
สถานะกังวลน้อยที่สุด (LC) โดยบัญชีแดงของสหภาพเพื่อการอนุรักษ์
ธรรมชาติ (IUCN) ไม่ไดถ้ ูกจดั สถานะโดย Thailand red data และจัดเปน็
สัตวป์ ่าคุ้มครอง
.
..
124 | นก .
นกกระเบ้อื งผา
Blue rock thrush
ลกั ษณะ
เป็นนกขนาดเล็กมีความยาวจากปลายปาก
จรดปลายหางประมาณ 23 เซนตเิ มตร มปี ากเรยี ว
ยาวสดี ำ� ทั้งสองเพศมีสสี นั แตกต่างกัน ปกี และหาง
สคี ่อนขา้ งดำ� ตัวเป็นลายเกลด็ ๆ นกตัวผูม้ ขี นทัว่ ลำ�
ตวั สีนำ้ �เงินเขม้ เสน้ ขนแต่ละเสน้ ขอบสีขาว จงึ ทำ�ให้
เห็นเป็นลายเกลด็ ทัง้ ตัว นกตวั เมยี สีออกน้ำ�ตาลปน
สีเทาคลำ้ � เสน้ ขนแตล่ ะเส้นมีขอบสีขาว ทำ�ใหเ้ หน็ เปน็
ลายเกลด็
แหล่งอาศยั และพฤติกรรม
เป็นนกชอบอยู่แบบโดดเดี่ยว สามารถพบได้
ตาม ทุ่งโล่ง ป่าโปร่ง หน้าผา เขาหินปูน หรือแม้
กระทง่ั ตามอาคารบา้ นเรอื น มักเกาะโชว์ตวั เด่น ตาม
ก้อนหิน ตอไม้ หรอื ยอดไม้แห้ง กินอาหารจำ�พวก
หนอน แมงมุม หอยทาก รวมท้ังสัตว์เล้ือยคลาน
ขนาดเล็ก ตวั เมียวางไข่ 3 - 6 ฟอง
การแพร่กระจาย
เปน็ นกอพยพนอกฤดผู สมพนั ธส์ุ ามารถพบได้
ทว่ั ไปในประเทศไทย
สถานภาพ
สถานะกังวลน้อยท่ีสุด (LC) โดยบัญชีแดง
ของสหภาพเพ่อื การอนุรกั ษ์ธรรมชาติ (IUCN) ไม่
ได้ถกู จัดสถานะโดย Thailand red data และจัด
เปน็ สัตวป์ า่ คุ้มครอง
ช่ือไทย : นกกระเบอื้ งผา
ชอื่ สามญั : Blue rock thrush
ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ : Monticola solitarius
นกกระสาแดง นก | 125
Purple heron ลักษณะ
ชอื่ ไทย : นกกระสาแดง เป็นนกยางขนาดใหญ่ แต่มีลำ�ตัวผอม
ชอื่ สามญั : Purple heron บาง มนี ้ำ�หนักเพียง 500 - 1,300 กรัม
ช่ือวิทยาศาสตร์ : Ardea purpurea เท่านั้น มีลักษณะใกล้เคียงกับนกกระสานวล
แตข่ นาดคอ่ นขา้ งเลก็ กวา่ จะงอยปากมสี เี หลอื ง
และแคบบาง กระหม่อมสีดำ� มีขนสีดำ�คล้าย
เปียยาวออกมาจากท้ายทอย คอและลำ�ตัวด้าน
ล่างสีนำ้ �ตาลแดง มีเส้นประสีดำ�ลากผ่านลงมา
ตลอดด้านข้างลำ�คอ ลำ�ตัวด้านบนสีเทาเข้ม
ขาสนี ำ้ �ตาล เมอ่ื โตเต็มวัย ขนทีห่ ลงั จะเปน็ สีเทา
เขม้ ข้ึน
แหล่งอาศัยและพฤติกรรม
มกั พบอยู่ลำ�พงั ตามต้นไม้เตยี้ ๆ และพง
หญ้ารกทึบ มกั ต่นื ตกใจ รวมกล่มุ น้อยกว่านก
กระสานวล หากนิ โดยการยืนในนำ้ � รอจับปลา
และสัตวน์ ำ้ �อื่นๆที่ว่ายน้ำ�ผา่ นมา แล้วใชป้ ากพงุ่
ออกจับเหย่อื อาศยั ในหนอง บงึ และทะเลสาบ
หรอื บางครง้ั พบตามชายฝง่ั ทะเล เสยี งรอ้ ง “รา้
ก” จดั วา่ เปน็ นกทพ่ี บเหน็ ไดย้ าก แตส่ ามารถพบ
ได้บ่อยในชว่ งอพยพ
การแพรก่ ระจาย
สามารถพบไดท้ ่วั ทกุ ภาคในประเทศไทย
สถานภาพ
สถานะกังวลน้อยท่ีสุด (LC) โดยบัญชี
แดงของสหภาพเพ่ือการอนุรักษ์ธรรมชาติ
(IUCN) ถูกจัดอยู่ในสถานะมีแนวโนมจะสูญ
พันธุ (VU) โดย Thailand red data และ
. จดั เปน็ สัตว์ป่าค้มุ ครอง
126 | นก
นกกวกั
White-breasted Waterhen
ลกั ษณะ สถานภาพ
ปากหนาแหลมสเี หลอื งโคนปากสแี ดง หนา้ คอ สถานะกังวลน้อยท่ีสุด (LC) โดยบัญชีแดง
อก และทอ้ ง สขี าว กระหมอ่ ม หลงั ปกี และหางดา้ น ของสหภาพเพ่อื การอนุรกั ษธ์ รรมชาติ (IUCN) ไม่
บน ดำ�แกมเทา ทอ้ งตอนลา่ งถึงก้นน้ำ�ตาลแดง ขา ไดถ้ กู จดั สถานะโดย Thailand red data และจดั
และตนี สีเหลอื ง วัยอ่อนดูคลา้ ยลกู ไกท่ ี่มีสดี ำ�ท่วั ทง้ั เป็นสัตวป์ ่าคุ้มครอง
ตัวและขายาวเกง้ ก้าง
แหล่งอาศยั และพฤตกิ รรม .
พ้ืนที่ชุ่มนำ้ �ต่างๆ ในที่ราบ กินทั้งสัตว์เล็กๆ
และพืชเป็นอาหาร เสียงร้อง “กว๊ัก-กวั๊ก” แหลม
ดงั หรือ “กวา๊ ก-กวา๊ ก-กว๊าก” หรือรัว “กวั๊ก-กวก๊ั -
กวา๊ ก-กว๊าก”
การแพรก่ ระจาย
สามารถพบได้ทวั่ ทุกภาคในประเทศไทย
ชื่อไทย : นกกวกั
ชอื่ สามญั : White-breasted Waterhen
ชื่อวทิ ยาศาสตร์ : Amaurornis phoenicurus
นก | 127
นกกะเตน็ นอ้ ยธรรมดา ลักษณะ
Common kingfisher เป็นนกขนาดเล็ก ลำ�ตัวยาวประมาร 15
-18 เซนติเมตร หางสน้ั หัวและหน้าผากสีฟ้า
อมเขียว สดใส มีจุดสีฟ้าอ่อนเล็กๆ เป็นแนว
ขวางหลายแนว หัวตาและขนคลุมหูมีสีน้ำ�ตาล
แดงต่อด้วยแถบสีขาว ปากสีดำ� ตัวเมียมีโคน
ปากล่างสีส้ม คอสขี าว อกสีน้ำ�ตาลแดง แก้ม
และขนคลุมหูสีน้ำ�ตาลแดง ปีกสีฟ้าอมเขียว มี
จุดสีฟ้าอ่อนตรงแนวปีก หลังและตะโพกสีฟ้า
สด ขาและนวิ้ เทา้ สแี ดง
แหลง่ อาศัยและพฤติกรรม การแพรก่ ระจาย
อาศยั อยบู่ รเิ วณลำ�คลอง หนอง บงึ ชายทะเล และแหลง่ น้ำ�ในปา่ ชอบเกาะนงิ่ ตามกงิ่
ไมร้ ิมน้ำ� เม่อื พบเหยือ่ เช่น ปลาขนาดเล็ก ลกู อ๊อด กบขนาดเลก็ ก้งุ น้ำ�จดื ขนาดเล็ก ปลา บางส่วนเป็นนกประจำ�ถ่ิน สามารถพบ
ตนี ตวั อ่อนแมลงปอ ต๊กั แตน ได้ในภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ตอนใต้ และภาค
เป็นต้น มีความสามารถอย่าง ตะวันตก บางส่วนเป็นนกอพยพท่ีสามารถพบ
ชือ่ ไทย : นกกะเตน็ น้อยธรรมดา มากในการจับปลา โดยจะพุ่ง ไดท้ ่วั ทุกภาคในประเทศไทย
ช่ือสามัญ : Common kingfisher ตัวลงไปใช้ปากงับเหย่ือในน้ำ�
ชอื่ วิทยาศาสตร์ : Alcedo atthis อย่างรวดเร็ว และคาบขึ้นไป สถานภาพ
เกาะแล้วจึงค่อยกินเหย่ือ โดย สถานะกังวลน้อยที่สุด (LC) โดยบัญชี
การฟาดเหยื่อกับก่ิงไม้ให้ตาย แดงของสหภาพเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ
. . ก่อน มักพบบินเรี่ยผิวนำ้ �ไป (IUCN) ไมไ่ ดถ้ กู จดั สถานะโดย Thailand red
data และจดั เปน็ สัตว์ป่าคมุ้ ครอง
ตรงๆอย่างรวดเร็ว เสียงรอ้ ง
“ชี-้ ชี้-ชี้”
128 | นก
นกกะเต็นอกขาว
White-throated kingfisher
ลกั ษณะ
เป็นนกขนาดเล็กลำ�ตัวป้อม ลำ�ตัวยาวประมาณ 15-18
เซนติเมตร ปากใหญย่ าวปลายแหลมสแี ดง หัว ท้ายทอย และลำ�ตวั
มีสีนำ้ �ตาลแดงคล้ำ� คอและกลางอกมีสขี าว หลงั ปกี และหางมีสฟี า้
เขม้ มแี ถบสีดำ�ตรงกลางและปลายปกี ขาสแี ดง ขณะบินเหน็ แถบสี
ขาวขนาดใหญบ่ รเิ วณขนปลายปีก ตวั ผแู้ ละเมียมลี ักษณะเหมือนกัน
แหลง่ อาศัยและพฤตกิ รรม
ชอบอาศัยตัวเดียวตามลำ�พัง ชอบอยู่ใกล้แหล่งนำ้ � เกาะอยู่
ตามกิ่งไม้โล่ง ๆ หรือสายไฟเพื่อมองหาเหยื่อ กินแมลง สัตว์น้ำ� สถานภาพ
และสัตว์เลอื้ ยคลานขนาดเลก็ มักพบเกาะอยู่ตามตอไม้หรือกง่ิ ไมร้ มิ สถานะกงั วลนอ้ ยทสี่ ดุ (LC) โดยบญั ชแี ดงของสหภาพเพอื่ การ
น้ำ�เพ่ือมองหาเหย่ือ เวลาบินมักส่งเสียงร้องดังเสมอ เสียงร้อง อนรุ กั ษธ์ รรมชาติ (IUCN) ไม่ได้ถูกจดั สถานะโดย Thailand red
“คก้ี -คกี้ -คีก้ ” เสยี งรัวดงั data และจัดเป็นสัตวป์ ่าคมุ้ ครอง
การแพรก่ ระจาย .
....
สามารถพบได้ทั่วทุกภาคในประเทศไทย
นก | 129
นกกะปดู ใหญ่
Greater coucal
ลักษณะ
เปน็ นกขนาดกลาง ลำ�ตวั ยาวประมาณ 53 เซนตเิ มตร ตวั เมยี มขี นาด
ใหญก่ วา่ ตวั ผเู้ ลก็ นอ้ ย แตม่ สี เี หมอื นกนั ลำ�คอเพรยี ว จะงอยปากสดี ำ� ปลาย
โค้งแหลม ม่านตาสแี ดง มขี นสีดำ�เหลือบนำ้ �เงินปกคลุมลำ�ตัว หางยาวสีดำ�
เหลอื บน้ำ�เงิน สามารถแผ่ออกคล้ายพัดได้ หลงั และปีกสนี ้ำ�ตาลแดง
แหลง่ อาศยั และพฤติกรรม
มักอยู่ตัวเดียวตามลำ�พังหรือเป็นคู่ มักหลบซ่อนตามชายป่า ป่ารก
หรือบางคร้ังในทีโล่งตามสนามหญ้า และมักอยู่ใกล้แหล่งนำ้ � เสียงร้อง
“ปดู๊ -ปู๊ด-ปดู๊ ดังก้อง”
การแพร่กระจาย
สามารถพบได้ทัว่ ทกุ ภาคในประเทศไทย
สถานภาพ
สถานะกงั วลนอ้ ยทสี่ ดุ (LC) โดยบญั ชแี ดงของสหภาพเพอ่ื การอนรุ กั ษ์
ธรรมชาติ (IUCN) ถูกจัดอยูใ่ นสถานะใกลส้ ญู พนั ธุ์ (EN) โดย Thailand
red data และจัดเป็นสัตว์ปา่ คุม้ ครอง
ชื่อไทย : นกกะเต็นอกขาว ช่อื ไทย : นกกะปูดใหญ่
ชอ่ื สามัญ : White-throated kingfisher ชือ่ สามญั : Greater coucal
ชือ่ วิทยาศาสตร์ : Halcyon smyrnensis ชอื่ วิทยาศาสตร์ : Centropus sinensis
.
.
130 | นก
นกกะรางหัวขวาน
Eurasian Hoopoe
ลกั ษณะ
เป็นนกขนาดกลาง ลำ�ตัวเพรียวยาวประมาณ 25-32 เซนติเมตร
เปน็ นกทม่ี ลี กั ษณะเดน่ ทจี่ ำ�งา่ ยคอื มหี งอนคลา้ ยหมวกของพวกอนิ เดยี แดงใน
อเมรกิ าสมยั กอ่ น เปน็ หงอนยาวมปี ลายสดี ำ� ขณะกางออกในแนวตงั้ คลา้ ยพดั
ปากเรียวยาวโค้ง ลำ�ตัว คอ อก มสี นี ้ำ�ตาลแดง ปีก หลงั และหางมสี ดี ำ�สลบั
กบั สขี าวตามแนวขวาง ทอ้ งดา้ นลา่ งและขนคลมุ ใตห้ างสขี าว มลี กั ษณะเหมอื น
กนั ทง้ั ตวั ผแู้ ละตวั เมยี แตต่ วั เมยี จะมขี นาดเลก็ กวา่ และสจี างกวา่ ตวั ผเู้ ลก็ นอ้ ย
แหล่งอาศัยและพฤติกรรม
มกั อาศยั อยเู่ ดยี่ ว ๆ ในพน้ื ทเ่ี กษตรกรรม และพน้ื ทโ่ี ลง่ ในปา่ โปรง่ อาหาร
โดยมากเป็นพวกแมลง สัตวเ์ ล้ือยคลานตัวเลก็ ๆ กบ เมล็ดพชื และผลไม้ขนาด .. .
เล็ก เสยี งรอ้ ง “ฮูป ฮูป ฮปู ” หรอื “ฮปู ปู ป”ู .... . . .
การแพรก่ ระจาย
มที ง้ั เปน็ นกประจำ�ถนิ่ และอพยพ สามารถพบไดท้ กุ ภาคไปในประเทศไทย
สถานภาพ
สถานะกงั วลนอ้ ยทส่ี ดุ (LC) โดยบญั ชแี ดงของสหภาพเพอื่ การอนรุ กั ษ์
ธรรมชาติ (IUCN) ไมไ่ ด้ถูกจัดสถานะโดย Thailand red data และจัดเป็น
สัตวป์ า่ คุม้ ครอง
นก | 131
นกกะรางหวั หงอก
iWnghtihteru-csrhested Laugh-
ลกั ษณะ
มีลำ�ตวั ยาวประมาณ 30 เซนติเมตร หวั มีหงอนต้งั เปน็ สันเด่นชัด
แถบตาดำ� หัว อก แลละลำ�ตวั ด้านล่างขาว ทา้ ยทอยและหลงั ตอนบนเทา ลำ�
ตวั ดา้ นบน สีขา้ ง และก้นมีสนี ำ้ �ตาลแดง หางสีน้ำ�ตาลคลำ้ � โคนหาง และโคน
ขาสีน้ำ�ตาลแดง แข้งสีดำ�
แหลง่ อาศัยและพฤติกรรม
ชอบอย่รู วมกนั เป็นฝูง อาศัยในป่าเบญพรรณ ป่าเตง็ รัง ป่าดบิ แลง้
ปา่ ดบิ เขา และปา่ ไผ่ อาหารไดแ้ ก่ ผลไทร ลกู หวา้ ลกู ใตใ้ บ กลบี ดอกไม้ หนอน
และแมลงเปน็ ตน้ ตวั เมียวางไขส่ ีขาวครงั้ ละ 2-6 ฟอง เสยี งรอ้ ง รวั ก้อง
ดัง บางคร้งั ฟังคลา้ ย “เจ๊ก-โกหก” หรอื อีเพา หัวหงอก
การแพร่กระจาย
สามารถพบได้เกือบทุกภาค ยกเว้นภาคใต้ของประเทศไทย
สถานภาพ
สถานะกงั วลนอ้ ยทสี่ ดุ (LC) โดยบญั ชแี ดงของสหภาพเพอื่ การอนรุ กั ษ์
ธรรมชาติ (IUCN) ไมไ่ ดถ้ กู จดั สถานะโดย Thailand red data และจัด
เปน็ สัตว์ปา่ คมุ้ ครอง
ช่ือไทย : นกกะรางหัวขวาน ชอื่ ไทย : นกกะรางหัวหงอก
ช่ือสามัญ : Eurasian Hoopoe ชอ่ื สามัญ : White-crested Laughingthrush
ช่อื วิทยาศาสตร์ : Upupa epops ชื่อวทิ ยาศาสตร์ : Garrulax leucolophus
.
.
132 | นก
นกกางเขนดง
White-rumped shama
ลกั ษณะ
ตัวผเู้ ตม็ วัยมีขนาดลำ�ตวั 28-30 เซนติเมตร ขนทห่ี วั ตวั และปกี มี
สีน้ำ�เงนิ เขม้ อมดำ� หน้าทอ้ งไปถึงก้นมสี นี ำ้ �ตาลแดง สะโพกสีขาว หางยาว บน
หางสนี ำ้ �เงนิ เขม้ อมดำ� ขนหางคนู่ อกสขี าว สว่ นตวั เมยี ขนาดเลก็ กวา่ มคี วามยาว
21-22 เซนติเมตร ขนที่หวั ตัว ปีกเป็นสีเทาเข้มหน้าท้องและหางสจี างสน้ั
กว่าตัวผู้
แหลง่ อาศยั และพฤติกรรม
เป็นนกทอ้ งถิ่นของไทย ชอบอยตู่ ัวเดยี ว บางครั้งออกหากินเปน็ คู่ มกั
ซ่อนตวั หลบศัตรูเก่ง กนิ อาหารพวกหนอน และแมลงต่างๆ เสียงรอ้ นแหลม
สูง สามารถร้องเป็นทำ�นองได้
การแพร่กระจาย ชอ่ื ไทย : นกกางเขนดง
สามารถพบไดท้ ัว่ ทุกภาคในประเทศไทย ชอ่ื สามัญ : White-rumped shama
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Copsychus malabaricus
สถานภาพ
ไม่ถูกสถานะโดยบัญชีแดงของสหภาพเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ
(IUCN) ไม่ได้ถูกจดั สถานะโดย Thailand red data และจดั เปน็ สัตวป์ ่า
ค้มุ ครอง
. .
.
นก | 133
นกกางเขนบา้ น
Oriental magpie robin
ช่ือไทย : นกกางเขนบา้ น สหภาพเพ่ือการอนุรักษ์ธรรมชาติ (IUCN) ไม่ได้ถูก
ชื่อสามัญ : Oriental magpie robin จัดสถานะโดย Thailand red data และจัดเป็น
ชอื่ วิทยาศาสตร์ : Copsychus saularis สัตว์ปา่ คุ้มครอง
ลักษณะ ..
มขี นาดประมาณ 23 เซนตเิ มตร ปากแหลมคม คอ
สน้ั ปกี กบั หางยาว ปลายหางมน แผอ่ อกเปน็ รปู พดั ขายาว
แขง็ แรง สว่ นลำ�ตวั มสี ขี าวดำ�สะดดุ ตา ตวั ผมู้ สี ดี ำ�เหลอื บ ๆ
บนหวั หนา้ อก และหลงั หางดำ�สลบั ขนหางคนู่ อกสขี าว ตวั
เมียมีหน้าอกสีเทาเข้ม ลำ�ตัวดำ�สนิท ซง่ึ ปีกทง้ั สองเพศมสี ี
ดำ�แถบขาวเหมอื นกนั
แหลง่ อาศยั และพฤติกรรม
มักอาศัยในป่าโปรง่ ปา่ ชายเลน พนื้ ท่เี กษตรกรรม
และตามชุมชน เป็นนกท่ีปรับตัวให้เข้ามาอาศัยร่วมกับคน
ได้ดี
การแพรก่ ระจาย
สามารถพบไดท้ ั่วทกุ ภาคในประเทศไทย
สถานภาพ
สถานะกังวลน้อยท่ีสุด (LC) โดยบัญชีแดงของ
น134ก| นกก าน้ำ�ปากยาว
Indian cormorant
ลักษณะ
คลา้ ยนกกานำ้ �ใหญ่ แตข่ นาดเลก็ กวา่ ปากเรียวบางกว่า หัว คอ และลำ�
ตวั ดา้ นลา่ งดำ� คอ ใตค้ อ กลางอก และกลางทอ้ งอาจมสี ขี าวแซม หนา้ ผากและ
เหนอื ตามขี ดี ขาวเลก็ ๆกระจาย ขา้ งหวั ดา้ นทา้ ยมกี ระจกุ ขนสขี าว หลงั สนี ้ำ�ตาล
เหลือบเป็นมัน ในขนชุดผสมพันธุ์ หวั คอ อก และลำ�ตัวดา้ นลา่ งดำ�เปน็ มนั
แหล่งอาศัยและพฤตกิ รรม
มักอาศยั ในหนอง บงึ ทะเลสาบ บอ่ เล้ียงก้งุ ปลา และตามชายฝงั่ ทะเล
ชือ่ ไทย : นกกานำ้ �ปากยาว
ชอ่ื สามัญ : Indian cormorant
ช่อื วิทยาศาสตร์ : Phalacrocorax fuscicollis
.
ชอบเกาะกิง่ ไมร้ ิมนำ้ �เพือ่ ดกั กนิ สัตวข์ นาดเลก็ และปลา เมือ่ พบเหยอ่ื จะดำ�นำ้ �ลง
ไปจบั ใต้นำ้ � และขน้ึ มากางปีกตากแดดบนตอไมห้ รือคันดิน
การแพร่กระจาย
สามารถพบได้ทวั่ ทกุ ภาคในประเทศไทย
สถานภาพ
สถานะกงั วลนอ้ ยทสี่ ดุ (LC) โดยบญั ชแี ดงของสหภาพเพอื่ การอนรุ กั ษ์
ธรรมชาติ (IUCN) ถกู จัดสถานะอยู่ในกลุม ใกลถ ูกคกุ คาม (NT) โดย Thai-
land red data และจดั เปน็ สัตวป์ า่ คุ้มครอง
นก | 135
นกกานำ้ �เล็ก
Little cormorant
ลักษณะ
มขี นาดความยาวลำ�ตัวประมาณ 50-52 เซนติเมตร ตามสี ีแดง
ปลายปากงุ้มเล็กน้อย มีถุงสีขาวใต้คาง คอและปากยาว ปีกใหญ่แข็งแรง
ปลายปกี มน เม่ือกางออกจะยาวไม่เกิน 23 เซนตเิ มตร หางยาวปานกลาง
ขาไม่สน้ั มาก ส่วนเทา้ เป็นพังผดื คล้ายเปด็ แตม่ ี 4 นิ้ว ขนคลุมลำ�ตวั มีสีดำ�
ปีกสีนำ้ �ตาลแซมเทาเกือบดำ� ด้านข้างของหัวมีขนขาวขึ้น โคนปากปรากฏสี
เหลืองจาง ๆ เลก็ น้อย
แหล่งอาศัยและพฤตกิ รรม
มกั อยูร่ วมกันเปน็ ฝูง อาศัยในลำ�คลอง ทุ่งนา หนองบงึ ทะเลสาบ บอ่
เลยี้ งกงุ้ ปลา และปา่ ชายเลน ชอบเกาะกง่ิ ไมร้ มิ น้ำ�เพอ่ื ดกั กนิ สตั วข์ นาดเลก็ และ
ปลา เมอื่ พบเหยือ่ จะดำ�น้ำ�ลงไปจับใต้นำ้ � และขึน้ มากางปกี ตากแดดบนตอไม้
การแพรก่ ระจาย
สามารถพบได้ทวั่ ทุกภาคในประเทศไทย
สถานภาพ
สถานะกงั วลนอ้ ยทสี่ ดุ (LC) โดยบญั ชแี ดงของสหภาพเพอ่ื การอนรุ กั ษ์
ธรรมชาติ (IUCN) ไมไ่ ดถ้ ูกจัดสถานะโดย Thailand red data และจดั
เปน็ สัตวป์ ่าคุ้มครอง
ช่ือไทย : นกกานำ้ �เลก็
ชอื่ สามัญ : Little cormorant
ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ : Microcarbo niger
.
น136ก| นกก าแวน
Racket-tailed treepie
ลกั ษณะ
เป็นนกขนาดเล็กถึงขนาดกลางลำ�ตัวยาวประมาณ 33 เซนติเมตร
ตัวผู้และตัวเมียลักษณะเหมือนกัน ลำ�ตัวเพรียว ขนสีดำ�เหลือบเขียวคลุมท่ัว
ท้ังตัว ม่านตาสีฟ้าอมน้ำ�เงิน มีขนสีดำ�คล้ายกำ�มะหย่ีอยู่รอบดวงตาและด้าน
หนา้ จะงอยปากใหญส่ เี ทาดำ� ปลายปกี มน หางยาว โดยโคนหางเรยี วเลก็ แลว้
คอ่ ยๆ กว้างข้นึ จนถงึ ปลายหางมลี ักษณะมนคล้ายพัด
แหล่งอาศยั และพฤติกรรม
มักอาศัยอยตู่ ามลำ�พัง แตบ่ างครง้ั อาจรวมกันเปน็ ฝูงบา้ ง ในปา่ โปร่ง
ป่าชายเลน ป่าละเมาะ และปา่ ไผ่ อาศยั อยเู่ ป็นคู่ หรือกล่มุ เลก็ ๆ ชอบเกาะหลบ
อยบู่ นตน้ ไมท้ ี่มพี ุ่มหรือใบทบึ และกระโดหากินตามกิง่ ไม้ เสยี งรอ้ ง “แกรก่ ...”
ช่อื ไทย : นกกาแวน
ชื่อสามญั : Racket-tailed treepie
ช่อื วิทยาศาสตร์ : Crypsirina temia
..
การแพร่กระจาย
สามารถพบไดท้ วั่ ทุกภาคในประเทศไทย
สถานภาพ
สถานะกงั วลนอ้ ยทสี่ ดุ (LC) โดยบญั ชแี ดงของสหภาพเพอ่ื การอนรุ กั ษ์
ธรรมชาติ (IUCN) ไม่ไดถ้ ูกจดั สถานะโดย Thailand red data และจดั เป็น
สตั ว์ป่าคมุ้ ครอง
นก | 137
นกกาเหว่า
Black-billed koel
ลักษณะ
ตัวผมู้ ีสดี ำ�แกมนำ้ �เงนิ เป็นเงา มปี ากเทาเขียว สจี าง มา่ นตาเปน็ สีแดง
เข้ม มขี าและเท้าสีเทา ส่วนตวั เมยี สีนำ้ �ตาลทย่ี อดหวั มลี ายออกแดง บรเิ วณ
หัว สว่ นหลงั ตะโพก และปีก เป็นสีนำ้ �ตาลมจี ดุ สขี าวหรอื เหลือง ทท่ี ้องมสี ี
ขาว มลี วดลายมาก
แหลง่ อาศัยและพฤตกิ รรม
อาศัยอยู่ในป่าโปร่ง และในพ้ืนท่ีเกษตรกรรม เป็นนกประจำ�ถ่ินในเขต
ร้อนรวมทั้งเอเชียใต้ (ประเทศอินเดีย, บังกลาเทศ, ศรลี ังกา) กนิ ท้ังพืชและ
สตั ว์ รวมท้ังแมลงตา่ งๆ นกท่ีโตแลว้ มักจะกนิ แต่ผลไม้ จะสง่ เสยี งร้องเก่งใน
ชว่ งฤดผู สมพนั ธ์ุ มเี สยี งรอ้ งไดห้ ลายแบบ เสยี งรอ้ ง “กา-เหวา่ ” เปน็ เสยี งรอ้ ง
ท่คี นุ้ เคย ส่วนตวั เมยี รอ้ งเสียงสงู ออกเป็น “คิก-คกิ -คกิ ...”
การแพรก่ ระจาย
สามารถพบได้ท่ัวทกุ ภาคในประเทศไทย
สถานภาพ
ไม่ถูกจัดสถานะโดยบัญชีแดงของสหภาพเพ่ือการอนุรักษ์ธรรมชาติ
(IUCN) และไมไ่ ด้ถกู จดั สถานะโดย Thailand red data จดั เป็นสัตวป์ า่
คุ้มครอง
ช่อื ไทย : นกกาเหวา่
ชื่อสามัญ : Black-billed koel
ชือ่ วิทยาศาสตร์ : Eudynamys scolopaceus
..
.
.
138 | นก
นกกง้ิ โครงคอดำ�
Black-collared Myna
ลักษณะ
เปน็ นกก้งิ โครงขนาดใหญ่ ปากสีดำ� หัวสขี าว บางตวั ออกสีครมี หรอื
สีเทาจาง หน้ามีหนงั สเี หลือง รอบคอมีแถบสดี ำ�ขนาดใหญ่ ลำ�ตวั ด้านบนและ
หางมีสดี ำ�อมนำ้ �ตาล ลำ�ตัวด้านล่าง ตะโพก และปลายหางมีสีขาว บรเิ วณใต้
ปกี มสี ีดำ� ขาสเี ทาเข้ม
ช่อื ไทย : นกก้งิ โครงคอดำ�
ชอ่ื สามัญ : Black-collared Myna
ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ : Gracupica nigricollis
.
แหล่งอาศัยและพฤตกิ รรม
อาศยั อยู่ในทงุ่ โลง่ พ้นื ท่เี กษตรกรรม และเขตชุมชน มักพบบินไปมาระ
หวา่ งตน้ ไม้ สง่ เสยี งรอ้ งดงั เสมอ ชอบลงมาเดนิ จกิ หนอนและแมลงกนิ ตามพน้ื
เสยี งร้องแหบแต่ดงั ก้องกงั วาน ฟงั คล้าย “อ้อย อี๋ เอียง”
การแพร่กระจาย
สามารถพบได้ทวั่ ทกุ ภาคในประเทศไทย
สถานภาพ
สถานะกงั วลนอ้ ยทสี่ ดุ (LC) โดยบญั ชแี ดงของสหภาพเพอื่ การอนรุ กั ษ์
ธรรมชาติ (IUCN) ไม่ไดถ้ ูกจัดสถานะโดย Thailand red data และจัดเป็น
สตั วป์ ่าคมุ้ ครอง
นก | 139
นกกนิ ปลีคอสีน้ำ�ตาล
Brown-throated Sunbird
ลกั ษณะ
ปากเรียวยาวสีดำ� ขาสีดำ� ตวั ผู้ หวั ถึงด้านหลังตอนบนสเี ขยี วเขม้
แก้มและคอสีนำ้ �ตาล แถบหนวด ไหล่ และตะโพก สีน้ำ�เงินแกมม่วง โคนปีกสี
น้ำ�ตาลแดง ปกี สเี หลืองแกมเขียว ด้านทอ้ งสเี หลือง หางสีเขยี วคลำ้ � ตัวเมยี
สีตัวด้านบนสเี ขียวไพล ดา้ นลา่ งสีเหลอื ง รอบตามีขนสเี หลอื งอ่อนคลา้ ยวง
ตาแต่เรียงไม่ตอ่ เน่ืองกัน
แหลง่ อาศยั และพฤติกรรม
ชอื่ ไทย : นกกนิ ปลคี อสนี ้ำ�ตาล พบในปา่ หลายแบบ ตลอดจนพน้ื ทเี่ กษตรกรรม หรอื สวนสาธารณะ กนิ
ชื่อสามญั : Brown-throated Sunbird นำ้ �ตอ้ ยจากดอกไม้ (Nectarivore) เสยี งร้อง “ชปี ” แหลมก้องดงั
ชือ่ วิทยาศาสตร์ : Anthreptes malacensis การแพรก่ ระจาย
สามารถพบไดท้ ัว่ ทกุ ภาคในประเทศไทย
สถานภาพ
สถานะกงั วลนอ้ ยทส่ี ดุ (LC) โดยบญั ชแี ดงของสหภาพเพอ่ื การอนรุ กั ษ์
ธรรมชาติ (IUCN) ไม่ไดถ้ กู จดั สถานะโดย Thailand red data และจดั
เปน็ สตั ว์ปา่ ค้มุ ครอง
.
140 | นก
นกกินปลีดำ�ม่วง
Purple Sunbird
ลักษณะ
ปากเรียวยาวสดี ำ� ขาสดี ำ� ตวั ผู้ หัว อก และหลัง สมี ่วงแกมนำ้ �เงิน คอ
สคี ล้ำ� แถบอกสีน้ำ�ตาลแดง ลำ�ตวั ด้านล่างสเี ข้มกว่าด้านบน ปีกและหางสีดำ�
ตัวเมีย ลำ�ตัวด้านบนสีเขียวไพล ลำ�ตัวด้านล่างตอนบนสีเหลืองอ่อน ตอน
ลา่ งสขี าว นกวยั ออ่ นคลา้ ยนกตวั เมยี ทเ่ี ตม็ วยั แตบ่ รเิ วณทอ้ งมสี อี อ่ นกวา่ มาก
ชื่อไทย : นกกนิ ปลีดำ�ม่วง
ชื่อสามญั : Purple Sunbird
ชื่อวทิ ยาศาสตร์ : Cinnyris asiatica
.
แหล่งอาศยั และพฤตกิ รรม
ป่าเต็งรัง ป่าโปร่ง ป่าชายหาด พื้นท่ีเกษตรกรรม กินนำ้ �ต้อยจาก
ดอกไม้ บางครงั้ พบกนิ แมลงขนาดเลก็ หากินตามลำ�พังตวั เดียว เป็นคู่ หรอื
เปน็ ฝงู ขนาดเลก็ มักหวงแหล่งอาหาร มีสว่ นชว่ ยในการผสมเกสร เสียงรอ้ ง
“สวี-สวี-สวดี ซซิ ิซิ”
การแพร่กระจาย
สามารถพบไดเ้ กอื บทุกภาค ยกเว้นภาคใต้ ของประเทศไทย
สถานภาพ
สถานะกงั วลนอ้ ยทส่ี ดุ (LC) โดยบญั ชแี ดงของสหภาพเพอื่ การอนรุ กั ษ์
ธรรมชาติ (IUCN) ไม่ได้ถูกจัดสถานะโดย Thailand red data และจัดเปน็
สัตวป์ า่ คมุ้ ครอง
นก | 141
นกกินปลอี กเหลือง
Olive-backed Sunbird
ลกั ษณะ
ปากเรยี วยาวสดี ำ� ขาสดี ำ� ขอบหางคูน่ อกและใตห้ างสขี าว ตัวผู้ ลำ�
ตวั ดา้ นบนสเี ขยี วแกมนำ้ �ตาล หนา้ ผาก คอ และอก มสี นี ำ้ �เงนิ เขม้ เหลอื บดำ�เปน็
มนั แถบอกสนี ้ำ�ตาลแดง ดา้ นทอ้ งตอนลา่ งสเี หลอื งสด ตวั เมยี ดา้ นหลงั สเี ขยี ว
คล้ำ�แกมเหลือง ด้านทอ้ งสเี หลือง แต่สีคอ่ นข้างออ่ นกว่าในตัวผู้ ค้วิ สีเหลือง
แหลง่ อาศยั และพฤติกรรม
ปา่ โปร่ง ป่าชายเลน ป่าพรุ พืน้ ท่เี กษตรกรรม และสวนสาธารณะ กนิ
น้ำ�ตอ้ ยจากดอกไม้ ร้องหลายเสียง เสียงร้องแหลมสูง “วิตวติ วติ -วว้ี ้ีว้ีด”
ชอื่ ไทย : นกกินปลีอกเหลือง การแพรก่ ระจาย
ชือ่ สามญั : Olive-backed Sunbird สามารถพบไดท้ ุกภาคในประเทศไทย
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ : Cinnyris jugularis
สถานภาพ
สถานะกงั วลนอ้ ยทสี่ ดุ (LC) โดยบญั ชแี ดงของสหภาพเพอ่ื การอนรุ กั ษ์
ธรรมชาติ (IUCN) ไม่ไดถ้ กู จดั สถานะโดย Thailand red data และจดั
เปน็ สัตว์ปา่ คมุ้ ครอง
.
142 | นก ชื่อไทย : นกแขกเต้า
ชือ่ สามญั : Red-breasted Parakeet
นกแขกเตา้ ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ : Psittacula alexandri
Red-breasted Parakeet
ลักษณะ
นกขนาดเลก็ ถงึ ขนาดกลาง ลำ�ตวั ยาว
ประมาณ 34 เซนติเมตร ตัวผู้กับตัวเมีย
ลักษณะคล้ายกัน คอื ตัวผมู้ ลี ำ�ตวั เพรียว คอ
สนั้ ปลายปกี แหลม หางเรยี วยาว ขนปกคลุม
ทงั้ ตวั ยาวลงมาถงึ ชว่ งขา ดวงตากลม จะงอย
ปากงุ้มสีแดงอมส้ม โดยจะงอยปากบนใหญ่
กวา่ จะงอยปากลา่ ง ขนบรเิ วณหวั สเี ทาอมมว่ ง
มแี ถบขนสดี ำ�ขนาดเลก็ พาดระหวา่ งตาทง้ั สอง
ข้าง และแถบขนสีดำ�ขนาดใหญ่พาดอยู่โคน
จะงอยปากดา้ นลา่ งและใตแ้ กม้ ขนบรเิ วณชว่ ง
อกสชี มพอู มสม้ ขนบรเิ วณชว่ งทอ้ ง หลงั และ
ปกี สเี ขยี วแกมเหลอื ง หางสเี ขยี วเขม้ หรอื เขยี ว
แกมน้ำ�เงิน ส่วนตัวเมียตา่ งจากตัวผ้เู ล็กนอ้ ย
คอื ขนบรเิ วณหวั สเี ทาแกมน้ำ�เงนิ เขม้ กวา่ ตวั ผู้
และจะงอยปากสีดำ� อาจพบสแี ดงอมส้มแซม
บ้าง แต่ไมเ่ ด่นชัด
แหล่งอาศัยและพฤติกรรม
อ า ศั ย อ ยู่ บ ริ เ ว ณ ป่ า เ ต็ ง รั ง ป่ า
เบญจพรรณ ป่าละเมาะ รวมถึงพ้ืนท่ี
เกษตรกรรม มักพบอยู่รวมกันเป็นฝูง ไต่
หากนิ ตามตน้ ไม้ ปีนป่ายก่ิงไม้ โดยเฉพาะ
ตน้ ทม่ี ีผลไมส้ ุก ชอบบินตามกนั เปน็ ฝูง แตฤ่ ดผู สมพันธ์ุอยกู่ ันเปน็ คู่ และสง่
เสียงรอ้ งดัง เสยี งรอ้ ง “แอก๊ -แอก๊ -แอก๊ ” ดังลน่ั ตดิ ตอ่ กนั
การแพร่กระจาย
สามารถพบไดท้ ่ัวทุกภาคในประเทศไทย
.
.
สถานภาพ
สถานะใกลถ กู คกุ คาม (NT) โดยบญั ชแี ดงของสหภาพเพอ่ื การอนรุ กั ษ์
ธรรมชาติ (IUCN) ไม่ได้ถูกจดั สถานะโดย Thailand red data และจัดเปน็
สัตว์ป่าคมุ้ ครอง
นก | 143
นกแก้วหัวแพร
Blossom-headed Parakeet
ลักษณะ
ขนาดเลก็ กวา่ นกแกว้ ชนดิ อนื่ ปากใหญห่ นาแขง็ แรง ปากบน
งองุ้มตั้งแต่โคนปากจนถึงปลายปาก แหลมคมแข็งแรงคลุมปลาย
ปากล่าง ปากบนสเี หลอื ง ปากลา่ งสดี ำ� ขาสีดำ� ขนตัวเขยี ว ขนปีก
จะสเี ขม้ กวา่ ตวั เล็กน้อย ทหี่ วั ไหล่มีแถบสแี ดง หางสีฟา้ ปลายเหลือง
ตัวผู้ หนา้ สีชมพทู ้ายทอยสเี ทา คอมเี ส้นสดี ำ�เปน็ วงรอบ ตัวเมีย หัว
สีเทา รอบคอสีเหลือง
แหลง่ อาศัยและพฤตกิ รรม
ป่าผลัดใบ ชายป่าดิบ บางครั้งพบในพ้ืนท่ีเกษตรกรรม มัก
อยู่รวมกันเป็นฝูง และอยู่ตามยอดไม้สูง เสียงร้องก้องแหลม แต่
เบากว่านกแกว้ ชนดิ อื่น “พวี”้
การแพร่กระจาย
สามารถพบได้เกือบทุกภาค ยกเว้นภาคใตข้ องประเทศไทย
สถานภาพ
สถานะใกลถูกคุกคาม (NT) โดยบัญชีแดงของสหภาพเพ่ือ
การอนรุ ักษธ์ รรมชาติ (IUCN) สถานะใกลถ ูกคกุ คาม (NT) โดย
Thailand red data และจัดเปน็ สตั วป์ า่ คมุ้ ครอง
ชื่อไทย : นกแกว้ หัวแพร
ช่อื สามญั : Blossom-headed Parakeet
ช่อื วทิ ยาศาสตร์ : Psittacula roseata
.
144 | นก
นกขมน้ิ ทา้ ยทอยดำ�
Black-naped Oriole
ลักษณะ ชอื่ ไทย : นกขมิ้นทา้ ยทอยดำ�
ชื่อสามญั : Black-naped Oriole
ตวั ผู้ ปากแหลมโคง้ ปลายเลก็ นอ้ ย ชื่อวิทยาศาสตร์ : Oriolus chinensis
ปากสชี มพสู ม้ ขาดำ� ตาแดง ตวั และดา้ น
บนหัวสีเหลืองสด แถบคาดตาขนาด .
ใหญ่สีดำ�และเช่ือมกันท่ีท้ายทอย ปีก
และหางสีดำ�และเหลอื ง ตัวเมยี ลกั ษณะ
ทวั่ ไปคลา้ ยตวั ผู้ แตห่ ลงั และปกี สเี หลอื ง
แกมเขียว นกวัยอ่อนคล้ายนกเพศเมีย
แต่ขนเขียวคล้ำ�กว่า แถบตาไม่ชัดเจน
ท้องขาวหรือเหลืองแกมขาว มีจุดสีดำ�
กระจาย ปากสีดำ�
แหล่งอาศัยและพฤติกรรม
ชายป่า ป่าโปรง่ ป่าชายเลน สวน
สาธารณะ มกั ซอ่ นตวั ในพมุ่ รกๆมากกวา่
มาเกาะกง่ิ โลง่ ๆ อาหารของนกชนดิ นคี้ อื
แมลงทพี่ บตามยอดไม้ เช่นด้วง จกั จ่นั
ไขแ่ ละตวั อ่อนของแมลง หนอน และผล
ไม้สุก เสยี งร้องแหบดงั “แสก่ ”, “แคร่”,
“แอ่”
การแพร่กระจาย
สามารถพบได้ทกุ ภาคในประเทศไทย
สถานภาพ
สถานะกงั วลนอ้ ยทส่ี ดุ (LC) โดยบญั ชแี ดงของสหภาพเพอื่ การ
อนุรกั ษ์ธรรมชาติ (IUCN) ไมไ่ ด้ถูกจดั สถานะโดย Thailand red
data และจัดเปน็ สตั ว์ปา่ ค้มุ ครอง
นก | 145
นกขม้นิ น้อยธรรมดา
Common Iora
ลกั ษณะ
เป็นนกขนาดเลก็ ปากส้นั เล็ก แหลมเรยี วสเี ทา ขาสีดำ� ตวั ผู้
รอบตาสเี หลอื งแตไ่ มเ่ ดน่ ชดั หวั และตวั ดา้ นบนเขยี วแกมเหลอื ง ดา้ น
ท้องเหลืองสด หางดำ� ปีกมีแถบสีขาวสองแถบ ตัวเมีย รอบตา
เหลอื ง สซี ีดกวา่ ตวั ผู้ ปกี คล้ำ� แถบขาวไมเ่ ดน่ ชดั เทา่ ตัวผู้
แหล่งอาศยั และพฤติกรรม
ปา่ โปรง่ ป่าชายเลน สวนสาธารณะ พ้นื ท่ีเกษตรกรรม ชอบ
กระโดดบนก่ิงไม้ หาหนอนและแมลงตามกิ่งไม้หรือใบไม้ มักออก
หากินช่วงเชา้ ถงึ สาย เสียงร้องแหลมใส “จ๊ี-จอ่ ” ลากเสียงยาว “วิด
วิด วดิ ” คล้ายผิวปาก
การแพร่กระจาย
สามารถพบได้ทุกภาคในประเทศไทย
สถานภาพ
สถานะกังวลน้อยท่ีสุด (LC) โดยบัญชีแดงของสหภาพเพื่อ
การอนุรักษ์ธรรมชาติ (IUCN) ไมไ่ ดถ้ ูกจัดสถานะโดย Thailand
red data และจัดเปน็ สตั ว์ปา่ คุม้ ครอง
ชือ่ ไทย : นกขมน้ิ น้อยธรรมดา .
ชื่อสามญั : Common Iora .
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ : Aegithina tiphia
146 | นก
นกเขาชวา ชอ่ื ไทย : นกเขาชวา
ชอ่ื สามัญ : Zebra dove
Zebra dove ชอ่ื วิทยาศาสตร์ : Geopelia striata
ลกั ษณะ . .
.
รปู ทรงรา่ งคลา้ ยนกเขาใหญ่ แตม่ ี
ขนาดเล็กกว่าลำ�ตัวยาวประมาณ 21-
22 เซนติเมตร จะงอยปากแหลมเลก็
ปลายงุ้ม ตัวสีนำ้ �ตาลเทา มีลายขวาง
เปน็ ชั้นๆ สดี ำ�ทีค่ อ หลงั ปีก และดา้ น
ขา้ งตวั อกและทอ้ งสนี ้ำ�ตาลแกมเทาหรอื
ชมพู ขาชมพแู ดง มีแถบขดี เล็กๆ หลงั
ตาสีขาวอมเทา ตัวผู้ หน้าสีเทาแกมฟ้า
ข้างคอเทา ตัวเมยี หนา้ สอี อกนำ้ �ตาล มี
ลายตัง้ แต่อกถึงท้อง
แหลง่ อาศยั และพฤติกรรม
ไมน่ ยิ มหากนิ เปน็ ฝงู พบไดต้ ามปา่
โปรง่ บา้ นเรอื นชมุ ชน พน้ื ทเ่ี กษตรกรรม
พ้ืนที่โล่ง พบได้ง่าย มักพบหากินเป็น
ฝงู บางครั้งพบปะปนกบั นกพิราบ หรอื
นกเขาใหญ่ เสียงรอ้ ง “อุด ออุ ุอุอ้”ู รวั
เป็นจังหวะก้องกังวาน ชอบขันบ่อยๆ
ซึ่งเป็นการร้องเพื่อประกาศอาณาเขต
หรอื ดงึ ดดู เพศตรงขา้ ม ชอบหากนิ บนพนื้ ดนิ มกั กนิ เมลด็
ธัญพชื และเมล็ดหญา้ เป็นอาหาร
การแพรก่ ระจาย
สามารถพบได้ทัว่ ทกุ ภาคในประเทศไทย
สถานภาพ
สถานะกังวลน้อยท่ีสุด (LC) โดยบัญชีแดงของ
สหภาพเพอ่ื การอนรุ ักษ์ธรรมชาติ (IUCN) ไมไ่ ด้ถกู จดั
สถานะโดย Thailand red data และไม่ถูกจัดเป็น
สตั วป์ า่ คมุ้ ครอง
นก | 147
ช่อื ไทย : นกเขาไฟ นกเขาไฟ
ช่อื สามญั : Red Collared Dove
ช่อื วทิ ยาศาสตร์ : Streptopelia tranquebarica Red Collared Dove
ลกั ษณะ
เปน็ นกตวั ไมโ่ ตลำ�ตวั ยาวไมเ่ กนิ 23 เซนตเิ มตร ดวงตากลมดำ� ปาก
เล็กสดี ำ� ปากหนายาว ปลายงุ้ม ขาสีแดง ตัวผู้ หัวสีเทา คอดา้ นหลงั มีแถบ
สดี ำ�พาด ตวั น้ำ�ตาลแดงแกมม่วง ปีก และหลังสเี ข้มกวา่ ด้านทอ้ ง ปีกตอน
ปลายเทาดำ� ตะโพกและใต้หางสขี าว ตัวเมีย ลักษณะท่วั ไปคลา้ ยตัวผู้ แต่ขน
ตัวและปกี เป็นสีโทนนำ้ �ตาล
แหลง่ อาศยั และพฤตกิ รรม
ออกหากินในช่วงเลากลางวันตามชายป่า พ้ืนที่เกษตรกรรม แหล่ง
ชุมชน พื้นท่ีโล่ง มักพบรวมกันเป็นฝูงใหญ่กว่านกเขาชนิดอ่ืนๆ เสียงร้อง
“ครุ่ด อู่ ครู่” กอ้ งในลำ�คอ
การแพร่กระจาย
สามารถพบไดท้ วั่ ทุกภาคในประเทศไทย
สถานภาพ
สถานะกงั วลนอ้ ยทส่ี ดุ (LC) โดยบญั ชแี ดงของสหภาพเพอื่ การอนรุ กั ษ์
ธรรมชาติ (IUCN) ไม่ได้ถูกจัดสถานะโดย Thailand red data และจัด
เปน็ สัตวป์ ่าคุม้ ครอง
.
148 | นก
นกแขวก
Black-crowned Night Heron
ลักษณะ
นกขนาดใหญ่ ปากยาวหนาสดี ำ� ตาสี
สม้ นยั นต์ าดำ� ขาสเี หลอื ง ดา้ นบนหวั ทา้ ยทอย
หลงั และปกี มสี เี ทาอมนำ้ �ตาล หนา้ ผากและคอ
ขาว อกขาว ดา้ นทอ้ งสขี าว ทา้ ยทอยมขี นเปยี
สขี าว 2 เส้น ตวั เมียมีเปยี สั้นกวา่ ตัวผู้ นก
วัยอ่อนสีขนจะเป็นสีเทาอมนำ้ �ตาล มีลายจุด
นำ้ �ตาลอ่อนที่หลังกับปีก มีลายขีดสีเทาอม
นำ้ �ตาลท่ีชว่ งอกถึงกลางทอ้ ง
แหล่งอาศยั และพฤติกรรม ช่ือไทย : นกแขวก
ทุ่งนา ป่าชายเลน พื้นท่ีชุ่มน้ำ�ต่างๆ ชอ่ื สามญั : Black-crowned Night Heron
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ : Nycticorax nycticorax
สามารถปรับตัวในถ่ินอาศัยได้หลากหลาย
จึงสามารถพบได้ใกล้แหล่งนำ้ �หลายประเภท .
หากนิ กลางคนื เปน็ หลกั แตบ่ างคร้งั พบลา่ เหย่ือตอนกลางวัน มกั
พบเกาะนิ่งบนต้นไม้ที่อยู่ใกล้นำ้ � หรือยืนน่ิงตามริมนำ้ �เพื่อรอจับ
เหย่อื เสียงรอ้ ง “แควก้ -แควก้ ”
การแพรก่ ระจาย
สามารถพบได้ท่ัวทกุ ภาคในประเทศไทย
สถานภาพ
สถานะกงั วลนอ้ ยทสี่ ดุ (LC) โดยบญั ชแี ดงของสหภาพเพอ่ื
การอนรุ กั ษธ์ รรมชาติ (IUCN) ไมไ่ ดถ้ กู จดั สถานะโดย Thailand
red data และจัดเปน็ สัตว์ป่าคุ้มครอง
นก | 149
นกค่มุ อดื อกลาย ช่ือไทย : นกคุ่มอดื อกลาย
ชอื่ สามัญ : Barred buttonquail
Barred buttonquail ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ : Turnix suscitator
ลักษณะ .
เปน็ นกค่มุ อดื ทพี่ บบ่อยท่สี ดุ ลำ�ตัวดา้ นบนมสี ีเทาอมนำ้ �ตาล มลี ายสี
ดำ�กระจาย กระหมอ่ มและหน้ามีลายจุดสีเน้อื และมลี ายบง้ั สดี ำ�กระจายอยู่ ลำ�
ตวั ด้านล่างสนี ำ้ �ตาลแดงกระจางๆ หางคอ่ นข้างสน้ั มาก ปากและขาสเี ทา ตัวผู้
คอสีขาว กลางอกไมม่ ีสีดำ� ตัวเมีย คอและกลางอกมสี ีดำ�
แหล่งอาศยั และพฤติกรรม การแพรก่ ระจาย
สามารถพบไดท้ ่ัวทกุ ภาคในประเทศไทย
อาศัยอย่บู ริเวณปา่ ละเมาะ ทงุ่ โล่ง และพื้นทเ่ี กษตรกรรม มักไลจ่ ิกกนิ
แมลง และเมล็ดพชื ตามกอหญา้ หรอื ตามซงั ข้าวรกๆ ทำ�ให้มองหาตวั ไดย้ าก สถานภาพ
สว่ นใหญม่ กั พบเหน็ ไดข้ ณะออกหากนิ ในทโี่ ลง่ หรอื รมิ ทางเดนิ ตอนเชา้ และเยน็ สถานะกงั วลนอ้ ยทส่ี ดุ (LC) โดยบญั ชแี ดงของสหภาพเพอื่ การอนรุ กั ษ์
ธรรมชาติ (IUCN) ไมไ่ ด้ถกู จดั สถานะโดย Thailand red data และจัด
เสียงรอ้ ง “ฮูน-ฮนู -ฮูน-ฮนู ” เป็นสัตวป์ ่าคุ้มครอง
150 | นก
นกเค้าแมว
Asian Barred Owlet
ลักษณะ
ตาเหลอื งนยั นต์ าดำ� ขาเหลอื ง มกี รง
เลบ็ ยาวสดี ำ� ปากสเี หลอื งอ่อน หัวและลำ�ตวั
ดา้ นบนสนี ้ำ�ตาลและมลี ายขวางสนี ำ้ �ตาลออ่ น
ควิ้ สขี าว ไม่มลี ายคลา้ ยตาปลอมทที่ า้ ยทอย
อกและสีข้างสีน้ำ�ตาลแดง ท้องสีขาว มีขน
คลุมขาสีขาว และมีลายเปรอะสีน้ำ�ตาลอ่อน
กรงเลบ็ สีดำ�
แหลง่ อาศยั และพฤตกิ รรม
ป่าดิบค่อนข้างโปร่ง ป่าโปร่ง สวน
ผลไม้ ออกหากนิ ตอนกลางคืน เปน็ นกนัก
ลา่ มกั กนิ สัตวเ์ ลี้ยงลูกดว้ ยน้ำ�นมขนาดเล็ก
เชน่ หนู หรอื กนิ นกชนดิ อนื่ ทมี่ ขี นาดเลก็ กวา่
รวมทง้ั สตั วส์ ะเทนิ นำ้ �สะเทนิ บกและสตั วเ์ ลอ้ื ย
คลานดว้ ย เสียงร้อง “อวู้ อุอู้ ออุ ู้ อุอ้-ู อุอ”ู้
ชว่ งทา้ ยรวั เรว็ หรือดังแหบ “กว้าก-กวา้ ก”
การแพรก่ ระจาย
สามารถพบได้เกือบทุกภาค ยกเว้น
ภาคใตข้ องประเทศไทย
สถานภาพ
สถานะกังวลน้อยท่ีสุด (LC) โดย
บัญชีแดงของสหภาพเพ่ือการอนุรักษ์
ธรรมชาติ (IUCN) ไม่ได้ถูกจัดสถานะโดย
Thailand red data และจดั เป็นสัตวป์ ่า
คุ้มครอง
▲ตวั ผู้
ชื่อไทย : นกเค้าแมว นกเค้าโมง . .
ชือ่ สามัญ : Asian Barred Owlet
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ : Glaucidium cuculoides .
.