The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปี 2562

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by datacenter.lph, 2021-11-03 05:37:04

รายงานประจำปี 2562

รายงานประจำปี 2562

47รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

รายละเอยี ด ปงี บประมาณ ผลการดาเนนิ งาน
2560 2561 2562
Trauma
Fast tract Abdominal  มแี นวทาง Fast Tract Abdominal injury
injury
TBI FAST TRACT  มแี นวทาง TBI FAST TRACT (ผา่ ตัดสมอง
(ผา่ ตดั สมองภายใน 60 นาที) ภายใน 60 นาที)
Heart
โครงการ Pre-Admit ใน  มีแนวทางการเตรียมความพรอ้ มในการผา่ ตัด
ผปู้ ุวยผา่ ตดั หัวใจ เพอื่ เตรยี ม หวั ใจ ลดการเล่ือนการผา่ ตัด
ความพรอ้ มในการผ่าตัดหวั ใจ
ลดการเล่อื นการผา่ ตัด   มีระบบการใหส้ ขุ ศกึ ษา ในผู้ปวุ ยผา่ ตัดหัวใจ
โครงการลดการ Re-admit *พัฒนา
ในผปู้ วุ ยผา่ ตัดหัวใจโดยใช้
ระบบสุขศกึ ษา 27 ก.ย.61 27 ก.ย.62 ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการ >90%
โครงการวันหวั ใจโลก
CANCER   มีระบบการใหบ้ ริการการดแู ลผู้ปวุ ย CA Breast,
CA Breast, CA Colon, CA *เพ่มิ CA CA Colon, CA Bladder
Bladder, CA Liver Liver

โครงการ October Day พา ต.ค.60 ต.ค.61 ผเู้ ข้าร่วมประชมุ 90%
กันตรวจเต้านม
โครงการ Cancer Day ต.ค.60 ส.ค.-ก.ย. ผเู้ ขา้ รว่ มประชมุ 90%

โครงการพัฒนาคุณภาพชีวติ ข้อเสนอแนะ: นา่ จะจดั เต็มวัน และแยกมะเรง็ แต่
ผ้ปู วุ ยโรคมะเร็งต่อมลกู หมาก
ละระบบ เหมอื นปีก่อนๆ
โครงการคัดกรองผู้ปวุ ย
โรคมะเร็งลาไส้ พ.ย.60 ผู้เข้ารว่ มโครงการ 90%
Service plan
Wound care clinic ขอ้ เสนอแนะ: ให้มกี ารคัดกรองโรคเกยี่ วกับตอ่ ม

โครงการ One Day Surgery ลกู หมาก

โครงการอบรม การดแู ล 6 ส.ค.61 ผู้เขา้ ร่วมประชุม 90% และผลการใช้ FIT
ผู้ปุวยแผลเร้อื รัง
พฒั นาการดูแลผปู้ วุ ยกลุม่ Screening 100%
เส่ียงภาวะไตเสื่อมในผปู้ ุวย
ผ่าตดั ไต (CKD in Single  มีคลนิ ิกWound care และมีระบบการให้บรกิ าร
Kidney with Collateral การดูแลแผล Chronic Wound
Nephrectomy)
25 เม.ย.61 * เพิม่ 24 มีแนวทางการดาเนนิ งาน One Day Surgery
* 12 โรค โรค

30-31 2 ส.ค.62 ผู้เข้าร่วมประชุม 96% มีข้อเสนอแนะคอื
พ.ค.61 - อยากใหจ้ ัดใหค้ วามรู้ในเรอื่ งอื่นๆ นอกจากแผล

ก.ค.61 - จดั ทา Guideline Single Kidney with
Collateral Nephrectomy.
- จดั ทา Guideline Pre Op for
Nephrectomy

48 รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

5. ผลงานที่ภาคภมู ใิ จ/ผลงานเดน่ ปงี บประมาณ 2560 - 2562
1) ผลงาน A Comparison of Treatment Results between Decompressive Craniectomy with

Blood Clot Removal and Craniotomy with Blood Clot Removal on Basal Ganglion
Hemorrhage. Thai Journal of Surgery. Jan-Mar 2017, Vol.38 Issue 1, p1-6. 6p.
ผรู้ บั ผิดชอบ นพ.อตนิ าท ศรรี ัตน์

2) ผลงาน Alvarado Score is a Helpful Tool to Improve Outcomes of Acute Appendicitis
at Lampang Regional Hospital ; Thai Journal of Surgery. Oct – Dec 2017, Vol.38 Issue
4, p125-130. 6p. ผ้รู ับผิดชอบ นพ.สหธรรม สมนิ ทรปัญญา

3) ผลงาน Isolate Segment 8 Liver Resection : Experience at Lampang Regional Hospital;
Thai Journal of Surgery. Jul – Sep 2016, Vol.37 Issue 3, p87-91. 5p
ผรู้ ับผิดชอบ นพ.อนวุ ัชช์ จันทร์ทิพย์

4) ผลงาน Agenesis of inferior vena cava associated with acute bilateral common iliac
vein thrombosis and hypoplastic right kidney (KILT syndrome) in a 54 years old
female; Thai Journal of Surgery. Jul–Sep 2017, Vol.38 Issue 3, p104-108. 5p.
ผรู้ ับผิดชอบ นพ.อนุวัชช์ จนั ทรท์ ิพย์

5) ผลงาน Comparison of Superficial Surgical Site Infection Between Delayed Primary
Versus Primary wound Closure in complicated Appendicitis Ann Surg. 2018 Apr ;
267(4) ; 631-637 ผรู้ ับผดิ ชอบ นพ.อนวุ ชั ช์ จันทร์ทพิ ย์

6) ผลงาน ตาราศลั ยศาสตรท์ ัว่ ไป เลม่ 26 Innovation in General Surgery 2018 หัวข้อเรอื่ ง
“Colonic Diverticular Disease” May 2018 Vol 26 ISBN 978-616-8061-04-6
ผรู้ ับผดิ ชอบ นพ.วิวัฒน์ ลีวิรยิ ะพนั ธุ์

7) ผลงาน ประสบการณผ์ า่ ตัดนาลม่ิ เลือดอดุ ตนั ออกจากหลอดเลอื ดแดงพัลโมนารี ในโรงพยาบาลลาปาง
; ลาปางเวชสาร ปที ่ี 38 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถนุ ายน 2560 ผู้รับผดิ ชอบ พญ.บุญทรัพย์ ศกั ดบิ์ ญุ

8) ผลงาน Repair of Atrial septal Defect at Lampang Regional Hospital ; Thai Journal of
Surgery. Oct-Dec 2015, No.4 ผ้รู บั ผิดชอบ นพ.เจริญ ชีวินเมธาสิริ

9) ผลงาน Off-Pump CABG as a ‘Routine’ practice without patient selection
ผรู้ บั ผิดชอบ นพ.ณฐั พล อารยวฒุ กิ ลุ

49รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

10) ผลงาน Off-Pump coronary artery bypass grafting
in LV dysfunction: Low ejection fraction is not a
risk factor for early mortality but influences on
midterm survival. ผรู้ บั ผดิ ชอบ นพ.ณฐั พล อารยวฒุ ิกลุ

11) โล่ประกาศเกยี รตคิ ุณศลั ยแพทยด์ ีเด่น ประจาปี 2562
ของราชวิทยาลัยศัลยแพทย์แหง่ ประเทศไทย วันท่ี 13 กรกฎาคม 2562 ท่ี โรงแรมแอมบาสซาเดอร์
ซิตี้ จอมเทยี น ชลบุรี ผ้รู บั ผดิ ชอบ นพ.ณัฐพล อารยวฒุ ิกุล

12) รางวลั แพทย์แพทย์ในดวงใจของจงั หวดั ลาปาง ตามโครงการแพทย์ในดวงใจ 77 จังหวดั แพทย
สมาคมแหง่ ประเทศไทย วนั ท่ี 1 มนี าคม 2562 ผู้รบั ผดิ ชอบ นพ.ณฐั พล อารยวุฒกิ ลุ

13) ผลงาน KM ยอดเยีย่ ม เรอื่ งการดแู ลแผลเรือ้ รัง (ปี2560)
ผรู้ บั ผิดชอบ หอผู้ปวุ ยศัลยกรรมตกแต่ง และไฟไหม้ นา้ รอ้ นลวก

14) ผลงาน ประสทิ ธผิ ลของนวตั กรรมการทาแผล
ดว้ ย Advance wound dressing ในผู้ปวุ ยทม่ี ภี าวะเนอ้ื
เน่าตาย หอผู้ปวุ ยศลั ยกรรมหญิง โรงพยาบาลลาปาง. (ปี
2561) ผรู้ ับผดิ ชอบ หอผู้ปุวยศัลยกรรมหญิง

15) การนาเสนองาน KM เรอื่ ง พฒั นาแนวทางการดแู ลผู้ปุวยหลอดเลือดดาคัง่ ทข่ี าเร้อื รัง (ปี2561)
(Nursing care for Chronic venous leg ulcer) ผรู้ บั ผดิ ชอบ หอผ้ปู วุ ยศลั ยกรรมตกแตง่

16) การนาเสนองานวิจัย เร่อื ง พฒั นาการให้ความรูแ้ ละความสามารถในการดูแลตนเองของผู้ปุวยทม่ี ี
ทวารเทียมในหอผู้ปวุ ยศลั ยกรรม (ปี 2561) ผรู้ บั ผิดชอบ พบ.สายสมร วรรณประเวช หอผ้ปู ุวย
ศลั ยกรรมชาย

17) การนาเสนองาน KM เร่อื ง แนวทางการพฒั นาการวางแผนจาหนา่ ยในผ้ปู ุวยผ่าตดั หัวใจ
ผู้รับผดิ ชอบ หอผู้ปุวย CVT

18) การนาเสนองานเรือ่ ง ปัจจัยท่มี ีผลทาใหผ้ ้ปู ุวยมะเร็งเต้านมDelay Detection มาพบแพทยช์ ้าใน
ระยะ Stage 3-4 (ปี 2562) ผรู้ บั ผิดชอบ หอผูป้ วุ ยศัลยกรรมหญงิ

50 รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

กลมุ่ งานกมุ ารเวชกรรม

1. โครงสร้างหน่วยงาน ปงี บประมาณ 2562 (ข้อมูล ณ วันท่ี 30 กันยายน 2562)

นายแพทยท์ รงวุฒิ ทรัพย์ทวสี นิ
ผู้อานวยการโรงพยาบาลลาปาง

นายแพทย์จรัล ปนั กองงาม
รองผอู้ านวยการฝาุ ยการแพทย์คนท่ี 1

แพทย์หญิงกุลธดิ า พงศ์เดชอุดม
หวั หน้ากลุ่มงานกุมารเวชกรรม

งานบริการผปู้ วุ ยนอก งานบริการผ้ปู วุ ยใน งานตรวจพิเศษ

2. อัตรากาลงั (ข้อมูล ณ วนั ที่ 30 กันยายน 2562)

บุคลากร ข้า ลูกจ้าง จานวน (คน) ลูกจ้าง รวม หมาย
ราชการ ประจา ชั่วคราว เหตุ
1. แพทย์ พนักงาน พนกั งาน
2. พยาบาล 16 ราชการ กระทรวงฯ
3. ผ้ชู ่วยเหลือคนไข้ 60
4. เลขาแพทย์ - - - - - 16
-
รวม 76 - 2 1 4 67

- - 15 6 21

- - - 11

0 2 16 11 105

51รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

3. ศกั ยภาพในการให้บรกิ าร 4 คน
มีแพทย์ดา้ นกุมารเวชศาสตร์ จานวน 16 คน มีแพทยเ์ ชีย่ วชาญสาขาดงั ต่อไปน้ี 3 คน
2 คน
- กมุ ารเวชศาสตร์ 1 คน
- กมุ ารเวชศาสตรเ์ ฉพาะทางอนสุ าขาทารกแรกเกิดและปริกาเนิด 1 คน
- กมุ ารเวชศาสตร์เฉพาะทางอนสุ าขาโลหิตวิทยาและมะเรง็ ในเดก็ 1 คน
- กมุ ารเวชศาสตรเ์ ฉพาะทางอนุสาขาระบบทางเดินหายใจ 1 คน
- กุมารเวชศาสตร์เฉพาะทางอนสุ าขาโรคหวั ใจ 1 คน
- กมุ ารเวชศาสตร์เฉพาะทางอนุสาขาโรคไต
- กมุ ารเวชศาสตรเ์ ฉพาะทางอนุสาขาประสาทวิทยา
- กมุ ารเวชศาสตร์เฉพาะทางอนสุ าขาพัฒนาการและพฤตกิ รรม

จุดเดน่ /จดุ แขง็ ในการใหบ้ รกิ าร
- มีความเชี่ยวชาญในการใหบ้ ริการเฉพาะทางหลายสาขา
- เป็น Excellence center สาขาทารกแรกเกดิ มะเร็งในเด็ก และโรคหวั ใจในเด็ก
- One-day EEG clinic stop unit (โรงพยาบาลชมุ ชนท่ีห่างไกล และโรงพยาบาลแพร่/นา่ น)

อปุ กรณท์ ท่ี ันสมัย
- Therapeutic Hypothermia เป็นอุปกรณท์ างการแพทย์ใชส้ าหรบั ลดอณุ หภูมิของร่างกายให้ตา่

กวา่ ปกติ ใช้ในการรักษา ปอู งกนั หรอื บรรเทาภยันอนั ตรายท่ีเกิดกับเซลลส์ มองในทารกทม่ี ภี าวะ
Birth asphyxia

4. ผลการดาเนินงาน/กิจกรรม/สถติ ิ ปีงบประมาณ 2560 – 2562

รายละเอียด หน่วยนบั ป2ี 560 ปี 2561 ปี 2562

1. จานวนผ้รู ับบริการ 42,513 25,407
7,558 7,927
- ผปู้ ุวยนอก ราย 39,654 4,951 5,415
2,607 2,512
- ผูป้ วุ ยใน ราย 7,162
76 76
o ผปู้ วุ ยทั่วไป ราย 4,458 6,803 7,337
19,159 24,729
o ทารกมีชีวติ + BBA ราย 2,704 2.82 3.04
69.07 74.61
2. งานบริการผปู้ ุวยใน 2,607 2,512

- จานวนเตียง (ไม่รวม ICU) เตยี ง 88

- จานวนผปู้ ุวยรบั ใหม+่ รับยา้ ย ราย 6,033

- จานวนวนั นอนในหอผ้ปู วุ ย วนั 17,621

- เฉลี่ยผ้ปู ุวยนอนในหอผปู้ ุวย วัน 2.92

- อัตราครองเตยี ง % 54.86

3. ทารกคลอดมีชวี ติ ทง้ั หมด (รวม BBA) ราย 2,704

52 รายงานประจาปี 2562 หนว่ ยนบั ป2ี 560 ปี 2561 ปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง
ราย 309 299 263
รายละเอียด ราย 47 50 39
4. ทารกปุวย ราย 21 29 44
ราย 0 0 0
- น้าหนัก < 2,500 กรัม ราย 52 21 62
- นา้ หนกั > 4,000กรมั ราย 273 288 279
5. ทารกพกิ าร / ผดิ ปกตแิ ตก่ าเนิด ราย 2,063 1,908 2,466
6. ผปู้ ุวยมารดาทิ้ง (เฉพาะรายใหม)่
7. เดก็ มีภาวะเสย่ี งจากการสมั ผัสมารดาทม่ี ปี ญั หา ราย 2,701 2,627 2,837
8. เดก็ อยใู่ นต้อู บ ราย 0 ๐ 0
9. การให้ภูมคิ ุม้ กัน ( เรม่ิ มิถนุ ายน 2558 )
ราย 0 0 0
9.1 บริการฉดี บี ซี จี (BCG) ราย - - -
ราย - - -
- ในเดก็ แรกเกดิ ราย 226 237 159
- ในคลินิกเด็กสุขภาพดี / เดก็ อายุเกนิ 1 ปี ราย 139 141 155
9.2 บริการฉีด DPT
ราย 326 241 197
เขม็ ท่ี 1 อายุต่ากวา่ 1 ปี / 1ปี ขึ้นไป ราย 287 203 152
เขม็ ท่ี 2 อายตุ ่ากว่า 1 ปี / 1ปี ข้นึ ไป ราย 262 216 145
เข็มที่ 3 อายุต่ากวา่ 1 ปี
กระตนุ้ เขม็ ท่ี 1 (1½ปี) ราย 326 241 197
ราย 287 203 152
เข็มท่ี 2 (4ปี) ราย 262 216 145
9.3 บริการฉีด DPT + HBV ราย 226 237 159
ราย 139 141 155
เขม็ ท่ี 1 อายตุ ่ากวา่ 1 ปี
เขม็ ท่ี 2 อายตุ า่ กวา่ 1 ปี ราย 287 199 151
เขม็ ที่ 3 อายุต่ากวา่ 1 ปี
9.4 บรกิ าร OPV (ชนดิ กิน) ราย 0 1 0
ครั้งท่ี 1 อายุต่ากว่า 1 ปี / 1 ปี ขึน้ ไป ราย - - -
ครั้งท่ี 2 อายตุ ่ากวา่ 1 ปี / 1 ปี ขนึ้ ไป ราย - - -
ครั้งท่ี 3 อายตุ า่ กว่า 1 ปี / 1 ปี ข้ึนไป ราย - - -
กระตนุ้ คร้งั ที่ 1 (1½ปี)

ครั้งที่ 2 (4ปี)
9.5 บริการ OPV (ชนดิ ฉดี )

เดก็ อายุ 4 เดอื น
9.6 บรกิ ารฉีดวัคซีนคอตีบ บาดทะยัก (DT)

เขม็ ท่ี 1
เข็มท่ี 2
เขม็ กระตุน้
คอตบี + บาดทะยัก

53รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

รายละเอียด หนว่ ยนับ ปี2560 ปี 2561 ปี 2562
9.7 วคั ซีนเฉพาะอ่นื ๆ
- วคั ซนี MEASLESอายตุ า่ กว่า 1 ป/ี MR 1 ปีขนึ้ ราย 0 238 107
- วัคซีน MMR ราย 240 226 174
- วคั ซนี ปอู งกนั ไขส้ มองอักเสบ เขม็ ท่ี 1 ราย 212 256 178
ราย 147 246 213
เข็มที่ 2 ราย 0 - -
เขม็ กระต้นุ ราย 15 4 4
- ตบั อกั เสบ B เขม็ ท่ี 1 ราย 22 25 21
เขม็ ท่ี 2 ราย 0 0 2
เขม็ ท่ี 3 ราย - - -
- NEWBORN ราย 2,701 2,627 2,889
9.8 ฉดี วติ ามนิ K ในเด็กแรกคลอด
10.งานคลนิ ิกสุขภาพเด็กดี(เร่ิม มถิ นุ ายน 2558) ราย 2,063 1,908 1,403
10.1 ประเมนิ การเจรญิ เตบิ โตดา้ นร่างกายและจิตใจ
ตามเกณฑ์อายเุ ด็ก 0-5 ปี ราย 130 34 26
- น้าหนักต่ากวา่ เกณฑ์ ราย 112 39 10
- น้าหนักมากกว่าเกณฑ์ ราย 1,821 1,835 866
- นา้ หนักตามเกณฑ์ ราย 2,063 1,908 1,403
10.2 ประเมินโภชนาการเดก็ 0-4 ปี ราย 2,063 1,908 1,403
10.3 คัดกรองพัฒนาการเดก็ 0-6 ปี ราย 64 86 47
- พบพัฒนาการไม่สมวยั ราย 724 - -
10.4 คดั กรองโรคออทสิ ติกในเด็ก 1-6 ปี ราย 3 - -
- พบผดิ ปกติ ราย 991 825 759
10.5 ตรวจฟนั ราย 870 235 1,403
10.6 สขุ ศึกษาผู้ปกครอง + BF คร้งั 1,325 1,723 1,355
11. คลินิกพฒั นาการเดก็ (รบั บริการทัง้ หมด) ราย 188 221 93
11.1 เดก็ ทพี่ ฒั นาการผดิ ปกตแิ ละได้รบั การฝกึ กระต้นุ
พฒั นาการ ราย 188 221 47
11.2 เดก็ เข้ารบั การฝึกกระตนุ้ พฒั นาการทกุ ดา้ น (OT)

54 รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

5. ผลงานท่ีภาคภมู ิใจ/ ผลงานเดน่ ปี 2562
1) ผลการใช้แนวปฏบิ ตั ิการสง่ เสรมิ พฒั นาการตอ่ สรรี วิทยา การเจริญเติมโตและระยะเวลานอนของ

ทารกแรกเกดิ กอ่ นกาหนด โรงพยาบาลลาปาง
1.1) ผลงานวจิ ัยยอดเย่ยี ม LPAC 2019
1.2) ผลงานวิจัยยอดเยี่ยม Hornets 2019
1.3) ผลงานวิจัยดีเดน่ การประชมุ เครอื ข่ายพัฒนาคุณภาพบรกิ ารพยาบาลเขตสขุ ภาพท1ี่ ปี 2562
1.4) ผลงานการพฒั นางานประจาสูง่ านวิจยั เขตสขุ ภาพที่ 1 ระดับตติยภมู ิ ระดบั รองชนะเลศิ ของ
การประชุมเชิงปฏบิ ัตกิ ารเวทีแลกเปลีย่ นเรียนรู้ R2R นวัตกรรมเขตสขุ ภาพท่ี 1

ผูร้ ับผดิ ชอบ นางสาวแคทรียา อินทยศ พยาบาลวชิ าชพี หอผ้ปู ุวยทารกแรกเกดิ วิกฤต
2) นวตั กรรมหมวกอนุ่ ไอรัก ไม่ไดม้ กี ารนาเสนอ แต่ เป็นความภาคภูมิใจของหน่วยงานทีส่ ร้างนวัตกรรม

การดแู ลทารกเกิดก่อนกาหนดโดยเฉพาะได้นามาใช้กับกล่มุ ทารกทีเ่ กดิ ก่อนกาหนด นา้ หนักนอ้ ยกวา่
1,500 กรัม เพื่อช่วยในการปอู งกันภาวะ Hypothermia ขณะไปรับท่ี LR/OR และส่งต่อมาที่ NICU
เปน็ ทย่ี อมรบั ในทีมของทารกแรกเกิด
ผู้รบั ผดิ ชอบ นางสาวอังคณา โตลามะ และเจ้าหนา้ ท่ที ุกคนในหอผู้ปุวยอภิบาลทารกแรกเกดิ
3) งานวิจัย Oral presentation งานประชมุ วชิ าการโรงพยาบาลลาปาง ครั้งท่ี 11 ประจาปี 2562 เร่อื ง
ปจั จยั ทานายความสาเรจ็ ในการหย่าเคร่ืองชว่ ยหายใจในผปู้ ุวยเด็ก โรงพยาบาลลาปาง
ผรู้ ับผิดชอบคณุ ธรชิ ญา รกั ษ์กิตตกิ ุล พยาบาลวิชาชีพหอผปู้ ุวยเด็กวกิ ฤต
4) โครงการปีงบประมาณ 2562

4.1) Good clinical practice in neonatology
4.2) Congenital heart screening in newborn
4.3) Pediatric Emergency (1th Annual conference)
4.4) นเิ ทศงานท่ี โรงพยาบาลเกาะคา การสอน การดแู ลผูป้ วุ ยโรคระบบทางเดนิ หายใจในเด็ก

และการใช้ High flow nasal cannula

55รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

กลุ่มงานสตู ิ - นรีเวชกรรม

1. โครงสร้างหนว่ ยงาน ปีงบประมาณ 2562 (ข้อมลู ณ วันท่ี 30 กันยายน 2562)

นายแพทยท์ รงวฒุ ิ ทรพั ยท์ วสี นิ
ผ้อู านวยการโรงพยาบาลลาปาง

นายแพทย์จรลั ปนั กองงาม
รองผอู้ านวยการฝาุ ยการแพทยค์ นท่ี 1

แพทยห์ ญงิ ศริ ิพร ปาละวงศ์
หวั หน้ากลุม่ งานสตู ิ – นรเี วชกรรม

งานบริการผู้ปวุ ยนอก งานบรกิ ารผปู้ วุ ยใน งานตรวจพเิ ศษ งานแพทยศาสตรศ์ กึ ษา

2. อตั รากาลงั (ข้อมูล ณ วันที่ 30 กนั ยายน 2562)

บุคลากร ข้า ลูกจา้ ง จานวน (คน) ลกู จา้ ง รวม หมาย
ราชการ ประจา ชั่วคราว เหตุ
1. แพทย์ พนักงาน พนักงาน
2. พยาบาล 15 ราชการ กระทรวงฯ
3. พนกั งานช่วยเหลอื คนไข้ 27
4. พนักงานท่ัวไป - - - - - 15
-
รวม 42 - - - 2 29

1 - 12 2 15

- - 3 -3

1 0 15 4 62

56 รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

3. กจิ กรรมผลการดาเนนิ งาน ปงี บประมาณ 2560 - 2562

รายการ ปงี บ 2560 ปีงบ 2561 ปีงบ 2562

1. งานบริการผู้ปุวยนอก 946 660

1.1 ห้องฝากครรภ์ 10 4
2 ๖
- ผูฝ้ ากครรภร์ ายใหม่ 1,143 26 39
178 128
- ผลการตรวจเลอื ดครั้งที่ 1 622 592
1 0
o ตดิ เช้ือ HIV 6 64 89
1,609 757
o ตดิ เชอ้ื ซฟิ ิลิส 4
694 660
o ติดเช้อื ตับอกั เสบบี 20 47 41

o โลหติ จาง 241 44 39
0 0
- ไดร้ ับการตรวจเลือดครง้ั ท่ี 2 699
2 0
o ติดเช้ือซฟิ ิลสิ 0 3 3
4 2
o โลหิตจาง 86 7 0

- ครรภเ์ ส่ียงสูงรายใหม่ 1,481 157 160
2 2
1.2 คลนิ กิ โรคถ่ายทอดทางพนั ธุกรรม 1 2

1) งานปูองกันและควบคุมโรคธาลสั ซีเมยี 7,468 8,006
2,914 2,931
- หญิงตง้ั ครรภ์รายใหมไ่ ดร้ บั การตรวจคัดกรองธาลัสซเี มยี 812 344 542
24
- หญิงต้ังครรภ์เส่ียงมีบุตรเป็นโรคธาลสั ซีเมยี ชนิดรนุ แรง 47 -

- หญิงตงั้ ครรภไ์ ดร้ บั การตรวจวินจิ ฉยั ก่อนคลอด

o Cordocentesis 44

o Amniocentesis 0

- บตุ รในครรภ์เปน็ โรคธาลสั ซเี มียชนดิ รนุ แรง

o Homozygous beta-thalassemia 0

o Betathalassemia/Hemoglobin E 4

o Hb Bart’s hydrop fetalis 1

- ยตุ กิ ารตั้งครรภ์ 5

2) งานปูองกันและควบคมุ ทารกกลุม่ อาการดาวน์

- หญงิ ตั้งครรภ์ไดร้ บั การตรวจคัดกรองดาวนซ์ นิ โดรม(ทุกวิธ)ี 174

- บุตรในครรภเ์ ป็นทารกกลุ่มอาการดาวน์ 1

- ยตุ กิ ารตงั้ ครรภ์ 0

1.3 หอ้ งตรวจนรเี วชกรรม

- นรีเวชกรรมทวั่ ไป 8,177

- คลินิกมะเร็งอวยั วะสบื พนั ธสุ์ ตรี 2,746

- คลนิ ิกวัยทอง 364

- OSCC 59

57รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

รายการ ปงี บ 2560 ปีงบ 2561 ปงี บ 2562

1.4 ห้องวางแผนครอบครวั 5,964 5,661
5 22
- ผู้รบั บรกิ ารทงั้ หมด 6,207 30 17
327 329
- ผู้รับบรกิ ารใสห่ ว่ งอนามัย 4 274 203
22 14
- ผู้รบั บรกิ ารยาเมด็ คุมกาเนดิ 37 2,604
5,326 514
- ผู้รบั บรกิ ารฉดี ยาคุมกาเนิด 429 458
29
- ผู้รับบรกิ ารยาฝงั คมุ กาเนิด 269 43 27
40 561
- ผู้รับบริการถงุ ยางอนามัย 43 163 1,043
756
- ตรวจ pap smear 6,219 693
698 387
- ตรวจหลังคลอด 537 100 33
30 25
- รบั คาปรกึ ษาแนะนากอ่ นมีบุตร 13 221
11 60
o หญงิ 44 321 33
30 17
o ชาย 39 24 79
11 111
- คลินิกมบี ตุ รยาก 213 65 433
137 4
- คลินิกตอ่ มไร้ทอ่ ทางนรีเวช/คลนิ กิ ผ่าตัดผ่านกลอ้ ง 676 8 75
94 33
1.5 หอ้ งตรวจพเิ ศษทางนรีเวชกรรม 8

- ขดู มดลกู 703

- Biposy 362

- Marsupialization 51

- I&D 14

- Electric cauterization จ้ีหดู บรเิ วณอวยั วะสบื พันธุด์ ว้ ยยา 12

- Polypectomy 211

- Excision 75

- Suture/Resuture 30

- IUI 14

- Pap smear 62

- Colposcopy 224

- Cryotherapy 7

- LEEP conization 79

- Abdominal paracenthesis 7

58 รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

รายการ ปีงบ 2560 ปงี บ 2561 ปีงบ 2562
2. งานบริการผปู้ ุวยใน
2,690 2,639 2,494
2.1 งานหอ้ งคลอด 2,666 2,607 2,468
- ผูร้ ับบรกิ ารคลอดทัง้ หมด 24 31 25

o ครรภ์เด่ียว 0 1 1
o ครรภ์แฝดสอง 1,281 1,112 1,069
o ครรภ์แฝดสาม 1,247 1,392 1,320
- วธิ คี ลอดครรภ์เด่ียว 23 36 27
o คลอดปกติ 108 104 90
o ผ่าคลอด 15 10
o ใชค้ มี 9 10
o ใช้เครอ่ื งดูดสุญญากาศ 13 7 119
o คลอดทา่ กน้ ทางชอ่ งคลอด 204 157 12
o คลอดกอ่ นมาถึงโรงพยาบาล 22 17
- จานวนมารดาคลอด อายุ< 20 ปี มารดาวัยรนุ่ ตง้ั ครรภซ์ ้า 107/0
- หญงิ คลอด มภี าวะแทรกซอ้ นสตู กิ รรม 138/4 141/0 54
o PIH / Eclampsia 44 48 31
o APH 40 39
o PPH (Early) 195
- หญิงคลอด มภี าวะแทรกซ้อนอายรุ กรรม 199 218 40
o DM 51 46 237
o Hyperthyroid - 221* 186
o Anemia ( Lab III ) 231 266 235
- เจบ็ ครรภก์ อ่ นกาหนดแตไ่ มค่ ลอด 281 240 131/122
- การคลอดกอ่ นกาหนด 177/134 167/137
- LBW (Preterm/IUGR)
* ตั้งแต่ ม.ี ค. – ก.ย. 2561

59รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

รายการ ปีงบ 2560 ปงี บ 2561 ปีงบ 2562
2.2 ผปู้ ุวยสตู ิกรรม 2,957 2,835 3,112
- ATR 767 721 651
- Late PPH 15 13 11
- หญิงหลังคลอดวัยรนุ่ ฝังยาคุมกาเนดิ 120 96 75
2.3 ผู้ปวุ ยนรีเวชกรรม 1,775 1,427 1,254
- PID 79 84 55
- C.A. Cervix 63 62 96
- C.A. Corpus 64 48 109
- C.A. Ovary 67 41 106
- Female genital prolapse 54 50 72
- Abnormal uterine and vaginal bleeding 59 57 18
2.4 ผลงานผ่าตดั ทางนรเี วช
- TAH +/- SO 162 237 245
- SO/ Salpingec./ Oophorec./ STR/ Lysis adhesion 86 55 102
- Vaginal Hysterectomy + AP repair 42 44 62
- Explore lap 13 24 24
- Minor Surgery (F/C, Cervical cerclage, Suture, etc.) 38 62 56
2.4.1 ผลงานผา่ ตัดทางมะเรง็ นรเี วช
- Complete Surgical Staging 95 70 69
- Incomplete Surgical Staging
- Radical Hysterectomy with Pelvic node dissection 9 21 19
- Wide Local Excision 0 3 7
2.4.2 ผลงานผ่าตัดผ่านกลอ้ งทางนรเี วช
- Lap Exam with / without Dye injection 91 81 124
- Lap SO / Salpingectomy / Oophorec. / Lysis
36 26 50
adhesion NA 6
- TLH / LAVH NA 20 32
- NOTE NA 7 3
- Single Port Cystec. / Salpingec. / Oophorec. 0 4
- Single Port TLH 0 5
- Hysteroscope
- Reverse TR

60 รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง
4. ผลงานท่ีภาคภูมใิ จ/ผลงานเดน่ ปงี บประมาณ 2562
1) ศูนยส์ ง่ ตอ่ และรักษาโรคมะเร็งอวัยวะสืบพันธ์สุ ตรีโดยแพทย์เฉพาะทางดา้ นมะเร็งนรีเวช
(นพ.ศริ ิชยั เชอื้ เมืองพาน, พญ.ชญาดา วงศส์ ุวรรณ, พญ. อไุ รวรรณ คมไพบลู ยก์ ิจ)
- ให้บริการการตรวจรกั ษา รับปรกึ ษาวนิ ิจฉยั รกั ษาโรงมะเรง็ นรีเวช และเคสนรีเวชที่ผ่าตดั
ยาก โดยให้การรกั ษาดว้ ยวธิ กี ารผา่ ตดั วนั ทาการผา่ ตัดอยา่ งนอ้ ย 2 วันตอ่ สัปดาห์เพ่อื ให้คิวผ่าตัด
ผ้ปู ุวยไม่นานเกนิ 1 เดอื น โดยรับส่งตอ่ ผปู้ ุวยจากในเขตภาคเหนอื และนอกเขต ท้งั ในจงั หวัดลาปาง
แพร่ น่าน และจังหวดั พะเยา ครอบคลุมพ้ืนท่เี กือบครงึ่ หน่งึ ของภาคเหนอื ตอนบน

- การตดิ ตามผ้ปู วุ ยหลงั รกั ษา รวมถงึ ให้การรักษาแบบประคบั ประคองแบบครบวงจรร่วมกบั
คลินิกประคบั ประคอง คลินกิ ระงับปวด และคลินกิ กญั ชาทางการแพทย์

- การรบั ประสานงานระหว่างเครอื ข่ายเพ่อื ให้การรักษาดว้ ยการฉายแสงที่โรงพยาบาลมะเรง็
ลาปาง โดยมีการรว่ มมือให้คาปรึกษาระหว่างกนั ระหว่างโรงพยาบาลอย่างต่อเนอ่ื ง ร่วมผลกั ดันใหม้ ี
การประชมุ สหสาขาระหวา่ งโรงพยาบาลเปน็ ประจา เดือนละ 1-2 คร้งั เพ่อื ปรบั ปรงุ และพัฒนาระบบ
การรกั ษาระหวา่ งแผนกและระหวา่ งโรงพยาบาลอยา่ งต่อเนือ่ ง

61รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

- ใหก้ ารวินจิ ฉยั รักษา และตดิ ตาม
เคสผ้ปู วุ ยรอยโรคกอ่ นเปน็ มะเรง็ ในเคส
ผู้ปวุ ยทีม่ ีเซลลผ์ ิดปกติท่ปี ากมดลกู โดยใช้
กล้องส่องปากมดลกู ที่มีความละเอยี ดสูง
และใชเ้ คร่อื งมอื ตดั ปากมดลูกดว้ ยหว่ งไฟฟาู ที่
ทนั สมยั

- สง่ เสรมิ ให้มกี ารใหค้ วามรู้เรอ่ื งการปูองกันรักษาโรคมะเรง็ กับประชาชนท่ัวไป เช่น รว่ มจัด
กิจกรรม cancer day ร่วมกบั ทางโรงพยาบาลเป็นประจาทกุ ปี เพอ่ื ใหค้ วามรเู้ รอื่ งโรงมะเรง็ ทางนรี
เวชและการปูองกนั รกั ษา

2) เพมิ่ ศักยภาพด้านการผ่าตดั ผ่านกล้องทางนรเี วช
(นพ.ประเทือง เหล่ียมพงศาพุทธิ, นพ.เถลิงศักดิ์ เนตรศริ ินิลกลุ , นพ.ศรัณย์ อา่ สาอางค์)
ขยาย วันทาการผา่ ตัดผา่ นกล้องจากเดิม 1 วันต่อสปั ดาห์เปน็ 3 วันต่อสปั ดาห์ และ
พัฒนาการผ่าตัดในทกุ รูปแบบอาทเิ ชน่
- การผ่าตัดผา่ นกล้องแบบด้งั เดิม (Conventional laparoscopic surgery)
- การผ่าตัดผ่านกลอ้ งชนดิ แผลเดยี ว (Single port laparoscopic surgery)
- การผ่าตดั ผา่ นกล้องแบบไร้แผลโดยผา่ นทางช่องทางธรรมชาติ (Natural orifice
transluminal endoscopic surgery, NOTES)

62 รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง
3) เปดิ ให้บริการการผ่าตดั ผา่ นกล้องทางโพรงมดลูก (Hysteroscopic surgery)
(นพ.เถลิงศกั ดิ์ เนตรศริ นิ ิลกลุ , นพ.ศรัณย์ อ่าสาอางค์)
โดยไมจ่ าเป็นตอ้ งสง่ ต่อผู้ปวุ ยไปรักษาต่อท่ี โรงพยาบาลมหาราชนครเชยี งใหม่เหมือนในอดตี
รวมทั้งเปดิ ให้บริการผ่าตัด ผา่ นกล้องทางโพรงมดลูกแบบ One day surgery ในผปู้ วุ ยทีม่ ีปญั หาไม่
ซับซอ้ น

4) เปดิ ใหบ้ ริการคลินิกพเิ ศษทางด้านเวชศาสตรก์ ารเจริญพันธ์ุ (Reproductive Medicine)
โดยให้บรกิ ารด้วยสูตินรีแพทย์อนุสาขาเวชศาสตรก์ ารเจรญิ พันธ์ุ / นพ.เถลงิ ศักดิ์ เนตรศริ นิ ลิ กลุ
4.1) เปดิ บรกิ ารคลินิกผูม้ บี ตุ รยาก (Infertility clinic) ทกุ วนั จันทร์ พุธ ศุกร์
- ใหบ้ ริการผทู้ ม่ี าเตรียมความพรอ้ มกอ่ นการต้ังครรภ์ ผ้ทู ีม่ ปี ัญหามบี ตุ รยาก ผู้ทม่ี ีปญั หาแทง้
บตุ รซ้าซาก
- - ให้การรกั ษาผมู้ บี ตุ รยากด้วยเทคโนโลยผี สมเทยี ม (IUI) ซ่งึ ประกอบดว้ ยเคร่อื งมือทางด้าน
Andrology ทีม่ ีมาตรฐานและทันสมยั อาทเิ ช่น เครื่องตรวจคณุ ภาพอสุจิดว้ ยระบบ
คอมพวิ เตอร์ และชุดอุปกรณก์ ารเตรียมน้าเช้อื สาหรับกระบวนการผสมเทยี ม (IUI)
- ใหก้ ารรกั ษาผู้มีบตุ รยากด้วยเทคโนโลยเี ด็กหลอดแก้ว (IVF/ICSI) โดยอาศยั ความรว่ มมือกบั
โรงพยาบาลมหาราชนครเชยี งใหม่ ซึง่ สามารถเพ่มิ ความสะดวกในการเข้าถงึ บรกิ ารใหแ้ ก่
ผู้ปวุ ยไดม้ ากขึ้น

4.2) พฒั นาคลินิกตอ่ มไรท้ อ่ ทางนรีเวช (Gynecologic endocrinology clinic) ทุกวนั
จนั ทร์ พธุ ศกุ ร์ ใหบ้ ริการโรคต่อมไร้ท่อทางนรเี วชทซี่ ับซอ้ นไดม้ ากขึ้น โดยไมจ่ าเป็นตอ้ งส่ง
ต่อผู้ปุวยไปรกั ษาต่อท่ี โรงพยาบาลมหาราช นครเชียงใหมเ่ หมือนในอดตี

63รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

4.3) พฒั นาคลินกิ สตรีวัยหมดประจาเดือน (Menopause clinic) ทกุ วันศกุ ร์ ให้บริการสตรี
วยั หมดประจาเดือนอยา่ งทัว่ ถึงและถูกตอ้ งตามหลักวิชาการ เพ่ือสุขภาวะที่ดขี องสตรีวัยหมด
ประจาเดือนซึ่งถือเป็นหน่งึ ในปัญหาของสังคมผ้สู งู อายุทม่ี ีจานวนประชากรกลุ่มน้ีเพม่ิ มากข้ึน
ในปัจจบุ ัน โดยเฉพาะภาวะ Postmenopausal osteoporosis ซงึ่ ในอดตี ไม่ไดม้ กี ารดแู ล
ตรงสว่ นนใี้ นคลนิ ิกสตรวี ยั หมดประจาเดอื นเดมิ

4.4)
5) ให้บริการดูแลหญิงต้ังครรภท์ ั่วไปและหญงิ ตัง้ ครรภเ์ สี่ยงสูง

ให้การดแู ลรกั ษาหญิงฝากครรภ์ที่มีความเสย่ี งสงู เชน่ มีโรคประจาตวั ทางอายรุ กรรม ครรภแ์ ฝด และ
โรคทีเ่ กิดขึ้นระหวา่ งตง้ั ครรภ์ เชน่ เบาหวานขณะตัง้ ครรภ์ เพือ่ ปอู งกันภาวะแทรกซ้อนในมารดาและทารกใน
ครรภ์ ใหต้ งั้ ครรภแ์ ละคลอดบุตรไดอ้ ยา่ งปลอดภัย โดยให้บรกิ ารรบั ฝากครรภ์ปกติทุกวันจนั ทร์-ศกุ ร์ โดยสตู ิ
แพทย์ และให้บริการครรภ์ความเสย่ี งสงู ทกุ วนั พุธ โดยแพทย์เฉพาะทางดา้ นมารดาและทารกในครรภ์

6) เป็นศูนยใ์ หบ้ ริการการวินิจฉยั โรคด้านโรคถ่ายทอดทางพนั ธุกรรมและความผิดปกตใิ นทารกกอ่ นคลอด
(นพ.สุวิทย์ พิชยาพนั ธ์, พญ ดารนิ ทร์ อโรร่า,พญ.วรลักษณ์ เอี่ยมสาอาง และ พญ.พทั รดา อา่ สาอางค์)

ใหก้ ารวนิ จิ ฉัย ตรวจคดั กรองและการวินิจฉัยกอ่ นคลอด โดยแพทยผ์ เู้ ช่ียวชาญมีประสบการณ์สงู และ
แพทยเ์ ฉพาะทางดา้ นมารดาและทารกในครรภ์ โดยมีคลินิกธาลสั ซีเมีย ทกุ วนั อังคาร และคลินิกเจาะน้าครา่
และเจาะเลือดจากสายสะดอื ทกุ วนั องั คาร

7) โครงการปูองกันการคลอดก่อนกาหนด
จดั ให้มีการคดั กรองหญงิ ต้ังครรภ์ท่มี ีความเสยี่ งในการคลอดกอ่ นกาหนด โดยใหม้ ีการอลั ตราซาวน์

ปากมดลกู ทกุ เคสอยา่ งน้อย 1 ครง้ั ในช่วงอายคุ รรภ์ 18- 24 สัปดาห์โดยสตู แิ พทย์ พรอ้ มกบั การอัลตราซาวน์
คัดครองความผิดปกติ มีกาารเบิกจา่ ยยาฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนเพ่ือใช้ปูองกนั คลอดก่อนกาหนดในรายทม่ี ี
ความเส่ยี งสูง รวมถงึ การเย็บผูกปากมดลกู ในผปู้ ุวยทม่ี ปี ากมดลูกหลวมหรือส้ันผดิ ปกติ

8) โครงการปอู งกนั การต้งั ครรภ์ในวยั รุ่น
มีโครงการปอู งกันการตง้ั ครรภใ์ นวยั รุ่น ตอบสนองนโยบายกระทรวงสาธารณสุข โดยพบมารดาวัยร่นุ

ตงั้ ครรภซ์ า้ ลดลงเรอ่ื ยๆ และสนับสนุนการคุมกาเนิดระยะยาว เช่น ยาฝังคมุ กาเนดิ และยาฉีดคมุ กาเนิด ไดถ้ ึง
รอ้ ยละ 75 ของมารดาวยั รนุ่

64 รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

กลุ่มงานศัลยกรรมออรโ์ ธปิดิกส์

1. โครงสรา้ งหน่วยงาน ปีงบประมาณ 2562 (ขอ้ มลู ณ วนั ที่ 30 กนั ยายน 2562)

นายแพทยท์ รงวฒุ ิ ทรัพย์ทวสี นิ
ผอู้ านวยการโรงพยาบาลลาปาง

นายแพทยจ์ รลั ปันกองงาม
รองผ้อู านวยการฝุายการแพทย์คนที่ 1

นายแพทยน์ รตั ว์ ประสพโชค
หัวหน้ากล่มุ งานศัลยกรรมออรโ์ ธปิดกิ ส์

งานบริการผ้ปู วุ ยนอก งานบริการผู้ปวุ ยใน งานบริการผ่าตดั งานวชิ าการ

2. อัตรากาลงั (ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2562)

บคุ ลากร ขา้ ลกู จ้าง จานวน (คน) ลกู จา้ ง รวม หมาย
ราชการ ประจา ชัว่ คราว เหตุ
1. แพทย์ พนักงาน พนักงาน
2. พยาบาล 11 ราชการ กระทรวงฯ
3. พนกั งานช่วยเหลือคนไข้ 43
4. เลขาแพทย์ - - - - - 11
5. พนักงานเปล -
- - - 1 8 52
รวม 54
2 - 9 - 11

1 - 1 -2

- - 1 -1

3 0 12 8 77

65รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

3. กิจกรรมผลการดาเนนิ งาน / กิจกรรม / สถติ ิ ปงี บประมาณ 2560-2562

รายละเอยี ด หน่วยนับ ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562
23 พค. 62
1. โครงการฟน้ื ฟูวชิ าการพยาบาล 2 ครั้ง 25 เมย .61 13 มิย. 62

ศัลยกรรมออรโ์ ธปดิ ิกส์ 25 พค .61 6,7,8
มีค.62
2. จดั ประชมุ หลกั สูตรการพยาบาลออรโ์ ธปิ 3 ครง้ั 19-23 มคี . 61 กพ.61-กค.62

ดกิ ส์ รว่ มกับเขตบรกิ ารสขุ ภาพที่ 1 (3 (15 วัน) 23-27 เมย.61 อยู่ในระหวา่ ง
ดาเนนิ การ
Modules) 21-25 พค.61
ก.ค. 62 เป็น
3. จดั อบรมเชิงปฏบิ ัติการเรื่องการชว่ ยฟ้นื 3 ครั้ง 14,15,16 มีค 12,2,14 ต้นไป
ตลอดปี
คนื ชพี สาหรับบคุ ลากรในหนว่ ยงานหอ 60 กพ.61

ผู้ปุวยออรโ์ ธปดิ ิกส์

4. โครงการพฒั นาคุณภาพการบรกิ าร 1 คร้งั

พยาบาลเป็นงานวิจยั 1 เรื่อง ช่อื เร่อื ง การ

ฝึกการทรงตวั ในผสู้ ูงอายหุ ลังผ่าตดั กระดูก

สะโพกหกั เพอื่ ปอู งกันการหกั ของกระดกู

สะโพกซ้า

5. โครงการพัฒนาคณุ ภาพการบรกิ าร

พยาบาลเปน็ งานวิจัย 1 เร่อื ง ชื่อเรือ่ งผล

ของการใช้โปรแกรมบรหิ ารข้อไหล่ ตอ่

ความสามารถในการเคลอ่ื นไหวขอ้ ไหล่ ของ

ผปู้ วุ ยหลังผา่ ตัดส่องกลอ้ งซ่อมเอน็ ข้อไหล่

6. โครงการผ่าตัดข้อเข่าเทยี มอย่างมี 1 ครั้ง ก.ค.- ก.ย.60

คณุ ภาพ กลับบา้ นได้ใน 1 สปั ดาห์

7. โครงการพฒั นาคุณภาพการดแู ลผ้ปู วุ ย 1 ครงั้ ก.ค.- ก.ย.60

ผา่ ตัดข้อเขา่ เทียม หอผู้ปุวยศลั ยกรรม

กระดูก 3

8. ร่วมทมี พัฒนางานจดั ทาโครงการ Re - 1 ครัง้

Fracture Prevention Liaison service

9. เปน็ สถาบันฝึกอบรมแพทย์ประจาบ้าน มิ.ย. 60 เป็น ตลอดปี

สาขาออรโ์ ธปดิ กิ ส์ ต้นไป

4. กิจกรรมทางวิชาการ
- Trauma film conference วันจนั ทร์-วันศุกร์ เวลา 08.00-09.00น
- Review เร่อื ง Orthopedic disease และ Trauma ท่ีสาคัญ
- Bed side teaching round
- Grand round ทุกวันศุกร์
- MM conference ทกุ วนั ศกุ ร์ท่ี 2 ของเดอื น
- จดั ให้มกี ารทา Topic ทางวชิ าการ 1 เร่อื ง/คน

66 รายงานประจาปี 2562 หน่วยนบั ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง ราย 52,813 52,105 50,997
ราย 3,922 4,365 4,597
5. สถติ ิการบรกิ าร ราย 4,545 4,728 5,641
สถติ ผิ ้ปู วุ ย

ผ้ปู วุ ยนอก
ผู้ปุวยใน
งานบริการผา่ ตดั

6. ผลงานทีภ่ าคภมู ใิ จ/ ผลงานเด่น ปี 2562
1) ชือ่ ผู้รบั ผิดชอบ นพ.อนุวตั ร พงษ์คณุ ากร

ช่ือรางวลั /ช่ือผลงาน รางวลั วราวธุ สมุ าวงศ์ อาจารยแ์ พทยต์ น้ แบบโครงการผลติ แพทย์เพอ่ื ชาว
ชนบท ปี 2562 จากสานักงานบริหารโครงการรว่ มผลติ แพทยเ์ พมิ่ เพือ่ ชาวชนบท สานักงาน
ปลดั กระทรวงสาธารณสขุ

2) ชือ่ ผู้รบั ผดิ ชอบ นพ.อนุวตั ร พงษ์คุณากร
ช่อื รางวัล/ช่อื ผลงาน Best podium presentation เร่ือง “ Use of smartphone to Improve
Acetabulur component positioning in THA : a comparative clinical study” ในการประชมุ
วิชาการราชวทิ ยาลัยแพทย์ออรโ์ ธปดิ กิ สแ์ ห่งประเทศไทย คร้งั ที่ 41 ประจาปี 2562

67รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

กลุ่มงานจักษุ

1. โครงสรา้ งหนว่ ยงาน ปงี บประมาณ 2562 (ข้อมูล ณ วนั ท่ี 30 กันยายน 2562)

นายแพทยท์ รงวุฒิ ทรัพย์ทวสี นิ
ผอู้ านวยการโรงพยาบาลลาปาง

นายแพทยจ์ รลั ปนั กองงาม
รองผู้อานวยการฝาุ ยการแพทยค์ นที่ 1

นายแพทยพ์ งษ์ศักดิ์ อนจุ ารี
หัวหน้ากลุ่มงานจกั ษุ

งานบรกิ ารผปู้ วุ ยนอก งานบรกิ ารผปู้ ุวยใน งานบริการห้องผ่าตดั

2. อตั รากาลงั (ขอ้ มูล ณ วันท่ี 30 กันยายน 2562)

บคุ ลากร ขา้ ลูกจา้ ง จานวน (คน) ลกู จ้าง รวม หมาย
ราชการ ประจา ชั่วคราว เหตุ
1. แพทย์ พนักงาน พนกั งาน
2. พยาบาล 5 ราชการ กระทรวงฯ
3. นกั จดั การงานท่ัวไป 20
4. ผู้ชว่ ยเหลอื คนไข้ - - - - 16
-
รวม 25 - - - 3 23

- - - 11

2 - 7 2 11

2 0 7 7 41

68 รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

3. ศักยภาพในการใหบ้ รกิ าร

มีแพทยด์ ้านจกั ษุ จานวน 6 ทา่ น มีแพทย์ผู้เชย่ี วชาญสาขาดังต่อไปน้ี

 แพทย์เฉพาะทางต้อหิน 1 ท่าน

 แพทย์เฉพาะทางจอประสาทตา 1 ท่าน

รายละเอียดของกลุ่มงาน/จุดเด่น/จดุ แขง็ ในการให้บริการ
กลุม่ งานจักษุ ให้บรกิ ารตร วจรกั ษาพยาบาลผูป้ วุ ยโรคทางจกั ษุ ตามมาตรฐานวชิ าชพี อยา่ งมีคณุ ภาพ

ตามมาตรฐาน และปลอดภัย โดยใหบ้ ริการผู้ปุวยจักษุ ทุกเพศ ทุกวัย ผูป้ ุวยนอกทุกวนั เวลา ราชการ ผู้ปวุ ยใน
ตลอด 24 ช่ัวโมง ตามมาตรฐานวชิ าชีพตามความสามารถของโรงพยาบาลระดบั ตติยภูมิ ผ้ปู ุวยในให้บริการ
เตียงสามญั จานวน 32 เตียง และหอ้ งพิเศษ 3 เตียง รวม 35 เตียง มีหอ้ งผา่ ตดั ตาจานวน 3 หอ้ ง มจี ุดเด่น
สามารถใหก้ ารรักษาโรคทางจักษทุ ีม่ คี วามซบั ซอ้ นระดับตตยิ ภู มิ ทมี ใหบ้ ริการอย่างเต็มศกั ยภาพ รบั หนา้ ทีส่ ่ง
ต่อการดแู ลรักษาผปู้ วุ ยทางด้านจกั ษจุ ากแพร่ น่าน อกี ท้งั มีโครงการต้อกระจกจังหวัดลาปาง ทไ่ี ดม้ ีการ
ดาเนนิ การอยา่ งต่อเน่ืองใหป้ ระชาชนเขา้ ถงึ บรกิ ารทางด้านจักษุ โดยมีการออกหน่วยเพ่ือตรวจ คัดกรองผปู้ วุ ย
ทีเ่ ปน็ ต้อกระจกและรบั มาทาการผ่าตดั ในเวลาท่กี าหนด ในปี 2562 ได้มกี ารเริ่มทาการผ่าตัดเปลย่ี นกระจกตา

4. ผลการดาเนนิ งาน/กจิ กรรม/สถติ ิ ปงี บประมาณ 2560 – 2562

รายการ หน่วยนบั ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562
44,105 45,096
1. ผู้รบั รกิ ารผู้ปุวยนอก ราย 40,633 3516 3,406
3675 3,540
2. ผรู้ บั บรกิ ารผปู้ ุวยใน ราย 3,734

3. ผู้รบั บริการผา่ ตดั ราย 4,179

5. ผลงานที่ภาคภมู ิใจ/ ผลงานเดน่ ปี 2562
1. โครงการตอ้ กระจกจงั หวัดลาปางไดด้ าเนินงานอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ทาให้สามารถค้นหาผปู้ วุ ยตอ้ กระจกชนดิ

blinding cataract ใหเ้ ขา้ รับการผา่ ตัดโดยการบรหิ ารจัดการชอ่ งทางพเิ ศษ และโครงการน้ียงั เปน็
การส่งเสรมิ ใหเ้ กดิ ความตื่นตัวในการคดั กรองสายตา
ผสู้ งู อายุ ทาใหป้ ระชาชนเขา้ ถงึ บริการดา้ นจกั ษไุ ดง้ ่ายขน้ึ
เปน็ การเพมิ่ คุณภาพชวี ติ ใหแ้ กผ่ ู้สงู อายุ

ผลการดาเนนิ งาน : ตัวชีว้ ัดของกล่มุ งานและ
ตวั ชีว้ ัด Service plan ผ่านเกณฑ์ทุกตัว

69รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

2. โครงการอา่ นผลภาพถ่ายจอประสาทตา มกี าร
อบรมแพทย์ พยาบาล ผดู้ แู ลผ้ปู ุวยกลมุ่
เบาหวานในการคัดกรองผู้ปุวย โดยการ
ถา่ ยภาพ Fundus camera ในกลมุ่ ผปู้ ุวยที่
เป็นเบาหวาน และผปู้ วุ ยท่มี ปี ัญหา Diabetic
Retinopathy มแี นวทางการปรึกษาการอา่ น
ภาพถา่ ยจอประสาทตา และแนวทางส่งต่อ
ผปู้ ุวยเขา้ มารับการรกั ษาในโรงพยาบาลลาปาง

3. แผนกจกั ษุ รับปรกึ ษา/ดแู ลรกั ษากล่มุ
ผู้ปุวย Retinopathy of prematurity จากกลุม่ งาน
กมุ ารเวชกรรม โดยมีแนวทางการดแู ลรกั ษาผปู้ ุวย
รว่ มกนั

4. โครงการผา่ ตดั เปลีย่ นกระจกตา จงั หวัดลาปาง โดยความรว่ มมอื
จากโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์มาผ่าตัดเปล่ยี นกระจกตาร่วมกับจักษุ
แพทย์โรงพยาบาลลาปาง

5. กิจกรรมวันต้อหนิ โลกโดยการจดั วิชาการ และนิทรรศการใหค้ วามรู้

70 รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

กลุ่มงานโสต ศอ นาสกิ

1. โครงสร้างหน่วยงาน ปีงบประมาณ 2562 (ข้อมลู ณ วันท่ี 30 กนั ยายน 2562)

นายแพทยท์ รงวุฒิ ทรพั ย์ทวีสิน
ผอู้ านวยการโรงพยาบาลลาปาง

นายแพทยจ์ รลั ปนั กองงาม
รองผู้อานวยการฝุายการแพทยค์ นที่ 1

แพทย์หญิงบษุ ราภรณ์ ลวี ริ ิยะพันธ์ุ
หวั หนา้ กลมุ่ งานโสต ศอ นาสิก

งานบรกิ ารผ้ปู ุวยนอก งานบรกิ ารผปู้ วุ ยใน งานบริการหอ้ งผา่ ตดั

2. อตั รากาลงั (ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2562)

บุคลากร ข้า ลูกจ้าง จานวน (คน) ลกู จ้าง รวม หมาย
ราชการ ประจา ชั่วคราว เหตุ
1. แพทย์ พนกั งาน พนักงาน
2. พยาบาล 4 ราชการ กระทรวงฯ
3. เจา้ พนกั งานวทิ ยาศาสตร์ 15
การแพทย์ - - - -4
4. ผู้ช่วยเหลอื คนไข้ 1
- - - 3 18
รวม -
20 - - - -1

2 - 4 17
2 0 4 4 30

3. ศักยภาพในการให้บริการ
มแี พทย์ชานาญการดา้ นหู คอ จมูก จานวน 4 ท่าน

รายละเอียดของกล่มุ งาน/จุดเดน่ /จุดแขง็ ในการใหบ้ รกิ าร
กล่มุ งานหู คอ จมูก ใหบ้ ริการตรวจรักษาพยาบาลผู้ปุวยโรคทางหู คอ จมูก ตามมาตรฐานวิชาชีพ

อยา่ งมีคณุ ภาพ ตามมาตรฐาน และปลอดภัย โดยใหบ้ ริการตรวจรักษาผปู้ ุวยหู คอ จมกู ทุกเพศ ทกุ วัย อกทกุ
วนั เวลาราชการ ผู้ปุวยในตลอด 24 ชว่ั โมงตามมาตรฐานวชิ าชพี ตามความสามารถของโรงพยา บาลระดับตตยิ
ภมู ิ ผปู้ ุวยในให้บรกิ ารเตยี งสามญั จานวน 32 เตียง และหอ้ งพิเศษ 3 เตียง รวม 35 เตียง มีหอ้ งผา่ ตดั ตา
จานวน 1 หอ้ ง มจี ุดเดน่ สามารถให้การรักษา โรคทางหู คอ จมูกทม่ี ีความซับซอ้ น ระดับตตยิ ภูมิ ทมี ให้บริการ
อย่างเตม็ ศกั ยภาพ รบั หน้าทส่ี ่งตอ่ การดแู ลรกั ษาผู้ปุวยทางดา้ นหู คอ จมูก จากแพร่ นา่ น

71รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

4. ผลการดาเนินงาน/กจิ กรรม/สถิติ ปีงบประมาณ 2560 – 2562

รายการ หนว่ ยนบั ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562
23,316 20,929
1. ผรู้ ับริการผปู้ วุ ยนอกท่วั ไป ราย 24,516
28 24
- ผรู้ ับบรกิ ารคลนิ ิกไซนสั และภูมแิ พ้ ราย 34 675 483
320 298
- ผ้รู ับบริการคลินกิ โสตประสาท ราย 837 404 405
442 439
- ผู้รับบริการคลินิกนอนกรน ราย 289

2. ผู้รบั บริการผปู้ ุวยใน ราย 158

3. ผรู้ ับบริการผ่าตดั ราย 507

5. ผลงานท่ีภาคภูมใิ จ/ ผลงานเดน่ ปี 2562
1. การพฒั นาการบริการผู้รับบรกิ ารท่มี ปี ัญหาการสูญเสยี การได้ยิน

ผู้รับบรกิ ารทีม่ ีปญั หาการสูญเสียการได้ยนิ ทต่ี อ้ งใส่เครือ่ งชว่ ยฟงั ไดจ้ ดั ใหม้ ปี ระเมนิ การใช้
เครื่องชว่ ยฟงั ภายหลงั การจ่ายเคร่อื ง 1 เดอื น 3 เดือนและ 1 ปี พบวา่ ผู้รบั บรกิ ารสามารถใช้
เครอื่ งช่วยฟงั อยา่ งถูกตอ้ งตามเกณฑ์การประเมิน

2. การใหบ้ ริการผู้ปวุ ยคลนิ ิกนอนกรน
ให้บรกิ ารคน้ หาผปู้ ุวยทม่ี ีกลมุ่ โรคหายใจผิดปกตขิ ณะนอนหลบั โดยมีการตรวจ ใหค้ าปรึกษา

และให้การรักษาตามมาตรฐานการรักษาตามศกั ยภาพ กรณผี ู้รับบรกิ ารทต่ี ้องใช้เคร่ือง CPAP จะมี
การติดตามการใชจ้ นสามารถใช้ได้อย่างเหมาะสม ซง่ึ จะช่วยปูองกันภาวะแทรกซอ้ นหรือลดอาการ
ของโรคที่เปน็ อยู่ ท่ีมีสาเหตุจากการหายใจผิดปกติขณะนอนหลบั

3. การใหบ้ รกิ ารผรู้ ับบรกิ ารคลินิกโรคไซนสั และภมู ิแพ้
เปน็ การใหบ้ ริการตรวจ ให้คาปรึกษา การตรวจทดสอบภมู ิแพ้ ทาใหผ้ ูร้ บั บรกิ ารสามารถ

หลีกเลี่ยงส่ิงท่ีแพ้ได้

4. กิจกรรมรณรงคว์ นั World hearing day
มกี ารจดั กจิ กรรมวัน World hearing day วันที่ 3 มีนาคม 2562 ณ ชั้น 1 อาคารผปู้ วุ ยนอก

เพ่ือรณรงค์ ลดเสียง ลดหูตึง โดยมบี อรด์ ใหค้ วามรู้ เกย่ี วกบั โรคทางหูท่มี ีผลต่อการเสียการได้ยิน โรค
หูเสื่อมจากการทางาน

72 รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

กลุ่มงานจติ เวช

1. โครงสรา้ งหนว่ ยงาน ปงี บประมาณ 2562 (ขอ้ มูล ณ วนั ท่ี 30 กนั ยายน 2562)

นายแพทยท์ รงวุฒิ ทรัพย์ทวีสิน
ผ้อู านวยการโรงพยาบาลลาปาง

นายแพทย์จรัล ปันกองงาม
รองผูอ้ านวยการฝุายการแพทยค์ นท่ี 1

แพทย์หญิงเกษศิริ เหล่ียมวานิช
หัวหน้ากล่มุ งานจติ เวช

งานบรกิ ารผู้ปุวยนอก งานจติ วิทยาคลินิก

2. อัตรากาลงั (ข้อมูล ณ วนั ท่ี 30 กันยายน 2562)

บคุ ลากร ข้า ลกู จ้าง จานวน (คน) ลกู จ้าง รวม หมาย
ราชการ ประจา ชั่วคราว เหตุ
1. แพทย์ พนกั งาน พนกั งาน
2. พยาบาล 5 ราชการ กระทรวงฯ
3. นกั จติ วิทยาคลินกิ 6
4. พนกั งานช่วยเหลือคนไข้ 4 - - - -5
5. พนกั งานบรกิ าร -
6. พนักงานธุรการ - - - - -6
-
รวม 15 - - - -4

- - 2 13

- - 1 12

- - 1 -1

0 0 4 2 21

3. ศักยภาพในการใหบ้ รกิ าร
 ทมี จติ เวช ประกอบด้วย

 จติ แพทย์ จานวน 5 คน โดยมคี วามเชย่ี วชาญ ดังตอ่ ไปน้ี
- จิตแพทย์ทัว่ ไป (ผู้ใหญ่) จานวน 3 คน
- จิตแพทยเ์ ด็กและวัยรุ่น จานวน 2 คน โดย จิตแพทย์ 1 คน มคี วามเชยี่ วชาญด้าน จติ บาบัดแบบ
ซาเทยี ร์

 พยาบาลวิชาชพี จติ เวช 6 คน
- จบปรญิ ญาโทดา้ นสขุ ภาพจิตและจติ เวช 3 คน
- จบเฉพาะทางสาขาสุขภาพจิตและจิตเวช: PG 3 คน

73รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

 นกั จติ วิทยาคลินิก 4 คน
- เชี่ยวชาญด้านจติ บาบดั แบบ EMDR 1 คน
- เชยี่ วชาญการกระตุ้นพัฒนาการเดก็ ออทสิ ตกิ แบบ DIR/ Floor time 2 คน
- เชี่ยวชาญงานยาเสพติด 1 คน

 ทีมสนบั สนุนอื่นๆ อกี 6 คน (พนักงานช่วยเหลือคนไข้ 3 คน พนกั งานบรกิ าร 2 คน และพนักงาน
ธรุ การ 1 คน )

 จุดเด่น/จุดแข็ง ในการให้บริการ
กลุ่มงานจิตเวช รบั ผิดชอบดาเนนิ งานดา้ นการบาบดั รักษา ส่งเสรมิ สขุ ภาพ ดูแล ปอู งกนั โรค พัฒนา

บริการสุขภาพจิต และศนู ยก์ ารเรยี นรู้ รวมถงึ การบรหิ ารจัดการระบบบรกิ ารการดแู ลผปู้ วุ ยและผู้ทมี่ ปี ัญหา
สุขภาพจติ ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ มงี านตรวจรกั ษาดังต่อไปนี้

1. งานตรวจรกั ษาแบบผู้ปวุ ยนอก (OPD จติ เวช)
2. งานตรวจรกั ษาแบบผูป้ วุ ยใน (IPD หอผปู้ วุ ยกรณุ า)
3. งานให้คาปรึกษาระหวา่ งแผนก (IPD & OPD Consultation)
4. งานจติ เวชชุมชน

1. งานตรวจรักษาแบบผ้ปู ุวยนอก (OPD)
1.1 งานจติ เวชทั่วไป ใหก้ ารวินิจฉัยและบาบดั รักษาโรคทางจิตเวชทุกโรค
- Common diseases เช่น ภาวะวติ กกังวล (Anxiety Disorder) ภาวะซมึ เศร้า
(Depression) ภาวะไบโพลาร์ (Bipolar Disorder) ภาวะทางจิต (Psychosis, Schizophrenia)
ภาวะนอนไม่หลบั (Non-Organic Sleep Disorder) กลุ่มอาการทีเ่ ก่ียวขอ้ งกบั ยาเสพติด เช่น เหล้า
บหุ รี่ ยาบ้า เฮโรอีน
- ภาวะจิตเวชทมี่ ีความยุ่งยาก ซ้าซ้อน ท่ตี อ้ งอาศยั ความเช่ยี วชาญเฉพาะด้านในการรกั ษา
เช่น โรคทาง จติ เวชทจี่ าเปน็ ต้องใช้ยาทางจิตเวชหลายตัวเพอ่ื ควบคุมอาการ ผ้ปู ุวยจิตเวชท่ีมี co–
morbidity โรคทางกายซง่ึ จาเป็นต้องเฝูาระวังกรณใี หย้ าทางจิตเวช และกรณที ่จี าเป็นต้องทาจิต
บาบดั รายบคุ คล เช่น มีปญั หาบุคลกิ ภาพ ครอบครวั บาบัด กลุม่ บาบดั เชน่ กรณยี าเสพตดิ และมี
ปญั หาความสมั พนั ธใ์ นครอบครวั โรคทางจติ เวชท่ี ไมต่ อบสนองตอ่ การรักษาโดยวธิ อี น่ื ซ่ึงจาเปน็ ต้อง
รกั ษาดว้ ยกระแสไฟฟาู (ECT)
- นติ ิจติ เวชเบ้ืองต้น เช่น การประเมินสภาพจิต เพ่ือประกอบการออกใบรบั รองผู้พิการ การ
จดทะเบยี น รับบตุ รบุญธรรม ประเมินสภาพจิตประกอบการพิจารณา คดีของศาลการประเมนิ สภาพ
จิตของพนักงานเจ้าหนา้ ทท่ี ป่ี ฏิบัติงานของสานักงานพฒั นาความม่นั คงสงั คมและมนษุ ย์ (พมจ.)
รูปแบบการรกั ษา
 ยา
 จิตสังคมบาบัด
- ให้คาปรึกษารายบคุ คล (Individual Counseling)
- จติ บาบดั รายบุคคล (Individual Psychotherapy)
- กล่มุ บาบัด (Matrix Program กรณียาบา้ และ Empowerment Program กรณีเหล้า บุหรี่)

74 รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

- ให้คาปรึกษาแบบครอบครัว (Family Counseling)
 ECT เฉลย่ี 3 - 5 ราย/เดอื น

- งานจิตเวชทว่ั ไป สถติ ิ 5 อนั ดบั โรคแรก คือ
1) Anxiety จานวน 2,000 - 2,300 ราย/ปี
2) Depression จานวน 1,400 - 1,600 ราย/ปี
3) Substance Use Disorder จานวน 1,200 - 1,600 ราย/ปี
4) Psychosis จานวน 1,200 - 1,300 ราย/ปี
5) Non – Organic Sleep Disorder (นอนไม่หลับ) จานวน 400 - 600 ราย/ปี

1.2 งานยาเสพติด
- งานยาเสพตดิ แยกตามประเภทของสารเสพติด สถิติ ๕ อันดับโรคแรก คอื
1) ยาบ้า จานวน 600 - 1,000 ราย/ปี
2) สรุ า จานวน 500 - 700 ราย/ปี
3) บุหร่ี จานวน 80 - 100 ราย/ปี
4) ฝิ่น + เฮโรอนี จานวน 20 - 40 ราย/ปี
5) กัญชา จานวน 10 - 40 ราย/ปี
- งานบาบดั รักษาผู้เสพสารเสพติด ในระบบบงั คบั บาบัดที่รับจากหนว่ ยงานคมุ ประพฤติ ซึง่
ไดร้ บั การบาบัดแบบ Modified Matrix program โดยกลุ่มบังคบั บาบดั มที ง้ั หมด 791 ราย
(ทั้งรายใหม+่ รายเกา่ ) และกลมุ่ สมคั รใจ มีทง้ั หมด 114 ราย (ทง้ั รายใหม+่ รายเก่า)
- งานยาเสพตดิ ท่ีดาเนินการรว่ มกับเครอื ขา่ ย ท้งั ระดับตาบล อาเภอและจังหวดั งานโครงการ
ปอู งกนั และแก้ไขปญั หายาเสพตดิ ร่วมกบั เครอื ข่าย ในระดับอาเภอ โดยรว่ มกับทมี ศป.ปส.อ.
เมือง (ศนู ย์ปอู งกนั และปราบปราม ยาเสพตดิ อ.เมือง) และศอ.ปส. จ.ลาปาง (ศนู ย์
อานวยการปอู งกันและปราบปรามยาเสพตดิ จ.ลาปาง) ได้แก่
o งานคดั กรองผูเ้ สพสารเสพตดิ เขา้ ส่กู ระบวนการบาบดั ร่วมกับ ศป.ปส.อ.เมือง
o เปน็ วิทยากรบาบัดฟน้ื ฟยู าเสพตดิ ฯ คา่ ยศนู ยข์ วญั แผ่นดิน จังหวดั ลาปาง คา่ ยวิวัฒน์
พลเมืองจังหวัดลาปางกจิ กรรม To Be Number One ลาปาง
o วิทยากรใหค้ วามรูด้ ้านยาเสพติด ให้กับบคุ ลากรสาธารณสขุ ในจงั หวัดลาปาง และ
เครือข่ายองคก์ รตา่ งๆ

1.3 งานจติ เวชเด็ก ให้การวินิจฉัยและบาบดั รักษาโรคทางจิตเวชเดก็ ทุกโรค
- Common Diseases เชน่ ภาวะสมาธิส้นั (ADHD) ภาวะบกพรอ่ งด้านการเรียนร้เู ฉพาะดา้ น
(Learning Disorder, LD) ภาวะบกพร่องทางสติปัญญา (Mental Retardation, MR) ภาวะ
ออทิสติก ปสั สาวะ รดท่ีนอน กล้ามเน้ือกระตกุ (Tic Disorder) รอ้ งดนิ้ อาละวาด (Temper
Tantrums) ปัญหาการเล้ยี งดูทไี่ มเ่ หมาะสม เช่น ขาดระเบยี บวินัย
- โรคทางจติ เวชเด็กท่มี ีความยุง่ ยากซับซ้อน ท่ตี ้องอาศัยความเชี่ยวชาญเฉพาะดา้ นในการ
บาบดั รักษา เช่น ภาวะผิดปกตซิ ่ึงเป็นผลกระทบจากการถกู ทารณุ กรรม (Maltreatment
Child Syndrome) เดก็ เกเร กา้ วร้าวทมี่ ีพฤตกิ รรมรุนแรง (Conduct Disorder) ภาวะโรค
ทางกายทีม่ ีปญั หาอารมณแ์ ละพฤตกิ รรมรว่ ม

75รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

รปู แบบการรกั ษา
- การให้ยา กรณมี ขี ้อบ่งชี้ เชน่ ภาวะสมาธิส้ัน
- การปรับพฤตกิ รรม กรณอี อทสิ ตกิ และปัญหาบกพรอ่ งการเรียนรู้เฉพาะด้าน (LD)
- ฝกึ ทักษะทางสงั คม เชน่ กรณีเด็กท่มี ีปญั หาด้านการควบคมุ อารมณต์ วั เอง
- จติ บาบัดรายบุคคล กรณมี ปี ัญหาทางอารมณท์ ี่ยุง่ ยากซบั ซอ้ น เชน่ เคยถูกกระทบกระเทอื นด้านจิตใจ

อย่างรนุ แรง (Psychological Trauma)
- Case Conference รว่ มกบั หนว่ ยงานทเ่ี ก่ียวข้อง ได้แก่ สถานฟื้นฟูและพฒั นาเดก็ -สตรที ถี่ ูกทารุณ

กรรม จานวน 8 - 12 ครงั้ /ปี
- กลุ่มบาบัดสาหรบั ผปู้ กครองเด็กภาวะออทิสตกิ บกพรอ่ งด้านการเรยี นร้เู ฉพาะดา้ น (LD) สมาธสิ ั้น

ปญั หาพฤติกรรม
 สถิติ 5 อนั ดบั โรคของจติ เวชเด็ก

1) สมาธิสั้น (ADHD) จานวน 2,000 - 2,100 ราย/ปี
2) ภาวะบกพร่องดา้ นการเรยี นรู้ (LD) จานวน 300 - 400 ราย/ปี
3) ออทิสตกิ จานวน 250 - 300 ราย/ปี
4) บกพรอ่ งดา้ นสติปญั ญา (MR) จานวน 100 - 150 ราย/ปี
5) ปญั หาทางอารมณ์ และพฤติกรรมในวยั เด็ก จานวน 30 - 40 ราย/ปี

1.4 งานจิตวทิ ยาคลนิ กิ
1.4.1 ประเมินทางจติ วิทยาคลินิก ดว้ ยแบบประเมนิ ท่เี ป็นมาตรฐาน เชน่
- ประเมินระดบั สตปิ ัญญา (IQ) เฉลย่ี 500 - 700 ราย/ปี
- ประเมินความบกพร่องด้านการเรยี นรู้ เฉลี่ย 500 - 600 ราย/ปี
- ประเมนิ บคุ ลกิ ภาพ พยาธสิ ภาพทางจติ และจิตประสาทวทิ ยา เฉล่ีย 500 - 700 ราย
1.4.2 ใหก้ ารบาบัดทางจติ วทิ ยาคลนิ ิก เช่น จิตบาบดั รายบุคคล พฤติกรรมบาบัด กลมุ่ บาบัด
กลุม่ Empowerment

2. งานตรวจรกั ษาแบบผปู้ วุ ยใน (IPD หอผปู้ วุ ยกรณุ า)
- จานวน 21 เตยี ง
- จานวน Admit ประมาณ 400 ราย/ปี
- 5 อนั ดับโรคแรกทีร่ ับรกั ษาแบบผปู้ วุ ยใน
1) Alcohol Related Disorder ประมาณ 200 - 130 ราย/ปี
2) Schizophrenia ประมาณ 100 - 140 ราย/ปี
3) Mood Disorder (Major Depression, Bipolar) ประมาณ 50 - 80 ราย/ปี
4) Amphetamine Use Disorder ประมาณ 30 – 50 ราย/ปี
5) ๕. อ่นื ๆ เชน่ Acute Psychosis, Schizoaffective Disorder, Brief Psychotic Disorder,
Dementia with Psychosis ประมาณ 50 - 70 ราย/ปี

76 รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

3. งานใหค้ าปรึกษาระหวา่ งแผนก (IPD & OPD Consultation)
- ให้คาปรึกษากรณีเกดิ ภาวะโรคทางจิตเวชรว่ มกบั หอผ้ปู วุ ยโรคทางกาย เช่น ภาวะ Alcohol

Dependence, Alcohol Withdrawal, Delirium, ผูป้ วุ ยซึมเศรา้ กังวลกับภาวะเจ็บปวุ ยโรคทางกาย,
Suicidal Attempt
- จานวนผปู้ ุวยปรึกษาระหวา่ งแผนกเฉลย่ี 1,200 - 1,400 ราย/ปี โดยส่วนใหญ่ปรึกษาด้วยภาวะ
Alcohol Withdrawal Syndrome และ Delirium
- ใหค้ าปรกึ ษาและเปน็ พ่เี ลีย้ งให้ทีมเครือขา่ ยใน 13 อาเภอ ทัง้ ทีมสาธารณสุขและหน่วยงานต่างๆ ท่ี
เกี่ยวข้อง ในการดแู ลปุวยหรือผทู้ ่มี ีปัญหาทางสขุ ภาพจิตและยาเสพตดิ

4. งานจิตเวชชุมชน
- ใช้ พรบ.สุขภาพจิต 2551 นาตัวผ้ปู ุวยทม่ี ีอาการรนุ แรง มีความเส่ียงทเ่ี ปน็ อนั ตรายต่อสงั คม

เขา้ รบั การบาบดั รกั ษา
- บูรณาการงานจิตเวชชมุ ชนร่วมกับเวชกรรมสงั คม ในการดูแลผู้ปวุ ยจติ เวชเร้อื รังในชมุ ชนระยะยาว

(COC) รวมทัง้ การดแู ล ติดตามและเฝาู ระวงั กล่มุ ผปู้ วุ ยจิตเวชและยาเสพติดท่ีมคี วามเส่ยี งสูง
(Serious mental illness violence : SMIV)
- สร้างชุมชนเข้มแข็งมีสว่ นรว่ มในการเฝาู ระวังกลมุ่ เสี่ยงต่อการฆา่ ตวั ตาย
- ออกตรวจผปู้ วุ ยจติ เวชในเรือนจาทกุ 6 เดือน เฉลยี่ ครั้งละ 30 - 35 ราย โรคท่ีพบบอ่ ย คอื
Schizophrenia, Substance Use Disorder

5. ศนู ยก์ ารเรียนรู้ และแหลง่ ผลิตบคุ ลากรด้านสุขภาพ
จิตแพทย์ : สอนนักศกึ ษาแพทย์ ตามโครงการผลติ แพทย์เพิ่มเพ่ือชาวชนบท
พยาบาล : ฝึกภาคปฏบิ ัติ OPD จติ เวช และสอนนักศกึ ษาพยาบาล จากวิทยาลัยพยาบาลบรมราช

ชนนีลาปาง
นักจิตวิทยาคลินกิ :
- สถาบันฝกึ อบรม Internship นักจิตวิทยา
- แหล่งฝึกงานของนักศึกษาจิตวิทยา ปี 3 และ ปี 4 จากสถาบันการศกึ ษาตา่ งๆ
- สอนนกั ศกึ ษาพยาบาลของวทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีลาปาง รายวิชาจิตวทิ ยาเบอื้ งต้น

77รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

เครอื่ งมือดา้ นจติ เวช / งานจิตวิทยาคลินกิ
 มีการรกั ษาผปู้ วุ ยจติ เวชด้วยกระแสไฟฟูา (Electro Convulsive Therapy: ECT)
 แบบประเมินทางจติ วิทยา ดงั รายช่ือต่อไปนี้
 แบบทดสอบทางสติปญั ญา (Intelligence test)
- Raven's Coloured Progressive Matrices™ (CPM)
- Raven's Standard Progressive Matrices (SPM)
- Raven's Advanced Progressive Matrices (APM)
- Wechsler Intelligence Scale for Children®-Third Edition (WISC®-III)
- Wechsler Adult Intelligence Scale® - Third Edition(WAIS®-III)
- Wechsler Intelligence Scale for Children®-Fifth Edition (WISC®-V)
- Stanford- Binet Intelligence Scale -Fourth Edition
- Raven's Progressive Matrices -Plus (SPM plus)
 แบบประเมินและคดั กรองระดบั พัฒนาการ (Developmental test)
- Denver Developmental Screening Test II (Denver II)
- Gesell Figure Drawing Test
 แบบทดสอบทางประสาทจิตวทิ ยา (Neuropsychological Test)
- Bender Visual Motor Gestalt
- Disease Assessment Scale (Cognitive subscale) (ADAS-Cog)
- Thai Mental State Examination (TMSE)
- Montreal Cognitive Assessment (MoCA)
 แบบทดสอบทางบุคลิกภาพ (Personality Test)
- Minnesota Multiphasic Personality Inventory-II (MMPI-II)
- Rorschach Inkblot Test
- Thematic-Apperception Test (TAT)
- Children Apperception Test (CAT)
- Draw-A-Person Test (DAP)
- House-Tree-Person Test (HTP)
- 16 Personality Factors- Fifth Edition (16 PF®-V)

78 รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

4. ผลการดาเนินงาน/กจิ กรรม/สถิติ ปงี บประมาณ 2560-2562

รายการ หน่วยนับ ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562
1. คลนิ กิ จติ เวช
1.1 ผ้ปู วุ ยจิตเวชท่ัวไป ราย 23,611 27,103 35,640
ราย 16 15 18
- Refer In จากจังหวัดอนื่ ราย 1,940 1,054 942
- Refer In จากในจงั หวดั ราย 42 35 36
- Refer Out โรงพยาบาลสวนปรุง ราย 468 867 960
- ผปู้ วุ ยที่ Stable และ Refer Out รพช. ราย 247 698 15
- Refer Out โรงพยาบาลอ่ืนๆ ราย 8,145 8,901 9,094
1.2 ผู้ปุวยจิตเวชเด็กและวยั รนุ่ ราย 1,245 6,723 7,146
1.3 ผู้ปุวยสารเสพติด (OPD Case) ราย/คร้งั
1.4 Dementia 495 /1,483 474/1,451 633/2,008
2. คลนิ กิ สารเสพติด (รายใหม่) ราย
2.1 เฮโรอีน ราย 33 1
2.2 ฝน่ิ ราย 10 8 -
2.3 ยาบา้ ราย 396 534 663
2.4 กัญชา ราย 57 19
2.5 สารระเหย ราย 36 1
2.6 บหุ รี่ ราย 63 62 77
2.7 สรุ า ราย 252 229 234
2.8 ไอซ์ 74 1
2.9 จติ สงั คมบาบัด ครง้ั /ราย
- ปรึกษารายบคุ คล ครั้ง/ราย 586/385 886/534 1013/679
- กลุ่มครอบครัวศกึ ษา ครง้ั /ราย 385/355 716/182 295/974
- ตดิ ตามผลการบาบดั คร้ัง/ราย 113/282 176/101 83/40
- จติ สังคม (Matrix) แบบประยุกต์ 279/2,322 257/2,817 110/3,920
- จติ สงั คมบาบดั +จา่ ยยาทดแทน ราย/จานวน 14/1,576 11/1,034
ยาทีจ่ า่ ย 4/750 ราย/ครง้ั
(Methadone+Tr.Opium) 1,909 2,068 12,695 CC
3. รับปรึกษาผู้ปุวยจากตา่ งแผนก (แบบผปู้ ุวยใน) ราย 39 51
3.1 จติ เวชผู้ใหญ่ ราย 24/86 38/104 1,302
3.2 จติ เวชเดก็ และวัยรุ่น ราย/ยอด 64
4. รับปรกึ ษาผปู้ ุวยพยายามฆ่าตวั ตายท่มี ปี ญั หา ทัง้ หมด 783 713 41/95
ซบั ซอ้ นโดยจติ แพทย์ คร้งั
4.1 รบั ปรึกษาจาก รพช. (Consult) 678

79รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

รายการ หน่วยนบั ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562

5. การใหก้ ารปรกึ ษา 189
-
5.1 ผ้ปู ุวยพยายามฆา่ ตัวตาย ราย 73 197 724
22 1
5.2 เดก็ และสตรีทีถ่ ูกกระทารนุ แรง ราย 886/2,203 682 724

5.3 เด็กที่มีปัญหาสขุ ภาพจิตและจติ เวชโดย รายใหม่ / 622
465
เจา้ หน้าทีจ่ ติ เวชเดก็ เก่า 87
54
5.4 ผปู้ กครองเด็กทีม่ ปี ญั หาสุขภาพจิตและจติ เวช ราย/ครง้ั 805/917 682 354
17
7. การทดสอบทางจิตวทิ ยา

7.1 เชาวน์ปญั ญา ราย 1,061 691
591 479
7.2 ความบกพรอ่ งทางการเรยี นรู้ ราย 96 92
92 55
7.3 บคุ ลิกภาพ ราย 522 406
- 34
7.4 การทดสอบอน่ื ๆ เช่น พัฒนาการ ราย

7.5 จติ ประสาทวทิ ยา ราย

7.6 ประเมนิ วุฒิภาวะทางอารมณ์ (EQ) ตาม ราย

โครงการคดั กรองของกมุ ารฯ

8. จติ บาบัด / การให้การปรึกษา

8.1 การทาจติ บาบดั แบบ Satir โดยจติ แพทย์ ครง้ั 18 17 19
173 245 235
8.2 การทาจิตบาบัดแบบ EMDR และอนื่ ๆ โดย ครัง้

นักจิตวทิ ยาคลนิ ิก

8.3 การใหก้ ารปรึกษาโดยนักจิตวทิ ยาคลินกิ ครัง้ 4,861 922 491
-8 5
8.4 การใหก้ ารปรกึ ษาครอบครวั ครง้ั -- 4

8.5 EMDR supervision สาหรับนกั จิตวทิ ยา คร้งั

คลนิ กิ , จติ แพทย์ ของหนว่ ยงานอ่นื ๆ

9. ใหบ้ รกิ ารปรกึ ษาสขุ ภาพจติ ทางโทรศัพท์ คร้ัง/นาที 737/4,861 866/4,415 1,683/11,866

10. พฤติกรรมบาบัด

10.1 เดก็ ออทสิ ติก ดว้ ย เทคนคิ ABA ครัง้ /ราย 419/109 378/114 300/113
313/66 487/213 504/183
10.2 เดก็ ท่ีมีความบกพรอ่ งทางการเรียนรู้ ครง้ั /ราย

เฉพาะดา้ น(LD) (Individual)

10.3 พฤติกรรมบาบดั เด็กออทสิ ติก ด้วย ครัง้ /ราย 41/125 104/43 130/41

เทคนิค Floor time

11. ให้บริการสขุ ภาพดีเริ่มทบี่ า้ น Home ราย/คร้ัง 50/136 81/183 65/143

Health Care และเปน็ พเี่ ลีย้ งให้กับทมี เครอื ขา่ ย

27 รพ.สต. อ.เมอื ง จ.ลาปาง

11.1 นาผปู้ ุวยจติ เวชเขา้ ส่รู ะบบการรักษาตาม ราย 52 41
20 /20 27/27 20/20
พรบ.สขุ ภาพจิต 2551

11.2 สืบคน้ ขอ้ มูลผปู้ ุวยหลังเสียชวี ติ ด้วยการฆ่า ราย/คร้ัง

ตัวตายสาเร็จ (Psychological autopsy)

80 รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

รายการ หนว่ ยนบั ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562
- - 28
11.3 การดแู ล ตดิ ตามและเฝาู ระวงั กล่มุ ผปู้ ุวยจิต
25 34 15
เวชและยาเสพติดที่มคี วามเสี่ยงสูง (Serious 8 17 12
29 35 33
mental illness violence : SMIV)
238/59 227/69 261/60
12. วทิ ยากร 37/8 30/12 11/21

12.1 สขุ ภาพจิตท่ัวไป ครั้ง 20/3 18/5 9/11

12.2 สขุ ภาพจติ เดก็ และวยั ร่นุ ครั้ง 1 1 1

12.3 ยาเสพติด,สรุ า,บุหร่ี ครั้ง 1 1 1
1 1 1
13. การทากลุ่มผปู้ กครอง 1 1 1
1 1 2
13.1. กลุ่มผปู้ กครอง Leaning Disorder ราย/กลมุ่ 1 4 7

13.2. กลุ่มผู้ปกครองเด็กท่ีมีปญั หาพฤตกิ รรม- ราย/กลมุ่ 1 1 1

การเรียน (PMT) 1 1 1
1 1 3
13.3 กลุ่มผูป้ กครองเดก็ วยั รนุ่ ทีม่ ปี ัญหา ราย/กลมุ่ - - 2
2 1 2
พฤติกรรม การเรียน
4 4 4
14. กิจกรรมรณรงคด์ ้านสขุ ภาพจติ รว่ มกบั ครั้ง
8/10 8/10 7/10
หนว่ ยงานทเี่ ก่ยี วข้อง 2/4 2/4 2/4
- - 20
- วนั ฆา่ ตัวตายโลก ครั้ง - - 4
6 28 62
- วนั สุขภาพจิตโลก (10 ตลุ าคม) คร้ัง 6 8 8

- สัปดาห์สขุ ภาพจติ 1-7 พ.ย. ครั้ง

- วนั งดสบู บหุ ร่โี ลก ครั้ง

- จัดนทิ รรศการในโครงการยาเสพตดิ ครั้ง

ตา่ งๆ ทง้ั ในและนอกรพ.

- จดั นิทรรศการด้านสุขภาพจิตงานวัน คร้งั

รกั ษ์สุขภาพ

- ร่วมนทิ รรศการวันพยาบาลแหง่ ชาติ คร้ัง

- จดั นทิ รรศการ เรื่องสุขภาพจติ ครง้ั

- ออกหนว่ ยแพทย์เคลอ่ื นที่ ครง้ั

15. จัดประชุมและอบรมเผยแพร่ความรูท้ าง ครั้ง

สขุ ภาพจิตและจิตเวช

16. สอนนกั ศกึ ษาแพทย์ เดอื น

17. สอนนักศึกษาจิตวิทยา/Internship จติ วิทยาคลินิก

- Intern คน/เดือน

- นักศกึ ษา คน/เดือน

- Conference ทางจิตวทิ ยาคลินกิ ครั้ง

- Journal Club ทางจิตวทิ ยาคลนิ ิก ครง้ั

18. สอนนักศกึ ษาพยาบาล (ภาคทฤษฎี) ครั้ง

สอนนักศึกษาพยาบาล (ภาคปฏิบัติ) เดอื น

81รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

5. ผลงานที่ภาคภมู ใิ จ/ ผลงานเดน่ ปี 2562
การนาเสนอผลงานวิจยั /วิชาการ
1) วชริ าภรณ์ อรโุ ณทอง. Gender Identity disorder; from biology to acceptance. Symposium

presentation at The 1st ASEAN International Congress of Neuropsychopharmacology
(AsCNP-ASEAN), Yogyakarta, Indonesia, 28 กุมภาพนั ธ์ -2 มนี าคม 2019
2) รุ่งระวี แก้วดี, สมพติ ร ทรายสมทุ ร,และ วชิราภรณ์ อรโุ ณทอง. Home Program for Caregivers of

Poster presentation at 18 th International Congress of The Pacific Rim College of
Psychiatrists (PRCP), Yangon Burma, 26 - 28 ตุลาคม 2561
3) สมพิตร ทรายสมุทร. จติ เวชฉุกเฉิน ใกลบ้ า้ นใกลใ้ จ เสรมิ พลงั เครอื ข่าย ขยายระบบปริการสขุ ภาพจติ
และยาเสพติด จ.ลาปาง โครงการพัฒนาสมรรถนะการดแู ลผปู้ ุวยจิตเวชฉุกเฉิน. Poster
presentation ท่ี รพ.สวนปรุง จ. เชียงใหม่ 24 พฤษภาคม 2562 / โครงการประชุมเชิงปฏบิ ตั ิการ
แลกเปลี่ยนเรยี นรู้ การพฒั นาระบบบริการสขุ ภาพจิตและจติ เวชในเขตสุขภาพ รร. เอเซียแอรพ์ อร์ท
ปทมุ ธานี 26 - 28 มถิ นุ ายน 2562
4) สมพติ ร ทรายสมทุ ร. ตน๋ บญุ . Poster presentation โครงการประชุมเชงิ ปฏบิ ตั ิการแลกเปลย่ี น
เรียนรู้ การพัฒนาระบบบรกิ ารสุขภาพจิตและจิตเวชในเขตสุขภาพ รร.เอเซยี แอร์พอร์ท ปทุมธานี
26-28 มิถนุ ายน 2562

ผลงานที่ได้รับรางวัล
1) โครงการพัฒนาสมรรถนะการดูแลผปู้ วุ ยจิตเวชฉกุ เฉนิ รพ. สวนปรงุ จ.เชียงใหม่ 24 พฤษภาคม

2562. รางวัลชนะเลศิ การนาเสนอผลงานทางวชิ าการประเภท Poster presentation สมพติ ร ทราย
สมทุ ร เรอ่ื ง จิตเวชฉกุ เฉนิ ใกล้บา้ นใกลใ้ จ เสรมิ พลงั เครอื ขา่ ย ขยายระบบปรกิ ารสขุ ภาพจติ และยา
เสพติด จ.ลาปาง
2) ไดก้ ารรับรองคณุ ภาพงานยาเสพตดิ (Re-accreditation) ครง้ั ท่ี 3 จากสถาบันรับรองคุณภาพ
สถานพยาบาล (องค์การมหาชน) และ สถาบันบาบัดรักษาและฟ้ืนฟผู ตู้ ดิ ยาเสพติดแห่งชาติบรมราช
ชนนี กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสขุ (ระยะเวลาในการรับรอง 13 มิถนุ ายน 2562 – 12
มถิ นุ ายน 2565 )
3) สถานบริการยาเสพตดิ ดีเดน่ ด้านมาตรฐานการบาบดั รกั ษายาเสพตดิ ระดบั จังหวัด 26 มิถนุ ายน
2562

82 รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

กลมุ่ งานทันตกรรม

1. โครงสร้างหนว่ ยงาน ปงี บประมาณ 2562 (ขอ้ มูล ณ วนั ที่ 30 กันยายน 2562)

นายแพทยท์ รงวุฒิ ทรพั ย์ทวีสิน
ผู้อานวยการโรงพยาบาลลาปาง

นายแพทย์จรัล ปนั กองงาม
รองผู้อานวยการฝุายการแพทย์คนที่ 1

ทนั ตแพทย์ณรงคช์ ัย ดาเนนิ สวสั ดิ์
หวั หน้ากลุ่มงานทันตกรรม

งานเทคนิคบรกิ าร งานทนั ตกรรมชมุ ชน งานบริหารท่วั ไป

งานพฒั นาระบบคณุ ภาพ งานวชิ าการ

2. อัตรากาลงั (ขอ้ มลู ณ วนั ที่ 30 กันยายน 2562)

บุคลากร ขา้ ลูกจา้ ง จานวน (คน) ลกู จา้ ง รวม หมาย
ราชการ ประจา ชว่ั คราว เหตุ
1. ทนั ตแพทย์ พนกั งาน พนกั งาน
2. เจา้ พนักงานทันตสาธารณสุข 24 ราชการ กระทรวงฯ
3. นักวิชาการทนั ตสาธารณสุข 10
4. ช่างทันตกรรม - - - - - 24
5. ผ้ชู ่วยทันตแพทย์ 1
6. พนกั งานช่วยเหลอื คนไข้ - - - - 1 11
7. เจา้ พนักงานธรุ การ -
8. พนกั งานท่วั ไป - - - - 11
-
รวม 35 - - - -1

2 1 8 1 12

- - 3 36

- - 1 -1

- - 2 13

2 1 14 7 59

83รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

3. ศกั ยภาพในการใหบ้ ริการ

มที ันตแพทย์ จานวน 24 คน มีทนั ตแพทยเ์ ชีย่ วชาญสาขาดังต่อไปน้ี

- ทันตกรรมทว่ั ไป 3 คน

- ทันตกรรมประดษิ ฐ์ 4 คน

- ทันตกรรมปริทันต์ 4 คน

- ทันตกรรมรกั ษาคลองรากฟนั 2 คน

- ทนั ตกรรมจัดฟัน 2 คน

- ทันตกรรมสาหรบั เดก็ 2 คน

- ทนั ตกรรมหัตถการ 1 คน

- ทันตกรรมรากเทยี ม 1 คน

- ศัลยกรรมชอ่ งปากและแมก็ ซิลโลฯ 5 คน (ลาศกึ ษาตอ่ 2 คน)

4. ผลการดาเนินงาน สรุปผลการดาเนินงาน ให้บริการทางทนั ตกรรม

4.1 จานวน ผมู้ ารบั บรกิ ารทนั ตกรรมทุกประเภท

เปาู หมาย : ประชาชนเขา้ ถึงบริการทนั ตกรรมทุกประเภท รอ้ ยละ 35 ของประชากรท้งั หมดของ

อาเภอเมอื ง

ปีงบประมาณ

รายการ 2560 2561 2562

คน/คร้ัง ร้อยละ คน/ครง้ั รอ้ ยละ คน/ครง้ั รอ้ ยละ

จานวนผรู้ ับบรกิ าร 50,761 / 24.36 53,673 29.90 50,358/ 31.96

79,419 /98,286 157,569

แหลง่ ขอ้ มูล : ระบบ Health Data Center (HDC)

หมายเหตุ : การให้บรกิ ารในสถานบริการ ไดแ้ ก่

1. คลนิ กิ ทันตกรรมโรงพยาบาลลาปาง

2. รพ.สต.ท่มี ที ันตาภบิ าลประจาจานวน 10 แหง่ ได้แก่

- รพ.สต.เสด็จ - รพ.สต.สบมาย - รพ.สต.ศรหี มวดเกลา้ - รพ.สต.บา้ นฟอุ น

- รพสต.ตน้ ธงชัย - รพ.สต.ต้นมื่น - รพ.สต.บา้ นกาด - รพ.สต.ม่วงแงว

- รพ.สต.ทุ่งกล้วย - รพ.สต.รตั นานรุ ักษ์

3. รพ.สต.ทท่ี ันตแพทย์ออกใหบ้ ริการหมุนเวียน อกี 5 แหง่ ได้แก่

- ศสม.มอ่ นกระทิง - รพ.สต.ทงุ่ ม่านเหนือ - รพสต.รตั นานุรักษ์

- รพ.สต.แมก่ ยื - รพ.สต.ท่าโทก

4. งานรณรงค์การใหบ้ ริการทันตกรรมวนั ทันตสาธารณสุขแหง่ ชาติ ทุกวนั ที่ 21 ต.ค. ของทกุ ปี

- ในโรงเรียนท้งั หมดจานวน 65 แหง่ - ในศูนยเ์ ดก็ เล็กจานวน 56 แหง่

- ชมรมผสู้ งู อายจุ านวน 225 ชมรม - เรือนจา 1 แห่ง ทุก 4 ครัง้ ตอ่ ปี

- หน่วยอาเภอเคล่อื นท่ี 6 ครงั้ ต่อปี

- วดั ปริยตั ิธรรมจานวน 3 แห่ง ได้แก่ วัดพระแก้วดอนเต้า,วัดวิสุทธิวิทยากร,วดั มอ่ นจาศีล

84 รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

4.2 ผลงานการบริการทันตกรรมด้านการรกั ษาในคลินกิ ทันตกรรมโรงพยาบาลลาปาง

รายการ หนว่ ยนับ 2560 ปีงบประมาณ 2562
2561

1. งานด้านทนั ตกรรมท่วั ไป

11 .ตรวจวินจิ ฉัย ครัง้ 38,220 36,715 39,177

1.2 อุดฟนั ครั้ง 9,192 7,142 6,384

1.3 ถอนฟนั ครง้ั 12,633 9,603 8,257

1.4 ขูดหนิ ปนู คร้ัง/ส่วน 3,031/17,669 3,265/19,202 3,408/19,880

1.5 เคลอื บหลมุ ร่องฟนั /ทาฟลอู อไรด์ คร้งั 2,691 1,974 1,643

1.6 จา่ ยยา,ตรวจฟนั ,ตดั ไหม คร้งั 4,838 4,174 2,680

2. งานทันตกรรมเฉพาะทาง

2.1 ทนั ตกรรมหตั ถการเดก็ ครง้ั 274 1,483 1,630

2.2 ทนั ตกรรมประดิษฐ์ ครงั้ 1,591 3,386 3,963

2.3 รกั ษาคลองรากฟนั ครั้ง 1,127 1,516 1,363

2.4 ศัลยกรรมช่องปาก ครั้ง 728 6,683 3,976

2.5 ทันตกรรมจดั ฟัน ครง้ั 3,313 3,371 3,430

2.6 ปรทิ นั ต์ ครง้ั 1,055 939 1,513

2.7 ทนั ตกรรมบดเคี้ยว ครั้ง 141 104 86

3. งานทันตกรรมรักษาผปู้ ุวยใน

3.1 การให้บริการผปู้ ุวยใน (IPD) ครง้ั /งาน 310/1,193 419/1,517 661/2,886

4.3 การรบั /ส่งตอ่ ผูป้ ุวยจากโรงพยาบาลตา่ งๆ หน่วยนับ ปงี บประมาณ 2562
รายการ
ราย 5
การรับผปู้ วุ ย (Refer In) จานวน 748 ราย ราย 84
- รพ.แพร่ ราย 38
- รพ.แม่เมาะ ราย 49
- รพ.เกาะคา ราย 36
- รพ.เสริมงาม ราย 91
- รพ.งาว ราย 36
- รพ.แจ้ห่ม ราย 138
- รพ.วังเหนอื ราย 5
- รพ.เถิน ราย 70
- รพ.แม่พริก ราย 43
- รพ.แม่ทะ ราย 12
- รพ.สบปราบ ราย 141
- รพ.หา้ งฉัตร
- รพ.เมอื งปาน

85รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

รายการ หน่วยนับ ปงี บประมาณ 2562
งานส่งตอ่ ผูป้ ุวย ( Refer Out ) จานวน 61 ราย
ราย 11
- รพ.มหาราชนครเชยี งใหม่ ราย 4
- รพ.มะเรง็ ลาปาง ราย 46
- คณะทันตแพทย์ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่

4.4 การใหบ้ ริการทันตกรรมในโรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตาบล ปีงบประมาณ 2562

4.5 ผลงานส่งเสริมทนั ตสขุ ภาพหญงิ มคี รรภ์

กจิ กรรม เปูา 2560 ปงี บประมาณ 2562
หมาย คน ร้อยละ 2561 คน ร้อยละ

คน ร้อยละ

หญิงมีครรภ์ ได้รับการตรวจสขุ ภาพ 80% 637 62.45 277 30.51 278 40.29
ช่องปากและใหท้ นั ตสขุ ศึกษาครั้งแรก

86 รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

4.6 ผลงานการส่งเสริมปูองกนั ทันตสขุ ภาพเดก็ ปฐมวัย กลมุ่ อายุ 0 - 5 ปี

 กลมุ่ เดก็ ปฐมวยั 0-2 ปี (เดก็ ในคลนิ กิ เด็กดี)

กจิ กรรม เปูา ปงี บประมาณ
หมาย 2560 2561 2562
คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน รอ้ ยละ

ตรวจสขุ ภาพช่องปากและใหท้ นั ต 80% 2,499 60.82 2,994 64.60 2,348 60.05

สขุ ศกึ ษา

ผปู้ กครองฝึกแปรงฟนั แบบลงมอื 80% 1,850 45.02 2,779 59.96 2,693 68.87

ปฏิบตั ิ หรอื ได้รับการฝกึ แปรงฟัน

แบบลงมือปฏิบัติ และplaque

control นับรวมฝกึ ผปู้ กครองทา

ความสะอาดชอ่ งปาก

เด็ก 0-2 ปี เคลอื บ/ทา ฟลูออไรด์ เฉพาะรายท่ี 939 22.85 1,795 38.73 1,683 43.04

เฉพาะท่ี เสยี่ งต่อการ

เกิดฟนั ผุ

แหลง่ ข้อมลู : ระบบ Health Data Center (HDC)

 กลุ่มเดก็ ปฐมวยั 3-5 ปี ( ศนู ย์พัฒนาเด็กเล็ก )

กจิ กรรม เปูา 2560 ปีงบประมาณ 2562
หมาย คน ร้อยละ 2561 คน รอ้ ยละ
2,923 95.27 2,492 72
ตรวจสขุ ภาพชอ่ งปากและให้ทนั ตสุข 80% คน ร้อยละ
2,360 คน 3,187 77.79 2,946 คน
ศกึ ษา
3,408 คน
ไดร้ บั บริการทนั ตกรรม (ทาฟลูออไรด์ ในรายท่ี

อดุ ฟัน ถอนฟัน รักษารากฟัน) จาเปน็

แหล่งขอ้ มูล : ระบบ Health Data Center (HDC)

87รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

4.7 ผลลพั ธ์การดาเนนิ งานส่งเสรมิ ปูองกันโรคในชอ่ งปาก ในกลมุ่ อนามยั แมแ่ ละเด็กกลมุ่ 0-5 ปี

ร้อยละ 50 กราฟแสดงร้อยละโรคฟนั ผุกล่มุ อายุ 3 ปี พ.ศ.2560 – 2562
45 อาเภอเมืองลาปาง
40
35 3 ปี KPI <= 50

40.82
34.81 36

30
2560 2561 2562

แหล่งขอ้ มูล : ผลสุ่มสารวจสภาวะทันตสขุ ภาพเดก็ 3 ปขี องกลุ่มงานทันตสาธารณสุข สสจ.ลาปาง

จากการดาเนินงานสง่ เสริมปูองกนั โรคในช่องปาก ในกลุ่มหญิงมคี รรภแ์ ละกลุ่มเด็ก 0 - 2 ปี ในคลินิกเดก็ ดี
ทง้ั ในโรงพยาบาลและในรพ.สต.ท้ัง 27 แหง่ พบวา่ สภาวะโรคฟันผใุ นกลมุ่ เด็กอายุ 3 ปี ในเขตอาเภอเมอื ง จาก
ปี พ.ศ. 2560 - 2562 เป็น ร้อยละ 40.82, 34.81 และ 36.00 ตามลาดับ

4.8 ผลงานการส่งเสริมปูองกันทนั ตสขุ ภาพกลมุ่ เด็กวัยเรียน 6-15 ปี (ในโรงเรียน ท้งั หมด 65 แหง่ )

กิจกรรม หน่วย ปีงบประมาณ
นับ 2560 2561 2562
คน รอ้ ยละ คน รอ้ ยละ คน รอ้ ยละ

ตรวจสุขภาพชอ่ งปาก คน 11,120 96.50 9,649 96.85 9,492 96.13

ให้บริการทนั ตกรรม คน 2,840 2,382 1,974

อดุ ฟนั คน/ซ่ี 1,599/2,483 1,377/2,309 931/1,412

ถอนฟัน คน/ซ่ี 245/324 281/396 194/291

ขดู หินปูน คน 811 786 565

เคลอื บรอ่ งฟัน คน/ซ่ี 305/501 536/1,174 594/1,188

แหล่งขอ้ มูล : ข้อมลู รายงานการออกให้บรกิ ารทนั ตกรรมโรงเรยี น

88 รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

4.9 ผลลัพธ์ การดาเนินงานส่งเสริมโรคในช่องปากกลมุ่ เดก็ 6 -15 ปี

กราฟแสดงร้อยละโรคฟันผุกลมุ่ อายุ 12 ปี พ.ศ.2560 – 2562
ร้อยละ อาเภอเมือง ลาปาง
50 48.83

45 45.35 12 ปี KPI <= 48

42

40

2560 2561 2562

แหล่งข้อมูล : ผลสมุ่ สารวจสภาวะทันตสขุ ภาพเดก็ 12 ปี ของกลมุ่ งานทันตสาธารณสขุ สสจ.ลาปาง

จากการดาเนินงานส่งเสริมปอู งกันโรคในชอ่ งปาก ในกลมุ่ เดก็ 5- 16 ปี ในโรงเรยี นทงั้ 65 แหง่ พบวา่
สภาวะโรคฟนั ผุในฟันแท้ ในกลุม่ เดก็ อายุ 12 ปี ในเขตอาเภอเมอื งของปตี ้งั แต่ปี พ.ศ. 2560 - 2562 คิดเป็น
ร้อยละ 45.35, 48.83 และ 42.00 ตามลาดบั

4.10 ผลลัพธ์ การดาเนนิ การใหบ้ รกิ ารทนั ตกรรมกล่มุ เด็ก 6 -15 ปี

แหลง่ ขอ้ มูล : ระบบ Health Data Center (HDC)

จากผลการดาเนินงานส่งเสรมิ ทนั ตสุขภาพและการให้บริการทนั ตกรรมเดก็ นักเรียนในกล่มุ เดก็ 6 - 15 ปี
ในโรงเรยี นท้ัง 65 แห่ง อยา่ งต่อเนือ่ งทกุ ปี ทาใหส้ ภาวะฟนั แท้ของเด็กอายุ 12 ปี ฟันดไี ม่มรี ผู ุ ไดร้ ้อยละ
85.09 ผา่ นเกณฑต์ ัวชว้ี ัดของกระทรวงสาธารณสขุ ปี 2562 คอื ร้อยละ 52

89รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

4.11 ผลการดาเนินงานส่งเสรมิ ทนั ตสขุ ภาพในผปู้ วุ ยเบาหวาน

กิจกรรม เปูา ปีงบประมาณ
หมาย 2560 2561 2562
คน ร้อยละ คน รอ้ ยละ คน รอ้ ยละ

ตรวจสขุ ภาพช่องปาก 80% 4,522 35.37 5,326 38.75 6511 47.77

ให้บรกิ ารทันตกรรม ตามความ 5,355 41.89 6,420 46.71 8192 60.11
จาเปน็

แหล่งข้อมลู : ระบบ Health Data Center (HDC)

4.12 ผลการดาเนินงานการส่งเสรมิ ทันตสขุ ภาพกลุ่มผู้สูงอายุ

กิจกรรม เปูา 2560 ปงี บประมาณ 2562
หมาย คน รอ้ ยละ 2561 คน รอ้ ยละ

คน ร้อยละ

ตรวจคัดกรองสขุ ภาพชอ่ งปากและ 80% 28,060 76.33 30,072 81.09 20,814 55.25

ให้คาแนะนาฝึกทกั ษะการทาความ

สะอาดชอ่ งปาก

สนบั สนุนการจัดบรกิ ารใส่ฟันเทยี ม 200 181 90.5 186 93 206 100

ตามโครงการฟนั เทียมพระราชทาน ราย

แหล่งขอ้ มลู : ระบบ Health Data Center (HDC) และ ขอ้ มลู รายงานฟนั เทียมพระราชทาน ได้จาก เวปไซต์

http://dental.anamai.moph.go.th/elderly/checkpatient54.php

4.13 ผลงานการสนบั สนุนให้ รพ.สต.มีการจัดบริการสุขภาพช่องปาก 6 กลมุ่ เปาู หมาย 14 กิจกรรมและ

จดั บรกิ ารสุขภาพชอ่ งปาก 200 คน ตอ่ 1,000 ประชากร เปาู หมาย ร้อยละ 60

รายการ หน่วยนับ ปงี บประมาณ
2560 2561 2562

รพ.สต./ศสม.ที่จัดบรกิ ารสุขภาพช่องปากที่มคี ุณภาพ รอ้ ยละ 77.77 78.57 74.07

ครบทัง้ 2 องค์ประกอบ

- องคป์ ระกอบที่ 1 มีรพ.สต./ศสม. ที่จดั บริการ

สขุ ภาพชอ่ งปากตามเกณฑ์ใน 6 กลุ่มเปาู หมาย 14

กจิ กรรม

- องคป์ ระกอบท่ี 2 รพ.สต./ศสม. ท่จี ัดบรกิ ารสขุ ภาพ

ชอ่ งปากทคี่ รอบคลุมประชากรรอ้ ยละ 20

90 รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

5. ผลงานท่ีภาคภูมิใจ/ผลงานเด่น ปงี บประมาณ 2562
1) ผสู้ งู อายไุ ด้รับการใสฟ่ ันปลอมถอดได้ฐานพลาสติก (ฟนั ปลอมมากกวา่ 16 ซ่)ี

ชื่อผู้รบั ผดิ ชอบ ทีมทนั ตแพทย์สาขาทันตกรรมประดษิ ฐ์/ ทพญ.ประกายมาศ คสู ุวรรณ
คาอธบิ าย เป็นตวั ชวี้ ดั ของกระทรวงสาธารณสุขทผี่ ้สู งู อายทุ ่มี ีอายมุ ากกว่า 65 ปี สูญเสยี ฟนั และ
จาเป็นตอ้ งใส่ฟนั ปลอมถอดได้ฐานพลาสตกิ มากกวา่ 16 ซ่ีข้นึ ไป จะไดร้ บั การทาฟันปลอมจานวน
200 ราย ในปี พศ. 2562 เมื่อส้ินสดุ เดือนกันยายน 2562 ผสู้ ูงอายไุ ดร้ บั การใสฟ่ ันปลอมจานวน 206
ราย (100%)
2) ผูป้ ุวยโรคปากแหวง่ เพดานโหว่ ไดร้ ับการดแู ลต้ังแตแ่ รกเกดิ โดยทีมแพทย์-ทนั ตแพทย์สหสาขา
ผรู้ ับผดิ ชอบ ทมี แพทย์-ทนั ตแพทย์/ ทพญ.อิม่ ใจ อินทะไชย, ทพ.เพชรพงศ์ ฉัตรชยั สถาพร
คาอธบิ าย ผู้ปวุ ยแรกเกดิ ทีม่ ีภาวะปากแหว่ง เพดานโหว่ จะได้รับการดแู ลโดยทมี แพทย์-ทันตแพทย์
เพือ่ ทีผ่ ู้ปวุ ยจะได้รบั การผา่ ตัดซ่อมแซม สามารถดดู นมใชช้ วี ิตตามปกตไิ ด้ โดยในปี2562 ทางกลุ่ม
งานทันตกรรมไดด้ แู ลผู้ปุวยแรกเกิดทีม่ ีภาวะปากแหวง่ เพดานโหว่ ทงั้ ภายในเขตอาเภอเมืองลาปาง
และจากโรงพยาบาลชมุ ชนต่างๆ 100%

91รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

กลุม่ งานผปู้ วุ ยนอก

1. โครงสรา้ งหน่วยงาน ปงี บประมาณ 2562 (ขอ้ มูล ณ วนั ที่ 30 กันยายน 2562)

นายแพทยท์ รงวฒุ ิ ทรัพยท์ วีสนิ
ผอู้ านวยการโรงพยาบาลลาปาง

นายแพทยจ์ รลั ปันกองงาม
รองผู้อานวยการฝุายการแพทยค์ นท่ี 1

นายแพทยอ์ ตนิ าท ศรรี ัตน์
หวั หนา้ กลมุ่ งานผู้ปวุ ยนอก

นางพรทวิ า ทกั ษณิ
หัวหนา้ กลุ่มงานการพยาบาลผู้ปุวยนอก

งานหอ้ งตรวจ

หอ้ งตรวจอายุรกรรม หอ้ งตรวจสตู -ิ นรีเวชกรรม ห้องตรวจกระดูก ห้องตรวจตา

หอ้ งตรวจสุขภาพ ห้องตรวจ EKG หอ้ งตรวจ หู คอ จมูก ห้องคดั กรอง

หอ้ งตรวจกมุ ารเวชกรรม หอ้ งตรวจนอกเวลา ห้องตรวจศลั ยกรรม ห้องฉดี ยา-ทาแผล
ราชการ
หอ้ งตรวจโรคเรอ้ื รัง/
ห้องตรวจ Day Care ห้องให้คาปรึกษา ศูนย์นาส่งผ้ปู ุวย เฉพาะทาง

คลนิ กิ พเิ ศษเฉพาะทาง
นอกเวลาราชการ (SMC)

92 รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

2. อัตรากาลงั (ข้อมูล ณ วนั ท่ี 30 กนั ยายน 2562)

บคุ ลากร ข้า ลูกจา้ ง จานวน (คน) ลกู จ้าง รวม หมาย
ราชการ ประจา ชว่ั คราว เหตุ
1. พยาบาลวชิ าชพี พนักงาน พนักงาน
2. เจา้ พนกั งานวิทยาศาสตร์ 75 ราชการ กระทรวงฯ
3. ผู้ช่วยเหลอื คนไข้ 1
4. พนกั งานเปล - - - - - 75
-
รวม 76 - - - -1

- 9 27 5 41

- 2 36 6 44

0 11 63 11 161

3. ศักยภาพในการใหบ้ ริการ
 แพทย์ : มีแพทยเ์ ฉพาะทางออกตรวจครบทกุ สาขา
 พยาบาล : บุคลากรพยาบาลมคี วามรู้ ความสามารถในงานบริการ excellent center และ service

plan ใหก้ ารดแู ลผู้ปวุ ยโรคเรือ้ รงั /สูงอายุ ตาม Chronic care model มีความรู้ ความสามารถในการ

ทาวิจยั และนวัตกรรม
 ระบบงาน :

- นาเทคโนโลยมี าใช้ในการบรกิ ารและบนั ทกึ ข้อมูลทางการพยาบาล/การตรวจรกั ษา
- ใช้ MEWS เป็นแนวทางในการประเมนิ และเฝาู ระวังผปู้ วุ ยท่ีมีอาการเปลี่ยนแปลงเขา้ สู่ภาวะ

ฉกุ เฉนิ /วกิ ฤต และให้การพยาบาล/จดั การตามแนวทางอยา่ งทนั ท่วงทีเพ่ือให้ผ้ปู ุวยปลอดภัย
- จัดรปู แบบการใหบ้ ริการตรวจรกั ษาคลนิ ิกพิเศษเฉพาะทางนอกเวลาราชการ ตง้ั แตเ่ วลา

16.30 - 20.30 น. ในวนั จันทร์- พฤหัสบดี ในคลนิ กิ อายุรกรรมทัว่ ไป/ โรคหวั ใจ/โรคข้อ/โรค

เลือด/โรคไต/โรคมะเร็ง/ คลนิ กิ ศัลยกรรมระบบทางเดนิ ปสั สาวะ/คลนิ ิกศลั ยกรรมกระดกู
และขอ้ /คลนิ ิกกมุ ารเวชกรรมและคลนิ กิ จิตเวช
- ระบบการดแู ลผ้ปู วุ ยเรื้อรงั โดยใช้ Chronic care model มีการใช้ CPG , Care Map CNPG

ในการดแู ลผ้ปู วุ ยในกลุ่มโรคทีส่ าคญั และนารูปแบบการจดั การรายกรณีมาใชใ้ นการดูแล
ผู้ปุวย DM HT COPD TB ไต หวั ใจ มะเร็งเต้านม โรคสมองเสอ่ื ม คลนิ กิ ผูส้ ูงอายุ โรคฮีโมฟี

เลยี แผลเรือ้ รังท่ีเกิดจากหลอดเลือด มะเรง็ ลาไส้ใหญ่และทวารหนกั เป็นต้น
- เปดิ คลินิกเฉพาะทางมะเรง็ วทิ ยาห้องตรวจศัลยกรรม มีผู้รบั บรกิ ารประมาณ 40 - 60 คน/

วัน ในกลุ่มผูป้ ุวยกลุ่มมะเร็ง เตา้ นม มะเรง็ ลาไส้ใหญแ่ ละทวารหนัก และมะเรง็ วทิ ยา
- การพัฒนาระบบบรกิ ารการผา่ ตัดแบบวันเดียวกลับ (One Day Surgery : ODS) ร่วมกับ

แผนกศลั ยกรรม
 เคร่อื งมือสาคัญ/เทคโนโลยี :

- นาตู้ KIOSK มาใช้เพ่อื ลดขน้ั ตอนการทาบัตรและรบั รรู้ ายได้
- ใช้ระบบ Paperless
- ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ HIS OPD/HIS Nurse OPD ในการบริการและบนั ทกึ ขอ้ มูล

ทางการพยาบาล/การตรวจรักษา

93รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

4. ผลการดาเนินงาน/กจิ กรรม/สถติ ิ ปีงบประมาณ 2560- 2562

สถิตกิ ลุ่มโรคงานผ้ปู ุวยนอก 5 อันดบั ทพี่ บมากได้แก่ โรคความดนั โลหติ สูง โรคระบบเมตาบอลชิ ึม

และไขมันในเลอื ดสงู โรคไตวายเร้ือรัง โรคเบาหวาน และโรคหัวใจ ตามลาดบั

ลาดับ ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562
โรค จานวน โรค จานวน โรค จานวน

1 HT 56,310 HT 69,834 HT 33,318

2 DLP 47,089 DLP 68,998 Chronic renal failure 25,668

3 DM type II 34,011 DM type II 41,918 DM type II 18,671

4 Chronic renal failure 15,669 Neoplasms 36,627 HIV 11,432

5 Calculus of 8658 Chronic renal 34,305 Diseases of pulp+ 8,856

kidney and ureter failure periapical tissues

5. ผลการดาเนินงานตามตวั ชี้วดั

ลาดบั ตัวชวี้ ัด เกณฑ์ ปี 2560 ผลลัพธ์ ปี 2562
86.67 ปี 2561 87.59
1 ความพงึ พอใจของผ้ปู ุวยนอกเฉล่ีย (ระดบั ดีมาก+ดี) > 85% 124 85.94 114.5
97.10 97.23
2 Total Cycle time การบรกิ ารผู้ปวุ ยนอก < 120 117
100 96.01 100
3 การรบั รคู้ วามเจ็บปวุ ย การดแู ลตนเอง และการเฝูา > 90%
ระวงั อาการผดิ ปกติทคี่ วรเฝาู ระวังในผปู้ วุ ยคลินิกพเิ ศษ 0 100 0

4 ผรู้ ับบริการได้รับการคดั กรองโดยเจา้ หนา้ ทีท่ างการ > 95% 93.15 0 93.18
94.60 91.10
พยาบาลก่อนเขา้ รับการตรวจรักษา 92.86 91.75 91.67
100 94.50 100
5 อบุ ตั กิ ารณก์ ารช่วยฟื้นคนื ชีพโดยไมไ่ ดว้ างแผน 0 100 93.82 100
100
(Unplaned CPR) 95.76 100 100
100 100
6 ร้อยละของคะแนนความสามารถในการดแู ลตนเอง > 90% 98.70
2 100 2
ของผ้ปู ุวยโรคเรื้อรงั 88.52 93.97
2
- DM 92.01

- HT

- COPD

7 รอ้ ยละของการพฒั นาศกั ยภาพบคุ ลากรตามแผน 100%

8 บคุ ลากรทางการพยาบาลได้รับการฝึกอบรมอยา่ ง 100%

น้อย 3 วนั /คน/ปี

9 รอ้ ยละของบุคลากรไดร้ บั การตรวจสุขภาพประจาปี > 90%

10 รอ้ ยละของหน่วยงานทีผ่ ่านเกณฑก์ ารประเมนิ การ > 90%

จัดการความร้รู ะดบั 3 ขน้ึ ไป

11 มงี านวจิ ยั /นวัตกรรม/EBP มาใช้ในการพัฒนางาน 1 เรอ่ื ง

12 คุณภาพบันทึกทางการพยาบาลใน OPD card > 90%

94 รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

6. ตัวช้วี ดั ผลการดาเนนิ งาน (Performance Indicator)

ช่อื ตวั ชว้ี ดั การวิเคราะห์

รอ้ ยละคะแนนความพงึ พอใจของผปู้ วุ ยนอก > 85% กลุม่ งานผปู้ วุ ยนอกมกี ารพัฒนาและปรบั ปรุงการบรกิ าร

(ระดบั ดีมาก+ดี) อย่างต่อเน่ือง โดยใช้ Lean management นาเทคโนโลยี

120 88.83 85.51 86.67 85.94 87.59 มาใชใ้ นการพัฒนา เชน่ ระบบ Paperless /ตู้ KIOSK มาใช้
100 ในการลดขนั้ ตอนการทาเวชระเบยี น /การเงนิ จัดโชนการ
ให้บรกิ ารหอ้ งตรวจท่ีเหมาะสมกบั สัดส่วนผู้ใชบ้ รกิ าร โดย
80

60 การปรับปรงุ สถานท่ีใหก้ วา้ งขวาง สะอาดอากาศถ่ายเทดี มี

40 ปูายบ่งชซี้ ดั เจน สะดวกในการเข้าถึงบริการ

20

0
ป2ี 558 ป2ี 559 ปี2560 ปี 2561 2562

รอ้ ยละคะแนนการรับรคู้ วามเจ็บปุวย การดแู ลตนเอง กลุม่ งานผู้ปุวยนอกมีการดาเนนิ การดูแลผปู้ วุ ยดแู ลผูป้ วุ ย
และการเฝูาระวังอาการผดิ ปกติท่คี วรเฝาู ระวังในผ้ปู ุวย เรื้อรงั โดยใช้ Chronic care model รว่ มกบั มีการนา
รูปแบบการจัดการรายกรณมี าใชใ้ นและมีระบบการให้
คลนิ กิ พเิ ศษ > 90% ข้อมูล/คาแนะนา ในสว่ นทีเ่ กี่ยวกับโรคและการปฏบิ ัตติ วั ที่
ถูกตอ้ งในการปูองกนั การเกิดภาวะแทรกซ้อน ทงั้ รายบุคคล
120 93.61 96.27 97.16 96.67 97.23 รายกลมุ่ และการจดั กจิ กรรมการสอน ใช้หลักการ Self -
100 management support ในกลุ่มผปู้ ุวยเบาหวานท่คี มุ
น้าตาลยาก รวมท้ังเป็นการประกันคณุ ภาพบรกิ ารพยาบาล
80 ด้วย
60
40
20
0

ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 2562

ร้อยละคะแนนคุณภาพการบันทกึ ทางการพยาบาล>90% พัฒนารปู แบบการบนั ทกึ จากบนั ทกึ ในกระดาษ/ใบ Digital

120 92.54 90.95 88.52 90.06 93.97 card เป็นแบบอเิ ลก็ ทรอนกิ สใ์ นโปรแกรม HIS Nurse OPD
100 ท่ีมรี ายการครอบคลุม ครบถ้วนตามเกณฑ์สปสช. โดยจัดทา
โปรแกรมรว่ มกับ Programmer มกี ารจดั อบรม สร้างความ
80

60 ตระหนักใหบ้ ุคลากรเหน็ ความสาคญั ของการบนั ทกึ ทางการ
40
20 พยาบาลในเวชระเบยี น มกี ารติดตามประเมนิ ผล และมกี าร
ปรับปรุงแกไ้ ขอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง เพือ่ ให้เกดิ ความสมบรณู ์มาก
0 ย่ิงข้นึ อีกท้งั ไดก้ าหนดเป็นการประเมนิ ผลการปฏบิ ัตงิ าน
ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 2562

รายบคุ คลรว่ มดว้ ย

ระยะเวลาการใหบ้ ริการ(Total Cycle time) <120 นาที พัฒนาระบบบริการ ลดความแออัดในผ้ปู ุวย มกี ารจัดคิวนดั

160 130.5 127 124 119 114.5 ตามชว่ งเวลา มีการพัฒนาระบบ Paperless เพ่อื ลดเวลา
140 การรอคอยในผปู้ ุวยนดั พฒั นาระบบการนัดเป็นช่วงเวลา

120 เพอ่ื ลดความแออดั นาตู้ KIOSK มาใช้ในการลดขนั้ ตอนการ
100
80 ทาเวชระเบยี น /การเงนิ มีแพทยท์ ร่ี บั ตรวจเฉพาะผู้ปุวย
60
40 walk-in ของห้องตรวจศัลยกรรม และ พฒั นาโปรแกรมการ

20 รบั -สง่ ตอ่ (Thai-Refer) ให้มปี ระสทิ ธิภาพมากขึน้
0

ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562

95รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

7. การพฒั นาคณุ ภาพตอ่ เนอื่ ง

แผนงาน กิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพ วตั ถุประสงค์ ตวั ช้วี ดั

1. พัฒนาระบบบริการงาน การให้บรกิ ารงานผู้ปวุ ยนอก เพ่อื ใหผ้ รู้ ับบริการเข้าถึง - ร้อยละความพึงพอใจ

ผู้ปุวยนอกโดยใช้ ดว้ ยระบบ IT ไดแ้ ก่ ระบบ ระบบบรกิ ารที่สะดวก ของผูร้ ับบรกิ ารงานผู้ปุวย

สารสนเทศเพ่ือกา้ วเปน็ Paperless, คิวอตั โนมตั ,ิ และทันสมยั นอก > 85%

Smart OPD สู่ Smart KIOSK, Tablet - Cycle time

Hospital

2. พัฒนาพฤติกรรมบริการ จดั โครงการอบรมการฟ้ืนฟู เพื่อสร้างจิตสานกึ ในการ ร้อยละความพงึ พอใจของ

เพื่อเพ่ิมความประทบั ใจใน ความรูแ้ ละพฤตกิ รรมบริการใน บรกิ ารผู้ปุวยนอก ผรู้ บั บรกิ ารงานผู้ปุวย

การใชบ้ รกิ ารของผปู้ ุวย การบรกิ ารผู้ปุวยนอก นอก > 85%

3. พัฒนาบริการคลินกิ - เพ่ิมบรกิ ารคลินิกตรวจรกั ษา เพอ่ื ลดความแออดั และ รอ้ ยละความพึงพอใจของ

พเิ ศษเฉพาะทางนอกเวลา ให้ ครอบคลุมทุกแผนก ระยะเวลารอคอย ผู้รับบริการคลนิ กิ พิเศษ

ราชการ (SMC) - ปรับสถานทตี่ ัง้ คลนิ ิกพเิ ศษ เฉพาะทางนอกเวลา

เฉพาะทางนอกเวลาราชการ ราชการ > 85%

4. พฒั นาการจดั การ จดั อบรมให้ความรแู้ ก่ เพอ่ื ใหบ้ คุ ลากรมีความรู้ - รอ้ ยละของการปฏบิ ัติ

ความรู้ในการประเมินและ ผู้ปฏบิ ัตงิ าน มีทกั ษะในการประเมิน ตามแนวทาง

เฝูาระวังผูป้ ุวยทีม่ อี าการ จัดทาสื่อใหใ้ ช้งานไดอ้ ย่าง และเฝูาระวงั ผู้ปวุ ยท่ีมี - อุบัติการณ์การช่วยฟ้นื

เปล่ยี นแปลงเข้าสภู่ าวะ สะดวก ชัดเจน และเปน็ อาการเปลยี่ นแปลงเข้าสู่ คนื ชีพโดยไม่ได้วางแผน

วกิ ฤต แนวทางเดียวกันทกุ หอ้ งตรวจ ภาวะวิกฤต (Unplaned CPR) =0

5. พัฒนาคลนิ ิก pre- ให้คาแนะนาการปฏิบัตติ วั ก่อน เพื่อให้ผู้ปวุ ยสามารถ ร้อยละของคะแนน

admit ร่วมกบั ทมี วิสัญญี ผ่าตัด ดแู ลตัวเองหลังผ่าตัดได้ ความสามารถในการดแู ล

โรงพยาบาลลาปาง อย่างถกู ต้อง ตัวเองหลงั ผ่าตัดไดอ้ ยา่ ง

ถูกตอ้ ง > 80%

6. พัฒนาคลนิ ิกมบี ตุ รยาก ใหค้ าปรึกษาและฉีดยากระตุ้น เพื่อเพ่ิมทางเลือกในการ มีคลินิกมีบุตรยากเปิด

ไข่ ตรวจดจู านวน ใหบ้ รกิ าร ให้บริการ

เช้ืออสจุ ิ

7. พัฒนาศักยภาพ สนบั สนนุ /ส่งเสรมิ ใหบ้ คุ ลากร เพื่อใหบ้ ุคลากรมีความรู้ ร้อยละของการเข้าร่วม

บคุ ลากรทง้ั ด้านความร้แู ละ เข้ารว่ มประชมุ วิชาการตาม และทักษะในการบริการ ประชมุ ฝกึ อบรม

ทกั ษะในการดแู ลผูป้ วุ ยโรค แผน ผู้ปวุ ย ตามแผน > 80%

สาคญั /โรคตามExcellent

8. พัฒนางานบรกิ ารผู้ปุวย - ประชุมแลกเปลีย่ นเรียนรู้การ เพื่อให้ผรู้ บั บรกิ ารไดร้ บั ร้อยละความพึงพอใจของ

นอกของรพ.เครือขา่ ย ตาม พฒั นางาน OPD ร่วมกับ บรกิ ารท่ีเปน็ มาตรฐาน ผู้รบั บรกิ ารงานผู้ปวุ ย

โครงการ Lampang โรงพยาบาลเครือขา่ ย เดียวกนั ทัง้ จังหวัด นอก > 85%

Model : One Province - เปน็ ที่ปรึกษาการดาเนนิ งาน

One Hospital OPD

9. พฒั นาระบบการนดั On จัดทาตารางการนัดเป็น เพอื่ ลดความแออัดและ มีระบบการนดั On Line

Line /นัดเปน็ ช่วงเวลา ช่วงเวลาของแตล่ ะห้องตรวจ ระยะเวลารอคอย

10. พฒั นาระบบการนาส่ง ใชโ้ ปรแกรม Smart Transfers เพือ่ ความสะดวก รอ้ ยละของการรับส่ง

ผู้ปวุ ยโดยใชโ้ ปรแกรม ในการขอรับบรกิ ารศูนย์นาส่ง รวดเรว็ ในการให้บริการ ผปู้ ุวยกลุม่ สีแดงทนั เวลา

Smart Transfers ผูป้ วุ ย นาส่งผปู้ ุวย > 80%

96 รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

สรปุ ผลการปฏบิ ัตงิ านผู้ปุวยนอก ประจาปีงบประมาณ 2562
 ดา้ นบรหิ าร
1) พฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการระบบงานผปู้ ุวยนอก (Smart OPD) โดยใชร้ ะบบ LEAN Management
มกี ารนาตู้ KIOSK มาใช้เพือ่ ลดขัน้ ตอนการทาประวัติของงานเวชระเบยี นและการเงิน
2) การนาระบบคิวอัตโนมัตมิ าใช้ทห่ี ้องตรวจศัลยกรรมและหอ้ งตรวจกระดูก
3) พฒั นาระบบการบรกิ ารผู้ปวุ ยนอกโดยใชโ้ ปรแกรม HIS OPD/ HIS Nurse OPD
4) การจดั บรกิ ารคลนิ กิ พเิ ศษเฉพาะทางนอกเวลาราชการ (SMC) เพอ่ื เพิม่ ทางเลือกสาหรับประชาชนในการ
ตรวจรกั ษากับแพทย์เฉพาะทาง ในวันจันทร์- พฤหสั บดี เวลา 16.30 - 20.30 น. ในคลินิกตรวจรกั ษาโรค
ทวั่ ไปดา้ นอายุรกรรม (โรคหัวใจ โรคขอ้ โรคเลอื ด โรคไต โรคมะเรง็ ) คลนิ ิกศัลยกรรมระบบทางเดิน
ปัสสาวะ คลนิ ิกศัลยกรรมกระดูกและข้อ คลนิ กิ กมุ ารเวชกรรมและคลินกิ จติ เวช EGD Colonoscope
Mamogram US CT ผลการดาเนินงาน มีจานวนผ้รู ับบรกิ าร 11,722 ราย ร้อยละความพงึ พอใจ 89.04
5) การบรหิ ารจดั การการรบั -ส่งผูป้ วุ ยของศูนย์นาสง่ ผู้ปุวยอย่างมีประสิทธภิ าพ (Smart Transfers) และ
การบารงุ รักษาเปลนอน/รถเขน็ นง่ั
6) การพัฒนาระบบการพยาบาลด้านความปลอดภยั ของผู้รับบรกิ ารโดยใชแ้ นวทางการประเมิน/เฝาู ระวัง
อาการเปล่ียนแปลงทส่ี าคญั ของผู้ปวุ ยท่ีเขา้ สู่ภาวะฉกุ เฉนิ /วกิ ฤติโดยใช้ MEWS Scores
7) การพฒั นาระบบการบันทกึ ทางการพยาบาลงานผ้ปู วุ ยนอกแบบอเิ ลก็ ทรอนกิ สร์ องรับระบบPaperless
8) การพฒั นาการบนั ทกึ ความเสยี่ ง / การบริหารจัดการความเสีย่ ง
9) การพัฒนาศกั ยภาพบุคลากรทางการพยาบาล โดยจดั อบรมฟ้ืนฟูความรูท้ กั ษะการบริการผู้ปุวยนอก
ในวันเสารซ์ ึง่ เป็นวันหยดุ ราชการ 100 % ปีละ 1 ครัง้
10) สง่ เสรมิ /กระตุ้น สรา้ งจติ สานึกพฤตกิ รรมบริการเจา้ หนา้ ท่ีงานผปู้ วุ ยนอก
11) การสร้างวฒั นธรรมความปลอดภยั ของเจา้ หนา้ ทีโ่ ดยดแู ลใหบ้ คุ ลากรงานผปู้ ุวยนอกเขา้ รับการตรวจ
สุขภาพประจาปี 100%
12) การพฒั นาระบบบริหารจดั การผู้ปุวยกลุ่มโรคมะเร็งทไ่ี ด้รบั ยาเคมบี าบัด
13) จัดต้ังคลนิ กิ กัญชาทางการแพทย์ตามนโยบายกระทรวงสาธารณสขุ ให้บรกิ ารทุกสัปดาหใ์ นวนั พุธเวลา
8.00-16.00 น. ผลการดาเนินงาน มีผู้รบั บรกิ ารจานวน 113 ราย ได้รบั กญั ชา 25 ราย

 ดา้ นบรกิ าร
1) ใช้แนวทางการประเมนิ เฝาู ระวังอาการเปลยี่ นแปลงทส่ี าคญั ของผปู้ ุวยท่เี ขา้ สู่ภาวะฉกุ เฉนิ วิกฤตโิ ดยใช้

MEWS Scores ในการดแู ลผู้ปุวยที่มอี าการเปลี่ยนแปลงเขา้ สู่ภาวะวกิ ฤต ฉุกเฉิน ผลการดาเนนิ งาน :
ผู้ปวุ ยที่ได้รับการประเมินเป็นผปู้ วุ ยกลุ่มสีเหลอื ง ไดร้ ับการประเมิน MEWS และได้รับการดแู ลตามระดับ
คะแนนร้อยละ 100 ไมพ่ บอบุ ตั กิ ารณ์การชว่ ยฟืน้ คนื ชีพโดยไมไ่ ด้นัดหมาย (Unplanned CPR = 0)
คา่ เฉลี่ยความพงึ พอใจของพยาบาลที่ใชแ้ นวทางการประเมนิ อยู่ในระดับสูงคิดเปน็ 4.3
2) พัฒนาคณุ ภาพการพยาบาลรองรับการบริการท่ีเป็นเลิศโดยใช้หลกั การการจดั การรายกรณีในการดูแล
ผปู้ วุ ยโรคหวั ใจ, มะเรง็ , ทารกแรกเกิด, DM, HT, COPD, ธาลัสซเี มยี
3) การประกนั คุณภาพการรบั ร้คู วามเจ็บปุวยในคลนิ ิกโรคเรอื้ รัง/เฉพาะทาง
4) พฒั นาระบบนัดเป็นชว่ งเวลาของห้องตรวจศัลยกรรม
5) การพัฒนาระบบการสง่ ตอ่ ผูป้ ุวยเรื้อรังเพ่อื ส่งเสรมิ การดูแลตอ่ เนือ่ งที่บา้ น
6) พัฒนาระบบห้องตรวจจกั ษุ สาหรับผปู้ วุ ยนัดผ่าตัด elective case ให้แอดมดิ เพอ่ื รอผ่าตดั ได้เลย การคดั
กรองสายตาของเด็กประถมศกึ ษาปที ่ี 1 ในโครงการเดก็ ไทยสายตาดี


Click to View FlipBook Version