The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปี 2562

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by datacenter.lph, 2021-11-03 05:37:04

รายงานประจำปี 2562

รายงานประจำปี 2562

97รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

ผลการดาเนนิ งานดา้ นบริการ

1. นวตั กรรม การบรหิ ารจัดการผู้ปวุ ยกล่มุ โรคมะเรง็ ที่มารบั ยาเคมบี าบัด ห้องตรวจศัลยกรรม ทต่ี ้องรบั

ยาเคมบี าบดั ตอ่ เน่อื ง ผลการดาเนินงานพบวา่ ผู้ปวุ ยกลมุ่ โรคมะเรง็ ที่มารบั ยาเคมีบาบัด มคี วามพรอ้ ม

ของข้อมูลและการผลตรวจประกอบการรักษา กรณผี ลเลอื ดไมผ่ ่านเกณฑ์ ได้รบั การโทรประสานเพื่อ

ขอเลอ่ื นนดั รบั ยาเปน็ สปั ดาห์ตอ่ ไป ไมเ่ สียเวลา ไมเ่ กิดการสญู เสียทรัพยากรด้านตา่ งๆ ร้อยละความ

พงึ พอใจของผรู้ บั บริการหอ้ งตรวจศัลยกรรมในกลมุ่ ผู้ปุวยมะเรง็ 83.63 อัตราการขาดนดั ผูป้ ุวยมะเรง็

ท่ีมารบั ยาเคมบี าบดั ร้อยละ 0.35

2. การพัฒนาคณุ ภาพการดูแลผูป้ ุวยเด็กธาลัสซเี มยี โรงพยาบาลลาปาง จดั ระบบบริการผูป้ วุ ยโรค

เด็กธาลัสซีเมยี ใหม้ คี ุณภาพชีวิตทีด่ ขี นึ้ ใกล้เคียงเดก็ ปกตแิ ละรับบริการใกล้บ้าน โดยส่งเสรมิ การใช้

รปู แบบการรักษาผปู้ วุ ยรายกรณี (Case Management) และมผี ู้รบั ผิดชอบดูแลผปู้ วุ ยโรคธาลสั ซี

เมยี และฮโี มฟเี ลยี ของโรงพยาบาลลาปาง ตลอดจนสนบั สนนุ และเปน็ พ่ีเลีย้ งในการจัดบริการคลนิ กิ

ธาลัสซเี มียโรงพยาบาลชุมชน

ผลการดาเนนิ งาน

ตัวชี้วดั เปูาหมาย ปีงบ 2560 ปงี บ 2561 ปีงบ 2562

1. ร้อยละผูป้ วุ ยเดก็ ธาลสั ซเี มยี ท่มี ี Hb >9mg > 25% 66 69.1 61.14

% (Hct >27%) ก่อนได้รบั การให้เลอื ด

2. รอ้ ยละผู้ปุวยเด็กธาลสั ซเี มียไดร้ บั การเตมิ > 80% 91.1 95.8 100

เลือดทีโ่ รงพยาบาลใกล้บ้าน

3. โครงการออกหน่วยต้อกระจกจงั หวดั ลาปาง

เพอ่ื ตอบสนองนโยบายพัฒนาระบบบริการสขุ ภาพกระทรวงสาธารณสุข (Service Plan)เพอื่ ความ
สะดวกในการเข้าถึงบริการโดยเฉพาะโรคตอ้ กระจกในผู้สงู อายุ จึงมีการรว่ มมือกับเครือขา่ ยสุขภาพในจังหวดั

ลาปางออกหนว่ ยตรวจตาผู้สงู อายุกลมุ่ เส่ยี งทไ่ี ดร้ ับการคัดกรองไวแ้ ล้วโดยผู้รับผดิ ชอบในชมุ ชนจานวน 12

รพช. และรับผ้ปู วุ ยต้อกระจกเขา้ มาผา่ ตัดในโรงพยาบาลลาปาง โดยมีบรกิ ารรถรบั -ส่ง ทาให้ผู้สูงอายไุ ด้รบั การ
รักษาอยา่ งสะดวกและรวดเรว็ อยา่ งมีมาตรฐาน ลดอตั ราตาบอดจากตอ้ กระจก มีคณุ ภาพชวี ิตที่ดขี ึ้น ลดความ

แออดั ของผู้รบั บริการหอ้ งตรวจจักษุ

ผลการดาเนินงาน
- จานวนผู้สูงอายุได้รบั การคัดกรองมาตรวจในโครงการ 962 ราย
- จานวนผู้สูงอายุทสี่ ่งเขา้ มาผ่าตัดตอ้ กระจกในโครงการ 282 ราย
- จานวนผสู้ ูงอายทุ ี่ไดร้ บั การผ่าตดั ต้อกระจกในโครงการ 262 ราย
- ผสู้ ูงอายุทมี่ โี รคทางตาอ่นื ๆและนดั เขา้ มาตรวจเพิม่ เตมิ 138 ราย

98 รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

 ดา้ นวิชาการ
1) พฒั นาคุณภาพการพยาบาลโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษใ์ นการคัดกรองผ้ปู วุ ย
2) จดั ทาวิจยั เพ่อื พัฒนาคุณภาพการดแู ลผูป้ วุ ยเบาหวานทค่ี วบคุมนา้ ตาลไม่ได้ โรงพยาบาลลาปาง
3) พฒั นาโปรแกรมการบันทกึ ทางการพยาบาลงานผปู้ ุวยนอกแบบอิเลก็ ทรอนิกสต์ ามมาตรฐานสปสช.
4) จัดทาแนวปฏิบัตใิ นการดูแลผูป้ ุวยจกั ษเุ ร้อื รงั โดยทีมสหสาขาวิชาชีพและการสง่ ตอ่ COC
5) จดั ทาแนวปฏบิ ัตใิ นการบรกิ ารคลินกิ กัญชาทางการแพทย์
6) จัดอบรมฟืน้ ฟูความรู้/ทักษะการบริการผู้ปวุ ยนอกใหเ้ จา้ หน้าทที่ ุกระดับปีละ 1 ครงั้
7) จดั เจา้ หนา้ ทเ่ี ข้าร่วมประชมุ /อบรมตามกล่มุ โรคทีร่ ับผดิ ชอบ และตามสาขา Service plan
8) จัดเจ้าหนา้ ท่เี ข้าร่วมประชมุ /อบรมในกล่มุ งานและของโรงพยาบาล

 การพฒั นาคุณภาพทีจ่ ะดาเนินการต่อไป
1. ระบบการนดั On Line /ระบบแจง้ คิวอตั โนมตั ิ
2. ระบบบรกิ ารผูป้ ุวยนอกโดยใช้ระบบ Paperless 100%
3. การนาระบบควิ อัตโนมัตมิ าใชท้ ห่ี อ้ งตรวจศลั ยกรรมและห้องตรวจกระดูก
4. OPD NO Walk- in
5. ระบบการส่งต่อผปู้ ุวยจากโรงพยาบาลชุมชน/เครือข่าย
6. ONE VN ONE QUEU

ความภาคภมู ิใจและผลงานทีด่ ีรบั สามารถนาไปขยายไดท้ ้งั ในและนอกกลมุ่ งาน ( ปีงบ 2560 -2562)

ผลงานที่ภาคภมู ใิ จ ปีท่ไี ด้รบั รางวัล หนว่ ยงานท่นี าไปเผยแพร่

Best Practice เขตสุขภาพที่ 1 การพัฒนา 2560 พฒั นาบริการสุขภาพ Service Plan

คณุ ภาพเครือข่ายบริการของโรคธาลัสซเี มียในเดก็

รางวัลชมเชยผลการใช้แนวทางในการประเมนิ /เฝูา 2560 การประชุมวชิ าการเครือข่ายวจิ ยั

ระวังอาการเปลี่ยนแปลงท่สี าคญั ของผูป้ ุวยท่ีเขา้ สู่ ภาคเหนือ

ภาวะฉุกเฉิน/วกิ ฤติ งานผู้ปวุ ยนอก รพ.ลาปาง

ผลการประเมินความพงึ พอใจผู้รับบรกิ ารประเภท 2560 สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

ผ้ปู วุ ยนอก โรงพยาบาลลาปางอยใู่ นอันดับที่ 2 โดยสานกั วิชาการสาธารณสุข

ของระดับโรงพยาบาลศูนยท์ ่ัวประเทศ

ผลการประเมนิ ความพงึ พอใจผรู้ ับบรกิ ารประเภท 2561 สานกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสุข

ผ้ปู วุ ยนอก โรงพยาบาลลาปางอยู่ในอันดบั ที่ 3 โดยสานักวิชาการสาธารณสุข

ของระดบั โรงพยาบาลศนู ย์ท่ัวประเทศ

เปน็ แหล่งศึกษาดูงานระบบบริการทีน่ าเทคโนโลยี 2561 - 2562 เป็นแหล่งศกึ ษาดูงานระบบบรกิ าร

สารสนเทศที่ทนั สมัย (ระบบ Paperless) ทีน่ าเทคโนโลยสี ารสนเทศทที่ นั สมัย

มาใช้ในการบรกิ ารงานผปู้ วุ ยนอก

เช่น รพ.นครพิงค,์ รพ.อุตรดิตถ์, รพ.ลี้,

รพ.พระพทุ ธบาทสระบุรี, รพ.เจรญิ

กรุงประชารกั ษ์ เป็นต้น

99รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

ผลงานที่ภาคภูมใิ จ ปที ีไ่ ดร้ ับรางวัล หน่วยงานท่ีนาไปเผยแพร่
2562 สานกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ
โรงพยาบาลที่ประสบผลสาเร็จในการดาเนินงาน โดยกองบริหารสาธารณสุข
การจัดบรกิ ารคลินิกพเิ ศษเฉพาะทางนอกเวลา
ราชการ 2562 สานักงานปลดั กระทรวงสาธารณสุข
โดยสานักวชิ าการสาธารณสขุ
ผลการประเมินความพงึ พอใจผูร้ บั บรกิ ารประเภท
ผปู้ วุ ยนอก โรงพยาบาลลาปาง (เขตสุขภาพที่ 1)
อยู่ในอนั ดับที่ 2 (TOP Five) ของระดบั
โรงพยาบาลศูนย์ทว่ั ประเทศ

สถิตจิ านวนผู้รบั บริการผู้ปุวยนอกปงี บประมาณ 2560 - 2562

เดอื น ปงี บ 2560 ปีงบ 2561 ปงี บ 2562

จานวนผู้ปวุ ยนอก เฉล่ีย/วนั จานวนผูป้ วุ ยนอก เฉลี่ย/วนั จานวนผปู้ ุวยนอก เฉล่ีย/วัน

ตลุ าคม 70,227 2,926 74,222 3,093 77,660 3,236

พฤศจกิ ายน 63,382 2,641 78,052 3,252 75,292 3,137

ธันวาคม 58,893 2,454 71,096 2,962 68,540 2,856

มกราคม 63,765 2,657 75,883 3,162 77,425 3,226

กมุ ภาพนั ธ์ 62,844 2,619 73,623 3,068 69,644 2,902

มนี าคม 66,044 2,752 79,752 3,323 73,676 3,070

เมษายน 55,978 2,332 70,009 2,917 69,859 2,911

พฤษภาคม 63,118 2,630 83,009 3,459 76,984 3,208

มิถนุ ายน 65,678 2,737 76,084 3,170 71,085 2,962

กรกฎาคม 68,263 2,844 73,762 3,073 75,679 3,153

สิงหาคม 65,023 2,709 81,503 3,396 72,044 3,002

กันยายน 70,551 2,940 73,296 3,054 68,137 2,839

รวม 782,999 2,738 774,310 2,707 876,024 3,063

หมายเหตุ : จานวนผู้ปวุ ยนอกเฉลีย่ ตอ่ วนั -- จานวนครงั้ ผูป้ ุวยนอกต่อเดอื น/24 , จานวนคร้ังผู้ปุวยนอกต่อป/ี 286

100 รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

สถิติผ้รู ับบรกิ ารห้องตรวจผูป้ วุ ยนอก ปพี .ศ. 2560 - 2562

เดือน ปงี บ 2560 ปีงบ 2561 ปงี บ 2562

จานวนผู้ปวุ ย เฉล่ีย/วัน จานวนผู้ปวุ ย เฉลี่ย/วัน จานวนผู้ปุวย เฉลยี่ /วนั

จุดคดั กรอง 321,766 1,340 334,633 1,356 206,553 850
118,746 488
อายรุ กรรม 115,357 481 104,354 474 67,600 278
31,466 129
ศลั ยกรรม 59,742 285 63,329 287 9,021 37

สูตนิ รเี วชกรรม 31,186 119.94 24,855 139 11,517 47

- ฝากครรภ์ 11,233 43.20 10,573 44 5,587 23

- นรีเวช 12,977 49.91 9,590 40 5,341 22

- วางแผนครอบครัว 6,976 26.83 6,415 33 33,204 137
50,500 208
- ห้องตรวจอลั ตรา้ ซาวน์ - - 5,132 22 35,922 148
20,929 86
กุมารเวชกรรม 34,403 136 30,819 146 21,214 87
21,988 90
ศัลยกรรมกระดกู 51,141 191.42 40,544 212 64,581 177
2,098 90
จักษุ 39,160 150 35107 160 4,558 16
369,464 1,012
หู คอ จมกู 24,516 102 24,339 95 6,106 86
11,722 92
หอ้ งตรวจสขุ ภาพ 14,170 54.50 22,460 92

ห้องตรวจคล่ืนไฟฟูาหวั ใจ 19,471 74.89 17,915 74.02

ฉดี ยา-ทาแผล 65,785 100.69 65163 92

Day care 3,591 75 2193 92

หอ้ งให้คาปรกึ ษา 5,877 24 5,486 22

ศนู ยน์ าส่งผู้ปุวย 435,860 1,194 436,907 1,197

คลนิ ิกนอกเวลา 7,492 78.04 6.906 72

คลนิ กิ นอกเวลาเฉพาะทาง 6,577 45.67 8219 50

101รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

กลมุ่ งานเวชกรรมฟน้ื ฟู

1. โครงสร้างหนว่ ยงาน ปงี บประมาณ 2562 (ข้อมูล ณ วนั ที่ 30 กนั ยายน 2562)

นายแพทยท์ รงวฒุ ิ ทรัพย์ทวีสนิ
ผู้อานวยการโรงพยาบาลลาปาง

นายแพทยจ์ รัล ปันกองงาม
รองผอู้ านวยการฝาุ ยการแพทยค์ นท่ี 1

นายแพทยจ์ าตุรนต์ บุญพิทกั ษ์
หวั หนา้ กล่มุ งานเวชกรรมฟนื้ ฟู

งานหอ้ งตรวจแพทย์ งานกายภาพบาบัด งานกิจกรรมบาบดั

งานกายอปุ กรณ์ งานการแพทยท์ างเลอื ก

2. อตั รากาลัง (ขอ้ มลู ณ วนั ที่ 30 กนั ยายน 2562)

บุคลากร ข้า ลูกจา้ ง จานวน (คน) ลกู จา้ ง รวม หมาย
ราชการ ประจา ชว่ั คราว เหตุ
พนกั งาน พนกั งาน
ราชการ กระทรวงฯ

1. แพทย์ 4 - - - -4

2. พยาบาล 1 - - - -1

3. นักกายภาพบาบดั 7 - - - 18

4. นักกจิ กรรมบาบัด 3 - - - -3

5. ช่างกายอุปกรณ์ 1 - - - -1

6. เจา้ พนกั งานเวชกรรมฟ้ืนฟู 3 - - - - 3

7. เจา้ หน้าท่วี ทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ 1 - - - - 1

8. เจ้าพนักงานธุรการ - - - 1 -1

9. ผชู้ ่วยนักกายภาพบาบัด - - - 2 -2

10. ผชู้ ่วยเหลอื คนไข้ - - - 2 -2

11. พนักงานบริการ - - - 1 -1

12. พนกั งานเดินเอกสาร - - - 1 -1

13. พนกั งานเปล - - - 1 -1

14. หมอนวดแผนไทย - - - - 77

รวม 20 0 0 8 8 36

102 รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

3. ศักยภาพในการใหบ้ ริการ
 มีแพทย์ด้านเวชศาสตร์ฟนื้ ฟู จานวน 4 ทา่ น

รายละเอียดของกลมุ่ งาน / จุดเด่น / จดุ แขง็ ในการใหบ้ ริการ
 จดุ แขง็
1) มีการทางานร่วมกบั รพ.เวชชารักษ์ลาปาง ในการฝกึ ฟนื้ ฟสู ภาพผปู้ วุ ยแบบผ้ปู วุ ยใน
2) มกี ิจกรรม Group learning and sharing สาหรบั ผู้ปุวยโรคหลอดเลอื ดสมอง
3) มีบริการฟน้ื ฟหู วั ใจ แบบผูป้ ุวยใน และผู้ปุวยนอก
 อุปกรณ์ทท่ี ันสมัย
- เครอ่ื งให้การบาบดั รกั ษาด้วยแสงเลเซอร์ (High power laser therapy)

4. ผลการดาเนินงาน / กิจกรรม /สถิติ ปีงบประมาณ 2560 – 2561

รายการ หน่วย ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562
นบั

1. ตรวจรกั ษาโดยแพทยเ์ วชศาสตร์ฟ้นื ฟู ราย 9,093 9,604 8,403

2. ออกเอกสารรับรองความพิการ ราย 98 113 358

3. ตรวจไฟฟาู วนิ ิจฉัย ราย 175 152 103

4. ฉีดยา/แทงเขม็ กลมุ่ อาการกล้ามเนือ้ ราย 165 180 147

พงั ผืดอกั เสบ

5. ฉดี ยาลดเกรง็ เฉพาะท่ี

- phenol block ราย 122 88 87

- botulinum toxin injection คน/ครั้ง 13/56 12/33 8/23

6. กายภาพบาบัด (ในเวลา) คน/ครั้ง 6,592/33,094 10,481/29,588 10,829/26,784

7. กายภาพบาบัด (นอกเวลา) คน/ครั้ง 548/3,599 836/3,264 927/3,341

8. กจิ กรรมบาบัด คน/ครง้ั 1692/2992 1,591/2,491 1,581/2,091

9. คลนิ ิกฟ้ืนฟูหวั ใจ คน 132 376 766

10. คลินิกฝังเขม็ จนี คน/ครงั้ 904/2066 475/1,581 411/1,519

11. สปานวดแผนไทย คน/คร้ัง 550/5,936 576/6,514 681/7,641

12. กายอุปกรณ์

- ผลติ ชน้ิ 248 151 108

- จาหน่าย ช้นิ 7,099 3,652 5,245

103รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

กลุ่มงานรังสวี ิทยา

1. โครงสรา้ งหน่วยงาน ปีงบประมาณ 2562 (ข้อมลู ณ วนั ที่ 30 กนั ยายน 2562)

นายแพทยท์ รงวฒุ ิ ทรพั ยท์ วีสิน
ผ้อู านวยการโรงพยาบาลลาปาง

นายแพทยจ์ รัล ปนั กองงาม
รองผู้อานวยการฝาุ ยการแพทย์คนที่ 1

แพทยห์ ญิงสาริศา ทนิ อยู่
หวั หนา้ กลุ่มงานรงั สวี ทิ ยา

งานเอกซเรย์ทวั่ ไป งานตรวจพเิ ศษ งานรังสีร่วมรักษา

2. อัตรากาลัง (ขอ้ มลู ณ วันที่ 30 กนั ยายน 2562)

บคุ ลากร ขา้ ลกู จ้าง จานวน (คน) ลูกจา้ ง รวม หมาย
ราชการ ประจา ชวั่ คราว เหตุ
1. รังสีแพทย์ พนกั งาน พนักงาน
2. นกั รงั สกี ารแพทย์ 7 ราชการ กระทรวงฯ
3. เจา้ พนักงานรงั สกี ารแพทย์ 14
4. พนักงานชว่ ยเหลือคนไข้ 4 - - - -7
5. พนกั งานการแพทย์และรังสี -
เทคนคิ - - - - 1 15

รวม - - - -4

5 - 1 -6

- - 6 17

25 5 0 7 2 39

104 รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

3. ศักยภาพในการใหบ้ รกิ าร

มรี งั สีแพทย์ จานวน 7 ท่าน จบการศกึ ษาในสาขา ดงั ต่อไปน้ี

- สาขารังสวี ินิจฉยั 5 ท่าน

- สาขารงั สีร่วมรักษาลาตัว (Body Intervention) 1 ท่าน

- สาขารงั สวี นิ ิจฉัยชั้นสูง (Body Imaging) 1 ทา่ น

กลุ่มงานรังสีวิทยามกี ารนาเทคโนโลยี และอุปกรณท์ ที่ นั สมัยช่วยเพ่ิมประสทิ ธภิ าพ การให้บริการทัง้ ผ้ปู ุวยนอก

และผปู้ วุ ยใน

1) บรกิ ารเอกซเรยท์ ั่วไป โดยการใช้เคร่ืองเอกซเรยร์ ะบบดิจติ อล ทาให้แสดงภาพรังสีไดท้ ันทที ี่ทาการ

เอกซเรย์ มกี ารติดตงั้ เคร่ืองเอกซเรย์ใหมท่ ีส่ ามารถสรา้ งภาพต่อเนือ่ งของกระดูกสนั หลงั ทง้ั หมด

(Scanogram) และกระดกู รยางคส์ ว่ นล่างทัง้ หมด (Both Hip to Both Ankle) เพ่อื ใชป้ ระกอบการ

วินจิ ฉัย และรักษาโรคทางศัลยกรรมออโธปดิ กิ ส์

2) บริการเอกซเรยค์ อมพวิ เตอร์ โดยเครื่อง CT ขนาด 128 slice และ 160 slice ทมี่ ปี ระสิทธิภาพ
เพม่ิ ขึ้นในการตรวจเสน้ เลอื ดหัวใจ ช่วยในการตรวจคดั กรองและติดตามผลการรักษาผปู้ ุวยโรคหลอด
เลอื ดหัวใจ

105รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

3) บรกิ ารตรวจคลนื่ เสยี งความถีส่ งู (Ultrasound) ให้บริการตรวจความละเอียดอวัยวะในร่างกายสว่ น
ตา่ งๆ และเพ่มิ บริการตรวจ US Elastography เพอื่ ประเมนิ คา่ ความยดื หย่นุ ของเนื้อตบั ช่วยในการ
วนิ จิ ฉยั โรคตบั เข็ง (Cirrhosis) และวางแผนการรกั ษาทเี่ หมาะสมตอ่ ไป

4) บรกิ ารตรวจเอกซเรยเ์ ต้านม (Mammogram) โดยเครื่อง Digital Mammography ซ่งึ มโี ปรแกรม
Tomogram ชว่ ยเพมิ่ ประสทิ ธิภาพในการวนิ จิ ฉยั ความผดิ ปกติของเตา้ นม และสามารถทาการเจาะ
ตรวจช้ินเน้อื เต้านม ซึ่งมจี ุดหนิ ปูนผดิ ปกติ (Microcalcification)

5) หนว่ ยงานรังสรี ว่ มรกั ษา (Intervention Radiology) เป็นบรกิ ารใหม่เริม่ ตั้งแตเ่ ดือนกุมภาพนั ธ์ 2560
โดยมรี ังสีแพทย์เฉพาะทาง (Body Intervention) ประจา 1 ท่าน ให้บริการตรวจรักษาโรคด้วย
เทคนคิ รงั สรี ว่ มรกั ษาเช่น การฉีดเคมบี าบัดผา่ นทางหลอดเลือด (TACE) การเจาะระบายน้าดี (PTBO)
การเจาะช้นิ เนอ้ื โดย US glide เป็นต้น ใหบ้ รกิ ารผู้ปวุ ยท่ัวไปในเวลาราชการ และผปู้ วุ ยฉุกเฉินนอก
เวลาราชการ รวมทงั้ รองรบั ผรู้ บั บรกิ ารศลั ยกรรมหวั ใจหลอดเลอื ดและทรวงอกท่ีต้องการใช้เคร่ืองมอื
และสถานที่ ในอนาคตจะพัฒนาใหส้ ามารถตรวจวินจิ ฉัยรักษาโรคหลอดเลอื ดสมอง (Neuro
Intervention)

106 รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

4. ผลการดาเนนิ งาน/กิจกรรม/สถติ ิ ปีงบประมาณ 2560 – 2562

สถิตผิ ู้ปวุ ย หนว่ ยนบั ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562
187,484
เอกซเรย์ทั่วไป ราย 162,480 183,189 24,303
13,808
CT ราย 19,948 22,824 3,645
1,562
Ultrasound ราย 12,912 13,859 30,667
1,709
Mammogram+US breast ราย 3,248 3,403

เอกซเรย์พิเศษ ราย 1,622 1,698

Portable ราย 26,293 29,380

Intervention ราย 316 1,203

5. ผลงานทีภ่ าคภูมิใจ/ผลงานเด่น ปี 2562

5.1 ให้บรกิ ารคลนิ ิกนอกเวลาราชการ (SMC) การตรวจอลั ตราซาวด์และแมมโมแกรม วนั อังคาร และ วัน
พฤหัสบดี เวลา 16.30 – 20.30 น. โดยผ้รู บั บริการสามารถใช้บริการไดต้ ามสิทธิข์ องตนเอง และร่วม

จา่ ยคา่ ธรรมเนยี มพิเศษเพม่ิ เติม ซง่ึ ไม่สามารถเบกิ ได้ ดังนี้
- แมมโมแกรม จานวน 700 บาท
- อัลตราซาวด์ จานวน 500 บาท

สถติ กิ ารใหบ้ รกิ ารคลินิคนอกเวลาราชการ Mammogram/US

รายการ หน่วย ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. รวม
นบั 62 62 62 62 62 62 62 62 62 62

Mammo ราย 49 43 46 36 49 55 52 45 45 47 467

Ultrasound ราย 110 82 110 96 68 93 91 110 108 118 986

5.2 ให้บริการคลนิ กิ นอกเวลาราชการ (SMC) การตรวจเอกซเรยค์ อมพวิ เตอร์ เร่ิมใหบ้ รกิ ารต้งั แต่เดือน

สิงหาคม 2562 เป็นตน้ ไป โดยใหบ้ ริการในวนั จนั ทรแ์ ละวันพธุ เวลา 16.30 – 20.30 น. โดย

ผ้รู ับบริการสามารถใช้บริการได้ตามสทิ ธข์ิ องตนเอง และรว่ มจา่ ยค่าธรรมเนียมพิเศษเพิ่มเตมิ ซึง่ ไม่

สามารถเบกิ ได้ ดงั นี้

- CT Brain จำนวนเงนิ 1,000 บำท

- CT Small parts จำนวนเงนิ 1,150 บำท

- CT Large parts จำนวนเงิน 1,600 บำท

สถติ ิการใหบ้ รกิ ารคลิกนคิ นอกเวลาราชการเอกซเรย์คอมพวิ เตอร์

รายการ หนว่ ยนับ สงิ หาคม 62 กนั ยายน 62 ตุลาคม 62
7 7
CT Brain ราย 4 30 39
17 18
CT Small Part ราย 33

CT Large Part ราย 20

107รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

5.3 มีการประสานงานและสง่ ต่อผู้รบั บริการกลมุ่ ผปู้ ุวยมะเร็ง ไปรบั การตรวจเอกซเรยค์ อมพวิ เตอร์ และ
Mammogram ท่ี รพ.มะเร็งลาปาง เพอื่ ใหไ้ ดร้ บั การตรวจวินิจฉัยโรคเพอื่ การรักษาท่ีรวดเร็วทันเวลา
ตามนโยบายลาปางโมเดล

5.4 ชื่อรางวัล/ช่อื ผลงาน
ชอ่ื ผู้รับผดิ ชอบ งานห้องรงั สรี ่วมรกั ษา / นพ.เศรษฐศกั ด์ิ ชนิ สุนทร
คาอธิบาย : เป็นบรกิ ารใหมใ่ นโรงพยาบาลลาปาง เพิม่ ศกั ยภาพในการวินิจฉัยโรค และรกั ษาผปู้ วุ ยโรค

หลอดเลอื ดและโรคมะเรง็ ชว่ ยให้เข้าถงึ บริการไดส้ ะดวกรวดเร็วและลดการสง่ ตอ่ ผูป้ ุวยไปโรงพยาบาลอ่นื โดย
ในปี พ.ศ. 2562 ได้มีผลงานด้านตา่ งๆ ดงั น้ี

1) พัฒนาแนวปฏิบตั ทิ างคลินกิ การดแู ลผู้ปุวยคาสายระบายนา้ ดี ( Evidence Base Practice )
2) การพัฒน าศักยภาพบุคลากรในการดแู ลผู้ปวุ ย Neuro Intervention โดยจัด Inhouse

Training 5 ครง้ั คอื
- Coil Embolization in Basilar tip Aneurysm
- Coil Embolization in Cerebral Aneurysm
- Coil Embolizaion in PICA Aneurysm
- Coil Embolization in DAVF
- Hybrid Operation Case Giant PCOM Aneurysm ระหวา่ งทมี Neurosurgery
และทีม Intervention

3) การพฒั นาศกั ยภาพบคุ ลากรทางการแพทย์ ในการรักษาผู้ปุวย HCC ดว้ ยวธิ ี Laparoscopic
–US guided RFA HCC at Liver dome รว่ มกับศลั ยแพทย์

4) การรกั ษาเส้นเลอื ดขอด ด้วยวธิ ี Percutaneous varicose vein ablation โดยผู้ปุวยไม่ต้อง
นอนโรงพยาบาล

108 รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

กลมุ่ งานวสิ ัญญวี ิทยา

1. โครงสร้างหน่วยงาน ปงี บประมาณ 2562 (ข้อมลู ณ วันท่ี 30 กนั ยายน 2562)

นายแพทยท์ รงวฒุ ิ ทรัพย์ทวสี ิน
ผอู้ านวยการโรงพยาบาลลาปาง

นายแพทย์จรัล ปันกองงาม นางสมพร เลศิ วริ ยิ ะเสถียร
รองผอู้ านวยการฝาุ ยการแพทยค์ นที่ 1 รองผู้อานวยการฝาุ ยการพยาบาล

แพทยห์ ญงิ ตวงทพิ ย์ ภาสรุ ินทร์ นางบุญญา สุนันทชยั กลุ รอง
หวั หน้ากล่มุ งานวสิ ญั ญวี ิทยา หัวหนา้ กลุม่ งานการพยาบาลวสิ ัญญี

งานใหก้ ารระงบั ความรู้สกึ งานใหก้ ารระงบั ความร้สู กึ งานบรกิ ารนอกห้องผ่าตัด
ในห้องผา่ ตัด นอกหอ้ งผ่าตัด /รบั ปรกึ ษา

งานแพทยศาสตรศ์ ึกษา งานตรวจผ้ปู วุ ยนอก

2. อตั รากาลัง (ขอ้ มลู ณ วันท่ี 30 กันยายน 2562)

บุคลากร ขา้ ลูกจ้าง จานวน (คน) ลูกจา้ ง รวม หมาย
ราชการ ประจา ชั่วคราว เหตุ
1. วสิ ัญญีแพทย์ พนักงาน พนกั งาน
2. วสิ ัญญีพยาบาล 7 ราชการ กระทรวงฯ
3. พยาบาลวิชาชพี PACU 41
4. พนักงานชว่ ยเหลอื คนไข้ 8 - - - 18
5. พนกั งานท่ัวไป -
- - - - - 41
รวม 56
- 1 1 4 14

1 - 5 28

1 - 1 -2

2 1 7 7 73

109รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

3. ศักยภาพในการให้บรกิ าร

 วสิ ัญญีแพทยท์ ัง้ หมด 8 คน ในจานวนนม้ี ีผู้ทจี่ บเฉพาะทางอนุสาขา 3 คน ไดแ้ ก่

- อนสุ าขาวิสัญญีวิทยาเพือ่ การผ่าตัดหัวใจหลอดเลอื ดใหญแ่ ละทรวงอก 2 คน

- อนสุ าขาวสิ ัญญีวิทยาการระงบั ปวด 1 คน

 วสิ ญั ญีพยาบาลทั้งหมด 41 คน มีวิสญั ญีพยาบาลผา่ นการอบรมหลักสูตรเฉพาะทางสาขาเพมิ่ เตมิ

ได้แก่

- สาขาการพยาบาลให้การระงบั ความรสู้ กึ ในผูป้ ุวยผา่ ตัดสมอง 1 คน

- สาขาการพยาบาลให้การระงับความร้สู กึ ในผู้ปวุ ยผ่าตดั หวั ใจ 12 คน

- สาขาการพยาบาลให้การระงับความรู้สึกในผู้ปวุ ยผ่าตัดหัวใจในเด็ก 10 คน

- สาขาการพยาบาลให้การระงบั ความรสู้ กึ ในผ้ปู ุวยทาCath lab 10 คน

กลุ่มงานวสิ ญั ญวี ิทยาให้บริการการระงับความร้สู ึกผปู้ ุวยทีม่ ารบั การผ่าตัดและทา หัตถการทงั้ ผู้ปวุ ยใน

และผ้ปู วุ ยนอก ในภาวะปกตแิ ละภาวะฉกุ เฉิน ใหบ้ ริการแกศ่ ัลยแพทย์และแพทย์ผู้ทาหัตถการทง้ั ในและนอก

ห้องผ่าตัด โดยดูแลผปู้ วุ ยอย่างต่อเนือ่ ง 3ระยะ คอื ก่อนให้การระงบั ความรสู้ ึก ขณะให้การระงับความรสู้ ึก

และหลังใหก้ ารระงบั ความรสู้ กึ นอกจากนย้ี ัง ให้บริการตรวจรกั ษาผู้ปุวยในคลนิ กิ ระงับปวด ตรวจและให้

คาปรึกษาผูป้ ุวยก่อนเขา้ รบั การผ่าตัดที่คลินกิ ประเมินผปู้ วุ ยกอ่ นผา่ ตดั ให้บริการชว่ ยใสท่ ่อชว่ ยหายใจในผู้ปวุ ย

ท่ใี ส่ท่อช่วยหายใจยาก เปิดIV Lineด้วยอุปกรณ์ทท่ี นั สมัย ใหค้ าปรกึ ษาในผปู้ ุวยผา่ ตัดใหก้ ารระงบั ความ รสู้ กึ

และให้คาปรกึ ษาการระงบั ปวดแบบเรื้อรงั ระหวา่ งหนว่ ยงานในโรงพยาบาลลาปาง

กลมุ่ งานวสิ ญั ญวี ทิ ยาได้ให้บริการให้การระงับความรูส้ ึกสาหรบั ผู้ปุวยกลุ่มที่มคี วามเสี่ยงสูง และการ

ผา่ ตดั ทม่ี คี วามซบั ซอ้ นมากขน้ึ ในปัจจบุ นั ไดแ้ ก่

- การผ่าตดั หัวใจแบบเปดิ แผลเลก็ (Minimally invasive cardiac surgery)

- การผา่ ตดั ปอดโดยใชก้ ล้องสอ่ ง (Video-Assisted Thoracic Surgery)

- การทาหัตถการทใี่ ช้สายสวนทางหลอดเลือดรว่ มกบั ทาการผา่ ตดั โดยวิธที ่ัวไป ในผูป้ ุวยโรค

ระบบประสาทและสมอง และในผปู้ วุ ยโรคหัวใจและหลอดเลือด (Hybrid Operation)

- การระงบั ความรู้สึกสาหรบั เด็กทารกท่มี ีนา้ หนกั ตวั นอ้ ยมากทผี่ ่าตัด PDA ligation ที่หอ

ผู้ปวุ ย NICU

4. ผลการดาเนินงาน/กิจกรรม/สถิติ ปงี บประมาณ 2560-2562

สถติ ิผปู้ วุ ย หนว่ ยนบั ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562
1,780 1,772
1. เยยี่ มผ้ปู วุ ยกอ่ นผา่ ตดั 1วนั ราย 1,762 20,684 22,272
14,992 16,320
2. ใหก้ ารระงับความรสู้ กึ ราย 20,937 20,142 18,852
612 678
3. ดแู ลผ้ปู ุวยในหอ้ งพกั ฟ้ืน ราย 15,477 66
8 59
4. เยย่ี มผปู้ ุวยหลงั ผ่าตดั ท่ีหอผ้ปู วุ ย ราย 20,416 13 801
562
5. ใหบ้ รกิ ารคลนิ กิ ระงบั ปวด ราย 640

6. ใหบ้ รกิ ารระงับปวดเรื้อรังดว้ ยรงั สีร่วมรักษา ราย -

7. ให้บริการระงบั ปวดหลังผ่าตัดดว้ ยPCA+EA ราย -

8. รบั ปรึกษาระหวา่ งหน่วยงาน ราย 508

110 รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

5. ผลงานเด่น ปีงบประมาณ 2560 - 2562
กลุ่มงานวิสัญญีวทิ ยาไดพ้ ฒั นาศักยภาพบคุ ลากรให้ก้าวทนั ต่อการพฒั นาของเทคโนโลยีการผา่ ตดั ท่ี

ทันสมัยมากขึ้น ทาให้สามารถให้บริการในการระงบั ความรู้สึกสาหรับผปู้ วุ ยกลมุ่ ท่ีมคี วามเส่ยี งสูง และทาผ่าตัด
ทมี่ คี วามซบั ซอ้ น ทไ่ี ดเ้ ร่มิ ทาในปีงบประมาณ 2560-2562 เชน่

- การผา่ ตัดหัวใจแบบเปิดแผลเล็ก (Minimally invasive cardiac surgery)
- การผา่ ตดั ปอดโดยใชก้ ล้องส่อง (Video-Assisted Thoracic Surgery)
- การทาหตั ถการท่ใี ช้สายสวนทางหลอดเลอื ดรว่ มกบั ทาการผ่าตดั โดยวธิ ีท่วั ไป ในผู้ปวุ ยโรคระบบ

ประสาทและสมอง และในผปู้ ุวยโรคหัวใจและหลอดเลอื ด (Hybrid Operation)
- การทาหตั ถการลดความปวด (Interventional pain management)

111รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

กล่มุ งานพยาธิวทิ ยากายวภิ าค

1. โครงสรา้ งหนว่ ยงาน ปงี บประมาณ 2562 (ขอ้ มูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2562)

นายแพทยท์ รงวฒุ ิ ทรพั ยท์ วีสนิ
ผอู้ านวยการโรงพยาบาลลาปาง

นายแพทย์จรัล ปันกองงาม
รองผอู้ านวยการฝุายการแพทยค์ นท่ี 1

นายแพทยป์ ิยพงศ์ อนุ่ ปญั โญ
หวั หนา้ กลุม่ งานพยาธิวทิ ยากายวภิ าค

งาน Surgical pathology งาน Cytology งาน Autopsy

2. อัตรากาลงั (ขอ้ มูล ณ วนั ที่ 30 กนั ยายน 2562)

บคุ ลากร ขา้ ลกู จ้าง จานวน (คน) ลูกจา้ ง รวม หมาย
ราชการ ประจา ชัว่ คราว เหตุ
1. แพทย์ พนักงาน พนักงาน
2. นักวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ 5 ราชการ กระทรวงฯ
3. นกั เทคนิคการแพทย์ 3
4. จพง.วิทยาศาสตร์การแพทย์ 1 - - - -5
5. พนกั งานชว่ ยเหลือคนไข้ 2
6. พนกั งานห้องทดลอง - - 1 - -4
7. พนกั งานบรกิ าร -
- - - - -1
รวม 11
- - - -2

1 - - -1

- 1 - -1

- 1 - -1

1 3 0 0 15

3. ศกั ยภาพในการใหบ้ ริการ

การตรวจวินิจฉยั ที่ให้บรกิ าร:
- การตรวจวนิ จิ ฉยั ทางพยาธกิ ายกายวิภาค ประกอบด้วย ตรวจสิง่ ตรวจประเภทชิน้ เนอ้ื ตรวจสิง่ ตรวจ

ประเภทเซลลว์ ทิ ยาและ ตรวจศพทางวชิ าการ (Autopsy )
- การให้คาปรึกษาและตรวจชิ้นเนื้อแบบเรง่ ด่วน โดยวิธี Frozen section
- การย้อมสไลด์ชน้ิ เน้อื ดว้ ยเทคนิค immunohistochemistry

112 รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

4. กจิ กรรม/ผลการดาเนินงาน ปีงบประมาณ 2560 - 2562

รายละเอยี ด หน่วยนับ ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562
9,604 10,155
1. ชน้ิ เนอื้ รบั ตรวจ ราย 9,106 1,992 2,000
9,079 8,117
2. body fluid และ FNA ราย 1,536 34,022 35,616
7,362 8,134
3. Pap smears ราย 11,358 5,716 5,071
93
4. Tissue block และ slide H/E แผน่ 31,601 63
9 10
5. Slide special stains แผ่น 6,610 - 87

6. Slide immunohistochemical staining แผ่น 4,802

7. Frozen section ราย 72

8. Autopsy ราย 15

9. ส่ง case ปรกึ ษาภายนอก ราย -

หมายเหต.ุ ธค.61 เครือ่ งย้อม immune ชารดุ สง่ ย้อมภายนอกประมาณ 450 test

5. ผลงานทีภ่ าคภูมิใจ/ ผลงานเดน่ ปี 2562
5.1 ได้รับประกาศนยี บตั รรับรองมาตรฐานทางวชิ าการของห้องปฏบิ ตั กิ ารโดยราชวิทยาลยั พยาธแิ พทย์

แห่งประเทศไทย ระยะเวลารบั รอง 21 มิถุนายน 2562 - 20 มถิ นุ ายน 2563
5.2 ได้รบั ประกาศนียบัตรรบั รองมาตรฐานการทดสอบความชานาญ การประกนั คณุ ภาพการทดสอบ

(Quality Assurance) ของ ER,PR,HER2 และ Ki67 โดยราชวิทยาลยั พยาธแิ พทย์แหง่ ประเทศไทย
ระยะเวลารับรอง 28 ธันวาคม 2561 - 27 ธันวาคม 2563
5.3 ได้รับประกาศนียบัตรผา่ นการตรวจสอบคณุ ภาพการตรวจวนิ ิจฉัยตามเกณฑแ์ ละขอ้ กาหนดของ
โครงการประกนั คุณภาพภายนอกด้านเซลล์วิทยาระบบอวัยวะอน่ื ๆในรา่ งกาย ระยะเวลารบั รอง
1 มกราคม 2562 - 31 ธันวาคม 2564

113รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

กลุ่มงานนิติเวชวทิ ยา

1. โครงสร้างหนว่ ยงาน ปีงบประมาณ 2562 (ข้อมูล ณ วันท่ี 30 กนั ยายน 2562)

นายแพทยท์ รงวุฒิ ทรพั ยท์ วสี นิ
ผูอ้ านวยการโรงพยาบาลลาปาง

นายแพทย์จรัล ปนั กองงาม
รองผูอ้ านวยการฝาุ ยการแพทยค์ นท่ี 1

นายแพทยก์ าพล เครือคาขาว
หัวหน้ากลุ่มงานนติ เิ วชวิทยา

งานคดี งานบริการเกยี่ วกบั ศพ

2. อตั รากาลัง (ข้อมูล ณ วันที่ 30 กนั ยายน 2562)

บุคลากร ขา้ ลกู จ้าง จานวน (คน) ลกู จ้าง รวม หมาย
ราชการ ประจา ช่วั คราว เหตุ
1. แพทย์ พนกั งาน พนกั งาน
2. นักจดั การงานทวั่ ไป 2 ราชการ กระทรวงฯ
3. พนกั งานเก็บเอกสาร -
4. พนกั งานรกั ษาศพ - - - - -2
-
รวม 2 - - 1 -1

- - 1 -1

- - 4 -4

0 0 6 08

3. ศักยภาพในการใหบ้ รกิ าร
- มอี าคารนติ เิ วชวทิ ยา 3 ชน้ั ชั้นลา่ งเปน็ หอ้ งเก็บศพ และผ่าตรวจศพ โดยเตียงผ่าศพแบบมาตรฐาน

ชนั้ สองเปน็ สานักงาน และห้องพักแพทย์นติ เิ วช เพอื่ อานวยความสะดวกต่อญาติผตู้ าย และ

เจา้ หนา้ ทตี่ ารวจที่มาติดต่อราชการ และชั้นสาม เปน็ ห้องเรียนนกั ศกึ ษาแพทย์
- มแี พทย์นิตเิ วช ที่มคี วามรู้และเชยี่ วชาญในการปฏบิ ัติงาน
- มตี ้เู ยน็ เกบ็ รกั ษาศพแบบ 4 ชอ่ งแช่ 2 ตู้ คณุ ภาพสูง สามารถทาความเย็นลดลงต่ากว่าศูนย์องศา

เซลเซยี ส ได้อย่างรวดเร็วพรอ้ มเก็บรกั ษาศพ ให้อยู่ในสภาพดกี ่อนสง่ มอบใหแ้ ก่ญาตผิ เู้ สยี ชวี ิต
- มีพนักงานรักษาศพ 1 คน ได้รบั ใบอนุญาตใหส้ ามารถทาการจัดเกบ็ ดวงตาผ้บู รจิ าคอวัยวะท่ี

เสียชีวติ แล้ว

114 รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

4. ผลการดาเนินงาน/กิจกรรม/สถิติ ปงี บประมาณ 2560 – 2562

รายการ หนว่ ยนบั ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562

1. งานคดี 434 396
280 288
1.1 รายงานชันสตู รบาดแผล 47 26
8 9
- อุบัติเหตุ ราย 495 7 11
776 730
- ถกู ทารา้ ยรา่ งกาย ราย 292 498 636
1,481 1,226
- ถกู กระทาชาเรา ราย 51 63 66

- ผู้ต้องหา/สงสยั /อืน่ ๆ ราย 8 826 861
258 301
- ไม่พบประวตั ิการมาตรวจรักษา ราย 16 1,084 1,162
31 42
รวมใบชนั สูตรบาดแผล ราย 862
3,111 2,522
1.2 ตรวจหาแอลกอฮอล์ ราย 688 1,237 930
1,053 854
1.3 ตรวจหาสารเสพติด ราย 1,235 821 738
282 354
1.4 คาใหก้ ารของแพทย์ใบบาดแผล ฉบบั 78 78 89
1
1.5 รายงานชนั สูตรพลกิ ศพ 2 15
14 12
- ศพคดเี สียชวี ติ นอก รพ.+Refer ราย 843 36 1,680
1,650 7.6
- ศพคดเี สียชีวติ ใน รพ. ราย 303 9.9

รวมใบชันสูตรพลิกศพ ราย 1,146

1.6 คาให้การของแพทย์ใบชันสตู รศพ ฉบับ 32

2. งานบรกิ ารเกยี่ วกับศพ

2.1 จานวนศพ (เวรเช้า-บา่ ย-ดกึ ) 3,093

- เวรเช้า ราย 1,306

- เวรบา่ ย ราย 1,000

- เวรดึก ราย 787

2.2 ผ่าตรวจศพ ราย 268

2.3 ศพฝากจากที่อื่น ราย 80

2.4 ศพค้าง/ไมม่ ญี าตมิ ารับ ราย -

2.5 ศพมอบให้ รพ. จัดการฝงั ราย 20

2.6 ฉีดยาศพ คร้งั 50

2.7 นาช้นิ เนอ้ื ไปเผา กโิ ลกรมั 1,680

ค่าเฉลยี่ ศพต่อวนั ราย 8.5

115รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

5. ผลงานทภ่ี าคภมู ใิ จ / ผลงานเดน่ ปี 2562
1. ชื่อผลงาน วิจัยเรอ่ื ง การวิเคราะหห์ นังสือรบั รองการตายทีโ่ รงพยาบาลลาปาง ในปี 2560 ไดร้ บั การ

นาเสนอในทีป่ ระชมุ เวทกี ารประชุมวิชาการชมรม เครอื ข่ายวจิ ัยโรงพยาบาล คร้งั ที่ 11 ประจาปี
2561 และไดร้ บั การตีพมิ พใ์ นวารสารกรมการแพทย์ ปีท่ี 43 ฉบับท่ี 5
ชื่อผรู้ ับผิดชอบ นายแพทยก์ าพล เครือคาขาว

2. ชอ่ื ผลงาน วจิ ยั เร่อื ง การแยกผู้ขบั ข่แี ละผ้ซู อ้ นรถจกั รยานยนต์จากลักษณะการบาดเจ็บในจังหวัด
ลาปาง และจังหวัดใกล้เคยี ง ไดร้ ับการนาเสนอในท่ีประชมุ เวทีการประชุมวชิ าการชมรม เครือข่าย
วจิ ยั โรงพยาบาล ครงั้ ท่ี 11 ประจาปี 2561 ได้รบั รางวัลดเี ดน่ การนาเสนอผลงานวชิ าการแบบปาก
เปล่า และอย่ใู นระหว่างการรอรบั การพจิ ารณาตีพมิ พ์ในวารสารกรมการแพทย์
ชอ่ื ผู้รบั ผิดชอบ นายแพทย์กาพล เครือคาขาว

3. ผลงานทภ่ี าคภูมใิ จ ปี 2562
3.1 การจดั ทาเอกสารคณุ ภาพ ได้แก่
- SD-10000-018 แนวทางการเก็บเลือดตรวจระดับแอลกอฮอลใ์ นผ้ตู อ้ งสงสัยคดจี ราจร
- SD-10000-019 แนวทางการตรวจปสั สาวะในผตู้ อ้ งสงสัยเสพสารเสพติด
3.2 ด้านคณุ ภาพของงาน พบวา่
- ร้อยละของรายงานชนั สตู รพลิกศพท่แี ลว้ เสร็จใน 7 วันทาการ ในปี 2562 เท่ากบั รอ้ ยละ
95.3เทียบกับปี 2561 และ 2560 ที่ รอ้ ยละ 65.9 และ 88.6 ตามลาดบั
- รอ้ ยละของรายงานชนั สตู รบาดแผลท่แี ลว้ เสรจ็ ใน 10 วนั ทาการ ปี 2562 เทา่ กับรอ้ ยละ
88.2 เทียบกับปี 2561 และ 2560 ทีร่ ้อยละ 94.2 และ 91.5 ตามลาดับ เน่อื งจากมกี ารแบ่ง
ภาระรบั ผิดชอบการเขยี นรายงานชันสตู รแผลใหแ้ พทยน์ ติ เิ วชร่วมกัน

116 รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

กลุ่มงานเภสชั กรรม

1. โครงสร้างหน่วยงาน ปีงบประมาณ 2562 (ข้อมูล ณ วันที่ 30 กนั ยายน 2562)

นายแพทยท์ รงวฒุ ิ ทรพั ยท์ วสี ิน
ผอู้ านวยการโรงพยาบาลลาปาง

นายแพทยจ์ รัล ปนั กองงาม
รองผอู้ านวยการฝุายการแพทยค์ นท่ี 1

เภสัชกรหญิงมยรุ ี แสงอุทยั วณชิ กุล
หัวหน้ากล่มุ งานเภสัชกรรม

งานบรกิ ารผู้ปุวยนอก งานบริการผ้ปู วุ ยใน งานบริการเภสชั กรรม งานเภสชั ปฐมภูมิ

งานบริหารเวชภณั ฑ์ งานผลติ ยา

2. อตั รากาลงั (ข้อมลู ณ วนั ท่ี 30 กันยายน 2562)

บคุ ลากร ขา้ จานวน (คน) รวม หมาย
ราชการ เหตุ
ลูกจา้ ง พนกั งาน พนักงาน ลกู จ้าง
ประจา ราชการ กระทรวงฯ ช่ัวคราว

1. เภสัชกร 48 - 1 - - 49

2. เจ้าพนักงานเภสชั กรรม 17 - 1 - 6 24

3. พนักงานเภสชั กรรม - 3 - 4 - 7

4. พนักงานประจาหอ้ งยา - 1 - 25 2 28

5. พนกั งานช่วยเหลอื คนไข้ - 1 - - - 1

6. เจา้ พนักงานธุรการ - - - 2 -2

7. พนกั งานธรุ การ - - - - 22

8. พนกั งานบริการ - - - 3 -3

รวม 65 5 2 34 10 116

117รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

3. ศักยภาพในการให้บรกิ าร

เภสัชกรทงั้ หมด 49 คน ได้รบั การอบรมหรือศกึ ษาเพ่ิมเตมิ เพอ่ื เพ่ิมศกั ยภาพการปฏิบัตงิ าน ในการ

ให้บรกิ ารทางเภสัชกรรม จานวน 19 คน (ร้อยละ 38.8) ดังน้ี

 จบปรญิ ญาเอก และ ได้รบั หนงั สอื อนุมตั ิบตั ร สาขาเภสชั บาบดั 1 คน

 จบปรญิ ญาโท สาขาเภสัชกรรมคลินกิ 5 คน

 ผา่ นการอบรมหลักสูตรระยะสน้ั 4 เดือน ของสภาเภสัชกรรม ในสาขา

- Ambulatory Pharmaceutical care 1 คน

- Inpatient pharmaceutical care 3 คน

- Cardiovascular Diseases 3 คน

- Oncology Pharmaceutical care 4 คน

- Family Pharmacist 1 คน

- Family and Community Pharmacist Practice Learning 1 คน

กลมุ่ งานเภสัชกรรม โรงพยาบาลลาปาง มีหนา้ ทร่ี บั ผดิ ชอบด้านการบรกิ ารทางเภสชั กรรมและพฒั นา
ระบบการจัดการและการใช้ยา ให้ได้คณุ ภาพ มาตรฐาน ปลอดภัย มปี ระสิทธภิ าพ ประสทิ ธิผล ประหยัด
คุ้มค่า ท่ัวถงึ และมีธรรมาภบิ าล ตั้งแตก่ ารคัดเลือก การจดั ซือ้ จัดหา การผลิต การควบคมุ คลงั การจัดจ่าย
กระจายยา การใหค้ าปรึกษาดา้ นยาแก่ผู้ปวุ ย ประชาชน บุคลากรทางการแพทย์และหน่วยงาน การใหบ้ ริบาล
ทางเภสัชกรรมหรอื บรกิ ารเภสัชกรรมคลนิ ิกทั้งผปู้ วุ ยนอกและผู้ปวุ ยใน การจัดการแกไ้ ขปัญหาผลไม่พึง
ประสงคจ์ ากการใชย้ าทัง้ ในดา้ น ประสทิ ธิผลและความปลอดภยั การใหบ้ ริการข้อมลู ขา่ วสารดา้ นยา การ
ติดตามกากับประเมนิ การใชย้ า การพฒั นาระบบการใชย้ า เวชภณั ฑ์ผลติ ภณั ฑส์ ขุ ภาพให้มคี วามสมเหตุผลและ
ปลอดภยั การจัดการปัญหาเชือ้ ด้ือยา การใหค้ าปรึกษาด้านเภสัชกรรมและระบบยาแก่บุคลากรทางการแพทย์
และหน่วยงานต่างๆ การพัฒนาระบบฐานข้อมลู และสารสนเทศดา้ นการบรหิ ารจัดการและการใชย้ าดาเนนิ การ
นิเทศ ควบคุม กากับ มาตรฐานคลงั ยาและเวชภัณฑม์ าตรฐานงานเภสัชกรรมและระบบยาทง้ั ในโรงพยาบาล
และเครือขา่ ยบริการสุขภาพ และการวิจยั และพฒั นาทางดา้ นเภสัชกรรมและระบบการจัดการและการใช้ยา
โดยมรี ายละเอียดของกิจกรรมท่ีใหบ้ รกิ ารดังนี้

118 รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

3.1 งานบรกิ ารเภสชั กรรมผปู้ ุวยนอก
งานบรกิ ารเภสัชกรรมผูป้ วุ ยนอก ให้บรกิ าร
จา่ ยยา และเวชภณั ฑผ์ ูป้ ุวยนอก ในเวลาและนอกเวลา
ราชการ ส่งมอบยาโดยเภสชั กร และมีกจิ กรรม
Medication reconciliation การจัดการปัญหาการใช้
ยาของผ้ปู ุวย การปูองกนั การเกดิ DRP จากกลุ่มยาท่มี ี
ความเสย่ี งสูง กลุ่มยาที่มโี อกาสเกิด drug interaction
ได้แก่ คลนิ ิก Warfarin โดยมเี ปาู หมายหลกั คอื จ่าย
ยาถูกตอ้ ง รวดเรว็ เป็นไปตามมาตรฐานวชิ าชพี

3.2 งานบรกิ ารเภสัชกรรมผปู้ ุวยใน
งานบริการเภสชั กรรมผปู้ วุ ยใน ให้บรกิ ารจ่ายยาและเวชภณั ฑใ์ ห้ผปู้ วุ ยทพี่ กั รักษาในโรงพยาบาล
ผู้ปุวยอบุ ัตเิ หตฉุ กุ เฉิน (ER) ตลอด 24 ชวั่ โมง และให้บริการผปู้ ุวยนอกทีม่ ารับยาหลงั 16.00 น. โดยมี
เปูาหมายให้บริการจา่ ยยาทถ่ี ูกต้อง ครบถ้วน ผู้ปวุ ยฉุกเฉินได้รับยาทันที ผู้ปุวยไมแ่ พย้ าซา้

3.3 งานบรบิ าลเภสัชกรรม
งานบรบิ าลเภสชั กรรม มกี ารดาเนินงานใหบ้ ริบาลทางเภสัช
กรรม ท้งั ในผูป้ วุ ยนอกและผ้ปู วุ ยใน เพอ่ื ให้ผู้ปวุ ยไดร้ บั ผลจากการใช้
ยา อยา่ งมีประสิทธิภาพ ปลอดภัย และคุม้ ค่า ส่งเสริมให้ผู้ปุวยมี
ความเขา้ ใจการใช้ยา และ สามารถใช้ยาไดอ้ ยา่ งถกู ต้องปลอดภยั
โดยการทางานร่วมกบั สหสาขาวชิ าชีพในการดแู ลผูป้ ุวยในเร่อื งที่
เกย่ี วข้องกบั การใชย้ า

สาหรับงานบริบาลเภสชั กรรมผูป้ ุวยนอก มีเภสัชกรคลนิ ิก
หมนุ เวยี นกันไปใหบ้ ริบาลทางเภสชั กรรม ในคลนิ ิกเฉพาะโรคทาง
อายรุ กรรม ไดแ้ ก่ คลินิกวารฟ์ าริน คลนิ ิกโรคหวั ใจลม้ เหลว คลนิ กิ
โรคหวั ใจและหลอดเลือด คลินิกโรคเบาหวาน คลินกิ โรคเบาหวานท่ี
ใช้ยาฉีดอินสุลนิ คลนิ ิกโรคหอบหืด คลินิกโรคไตเร้ือรัง คลนิ ิกผ้ปู ุวย
สูงอายุ คลินิกวัณโรค คลินิกโรคภมู คิ ุ้มกันบกพรอ่ ง

119รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

ส่วนงานบริบาลเภสัชกรรมผ้ปู วุ ยใน ดาเนินการในหอผู้ปวุ ยอายรุ กรรม 3 หอผู้ปุวย มเี ภสชั กร
ปฏบิ ตั ิงานประจารบั ผิดชอบผปู้ ุวยในแตล่ ะหอผปู้ ุวยเฉล่ีย 40 - 50 เตียงตอ่ วนั และหอผู้ปุวยศัลยกรรมหวั ใจ
หลอดเลอื ด และทรวงอก มเี ภสัชกรปฏบิ ตั ิงานประจา รับผิดชอบผปู้ วุ ยเฉลี่ย 30 - 40 เตยี งต่อวัน

นอกจากนม้ี บี ริการให้ข้อมูลขา่ วสารดา้ นยาแก่บุคลากรทางการแพทย์ ติดตามอาการไม่พึงประสงค์
จากยาและผลิตภัณฑส์ ุขภาพ มกี จิ กรรมส่งเสรมิ การใชย้ าอยา่ งสมเหตุผล และ การประเมนิ การใช้ยาในรายการ
ยาท่คี ณะกรรมการเภสัชกรรมและการบาบดั กาหนด มกี จิ กรรมสอนและฝึกอบรมนักศกึ ษาเภสัชศาสตรท์ ้งั
ระดับปริญญาตรแี ละปริญญาโท

3.4 งานบรหิ ารเวชภัณฑ์
งานบรหิ ารเวชภณั ฑ์ มหี นา้ ทหี่ ลกั ในการบรหิ ารเวชภณั ฑ์ คัดเลือกรายการยาและผู้จาหนา่ ย จดั ซอื้
จดั หา ตรวจรับ จัดเก็บรกั ษาเวชภัณฑ์ บรกิ ารเบิกจา่ ยเวชภณั ฑ์ใหแ้ กห่ น่วยเบกิ ภายใน และภายนอก
โรงพยาบาล ยาทีจ่ ัดซ้ือมีคุณภาพ สารองเพียงพอตอ่ ความต้องการใช้ คงคลงั เหมาะสม ยาทุกรายการได้รบั การ
เกบ็ รักษาอย่างเหมาะสมถูกตอ้ งตามหลกั วิชาการ ไมส่ ญู หาย เสื่อมสภาพหรือหมดอายุ ใหบ้ ริการเบิกจ่าย
เวชภณั ฑ์ได้ครบถ้วน ถกู ต้อง ภายในเวลาท่ีกาหนด

120 รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง
3.5 งานผลิตยา
งานผลติ ยา มหี น้าท่ีหลักในการผลิตยาเคมีบาบัดเฉพาะราย TPN ยาปราศจากเชอ้ื เฉพาะท่ี ยา small
dose และยาทว่ั ไปที่ไมม่ จี าหนา่ ยตามทอ้ งตลาด และให้คาปรึกษาการใชย้ าเคมบี าบัดในหอผปู้ วุ ย จ่ายและ
จัดสง่ น้าเกลือใหห้ อผู้ปวุ ย และแบง่ บรรจุยาเม็ด โดย ผลติ ยาตามคาสัง่ แพทย์ จา่ ยน้าเกลอื และแบ่งบรรจยุ า ใน
เวลาราชการ 8.00 – 16.00 น. นอกเวลาราชการ วันเสาร์-อาทติ ยแ์ ละวนั หยดุ ราชการ 8.00 – 16.00 น. และ
ผลิตยาจาเปน็ สารองท่หี อ้ งจา่ ยยาและหอผ้ปู ุวย สนับสนุนยาทผี่ ลติ แก่หน่วยงานอน่ื ในโรงพยาบาล รพช.และ
รพสต. การใหค้ าปรกึ ษาการใชย้ าเคมบี าบดั

3.6 งานเภสชั กรรมปฐมภมู ิ
งานเภสัชกรรมปฐมภมู ิ เภสัชกรมบี ทบาทในการส่งเสริมให้เกดิ ระบบบริการสุขภาพระดับปฐมภมู ิท่ีพงึ
ประสงค์ เป็นระบบบรกิ ารทยี่ ดึ ปรัชญาสขุ ภาพแบบองค์รวม ต่อเนื่อง ผสมผสาน และ เป็นระบบบริการทที่ าให้
ประชาชนพึง่ ตนเองได้ เป็นบริการที่อยใู่ กล้บ้านใกล้ใจของประชาชน สาหรบั โรงพยาบาลลาปาง มีเภสชั กร
ปฏิบัติงานใหบ้ รกิ ารจ่ายยา และ ดแู ลระบบยา ท่ีหนว่ ยบรกิ ารปฐมภูมิม่อนกระทิง มีกิจกรรมเยย่ี มบา้ น
รว่ มกบั สหสาขาวชิ าชพี และนเิ ทศระบบยา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดบั ตาบลในเขตอาเภอเมืองลาปาง
จานวน 27 แห่ง

121รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

4. ผลการดาเนนิ งาน/กจิ กรรม/สถติ ิ ปี 2560 – 2562

ผลงาน/กจิ กรรม หนว่ ยนบั ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562

1. งานบรกิ ารเภสชั กรรม 316,106 327,444
873,392 854,523
จานวนใบสงั่ ยาผปู้ ุวยนอก ใบส่งั ยา 322,562 1,032
837
จานวนใบสั่งยาผู้ปวุ ยใน ใบส่งั ยา 914,544 35/12
35/12
จานวนผู้ปวุ ยทีไ่ ดร้ ับคาแนะนาการใช้ยา คร้งั 405 0.74
0.03 0.49
เทคนคิ พเิ ศษ 0.05
1.76
การตรวจสอบการสารองยาบนหอผปู้ วุ ย แหง่ /คร้ัง 35/12 0.03 1.94
0.13
Prescribing error 0.88
0.63 0.45
OPD (target ≤2.04) ครั้ง/แสนใบยา 0.43 3 0.59
2
IPD (target ≤0.05) ครง้ั /พนั วันนอน 0.04

Dispensing error

OPD (target ≤14.5) คร้ัง/แสนใบยา 1.89

IPD (target≤0.2) คร้งั /พนั วนั นอน 0.17

Administration error

OPD (target ≤4.05) ครั้ง/แสนใบยา 0.77

IPD (target ≤1.23) ครั้ง/พนั วนั นอน 0.73

แพ้ยาซ้า (target 0 ครัง้ ) คร้ัง 1

2. งานบรบิ าลเภสชั กรรม

2.1 งานบริบาลผ้ปู ุวยนอก (Ambulatory care)

จานวนผปู้ ุวยที่ไดร้ บั การทบทวนการใชย้ า

- COPD Asthma clinic ราย 1,128 871 1,430
1,067 1,003
- CKD clinic ราย - 8,022 6,814
431 454
- DM clinic ราย 6,483 2,366 9,130
337 349
- Heart failure clinic ราย 425 1,247 1,403
4,537 4,825
- HIV clinic ราย 2,166
85.4 84.2
- Insulin GDM Clinic ราย 261 69.9 69.1
83.8 86.2
- TB Clinic ราย 1,125 79.2 83.5
91.6 93.7
- Warfarin Clinic ราย 4,084 93.5 91.7
94.2 95.1
Clinical outcome: ความร่วมมือในการใช้ยา 4,118 4,339

- COPD Asthma clinic รอ้ ยละ 82.1

- DM clinic รอ้ ยละ 78.3

- GDM Insulin clinic รอ้ ยละ 78.4

- Heart failure clinic รอ้ ยละ 68.8

- HIV clinic ร้อยละ 93.8

- TB Clinic รอ้ ยละ 92.7

- Warfarin Clinic ร้อยละ 89.2

พบปญั หาจากการส่งั ใชย้ าและแก้ไข DRP ครั้ง 4,064

122 รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

ผลงาน/กิจกรรม หนว่ ยนับ ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562

2.2 งานบริบาลผู้ปุวยใน (Acute care) 16,960 16,472 32,048
4,060 9,883 11,391
จานวนผูป้ ุวยที่ได้รับการบริบาล ราย 1,882 3,402 4,786

Medication reconciliation ครั้ง 15 6 1,435

พบปญั หาจากการสัง่ ใชย้ าและแก้ไข ครั้ง 1,001 981 1,805
2,177 2,058 2,120
(Drug related problem)
180 215 215
พบความคลาดเคล่อื นจากการสง่ั ใช้ยา คร้ัง 38 22 32

(Prescription error ระดบั B) 10 6 4
5 5 3
2.3 งานเภสัชสนเทศและระบบยา 3 5 4
7 2 4
งานตอบคาถามและconsult case ADR ครง้ั 3 3 5
2 1 5
ประเมินการแพย้ าและบันทกึ ขอ้ มลู ใน ครั้ง
5 3 2
ฐานข้อมูลระบบ SSB
3 5 3
จดั ส่งรายงาน ADR ไป อย. ครั้ง
12 12 12
จัดทา monograph ยาใหมเ่ สนอเข้า รายการ 2 17 22
7 1 1
บญั ชยี าโรงพยาบาล
13 13 13
จดั ทาจดหมายขา่ วแจ้งเวียนในรพ. ฉบบั 0 1 8

การจัดนิทรรศการดา้ นยา คร้งั

การประชุม PTC คร้ัง

การประชมุ คณะกรรมการพัฒนาระบบยา ครั้ง

การจัดทาแนวทางปฏิบัติเกยี่ วกบั ยา เรื่อง

การประชมุ cross function ครั้ง

กบั พยาบาลเกีย่ วกบั ระบบยา

2.4 การดาเนินการใช้ยาอยา่ งสมเหตุผล (RDU)

การประชมุ คณะอนุกรรมการการใช้ยา คร้ัง

อย่างสมเหตุผลโรงพยาบาลลาปาง

การประชุมคณะอนุกรรมการการใช้ยา ครั้ง

อย่างสมเหตผุ ลจงั หวัดลาปาง

การออก RDU สญั จร

โรงพยาบาลชุมชน แหง่

โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตาบล แห่ง

การจดั ทาแนวทางการใชย้ าอยา่ งสม เรือ่ ง

เหตผุ ล

โรงพยาบาลทีผ่ า่ นเกณฑ์ RDU ขนั้ 1 แหง่

โรงพยาบาลท่ีผ่านเกณฑ์ RDU ขั้น 2 แห่ง

ผลงาน/กจิ กรรม หนว่ ยนับ ปี 2560 123รายงานประจาปี 2562
2.5 การประเมนิ การส่ังใช้ยา (DUE) โรงพยาบาลลาปาง
Meropenem ครั้ง 248
Piperacillin ครง้ั 129 ปี 2561 ปี 2562
Ertapenem ครั้ง 24
คร้ัง 29 931 191
Tigecycline ครั้ง 50 490 195
Vancomycin ครง้ั 25 91 88
Cefoperazone/salbactam ครงั้ - 36 23
Sitafloxacin (เรม่ิ ประเมนิ กพ.61) ครัง้ 133 99 266
Albumin (เร่มิ ประเมนิ กพ.60) 46 39
2.6 งานสอนและฝึกอบรม คน 15 43
1. ฝกึ ปฏบิ ัติงานวิชาชีพช้นั ปีท่ี 4 247 451
หลกั สูตรเภสชั ศาสตร์บณั ฑติ คน 38
2. ฝึกปฏบิ ตั ิงานทางบรบิ าลเภสัชกรรม 16 5
ชัน้ ปที ี่ 6 คน 23
29 33
2.1 การบริบาลเภสชั กรรมผู้ปุวยใน คน 13
(Acute care) 23 20
คน 2
2.2 การบรบิ าลเภสชั กรรมผ้ปู วุ ยนอก คน 6 16 15
(Ambulatory care) คน 5
2.3 การบรบิ าลเภสัชกรรมผปู้ ุวยที่ใชย้ า คน 14 0 3
Warfarin ครง้ั /คน 1/35 14 12
2.4 การบริบาลเภสัชกรรมผปู้ วุ ย HIV ครั้ง - 6 0
2.5 เคมบี าบดั (Oncology) ครั้ง 2 8 0
2.6 เภสัชสนเทศ (DIS) คน/ชม. 200/40 1/40 1/105
2.7 ระบบยา (MMS) คน - 4 1
3. ปฐมนิเทศแพทยใ์ หม่เรอื่ งการใช้ยา 3 2
4. วิทยากรเรือ่ ง RDU ให้แก่ รพสต. คน 3 220/40 180/45
5. วทิ ยากรเรอื่ งยาใหแ้ กช่ มุ ชน - -

6. สอนวิชาเภสัชวทิ ยานักศกึ ษาพยาบาล 3 4
7. ฝกึ ปฏบิ ตั งิ านวชิ าชีพเภสชั กรรม สาขา
เภสัชอุตสาหกรรม ชัน้ ปที ่ี 6
8. หลกั สตู รประกาศนียบตั รวิชาชพี ขน้ั สูง
สาธารณสขุ ศาสตร์ สาขาเทคนิคเภสัช
กรรม

124 รายงานประจาปี 2562 หน่วยนบั ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง
รายการ 694 682 694
ผลงาน/กจิ กรรม
3. งานบริหารเวชภณั ฑ์ รายการ 176 143 141
เภสัชตารับโรงพยาบาลลาปาง
- ยาในบัญชียาหลกั แห่งชาติ รายการ 15 15 16
- ยานอกบัญชยี าหลักแห่งชาติ
- สมนุ ไพร ตารบั 131 111 94
- ยาผลิต
* ยาเตรียมทั่วไป ตารับ 66 58 49
* ยาเตรยี มปราศจากเช้ือ
ตารบั 3 3 5
* ยาหยอดตาเฉพาะราย
* Extemporaneous ตารับ 11 11 11
สดั สว่ นรายการ ED:NED
สัดส่วนมลู คา่ การใช้ED:NED ตารับ 27 29 29
ทาแผนจัดซอ้ื
80:20 80:20 83:17 83:17
การดาเนินงานจัดซอื้ ยารว่ มระดับเขต/
จงั หวัด 70:30 69:31 74:26 75:25
สดั สว่ นมลู ค่าการจัดซื้อรว่ ม/
ยาท่ซี ื้อทง้ั หมด คร้งั 1 1 1
MOS (Month of supply)
มูลคา่ คงเหลอื /ใชไ้ ป รายการ 979 983 961
การควบคมุ /ดาเนินการจัดซ้ือเวชภณั ฑ์
การส่งตวั อยา่ งเพือ่ ตรวจวเิ คราะห์ รายการ 297 295 309
การควบคุมเบกิ จ่ายจากคลงั ใน
โรงพยาบาล ร้อยละ 25.8 29.7 30.3

การจ่ายยาให้ รพช. เดอื น 1.13 1.05 0.91

การจ่ายยาให้ รพสต. ใบสงั่ ซ้ือ 2,678 3,030 2,800
รายการ - - -
หน่วยเบิก 23 23 24
ใบเบกิ
รายการ 5,695 7,002 7,945
มลู คา่ (บาท) 30,570 24,108 23,068
406,328,646 405,408,364 438,436,643
แห่ง
ใบเบกิ 13 13 11
243 159 168
รายการ
มลู คา่ (บาท) 724 439 465
1,897,578 1,277,554.85 1,365,655.05
แห่ง
ใบเบิก 27 27 27
1,793 1,683 2,149
รายการ
มูลค่า(บาท) 13,463 14,903 14,368
9,325,155.31 7,507,946.91 8,151,907.67

ผลงาน/กจิ กรรม หน่วยนับ ปี 2560 125รายงานประจาปี 2562
4.งานผลิตยา โรงพยาบาลลาปาง
การเตรยี มยาเคมีบาบัด visit 6,660
dose 12,521 ปี 2561 ปี 2562
การเตรียมสารอาหารทางหลอดเลือดดา ขวด 1,599
การเตรียมยาปราศจากเชอ้ื รายการ 8,537 10,496
ลิตร 3 17,058 20,238
การเตรียมยาทัว่ ไป 56,893 1,947 1,675
ยานา้ รับประทาน รายการ
ลิตร 28 3 5
ยาใชภ้ ายนอก 12,015 15,667 11.4
solution/lotion รายการ
ลติ ร 27 19 13
cream ointment paste รายการ 11,805 4,459 1,693
กโิ ลกรมั
ยาแบง่ บรรจุ 11 25 13
Solution รายการ 1,143 27,816 748
ลติ ร 9
Powder รายการ 14 14 860
กิโลกรัม 1,349 1,170
การเตรยี มนา้ ยาฆา่ เช้อื และทดสอบ รายการ
ลติ ร 4 12 4
การเตรียมยาหยอดตาเฉพาราย รายการ 92 300 362
ขวด 24 6 3
การเตรยี มยา Extemporaneous รายการ 12,643 113 30
(ผูป้ ุวยเดก็ เฉพาะราย) ลติ ร 11 10 7
การแบง่ บรรจยุ าเมด็ ซอง 348 15,661.8 6,659
การใหค้ าปรกึ ษาผูป้ วุ ยที่ไดร้ บั ยาเคมีบาบัด ครง้ั 27 11 11
5. งานเภสัชกรรมปฐมภูมิ 303 229 452
งานเยี่ยมบา้ นผ้ปู วุ ย ครง้ั 224,493 29 29
งานนิเทศ รพสต. แหง่ /ครัง้ 1,520 287 459
เภสชั กรออกปฏบิ ัตงิ านท่ี PCC แหง่ /คร้งั 266,944 256,234
0 2,400 3,112
27/27
69 63
0 27/27 27/54
4/12 14/46

126 รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

5. ผลงานท่ภี าคภูมใิ จ/ผลงานเดน่ ปีงบประมาณ 2562
5.1 ผลงานวิจัย เรอ่ื ง “The relationship between hemorrhagic disorder and mortality rate

among warfarin patients at Lampang hospital in fiscal year 2017” นาเสนอโดย
ผศ.(พิเศษ) ดร. ภญ. รุง่ ทิวา หมืน่ ปา ในการประชมุ วชิ าการ Cardiac Network Forum ครั้งที่ 11
ประจาปี 2562 ของกระทรวงสาธารณสุข วันท่ี 15-18 มกราคม 2562 ณ จงั หวัดบรุ ีรัมย์ ได้รบั รางวลั
ชนะเลศิ ประเภทนาเสนอดว้ ยวาจา

5.2 ผลงาน R2R เรื่อง “ประสิทธิผลของระบบคิวจา่ ยยาแยกประเภทตามกลุ่มหอ้ งตรวจ ห้องจา่ ยยาผปู้ ุวย
นอก โรงพยาบาลลาปางการ” นาเสนอโดย ภญ.อนิ ทิรา ชอ่ ไชยกลุ ในงานประชุมเชิงปฏิบัติการเวที
แลกเปลย่ี นเรียนรแู้ ละนาเสนอผลงานวิจัย R2R นวตั กรรม เขตสขุ ภาพท่ี 1 วนั ท่ี 22-23 สงิ หาคม
2562 ณ โรงแรมแม่ยมพาเลส จังหวดั แพร่ ไดร้ บั รางวลั ผลงานการพฒั นางานประจาสงู่ านวจิ ัย เขต
สขุ ภาพท่ี 1 ระดบั ตติยภูมิ ดเี ด่น

5.3 ภญ. ณัฐนิชา ปยิ ะโสภา ได้รับรางวัล “บณั ฑิตเภสัชศาสตร์ดเี ย่ียม” ในงานประกาศเกยี รตคิ ณุ ของ
มูลนธิ สิ มเด็จพระมหติ ลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ประจาปี 2562 ณ lifestyle Hall
ช้ัน 2 ศูนยก์ ารค้าสยามพารากอน เขตปทมุ วนั กรุงเทพมหานคร ในวนั ท่ี 10 กันยายน 2562

127รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

กลุ่มงานเทคนคิ การแพทย์

1. โครงสรา้ งหนว่ ยงาน ปงี บประมาณ 2562 (ขอ้ มูล ณ วันที่ 30 กนั ยายน 2562)

นายแพทยท์ รงวฒุ ิ ทรัพย์ทวีสนิ
ผูอ้ านวยการโรงพยาบาลลาปาง

นายแพทยจ์ รัล ปันกองงาม
รองผูอ้ านวยการฝาุ ยการแพทยค์ นที่ 1

นายดุลย์ ถ้อยคา
หัวหนา้ กลุ่มงานเทคนิคการแพทย์

งานธนาคารเลอื ด งานบรกิ ารผปู้ ุวยนอก งานเคมคี ลินิก งานจุลชีววิทยา

งานโลหติ วทิ ยาและ งานภูมิคุ้มกนั วทิ ยา งานธรุ การ-พสั ดุ
จลุ ทรรศนศ์ าสตร์

2. อัตรากาลัง (ข้อมูล ณ วนั ท่ี 30 กันยายน 2562)

บุคลากร ขา้ ลกู จ้าง จานวน (คน) ลูกจา้ ง รวม หมาย
ราชการ ประจา ชั่วคราว เหตุ
1. นักเทคนคิ การแพทย์ พนักงาน พนกั งาน
2. เจ้าพนกั งานวิทยาศาสตร์ 26 ราชการ กระทรวงฯ
การแพทย์
3. นักวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ 5 - 2 9 2 39
4. พนกั งานวิทยาศาสตร์
5. พนักงานประจาหอ้ งทดลอง - - - -5
6. พนกั งานบรกิ าร
7. เจา้ พนักงานธรุ การ 2 - - - -2
8. พนักงานประจาตึก
- 3 - - -3
รวม
- - - 7 4 11

- 4 - - -4

- 3 - - -3

- 1 - - -1

33 11 2 16 6 68

128 รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

3. ศกั ยภาพในการใหบ้ รกิ าร
กลมุ่ งานเทคนคิ การแพทย์ มีนักเทคนคิ การแพทยป์ ฏิบัติงาน จานวน ๓๙ ทา่ น โดยให้บริการ
ครอบคลุมการตรวจทางห้องปฏบิ ัตกิ ารท่วั ไปรวมถึงการตรวจพเิ ศษ โดยไดน้ าเทคโนโลยแี ละอปุ กรณท์ ี่ทนั สมยั
ช่วยเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการให้บรกิ ารท้ังผูป้ ุวยในและผู้ปุวยนอก

3.1 ห้องเจาะเลอื ดผู้ปวุ ยนอก มกี ารใช้เครอ่ื ง
จัดระบบคิวอตั โนมัตมิ าช่วยในการบรหิ าร
จัดการผู้ปุวยท่ีมารบั บริการในแต่ละวนั
โดยเชอื่ มต่อเข้ากบั ฐานข้อมูลโรงพยาบาล
เพอ่ื ใหห้ ลอดเลอื ดทีส่ ง่ ตอ่ จากห้องเจาะ
เลอื ด สามารถนาเข้าระบบการตรวจ
วเิ คราะหไ์ ด้ทันที ทาใหล้ ดระยะเวลารอ
คอยผลของผู้ปวุ ยลง

3.2 งานเคมีคลนิ ิก ไดน้ าระบบ Line Automation เข้ามา
ชว่ ยในการตรวจวิเคราะห์หาปรมิ าณและคณุ ภาพสารเคมี
ตา่ งๆ ในสงิ่ ตวั อย่างชวี วตั ถุ ไดแ้ ก่ เลอื ด ปัสสาวะ
นา้ เหลือง นา้ ไขสันหลงั และน้าเจาะจากส่วนอ่ืนๆ ของ
รา่ งกาย เพื่อให้ทราบถึงพยาธิสภาพและภาวะการทางาน
ของอวัยวะตา่ งๆ ของรา่ งกายรวมทั้งการตรวจตวั อย่างคดี
และตัวอย่างจากศพคดี

3.3 งานโลหติ วทิ ยาและจุลทรรศน์ศาสตร์ ตรวจโลหติ เพอื่ หาปรมิ าณและรปู ร่างลกั ษณะหรือ
องคป์ ระกอบทางเคมีของเม็ดเลอื ดแดง เม็ดเลอื ดขาว เกลด็ เลอื ด หาความเขม้ ขน้ ของเลอื ด ปจั จัยการ
แข็งตัวของเลอื ด และตรวจหาพาราสติ ในเลอื ด ตรวจวเิ คราะห์โดยการใชก้ ลอ้ งจลุ ทรรศน์และ
เครื่องมือบางชนดิ ร่วมกับการตรวจทางกายภาพทางเคมี เพอื่ หาความผดิ ปกตใิ นตวั อย่างปสั สาวะ
อจุ จาระ นา้ ไขสนั หลัง นา้ อสจุ ิและนา้ เจาะจากอวัยวะต่างๆ

129รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

3.4 งานธนาคารเลอื ด จัดหาโลหติ และส่วนประกอบของโลหิตใหเ้ พียงพอกับผูป้ ุวยในโรงพยาบาลและให้
การสนับสนนุ โรงพยาบาลในเครือข่ายโรงพยาบาลในจังหวัดลาปางและจังหวดั ใกล้เคียง จัดทา
ทะเบยี นผู้บริจาคโลหิต งานอ่ืนๆ ท่ีเก่ียวกับการจดั หาโลหิตส่งตรวจหาการตดิ เช้อื ในโลหิตที่ไดร้ ับ
บริจาค การตรวจความเข้ากนั ได้ของโลหติ ระหว่างผใู้ ห้และผรู้ ับ การตรวจหาหมโู่ ลหิตและการตรวจ
อน่ื ๆ ทเี่ กย่ี วข้องกับการใหโ้ ลหิตหรอื ปฏกิ ิรยิ าจากการรบั โลหิตของผปู้ ุวย

3.5 งานจลุ ชีววทิ ยา ตรวจหาชนิดของเชือ้ แบคทีเรยี เชอื้ รา และไวรัสท่ที าใหเ้ กิดโรค โดยการยอ้ มสีแลว้
ตรวจดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ การเพาะเล้ียงเช้ือ การทดสอบหาคุณสมบตั ขิ องเช้ือทางปฏกิ ิริยาชีวเคมี
การทดสอบความไวของเช้ือตอ่ ยาต้านจลุ ชีพ และการตรวจหาปริมาณยาทีน่ ้อยท่สี ุดท่ีสามารถยับยั้ง
การเจรญิ ของเชอ้ื (MIC) การตรวจทางอณูชวี โมเลกุลรวมทั้งการตรวจวิเคราะหอ์ าหารและน้าทางจุล
ชวี วทิ ยา

3.6 งานภมู คิ ุ้มกนั วทิ ยา ตรวจทดสอบหาเช้ือ และสารภมู ิคุม้ กันของรา่ งกายต่อเชื้อโรคชนิดต่าง ๆ โดย
ใช้หลักการปฏิกิรยิ าแอนติเจน-แอนติบอดี และการตรวจหาระดบั หรือจานวนเซลลภ์ มู คิ ุ้มกนั ของ
ร่างกาย

130 รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

4. ผลการดาเนนิ งาน / กิจกรรม / สถติ ิ ปีงบประมาณ 2560 – 2562

ห้องปฏบิ ตั กิ าร หน่วยนบั 2560 2561 2562
131,235
บริการผู้ปุวยนอก ราย 129,224 129,413 187,982
75,738
จุลชีววทิ ยา TEST 158,425 168,844 557,035
2,447,505
ภูมิคุ้มกันวทิ ยา TEST 71,565 72,526 399,683

โลหติ วิทยาและจลุ ทรรศน์ TEST 548,677 515,727

เคมีคลนิ กิ TEST 2,009,139 2,222,709

ธนาคารเลอื ด TEST 397,870 388,560

5. ผลงานที่ภาคภูมิใจ / ผลงานเด่น ปีงบประมาณ 2561
ช่ือผู้รับผิดชอบ กลุม่ งานเทคนคิ การแพทย์ / นายดุลย์ ถอ้ ยคา
คาอธิบาย ในการตอบสนองต่อความต้องการของผูร้ บั บริการ ทางหอ้ งปฏิบัติการ หอ้ งยา และหอ้ ง

ตรวจ ไดม้ ีการพฒั นารว่ มกันเพอ่ื ลด Total cycle time ของการให้บริการผูป้ ุวยนอกลง โดยมีเปาู หมายอยู่ท่ี
นอ้ ยกวา่ 125 นาที โดยจากการประเมินทผ่ี า่ นมา พบวา่ Total cycle time ลดลง

131รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

กลมุ่ งานโภชนศาสตร์

1. โครงสร้างหนว่ ยงาน ปีงบประมาณ 2562 (ขอ้ มูล ณ วนั ที่ 30 กนั ยายน 2562)

นายแพทยท์ รงวฒุ ิ ทรพั ยท์ วีสิน
ผูอ้ านวยการโรงพยาบาลลาปาง

นายแพทย์จรัล ปนั กองงาม
รองผอู้ านวยการฝุายการแพทย์คนท่ี 1

นางสาวอุไรพร วสันตข์ จร
หวั หนา้ กลุม่ งานอายุรกรรม

งานบรกิ ารผู้ปวุ ย งานวิชาการ งานสนบั สนนุ นโยบาย
อาหารปลอดภัย

2. อัตรากาลัง (ขอ้ มูล ณ วนั ท่ี 30 กนั ยายน 2562)

บคุ ลากร ขา้ ลูกจ้าง จานวน (คน) ลูกจา้ ง รวม หมาย
ราชการ ประจา ช่วั คราว เหตุ
1. นกั โภชนาการ พนักงาน พนกั งาน
2. โภชนากร 2 ราชการ กระทรวงฯ
3. พนักงานประกอบอาหาร 2
4. พนักงานธรุ การ - - 1 - 14
-
รวม 4 - - - -2

1 - 22 2 25

- - - 11

1 1 22 4 32

3. ศกั ยภาพในการใหบ้ ริการ จานวน 4 ท่าน
- นักโภชนาการ จานวน 2 ท่าน
- โภชนากร จานวน 22 ท่าน
- พนักงานประกอบอาหาร จานวน 1 ท่าน
- พนกั งานธุรการ

132 รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

4. กจิ กรรมการบริการอาหารผ้ปู ุวยและเจ้าหน้าท่ี ปีงบประมาณ 2560 - 2562

ประเภทการให้บริการ หนว่ ยนับ ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562
427,204
1. บริการอาหารผปู้ วุ ย อาหารธรรมดา ราย 390,079 512,634 294,594
12,698
2. บริการอาหารผปู้ วุ ย อาหารอ่อน ราย 283,996 364,376 390,721
111,540
3. บริการอาหารเหลว ราย 16,388 18,182
408
4. บรกิ ารอาหารเฉพาะโรค ราย 368,697 489,731 155
480/2,266
5. บริการอาหารเจ้าหนา้ ท่ีเวรบ่าย ราย 91,220 109,500

6. บรกิ ารอาหารแพทย์ER+ผตู้ รวจการ ราย - -

7. ใหค้ าปรึกษาดา้ นอาหารสายยาง ราย - -

8. ให้โภชนศกึ ษาในคลินกิ ตา่ งๆ ANC,DM,HT, ครงั้ /ราย 460/3,796 520/3,850

Well child, Well baby,ไต,หวั ใจ,COPD

5. กิจกรรมผลการดาเนนิ งาน ปีงบประมาณ 2560 - 2562

รายละเอียด หนว่ ยนบั ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562
23
1. CQI การพัฒนางานและแก้ไขปัญหา ในการ เร่ือง 5
ปฏบิ ัตงิ านในหนว่ ยงานโภชนาการ 1 ดาเนินการ
ตอ่ เนอ่ื ง
- พฒั นามาตรฐานการหงุ ขา้ วสาหรับผูป้ วุ ย
1 ดาเนินการ
- พฒั นามาตรฐานการลา้ งผกั ต่อเนอ่ื ง

- การลดคา่ ใช้จ่ายเก่ยี วกบั ข้าวสาร 11

2. มาตรฐานการหุงขา้ วเพอ่ื สขุ ภาพ เรื่อง 1 1 ดาเนนิ การ
ตอ่ เนื่อง
3. การใชแ้ กส๊ อย่างประหยดั และปลอดภัย เรอ่ื ง 1
1 ดาเนนิ การ
4. การปรบั กระบวนการผลติ อาหารสายยาง(จาก เรือ่ ง 1 ตอ่ เนอ่ื ง
เดมิ ใชไ้ ขล่ วกเปน็ ใช้ไข่ตม้ ) และการปรับสตู ร ทุกเดอื น 1
อาหารสายยางให้เหมาะสมกับผปู้ ุวย ทกุ วนั 1 1 ดาเนินการ
ทุกวัน 1 ตอ่ เนอ่ื ง
5. การปรบั เปลยี่ นรายการอาหารและวิธกี าร
ประกอบอาหาร โดยเลือกใชว้ ตั ถุดบิ ทีม่ งุ่ เน้นการ
ส่งเสริมสขุ ภาพ และเนน้ มาตรฐานด้านโภชนาการ

6.การจดั อาหารว่างและเคร่ืองดม่ื มอื้ เยน็ สาหรับ
ผู้ปุวยหอ้ ง VIP หอผปู้ วุ ย นวมนิ ทร์ 4-5

7. การปรบั กระบวนการตักข้าวบนหอผ้ปู วุ ย เพือ่
ลดการสูญเสีย และกรณขี ้าวเหลอื ไดน้ ากลบั มา
ปรบั เป็นรายการอาหารใช้ม้อื ตอ่ ไป

133รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

รายละเอยี ด หนว่ ยนับ ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562
8. การนา Whey Protein มาทดแทนการใชไ้ ข่ ทุกวนั 1 1 ดาเนินการ
ขาว เพื่อลดการสญู เสียไขแ่ ดง ลดการใชแ้ กส๊ ลด ตอ่ เนื่อง
เวลาในการปฏบิ ตั งิ านและลดการเกิดอาหารบดู ทกุ วนั 1 1
เสยี จาการปัน่ ไขข่ าวทงิ้ ไวใ้ นปริมาณมาก ดาเนินการ
9. การเขา้ ถึงขอ้ มูลผูป้ วุ ย ผ่านโปรแกรม HIS OPD จันทร์-ศุกร์ 1 ดาเนนิ การ ต่อเนอื่ ง
ในการติดตามผลการให้โภชนศึกษาในหอผู้ปวุ ย พฤหัสบดี 1 ตอ่ เนอ่ื ง
และผปู้ วุ ยนอก วันองั คาร - ดาเนินการ
10 การใหโ้ ภชนศกึ ษาในคลินกิ ผู้ปุวยนอกตา่ งๆ วันศุกร์ - ดาเนนิ การ ต่อเนื่อง
วันพธุ 92.14% ตอ่ เน่ือง
- คลนิ กิ เบาหวาน วนั ศกุ ร์ ดาเนนิ การ ดาเนินการ เรมิ่ ปี 2562
- คลนิ ิก GDM วันพธุ ตอ่ เน่อื ง ตอ่ เน่อื ง ดาเนนิ การ
- คลนิ กิ โรคไต วนั พุธ - ตอ่ เน่ือง
- คลนิ กิ ความดนั วันอังคาร 95% - ดาเนินการ
ทุกวัน - ตอ่ เนอื่ ง
- คลินิกเด็ก 86%
- คลินกิ well child ทุกวนั ดาเนินการ 1
ตอ่ เนอ่ื ง
- คลนิ ิกผสู้ ูงอายุ ทกุ วนั 2 300
- คลินกิ ANC และ GDM 87.23%
- คลินิก TB ราย 97.75%
2 ครั้ง ดาเนินการ
11. การใชร้ ะบบการเบกิ อาหารจากหอผูป้ ุวยผ่าน ทกุ เดอื น ต่อเน่อื ง
Program Food ทุกเดอื น
12. การพัฒนาเมนูเครอ่ื งดื่มส่งเสริมสขุ ภาพ 2
สาหรบั ผู้ปวุ ย/ผปู้ ุวยมะเร็ง ปลี ะ 2
13. การปรบั สตู รอาหารเหลว+นา้ เต้าหูส้ าหรบั ครัง้ 99.58%
ผ้ปู ุวยมอ้ื เช้า (784/788)
14. กจิ กรรม Healthy Break การประชมุ /สัมมนา ราย
15. การประเมินความพงึ พอใจผู้ปวุ ย
16. การสง่ ตรวจภาชนะถาดอาหารผ้ปู วุ ย
17. การสง่ ตรวจอาหารปรุงสกุ +อาหารสายยาง
โดยหอ้ งตรวจ LAB โรงพยาบาลลาปาง
18. การดาเนนิ โครงการอาหารปลอดภยั โดย
สารวจแหล่งเพาะปลูกผักปลอดภัย เพื่อนามาใช้
ประกอบอาหารผู้ปุวยและเจา้ หน้าที่
19. การดาเนินการสง่ ตรวจตวั อย่างอาหารสดและ
เบด็ เตล็ด ในอาหารผูป้ วุ ยและร้านอาหาร
สวัสดิการ รพ.ลาปาง เพ่อื ตรวจหาสารปนเปอื้ น 7
ชนิด (บอแร็กซ์, สารกนั รา, ฟอร์มาลนี , สารฟอกขาว,

สารอลั ฟลาทอ็ กซิน, ยาฆา่ แมลง และสารโพลาร)์

134 รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

รายละเอียด หนว่ ยนบั ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562
- - 10 รา้ น
20. การดาเนนิ การโครงการลดหวาน มนั เค็ม ใน รา้ น
- -1
โรงพยาบาลลาปาง (IPD) ร้านอาหารสวสั ดิการ - -1
- -1
(ผู้ปุวย/ญาตผิ ู้ปวุ ย) และผรู้ บั บริการผ่านเกณฑ์
- 1 ทาตอ่ เน่อื ง
มาตรฐาน Clean food good Taste ซง่ึ - -1
1 ทาตอ่ เนื่อง 1
สนับสนุนโดยงบประมาณของ สสส. โดยมกี ารจัด - -1

อบรมเม่ือวนั ที่ 22 กมุ ภาพันธ์ 2562 ณ หอ้ ง

ประชุมช้ัน 8 อาคารผปู้ ุวยนอก รพ.ลาปาง

21. การดาเนินโครงการ องคก์ รปลอดโฟม โดย เรอ่ื ง

เปน็ โรงพยาบาลต้นแบบปลอดภาชนะโฟมบรรจุ

อาหารและได้รับใบประกาศเกียรตคิ ณุ เม่ือวันที่ 5

มถิ ุนายน 2562.

22. การพัฒนา 5 ส. ในหน่วยงาน+การปรบั จุด เรอื่ ง

ตดิ ตง้ั ถังดบั เพลิง เพอ่ื ให้ครอบคลมุ และรองรับ

การประเมิน HA

23. การดาเนินการตามมาตรฐาน Clean & ทกุ วนั ศกุ ร์

Green Plus Hospital ซ่งึ พัฒนามาจากโครงการ

อาหารปลอดภยั (Food safety ) โดยมกี าร

จาหน่ายผกั ปลอดภัยให้กับผูร้ บั บรกิ ารและ

เจา้ หนา้ ท่โี รงพยาบาล ทุกวนั ศกุ ร์ (บริเวณหนา้

พระราชานุสาวรีย์) โดยผ้จู าหน่าย เปน็

ผูป้ ระกอบการท่ผี ่านการรับรองความปลอดภยั จาก

กรมวิชาการเกษตร

24. นวตั กรรมทตี่ ดั ไขต่ ้ม โดยทาจากขดลวดเสน้ เร่ือง

เล็กและไมแ้ ขวนเส้ือ

25. การแยกขยะทุกจุดของหน่วยปฏิบัติงาน โดยมี เร่ือง

การแยกขยะเปยี ก(เศษผัก)และขยะพลาสตกิ

26. นวัตกรรมการทา EM จากน้าซาวขา้ ว เพือ่ ใช้ เรื่อง

ทาความสะอาดหน่วยงานและลดแมลงวัน

27. นวตั กรรมการทาปุ๋ยจากเปลือกไข่ (เปลอื กไข่ เร่ือง

ท่เี หลือใช้จากการทาอาหารผู้ปุวย)

135รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

6. ผลงานทภ่ี าคภูมิใจ/ผลงานเดน่ ปี 2562
6.1 ไดร้ บั รางวลั ชนะเลศิ การแข่งขันนทิ รรศการการนาเสนอผลงานโครงการอาหารปลอดภยั

ระดบั ประเทศ ณ โรงแรมรามากาเดน้ กรุงเทพฯ เม่ือวันที่ 30-31 พฤษภาคม 2562

6.2 การจดั ทาโครงการอาหารปลอดภยั (Food Safety) ซง่ึ เป็นนโยบายของกระทรวงสาธารณสขุ กล่มุ
งานโภชนศาสตร์ มกี ารดาเนินการอย่างตอ่ เน่ือง โดยส่งตรวจตัวอย่างอาหารสด อาหารแปรรูป ทงั้
อาหารผู้ปวุ ยและรา้ นอาหารสวัสดกิ ารโรงพยาบาลลาปางทุกเดอื น ผลลัพธอ์ าหารปลอดภัย คดิ เปน็
รอ้ ยละ 99.58

1รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

กลุ่มภารกจิ ดา้ นบรกิ ารปฐมภมู ิ

139รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

กลมุ่ งานเวชกรรมสงั คม

1. โครงสรา้ งหนว่ ยงาน ปีงบประมาณ 2562 (ขอ้ มลู ณ วนั ที่ 30 กันยายน 2562)

นายทรงวฒุ ิ ทรพั ยท์ วีสนิ
ผอู้ านวยการโรงพยาบาลลาปาง

นายธวชั ชยั ปานทอง
รองผ้อู านวยการฝา่ ยการแพทยค์ นที่ 2

นายชนินท์ ประคองยศ
หัวหน้ากลุ่มงานเวชกรรมสงั คม

งานเวชปฏิบัตคิ รอบครวั และชมุ ชน งานส่งเสริมสุขภาพ และฟนื้ ฟู
และศูนยส์ ุขภาพชุมชนเขตเมอื ง
นส.พรพรรณ หวา้ คา RN หนง.
ศนู ยส์ ขุ ภาพชมุ ชนเมืองม่อนกระทิง ศูนย์สุขภาพชมุ ชนเมืองหัวเวียง วา่ ทีรต.ทองสขุ บญุ แจ่ม นวก.
นส.ปรญิ ญา ตันแปง พนง.

นพ.ชนินทร์ ประคองยศ หน.ศสม. พญ.ปรารถนา ปันทะ หน.ศสม.
นพ.สุรสิทธิ์ พงษ์เลาหพันธุ์ นพ.พลเทพ มณีวรรณ
พญ.อรวรรณ วรวงคป์ ระภา นพ.วนิ เตชะเคหะกิจ งานพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
พญ.ศณิษา ตนั ประเสริฐ พญ.ดุสดิ า ตู้ประกาย และสนบั สนุนเครือขา่ ยบรกิ าร

นางสุลาลัย ชมภปู นิ RN หนง. นางโสภิส กนั ทา RN หนง. นางสาวบุศรา ทศั นวิจิตร RN หนง.

นางรสสคุ นธ์ ศริ นรเศรษฐ์ RN นางสมพร สายสงิ ห์ทอง RN นส.ปภัสสร กนั ทะ นวก.

นางจารุวรรณ สมกลู RN นางสภุ าศรี ธรรมสรางกรู RN นส.วลั ธเนตร บญุ นามา พนง.

นางสรุ ารกั ษ์ พัวพันพพิ ฒั น์ RN นางประยรู ศรี เลือดสงคราม RN งานป้องกัน ควบคุมโรค
และระบาดวิทยา
นางชุติกาญจน์ คาทา RN นางนันท์นพิน บญุ ศิริชัชวาล RN
และงานคุม้ ครองผูบ้ ริโภค
นางสทุ ธิรา วงคเ์ ครอื RN นางพรรณี ธนสาร RN

นางมาลาภรณ์ สนุ ันทชัยกุล RN นางอมรกานต์ ทองใบ RN

นางวรากุล ทิพาปกรณ์ RN นางพรรณศริ ิ เพยี รสกลุ รัตน์ RN นายประดิษฐ นิรตั ิศรัย RN หนง.
นางปิ่นนภา จานงสังข์ RN
นางวรรณพร สุวรรณเนตร RN นางอัจฉราพรรณ จันศกั ดิ์ RN นส.องั คณา วางทา่ นวก.

นางยวุ รี จันทมิ า RN นางจินดาวรรณ เรืองพริ ิยกิจ NA นส.ดวงพร กนั ต๊ะมา NA

นางรงั สิยา ทา้ วคาลอื RN นายสมชาย ปวนเครอื พนง.

นางสาวณฐั ณิชา ทพิ ยร์ ัตน์ นวก. นส.พมิ พช์ นก สูงตวิ งศ์ พนง.

นางทวิ าพร อนิ ปัน๋ NA นส.อจั ฉรา บญุ มาก พนง. กลุ่มงานการพยาบาลชมุ ชน

นส.ณัชฐช์ นภิ รณ์ พรหมฟงั NA นางนันทนา พาฬอนรุ กั ษ์ RN หนง.
นางรัตนา แก้วประเทศ RN
นส.พิมพช์ นก สงู ติวงศ์ พนง. นางป่ินเพชร อนิ ทะวงค์ RN
นางบญุ สม ทรายใจมา พนง.
นส.อจั ฉรา บญุ มาก พนง.

140 รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

2. อตั รากาลงั (ข้อมูล ณ วันที่ 30 กนั ยายน 2562)

บคุ ลากร ขา้ จานวน (คน) ลกู จ้าง รวม หมาย
ราชการ ชั่วคราว เหตุ
ลูกจ้าง พนกั งาน พนกั งาน
ประจา ราชการ กระทรวงฯ

1. แพทย์ 8 - - - -8

2. พยาบาล 27 - - - - 27

3. นกั วชิ าการสาธารณสขุ 2- - 2 -4

4. นกั การแพทย์แผนไทย --- 1 -1

5. พนกั งานผชู้ ่วยเหลอื คนไข้ - 2 - 1 - 3

6. เจ้าพนักงานธุรการ - - 1 2 -3

7. พนักงานเกบ็ เอกสาร --- 2 -2

8. พนักงานบรกิ าร - - - 2 -2

รวม 37 2 1 10 0 50

ท่มี า : กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลลาปาง

3. ผลการดาเนนิ งาน

 การดาเนนิ งานด้านคลินิกบรกิ าร ศนู ย์สขุ ภาพชมุ ชนเมอื งมอ่ นกระทงิ และศนู ย์สขุ ภาพชมุ ชนหัวเวียง

กิจกรรมบรกิ าร หนว่ ย ศสม.มอ่ นกระทิง ศสม.หัวเวยี ง

นับ 2560 2561 2562 2560 2561 2562

1. ผ้รู ับบริการทัง้ หมด ครั้ง 47,352 44,882 46,745 40,125 36,245 39,713

2. คลินิกโรคทัว่ ไป ครง้ั 29,955 28,067 27,229 23,710 17,367 17,212

3. คลนิ กิ โรคเรอ้ื รัง ครง้ั 16,447 16,683 18,178 16,415 15,455 14,321

4. คลนิ ิกตรวจฟนั คร้งั 753 718 539 ไมม่ บี รกิ าร ไม่มีบริการ ไมม่ ีบรกิ าร

5. คลนิ ิกตรวจตา ครง้ั 71 238 399 ไม่มบี ริการ ไมม่ บี ริการ ไมม่ บี ริการ

6. คลินิกสุขภาพเดก็ ดี ครัง้ 26 ไม่มบี รกิ าร ไม่มบี รกิ าร ไม่มบี ริการ ไมม่ ีบรกิ าร ไมม่ ีบริการ

7. คลินิกสงู วัยอบอนุ่ ครั้ง 199 176 195 ไม่มบี ริการ ไม่มบี รกิ าร ไม่มบี รกิ าร

8. ผูป้ วุ ย Urgent ครง้ั 64 54 92 5 205 154

9. ผปู้ ุวย Emergency ครง้ั 14 5 12 2 16 17

10. ผปู้ ุวย HT ครั้ง 8,388 8,609 8,879 9,428 9,659 12,353

11. ผู้ปุวย DM ครง้ั 859 945 1,031 2,010 1,714 5,722

12. ผ้ปู วุ ย DM with HT ครั้ง 3,326 3,471 3,684 4,977 4,082

13. ผ้ปู ุวย DLP ครั้ง 1,114 1,137 1,208 NA NA 2,428

14. ผปู้ ุวย COPD ครง้ั 128 128 141 NA 56 110

15. ผูป้ ุวย TB ครั้ง NA 6 23 NA 51 65

141รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

 การดาเนนิ งานด้านคลนิ ิกบรกิ าร ศูนยส์ ขุ ภาพชมุ ชนเมอื งม่อนกระทิง และศูนยส์ ุขภาพชุมชนหวั เวยี ง

กิจกรรมบริการ หนว่ ย ศสม.มอ่ นกระทงิ ศสม.หวั เวยี ง

นับ 2560 2561 2562 2560 2561 2562

16. ผปู้ วุ ยรับ Refer

 รพ.ลาปาง ครั้ง 236 169 164 14,498 7,977 NA

 รพ.สต./ศสม. ครั้ง 1,120 852 809 377 428 861

17. ผปู้ วุ ยสง่ ตอ่ ไป

 รพ.ลาปาง ครั้ง 950 634 645 123 2,126 2,494

 รพ.สต./ศสม. ครั้ง 187 111 117 870 160 464

18. ผูป้ ุวย X Ray ครง้ั 3,273 4,276 5,042 ไม่มีบรกิ าร ไมม่ บี รกิ าร ไม่มบี ริการ

19. ผู้ปุวยเจาะเลือด/ส่ง Lab ครง้ั 11,128 11,070 11,987 3,868 ไม่มบี รกิ าร ไม่มีบรกิ าร

20. ตรวจสขุ ภาพตา่ งด้าว ครั้ง ไม่มบี รกิ าร ไมม่ บี รกิ าร ไม่มีบรกิ าร 580 2,227 289

21. อนามัยเรือนจา ครั้ง ไมม่ บี ริการ ไม่มีบรกิ าร ไม่มบี ริการ 223 696 1,954

22. แพทย์แผนไทย ครั้ง ไมม่ ีบรกิ าร ไม่มีบริการ 205 ไมม่ ีบริการ ไม่มีบริการ 420

การปฐมพยาบาลเบอื้ งต้น /หตั ถการ

1. ฉดี ยา ทุกประเภท ครั้ง 2,673 1,198 1,245 501 ไมม่ บี รกิ าร ไมม่ ีบรกิ าร

2. ทาแผล เย็บแผล ตดั ไหม ครง้ั 4,558 3,829 4,047 71 ไม่มบี รกิ าร ไมม่ บี รกิ าร

3. ตรวจคลืน่ หวั ใจ (EKG) ครั้ง 2,959 3,150 3,451 4,058 3,800 3,739

4. ตรวจเทา้ ครั้ง 797 799 887 894 880 981

5. พ่นยา ครั้ง 111 93 110 6 5 NA

6. ทาหตั ถการอืน่ ๆ ครั้ง 560 397 1,116 56 24 NA

7. ตรวจมะเร็งปากมดลูก ครั้ง 154 298 181 NA NA 72

8 . ตรวจเต้านมโดย ครั้ง 282 655 1,628 NA NA 1,628

เจา้ หนา้ ท่ี (CBE)

9. เยีย่ มบา้ น ครง้ั 952 1,688 1,043 415 1,660 552

10. การใหส้ ขุ ศกึ ษารายกล่มุ ราย NA NA 94 NA NA 245

(Self help group)

142 รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

 การเยีย่ มบ้านผู้ป่วยทต่ี อ้ งดแู ลตอ่ เน่อื ง 12 กล่มุ โรค ตามนโยบายหมอครอบครวั จังหวัดลาปาง
ปีงบประมาณ 2562

กลุ่มเปา้ หมายทีต่ ดิ ตามเยีย่ ม หนว่ ยนับ ศสม.ม่อนกระทิง ศสม.หัวเวียง รวม
1. หญิงตั้งครรภ์เสยี่ ง ราย 11 3 14
2. เดก็ 0-5 ปี ทีม่ ีพฒั นาการล่าช้า ราย 7 4 11
3. ผ้สู ูงอายุ - ตดิ บา้ น ราย 136 14 150
ราย 110 28 138
- ติดเตยี ง ราย 26 15 41
4. ผู้พกิ ารท่ีมีภาวะพงึ่ พิง ราย 63 30 93
5. ผู้ปวุ ยจติ เวช ราย 7 6 13
6. ผปู้ ุวย COPD Re-admit ราย 36 31 67
7. ผูป้ ุวยวณั โรค ราย 22 4 26
8. ผปู้ วุ ย CKD stage 4,5 ราย 21 40 61
9. ผู้ปุวย DM Uncontrolled ราย 33 45 78
10. ผปู้ วุ ย HT Uncontrolled ราย 23 6 29
11. ผปู้ วุ ย Palliative Care ราย 0 0 0
12. ผู้ปวุ ยในพระบรมราชานุเคราะห์ ราย 495 226 721

รวม

143รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

 การเยี่ยมบ้าน
1. เย่ียมผู้ป่วยวณั โรค กากบั การดแู ลด้วยกระบวนการ DOTS ในเขตเทศบาลนครลาปาง จานวน 67
ราย ผู้ปุวยรักษาครบคอรส์ ตามระยะเวลา 61 ราย เสยี ชีวติ 6 ราย ในรายท่มี ปี ญั หาซับซอ้ นหรอื เสี่ยงตอ่ การ
เสยี ชีวิตหรือรับประทานยาไม่ต่อเน่ือง ส่งผลต่อการเกิดวัณโรคดอื้ ยา (MDR Tb) มกี ารนาผ้ปู ุวยมา Admit 2
สัปดาห์ เป็นอย่างนอ้ ยและลงติดตามเยยี่ มบา้ นด้วยทีม DOTS อาเภอเมอื งลาปาง ในปี 2562 มีการเยี่ยมผู้ปวุ ย
ที่มีปญั หาซับซ้อน 15 ครงั้ เย่ียมผู้ปวุ ยวณั โรค 19 ราย ผลการรกั ษาดี ผู้ปุวยทานยาครบ รกั ษาหาย

2. ผปู้ ่วยจติ เวช ผปู้ วุ ยจติ เวชกลุ่มสาคัญทท่ี าการเยีย่ มคอื ผ้ปู วุ ยซึมเศรา้ (Depression) ผูป้ ุวยจติ เภท
(Schizophrenia) ในรายท่มี ปี ญั หาซับซอ้ นในการดแู ล ร่วมเย่ียมกับทีมสหสาขาวิชาชพี 44 ครัง้ เยยี่ มผปู้ ุวย
ท้งั สิ้น 250 ราย ผู้ปุวยได้รับยาต่อเนอื่ ง ญาตแิ ละผดู้ ูแลได้รับคาแนะนาในการดแู ลผปู้ วุ ย และเฝาู ระวังอาการ
เปล่ยี นแปลง พรอ้ มทัง้ มกี ารบนั ทึกแบบติดตามผู้ปวุ ยจิตเวชเร้อื รังในชมุ ชน และสมุดบนั ทึกสุขภาพ

3. ผูส้ งู อายตุ ิดบ้านติดเตยี ง ที่มปี ัญหาซบั ซ้อน ร่วมกับสหสาขาวชิ าชพี มลู นธิ ิพระสงฆจ์ ังหวัดลาปาง
และหลวงพอ่ เกษมเขมโก ตัวแทนเหลา่ กาชาด และองคก์ รท้องถน่ิ จานวนทั้งสนิ้ 55 ราย โดยทกุ รายไดร้ บั การ
ดแู ล แนะนา แกไ้ ข ปญั หาดา้ นสขุ ภาพ เงนิ สนบั สนุนเพอ่ื การยังชีพ และได้รบั การแก้ปัญหาทางส่งิ แวดลอ้ ม ท่ี
อย่อู าศยั 2 ราย

144 รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง
 งานสร้างเสรมิ สขุ ภาพ ตามกลมุ่ วัย ท่ีสาคญั
1. การคดั กรองพฒั นาการเดก็ 0-5 ปี ใหม้ พี ฒั นาการสมวัย ผลการดาเนนิ การคดั กรองในศนู ยเ์ ดก็
เล็กและในชุมชน พบเดก็ มพี ฒั นาการสมวัย รอ้ ยละ 94.35 (เปูาหมายร้อยละ 80) เด็กทสี่ งสัยมพี ัฒนาการ
ล่าช้า ผู้ปกครองและผู้ดแู ลได้รับคาแนะนาในการกระตนุ้ พฒั นาการ และส่งตอ่ เพื่อตรวจคดั กรองเพม่ิ เติมใน
โรงพยาบาลลาปาง

2. สนบั สนุนการเป็นวิทยากร ในกจิ กรรมค่าย Smart kids coacher เพือ่ ใหเ้ ดก็ วัยเรียนลดภาวะ
อว้ น และมีการเจริญเติบโต ที่สูงดี สมส่วน โดยดาเนินการในโรงเรยี นบุญวาทยว์ ทิ ยาลัยและโรงเรยี นลาปาง
กัลยาณี ซึง่ มโี รงเรยี นเป็นเจ้าของโครงการ ได้รับงบสนับสนุนจากกองทนุ สุขภาพตาบ ล ผลการดาเนนิ งาน พบ
เด็กวัยเรียนสงู ดี สมสว่ น ร้อยละ 57.7 (เปาู หมายร้อยละ 66) เด็กวัยเรยี นมภี าวะอ้วน เรมิ่ อ้วน ร้อยละ 15.09
(เปูาหมายรอ้ ยละ 10)

3. การดาเนนิ กิจกรรมในโครงการปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หาการตง้ั ครรภ์ไมพ่ รอ้ ม สร้างสรรค์พน้ื ท่ี
สาหรับเยาชน ในการทา กจิ กรรม ใน “ถนนเดก็ เดิน” และสง่ ต่อเพื่อรับคาปรึกษาปัญหาดา้ นต่างๆ ในคลนิ กิ
มติ รวยั ร่นุ

145รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

4. การคดั กรองโรคเบาหวาน ความดนั โลหิตสงู และปัญหาภาวะสุขภาพอืน่ ๆ ในวัยทางาน โดย
พัฒนาและจัดทาฐานข้อมลู ประชากรในโปรแกรม JHCIS การให้ความรูโ้ รคเร้อื รงั ผ่าน QRcode การสอื่ สาร
และการติดตามภาวะสขุ ภาพผ่าน Application LINE ตลอดท้ังการอบรม อสม.เชีย่ วชาญ เพ่อื สนับสนนุ งานใน
การเฝาู ระวัง ตดิ ตาม กลุ่มเสี่ยง/กลุ่มปวุ ย โรคเบาหวานและความดนั โลหิตสูงในชุมชน โดยการทา Home BP
พบวา่ การคัดกรองโรคเบาหวาน รอ้ ยละ 83.54 (เปาู หมายร้อยละ 90) การคดั กรองโรคความดันโลหติ สูง รอ้ ย
ละ 87.46 (เปูาหมายร้อยละ 90) พบผปู้ วุ ยรายใหม่โรคเบาหวาน ร้อยละ 5.05 (เปาู หมายนอ้ ยกวา่ ร้อยละ 4)
พบผปู้ ุวยรายใหม่โรคความดนั โลหิตสงู รอ้ ยละ 11.56 (เปูาหมายน้อยกว่าร้อยละ 8)

5. การคัดกรองผ้สู งู อายุ 10 โรค อาทิเช่น การคดั กรองเขา่ เส่อื ม สมองเส่ือม และภาวะซมึ เศรา้
สุขภาพช่องปาก และต้อกระจก เปน็ ต้น อีกท้ังสนับสนนุ การดาเนินงานตาบล LTC (Long Term Care) แก่
องค์การปกครองทอ้ งถนิ่ อาเภอเมอื งลาปาง ผลการคดั กรองโรคสาคัญ พบว่าการคดั กรองเข่าเสื่อม รอ้ ยละ
73.39 (เปูาหมายร้อยละ 60) คัดกรองสมองเสอื่ ม ร้อยละ 73.75 (เปูาหมายรอ้ ยละ 60) คดั กรองภาวะซมึ เศรา้
รอ้ ยละ 75.52 (เปูาหมายรอ้ ยละ 60) คดั กรองสขุ ภาพชอ่ งปาก ร้อยละ 74.82 (เปาู หมายร้อยละ 60) และคดั
กรองต้อกระจก รอ้ ยละ 62.18 (เปาู หมายรอ้ ยละ 60)

146 รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

 การทางานเชิงรุกดา้ นอ่นื ๆในชุมชน

1. โครงการ บว.รร. (บ้าน วดั โรงเรียน โรงพยาบาล ) เปน็ การดาเนินงานสร้างความรู้ ความเข้าใจ
แก่ประชาชนท่วั ไปในชมุ ชน มุ่งเนน้ ในกลุ่มผู้ปวุ ยโรคเร้ือรงั เดมิ โดยนาร่องท่ชี มุ ชนนากว่ มเหนอื วัดนาก่วมเหนอื
โรงเรียนลาปางกลั ยาณี โรงพยาบาลลาปาง รว่ มกบั งานคุ้มครองผ้บู รโิ ภค สสจ.ลาปาง และเทศบาลนครลาปาง
โดยการสนับสนนุ ของสานกั งานคณะกรรมการอาหารและยาและมลู นธิ สิ ง่ เสรมิ โภชนาการ สถาบันโภชนาการ
มหาวทิ ยาลยั มหิดล ในการขับเคลอ่ื นใชส้ ัญลักษณโ์ ภชนาการทางเลอื กสขุ ภาพ ซงึ่ เป็นสญั ลักษณ์บนฉลากของ
ผลิตภณั ฑอ์ าหาร อีกทงั้ ให้ความรู้เก่ยี วกบั เรื่องการอา่ นฉลากโภชนาการเพอื่ ใช้ในการเลอื กซอ้ื และใช้ผลติ ภัณฑ์
อาหารท่มี ีคณุ ค่าทางโภชนาการและลด หวาน มัน เคม็ นอกจากน้ียงั ไดข้ ยายผลการดาเนนิ งานไปยังตาบล
เวียงเหนอื โดยโครงการของชมุ ชนขยายผลการใชส้ ญั ลกั ษณ์โภชนาการ “ทางเลอื กสุขภาพ”เพ่ือการเสริมสรา้ ง
สุขภาพของคนไทย ณ ถนนสายวฒั นธรรม ตาบลเวยี งเหนือ อาเภอเมอื งลาปาง เพ่ือให้คนในชมุ ชน และ
ผู้สนใจได้รู้จกั เลอื กใช้ผลติ ภัณฑ์ทมี่ ีตราสญั ลักษณท์ างเลือกสขุ ภาพ เปน็ ทางเลือกผูบ้ ริโภคในการลด หวาน มนั
เค็ม เพ่ือปอู งกนั โรคไมต่ ิดตอ่ เรอ้ื รังเช่นโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและไขมนั ในเสน้ เลือดสงู เปน็ ตน้ รวมถึง
ความสามารถในการขยายผลให้ประชาชนไดร้ จู้ กั และเขา้ ใจอย่างกวา้ งขวางต่อไป

147รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

2. โครงการตรวจอจุ จาระหาไข่หนอนพยาธิในสามเณรนักเรยี น โรงเรยี นพระปรยิ ัติธรรม แผนก
สามัญศึกษา ในพระราชดาริสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี จงั หวัดลาปาง ปี 2562
ณ วัดพระแก้วสุชาดาราม เปูาหมายเพือ่ ตรวจอจุ จาระหาไข่หนอนพยาธใิ นสามเณรนักเรียน โดยทีมบุคลากร
หอ้ งปฏิบัติการ และกลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โรงพยาบาลลาปาง กลมุ่ เปูาหมายจานวนสามเณรนกั เรียน 109
รปู ผลการตรวจพบ

- ผล CBC สามเณร ระดบั ม.1 จานวน 22 รูป ส่งตรวจ 21 รูป คดิ เปน็ รอ้ ยละ 95.45 มคี วามผิดปกติ
ของความเขม้ ขน้ เมด็ เลือดแดง 9 รปู ความผิดปกตขิ องจานวนเม็ดเลอื ดแดง 1 รูป และพบ Eosinophill 2 รูป
ส่งต่อปรกึ ษาแพทย์

- ผลตรวจอุจจาระหาไข่หนอนพยาธิทโ่ี รงเรยี นพระปรยิ ัติธรรม แผนกสามัญศึกษา 109 รูป ตรวจได้
98 รูป คดิ เป็นร้อยละ 89.91 ไม่พบพยาธิ

3. การมีส่วนรว่ มกบั ภาคีเครอื ข่ายองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในงานกองทุน long term Care
อาเภอเมอื งลาปาง โดยจดั หาผู้ดแู ลผู้สูงอายตุ ิดบา้ น ติดเตยี งในชมุ ชน (CG : Care Giver) และจดั ทา Care
plan รายบคุ คลโดย Care Manager ซงึ่ เปน็ เจ้าหนา้ ที่สาธารณสุข นาแผนลงสู่การปฏิบตั ิรายบคุ คล ร่วมกับ
CG ในชมุ ชนนนั้ ๆ นอกจากน้ียงั มที ีมเจา้ หน้าท่ที ันตสาธารณสขุ ในการตรวจ และให้คาแนะนาในการดแู ล
สขุ ภาพชอ่ งปากผู้สงู อายุ งบประมาณในกองทนุ ดงั กล่าว นามาสนบั สนุนผู้ปวุ ยและครอบครวั ในการจัดหาของ
ใช้ทจ่ี าเปน็ ในการดแู ลผปู้ วุ ยรายวัน และเปน็ ค่าตอบแทนเบื้องตน้ ตามระเบียบแก่ CG

148 รายงานประจาปี 2562
โรงพยาบาลลาปาง

4. สนับสนุนวชิ าการเครอื ขา่ ย “การคัดกรองขอ้ เขา่ เสือ่ มและเสยี่ งลม้ ทค่ี ลนิ กิ หมอครอบครัว

ศรีหมวดเกลา้ ” เปาู หมายเพอื่ คัดกรองคน้ หาภาวะขอ้ เข่าเสอ่ื ม และการเสี่ยงตอ่ อุบตั ิ เหตุการลม้ ในผูส้ ูงอายุ

โดยใช้ Oxford knee score โดยคดั กรองในพืน้ ท่นี ารอ่ งคลนิ ิกหมอครอบครวั ศรีหมวดเกลา้ 1,383 คน ผล

การคดั กรองขอ้ เข่าเส่อื ม พบดังน้ี

 Poor 87 คน คิดเป็น 6.29%  Moderate 116 คน คดิ เป็น 8.39%

 Good 293 คน คิดเป็น 21.19%  Excellent 887 คน คิดเป็น 64.14%

ผลการคัดกรองเสี่ยงลม้ time up to go test : TUGT พบกลุ่มที่มคี วามเสีย่ ง 467 คน คดิ เป็น

33.77% ได้ให้ความรู้ ปรบั เปล่ยี นพฤตกิ รรม โดยการออกกาลงั กาย เพ่มิ ความแขง็ แรงของกล้ามเน้อื โดยทมี

นกั กายภาพบาบดั จานวน 300 คน หลังออกกาลงั กาย 3 เดือน มาคัดกรองความเสีย่ งล้มดว้ ย TUGT พบว่า มี

ผลคะแนนความเสี่ยงลม้ ลดลง 299 คน คดิ เปน็ 99.67% ความเสยี่ งลม้ ลดลงจนอย่ใู นระดบั คะแนน นอ้ ยกว่า

9 (อยูใ่ นระดบั ปกตไิ ม่เสยี่ ง) จานวน 102 คน คดิ เปน็ 34% และความเสีย่ งล้ม คงเดิม 1 คน คิดเป็น 3.33%

5. การคดั กรองมะเร็งลาไส้ เขตเทศบาลนครลาปาง ปี 2562 กลมุ่ เปูาหมายในประชากรสทิ ธิ
หลักประกนั สขุ ภาพถว้ นหน้า อายุ 50-70 ปี ในสว่ นของพืน้ ที่รบั ผดิ ชอบเปาู หมายในการตรวจ 1,125 ราย คดั
กรองตามเกณฑ์ได้ 570 ราย คดิ เป็นรอ้ ยละ 50.66 ผลการตรวจปกติ 508 ราย ผดิ ปกติ 62 ราย (Positive 20
ราย Weak Positive 42 ราย) ในรายที่ผดิ ปกติ สง่ พบแพทย์ศลั ยกรรม เพ่อื ตรวจเพิ่มเติมทุกราย ไมพ่ บผูป้ ุวย
เปน็ มะเร็งลาไส้ แพทย์นัด FU ตอ่ เนื่อง

6. โครงการวัดส่งเสริมสขุ ภาพ เพ่อื ใหพ้ ระภิกษุ สามเณรในวัดเปาู หมาย มีความรู้ มสี ุขภาพทีแ่ ขง็ แรง
มีตัวแทนพระภกิ ษุ ได้รับการอบรม เชิงปฏบิ ตั กิ ารในการดแู ลสุขภาพ การวัดความดันโลหติ และการชว่ ยฟื้น
คืนชพี เบ้ืองต้น โดยมเี ปาู หมาย 1 วดั : 1 รพ.สต รวม 32 วดั (รพ.สต 27แหง่ และรพ.ลาปาง 5 แหง่ ) โดยมี
พระ อสว. ผ่านการอบรมหลกั สตู รพระคลิ านุปฎั ฐาก จานวน 29 รปู วัดตน้ แบบ ผา่ นเกณฑก์ ารประเมินวดั
ส่งเสริมสขุ ภาพ ดีเดน่ ระดับอาเภอ จานวน 6 วัด ได้แก่ วัดเชตวัน วดั พระแก้วดอนเตา้ สชุ าดาราม วดั ตน้ มนื่
วัดเจดียซ์ าว วดั บา้ นสัก และวดั หนองยาง


Click to View FlipBook Version