The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

มฐ.ปฐมวัยแห่งชาติ ฉบับเต็ม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by noi1910251751, 2022-05-07 03:56:32

มฐ.ปฐมวัยแห่งชาติ ฉบับเต็ม

มฐ.ปฐมวัยแห่งชาติ ฉบับเต็ม

๕. มีการให้ความช่วยเหลือและให้การดูแลอย่างใกล้ชิด สำหรับเด็กที่บาดเจ็บหรือ

ท่มี อี าการป่วย

รายละเอียดการพิจารณา

การตรวจความสะอาด ครู/ผู้ดูแลเด็กตรวจฟันเด็กไปพร้อมกับการตรวจสุขภาพทั่วไป
หรือตรวจภายหลังท่ีเด็กแปรงฟันแล้ว โดยใช้หลอดพลาสติกเล็กๆ เขี่ยดูคราบจุลินทรีย์บนผิวฟัน
ฟนั ทสี่ ะอาดจะตอ้ งไมม่ คี ราบตดิ ออกมากบั ปลายหลอด หากพบวา่ มคี ราบตดิ ออกมากบั ปลายหลอด

แสดงว่ายังแปรงไม่สะอาด ครู/ผู้ดูแลเด็กต้องแปรงซ้ำ ฝึกทักษะการแปรงฟันให้เด็กเพิ่ม และ
แนะนำใหผ้ ู้ปกครองแปรงฟันเด็กที่บา้ นทกุ วัน

การตรวจฟันผุและบันทึกการตรวจ ควรตรวจเทอมละ ๑ ครั้ง หรือทุก ๖ เดือน

หากพบว่าฟันมรี อยสดี ำหรือเร่ิมมีรูผุ ควรแนะนำผปู้ กครองให้พาเด็กไปพบทันตบคุ ลากร

ข้อมลู ประกอบการพิจารณา

๑. บันทึกการตรวจสุขภาพอนามัย และความสะอาดของร่างกายประจำวันของเด็ก

ทุกคน*๒ เช่น การตรวจผม ตรวจเลบ็ สำรวจและสังเกตอาการเจ็บปว่ ยของเดก็

๒. บันทกึ การตรวจคัดกรองสขุ ภาพ*๓ และสุขภาพช่องปาก*๔ ของเดก็ รายบคุ คล

๓. บันทึกการเจ็บป่วยของเด็กเป็นรายบุคคล*๕ และการดูแลเบื้องต้น (หมายเหตุ :

ใหเ้ จา้ หน้าท่สี าธารณสุขตรวจหรอื แจง้ ผู้ปกครองให้พาไปตรวจ)



๒.๒.๔ เฝ้าระวังติดตามการเจริญเติบโตของเด็กเป็นรายบุคคล บันทึกผลภาวะโภชนาการ

อยา่ งต่อเนอ่ื ง



รายการพิจารณา

๑. การตดิ ตามและบันทึกการเจรญิ เตบิ โตของเด็กเป็นรายบุคคลทุก ๓ เดือน

๒. บันทึกโดยจุดลงบนกราฟน้ำหนักตามอายุ ส่วนสูงตามอายุ น้ำหนักตามส่วนสูง

และแปลผลภาวะโภชนาการและแนวโน้มการเจรญิ เติบโต

๓. แจ้งผลการเจริญเติบโต และให้คำแนะนำ/ความรู้ด้านโภชนาการท่ีสอดคล้องกับ

การเจรญิ เตบิ โต ภาวะโภชนาการของเดก็ แกพ่ ่อแม่/ผปู้ กครอง/ผดู้ แู ลเดก็

๔. นำผลการเฝ้าติดตามการเจริญเติบโตมาปรับการจัดอาหารให้เหมาะสมกับเด็ก

เป็นรายบุคคล

๕. มแี ผนและดำเนนิ การแกป้ ัญหาเด็กเต้ีย ผอม อ้วน ตามมาตรฐานอย่างเป็นระบบ


142

รายละเอียดการพิจารณา

๑. สุ่มชั่งน้ำหนัก วัดความยาว/ส่วนสูง*๖ และแปลผลโดยใช้กราฟ น้ำหนักตามเกณฑ์

อายุ ความยาว/ส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ และกราฟน้ำหนักตามเกณฑ์ความยาว/

ส่วนสูง ประมาณ ๑๐ คน ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลภาวะการเจริญเติบโต

ท่ีสุ่มกับข้อมูลของสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยของเด็กแต่ละคน สรุปจำนวนเด็กสูงด

สมสว่ น โดยดูเดก็ เป็นรายบคุ คล

๑.๑ เดก็ น้ำหนักตัวตามเกณฑ์ (± ๑.๕ SD)

๑.๒ เด็กสูงดี หมายถึง เด็กท่ีมีความยาวหรือส่วนสูงอยู่ใน

ระดบั สงู ตามเกณฑข์ ้ึนไป (สูงตามเกณฑ์ หรอื คอ่ นข้างสงู

หรือสูง) เมื่อเทียบกับกราฟความยาว/ส่วนสูงตาม

เกณฑ์อายุ

๑.๓ เด็กสมส่วน หมายถงึ เดก็ ท่ีมีนำ้ หนักอยูใ่ นระดับสมสว่ น

เมือ่ เทียบกับกราฟน้ำหนกั ตามเกณฑค์ วามยาว/สว่ นสงู

๑.๔ เด็กสูงดีสมส่วน หมายถึง เด็กท่ีมีความยาวหรือส่วนสูงอยู่ในระดับสูง

ตามเกณฑ์อายุข้ึนไปและมีน้ำหนักอยู่ในระดับสมส่วน (ในคนเดียวกัน) เด็ก

สูงดีสมสว่ นมี ๓ แบบ ดงั นี้






143

๒. การติดตามและบนั ทึกการเจรญิ เตบิ โตของเดก็ เปน็ รายบคุ คลทกุ ๓ เดอื น

๓. บนั ทกึ ลงในกราฟนำ้ หนักตามอายุ สว่ นสงู ตามอายุ น้ำหนักตามสว่ นสงู และแปลผล

ภาวะโภชนาการ



สำหรับเด็กแรกเกิด - อายุ ๒ ปี (๒ ปี ๑๑ เดือน) ชั่งน้ำหนักและวัด


ความยาวทุก ๓ เดอื น แลว้ นำไปเปรยี บเทยี บในกราฟแสดงการเจรญิ เตบิ โต

สำหรับเด็กอายุ ๓ ปี - อายุ ๖ ปี (กอ่ นเขา้ ประถมศึกษาปที ่ี ๑) ช่งั น้ำหนกั

และวดั สว่ นสูงทกุ ๓ เดอื น แลว้ นำไปเปรยี บเทยี บในกราฟแสดงการเจรญิ เตบิ โต





๔. มีการให้คำแนะนำ/ความรู้ด้านโภชนาการที่สอดคล้องกับการเจริญเติบโต ภาวะ

โภชนาการของเด็กแกพ่ อ่ แม/่ ผปู้ กครอง/ผดู้ แู ลเดก็

๕. นำผลการเฝา้ ตดิ ตามการเจริญเตบิ โตมาปรับการจัดอาหารใหเ้ หมาะสมกับเดก็

๖. มีแผนการแก้ปญั หาเด็กเต้ีย ผอม อว้ นกว่ามาตรฐานอยา่ งเปน็ ระบบ

ขอ้ มูลประกอบการพิจารณา

๑. บันทึกการเจริญเติบโตของเด็กเป็นรายบุคคลทุก ๓ เดือน*๗ ในกราฟน้ำหนัก

ตามเกณฑ์อายุ ความยาว/ส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ และน้ำหนักตามเกณฑ์ความยาว/

ส่วนสงู ตามเพศเป็นรายบุคคล

๒. แบบบันทึกการให้คำแนะนำ หรือวิธีการให้ความรู้ด้านโภชนาการท่ีสอดคล้อง

กับการเจรญิ เติบโตของเดก็ แก่พอ่ แม/่ ผปู้ กครอง/ผเู้ ลยี้ งดเู ด็ก

๓. แบบประเมนิ พฤติกรรมการบรโิ ภคอาหารเปน็ รายบคุ คล

๔. บันทกึ ผลการแก้ไขปัญหาเด็กเตี้ย ผอม อ้วน เปน็ รายบคุ คล



๒.๒.๕ จดั ใหม้ กี ารตรวจสุขภาพรา่ งกาย ฟนั และช่องปาก สายตา หู ตามกำหนด



รายการพิจารณา

๑. มกี ารสง่ เสริมใหเ้ ด็กได้รบั การตรวจสุขภาพตามกำหนด

๒. มบี นั ทกึ ผลการตรวจสขุ ภาพตามกำหนดเปน็ รายบุคคลอยา่ งตอ่ เนอื่ ง

๓. มีการให้ความช่วยเหลือเบ้ืองต้นกับเด็กที่มีปัญหาสุขภาพ และส่งต่อบุคลากร

ทางการแพทย์ มีการบันทึกการให้การช่วยเหลือเบ้ืองต้นกับเด็กท่ีมีปัญหาสุขภาพ

(ซง่ึ รวมท้ังการเจบ็ ป่วยและบาดเจ็บ)


144

๔. ครู/ผู้ดูแลเด็ก ศึกษาประวัติและบันทึกสุขภาพเด็กในความดูแล เพื่อปฏิบัติต่อเด็ก

ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

๕. ครู/ผู้ดูแลเด็กสามารถสังเกต ค้นพบ เม่ือเด็กมีอาการผิดปกติ และให้การช่วยเหลือ

ในกรณีท่เี ดก็ มีโรคประจำตวั หรือเดก็ ท่ีมคี วามตอ้ งการพิเศษ

* ตามกำหนดท่รี ะบใุ นสมุดบันทกึ สุขภาพแมแ่ ละเดก็ ๒.๒.๕_๑



รายละเอียดการพิจารณา

๑. มกี ารสง่ เสรมิ ให้เดก็ ไดร้ บั การตรวจสขุ ภาพตามกำหนด



ตรวจสขุ ภาพและรับวคั ซีนตามนัด เมื่ออายุ ๒, ๔, ๖, ๙-๑๒ เดือน, ๑ ปคี รงึ่ ,

๒ ปี หลงั จากน้ันตรวจสุขภาพทกุ ปี จนอายุ ๖ ปี





๒. มีบนั ทึกผลการตรวจสุขภาพตามกำหนดเปน็ รายบคุ คลอยา่ งตอ่ เนื่อง

๓. มีการให้ความช่วยเหลือเบื้องต้นกับเด็กที่มีปัญหาสุขภาพ และส่งต่อบุคลากร

ทางการแพทย์ มีการบันทึกการให้การช่วยเหลือเบื้องต้นกับเด็กที่มีปัญหาสุขภาพ

(ซึง่ รวมทั้งการเจบ็ ปว่ ยและบาดเจบ็ ) เชน่ เดก็ ทมี่ โี รคประจำตวั

๔. ครู/ผู้ดูแลเด็ก ศึกษาประวัติและบันทึกสุขภาพเด็กในความดูแลเพื่อปฏิบัติต่อเด็ก

ไดอ้ ย่างเหมาะสม

๕. ครู/ผู้ดูแลเด็ก สามารถสังเกต ค้นพบ เม่ือเด็กมีอาการผิดปกติและให้การช่วยเหลือ

ในกรณีท่ีเด็กมีโรคประจำตัวหรือเด็กที่มีความต้องการพิเศษ เช่น เด็กเป็นโรค

หอบหดื ลมชกั แพ้อาหาร เป็นตน้

ขอ้ มลู ประกอบการพิจารณา

๑. การวางแผนการส่งเสริมให้เดก็ ไดร้ บั การตรวจสุขภาพตามกำหนด

๒. แบบบันทึกการให้ความช่วยเหลือเบื้องต้นกับเด็กท่ีมีปัญหาสุขภาพ และวิธ

ช่วยเหลือ ได้แก่ แบบบันทึกการสืบสวนโรค*๘ แบบบันทึกการให้การพยาบาล*๙

แบบบันทึกสรุปผลการปฏิบตั งิ านเด็กป่วยประจำเดือน*๑๐

๓. ขอ้ มลู การสง่ ต่อบคุ ลากรทางการแพทย์




145

ตวั บง่ ชท้ี ี่ ๒.๓ การส่งเสรมิ พัฒนาการดา้ นสติปัญญา ภาษาและการสอ่ื สาร




๒.๓.๑ จัดกิจกรรมส่งเสริมให้เด็กได้สังเกต สัมผัส ลองทำ คิดต้ังคำถาม สืบเสาะหาความรู้

แกป้ ญั หา จนิ ตนาการ คดิ สรา้ งสรรค์ โดยยอมรบั ความคดิ และผลงานทแี่ ตกตา่ งของเดก็



รายการพิจารณา

๑. มีแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ท่ีส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญา ภาษา

และการสอ่ื สาร

๒. มีการจัดกิจกรรมให้เด็กได้พัฒนาทักษะกระบวนการคิด จินตนาการ และความคิด

สร้างสรรคผ์ ่านการเลน่ อย่างอสิ ระ

๓. มกี ารสง่ เสรมิ ให้เดก็ ได้แกป้ ญั หาด้วยตนเองในชวี ิตประจำวนั

๔. การสร้างบรรยากาศให้เด็กรู้สึกอบอุ่น กล้าคิดกล้าทำ ครูมีท่าทีและคำถามกระตุ้น

การคดิ และครยู อมรบั ความคดิ และผลงานของเดก็ ทแ่ี ตกตา่ งแตล่ ะคน ไมเ่ ปรยี บเทยี บ

ไมต่ คี า่ หรือตัดสินผลงานเด็ก

๕. เปิดโอกาสให้เด็กทุกคนพัฒนาทักษะกระบวนการคิด ผ่านการเล่นอย่างอิสระ และ

ได้นำเสนอผลงาน และมีพ้ืนทีจ่ ัดแสดงผลงานของเดก็

๖. การจดั สภาพแวดล้อม สือ่ อปุ กรณ์ ท่หี ลากหลายเอ้ือตอ่ การส่งเสรมิ กระตนุ้ การคดิ

ค้นคว้าและลงมือทำของเด็ก และสื่อท่ีสนับสนุนการทำกิจกรรม และสร้างผลงาน

ของเด็ก

รายละเอียดการพจิ ารณา

๑. มแี ผนการจัดประสบการณ์การเรยี นรทู้ ่สี ง่ เสรมิ พฒั นาการด้านสตปิ ญั ญา ภาษา และ

การสือ่ สาร

๒. มีการจัดกิจกรรมให้เด็กได้พัฒนาทักษะกระบวนการคิด จินตนาการ และความคิด

สรา้ งสรรค์

๓. มีการส่งเสริมให้เด็กได้แกป้ ัญหาดว้ ยตนเองในชวี ติ ประจำวนั

๔. เปิดโอกาสให้เดก็ พัฒนาทักษะกระบวนการคดิ ผ่านการเลน่ อยา่ งอสิ ระ

๕. เปดิ โอกาสใหเ้ ด็กทุกคนไดน้ ำเสนอผลงาน และมพี ืน้ ท่จี ัดแสดงผลงานของเด็ก

๖. การสรา้ งบรรยากาศท่ีเดก็ รู้สกึ อบอุ่น กลา้ คิดกลา้ ทำ ท่าทีและคำถามกระตนุ้ การคิด

การยอมรับความคดิ และผลงานทีแ่ ตกต่างของเด็กแต่ละคน ไมเ่ ปรยี บเทยี บ ไมต่ คี ่า

หรือตัดสนิ ผลงานเดก็


146

๗. การจัดสภาพแวดล้อม ส่ือ อุปกรณ์ ที่เอ้ือต่อการส่งเสริมการคิดและการลงมือ

ทำงานของเด็ก เช่น การจัดหนังสือ สมุดภาพ และส่ือท่ีสนับสนุนการทำกิจกรรม

และสร้างผลงานของเด็ก ส่ือที่มีความหลากหลายท่ีช่วยกระตุ้นการคิด และ

การคน้ คว้าของเด็ก

ข้อมูลประกอบการพจิ ารณา

๑. แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ท่ีส่งเสริมพัฒนาการด้านการคิด ทักษะ

กระบวนการคดิ จินตนาการ และความคดิ สรา้ งสรรค์

๒. กิจกรรมทีส่ ่งเสริมใหเ้ ด็กพัฒนาทักษะกระบวนการคดิ ผา่ นการเล่นอยา่ งอสิ ระ

๓. บนั ทกึ ผลการจดั กิจกรรม/บันทกึ หลังการสอน

๔. บทบาทครูในขณะจัดกิจกรรมให้กับเด็ก ท่ีสนับสนุนให้เด็กคิดและลงมือทำ เช่น

การใช้คำถามกระตุ้นให้คิด การให้อิสระในการคิดและการลงมือทำงาน การยอมรับ

ความคิดและผลงานทีแ่ ตกต่าง

๕. การจดั สภาพแวดล้อม สอ่ื อุปกรณ์ และพ้ืนทแี่ สดงผลงานของเดก็

๖. หลักฐานการเรียนรู้ หรอื การร่วมกจิ กรรมของเดก็ เช่น ภาพถ่าย หรือวดี ีโอ



๒.๓.๒ จดั กิจกรรมและประสบการณ์ทางภาษาที่มีความหมายตอ่ เดก็ เพอื่ การสื่อสาร

อยา่ งหลากหลาย ฝกึ ฟงั พดู ถาม ตอบ เลา่ และสนทนาตามลำดบั ขนั้ ตอนพฒั นาการ



รายการพจิ ารณา

๑. ให้เด็กได้ส่ือสารความต้องการด้วยภาษาท่าทาง ภาษาพูด และได้รับการตอบสนอง

อย่างเหมาะสมตามวยั

๒. มีแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ทางภาษาท่ีหลากหลาย โดยเริ่มจากภาษาแม่/

ภาษาถ่ินก่อน แล้วจึงใช้ภาษาไทยในการสื่อสารผ่านประสบการณ์การเรียนรู้และ

การเล่น

๓. มีการจัดกิจกรรมและประสบการณ์การเรียนรู้เพ่ือพัฒนาทักษะการฟัง การพูดผ่าน

กิจกรรมท่ีหลากหลาย การจัดกิจกรรมมีลักษณะการบูรณาการ สนุกสนานและ

สร้างทศั นคติท่ดี ตี ่อการใชภ้ าษา

๔. ครู/ผู้ดูแลเด็กเป็นแบบอย่างของผู้ฟังและผู้พูดที่ดี ท้ังด้านการใช้ภาษาและมารยาท

ทีด่ ีในการฟังและพดู


147

๕. มีการใช้ส่ือและการจัดสภาพแวดล้อมท่ีส่งเสริมทักษะการฟังและการพูดให้กับเด็ก

อย่างเหมาะสม

๖. มีการสำรวจความสามารถในการพูดการได้ยิน หากพบว่ามีเด็กท่ีมีปัญหาหรือ

ความบกพร่องในการฟังและการพูด มีการให้ความช่วยเหลือในเบ้ืองต้นตาม

ความต้องการจำเป็นของเด็ก และแนะนำผู้ปกครองหรือส่งต่อให้ผู้เชี่ยวชาญ

เฉพาะทาง เพอ่ื วินจิ ฉยั และใหค้ วามช่วยเหลอื ตอ่ ไป

รายละเอียดการพิจารณา

๑. เปิดโอกาสให้เด็กได้สื่อสารความต้องการและความรู้สึกด้วยภาษาท่าทาง และ

ภาษาพูดอย่างเหมาะสมตามวัย และเด็กได้รับการตอบสนองอย่างเหมาะสม ด้วย

การสร้างความรู้สึกมั่นใจท่ีจะพูดที่จะสื่อสาร มีเวลาให้เด็กแต่ละคนอย่างเพียงพอ

ในการพูดแสดงความคิดเห็น แสดงความรู้สึก ต้ังคำถาม บอกเล่าประสบการณ์

ให้คำแนะนำและเสริมแรงทางบวก ไม่ทำให้เด็กรู้สึกขาดความม่ันใจด้วยการตำหน ิ

เปรยี บเทยี บ ทำใหร้ ูส้ ึกอาย หรือเสยี หน้า

๒. มีแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ทางภาษาที่หลากหลาย โดยให้ความสำคัญ

ของภาษาแม่/ภาษาถ่ินเป็นลำดับต้น การออกแบบการจัดประสบการณ์เน้น

การเรียนรู้อย่างมีความสุขผ่านกิจกรรมและเล่นอย่างมีความหมายต่อเด็ก และ

สอดคล้องกับบริบทสงั คมและวัฒนธรรมของเดก็

๓. มีการจัดกิจกรรมและประสบการณ์การเรียนรู้เพ่ือพัฒนาทักษะการฟังการพูดผ่าน

กิจกรรมท่ีหลากหลาย การจัดกิจกรรมมีลักษณะการบูรณาการ สนุกสนานและ

สรา้ งทัศนคตทิ ่ีดตี ่อการใชภ้ าษา

๔. ครู/ผู้ดูแลเด็กเป็นแบบอย่างของผู้ฟังและผู้พูดที่ดี ทั้งด้านการใช้ภาษาและมารยาท

ทดี่ ีในการฟังและพูด

๕. มีการใช้สื่อและการจัดสภาพแวดล้อมท่ีส่งเสริมทักษะการฟังและการพูดให้กับเด็ก

อย่างเหมาะสม เชน่ การจัดมมุ หนังสอื มมุ บทบาทสมมุติ มมุ การเล่นหุน่

๖. มีการสำรวจความสามารถในการพูด การได้ยิน หากพบว่ามีเด็กท่ีมีปัญหาหรือ

ความบกพร่องในการฟังและการพูด มีการให้ความช่วยเหลือในเบ้ืองต้นตาม

ความต้องการจำเป็นของเด็ก และแนะนำผู้ปกครองหรือส่งต่อให้ผู้เชี่ยวชาญ

เฉพาะทาง เพอ่ื วนิ ิจฉัยและใหค้ วามชว่ ยเหลือต่อไป


148

ขอ้ มูลประกอบการพจิ ารณา

๑. ขณะทำกิจกรรมที่ครูเปิดโอกาสให้เด็กได้พูด ได้แสดงความคิดเห็น และท่าทีในการ

ตอบสนองของครู และการจดั กิจกรรมท่ีสง่ เสริมการให้เดก็ ไดฟ้ งั และพดู

๒. แผนการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรทู้ ส่ี ง่ เสรมิ ทกั ษะทางภาษา ดา้ นการฟงั และการพดู

๓. บันทึกผลการจัดกิจกรรม/บันทึกหลงั การสอน

๔. หลักฐานการเรียนรู้ หรือการร่วมกิจกรรมของเด็ก เช่น ผลงานของเด็ก ภาพถ่าย

หรือวีดีโอ

๕. สื่อ และจดั สภาพแวดลอ้ มที่สง่ เสรมิ ทกั ษะการฟงั และการพูดให้กับเดก็

๖. แบบบนั ทกึ คำพูดของเด็ก เชน่ กรณเี ด็กพดู ชา้



๒.๓.๓ จัดกิจกรรมปลูกฝังให้เด็กมีนิสัยรักการอ่านให้เด็กมีทักษะการดูภาพ ฟังเรื่องราว พูด

เลา่ อา่ น วาด/เขยี น เบื้องตน้ ตามลำดบั พฒั นาการ โดยครู/ผดู้ แู ลเด็ก เป็นตัวอย่าง

ของการพูด และการอ่านทถี่ ูกต้อง



รายการพจิ ารณา

๑. เด็กเลือกอ่านหนังสือในมุมหนังสือหรือสถานที่ที่ครูจัดไว้ให้อย่างอิสระ มีความรู้สึก

ม่ันใจท่ีจะอ่านและส่ือสารความคิด ความต้องการ และความรู้สึก ผ่านการพูด

วาดรูป หรอื ขีดเขียนอย่างเหมาะสมตามวยั และระดับพฒั นาการ

๒. แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้การอ่านและการเขียนเบ้ืองต้น มีลักษณะ

การบูรณาการผ่านกิจกรรมที่หลากหลาย ด้วยการออกแบบกิจกรรมให้ความสำคัญ

กบั การเรียนรู้การอา่ นและเขียนอยา่ งมีความสขุ และมีความหมายตอ่ เดก็

๓. การจัดกิจกรรมและประสบการณ์การเรียนรู้ รวมท้ังการเตรียมความพร้อมก่อน

การอ่านและการเขียน อยู่บนพ้ืนฐานของพัฒนาการและธรรมชาติการเรียนรู้ภาษา

ของเด็กปฐมวัย

๔. การจัดกิจกรรมท่ีเน้นการสร้างเจตคติท่ีดีต่อการใช้ภาษาอย่างมีความสุขและ

มีความหมายต่อเด็ก การเป็นผู้ฟังและผู้พูดที่ดีมากกว่าการเน้นความสมบูรณ์แบบ

ของการอา่ นและเขียน

๕. มีการจัดกิจกรรมท่ีส่งเสริมให้เด็กมีนิสัยรักการอ่าน การสร้างความคุ้นเคยและ

การเห็นคุณค่าของการอ่านและการเขียน โดยบรู ณาการการอ่านการเขยี นสู่กจิ กรรม

ประจำวนั


149

๖. มีการใช้ส่ือและการจัดสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมทักษะการอ่านและการเขียน

เบอ้ื งตน้ ให้กบั เด็กอย่างเหมาะสม จัดเตรยี มกระดาษ เครื่องเขยี น ใหเ้ ดก็ เลือกเขียน

อย่างอิสระตามความต้องการ และครู/ผู้ดูแลเด็กเป็นแบบอย่างที่ดีด้านการอ่าน

และการเขียนใหก้ บั เด็ก

๗. มกี ารประเมินความสามารถตามวยั ในการอ่าน การเขียนภาพและสญั ลกั ษณ์ของเดก็

หากพบว่ามีเด็กที่มีปัญหาในการอ่านและการเขียน ต้องให้ความช่วยเหลือใน

เบื้องตน้ และแนะนำผ้ปู กครองหรอื สง่ ต่อแพทย/์ เจ้าหนา้ ท่สี าธารณสขุ

รายละเอียดการพจิ ารณา

๑. เด็กส่ือสารความคิด ความต้องการ และความรู้สึกผ่านการวาดรูป หรือขีดเขียน

อย่างเหมาะสมตามวัย เด็กมีอิสระในการเลือกอ่านหนังสือในมุมหนังสือหรือท่ีท่ีคร

จัดไว้ให้ และเด็กทุกคนได้รับการตอบสนองอย่างเหมาะสมด้วยการสร้างความรู้สึก

มนั่ ใจทีจ่ ะอา่ นและเขยี น

๒. แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้การอ่านและการเขียนเบื้องต้นมีลักษณะ

การบูรณาการผ่านกิจกรรมท่ีหลากหลาย การออกแบบกิจกรรมให้ความสำคัญ

กบั การเรยี นรู้การอ่านและเขียนอย่างมคี วามสขุ และมีความหมายต่อเดก็

๓. การจัดกิจกรรมและประสบการณ์การเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านการเขียน

อยู่บนพื้นฐานของพัฒนาการและธรรมชาติการเรียนรู้ภาษาของเด็กปฐมวัย การจัด

กิจกรรมการอ่านเขียนจึงครอบคลุมการเตรียมความพร้อมของเด็กก่อนการอ่าน

และการเขียน เช่น การอ่านหนังสือภาพ การอ่านแบบคาดเดาจากหนังสือนิทาน

การอ่านคำท่ีติดอยู่ทั่วไปในห้องเรียนและบริเวณห้องเรียน การพัฒนาการใช้

กล้ามเนื้อมือ น้ิวมือ การทำงานประสานสัมพันธ์ระหว่างมือกับตา การขีดเขี่ย

การเขยี นทเ่ี ลยี นแบบการเขยี นของผใู้ หญ่แต่ยังไมเ่ ปน็ การเขยี นที่ถกู ต้อง เปน็ ตน้

๔. การจัดกิจกรรมให้ความสำคัญของการสร้างทัศนคติที่ดีต่อการใช้ภาษามากกว่า

การเน้นความสมบูรณ์แบบของการอ่านและเขียน กจิ กรรมการพฒั นาทักษะการอา่ น

เขยี นจงึ เปน็ กิจกรรมทีเ่ ดก็ เรียนรู้อยา่ งมีความสุข และมีความหมายตอ่ เดก็

๕. มีการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมให้เด็กมีนิสัยรักการอ่าน การสร้างความคุ้นเคยและ

การเหน็ คุณค่าของการอ่านและการเขยี น โดยบูรณาการการอา่ นการเขียนสกู่ ิจกรรม

ประจำวัน เช่น การอ่านกติกาข้อตกลงของห้อง การอ่านนิทานให้เด็กฟัง การอ่าน

ช่ือเด็กในหอ้ งเรยี น การอ่านเมนอู าหารกลางวนั การเขียนคำหรือประโยคสน้ั ๆ ตาม

ทเี่ ดก็ พูด การเขียนชอื่ เด็กในผลงาน เปน็ ตน้


150

๖. มีการใช้ส่ือและการจัดสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมทักษะการอ่านและการเขียน

เบอื้ งตน้ ใหก้ ับเดก็ อย่างเหมาะสม จดั เตรียมกระดาษ เคร่ืองเขียน ให้เด็กเลือกเขียน

อย่างอิสระตามความต้องการและครู/ผู้ดูแลเด็กเป็นแบบอย่างท่ีดีด้านการอ่านและ

การเขยี นใหก้ ับเด็ก

๗. มีการสำรวจความสามารถในการอ่านการเขียนของเด็ก หากพบว่ามีเด็กท่ีมีปัญหา

หรือความบกพร่องในการอ่านและการเขียนมีการให้ความช่วยเหลือในเบ้ืองต้นตาม

ความตอ้ งการจำเปน็ ของเดก็ และแนะนำผปู้ กครองหรอื สง่ ตอ่ ใหผ้ เู้ ชย่ี วชาญเฉพาะทาง

เพ่ือวินิจฉยั และให้ความชว่ ยเหลือต่อไป

ขอ้ มูลประกอบการพิจารณา

๑. แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ส่งเสริมทักษะทางภาษาด้านการอ่านและ

การเขยี น

๒. บันทกึ ผลการจัดกิจกรรม/บันทึกหลงั การสอน

๓. หลักฐานการเรียนรู้หรือการร่วมกิจกรรมของเด็ก เช่น ผลงานของเด็ก ภาพถ่าย

หรือวีดโี อ

๔. สอ่ื และจัดสภาพแวดล้อมท่สี ง่ เสรมิ ทกั ษะการอ่านและการเขียนใหก้ ับเด็ก

๕. แบบบนั ทึกการอ่านและการเขียนของเด็กเปน็ รายบคุ คล

๖. แผนการจัดกจิ กรรม/โครงการเพ่ือส่งเสรมิ ให้เด็กมีนสิ ัยรกั การอ่าน



๒.๓.๔ จดั ใหเ้ ดก็ มปี ระสบการณเ์ รยี นรเู้ กย่ี วกบั ตวั เดก็ บคุ คล สงิ่ ตา่ งๆ สถานที่ และธรรมชาต

รอบตัวด้วยวิธกี ารท่ีเหมาะสมกบั วยั และพฒั นาการ



รายการพจิ ารณา

๑. แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้เกี่ยวกับตัวเด็ก บุคคล สถานที่ สิ่งต่างๆ และ

ธรรมชาติรอบตัว สามารถเชื่อมโยงสิ่งท่ีเรียนรู้ใหม่กับความรู้และประสบการณ์เดิม

ของเด็ก ยืดหยุ่นและพร้อมปรับเปลี่ยนให้เหมาะกับความสนใจและความต้องการ

ของเด็ก

๒. การจัดกิจกรรมมุ่งให้เด็กมีความกระตือรือร้นที่จะเรียนรู้ สนใจส่ิงท่ีอยู่รอบตัว และ

เรยี นรกู้ ระบวนการแสวงหาความรู้ หาคำตอบในสงิ่ ทสี่ งสยั ผา่ นกจิ กรรมทหี่ ลากหลาย

๓. การใช้สื่อ/อุปกรณ์ และแหล่งเรียนรู้ท่ีหลากหลายสอดคล้องกับสาระการเรียนรู้

บรบิ ทสังคม วฒั นธรรมท้องถิน่ และความสนใจของเดก็


151

๔. จัดพ้ืนท่ีและโอกาสให้เด็กทุกคนได้นำเสนอสิ่งท่ีเด็กเรียนรู้ และผลงานที่เกิดจาก

การเรยี นรู้ของเด็ก

รายละเอียดการพิจารณา

๑. แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้เด็กมีความรู้เกี่ยวกับตัวเด็ก บุคคล และ

สถานท่ีแวดล้อมธรรมชาติรอบตัว ส่ิงต่างๆ รอบตัว โดยการกำหนดสาระต้องเป็น

เน้ือหาท่ีมีความหมายต่อเด็ก สามารถเช่ือมโยงส่ิงท่ีเรียนรู้ใหม่กับความรู้ และ

ประสบการณ์เดิมของเด็ก สาระท่ีกำหนดในแผนต้องยืดหยุ่นและพร้อมปรับเปลี่ยน

ให้เหมาะกบั ความสนใจและความตอ้ งการของเดก็

๒. การจัดกิจกรรมมุ่งให้เด็กมีความกระตือรือร้นท่ีจะเรียนรู้ สนใจส่ิงที่อยู่รอบตัว

และเรียนรู้กระบวนการแสวงหาความรู้หาคำตอบในสิ่งที่สงสัย ผ่านกิจกรรม

ท่หี ลากหลาย เช่น การค้นคว้า สำรวจ ทดลอง รวบรวมข้อมลู และสรปุ ผล กิจกรรม

ทีจ่ ัดขน้ึ มที ง้ั กิจกรรมเด่ยี วและกิจกรรมกลมุ่ ทเี่ หมาะกบั วัยของเดก็

๓. การใช้ส่ือ/อุปกรณ์และแหล่งเรียนรู้ท่ีหลากหลายสอดคล้องกับสาระการเรียนร ู้

บริบทสังคม วฒั นธรรมท้องถิ่น และความสนใจของเด็ก

๔. จัดพื้นท่ีและโอกาสให้เด็กทุกคนได้นำเสนอสิ่งท่ีเด็กเรียนรู้และผลงานท่ีเกิดจาก

การเรยี นรู้ของเดก็

ขอ้ มูลประกอบการพจิ ารณา

๑. แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้เด็กมีความรู้เก่ียวกับตัวเด็ก บุคคล และ

สถานทีแ่ วดลอ้ ม ธรรมชาตริ อบตวั สงิ่ ต่างๆ รอบตวั

๒. การจดั กจิ กรรมทห่ี ลากหลายและเหมาะสมกับเด็ก

๓. บนั ทึกผลการจดั กจิ กรรม/บันทึกหลังการสอน

๔. ร่องรอย/หลักฐานการเรียนรู้ หรือการร่วมกิจกรรมของเด็ก เช่น ผลงานของเด็ก

ภาพถา่ ย หรือวีดโี อ




152

๒.๓.๕ จัดกิจกรรมและประสบการณ์ด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์เบ้ืองต้นตามวัย

โดยเด็กเรยี นร้ผู ่านประสาทสัมผสั และลงมือปฏบิ ตั ิดว้ ยตนเอง



รายการพจิ ารณา

๑. มีแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ท่ีส่งเสริมทักษะคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร

แบบบรู ณาการ

๒. มีการจดั กิจกรรมท่ีสง่ เสริมทักษะพน้ื ฐานดา้ นคณิตศาสตร์และวทิ ยาศาสตร ์

๓. การนำความรู้และทักษะพื้นฐานด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์มาใช้ในชีวิต

ประจำวนั

๔. มกี ารบนั ทกึ ทักษะดา้ นคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตรข์ องเดก็ เป็นรายบุคคล

รายละเอยี ดการพิจารณา

๑. มีแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ส่งเสริมทักษะคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์

แบบบูรณาการ๒.๓.๕_๑, ๒.๓.๕_๒

๒. มีการจัดกิจกรรมท่ีส่งเสริมทักษะพ้ืนฐานด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ เช่น

การสงั เกต การจำแนก การเปรียบเทียบ จำนวน การวัด มติ ิสมั พนั ธ์ (พน้ื ที/่ ระยะ)

แบบรปู ความสมั พนั ธแ์ ละเวลา ผา่ นกจิ กรรมและการใชป้ ระสาทสมั ผสั ทห่ี ลากหลาย

๓. การนำความรู้และทักษะพ้ืนฐานด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์มาใช้ในชีวิต

ประจำวนั

๔. มีการบนั ทกึ ทกั ษะดา้ นคณติ ศาสตร์และวิทยาศาสตร์ของเด็กเป็นรายบคุ คล

ข้อมลู ประกอบการพจิ ารณา

๑. แผนการจัดประสบการณก์ ารเรียนร้สู ง่ เสริม

๒. การจดั กจิ กรรมทักษะคณติ ศาสตรแ์ ละวิทยาศาสตร์

๓. บนั ทกึ ผลการจัดกิจกรรม/บนั ทึกหลงั การสอน

๔. หลักฐานการเรียนรู้หรือการร่วมกิจกรรมของเด็ก เช่น ผลงานของเด็ก ภาพถ่าย

หรือวดี โี อ

๕. แบบบันทกึ ทักษะทางคณติ ศาสตร์และวทิ ยาศาสตร์ของเดก็ เปน็ รายบคุ คล




153

ตัวบง่ ชี้ ๒.๔ การสง่ เสรมิ พฒั นาการดา้ นอารมณ์ จติ ใจ-สงั คม ปลูกฝังคณุ ธรรมและ

ความเปน็ พลเมอื งดี




๒.๔.๑ สรา้ งความสัมพนั ธ์ทด่ี แี ละม่ันคง ระหว่างผู้ใหญก่ ับเดก็ จดั กจิ กรรมสรา้ งเสรมิ

ความสัมพนั ธ์ทดี่ ีระหว่างเดก็ กับเด็ก และการแกไ้ ขข้อขดั แยง้ อยา่ งสรา้ งสรรค์



รายการพิจารณา

๑. ให้ความสำคัญกับเด็กทุกคนรับฟังและยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคล สร้าง

บรรยากาศที่ส่งเสริมให้เด็กมีความม่ันคงทางอารมณ์ เห็นคุณค่าและมีความ

ภาคภูมิใจในตนเอง

๒. ให้แรงเสริมทางบวกต่อพฤติกรรมท่ีดี ชมเชย ให้กำลังใจอย่างสม่ำเสมอ ท้ังจากครู/

ผ้ดู แู ลเดก็ และจากกลุม่ เพอ่ื น

๓. จัดกิจกรรมท่ีส่งเสริมให้เด็กรับรู้เกี่ยวกับตนเอง ท้ังความคิด ความรู้สึก และ

การแสดงออกอยา่ งเหมาะสมกบั กาลเทศะตามวัย

๔. ฝึกทักษะในการติดตาม กำกับ และประเมินตนเองด้วยการชวนให้เด็กแสดง

ความคิดเห็นต่อการทำกิจกรรมหรือจากผลงานของเด็ก ชวนให้เด็กคิดตั้งคำถาม

เพ่อื การพัฒนาหรือปรับปรุงตนเอง

๕. จัดกิจกรรมที่เด็กได้พัฒนาการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างเด็กกับครู/ผู้ดูแลเด็ก

เดก็ ตอ่ เดก็ และจดั การแกไ้ ขความขัดแยง้ ทีเ่ กดิ ขนึ้ ได้อย่างเหมาะสม

รายละเอียดการพิจารณา

๑. การสร้างบรรยากาศและสภาพแวดล้อมท่ีส่งเสริมให้เด็กรู้สึกอบอุ่น ปลอดภัย

มีความมั่นคงทางอารมณ์ เห็นคุณค่า และมีความภาคภูมิใจในตนเอง ด้วยการ

ให้ความสำคัญกับเด็กทุกคน ยอมรับความแตกต่างของเด็กแต่ละคน พร้อมรับฟัง

และให้โอกาสเด็กทุกคนได้แสดงความคิดเห็นและแสดงออกถึงความต้องการของ

ตนเอง เมอ่ื ทำผดิ ครพู รอ้ มจะใหค้ ำแนะนำ ชวนใหเ้ ดก็ คดิ ยอมรบั ผดิ พรอ้ มทจี่ ะปรบั

และพัฒนาตนเอง

๒. การใหแ้ รงเสริมทางบวกต่อพฤตกิ รรมท่ดี ี ชมเชย ใหก้ ำลังใจ อยา่ งสมำ่ เสมอ ทง้ั จาก

คร/ู ผูด้ ูแลเด็กและจากกลมุ่ เพ่อื น

๓. การจัดกิจกรรมท่ีส่งเสริมให้เด็กรับรู้เกี่ยวกับตนเอง ทั้งความคิดความรู้สึกและ

การแสดงออกอย่างเหมาะสมตามวัย เช่น การวาดภาพตนเองและเล่าเร่ืองของ


154

ตนเอง การเล่าถึงสิ่งที่ตนเองถนัด ชอบ และสนใจ การบอกเล่าถึงความรู้สึกของ

ตนเองตอ่ เหตกุ ารณห์ รอื สถานการณท์ เ่ี กดิ ขน้ึ ทง้ั สง่ิ ทเี่ กดิ ขน้ึ จรงิ ในนทิ านหรอื เรอื่ งเลา่

๔. การฝึกทักษะในการติดตาม กำกับ และประเมินตนเอง จากขั้นตอนของสรุป

การเรียนรู้ของเด็ก ด้วยการชวนให้เด็กแสดงความคิดเห็นต่อการทำกิจกรรมหรือ

จากผลงานของเดก็ ตง้ั คำถามหรอื ชวนใหเ้ ดก็ คดิ เพอ่ื การพฒั นาหรอื ปรบั ปรงุ ตนเอง

๕. การจัดกิจกรรมที่เด็กได้พัฒนาการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างเด็กกับครู/ผู้ดูแลเด็ก

เด็กต่อเด็ก และบริหารจัดการความขัดแย้งที่เกิดขึ้นได้อย่างเหมาะสม เช่น การจัด

ให้เด็กไดเ้ ล่นและทำกจิ กรรมกลุ่มอย่เู สมอ ใหเ้ ดก็ ได้เสนอความคิดเหน็ ตอ่ การทำงาน

กลุ่ม การให้เด็กได้ร่วมคิด ร่วมแก้ปัญหาในกรณีท่ีเกิดความขัดแย้งขึ้นระหว่าง

เดก็ ดว้ ยกนั

ข้อมูลประกอบการพิจารณา

๑. ครู/ผดู้ ูแลเดก็ กับเด็ก เด็กกบั เดก็ สร้างความสมั พันธ์ท่มี น่ั คงทางบวกระหว่างกัน

๒. มีการให้แรงเสริมทางบวกตอ่ พฤติกรรมที่ดี ชมเชย ให้กำลงั ใจและรบั ฟังเด็ก

๓. มกี ารจดั กจิ กรรมทช่ี ว่ ยใหเ้ ดก็ สามารถรบั รเู้ กยี่ วกบั ตนเอง มคี วามมนั่ ใจกลา้ แสดงออก

และแสดงอารมณ์ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมตามวัย

๔. มกี ารจดั กจิ กรรมกลมุ่ ทช่ี ว่ ยใหเ้ ดก็ ไดเ้ รยี นรเู้ กยี่ วกบั การเลน่ และการทำงานรว่ มกบั เพอื่ น

๕. แผนการจัดประสบการณ์มีขั้นตอนท่ีเด็กได้สะท้อนการประเมินการทำงาน

หรือผลงานของเดก็



๒.๔.๒ จดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ มคี วามสขุ แจม่ ใส รา่ เรงิ ไดแ้ สดงออกดา้ นอารมณ์ ความรสู้ กึ

ทด่ี ตี อ่ ตนเอง โดยผา่ นการเคลอื่ นไหวรา่ งกาย ศลิ ปะ ดนตรี ตามความสนใจและถนดั



รายการพจิ ารณา

๑. จัดกิจกรรมให้เด็กทุกคนได้แสดงออกทางอารมณ์อย่างอิสระ โดยครู/ผู้ดูแลเด็ก

ยมิ้ แยม้ แจม่ ใส เอาใจใสใ่ นการนำเสนอ การตอบสนองกบั เดก็ และสนใจในสง่ิ ทเ่ี ดก็ ทำ

๒. ครจู ดั ใหเ้ ดก็ มปี ระสบการณท์ างสนุ ทรยี ภาพ ผา่ นงานศลิ ปะ ดนตรี และการเคลอื่ นไหว

ร่างกายตามความสนใจและความถนดั

๓. ครูให้โอกาสเด็กได้ชื่นชมผลงานของตนเองและผู้อื่น เพื่อสร้างความสุขและ

ความภมู ใิ จในตวั เอง

๔. ครูเป็นแบบอย่างท่ีดีควบคุมการแสดงออกทางอารมณ์ได้อย่างเหมาะสม ทั้ง

ทางสหี น้าและทา่ ทาง


155

๕. ครู/ผู้ดูแลเด็ก นำผลการประเมินหลังจากจัดกิจกรรมมาพิจารณาปรับปรุงวิธีการ

ที่จะให้การชว่ ยเหลือเด็กท่ไี มม่ ีความสุข/ไม่รา่ เรงิ

รายละเอียดการพิจารณา

๑. จัดกิจกรรมให้เด็กทุกคนได้แสดงออกทางอารมณ*์ ๑๑ อย่างอิสระ โดยครู/ผู้ดูแลเด็ก

ยม้ิ แยม้ แจม่ ใส เอาใจใสใ่ นการนำเสนอ การตอบสนองกบั เดก็ และสนใจในสง่ิ ทเ่ี ดก็ ทำ

๒. ครจู ดั ใหเ้ ดก็ มปี ระสบการณท์ างสนุ ทรยี ภาพ ผา่ นงานศลิ ปะ ดนตรี และการเคลอ่ื นไหว

ร่างกายตามความสนใจและความถนดั

๓. ครูให้โอกาสเด็กได้ชื่นชมผลงานของตนเองและผู้อื่น เพ่ือสร้างความสุขและ

ความภูมใิ จในตัวเอง

๔. ครูเป็นแบบอย่างที่ดีควบคุมการแสดงออกทางอารมณ์ได้อย่างเหมาะสม ท้ัง

ทางสหี นา้ และท่าทาง

๕. ครู/ผู้ดูแลเด็ก นำผลการประเมินหลังจากจัดกิจกรรมมาพิจารณาปรับปรุงวิธีการ

ท่ีจะใหก้ ารช่วยเหลอื เดก็ ทไ่ี มม่ ีความสขุ /ไมร่ ่าเริง

ข้อมลู ประกอบการพจิ ารณา

๑. การสอบถามคร/ู ผดู้ แู ลเดก็ /เพอ่ื นร่วมงาน/เดก็ /ผปู้ กครอง

๒. แผนการจัดประสบการณ์มีขั้นตอนที่เด็กได้สะท้อนการประเมินการทำงานหรือ

ผลงานของเด็ก



๒.๔.๓ จัดกิจกรรมและประสบการณ์ ปลูกฝังคุณธรรมให้เด็กใฝ่ดี มีวินัย ซื่อสัตย์ รู้จักสิทธ

และหน้าท่ีรับผิดชอบของพลเมืองดี รักครอบครัว โรงเรียน ชุมชนและประเทศชาติ

ดว้ ยวธิ ีทีเ่ หมาะสมกับวัย และพัฒนาการ



รายการพจิ ารณา

๑. แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้เพื่อปลูกฝังให้เด็กมีคุณธรรม จริยธรรม และ

ค่านิยมทพี่ งึ ประสงค์ตามวยั โดยบูรณาการกบั สาระการเรียนร ู้

๒. จัดกิจกรรมท่ีส่งเสริมและปลูกฝังให้เด็กมีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยม

ที่พึงประสงค์ โดยใหเ้ ด็กไดล้ งมือทำ ได้คิดเชิงเหตุผลทางจรยิ ธรรม และนำไปปฏบิ ตั

ไดจ้ ริง

๓. นำสถานการณ์ เหตุการณ์ในชีวิตประจำวัน/ในนิทานมาเรียนรู้ หรือการนำ

ประสบการณ์ที่ได้จากการทำกิจกรรมไปปรับใช้ได้ในชีวิตจริง มีการติดตามให้ม

การปฏบิ ตั อิ ยา่ งต่อเนื่อง


156

๔. ส่งเสริมให้เด็กปฏิบัติตามข้อตกลง/กฎ กติกา มีความรับผิดชอบ ด้วยการสร้างวินัย

เชิงบวก

๕. จัดกิจกรรมให้เด็กเป็นผู้นำ/ผู้ตาม รู้จักสิทธิและหน้าท่ีตามวิถีประชาธิปไตยอันมี

พระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ และการมอบหมายหนา้ ทคี่ วามรบั ผดิ ชอบตอ่ สว่ นรวม

รายละเอยี ดการพจิ ารณา

๑. แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้เพื่อปลูกฝังให้เด็กมีคุณธรรม จริยธรรม และ

ค่านิยมท่ีพึงประสงค์ตามวัย โดยจัดในลักษณะการบูรณาการกับสาระการเรียนร ู้

หรือจัดเป็นกิจกรรมเฉพาะเพ่ือกระตุ้นให้เด็กเกิดพฤติกรรมท่ีพึงประสงค์ในเรื่อง

ทใี่ กลต้ วั เดก็ เข้าใจและนำสูก่ ารปฏบิ ัตไิ ดง้ ่าย

๒. จดั กจิ กรรมทส่ี ง่ เสรมิ และปลกู ฝงั ใหเ้ ดก็ มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรมและคา่ นยิ มทพี่ งึ ประสงค ์

โดยให้เด็กได้ลงมือทำได้คิดเชิงเหตุผลทางจริยธรรม เพ่ือให้เด็กเข้าใจสิ่งที่เป็น

นามธรรม เช่น การเรียนรู้ผ่านการฟังนิทานที่เช่ือมโยงสู่คุณธรรมจริยธรรม

การเลน่ บทบาทสมมุติ นิทานหุ่น

๓. การสร้างเสริมคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ให้เกิดข้ึนในชีวิตจริง

อาจทำได้โดยการนำสถานการณ์ เหตุการณ์ในชีวิตประจำวัน มาเป็นประโยชน์ใน

การเรียนรู้ หรือการนำประสบการณ์ท่ีได้จากการทำกิจกรรมไปปรับใช้ได้ในชีวิตจริง

ติดตามใหม้ ีการปฏิบัตอิ ย่างตอ่ เน่ืองเพ่ือให้เกดิ เปน็ พฤติกรรมความเคยชิน

๔. การส่งเสริมให้เดก็ ปฏิบตั ติ ามกฎ กตกิ า มีความรบั ผิดชอบ ด้วยการใช้วนิ ยั เชงิ บวก

๕. การจัดกิจกรรมการเป็นผู้นำ ผู้ตาม รู้จักสิทธิ และหน้าที่ตามวิถีประชาธิปไตยอันม

พระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ และการมอบหมายหนา้ ทค่ี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ สว่ นรวม

ขอ้ มูลประกอบการพจิ ารณา

๑. แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้เพื่อปลูกฝังให้เด็กมีคุณธรรม จริยธรรม และ

ค่านยิ มทีพ่ งึ ประสงค์ตามวยั การเปน็ ผู้นำ และผตู้ ามท่ดี

๒. บนั ทกึ ผลการจดั กิจกรรม/บันทึกหลงั การสอน

๓. หลักฐานการเรียนรู้หรือการร่วมกิจกรรมของเด็ก เช่น ผลงานของเด็ก ภาพถ่าย

หรอื วดี ีโอ




157

ตวั บง่ ชท้ี ี่ ๒.๕ การสง่ เสรมิ เดก็ ในระยะเปลย่ี นผา่ นใหป้ รบั ตวั สกู่ ารเชอื่ มตอ่ ในขน้ั ถดั ไป




๒.๕.๑ จัดกิจกรรมกับผู้ปกครองให้เตรียมเด็กก่อนจากบ้านเข้าสู่สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย/

โรงเรียน และจดั กจิ กรรมชว่ งปฐมนิเทศให้เด็กค่อยปรับตวั ในบรรยากาศทีเ่ ป็นมติ ร



รายการพิจารณา

๑. สื่อสารและให้คำแนะนำเกี่ยวกับการเตรียมความพร้อมของผู้ปกครองและเด็ก

กอ่ นเข้าส่สู ถานพฒั นาเด็กปฐมวัย/โรงเรยี น

๒. รวบรวมข้อมูลพื้นฐานของเด็กเกี่ยวกับสุขภาพการเติบโต พัฒนาการและพฤติกรรม

ของเด็ก ตลอดจนความตอ้ งการพิเศษและปัญหาทอี่ าจพบไดเ้ พือ่ ส่งต่อในขนั้ ถัดไป

๓. จัดให้พ่อแม่ ผู้ปกครองพาเด็กไปทำความรู้จักสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย/โรงเรียนและ

พบคร/ู ผดู้ แู ลเด็ก

๔. ครู/ผู้ดูแลเด็ก ศึกษาข้อมูลเก่ียวกับเด็กและเตรียมความพร้อมเพ่ือให้การดูแลและ

พัฒนาเด็กได้เหมาะสมอย่างตอ่ เน่ือง

๕. มีการสื่อสารของครู/ผู้ดูแลเด็กระหว่างช้ันหรือไปสู่สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งใหม ่

ดว้ ยการส่งตอ่ ขอ้ มลู ประวัติ ผลพัฒนาการและการเรียนรู้ โดยให้ผ้ปู กครองรบั ทราบ

และมีสว่ นรว่ มกนั พฒั นาเดก็ อย่างตอ่ เน่ือง

รายละเอียดการพิจารณา

๑. ก่อนถึงระยะเปล่ียนผ่านจากบ้านไปสู่สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย จากชั้นเด็กเล็กไปสู

ช้ันถัดไป เด็กและผู้ปกครองจำเป็นจะต้องมีการเตรียมตัวเพื่อเด็กจะได้ปรับตัว

ไดง้ ่ายตอ่ การเปล่ยี นแปลงของวิถชี วี ิต เวลา กิจวตั รประจำวนั ไปสูก่ ารเปลย่ี นแปลง

ท่ีต้องเจอคนแปลกหน้าพบคนท่ีหลากหลาย กิจวัตรและกิจกรรมที่หลากหลาย

เปล่ียนไปจากสภาพเดมิ

๒. คร/ู ผดู้ แู ลเดก็ จะเปน็ คนสำคญั ในการใหข้ อ้ มลู และแนะนำวา่ ผปู้ กครองจะชว่ ยใหเ้ ดก็

เตรียมตัวอย่างไร ซึ่งอาจหมายถึงการปรับเปล่ียนเวลาและวิถีประจำวัน การนอน

การตื่น การเปลี่ยนสถานท่ี เป็นต้น ซึ่งผู้ปกครองสามารถท่ีจะทำความเข้าใจและ

ไปเตรยี มเด็กตามลำดบั เพ่ือใหเ้ ดก็ ได้เกิดความคนุ้ เคย และปรับตัวไดง้ า่ ย

๓. พ่อแม่ ผู้ปกครอง ควรจะได้รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับตัวเด็กและสมุดสุขภาพเด็กท่ีจะ

นำมาให้สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย เพื่อจะได้มีประวัติท่ีสมบูรณ์ท่ีครู/ผู้ดูแลเด็กจะได

ปฏิบัติต่อเด็กได้เหมาะสม ในกรณีที่เด็กมีโรคประจำตัว/ความต้องการพิเศษ เช่น


158

เป็นโรคลมชัก หอบหืด แพ้อาหารทะเล ฯลฯ หรือแม้แต่พ้ืนอารมณ์ของเด็ก ถ้าคร

ได้รู้จะวางแผนในการดูแลเด็กได้อย่างเหมาะสมเป็นรายบุคคล ซ่ึงครู/ผู้ดูแลเด็ก

ในชัน้ จะต้องรวบรวมสิ่งที่เกิดข้นึ ในชน้ั ของตวั และสง่ ใหค้ รใู นช้นั ตอ่ ไป

๔. เม่ือรวบรวมแล้วต้องแลกเปล่ียนระหว่างครูกับผู้ปกครอง และครูกับครูในชั้นต่อไป

ทัง้ ประวตั ิสขุ ภาพ พฒั นาการ และการเจริญเตบิ โต

ข้อมลู ประกอบการพิจารณา

๑. กำหนดการปฐมนิเทศ

๒. เอกสารต่างๆ เกยี่ วกบั สถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัย

๓. แนวทางการจัดกจิ กรรมเตรยี มเดก็ จากบา้ นสสู่ ถานพฒั นาเด็กปฐมวยั /โรงเรยี น



๒.๕.๒ จัดกิจกรรมส่งเสริมการปรับตัวก่อนเข้ารับการศึกษาในระดับท่ีสูงขึ้นแต่ละข้ัน จนถึง

การเป็นนกั เรียนระดับช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๑



รายการพิจารณา

๑. ครู/ผู้ดูแลเด็ก ศึกษาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยและหลักสูตรแกนกลางการศึกษา

ข้นั พน้ื ฐาน การจดั การเรยี นการสอนในระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๑

๒. ครู/ผู้ดูแลเด็ก แนะนำให้ผู้ปกครองเรียนรู้วิถีชีวิตและศึกษาหลักสูตรปฐมวัยและ

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน การจัดการเรียนการสอนในช้ันประถม

ศกึ ษาปที ี่ ๑

๓. มีการประมวลผลข้อมูลพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กเป็นรายบุคคลเพื่อให้

การสง่ เสริมและชว่ ยเหลอื ในระดบั ขัน้ ถดั ไป

๔. ครู/ผู้ดูแลเดก็ วางแผนจัดกจิ กรรมส่งเสริมใหเ้ ด็กคนุ้ เคย ปรบั ตวั กบั ส่งิ แวดลอ้ ม และ

คร/ู ผู้ดูแลเดก็ ใหม

รายละเอยี ดการพิจารณา

๑. ในการเขา้ รับการศกึ ษาระดับประถมศึกษาปที ี่ ๑ เดก็ จำเปน็ ตอ้ งมีทกั ษะในการดแู ล

ตัวเอง ทักษะทางอารมณ์สังคม ทักษะการเรียนรู้ในข้ันท่ีสูงข้ึน ท้ังเน้ือหาวิชาการ

และวิธีการจัดการเรียนการสอน เด็กต้องมีความรับผิดชอบที่มากขึ้น ต้องช่วยเหลือ

ตนเองมากข้ึน ครูช้ันประถมมักจะเน้นการเรียนการสอนทางวิชาการมากข้ึน

การเรียนรผู้ า่ นการเลน่ น้อยลง


159

๒. เดก็ ต้องปรบั ตวั การเลน่ การพกั ผอ่ นน้อยลง การเอาใจใส่รายละเอยี ดความเป็นอย ู่

และพฤติกรรมน้อยลง มีเน้ือหาความรู้ทางวิชาการและการบ้านมากข้ึน พ่อแม่และ

เดก็ จงึ ตอ้ งปรบั ตวั พอ่ แมต่ อ้ งตดิ ตามและกำกบั สนบั สนนุ ใหเ้ ดก็ ไดท้ ำหนา้ ทรี่ บั ผดิ ชอบ

ประสบความสำเร็จ ถือว่าเป็นการก้าวข้ามไปอีกข้ันของพัฒนาการอีกระดับหนึ่งท
่ี
สูงข้ึน ท้ังพ่อแม่ ผู้ปกครองและเด็ก จำเป็นต้องเตรียมตัวให้มากขึ้นก่อนเข้าสู่ระดับ

ประถมศึกษาปีที่ ๑

๓. ต้องส่งต่อและพาไปดูสถานท่ี ระบบท่ีแตกต่าง จึงต้องทำความเข้าใจ และเตรียม

ช่วยให้เด็กประสบความสำเร็จ ทำให้เด็กปรับตัวได้ง่ายข้ึน และเป็นการลดปฏิกิริยา

การปรบั ตวั ทไ่ี มพ่ ึงประสงค์

ขอ้ มลู ประกอบการพจิ ารณา

๑. แผนการจัดกจิ กรรม

๒. หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั

๓. หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน

๔. ข้อมลู พฒั นาการ และการเรยี นรู้ของเด็กเปน็ รายบคุ คล

๕. กำหนดการปฐมนเิ ทศ


160

เอกสารอ้างองิ , Website, QR Code

หมายเลข มาตรฐานดา้ นที่ ๒


เอกสาร

๒.๑.๑_๑ รายการ


๒.๑.๑_๒ กระทรวงศึกษาธิการ. หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐. กรุงเทพ:

โรงพมิ พช์ มุ นุมสหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด., ๒๕๖๐.

สถาบันพัฒนาอนามยั เด็กแห่งชาติ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ . แนวทางการดแู ล

จัดประสบการณ์การเรียนรู้เพื่อพัฒนาเด็กอายุต่ำกว่า ๓ ปี. (อยู่ในระหว่างพิมพ์),

๒.๒.๒_๑ ๒๕๖๑.

ฐิติกร โตโพธ์ิไทย อรณา จันทรศิริ และปฏิญญา พงษ์ราศรี (บรรณาธิการ). ข้อแนะนำ

การส่งเสริมกิจกรรมทางกาย การลดพฤติกรรมเนือยน่ิง และ การนอนหลับสำหรับ

เดก็ ปฐมวัย (แรกเกิด-๕ ปี). กรงุ เทพ: บรษิ ัท เอ็นซี คอนเซ็ป จำกัด, ๒๕๖๐.

http://resource.thaihealth.or.th/library/hot/16254

๒.๑.๔_๑ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. กรอบมาตรฐานและคู่มือการจัด

๒.๓.๕_๒ การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ปฐมวัย ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยพุทธศักราช ๒๕๔๖.

๒.๑.๔_๓ กรุงเทพฯ, ๒๕๕๔.

http://www.ipst.ac.th

http://www.csip.org

สมดุ บนั ทึกสุขภาพแม่และเด็ก

๒.๒.๕_๑ http://www.dohlibrary.net/index.php?option=com_phocadownload&view=

category&id=80:2013-11-26-04-11-13&Itemid=68






161

หมายเลข รายการ

สถาบนั ราชานกุ ลู และ สสส. แผน่ พับเตรียมพรอ้ มต้ังแต่กา้ วแรกของลกู น้อย


เอกสาร

๒.๓.๕_๑



































http://rajanukul.go.th/new/index.php?mode=academic&group=323&id=

3504&date_start=&date_end=


162

ภาคผนวก


สญั ลักษณ ์ มาตรฐานดา้ นที่ ๒

*๑

(๒.๒.๑)
ภาคผนวก

*๒

(๒.๒.๓)
การจัดอาหารให้กบั เดก็ ปฐมวัย

*๓

(๒.๒.๓)
แบบบันทกึ การตรวจความสะอาดของรา่ งกายประจำวัน

*๔

(๒.๒.๓)
แบบบันทึกการตรวจคัดกรองสุขภาพ

*๕

(๒.๒.๓)
แบบบนั ทกึ การตรวจสุขภาพความสะอาดของฟัน

*๖
(๒.๒.๔) แบบบันทกึ อาการเจ็บป่วย


วิธีการชัง่ น้ำหนกั

ควรถอดเสือ้ ผา้ ออกใหเ้ หลือเท่าทจี่ ำเป็นโดยเฉพาะเสอ้ื ผา้ หนาๆ รวมท้งั รองเทา้ ถุงเทา้

และนำของเลน่ ของใชอ้ อกจากตวั เดก็ ถา้ เปน็ เครอื่ งชงั่ แบบยนื ทม่ี เี ขม็ ผทู้ ท่ี ำการชงั่ นำ้ หนกั

จะต้องอยู่ในตำแหน่งตรงกันข้ามกับเด็ก ไม่ควรอยู่ด้านข้างท้ังซ้ายหรือขวาเพราะจะทำให ้

อ่านค่าน้ำหนักมากไปหรือน้อยไปได้ อ่านค่าให้ละเอียดถึงทศนิยม ๑ ตำแหน่ง เช่น

๑๐.๖ กิโลกรมั

วธิ วี ดั ความยาว


ควรมีผู้วัดอย่างน้อย ๒ คน โดยคนหน่ึงจับด้านศีรษะและลำตัวให้อยู่ในท่านอนราบ

ตัวตรง ไมเ่ อยี ง ส่วนอกี คนหน่งึ จบั เขา่ ใหเ้ หยียดตรง และเล่ือนไม้ฉากเข้าหาฝา่ เทา้ ทีต่ ้งั ฉาก

อย่างรวดเร็ว อา่ นค่าใหล้ ะเอยี ดถงึ ทศนิยม ๑ ตำแหน่ง เชน่ ๗๐.๒ เซนตเิ มตร


163


ัญลกั ษณ์ ภาคผนวก


วิธวี ดั สว่ นสูง

๑. เด็กถอดรองเทา้ ถงุ เท้า

๒. ผหู้ ญงิ ทมี่ กี บ๊ิ ทค่ี าดผม หรอื มดั ผม ใหน้ ำออกกอ่ นวดั

๓. ยนื บนพื้นราบ เท้าชิด

๔. ยดื ตัวขึ้นไปขา้ งบนให้เตม็ ที่ ไมง่ อเข่า

๕. ศีรษะ หลงั ก้น สน้ เทา้ สัมผัสกับไม้วัด

๖. ตามองตรงไปขา้ งหนา้ ศรี ษะไม่เอยี งซา้ ย-เอยี งขวา

ไมแ่ หงนหน้าขนึ้ หรือกม้ หน้าลง

๗. ใชไ้ ม้ฉากในการอ่านคา่ สว่ นสงู อา่ นค่าส่วนสูง

ใหอ้ ยใู่ นระดบั สายตาผวู้ ดั โดยอ่านคา่ ให้ละเอยี ด

ถึงทศนยิ ม ๑ ตำแหนง่ เช่น ๑๑๘.๔ เซนติเมตร



แปลผลโดยบนั ทกึ ความยาว/สว่ นสูง และนำ้ หนักในโปรแกรมเฝา้ ระวังการเจรญิ เตบิ โต

ของเด็ก (BNutri-GSP) หรือจุดส่วนสูงน้ำหนัก และลากเส้นเช่ือมจุดบนกราฟความยาว/

ส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ น้ำหนักตามเกณฑ์ความยาว/ส่วนสูง น้ำหนักตามเกณฑ์อาย ุ

เพ่ือทราบภาวการณ์เจริญเติบโต และดแู นวโน้มการเพมิ่ ความยาว/สว่ นสูงน้ำหนกั

มกี ารประเมนิ พฤตกิ รรมการบรโิ ภคอาหารเปน็ รายบคุ คลทกุ ๓ เดอื น นำผลการประเมนิ

ผลการเจริญเติบโตและพฤติกรรมการบริโภคอาหาร แจ้งและอธิบายแก่พ่อแม่/ผู้เล้ียงด

เด็ก ให้คำแนะนำโภชนาการท่ีสอดคล้องกับภาวะการเจริญเติบโตและพฤติกรรม

การบริโภคอาหารของเด็ก จัดทำข้อมูลภาวะการเจริญเติบโตเป็นรายบุคคล และสรุป

จำนวน และร้อยละภาวะการเจริญเติบโตของสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย แยก ๓ เกณฑ์ คอื

ส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ น้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง และน้ำหนักตามเกณฑ์อายุ รวมทั้ง

จำนวนและร้อยละเด็กสูงดีสมส่วน แก้ไขปัญหาเด็กเต้ีย ผอม อ้วน เป็นรายบุคคล และ

ติดตามน้ำหนัก ความยาว/ส่วนสูง ทุกเดือนสรุปผลการเฝ้าระวังและติดตามการเจริญ

เติบโต เป็นรายบุคคลทุก ๓ เดือน และสรุปการแก้ไขปัญหาเด็กเตี้ย ผอม อ้วน เป็น


รายบคุ คลทุกเดือน


164


ัญลักษณ ์ ภาคผนวก

*๗ บนั ทึกการเจริญเตบิ โตของเดก็ เปน็ รายบคุ คล ทกุ ๓ เดอื น

(๒.๒.๔) - กราฟแสดงนำ้ หนักตามเกณฑ์อายุ เพศชาย สำหรับพ่อแม่ใชใ้ นการตดิ ตามนำ้ หนกั ลูก

- กราฟแสดงความยาว/ส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ เพศชาย สำหรับพ่อแม่ใช้ในการติดตาม

สว่ นสูงลูก

- กราฟแสดงน้ำหนักตามเกณฑ์ความยาวของเด็กอายุแรกเกิด-๒ ปี เพศชาย สำหรับ

พ่อแมใ่ ชใ้ น การติดตามการเจรญิ เตบิ โตดา้ นรปู รา่ งของลกู (อ้วน สมสว่ น ผอม)

- กราฟแสดงน้ำหนักตามเกณฑ์ความสูงของเด็กอายุ ๒-๕ ปี เพศชาย สำหรับพ่อแม่ใช้

ในการติดตามการเจรญิ เติบโตด้านรปู ร่างของลกู (อว้ น สมส่วน ผอม)

- กราฟแสดงน้ำหนักตามเกณฑอ์ ายุ เพศหญงิ สำหรับพอ่ แมใ่ ช้ในการตดิ ตามนำ้ หนักลกู

- กราฟแสดงความยาว/ส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ เพศหญิง สำหรับพ่อแม่ใช้ในการติดตาม

สว่ นสงู ลกู

- กราฟแสดงน้ำหนักตามเกณฑ์ความยาวของเด็กอายุแรกเกิด-๒ ปี เพศหญิง สำหรับ

พ่อแม่ใช้ในการติดตามการเจริญเตบิ โตดา้ นรปู รา่ งของลูก (อว้ น สมส่วน ผอม)

- กราฟแสดงน้ำหนักตามเกณฑ์ความสูงของเด็กอายุ ๒-๕ ปี เพศหญิง สำหรับพ่อแม่ใช


ในการตดิ ตามการเจรญิ เตบิ โตด้านรูปรา่ งของลูก (อว้ น สมส่วน ผอม)

*๘ แบบบนั ทกึ การสืบสวนโรค


(๒.๒.๕)

*๙ แบบบนั ทกึ การให้การพยาบาล


(๒.๒.๕)

*๑๐ แบบบนั ทึกสรุปผลการปฏบิ ัติงานเดก็ ป่วยประจำเดอื น

(๒.๒.๕)




165

สัญลักษณ ์ ภาคผนวก

*๑๑
(๒.๔.๒) คุณลกั ษณะทีแ่ สดงถงึ ความสขุ และการแสดงออกทางอารมณไ์ ด้เหมาะสมกับวยั (แรกเกิด-๓ ปี)


คุณลกั ษณะ
อายุ สภาพที่พึงประสงค


๑. ร่าเริงแจ่มใส แรกเกิดถึง-๓ ป ี อารมณ์ดี ยิ้มแย้ม หัวเราะงา่ ย แววตามีความสขุ


๒. แสดงออกทางอารมณ์ แรกเกดิ -๒ เดอื น - ย้มิ และหวั เราะไดเ้ มอื่ พอใจ

ไดอ้ ย่างเหมาะสม - สบตาจ้องหนา้ แม่

กบั วัย
๒-๔ เดือน - ผกู พันกบั พ่อแม่หรือผ้เู ล้ยี งดูใกลช้ ิด

- ย้มิ ทกั ทายเมื่อเห็นหน้าคนค้นุ เคย


๔-๖ เดือน - แสดงอารมณท์ ่หี ลากหลายผา่ นการสง่ เสียง


๖-๙ เดอื น - แสดงอารมณต์ ามความรู้สกึ

- แสดงอาการกลัวคนแปลกหน้า


๙ เดือน-๑ ป ี - แสดงความสนใจ ตดิ ผูเ้ ลย้ี งดูตนเองมากกว่าคนอนื่

- แสดงความตอ้ งการของตนเองมากขน้ึ


๑ ปี-๑ ปี ๖ เดอื น - แสดงความชอบไม่ชอบส่วนตัวอย่างชดั เจน


๑ ปี ๖ เดอื น-๒ ป ี - แสดงความรกั ต่อผอู้ ่ืน

- แสดงความกังวลเม่ือยแยกจากคนใกลช้ ิด


๒-๓ ป ี - แสดงความภาคภูมใิ จเม่อื ทำสง่ิ ตา่ งๆ สำเร็จ

- ชอบพดู คำว่า “ไม่” แมจ้ ะเปน็ ส่ิงทต่ี อ้ งการ


๓. สนใจ และมคี วามสขุ แรกเกดิ ถึง-๓ ปี ตอบสนองตอ่ ธรรมชาติ เสยี งเพลง จังหวะดนตรี

กับธรรมชาติ และสิง่ สวยงามต่างๆ อย่างเพลดิ เพลิน

สง่ิ สวยงาม ดนตร ี


และจังหวะ

การเคล่ือนไหว

มสี ุขภาพจติ ดแี ละมีความสขุ มกี ารแสดงออกทางอารมณ์เหมาะสมกบั วยั (๓-๖ ปี)


คุณลักษณะ อาย ุ สภาพที่พงึ ประสงค


๑. แสดงออกทางอารมณ์ ๓-๔ ป ี แสดงออกอารมณค์ วามร้สู ึกได้เหมาะสมกบั บางสถานการณ

ไดอ้ ย่างเหมาะสม
๔-๕ ปี แสดงอารมณ์ความรู้สกึ ได้ตามสถานการณ์


๕-๖ ปี แสดงอารมณค์ วามรสู้ กึ ได้สอดคล้องกบั สถานการณอ์ ย่าง

เหมาะสม


๒. มีความรูส้ กึ ทีด่ ี ๓-๔ ปี - กลา้ พดู กล้าแสดงออก

ตอ่ ตนเองและผ้อู น่ื - แสดงความพอใจในผลงานตนเอง


๔-๕ ป ี - กลา้ พูดกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมบางสถานการณ์

- แสดงความพอใจในผลงานและความสามารถของตนเอง


๕-๖ ปี - กลา้ พูดกลา้ แสดงออกอย่างเหมาะสมตามสถานการณ์

- แสดงความพอใจในผลงานและความสามารถของตนเอง

และผู้อืน่


(คัดลอกจาก: หลักสูตรการศึกษาปฐมวยั พ.ศ. ๒๕๖๐, หน้า ๙ และ ๒๘)


166

*๑ (๒.๒.๑) การจัดอาหารให้กบั เด็กปฐมวยั

167

168

*๒ (๒.๒.๓) แบบบนั ทึกการตรวจความสะอาดของรา่ งกายประจำวนั

169

*๓ (๒.๒.๓) แบบบันทกึ การตรวจคดั กรองสุขภาพ


170

*๔ (๒.๒.๓) แบบบนั ทึกการตรวจสขุ ภาพความสะอาดของฟนั


171

*๕ (๒.๒.๓) แบบบนั ทึกอาการเจ็บปว่ ย


172

*๗ (๒.๒.๔) บนั ทึกการเจริญเตบิ โตของเดก็ เปน็ รายบุคคล ทกุ ๓ เดอื น


173

174

175

176

177

178

179

180

*๘ (๒.๒.๕) แบบบนั ทกึ การสืบสวนโรค


181

*๙ (๒.๒.๕) แบบบนั ทึกการใหก้ ารพยาบาล


182

*๑๐ (๒.๒.๕) แบบบันทกึ สรปุ ผลการปฏิบตั ิงานเดก็ ปว่ ยประจำเดอื น

183

184

มาตรฐานด้านท่ี ๓ คุณภาพของเดก็ ปฐมวัย
มาตรฐานดา้ นที่ ๓  



ำหรับเด็กแรกเกิด - อายุ ๒ ปี (๒ ปี ๑๑ เดือน ๒๙ วนั ) 
ขอ้ มลู ประกอบ

การพจิ ารณา

ตวั บง่ ชี้ที่ ๓.๑ ก เดก็ มกี ารเจรญิ เตบิ โตสมวัย



เกณฑก์ ารพจิ ารณา
ขอ้ รายการพจิ ารณา
๐ ๑ ๒ ๓
ตอ้ งปรบั ปรงุ ผา่ นเกณฑข์ น้ั ตน้ ด ี ดมี าก


185 ๓.๑.๑ ก เดก็ มนี ำ้ หนกั ตวั เหมาะสมกบั วยั และสงู ดสี มสว่ น เดก็ มนี ำ้ หนกั เดก็ มนี ำ้ หนกั เดก็ มนี ำ้ หนกั เดก็ มนี ำ้ หนกั - สมดุ บนั ทกึ

ซงึ่ มบี นั ทกึ เปน็ รายบคุ คล ตามเกณฑอ์ ายุ และ ตามเกณฑอ์ ายุ และ ตามเกณฑอ์ ายุ และ ตามเกณฑอ์ ายุ และ การเจรญิ เตบิ โตของเดก็

❏ ๑. นำ้ หนกั ตวั ตามเกณฑอ์ ายุ สงู ดสี มสว่ นนอ้ ยกวา่ สงู ดสี มสว่ น สงู ดสี มสว่ น สงู ดสี มสว่ น - กราฟแสดง

(Weight for age) รอ้ ยละ ๕๐ รอ้ ยละ ๕๐-๕๖ รอ้ ยละ ๕๗-๖๓ รอ้ ยละ ๖๔ ขน้ึ ไป การเจรญิ เตบิ โต

❏ ๒. ความยาว/สว่ นสงู ตามเกณฑอ์ ายุ ตามเกณฑอ์ า้ งองิ

(Height for age) ตามเพศและชว่ งอายุ

❏ ๓. นำ้ หนกั ตามเกณฑค์ วามยาว/สว่ นสงู ของกรมอนามยั

(Weight for height) กระทรวงสาธารณสขุ

พ.ศ. ๒๕๕๘

(ประยกุ ตจ์ าก

องคก์ ารอนามยั โลก)

- ขอ้ มลู ภาวะ

การเจรญิ เตบิ โต

เปน็ รายบคุ คล

- สรปุ จำนวนและรอ้ ยละ

ของเดก็ มนี ำ้ หนกั

ตามเกณฑอ์ ายุ

- สรปุ จำนวนและรอ้ ยละ

ของเดก็ สงู ดสี มสว่ น

(ดจู ากสว่ นสงู ตามเกณฑ์

อายุ และนำ้ หนกั

ตามเกณฑส์ ว่ นสงู )

ตวั บง่ ชท้ี ่ี ๓.๒ ก เด็กมพี ฒั นาการสมวัย



เกณฑก์ ารพจิ ารณา ขอ้ มลู ประกอบ

ขอ้ รายการพจิ ารณา การพจิ ารณา

๐ ๑ ๒ ๓
ตอ้ งปรบั ปรงุ ผา่ นเกณฑข์ นั้ ตน้ ด ี ดมี าก


๓.๒.๑ ก เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั โดยรวม ๕ ดา้ น เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั - คมู่ อื เฝา้ ระวงั และสง่ เสรมิ

ตำ่ กวา่ รอ้ ยละ ๗๕ รอ้ ยละ ๗๕-๗๙ รอ้ ยละ ๘๐-๘๔ รอ้ ยละ ๘๕ ขนึ้ ไป พฒั นาการเดก็ ปฐมวยั

(DSPM)

- แบบบนั ทกึ การคดั กรอง

และสง่ เสรมิ พฒั นาการ

เดก็ ปฐมวยั ตามชว่ งอาย ุ

โดยเจา้ หนา้ ทสี่ าธารณสขุ

(๙ เดอื น/๑.๖ ป/ี ๒.๖ ป)ี

186 - กราฟแสดง


การเจรญิ เตบิ โตตามเกณฑ ์

อา้ งองิ ตามเพศและ

ชว่ งอายขุ องกรมอนามยั

กระทรวงสาธารณสขุ

พ.ศ. ๒๕๕๘

(ประยกุ ตจ์ ากองคก์ าร

อนามยั โลก)

ตัวบ่งชีท้ ี่ ๓.๒ ก เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั (ต่อ)



เกณฑก์ ารพจิ ารณา ขอ้ มลู ประกอบ

ขอ้ รายการพจิ ารณา การพจิ ารณา

๐ ๑ ๒ ๓
ตอ้ งปรบั ปรงุ ผา่ นเกณฑข์ น้ั ตน้ ด ี ดมี าก


187 ๓.๒.๒ ก รายดา้ น : เดก็ มพี ฒั นาการกลา้ มเนอ้ื มดั ใหญ่ เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั
- บนั ทกึ ขอ้ มลู รายบคุ คล

(Gross Motor) ตำ่ กวา่ รอ้ ยละ ๗๕ รอ้ ยละ ๗๕ - ๗๙ รอ้ ยละ ๘๐-๘๔ รอ้ ยละ ๘๕ ขน้ึ ไป
ข องเดก็ โดยครู

๓.๒.๓ ก รายดา้ น : เดก็ มพี ฒั นาการดา้ นกลา้ มเนอ้ื มดั เลก็

และสตปิ ญั ญาสมวยั (Fine Motor Adaptive)
- คมู่ อื เฝา้ ระวงั และสง่ เสรมิ

๓.๒.๔ ก รายดา้ น : เดก็ มพี ฒั นาการดา้ นการรบั รแู้ ละ
พฒั นาการเดก็ ปฐมวยั

เขา้ ใจภาษา (Receptive Language)
(DSPM)

๓.๒.๕ ก รายดา้ น : เดก็ มพี ฒั นาการการใชภ้ าษาสมวยั
- แบบบนั ทกึ การเฝา้ ระวงั

(Expressive Language) และสง่ เสรมิ พฒั นาการ

๓.๒.๖ ก รายดา้ น : เดก็ มพี ฒั นาการการชว่ ยเหลอื ตนเอง
เ ดก็ ปฐมวยั ตามชว่ งอาย ุ

และการเขา้ สงั คม (Personal Social)
โดยพอ่ แม/่ ผปู้ กครอง/



คร/ู ผดู้ แู ลเดก็

มาตรฐานดา้ นท่ี ๓ คณุ ภาพของเด็กปฐมวัย
มาตรฐานดา้ นที่ ๓  



ำหรบั เด็ก อายุ ๓ ปี - อายุ ๖ ปี (ก่อนเข้าประถมศกึ ษาปที ่ี ๑) 
ขอ้ มลู ประกอบ

การพจิ ารณา

ตวั บ่งช้ที ี่ ๓.๑ ข เดก็ มีการเจรญิ เติบโตสมวัยและมีสุขนิสัยทเ่ี หมาะสม
- สมดุ บนั ทกึ

การเจรญิ เตบิ โตของเดก็


เกณฑก์ ารพจิ ารณา - กราฟแสดง

ขอ้ รายการพจิ ารณา การเจรญิ เตบิ โต

๐ ๑ ๒ ๓ ตามเกณฑอ์ า้ งองิ ตามเพศ

ตอ้ งปรบั ปรงุ ผา่ นเกณฑข์ นั้ ตน้ ด ี ดมี าก
และชว่ งอาย

ของกรมอนามยั

188 ๓.๑.๑ ข เดก็ มนี ำ้ หนกั ตวั เหมาะสมกบั วยั และสงู ดสี มสว่ น เดก็ สงู ดสี มสว่ น เดก็ สงู ดสี มสว่ น เดก็ สงู ดสี มสว่ น เดก็ สงู ดสี มสว่ น กระทรวงสาธารณสขุ

ซง่ึ มบี นั ทกึ เปน็ รายบคุ คล นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ ๕๐ รอ้ ยละ ๕๐-๕๖ รอ้ ยละ ๕๗-๖๓ รอ้ ยละ ๖๔ ขน้ึ ไป พ.ศ. ๒๕๕๘

❏ ๑. นำ้ หนกั ตวั ตามเกณฑอ์ ายุ (ประยกุ ตจ์ าก

(weight for age) องคก์ ารอนามยั โลก)

❏ ๒. ความยาว/ สว่ นสงู ตามเกณฑอ์ ายุ - ขอ้ มลู ภาวะ

(Height for age) การเจรญิ เตบิ โต

❏ ๓. นำ้ หนกั ตามเกณฑค์ วามยาว/ สว่ นสงู เปน็ รายบคุ คล

(Weight for height) - สรปุ จำนวนและ

รอ้ ยละของเดก็ มนี ำ้ หนกั

ตามเกณฑอ์ าย


ตวั บ่งชี้ท่ี ๓.๑ ข เดก็ มีการเจรญิ เติบโตสมวยั และมสี ขุ นสิ ัยท่ีเหมาะสม (ต่อ)



เกณฑก์ ารพจิ ารณา ขอ้ มลู ประกอบ

ขอ้ รายการพจิ ารณา การพจิ ารณา

๐ ๑ ๒ ๓
ตอ้ งปรบั ปรงุ ผา่ นเกณฑข์ น้ั ตน้ ด ี ดมี าก


- สรปุ จำนวนและรอ้ ยละ

ของเดก็ สงู ดสี มสว่ น

(ดจู ากสว่ นสงู ตามเกณฑ ์

อายุ และนำ้ หนกั

ตามเกณฑส์ ว่ นสงู )


๓.๑.๒ ข เดก็ มสี ขุ นสิ ยั ทดี่ ใี นการดแู ลสขุ ภาพตนเองตามวยั เดก็ มสี ขุ นสิ ยั เดก็ มสี ขุ นสิ ยั เดก็ มสี ขุ นสิ ยั เดก็ มสี ขุ นสิ ยั - บนั ทกึ ผล

❏ กนิ นอน ออกกำลงั กาย เลน่ และการเรยี นร ู้ ตามรายการพจิ ารณา ตามรายการพจิ ารณา ตามรายการพจิ ารณา ตามรายการพจิ ารณา การตรวจสขุ ภาพเดก็

189 อยา่ งเปน็ เวลาเหมาะสมตามวยั ตำ่ กวา่ รอ้ ยละ ๗๕ รอ้ ยละ ๗๕-๗๙ รอ้ ยละ ๘๐-๘๔ รอ้ ยละ ๘๕ หรอื ขนึ้ ไป - แบบการสงั เกตพฤตกิ รรม

❏ การรกั ษาความสะอาดและปอ้ งกนั โรค - แบบบนั ทกึ พฒั นาการ

❏ การรกั ษาความปลอดภยั ของตนเองและผอู้ น่ื ตามวยั รายบคุ คล

- สมรรถนะเชงิ พฤตกิ รรม


๓.๑.๓ ข เดก็ มสี ขุ ภาพชอ่ งปากดี ไมม่ ฟี นั ผ ุ เดก็ ไมม่ ฟี นั ผุ เดก็ ไมม่ ฟี นั ผ ุ เดก็ ไมม่ ฟี นั ผมุ ากกวา่ เดก็ ไมม่ ฟี นั ผมุ ากกวา่ - บนั ทกึ ผล

นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ ๔๐ รอ้ ยละ ๔๐-๕๐ รอ้ ยละ ๕๐ รอ้ ยละ ๕๕ การตรวจสขุ ภาพเดก็

- บนั ทกึ ผลการตรวจ

สขุ ภาพชอ่ งปากเดก็

ตวั บง่ ชีท้ ่ี ๓.๒ ข เดก็ มพี ัฒนาการสมวยั



เกณฑก์ ารพจิ ารณา ขอ้ มลู ประกอบ

ขอ้ รายการพจิ ารณา การพจิ ารณา

๐ ๑ ๒ ๓
ตอ้ งปรบั ปรงุ ผา่ นเกณฑข์ น้ั ตน้ ด ี ดมี าก


๓.๒.๑ ข เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั โดยรวม ๕ ดา้ น เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั - คมู่ อื เฝา้ ระวงั และสง่ เสรมิ

ตำ่ กวา่ รอ้ ยละ ๗๕ รอ้ ยละ ๗๕-๗๙ รอ้ ยละ ๘๐-๘๔ รอ้ ยละ ๘๕ ขน้ึ ไป พฒั นาการเดก็ ปฐมวยั

(DSPM)

- คมู่ อื DSPM+

ขยายอายุ ๕-๖ ป ี

- แบบบนั ทกึ การคดั กรอง

และสง่ เสรมิ พฒั นาการ

เดก็ ปฐมวยั ตามชว่ งอาย ุ

190 โดยเจา้ หนา้ ทสี่ าธารณสขุ

(ชว่ งอายุ ๓-๖ ป)ี

- คมู่ อื การคดั กรอง และ

สง่ เสรมิ พฒั นาการเดก็

แรกเกดิ -๖ ปี ของกทม.

- กราฟแสดง

การเจรญิ เตบิ โตตามเกณฑ ์

อา้ งองิ ตามเพศ และ

ชว่ งอายุ ของกรมอนามยั

กระทรวงสาธารณสขุ

พ.ศ. ๒๕๕๘ (ประยกุ ตจ์ าก

องคก์ ารอนามยั โลก)

ตัวชว้ี ดั ท่ี ๓.๓ ข เดก็ มพี ฒั นาการด้านการเคลือ่ นไหว



เกณฑก์ ารพจิ ารณา ขอ้ มลู ประกอบ

ขอ้ รายการพจิ ารณา การพจิ ารณา

๐ ๑ ๒ ๓
ตอ้ งปรบั ปรงุ ผา่ นเกณฑข์ น้ั ตน้ ด ี ดมี าก


๓.๓.๑ ข เดก็ มพี ฒั นาการดา้ นการใชก้ ลา้ มเนอ้ื มดั ใหญ่ เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั - คมู่ อื เฝา้ ระวงั และสง่ เสรมิ

สามารถเคลอ่ื นไหว และทรงตวั ไดต้ ามวยั ตำ่ กวา่ รอ้ ยละ ๗๕ รอ้ ยละ ๗๕-๗๙ รอ้ ยละ ๘๐-๘๔ รอ้ ยละ ๘๕ ขน้ึ ไป พฒั นาการเดก็ ปฐมวยั

(DSPM)

๓.๓.๒ ข เดก็ มพี ฒั นาการดา้ นการใชก้ ลา้ มเนอ้ื มดั เลก็ เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั - คมู่ อื DSPM+

และการประสานงานระหวา่ งตากบั มอื ตามวยั ตำ่ กวา่ รอ้ ยละ ๗๕ รอ้ ยละ ๗๕-๗๙ รอ้ ยละ ๘๐-๘๔ รอ้ ยละ ๘๕ ขนึ้ ไป ขยายอายุ ๕-๖ ปี

- แบบบนั ทกึ การเฝา้ ระวงั

และสง่ เสรมิ พฒั นาการ

เดก็ ปฐมวยั ตามชว่ งอาย ุ

191 โดยเจา้ หนา้ ทสี่ าธารณสขุ


- คมู่ อื การคดั กรองและ

สง่ เสรมิ พฒั นาการ

เดก็ แรกเกดิ -๖ ป ี

ของ กทม.

- หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั
พ.ศ. ๒๕๖๐

- แบบการสงั เกตพฤตกิ รรม

- แบบบนั ทกึ พฒั นาการ

ตามวยั รายบคุ คล

- แบบประเมนิ พฒั นาการ

เดก็ ปฐมวยั รายบคุ คล

- สมรรถนะเชงิ พฤตกิ รรม


Click to View FlipBook Version