The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

มฐ.ปฐมวัยแห่งชาติ ฉบับเต็ม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by noi1910251751, 2022-05-07 03:56:32

มฐ.ปฐมวัยแห่งชาติ ฉบับเต็ม

มฐ.ปฐมวัยแห่งชาติ ฉบับเต็ม

ตวั บ่งชี้ที่ ๓.๔ ข เด็กมีพฒั นาการด้านอารมณจ์ ิตใจ



เกณฑก์ ารพจิ ารณา ขอ้ มลู ประกอบ

ขอ้ รายการพจิ ารณา การพจิ ารณา

๐ ๑ ๒ ๓
ตอ้ งปรบั ปรงุ ผา่ นเกณฑข์ น้ั ตน้ ด ี ดมี าก


๓.๔.๑ ข เดก็ แสดงออก รา่ เรงิ แจม่ ใส รสู้ กึ มน่ั คงปลอดภยั เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั -
คู่มอื เฝ้าระวังและส่งเสริม

แสดงความรสู้ กึ ทดี่ ตี อ่ ตนเองและผอู้ น่ื ไดส้ มวยั ตำ่ กวา่ รอ้ ยละ ๗๕ รอ้ ยละ ๗๕-๗๙ รอ้ ยละ ๘๐-๘๔ รอ้ ยละ ๘๕ ขน้ึ ไป
พ ฒั นาการเดก็ ปฐมวยั


(DSPM)

๓.๔.๒ ข เดก็ มคี วามสนใจ และรว่ มกจิ กรรมตา่ งๆ เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั -
คมู่ อื DSPM ขยายอาย ุ

อยา่ งสมวยั ซง่ึ รวมการเลน่ การทำงาน ศลิ ปะ ตำ่ กวา่ รอ้ ยละ ๗๕ รอ้ ยละ ๗๕-๗๙ รอ้ ยละ ๘๐-๘๔ รอ้ ยละ ๘๕ ขนึ้ ไป ๕
-๖ ปี

ดนตรี กฬี า -
แบบบนั ทกึ การเฝา้ ระวงั


และสง่ เสรมิ พฒั นาการ

๓.๔.๓ ข เดก็ สามารถอดทน รอคอย ควบคมุ ตนเอง เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั เ
ดก็ ปฐมวยั ตามชว่ งอาย

192 ยบั ยง้ั ชง่ั ใจ ทำตามขอ้ ตกลง คำนงึ ถงึ ความรสู้ กึ ตำ่ กวา่ รอ้ ยละ ๗๕ รอ้ ยละ ๗๕-๗๙ รอ้ ยละ ๘๐-๘๔ รอ้ ยละ ๘๕ ขนึ้ ไป โ
ดยเจา้ หนา้ ทสี่ าธารณสขุ

ของผอู้ นื่ มกี าลเทศะ ปรบั ตวั เขา้ กบั - ค
มู่ อื การคดั กรองและ

สถานการณใ์ หมไ่ ดส้ มวยั
สง่ เสรมิ พฒั นาการ


เดก็ แรกเกดิ -๖ ป ี

* การอดทนรอคอย เชน่ รอทำกจิ กรรมพรอ้ มเพอ่ื น
ของ กทม.

การเขา้ แถวตามลำดบั
- หลกั สตู รการศกึ ษา


ปฐมวยั พ.ศ. ๒๕๖๐


- แบบการสงั เกตพฤตกิ รรม

- แบบบนั ทกึ พฒั นาการ

ตามวยั รายบคุ คล

- แบบประเมณิ พฒั นาการ

เดก็ ปฐมวยั รายบคุ คล

- สมรรถนะเชงิ พฤตกิ รรม

ตัวบ่งชที้ ่ี ๓.๕ ข เด็กมพี ฒั นาการด้านสติปญั ญา เรยี นรูแ้ ละสร้างสรรค์



เกณฑก์ ารพจิ ารณา ขอ้ มลู ประกอบ

ขอ้ รายการพจิ ารณา การพจิ ารณา

๐ ๑ ๒ ๓
ตอ้ งปรบั ปรงุ ผา่ นเกณฑข์ นั้ ตน้ ด ี ดมี าก


193 ๓.๕.๑ ข เดก็ บอกเกย่ี วกบั ตวั เดก็ บคุ คล สถานทแ่ี วดลอ้ ม เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั - ประเมนิ คณุ ภาพเดก็

ธรรมชาติ และสง่ิ ตา่ งๆ รอบตวั เดก็ ไดส้ มวยั ตำ่ กวา่ รอ้ ยละ ๗๕ รอ้ ยละ ๗๕-๗๙ รอ้ ยละ ๘๐-๘๔ รอ้ ยละ ๘๕ ขนึ้ ไป ทางดา้ นพฒั นาการ

โดยดผู ลงาน จากการ

๓.๕.๒ ข เดก็ มพี นื้ ฐานดา้ นคณติ ศาสตร์ สามารถสงั เกต เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั สงั เกตพฤตกิ รรม

จำแนก และเปรยี บเทยี บ จำนวน มติ สิ มั พนั ธ์ ตำ่ กวา่ รอ้ ยละ ๗๕ รอ้ ยละ ๗๕-๗๙ รอ้ ยละ ๘๐-๘๔ รอ้ ยละ ๘๕ ขนึ้ ไป การแสดงออก และ

(พนื้ ท/ี่ ระยะ) เวลา ไดส้ มวยั การตอบสนองของเดก็

โดยไมใ่ ชแ้ บบทดสอบ/

๓.๕.๓ ข เดก็ สามารถคดิ อยา่ งมเี หตผุ ล แกป้ ญั หาไดส้ มวยั เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั แบบฝกึ หดั

ตำ่ กวา่ รอ้ ยละ ๗๕ รอ้ ยละ ๗๕-๗๙ รอ้ ยละ ๘๐-๘๔ รอ้ ยละ ๘๕ ขน้ึ ไป - บนั ทกึ การสงั เกต ตดิ ตาม

พฤตกิ รรมความสามารถ

๓.๕.๔ ข เดก็ มจี นิ ตนาการ และความคดิ สรา้ งสรรค์ เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั ในการเรยี นร้

ทแ่ี สดงออกไดส้ มวยั ตำ่ กวา่ รอ้ ยละ ๗๕ รอ้ ยละ ๗๕-๗๙ รอ้ ยละ ๘๐-๘๔ รอ้ ยละ ๘๕ ขน้ึ ไป - แบบการสงั เกตพฤตกิ รรม

- แบบบนั ทกึ พฒั นาการ

รายบคุ คล

- สมรรถนะเชงิ พฤตกิ รรม

- คมู่ อื เฝา้ ระวงั และสง่ เสรมิ

พฒั นาการเดก็ ปฐมวยั

(DSPM)

- คมู่ อื DSPM+

ขยายอายุ ๕-๖ ป

- หลกั สตู รการศกึ ษา

ปฐมวยั

ตัวบ่งช้ที ี่ ๓.๕ ข เด็กมีพฒั นาการดา้ นสติปญั ญา เรียนร้แู ละสร้างสรรค์ (ตอ่ )



เกณฑก์ ารพจิ ารณา ขอ้ มลู ประกอบ

ขอ้ รายการพจิ ารณา การพจิ ารณา

๐ ๑ ๒ ๓
ตอ้ งปรบั ปรงุ ผา่ นเกณฑข์ น้ั ตน้ ด ี ดมี าก


- แฟม้ สะสมผลงาน

ของเดก็ ทแี่ สดงถงึ

ความกา้ วหนา้ ของ

พฒั นาการ (คำพดู

การเลน่ ศลิ ปะ ดนตร)ี

- บนั ทกึ การตดิ ตาม

ประเมนิ ผลหลงั การ

จดั กจิ กรรมตามสาระ

194 การเรยี นรู้




๓.๕.๕ ข เดก็ มคี วามพยายาม มงุ่ มนั่ ตง้ั ใจ ทำกจิ กรรม เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั

ใหส้ ำเรจ็ สมวยั ตำ่ กวา่ รอ้ ยละ ๗๕ รอ้ ยละ ๗๕-๗๙ รอ้ ยละ ๘๐-๘๔ รอ้ ยละ ๘๕ ขนึ้ ไป

ตวั บ่งชี้ที่ ๓.๖ ข เด็กมพี ฒั นาการด้านภาษาและการสอื่ สาร



เกณฑก์ ารพจิ ารณา ขอ้ มลู ประกอบ

ขอ้ รายการพจิ ารณา การพจิ ารณา

๐ ๑ ๒ ๓
ตอ้ งปรบั ปรงุ ผา่ นเกณฑข์ นั้ ตน้ ด ี ดมี าก


๓.๖.๑ ข เดก็ สามารถฟงั พดู จบั ใจความ เลา่ สนทนา เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั - มกี ารตดิ ตามและบนั ทกึ

และสอื่ สารไดส้ มวยั ตำ่ กวา่ รอ้ ยละ ๗๕ รอ้ ยละ ๗๕-๗๙ รอ้ ยละ ๘๐-๘๔ รอ้ ยละ ๘๕ ขนึ้ ไป การใชภ้ าษาของเดก็

อยา่ งสมำ่ เสมอ

๓.๖.๒ ข เดก็ มที กั ษะในการดรู ปู ภาพ สญั ลกั ษณ์ เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั - บนั ทกึ การตดิ ตาม

การใชห้ นงั สอื รจู้ กั ตวั อกั ษร การคดิ เขยี นคำ ตำ่ กวา่ รอ้ ยละ ๗๕ รอ้ ยละ ๗๕-๗๙ รอ้ ยละ ๘๐-๘๔ รอ้ ยละ ๘๕ ขน้ึ ไป ประเมนิ ผลหลงั การ

และการอา่ นเบอื้ งตน้ ไดส้ มวยั และตามลำดบั จดั กจิ กรรมตามสาระ

พฒั นาการ การเรยี นรู้

- แบบการสงั เกตพฤตกิ รรม

195 ๓.๖.๓ ข เดก็ มที กั ษะการวาด การขดี เขยี นตามลำดบั เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั - แบบบนั ทกึ พฒั นาการ


ขน้ั ตอนพฒั นาการสมวยั นำไปสกู่ ารขดี เขยี นคำ ตำ่ กวา่ รอ้ ยละ ๗๕ รอ้ ยละ ๗๕-๗๙ รอ้ ยละ ๘๐-๘๔ รอ้ ยละ ๘๕ ขนึ้ ไป รายบคุ คล

ทค่ี นุ้ เคย และสนใจ - สมรรถนะเชงิ พฤตกิ รรม

- คมู่ อื เฝา้ ระวงั และสง่ เสรมิ

๓.๖.๔ ข เดก็ มที กั ษะในการสอ่ื สารอยา่ งเหมาะสมตามวยั เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั พฒั นาการเดก็ ปฐมวยั

โดยใชภ้ าษาไทยเปน็ หลกั และมคี วามคนุ้ เคย ตำ่ กวา่ รอ้ ยละ ๗๕ รอ้ ยละ ๗๕-๗๙ รอ้ ยละ ๘๐-๘๔ รอ้ ยละ ๘๕ ขน้ึ ไป (DSPM)

กบั ภาษาอน่ื ดว้ ย - คมู่ อื DSPM+

ขยายอายุ ๕-๖ ป

- หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั

พ.ศ. ๒๕๖๐

- มกี ารตดิ ตามและบนั ทกึ

การใชภ้ าษาของเดก็

อยา่ งสมำ่ เสมอ

ตัวบง่ ช้ที ี่ ๓.๗ ข เด็กมีพัฒนาการด้านสงั คม คุณธรรม มวี นิ ยั และความเป็นพลเมอื งดี



เกณฑก์ ารพจิ ารณา ขอ้ มลู ประกอบ

ขอ้ รายการพจิ ารณา การพจิ ารณา

๐ ๑ ๒ ๓
ตอ้ งปรบั ปรงุ ผา่ นเกณฑข์ น้ั ตน้ ด ี ดมี าก


๓.๗.๑ ข เดก็ มปี ฏสิ มั พนั ธก์ บั ผอู้ นื่ ไดอ้ ยา่ งสมวยั เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั - แบบบนั ทกึ

และแสดงออกถงึ การยอมรบั ความแตกตา่ ง ตำ่ กวา่ รอ้ ยละ ๗๕ รอ้ ยละ ๗๕-๗๙ รอ้ ยละ ๘๐-๘๔ รอ้ ยละ ๘๕ ขนึ้ ไป การสงั เกตพฤตกิ รรม

ระหวา่ งบคุ คล - บนั ทกึ การตดิ ตาม

ประเมนิ ผลหลงั การ

๓.๗.๒ ข เดก็ มคี วามเมตตา กรณุ า มวี นิ ยั ซอ่ื สตั ย์ เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั จดั กจิ กรรมตามสาระ

รบั ผดิ ชอบตอ่ ตนเองและสว่ นรวม และมคี า่ นยิ ม ตำ่ กวา่ รอ้ ยละ ๗๕ รอ้ ยละ ๗๕-๗๙ รอ้ ยละ ๘๐-๘๔ รอ้ ยละ ๘๕ ขนึ้ ไป การเรยี นรู้

ทพี่ งึ ประสงคส์ มวยั - แบบบนั ทกึ พฒั นาการ

ตามวยั รายบคุ คล

196 ๓.๗.๓ ข เดก็ สามารถเลน่ และทำงานรว่ มกบั ผอู้ นื่ เปน็ กลมุ่ เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั - สมรรถนะของเดก็ ปฐมวยั


เปน็ ไดท้ ง้ั ผนู้ ำและผตู้ าม แกไ้ ขขอ้ ขดั แยง้ ตำ่ กวา่ รอ้ ยละ ๗๕ รอ้ ยละ ๗๕-๗๙ รอ้ ยละ ๘๐-๘๔ รอ้ ยละ ๘๕ ขน้ึ ไป ในการพฒั นาตามวยั

อยา่ งสรา้ งสรรค ์ (๓-๕ ป)ี

❏ ๑. เดก็ รจู้ กั เลน่ และทำงานรว่ มกบั ผอู้ น่ื เปน็ กลมุ่ - คมู่ อื เฝา้ ระวงั และสง่ เสรมิ

❏ ๒. เปน็ ไดท้ ง้ั ผนู้ ำและผตู้ าม แสดงความเปน็ ตวั เอง พฒั นาการเดก็ ปฐมวยั

รบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของผอู้ นื่ (DSPM)

❏ ๓. แกไ้ ขขอ้ ขดั แยง้ อยา่ งสรา้ งสรรค ์ - คมู่ อื DSPM+

ขยายอายุ ๕-๖ ปี

๓.๗.๔ ข เดก็ ภาคภมู ใิ จทเ่ี ปน็ สมาชกิ ทดี่ ใี นครอบครวั เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั - หลกั สตู รการศกึ ษา

ชมุ ชน สถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั และตระหนกั ถงึ ตำ่ กวา่ รอ้ ยละ ๗๕ รอ้ ยละ ๗๕-๗๙ รอ้ ยละ ๘๐-๘๔ รอ้ ยละ ๘๕ ขนึ้ ไป ปฐมวยั พ.ศ. ๒๕๖๐

ความเปน็ พลเมอื งดขี องประเทศไทย

และภมู ภิ าคอาเซยี น

มาตรฐานด้านที่ ๓ คุณภาพของเดก็ ปฐมวัย

สำหรบั เด็กแรกเกดิ - อายุ ๒ ปี (๒ ปี ๑๑ เดือน ๒๙ วนั )




ตวั บง่ ช้ีท่ี ๓.๑ ก เด็กมีการเจริญเติบโตสมวยั




๓.๑.๑ ก เดก็ มนี ำ้ หนกั ตัวเหมาะสมกับวยั และสูงดีสมส่วน ซ่ึงมบี นั ทึกเป็นรายบคุ คล



รายการพจิ ารณา

ประเมินผลการเจริญเติบโตของเด็กแต่ละคนด้วยการช่ังน้ำหนัก วัดความยาว/ส่วนสูง
นำผลมาลงในกราฟแสดงการเจริญเติบโตตามเกณฑ์อ้างอิงตามเพศและช่วงอายุ ของกรมอนามัย
กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๕๘ (ประยุกต์จากองค์การอนามัยโลก) เป็นระยะทุก ๓ เดือน
อยา่ งตอ่ เนื่อง ดังน้

๑. นำ้ หนกั ตวั ตามเกณฑอ์ ายุ (weight for age)

๒. ความยาว/ส่วนสงู ตามเกณฑอ์ ายุ (Height for age)

๓. นำ้ หนักตามเกณฑค์ วามยาว/สว่ นสูง (Weight for height)

นำมาแปลผลว่าอยู่ในเกณฑ์ปกติหรือไม่ นำจำนวนเด็กที่อยู่ในเกณฑ์ปกติเทียบกับเด็ก
ทัง้ หมด

รายละเอยี ดการพจิ ารณา(๓.๑.๑ก_๑)

๑. สุ่มช่ังน้ำหนัก วัดความยาว/ส่วนสูง และแปลผลโดยใช้กราฟน้ำหนักตามเกณฑ์อาย ุ

ความยาว/ส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ และกราฟน้ำหนักตามเกณฑ์ความยาว/ส่วนสูง

ประมาณ ๑๐ คน ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลภาวะการเจริญเติบโตท่ีสุ่ม

กับข้อมูลของสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยของเด็กแต่ละคน สรุปจำนวนเด็กสูงดีสมส่วน

โดยดูเดก็ เป็นรายบคุ คล

๑.๑ เดก็ น้ำหนกั ตวั ตามเกณฑ์ (± ๑.๕ SD)

๑.๒ เดก็ สงู ดี หมายถงึ เดก็ ท่ีมคี วามยาว หรอื สว่ นสูงอยใู่ นระดบั สูงตามเกณฑ์ขน้ึ ไป

(สูงตามเกณฑ์ หรือค่อนข้างสูง หรือสูง) เม่ือเทียบกับกราฟความยาว/ส่วนสูง

ตามเกณฑอ์ าย

๑.๓ เด็กสมส่วน หมายถึง เด็กที่มีน้ำหนักอยู่ในระดับสมส่วน เม่ือเทียบกับกราฟ

น้ำหนักตามเกณฑค์ วามยาว/สว่ นสูง


197

๑.๔ เด็กสูงดีสมส่วน หมายถึง เด็กที่มีความยาว หรือ

ส่วนสูงอยู่ในระดับสูงตามเกณฑ์อายุขึ้นไปและ

มีนำ้ หนักอยูใ่ นระดับสมสว่ น (ในคนเดยี วกัน)

เด็กสูงดสี มสว่ นมี ๓ แบบ ดงั น
้ี







๒. คำนวณรอ้ ยละเด็กเตบิ โตดี สูงดีสมส่วน จากสูตร


= จำนวนเด็กนำ้ หนกั ตามเกณฑแ์ ละสงู ดีสมส่วน x ๑๐๐

จำนวนเด็กท่ชี งั่ นำ้ หนักและวัดสว่ นสูงทง้ั หมด




ข้อมลู ประกอบการพิจารณา

๑. สมดุ บันทกึ การเจรญิ เตบิ โตของเด็ก

๒. กราฟแสดงการเจริญเติบโตตามเกณฑ์อ้างอิงตามเพศและช่วงอายุ ของกรมอนามัย

กระทรวงสาธารณสขุ พ.ศ. ๒๕๕๘ (ประยกุ ต์จากองคก์ ารอนามัยโลก)*๑

๓. ข้อมูลภาวะการเจริญเติบโตเปน็ รายบคุ คล

๔. สรปุ จำนวนและรอ้ ยละของเด็กมีนำ้ หนักตามเกณฑ์อาย

๕. สรุปจำนวนและร้อยละของเด็กสูงดีสมส่วน (ดูจากส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ และ

น้ำหนกั ตามเกณฑ์ส่วนสงู )




198

ตวั บง่ ช้ีท่ี ๓.๒ ก เด็กมพี ัฒนาการสมวยั




๓.๒.๑ ก เดก็ มีพัฒนาการสมวยั โดยรวม ๕ ด้าน



รายการพิจารณา

ผลการประเมินพัฒนาการอย่างคัดกรองท้ัง ๕ ด้าน ได้แก่ พัฒนาการกล้ามเน้ือมัดใหญ่
(GM), พัฒนาการด้านกล้ามเนื้อมัดเล็กและสติปัญญาสมวัย (FM), พัฒนาการด้านการรับรู้และ
เขา้ ใจภาษา (RL), พัฒนาการการใช้ภาษาสมวยั (EL), พฒั นาการการชว่ ยเหลือตนเองและการเขา้
สงั คม (PS)

รายละเอยี ดการพิจารณา

ผลการประเมินพัฒนาการอย่างคัดกรองโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข เม่ือเด็กอายุ ๙, ๑๘,
๓๐ เดือน ดว้ ยคมู่ ือเฝ้าระวังและสง่ เสริมพฒั นาการเด็กปฐมวัย Developmental Surveillance
and Promotion Manual (DSPM)๓.๒.๑ ก_๒ ซ่ึงจะสรุปผลได้ว่า เด็กแต่ละคนมีพัฒนาการสมวัย
หรอื สงสัยวา่ ลา่ ชา้

คิดรายละเอียดร้อยละของเด็กที่มีพฒั นาการสมวยั จากเดก็ ทั้งหมด

คำนยิ าม

เด็กท่ีมีพัฒนาการสมวัย หมายถึง เด็กท่ีได้รับการประเมินพัฒนาการและผลการ
ประเมินผ่านครบ ๕ ด้าน โดยใช้เครื่องมือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM)
รวมถึงเด็กท่ีตรวจพบพัฒนาการสงสัยล่าช้าและได้รับการติดตามให้ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการ
และประเมนิ ซ้ำผลการประเมินผา่ นทงั้ ๕ ด้าน ภายใน ๓๐ วนั

คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) หมายถึง แบบประเมิน
พฒั นาการเดก็ ตงั้ แตแ่ รกเกดิ ถงึ ๕ ปี เปน็ การประเมนิ อยา่ งเปน็ ระบบจากพฤตกิ รรม พฒั นาการตาม

อายขุ องเดก็ ใน ๕ ดา้ น ไดแ้ ก่ ดา้ นการกลา้ มเนอ้ื มดั ใหญ่ ดา้ นกลา้ มเนอื้ มดั เลก็ และสตปิ ญั ญาสมวยั

ดา้ นการรบั รู้และเขา้ ใจภาษา ด้านการใชภ้ าษาสมวัย ดา้ นการชว่ ยเหลอื ตนเองและการเข้าสังคม

วิธีการจัดเก็บข้อมูล

๑. ผู้ดูแลเด็กในสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยต้องสนับสนุนหรือนำพาเด็กให้เจ้าหน้าที่

สถานบริการทางแพทย์ในเขตพื้นที่ประเมินคัดกรองพัฒนาการเด็กเมื่อเด็กอาย

ครบตาม ๔ ช่วงวัย (๙, ๑๘, ๓๐, และ ๔๒ เดือน) และเด็กท่ีสงสัยล่าช้าเมื่อ

เดือนก่อน เพื่อติดตามและประเมินพัฒนาการซำ้ ภายใน ๓๐ วนั


199

๒. สถานบริการทางการแพทย์ทุกระดับจะนำข้อมูลการการประเมินพัฒนาการเด็ก

บนั ทกึ ในโปรแกรมบนั ทกึ ขอ้ มลู ของสถานบรกิ ารฯ จดั ทำสรปุ รายงานและประเมนิ ผล

ตามเกณฑ์ และคืนข้อมลู ใหส้ ถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั


แหลง่ ขอ้ มลู

สถานบรกิ ารทางการแพทยท์ กุ แหง่ /สำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั /หรอื หนว่ ยงานทเี่ ทยี บเทา่


สตู รคำนวณตัวชว้ี ดั (A+B) x ๑๐๐

C


A คือ จำนวนเด็กทีผ่ ลการคดั กรองพฒั นาการปกติตามวยั

B คอื จำนวนเด็กทสี่ งสยั ล่าช้าแตห่ ลงั การกระต้นุ ๓๐ วนั ประเมินได้ปกต

C คอื จำนวนเดก็ ทัง้ หมดทไี่ ดร้ ับการคัดกรอง


ขอ้ มลู ประกอบการพิจารณา

๑. คู่มอื เฝา้ ระวงั และส่งเสรมิ พฒั นาการเดก็ ปฐมวัย (DSPM)*๒

๒. แบบบันทึกการคัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยตามช่วงอายุ โดย

เจา้ หนา้ ที่สาธารณสุข*๓ (๙ เดือน/๑.๖ ป/ี ๒.๖ ป)ี

๓. กราฟแสดงการเจริญเติบโตตามเกณฑ์อ้างอิงตามเพศและช่วงอายุของกรมอนามัย

กระทรวงสาธารณสขุ พ.ศ. ๒๕๕๘ (ประยุกต์จากองค์การอนามัยโลก)



๓.๒.๒ ก รายดา้ น : เดก็ มพี ฒั นาการกลา้ มเนือ้ มดั ใหญ่ (Gross Motor)



รายการพจิ ารณา

เด็กมีพฤติกรรมพัฒนาการด้านกล้ามเนื้อมัดใหญ่ (GM) สมวัยตามช่วงอายุ โดยพ่อแม่/

ผปู้ กครอง/คร/ู ผดู้ ูแลเดก็ เฝา้ ระวังพัฒนาการดา้ น GM ตามชว่ งอายทุ ีร่ ะบใุ นคูม่ อื DSPM


รายละเอยี ดการพิจารณา

พ่อแม่/ผปู้ กครอง/ครู/ผดู้ ูแลเด็ก เฝ้าระวังและส่งเสริมพฒั นาการดา้ น GM ตามช่วงอายุ
ท่รี ะบใุ นคู่มือ DSPM ซึ่งจะสรปุ ผลได้วา่ เด็กแตล่ ะคนมพี ัฒนาการสมวยั หรือสงสัยว่าล่าชา้

คิดรายละเอยี ดร้อยละของเดก็ ท่มี พี ัฒนาการสมวัยจากเด็กทง้ั หมด


200

ข้อมูลประกอบการพจิ ารณา

๑. บันทึกขอ้ มลู รายบคุ คลของเดก็ โดยคร

๒. คู่มือเฝ้าระวงั และส่งเสริมพฒั นาการเดก็ ปฐมวยั (DSPM)

๓. แบบบันทึกการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยตามช่วงอายุ โดยพ่อแม่/

ผปู้ กครอง/ครู/ผ้ดู แู ลเด็ก*๔



๓.๒.๓ ก รายดา้ น : เด็กมีพัฒนาการด้านกล้ามเนือ้ มัดเล็กและสติปญั ญาสมวยั

(Fine Motor Adaptive)



รายการพจิ ารณา

เด็กมพี ฤติกรรมพฒั นาการดา้ นกล้ามเน้อื มดั เลก็ และสติปญั ญา (FM) สมวัยตามชว่ งอายุ
โดยพ่อแม่/ผู้ปกครอง/ครู/ผู้ดูแลเด็ก เฝ้าระวังพัฒนาการด้าน FM ตามช่วงอายุที่ระบุในคู่มือ
DSPM

รายละเอียดการพิจารณา

พอ่ แม่/ผปู้ กครอง/คร/ู ผ้ดู ูแลเด็ก เฝ้าระวังและส่งเสรมิ พฒั นาการดา้ น FM ตามชว่ งอายุ
ทีร่ ะบุในคมู่ ือ DSPM ซ่ึงจะสรปุ ผลไดว้ ่าเดก็ แต่ละคนมพี ฒั นาการสมวยั หรอื สงสยั วา่ ลา่ ช้า

คิดรายละเอียดร้อยละของเด็กท่ีมีพัฒนาการสมวยั จากเด็กท้ังหมด

ขอ้ มูลประกอบการพิจารณา

๑. บนั ทกึ ขอ้ มลู รายบคุ คลของเด็กโดยคร

๒. คมู่ อื เฝ้าระวังและสง่ เสริมพฒั นาการเดก็ ปฐมวยั (DSPM)

๓. แบบบันทึกการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยตามช่วงอายุ โดย

พ่อแม่/ผูป้ กครอง/คร/ู ผดู้ ูแลเด็ก



๓.๒.๔ ก รายด้าน : เดก็ มีพฒั นาการดา้ นการรับรแู้ ละเข้าใจภาษา (Receptive Language)



รายการพิจารณา

เด็กมีพฤติกรรมพัฒนาการด้านการรับรู้และเข้าใจภาษา (RL) สมวัยตามช่วงอายุ โดย

พอ่ แม่/ผู้ปกครอง/คร/ู ผดู้ ูแลเด็ก เฝา้ ระวงั พัฒนาการดา้ น RL ตามชว่ งอายทุ ี่ระบุในคู่มือ DSPM


201

รายละเอยี ดการพจิ ารณา

พ่อแม่/ผปู้ กครอง/ครู/ผดู้ แู ลเด็ก เฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการด้าน RL ตามชว่ งอายุท่ี
ระบุในคู่มือ DSPM ซึง่ จะสรปุ ผลไดว้ า่ เด็กแตล่ ะคนมีพัฒนาการสมวยั หรือสงสัยว่าล่าชา้

คิดรายละเอียดรอ้ ยละของเดก็ ท่ีมีพฒั นาการสมวัยจากเด็กท้งั หมด

ข้อมูลประกอบการพจิ ารณา

๑. บนั ทึกขอ้ มูลรายบุคคลของเดก็ โดยครู

๒. คูม่ อื เฝา้ ระวงั และสง่ เสรมิ พัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM)

๓. แบบบันทึกการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยตามช่วงอายุ โดย

พอ่ แม/่ ผปู้ กครอง/ครู/ผูด้ แู ลเดก็



๓.๒.๕ ก รายดา้ น : เดก็ มีพฒั นาการการใช้ภาษาสมวยั (Expressive Language)



รายการพิจารณา

เด็กมีพฤติกรรมพัฒนาการด้านการใช้ภาษา (EL) สมวัยตามช่วงอายุ โดยพ่อแม่/

ผูป้ กครอง/ครู/ผู้ดแู ลเดก็ เฝ้าระวงั พัฒนาการดา้ น EL ตามช่วงอายุท่ีระบุในคู่มอื DSPM

รายละเอียดการพจิ ารณา

พ่อแม่/ผู้ปกครอง/ครู/ผู้ดูแลเด็ก เฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการด้าน EL ตามช่วงอาย

ท่รี ะบุในคมู่ อื DSPM ซ่ึงจะสรุปผลไดว้ า่ เด็กแตล่ ะคนมีพัฒนาการสมวัย หรือสงสัยว่าล่าช้า

คิดรายละเอยี ดรอ้ ยละของเดก็ ท่มี ีพฒั นาการสมวัยจากเดก็ ทั้งหมด

ขอ้ มลู ประกอบการพจิ ารณา

๑. บันทกึ ขอ้ มลู รายบุคคลของเด็กโดยคร

๒. คมู่ ือเฝ้าระวงั และสง่ เสรมิ พัฒนาการเดก็ ปฐมวยั (DSPM)

๓. แบบบันทึกการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยตามช่วงอายุ โดย

พ่อแม่/ผปู้ กครอง/ครู/ผู้ดูแลเดก็




202

๓.๒.๖ ก รายดา้ น : เดก็ มพี ฒั นาการการชว่ ยเหลอื ตนเองและการเขา้ สงั คม (Personal Social)



รายการพิจารณา

เด็กมีพฤติกรรมพัฒนาการด้านการช่วยเหลือตนเองและการเข้าสังคม (PS) สมวัยตาม
ชว่ งอายุ โดยพ่อแม่/ผูป้ กครอง/คร/ู ผู้ดแู ลเดก็ เฝา้ ระวังพัฒนาการด้าน PS ตามชว่ งอายทุ ี่ระบใุ น
คมู่ ือ DSPM

รายละเอยี ดการพิจารณา

พอ่ แม่/ผปู้ กครอง/ครู/ผดู้ ูแลเด็ก เฝ้าระวงั และสง่ เสริมพฒั นาการด้าน PS ตามช่วงอายทุ ่ี
ระบใุ นคู่มือ DSPM ซ่ึงจะสรปุ ผลได้วา่ เดก็ แตล่ ะคนมีพฒั นาการสมวัย หรอื สงสยั ว่าล่าช้า

คิดรายละเอียดร้อยละของเดก็ ทมี่ พี ฒั นาการสมวัยจากเดก็ ทั้งหมด

ขอ้ มูลประกอบการพิจารณา

๑. บนั ทึกข้อมูลรายบคุ คลของเดก็ โดยคร

๒. คู่มอื เฝา้ ระวงั และสง่ เสรมิ พฒั นาการเดก็ ปฐมวยั (DSPM)

๓. แบบบันทึกการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยตามช่วงอายุ โดย

พอ่ แม/่ ผ้ปู กครอง/คร/ู ผ้ดู แู ลเด็ก












203

มาตรฐานดา้ นที่ ๓ คณุ ภาพของเด็กปฐมวัย

สำหรับเด็ก อายุ ๓ ปี - อายุ ๖ ปี (ก่อนเข้าประถมศกึ ษาปที ่ี ๑)





ตัวบ่งชท้ี ี่ ๓.๑ ข เดก็ มกี ารเจรญิ เติบโตสมวัยและมีสขุ นสิ ัยที่เหมาะสม




๓.๑.๑ ข เด็กมีนำ้ หนักตวั เหมาะสมกับวยั และสูงดสี มส่วน ซง่ึ มบี ันทกึ เปน็ รายบุคคล



รายการพิจารณา

ประเมินผลการเจริญเติบโตของเด็กแต่ละคนด้วยการช่ังน้ำหนัก วัดส่วนสูง นำผลมาลง
กราฟแสดงการเจริญเติบโตตามเกณฑ์อ้างอิงตามเพศและช่วงอายุของกรมอนามัย กระทรวง
สาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๕๘ (ประยกุ ตจ์ ากองคก์ ารอนามัยโลก) ตามเพศเปน็ ระยะทุก ๓ เดอื นอย่าง
ตอ่ เนื่อง ดังน้

๑. น้ำหนกั ตัวตามเกณฑอ์ ายุ (Weight for age)

๒. ความยาว/ส่วนสงู ตามเกณฑอ์ ายุ (Height for age)

๓. นำ้ หนกั ตามเกณฑ์ความยาว/สว่ นสงู (Weight for height)

นำมาแปลผลว่าอยู่ในเกณฑ์ปกติหรือไม่ นำจำนวนเด็กท่ีอยู่ในเกณฑ์ปกติทั้งสามกราฟ
เทยี บกบั เด็กทงั้ หมดท่ไี ด้รบั การประเมนิ

รายละเอียดการพิจารณา(๓.๑.๑ข_๑)

๑. สุ่มชั่งน้ำหนัก วัดความยาว/ส่วนสูง และแปลผลโดยใช้กราฟน้ำหนักตามเกณฑ์อายุ

ความยาว/ส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ และกราฟน้ำหนักตามเกณฑ์ความยาว/ส่วนสูง

ประมาณ ๑๐ คน ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลภาวะการเจริญเติบโตท่ีสุ่ม

กับข้อมูลของสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยของเด็กแต่ละคน สรุปจำนวนเด็กสูงดีสมส่วน

โดยดูเดก็ เป็นรายบคุ คล

๑.๑ เด็กน้ำหนักตัวตามเกณฑ์ (± ๑.๕ SD)

๑.๒ เด็กสูงดี หมายถึง เด็กที่มีความยาวหรือส่วนสูงอยู่ในระดับสูงตามเกณฑ์ข้ึนไป

(สูงตามเกณฑ์หรือค่อนข้างสูงหรือสูง) เม่ือเทียบกับกราฟความยาว/ส่วนสูง

ตามเกณฑอ์ ายุ

๑.๓ เด็กสมส่วน หมายถึง เด็กที่มีน้ำหนักอยู่ในระดับสมส่วน เม่ือเทียบกับกราฟ

น้ำหนกั ตามเกณฑ์ความยาว/ส่วนสงู


204

๑.๔ เด็กสูงดีสมส่วน หมายถึง เด็กที่มีความยาว หรือ

ส่วนสูงอยู่ในระดับสูงตามเกณฑ์อายุขึ้นไปและ

มีน้ำหนกั อย่ใู นระดบั สมส่วน (ในคนเดียวกัน)

เดก็ สงู ดีสมสว่ นมี ๓ แบบ ดังน
้ี





๒. คำนวณรอ้ ยละเด็กเตบิ โตดี สูงดีสมส่วน จากสูตร


= จำนวนเด็กนำ้ หนกั ตามเกณฑแ์ ละสงู ดีสมส่วน x ๑๐๐

จำนวนเด็กที่ชงั่ น้ำหนกั และวดั สว่ นสงู ทงั้ หมด




ขอ้ มูลประกอบการพจิ ารณา

๑. สมุดบันทกึ การเจรญิ เติบโตของเด็ก

๒. กราฟแสดงการเจริญเติบโตตามเกณฑ์อ้างอิงตามเพศและช่วงอายุของกรมอนามัย

กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๕๘ (ประยกุ ต์จากองค์การอนามัยโลก)

๓. ขอ้ มลู ภาวะการเจรญิ เติบโตเปน็ รายบคุ คล

๔. สรปุ จำนวนและรอ้ ยละของเด็กมีน้ำหนกั ตามเกณฑ์อาย

๕. สรุปจำนวนและร้อยละของเด็กสูงดีสมส่วน (ดูจากส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ และ

น้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสงู )




205

๓.๑.๒ ข เด็กมีสุขนิสัยท่ีดีในการดูแลสุขภาพตนเองตามวยั



รายการพจิ ารณา

๑. กิน นอน ออกกำลังกาย เลน่ และเรยี นรู้อย่างเป็นเวลาเหมาะสมตามวัย

๒. การรักษาความสะอาดและปอ้ งกันโรค

๓. การรกั ษาความปลอดภัยของตนเองและผูอ้ น่ื

รายละเอียดการพิจารณา

เด็กทุกคนต้องได้รับการฝึกลักษณะนิสัยสำคัญๆ ที่จะทำให้เป็นผู้มีสุขภาพและคุณภาพ
ชีวิตที่ดี เด็กต้องได้เรียนรู้วิธีการปฏิบัติที่ถูกต้องเหมาะสมและปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอผ่านการเล่น
และกิจกรรมประจำวันที่เหมาะกับวัย เพ่ือให้เด็กมีสุขนิสัยที่ดีและบรรลุตามจุดหมายของ
หลักสตู ร เช่น

- ล้างมอื อย่างถูกวิธีใหส้ ะอาดกอ่ นกินอาหารและหลงั การขบั ถา่ ย

- รักษาฟันใหแ้ ข็งแรง และแปรงฟันหลงั รับประทานอาหารทุกวนั

- ปิดปากเวลาไอหรอื จาม

- ขบั ถ่ายปสั สาวะ อจุ จาระในสว้ ม

- รจู้ กั ทิ้งขยะให้ถูกท
่ี
- ดูแลรกั ษาร่างกายและของใชใ้ หส้ ะอาด

- กินอาหารสุก สะอาด ปราศจากสารอันตราย และหลีกเลี่ยงอาหารรสจัดหรือ

สีฉูดฉาด

- ใชช้ ้อนกลางในการรับประทานอาหารรว่ มกัน

- ป้องกนั อบุ ัติภยั ดว้ ยการไม่ประมาท

- รักษาความสะอาด ความเปน็ ระเบียบเรียบร้อย สวยงาม

- ออกกำลังกายเป็นประจำ

- จิตใจใหร้ ่าเริงแจม่ ใสอยูเ่ สมอ


206

ตัวอย่าง
อาย ุ สภาพทีพ่ ึงประสงค



สขุ นิสยั ทด่ี ี

๑. มีสขุ ภาพอนามัย ๓-๔ ป ี - ยอมรบั ประทานอาหารทม่ี ปี ระโยชนแ์ ละดืม่ นำ้ สะอาด

สขุ นิสัยท่ดี ี เมอื่ มีผูช้ แ้ี นะ

- ลา้ งมอื กอ่ นรบั ประทานอาหาร และหลงั จากใชห้ อ้ งนำ้ หอ้ งสว้ ม

เมือ่ มีผชู้ ้แี นะ

- นอนพักผอ่ นเปน็ เวลา

- ออกกำลังกายเปน็ เวลา


๔-๕ ป ี - รับประทานอาหารทมี่ ปี ระโยชน์และด่ืมนำ้ สะอาด

ได้ด้วยตนเอง

- ล้างมือกอ่ นรับประทานอาหาร และหลังจากใชห้ ้องนำ้ หอ้ งสว้ ม

ดว้ ยตนเอง

- นอนพักผอ่ นเปน็ เวลา

- ออกกำลงั กายเปน็ เวลา


๕-๖ ป ี - รับประทานอาหารทม่ี ปี ระโยชน์ได้หลายชนิดและดม่ื นำ้ สะอาด

ไดด้ ว้ ยตนเอง

- ลา้ งมือกอ่ นรับประทานอาหาร และหลังจากใช้หอ้ งน้ำห้องส้วม

ด้วยตนเอง

- นอนพกั ผ่อนเปน็ เวลา

- ออกกำลังกายเปน็ เวลา


๒. รักษาความปลอดภัย ๓-๔ ป ี - เลน่ และทำกจิ กรรมอย่างปลอดภยั เมื่อมผี ูช้ ีแ้ นะ

ของตนเองและผอู้ ่นื ๔-๕ ปี - เล่นและทำกิจกรรมอย่างปลอดภัยด้วยตนเอง



๕-๖ ป ี - เล่น ทำกจิ กรรม และปฏิบตั ิตอ่ ผูอ้ ื่นอยา่ งปลอดภัย


(คัดลอกจาก : หลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั พ.ศ. ๒๕๖๐, หน้า ๒๗)


ขอ้ มูลประกอบการพจิ ารณา

๑. บนั ทึกผลการตรวจสุขภาพเด็ก

๒. แบบการสงั เกตพฤติกรรม

๓. แบบบันทกึ พัฒนาการตามวยั รายบคุ คล

๔. สมรรถนะเชงิ พฤตกิ รรม






207

๓.๑.๓ ข เด็กมสี ขุ ภาพชอ่ งปากดี ไมม่ ฟี ันผ



รายการพจิ ารณา

เดก็ มีสขุ ภาพชอ่ งปากดี ไมม่ ีฟันผ

รายละเอยี ดการพจิ ารณา

เด็กอายุ ๓-๖ ปไึ ดร้ ับการตรวจฟัน และบนั ทกึ ไว้เปน็ รายบุคคล

ไม่ผ่าน (๐) ฟนั ไม่ผุ (Caries free)* น้อยกว่าร้อยละ ๔๐

ผ่าน (๑) ฟนั ไมผ่ ุ (Caries free) รอ้ ยละ ๔๐-๕๐

ดี (๒) ฟนั ไมผ่ ุ (Caries free) รอ้ ยละ ๕๐-๕๕

ดีมาก (๓) ฟนั ไมผ่ ุ (Caries free) มากกว่ารอ้ ยละ ๕๕

* ฟันไม่ผุ Caries free หมายถึง ปราศจากฟนั ผุ การอุดฟัน และการถอนฟัน

ข้อมลู ประกอบการพจิ ารณา

๑. บนั ทกึ ผลการตรวจสขุ ภาพเดก็

๒. บันทกึ ผลการตรวจสขุ ภาพช่องปากเด็ก




ตวั บ่งช้ที ่ี ๓.๒ ข เดก็ มีพัฒนาการสมวัย




๓.๒.๑ ข เดก็ มีพัฒนาการสมวัยโดยรวม ๕ ดา้ น



รายการพจิ ารณา

ผลการประเมินพัฒนาการอย่างคัดกรองท้ัง ๕ ด้าน ได้แก่ พัฒนาการกล้ามเน้ือมัดใหญ่
(GM), พัฒนาการด้านกล้ามเน้ือมัดเล็กและสติปัญญาสมวัย (FM), พัฒนาการด้านการรับรู้และ
เขา้ ใจภาษา (RL), พัฒนาการการใชภ้ าษาสมวัย (EL), พฒั นาการการช่วยเหลอื ตนเองและการเข้า
สงั คม (PS)

รายละเอียดการพิจารณา

ผลการประเมินพฒั นาการอย่างคัดกรองโดยเจา้ หน้าทส่ี าธารณสขุ เมือ่ เดก็ อายุ ๔๒ เดือน
ด้วยคู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย Developmental Surveillance and
Promotion Manual (DSPM) คู่มือ DSPM+ ขยายอายุ ๕-๖ ปี(๓.๒.๑ข_๑) และคู่มือการคัดกรอง
และส่งเสริมพัฒนาการเด็กแรกเกิดถึง ๖ ปี ของ กทม.(๓.๒.๑ข_๒) (โดยใช้แบบคัดกรองช่วงอายุ


208

๖๐-๗๒ เดือน ในการคัดกรอง) ซึ่งจะสรุปผลได้ว่าเด็กแต่ละคนมีพัฒนาการสมวัย หรือสงสัยว่า
ล่าช้า

คิดรายละเอยี ดรอ้ ยละของเดก็ ทมี่ ีพัฒนาการสมวัยจากเด็กทั้งหมด


คำนิยาม

เด็กท่ีมีพัฒนาการสมวัย หมายถึง เด็กท่ีได้รับการประเมินพัฒนาการ และผลการ
ประเมิน ผ่านครบ ๕ ด้าน โดยใช้เครื่องมือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM)
รวมถึงเด็กท่ีตรวจพบพัฒนาการสงสัยล่าช้า และได้รับการติดตามให้ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการ
และประเมนิ ซำ้ ผลการประเมนิ ผา่ นท้ัง ๕ ด้าน ภายใน ๓๐ วนั

คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) หมายถึง แบบประเมิน
พฒั นาการเดก็ ตง้ั แตแ่ รกเกดิ ถงึ ๕ ปี เปน็ การประเมนิ อยา่ งเปน็ ระบบจากพฤตกิ รรม พฒั นาการตาม

อายุของเด็กใน ๕ ด้าน ได้แก่ ด้านกล้ามเนื้อมัดใหญ่ ด้านกล้ามเน้ือมัดเล็กและสติปัญญาสมวัย
ด้านการรบั รู้และเข้าใจภาษา ด้านการใชภ้ าษาสมวัย ดา้ นการช่วยเหลอื ตนเองและการเข้าสงั คม

คู่มือ DSPM+ ขยายอายุ ๕-๖ ปี หมายถึง คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก
ปฐมวัย (DSPM) ทข่ี ยายเพ่ิมจากอายุ ๕ ปี จนถึง ๖ ปี ซงึ่ มี ๒ สว่ น คอื แบบบันทึกการเฝา้ ระวงั
Surveillance ๑๕ ข้อ ขยายเพิม่ จากอายุ ๕ ปี แบง่ เป็น ๓ ชว่ งอายุ ๕-๕.๖ ปี ๕.๖-๖ ปี และ

๖-๖.๖ ป*ี ๕ และแบบบันทึกการคัดกรอง Screening ๘ ข้อ สำหรบั ช่วงอายุ ๕ ป*ี ๖

๑. ผู้ดูแลเด็กในสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยต้องสนับสนุนหรือนำพาเด็กให้เจ้าหน้าที่

สถานบริการทางแพทย์ในเขตพ้ืนท่ีประเมินคัดกรองพัฒนาการเด็กเม่ือเด็กอายุ

ครบตาม ๔ ช่วงวัย (๙, ๑๘, ๓๐, และ ๔๒ เดือน) และเด็กท่ีสงสัยล่าช้าเมื่อ

เดอื นก่อน เพ่ือติดตามและประเมนิ พัฒนาการซำ้ ภายใน ๓๐ วัน

๒. สถานบริการทางการแพทย์ทุกระดับ จะนำข้อมูลการการประเมินพัฒนาการเด็ก

บนั ทกึ ในโปรแกรมบนั ทกึ ขอ้ มลู ของสถานบรกิ ารฯ จดั ทำสรปุ รายงานและประเมนิ ผล

ตามเกณฑ์ และคนื ขอ้ มลู ใหส้ ถานพฒั นาเดก็ ปฐมวัย


แหลง่ ขอ้ มูล

สถานบรกิ ารทางการแพทยท์ กุ แหง่ /สำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั /หรอื หนว่ ยงานทเี่ ทยี บเทา่


สตู รคำนวณตวั ชวี้ ัด (A+B) x ๑๐๐

C


A คอื จำนวนเด็กท่ผี ลการคดั กรองพัฒนาการปกตติ ามวัย

B คอื จำนวนเดก็ ทส่ี งสัยลา่ ช้าแต่หลังการกระตุน้ ๓๐ วัน ประเมนิ ไดป้ กติ

C คอื จำนวนเด็กทง้ั หมดทไ่ี ดร้ บั การคดั กรอง


209

ขอ้ มลู ประกอบการพจิ ารณา

๑. คมู่ อื เฝ้าระวังและสง่ เสรมิ พฒั นาการเด็กปฐมวัย (DSPM)

๒. คมู่ อื DSPM+ ขยายอายุ ๕-๖ ปี

๓. แบบบันทึกการคัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยตามช่วงอายุ โดย

เจ้าหนา้ ท่ีสาธารณสขุ (ช่วงอายุ ๓-๖ ป)ี

๔. คมู่ ือการคัดกรองและสง่ เสรมิ พฒั นาการเด็กแรกเกิด-๖ ปี ของ กทม.*๗

๕. กราฟแสดงการเจริญเติบโตตามเกณฑ์อ้างอิงตามเพศและช่วงอายุของกรมอนามัย

กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๕๘ (ประยุกต์จากองคก์ ารอนามยั โลก)




ตัวบง่ ช้ีท่ี ๓.๓ ข เดก็ มพี ัฒนาการดา้ นการเคลอื่ นไหว




๓.๓.๑ ข เดก็ มพี ฒั นาการดา้ นการใชก้ ลา้ มเนอ้ื มดั ใหญ่ สามารถเคลอ่ื นไหว และทรงตวั ไดต้ ามวยั



รายการพจิ ารณา

เด็กมีพฤติกรรมพัฒนาการที่ก้าวหน้าตามวัยด้านการใช้กล้ามเน้ือมัดใหญ่ สามารถ
เคลื่อนไหวและทรงตัวได้ตามวัย ซึ่งจะเป็นพื้นฐานท่ีดีของการออกกำลังกาย อิริยาบถ

ความคล่องตัวและกีฬา

รายละเอยี ดการพิจารณา

เด็กมีพฤติกรรมพัฒนาการท่ีก้าวหน้าตามวัยด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ สามารถ
เคลื่อนไหวและทรงตัวได้ตามวัย ซึ่งจะเป็นพื้นฐานที่ดีของการออกกำลังกาย อิริยาบถ

ความคล่องตัวและกีฬา




210

ดา้ นกล้ามเนือ้ มัดใหญ่ อาย ุ สภาพทพ่ี งึ ประสงค


เคลื่อนไหวร่างกายอยา่ งคล่องแคล่ว ๓-๔ ปี - เดนิ ตามแนวท่กี ำหนดได

ประสานสมั พนั ธ์ และทรงตวั ได ้ - กระโดดสองขา ขึ้นลงอยู่กับท่ไี ด

- วิง่ แลว้ หยดุ ได้

- รบั ลกู บอลโดยใช้มอื และลำตัวช่วย


๔-๕ ป ี - เดนิ ตอ่ เทา้ ไปข้างหน้าเปน็ เสน้ ตรงได

- กระโดดขาเดยี วอย่กู บั ทีไ่ ดโ้ ดยไม่เสยี การทรงตวั

- วง่ิ หลบส่ิงกีดขวางได้

- รับลกู บอลโดยใช้มือท้ังสองข้าง


๕-๖ ป ี - เดินตอ่ เท้าถอยหลงั เป็นเส้นตรงได ้

โดยไม่ต้องกางแขน

- กระโดดขาเดยี วไปขา้ งหน้าไดอ้ ย่างตอ่ เนอ่ื ง

โดยไมเ่ สียการทรงตวั

- ว่ิงหลบหลีกส่งิ กดี ขวางได้อย่างคลอ่ งแคลว่


- รบั ลูกบอลที่กระดอนขนึ้ จากพืน้ ได้


(คัดลอกจาก : หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พ.ศ. ๒๕๖๐, หนา้ ๒๘)


ขอ้ มูลประกอบการพิจารณา

๑. คมู่ อื เฝา้ ระวังและสง่ เสริมพฒั นาการเด็กปฐมวัย (DSPM)

๒. ค่มู ือ DSPM+ ขยายอายุ ๕-๖ ปี

๓. แบบบันทึกการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยตามช่วงอายุ โดย

เจา้ หน้าทสี่ าธารณสุข (ชว่ งอายุ ๓-๕ ปี)

๔. คู่มือการคัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการเด็กแรกเกิด-๖ ปี ของ กทม. (ใช้แบบ

คัดกรองเดก็ อายุ ๖๐-๗๒ เดอื น)

๕. หลักสูตรการศึกษาปฐมวยั พ.ศ. ๒๕๖๐

๖. แบบการสงั เกตพฤติกรรม

๗. แบบบนั ทกึ พฒั นาการตามวัยรายบคุ คล

๘. แบบประเมินพัฒนาการเดก็ ปฐมวยั รายบุคคล

๙. สมรรถนะเชงิ พฤตกิ รรม




211

๓.๓.๒ ข เดก็ มีพัฒนาการด้านการใชก้ ล้ามเนือ้ มดั เล็ก และการประสานงานระหวา่ งตากบั มอื

ตามวยั



รายการพิจารณา

เด็กมีพฤติกรรมพัฒนาการท่ีก้าวหน้าตามวัยด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก และ

การประสานงานระหว่างตากับมือตามวัย ซ่ึงจะเป็นพ้ืนฐานท่ีดีของการทำงานละเอียด การแก้ไข
ปัญหา กิจวัตรประจำวัน และการอา่ นเขยี น


รายละเอียดการพิจารณา

เด็กมีพฤติกรรมพัฒนาการท่ีก้าวหน้าตามวัยด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กและ

การประสานงานระหว่างตากับมือตามวัย ซึ่งจะเป็นพื้นฐานท่ีดีของการทำงานละเอียด การแก้ไข
ปัญหา กจิ วตั รประจำวนั และการอ่านเขยี น




ด้านกล้ามเนือ้ มัดเล็ก
อาย ุ สภาพท่ีพึงประสงค์


ใช้มือ-ตา ประสานสัมพันธ์กนั ๓-๔ ป ี - ใช้กรรไกรตัดกระดาษขาดจากกันได้โดยใชม้ อื เดียว

- เขยี นรปู วงกลมตามแบบได้

- รอ้ ยวสั ดทุ มี่ รี ขู นาดเสน้ ผ่านศูนย์กลาง ๑ เซนตเิ มตรได้


๔-๕ ปี - ใช้กรรไกรตดั กระดาษตามแนวเสน้ ตรงได้

- เขียนรูปสีเ่ หลย่ี มตามแบบได้อย่างมมี ุมชัดเจน

- ร้อยวสั ดุท่ีมีรูขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง ๐.๕ เซนตเิ มตรได้


๕-๖ ปี - ใชก้ รรไกรตัดกระดาษตามแนวเส้นโค้งได้

- เขียนรูปสามเหล่ียมตามแบบไดอ้ ยา่ งมมี ุมชัดเจน


- รอ้ ยวสั ดทุ มี่ รี ขู นาดเสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลาง ๐.๒๕ เซนตเิ มตรได้


(คัดลอกจาก : หลักสตู รการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. ๒๕๖๐, หนา้ ๒๘)


ขอ้ มลู ประกอบการพจิ ารณา

๑. คูม่ อื เฝ้าระวงั และส่งเสริมพฒั นาการเดก็ ปฐมวยั (DSPM)

๒. คูม่ ือ DSPM+ ขยายอายุ ๕-๖ ป ี

๓. แบบบันทึกการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยตามช่วงอายุ โดย

เจ้าหน้าท่สี าธารณสขุ (ชว่ งอายุ ๓-๕ ป)ี


212

๔. คู่มือการคัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการเด็กแรกเกิด-๖ ปี ของ กทม. (ใช้แบบ

คัดกรองเดก็ อายุ ๖๐-๗๒ เดอื น)

๕. หลักสตู รการศึกษาปฐมวยั พ.ศ. ๒๕๖๐

๖. แบบการสังเกตพฤตกิ รรม

๗. แบบบันทกึ พัฒนาการตามวยั รายบุคคล

๘. แบบประเมนิ พฒั นาการเดก็ ปฐมวัยรายบุคคล

๙. สมรรถนะเชิงพฤตกิ รรม




ตัวบ่งช้ีท่ี ๓.๔ ข เด็กมพี ฒั นาการด้านอารมณจ์ ิตใจ




๓.๔.๑ ข เด็กแสดงออก ร่าเริง แจ่มใส รู้สึกมั่นคงปลอดภัย แสดงความรู้สึกที่ดีต่อตนเอง

และผู้อ่นื ไดส้ มวยั



รายการพิจารณา

เด็กมีการแสดงออกทางอารมณ์อย่างอิสระ ร่าเริง แจ่มใส รู้สึกม่ันคงปลอดภัย แสดง
ความรูส้ กึ ทดี่ ตี อ่ ตนเองและผู้อ่ืนไดส้ มวัย

รายละเอยี ดการพิจารณา

เด็กมีการแสดงออกทางอารมณ์อย่างอิสระ ร่าเริง แจ่มใส รู้สึกม่ันคงปลอดภัย แสดง
ความรู้สึกท่ีดีต่อตนเองและผู้อื่นได้สมวัย ซ่ึงเป็นพื้นฐานอัตมโนทัศน์ (self esteem) และ
บุคลิกลักษณะ (personality)




213

คุณลักษณะ อายุ สภาพที่พึงประสงค์


๑. แสดงออกทางอารมณ์ ๓-๔ ป ี แสดงออกอารมณค์ วามรสู้ กึ ไดเ้ หมาะสมกบั บางสถานการณ

ได้อยา่ งเหมาะสม ๔-๕ ป ี แสดงอารมณ์ความรสู้ ึกได้ตามสถานการณ


๕-๖ ป ี แสดงอารมณ์ความรู้สกึ ได้สอดคล้องกบั สถานการณ

อยา่ งเหมาะสม


๒. มีความรสู้ กึ ท่ดี ตี ่อตนเอง ๓-๔ ปี - กลา้ พดู กลา้ แสดงออก

และผู้อนื่ - แสดงความพอใจในผลงานตนเอง


๔-๕ ปี - กลา้ พูดกลา้ แสดงออกอย่างเหมาะสมบางสถานการณ

- แสดงความพอใจในผลงานและความสามารถของตนเอง


๕-๖ ป ี - กลา้ พูดกลา้ แสดงออกอย่างเหมาะสมตามสถานการณ์

- แสดงความพอใจในผลงานและความสามารถของตนเอง


และผ้อู ่นื


(คดั ลอกจาก : หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวยั พ.ศ. ๒๕๖๐, หน้า ๒๘)


ข้อมูลประกอบการพิจารณา

๑. คมู่ ือเฝ้าระวงั และส่งเสรมิ พัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM)

๒. ค่มู อื DSPM+ ขยายอายุ ๕-๖ ปี

๓. แบบบันทึกการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยตามช่วงอายุ โดย

เจ้าหนา้ ทสี่ าธารณสขุ (ชว่ งอายุ ๓-๕ ปี)

๔. คู่มือการคัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการเด็กแรกเกิด-๖ ปี ของ กทม. (ใช้แบบ

คดั กรองเด็กอายุ ๖๐-๗๒ เดือน)

๕. หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวยั พ.ศ. ๒๕๖๐

๖. แบบการสงั เกตพฤติกรรม

๗. แบบบันทกึ พฒั นาการตามวัยรายบุคคล

๘. แบบประเมนิ พฒั นาการเด็กปฐมวยั รายบุคคล

๙. สมรรถนะเชงิ พฤตกิ รรม




214

๓.๔.๒ ข เด็กมีความสนใจ และร่วมกิจกรรมต่างๆ อย่างสมวัย ซ่ึงรวมการเล่น การทำงาน

ศิลปะ ดนตรี กีฬา



รายการพจิ ารณา

เด็กมคี วามสนใจ และร่วมกจิ กรรมต่างๆ อยา่ งสมวัย ซึ่งรวมการเล่น การทำงาน ศลิ ปะ
ดนตรี กฬี า

รายละเอยี ดการพจิ ารณา

เด็กมีความสนใจ และรว่ มกิจกรรมต่างๆ อย่างสมวัย ซง่ึ รวมการเล่น การทำงาน ศลิ ปะ
ดนตรี กีฬา โดยใหเ้ ดก็ ไดร้ บั ประสบการณ์ตา่ งๆ เช่น การฟงั เพลง การร้องเพลง การแสดงปฏริ ิยา
โต้ตอบเสียงดนตรี การเล่นดนตรีประกอบจังหวะ การเคล่ือนไหวตามเสียงเพลง/ดนตรี การเล่น
และทำงานรวมกับผู้อ่ืน การร่วมสนทนาแลกเปล่ียนความคิดเห็นกัน การเล่นอิสระ การเล่น

บทบาทสมมติ การเล่นรายบุคคลและรายกลุ่ม การเล่นตามมุมประสบการณ์ การเล่นนอก
หอ้ งเรยี น การทำกิจกรรมศลิ ปะต่างๆ การสรา้ งสรรคส์ ิ่งสวยงาม เป็นต้น

ขอ้ มลู ประกอบการพจิ ารณา

๑. คูม่ อื เฝ้าระวังและส่งเสรมิ พัฒนาการเด็กปฐมวยั (DSPM)

๒. คู่มอื DSPM+ ขยายอายุ ๕-๖ ปี

๓. แบบบันทึกการเฝ้าระวัง และส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยตามช่วงอายุ โดย

เจ้าหนา้ ทสี่ าธารณสขุ (ชว่ งอายุ ๓-๕ ปี)

๔. คูม่ อื การคัดกรองและส่งเสรมิ พัฒนาการเดก็ แรกเกิด-๖ ปี ของกทม.

(ใช้แบบคดั กรองเด็กอายุ ๖๐-๗๒ เดอื น)

๕. หลกั สตู รการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. ๒๕๖๐

๖. แบบการสงั เกตพฤติกรรม

๗. แบบบนั ทึกพัฒนาการตามวัยรายบุคคล

๘. แบบประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวยั รายบุคคล

๙. สมรรถนะเชงิ พฤตกิ รรม




215

๓.๔.๓ ข เด็กสามารถอดทน รอคอย ควบคุมตนเอง ยับย้ังชั่งใจ ทำตามข้อตกลง คำนึงถึง

ความรู้สกึ ของผ้อู น่ื มกี าลเทศะ ปรับตวั เข้ากบั สถานการณ์ใหม่ได้สมวยั



รายการพิจารณา

เด็กสามารถอดทน รอคอย ควบคุมตนเอง ยับย้ังช่ังใจ ทำตามข้อตกลง คำนึงถึง

ความรสู้ ึกของผอู้ ่ืน มีกาลเทศะ ปรับตวั เขา้ กับสถานการณ์ใหม่ไดส้ มวยั

รายละเอียดการพิจารณา

เด็กสามารถอดทน รอคอย ควบคุมตนเอง ยับย้ังช่ังใจ รู้จักประหยัด อดออม

ตามแนวทางของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การทำตามขอ้ ตกลง คำนงึ ถึงความรู้สึกของผู้อื่น
มีกาลเทศะ ปรับตัวเข้ากับสถานการณ์ใหม่ได้สมวัย ซึ่งเป็นพ้ืนฐานของการรักษาระเบียบวินัย
การควบคมุ ตนเอง ไม่หุนหันพลนั แลน่ และเปน็ สมาชิกที่ดขี องสงั คม

* การอดทนรอคอย เชน่ รอทำกิจกรรมพรอ้ มเพ่อื น การเข้าแถวตามลำดับ

ขอ้ มูลประกอบการพจิ ารณา

๑. คูม่ อื เฝ้าระวังและสง่ เสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM)

๒. คมู่ อื DSPM+ ขยายอายุ ๕-๖ ปี

๓. แบบบันทึกการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยตามช่วงอายุ โดย

เจา้ หนา้ ทีส่ าธารณสขุ (ช่วงอายุ ๓-๕ ปี)

๔. คมู่ ือการคัดกรองและสง่ เสรมิ พัฒนาการเด็กแรกเกดิ -๖ ปี ของกทม.

(ใช้แบบคัดกรองเดก็ อายุ ๖๐-๗๒ เดอื น)

๕. หลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. ๒๕๖๐

๖. แบบการสังเกตพฤตกิ รรม

๗. แบบบันทกึ พัฒนาการตามวยั รายบคุ คล

๘. แบบประเมนิ พัฒนาการเดก็ ปฐมวยั รายบคุ คล

๙. สมรรถนะเชงิ พฤตกิ รรม




216

ตัวบง่ ช้ีท่ี ๓.๕ ข เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญา เรียนรแู้ ละสรา้ งสรรค์




๓.๕.๑ ข เด็กบอกเก่ียวกับตวั เดก็ บุคคล สถานทีแ่ วดลอ้ มธรรมชาติ และสิ่งตา่ งๆ รอบตวั เดก็

ไดส้ มวยั



รายการพจิ ารณา

เด็กบอกเกี่ยวกับตัวเด็ก บุคคล สถานที่แวดล้อมธรรมชาติ และส่ิงต่างๆ รอบตัวเด็ก

ได้สมวยั

รายละเอยี ดการพจิ ารณา

เด็กบอกเก่ียวกับตัวเด็ก บุคคล สถานท่ีแวดล้อมธรรมชาติ และส่ิงต่างๆ รอบตัวเด็ก

ได้สมวัย โดยที่เด็กสามารถพูดเล่าเรื่องราวเกี่ยวกับตนเอง พูดอธิบายส่ิงของ เหตุการณ์

ความสมั พนั ธ์ของสิง่ ตา่ งๆ พูดอยา่ งสรา้ งสรรค์ในการเลน่ และการกระทำต่างๆ พดู เรียงลำดบั คำ
เพ่อื ใช้ในการส่อื สารได้ เปน็ ตน้

ข้อมูลประกอบการพจิ ารณา

๑. ประเมินคุณภาพเด็กทางด้านพัฒนาการโดยดูผลงาน จากการสังเกตพฤติกรรม

การแสดงออก และการตอบสนองของเด็ก โดยไมใ่ ช้แบบทดสอบ/แบบฝกึ หดั

๒. บันทึกการสังเกต ตดิ ตามพฤตกิ รรมความสามารถในการเรยี นร้ ู

๓. แบบการสังเกตพฤติกรรม

๔. แบบบันทึกพัฒนาการรายบุคคล

๕. สมรรถนะเชงิ พฤตกิ รรม

๖. ค่มู ือเฝ้าระวงั และสง่ เสรมิ พัฒนาการเดก็ ปฐมวัย (DSPM)

๗. คู่มอื DSPM+ ขยายอายุ ๕-๖ ป ี

๘. หลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั พ.ศ. ๒๕๖๐

๙. แฟ้มสะสมผลงานของเด็กที่แสดงถึงความก้าวหน้าของพัฒนาการ (คำพูด การเล่น

ศลิ ปะ ดนตร)ี

๑๐.  บนั ทึกการตดิ ตามประเมินผลหลังการจัดกจิ กรรมตามสาระการเรยี นรู




217

๓.๕.๒ ข เด็กมีพ้ืนฐานด้านคณิตศาสตร์ สามารถสังเกต จำแนก และเปรียบเทียบ จำนวน

มิตสิ มั พันธ์ (พื้นท/่ี ระยะ) เวลา ได้สมวัย



รายการพิจารณา

เด็กมีพ้ืนฐานด้านคณิตศาสตร์ สามารถสังเกต จำแนก และเปรียบเทียบ จำนวน มิติ
สมั พนั ธ์ (พ้ืนที่/ระยะ) เวลา ไดส้ มวยั

รายละเอียดการพิจารณา

เด็กมีพ้ืนฐานด้านคณิตศาสตร์ สามารถสังเกต จำแนก และเปรียบเทียบ จำนวน มิติ
สัมพันธ์ (พื้นที่/ระยะ) เวลาได้สมวัย เช่น การสังเกต บอก คัดแยก จัดกลุ่ม นับ ช่ัง ตวง วัด

สง่ิ ตา่ งๆ สามารถจบั คู่ เปรยี บเทยี บ เรียงลำดับส่งิ ต่างๆ ตามลักษณะความยาว ความสูง น้ำหนัก
ปริมาตร สามารถบอกและเรยี งลำดับกจิ กรรมหรือเหตกุ ารณ์ตามชว่ งเวลาได้ เป็นต้น

ขอ้ มูลประกอบการพจิ ารณา

๑. ประเมินคุณภาพเด็กทางด้านพัฒนาการโดยดูผลงาน จากการสังเกตพฤติกรรม

การแสดงออก และการตอบสนองของเด็ก โดยไมใ่ ช้แบบทดสอบ/แบบฝึกหัด

๒. บนั ทกึ การสังเกต ติดตามพฤตกิ รรมความสามารถในการเรยี นร ู้

๓. แบบการสงั เกตพฤตกิ รรม

๔. แบบบันทกึ พฒั นาการรายบุคคล

๕. สมรรถนะเชิงพฤตกิ รรม

๖. คู่มอื เฝ้าระวงั และส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวยั (DSPM)

๗. คู่มอื DSPM+ ขยายอายุ ๕-๖ ปี

๘. หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวัย พ.ศ. ๒๕๖๐

๙. แฟ้มสะสมผลงานของเด็กท่ีแสดงถึงความก้าวหน้าของพัฒนาการ (คำพูด การเล่น

ศลิ ปะ ดนตร)ี

๑๐.  บันทึกการตดิ ตามประเมนิ ผลหลงั การจัดกจิ กรรมตามสาระการเรยี นร
ู้


๓.๕.๓ ข เด็กสามารถคิดอย่างมีเหตุผล แก้ปัญหาไดส้ มวัย



รายการพิจารณา

เดก็ สามารถคิดอย่างมเี หตุผล แก้ปญั หาได้สมวัย


218

รายละเอยี ดการพจิ ารณา

เด็กสามารถคิดอย่างมีเหตุผล แก้ปัญหาได้สมวัย เช่น การอธิบายเชื่อมโยงสาเหตุ และ
ผลที่เกิดข้ึนในเหตุการณ์หรือการกระทำ การคาดเดาหรือการคาดคะเนสิ่งท่ีอาจจะเกิดขึ้นอย่าง

มีเหตุผล การมีส่วนร่วมในการลงความเห็นจากข้อมูลอย่างมีเหตุผล การตัดสินใจและมีส่วนร่วม
ในกระบวนการแกป้ ัญหา เป็นตน้

ข้อมลู ประกอบการพิจารณา

๑. ประเมินคุณภาพเด็กทางด้านพัฒนาการโดยดูผลงาน จากการสังเกตพฤติกรรม

การแสดงออก และการตอบสนองของเดก็ โดยไมใ่ ชแ้ บบทดสอบ/แบบฝึกหดั

๒. บนั ทึกการสังเกต ติดตามพฤติกรรมความสามารถในการเรยี นรู้

๓. แบบการสงั เกตพฤตกิ รรม

๔. แบบบันทกึ พัฒนาการรายบคุ คล

๕. สมรรถนะเชิงพฤติกรรม

๖. คมู่ ือเฝ้าระวงั และส่งเสรมิ พัฒนาการเด็กปฐมวยั (DSPM)

๗. คมู่ อื DSPM+ ขยายอายุ ๕-๖ ปี

๘. หลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัย พ.ศ. ๒๕๖๐

๙. แฟ้มสะสมผลงานของเด็กที่แสดงถึงความก้าวหน้าของพัฒนาการ (คำพูด การเล่น

ศิลปะ ดนตร)ี

๑๐.  บนั ทึกการตดิ ตามประเมินผลหลงั การจดั กิจกรรมตามสาระการเรยี นร
ู้


๓.๕.๔ ข เด็กมีจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ ที่แสดงออกไดส้ มวัย



รายการพิจารณา

เด็กมีจินตนาการ และความคดิ สรา้ งสรรค์ ทแ่ี สดงออกได้สมวัย

รายละเอียดการพจิ ารณา

เด็กมีจินตนาการ และความคดิ สร้างสรรคท์ ีแ่ สดงออกไดส้ มวยั โดยที่เดก็ มกี ารรบั รู้ และ
แสดงความคิด ความรสู้ ึกผ่านส่อื วสั ดุ ของเลน่ และช้นิ งาน มกี ารแสดงความคดิ สร้างสรรค์ผ่าน
ภาษา ท่าทาง การเคลื่อนไหว และศิลปะ มีการสร้างสรรค์ชิ้นงานโดยใช้รูปร่างรูปทรงจากวัสด

ทห่ี ลากหลาย เป็นต้น


219

ขอ้ มูลประกอบการพิจารณา

๑. ประเมินคุณภาพเด็กทางด้านพัฒนาการโดยดูผลงาน จากการสังเกตพฤติกรรม

การแสดงออก และการตอบสนองของเด็ก โดยไม่ใชแ้ บบทดสอบ/แบบฝึกหัด

๒. บนั ทกึ การสงั เกต ตดิ ตามพฤตกิ รรมความสามารถในการเรียนร ู้

๓. แบบการสงั เกตพฤติกรรม

๔. แบบบันทึกพัฒนาการรายบุคคล

๕. สมรรถนะเชงิ พฤติกรรม

๖. คมู่ ือเฝา้ ระวงั และส่งเสรมิ พฒั นาการเด็กปฐมวยั (DSPM)

๗. ค่มู อื DSPM+ ขยายอายุ ๕-๖ ปี

๘. หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พ.ศ. ๒๕๖๐

๙. แฟ้มสะสมผลงานของเด็กท่ีแสดงถึงความก้าวหน้าของพัฒนาการ (คำพูด การเล่น

ศิลปะ ดนตร)ี

๑๐.  บนั ทึกการตดิ ตามประเมนิ ผลหลังการจดั กิจกรรมตามสาระการเรยี นร้



๓.๕.๕ ข เดก็ มีความพยายาม มุ่งม่นั ต้ังใจ ทำกิจกรรมใหส้ ำเรจ็ สมวัย



รายการพจิ ารณา

เด็กมีความพยายาม มุ่งม่ันตั้งใจ ทำกิจกรรมท่ีได้รับมอบหมาย หรือสิ่งท่ีอยากทำเอง

ใหส้ ำเร็จสมวยั ต้ังใจ จดจอ่ กบั สงิ่ ท่ีทำอยู่ ต่อเนอื่ งหรือจนเสรจ็ ตามวยั

รายละเอียดการพิจารณา

เด็กมีความพยายาม มุ่งมั่นต้ังใจในการทำงาน เล่น ประดิษฐ์สิ่งของ หรือกิจกรรม

งานบ้านเลก็ ๆ น้อยๆ เช่น กวาดบ้าน ถูบา้ น ฯลฯ ทไี่ ดร้ บั มอบหมายได้สำเร็จสมตามวัย เป็นต้น

ข้อมลู ประกอบการพิจารณา

๑. ประเมินคุณภาพเด็กทางด้านพัฒนาการโดยดูผลงาน จากการสังเกตพฤติกรรม

การแสดงออก และการตอบสนองของเด็ก โดยไม่ใช้แบบทดสอบ/แบบฝึกหัด

๒. บนั ทึกการสังเกต ตดิ ตามพฤตกิ รรมความสามารถในการเรียนร้ ู

๓. แบบการสงั เกตพฤตกิ รรม

๔. แบบบนั ทึกพัฒนาการรายบุคคล

๕. สมรรถนะเชิงพฤตกิ รรม

๖. คู่มอื เฝา้ ระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM)


220

๗. คมู่ อื DSPM+ ขยายอายุ ๕-๖ ป ี

๘. หลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั พ.ศ. ๒๕๖๐

๙. แฟ้มสะสมผลงานของเด็กท่ีแสดงถึงความก้าวหน้าของพัฒนาการ (คำพูด การเล่น

ศิลปะ ดนตร)ี

๑๐.  บนั ทึกการตดิ ตามประเมินผลหลงั การจดั กจิ กรรมตามสาระการเรยี นรู้




ตัวบ่งชท้ี ี่ ๓.๖ ข เด็กมีพัฒนาการดา้ นภาษาและการสอ่ื สาร




๓.๖.๑ ข เด็กสามารถฟงั พูด จบั ใจความ เล่า สนทนา และสอ่ื สารได้สมวยั



รายการพจิ ารณา

เดก็ สามารถฟงั พูด จับใจความ เล่า สนทนา และสอ่ื สารได้สมวยั


รายละเอยี ดการพจิ ารณา

เด็กสามารถฟัง พูด จบั ใจความ เล่า สนทนา และสือ่ สารไดส้ มวัย

อายุ ๓-๔ ปี ฟังผู้อื่นพูดจนจบ และพูดโต้ตอบเก่ียวกับเร่ืองท่ีฟัง เล่าเร่ืองด้วย

ประโยคส้นั ๆ ได้

อายุ ๔-๕ ปี ฟังผอู้ น่ื พูดจนจบ และสนทนาโต้ตอบสอดคล้องกับเรือ่ งทฟี่ งั เล่าเร่ือง

เปน็ ประโยคอย่างตอ่ เนอ่ื ง

อายุ ๕-๖ ปี ฟังผู้อ่ืนพูดจนจบ และสนทนาโต้ตอบอย่างต่อเนื่องเชื่อมโยงเร่ืองท่ี

ฟงั เล่าเป็นเร่อื งราวตอ่ เนอ่ื งได ้


ขอ้ มูลประกอบการพจิ ารณา

๑. มกี ารติดตามและบนั ทกึ การใช้ภาษาของเด็กอยา่ งสม่ำเสมอ

๒. บันทึกการตดิ ตามประเมินผลหลงั การจดั กจิ กรรมตามสาระการเรยี นรู้

๓. แบบการสังเกตพฤตกิ รรม

๔. แบบบันทกึ พฒั นาการรายบคุ คล

๕. สมรรถนะเชิงพฤตกิ รรม

๖. คูม่ อื เฝ้าระวงั และส่งเสรมิ พฒั นาการเดก็ ปฐมวยั (DSPM)

๗. คู่มอื DSPM+ ขยายอายุ ๕-๖ ป ี

๘. หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวัย พ.ศ. ๒๕๖๐

๙. มกี ารติดตามและบันทึกการใช้ภาษาของเดก็ อย่างสมำ่ เสมอ




221

๓.๖.๒ ข เดก็ มที กั ษะในการดรู ปู ภาพ สญั ลกั ษณ์ การใชห้ นงั สอื รจู้ กั ตวั อกั ษร การคดิ เขยี นคำ

และการอ่านเบือ้ งตน้ ไดส้ มวยั และตามลำดับพัฒนาการ



รายการพจิ ารณา

เด็กมีทักษะในการดูรูปภาพ สัญลักษณ์ การใช้หนังสือ รู้จักตัวอักษร การคิดเขียนคำ
และการอา่ นเบอื้ งต้นได้สมวัยและตามลำดับพฒั นาการ


รายละเอยี ดการพจิ ารณา

เด็กมีทักษะในการดูรูปภาพ สัญลักษณ์ การใช้หนังสือ รู้จักตัวอักษร การคิดเขียนคำ*
และการอ่านเบอื้ งต้นไดส้ มวยั และตามลำดับพัฒนาการ

เดก็ อายุ ๓-๔ ปี อา่ นภาพและพูดข้อความดว้ ยภาษาของตน

เด็กอายุ ๔-๕ ปี อ่านภาพ สัญลักษณ์ คำ พร้อมทั้งชี้หรือกวาดตามองข้อความ

ตามบรรทัด

เด็กอายุ ๕-๖ ปี อ่านภาพ สัญลักษณ์ คำ ด้วยการช้ีหรือกวาดตามองจุดเร่ิมต้น

หรอื จดุ จบของขอ้ ความ


ขอ้ มูลประกอบการพิจารณา

๑. มีการติดตามและบนั ทกึ การใช้ภาษาของเดก็ อยา่ งสม่ำเสมอ

๒. บนั ทกึ การตดิ ตามประเมินผลหลังการจัดกิจกรรมตามสาระการเรียนร้

๓. แบบการสงั เกตพฤติกรรม

๔. แบบบันทึกพฒั นาการายบุคคล

๕. สมรรถนะเชงิ พฤติกรรม

๖. คมู่ ือเฝ้าระวงั และสง่ เสริมพัฒนาการเดก็ ปฐมวัย (DSPM)

๗. ค่มู ือ DSPM+ ขยายอายุ ๕-๖ ปี

๙. มีการตดิ ตามและบนั ทกึ การใชภ้ าษาของเดก็ อย่างสม่ำเสมอ

๘. หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย พ.ศ. ๒๕๖๐




222

๓.๖.๓ ข เด็กมีทักษะการวาด การขีดเขียนตามลำดับข้ันตอนพัฒนาการสมวัย นำไปสู่

การขีดเขยี นคำที่คนุ้ เคย และสนใจ



รายการพิจารณา

เด็กมที ักษะการวาด การขดี เขียนตามลำดับขัน้ ตอนพฒั นาการสมวัย นำไปสูก่ ารขีดเขียน
คำที่คุ้นเคย และสนใจ

รายละเอยี ดการพจิ ารณา

เดก็ มที ักษะการวาด การขดี เขยี นตามลำดับขั้นตอนพฒั นาการสมวัย นำไปส่กู ารขดี เขยี น
คำที่คนุ้ เคยและสนใจ โดยเด็กอายุ ๓-๔ ปี ขดี เขยี นอยา่ งมที ศิ ทาง เด็กอายุ ๔-๕ ปี เขียนคลา้ ย

ตวั อักษร และเด็กอายุ ๕-๖ ปี เขียนชอ่ื ตนเองตามแบบ เขยี นข้อความดว้ ยวธิ ที คี่ ดิ ขนึ้ เอง

ขอ้ มลู ประกอบการพจิ ารณา

๑. มีการติดตามและบนั ทกึ การใชภ้ าษาของเดก็ อย่างสมำ่ เสมอ

๒. บนั ทึกการตดิ ตามประเมนิ ผลหลงั การจดั กิจกรรมตามสาระการเรยี นร้

๓. แบบการสงั เกตพฤตกิ รรม

๔. แบบบนั ทกึ พัฒนาการรายบุคคล

๕. สมรรถนะเชิงพฤตกิ รรม

๖. คมู่ อื เฝ้าระวังและสง่ เสรมิ พัฒนาการเด็กปฐมวยั (DSPM)

๗. คู่มือ DSPM+ ขยายอายุ ๕-๖ ปี

๘. หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวัย พ.ศ. ๒๕๖๐

๙. มีการติดตามและบนั ทกึ การใช้ภาษาของเดก็ อยา่ งสมำ่ เสมอ



๓.๖.๔ ข เด็กมีทักษะในการสื่อสารอย่างเหมาะสมตามวัย โดยใช้ภาษาไทยเป็นหลัก

และมีความคุ้นเคยกบั ภาษาอ่ืนดว้ ย



รายการพิจารณา

เด็กมีทักษะในการส่ือสารอย่างเหมาะสมตามวัย โดยใช้ภาษาไทยเป็นหลัก และมี

ความคุน้ เคยกับภาษาอืน่ ดว้ ย


223

รายละเอยี ดการพจิ ารณา

เด็กมีทักษะในการสื่อสารอย่างเหมาะสมตามวัย โดยใช้ภาษาไทยเป็นหลักในการพูดคุย
สนทนา สอ่ื ความหมาย และมคี วามคนุ้ เคยกับภาษาอ่ืนด้วย ซ่งึ อาจเปน็ ภาษาท้องถน่ิ หรือภาษา
ต่างประเทศ

ข้อมูลประกอบการพจิ ารณา

๑. มกี ารตดิ ตามและบนั ทกึ การใช้ภาษาของเดก็ อยา่ งสมำ่ เสมอ

๒. บันทึกการตดิ ตามประเมนิ ผลหลังการจดั กิจกรรมตามสาระการเรยี นร
ู้
๓. แบบการสงั เกตพฤติกรรม

๔. แบบบันทึกพฒั นาการรายบคุ คล

๕. สมรรถนะเชิงพฤตกิ รรม

๖. ค่มู ือเฝ้าระวงั และส่งเสรมิ พฒั นาการเด็กปฐมวัย (DSPM)

๗. คู่มอื DSPM+ ขยายอายุ ๕-๖ ปี

๘. หลักสูตรการศึกษาปฐมวยั พ.ศ. ๒๕๖๐

๙. มีการติดตามและบนั ทกึ การใช้ภาษาของเดก็ อยา่ งสม่ำเสมอ




ตวั บง่ ชที้ ่ี ๓.๗ ข เดก็ มพี ฒั นาการดา้ นสงั คม คณุ ธรรม มวี นิ ยั และความเปน็ พลเมอื งด




๓.๗.๑ ข เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อ่ืนได้อย่างสมวัย และแสดงออกถึงการยอมรับความแตกต่าง

ระหวา่ งบุคคล



รายการพิจารณา

เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อ่ืนได้อย่างสมวัย และแสดงออกถึงการยอมรับความแตกต่าง
ระหว่างบุคคล

รายละเอียดการพิจารณา

เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นได้อย่างสมวัยจากการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ผ่านการเรียนรู้ทาง
สงั คม เชน่ การเลน่ การทำงานกบั ผอู้ น่ื หรอื กลมุ่ เพอ่ื น และแสดงออกถงึ การยอมรบั ความแตกตา่ ง

ระหวา่ งบคุ คล


224

ข้อมลู ประกอบการพจิ ารณา

๑. แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรม

๒. บนั ทกึ การติดตามประเมินผลหลังการจดั กิจกรรมตามสาระการเรยี นร
ู้
๓. แบบบนั ทึกพัฒนาการตามวยั รายบคุ คล

๔. สมรรถนะของเดก็ ปฐมวัยในการพัฒนาตามวัย (๓-๕ ปี)

๕. คู่มือเฝา้ ระวังและสง่ เสริมพัฒนาการเดก็ ปฐมวยั (DSPM)

๖. คู่มอื DSPM+ ขยายอายุ ๕-๖ ป

๗. หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พ.ศ. ๒๕๖๐



๓.๗.๒ ข เด็กมีความเมตตา กรุณา มีวินัย ซ่ือสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเองและส่วนรวม

และมีคา่ นิยมท่ีพึงประสงคส์ มวยั



รายการพจิ ารณา

เด็กมีความเมตตา กรณุ า วินยั ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเองและสว่ นรวม และมคี า่ นิยม
ทีพ่ ึงประสงค์สมวยั

รายละเอยี ดการพิจารณา

๑. เด็กแสดงความรักเพ่ือนและเมตตาต่อสัตว์เลี้ยง และแสดงความเอื้ออาทรด้วย

การปลอบใจช่วยเหลือเพ่ือนและสัตว์เล้ียงท่ีเจ็บหรือลำบาก ระหว่างเล่นและ

ทำกจิ กรรมรว่ มกนั ไมท่ ำรา้ ย วา่ รา้ ย เอารดั เอาเปรยี บตอ่ คน สตั ว์ และทำลายสง่ิ ของ

๒. ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎระเบียบของห้อง ของสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย/โรงเรียน

อนุบาล สามารถบอกได้ว่าส่ิงของใดเป็นของตนหรือของผู้อื่น เล่นของเล่นแล้ว

เก็บเข้าท่ี เข้าแถวเม่ือต้องรับของหรือซื้อของ รับผิดชอบช่วยเหลือ และดูแลตัวเอง

ทำกิจวตั รประจำวัน ทำส่ิงที่ได้รับมอบหมายจนสำเร็จ

๓. เด็กรู้จักหน้าที่ ปฏิบัติตามกฎระเบียบ ในบ้านชุมชน และกฎจราจรเบื้องต้นในการ

เดนิ ทาง เชน่ การใชท้ างมา้ ลาย สญั ญาณจราจร

ข้อมลู ประกอบการพจิ ารณา

๑. แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรม

๒. บนั ทกึ การติดตามประเมนิ ผลหลังการจดั กจิ กรรมตามสาระการเรียนร
ู้
๓. แบบบนั ทึกพฒั นาการตามวัยรายบุคคล

๔. สมรรถนะของเดก็ ปฐมวยั ในการพฒั นาตามวยั (๓-๕ ปี)


225

๕. คู่มอื เฝา้ ระวงั และส่งเสรมิ พัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM)

๖. คมู่ อื DSPM+ ขยายอายุ ๕-๖ ป

๗. หลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั พ.ศ. ๒๕๖๐



๓.๗.๓ ข เด็กสามารถเล่น และทำงานร่วมกับผู้อื่นเป็นกลุ่ม เป็นได้ทั้งผู้นำและผู้ตาม แก้ไข

ข้อขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์



รายการพิจารณา

๑. เด็กรจู้ กั เลน่ และทำงานรว่ มกบั ผู้อืน่ เปน็ กลุ่ม

๒. เป็นได้ทง้ั ผูน้ ำและผ้ตู าม แสดงความเป็นตวั เอง รบั ฟังความคิดเห็นของผ้อู นื่

๓. แก้ไขข้อขัดแยง้ อยา่ งสรา้ งสรรค

รายละเอียดการพจิ ารณา

๑. เดก็ เรม่ิ เล่นและทำงานรว่ มกับผู้อื่นเป็นกลมุ่ ได้ตามวยั โดยทีม่ ีครูแนะนำ

๒. ต่อมาเด็กทำได้เองในการตกลงเป้าหมาย แบ่งหน้าท่ี มีกติกาในการช่วยกัน หรือ

แขง่ กนั อย่างยุติธรรม และทำอย่างตอ่ เนอื่ งจนเสร็จ

๓. เปน็ ไดท้ ง้ั ผนู้ ำและผตู้ ามสบั เปลย่ี นกนั ไป แสดงความเปน็ ตวั เองและรบั ฟงั ความคดิ เหน็

ของผ้อู นื่ ร่วมกันตดั สนิ ใจเลือกทำในทางที่ดที ี่สุดสำหรับกลุ่ม

๔. แกไ้ ขขอ้ ขัดแยง้ อย่างสร้างสรรค์ เชน่ ประนีประนอม ตอ่ รองโดยไม่ใช้ความก้าวรา้ ว

ข้อมลู ประกอบการพจิ ารณา

๑. แบบบันทึกการสงั เกตพฤตกิ รรม

๒. บันทึกการติดตามประเมินผลหลังการจัดกจิ กรรมตามสาระการเรยี นรู

๓. แบบบนั ทึกพฒั นาการตามวยั รายบุคคล

๔. สมรรถนะของเด็กปฐมวัยในการพัฒนาตามวยั

๕. คู่มือเฝา้ ระวงั และสง่ เสรมิ พัฒนาการเด็กปฐมวยั (DSPM)

๖. คมู่ ือ DSPM+ ขยายอายุ ๕-๖ ปี

๗. หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวัย พ.ศ. ๒๕๖๐




226

๓.๗.๔ ข เด็กภาคภูมิใจท่ีเป็นสมาชิกท่ีดีในครอบครัว ชุมชน สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย

และตระหนกั ถงึ ความเป็นพลเมืองดีของประเทศไทย และภูมิภาคอาเซียน



รายการพิจารณา

เด็กภาคภูมิใจท่ีเป็นสมาชิกที่ดีในครอบครัว ชุมชน สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย และ
ตระหนกั ถงึ ความเป็นพลเมืองของประเทศไทย และภมู ภิ าคอาเซยี น

รายละเอยี ดการพจิ ารณา

๑. เด็กภาคภูมิใจท่ีเป็นสมาชิกท่ีดีในครอบครัว รู้สถานภาพของตน เช่น บอกว่าเป็น

ลูกของพ่อแม่ เป็นหลานตาชูที่ขายอาหาร โตขึน้ จะเปน็ หมอเหมือนป้า

๒. เด็กรู้ช่ือและบอกลักษณะของชุมชน และสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย เล่าถึงสิ่งที่ชอบ

และมสี ว่ นรว่ มในกจิ กรรมของส่วนรวม

๓. ตระหนกั ถึงความเปน็ พลเมอื งดีของประเทศไทย และภมู ภิ าคอาเซียน บอกได้วา่ เปน็

คนไทย/อยู่ในประเทศไทย ร้องเพลงชาติ รู้จักเคารพธงชาติไทย รู้ช่ือประเทศ

เพื่อนบ้านทอ่ี ยู่ในภมู ภิ าคอาเซียน

ข้อมูลประกอบการพจิ ารณา

๑. แบบบันทกึ การสงั เกตพฤติกรรม

๒. บันทึกการติดตามประเมินผลหลังการจดั กิจกรรมตามสาระการเรียนรู้

๓. แบบบันทึกพฒั นาการตามวัยรายบุคคล

๔. สมรรถนะของเดก็ ปฐมวยั ในการพฒั นาตามวัย (๓-๕ ปี)

๕. ค่มู ือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM)

๖. คู่มือ DSPM+ ขยายอายุ ๕-๖ ป

๗. หลักสตู รการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. ๒๕๖๐




227

เอกสารอ้างองิ , Website, QR Code

มาตรฐานดา้ นท่ี ๓




หมายเลขเอกสาร รายการ


๓.๑.๑ ก_๑, ๑. คมู่ ือการพฒั นาสู่องคก์ รส่งเสริมเด็กไทยเติบโตเต็มศกั ยภาพ

๓.๑.๑ ข_๑ ๒. โปรแกรมเฝ้าระวังการเจริญเติบโตของเด็ก (Bureau of Nutrition -

Growth Surveillance Program: BNutri-GSP)


๓. Motion graphic ร้ไู ด้อย่างไรว่าลกู สงู ดีสมสว่ น


๓.๒.๑ ก_๒ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการ

เด็กปฐมวัย Developmental Surveillance and Promotion Manual

(DSPM)


http://nich.anamai.moph.go.th/main.php?filename=DSPM60_Book


๓.๒.๑ ข_๑ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการ

เด็กปฐมวัย Developmental Surveillance and Promotion Manual:

DSPM ขยายอายุ ๕-๖ ปี (DSPM+)

http://nich.anamai.moph.go.th/ewt_news.php?nid=169&


filename=download

๓.๒.๑ ข_๒ สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร. คู่มือการคัดกรองและส่งเสริมพัฒนา


การ เดก็ แรกเกิด - ๖ ป.ี (ใช้แบบคดั กรองเดก็ อายุ ๖๐-๗๒ เดอื น)


๓.๓.๑ ข_๑ กระทรวงศึกษาธิการ. หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐.

กรงุ เทพ: โรงพมิ พ์ชุมนุมสหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย จำกดั ., ๒๕๖๐


228

ภาคผนวก


สญั ลักษณ์ มาตรฐานดา้ นที่ ๓

*๑

(๓.๑.๑ ก) ภาคผนวก

*๒ กราฟแสดงการเจริญเตบิ โตตามเกณฑอ์ า้ งอิงตามเพศและช่วงอายุ ของกรมอนามัย

(๓.๑.๑ ก) กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๕๘ (ประยุกตจ์ ากองค์การอนามยั โลก)

(๓.๑.๑ ข)
คู่มอื เฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเดก็ ปฐมวยั


Developmental Surveillance and Promotion Manual (DSPM)




แบบบนั ทกึ การคัดกรองและสง่ เสริมพฒั นาการเดก็ ปฐมวัยตามช่วงอายุ โดยเจา้ หน้าท
่ี

สาธารณสุข


แบบบันทกึ การเฝา้ ระวงั และส่งเสริมพฒั นาการเด็กปฐมวยั ตามช่วงอายุ โดยพ่อแม่/


ผปู้ กครอง/ คร/ู ผ้ดู ูแลเด็ก


DSPM+ แบบบันทกึ การเฝ้าระวงั Surveillance ๑๕ ข้อ ขยายเพ่มิ จากอายุ ๕ ปี แบ่งเปน็


๓ ช่วงอายุ ๕-๕.๖ ปี ๕.๖-๖ ปี และ ๖-๖.๖ ป


DSPM+ แบบบันทกึ การคดั กรอง Screening ๘ ข้อ สำหรบั ชว่ งอายุ ๕ ป
















*๓

(๓.๑.๑ ก)
*๔

(๓.๒.๒ ก)
*๕
(
๓.๒.๑ ข)
*๖
(๓.๒.๑ ข)

229


ญั ลกั ษณ์ ภาคผนวก

*๗ คมู่ อื การคดั กรองและสง่ เสริมพฒั นาการเดก็ แรกเกิด-๖ ปี ของ กทม.

(๓.๒.๑ข)






















230

*๑ (๓.๑.๑ ก) กราฟแสดงการเจริญเติบโตตามเกณฑ์อ้างอิงตามเพศและช่วงอายุของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
พ.ศ. ๒๕๕๘ (ประยกุ ตจ์ ากองคก์ ารอนามยั โลก)


231

232

233

234

235

236

237

238

*๓ (๓.๑.๑ ก) แบบบนั ทึกการคัดกรองและสง่ เสรมิ พัฒนาการเดก็ ปฐมวยั ตามชว่ งอายุ โดยเจา้ หนา้ ที่สาธารณสขุ


239

240

*๔ (๓.๒.๒ ก) แบบบนั ทกึ การเฝา้ ระวงั และสง่ เสรมิ พฒั นาการเด็กปฐมวยั ตามชว่ งอายุ โดยพอ่ แม่/ผ้ปู กครอง/ครู/ผ้ดู แู ลเดก็


241


Click to View FlipBook Version