The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

มฐ.ปฐมวัยแห่งชาติ ฉบับเต็ม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by noi1910251751, 2022-05-07 03:56:32

มฐ.ปฐมวัยแห่งชาติ ฉบับเต็ม

มฐ.ปฐมวัยแห่งชาติ ฉบับเต็ม

ตวั บง่ ชที้ ี่ ๑.๕ การสง่ เสรมิ การมสี ว่ นรว่ มของครอบครวั และชมุ ชน (ตอ่ )



เกณฑก์ ารพจิ ารณา ขอ้ มลู ประกอบ

ขอ้ รายการพจิ ารณา การพจิ ารณา

๐ ๑ ๒ ๓
ตอ้ งปรบั ปรงุ ผา่ นเกณฑข์ น้ั ตน้ ด ี ดมี าก
- บนั ทกึ หรอื รายงาน

การประชมุ

๑.๕.๔ มคี ณะกรรมการสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ไมม่ รี ายการตาม ดำเนนิ การไดต้ าม ดำเนนิ การไดต้ าม ดำเนนิ การไดต้ าม - ภาพถา่ ย

❏ ๑. มกี ารจดั ตงั้ คณะกรรมการสถานพฒั นา การพจิ ารณา รายการพจิ ารณา รายการพจิ ารณา รายการพจิ ารณา
เดก็ ปฐมวยั ขอ้ ๑ และ ๒ ขอ้ ๑, ๒ และ ๓ ครบทกุ ขอ้
❏ ๒. คณะกรรมการฯ มกี ารประชมุ อยา่ งนอ้ ย

ปลี ะ ๑ ครงั้

❏ ๓. คณะกรรมการฯ มบี ทบาทในการกำหนด

ทศิ ทางและบรหิ ารสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั

❏ ๔. คณะกรรมการฯ มสี ว่ นรว่ มในการตดิ ตาม

42 และประเมนิ คณุ ภาพสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั

มาตรฐานดา้ นท่ี ๑ การบริหารจดั การสถานพฒั นาเด็กปฐมวัย





ตัวบง่ ชีท้ ี่ ๑.๑ การบรหิ ารจัดการอยา่ งเป็นระบบ




๑.๑.๑ บรหิ ารจัดการสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยอย่างเป็นระบบ



รายการพจิ ารณา

๑. จัดทำแผนบริหารจัดการสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย โดยสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย/

หนว่ ยงานท่ีกำกับดแู ล

๒. ปฏบิ ัตติ ามแผนการบริหารจดั การสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวัย

๓. ประเมนิ ผลการดำเนินงานตามแผน

๔. นำผลจากการประเมินไปพัฒนาและปรับปรุงการบริหารจัดการสถานพัฒนา

เดก็ ปฐมวยั

รายละเอยี ดการพิจารณา

แผนการบริหารจัดการสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย(๑.๑.๑_๑) หมายถึง แผนที่หน่วยงาน

ท่ีกำกับดูแลหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยจัดทำขึ้น เพ่ือใช้เป็นแนวทางการบริหารจัดการของ
สถานศึกษา ให้มีคุณภาพ มาตรฐาน โดยมีการกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ และแนวทางในการ
พัฒนา รวมถงึ ตดิ ตามประเมินผลอย่างเป็นระบบ โดยครอบคลุมถึงดา้ นตา่ งๆ ดงั น้ี

- ดา้ นบริหารบคุ ลากร

- ด้านบริหารการเงนิ และพสั ด

- ด้านบรหิ ารอาคารสถานที่ สิง่ แวดลอ้ ม ความปลอดภัยและระบบอำนวยความสะดวก

- ด้านการติดตามประเมนิ ผลการดำเนนิ งานสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัย

ขอ้ มลู ประกอบการพจิ ารณา

๑. แผนการบริหารจดั การตามบรบิ ทของสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวัย

๒. บันทึก/รายงานผลการดำเนนิ งาน

๓. บนั ทกึ การปรบั ปรงุ /พัฒนาแผนและการดำเนินงาน




43

๑.๑.๒ บริหารหลักสตู รสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัย



รายการพิจารณา

๑. จัดทำหลักสูตรสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยสอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย

ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร

๒. นำหลักสูตรสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยไปใช้อบรมเล้ียงดูเด็กตามวิถีชีวิตประจำวันและ

จัดประสบการณก์ ารเรยี นรู้

๓. ประเมินผลการนำหลกั สูตรสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั ไปใช้

๔. นำผลการประเมนิ ไปพฒั นาและปรับปรุงหลกั สูตรสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั

รายละเอียดการพิจารณา

หลักสูตร(๑.๑.๒_๑) หมายถึง ประสบการณ์ต่างๆ ท่ีประสงค์จะให้เด็กได้รับ เพ่ือสามารถ
สร้างความรู้ ความคิดรวบยอด ทักษะ ทัศนคติ และอุปนิสัย ประสบการณ์ต่างๆ เหล่านี้ย่อมได้

มาจากปฏิสัมพันธ์กับผู้ใหญ่และเด็กคนอื่นๆ วัสดุอุปกรณ์ที่คัดสรรแล้ว และกิจกรรมต่างๆ ท่ีได้
วางแผนไว้อย่างรอบคอบ โดยคำนึงว่าเด็กแต่ละคนย่อมมาจากวัฒนธรรมอันหลากหลาย และ

มบี ุคลกิ ภาพต่างกันไป รปู แบบหลกั สตู รเดก็ ปฐมวยั เน้อื หาการนำไปใช้ จะมสี ว่ นชว่ ยอย่างมากใน
ด้านคุณภาพการให้บริการแก่เด็กปฐมวัย การใช้หลักสูตรซ่ึง (ก) คำนึงถึงพัฒนาการและภูมิหลัง
ของเด็กเป็นรายบคุ คล (ข) คำนึงถงึ การพฒั นาเด็กในทกุ ส่วนหลกั (domain) และ (ค) สง่ เสรมิ ให้
เด็กมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ในกระบวนการเรียนรู้ท่ีจะอำนวยประโยชน์ต่อการพัฒนาเด็ก และ

ผลสำรวจเชิงบวกในระยะยาวในบริบทที่แสดงให้เห็นถึงบรรยากาศทางวิชาการ หลักสูตร

จะประกอบด้วยลักษณะอันสำคญั ของหลักสตู ร สว่ นต่างๆ ในพฒั นาการของเด็ก (เช่น พัฒนาการ
ทางกาย ภาษา การคิดและสตปิ ญั ญา การแสดงออกเชิงสรา้ งสรรค์ และพฒั นาการทางสังคมและ
อารมณ์ เปน็ ต้น) คา่ นิยม วฒั นธรรม มนษุ ยศาสตร์ และปัญหาทางการเรยี นรู้

หลักสูตรสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย(๑.๑.๒_๒) หมายถึง หลักสูตรท่ีสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย
แต่ละแห่งวางแผน หรือกำหนดแนวทางการจัดการศึกษาเพ่ือส่งเสริมให้เด็กบรรลุมาตรฐาน
คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ตามที่หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย (หลักสูตรแกนกลาง) กำหนด

โดยสถานศึกษานำสภาพต่างๆ ที่เป็นปัญหา จุดเด่น ภูมิปัญญาท้องถ่ิน คุณลักษณะตามวัย

ทพ่ี งึ ประสงค์ มาออกแบบหลักสูตรฯ

หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยท่ีกระทรวงศึกษาธิการกำหนดหรือรับรอง หมายถึง
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐*๑ หรือท่ีกระทรวงศึกษาธิการกำหนดให้เป็น
หลักสูตรแกนกลางระดับปฐมวัย หรือหลักสูตรที่มาจากต่างประเทศที่กระทรวงศึกษาธิการให้

การรบั รอง


44

กระบวนการพัฒนาหลกั สูตรสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัย (PDCA)

P : Plan วางแผน หมายถึง ข้ันตอนในการร่างหลักสูตร โดยประกอบไปด้วยการ
รวบรวม/วิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน กำหนดหลักการและจุดมุ่งหมายของหลักสูตร เลือกเนื้อหา
สาระและประสบการณ์ในหลักสูตร กำหนดแนวทางการประเมินผล รวมทั้งตรวจสอบคุณภาพ
ของหลกั สูตรก่อนนำไปใช้

D : Do ปฏิบัตติ ามแผน หมายถึง การนำหลกั สูตรไปใช้

C : Check ตรวจสอบ/ประเมินผลและนำผลประเมินมาวิเคราะห์ หมายถึง การตรวจ
สอบหลักสตู รประเมนิ ผลและนำผลการประเมนิ การใชห้ ลักสตู รน้นั มาวเิ คราะห ์

A : Action ปรับปรุงแก้ไขดำเนินการให้เหมาะสมตามผลการประเมิน หมายถึง

การปรบั ปรุงหลกั สตู รใหด้ ขี ้นึ แก้ไขใหเ้ หมาะสมตามผลท่ีได้จากการประเมนิ

ข้อมูลประกอบการพิจารณา

๑. หลกั สูตรสถานพฒั นาเด็กปฐมวัย

๒. บันทกึ /รายงานผลการดำเนนิ งาน

๓. บนั ทกึ การปรับปรงุ /พฒั นาหลักสตู ร



๑.๑.๓ บริหารจัดการขอ้ มูลอย่างเป็นระบบ



รายการพิจารณา

๑. รวบรวมและจดั เก็บขอ้ มูลในการบริหารจัดการและข้อมูลเกย่ี วกบั เด็ก

๒. นำขอ้ มลู ที่จดั เก็บไปใช้ประโยชน

๓. ประมวลผลการดำเนินงานและจัดทำรายงานผลการดำเนนิ งานประจำปี

๔. บรหิ ารจัดการขอ้ มลู ทีเ่ ปน็ ระบบอยา่ งครบถว้ น ถูกต้องและเปน็ ปัจจบุ ัน

รายละเอยี ดการพจิ ารณา

การจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบและเป็นปัจจุบัน หมายถึง การจัดเก็บและรวบรวม
ข้อมูลทุกด้านที่เก่ียวข้องกับการบริหารสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยอย่างเป็นระบบ ซึ่งอาจใช้
เทคโนโลยีเป็นเคร่ืองมือในการจัดเก็บ โดยต้องจัดเก็บเป็นหมวดหมู่อย่างครบถ้วน ถูกต้อง และ
เป็นปัจจุบัน เมื่อผู้ปฏิบัติจำเป็นต้องใช้งานข้อมูล สามารถนำข้อมูลท่ีจัดเก็บมาใช้ได้อย่างสะดวก
รวดเร็ว รวมถึงมีการนำข้อมูลไปประมวลผลวิเคราะห์เพื่อใช้ในการพัฒนาคุณภาพมาตรฐาน

การดำเนนิ งานของสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั


45

ตัวอยา่ งข้อมลู ท่จี ดั เก็บ เชน่

๑. ข้อมูลเดก็ รายบคุ คล

๒. ข้อมลู บุคลากร

๓. ข้อมูลดา้ นงบประมาณ

๔. ขอ้ มลู ด้านครภุ ัณฑ ์

๕. บันทึกการบาดเจบ็ อบุ ัตเิ หตุ โรคตดิ ตอ่

๖. บันทึกการตรวจสุขภาพ

๗. บันทกึ ความปลอดภัยของสนามเดก็ เล่น

๘. บันทกึ ผู้ปกครองและชมุ ชนมีส่วนร่วม

๙. ข้อมลู ที่เกีย่ วกับสถิติอน่ื ๆ

ฯลฯ

ข้อมลู ประกอบการพจิ ารณา

๑. เอกสาร/หลกั ฐานแสดงข้อมลู ท่ีจัดเก็บ

๒. รายงานผลการประมวลผล

๓. รายงานประจำปี/รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั

๔. ระบบสารสนเทศท่มี ขี อ้ มลู เปน็ ปจั จบุ นั

๕. ข้อมลู เลขประจำตัว ๑๓ หลักของเด็ก




ตวั บ่งช้ีท่ี ๑.๒ การบรหิ ารจัดการบคุ ลากรทุกประเภทตามหนว่ ยงานที่สงั กัด




๑.๒.๑ บรหิ ารจดั การบุคลากรอย่างเป็นระบบ



รายการพิจารณา

๑. จดั ทำโครงสรา้ ง คณุ สมบัตแิ ละอัตรากำลงั

๒. มีกระบวนการคดั เลอื ก โดยคำนึงถึงสขุ ภาพกายสขุ ภาพจิต

๓. ไม่ใช้สารเสพติด ไม่เคยได้รับโทษการกระทำความผิดท่ีเก่ียวกับความรุนแรง โทษ

ท่เี ก่ียวกับการกระทำผดิ ตอ่ เดก็

๔. มีการตรวจสุขภาพประจำปีทุกคนและประเมินความเครียดด้วยตนเองโดยมีการ

ช่วยเหลอื ที่จำเป็น


46

๕. ติดตาม สนับสนุนการทำงานของบุคลากร โดยจัดให้มีสวัสดิการและได้รับ

สทิ ธปิ ระโยชน์ต่างๆ ตามระเบยี บของหน่วยงานตน้ สังกัด

๖. พฒั นาบคุ ลากรอยา่ งเปน็ ระบบและตอ่ เนอื่ ง

รายละเอยี ดการพจิ ารณา

หน่วยงานต้นสังกัด หรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยมีการกำหนดสิทธิและสวัสดิการของ
บุคลากร โดยมมี าตรการสง่ เสริมและสนับสนนุ ดังนี้ (๑.๒.๑_๑, ๑.๒.๑_๓)

๑. โครงสรา้ ง คุณสมบัติ และอตั รากำลัง

๒. การตรวจสุขภาพประจำปี มีการตรวจและส่งเสริมสุขภาพของครู/ผู้ดูแลเด็ก

และบคุ ลากร อยา่ งนอ้ ยปลี ะ ๑ ครง้ั (การตรวจสขุ ภาพ เชน่ X-RAY ปอด ตรวจอจุ จาระ

เพื่อหาเช้อื บิด ไทฟอยด์ และพยาธิ ตรวจเลอื ดหาไวรสั ตับอักเสบชนิดเอ และตรวจ

ผิวหนัง เป็นตน้ )(๑.๒.๑_๔, ๑.๒.๑_๕)

๓. จัดกิจกรรมส่งเสริมสขุ ภาพและสรา้ งบรรยากาศให้เอ้ือตอ่ การทำงาน

๔. จัดให้ครู/ผู้ดูแลเด็กและบุคลากร ได้รับสวัสดิการด้านการรักษาพยาบาล/

การประกันสังคม

๕. มกี ารประเมินความเครยี ดด้วยตนเองและมีการชว่ ยเหลือที่จำเปน็

ขอ้ มูลประกอบการพจิ ารณา

๑. แผนผังโครงสรา้ งและระเบียบปฏิบตั ิงานของบุคลากร

๒. กฎระเบียบการรับบคุ ลากรตามหนว่ ยงานต้นสังกัด

๓. เอกสาร/ภาพถา่ ยกิจกรรม/บนั ทึกการประชุม

๔. แฟ้มประวตั สิ ุขภาพบคุ ลากรทุกคน



๑.๒.๒ ผู้บริหารสถานพัฒนาปฐมวัย/หัวหน้าระดับปฐมวัย/ผู้ดำเนินกิจการ มีคุณวุฒิ/

คณุ สมบตั เิ หมาะสม และบริหารงานอย่างมีประสิทธิภาพ



รายการพจิ ารณา

๑. มีวุฒิทางการศกึ ษาไมต่ ำ่ กวา่ ปริญญาตรี สาขาวชิ าเอกอนุบาลศกึ ษาหรอื ปฐมวยั

- กรณีท่ีมีวุฒิปริญญาตรีสาขาที่เก่ียวข้อง (จิตวิทยา แพทย์ พยาบาล สาธารณสุข

คหกรรม) ต้องมีการศึกษารายวิชาท่ีเก่ียวข้องกับเด็กปฐมวัยอย่างน้อย

๓ หน่วยกติ (ไม่ต่ำกวา่ ๔๕ ชั่วโมง)


47

- กรณีท่ีมีวุฒิการศึกษาปริญญาตรีไม่ตรงตามท่ีกำหนด ต้องมีประสบการณ์ในการ
ทำงานเกี่ยวกับการพัฒนาเด็กปฐมวัยอย่างต่อเนื่องมาแล้วไม่น้อยกว่า ๒ ปีและ
ผ่านการฝึกอบรมไม่ต่ำกวา่ ๔๕ ชัว่ โมง


๒. สนับสนุน กำกับติดตาม การปฏบิ ัติหน้าทข่ี องบคุ ลากรให้เปน็ ไปตามแผน

๓. จัดกิจกรรมที่สร้างสรรค์เพื่อการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างบุคลากร ครอบครัว

ของเดก็ และเครือขา่ ยภายนอก

๔. เปน็ ตัวอยา่ งทดี่ ใี นการพฒั นาตนเองอย่างต่อเนือ่ ง

รายละเอยี ดการพิจารณา

คุณสมบัติเหมาะสม หมายถึง หัวหน้าศูนย์/หัวหน้าระดับปฐมวัย/ผู้ดำเนินกิจการ

มีคุณสมบัติเป็นไปตามที่หน่วยงานต้นสังกัดกำหนด แต่อย่างน้อยต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้ (๑.๒.๒_๑,

๑.๒.๒_๒, ๑.๒.๒_๓)


๑. มีวุฒิทางการศึกษาไม่ต่ำกว่าปริญญาตรี สาขาวิชาเอกอนุบาลศึกษาหรือปฐมวัย
กรณีมีวุฒิการศึกษาไม่ตรงตามท่ีกำหนดต้องมีประสบการณ์ในการทำงานเกี่ยวกับ
การพฒั นาเด็กปฐมวยั อย่างตอ่ เนือ่ ง มาแล้วไม่นอ้ ยกวา่ ๒ ปี


๒. สนับสนนุ กำกับติดตาม การปฏิบัตหิ น้าท่ขี องบุคลากรตามทไี่ ดร้ บั มอบหมาย

๓. จัดใหม้ ีการพฒั นาบคุ ลากรอยา่ งตอ่ เนอื่ ง

๔. จัดกิจกรรมและประสบการณ์ท่ีสร้างสรรค์เพ่ือการสร้างความสัมพันธ์เชิงบวก

ระหวา่ งบคุ ลากร

๕. มีการประเมนิ ผลการปฏิบตั งิ านของบุคลากรอย่างเปน็ รปู ธรรม

ข้อมูลประกอบการพจิ ารณา

๑. ใบแสดงคุณวุฒิการศึกษา

๒. ข้อกำหนดเกีย่ วกบั บทบาทหนา้ ที่ของบุคลากร

๓. หลักฐานการผา่ นการอบรม

๔. เอกสารผลการประเมิน เช่น เอกสารความพึงพอใจของผู้รับบริการ ผู้ร่วมงาน


ใบรบั รองจากหน่วยงานอื่น




48

๑.๒.๓ ครู/ผู้ดูแลเด็กท่ีทำหน้าท่ีหลักในการดูแลและพัฒนาเด็กปฐมวัย มีวุฒิการศึกษา/

คณุ สมบตั เิ หมาะสม



รายการพิจารณา

๑. ผูท้ ำหน้าทค่ี รมู ใี บประกอบวิชาชีพครู มวี ฒุ ิทางการศกึ ษาไม่ต่ำกวา่ ปรญิ ญาตรี สาขา

วิชาเอกอนุบาลศึกษาหรือปฐมวัย หรือกรณีท่ีมีวุฒิปริญญาตรีสาขาที่เก่ียวข้อง

ครูสาขาอื่นที่ไม่ใช่เอกปฐมวัย จิตวิทยา แพทย์ พยาบาล สาธารณสุข คหกรรม

ต้องมกี ารศึกษารายวิชาทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั เด็กปฐมวัยอย่างนอ้ ย ๓ หน่วยกิต (ไมต่ ่ำกว่า
๔๕ ชัว่ โมง)

๒. ผู้ท่ีทำหน้าท่ีผู้ช่วยครู กรณีที่วุฒิการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี ต้องมีอายุไม่ต่ำกว่า
๑๘ ปี มปี ระสบการณ์ทำงานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั อยา่ งต่อเนือ่ ง ไมน่ อ้ ยกว่า ๒ ปี หรือ
ผ่านการฝึกอบรมเกี่ยวกับการดูแลและพัฒนาเด็กปฐมวัย ตามที่ส่วนราชการรับรอง
หรอื อยใู่ นระหวา่ งการอบรมดังกลา่ ว ภายในระยะเวลา ๑ ป

๓. คร/ู ผดู้ แู ลเดก็ ไดร้ บั การพฒั นาตอ่ เนอื่ งระหวา่ งประจำการ อยา่ งนอ้ ยปลี ะ ๒๐ ชวั่ โมง

รายละเอียดการพจิ ารณา

คุณสมบัติเหมาะสม คือ ครู ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ดูแลเด็ก พ่ีเลี้ยง หรือบุคลากรที่ทำหน้าท่ี
หลกั ในการสอน และเลย้ี งดเู ดก็ มคี ณุ สมบตั เิ ปน็ ไปตามทหี่ นว่ ยงานตน้ สงั กดั กำหนด แตอ่ ยา่ งนอ้ ย

ต้องมคี ุณสมบตั ิ ดังน้ี (๑.๒.๓_๑, ๑.๒.๓_๒, ๑.๒.๓_๓)

๑. มีวุฒิการศึกษาไม่ต่ำกว่าปริญญาตรีสาขาวิชาเอกอนุบาลศึกษาหรือปฐมวัย กรณี

มีวุฒิการศึกษาไม่ตรงตามที่กำหนดต้องมีประสบการณ์ในการทำงานเกี่ยวกับ

การพัฒนาเด็กปฐมวัยอย่างต่อเนือ่ งมาแลว้ ไม่น้อยกวา่ ๒ ปี

๒. ไดร้ บั การฝกึ อบรมดา้ นการพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ดว้ ยวธิ ตี า่ งๆ อยา่ งนอ้ ยปลี ะ ๒๐ ชวั่ โมง

๓. ครูและผู้ดูแลเด็กทุกคนได้รับการอบรม/ประชุม เร่ือง การป้องกันควบคุมโรคติดต่อ
ท่พี บบ่อยในเด็ก เชน่ โรคหวดั โรคอุจจาระร่วง โรคมือเท้าปาก โรคหนอนพยาธิ หัด
คางทูม ไข้สุกใส โรคพิษสุนัขบ้า เป็นต้น และเร่ืองการปฏิบัติต่อเด็กที่มีปัญหา
พฤติกรรมและเด็กท่ีมีความต้องการพิเศษ จากเจ้าหน้าที่สาธารณสุข อย่างน้อย

ปลี ะ ๑ ครัง้

๔. ไดร้ บั การตรวจสุขภาพเมอื่ แรกเขา้


49

ขอ้ มูลประกอบการพิจารณา

๑. ใบแสดงคุณวุฒิ

๒. หลกั ฐานการผ่านการอบรม

๓. ใบรับรองการอบรมหรอื เอกสารการอบรม



๑.๒.๔ บรหิ ารบคุ ลากรจัดอัตราสว่ นของครู/ผูด้ แู ลเด็กอยา่ งเหมาะสมพอเพยี งต่อจำนวนเด็ก

ในแตล่ ะกลุ่มอายุ



รายการพิจารณา

๑. มอี ตั ราส่วนและกลมุ่ กิจกรรมตามเกณฑ์ท่ีกำหนด (บคุ ลากรประจำ/เต็มเวลา)

๒. มีอัตราส่วนและกล่มุ กจิ กรรมดกี ว่าเกณฑท์ ี่กำหนด (บคุ ลากรประจำ/เตม็ เวลา)

๓. สามารถจัดหาครูหรือผู้ดูแลเด็กที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์มาช่วยเสริมในการจัด

กจิ กรรม


รายละเอยี ดการพิจารณา(๑.๒.๔_๑, ๑.๒.๔_๒, ๑.๒.๔_๓)

การบริหารบุคลากรทางการศึกษา จะต้องเป็นไปตามอัตราส่วนตามเกณฑ์ทุกกลุ่มอาย

ทกี่ ำหนดไว้ ดังนี




เดก็ (อาย)ุ อตั ราส่วนคร/ู ผู้ดแู ล : เด็ก (คน) กล่มุ กจิ กรรม


ต่ำกวา่ ๑ ป ี ๑ : ๓ กลุ่มละไม่เกนิ ๖ คน


๑ - ๒ ป ี ๑ : ๕ กลมุ่ ละไมเ่ กิน ๑๐ คน


๒ - ๓ ป ี ๑ : ๑๐ กล่มุ ละไม่เกนิ ๒๐ คน


๓ ปี - กอ่ นเขา้ ป.๑ ๑ : ๑๕ กลุ่มละไม่เกนิ ๓๐ คน



้อมลู ประกอบการพจิ ารณา

๑. เอกสาร/หลกั ฐานบง่ ชีจ้ ำนวนคร/ู ผดู้ ูแลเด็กและเด็กปฐมวัย ไดแ้ ก ่

- ทะเบยี นเดก็ แสดงจำนวนและอายขุ องเด็ก

- จำนวนครู/ผดู้ แู ลเด็กท่ปี ฏิบัตงิ านจรงิ

๒. หลักฐานทแ่ี สดงว่ามคี รหู รือผดู้ ูแลเด็ก (ที่มีคุณสมบตั ติ ามเกณฑ์) มาชว่ ยเสริมในการ

จัดกจิ กรรม




50

ตวั บ่งชที้ ่ี ๑.๓ การบรหิ ารจัดการสภาพแวดล้อมเพอื่ ความปลอดภัย




๑.๓.๑ บรหิ ารจัดการดา้ นสภาพแวดลอ้ มเพื่อความปลอดภยั อยา่ งเปน็ ระบบ



รายการพิจารณา

๑. จัดทำนโยบายและแผนที่ครอบคลุมโครงสร้างอาคารบริเวณที่ตั้ง ภายใน ภายนอก

อาคาร วัสดุอปุ กรณ์ทกุ ชนดิ รวมทงั้ ปจั จัยท่เี กี่ยวขอ้ ง

๒. ปฏิบัติตามแผนอย่างเป็นระบบและมีการสำรวจ ค้นหาจุดเสี่ยง เพ่ือหาแนวทาง

ปอ้ งกันและแก้ไขเปน็ ระยะอยา่ งต่อเนอื่ ง

๓. ประเมนิ ผลการดำเนนิ งานตามแผน

๔. นำผลจากการประเมินไปพัฒนาและปรับปรุงการบริหารจัดการด้านสภาพแวดล้อม

เพ่ือความปลอดภยั อย่างเปน็ ระบบ

รายละเอยี ดการพจิ ารณา

บริหารจัดการด้านสภาพแวดล้อมเพื่อความปลอดภัยอย่างเป็นระบบ(๑.๓.๑_๓) หมายถึง
การบริหารจัดการภาวะส่ิงแวดล้อมทางกายภาพ สิ่งแวดล้อมทางสังคมซ่ึงเป็นอันตรายต่อเด็ก

ได้ถูกควบคุมไว้เพ่ือให้เด็กมีสุขภาพท่ีดี ไม่ได้รับบาดเจ็บหรือรับพิษจากสารอันตราย ซ่ึงต้อง
ครอบคลุมความปลอดภัย ๕ ด้าน ได้แก่ ความปลอดภัยจากอุบัติเหตุจากการจมน้ำ อุบัติเหตุ

ทางถนน หกล้มและพลัดตกจากที่สูง ไฟฟ้า/ของร้อน การขาดอากาศหายใจ จากวัสดุแหลมคม
ท่ิมแทง สัตว์กัด การได้รับสารพิษ ความปลอดภัยจากการใช้ผลิตภัณฑ์รอบตัวเด็ก จากของใช้
ของเล่น การกินอาหารและยา ความปลอดภัยจากสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ จากอากาศ น้ำ ดิน

สารพษิ จากโรงงาน จากกองขยะ ความปลอดภยั ของเด็กในภยั พิบตั ิตา่ งๆ จากภยั ธรรมชาติ และ
ภัยขนาดใหญ่ที่เกิดจากการกระทำของมนุษย์ และความปลอดภัยของเด็กจากการถูกกระทำ
ความรุนแรง เช่น การถูกทำร้ายร่างกายอีกทั้งยังครอบคลุมท้ังการประเมินกระบวนการจัดการ
ความปลอดภัย และการประเมินผลลัพธ์ทางสขุ ภาพ และผลลพั ธ์ของการลดปัจจัยเสีย่ ง

๑. นโยบายท่เี ปน็ ลายลักษณอ์ ักษรให้ผู้รับผิดชอบทกุ ระดับได้รับรู้ และปฏิบตั ิร่วมกันให้

จัดสภาพแวดล้อมเพ่อื ความปลอดภยั อย่างเป็นระบบ

๒. ระบบการสำรวจค้นหาจุดเส่ียง การวิเคราะห์วางแผนแก้ไขตามลำดับความสำคัญ

ของปัญหาและโอกาสท่ีจะเกิดอันตราย การค้นหาแนวทางป้องกันแก้ไขท่ีสามารถ
ปฏิบัติได้ หรือหากปฏิบัติไม่ได้ต้องรายงานขอความช่วยเหลือเป็นระยะอย่าง

ต่อเนอ่ื ง


51

๓. การติดตามประเมินผลการสำรวจ การแก้ไขในส่วนที่มีโอกาสเกิดอันตรายอย่าง
สมำ่ เสมอ อยา่ งนอ้ ยทกุ ๓ เดือน


๔. การนำผลประเมินไปพัฒนาและปรับปรุงการบริหารจัดการด้านสภาพแวดล้อมเพื่อ
ความปลอดภยั อย่างเป็นระบบ


ขอ้ มลู ประกอบการพิจารณา

๑. มีเอกสาร/ หลักฐานของนโยบายเป็นลายลักษณ์อักษรให้ผู้รับผิดชอบทุกระดับ


ได้รับรู้และปฏิบัติร่วมกัน ในด้านการจัดสภาพแวดล้อมเพื่อความปลอดภัยอย่าง

เปน็ ระบบ

๒. มีแบบบันทึกการสำรวจ ค้นหาจุดเส่ียง (Safety Round Record) (แบบบันทึก

ที่ ๑.๓.๑)*๒ สำรวจค้นหาจุดเส่ียงต่อการบาดเจ็บ เพ่ือหาแนวทางป้องกันและแก้ไข
เปน็ ระยะอย่างต่อเนอื่ ง

๓. มีเอกสารหลักฐานที่บ่งบอกถึงการติดตามประเมินผลการสำรวจตามแผนอย่าง
สม่ำเสมออยา่ งน้อยทกุ ๓ เดือน

๔. มีการนำผลการประเมินไปพัฒนาปรับปรุงการบริหารจัดการด้านสภาพแวดล้อมเพื่อ
ความปลอดภยั อยา่ งเปน็ ระบบ



๑.๓.๒ โครงสร้างและตัวอาคารม่ันคง ต้งั อยูใ่ นบริเวณและสภาพแวดลอ้ มทป่ี ลอดภยั



รายการพิจารณา

๑. โครงสรา้ งและตัวอาคารมั่นคง มขี อบเขตและทางเข้า-ออกทีช่ ดั เจน

๒. บริเวณท่ีตั้งปลอดภัยสะอาดไม่อยู่ใกล้แหล่งมลพิษทางอากาศ น้ำ ดิน เว้นแต่มี
มาตรการท่มี ีประสิทธิภาพในการป้องกนั อันตรายทีอ่ าจจะเกดิ ขน้ึ

๓. ติดตามประเมินผลการสำรวจสม่ำเสมออย่างน้อยทุก ๓ เดือน และแก้ไขในส่วนที่มี
โอกาสเกิดอันตรายได้มากอย่างเรง่ ด่วน

๔. นำผลการประเมิน ปรบั ปรุง/ พฒั นาระยะยาว


52

รายละเอียดการพิจารณา(๑.๓.๒_๑, ๑.๓.๒_๒, ๑.๓.๒_๓, ๑.๓.๒_๔, ๑.๓.๘_๑)

โครงสร้างและตัวอาคารมั่นคง ตั้งอยู่ในบริเวณและสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัย

หมายถงึ โครงสรา้ งและตวั อาคารมนั่ คงมคี วามปลอดภยั ทำดว้ ยวสั ดทุ แี่ ขง็ แรงทนทาน มมี าตรฐาน

ไม่ต้ังอยู่ในสภาพแวดล้อมท่ีเป็นมลพิษ ไม่ใกล้แหล่งน้ำ/พื้นท่ีเส่ียงอันตรายและบริเวณรอบที่ตั้ง
สะอาด มกี ารป้องกนั และแก้ไขปญั หาสภาพแวดล้อมให้ปลอดภยั

๑. โครงสรา้ งอาคารม่ันคง มีขอบเขตและทางเขา้ -ออกทชี่ ดั เจน

๒. บริเวณท่ีตั้งปลอดภัยสะอาดไม่อยู่ใกล้แหล่งมลพิษทางอากาศ น้ำ ดิน เช่น บริเวณ

ขนถ่ายก๊าซ น้ำมัน สารเคมี โรงงาน กองขยะ เว้นแต่มีมาตรการป้องกันความเสี่ยง
อันตรายดังกล่าว

๓. การติดตามประเมินผลการสำรวจ การแก้ไขในส่วนท่ีมีโอกาสเกิดอันตรายอย่าง
สมำ่ เสมอ อยา่ งนอ้ ยทกุ ๓ เดอื น

๔. การนำผลประเมินไปพัฒนาและปรับปรุงการบริหารจัดการด้านสภาพแวดล้อมเพ่ือ
ความปลอดภัยอย่างเป็นระบบ

ข้อมูลประกอบการพจิ ารณา

๑. มีแบบประเมินสภาพแวดล้อมภายนอกอาคารเพื่อความปลอดภัย (แบบบันทึก

ท่ี ๑.๓.๒)*๓

๒. มีเอกสารหลักฐานท่ีบ่งบอกถึงการติดตามประเมินตามแผนอย่างสม่ำเสมอ

อยา่ งน้อย ทุก ๓ เดอื น

๓. มีการนำผลการประเมินไปพัฒนาปรับปรุงการบริหารจัดการด้านสภาพแวดล้อมเพื่อ
ความปลอดภยั อยา่ งเป็นระบบ



๑.๓.๓ จดั การความปลอดภยั ของพน้ื ทเ่ี ลน่ /สนามเดก็ เลน่ และสภาพแวดลอ้ มภายนอกอาคาร



รายการพิจารณา

๑. สภาพแวดล้อมภายนอกอาคารสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยมีความปลอดภัย เคร่ืองเล่น
สนามมคี วามเหมาะสมตามพัฒนาการของเด็กตามวยั

๒. พื้นท่ีเล่น/สนามเด็กเล่น เป็นท่ีปลอดภัยในการเล่นของเด็ก มีการสำรวจความเสี่ยง
ของพื้นที่เลน่ /สนามเดก็ เลน่ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง

๓. ติดตามประเมนิ การดำเนินงานขอ้ ๑ และ ๒ สม่ำเสมออย่างน้อยทุก ๓ เดอื น และ
แกไ้ ขในส่วนท่มี โี อกาสเกิดอนั ตรายไดม้ ากอย่างเรง่ ด่วน

๔. นำผลการประเมนิ วิเคราะหเ์ พือ่ ปรับปรงุ /พฒั นา


53

รายละเอยี ดการพิจารณา(๑.๓.๓_๑, ๑.๓.๓_๒, ๑.๓.๓_๓)

จัดการความปลอดภัยของพ้ืนที่เล่น/สนามเด็กเล่น หมายถึง การจัดให้มีอาณาบริเวณ
ทีเ่ ดก็ สามารถเขา้ ถงึ เป็นพ้ืนท่ีท่ีมีกิจกรรมท่ีสนุกสนานเพลิดเพลิน สร้างการเรยี นรูอ้ ยา่ งสร้างสรรค์
สร้างความสุขและมีความปลอดภัย สนามเด็กเล่นได้มาตรฐานตามข้อกำหนดความปลอดภัย

จะต้องประกอบด้วยเคร่ืองเล่นท่ีปลอดภัยและเหมาะสมกับอายุของเด็ก พื้นสนามสามารถดูดซับ
พลังงานและลดการบาดเจ็บจากการตก การติดต้ังที่ถูกวิธี การตรวจสอบบำรุงรักษาและมีผู้ดูแล
เด็กในขณะเลน่

จัดการความปลอดภัยของสภาพแวดล้อมภายนอกอาคาร หมายถึง การจัดการ

สภาพแวดล้อมภายนอกอาคารเพื่อป้องกันอันตรายต่อเด็กจากโครงสร้างหนักล้มทับ เช่น จาก

รว้ั ป้าย จากมลพษิ เช่น จากโรงงานอตุ สาหกรรม ทตี่ ้งั หา่ งจากสถานบี ริการเชอ้ื เพลงิ และสถานที่
เก็บเช้ือเพลิง ขยะส่ิงปฏิกูล ไม่ใกล้แหล่งน้ำ ถนนหน้าสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย มีทางข้าม

มีทางเท้า ไม่มีการวางของหรือจอดรถบนทางเท้า ยานพาหนะในสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยต้องใช้
ความเร็วน้อยกวา่ ๓๐ กโิ ลเมตร/ชว่ั โมง

๑. การจัดการและการประเมินความปลอดภัยภายนอกอาคารอย่างต่อเนื่อง เพื่อ

เปรียบเทียบความเส่ียง เช่น ร้ัวประตูร้ัว แหล่งน้ำ ถนนภายในและภายนอกสถาน
พัฒนาเดก็ ปฐมวยั ตน้ ไม้ และสัตว์

๒. การจัดการความปลอดภัยของพื้นท่ีเล่น/สนามเด็กเล่น ตรวจเช็คคัดกรองความเส่ียง
อยา่ งตอ่ เนอ่ื งและเปรยี บเทยี บความเสย่ี งวา่ ไดถ้ กู แกไ้ ข หรอื เกดิ ความเสยี่ งเพมิ่ ขน้ึ ใหม่
๓. ประเมินการดำเนินงานตาม ข้อ ๑ ข้อ ๒ และแนวทางแก้ไข ป้องกัน ที่สามารถ
ปฏิบัติได้ หรือตอ้ งขอความชว่ ยเหลอื

๔. การนำผลการประเมินวิเคราะห์เพ่ือปรับปรุง พัฒนาพ้ืนที่เล่น/สนามเด็กเล่น และ
สภาพแวดล้อมภายนอกอาคาร

ข้อมลู ประกอบการพิจารณา

๑. มแี บบประเมนิ สภาพแวดลอ้ มภายนอกอาคารเพอื่ ความปลอดภยั (แบบบนั ทกึ ที่ ๑.๓.๒)

มีการสำรวจจุดท่ีมีโอกาสเสี่ยงเกิดอันตราย มีแบบบันทึกการสำรวจค้นหาจุดเสี่ยง
(Safety Round Record) (แบบบนั ทึกที่ ๑.๓.๑) สม่ำเสมออย่างน้อยทกุ ๓ เดอื น

๒. มีแบบบันทึกการตรวจเช็คคัดกรองความเส่ียงของพ้ืนที่เล่น/สนามเด็กเล่น (แบบ
บันทึกที่ ๑.๓.๓)*๔ มีการสำรวจจุดที่มีโอกาสเสี่ยงเกิดอันตราย (แบบบันทึก

ที่ ๑.๓.๑) สมำ่ เสมออยา่ งนอ้ ยทกุ ๓ เดือน

๓. มหี ลกั ฐานบันทึกตดิ ตามประเมินการจดั การตามขัอ ๑ และ ๒


54

๔. มีโครงการ/กิจกรรม/ภาพถ่ายภาพน่ิงภาพเคลื่อนไหว ที่บ่งบอกเปรียบเทียบผล

การประเมินวิเคราะห์เพื่อปรับปรุง พัฒนาให้พ้ืนที่เล่น/สนามเด็กเล่น และสภาพ
แวดลอ้ มภายนอกอาคารมีความปลอดภยั




๑.๓.๔ จดั การสภาพแวดลอ้ มภายในอาคาร ครภุ ณั ฑ์ อปุ กรณ์ เครอื่ งใชใ้ หป้ ลอดภยั เหมาะสม

กับการใชง้ านและเพียงพอ



รายการพจิ ารณา

๑. สภาพแวดลอ้ มภายในอาคารมคี วามปลอดภยั

๒. ครุภณั ฑ์ อุปกรณ์เครอ่ื งใช้ปลอดภัย มีทะเบยี นควบคุมตรวจสอบสมำ่ เสมอให้ใช้งาน

ได้ครบถ้วนไม่ชำรดุ และเป็นปจั จบุ นั

๓. ตดิ ตามประเมนิ การดำเนินงาน ขอ้ ๑ และ ๒ สมำ่ เสมออยา่ งน้อยทุก ๓ เดอื น และ

แกไ้ ขในส่วนทีม่ โี อกาสเกดิ อนั ตรายได้มากอย่างเรง่ ดว่ น

๔. นำผลการประเมินวิเคราะห์เพอื่ ปรบั ปรงุ พัฒนา

รายละเอียดการพิจารณา(๑.๓.๔_๑, ๑.๓.๔_๒, ๑.๓.๔_๓, ๑.๓.๔_๔, ๑.๓.๔_๕)

จัดการสภาพแวดล้อมภายในอาคาร ครุภัณฑ์ อุปกรณ์ เครื่องใช้ให้ปลอดภัย

เหมาะสมกับการใช้งานและเพียงพอ หมายถึง การกำหนดมาตรฐานและการดำเนินงานเพื่อ
ป้องกันอันตรายจากการตกจากที่สูง เช่น ระเบียง บันได พื้นที่ล่ืน การชนกระแทก โครงสร้าง
แหลมคม โครงสร้างหนัก เช่น ชั้นวางของ/ตู้ ล้มทับ ไฟฟ้า การได้รับสารพิษ เช่น สีทาอาคาร
น้ำยาทำความสะอาดตา่ งๆ การขาดอากาศหายใจ เชน่ เชอื กเสน้ สายรดั คอ และอุบตั ิเหตุอื่นๆ

๑. การประเมินสภาพแวดล้อมภายในอาคาร ครุภัณฑ์ อุปกรณ์ เครื่องใช้ให้ปลอดภัย

เหมาะสมกับการใชง้ านและเพยี งพอ

๒. การจัดทำทะเบียนควบคุมตรวจสอบให้มีใช้งานครบถ้วน และคัดแยกของท่ีชำรุด

ออกอยา่ งสมำ่ เสมอเป็นปจั จุบนั

๓. ประเมินการดำเนินการ วิเคราะห์ความรุนแรง และความเสี่ยงที่จะเกิดอันตราย

ค้นหาแนวทางปอ้ งกนั แก้ไข ทส่ี ามารถปฏบิ ตั ไิ ด้ หรือต้องขอความช่วยเหลือ

๔. นำผลการประเมนิ มาปรบั ปรงุ พฒั นา


55

ขอ้ มลู ประกอบการพจิ ารณา

๑. มแี บบประเมนิ สภาพแวดลอ้ มภายในอาคารเพอ่ื ความปลอดภยั (แบบบนั ทกึ ที่ ๑.๓.๔)*๕


มกี ารจดั พน้ื ท่ี ใช้สอยและดำเนนิ การจัดการเปล่ยี นแปลงปจั จัยเสีย่ งภายในอาคาร

๒. มรี ะบบประเมินความปลอดภัยโดยใชแ้ บบประเมนิ อปุ กรณ์ ผลิตภัณฑ์ เคร่ืองใชเ้ พ่อื

ความปลอดภัย (แบบบันทึกที่ ๑.๓.๕)*๖ มบี ันทกึ จัดทำทะเบียน ครุภัณฑ์ อุปกรณ์
เครื่องใช้ และการติดต้ังที่ปลอดภัยตามนโยบาย และ มีบันทึกการทำความสะอาด
อย่างต่อเนือ่ งสมำ่ เสมอ

๓. มีทะเบียนควบคุมตรวจสอบให้มีใช้งานครบถ้วน และการคัดแยกของท่ีชำรุดออก
อยา่ งสม่ำเสมอเป็นปัจจบุ นั

๔. มีบันทึกการติดตามตรวจสอบการดำเนินการ และการค้นหาแนวทางป้องกัน แก้ไข
ทีส่ ามารถปฏบิ ัตไิ ด้ หรือต้องขอความช่วยเหลือ

๕. มีโครงการ/กจิ กรรม/ภาพถา่ ยภาพนง่ิ ภาพเคลือ่ นไหว ทบี่ ่งบอกเปรียบเทียบผลการ
ประเมินวิเคราะห์เพื่อปรับปรุง พัฒนาให้สภาพแวดล้อมภายในอาคาร ครุภัณฑ์
อุปกรณ์ และเครอื่ งใช้ให้ปลอดภยั เหมาะสมกบั การใชง้ านและเพยี งพอ



๑.๓.๕ จัดใหม้ ีของเล่นทปี่ ลอดภัยไดม้ าตรฐาน มีจำนวนเพยี งพอ สะอาด เหมาะสมกับระดับ

พัฒนาการของเด็ก



รายการพจิ ารณา

๑. ของเล่นปลอดภัยตามมาตรฐานอุตสาหกรรม (มอก.) และเหมาะสมตามพัฒนาการ
ของเดก็ ตามวยั

๒. มีทะเบียนควบคุมตรวจสอบสม่ำเสมอให้มีจำนวนเพียงพอเหมาะสมกับวัยและ
พัฒนาการของเดก็ และมีความสะอาดใชง้ านได้ครบถว้ นไมช่ ำรดุ และเปน็ ปจั จบุ นั

๓. ตดิ ตามประเมินการดำเนินงาน ข้อ ๑ และ ๒ สม่ำเสมออยา่ งนอ้ ยทกุ ๓ เดือน และ
แกไ้ ขในสว่ นท่มี ีความเส่ียงสงู ตอ่ การเกดิ อันตราย

๔. นำผลการประเมินวิเคราะห์เพ่ือปรับปรุง/พัฒนาการจัดหาและบำรุงรักษาอย่าง

ต่อเนอื่ ง


56

รายละเอยี ดการพิจารณา(๑.๓.๕_๑, ๑.๓.๕_๒, ๑.๓.๕_๓)

๑. การจัดหาของเล่นท่ีปลอดภัยตามมาตรฐานอุตสาหกรรม (มอก.) ให้มีจำนวน


เพียงพอเหมาะสมกับวัยและพัฒนาการของเด็ก โดยประเมินถึงความปลอดภัยของ
ของเลน่ และดูแลทำความสะอาดอยา่ งสม่ำเสมอ

๒. การจัดเกบ็ ตรวจสอบของเลน่ คดั แยกของเล่นท่ีชำรุดออก และดแู ลทำความสะอาด
อย่างสม่ำเสมออยา่ งนอ้ ยเดือนละ ๒ ครัง้

๓. ประเมินการดำเนินงาน วิเคราะห์ความรุนแรง และความเสี่ยงท่ีจะเกิด ค้นหา
แนวทางป้องกัน แก้ไข ทส่ี ามารถปฏบิ ตั ไิ ด้ หรอื ตอ้ งขอความชว่ ยเหลอื

๔. นำผลการประเมิน มาปรับปรงุ พัฒนา

ข้อมูลประกอบการพิจารณา

๑. มีการประเมนิ ของเล่นและจัดหาของเลน่ ทป่ี ลอดภยั (แบบบันทกึ ที่ ๑.๓.๖)*๗ มีบัญชี
แสดงจำนวนของเลน่ ทีเ่ พียงพอเหมาะสมกับวยั และพัฒนาการ

๒. มีบันทึกการจัดเก็บตรวจสอบของเล่น คัดแยกของเล่นท่ีชำรุดออกแทงจำหน่าย
และการดูแล ทำความสะอาดอยา่ งตอ่ เนื่องสม่ำเสมออยา่ งนอ้ ยเดอื นละ ๒ คร้งั

๓. มีแบบบันทึกผลิตภัณฑ์ ของเล่น ของใช้อันตราย (แบบบันทึก ท่ี ๑.๓.๗)*๘ เพื่อ

การประเมินวิเคราะห์ความเส่ียงความรุนแรง และค้นหาแนวทางป้องกัน แก้ไข

ทส่ี ามารถปฏิบัติได้ หรอื ตอ้ งขอความชว่ ยเหลือ

๔. มีโครงการ/กิจกรรม/ภาพถ่ายภาพนิ่ง ภาพเคล่ือนไหว ที่บ่งบอกเปรียบเทียบผล

การประเมนิ วิเคราะห์เพอ่ื ปรับปรุง พฒั นา



๑.๓.๖ ส่งเสรมิ ให้เดก็ ปฐมวยั เดินทางอยา่ งปลอดภยั



รายการพจิ ารณา

๑. สำรวจการเดินทางของเด็กและวางแผนการดำเนินงานเพ่ือให้เกิดความปลอดภัย

ในการเดนิ ทางของเด็ก

๒. ใหค้ วามรู้ สร้างวนิ ัยและฝกึ ทกั ษะเด็กในการเดินทางไป-กลบั อย่างปลอดภยั

๓. ปรับปรุงโครงสร้างและการปฏิบัติเพื่อสร้างเสริมความปลอดภัยและป้องกัน

การบาดเจ็บในการเดนิ ทางของเดก็

๔. สร้างความตระหนักและให้ความรู้กับผู้ปกครองและชุมชน เพื่อร่วมกันสนับสนุน

ให้เดก็ เดินทางไดอ้ ย่างปลอดภัย

๕. มกี ารประเมินผลการดำเนนิ งานและพฒั นาปรบั ปรุง


57

รายละเอียดการพิจารณา (๑.๓.๖_๒)

ส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยเดินทางอย่างปลอดภัย หมายถึง ส่งเสริม สนับสนุน ให้เด็ก

เดินทางโดยปลอดภัย เช่น การเดินทางโดยทางเท้าจะต้องเดินทางกับผู้ใหญ่ไม่เดินทางโดยลำพัง
โดยรถจักรยานต้องมีการป้องกันเท้าเข้าซ่ีล้อ โดยรถจักรยานยนต์เด็กต้องสวมหมวกนิรภัย

ทางน้ำต้องสวมเสื้อชูชีพ โดยรถยนต์แนะนำให้ใช้ที่น่ังนิรภัยให้เหมาะสมตามวัย เดินทางโดย

รถรับส่ง รถรับสง่ ต้องถกู ตอ้ งตามระเบยี บของกรมขนสง่ ทางบก

๑. สำรวจการเดินทางของเด็กและการวางแผนการดำเนินงานเพ่ือให้เกิดความ

ปลอดภยั ในการเดนิ ทางของเดก็

๒. การให้ความรู้ การสร้างวินัยและการฝึกทักษะเด็กในการเดินทางไป-กลับอย่าง

ปลอดภัย

๓. ปรับปรุงโครงสร้างการเดินทาง และการปฏิบัติเพื่อสร้างเสริมความปลอดภัยและ

ปอ้ งกันการบาดเจบ็ ในการเดินทางของเดก็

๔. การสร้างความตระหนักและใหค้ วามร้กู ับผปู้ กครองและชุมชน เพ่ือรว่ มกนั สนับสนุน

ให้เด็กเดินทางไดอ้ ย่างปลอดภัย

๕. การประเมินผลการดำเนินงานและพฒั นาปรบั ปรงุ

ขอ้ มลู ประกอบการพิจารณา

๑. แบบประเมนิ การเดนิ ทางท่ีปลอดภยั สำหรบั เดก็ ปฐมวัย (แบบบันทึกที่ ๑.๓.๘)*๙

๒. การให้ความรู้ การสร้างวินัยและการฝึกทักษะเด็กในการเดินทางไป-กลับอย่าง

ปลอดภยั

๓. การปรับปรุงโครงสร้างการเดินทาง และการปฏิบัติเพ่ือสร้างเสริมความปลอดภัย

และปอ้ งกนั การบาดเจบ็ ในการเดินทางของเดก็

๔. การสรา้ งความตระหนกั และให้ความรกู้ ับผ้ปู กครองและชมุ ชน เพือ่ รว่ มกันสนับสนุน

ให้เด็กเดินทางได้อยา่ งปลอดภัย

๕. การประเมินผลการดำเนนิ งานและพัฒนาปรับปรุง




58

๑.๓.๗ จัดให้มรี ะบบป้องกนั ภยั จากบุคคลทั้งภายในและภายนอกสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั



รายการพิจารณา

๑. มรี ะบบป้องกันภยั จากบคุ คล ตรวจสอบการเขา้ -ออก การรบั และส่งเดก็

๒. สร้างความตระหนักให้บุคลากรทุกฝ่ายในสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยเฝ้าระวัง


ความปลอดภัยของเด็กจากบุคคลท้ังภายในและภายนอก เม่ือพบสิ่งที่น่าสงสัย

ต้องรายงานให้ครูเวรประจำวันทราบเพ่ือป้องกนั และแก้ไข

๓. มกี ารบนั ทึกและประเมนิ ผลการดำเนนิ งานตามแผน

๔. มกี ารนำผลจากการประเมนิ ไปพฒั นาและปรับปรุง

รายละเอยี ดการพจิ ารณา(๑.๓.๗_๑)

จัดให้มีระบบป้องกันภัยจากบุคคลทั้งภายในและภายนอกสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย
หมายถึง การจัดการให้มีการค้นหาภัยหรืออันตรายจากการกระทำของบุคคลอื่น มีการสำรวจ
ร่างกายเด็กเป็นประจำทุกวันเมื่อมาถึงสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยและก่อนกลับบ้าน มีบันทึก

รอยบาดแผล จัดให้มีการรายงานเม่ือพบเห็นเด็กตกอยู่ในสภาพที่ต้องให้การช่วยเหลือเบื้องต้น

ร้วู ธิ สี อื่ สารกบั หนว่ ยฉุกเฉินทางการแพทยร์ วมทัง้ วิธีการส่งต่อเดก็

๑. มาตรการป้องกันภัยจากบุคคลอย่างเป็นระบบ การรับส่งเด็ก การตรวจสอบ

การเข้า-ออก สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย การเย่ียมบ้าน การสำรวจร่างกายเด็กเพ่ือ
ตรวจดูบาดแผล หรือร่องรอยท่ีอาจเกิดจากการกระทำของบุคคลอื่น และเม่ือ

เกิดการบาดเจ็บจากอบุ ตั เิ หตุทุกครั้ง

๒. การสร้างความตระหนักให้บุคลากรทุกฝ่ายในสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยเฝ้าระวังความ
ปลอดภัยของเด็กจากบุคคลท้ังภายในและภายนอกเมื่อพบส่ิงที่น่าสงสัยต้องรายงาน
ให้ครเู วรประจำวนั ทราบเพ่ือป้องกันและแกไ้ ข

๓. การตรวจสอบประเมินผลการดำเนินงานและนำข้อมูลมาบันทึก วิเคราะห ์

หาแนวทางแก้ไข ป้องกนั

๔. การนำผลประเมินมาปรับปรุง/พัฒนา

ข้อมลู ประกอบการพิจารณา

๑. มีการป้องกันภัยจากบุคคลอย่างเป็นระบบ มีแบบบันทึกการบาดเจ็บรายบุคคล
(แบบบนั ทกึ ที่ ๑.๓.๙)*๑๐ บนั ทกึ การเยยี่ มบา้ นการรบั สง่ เดก็ การตรวจสอบการเขา้ -ออก

สถานพัฒนาเด็กปฐมวยั การเยีย่ มบา้ น การบันทกึ การสำรวจรา่ งกายเดก็ เพ่ือตรวจดู

59

บาดแผล หรอื รอ่ งรอยทอี่ าจเกดิ จากการกระทำของบคุ คลอน่ื และเมอ่ื เกดิ การบาดเจบ็

จากอบุ ตั เิ หตุทุกครั้ง

๒. มีการสร้างความตระหนักให้บุคลากรทุกฝ่ายในสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยเฝ้าระวัง
ความปลอดภัยของเด็กจากบุคคลทั้งภายในและภายนอกเมื่อพบสิ่งท่ีน่าสงสัยต้อง
รายงานให้ครูเวรประจำวนั ทราบเพอื่ ป้องกนั และแก้ไข

๓. มีรายงานการประเมินผล วิเคราะห์ความเสี่ยงโดยพิจารณาผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้นว่า

มีความรุนแรงอย่างไร และโอกาสที่จะเกิดขึ้นว่ามากหรือน้อย ท่ีจะนำมาปรับปรุง
พฒั นากิจกรรม เพอื่ ส่งเสริมให้เด็กปลอดภัยตอ่ ไป

๔. มีโครงการ/กิจกรรม/ภาพถ่ายภาพนิ่ง ภาพเคล่ือนไหว ท่ีบ่งบอกเปรียบเทียบผล

การประเมิน วเิ คราะหเ์ พื่อปรับปรุงและพฒั นา



๑.๓.๘ จัดให้มีระบบรับเหตุฉกุ เฉนิ ป้องกันอคั คภี ัย/ภัยพิบตั ิตามความเสีย่ งของพ้นื ท่



รายการพจิ ารณา

๑. แผนฝกึ ซอ้ มอพยพหนไี ฟ

๒. ฝึกซ้อมแผนอพยพให้กับบุคลากรและเด็กทุกคนเสมือนเกิดเหตุจริงอย่างน้อยปีละ

๑ ครง้ั

๓. มกี ารตรวจสอบประเมินผลการดำเนนิ การ

๔. นำผลประเมนิ มาปรับปรุง/พฒั นา

รายละเอยี ดการพิจารณา

จัดให้มีระบบรับเหตุฉุกเฉิน ป้องกันอัคคีภัย/ภัยพิบัติตามความเส่ียงของพื้นที่

หมายถึง มแี ผนรบั ภัยฉกุ เฉนิ /ภัยพบิ ัติ จดั การฝกึ ซ้อมแผนประจำปี มีการตดิ ตงั้ อปุ กรณ์ มรี ะบบ
สญั ญานเตอื นภัย มีหมายเลขโทรศัพทห์ นว่ ยงานในพนื้ ทเี่ ม่ือเกิดเหตฉุ ุกเฉนิ และระบบสง่ ต่อ

๑. ดำเนนิ การจดั ทำแผนฝกึ ซ้อมอพยพหนไี ฟ สำรวจพน้ื ท่ี ตดิ ตั้งอปุ กรณ ์

๒. บุคลากรต้องได้รับการฝึกอบรม และมีการฝึกซ้อมแผนอพยพให้กับบุคลากรทุกคน/
เดก็ ทุกคนเสมอื นเกดิ เหตจุ รงิ อยา่ งน้อยปลี ะ ๑ ครั้ง

๓. มีการตรวจสอบประเมินผลการดำเนินการ

๔. นำผลประเมนิ มาปรบั ปรุง/พฒั นา


60

ข้อมลู ประกอบการพิจารณา(๑.๓.๘_๑, ๑.๓.๘_๒)

๑. มีแบบประเมินระบบอัคคีภัย (แบบบันทึกท่ี ๑.๓.๑๐)*๑๑ มีแผนอพยพหนีไฟ

อุปกรณ์ดับเพลิงในสภาพพร้อมใช้งานและจำนวนเพียงพอ บันทึกการตรวจเช็ค
น้ำยาดบั เพลงิ

๒. บุคลากรเขา้ รับการฝกึ อบรมการจัดทำแผนและการฝกึ ซ้อมอพยพ มกี ารฝึกซ้อมแผน
อพยพให้กบั บุคลากรทกุ คน/เดก็ ทกุ คนเสมอื นเกิดเหตจุ รงิ อยา่ งนอ้ ยปีละ ๑ ครั้ง

๓. มกี ารประเมินผลการดำเนินการ

๔. มีโครงการ/กิจกรรม/ภาพถ่ายภาพน่ิง ภาพเคลื่อนไหว ที่บ่งบอกเปรียบเทียบผล

การประเมนิ วเิ คราะหเ์ พอ่ื ปรับปรงุ และพัฒนา




ตวั บ่งชี้ ๑.๔ การจดั การเพือ่ ส่งเสรมิ สุขภาพและการเรยี นร
ู้



๑.๔.๑ มกี ารจัดการเพื่อสง่ เสริมสุขภาพ เฝา้ ระวังการเจริญเติบโตของเดก็ และดูแล

การเจบ็ ปว่ ยเบอื้ งตน้



รายการพจิ ารณา

๑. จดั ให้มอี าหารท่เี หมาะสม และเพยี งพอตามวยั ทุกวนั

๒. จัดให้มีเครื่องช่ังน้ำหนักและเครื่องวัดความยาว/ส่วนสูงที่ได้มาตรฐาน ติดตั้งถูกต้อง

และมีการฝกึ ใช้งานอยา่ งถกู วธิ

๓. ประเมินการเจริญเติบโตเป็นรายบุคคลอย่างถูกวิธี และมีการบันทึกข้อมูลน้ำหนัก

ส่วนสูงลงในกราฟการเจริญเติบโตเป็นรายบุคคลอย่างต่อเนื่องอย่างน้อยทุก

๓ เดือน

๔. มยี าและเวชภณั ฑส์ ามญั ประจำบา้ นและอปุ กรณท์ จ่ี ำเปน็ สำหรบั ปฐมพยาบาลเบอื้ งตน้

๕. จดั ให้มกี ารอบรมปฐมพยาบาลและฝึกชว่ ยชีวติ เบื้องตน้ (CPR)

รายละเอยี ดการพิจารณา*๑๒

๑. จัดใหม้ ีอาหารท่ีเหมาะสมและเพียงพอตามวยั ทกุ วัน

๒. จัดให้มีเคร่ืองชั่งน้ำหนักและเคร่ืองวัดความยาว/ส่วนสูง ที่ได้มาตรฐาน และติดตั้ง
ถูกต้อง มีคู่มือวิธีการติดต้ัง ช่ังน้ำหนัก วัดความยาว/ส่วนสูง และการแปลผล

การเจริญเติบโตมีการตรวจสอบเคร่อื งมอื อย่างน้อยปีละ ๑ คร้ัง


61

๓. จดั ให้มกี ารบนั ทกึ ขอ้ มูลนำ้ หนกั ส่วนสูง และมกี ราฟการเจรญิ โตเปน็ รายบคุ คล

๔. จัดให้มีการอบรมการจัดอาหาร การตักอาหาร วิธีการติดตั้ง ช่ังน้ำหนัก วัดส่วนสูง

และการแปลผลการเจริญเติบโต

๕. จัดให้มียา เวชภัณฑ์ เคร่ืองมือและอุปกรณ์ท่ีจำเป็นสำหรับกรณีฉุกเฉินเบื้องต้น


ทีใ่ ชใ้ นการปฐมพยาบาลเดก็

ขอ้ มูลประกอบการพจิ ารณา (๑.๔.๑_๑, ๑.๔.๑_๒, ๑.๔.๑_๓)

๑. มีเคร่ืองช่ังน้ำหนักและเคร่ืองวัดส่วนสูงตามมาตรฐาน และควรใช้เคร่ืองชั่งน้ำหนัก


ทม่ี คี วามละเอยี ด ๐.๑ กโิ ลกรมั และเครอื่ งวดั สว่ นสงู ทม่ี คี วามละเอยี ด ๐.๑ เซนตเิ มตร

๒. เครือ่ งวัดสว่ นสงู แบบนอนสำหรบั เด็กเล็ก

๓. กราฟน้ำหนักตามเกณฑ์อายุ ความยาว/ส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ และน้ำหนักตาม

เกณฑค์ วามยาว/สว่ นสงู ตามเพศเป็นรายบคุ คล

๔. หลักฐานแสดงการจัดทำบันทึกการตรวจสอบเครือ่ งมือ

๕. หลกั ฐานแสดงการอบรม

๖. รายการยา เวชภณั ฑ์ เครอ่ื งมอื อปุ กรณท์ จ่ี ำเปน็

๗. การบันทกึ ขอ้ มูลนำ้ หนกั และส่วนสูง และการแปลผลการเจริญเติบโต

๘. รายการอาหารยอ้ นหลัง ๑ เดือน และล่วงหนา้ ๑ เดือน



๑.๔.๒ มีแผนและดำเนินการตรวจสุขอนามัยประจำวัน ตรวจสุขภาพประจำปี และป้องกัน

ควบคมุ โรคติดต่อ



รายการพจิ ารณา

๑. มกี ารตรวจสุขภาพอนามยั และรอ่ งรอยการบาดเจ็บประจำวนั

๒. สนับสนุน/จัดการตรวจสุขภาพประจำปีโดยบุคลากรทางการแพทย์อย่างน้อยปีละ

๑ คร้ัง

๓. มีการตรวจสอบประวตั กิ ารได้รบั วคั ซีนตง้ั แตแ่ รกรบั และทกุ ๖ เดอื น*๑๓

๔. มีมาตรการและกิจกรรมป้องกันและแก้ไขเมื่อเกิดโรคติดต่อขึ้นรวมท้ังเก็บข้อมูลของ

โรคตดิ ต่อ


62

รายละเอยี ดการพจิ ารณา(๑.๔.๒_๑, ๑.๔.๒_๒, ๑.๔.๒_๓)

๑. มกี ารตรวจสุขอนามยั ประจำวัน

สังเกตความผิดปกติของเด็กต้ังแต่แรกรับ เช่น มีไข้ ไอ น้ำมูก ผ่ืนตามตัว

เป็นต้น รีบแจ้งผู้ปกครองมารับไปพบแพทย์หรือเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุข รวมทั้ง

ให้คำแนะนำในการดูแลเด็กแก่ผู้ปกครอง และบันทึกการป่วยของเด็กในห้องเรียน

ทุกวัน*๑๔ ตามแบบคัดกรองอาการป่วยรายห้องเรียน*๑๕ กรณีตรวจคัดกรองเด็ก

ไมพ่ บอาการปว่ ยเมอ่ื แรกรบั แตม่ อี าการปว่ ยในเวลาตอ่ มาในขณะทอี่ ยใู่ นสถานพฒั นา

เด็กปฐมวัยให้แยกเด็กที่ป่วยออกจากเด็กที่ไม่ป่วย โดยการแยกนอนแยกเล่น

จากเด็กคนอ่ืนทุกครั้ง

๒. สนับสนุน/จัดการตรวจสุขภาพประจำปีโดยบุคลากรทางการแพทย์อย่างน้อย

ปีละ ๑ ครงั้

๓. มีการตรวจสอบประวตั กิ ารได้รับวคั ซนี ต้ังแต่แรกรับตามระยะทก่ี ำหนด

ครูและผู้ดูแลเด็กบันทึกตรวจสอบความครบถ้วนถูกต้องของประวัติการได้รับ

วัคซีนของเด็กทุกคน ทุกภาคเรียน กรณีเด็กได้รับไม่ครบถ้วน แนะนำผู้ปกครอง

ให้พาเด็กไปรับวัคซีนท่ีสถานบริการสาธารณสุข และบันทึกการแนะนำใน

แบบบันทกึ ปญั หาสุขภาพและการดูแลเบ้อื งต้น

๔. มีมาตรการและกิจกรรมป้องกัน และแก้ไขเม่ือเกิดโรคติดต่อข้ึน รวมทั้งเก็บข้อมูล

ของโรคติดตอ่

มาตรการ : ดำเนินตาม ๑๐ มาตรการศูนย์เด็กเล็กและโรงเรียนอนุบาล

ปลอดโรค ของกรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสขุ *๑๖

กิจกรรมป้องกัน : การป้องกันโรคท่ีได้ผลดีและคุ้มค่าท่ีสุด คือ การป้องกัน

ในระยะก่อนได้รับเช้ือ ได้แก่ การส่งเสริมสุขภาพ การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค

รับประทานอาหารครบ ๕ หมู่ มีน้ำดื่มที่สะอาดเพียงพอ ได้รับการดูแลเรื่อง

สุขอนามัยส่วนบุคคล เน้นความสะอาด สิ่งแวดล้อมท่ีถูกสุขลักษณะ มีพัฒนาการ

ทางร่างกายและจิตใจเหมาะสมตามวัย (ตามแนวทางการป้องกันโรคติดต่อใน

ศนู ย์เด็กเลก็ และโรงเรยี นอนุบาล ของกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข)

แนวทางการแก้ไขเม่ือเกิดโรคติดต่อ : เม่ือเกิดโรคขึ้นต้องป้องกันไม่ให้มีการ

แพร่กระจายของโรค (ตามแนวทางการป้องกันโรคติดต่อในศูนย์เด็กเล็กและ

โรงเรียนอนบุ าล ของกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสขุ )

*** โรคติดต่อท่ีพบบ่อย ได้แก่ โรคหวัด โรคไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาล

โรคไขห้ วัดใหญส่ ายพันธ์ุใหม่ ๒๐๐๙ โรคมือ เท้า ปาก โรคอจุ จาระร่วง โรคอสี ุกอใี ส
โรคตาแดง โรคพษิ สนุ ัขบ้า โรคไข้เลอื ดออก และโรคผิวหนังอักเสบจากเชอ้ื แบคทีเรีย
เปน็ ต้น


63

ขอ้ มลู ประกอบการพิจารณา

๑. แผนบริหารจัดการตรวจสุขอนามัยประจำวัน ตรวจสุขภาพประจำปี ป้องกันและ

ควบคุมโรคตดิ ต่อ

๒. บันทึกการตรวจสุขอนามัยประจำวัน/ตรวจสุขภาพประจำปีอย่างน้อยปีละ ๑ คร้ัง/

ตามกำหนด

๓. ตารางการฉดี วคั ซีนตามแนวทางการป้องกนั โรคตดิ ต่อในศูนยเ์ ดก็ เล็ก

๔. แบบบนั ทึกการไดร้ บั วคั ซีน

๕. แบบบนั ทกึ ปญั หาสุขภาพ และการดแู ลเบื้องตน้

๖. แบบคัดกรองอาการปว่ ยรายห้องเรียน



๑.๔.๓ อาคารต้องมีพื้นที่ใช้สอยเป็นสัดส่วนตามกิจวัตรประจำวันของเด็กที่เหมาะสม

ตามช่วงวยั และการใชป้ ระโยชน์



รายการพจิ ารณา

๑. มีพื้นท่ีพอเพียงสำหรับการจัดกิจกรรมและกิจวัตรประจำวันของเด็กพอเพียง

เฉลย่ี ๑.๕-๒.๐ ตร.ม./คน

๒. มีพ้ืนท่ีเตรียมอาหาร/ครัว วิธีการขนส่งอาหาร และมีบริเวณที่จัดให้เด็กรับประทาน

อาหารที่สะอาด ถูกสุขลักษณะ

๓. มีพืน้ ทส่ี ำหรับนอนหลับ เนน้ ความสะอาด ปลอดโปร่ง และอากาศถา่ ยเทได้ดี

๔. มีพ้นื สำหรบั เล่นและทำกิจกรรมการเรยี นรูท้ เ่ี พยี งพอและเหมาะสม

๕. มีพ้ืนที่หรือบริเวณสำหรับการทำความสะอาดช่องปาก แปรงฟัน ล้างมือ ล้างหน้า

ของเด็ก ฯลฯ

๖. มีพน้ื ทส่ี ำหรับแยกเด็กปว่ ย

รายละเอียดการพิจารณา(๑.๔.๓_๑, ๑.๔.๓_๒, ๑.๔.๓_๓)

๑. มีพื้นท่ีพอเพียงสำหรับการจัดกิจกรรมและกิจวัตรประจำวันของเด็กพอเพียงเฉล่ีย

๑.๕-๒.๐ ตร.ม./คน

๒. มีพ้ืนที่เตรียมอาหาร/ครัวรวมท้ังการขนส่งอาหารท่ีสะอาด ถูกสุขลักษณะ*๑๗ มีการ

ปกปิดอาหาร ที่พร้อมบริโภคขณะขนส่ง (โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในกรณีการจ้างเหมา

ผู้ประกอบอาหารจัดส่งมาจากภายนอก) ภาชนะใส่อาหารท่ีปลอดภัยและมีการ
ตรวจสอบให้เปน็ ไปตามมาตรฐาน

๓. พืน้ ทส่ี ำหรับนอนหลับ เนน้ เร่อื งความสะอาด และปลอดโปรง่ อากาศถา่ ยเทไดด้ ี


64

๔. มพี น้ื ทสี่ ำหรับเล่น และทำกิจกรรมการเรยี นรทู้ ี่เพยี งพอ เหมาะสม

๕. มีพ้ืนท่ีหรือบริเวณสำหรับให้ครู/ผู้ดูแลเด็กทำความสะอาดช่องปากและแปรงฟันให้

เด็ก ต้ังแต่ฟันซ่ีแรกข้ึน เน้นพื้นท่ีหรือบริเวณที่มีแสงสว่างเพียงพอ เพ่ือให้มองเห็น
ฟนั ได้ชัดเจน

๖. มีพื้นท่ีสำหรับแยกเด็กป่วย เพื่อป้องการแพร่กระจายของโรคติดต่อ และเป็นท่ีดูแล
ปฐมพยาบาลก่อนทีผ่ ้ปู กครองจะมารบั เด็ก

ข้อมูลประกอบการพิจารณา

๑. มีพื้นที่ใช้สอยตามที่กำหนดในมาตรฐานความปลอดภัยสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยด้าน
อาคารและสิ่งแวดล้อม

๒. แผนผงั พื้นทแ่ี ละการใชข้ องสถานพฒั นาเด็กปฐมวยั



๑.๔.๔ จัดใหม้ ีพ้ืนที/่ มุมประสบการณ์ และแหลง่ เรยี นร้ใู นหอ้ งเรียนและนอกห้องเรียน



รายการพจิ ารณา

๑. มีพื้นท่/ี มมุ ประสบการณ์ และแหล่งเรียนรู้ที่มีอุปกรณ์และครภุ ัณฑ์อย่างเหมาะสมใน
ห้องเรยี น

๒. มีพ้ืนท่ี/มุมประสบการณ์ และแหล่งเรียนรู้ที่มีอุปกรณ์และครุภัณฑ์นอกห้องเรียน
อยา่ งเหมาะสม

๓. เก็บขอ้ มลู /ประเมินการใช้พนื้ ที่/มุมประสบการณ์ และแหล่งเรยี นรู้ของเดก็

๔. นำผลจากการประเมนิ ไปปรบั เปลย่ี นซ่อมแซมให้พรอ้ มใชง้ านอยูเ่ สมอ

รายละเอยี ดการพจิ ารณา(๑.๔.๔_๑, ๑.๔.๔_๒, ๑.๔.๔_๓)

๑. ผบู้ ริหารจดั พื้นท่ีในหอ้ งเรียน เชน่ มุมประสบการณ์ มมุ สรา้ งสรรค์ มุมบทบาทสมมติ
มุมบล็อก มุมศิลปะ มุมสร้างสรรค์ มุมดนตรี มุมวิทยาศาสตร์ มุมคณิตศาสตร์
เป็นตน้ และพื้นทีน่ อกหอ้ งเรยี น เชน่ พ้ืนทีธ่ รรมชาติ พืน้ ที่เลน่ นอกหอ้ งเรยี น สนาม
เด็กเล่น สนามกลางแจ้ง ลานเอนกประสงค์ ให้เป็นพื้นที่สำหรับกิจกรรมประจำวัน
เพื่อการเรยี นร้

๒. การเก็บข้อมูลการทำกิจกรรมใช้มุมเหล่านั้นของเด็ก มีบันทึกการใช้มุมทุกวันรวมทั้ง
การใชพ้ ื้นท่ีในการทำกิจกรรมของเดก็

๓. นำผลท่ีได้วิเคราะห์และสรุปให้ผู้ปกครองทราบและนำมาปรับพ้ืนท่ีให้น่าสนใจท่ีจะ
ชว่ ยใหเ้ ดก็ ไดใ้ ช้มากขนึ้ หรอื หมุนเวียนอย่างเหมาะสมทกุ ๒ สัปดาห ์


65

ข้อมลู ประกอบการพิจารณา

๑. มีการจัดมมุ เสริมทกั ษะ/มุมเสริมประสบการณ์

๒. ขอ้ มลู การประเมิน

๓. ภาพหรอื วีดีโอที่แสดงถึงกิจกรรมที่ทำในมุมตา่ งๆ



๑.๔.๕ จัดบริเวณห้องน้ำ ห้องส้วม ท่ีแปรงฟัน/ล้างมือให้เพียงพอ สะอาด ปลอดภัย และ

เหมาะสมกับการใช้งานของเด็ก



รายการพิจารณา

๑. แยกห้องน้ำ ห้องส้วม บริเวณแปรงฟัน/ท่ีล้างมืออย่างเป็นสัดส่วนและสะอาดไม่ม


น้ำขงั และไมล่ ื่น

๒. มกี ารทำความสะอาดอย่างน้อยวันละ ๒ ครง้ั

๓. มรี ะบบดแู ลความสะอาดรวมทงั้ มีเจ้าหนา้ ทีร่ ับผดิ ชอบโดยตรง

รายละเอียดการพจิ ารณา(๑.๔.๕_๑, ๑.๔.๕_๒, ๑.๔.๕_๓, ๑.๔.๕_๔)

๑. แยกห้องน้ำ หอ้ งส้วม สถานที่แปรงฟัน/ทลี่ า้ งมอื อย่างเปน็ สัดสว่ น

๒. มีการทำความสะอาดอย่างน้อยวนั ละ ๒ ครงั้

๓. มีระบบดแู ลความสะอาดรวมทง้ั มีเจา้ หนา้ ทรี่ ับผิดชอบโดยตรง

๔. มีที่สำหรับแปรงฟันให้เหมาะสมกับเด็ก สะอาด ไม่มีคราบสกปรก ไม่มีน้ำขัง


ไมเ่ ฉอะแฉะ ไมล่ ่นื ถา้ มีกอ๊ กน้ำน้อย ควรมถี ังสะอาดใส่นำ้ และภาชนะกลางใช้ตกั นำ้
จากถังใส่ในแก้วให้เด็ก กรณีจัดสถานท่ีแปรงฟันเป็นโครงสร้างถาวร ควรมีจำนวน
ก๊อกน้ำที่เหมาะสมกับตัวเด็กและเพียงพอ มีกระจกหลังอ่างน้ำ ซ่ึงจะเป็นประโยชน์
ในการชว่ ยสอนเดก็ แปรงฟัน การทเี่ ดก็ เหน็ ตวั เองจากกระจก จะกระตนุ้ ใหเ้ ดก็ อยาก
แปรงฟนั และทำใหเ้ ดก็ แปรงฟนั ได้นานข้ึน

ข้อมูลประกอบการพจิ ารณา

๑. มีการเย่ยี มชมและสังเกต

๒. ภาพถ่าย

๓. สังเกตความสะอาดและอุปกรณ์ท่ีจำเป็น เช่น สบู่/น้ำยาล้างมือ ของห้องน้ำ

หอ้ งส้วม มสี ถานทแี่ ปรงฟัน/ท่ลี ้างมือ*๑๘

๔. มีป้ายบอกหอ้ งน้ำ หอ้ งส้วมแยกชาย-หญงิ , เด็ก-ผใู้ หญ่


66

๕. ดคู วามเหมาะสมจำนวนของโถสว้ ม สถานทแ่ี ปรงฟนั /ทลี่ า้ งมอื ใหเ้ พยี งพอ เหมาะสม

กบั เดก็ หรอื มอี ุปกรณช์ ว่ ยเสรมิ การใชส้ ้วมทปี่ ลอดภยั

๖. สำรวจอปุ กรณท์ ำความสะอาดห้องน้ำ หอ้ งสว้ ม สถานท่แี ปรงฟนั /ที่ลา้ งมือ

๗. มีแบบบนั ทึกตารางการทำความสะอาด และเจ้าหนา้ ทผี่ ู้รับผดิ ชอบประจำวนั *๑๙

๘. คู่มือแนวทางการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กปฐมวัย (ศพด.คุณภาพ)

สำนกั ทนั ตสาธารณสุข กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข



๑.๔.๖ จัดการระบบสุขาภิบาลที่มีประสิทธิภาพ ครอบคลุมสถานที่ปรุง ประกอบอาหาร

นำ้ ดื่มน้ำใช้ กำจัดขยะ ส่ิงปฏกิ ูล และพาหะนำโรค



รายการพิจารณา

๑. สถานที่ประกอบอาหาร/ที่เตรียมอาหารต้องมีอ่างล้างภาชนะและอุปกรณ์ท่ีถูกหลัก

สุขาภิบาลอาหาร

๒. มีน้ำดมื่ น้ำใชท้ ส่ี ะอาด

๓. มีการจดั การขยะ สิง่ ปฏิกูลอยา่ งถกู สุขลกั ษณะท้งั ภายในและภายนอกอาคาร

๔. มมี าตรการป้องกันแมลงและสตั ว์ทีเ่ ป็นพาหะนำโรค

รายละเอยี ดการพจิ ารณา(๑.๔.๖_๑, ๑.๔.๖_๒, ๑.๔.๖_๓, ๑.๔.๖_๔)

๑. สถานที่ประกอบอาหาร/ท่ีเตรียมอาหารต้องมีอ่างล้างภาชนะและอุปกรณ์ที่ถูกหลัก

สุขาภิบาลอาหาร

๒. มีนำ้ ดมื่ นำ้ ใช้ท่สี ะอาด

- น้ำด่ืม : ต้องเป็นน้ำต้มสุก หรือน้ำท่ีผ่านระบบการปรับปรุงคุณภาพแล้ว เช่น

น้ำกรองจากเครื่องกรองน้ำที่มีการบำรุงรักษาตามคำแนะนำของผลิตภัณฑ์นั้นๆ

หรอื นำ้ บรรจขุ วดทไ่ี ด้รับอนญุ าตจาก อย.

- นำ้ ใช้ : ควรเปน็ น้ำประปา น้ำบาดาล หรอื น้ำทสี่ ะอาด

๓. มีการจัดการขยะถกู สขุ ลักษณะท้งั ภายในและภายนอกอาคาร

๔. มีการทิ้งขยะแยกประเภท และจัดให้มีภาชนะรองรับขยะแยกประเภท พร้อม

สัญลกั ษณ์

๕. มีมาตรการป้องกนั แมลงและสตั วท์ เี่ ปน็ พาหะนำโรค

๖. มกี ิจกรรมท่สี รา้ งสรรค์/เป็นแหลง่ เรียนรู้


67

ขอ้ มูลประกอบการพิจารณา*๒๐

๑. การเยยี่ มชมและสงั เกต

๒. มีภาพถ่าย

๓. มีอ่างล้างภาชนะอุปกรณ์ที่มีก๊อกน้ำ และท่อระบายน้ำ วางสูงจากพื้นอย่างน้อย

๖๐ เซนตเิ มตร และบริเวณทีล่ า้ งต้องมีการระบายนำ้ ท่ีดีไมเ่ ฉอะแฉะ

๔. มนี ้ำดื่มน้ำใชท้ ่ีสะอาด

๕. สำรวจภาชนะรองรับขยะสภาพดี มีฝาปิดมิดชิด มีจำนวนเพียงพอ และทำ

ความสะอาดทร่ี องรับขยะเป็นประจำ

๖. สมั ภาษณผ์ รู้ ับผดิ ชอบการเก็บรวบรวมขยะ ขนย้ายออกจากอาคารทุกวนั

๗. สำรวจภาชนะรองรบั ขยะแยกประเภท พร้อมป้ายสญั ลกั ษณ์ หรือจดุ พกั ขยะรวม

๘. สำรวจและสัมภาษณ์ผู้รับผิดชอบดูแลการป้องกันและควบคุมแมลงและสัตว์ท่ีเป็น

พาหะนำโรค

๙. เป็นแหล่งเรียนรู้ศึกษาดูงาน ภาพถ่ายกิจกรรมสร้างสรรค์หรือส่งเสริมการมีส่วนร่วม

ของครู เดก็ และชมุ ชน



๑.๔.๗ จัดอุปกรณ์ภาชนะและเครื่องใช้ส่วนตัวให้เพียงพอกับการใช้งานของเด็กทุกคน

และดูแลความสะอาดและปลอดภัยอย่างสม่ำเสมอ



รายการพจิ ารณา

๑. มีอปุ กรณภ์ าชนะและเคร่อื งใช้สว่ นตัวสำหรับเดก็ ทุกคน

๒. จัดเกบ็ อยา่ งเหมาะสมและเป็นระเบยี บ

๓. อุปกรณม์ มี าตรฐาน สะอาด เพยี งพอกับการใช้งาน

๔. มกี ารตรวจสอบอุปกรณเ์ ปน็ ระยะและจดั ให้อยู่ในสภาพพร้อมใชง้ าน


68

รายละเอียดการพจิ ารณา(๑.๔.๗_๑)

๑. มีอุปกรณ์ภาชนะและเคร่ืองใช้ส่วนตัวสำหรับเด็ก ได้แก่ แปรงสีฟัน ถ้วยน้ำ/

กระตกิ นำ้ ชดุ นอน ผา้ เชด็ ตวั ผา้ เชด็ หน้า ที่ตดิ ปา้ ยชอื่

๒. มีท่ีวางอุปกรณ์และเครื่องใช้ส่วนท่ีวางเฉพาะของเด็กแต่ละคน และวางอย่างถูกต้อง

เช่น แปรงสีฟันต้องเอาด้ามลง สำหรับผ้าเช็ดหน้า ผ้าเช็ดตัว ผ้ากันเป้ือน ต้องเก็บ

เป็นสัดส่วน และมีสัญลักษณ์ท่ีบอกให้รู้ว่าเป็นของเด็กเฉพาะแต่ละคน รวมทั้ง

ตรวจสอบการใชง้ านอยา่ งสมำ่ เสมอ

๓. อปุ กรณม์ มี าตรฐาน มอก.

ขอ้ มลู ประกอบการพจิ ารณา

๑. การเยยี่ มชม และสงั เกต

๒. มีภาพถ่าย

๓. อุปกรณ์ ภาชนะและเครื่องใช้ส่วนตัวของเด็กจัดวางอยู่ในตำแหน่งท่ีเอื้อต่อการจัด

กิจกรรมของเด็ก

๔. จำนวนอุปกรณ์ ภาชนะและเครื่องใช้ส่วนตัวของเด็กเพียงพอและใช้สอยในการ

ดำเนนิ กจิ กรรมประจำวนั อย่างเหมาะสม คุ้มคา่

๕. ระบบรกั ษาความสะอาด




69

ตวั บง่ ชท้ี ี่ ๑.๕ การส่งเสริมการมีสว่ นร่วมของครอบครวั และชุมชน




๑.๕.๑ มีการส่ือสารเพื่อสร้างความสัมพันธ์และความเข้าใจอันดีระหว่างพ่อแม่/ผู้ปกครอง

กับสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยเก่ียวกับตัวเด็กและการดำเนินงานของสถานพัฒนา

เด็กปฐมวยั



รายการพจิ ารณา

๑. มกี ารแลกเปลย่ี นเรียนรูอ้ ยา่ งตอ่ เนอ่ื ง

๒. มพี ้ืนท่ีหรอื ชอ่ งทางประชาสมั พนั ธ์

๓. มีการประเมนิ กิจกรรมเพ่ือพฒั นา

๔. มกี ารสร้างเครอื ข่ายพ่อแม/่ ผปู้ กครอง/ครอบครัว

รายละเอียดการพิจารณา(๑.๕.๑_๑)

๑. มีการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อสร้างความสัมพันธ์และความเข้าใจอันดี

ระหว่างพ่อแม่/ผู้ปกครอง/ครอบครัว กับสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย เช่น กิจกรรม

ปฐมนิเทศ ประชุมผู้ปกครอง ให้ความรู้สื่อสารสัมพันธ์ทั้งระดับบุคคล กลุ่ม ชุมชน

การเยีย่ มบ้าน กจิ กรรมทางศาสนา และกจิ กรรมบำเพ็ญประโยชน์ เปน็ ต้น

๒. มีพื้นที่หรือช่องทางประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการดำเนินงานของสถานพัฒนา

เด็กปฐมวัยและความรทู้ ี่เกีย่ วกับการพฒั นาเดก็ เชน่ ปา้ ยนเิ ทศ มมุ เรยี นรผู้ ปู้ กครอง

และสอ่ื ออนไลนต์ ่างๆ เปน็ ต้น

๓. มีการประเมินกิจกรรมสารสัมพันธ์ต่างๆ เพื่อนำไปปรับปรุงพัฒนากิจกรรมในคร้ัง

ต่อๆ ไป ให้ดยี ิ่งขน้ึ

ขอ้ มลู ประกอบการพิจารณา

๑. บันทกึ การประชุม

๒. ภาพถ่าย

๓. บนั ทึกการจดั กิจกรรม

๔. แผนจดั กิจกรรมประจำปี

๕. บอร์ดประชาสัมพนั ธก์ ิจกรรมสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั ฯ ภายนอกอาคาร

๖. เอกสารแผน่ พบั ความรู้ตา่ งๆ

๗. พน้ื ทก่ี ารเรยี นรสู้ ำหรบั ผปู้ กครองหรอื ชอ่ งทางอนื่ ๆ เชน่ เสยี งตามสาย Application Line




70

๑.๕.๒ การจัดกจิ กรรมที่พอ่ แม/่ ผูป้ กครอง/ครอบครัว และชมุ ชน มีสว่ นร่วม



รายการพจิ ารณา

๑. มีการจดั ประชมุ ผู้ปกครองอยา่ งน้อยปีละ ๒ คร้งั

๒. มีการจัดกจิ กรรมทพ่ี ่อแม่ ผู้ปกครอง ครอบครวั และชุมชนมสี ่วนร่วมในโอกาสสำคญั

ต่างๆ ตามประเพณี ศาสนา และวฒั นธรรมของชุมชน

๓. มกี ารประเมนิ กิจกรรมเพ่ือนำไปปรับปรุง

๔. มีการสรา้ งเครือข่ายชมุ ชน

รายละเอียดการพิจารณา(๑.๕.๒_๑)

๑. มีการจัดกิจกรรมท่ีให้พ่อแม่/ผู้ปกครอง/ครอบครัว และชุมชนได้มีโอกาสพบปะ

แลกเปล่ียนประสบการณ์ความรู้ต่างๆ อาจจัดข้ึนในโอกาสสำคัญตามเทศกาลต่างๆ

สอดคล้องกับประเพณี ศาสนา และวัฒนธรรม หรือการจัดประชมุ ผปู้ กครอง โดยจัด

กจิ กรรมดงั กลา่ วอย่างน้อยปลี ะ ๒ ครั้ง

๒. มีการประเมินกิจกรรมที่จัดเพ่ือส่งเสริมความสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมของ

ครอบครัว เพอื่ นำมาปรับปรงุ และพัฒนาใหเ้ กดิ ผลทีด่ ยี ง่ิ ขน้ึ

๓. มีการกำหนดรูปแบบและกิจกรรมความร่วมมือของชุมชน เพ่ือส่งเสริมเครือข่าย

การพฒั นาเดก็ ปฐมวัย การพัฒนาครู และสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวัย ให้มคี วามเขม้ แขง็

ไดต้ ามบริบท สงั คม และวฒั นธรรมของแต่ละพ้ืนท่ี เช่น หอ้ งสมดุ ของเล่น

๔. มีการจัดต้ังเครือข่ายพ่อแม่ผู้ปกครอง เพื่อเป็นแหล่งแลกเปล่ียนเรียนรู้ระหว่าง

พ่อแม่ผู้ปกครองกันเอง เป็นการเปิดโอกาสให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการพัฒนาสถาน

พฒั นาเด็กปฐมวยั

ข้อมูลประกอบการพิจารณา

๑. บนั ทึกการประชมุ

๒. ภาพถ่าย

๓. บนั ทึกการจัดกิจกรรม

๔. แผนจัดกิจกรรมประจำป

๕. บันทกึ ข้อมูลการสอ่ื สารกบั ผปู้ กครอง




71

๑.๕.๓ ดำเนินงานให้สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยเป็นแหล่งเรียนรู้แก่ชุมชนในเรื่องการพัฒนา

เด็กปฐมวยั



รายการพจิ ารณา

๑. มกี ารเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ขา่ วสาร หรอื ความรู้ที่หลากหลายและทนั สมัย

๒. มีการประสานเชื่อมโยงเครือข่ายภูมิปัญญาท้องถ่ินหน่วยงานภายนอกทั้งภาครัฐและ

เอกชน เพอื่ พฒั นาการดำเนินงานในสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย

๓. มีการจัดกิจกรรมอย่างสม่ำเสมอและมีสมาชิกในชุมชนสนับสนุนการดำเนินงานของ

สถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัย

รายละเอียดการพิจารณา

๑. สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยมีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข่าวสารหรือความรู้ต่างๆ

ท่ีเกี่ยวข้องกับการพัฒนาเด็กปฐมวัยให้แก่ชุมชนโดยเป็นข้อมูลท่ีมีความทันต่อ

ยุคสมยั และมีความหลากหลาย

๒. สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยร่วมกับหน่วยงานอ่ืนๆ ทั้งสังกัดหน่วยงานของรัฐ

ภาคเอกชน สถาบันการศึกษา เครือข่ายภูมิปัญญาท้องถ่ิน หรือองค์กรปกครอง

ส่วนทอ้ งถิ่น ดำเนนิ การตา่ งๆ เพื่อพฒั นาสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวัย

๓. สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยมีการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของครอบครัว

และชุมชน เป็นประจำ สมำ่ เสมอ และมีสมาชกิ ในชุมชนมสี ว่ นรว่ มในการดำเนนิ งาน

ตา่ งๆ ที่เก่ียวขอ้ งกับสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั

ข้อมูลประกอบการพิจารณา

๑. บนั ทกึ การประชุม

๒. ภาพถ่าย

๓. บันทึกการจัดกจิ กรรม

๔. แผนจดั กิจกรรมประจำปี

๕. หอ้ งสมดุ ของเลน่ และส่อื

๖. การจัดเสวนาเปน็ ระยะๆ




72

๑.๕.๔ มคี ณะกรรมการสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั



รายการพจิ ารณา

๑. มีการจดั ตงั้ คณะกรรมการสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั

๒. คณะกรรมการฯ มีการประชุมอยา่ งนอ้ ยปีละ ๑ คร้งั

๓. คณะกรรมการฯ มีบทบาทในการกำหนดทิศทางและบริหารสถานพัฒนา

เด็กปฐมวยั

๔. คณะกรรมการฯ มีส่วนร่วมในการติดตามและประเมินคุณภาพสถานพัฒนา

เด็กปฐมวยั

รายละเอยี ดการพจิ ารณา

๑. มีการจัดตั้งคณะกรรมการสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยโดยให้มีจำนวนคณะกรรมการฯ

ไม่น้อยกว่า ๓ คน ประกอบด้วย ผู้ทรงคุณวุฒิหรือผู้แทนด้านการศึกษา ผู้แทน

ชุมชน และผู้ปกครอง ซ่ึงองค์ประกอบอ่ืนๆ ของคณะกรรมการฯ ให้เป็นไปตาม

ความเหมาะสมของสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั หรือตามท่หี นว่ ยงานตน้ สังกัดกำหนด

๒. มีการประชมุ คณะกรรมการฯ ปีการศกึ ษาละไม่นอ้ ยกวา่ ๑ ครั้ง

๓. มีหน้าท่ีกำหนดแนวทางส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานของสถานพัฒนา

เด็กปฐมวัยในด้านต่างๆ ให้ได้คุณภาพและมาตรฐาน มีส่วนร่วมในการให้ข้อคิดเห็น

ข้อเสนอแนะ เก่ียวกับการดำเนินงาน และหาเครือข่ายมาสนับสนุนเพื่อพัฒนา

คณุ ภาพสถานพฒั นาเด็กปฐมวัย

๔. มีสว่ นรว่ มในการติดตามและประเมินคณุ ภาพภายในของสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั

ขอ้ มลู ประกอบการพิจารณา

๑. มีบนั ทึกการประชมุ หรือรายงานการประชุม

๒. มีภาพถ่าย


73

เอกสารอา้ งอิง, Website, QR Code

มาตรฐานด้านท่ี ๑




หมายเลขเอกสาร รายการ


๑.๑.๑_๑, ๑.๒.๑_๑, กรมส่งเสรมิ การปกครองสว่ นท้องถนิ่ กระทรวงมหาดไทย. มาตรฐาน

๑.๒.๒_๑, ๑.๒.๓_๑, การดำเนนิ งานศนู ย์พัฒนาเด็กเลก็ ขององค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น

๑.๒.๔_๑, ๑.๕.๑_๑ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙.

http://www.dla.go.th/upload/ebook/column/2017/4/


2199_5930.pdf

๑.๑.๒_๒ ค่มู อื แนวทางการจดั ทำหลักสูตรศูนยพ์ ฒั นาเด็กเล็ก กรมสง่ เสริมการปกครอง


ท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย

๑.๒.๑_๒, ๑.๒.๒_๒, กฎกระทรวงกำหนดหลกั เกณฑ์ วิธกี าร และเงื่อนไขในการขอรบั ใบอนญุ าต

๑.๒.๒_๓, ๑.๒.๓_๒, จัดต้งั สถานรับเลีย้ งเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๙ ออกตามความแหง่ พระราชบัญญตั


.๒.๔_๒ คมุ้ ครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖


๑.๒.๑-๓, ๑.๒.๓_๓, ข้อกำหนดของสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ตามหน่วยงานต้นสงั กดั


.๒.๔_๓

๑.๒.๑_๔, ๑.๔.๓_๑, สำนกั อนามัยส่งิ แวดล้อม กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. คูม่ ือ


๑.๔.๖_๑, ๑.๔.๗_๑, การดำเนินงานโครงการศูนย์เด็กเล็กนา่ อยู่ สู่เมอื งไทยแขง็ แรง, ๒๕๔๙.

๑.๒.๑_๕, ๑.๔.๓_๒, สำนักโภชนาการ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข. คมู่ ือแนวทางพฒั นา


.๔.๖_๒, ตำบลสง่ เสริมเดก็ ๐-๕ ปี, ๒๕๖๐.


๑.๒.๓_๑, ๑.๔.๒_๒ สำนักโรคติดต่อทว่ั ไป กรมควบคมุ โรค กระทรวงสาธารณสุข.

เว็บไซต์ E-Learning สำหรบั ผูด้ แู ลเดก็ ศนู ยเ์ ด็กเล็กโรงเรียนอนบุ าลคุณภาพ

ปลอดโรค.


http://27.254.33.52/healthypreschool/home

๑.๓.๑_๑, ๑.๓.๒_๑, วิศวกรรมสถานแหง่ ประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถัมภ.์ มาตรฐาน

๑.๓.๓_๑, ๑.๓.๔_๑, ความปลอดภัยสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวัยดา้ นอาคารและสง่ิ แวดลอ้ ม.

๑.๓.๘_๑ กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั , ๒๕๕๗.


http://www.csip.org

๑.๓.๑_๒, ๑.๓.๒_๒, งามตา รอดสนใจ และ อดศิ ักด์ิ ผลิตผลการพิมพ์. ค่มู ือศูนยเ์ ดก็ เลก็ ปลอดภยั

๑.๓.๓_๒, ๑.๓.๔_๒, (พิมพ์คร้ังท่ี ๓). กรุงเทพฯ : ศนู ยว์ ิจัยเพอ่ื สรา้ งเสริมความปลอดภัยและ

๑.๓.๕_๒, ๑.๓.๖_๑, ป้องกันบาดเจบ็ ในเดก็ , ๒๕๕๑.




74

หมายเลขเอกสาร รายการ


.๓.๗_๑, ๑.๓.๘_๑ http://resource.thaihealth.or.th/library/12141

๑.๓.๑_๓, ๑.๓.๒_๓, อดศิ กั ด์ิ ผลิตผลการพิมพ์ และ งามตา รอดสนใจ. หนว่ ยที่ ๑๕ การประเมิน

๑.๓.๔_๓, ๑.๓.๕_๓ การจดั สภาพแวดลอ้ มเพือ่ ความปลอดภยั และพัฒนาการเด็กปฐมวัย.

มหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช, ๒๕๕๗.


http://stoubook.stou.ac.th/product/3676/21009

๑.๓.๒_๔, ๑.๓.๓_๓ อดศิ กั ด์ิ ผลิตผลการพมิ พ์. ขอ้ กำหนดความปลอดภัยของสนามเด็กเลน่

อปุ กรณเ์ ครือ่ งเลน่ การติดต้งั การบำรุงรักษา ผู้ดแู ลการเล่น, ๒๕๔๕.


http://www.factsforlifethai.cf.mahidol.ac.th/injury/Rule.pdf

๑.๓.๔_๔ สำนักงานมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม กระทรวงอตุ สาหกรรม มาตรฐาน

เลขที่ มอก. ๑๐๒๕-๒๕๓๔


www.fio.co.th/p/tisi_fio/fulltext/TIS1025-2539.pdf

๑.๓.๔_๕ อดิศกั ดิ์ ผลติ ผลการพมิ พ์. สอื่ การเรยี นรู้เพ่ือป้องกนั อุบตั ิเหตใุ นเด็กปฐมวัย :

สำหรบั บุคลากรทางการแพทย์-สาธารณสุขและผู้ดแู ลเด็กปฐมวยั , ๒๕๖๐.


http://csip.org/parent/learningcenter.html

๑.๓.๕_๑ สำนักงานมาตรฐาน ผลติ ภณั ฑอ์ ตุ สาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม มาตรฐาน

เลขท่ี มอก. ๖๘๕-๒๕๔๐


http://www.fio.co.th/p/tisi_fio/fulltext/TIS685_2-2540

๑.๓.๘_๒ กระทรวงมหาดไทย กฎกระทรวง ฉบบั ที่ ๓๓ (พ.ศ. ๒๕๓๕) ฉบับที่ ๓๙

(พ.ศ. ๒๕๓๗)

www.dpt.go.th/wan/lawdpt/data/02/109_11_170235_14.pdf


www.dpt.go.th/wan/lawdpt/data/02/111_23_230637_15.pdf

๑.๔.๑_๑ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. คู่มือการพัฒนาสู่องค์กรส่งเสริมเด็กไทย

เติบโตเต็มศักยภาพ.

http://nutrition.anamai.moph.go.th/images/file/คู่มือการพัฒนาองค์กร


ส่งเสริมเด็กไทยเตบิ โตเตม็ ศกั ยภาพ.pdf

๑.๔.๑_๒ โปสเตอร์กิจกรรมพืน้ ฐาน (Benefit package) ด้านโภชนาการในศนู ยเ์ ด็กเล็ก




75

หมายเลขเอกสาร รายการ

๑.๔.๑_๓ กราฟแสดงการเจริญเตบิ โตตามเกณฑอ์ า้ งอิงตามแพศและช่วงอายุ

ของกรมอนมัย กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๕๘ (ประยุกต์จากองค์การ

อนามัยโลก) บนเว็บไซด์สำนักโภชนาการ ได้แก่ กราฟความยาว/ส่วนสูงตาม


เกณฑ์อายุ น้ำหนักตามเกณฑค์ วามยาว/สว่ นสูง นำ้ หนักตามเกณฑ์อายุ

๑.๔.๒_๓ คมู่ อื การประเมิน ศูนยเ์ ดก็ เล็กปลอดโรค สำนักโรคตดิ ตอ่ ทั่วไป


กรมควบคมุ โรค กระทรวงสาธารณสุข

๑.๔.๒_๑ สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. แนวทาง

การป้องกันควบคุมโรคติดต่อในศูนย์เด็กเล็ก (สำหรับครูและผู้ดูแลเด็ก).

พมิ พค์ ร้งั ที่ ๒. กรุงเทพ: โรงพมิ พส์ ำนกั งานพระพุทธศาสนาแหง่ ชาติ, ๒๕๕๔.


http://itnan1.ednan1.go.th/uploads/00443-0.pdf

๑.๔.๓_๓ การพัฒนาพื้นทีเ่ ลน่ สรา้ งเสริมสขุ ภาวะของเดก็ ปฐมวัยและวัยประถมศึกษา


http://www.healthstation.in.th/action/viewvideo/๔๐๘๘/

๑.๔.๔_๑ กระทรวงศึกษาธิการ. หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐.


กรงุ เทพ: โรงพิมพ์ชมุ นุมสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จำกัด., ๒๕๖๐.

๑.๔.๔_๒ วรนาท รักสกุลไทย. สุดยอดเทคนิคการจัดการเรียนรู้แบบครูมืออาชีพ.


กรงุ เทพ: สำนักพมิ พ์แฮปป้เี ลินน่ิง, ๒๕๕๔

๑.๑.๒_๑, ๑.๔.๔_๓ ASEAN EARLY CHILDHOOD CARE, DEVELOPMENT AND EDUCATION

QUALITY STANDARDS

http://asean.org/storage/๒๐๑๗/๐๓/ASEAN-ECCDE-Quality-


Standards-Final.pdf

๑.๔.๕_๑ Public Buildings Service Office of Child Care. Child Care Center


Design Guide U.S General Services Administration, 2003.

๑.๔.๕_๒ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน. คู่มือมาตรฐานการดำเนินงานศูนย์พัฒนา

เด็กเล็กขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น


กระทรวงมหาดไทย.

๑.๔.๕_๓ สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย. เกณฑ์มาตรฐานส้วมสาธารณะระดับ

ประเทศ HAS. บริษทั สามเจรญิ พาณิชย (กรุงเทพ) จำกดั , ๒๕๕๖.




76

หมายเลขเอกสาร รายการ

๑.๔.๕_๔, ๑.๔.๖_๔ สำนกั สง่ เสรมิ สขุ ภาพ กรมอนามัย. คมู่ ือมาตรฐานศนู ยเ์ ด็กเลก็ คณุ ภาพ


(ปรบั ปรุงครั้งที่ ๑), ๒๕๕๗.

๑.๔.๖_๓ สำนักอนามัยส่ิงแวดล้อม กรมอนามัย. คู่มือการจัดการอนามัยส่ิงแวดล้อม

ในโรงเรียน. โครงการผลิตส่ือและมัลติมิเดีย. สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี

(ไทย-ญ่ีปุน่ ), ๒๕๖๐.
























77

ภาคผนวก

มาตรฐานดา้ นที่ ๑




สญั ลักษณ์ ภาคผนวก


*๑ ปรชั ญาการศึกษาปฐมวัย

(๑.๑.๒) “การศึกษาปฐมวัย เป็นการพัฒนาเด็กต้ังแต่แรกเกิดถึง ๖ ปีบริบูรณ์ อย่างเป็น

องค์รวมบนพื้นฐานการอบรมเลี้ยงดู และการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ที่สนองต่อ

ธรรมชาติ และพัฒนาการตามวัยของเด็กแต่ละคนให้เต็มตามศักยภาพ ภายใต้บริบท

สังคมและวัฒนธรรมท่ีเด็กอาศัยอยู่ด้วยความรัก ความเอื้ออาทร และความเข้าใจของ

ทกุ คน เพอ่ื สรา้ งรากฐานคณุ ภาพชวี ติ ใหเ้ ดก็ พฒั นาไปสคู่ วามเปน็ มนษุ ยท์ ส่ี มบรู ณ์ เกดิ คณุ คา่


ตอ่ ตนเอง ครอบครวั ชุมชน สังคม และประเทศชาติ”

กระทรวงศึกษาธิการ. หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐. กรุงเทพ:


โรงพิมพช์ มุ นมุ สหกรณ์ การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จำกดั ., ๒๕๖๐, หน้า ๒.

*๒ แบบบนั ทกึ การสำรวจคน้ หาจดุ เส่ยี ง (Safety Round Record)


(๑.๓.๑)

*๓ แบบประเมนิ สภาพแวดล้อมภายนอกอาคารเพอื่ ความปลอดภยั


(๑.๓.๒)

*๔ แบบคดั กรองความเสี่ยงของพน้ื ที่เล่น/สนามเด็กเลน่


(๑.๓.๓)

*๕ แบบประเมนิ สภาพแวดล้อมภายในอาคารเพ่ือความปลอดภยั


(๑.๓.๔)

*๖ แบบประเมินอปุ กรณ์ ผลติ ภณั ฑ์ เคร่อื งใชเ้ พ่อื ความปลอดภยั


(๑.๓.๔)

*๗ แบบประเมนิ ของเล่นเพอื่ ความปลอดภัย


(๑.๓.๕)

*๘ แบบบันทึกผลติ ภัณฑ์ ของเล่น ของใชอ้ ันตราย


(๑.๓.๕)

*๙ แบบประเมินการเดินทางท่ีปลอดภยั สำหรับเด็กปฐมวยั

(๑.๓.๖)




78


ญั ลักษณ์ ภาคผนวก


*๑๐ แบบบันทึกการบาดเจ็บรายบุคคล


(๑.๓.๗)

*๑๑ แบบประเมินระบบอคั คีภยั


(๑.๓.๘)

*๑๒ การจดั อาหาร

(๑.๔.๑) จดั รายการอาหารลว่ งหน้า ๑ เดอื น หรืออย่างนอ้ ย ๑ สปั ดาห์ โดยใหม้ อี าหาร (ทง้ั กบั ขา้ ว

และขนมหวาน) ทใ่ี ชน้ ำ้ มนั เนย หรอื กะทิ มื้อละ ๑ อย่าง

๑. จัดอาหารให้ครบ ๕ กลุ่มอาหาร ไดแ้ ก่ กลุม่ ขา้ วแป้ง กล่มุ ผกั กล่มุ ผลไม้ กลมุ่ เน้อื สัตว

และกล่มุ นม ทกุ วันโดยอาหารกลมุ่ ผกั และผลไมม้ ีความหลากหลาย

๒. จดั อาหารกลางวนั

■ มผี กั เปน็ สว่ นประกอบทุกวนั (ไม่รวมผักชี ตน้ หอม)

■ มกี ลุม่ เนอ้ื สัตวต์ ามความถีด่ งั น้

❖ ตบั หรอื เลือดสปั ดาห์ละ ๑-๒ คร้งั

❖ ไข่ สัปดาห์ละ ๑-๒ ครั้ง

❖ เน้อื สตั ว์อนื่ ๆ เช่น ปลา หมู ไก่ สปั ดาหล์ ะ ๑-๒ ครง้ั

■ ผกั และเน้ือสตั วม์ ขี นาดเล็กและอ่อนนุ่ม

๓. จดั อาหารว่างที่มคี ุณค่าทางโภชนาการ

■ นมสดรสจดื คนละ ๑ กล่อง/ถุง (ขนาด ๒๐๐ ซซี )ี ตอ่ วนั

■ จดั ผลไมท้ กุ วนั คนละ ๑-๒ สว่ น ต่อวนั

■ อาหารว่างชนิดอื่นๆ สามารถจดั เพมิ่ ได้

❖ พืชหัว เช่น ข้าวโพดต้ม มันเทศต้ม เป็นต้น คนละ ½ ทัพพีต่อครั้ง (หากจัด

อาหารกลุม่ น้ีให้ลดข้าวในปรมิ าณเดียวกัน)

❖ ถ่ัวเมล็ดแห้ง เช่น ถั่วลิสงต้ม เป็นต้น คนละ ๑ ช้อนกินข้าว (ไม่รวมเปลือก)

ต่อครง้ั

❖ ขนมไทยรสไม่หวานจดั โดยมีอาหารกลุม่ ข้าว-แปง้ (พชื หัว) กล่มุ ผกั กลมุ่ ผลไม

กลุ่มเนื้อสัตว์ (ถั่วเมล็ดแห้ง) หรือนม เป็นส่วนประกอบ คนละ ๑ ชิ้นกลาง/

ถ้วยเล็ก ต่อคร้ัง เช่น ข้าวต้มมัดไส้กล้วย ๑ กลีบเล็ก เต้าส่วน ๑ ถ้วยเล็ก

เป็นต้น

❖ อาหารว่างอื่นๆ ท่ีมีกลุ่มผัก กลุ่มผลไม้ กลุ่มเน้ือสัตว์ (ถ่ัวเมล็ดแห้ง) หรือนม

เปน็ สว่ นประกอบ เชน่ ซาลาเปาไส้หมู ๑ ลกู เลก็ เป็นตน้

๔. ใชเ้ กลือหรือเครือ่ งปรงุ รสเคม็ เสริมไอโอดีนในการปรุงอาหารทกุ ครัง้

๕. จัดให้มีปริมาณอาหารเพียงพอตามวัยโดยใช้โปรแกรม school lunch program

เพ่ือคำนวณปริมาณอาหารดิบที่ต้องจัดซื้อในแต่ละวัน หรือใช้คู่มือการจัดอาหาร

สำหรับสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั




79


ัญลกั ษณ์ ภาคผนวก


การเฝา้ ระวังการเจรญิ เตบิ โต

๑. จัดให้มีเครื่องช่ังน้ำหนักและเคร่ืองวัดความยาว/ส่วนสูงที่ได้มาตรฐาน และติดต้ัง

ถูกต้อง มีคู่มือวิธีการติดต้ัง ช่ังน้ำหนัก วัดความยาว/ส่วนสูง และการแปลผล

การเจรญิ เติบโต โดยพจิ ารณาจาก

๑) จัดหาเคร่ืองชง่ั น้ำหนกั ท่มี ีความละเอยี ด ๑๐๐ กรมั (๐.๑ กิโลกรมั ) และเครอ่ื งวัด

ความยาว/ส่วนสูง ตัวเลขชัดเจน มีความละเอียด ๐.๑ เซนติเมตร และมีไม้ฉาก

สำหรบั วดั ความยาว/สว่ นสงู

๒) วางเครื่องชั่งนำ้ หนกั บนพืน้ เรียบและมแี สงสว่างเพียงพอสำหรบั การอ่านตัวเลข

๓) ติดต้ังเคร่ืองวัดส่วนสูงให้ถูกต้องโดยวางทาบกับผนังหรือเสาที่ตั้งฉากกับพ้ืน

ยึดให้แน่น ไม่โยกเย้ ไม่เอียง และบริเวณท่ีเด็กยืน พ้ืนต้องเรียบได้ระดับ ไม่เอียง

ไมน่ ูน และมีไมฉ้ าก สำหรบั วัดคา่ สว่ นสงู ในกรณที เ่ี คร่ืองวดั สว่ นสูง ทเี่ ปน็ กระดาษ

ต้องระมัดระวังในการติดต้ัง เน่ืองจากตัวเลขเริ่มต้นของแผ่นวัดความสูงไม่เท่ากัน

บางแผ่นเร่ิมต้นท่ี ๕๐ เซนติเมตร บางแผ่นเร่ิมต้นที่ ๖๐ เซนติเมตร จึงต้อง

วัดระยะท่ีติดต้ังสูงจากพ้ืนตามตัวเลขท่ีกำหนดบนแผ่นวัดส่วนสูง เช่น เร่ิมต้นท
ี่
๕๐ เซนตเิ มตร การตดิ ตัง้ ตอ้ งสงู จากพืน้ ท่เี ด็กยนื ๕๐ เซนติเมตร เปน็ ตน้

๔) มีคู่มือวิธีการติดตั้ง ช่ังน้ำหนัก วัดความยาว/ส่วนสูง และการแปลผลการ

เจริญเติบโต

๒. จดั ใหม้ กี ารตรวจสอบเคร่อื งมอื อย่างน้อยปีละ ๑ ครั้ง โดยพิจารณาจาก

๑) กำหนดให้ตรวจสอบความเที่ยงตรงของเคร่ืองช่ังน้ำหนักก่อนนำมาใช้ทุกครั้ง

โดยการนำลูกตุ้มน้ำหนักมาตรฐานซึ่งบอกขนาดน้ำหนัก เช่น ๕ กิโลกรัม หรือ

๑๐ กิโลกรมั เปน็ ต้น หรือสิ่งของทีร่ ูน้ ้ำหนกั เช่น ดมั เบล วางบนเครอ่ื งช่งั น้ำหนัก

เพอื่ ดวู า่ ไดน้ ำ้ หนักตามน้ำหนกั ลกู ต้มุ หรอื สิง่ ของนั้นหรอื ไม

๓. จัดให้มีการบันทึกข้อมูลน้ำหนักส่วนสูง และมีกราฟการเจริญโตเป็นรายบุคคล

โดยพิจารณาจาก

๑) มแี บบบนั ทกึ ขอ้ มูลนำ้ หนักส่วนสงู

๒) จัดหากราฟการเจริญโตเป็นรายบุคคลท่ีตรงตามเพศ ได้แก่ กราฟความยาว/

สว่ นสูงตามเกณฑ์อายุ น้ำหนักตามเกณฑ์ความยาว/ส่วนสูง น้ำหนักตามเกณฑอ์ ายุ

๔. จัดใหม้ กี ารอบรมการจดั อาหาร การตกั อาหาร วิธีการตดิ ต้งั ชง่ั น้ำหนกั วัดสว่ นสงู

และการแปลผลการเจริญเตบิ โต โดยพิจารณาจาก

๑) จัดทำแผนและจัดอบรมหรือส่งไปอบรมให้มีทักษะการจัดอาหาร การตักอาหาร

การติดต้ัง เครื่องช่ังน้ำหนักและเคร่ืองวัดส่วนสูง วิธีชั่งน้ำหนัก วัดความยาว/

ส่วนสูง และการแปลผลการเจริญเติบโตทั้ง ๓ กราฟ




80


ัญลกั ษณ ์ ภาคผนวก


๕. จัดให้มียา เวชภัณฑ์ เคร่ืองมือและอุปกรณ์ที่จำเป็นสำหรับกรณีฉุกเฉินเบื้องต้น

ท่ีใชใ้ นการปฐมพยาบาลเด็ก โดยพจิ ารณาจาก

๑) จัดให้มียา เวชภัณฑ์ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่จำเป็นสำหรับกรณีฉุกเฉินเบ้ืองต้น

ที่ใช้ในการ ปฐมพยาบาลเด็ก เช่น ยาลดไข้ อุปกรณ์ทำแผลเบ้ืองต้น และ


ไมห่ มดอาย

*๑๓ แบบบันทกึ การไดร้ ับวัคซีน


(๑.๔.๒)

*๑๔ แบบบนั ทกึ ปัญหาสขุ ภาพและการดูแลเบือ้ งตน้


(๑.๔.๒)

*๑๕ แบบคัดกรองอาการปว่ ยรายหอ้ งเรียน


(๑.๔.๒)

*๑๖ ครูผู้ดูแลเด็กสามารถศึกษาหาความรู้เก่ียวกับการป้องกันควบคุมโรคติดต่อในศูนย์เด็กเล็ก

(๑.๔.๒) ด้วยระบบ E-Learning สำหรับผูด้ แู ลเด็ก website : ศนู ยเ์ ด็กเล็กโรงเรยี นอนุบาลคณุ ภาพ

ปลอดโรค































http://27.255.33.52/healthypreschool/home สำนกั โรคตดิ ตอ่ ทวั่ ไป กรมควบคมุ โรค

กระทรวงสาธารณสขุ




81


ัญลกั ษณ ์ ภาคผนวก


*๑๗ พืน้ ท่ีเตรยี มอาหาร/ครัวรวมทัง้ การขนส่งอาหารทส่ี ะอาด ถูกสขุ ลักษณะ

(๑.๔.๓) ๑. สถานทเี่ ตรยี ม ปรุงอาหาร แยกเป็นสัดส่วน สะอาด จัดได้เปน็ ระเบยี บ

๒. มีการระบายอากาศที่ดี ไม่มกี ลน่ิ ควนั เหม็นรบกวน มกี ารระบายน้ำทง้ิ ทด่ี

๓. ลักษณะโดยท่ัวไป เช่น พ้ืน ผนัง เพดาน เตา ทำจากวัสดุที่แข็งแรง คงทน และ

ทำความสะอาดงา่ ย

๔. มีอ่างสำหรบั ลา้ งอาหาร โต๊ะประกอบอาหาร และต้เู ยน็ เก็บอาหารท่ีสะอาด

๕. โต๊ะท่ีใช้เตรียมประกอบอาหาร มีความแข็งแรง สภาพดี พื้นผิวเรียบ สูงจากพื้น

อยา่ งนอ้ ย ๖๐ เซนติเมตร

๖. มีการปกปิดอาหารที่พร้อมบริโภคขณะขนส่ง (โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีการจ้างเหมา

ผู้ประกอบอาหารจัดส่งมาจากภายนอก) เพื่อป้องกันแมลงวันพาหนะนำโรค ฝุ่น

และส่ิงทีเ่ ปน็ พิษ

๗. มกี ารจดั เกบ็ อาหารและนม ในอณุ หภมู ทิ เี่ หมาะสมกับชนิดอาหาร

๘. มกี ารป้องกนั ไม่ให้เด็กเข้ามาในบริเวณเตรยี มและประกอบอาหาร

๙. ภาชนะใส่อาหารทำด้วยวัสดุที่ปลอดภัยและมีการตรวจสอบให้เป็นไปตามมาตรฐาน

เช่น สแตนเลส อลูมิเนียม เมลามีนสีขาวหรือสีอ่อน ไม่มีลวดลาย ไม่แตกง่าย และ

ไมม่ ีความคม

๑๐. เขียง มีด อยู่ในสภาพดี สะอาด มีการแยกใช้ตามประเภท ได้แก่ ผัก ผลไม้


เน้อื สตั วส์ ุก เนอ้ื สตั วด์ บิ

*๑๘ ความสะอาดและอุปกรณจ์ ำเป็นในห้องนำ้ หอ้ งส้วม

(๑.๔.๕) ๑. หอ้ งนำ้ หอ้ งส้วมสะอาด พนื้ ไม่ลื่น มีแสงสวา่ งเพียงพอ อากาศถ่ายเทสะดวก อปุ กรณ์

อยใู่ นสภาพดี ไม่ชำรดุ

๒. ห้องน้ำแยกส่วนออกจากห้องส้วม ห้องส้วมแยกชาย-หญิง และห้องน้ำเด็กแยกจาก

ห้องน้ำผู้ใหญ่

๓. โถส้วมของเด็กมีขนาดพอเหมาะกับตัวเด็ก หรือสามารถดัดแปลงให้เหมาะสมกับการ

ใช้งานของเด็กอย่างสะดวก ปลอดภัย และมีจำนวนโถส้วม โดยเฉลี่ยอย่างน้อย ๑ โถ

ตอ่ เดก็ ๑๐ คน

๔. มีสถานทีแ่ ปรงฟนั /ทลี่ ้างมือ อยู่ในระดบั ท่พี อเหมาะกับตัวเดก็ มีจำนวนกอ๊ กนำ้ สำหรับ

ล้างมือ ๑ ก๊อก ต่อเด็กจำนวน ๑๐ คนอยู่ในสภาพดีไม่ชำรุด และมีสบู่หรือน้ำยา

ล้างมือสำหรับเด็ก ควรฝึกให้เด็กล้างมือ ฟอกสบู่ ภายหลังการขับถ่าย และราดน้ำ

ทุกคร้ังหลงั ใช้สว้ ม

๕. มรี าวจบั หรอื อปุ กรณ์ความปลอดภยั อ่นื ในการใช้ส้วมของเดก็

๖. มอี ปุ กรณท์ ำความสะอาดห้องนำ้ ห้องสว้ ม เช่น ไม้ถพู น้ื นำ้ ยาทำความสะอาด ผา้ เชด็

ทำความสะอาด เปน็ ตน้ และมีการทำความสะอาดอยา่ งน้อยวนั ละ ๒ คร้งั




82


ัญลักษณ์ ภาคผนวก


๗. มีครูหรือเจ้าหน้าท่ีรับผิดชอบดูแลทำความสะอาดบริเวณห้องน้ำ ห้องส้วม สถานที

แปรงฟัน/ที่ล้างมือ และมตี ารางบนั ทกึ การทำความสะอาดประจำวนั


๘. ใช้เกณฑเ์ ดียวกบั หัวข้อห้องนำ้ /ห้องส้วม ทส่ี ำหรับแปรงฟนั

*๑๙ แบบบนั ทกึ ตารางการทำความสะอาด และเจา้ หน้าทร่ี บั ผดิ ชอบประจำวัน


(๑.๔.๕)

*๒๐ การจัดระบบสขุ าภบิ าลท่ีมีประสทิ ธิภาพ

(๑.๔.๖) ๑. ที่ล้างภาชนะ อุปกรณ์ ใช้อ่างที่มีก๊อกน้ำ และท่อระบายน้ำ วางสูงจากพ้ืนอย่างน้อย

๖๐ เซนติเมตร และบริเวณที่ล้างต้องมีการระบายนำ้ ทด่ี ี ไม่เฉอะแฉะ

๒. ล้างภาชนะ อุปกรณ์ด้วยน้ำยาล้างภาชนะ และน้ำสะอาดอีกอย่างน้อย ๒ คร้ัง

หรือล้างดว้ ยน้ำไหล

๓. ภาชนะ อุปกรณ์ท่ีล้างเสร็จแล้ว ต้องคว่ำให้แห้ง ห้ามเช็ด วางบนตะแกรง หรือ

ในตะกร้าโปร่งท่ีวางสูงจากพ้ืนอย่างน้อย ๖๐ เซนติเมตร เก็บในภาชนะหรือสถานท่

ทีส่ ะอาด มกี ารปกปิดปอ้ งกนั ฝุ่น

๔. นำ้ ดื่มต้องมีคุณลกั ษณะดงั น้

- เป็นน้ำต้มสุก หรือน้ำท่ีผ่านระบบการปรับปรุงคุณภาพแล้ว เช่น น้ำกรองที่ผ่าน

เคร่ืองกรองตามคำแนะนำของผลิตภัณฑ์น้ันๆ หรือน้ำบรรจุขวดที่ได้รับอนุญาต

จาก อย.

- ภาชนะบรรจุน้ำด่ืมต้องเป็นวัสดุที่ปลอดภัย สะอาด มีฝาปิดมิดชิด ถ้าเป็นคูลเลอร์

ต้องมีก๊อกน้ำปิดเปิดได้ การจัดวางสูงจากพื้นอย่างน้อย ๖๐ เซนติเมตร ไม่ถูก

แสงแดด สะดวกต่อใช้ดม่ื ของเดก็ และมีการทำความสะอาดทกุ วัน

๕. นำ้ ใช้ ต้องมีคณุ ลักษณะดงั นี้

- เป็นน้ำใสสะอาด เพียงพอ อาจเปน็ นำ้ ฝน นำ้ ประปา หรอื นำ้ บาดาล

- ภาชนะกักเก็บน้ำต้องสะอาด มีฝาปิดมิดชิด ไม่ร่ัวซึม จัดตั้งในท่ีปลอดภัยจาก

สิ่งปนเปือ้ น และไมเ่ ป็นอนั ตรายกับเด็ก

๖. ภาชนะที่ใช้รองรับขยะมีสภาพดี และมีฝาปิดมิดชิดขนาดเหมาะสม และดูแลถังขยะ

ให้สะอาด เป็นประจำ สามารถรองรับปริมาณขยะได้อย่างเพียงพอ มีการจัดเก็บ

ออกจากอาคารทกุ วัน

๗. มผี ู้รับผิดชอบการเก็บรวบรวมขยะ ขนย้าย เพอื่ ส่งไปกำจดั อยา่ งถกู วธิ ี

๘. จัดให้มีภาชนะรองรับขยะแยกประเภท พร้อมป้ายสัญลักษณ์ เช่น ขยะอินทรีย์หรือ

ขยะย่อยสลายได้ ขยะรไี ซเคิล ขยะทั่วไป ขยะอนั ตราย หรอื ขยะท่เี ป็นพิษ เป็นตน้

๙. มีมาตรการป้องกันแมลง และสัตว์ท่ีเป็นพาหะนำโรคในบริเวณท่ีพักขยะ โรงอาหาร

หอ้ งเรยี น เช่น การกำจัด แหล่งเพาะพันธุ์ยงุ การป้องกนั ควบคมุ หนู แมลงสาบ เป็นตน้

๑๐.  มีกิจกรรมที่สร้างสรรค์/เป็นแหล่งเรียนรู้ หรือกิจกรรมส่งเสริมเพ่ือให้ครู เด็ก และ

ชุมชนมีส่วนร่วมและมีการคัดแยกขยะอย่างถูกต้อง เช่น ธนาคารขยะ การทำน้ำหมัก

ชีวภาพ เปน็ ต้น






83

*๒ (๑.๓.๑) แบบบันทกึ การสำรวจค้นหาจดุ เสยี่ ง (Safety Round Record)


(แบบบนั ทึกที่ ๑.๓.๑)*๒(๑.๓.๑)




แบบบนั ทึกการสำรวจคน้ หาจุดเส
ีย่ ง (Safety Round Record)


สำรวจจุดเสี่ยงตอ่ การเกดิ อนั ตราย


วนั ทสี่ ำรวจ ……………………/…………………………/……………..……..


ลำดบั จุดที่ ...............................................


ผู้สำรวจ .............................................................................................................................................

๑. จดุ เสย่ี ง/ จุดอันตรายที่ตรวจพบ ( สถานท่แี ละลักษณะที่พบ )



๒. จุดเสี่ยง/ จดุ อันตรายนเ้ี คยกอ่ ให้เกิดการบาดเจบ็ มากอ่ นหรือไมอ่ ยา่ งไร



๓. ทำไมคดิ ว่าจุดเสีย่ ง/ จุดอนั ตรายนี้จะกอ่ ให้เกิดการบาดเจบ็ ไดอ้ ยา่ งไร



๔. รูปภาพจุดเส่ยี ง หรอื แผนท่ีจุดเสีย่ ง ( รปู ถ่ายจริง หรือรูปลายเส้น แลว้ แต่กรณี )






๕. ท่านคดิ ว่าจดุ เสยี่ งนม้ี โี อกาสก่อใหเ้ กิดการบาดเจ็บมากนอ้ ยเพียงใด (ทำเครื่องหมายทช่ี อ่ ง)

มโี อกาสน้อยมาก มีโอกาสปานกลาง มโี อกาสมาก


๑๐% ๒๐% ๓๐% ๔๐% ๕๐% ๖๐% ๗๐% ๘๐% ๙๐% ๑๐๐%





๖. ทา่ นคดิ ว่าวิธกี ารใดจงึ จะเหมาะสมทส่ี ดุ ในการแก้ไขจดุ เสี่ยงน
้ี






๗. อุปสรรคในการแกไ้ ข










84

*๓ (๑.๓.๒) แบบประเมนิ สภาพแวดล้อมภายนอกอาคารเพอื่ ความปลอดภัย





แบบประเมนิ สภาพแวดล้อมภายนอกอาคารเพ่อื ความปลอดภัย

ประเมินวันท่ี .............................................................. คร้ังท…ี่ ………………………..



ผู้ประเมนิ .............................................................................


รายการ
รายละเอียด ใช ่ ไมใ่ ช


ประเมนิ

โครงสร้าง มีความมนั่ คงแข็งแรงมขี อบเขตและทาง เข้า-ออกท่ีชดั เจน


และตวั อาคาร

มลพิษ ท่ีตั้งอาคารห่างจากสถานีบริการเชื้อเพลิง และสถานที่เก็บเชื้อเพลิง

ในรัศมีไม่น้อยกว่า ๒๐๐ เมตร เว้นแต่แสดงให้เห็นว่ามีมาตรการ


ปอ้ งกันความเสย่ี งอนั ตรายดงั กล่าว


ท่ีตั้งอาคารห่างจากที่ท้ิงขยะอุตสาหกรรมในรัศมีไม่น้อยกว่า

ครึ่งกิโลเมตร เว้นแต่แสดงให้เห็นว่ามีมาตรการป้องกันความเสี่ยง


อันตรายดงั กลา่ ว


ไมม่ โี รงงาน เหมอื งแร่ ทีพ่ ่นควัน ฝุ่นละออง หรอื สง่ กลิ่นเหม็น เขา้ มา


เขตท่ตี ง้ั ของอาคาร


ไม่มีโรงงานท่ีมีความเสี่ยงต่อการฟุ้งกระจายสารพิษ เช่น โรงชุบโลหะ

โรงหล่อหลอม โรงงานแบตเตอร่ี โรงงานรีไซเคิล ในระยะห่างจาก


ที่ตั้งอาคารไม่นอ้ ยกวา่ ครง่ึ กโิ ลเมตร


ไม่มีการใช้ยาฆ่าแมลงหรือยากำจัดศัตรูพืชแบบฟุ้งกระจายในเขตท่ีตั้ง


ของอาคาร


ไมม่ ีแหล่งน้ำเสียท่สี ่งกลิน่ เหม็นเขา้ มาในเขตทตี่ ง้ั ของอาคาร




85

รายการ รายละเอยี ด ใช่ ไมใ่ ช



ประเมิน

ปรร้วั ะแตลรู ะวั้ รปว้ั รมะีคตวูราั้วมมมั่น่ันคคงงแแข
ข็งง็ แแรรงง ไมมีก่ชาำรรตุดรวไจมเป่มน็ีโอปกราะสจลำ้ม
หรือหลุดออกจากราง


รางประตไู ม่คดงอ ไม่บดิ เบีย้ ว


ประตรู ัว้ มคี วามกวา้ งไม่นอ้ ยกวา่ ๒.๐๐ เมตร มจี ุดรองรับ และจุดล๊อค


ทีแ่ น่นหนากันลม้


ไม่มีการทรุดตัวของพ้ืนบริเวณรางประตู การทรุดตัวของพ้ืนหน้าประต


ทำใหล้ อ้ มโี อกาสวิง่ ออกนอกราง


แหล่งนำ้ บริเวณที่เด็กเข้าถึง ต้องไม่มีแหล่งน้ำที่เด็กอาจตกและจมได้ เช่น

บอ่ นำ้ บอ่ ปลา สระนำ้ หรือท่กี กั เก็บน้ำ เวน้ แตม่ รี วั้ มคี วามแขง็ แรงและ

ความสูงอย่างน้อย ๙๐ เซนติเมตร กั้นแหล่งน้ำไม่ให้เด็กเข้าถึง


ได้โดยลำพงั หรือมฝี าท่ีแข็งแรงปิดอย่างมดิ ชดิ


ถนน หนา้ สถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั มที างขา้ มสำหรบั เดก็ มที างเทา้ ทเี่ หมาะสม

ไม่แคบ ไม่มีการวางของหรือจอดรถบนทางเท้าจนไม่สามารถเดินได้


ทำให้เดก็ หรือผูด้ แู ลต้องเดนิ ลงมาบนผวิ การจราจร


ยานพาหนะในสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยใช้ความเร็วไม่สูง (น้อยกว่า

๓๐ กิโลเมตรต่อชั่วโมง) มีการออกแบบหรือติดต้ังอุปกรณ์บนถนน


เพ่อื ชะลอความเรว็


บริเวณพ้ืนที่เล่นของเด็ก เช่น สนามเด็กเล่น มีการก้ันรั้วแยกพ้ืนท่ีเล่น


และการจราจรออกจากกัน ปอ้ งกนั เดก็ วง่ิ ออกสถู่ นนขณะเล่น


สนุ ขั จรจดั ไม่มีสนุ ัขจรจดั และสัตว์อ่ืนในพ้นื ท่ขี องเดก็ ท่ีอาจกดั หรอื ทำร้ายเดก็ ได ้


และสตั วอ์ ่นื

การกำจดั ขยะ มีการจัดระบบสุขาภิบาล การระบายน้ำ และการจัดเก็บสิ่งปฏิกูล

ส่ิงปฏกิ ลู ให้เหมาะสม ไม่ปล่อยให้เป็นแหล่งเพาะ หรือแพร่เชื้อโรค และ


มีการกำจัดสิ่งปฏกิ ลู ทุกวัน


ต้นไม ้ ไม่มียาง ไม่มีหนาม หรือต้นไม้ประเภทท่ีมีลูกอาจหล่นลงมา

เปน็ อนั ตรายตอ่ เด็ก




86

รายการ รายละเอยี ด ใช ่ ไมใ่ ช



ประเมนิ


สนามเดก็ เลน่ เครือ่ งเลน่ สนามยึดตดิ ฐานราก มั่นคง ไม่สามารถยกเคลื่อนยา้ ยได้


บรเิ วอณาภคาายรนอก เคร่อื งเลน่ สนามมคี วามสูงไมเ่ กนิ ๑๒๐ เซนติเมตร


พื้นสนามเป็นทรายลึก ๓๐ เซนติเมตร หรือมากกว่า หรือเป็น

ยางสังเคราะห์ที่มีคุณภาพสามารถลดแรงกระแทกไม่หลุดลอก ไม่เป็น


พ้นื แขง็ เชน่ ปูน ยางมะตอย หรือดินแข็ง


อุปกรณ์เคร่ืองเล่นติดตั้งห่างกัน อย่างน้อย ๑๘๐ เซนติเมตรโดยรอบ


ตัวเครอ่ื งเล่น



มีผูเ้ ฝ้าดแู ลการเลน่ ของเด็ก



มีการตรวจเช็คและบำรุงรักษาอย่างสมำ่ เสมอ


ใช้สีท่ีมีส่วนผสมของสารตะก่ัวไม่เกินค่ามาตรฐาน (๑๐๐ พีพีเอ็ม)

และไม่มีสีหลุดลอก ติดมอื












87

*๔ (๑.๓.๓) แบบคดั กรองความเส่ียงของพนื้ ทเี่ ล่น/สนามเดก็ เล่น


แบบคัดกรองความเสย่ี งของพื้นท่เี ลน่ /สนามเด็กเล่น


ประเมินวนั ที่ ..................................................................................... ครงั้ ที่ ............................................

ผปู้ ระเมนิ .................................................................................................................................................

หมายเหต ุ สามารถ Download แบบคดั กรองความเสย่ี งสนามเดก็ เล่น (ฉบบั ปรับปรงุ ใหม่)

ไดท้ ่ี https://drive.google.com/open?id=1JWyCudFEvdcZSN7_UM2H3qu6hOK9CErh


88

*๕ (๑.๓.๔) แบบประเมนิ สภาพแวดลอ้ มภายในอาคารเพ่อื ความปลอดภยั





แบบประเมนิ สภาพแวดลอ้ มภายในอาคารเพ่อื ความปลอดภัย


ประเมินวันท่ี .............................................................. คร้ังท…่ี ………………………..



ผปู้ ระเมนิ .............................................................................


รายการ
รายละเอียด ใช ่ ไม่ใช่


สำรวจ

ทางเขา้ ออก มีทางเข้าออกอาคารไม่น้อยกว่าสองทาง ความกว้าง และความสูง

อาคาร
แ ตล่ ะทางตอ้ งมขี นาดไมน่ อ้ ยกวา่ ๘๐ X ๑๙๐ เซนตเิ มตร และมีประตู


ฉกุ เฉนิ



สที าผนัง
ภายใน
ใชส้ ีท่ีมีสารตะกัว่ เปน็ สว่ นผสมไม่เกนิ กว่า ๑๐๐ พพี ีเอ็ม

พ้นื บนั ได
สภาพพืน้ ไมล่ นื่ หรือมีการใช้วสั ดกุ นั ลื่น


และ ระเบียง
บันไดและระเบียงมีราวกนั ตกสูงไม่น้อยกว่า ๙๐ เซนตเิ มตร

บันไดและระเบียงมรี าวกนั ตกระยะหา่ งของซร่ี าวกนั ตกไมเ่ กิน



๙ เซนติเมตร










บนั ไดมรี าวจับสำหรับเดก็ และผู้ใหญ่


หนา้ ตา่ ง
หน้าต่างต้องไม่เป็นกระจกบานเกล็ด ความสูงของขอบหน้าต่างสูง



จากพื้นไม่นอ้ ยกว่า ๐.๙๐ เมตร



พื้นท่ี
มกี ารระบายอากาศท่ีดี สะอาด

สำหรับการนอน
อุปกรณ์เคร่อื งนอนต่างๆ สะอาด ถกู สขุ ลกั ษณะ ไมม่ กี ล่นิ เหมน็


มีมาตรการปอ้ งกันยุง แมลง และหนู






พื้นทีส่ ำหรับ
มีบริเวณเพียงพอ ไมแ่ ออัด หรือมีพ้นื ที่ไมน่ อ้ ยกว่า ๒.๐๐ ตารางเมตร

การเล่น การทำ ต่อเด็ก ๑ คน

กิจกรรม





89

รายการ รายละเอียด ใช ่ ไมใ่ ช่



สำรวจ
บริเวณพ้นื ทร่ี ับประทานอาหารสะอาด ถกู สุขลกั ษณะ

พนื้ ที
่ บริเวณสถานที่ประกอบอาหารหรือห้องครัวไม่อยู่ใกล้ชิดบริเวณพ้ืนที่

รบั ประทาน
สำหรับเล่น/บริเวณทำกิจกรรมสำหรับเด็ก มีประตูก้ันไว้ไม่ให้เด็ก

เข้าถงึ บรเิ วณนไี้ ด้

อาหาร
บริเวณรบั ประทานอาหารไมว่ างของรอ้ น เช่น หมอ้ แกงรอ้ น ไว้บนพื้น
และสถานท่ี หรือทีต่ ำ่ ท่เี ด็กอาจชนหรือฉดุ กระชากสายไฟแลว้ ถูกความร้อนลวกได ้


ประกอบอาหาร เศษอาหารไมส่ ง่ กล่ินเหม็น ไม่มีแมลงวนั แมลงสาบ หนู มีการคัดแยก
หรือห้องครัว
ขยะทีด่ ี


จัดวางของมีคมไวใ้ นทีม่ ดิ ชดิ เดก็ ไมส่ ามารถหยิบได้
















พืน้ ทสี่ ำหรบั
สะอาด ถูกสขุ ลักษณะ โถสว้ มขนาดเหมาะสมกบั ตวั เดก็ และ มจี ำนวน

ใช้ทตำวั คเวดาก็ มแสละะอ
าด
เพยี งพอ

หอ้ งส้วม
อยู่ภายในอาคาร และแยกจากกัน พ้ืนผิวจะต้องเป็นวัสดุท่ีไม่ล่ืน หรือ
ตดิ อุปกรณก์ นั ลืน่


สำหรับเด็ก



จดั เกบ็ นำ้ ยาทำความสะอาดไวใ้ นทมี่ ดิ ชดิ ปดิ ลอ๊ คได้ หรอื อยสู่ งู พน้ มอื เดก็

ประตูไม่ใส่กลอน ตัวล๊อคด้านใน หรือผู้ดูแลเด็กสามารถมองเห็นเด็ก

และเขา้ สู่ภายในไดง้ ่าย


มีอา่ งลา้ งมือทีม่ คี วามสูงพอดกี บั ขนาดเดก็


แสงสว่างเพียงพอ ไม่มดื ทึบ


ไมม่ ีกลิน่ อบั อากาศถ่ายเทได้ด ี

ไม่มีที่เก็บกักน้ำเช่นตุ่มน้ำ โอ่งน้ำ ไห อ่างน้ำ ถังน้ำ หรืออื่นๆ หรือมี
แต่มีการปิดกั้นไม่ให้เด็กเข้าถึงได้/ปิดฝาที่มิดชิดแข็งแรง เพ่ือป้องกัน
เด็กพลัดตก




90

รายการ รายละเอยี ด ใช ่ ไม่ใช


สำรวจ

พน้ื ทเี่ ดก็ ป่วย
มีทพี่ ักเดก็ ปว่ ยแยกเป็นสดั ส่วน



มอี ุปกรณป์ ฐมพยาบาล ตู้ยา เครอื่ งเวชภณั ฑ์ที่จำเปน็

เกบ็ วางยาในทพี่ น้ มือเด็ก หรอื ปิดลอ๊ คโดยเดก็ ไม่สามารถหยบิ ยาไดเ้ อง


ติดต้ังปลัก๊ ไฟทีส่ งู จากพน้ื มากกวา่ ๑.๕๐ เมตร หรอื หากอยตู่ ่ำมฝี าปดิ

ครอบปลกั๊ ไฟ


ติดตั้งเครอื่ งตัดไฟฟ้าอตั โนมตั ภิ ายในอาคาร


ติดตั้งเครื่องทำน้ำเย็น เคร่ืองทำน้ำร้อน เคร่ืองทำน้ำอุ่น หรืออุปกรณ์


ท่เี ปน็ สอ่ื นำไฟฟา้ ตอ้ งติดตง้ั สายดิน

ระบบไฟฟา้
ไม่มกี ารเดินสายรางไฟ (ปลัก๊ พว่ ง) ตามพืน้ ซึง่ เดก็ สามารถเข้าถงึ ไดง้ า่ ย


หรือมีฝาปดิ ครอบปล๊กั ไฟ

ตรวจสอบ คัดแยกอปุ กรณไ์ ฟฟา้ ทช่ี ำรุดแทงจำหน่ายไม่นำกลับมาใช ้


ขณะทำกจิ กรรม/หอ้ งเรยี น ไมด่ ังเกนิ ไป หรอื ดังไมเ่ กนิ ๘๐ เดซิเบล


หอ้ งนอนไมม่ มี เี สยี งรบกวน หรอื ระดับเสยี งไม่เกิน ๔๐ เดซเิ บล



ระดับแสงหอ้ งทำกิจกรรม/ห้องเรียน ไม่สวา่ งหรอื มดื เกินไป หรือสวา่ ง
ไมเ่ กนิ ๒๐๐ - ๓๐๐ ลกั ซ ์




ห้องนอนแสงสวา่ งไมจ่ า้ เกนิ ไป หรือไมเ่ กิน ๑๐๐ ลกั ซ์






ระดับเสียง








ระดบั แสง





91


Click to View FlipBook Version