The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

มฐ.ปฐมวัยแห่งชาติ ฉบับเต็ม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by noi1910251751, 2022-05-07 03:56:32

มฐ.ปฐมวัยแห่งชาติ ฉบับเต็ม

มฐ.ปฐมวัยแห่งชาติ ฉบับเต็ม

242

243

*๕ (๓.๒.๑ข) DSPM+ แบบบันทึกการเฝ้าระวัง Surveillance ๑๕ ข้อ ขยายเพิ่มจากอายุ ๕ ปี แบ่งเป็น ๓ ช่วงอาย

๕-๕.๖ ปี ๕.๖-๖ ปี และ ๖-๖.๖ ปี


244

245

246

247

248

249

250

251

252

253

254

255

*๖ (๓.๒.๑ข) DSPM+ แบบบนั ทกึ การคดั กรอง Screening ๘ ขอ้ สำหรบั ชว่ งอายุ ๕ ป


256

257

258

259

260

261



ภาคผนวก ๒


แบบบนั ทึกการประเมนิ

มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั แหง่ ชาต




ID NO.




แบบบันทึกการประเมนิ

มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ







วนั ที่ประเมนิ วันท่…ี …….....เดอื น........................พ.ศ..............

ผตู้ อบแบบประเมิน ชือ่ ................................................................สกุล ........................................................

ตำแหน่ง ..................................................................หนว่ ยงาน ....................................................................
โทรศพั ท์/มือถอื ............................................ อีเมล์ …………………..…………ID Line ……………..……….………



สว่ นที่ ๑ ขอ้ มูลพ้ืนฐาน

๑. ชอ่ื สถานพฒั นาเด็กปฐมวัย......................................................................................................................

ท่ีตงั้ /ช่ืออาคาร……………………………………….เลขท.่ี .................หมูท่ /ี่ หมู่บ้าน…….....................................

ซอย…………………………………ถนน…………………...........…………ตำบล/แขวง……………………….....………....

อำเภอ/เขต…..……………….……..………จังหวดั ……….……………………………รหสั ไปรษณีย์ .........................

หมายเลขโทรศพั ท์....................................................โทรสาร...................................................................

อเี มล์.....................................................เวบ็ ไซต์.......................................................................................

๒. สงั กัด (  ) ภาครฐั โปรดระบุ……………………………………………......…………………………..............……….

(  ) เอกชน โปรดระบุ……………………………..………..(  ) อื่นๆ................................................

๓. เปดิ ดำเนนิ การเมื่อ (วัน/เดือน/ปี)...........................................................................................................

๔. หัวหนา้ สถานพฒั นาเดก็ ปฐมวัย/ โรงเรียนระดับอนบุ าล/ ผู้รับใบอนุญาต

ชือ่ ..........................................................................................สกุล..........................................................

อเี มล…์ ……...………...........................................................โทรศัพท/์ มอื ถอื ..............................................

วฒุ ิการศกึ ษา (  ) ๑. สาขาปฐมวยั คอื ..............................................................................................

(  ) ๒. สาขาอ่ืน………………………..............................................................…………......

๕. รบั เด็กตง้ั แต่อายุ……............... เดือน/ปี ถงึ ……..…….......ป

จำนวนเด็กทั้งหมด...............คน เป็นเดก็ ที่มคี วามต้องการพเิ ศษ/ที่สงสยั มพี ัฒนาการลา่ ชา้ ...............คน


265

๕.๑ แบง่ ตามชว่ งอายุของเด็ก



เมอ่ื เ ริ่มปช่วีกงาอรศายกึ ุเษดาก็ ป จั จุบัน ชาย หญงิ รวจมำ นวนเด(ท็กค่ีสทนง่มี )ส
คี ยั วมาพี มัฒต้อนงากกาารรพลิเา่ ศชษา้ * /
ครู/

ผดู้ ูแล


๑) ทารกแรกเกิด ถึงอายกุ อ่ น ๑ ปี


๒) อายุ ๑ ปี ถงึ อายุก่อน ๒ ปี


๓) อายุ ๒ ปี ถงึ อายกุ ่อน ๓ ปี


๔) อายุ ๓ ปี ถึงอายุกอ่ น ๔ ปี


๕) อายุ ๔ ปี ถึงอายกุ ่อน ๕ ปี


๖) อายุ ๕ ปี ถึงอายกุ อ่ น ๖ ปี


๗) อายุ ๖ ปี ถึง ก่อนเขา้ ป.๑


(* เดก็ ทม่ี คี วามต้องการพิเศษ ตอ้ งมีใบรับรองจากแพทย์/เจา้ หนา้ ท่สี าธารณสุข)


๕.๒ ช่วงอายเุ ด็กทท่ี า่ นดูแล.....................ปี จำนวนพี่เลี้ยง/ผ้ดู ูแลเดก็ ......................คน

ต่อจำนวนเด็ก.........................คน


๕.๓ จำนวนเฉล่ยี ทร่ี ับเด็กเขา้ ในรอบปี …………….…………..คน


๕.๔ จำนวนเดก็ ลาออกกลางคนั ในรอบปี ……………….…....คน


๕.๕ จำนวนเด็กที่ออกตอ่ ปี ...............................................คน


๕.๖ แบง่ ตามระดบั ช้ัน
จำนวนหอ้ ง จำนวนเด็กตอ่ ห้อง (คน)




ระดบั ช้นั


(  ) ๑. ทารกขวบปแี รก

(  ) ๒. วยั เตาะแตะ (อายุ ๑–๒ ป)ี


(  ) ๓. เตรียมอนบุ าล


(  ) ๔. อนบุ าล ๑


(  ) ๕. อนุบาล ๒


(  ) ๖. อนุบาล ๓


(  ) ๗. อน่ื ๆ ………………………....


266

๖. อัตรากำลงั ผปู้ ฏิบัติงาน
อาย




ปร ะเภทบุคลาก ร ชายเ พศห ญงิ ป รติญ่ำกญวาา่ ตร ระี ดับปกร าญิรศญึกาษตาร ี(คนป) รสญิ ูง กญวาา่ ต รี เฉลีย่

(ปี)
หัวหน้าสถาน/ผดู้ ำเนินกิจการ

รองหวั หนา้ สถาน

*คร ู

ผู้ดูแลเดก็ /พีเ่ ลี้ยงเด็ก

ผูป้ ระกอบอาหาร

พนักงานทำความสะอาด

พนักงานรักษาความปลอดภยั

คนสวน

พนักงานขับรถ

บุคลากรอ่ืนๆ ระบุ…….…………..

* ครมู ใี บประกอบวชิ าชีพครู จำนวน ………………………….คน


๖.๑ ครู/ผู้ดูแลเด็ก/พี่เล้ียงที่สอนตรงตามวิชาเอก สาขาอนุบาลศึกษา/การศึกษาปฐมวัย ...........คน
คิดเปน็ รอ้ ยละ ................

๖.๒ ครู/ผู้ดูแลเด็ก/พี่เล้ียงที่สอนสาขาอื่นท่ีเก่ียวข้อง ระบุวุฒิ………………..จำนวน …….…..คน

คดิ เปน็ ร้อยละ .................

๗. คา่ ใชจ้ ่ายและงบประมาณในการดำเนนิ การ

๗.๑ คา่ ใชจ้ า่ ยงบประมาณในการดำเนนิ การของสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั นไ้ี ดร้ บั จาก (ตอบไดม้ ากกวา่ ๑ ขอ้ )

(  ) ๑) หน่วยงานต้นสงั กดั ..............................................

(  ) ๒) รฐั ผา่ นกระทรวง ..........................................................

(  ) ๓) ผปู้ กครองของเดก็ ...............................................

(  ) ๔) อน่ื ๆ โปรดระบุ ..............................................................

๗.๒ ในปีทผ่ี ่านมา สถานะทางการเงินเม่อื เปรยี บเทียบรายรบั -รายจา่ ยเป็นอยา่ งไร

(  ) ๑) เพยี งพอ (  ) ๒) ไมเ่ พียงพอ เนอ่ื งจาก ..........................................................................

๘. ในระยะเวลา ๑ ปที ่ีผ่านมาทา่ นมกี ารประเมินผลการดำเนินงาน/ ประกนั คุณภาพภายใน

(  ) ๘.๑ มี (  ) ๘.๒ ไม่มี








267

แบบบันทกึ การประเมิน

มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแหง่ ชาต




ส่วนท่ี ๒ สรปุ ผลการประเมิน




คำช้ีแจง โปรดพิจารณาข้อมูลจากเอกสารหมายเลข ๑ และนำผลการประเมินท่ีได้จากแต่ละตัวบ่งชี้และ

ข้อย่อยมาบันทึก โดยทำเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องผลการประเมิน และรวมคะแนนของแต่ละ

ตัวบ่งช้ี ตามตวั อยา่ งด้านลา่ งนี้


ตวั บ่งชม้ี าตรฐาน คะแนนการประเมิน


ตัวบ่งชท้ี ี่ ๑.๑ การบริหารจัดการอย่างเปน็ ระบบ ๐ ๑ ๒ ๓ รวม


๑.๑.๑ บริหารจัดการสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั อยา่ งเป็นระบบ ✓


๑.๑.๒ บรหิ ารหลกั สตู รสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั ✓ ๕


๑.๑.๓ บริหารจัดการข้อมลู อย่างเป็นระบบ ✓



มาตรฐานดา้ นท่ี ๑

การบริหารจดั การสถ
านพฒั นาเด็กปฐมวัย


ตวั บ่งชี้มาตรฐาน คะแนนการประเมนิ


ตัวบ่งชีท้ ่ี ๑.๑ การบรหิ ารจดั การอย่างเป็นระบบ ๐ ๑ ๒ ๓ รวม


๑.๑.๑ บริหารจัดการสถานพฒั นาเด็กปฐมวัยอย่างเป็นระบบ


๑.๑.๒ บรหิ ารหลกั สตู รสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัย


๑.๑.๓ บรหิ ารจัดการขอ้ มลู อยา่ งเปน็ ระบบ


ตัวบ่งชที้ ่ี ๑.๒ การบรหิ ารจดั การบคุ ลากรทุกประเภทตามหนว่ ยงาน ๐ ๑ ๒ ๓ รวม

ทีส่ ังกัด


๑.๒.๑ บริหารจดั การบคุ ลากรอย่างเปน็ ระบบ


๑.๒.๒ ผู้บริหารสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั /หัวหนา้ ระดับปฐมวยั /


ผดู้ ำเนนิ กจิ การ มคี ณุ วุฒ/ิ คณุ สมบัติเหมาะสม

และบรหิ ารงานอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ

๑.๒.๓ คร/ู ผูด้ ูแลเด็กทท่ี ำหนา้ ทหี่ ลักในการดแู ลและพฒั นา


เด็กปฐมวัย มวี ุฒกิ ารศึกษา/คณุ สมบัติเหมาะสม

๑.๒.๔ บริหารบุคลากรจัดอัตราส่วนของครู/ผ้ดู ูแลเด็ก

อยา่ งเหมาะสมพอเพยี งตอ่ จำนวนเดก็ ในแตล่ ะกลมุ่ อายุ


268

ตัวบ่งชม้ี าตรฐาน คะแนนการประเมนิ


ตวั บ่งชท้ี ่ี ๑.๓ การบรหิ ารจดั การสภาพแวดล้อมเพ่ือความปลอดภัย ๐ ๑ ๒ ๓ รวม


๑.๓.๑ บรหิ ารจดั การดา้ นสภาพแวดลอ้ มเพ่อื ความปลอดภยั


อย่างเปน็ ระบบ

๑.๓.๒ โครงสร้างและตวั อาคารมน่ั คง ตงั้ อยู่ในบรเิ วณ


และสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัย

๑.๓.๓ จดั การความปลอดภยั ของพ้นื ท่ีเลน่ /สนามเด็กเล่น


และสภาพแวดล้อมภายนอกอาคาร

๑.๓.๔ จดั การสภาพแวดล้อมภายในอาคาร ครุภณั ฑ์ อุปกรณ์

เคร่อื งใช้ให้ปลอดภยั เหมาะสมกับการใช้งานและเพียงพอ


๑.๓.๕ จดั ให้มีของเล่นที่ปลอดภัยได้มาตรฐาน มจี ำนวนเพยี งพอ


สะอาด เหมาะสมกับระดบั พัฒนาการของเด็ก

๑.๓.๖ สง่ เสริมใหเ้ ด็กปฐมวยั เดนิ ทางอย่างปลอดภยั


๑.๓.๗ จดั ให้มรี ะบบป้องกนั ภยั จากบคุ คลทง้ั ภายในและภายนอก

สถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั


๑.๓.๘ จดั ให้มีระบบรบั เหตฉุ กุ เฉนิ ป้องกันอัคคีภัย/ภัยพบิ ัต


ตามความเสยี่ งของพ้นื ที ่

ตวั บง่ ชี้ที่ ๑.๔ การจัดการเพอื่ สง่ เสริมสขุ ภาพและการเรียนร ู้ ๐ ๑ ๒ ๓ รวม


๑.๔.๑ มกี ารจัดการเพ่อื สง่ เสริมสขุ ภาพ เฝา้ ระวงั การเจริญเติบโต

ของเดก็ และดูแลการเจบ็ ป่วยเบ้ืองตน้


๑.๔.๒ มีแผนและดำเนนิ การตรวจสขุ อนามัยประจำวัน


ตรวจสขุ ภาพประจำปี และป้องกนั ควบคุมโรคตดิ ต่อ

๑.๔.๓ อาคารต้องมพี ื้นท่ีใช้สอยเป็นสัดส่วนตามกจิ วตั รประจำวนั

ของเดก็ ทเี่ หมาะสมตามชว่ งวัย และการใชป้ ระโยชน์


๑.๔.๔ จดั ใหม้ ีพ้นื ที/่ มมุ ประสบการณ์ และแหลง่ เรยี นรู้


ในห้องเรยี นและนอกห้องเรยี น

๑.๔.๕ จัดบรเิ วณห้องน้ำ ห้องสว้ ม ทีแ่ ปรงฟัน/ลา้ งมอื

ใหเ้ พยี งพอ สะอาด ปลอดภยั และเหมาะสม

กับการใช้งานของเด็ก




269

ตัวบง่ ชมี้ าตรฐาน คะแนนการประเมิน


ตวั บ่งชีท้ ่ี ๑.๔ (ต่อ) ๐ ๑ ๒ ๓ รวม


๑.๔.๖ จัดการระบบสุขาภิบาลทมี่ ีประสิทธิภาพ ครอบคลมุ


สถานทป่ี รุง ประกอบอาหาร นำ้ ดมื่ น้ำใช้ กำจดั ขยะ

ส่ิงปฏกิ ูล และพาหะนำโรค

๑.๔.๗ จดั อุปกรณภ์ าชนะและเครื่องใชส้ ่วนตัวใหเ้ พยี งพอ


กับการใชง้ านของเดก็ ทกุ คน และดูแลความสะอาด

และปลอดภยั อย่างสมำ่ เสมอ

ตวั บง่ ช้ีท่ี ๑.๕ การส่งเสรมิ การมสี ว่ นร่วมของครอบครวั และชุมชน ๐ ๑ ๒ ๓ รวม


๑.๕.๑ มกี ารส่อื สารเพื่อสรา้ งความสมั พันธ์และความเขา้ ใจอันด


ระหวา่ งพ่อแม/่ ผปู้ กครอง กบั สถานพฒั นาเด็กปฐมวัย

เกี่ยวกับตัวเด็กและการดำเนนิ งานของสถานพฒั นา

เด็กปฐมวัย

๑.๕.๒ การจดั กิจกรรมทพ่ี ่อแม่/ผปู้ กครอง/ครอบครวั


และชมุ ชน มสี ่วนร่วม

๑.๕.๓ ดำเนนิ งานใหส้ ถานพฒั นาเด็กปฐมวยั เปน็ แหลง่ เรยี นรู


แก่ชุมชนในเร่อื งการพฒั นาเด็กปฐมวัย

๑.๕.๔ มคี ณะกรรมการสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวัย


มาตรฐานด้านที่ ๑ มีคะแนนรวม คะแนน


ม าตรฐานดา้ นท่ี ๑ มีคะแนนรวม คดิ เปน็ รอ้ ยละ = คะแนนรวม x ๑๐๐

๗๘


มาตรฐานดา้ นท่ี ๑ มีจำนวนตวั บ่งช้ี ทต่ี อ้ งปรับปรุง ข้อ





270

มาตรฐานดา้ นที่ ๒

คร/ู ผู้ดแู ลเดก็ ให้การดแู ล และจัดประสบการณ
์การเรยี นร้แู ละการเลน่ เพื่อพัฒนาเดก็ ปฐมวัย


ตัวบ่งช้มี าตรฐาน คะแนนการประเมิน


ตัวบง่ ช้ที ่ี ๒.๑ การดแู ลและพัฒนาเดก็ อย่างรอบด้าน ๐ ๑ ๒ ๓ รวม


๒.๑.๑ มีแผนการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ทสี่ อดคลอ้ งกบั

หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั มกี ารดำเนนิ งานและประเมนิ ผล


๒.๑.๒ จดั พ้ืนท่/ี มมุ ประสบการณก์ ารเรยี นรู้และการเล่น


ที่เหมาะสมอย่างหลากหลาย

๒.๑.๓ จัดกิจกรรมสง่ เสริมพัฒนาการทกุ ดา้ นอย่างบรู ณาการ

ตามธรรมชาตขิ องเด็กทเ่ี รยี นรู้ด้วยประสาทสมั ผสั ลงมอื ทำ

ปฏสิ มั พันธ์ และการเลน่


๒.๑.๔ เลือกใชส้ ือ่ /อุปกรณ์ เทคโนโลยี เครอื่ งเลน่ และจดั

สภาพแวดล้อมภายใน-ภายนอก แหล่งเรยี นรู้ ท่ีเพยี งพอ

เหมาะสม ปลอดภยั


๒.๑.๕ เฝ้าระวังติดตามพฒั นาการเด็กรายบคุ คลเปน็ ระยะ


เพ่ือใช้ผลในการจดั กิจกรรมพฒั นาเด็กทุกคนให้เตม็

ตามศกั ยภาพ

ตวั บง่ ชีท้ ี่ ๒.๒ การสง่ เสรมิ พัฒนาการด้านร่างกายและดแู ลสขุ ภาพ ๐ ๑ ๒ ๓ รวม


๒.๒.๑ ให้เดก็ อายุ ๖ เดอื นขึ้นไป รับประทานอาหารท่ีครบถว้ น


ในปรมิ าณที่เพยี งพอและสง่ เสริมพฤตกิ รรมการกนิ

ทีเ่ หมาะสม

๒.๒.๒ จดั กจิ กรรมใหเ้ ด็กไดล้ งมือปฏบิ ตั ิอยา่ งถกู ต้องเหมาะสม

ในการดูแลสขุ ภาพ ความปลอดภยั ในชวี ติ ประจำวัน


๒.๒.๓ ตรวจสขุ ภาพอนามยั ของเด็กประจำวนั ความสะอาด


ของรา่ งกาย ฟนั และช่องปากเพือ่ คัดกรองโรค

และการบาดเจบ็

๒.๒.๔ เฝ้าระวงั ตดิ ตามการเจริญเติบโตของเดก็ เปน็ รายบคุ คล

บนั ทกึ ผลภาวะโภชนาการอย่างต่อเน่ือง


๒.๒.๕ จัดให้มีการตรวจสุขภาพร่างกาย ฟนั และชอ่ งปาก สายตา

หู ตามกำหนด




271

ตัวบง่ ชมี้ าตรฐาน คะแนนการประเมิน


ตวั บ่งชี้ที่ ๒.๓ การสง่ เสรมิ พฒั นาการดา้ นสตปิ ญั ญา ภาษาและการสอ่ื สาร ๐ ๑ ๒ ๓ รวม


๒.๓.๑ จดั กิจกรรมสง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ ได้สังเกต สมั ผัส ลองทำ

คิดตงั้ คำถาม สืบเสาะหาความรู้ แก้ปญั หา จนิ ตนาการ

คิดสรา้ งสรรค์ โดยยอมรบั ความคิดและผลงานท่ีแตกตา่ ง

ของเด็ก


๒.๓.๒ จัดกจิ กรรมและประสบการณท์ างภาษาทม่ี ีความหมาย

ต่อเด็ก เพ่ือการสอ่ื สารอยา่ งหลากหลาย ฝึกฟงั พดู ถาม

ตอบ เล่าและสนทนาตามลำดบั ข้ันตอนพฒั นาการ


๒.๓.๓ จดั กจิ กรรมปลกู ฝังให้เด็กมีนสิ ยั รักการอา่ นให้เด็กมีทักษะ

การดภู าพ ฟังเร่อื งราว พูดเล่า อา่ น วาด/เขียน เบือ้ งต้น

ตามลำดับพฒั นาการ โดยครู/ผ้ดู ูแลเด็ก เปน็ ตัวอย่าง

ของการพูด และการอ่านทีถ่ ูกตอ้ ง


๒.๓.๔ จัดให้เด็กมปี ระสบการณเ์ รียนรเู้ กี่ยวกับตัวเด็ก บคุ คล


สิ่งตา่ งๆ สถานที่ และธรรมชาติรอบตัวดว้ ยวิธกี าร

ทีเ่ หมาะสมกบั วัยและพัฒนาการ

๒.๓.๕ จัดกจิ กรรมและประสบการณด์ ้านคณติ ศาสตรแ์ ละ


วิทยาศาสตร์เบอ้ื งตน้ ตามวัย โดยเดก็ เรียนร้ผู ่าน

ประสาทสัมผัส และลงมอื ปฏบิ ัติดว้ ยตนเอง

ตวั บ่งชีท้ ่ี ๒.๔ การส่งเสริมพฒั นาการดา้ นอารมณ์ จิตใจ-สงั คม ๐ ๑ ๒ ๓ รวม

ปลกู ฝังคุณธรรมและความเป็นพลเมอื งดี


๒.๔.๑ สรา้ งความสัมพันธท์ ีด่ แี ละมั่นคง ระหวา่ งผู้ใหญก่ ับเด็ก

จัดกจิ กรรมสรา้ งเสรมิ ความสมั พันธท์ ่ีดรี ะหว่างเด็กกับเดก็

และการแก้ไขข้อขัดแย้งอยา่ งสรา้ งสรรค ์


๒.๔.๒ จัดกจิ กรรมสง่ เสริมใหเ้ ด็กมคี วามสขุ แจ่มใส รา่ เรงิ


ไดแ้ สดงออกดา้ นอารมณ์ ความรู้สึกท่ีดตี ่อตนเอง

โดยผา่ นการเคล่อื นไหวรา่ งกาย

ศลิ ปะ ดนตรี ตามความสนใจและถนดั

๒.๔.๓ จัดกจิ กรรมและประสบการณ์ ปลูกฝงั คณุ ธรรมให้เดก็ ใฝ่ด ี

มวี นิ ยั ซอ่ื สตั ย์ รจู้ กั สทิ ธแิ ละหนา้ ทร่ี บั ผดิ ชอบของพลเมอื งด ี

รักครอบครัว โรงเรียน ชุมชน และประเทศชาตดิ ้วยวิธ ี

ที่เหมาะสมกบั วยั และพฒั นาการ




272

ตัวบ่งชีม้ าตรฐาน คะแนนการประเมนิ


ตวั บ่งชี้ที่ ๒.๕ การสง่ เสรมิ เดก็ ในระยะเปลยี่ นผ่านใหป้ รบั ตวั ๐ ๑ ๒ ๓ รวม

สกู่ ารเช่ือมตอ่ ในขัน้ ถดั ไป


๒.๕.๑ จัดกิจกรรมกับผู้ปกครองใหเ้ ตรยี มเดก็ ก่อนจากบ้าน


เข้าสู่สถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั /โรงเรียน และจัดกจิ กรรม

ช่วงปฐมนิเทศให้เดก็ ค่อยปรบั ตัวในบรรยากาศทีเ่ ป็นมติ ร

๒.๕.๒ จดั กิจกรรมสง่ เสริมการปรบั ตวั ก่อนเข้ารบั การศึกษา


ในระดับที่สงู ขน้ึ แต่ละขั้น จนถงึ การเปน็ นกั เรยี นระดับ

ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๑

มาตรฐานดา้ นที่ ๒ มคี ะแนนรวม คะแนน


ม าตรฐานด้านที่ ๒ มคี ะแนนรวม คิดเปน็ ร้อยละ = คะแนนรวม x ๑๐๐

๖๐


มาตรฐานดา้ นท่ี ๒ มีจำนวนตัวบ่งช้ี ทีต่ ้องปรบั ปรงุ ขอ้














273

มาตรฐานด้านท่ี ๓ คณุ ภาพของเดก็ ปฐมวัย

สำหรบั เดก็ แรกเกิด - อายุ ๒ ปี (๒ ปี ๑๑ เดือน ๒๙ วนั )




ตัวบง่ ช้ีมาตรฐาน คะแนนการประเมนิ


ตัวบ่งช้ีท่ี ๓.๑ ก เด็กมกี ารเจริญเตบิ โตสมวัย ๐ ๑ ๒ ๓ รวม


๓.๑.๑ ก เด็กมีน้ำหนักตัวเหมาะสมกับวยั และสูงดสี มส่วน


ซึ่งมบี ันทึกเปน็ รายบคุ คล

ตัวบ่งช้ี ๓.๒ ก เด็กมพี ัฒนาการสมวัย ๐ ๑ ๒ ๓ รวม


๓.๒.๑ ก เด็กมพี ัฒนาการสมวัยโดยรวม ๕ ด้าน


๓.๒.๒ ก รายด้าน : เดก็ มพี ัฒนาการกลา้ มเนอ้ื มดั ใหญ่ (GM)


๓.๒.๓ ก รายดา้ น : เด็กมพี ฒั นาการด้านกลา้ มเนอ้ื มดั เลก็ และ


สติปญั ญาสมวัย (FM)

๓.๒.๔ ก รายดา้ น : เดก็ มพี ฒั นาการดา้ นการรบั รแู้ ละเขา้ ใจภาษา (RL)


๓.๒.๕ ก รายด้าน : เด็กมีพัฒนาการการใชภ้ าษาสมวัย (EL)


๓.๒.๖ ก รายด้าน : เดก็ มีพัฒนาการการชว่ ยเหลือตนเอง


และการเขา้ สังคม (PS)

มาตรฐานด้านที่ ๓ ก มีคะแนนรวม คะแนน


มาตรฐานดา้ นที่ ๓ ก มคี ะแนนรวม คดิ เปน็ รอ้ ยละ = คะแนนรวม x ๑๐๐

๒๑


มาตรฐานด้านท่ี ๓ ก มจี ำนวนตัวบ่งช้ี ทต่ี ้องปรับปรุง ขอ้











274

มาตรฐานด้านที่ ๓ คณุ ภาพของเด็กปฐมวยั

สำหรับเดก็ อายุ ๓ ปี - อายุ ๖ ปี (ก่อนเขา้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑)




ตวั บ่งช้มี าตรฐาน คะแนนการประเมนิ


ตัวบง่ ชี้ที่ ๓.๑ ข เดก็ มกี ารเจรญิ เติบโตสมวัยและมีสขุ นสิ ัยทเ่ี หมาะสม ๐ ๑ ๒ ๓ รวม


๓.๑.๑ ข เดก็ มนี ้ำหนกั ตวั เหมาะสมกบั วัยและสูงดสี มสว่ น


ซงึ่ มบี ันทึกเปน็ รายบุคคล

๓.๑.๒ ข เดก็ มสี ุขนิสยั ท่ีดีในการดแู ลสุขภาพตนเองตามวยั


๓.๑.๓ ข เดก็ มีสขุ ภาพชอ่ งปากดี ไมม่ ีฟันผุ


ตัวบ่งช้ีที่ ๓.๒ ข เด็กมพี ฒั นาการสมวยั ๐ ๑ ๒ ๓ รวม


๓.๒.๑ ข เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั โดยรวม ๕ ด้าน


ตัวบง่ ชี้ที่ ๓.๓ ข เดก็ มพี ฒั นาการดา้ นการเคล่ือนไหว ๐ ๑ ๒ ๓ รวม


๓.๓.๑ ข เดก็ มีพัฒนาการดา้ นการใชก้ ลา้ มเนื้อมัดใหญ่


สามารถเคลอื่ นไหว และทรงตวั ได้ตามวัย

๓.๓.๒ ข เด็กมพี ัฒนาการดา้ นการใช้กล้ามเนื้อมดั เลก็


และการประสานงานระหว่างตากบั มอื ตามวัย

ตัวบง่ ชี้ที่ ๓.๔ ข เดก็ มพี ฒั นาการดา้ นอารมณ์จิตใจ ๐ ๑ ๒ ๓ รวม


๓.๔.๑ ข เดก็ แสดงออก ร่าเริง แจ่มใส ร้สู กึ มน่ั คงปลอดภัย


แสดงความรู้สึกท่ีดตี อ่ ตนเองและผอู้ ่ืนได้สมวยั

๓.๔.๒ ข เด็กมีความสนใจ และรว่ มกจิ กรรมต่างๆ อยา่ งสมวยั


ซ่ึงรวมการเลน่ การทำงาน ศลิ ปะ ดนตรี กีฬา

๓.๔.๓ ข เดก็ สามารถอดทน รอคอย ควบคมุ ตนเอง ยบั ยัง้ ชง่ั ใจ

ทำตามข้อตกลง คำนงึ ถึงความรู้สกึ ของผอู้ นื่ มีกาลเทศะ

ปรับตวั เข้ากบั สถานการณใ์ หมไ่ ดส้ มวยั


ตวั บ่งชที้ ่ี ๓.๕ ข เดก็ มพี ัฒนาการด้านสตปิ ญั ญา เรยี นรู้และสร้างสรรค ์ ๐ ๑ ๒ ๓ รวม


๓.๕.๑ ข เดก็ บอกเก่ยี วกบั ตวั เดก็ บคุ คล สถานทแี่ วดลอ้ มธรรมชาต ิ


และส่ิงตา่ งๆ รอบตวั เด็กได้สมวยั

๓.๕.๒ ข เด็กมพี ้ืนฐานด้านคณิตศาสตร์ สามารถสงั เกต จำแนก

และเปรียบเทียบ จำนวน มติ สิ ัมพันธ์ (พื้นท่/ี ระยะ) เวลา

ได้สมวยั


๓.๕.๓ ข เด็กสามารถคดิ อยา่ งมเี หตุผล แกป้ ัญหาไดส้ มวยั


275

ตัวบง่ ชีม้ าตรฐาน คะแนนการประเมนิ


ตวั บง่ ช้ที ี่ ๓.๕ ข (ต่อ) ๐ ๑ ๒ ๓ รวม


๓.๕.๔ ข เดก็ มจี นิ ตนาการ และความคดิ สรา้ งสรรค ์


ทแ่ี สดงออกไดส้ มวยั

๓.๕.๕ ข เดก็ มีความพยายาม มงุ่ มัน่ ต้ังใจ ทำกจิ กรรมให้สำเร็จสมวยั


ตัวบง่ ชท้ี ี่ ๓.๖ ข เดก็ มีพฒั นาการดา้ นภาษาและการสอ่ื สาร ๐ ๑ ๒ ๓ รวม


๓.๖.๑ ข เดก็ สามารถฟัง พูด จับใจความ เล่า สนทนา


และสอ่ื สารได้สมวยั

๓.๖.๒ ข เดก็ มที ักษะในการดรู ูปภาพ สัญลกั ษณ์ การใช้หนังสือ


รู้จักตัวอักษร การคดิ เขยี นคำ และการอ่านเบอ้ื งตน้

ได้สมวยั และตามลำดบั พัฒนาการ

๓.๖.๓ ข เด็กมีทักษะการวาด การขีดเขยี นตามลำดับขั้นตอน

พฒั นาการสมวยั นำไปสกู่ ารขดี เขยี นคำทค่ี นุ้ เคย และสนใจ


๓.๖.๔ ข เด็กมที กั ษะในการสอ่ื สารอย่างเหมาะสมตามวยั โดยใช

ภาษาไทยเปน็ หลัก และมคี วามคนุ้ เคยกบั ภาษาอื่นด้วย


ตวั ชีว้ ดั ที่ ๓.๗ ข เด็กมีพัฒนาการด้านสงั คม คุณธรรม มีวินัย ๐ ๑ ๒ ๓ รวม

และความเป็นพลเมืองดี


๓.๗.๑ ข เด็กมปี ฏสิ ัมพันธก์ บั ผูอ้ ่นื ไดอ้ ย่างสมวยั และแสดงออกถงึ


การยอมรบั ความแตกต่างระหว่างบุคคล

๓.๗.๒ ข เด็กมีความเมตตา กรณุ า มวี นิ ยั ซื่อสตั ย์ รับผิดชอบ

ตอ่ ตนเองและสว่ นรวม และมคี ่านยิ มท่พี ึงประสงคส์ มวัย


๓.๗.๓ ข เดก็ สามารถเลน่ และทำงานรว่ มกบั ผอู้ น่ื เปน็ กลมุ่ เปน็ ไดท้ งั้


ผนู้ ำ และผตู้ าม แก้ไขข้อขัดแยง้ อย่างสร้างสรรค์

๓.๗.๔ ข เด็กภาคภูมใิ จท่ีเปน็ สมาชิกทีด่ ีในครอบครวั ชมุ ชน


สถานพฒั นาเด็กปฐมวยั และตระหนักถึงความเป็น

พลเมอื งดีของประเทศไทย และภูมภิ าคอาเซียน

มาตรฐานดา้ นที่ ๓ ข มีคะแนนรวม คะแนน


ม าตรฐานดา้ นท่ี ๓ ข มคี ะแนนรวม คดิ เปน็ รอ้ ยละ = คะแนนรวม x ๑๐๐

๖๖


มาตรฐานดา้ นท่ี ๓ ข มีจำนวนตัวบ่งชี้ ท่ตี อ้ งปรบั ปรุง ขอ้





276

สรุปผลการประเมนิ ในภาพรวม



ผลรวมของรอ้ ยละของคะแนนเฉล่ยี รวมมาตรฐานทุกดา้ น คะแนน


มาตรฐานทุกด้าน มีจำนวนตวั บ่งชีท้ ตี่ ้องปรับปรงุ รวม ข้อ


ระดบั คณุ ภาพ ❍ A ดีมาก


❍ B ด


❍ C ผ่านเกณฑ์ขนั้ ตน้


❍ D ตอ้ งปรบั ปรงุ




ระดบั คณุ ภาพ
เกณฑ์การพจิ ารณา


คะแนนเฉลยี่ จำนวนขอ้ ทต่ี ้องปรับปรงุ


A ดมี าก ร้อยละ ๘๐ ขนึ้ ไป ไมม่ ี


B ดี ร้อยละ ๖๐-๗๙.๙๙ ๑-๗ ข้อ


C ผ่านเกณฑ์ข้นั ต้น รอ้ ยละ ๔๐-๕๙.๙๙ ๘-๑๕ ขอ้


D ต้องปรบั ปรุง ตำ่ กว่ารอ้ ยละ ๔๐ ๑๖ ขอ้ ขึ้นไป





***โปรดศึกษาวิธกี ารคำนวณคะแนนรวม และสรปุ ผลการประเมนิ เปน็ ระดบั คุณภาพ***



เนื่องจากการใช้มาตรฐานในการประเมินตนเองเพื่อพัฒนาคุณภาพของสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ต้อง
คำนึงถึงภาพรวมของมาตรฐานทั้ง ๓ ด้าน จึงมีการให้น้ำหนักเท่ากันด้วยการนำคะแนนแต่ละตัวบ่งช้ีที่ได้

ในแต่ละมาตรฐานมารวมกันเป็นคะแนนรวมรายมาตรฐานคิดเป็นร้อยละ เมื่อจะสรุปผลการประเมินจะนำ

ผลรวมของร้อยละของคะแนนเฉลี่ยรวมมาตรฐานทุกด้านมาหารด้วยจำนวนมาตรฐานทั้งหมดของแต่ละ

สถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัยทีไ่ ดท้ ำการประเมนิ ตามสูตรวิธกี ารคำนวณคะแนนเฉลย่ี มาตรฐาน ตามขอ้ ๑

แม้ว่าคะแนนเฉล่ียมาตรฐานท่ีคำนวณได้จะสามารถกำหนดระดับคุณภาพของสถานพัฒนาเด็ก
ปฐมวัยได้ แต่ปัจจัยสำคัญคือ การระบุข้อย่อยในตัวบ่งช้ีที่ยังไม่ผ่านเกณฑ์การพิจารณาข้ันต้น เพื่อจะได้รีบ
ปรบั ปรุงแก้ไขโดยเรว็ จึงตอ้ งนำมาพจิ ารณาร่วมด้วย ตามข้อ ๒

ในการใช้มาตรฐานนี้สำหรับพัฒนาคุณภาพ ผู้บริหารสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย และต้นสังกัดสามารถ

ใช้เกณฑ์การพิจารณาในระดับที่ดีขึ้นได้ตามเกณฑ์ท่ีระบุ ไม่ว่าสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยจะได้ผลการประเมิน

ในระดับใดก็ตาม ยังต้องพัฒนาคุณภาพในด้านต่างๆ ในทุกระดับ และพัฒนาเพ่ิมเติมอย่างต่อเนื่องจนดีเลิศ
เช่น การส่งเสริมภาษาท่ี ๒ และ ๓ ให้กับเด็ก การส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์หรือนวัตกรรมมาใช้จัด
ประสบการณ์เรียนรู้ ระเบียบวินัยและความเปน็ พลเมืองโลก การสง่ เสริมการเรยี นรูแ้ ละสรา้ งสมรรถนะสำหรับ
เด็กทมี่ ีความแตกต่างอยา่ งสรา้ งสรรค์ เปน็ การพฒั นาคุณภาพเดก็ ปฐมวยั




277

วิธีการคำนวณคะแนนรวมและสรุปผลการประเมิน




๑. พิจารณาจากรอ้ ยละเฉล่ยี ของเด็กท่ีมีคณุ ลักษณะตามตวั บ่งช้มี าตรฐานที่ ๑ - ๓



คะแนนเฉลี่ย = ผลรวมของร้อยละของคะแนนรวมมาตรฐานทกุ ด้าน


จำนวนมาตรฐาน



ตวั อยา่ งท่ี ๑ สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยท่ีมีเด็กอายุแรกเกิด - ๒ ปี จะคำนวณโดยนำร้อยละของคะแนน

มาตรฐานท่ี ๑ มารวมกับร้อยละของคะแนนมาตรฐานท่ี ๒ และร้อยละของคะแนนมาตรฐาน

ท่ี ๓ ก (เด็กอายุแรกเกดิ - ๒ ปี) หารดว้ ยจำนวนมาตรฐานท่ีไดป้ ระเมินไป คอื ๓ ดังนี ้





คะแนนเฉลย่ี = รอ้ ยละของคะแนน มฐ.ท่ี ๑ + รอ้ ยละของคะแนน มฐ.ที่ ๒ + ร้อยละของคะแนน มฐ.ที่ ๓ ก (แรกเกิด - ๒ ปี)







ตวั อย่างที่ ๒ สถานพฒั นาเดก็ ปฐมวัยทม่ี เี ด็กอายุ ๓ - ๖ ปี (กอ่ นเข้า ป.๑) จะคำนวณโดยนำรอ้ ยละของ

คะแนนมาตรฐานที่ ๑ มารวมกับร้อยละของคะแนนมาตรฐานที่ ๒ และร้อยละของคะแนน

มาตรฐานท่ี ๓ ข เด็กอายุ ๓ - ๖ ปี (กอ่ นเขา้ ป.๑) หารด้วยจำนวนมาตรฐานท่ีได้ประเมนิ ไป

คือ ๓ ดังน ี้



คะแนนเฉล่ีย = รอ้ ยละของคะแนน มฐ.ท่ี ๑ + รอ้ ยละของคะแนน มฐ.ที่ ๒ + ร้อยละของคะแนน มฐ.ท่ี ๓ ข (๓ - ๖ ป)ี






ตวั อย่างท่ี ๓ สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยที่มีเด็กอายแุ รกเกดิ - ๖ ปี (ก่อนเขา้ ป.๑) จะคำนวณโดยนำรอ้ ยละ

ของคะแนนมาตรฐานที่ ๑ มารวมกับร้อยละของคะแนนมาตรฐานท่ี ๒ ร้อยละของคะแนน

มาตรฐานท่ี ๓ ก (เดก็ อายุแรกเกิด - ๒ ปี) และรอ้ ยละของคะแนนมาตรฐานที่ ๓ ข เดก็ อายุ

๓ - ๖ ปี (ก่อนเขา้ ป.๑) หารด้วยจำนวนมาตรฐานที่ได้ประเมินไป คือ ๔ ดังน้ ี




คะแนนเฉลีย่ = ร้อยละของคะแนน มฐ.ท่ี ๑ + ร้อยละของคะแนน มฐ.ท่ี ๒ + ร้อยละของคะแนน มฐ.ท่ี ๓ ก (แรกเกิด - ๒ ปี)


+ ร้อยละของคะแนน มฐ.ท่ี ๓ ข (๓ - ๖ ปี)







278

๒. การสรปุ ผลการประเมินของสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั แหง่ ชาต


ระดับคณุ ภาพ
เกณฑก์ ารพิจารณา


คะแนนเฉลย่ี จำนวนขอ้ ที่ตอ้ งปรับปรุง


A ดมี าก รอ้ ยละ ๘๐ ขึน้ ไป ไม่มี


B ด ี รอ้ ยละ ๖๐-๗๙.๙๙ ๑-๗ ข้อ


C ผา่ นเกณฑข์ ้นั ต้น รอ้ ยละ ๔๐-๕๙.๙๙ ๘-๑๕ ขอ้


D ต้องปรบั ปรุง ต่ำกว่าร้อยละ ๔๐ ๑๖ ข้อขึ้นไป


279



ภาคผนวก ๓


คำส่ังคณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการท่เี กี่ยวขอ้ ง



283

284

285

286

287

288

289

290

291


Click to View FlipBook Version