The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงาน กศน.

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by maw.nfe, 2020-04-21 22:21:48

สังคมศึกษา สค31001 ม.ปลาย

กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงาน กศน.

หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม

รายวชิ าสงั คมศึกษา

(สค31001)

ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย

หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน
พุทธศกั ราช 2551

(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560)

หามจาํ หนาย

หนงั สอื เรยี นเลม น้ี จดั พิมพดว ยเงินงบประมาณแผนดนิ เพื่อการศึกษาตลอดชวี ติ สาํ หรบั ประชาชน
ลิขสิทธเ์ิ ปนของ สํานกั งาน กศน. สาํ นักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร

สํานกั งานสงเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
สาํ นกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงศึกษาธิการ

หนงั สือเรียนสาระการพัฒนาสงั คม

รายวชิ าสังคมศกึ ษา (สค31001)

ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย

(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560)

เอกสารทางวชิ าการลาํ ดบั ที่ 37/2557

คํานาํ

สาํ นักงานสงเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ไดดําเนนิ การจัดทาํ หนงั สอื เรียนชดุ
ใหมน ้ีข้ึน เพ่ือสําหรับใชในการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 ที่มีวัตถุประสงคใ นการพัฒนาผูเ รียนใหมีคุณธรรม จริยธรรม มีสติปญญาและศักยภาพ
ในการประกอบอาชีพการศึกษาตอและสามารถดํารงชีวิตอยูใ นครอบครัว ชุมชน สังคมไดอยางมีความสุข
โดยผูเ รียนสามารถนําหนงั สือเรียนไปใชดวยวิธกี ารศึกษาคนควาดว ยตนเอง ปฏิบัตกิ จิ กรรม รวมท้ังแบบฝกหัด
เพื่อทดสอบความรูความเขา ใจในสาระเน้ือหา โดยเมื่อศึกษาแลว ยังไมเ ขา ใจ สามารถกลับไปศึกษาใหมได
ผเู รียนอาจจะสามารถเพ่ิมพูนความรูหลังจากศึกษาหนังสือเรียนนี้ โดยนําความรูไปแลกเปลี่ยนกับเพื่อนในช้ัน
เรยี น ศึกษาจากภูมิปญญาทองถิน่ จากแหลงเรียนรแู ละจากสื่ออ่นื ๆ

ในการดําเนินการจัดทําหนังสือเรียนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศกั ราช 2551 ไดรับความรวมมือท่ีดีจากผูท รงคุณวุฒิและผูเ ก่ียวขอ งหลายทา นท่ีคน ควาและเรียบเรียง
เน้ือหาสาระจากสื่อตา ง ๆ เพือ่ ใหไ ดส ือ่ ทสี่ อดคลอ งกบั หลักสูตรและเปนประโยชนต อผเู รียนที่อยูน อกระบบ
อยางแทจริง สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ขอขอบคุณคณะที่ปรึกษา
คณะผเู รียบเรียง ตลอดจนคณะผจู ดั ทาํ ทุกทา นที่ไดใ หค วามรว มมือดว ยดี ไว ณ โอกาสน้ี

สาํ นักงานสง เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย หวังวาหนังสือเรียนชุดนี้จะเปน
ประโยชนในการจัดการเรยี นการสอนตามสมควร หากมขี อ เสนอแนะประการใด สํานักงานสง เสริมการศึกษา
นอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ขอนอ มรบั ไวดว ยความขอบคุณยง่ิ

สาํ นกั งาน กศน.
กันยายน 2557

สารบัญ หนา

คํานาํ 1
สารบัญ 2
คําแนะนําในการใชหนังสอื เรยี น
โครงสรางรายวชิ าสังคมศกึ ษา (สค31001) 34
บทท่ี 1 ภูมิศาสตรกายภาพ...................................................................................... 43

เรอื่ งท่ี 1 สภาพภมู ศิ าสตรก ายภาพ .................................................................... 52
เรอ่ื งท่ี 2 ลักษณะการเกิดปรากฏการณทางธรรมชาติทส่ี ําคญั
74
และการปอ งกนั อนั ตราย ..................................................................... 77
เรือ่ งท่ี 3 วธิ ใี ชเ คร่ืองมือทางภมู ศิ าสตร............................................................... 78
เร่ืองท่ี 4 ปญหาการทาํ ลายทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ ม 83
89
ผลการจัดลําดับความสําคัญของปญ หาทรัพยากรธรรมชาติ 104
และสง่ิ แวดลอม................................................................................... 124
เรื่องท่ี 5 แนวทางปองกนั แกไขปญหาการทาํ ลายทรัพยากรธรรมชาติ 127
และสงิ่ แวดลอ ม โดยประชาชน ชมุ ชน องคกร ภาครฐั 163
ภาคเอกชน.......................................................................................... 164
บทท่ี 2 ประวตั ิศาสตร............................................................................................. 170
เรอ่ื งท่ี 1 การแบง ชวงเวลาและยคุ สมัยทางประวัตศิ าสตร ..................................
เรอ่ื งที่ 2 แหลงอารยธรรมของโลก.....................................................................
เรอ่ื งที่ 3 ประวตั ศิ าสตรช าติไทย ........................................................................
เร่ืองท่ี 4 บุคคลสําคญั ของไทยและของโลกในดานประวัตศิ าสตร.......................
เรื่องท่ี 5 เหตกุ ารณส าํ คัญของโลกทมี่ ผี ลตอปจจุบนั ............................................
เร่ืองที่ 6 บทบาทของสถาบนั พระมหากษตั รยิ ใ นการพฒั นาชาตไิ ทย.....................
บทท่ี 3 เศรษฐศาสตร..............................................................................................
เรอ่ื งที่ 1 ความรเู บ้อื งตนเกี่ยวกบั เศรษฐศาสตร..................................................
เรอ่ื งที่ 2 ระบบเศรษฐกจิ ...................................................................................

สารบัญ (ตอ )

หนา

เรอ่ื งที่ 3 กระบวนการทางเศรษฐกิจ .................................................................. 181
เรื่องท่ี 4 แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหงชาติ.............................................. 199
เร่ืองที่ 5 สถาบันการเงินและการเงนิ การคลัง..................................................... 209
เร่ืองท่ี 6 ความสมั พนั ธและผลกระทบเศรษฐกจิ ระหวางประเทศ
225
กบั ภูมิภาคตางๆ ของโลก .................................................................... 232
เรื่องที่ 7 การรวมกลมุ ทางเศรษฐกจิ ................................................................... 239
บทที่ 4 การเมอื งการปกครอง .................................................................................. 240
เรอ่ื งท่ี 1 การปกครองระบอบประชาธิปไตย....................................................... 245
เร่ืองที่ 2 การปกครองระบบเผดจ็ การ................................................................
เรื่องที่ 3 พัฒนาการของระบอบประชาธิปไตย 249
256
ของประเทศตาง ๆ ในโลก...................................................................
เรื่องท่ี 4 เหตกุ ารณสาํ คญั ทางการเมอื งการปกครองของประเทศไทย ................ 261
เร่ืองที่ 5 เหตุการณส ําคญั ทางการเมอื งการปกครองของโลก 265
271
ท่ีสงผลกระทบตอ ประเทศไทย ............................................................ 274
เรื่องที่ 6 หลักธรรมมาภิบาล.............................................................................. 278
แนวเฉลยกิจกรรม ...........................................................................................................
บรรณานกุ รม ……………………………………………………………………………. ......................
คณะผูจ ดั ทาํ ...........................................................................................................

คําแนะนําในการใชหนังสอื เรยี น

หนงั สอื เรยี นสาระการพฒั นาสังคม รายวชิ าสงั คมศึกษา รหัส สค31001 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย
เปนหนังสือเรียนท่จี ดั ทําข้ึน สาํ หรบั ผเู รียนทเ่ี ปนนักศกึ ษาการศกึ ษานอกระบบ

ในการศกึ ษาหนังสอื เรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวชิ าสงั คมศกึ ษา ผูเรยี นควรปฏิบตั ดิ งั น้ี
1. ศกึ ษาโครงสรา งรายวชิ าใหเขา ใจในหัวขอ สาระสาํ คญั ผลการเรียนรทู ีค่ าดหวงั และขอบขายเน้อื หา
2. ศกึ ษารายละเอียดเน้ือหาของแตละบทอยา งละเอียด และทํากจิ กรรมตามทีก่ ําหนด แลวตรวจสอบ
กบั แนวเฉลยกิจกรรมท่กี ําหนด ถาผเู รยี นตอบผดิ ควรกลับไปศึกษาและทําความเขาใจในเนือ้ หานน้ั ใหมใ ห
เขา ใจกอนท่ีจะศกึ ษาเรอ่ื งตอ ไป
3. ปฏิบตั ิกิจกรรมทา ยบทของแตล ะบท เพอ่ื เปนการสรุปความรู ความเขาใจของเน้ือหาในเร่ืองน้ัน ๆ
อีกคร้ัง
4. หนงั สือเรียนเลมน้มี ี 4 บท คือ

บทท่ี 1 ภมู ิศาสตรกายภาพ
บทท่ี 2 ประวตั ศิ าสตร
บทที่ 3 เศรษฐศาสตร
บทท่ี 4 การเมอื งการปกครอง

โครงสรา งรายวชิ าสังคมศกึ ษา (สค31001)

สาระสาํ คัญ

ประชาชนทกุ คนมหี นาทีส่ าํ คัญในฐานะพลเมอื งดขี องชาติ การเคารพและปฏิบัติตามกฎหมายภายใต
การปกครองตามระบอบประชาธิปไตย มีความรใู นเร่อื งลักษณะทางกายภาพ การปฏสิ ัมพนั ธระหวา งมนุษยกับ
สิ่งแวดลอมและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติใหเ อ้ือประโยชนต อคนในชาติ การศึกษาความ
เปน มาและประวตั ิศาสตรข องชนชาติไทยทําใหเ กิดความรูความเขาใจและภาคภูมใิ จในความเปนไทย

ผลการเรียนรทู ่คี าดหวงั

1. อธิบายขอมูลเก่ียวกับภูมิศาสตร ประวัติศาสตร เศรษฐศาสตร การเมือง การปกครองท่ีเก่ียว
ของกับประเทศตา ง ๆ ในโลก

2. วเิ คราะห เปรยี บเทียบสภาพภูมิศาสตร ประวัติศาสตร เศรษฐศาสตร การเมืองการปกครอง
ของประเทศตาง ๆ ในโลก

3. ตระหนักและคาดคะเนสถานการณระหวางประเทศทางดา นภูมิศาสตร ประวัติศาสตร
เศรษฐศาสตร การเมือง การปกครองที่มีผลกระทบตอ ประเทศไทยและโลกในอนาคต

4. เสนอแนะแนวทางในการแกป ญ หา การปอ งกันและการพัฒนาทางดา นการเมือง การปกครอง
เศรษฐกจิ และสังคมตามสภาพปญ หาท่เี กิดขนึ้ เพอ่ื ความมนั่ คงของชาติ

สาระการเรยี นรู

บทที่ 1 ภมู ิศาสตรก ายภาพ
บทที่ 2 ประวตั ศิ าสตร
บทท่ี 3 เศรษฐศาสตร
บทที่ 4 การเมืองการปกครอง

1

บทที่ 1 ภูมศิ าสตรก ายภาพ

สาระสําคัญ

ลักษณะทางกายภาพและสรรพสิ่งในโลก มีความสมั พันธซ่งึ กนั และกนั และมีผลกระทบตอระบบนเิ วศ
ธรรมชาติ การนําแผนทแ่ี ละเครอื่ งมอื ภมู ิศาสตรมาใชใ นการคนหาขอ มูลจะชวยใหม ขี อ มลู ทีช่ ดั เจนและนําไปสู
การใชการจดั การไดอยา งมปี ระสิทธิภาพ การปฏสิ มั พนั ธร ะหวา งมนุษยกบั สภาพแวดลอ มทางกายภาพ ทาํ ให
เกิดสรา งสรรคว ฒั นธรรมและจิตสํานกึ รว มกันในการอนุรกั ษท รัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ ม เพอ่ื การ
พัฒนาที่ย่งั ยืน

ตวั ช้ีวดั

1. มคี วามรคู วามเขา ใจเก่ยี วกับสภาพทางภมู ศิ าสตรกายภาพของประเทศไทยกับทวปี ตา ง ๆ
2. เปรยี บเทยี บสภาพภูมิศาสตรกายภาพของประเทศไทยกบั ทวีปตา ง ๆ
3. มีความรูความเขาใจในปรากฏการณท างธรรมชาติที่เกดิ ขึน้ ในโลก
4. มีทกั ษะการใชเ ครอื่ งมือทางภูมิศาสตรทีส่ าํ คญั ๆ
5. รวู ิธปี องกนั ตนเองใหป ลอดภยั เมอื่ เกดิ ภยั จากปรากฏการณธ รรมชาติ
6. สามารถวเิ คราะหแ นวโนมและวกิ ฤตสงิ่ แวดลอ มทีเ่ กิดจากการกระทําของมนษุ ย
7. มีความรคู วามเขา ใจในการใชนวตั กรรมและเทคโนโลยดี า นส่งิ แวดลอ มเพอื่ พฒั นา

ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอมทยี่ งั่ ยืน

ขอบขายเนอ้ื หา

เร่อื งที่ 1 สภาพภูมศิ าสตรกายภาพ
เรือ่ งที่ 2 ลกั ษณะการเกิดปรากฏการณทางธรรมชาติ และการปองกนั อนั ตราย
เรอ่ื งท่ี 3 วิธีใชเ ครื่องมอื ทางภูมศิ าสตร
เรื่องที่ 4 ปญหาการทําลายทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ ม การจัดลําดบั ความสําคัญของปญหา

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
เรือ่ งที่ 5 แนวทางปอ งกนั แกไขปญ หาการทาํ ลายทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ ม โดยประชาชน

ชุมชน องคก ร ภาครฐั ภาคเอกชน

2

เรอื่ งท่ี 1 สภาพภูมศิ าสตรก ายภาพ

ภมู ศิ าสตรก ายภาพประเทศไทย

ทําเลท่ีตง้ั
ประเทศไทยต้ังอยูในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ซ่ึงประกอบดวยสวนที่เปนแผนดินใหญหรือ
เรียกวาคาบสมทุ รอนิ โดจนี หรอื แหลมทอง และสว นท่ีเปน หมเู กาะใหญนอ ยหลายพนั เกาะ ตั้งอยูในแหลมทอง
ระหวางละติจูด 5 องศา 37 ลิปดาเหนือกับ 20 องศา 22 ลิปดาเหนือ และลองจิจูด 97 องศา 22 ลิปดา
ตะวนั ออก กบั 105 องศา 37 ลปิ ดาตะวนั ออก
ขนาด
ประเทศไทยมีเนื้อท่ี 513,115 ตารางกิโลเมตร ถาเปรียบเทียบขนาดของประเทศไทยกับประเทศ
ในภมู ภิ าค เอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใตดัวยกันแลว จะมพี นื้ ทข่ี นาดใหญเ ปน อันดับท่ีสาม รองจากอินโดนีเซียและ
เมียนมาร ความยาวของประเทศวัดจาก เหนือสุด ที่อําเภอแมสาย จังหวัดเชียงรายไปจดใตสุดท่ีอําเภอเบตง
จังหวัดยะลา ประมาณ 1,260 กิโลเมตร สวนความกวางมากท่ีสุด วัดจากดานพระเจดียสามองคอําเภอ
สังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรีไปจดตะวันออกสุด ที่อําเภอสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี ยาวประมาณ 780
กิโลเมตร สําหรับสวนทแี่ คบทสี่ ุดของประเทศไทยอยใู นเขตจังหวดั ประจวบครี ีขนั ธ วดั จากพรมแดนพมาถึงฝง
ทะเลอาวไทยเปนระยะทางประมาณ 10.5 กโิ ลเมตร
อาณาเขตตดิ ตอ
ประเทศไทยมีอาณาเขตตดิ ตอกบั ประเทศเพอื่ นบานโดยรอบ 4 ประเทศคอื เมยี นมาร ลาว กมั พชู า
และมาเลเซียรวมความยาวของ
พรมแดนทางบก ประมาณ
5,300 กโิ ลเมตร และมีอาณา
เขตติดตอกับชายฝง ทะเลยาว
2,705 กโิ ลเมตร คือ แนวฝง
ทะเลดานอา วไทยยาว 1,840
กโิ ลเมตร และแนวชายฝงดา น
ทะเลอันดามันยาว 865
กโิ ลเมตรดงั นี้

3

1. เขตแดนทีต่ ดิ ตอ กับเมียนมาร เริม่ ตนท่อี าํ เภอแมส ายจงั หวดั เชียงรายไปทางตะวนั ตก ผานทจี่ ังหวดั
แมฮอ งสอน ไปสนิ้ สดุ ทจี่ งั หวดั ระนอง จงั หวดั ชายแดนดา นนีม้ ี 10 จังหวดั คือ เชียงราย เชยี งใหม แมฮอ งสอน
ตาก กาญจนบรุ ี ราชบรุ ี เพชรบรุ ี ประจวบครี ีขันธ ชมุ พร และ ระนอง มีทวิ เขา 3 แนว เปนเสนกน้ั พรมแดน
ไดแ ก ทิวเขาแดนลาว ทิวเขาถนนธงชยั และทวิ เขาตะนาวศรี นอกจากนนั้ ยงั มแี มนํา้ สายสนั้ ๆ เปนแนวกน้ั
พรมแดนอยูอกี คอื แมน ้ําเมย จังหวดั ตากและแมนาํ้ กระบรุ ี จงั หวดั ระนอง

2. เขตแดนที่ติดตอกับลาว เขตแดนดานนี้ เร่ิมตนที่อําเภอเชียงแสน ไปทางตะวันออกผานอําเภอ
เชียงของ จังหวัดเชียงรายเขาสูจังหวัดพะเยา ไปสิ้นสุดท่ีจังหวัดอุบลราชธานี ดินแดนที่ติดตอกับลาวมี 11
จงั หวัดคือ เชียงราย พะเยา นา น อุตรดติ ถ พษิ ณุโลก เลย หนองคาย นครพนม มุกดาหาร อํานาจเจริญ และ
อบุ ลราชธานี มีแมน ํ้าโขงเปน เสน กนั้ พรมแดนทางนํ้าที่สําคัญ สวนพรมแดนทางบกมีทิวเขาหลวงพระบางก้ัน
ทางตอนบนและทิวเขาพนมดงรักบางสวนก้นั เขตแดนตอนลา ง

3. เขตแดนท่ีติดตอกับกัมพูชา เร่ิมตนที่พื้นที่บางสวนของภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลางจาก
อําเภอนา้ํ ยนื จงั หวัดอุบลราชธานี มาทางทิศตะวันตก แลววกลงใตที่จังหวัดบุรีรัมย ไปสิ้นสุดท่ีจังหวัดตราด
จังหวดั ชายแดนทตี่ ดิ ตอ กบั กมั พชู า มี 7 จงั หวัด คือ อบุ ลราชธานี ศรสี ะเกษ สรุ นิ ทร บรุ ีรมั ย สระแกว จนั ทบุรี
และ ตราด มีทวิ เขาพนมดงรักและทิวเขาบรรทัดเปน เสน กัน้ พรมแดน

4. เขตแดนที่ติดตอกับมาเลเซีย ไดแก เขตแดนทางใตสุดของประเทศ ในพ้ืนที่ 4 จังหวัด คือ สตูล
สงขลา ยะลา และนราธิวาส มแี นวเทือกเขาสนั กาลาคีรี และแมนํ้าโก-ลกจงั หวดั นราธิวาสเปน เสน กนั้ พรมแดน

ภาคเหนือ

ภาคเหนอื ประกอบดว ยพื้นท่ีของ 9 จงั หวดั ไดแก 1. เชยี งราย 2. แมฮองสอน 3. พะเยา 4. เชียงใหม
5. นา น 6. ลําพนู 7. ลําปาง 8. แพร 9. อุตรดติ ถ

ลักษณะภูมปิ ระเทศท่วั ไป เปนเทอื กเขาสูง
ทอดยาวขนานกันในแนวเหนอื -ใต และระหวา ง
เทอื กเขาเหลานีม้ ที ี่ราบและมีหบุ เขาสลบั อยทู ั่วไป
เทอื กเขาที่สาํ คญั คือ เทือกเขาหลวงพระบาง
เทือกเขาแดนลาว เทือกเขาถนนธงชัย เทือกเขา
ผีปนนํ้า เทอื กเขาขนุ ตาลและ เทอื กเขาเพชรบรู ณ
ยอดเขาที่สงู ทส่ี ดุ ในภาคนี้ ไดแก ยอดอินทนนท อยู
ในจงั หวดั เชยี งใหม มีความสงู ประมาณ 2,595 เมตร
จากระดบั น้ําทะเล เทอื กเขาในภาคเหนอื เปน แหลง กาํ เนดิ ของแมน ้าํ สายยาว 4 สาย ไดแ ก แมนาํ้ ปง วัง ยม
และนา น แมนา้ํ ดังกลา วน้ไี หลผานเขตทรี่ าบหบุ เขา พืน้ ท่ที งั้ สองฝง ลําน้ําจงึ มีดนิ อุดมสมบรู ณเ หมาะแก
การเพาะปลูก ทาํ ใหมีผูคนอพยพไปต้ังหลกั แหลงในบรเิ วณดงั กลา วหนาแนน นอกจากน้ีภาคเหนือยงั มีแมน ํา้
สายสั้น ๆ อีกหลายสาย ไดแ กแ มน ํ้ากก และแมนํา้ องิ ไหลลงสู แมน าํ้ โขง สวนแมนํ้าปาย แมน ้าํ เมย และแมนา้ํ ยม
ไหลลงสแู มน ้ําสาละวนิ

4

ภาคกลาง

ภาคกลางประกอบดวยพื้นทข่ี อง 22 จงั หวดั ไดแ ก 1. สโุ ขทยั 2. พิษณโุ ลก 3. กาํ แพงเพชร 4. พจิ ิตร
5. เพชรบรู ณ (ภาคกลางตอนบน) 6. นครสวรรค 7. อทุ ยั ธานี 8. ชยั นาท 9. ลพบรุ ี 10. สิงหบ รุ ี 11. อางทอง
12. สระบรุ ี 13. สพุ รรณบรุ ี 14. พระนครศรีอยุธยา 15. นครนายก 16. ปทุมธานี 17. นนทบุรี 18. นครปฐม
19. กรุงเทพมหานคร 20. สมุทรปราการ 21. สมทุ รสาคร 22. สมุทรสงคราม

ลกั ษณะภูมปิ ระเทศท่วั ไป เปน ท่รี าบดินตะกอนท่ีสายน้ําพดั มาทบั ถม ในบริเวณที่ราบน้ีมีภูเขาโดด ๆ
ซึ่งสวนใหญเปนภูเขาหินปูนกระจาย อยูท่ัวไป ภูมิประเทศตอนบนของภาคกลางเปนท่ีราบลูกฟูก คือเปนที่
สูง ๆ ตํ่า ๆ และมีภูเขาท่ีมีแนวตอเนื่องจากภาคเหนือ เขามาถึงพื้นที่บางสวนของจังหวัดพิษณุโลก และ
เพชรบูรณ สว นพื้นท่ตี อนลางของภาคกลางน้ันเปนดินดอนสามเหลี่ยมปากแมน้ําเจาพระยา ซึ่งเกิดจากการ
รวมตัวของแมนํ้าปง วัง ยม นาน นอกจากแมน้ําเจาพระยา แลวตอนลางของภาคกลางยังมีแมน้ําไหลผาน
อีกหลายสาย ไดแ ก แมน้าํ แมกลอง แมนา้ํ ทาจนี แมน าํ้ ปาสัก และแมน้ํานครนายก เขตนี้เปนท่ีราบกวางขวาง
ซ่ึงเกิดจากดินตะกอน หรือดินเหนียวที่สายน้ําพัดพามาทับถมเปนเวลานาน จึงเปนพื้นที่ท่ีอุดมสมบูรณ
เหมาะแกการเพาะปลูกมาก และเปนเขตที่มีประชากรมากท่ีสุดในประเทศไทย ฉะนั้นภาคกลางจึงไดชื่อวา
เปนอูข า ว อูน าํ้ ของไทย

5

ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื

ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ ประกอบดวยพื้นที่ของ 20 จงั หวดั ไดแ ก 1.เลย 2. หนองคาย 3. อุดรธานี
4. สกลนคร 5. นครพนม 6. ขอนแกน 7. กาฬสินธุ 8. มุกดาหาร 9. ชยั ภูมิ 10. มหาสารคาม 11. รอยเอ็ด
12. ยโสธร 13. นครราชสมี า 14. บุรรี มั ย 15. สุรนิ ทร 16. ศรสี ะเกษ 17. อุบลราชธานี 18. อาํ นาจเจรญิ
19. หนองบัวลําภู 20. บึงกาฬ

ลักษณะภมู ิประเทศทวั่ ไป มลี ักษณะ
เปนแองคลา ยจาน ลาดเอยี งไปทางตะวนั ออก
เฉยี งใตมีขอบเปน ภเู ขาสูงทางตะวันตกและ
ทางใต ขอบทางตะวนั ตก ไดแ ก เทอื กเขา
เพชรบรู ณ และเทือกเขาดงพญาเย็น สวนทางใต
ไดแก เทือกเขาสนั กําแพง และเทอื กเขาพนม
ดงรัก พนื้ ท่ดี า นตะวันตกเปนทรี่ าบสูง เรยี กวา
ทร่ี าบสงู โคราช ภเู ขาบรเิ วณนีเ้ ปนภเู ขาหนิ ทราย
ทร่ี จู กั กนั ดีเพราะเปนแหลง ทอ งเที่ยว คือ
ภูกระดงึ ภหู ลวง ในจังหวัดเลย แมนาํ้ ท่สี ําคญั ของภาคนไ้ี ดแ ก แมน้าํ ชี และแมน า้ํ มลู ซ่ึงมีแหลงกําเนดิ จาก
เทือกเขาทางทิศตะวันตก และทางใตแ ลวไหลลงสแู มน้ําโขง ทําใหสองฝง แมนํา้ เกดิ เปน ทรี่ าบน้ําทว มถงึ เปน
ตอน ๆ พ้ืนทรี่ าบในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื มกั มีทะเลสาบรปู แอง เปน จํานวนมาก แตท ะเลสาบเหลา นจี้ ะมี
น้ําเฉพาะฤดูฝนเทาน้นั เมอ่ื ถึงฤดรู อนน้ําก็จะเหอื ดแหงไปหมด เพราะดนิ สว นใหญเปน ดนิ ทรายไมอ ุมนํ้า
นํา้ จึงซมึ ผา นไดเ ร็ว ภาคน้ีจงึ มีปญ หาเรอื่ งการขาดแคลนน้าํ และดนิ ขาดความอุดมสมบรู ณ ทําใหพ้นื ทบ่ี างแหง
ไมสามารถใชป ระโยชนใ นการเกษตรไดอ ยา งเตม็ ท่ี เชน ทุง กลุ ารองไห ซึ่งมเี นือ้ ทีถ่ ึงประมาณ 2 ลา นไร
ครอบคลมุ พ้ืนที่ 5 จงั หวัด ไดแ ก รอยเอด็ สรุ ินทร มหาสารคาม ยโสธร และศรสี ะเกษ ซง่ึ ปจ จบุ นั รัฐบาล
ไดพยายามปรบั ปรุงพน้ื ที่ใหดีขึ้น โดยใชร ะบบชลประทานสมัยใหม ทาํ ใหส ามารถเพาะปลกู ไดจนกลายเปน
แหลงเพาะปลกู ขาวหอมมะลทิ ดี่ ที ส่ี ดุ แหง หน่ึงของประเทศไทย แตกป็ ลกู ไดเ ฉพาะหนา ฝนเทา น้ัน หนาแลง
สามารถทาํ การเพาะปลูกไดเฉพาะบางสวนเทานั้น ยงั ไมค รอบคลุมบรเิ วณทั้งหมด

ภาคตะวนั ตก

ภาคตะวันตก ประกอบดว ยพน้ื ท่ีของ 5 จงั หวดั ไดแก 1. ตาก 2. กาญจนบรุ ี 3. ราชบุรี 4. เพชรบรุ ี
5. ประจวบครี ขี นั ธ

ลกั ษณะภมู ิประเทศท่ัวไป สวนใหญเ ปน เทือกเขาสงู ไดแ ก เทอื กเขาถนนธงชัย และเทือกเขาตะนาว
ศรีเปน แนวภูเขาท่ซี ับซอนมที ร่ี าบแคบ ๆ ในเขตหุบเขาเปนแหง ๆ และมีที่ราบเชิงเขาตอเน่ืองกับที่ราบภาค
กลางเทือกเขาเหลาน้ีเปนแหลงกําเนิดของ แมน้ําแควนอย (แมน้ําไทรโยค) และแมน้ําแควใหญ (ศรีสวัสด์ิ)
ซ่ึงไหลมาบรรจบกัน เปนแมนํ้าแมกลอง ระหวางแนวเขามีชองทางติดตอกับประเทศเมียนมารได ท่ีสําคัญคือ
ดา นแมล ะเมาในจังหวัดตาก และดานพระเจดียส ามองค ในจังหวัดกาญจนบุรี

6

ภาคตะวันออก

ภาคตะวันออก ประกอบดว ยพื้นที่ของ 7 จังหวัดไดแ ก 1. ปราจีนบรุ ี 2. ฉะเชิงเทรา 3. ชลบุรี
4. ระยอง 5. จันทบรุ ี 6. ตราด 7. สระแกว

ลกั ษณะภูมิประเทศท่ัวไป คือ เปนท่ีราบใหญอยูทางตอนเหนือของภาค มีเทือกเขาจันทบุรีอยูทาง
ตอนกลางของภาค มเี ทือกเขาบรรทดั อยทู างตะวนั ออกเปน พรมแดนธรรมชาตริ ะหวา งประเทศไทยกับประเทศ
กัมพชู า และมที ร่ี าบชายฝง ทะเลซึ่งอยรู ะหวา งเทอื กเขาจันทบรุ กี บั อาวไทย ถงึ แมจะเปน ทีร่ าบแคบ ๆ แตก เ็ ปน
พืน้ ดนิ ทอ่ี ุดมสมบูรณเหมาะสาํ หรบั การปลกู ไมผ ล ในภาคน้ีมจี ังหวดั ปราจีนบรุ แี ละจงั หวัดสระแกว เปน จงั หวดั ท่ี
ไมมีอาณาเขตจดทะเล นอกน้ันทุกจังหวัดลวนมีทางออกทะเลท้ังส้ิน ชายฝงทะเลของภาคเร่ิมจากแมน้ํา
บางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทราไปถึงแหลมสารพัดพิษ จังหวัดตราด ยาวประมาณ 505 กิโลเมตร เขตพ้ืนท่ี
ชายฝงของภาคมีแหลมและอาวอยูเปนจํานวนมากและมีเกาะใหญนอยเรียงรายอยูไมหางจากฝงนัก เชน
เกาะชาง เกาะกดู เกาะสีชงั เกาะลา น เปน ตน

7

ภาคใต

ภาคใตป ระกอบดวยพืน้ ทีข่ อง 14 จงั หวดั ไดแ ก 1. ชมุ พร 2. สุราษฎรธ านี 3. นครศรีธรรมราช
4. พทั ลงุ 5. สงขลา 6. ปตตานี 7. ยะลา 8. นราธิวาส 9. ระนอง 10. พังงา 11. กระบี่ 12. ภเู ก็ต 13. ตรัง
14. สตลู

ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศทัว่ ไป เปน คาบสมุทรยื่นไปในทะเลทางตะวันตกของคาบสมุทรมีเทือกเขาภูเก็ต
ทอดตัวเลียบชายฝง ไปจนถงึ เกาะภเู ก็ต ตอนกลางของภาคมีเทอื กเขานครศรธี รรมราช สวนทางตอนใตสุดของ
ภาคใตมเี ทอื กเขาสนั กาลาครี ี วางตัวในแนวตะวันออก-ตะวนั ตก และเปน พรมแดนธรรมชาติก้ันระหวา งไทยกับ
มาเลเซยี ดวย พื้นทีท่ างชายฝง ตะวนั ออกมีทร่ี าบมากกวาชายฝง ตะวนั ตก ไดแก ท่รี าบในเขตจงั หวดั นครศรธี รรมราช
พทั ลงุ สงขลา ปตตานี และนราธวิ าส ชายฝง ทะเลดา นตะวนั ออกของภาคใตม ชี ายหาดเหมาะสําหรับเปนที่
ตากอากาศหลายแหง เชน หาดสมิหลา จงั หวัดสงขลาและหาดนราทัศน จังหวัดนราธิวาส เปนตน เกาะท่ีสําคัญ
ทางดานน้ี ไดแก เกาะสมุยและเกาะพงัน สวนชายฝงทะเลดานมหาสมุทรอินเดีย มีเกาะท่ีสําคัญคือ
เกาะภูเก็ต เกาะตรเุ ตา เกาะยาวและเกาะลนั ตา นอกจากน้ี ในเขตจังหวัดสงขลาและพัทลุงยังมีทะเลสาบเปด
(lagoon) ที่ใหญที่สุดแหงหนึ่งในเอเชียตะวันออกเฉียงใต คือ ทะเลสาบสงขลา มีความยาวจากเหนือจดใต
ประมาณ 80 กิโลเมตร สว นทกี่ วา งท่ีสุด ประมาณ 20 กิโลเมตร คิดเปนเน้ือที่ประมาณ 974 ตารางกิโลเมตร
สวนเหนอื สดุ ของทะเลสาบเปน แหลง นาํ้ จดื เรยี กวา ทะเลนอย แตท างสว นลา งนํ้าของทะเลสาบจะเคม็ เพราะมี
นานนํ้าตดิ กบั อา วไทย น้าํ ทะเลจงึ ไหลเขามาได ในทะเลสาบสงขลามีเกาะอยูหลายเกาะ บางเกาะเปนที่ทํารัง
ของนกนางแอน บางเกาะเปนที่อยูของเตาทะเล นอกจากน้ีในทะเลสาบยังมี ปลา และกุงชุกชุมอีกดวย
สวนชายฝง ทะเลดานตะวันตกของภาคใตม ีลักษณะเวาแหวงมากกวา ดานตะวันออก ทําใหมีทิวทัศนที่สวยงาม
หลายแหง เชน หาดนพรตั นธ ารา จงั หวดั กระบ่ี หมเู กาะซิมิลนั จังหวัดพังงา ชายฝงตะวนั ตกของภาคใตจึงเปน
สถานท่ีทองเที่ยวที่สําคัญแหงหน่ึงของประเทศ แมน้ําในภาคใต สวนใหญเปนแมนํ้าสายส้ัน ๆ ไหลจาก
เทือกเขาลงสทู ะเล ทสี่ าํ คัญไดแก แมน้าํ โก-ลก ซงึ่ กน้ั พรมแดนไทยกับมาเลเซียในจังหวัดนราธิวาส แมนํ้ากระ
บุรีซ่ึงก้ันพรมแดนไทยกับพมาในเขตจังหวัดระนอง แมนํ้าตาปในจังหวัดสุราษฏรธานี และแมนํ้าปตตานีใน
จงั หวัดยะลาและปตตานี

ทวีปเอเชยี

1. ขนาดทตี่ งั้ และอาณาเขตติดตอ

ทวีปเอเชยี เปนทวีปที่มีขนาดใหญท ส่ี ดุ มพี ้ืนทปี่ ระมาณ 44 ลานตารางกโิ ลเมตร เปนทวีปที่มพี ้ืนทก่ี วาง
ท่สี ดุ ในโลกต้ังอยูทางทิศตะวันออกของโลก ทวีปเอเชียตั้งอยูระหวางละติจูด 1 องศา 15 ลิปดาเหนือถึง 77
องศา 41 ลปิ ดาเหนือและลองติจดู 24 องศา 4 ลปิ ดา ตะวนั ออกถงึ 169 องศา 40 ลิปดาตะวันตก
อาณาเขตติดตอ

ทิศเหนอื ตดิ กับมหาสมทุ รอารกตกิ
ทศิ ใต ตดิ กบั มหาสมทุ รอินเดีย
ทศิ ตะวันออก ตดิ กบั มหาสมทุ รแปซฟิ ก

8

ทศิ ตะวันตก ติดกับเทือกเขาอูราล ทวปี ยุโรป

2. ลักษณะภูมิประเทศของทวปี เอเชยี

ทวีปเอเชียมลี กั ษณะเดน คือ มีภูมปิ ระเทศที่เปน ภูเขาสงู อยเู กอื บใจกลางทวีป ภูเขาดังกลาวทําหนาที่
เหมือนหลังคาโลกเพราะเปนจุดรวมของเทือกเขาสําคัญ ๆ ในทวีปเอเชียจุดรวมสําคัญ ไดแก ปามีรนอต
ยนู นานนอต และอามีเนียนนอต เทอื กเขาสงู ๆ ของทวีปเอเชียวางแนวแยกยายไปทุกทิศทุกทางจากหลังคาโลก
เชน เทือกเขาหิมาลัย เทือกเขาคุนลุน เทือกเขาเทียนชาน เทือกเขาอัลตินตัก เทือกเขาฮินดูกูซ เทือกเขา
สุไลมาน ยอดเขาเอเวอรเรสต มีระดับสูง 8,850 เมตร จากระดับนํ้าทะเล (29,028 ฟุต) เปนยอดเขาสูงท่ีสุด
ในโลกตั้งอยบู นเทือกเขาหิมาลยั ระหวางเทอื กเขาเหลาน้มี พี ื้นท่คี อนขา งราบแทรกสลับอยู ทําใหเกิดเปนแอง
แผนดนิ ท่ีอยูในท่ีสูง เชน ท่ีราบสูงทิเบต ท่ีราบสูงตากลามากัน ที่ราบสูงมองโกเลีย ที่ราบสูงยูนาน ลักษณะ
ภูมิประเทศดังกลาวขา งตนทาํ ใหบ ริเวณใจกลางทวปี เอเชียกลายเปนแหลงตนกําเนิดของแมนํ้าสายสําคัญที่มี
รูปแบบการไหลออกไปทุกทิศโดยรอบหลังคาโลก เชนไหลไปทางเหนือมีแมนํ้าอ็อบ เยนิเซ ลีนา
ทางตะวนั ออกเฉียงเหนอื มีแมน ้ําอามรู  ทางตะวนั ออกมีแมนํ้าฮวงโห (หวงเหอ) แยงซีเกียง (ฉางเจียง) ซีเกียง
(ซเี จยี ง) ทางตะวนั ออกเฉียงใตมีแมนํ้าแดงโขง เจาพระยา สาละวิน อิระวดี ทางใตมีแมน้ําพรหมบุตร คงคา
สินธุ ทางตะวันตกมีแมนํ้าอามู ดารยา จากท่ีสูงอามีเนียนนอต มีแมน้ําไทกรีส ยูเฟรตีส บทบาทของลุมน้ํา
เหลาน้ี คอื พดั พาเอาตะกอนมาทบั ถมทรี่ าบอันกวางใหญไพศาล กลายเปนแหลงเกษตรกรรมและท่ีอยูอาศัย
สําคญั ๆ ของชาวเอเชยี โดยเฉพาะที่ราบดินดอนสามเหล่ียมปากแมนาํ้ จงึ กลายเปนแหลงท่ีมีประชากรอาศัย
อยูห นาแนนทส่ี ุด

3. ลักษณะภูมอิ ากาศของทวปี เอเชีย

ทวปี เอเชียโดยสวนรวมประมาณ
ครึ่งทวปี อยภู ายใตอทิ ธิพลของลมมรสมุ ตง้ั แต
ปากสี ถานถึงคาบสมทุ รเกาหลี เปน ผลทาํ ใหม ีฝน
ตกชุกในฤดูมรสมุ ตะวนั ตกเฉยี งใต และมอี ากาศ
หนาวในฤดูมรสมุ ตะวนั ออกเฉยี งเหนือในเขต
ละตจิ ดู กลางหรือเขตอบอนุ แถบจีนและญปี่ นุ
จะไดร ับอิทธพิ ลจากแนวปะทะอากาศบอ ยครง้ั
ทางชายฝง ตะวันออกของทวีปตงั้ แตญ ปี่ ุน
อินโดนีเซยี จะไดรับอทิ ธิพลของลมไตฝ นุ และดเี ปรสช่ันทาํ ใหดนิ แดนชายฝงตะวนั ออกของหมเู กาะไดรบั
ความเสียหายจากลมและฝนเสมอ ทางเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใตแ ละเอเชียใต ซ่งึ อยใู กลศ นู ยส ูตรจะมี
ปรากฏการณข องหยอ มความกดอากาศตํา่ ทําใหม ีอากาศลอยตัว กอ เปน พายุฟา คะนองเกิดขน้ึ เปน ประจาํ
ในเวลาบาย ๆ หรอื ใกลค ํา่ แถบท่ีอยูลกึ เขาไปในทวีปหางไกลจากทะเลจะมภี ูมอิ ากาศแหง แลง เปน ทะเลทราย

9

4. สภาพทางสังคม วฒั นธรรม ภาษา ศาสนา

เชื้อชาติเผาพันธุ ประชากร 2 ใน 3 ของประชากรทั้งหมด เปนพวกมองโกลอยด มีพวกคอเคซอยด
อยบู าง เชน ชาวรสั เซียอพยพมาจากยุโรปตะวันออก ประชากรของเอเชียมีความหลากหลาย ดานประกอบ
อาชีพ เศรษฐกิจของประเทศในเอเชียขึ้นอยูกับภาคเกษตรกรรม ประชากรสวนใหญ ประกอบอาชีพดาน
การเกษตร คือ การเพาะปลกู ขาว ขาวโพด และมกี ารเลีย้ งสัตว ทั้งเลยี้ งไวเปนอาหาร และทํางาน นอกจากนี้
ยังมีการคา ขาย การประมง การทาํ เหมืองแร

ลกั ษณะทางเศรษฐกิจ

1. การเพาะปลูกทําในที่ราบลุมของแมนํ้าตาง ๆ ไดแก ขาว ยางพารา ปาลม ปอ ฝาย ชา กาแฟ
ขา วโพด

2. การเลีย้ งสัตว ในเขตอากาศแหงแลงจะเล้ียงแบบเรรอ นซงึ่ เล้ียงไวใชเน้ือและนมเปนอาหาร ไดแก
อูฐ แพะ แกะ โค มา และจามรี

3. การทําปาไม ปา ไมในเขตเมอื งรอนจะเปนไมเ น้ือแข็ง ผลผลติ ท่ไี ดส วนใหญนาํ ไปกอสราง
4. การประมง ทําในบริเวณแมนา้ํ ลําคลอง หนอง บึงและชายฝง ทะเล
5. การทําเหมืองแร ทวีปเอเชยี อดุ มไปดว ยแรธ าตุนานาชนดิ
6. อุตสาหกรรม การทําอุตสาหกรรมหลายประเทศในเอเชีย เริ่มจากอุตสาหกรรมในครัวเรือนแลว
พฒั นาขน้ึ เปนโรงงานขนาดเลก็ ขนาดกลาง ขนาดใหญ

ประชากร

ทวีปเอเชียมีประชากรมากท่ีสุดในโลกประมาณ 3,155 ลานคน ประชากรสวนใหญมาจากพันธุ
มองโกลอยดประชากรอาศัยอยูหนาแนนบริเวณชายฝงทะเลและที่ราบลุมแมนํ้าตาง ๆ เชน ลุมแมนํ้า
เจาพระยา ลุมแมน้ําแยงซีเกียง ลุมแมน้ําแดงและลุมแมน้ําคงคาสวนบริเวณท่ีมีประชากรเบาบาง จะเปน
บริเวณท่แี หง แลง กันดารหนาวเย็นและในบรเิ วณทเ่ี ปน ภเู ขาซบั ซอน ซึง่ สว นใหญจะเปน บริเวณกลางทวปี

ภาษา

1. ภาษาจนี
ภาษาที่ใชกันมากในทวีปเอเชีย โดยใชกันในประเทศจีน ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต เชน สิงคโปร
ประมาณวาประชากรเอเชีย 1,000 ลานคน พูดภาษาจีน แตเปนภาษาที่แตกตางกันไป เชน ภาษาแตจ๋ิว
ไหหลาํ จีนกลาง หรอื ทเ่ี รยี กวา ภาษาแมนดาริน
2. ภาษาอินเดีย

เปน ภาษาที่ใชก ันแพรหลายรองลงมาอันดบั 2 โดยสว นใหญใ ชก ันในประเทศอนิ เดีย และปากีสถาน
3. ภาษาอาหรบั

เปนภาษาทใี่ ชกนั แพรหลายมากอนั ดบั 3 โดยใชกนั ในแถบเอเชียตะวนั ตกเฉยี งใต

10

4. ภาษารัสเซยี
เปนภาษาทใี่ ชกนั มากอันดับ 4 โดยใชกันในรัสเซยี และเครือจกั รภพ

ศาสนา

ทวีปเอเชียเปนแหลงกําเนิดศาสนาท่ีสําคัญของโลก เชน ศาสนาคริสต ศาสนาอิสลาม ศาสนาพุทธ
ศาสนาฮินดู และยูดาห ในเอเชียตะวันตกเฉียงใตประชากรสวนใหญนับถือศาสนาฮินดูกวา 500 ลานคน
ในอินเดีย รองลงมาคือ ศาสนาอิสลามมีผูนับถือประมาณ 450 ลานคน นอกจากน้ียังมีลัทธิเตา ลัทธิขงจ้ือ
ทแ่ี พรห ลายในจนี ลัทธชิ นิ โตในญปี่ นุ

ทวีปยุโรป

1. ขนาดท่ีตงั้ และอาณาเขตตดิ ตอ

ทวีปยุโรปเปน ทวีปทม่ี ีลกั ษณะทางกายภาพทีเ่ หมาะสมในการต้งั ถ่ินฐานทงั้ ในดา นลักษณะภูมิประเทศ
ทมี่ ีทรี่ าบลมุ เทือกเขาทีไ่ มต ง้ั กน้ั ทางลม มีแมน้าํ หลายสาย ลกั ษณะภมู อิ ากาศทอ่ี บอุน ชุมชน่ื มีทรพั ยากรธรรมชาติ
คอื เหล็กและถา นหนิ ซึ่งเปนสวนสําคัญอยางยงิ่ ตอการพัฒนาอุตสาหกรรมขนาดใหญ จึงสง ผลใหท วีปยโุ รป
มปี ระชากรตั้งถิน่ ฐาน
หนาแนน ทส่ี ุดในโลก อีกท้งั
เปนทวปี ทีม่ อี ารยธรรมท่ี
เกาแก คอื อารยธรรมกรกี
และโรมัน
ทวีปยุโรป เปนทวีปที่ตั้งอยู
ระหวางละติจูด 36 องศา 1
ลิปดาเหนือถึง 71 องศา 10
ลปิ ดาเหนือและระหวางลองติ
จูด 9 องศาตะวันตก ถึง 66
องศาตะวันออก จากพิกัด
ภูมศิ าสตรจ ะสงั เกตไดว า ทวีป
ยุโรปมีพ้ืนที่ท้ังหมดอยูในซีกโลกเหนือและอยูเหนือเสนทรอปคออฟแคนเซอรมีเสนสําคัญที่ลากผาน คือ
เสนอารก ตกิ เซอรเคิล และเสนลองตจิ ดู ที่ 0 องศา มีเนื้อท่ีประมาณ 9.9 ลานตารางกิโลเมตร จึงเปนทวีปท่ีมี
ขนาดเลก็ โดยมีขนาดเลก็ รองจากทวีปออสเตรเลยี

11

อาณาเขตติดตอ

ทศิ เหนอื ตดิ กับมหาสมทุ รอารกตกิ และขวั้ โลกเหนือ จุดเหนอื สดุ อยทู แ่ี หลมนอรท (North Cape)
ในประเทศนอรเ วย

ทิศใต ตดิ กบั ทะเลเมดิเตอรเรเนียน จดุ ใตส ุดอยทู ่เี กาะครตี ประเทศกรชี
ทิศตะวนั ออก ติดตอ กับทวีปเอเชีย โดยมีเทือกเขาอูราล เทือกเขาคอเคซัสและทะเลแคสเปยนเปน
เสนก้นั พรมแดน
ทิศตะวันตก ติดตอกับมหาสมุทรแอตแลนติก จุดตะวันตกสุดของทวีปอยูท่ีแหลมโรคาประเทศ
โปรตุเกส

2. ลักษณะภูมิประเทศ

ลักษณะภูมิประเทศแบง ออกเปน 4 เขต ไดแก
1. เขตเทอื กเขาตอนเหนือ ไดแ ก บริเวณคาบสมทุ รสแกนดเิ นเวยี ภมู ิประเทศสวนมากประกอบดวย
เทือกเขาสงู และท่รี าบชายฝงทะเล เทือกเขาที่สําคัญในบริเวณน้ีไดแก เทือกเขาเซอรอนและเทือกเขาแกรม
เปยน เนื่องจากทวีปยุโรปเคยถูกปกคลุมดวยน้ําแข็งมากอน บริเวณชายฝงทะเลถูกธารน้ําแข็งกัดเซาะและ
ทบั ถม ทาํ ใหเกิดชายฝง เวาแหวงและอา วนํ้าลกึ ทเี่ รยี กวา ฟยอรด พบมากในประเทศนอรเ วยแ ละแควน สกอตแลนด
2. เขตที่ราบสูงตอนกลาง ประกอบดวยท่ีราบสูงสําคัญ ไดแก ที่ราบสูงแบล็กฟอเรสตตอนใตของ
เยอรมันนี ที่ราบสูงโบฮีเมีย เขตติดตอระหวางเยอรมันนีและสาธารณรัฐเช็คท่ีราบเมเซตา ภาคกลางของ
คาบสมุทรไซบีเรีย ในเขตประเทศสเปนและโปรตเุ กส ท่ีราบสูงมสั ชพี ซองตรลั ตอนกลางของประเทศฝรั่งเศส
3. เขตทีร่ าบตอนกลาง ครอบคลุมพืน้ ทตี่ ้ังแตช ายฝง มหาสมทุ รแอตแลนตกิ ไปจนถึงเทอื กเขา
อูราลในรัสเซีย ตะวันตกของฝร่ังเศส ตอนใตของสหราชอาณาจักรเบลเย่ียม เนเธอรแลนด เดนมารก
ภาคเหนือของเยอรมันนีโปแลนดและบางสวนของรัสเซียเปนบริเวณที่มีประชากรอาศัยอยูหนาแนนที่สุด
และมคี วามสําคญั ทางเศรษฐกจิ อยา งมาก เนือ่ งจากเปน พ้ืนทเี่ กษตรกรรมท่ีสําคญั ของทวีปในบริเวณนี้มีแมนํ้า
ท่ีสําคัญไดแ ก แมน ้าํ ไรน แมน าํ้ เชน แมน้าํ ลวั ร และแมน้าํ เอลเบ
4. เขตเทอื กเขาตอนใต ประกอบดว ยเทอื กเขาสงู เทอื กเขาทส่ี ําคัญในบรเิ วณน้ไี ดแก เทือกเขาแอลป
ซ่ึงเปนเทือกเขาที่มีขนาดใหญที่สุดในทวีปยุโรป ทอดตัวยาวต้ังแตตะวันออกเฉียงใตของฝรั่งเศสผาน
สวติ เซอรแลนด เยอรมนั นี ออสเตรีย เซอรเ บีย ไปจนถงึ ทางเหนือของอิตาลี บริเวณยอดเขามธี ารน้ําแข็ง
ปกคลมุ เกอื บตลอดทง้ั ป บางชวงเปนหุบเขาลกึ ยอดเขาทส่ี งู ท่สี ดุ ในเทอื กเขาแอลป คือ มองตบลงั ก สูง 4,807
เมตร จากระดับนาํ้ ทะเล นอกจากน้ยี งั ประกอบดว ยยอดเขาคอเคซัส ทางตอนใตข องรสั เซียมียอดเขาเอลบรูส
สงู 5,642 เมตร จากระดบั น้ําทะเล ซ่ึงเปน ยอดเขาที่สูงที่สุดในยโุ รป

แมนาํ้ แมน าํ้ ทส่ี าํ คัญในทวปี ยโุ รป มีดังนี้

แมนาํ้ โวลกา เปนแมน ้ําสายยาวที่สดุ ในทวีป มตี น นา้ํ อยบู รเิ วณตอนกลางของสหพนั ธรฐั รัสเซียไหลลง
สูทะเลแคสเปย น

12

แมนํ้าดานูบ มีตนกําเนิดจากเทือกเขาทางภาคใตของเยอรมัน ไหลผานประเทศออสเตรีย ฮังการี
ยูโกสลาเวีย พรมแดนระหวางประเทศบลั แกเรียกับประเทศโรมาเนีย แลวไหลลงสูทะเลดํา แมน้ําดานูบเปน
แมน้าํ ท่ีไหลผานหลายประเทศ ดงั นั้นจงึ ถือวาเปนแมนํ้านานาชาติแตในดานความสําคัญของการขนสงสินคา
อตุ สาหกรรมน้นั มีไมมากเทา กบั แมน ํา้ ไรน เนอื่ งจากแมน ํ้าดานบู ไหลออกสูท ะเลดําซึ่งเปนทะเลภายใน

แมนํ้าไรน มตี นกาํ เนิดจากเทือกเขาแอลปท างตอนใตของสวิสเซอรแ ลนด ไหลขนึ้ ไปทางเหนอื ระหวาง
พรมแดนฝรัง่ เศสและเยอรมันไปยงั เนเธอรแ ลนด แลวไหลลงทะเลเหนือ แมนํ้าไรนเปนแมนํ้าที่มีความสําคัญ
มาก มปี ริมาณน้าํ ไหลสม่ําเสมอ ไหลผานท่รี าบและไหลผา นหลายประเทศจงึ ถอื วา เปนแมน้ํานานาชาติ และยงั
เปนเสน ทางขนสง วตั ถุดบิ และสนิ คา ทสี่ าํ คัญ คอื ถา นหนิ แรเหล็ก และแปงสาลี โดยเฉพาะการขนสงถานหิน
ซงึ่ มปี รมิ าณมากในยานอุตสาหกรรมถา นหินของเยอรมัน แมน้ําสายนี้จึงไดรับสมญานามวา “แมน้ําถานหิน”
การขนสง สินคาผา นทางแมน้าํ ไรนน้ี จะออกสูบรเิ วณปากแมน ํ้าซงึ่ เปน ที่ต้งั ของเมอื งทา
รอตเตอรด ัม (เนเธอรแ ลนด) ซึง่ เปนเมืองทาทส่ี ําคญั ท่สี ุดของทวีป

3. ลกั ษณะภูมอิ ากาศ เขตอากาศ

ปจจัยท่ีมอี ทิ ธพิ ลตอ ภมู ภิ าคอากาศของทวปี ยโุ รป

1. ละติจูด ทวีปยโุ รปมที ่ตี ้งั อยรู ะหวา งละตจิ ูด 36 องศา 1 ลิปดาเหนือ ถึง 71 องศา 10 ลิปดาเหนือ
พืน้ ท่ีสว นใหญอ ยูใ นเขตอบอนุ มีเพียงตอนบนของทวปี ที่อยูในเขตอากาศหนาวเยน็ และ ไมมีสวนใดของทวีป
ท่อี ยใู นเขตอากาศรอน

2. ลมประจาํ ลมประจาํ ท่ีพดั ผา นทวีปยุโรป คือ ลมตะวนั ตก ซึง่ พัดมาจากมหาสมุทรแอตแลนติกเขา
สทู วีปทางดา นตะวันตก มผี ลทาํ ใหบ ริเวณฝง ตะวนั ตกของทวีปมีปริมาณฝนคอนขางมาก อุณหภูมิระหวางฤดู
รอ นกับฤดูหนาวไมคอยแตกตางกันมากนัก แตถาลึกเขามาภายในทางดานตะวันออกของทวีปซึ่งติดกับทวีป
เอเชียน้ัน ปริมาณฝนจะลดลงและจะมคี วามแตกตางของอณุ หภูมิระหวา งฤดรู อนกับฤดฝู นมากขึน้ ดว ย

3. ความใกลไ กลทะเล ทวีปยุโรปมีชายฝงทะเลยาวและเวาแหวง ประกอบกับมีพื้นท่ีติดทะเลถึง 3
ดาน ทาํ ใหไดรับอิทธพิ ลจากทะเลและมหาสมุทรอยางท่ัวถึง โดยเฉพาะบริเวณที่อยูใกลชายฝง ดังน้ันจึงไมมี
พ้ืนทใี่ ดในทวปี ยโุ รปทีม่ ภี ูมอิ ากาศแหงแลง

4. ทศิ ทางของเทอื กเขา เทือกเขาสว นใหญใ นทวีป วางตัวในแนวทิศตะวันออกตะวันตก ทําใหไมกั้น
ขวางทางลมตะวันตกทีพ่ ัดเขาสทู วปี

5. กระแสน้าํ ในมหาสมทุ ร บรเิ วณ
ชายฝงมีกระแสนํ้าอุน แอตแลนติกเหนอื ไหลผา น
ทางตะวันตกและตะวันตกเฉยี งเหนอื ของทวปี
ทาํ ใหน า นนํ้าบริเวณเกาะบรเิ วนใหญแ ละประเทศ
นอรเวยไ มเ ปนน้ําแข็งในฤดหู นาว จึงแตกตางจาก
บริเวณทะเลบอลติกท่นี ํา้ กลายเปน นํ้าแขง็ ทาํ ให
ประเทศสวเี ดน ตอ งเปลยี่ นเสน ทางการขนสง

13

สนิ คา จากทางเรือไปเปน การขนสง โดยใชเสนทางรถไฟจากสวเี ดนไปยงั นอรเ วยแ ลวจงึ นําสนิ คาลงเรือที่เมอื งทา
ประเทศนอรเวย

เขตภูมอิ ากาศแบง ออกไดเ ปน 7 เขต ดังน้ี

1. ภมู อิ ากาศแบบทะเลเมดเิ ตอรเรเนี่ยน ไดแก บริเวณชายฝงทะเลเมดิเตอรเรเนียนในเขตประเทศ
อติ าลี ฝร่ังเศส ภาคใตของสเปน แอลเบเนีย กรีซ บัลแกเรีย และเซอรเบีย ฤดูรอนมีอากาศรอน อุณหภูมิ
เฉลี่ย 23 องศาเซสเซยี ส ในฤดูหนาวมีอากาศอบอุน และมฝี นตกอุณหภูมิเฉลีย่ 8 องศาเซลเซยี ส ปริมาณฝนตก
เฉลย่ี 500 - 1,000 มลิ ลิเมตรตอป

2. ภมู ิอากาศแบบทุงหญากง่ึ ทะเลทราย ไดแก บรเิ วณภาคกลางของคาบสมทุ รไซบเี รยี ตอนเหนอื
ของทะเลดําและทะเลแคสเปย นในเขตประเทศ
ฮงั การี ยเู ครน โรมาเนยี และตอนใตข องรสั เซีย
มฝี นตกนอยมาก เฉลีย่ ปล ะ 250 -500
มลิ ลิเมตรตอป

3. ภูมิอากาศแบบพื้นสมทุ ร ไดแก
สหราชอาณาจกั ร เนเธอรแ ลนด ฝร่ังเศส
เดนมารก เบลเยย่ี ม และตอนเหนอื ของ
เยอรมนี มฝี นตกชุกตลอดทงั้ ปเ ฉลย่ี 750 -
1,500 มิลลเิ มตรตอ ป ฤดูหนาวอากาศ
ไมหนาวจัด อุณหภมู เิ ฉล่ยี 1 - 7 องศา
เซลเซยี ส เนื่องจากไดร ับอทิ ธิพลจากกระแส
นา้ํ อุนแอตแลนติกเหนอื

4. ภมู อิ ากาศแบบอบอนุ ช้นื ไดแก บริเวณท่รี าบลุมแมน ้ําดานบู ในฮังการีตอนเหนือของเซอรเบียและ
โรมาเนยี มีอากาศอบอนุ ฝนตกตลอดทงั้ ปเ ฉลี่ย 500 - 1,000 มิลลิเมตรตอป เนื่องจากไดรับอิทธิพลความชื้น
จากทะเล

5. ภูมิอากาศแบบอบอุนช้ืนภาคพ้ืนทวีป ไดแก ยุโรปตะวันออก และยุโรปกลาง รัสเซีย สาธารณ
รัฐเช็ค สาธารณรัฐสโลวักและโปแลนด ฤดูหนาวมีอากาศหนาวและแหงแลง ฤดูรอนมีอากาศอบอุนและมี
ฝนตก อุณหภมู ิเฉลย่ี 19-20 องศาเซลเซยี ส ปริมาณฝน 500-750 มิลลเิ มตรตอป

6. ภูมิอากาศแบบไทกา ไดแก ตอนเหนือของฟนแลนด สวเี ดน และนอรเวย ฤดูหนาวมีอากาศหนาว
เย็นและยาวนาน อุณหภูมิเฉลี่ย 6 องศาเซลเซียส ฤดูรอนอากาศอบอุนอุณหภูมิเฉลี่ย 17 องศาเซลเซียส
มีปรมิ าณฝนตกนอ ยและสว นมากเปน หิมะเฉลี่ย 600 มลิ ลเิ มตรตอป

7. ภูมิอากาศแบบขั้วโลกหรือภูมิอากาศแบบทุนดรา ไดแก ทางเหนือของทวีปที่มีชายฝงติดกับ
มหาสมทุ รอารก ติก ฤดูหนาวมีอากาศหนาวจดั และยาวนานปล ะ 10-11 เดือน ฤดูรอ นมีอากาศอบอนุ และ

14

สนั้ เพียง 1-2 เดือน อุณหภมู ิเฉล่ียตลอดทงั้ ปประมาณ 10 องศาเซลเซียส ปริมาณฝนตกนอ ยมากและสวนมาก
เปน หมิ ะ

4. ลกั ษณะเศรษฐกจิ และ สภาพแวดลอมทางสังคมวฒั นธรรม

ลักษณะเศรษฐกิจ

ทวปี ยุโรปมคี วามเจรญิ ทัง้ ในดา นเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม โดยมีเขตเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม
ดังน้ี

การทาํ เกษตรกรรม

1. เขตปลูกขา วสาลี ไดแ ก บรเิ วณทรี่ าบภาคกลาง โดยเฉพาะบรเิ วณประเทศฮังการี โรมาเนีย ยูเครน
ซ่งึ เปนแหลงผลิตขาวสาลีแหลงใหญ

2. เขตทําไรปศุสัตว สวนใหญจะพบในบริเวณเขตอากาศแหงแลง ไมคอยเหมาะกับการเพาะปลูก
แตมีหญา ท่สี ามารถเลี้ยงสตั วได เชน บริเวณชายฝงทะเลแคสเปยน และท่ีราบสูงของทวีป สัตวที่เลี้ยง ไดแก
โคเนื้อ แกะ แพะ สวนการเลี้ยงโคนม จะพบบริเวณเขตอากาศชื้นภาคพ้ืนสมุทร เน่ืองจากมีทุงหญาอุดม
สมบรู ณมากกวา

3. เขตเกษตรกรรมแบบผสม ไดแ ก เขตทีม่ กี ารเล้ยี งสตั วควบคกู บั การปลกู พืช เชน การปลูกขาวสาลี
ขา วบาเลย การเลีย้ งสัตว เชน โคเนอื้ โคนม ซง่ึ พบมากบรเิ วณภาคตะวันตก และภาคกลางของทวีป

4. เขตเกษตรแบบเมดิเตอรเรเนียน พบบรเิ วณเขตชายฝงทะเลเมดเิ ตอรเ รเนยี น เชน อติ าลี กรีซ พชื
สาํ คัญ ไดแก สม องนุ มะกอก

5. เขตเลย้ี งสตั วแบบเรรอ น มกี ารเลยี้ งสตั วแบบท่ีมีการยา ยถิ่นทีอ่ ยูเ พอื่ หาแหลง อาหารแหลง ใหม
ท่อี ดุ มสมบรู ณกวา บรเิ วณที่มีการเล้ียงสัตวแบบเรรอ น คอื บรเิ วณทม่ี อี ากาศหนาวเย็น เชน ชายฝง มหาสมุทร
อารก ตกิ หรือเขตอากาศแบบทนุ ดรา

การปาไม

แหลงปา ไมท่สี าํ คญั ของทวีป คือ เขตภูมิอากาศแบบไทกา บริเวณคาบสมุทร สแกนดิเนเวีย ซึ่งจะมี
ปาสนเปน บริเวณกวาง

การประมง

จากลักษณะภูมปิ ระเทศของทวปี ยโุ รปทม่ี ชี ายฝง ทะเลยาวและเวา แหวง ตดิ ทะเล ทง้ั 3 ดาน ประกอบ
กบั การมีกระแสนา้ํ อุน แอตแลนติกเหนือไหลผานทาํ ใหใ นฤดหู นาวนํ้าไมเ ปนนาํ้ แข็ง จงึ กลายเปนแหลง ประมง
ทส่ี าํ คัญของทวีป มชี ่อื วา “ดอกเกอรแ บงก (Dogger Bank)

การเหมอื งแร

ทวีปยุโรปมที รัพยากรทม่ี ีความสาํ คัญมากตอ การทาํ อุตสาหกรรม ไดแ ก เหลก็ และถา นหิน

15

แรถ า นหนิ ใชเ ปนเชือ้ เพลงิ ในการถลงุ เหลก็ โดยมีแหลง ถานหนิ ท่สี าํ คญั เชน ภาคเหนอื ของฝรงั่ เศส
และภาคกลางของเบลเยยี่ ม เยอรมัน เปน ตน

แรเหลก็ เมื่อผานการถลุงแลว จะนําไปใชในอุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกลา โดยมีแหลงแรเหล็กท่ี
สาํ คัญ เชน ประเทศสวีเดน ฝร่งั เศส

น้าํ มนั ปโตรเลยี มมี 2 แหลงทส่ี าํ คญั คือ ทะเลเหนอื และทะเลดํา

การอุตสาหกรรม

ทวีปยโุ รปเปนศูนยกลางอุตสาหกรรมที่สําคญั แหงหน่ึงของโลก ประเทศที่มีชื่อเสียงมาก คือ สหราช
อาณาจักร ฝร่ังเศส เบลเยี่ยม สวีเดน โดยบริเวณนี้จะมีแรเหล็กและถานหินซ่ึงเปนสวนสําคัญในการทํา
อตุ สาหกรรม

สภาพแวดลอมทางสังคมและวฒั นธรรม

ลักษณะประชากร

1. มีประชากรมากเปนอนั ดบั 4 ของโลก และหนาแนนมากเปนอันดบั 2 ของโลก
2. มกี ารกระจายประชากรทั่วทงั้ ทวปี เนื่องจากความเหมาะสมในดานสภาพภูมิประเทศ ภูมิอากาศ
และทรพั ยากร
3. บริเวณท่ีมปี ระชากรหนาแนน คือ บรเิ วณทีร่ าบภาคตะวันตกและภาคกลางของทวีป สวนบรเิ วณ
ที่มปี ระชากรเบาบาง คือ บริเวณคาบสมทุ รสแกนดิเนเวีย และเขตยุโรปตะวันออก

ประวตั ศิ าสตร แบง ได 3 สมยั คอื

1. สมยั โบราณ หรือ อารยธรรมสมัยคลาสสิค มีกรีกและโรมันเปน ศนู ยกลางความเจริญ โดยตง้ั มัน่ อยู
ทางตอนใตของทวปี ยโุ รปในแถบทะเลเมดเิ ตอรเรเนียน

กรกี ชนชาตกิ รีกไดถ า ยทอดมรดกทางศิลปวัฒนธรรมไวห ลายประการ ไดแ ก

1. การปกครอง ชาวกรกี ไดใ หสิทธิราษฎรในการลงคะแนนเสยี งเลอื กเจาหนาท่ีฝายปกครอง
2. ศลิ ปวัฒนธรรม ชาวกรีกมีความสามารถในดานวรรณคดี การละคร และสถาปต ยกรรม
สถาปตยกรรมทมี่ ชี ่อื เสยี ง คอื วหิ ารพาเธนอน นอกจากนย้ี ังมกี ารแขงขนั กีฬาทเ่ี ปนทร่ี จู ักกันดี คือ กฬี า
โอลิมปก
3. ปรชั ญาความคดิ นักปรัชญากรกี ท่มี ชี ื่อเสียง คือ อรสิ โตเติล และเพลโต

โรมัน ชนชาติโรมันไดรับความเจริญตาง ๆ จากกรีก สิ่งที่ชาวโรมันไดถายทอดใหกับชนรุนหลังคือ
ประมวลกฎหมาย และภาษาละตนิ

2. สมัยกลาง ในชว งน้ียโุ รปมีศกึ สงครามเกอื บตลอดเวลา จนทําใหการพฒั นาดานตาง ๆ ตองหยุดชะงัก
ยุคน้ีจึงไดชื่อวาเปน “ยุคมืด” หลังจากผานพนชวงสงครามจึงเปนชวงของการฟนฟูศิลปะวิทยาการเริ่มให
ความสําคญั กับมนุษยมากขน้ึ เรยี กยุคน้ีวา ยุคเรอเนสซองซ (Renaissance)

16

3. สมัยใหม ยคุ น้ีเปน ยคุ แหงการแสวงหาอาณานคิ ม ทําใหศลิ ปวัฒนธรรมของชาติตะวันตกแผขยาย
ไปยงั ดินแดนตา ง ๆ นอกจากนี้ยังมีเหตกุ ารณสําคญั คือ การปฏิวัติวทิ ยาศาสตรแ ละการปฏิวัตอิ ุตสาหกรรม

ทวปี อเมรกิ าใต

1. ขนาดที่ต้งั และอาณาเขตติดตอ
ทวีปอเมริกาใตเปนทวีปที่ใหญเปนอันดับ 4 ของโลก รองจากทวีปเอเชีย ทวีปแอฟริกา และทวีป
อเมรกิ าเหนอื มีพน้ื ทปี่ ระมาณ 17.8 ลา นตารางกโิ ลเมตร มีประชากรประมาณ 299 ลานคน รูปรางของทวีป
อเมรกิ าใตค ลา ยคลึงกับทวีปอเมริกาเหนือ คือ มีลักษณะคลายรูปสามเหล่ียมหัวกลับ มีฐานกวางอยูทางทิศ
เหนอื สว นยอดสามเหลี่ยมอยูท างทิศใต
ตั้งอยูในแถบซีกโลกใต ระหวางละติจูด 12 องศา 25 ลิปดาเหนือ ถึง 56 องศาใตและลองติจูด 34
องศา 47 ลปิ ดาตะวันตก ถงึ 81 องศา 20 ลิปดาตะวันตก อาณาเขตของทวปี อเมริกาใตม ดี งั น้ี
อาณาเขตติดตอ
ทิศเหนือ ติดกับทวีปอเมริกาเหนือ โดยมีคลองปานามาเปนเสนก้ันเขตแดนและติดตอกับทะเล
แคริบเบียน ในมหาสมทุ รแอตแลนตกิ จุดเหนือสุดอยทู ่ีแหลมกายนี าสในประเทศโคลอมเบีย
ทิศใต ติดกับทวีปแอนตารกติกา มีชองแคบเดรกเปนเสนก้ันเขตแดน จุดใตสุดอยูท่ีแหลมโฟรวารด
ในคาบสมุทรบรันสวิก ประเทศชิลี
ทิศตะวันออก ติดกับมหาสมทุ รแอตแลนตกิ จดุ ตะวนั ออกสุดอยูท แ่ี หลมโคเคอรสู ในประเทศบราซิล
ทิศตะวันตก ตดิ กบั มหาสมุทรแปซฟิ ก จุดตะวันตกสุดอยทู แ่ี หลมปารนี เยสในประเทศเปรู
2. ลักษณะภมู ปิ ระเทศ
ลกั ษณะภูมปิ ระเทศของทวีปอเมริกาใตส ามารถแบงออกได 3 ลักษณะไดแ ก
1. เขตเทอื กเขาตะวนั ตก ไดแ ก บรเิ วณเทอื กเขาแอนดสี ซ่งึ ทอดตวั ยาวขนานไปกับชายฝง มหาสมุทร
แอตแลนติก ตั้งแตทางเหนือบริเวณทะเลแคริบเบียนไปจนถึงแหลมฮอรนทางตอนใต มีความยาวประมาณ
7,200 กิโลเมตร เปนแนวเทือกเขาที่ยาวที่สุดในโลกยอดเขาสูงท่ีสุดในบริเวณนี้ คือ ยอดเขาอะคองคากัว
สูงประมาณ 6,924 เมตร จากระดับน้ําทะเล บริเวณตอนกลางของเทือกเขามีท่ีราบสูงท่ีสําคัญคือ ท่ีราบสูง
โบลิเวยี มคี วามสูงถงึ 4,500 เมตร จากระดบั นํ้าทะเล และมขี นาดกวา งใหญเปนอันดับ 2 ของโลก รองจากท่ี
ราบสูงทิเบต บนที่ราบสูงแหงน้ีมีทะเลสาบซึ่งเปนทะเลสาบที่สูงท่ีสุดในโลก ไดแก ทะเลสาบติติกากา
ในประเทศเอกวาดอร
2. เขตท่ีราบสงู ตะวนั ออก ประกอบดวยท่รี าบสูงสาํ คัญ 3 แหง ไดแ ก
ทรี่ าบสงู กิอานา ตั้งอยูท างตอนเหนอื ของทวปี ในเขตประเทศเวเนซูเอลา กายอานาซูรินาเม เฟรนซ
เกยี นา และภาคเหนือของบราซลิ มีลกั ษณะท่เี ปน ทีร่ าบสงู สลบั กับเทือกเขาสลบั ซับซอน
ท่รี าบสูงบราซลิ ตงั้ อยูต อนกลางของทวีป บรเิ วณตะวันออกของประเทศบราซิล ต้ังอยูระหวางท่ีราบ
ลุมแมนา้ํ แอมะซอน ทรี่ าบลมุ แมนํา้ ปารานา และทีร่ าบลุมแมน้ําปารากวยั ทางตะวันออกมีความสงู ชัน จากน้ัน
คอ ย ๆ ลาดต่ําลงไปทางตะวนั ตก

17

ท่รี าบสูงปาตาโกเนยี ต้งั อยทู างตอนใตข องทวีป ในเขตประเทศอารเจนตินาทางตะวันออกคอนขาง
ราบเรยี บและคอ ย ๆ สูงขน้ึ ไปเร่อื ย ๆ ทางตะวนั ตก

3. เขตที่ราบลุมแมนํ้า อยบู รเิ วณตอนกลางของทวีป เปน ทร่ี าบดินตะกอนท่ีมีความอุดมสมบูรณและ
กวาง ตั้งอยรู ะหวา งเทอื กเขาแอนดีสและทรี่ าบสูงทางตะวนั ออก เขตท่ีราบลุมแมน้ําท่ีสําคัญของทวีปอเมริกา
ใตม ี 2 บริเวณไดแก

ท่รี าบลมุ แมนาํ้ แอมะซอนหรอื อเมซอน เปน ทรี่ าบลมุ แมนํ้าทีใ่ หญท ส่ี ดุ ในโลก มีพืน้ ทปี่ ระมาณ 7 ลาน
ตารางกิโลเมตร มีแมนํ้าหลายสายไหลผาน สวนมากมีตนกําเนิดจากเทือกเขาแอนดีสและไหลสูมหาสมุทร
แอตแลนตกิ แมนํา้ ที่สําคัญท่ีสดุ ในบรเิ วณนค้ี ือ แมน้ําแอมะซอน

ที่ราบลุมแมนํ้าโอริโนโค อยูทางตอนเหนือของทวีป ในเขตประเทศโคลอมเบีย และเวเนซุเอลา
บริเวณน้เี ปน เขตเลี้ยงสัตวท ส่ี ําคัญของทวีปอเมริกาใต

แมน้ําที่สําคัญในทวปี อเมริกาใต ไดแก
แมนํ้าแอมะซอน มีความยาว 6,440 กโิ ลเมตร เปนแมน ้ําทีม่ คี วามยาวเปนอนั ดับ 2 ของโลก รองจาก
แมนํา้ ไนล มตี น กําเนิดจากเทอื กเขาแอนดีส ไหลผานประเทศบราซลิ ไหลลงสูมหาสมุทรแอตแลนติก
แมนํ้าปารานา มีความยาว 2,800 กิโลเมตรมีตนกําเนิดจากท่ีสูงทางตะวันออกของทวีป ไหลผาน
ประเทศบราซลิ ปารากวยั อารเ จนตนิ า ลงสมู หาสมุทรแอตแลนตกิ บรเิ วณอาวริโอเดอลาพลาตา
แมน้ําปารากวัย มคี วามยาว 2,550 กิโลเมตร มีตน กาํ เนิดจากท่สี ูงในประเทศบราซิลไหลผานประเทศ
บราซิล ปารากวัยไปรวมกบั แมน ้ําปารานาในเขตประเทศอารเ จนตนิ า

3. ลกั ษณะภูมอิ ากาศ

ปจ จยั ที่มีอทิ ธพิ ลตอ ภูมิอากาศของทวปี อเมรกิ าใต
1. ละติจูด พื้นที่สวนใหญของทวีปครอบคลุมเขตอากาศรอน และประมาณ 1 ใน 3 ของพื้นท่ีทวีป
เปน อากาศแบบอบอุน ภูมิภาคทางเหนอื ของทวีปจะมฤี ดูกาลท่ตี รงขามกบั ภมู ิภาคทางใต
2. ลมประจํา ไดแ ก

2.1 ลมสินคาตะวันออกเฉียงเหนือพัดผานมหาสมุทรแอตแลนติกจึงนําความชุมชื้นเขาสูทวีป
บริเวณชายฝงตะวนั ออกเฉียงเหนอื

2.2 ลมสินคา ตะวนั ออกเฉียงใตพ ัดผา นมหาสมทุ รแอตแลนตกิ จึงนาํ ความชุมชื้น เขา สูทวีปบรเิ วณ
ชายฝง ตะวันออกเฉยี งใต

2.3 ลมตะวนั ตกเฉยี งเหนอื พัดผานมหาสมทุ รแปซฟิ กจึงนําความชุมชื้นเขาสูทวีปบริเวณชายฝง
ตะวนั ตกของทวปี ตั้งแตป ระมาณละติจูด 40 องศาใตลงไป

3. ทิศทางของเทอื กเขา ทวปี อเมริกาใตม เี ทือกเขาสงู อยูท างตะวนั ตกของทวีป ดังนั้นจึงเปนสิ่งท่ีกั้น
ขวางอิทธิพลจากทะเลและมหาสมุทร ทําใหบริเวณที่ใกลเทือกเขา คอนขางแหงแลง แตในทางตรงกันขาม
ชายฝง ดานตะวันออกจะไดร บั อทิ ธพิ ลจากทะเลอยา งเตม็ ที่

18

4. กระแสน้ํา มี 3 สายทส่ี าํ คัญ คอื
4.1 กระแสน้ําอุนบราซิล ไหลเลียบชายฝงของประเทศบราซลิ
4.2 กระแสน้ําเย็นฟอลกแลนด ไหลเลียบชายฝง ประเทศอารเ จนตนิ า
4.3 กระแสนํา้ เยน็ เปรู (ฮัมโบลด) ไหลเลยี บชายฝง ประเทศเปรูและชลิ ี

เขตภูมิอากาศแบง ออกไดเปน 8 เขต ดังนี้

1. ภูมอิ ากาศแบบปา ดบิ ช้นื ไดแก บรเิ วณท่รี าบลุมแมน้ําแอมะซอน เปน บรเิ วณทมี่ อี ากาศเยน็ ปา ดิบ
ชนื้ ทก่ี วา งใหญทส่ี ุดในโลกสวนใหญม พี ื้นที่อยปู ระเทศบราซลิ มอี ณุ หภมู ิสงู เฉลีย่ 27 องศาเซลเซียส มีฝนตกชุก
เกือบตลอดทง้ั ปป ระมาณ 2,000 มลิ ลิเมตรตอ ป

2. ภมู อิ ากาศแบบทุงหญา เขตรอ น ไดแก บรเิ วณตอนเหนอื และใตของลุมแมนํ้าแอมะซอน มีอากาศ
รอ นและแหงแลง ฤดูรอ นมฝี นตกแตไมชกุ เหมอื นในเขตปา ดิบชืน้ อณุ หภูมสิ ูงเฉล่ีย 27 องศาเซลเซยี ส
มลี ักษณะอากาศคลายกบั ภาคกลางและภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ของประเทศไทย

2. ภมู ิอากาศแบบทะเลทราย ไดแ ก ภาคใตข องเปรูและภาคเหนอื ของชลิ ี เปนบริเวณทร่ี อ นและ
แหงแลง มาก มีปริมาณฝนตกเฉลีย่ ตํา่ กวา 250 มิลลิเมตรตอป และบางครั้งฝนไมตกยาวนานติดตอกันหลาย
เดือน ทะเลทรายทีส่ าํ คัญในบรเิ วณนีไ้ ดแ ก ทะเลทรายอะตากามาในประเทศชิลี ในบริเวณน้ีมีฝนตกนอยกวา
50 มลิ ลเิ มตรตอป บางครั้งฝนไมตกติดตอ กันเปนเวลานานหลายป จัดเปนทะเลทรายที่แหงแลงมากท่ีสุดแหง
หนง่ึ ของโลก

4. ภูมิอากาศแบบทงุ หญาก่ึงทะเลทราย ไดแ ก ทางตะวนั ออกของประเทศอารเ จนตนิ าจนถงึ ทร่ี าบสูง
ปาตาโกเนีย อุณหภูมิไมสูงนักเฉล่ีย 18 องศาเซลเซียส ฤดูหนาวมีอากาศหนาวเย็น ฤดูรอนมีอากาศรอน
ปริมาณฝนนอยประมาณ 500 มลิ ลิเมตรตอป

5. ภมู อิ ากาศแบบเมดเิ ตอรเ รเนยี น ไดแ ก บริเวณชายฝงมหาสมทุ รแปซิฟก ตอนกลางของประเทศชลิ ี
ในฤดรู อ นมอี ากาศรอ นและแหง แลง ฤดหู นาวมฝี นตก

6. ภูมิอากาศแบบอบอุนช้ืน ไดแก บริเวณตะวันตกเฉียงใตของทวีป ตั้งแตตอนใตของบราซิล
ปารากวัย อุรุกกวัย และตะวันออกเฉียงเหนือของอารเจนตินา อากาศในบริเวณนี้ไมแตกตางกันมากนัก
ฤดหู นาวมีอากาศอบอนุ ฤดรู อนมีฝนตกเฉลย่ี 750 – 1,500 มิลลเิ มตรตอ ป

7. ภูมิอากาศแบบภาคฟนสมุทร ไดแ ก บริเวณชายฝง ทะเลอากาศหนาวจัด มีฝนตกเกือบตลอดทั้งป
โดยเฉพาะในฤดูหนาวและฤดใู บไมร วงเฉลี่ย 5,000 มิลลิเมตรตอ ป

8. ภมู ิอากาศแบบทีส่ ูง ไดแ ก บริเวณเทือกเขาแอนดีส เปน บริเวณที่มีความแตกตางกันมาก ขน้ึ อยูกับ
ระดับความสูงของพ้ืนที่ คือ บริเวณท่ีราบมีอุณหภูมิสูงและฝนตกชุก เมื่อสูงข้ึนอุณหภูมิและปริมาณน้ําฝน
จะลดลงไปเรื่อย ๆ ยิ่งสูงกวาระดับน้ําทะเลประมาณ 3,000 เมตร มีอุณหภูมิเฉล่ียตลอดท้ังปประมาณ 15
องศาเซลเซียส ปริมาณฝนตกเฉลี่ย 1,000 มิลลิเมตรตอป ในขณะท่ีประเทศอ่ืนท่ีอยูบริเวณเสนศูนยสูตร
แตต้ังอยูบนที่ราบ เชน มาเลเซีย มีอุณหภูมิเฉล่ีย 27 องศาเซียส และมีฝนตกชุกตลอดทั้งปสูงกวา 2,500
มิลลิเมตรตอป

19

4. ลักษณะเศรษฐกิจและสภาพแวดลอมทางสังคม วฒั นธรรม

ลกั ษณะเศรษฐกจิ

การทาํ เกษตรกรรม
1. จากลักษณะอากาศของทวีป เหมาะกับการปลกู พชื เมืองรอน เชน กาแฟ กลวย โกโก ออย ยาสูบ
โดยเฉพาะกาแฟมีผูผลิตรายใหญ คอื บราซิลและโคลัมเบีย
2. บริเวณทร่ี าบลุมแมนํ้าปารานา–ปารากวัย–อรุ ุกวัย มีความเหมาะสมในการปลกู ขาวสาลี เน่ืองจาก
อยูในเขตอบอุนและเปน ทรี่ าบลมุ แมน า้ํ ที่มคี วามอดุ มสมบรู ณโ ดยเฉพาะในเขตประเทศอารเ จนตินา
3. การเพาะปลกู ในทวปี มีท้ังการเพาะปลกู เปนไรการคาขนาดใหญ ที่เรียกวา เอสตันเซีย และมีการ
เพาะปลูกแบบยังชีพ

การเลย้ี งสตั ว

การเล้ียงสัตวในทวีปอเมริกาใตก ระทําอยางกวา งขวาง ดงั น้ี
1. ทงุ หญาปามปส เปน เขตปศุสตั วข นาดใหญ มีการเลีย้ งโคเนือ้ โคนม แกะ
2. ทงุ หญายาโนส และทงุ หญาแกมโปส เปน เขตเลีย้ งโคเนอ้ื
3. ทงุ หญากึง่ ทะเลทราย บริเวณทรี่ าบสูงปาตาโกเนยี มีการเล้ยี งแกะพนั ธขุ น
ประเทศทส่ี ง เนื้อสัตวเ ปนสินคา ออกจํานวนมาก คือ ประเทศอารเจนตนิ า อุรุกวยั บราซิล

การประมง

แหลง ประมงทสี่ ําคัญของทวปี คือ บรเิ วณชายฝง ประเทศเปรูและชลิ ี ซง่ึ มกี ระแสนํ้าเยน็ เปรู (ฮัมโบลด)
ไหลผาน มีปลาแอนโชวีเปนจํานวนมาก นอกจากนี้ยังมีการจับปลาตามลุมแมนํ้าตาง ๆ โดยชาวพื้นเมือง
อีกดว ย แตเ ปนการจับปลาเพ่ือยังชีพ

การปาไม

การทําปาไมในทวีปมีไมมากนักเน่ืองจากความไมสะดวกในการคมนาคมและการขนสง เขตที่มี
ความสําคญั ในการทําปา ไม คอื ภาคตะวันออกเฉยี งใตของบราซิล

การทําเหมอื งแร

ทวีปอเมรกิ าใตเ ปนแหลงผลติ พชื เมืองรอนและสินแร การทําเหมืองแรมีความสําคัญรองจากการทํา
เกษตรกรรม โดยมแี หลง แรทส่ี าํ คัญ ดังน้ี

อุตสาหกรรม

การอตุ สาหกรรมในทวีปยังไมค อ ยมคี วามเจรญิ มากนกั เนอื่ งจากขาดเงินทุน และยังตองอาศัยความรวมมือ
และการรวมลงทุนจากตางชาติ ประเทศที่มีความเจริญทางดานอุตสาหกรรม คือ อารเจนตินา บราซิล ชิลี
เวเนซเุ อลา

20

ทวปี อเมริกาเหนอื

1. ขนาดทต่ี ัง้ และอาณาเขตตดิ ตอ

ทวีปอเมรกิ าเหนือเปนทวปี ที่มีขนาดกวางใหญโดยมีขนาดใหญเปนอันดับที่ 3 ของโลกรองจากทวีป
เอเชียและทวปี แอฟรกิ ามีพ้นื ทป่ี ระมาณ 24 ลานตารางกิโลเมตร รปู รางของทวปี อเมรกิ าเหนือมลี ักษณะคลา ย
สามเหลี่ยมหัวกลบั มฐี านกวา งอยูท างทศิ เหนอื สว นยอดสามเหลยี่ มอยูทางทิศใต ดวยความกวางใหญของทวีป
จึงมีความหลากหลายท้ังในดานลักษณะทางกายภาพทรัพยากรธรรมชาติและเปนที่รวมของชนชาติหลาย
เชอื้ ชาตจิ นกลายเปนเบา หลอมทางวัฒนธรรม อีกทัง้ มคี วามเจริญกา วหนาในดานเทคโนโลยีและเปนศูนยรวม
ของวัฒนธรรมตาง ๆ ตั้งอยใู นแถบซกี โลกเหนอื ระหวางละตจิ ดู 7 องศา 15 ลปิ ดาเหนือถึง 83 องศา 38 ลปิ ดา
เหนือและลองจจิ ูด 55 องศา 42 ลิปดาตะวนั ตก 172 องศา 30 ลปิ ดาตะวนั ออก

อาณาเขตตดิ ตอ

ทิศเหนอื ตดิ กบั ทะเลโบฟอรตในมหาสมุทรอารกติกและข้ัวโลกเหนือ จุดเหนือสุดอยูท่ีแหลมมอริส
เจซุป เกาะกรนี แลนดและประเทศแคนาดา

ทิศใต ตดิ กับทวปี อเมริกาใต (มคี ลองปานามาเปนเสน แบง ทวปี ) ทะลแครบิ เบยี นในมหาสมุทรแปซฟิ ก
และอาวเม็กซโิ กในมหาสมทุ รแอตแลนตกิ

ทิศตะวันออก ติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก จุดตะวันออกสุดของทวีปอยูท่ีคาบสมุทรลาบราดอร
ประเทศแคนาดา

ทิศตะวันตก ติดกับมหาสมุทรแปซฟิ ก จุดตะวันตกสดุ ของทวีปอยูทแี่ หลมปรินซอ อฟเวลรัฐอะลาสกา
ประเทศสหรฐั อเมรกิ า

21

2. ลักษณะภูมิประเทศ

ลักษณะภมู ิประเทศของทวีปอเมรกิ าเหนือ สามารถแบงออกได 3 ลกั ษณะ ไดแก
1. เขตเทือกเขาภาคตะวนั ออก เร่ิมต้ังแตเกาะนิวฟนดแลนดทางตะวันออกเฉียงเหนือของแคนาดา
จนถึงตะวนั ออกเฉียงใตข องสหรัฐอเมริกา ประกอบดวยเทือกเขาและที่ราบสูงแตไมสูงนัก ยอดเขาที่สูงที่สุด
คือ ยอดเขามิตเชล มคี วามสูง 2,037 เมตร เทือกเขาที่สําคัญ คือ เทือกเขาแอปปาเลเซียน นอกจากนี้ยังมีที่
ราบแคบ ๆ ขนานไปกบั ชายฝงทะเล บางสว นลาดลงทะเลกลายเปน ไหลท วปี

22

2.เขตเทือกเขาสูงภาคตะวันตก ไดแก พื้นท่ีชายฝงตะวันตกดานมหาสมุทรแปซิฟก ต้ังแตเทือกเขา
ตอนเหนอื สดุ บริเวณชอ งแคบแบริง ทอดตวั ยาวทางใตของทวีป ประกอบดวยเทือกเขาสูงสลับซับซอนจํานวน
มาก ยอดเขาทสี่ งู ทีส่ ุด คือ ยอดเขาแมกคนิ เลย สูง 6,096 เมตร ในเทอื กเขาอะลาสกา นอกจากนย้ี ังมีเทือกเขา
รอ็ กกแี ละเทือกเขาแมกเคนซี ระหวา งเทือกเขาสูงมีทีร่ าบสูงจาํ นวนมาก ทีส่ าํ คัญไดแก ที่ราบสูงอะลาสกา
ท่รี าบโคโรราโด ที่ราบสงู เม็กซิโก และที่ราบสงู บริตชิ โคลมั เบีย เขตเทือกเขาสงู บริเวณน้ีมีภูมิประเทศทสี่ วยงาม
ทมี่ ีทัง้ เทอื กเขาสูง สลบั กับทร่ี าบสงู หบุ เขาลึกชนั เกิดเปนโตรกเขาที่เกิดจากการกัดเซาะของแมนํ้า โตรกเขา
ท่ีมีชื่อเสียงท่ีสุด คือ แกรนดแคนยอน (grand canyon) ที่เกิดจากการกัดเซาะของแมนํ้าโคโรราโด
รฐั แอริโซนาประเทศสหรฐั อเมรกิ า

3. เขตท่ีราบภาคกลาง เปนที่ราบขนาดกวางใหญ อยูระหวางเทือกเขาตะวันออกและตะวันตก
เริม่ ตง้ั แตช ายฝงมหาสมุทรอารต ิกจนถงึ ชายฝง อา วเม็กซิโก มลี กั ษณะเปน ที่ราบลกู คล่ืนอนั เกิดจากการกระทํา
ของธารนาํ้ แข็งและการทับถมของตะกอนจากแมน าํ้ ที่ราบที่สําคัญ ไดแก ท่ีราบลุมทะเลสาบท้ังหา ท่ีราบลุม
แมนาํ้ แมกแคนซี ท่ีราบลุมแมน ํ้ามิสซิสซิปป-มิสซูรี่ ที่ราบแพรแี ละท่ีราบชายฝง อา วเม็กซิโก

แมน้าํ ท่ีสาํ คัญในทวปี อเมรกิ าเหนอื มีดังนี้

แมน ํ้ามิสซสิ ซปิ ป เกิดจากเทือกเขาสงู ทางตะวนั ตกของทวปี เปนแมนา้ํ สายท่ยี าวทสี่ ดุ ในทวีปไหลผาน
ทรี่ าบกวางลงสอู าวเม็กซโิ ก เปนเขตท่รี าบท่ีมีตะกอนทับถมเปนบริเวณกวาง จึงเหมาะแกการเพาะปลูกและ
เปน เขตประชากรหนาแนน

แมน ํ้าเซนตล อวเรนซ ไหลจากทะเลสาบเกรตเลค ออกสูมหาสมทุ รแอตแลนติก แมนา้ํ สายนใ้ี ชในการ
ขนสงสนิ คาหรอื วัตถดุ บิ ทางอุตสาหกรรม (เนอ่ื งจากบรเิ วณรอบ ๆ เกรตเลคเปนเขตอุตสาหกรรม) แตปญหา
สําคัญของแมน ้าํ สายนี้ คือ จะมีระยะที่เดินเรือไมไดในฤดูหนาว ลักษณะพิเศษของแมน้ําเซนตลอวเรนซ คือ
มกี ารขุดรองน้ําและสรา งประตกู น้ั นํา้ เปนระยะ ๆ เนอ่ื งมาจากบริเวณแมน ้ํามีแกงน้ําตกขวางหลายแหงเสน ทาง
การขนสง สินคา และเดนิ เรอื น้ี เรยี กวา “เซนตลอวเรนซซ เี วย” (St. Lawrence Seaway)

แมน ้ําริโอแกรนด ก้ันพรมแดนระหวา งประเทศสหรฐั อเมรกิ ากบั ประเทศเม็กซิโก

3. ลกั ษณะภูมอิ ากาศ

ปจ จัยท่ีมีอิทธพิ ลตอ ภูมอิ ากาศของทวีปอเมรกิ าเหนือ
1. ละติจดู ทวีปอเมรกิ าเหนือตั้งอยูร ะหวา งละติจูด 7 องศา 15 ลิปดาเหนือ ถึง 83 องศา 38 ลิปดา
เหนือใกลข้ัวโลกเหนือ จึงทําใหมีเขตภูมิอากาศทุกประเภทต้ังแตอากาศรอนไปจนถึงอากาศหนาวเย็นแบบ
ขว้ั โลก
2. ลมประจํา ลมประจําท่ีพดั ผา นทวปี อเมรกิ าเหนือ มคี วามแตกตา งกนั ตามชว งละติจดู มลี มประจํา
ท่สี ําคัญดงั น้ี

1) ลมดานตะวันออกเฉียงเหนือ พัดตั้งแตละติจูด 40 องศาเหนือลงไปทางใตพัดผานมหาสมุทร
แอตแลนติกเขาสูทวีป จึงนําความชุมช้ืนมาใหชายฝงตะวันออกของทวีปตลอดทั้งป ตั้งแตตอนใตของ
สหรฐั อเมรกิ า อเมริกากลางและหมูเกาะอนิ ดิสตะวันตก

23

2) ลมตะวันตกเฉียงใต พัดต้ังแตละติจูด 40 องศาเหนือถึง 60 องศาเหนือ พัดจากมหาสมุทร
แปซฟิ ก เขาสูต อนกลางถึงตอนเหนอื ของสหรฐั อเมรกิ าและตอนใตของแคนาดา

3) ลมข้ัวโลก พดั อยบู ริเวณขว้ั โลกนําความหนาวเย็นมาใหพ้นื ที่ทางตอนบนของทวปี
3. ความใกลไกลทะเล จากลักษณะรปู รางของทวปี อเมรกิ าเหนอื ซ่งึ ตอนบนจะกวา งใหญ และคอย ๆ
เรียวแคบลงมาทางตอนใต ทําใหตอนบนของทวีปไดรับอิทธิพลจากมหาสมุทรนอย จึงทําใหพื้นท่ีตอนบน
มภี มู อิ ากาศคอ นขางแหง แลง
4. ทศิ ทางของเทอื กเขา ทศิ ทางการวางตวั ของเทือกเขาในทวปี อเมริกาเหนอื เปน สวนสาํ คัญในการทํา
ใหพื้นท่ีทางตอนในของทวีปมีอากาศคอนขางแหงแลง โดยเฉพาะเทือกเขาทางตะวันตกของทวีป ซึ่งเปน
เทือกเขายคุ ใหมท ่สี ูงมาก จึงขวางกั้นความชนื้ ทีม่ ากับลมประจํา
5. กระแสนํ้า ทวปี อเมรกิ าเหนอื มกี ระแสนํา้ 4 สาย ซึ่งมอี ิทธิพลตออากาศบริเวณชายฝงโดยกระแส
นา้ํ อุน ทาํ ใหอ ากาศบริเวณชายฝงอบอุนชุมชน้ื สวนกระแสนํ้าเยน็ ทาํ ใหอากาศบริเวณชายฝง เย็นและแหงแลง

1) กระแสนํา้ อนุ กลั ฟสตรมี ไหลเลยี บชายฝงตะวนั ออกของเมก็ ซิโก และสหรฐั อเมรกิ าทางใตขน้ึ ไป
ทางตะวนั ออกเฉยี งเหนือของเกาะนิวฟน ดแลนดของแคนาดา

2) กระแสนํ้าเย็นแลบราดอร ไหลเลียบชายฝงตะวันตกของเกาะกรีนแลนดลงมาจนถึงชายฝง
ตะวันออกของแคนาดา พบกบั กระแสนา้ํ อุนกลั ฟสตรีม บริเวณเกาะนิวฟนดแลนดจึงทําใหบริเวณนี้เปนแหลง
ปลาชุม เนอื่ งจากมอี าหารปลาจํานวนมาก กลายเปน เขตทาํ ประมงทสี่ ําคัญ เรียกบริเวณนีว้ า “แกรนดแบงค”
(Grand Bank)

3) กระแสนํ้าอุนอลาสกา ไหลเลียบชายฝงตะวันตกของรัฐอลาสกาขึ้นไปทางเหนือจนถึงชอง
แคบเบริง ทาํ ใหชายฝงอบอนุ น้าํ ไมเ ปน น้ําแข็งสามารถจอดเรือไดต ลอดป

4) กระแสน้ําเย็นแคลิฟอรเนีย ไหลเลียบชายฝงตะวันตกของสหรัฐอเมริกาลงมาทางใตจนถึง
ชายฝงคาบสมุทรแคลฟิ อรเนีย ทําใหชายฝง มีอากาศเยน็ และแหง

พายุ พายุทม่ี ีอทิ ธิพลตอ ลมฟา อากาศของทวีปอเมริกาเหนอื เปน อยางมากคอื
1. พายุเฮอริเคน เปนพายุหมุนเขตรอน เชนเดียวกับใตฝุน พายุนี้เกิดในทะเลแคริเบียน และอาว
เม็กซิโก เปนพายุท่ีทําใหฝนตกหนัก คล่ืนลมแรงเคลื่อนตัวจากทะเลเขาสูชายฝงของสหรัฐอเมริกา เม็กซิโก
และหมูเ กาะในทะเลแครเิ บียน
2. พายทุ อรนาโด เนือ่ งจากบริเวณภาคกลางของสหรัฐอเมริกาเปนพ้ืนที่โลงกวาง ทําใหมวลอากาศ
ปะทะกนั ไดง ายเกดิ เปนพายหุ มุนทอรน าโด มีกําลงั แรงมาก กอใหเกิดความเสียหายกับบานเรือนในรอบ 1 ป
เกดิ พายนุ ้ไี ดบอ ยครัง้ จนไดรบั สมญานามวา “พายปุ ระจําถ่นิ ”ของสหรฐั อเมริกา

24

เขตภูมิอากาศแบง ออกไดเปน 12 เขต ไดแก

1. ภูมอิ ากาศแบบรอ นช้นื ไดแก บรเิ วณชายฝงตะวนั ออกของอเมรกิ ากลาง และบางสวนของหมูเ กาะ
อนิ ดสี ตะวันตก มีอากาศรอนเกือบตลอดทั้งป อุณหภูมิเฉลี่ย 18 องศาเซลเซียสและมีฝนตกชุกเฉลี่ย 1,700
มลิ ลเิ มตรตอป ในเขตนีไ้ มม ฤี ดหู นาว

2. ภมู ิอากาศแบบทะเลทราย ไดแก บริเวณภาคตะวันตกเฉียงใตของสหรฐั อเมรกิ าและภาคเหนือของ
เม็กซโิ ก มอี ากาศรอ นจัดและมฝี นตกนอยมาก เฉลี่ย 250 มิลลิเมตรตอ ป

3. ภูมิอากาศแบบทุงหญาเขตรอน ไดแก ชายฝงตะวันตกของอเมริกากลาง พื้นที่สวนใหญของ
เมก็ ซโิ ก บางสวนของหมูเกาะอินดสี ตะวนั ตก และทางตอนใตส ุดของคาบสมทุ รฟลอริดา มีอณุ หภูมแิ ตกตา งกัน
มากระหวางฤดูรอ นและฤดหู นาว คือ ฤดูหนาวอากาศหนาวจดั ฤดรู อ นมีอากาศรอ นจัดและมฝี นตก

4. ภูมอิ ากาศแบบทุง หญา กึ่งทะเลทราย ไดแ ก บรเิ วณชายขอบของเขตทะเลทรายเร่ิมตงั้ แตบางสวน
ของประเทศแคนาดาและเม็กซิโก ทางตะวันตกและตะวันตกเฉียงใตของสหรัฐอเมริกา มีลักษณะภูมิอากาศกึ่ง
แหงแลง ฤดูหนาวมีอากาศหนาวจัด ฤดูรอนมีอากาศรอนและแหงแลง ปริมาณฝนไมมากนัก แตมากกวา ในเขต
ทะเลทราย

5. ภูมิอากาศแบบเมดิเตอรเรเนียน ไดแก บริเวณชายฝงมหาสมุทรแปซิฟก ในเขตรัฐแคลิฟอรเนีย
ของสหรัฐอเมริกา ในฤดรู อนมอี ากาศไมรอ นจัด ในฤดหู นาวมอี ากาศอบอนุ แหงแลงและมีฝนตก

6. ภูมิอากาศแบบอบอุนช้ืน ไดแก บริเวณท่ีราบชายฝงมหาสมุทรแอตแลนติกและที่ราบตอนกลาง
ของทวีป อุณหภูมเิ ฉลย่ี ตลอดทั้งปม ีความใกลเคียงกนั มีฝนตกเกอื บตลอดทัง้ ปเฉลยี่ 750 มิลลเิ มตรตอป

7. ภมู ิอากาศแบบภาคพน้ื สมทุ รชายฝงตะวันตก ไดแก ชายฝงมหาสมุทรแปซิฟกในเขตสหรัฐอเมริกา
และแคนาดา มีฝนตกชุกเกือบตลอดท้ังปเฉลี่ย 2,000 มิลลิเมตรตอป ฤดูรอนมีอากาศรอนชื้นและ ฤดูหนาว
มีอากาศเย็นสบาย

8. ภูมอิ ากาศแบบช้ืนภาคพื้นทวีป ไดแก ตอนใตของประเทศแคนาดารอบ ๆ ทะเลสาบทั้ง 5 และ
ภาคเหนือของสหรัฐอเมรกิ า ในฤดหู นาวมอี ากาศหนาวเยน็ ในฤดรู อนมีอากาศอบอนุ และมฝี นตก

9. ภูมิอากาศแบบไทกา ไดแก ภาคเหนือของประเทศแคนาดา และตอนใตของรัฐอะลาสกา
สหรฐั อเมรกิ า เปน บริเวณท่มี อี ากาศหนาวจัด มีหิมะตกตดิ ตอกันหลายเดอื นฤดูรอ นมอี ากาศเย็น มีปริมาณฝน
ตกนอ ยและระยะสนั้ ๆ

10. ภมู ิอากาศแบบทุนดรา ไดแก ชายฝงมหาสมุทรอารกติก ภาคเหนือของแคนาดา รัฐอะลาสกา
ของสหรัฐอเมริกา และชายฝง เกาะกรนี แลนด มีอากาศหนาวจัดเกอื บตลอดทง้ั ป ฤดรู อนมีชวงส้นั และอณุ หภูมิ
ต่ําเฉล่ยี ตลอดทง้ั ป 10 องศาเซลเซยี ส

11. ภูมิอากาศแบบขวั้ โลก ไดแ ก ตอนกลางของเกาะกรีนแลนด มีอากาศหนาวจัดมีนํ้าแข็งปกคลุม
เกอื บตลอดท้งั ป บริเวณตอนกลางของเกาะมนี ํ้าแข็งปกคลุมหนาถงึ 3,000 เมตร

25

12. ภูมิอากาศแบบบริเวณภูเขาสูง ไดแก เทือกเขาสูงในภาคตะวันตก เปนบริเวณที่มีอุณหภูมิ
แตกตา งกันมาก ข้ึนอยูกับความสูงของพื้นที่ เชน ในฤดูรอนดานท่ีรับแสงแดดอากาศรอนจัด ในดานตรงกัน
ขา มจะมีอากาศหนาวเยน็ ในแถบหุบเขาจะมีอากาศหนาวเยน็ โดยเฉพาะในเวลากลางคนื อณุ หภูมิจะต่ําลง
เม่ือความสงู เพิม่ ข้ึน บริเวณยอดเขามีนาํ้ แข็งปกคลุมอยู ในบรเิ วณนี้มฝี นตกนอย

4. สภาพเศรษฐกจิ และสภาพแวดลอ มทางสงั คมวฒั นธรรม

ลักษณะเศรษฐกิจ ลักษณะเศรษฐกิจของทวีปอเมรกิ าเหนือจะมคี วามแตกตางกนั คือ ในสหรฐั อเมริกา
แคนาดา จะเปนเขตเศรษฐกิจที่มีความเจริญสูง สวนในเขตของเม็กซิโก อเมริกากลางและหมูเกาะอินดีส
ตะวนั ตกจะมที ง้ั เขตเศรษฐกิจทเี่ จรญิ แลว และเขตทยี่ งั ตอ งไดร ับการพฒั นา

การทําเกษตรกรรม
1. เขตปลกู ขา วสาลี บริเวณท่ีมีการปลูกขาวสาลี ซึง่ ถอื เปน แหลง สําคญั ของโลก คือ บรเิ วณ
ภาคกลางของแคนาดาและสหรัฐอเมรกิ า
2. เขตทําไรปศุสัตว พบในบริเวณท่ีภูมิอากาศคอนขางแหงแลง เชน ภาคตะวันตกของแคนาดา
สหรฐั อเมริกา และเม็กซิโก สตั วท ี่เล้ียง คือ โคเนอ้ื
3. เขตเกษตรกรรมแบบผสม ไดแก เขตท่ีมกี ารเล้ยี งสัตวค วบคูกบั การปลูกพชื เชน ขา วสาลี ขา วโพด
สว นสัตวเ ลีย้ งคือ โคเนื้อ โคนม การเกษตรลักษณะนี้พบบริเวณทางตะวนั ออกของสหรฐั อเมรกิ าและแคนาดา
4. เขตปลูกฝาย ไดแ ก บรเิ วณทางตะวนั ตกของสหรัฐอเมรกิ า ซง่ึ เปน เขตที่มีอากาศคอนขางรอ นและ
แหง แลง
5. เขตปลกู ผกั ผลไมและไรยาสูบ ไดแ ก บรเิ วณทร่ี าบชายฝงมหาสมทุ รแอตแลนตกิ
6. เขตปลูกพืชเมืองรอน พืชเมืองรอนที่นิยมปลูกคือ กลวย โกโก ออย กาแฟ ซึ่งมีมากบริเวณ
อเมริกากลางและหมูเ กาะอนิ ดสี ตะวันตก

การประมง

บรเิ วณทม่ี ีการทาํ ประมงกนั อยางหนาแนน คือ แกรนดแบงค และบริเวณชายฝงมหาสมุทรแปซิฟก
โดยเฉพาะบริเวณทม่ี ีกระแสนา้ํ เย็นแคลิฟอรเนียไหลผาน

การทําเหมอื งแร

ถา นหนิ สหรฐั อเมรกิ าและแคนาดา สามารถผลิตถานหนิ ไดเปน จาํ นวนมาก โดยมแี หลงผลิตที่สําคัญ
คอื บริเวณเทอื กเขาแอปปาเลเซียน ในสหรัฐอเมรกิ า และมณฑลควเิ บกของแคนาดา

เหลก็ แหลง สําคญั คอื ทะเลสาบเกรตแลค
น้ํามนั และกา ซธรรมชาติ พบบริเวณเทือกเขาแอปปาเลเซยี นลมุ แมน้ํามสิ ซสิ ซปิ ป อาวเม็กซิโก
แคลิฟอรเ นยี อลาสกา
การทําอตุ สาหกรรม สหรัฐอเมรกิ าเปน ประเทศผูนําในการทําอุตสาหกรรมระดับโลก สวนใหญเปน
อตุ สาหกรรมขนาดใหญใชเ งนิ ทุนเปนจาํ นวนมาก สว นประเทศเมก็ ซโิ ก และอเมรกิ ากลาง รวมถึงประเทศในหมู

26

เกาะอนิ ดีสตะวันตก อุตสาหกรรมสวนใหญเปนอุตสาหกรรมเกษตรการแปรรูปผลผลิตตาง ๆ ซึ่งตองอาศัย
การพฒั นาตอไป

สภาพแวดลอมทางสังคมและวัฒนธรรม
ประชากร
1. บริเวณที่มีประชากรหนาแนน ไดแก ชายฝงตะวันตกของสหรัฐอเมริกา ลุมแมน้ํามิสซิสซิปป
ลุมแมน าํ้ เซนตลอรวเรนซ ทีร่ าบสงู ในเม็กซิโก หมูเกาะอนิ ดสี ตะวนั ตก
2. มีผูค นหลากหลายเชื้อชาติ เชน อินเดียนแดง เอสกิโม ยุโรป แอฟรกิ นั เอเชยี และกลุม เลือดผสม
เขตวัฒนธรรม
1. แองโกอเมรกิ า หมายถงึ สหรัฐอเมริกาและแคนาดา
2. ลาตินอเมริกา หมายถึง กลุมคนในเมกซิโก อเมริกากลาง และหมูเกาะอินดีสตะวันตก
(ซึ่งไดร ับอทิ ธพิ ลจากสเปนและโปรตเุ กส)

ทวีปแอฟรกิ า
1. ขนาดทต่ี ้งั และอาณาเขตตดิ ตอ

ทวปี แอฟริกามีขนาดใหญเปนอนั ดับ 2 รองจากทวปี เอเชยี มพี ื้นท่ีประมาณ 30.3 ลา นตารางกิโลเมตร
มปี ระชากร 600 ลานคน อยรู ะหวางละติจูดที่ 37 องศา 21 ลิปดาเหนือ ถึง 34 องศา 50 ลิปดาใต ลองติจูด
ที่ 51 องศา 24 ลิปดาตะวันออกถงึ 17 องศา 32 ลปิ ดา

27

อาณาเขตตดิ ตอ
ทศิ เหนือ ติดกับทะเลเมดิเตอรเรเนียน ในมหาสมุทรแอตแลนติก ชองแคบยิบรอลตาร จุดเหนือสุด
ของทวปี อยทู ่แี หลมบอน ประเทศตูนเิ ซีย
ทศิ ใต ติดกับมหาสมทุ รแอตแลนติก และมหาสมุทรอินเดีย จุดใตสุดของทวีปอยูที่แหลมอะกอลฮัส
(Agulhas) ในประเทศแอฟริกาใต
ทิศตะวันออก ติดกับทะเลแดง ในมหาสมุทรอินเดีย จุดตะวันออกสุดของทวีปอยูที่แหลมฮาฟูน
ประเทศโซมาเลยี
ทศิ ตะวันตก ติดกบั มหาสมทุ รแอตแลนติก จดุ ตะวนั ตกสดุ ของทวปี อยูทแี่ หลมเวริ ดประเทศเซเนกัล

2. ลักษณะภูมิประเทศ

ลกั ษณะภูมิประเทศทวปี แอฟรกิ าสามารถแบง ออกไดเปน 3 ลักษณะดังนี้
1. เขตทร่ี าบสูง
พนื้ ทเี่ กือบทงั้ หมดของทวีปเปน ทรี่ าบสงู จนไดร บั สมญาวา เปนทวีปแหงท่ีราบสูงโดยทางซีกตะวันออก
จะสูงกวา ซกี ตะวันตก ลักษณะเดน ของบริเวณท่ีราบสูงทางภาคตะวันออกของทวปี คอื เปนพน้ื ที่ที่มี
ภูเขาสงู และภเู ขาไฟ ภูเขาไฟท่มี ีชอื่ เสียง คือ ภูเขาคิลิมันจาโร (แทนซาเนีย) และมีทะเลสาบหลายแหง เชน
ทะเลสาบวคิ ตอเรยี (ทะเลสาบนา้ํ จดื ใหญเ ปน อนั ดับ 2 ของโลก) ทะเลสาบแทนแกนยกิ าและทะเลสาบไนอะซา

28

2. เขตทร่ี าบ ทวีปแอฟรกิ ามที ่ีราบแคบ ๆ บรเิ วณชายฝง ทะเล
3. เขตเทอื กเขา

เขตเทือกเขาทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ คือ เทือกเขาแอตลาส วางตัวขนานกับชายฝงทะเล
เมดเิ ตอรเรเนยี น เปนเทอื กเขายุคใหม

เทอื กเขาทางทิศใต คอื เทอื กเขาดราเคนสเบิรก วางตัวขนานกับชายฝงมหาสมทุ รอนิ เดยี
เปนเทอื กเขายคุ เกา

แมน าํ้ แมน้ําในทวีปแอฟริกาสว นใหญเ กดิ จากทร่ี าบสงู ตอนกลาง และทางตะวันออกของทวปี ซง่ึ มีฝน
ตกชกุ เน่ืองจากพน้ื ที่ตา งระดับ แมน ้ําจึงกดั เซาะพ้ืนทใ่ี หเ กดิ เปน แกง น้ําตกขวางลําน้ํา จึงเปนอุปสรรคตอการ
คมนาคม แตส ามารถใชป ระโยชนใ นการผลติ กระแสไฟฟาไดแมนา้ํ ท่ีสําคัญ ไดแก

แมนาํ้ ไนล เปน แมน าํ้ สายที่ยาวที่สดุ ในโลก ไหลลงสูทะเลเมดิเตอรเรเนียน ประกอบดวยแควสําคัญ
คือ ไวทไนว บลไู นลและอัตบารา ปากแมน าํ้ เปน เดลตา

แมน้ําซาอีร (คองโก) เปนแมน้ําสายยาวอันดับ 2 ของทวีป และเปนที่ราบลุมแมน้ําที่กวางขวางนํ้า
ในแมน ํ้าไหลลงสมู หาสมทุ รแอตแลนตกิ

แมนํา้ ไนเจอร ไหลลงสูอาวกินี
แมนํ้าแซมเบซี ไหลลงสูม หาสมุทรอินเดีย ไหลผานที่ราบสูงและไหลเช่ียวมาก

3. ลกั ษณะภมู อิ ากาศ เขตอากาศ

ปจ จยั ที่มอี ทิ ธพิ ลตอภูมอิ ากาศของทวปี แอฟริกา
1. ละติจูด ทวีปแอฟริกามีเสนศูนยสูตรผานเกือบกึ่งกลางทวีป และต้ังอยูระหวางเสนทรอปคออฟ
แคนเซอร กบั เสนทรอปคออฟแคปรคิ อรน ทาํ ใหมีเขตอากาศรอนเปนบรเิ วณกวาง มีเฉพาะสวนเหนือสุดและ
ใตส ุดทอี่ ยใู นเขตอบอุน
2. ลมประจํา มี 2 ชนดิ คือ
ลมสินคาตะวันออกเฉยี งใต พดั จากมหาสมทุ รอนิ เดยี และมหาสมุทรแอตแลนติกทําใหฝนชุกบริเวณ
ชายฝง แอฟรกิ าตะวนั ออกและตะวนั ออกเฉียงใตกับชายฝงอาวกนิ ี
ลมสนิ คา ตะวนั ออกเฉียงเหนือ พัดจากตอนในของทวีปมาสูชายฝง จึงนําความแหงแลงมาสูชายฝง
ตะวนั ออกเฉยี งเหนือของทวปี
3. กระแสนาํ้ ไดแก
กระแสนาํ้ อุนกนิ ี ไหลผา นชายฝง ตะวันตกจากมหาสมุทรแอตแลนตกิ ไปยงั อา วกนิ ี
กระแสนํ้าเย็นคานารี ไหลเลยี บชายฝงตะวันตกเฉยี งเหนือของทวีป
กระแสน้าํ เยน็ เบงเก-ลา ไหลเลียบชายฝง ตะวนั ตกเฉียงใตของทวีป
กระแสน้ําอุนโมซมั บกิ ไหลผานบรเิ วณชอ งแคบโมซมั บิก

29

4. ระยะหางจากทะเล ดวยความกวางใหญของทวีป การมีท่ีสูงอยูโดยรอบทวีปทําใหอิทธิพลของ
มหาสมุทรเขาไปไมถ งึ ประกอบกบั ไดรับอิทธพิ ลจากทะเลทรายของทวีปเอเชยี ทางดานตะวันออกเฉียงเหนือ
ของทวปี ทาํ ใหทวปี แอฟรกิ ามเี ขตภมู ิอากาศแหง แลงเปนบริเวณกวา ง

ทวปี แอฟริกาสามารถแบงเขตอากาศไดเปน 8 เขตดังนี้

1. ภมู ิอากาศแบบทะเลทราย ไดแ ก บริเวณทะเลทรายสะฮาราและทะเลทรายลิเบียทางตอนเหนือ
ของทวีป ในเขตประเทศไนเจอร ชาด ลเิ บีย มาลี บุรกินาฟาโซ มอริเตเนีย คิดเปนพ้ืนที่รอยละ 30 ของพ้ืนที่
ในทวีปแอฟริกา และถือเปนเขตทะเลทรายที่มีขนาดใหญที่สุดในโลก ทะเลทรายท่ีสําคัญอีกแหงหนึ่ง คือ
ทะเลทรายกาลาฮารี ทางตอนใตของทวปี ในเขตประเทศบอตสวานาและนามิเบีย มีลักษณะอากาศรอนและ
แหง แลงเฉลยี่ สงู กวา 35 องศาเซลเซยี ส อุณหภูมิระหวางกลางวันและกลางคืนแตกตางกันมาก มีฝนตกนอย
เฉล่ียตํ่ากวา 250 มลิ ลิเมตรตอป

2. ภมู อิ ากาศแบบทุง หญา กง่ึ ทะเลทราย ไดแ ก บรเิ วณทีร่ าบสงู ตอนในของทวีปชายฝงตะวันตกและ
ตอนใตของเสนศนู ยส ูตร ในฤดูรอ นมอี ากาศรอนจัดและมีฝนตกแตไ มม ากนกั ประมาณ 600 มลิ ลิเมตรตอ ป ฤดู
หนาวมอี ากาศหนาวจดั บางคร้ังอาจถึงจุดเยือกแขง็

3. ภูมิอากาศแบบปาดบิ ชืน้ ไดแก บริเวณลุมแมนํ้าคองโก ท่ีราบสูงในแอฟริกาตะวันออก
ฝงตะวนั ออกของเกาะมาดากัสการ และชายฝง รอบอา วกินี มอี ากาศรอ นอุณหภูมิเฉลย่ี 27 องศาเซลเซียส
และฝนตกชุกตลอดทัง้ ปม ากถึง 2,000 มลิ ลเิ มตรตอ ป

4. ภูมิอากาศแบบทุงหญาสะวันนา ไดแก บริเวณเหนือและใตแนวเสนศูนยสูตรในเขตประเทศ
เอธโิ อเปย ซดู าน เคนยา คองโก สาธารณรฐั คองโก แทนซาเนยี และดานปลายลมของเกาะมาดากสั การ
มอี ุณหภูมิรอนเกือบตลอดท้ังป ในฤดูรอนมอี ากาศรอ นและมีฝนตกปริมาณ 1,500 – 2,000 มิลลิเมตรตอป
ฤดหู นาวมีอากาศหนาวและแหงแลง

5. ภูมิอากาศแบบเมดิเตอรเรเนียน ไดแก บริเวณชายฝงของประเทศตูนิเซีย แอลจีเรีย โมร็อกโก
และตอนใตของประเทศแอฟริกาใต มีอุณหภูมิไมแตกตางกันมากนัก ในฤดูรอนมีอากาศรอนและแหงแลง
ในฤดูหนาวมอี ากาศอบอนุ และมีฝนตก

6. ภมู ิอากาศแบบมรสุม ไดแ ก ประเทศไลบีเรยี และโกตดวิ วั ร เนื่องจากไดร ับอิทธิพลจากลมประจํา
ตะวันตกและกระแสน้ําอุนกินี สงผลใหมีฝนตกชุกประมาณ 2,500 มิลลิเมตรตอปและมีอากาศรอนชื้น
อณุ หภมู เิ ฉลีย่ 20 องศาเซลเซียส

7. ภูมิอากาศแบบอบอุนชื้น ไดแก บริเวณตะวันออกเฉียงใตของทวีป ในเขตประเทศแทนซาเนีย
แซมเบีย โมซัมบิก ซิมบับเว มาลาวี สวาซิแลนด เลโซโท และแอฟริกาใต ไดรับอิทธิพลจากกระแสน้ําอุน
โมซัมบิก และลมคา ตะวนั ออกเฉียงเหนอื ทาํ ใหฤดหู นาวมอี ากาศอบอุน ในฤดูรอนมฝี นตก

8. ภูมิอากาศแบบภูเขา ไดแก ที่ราบสูงเอธิโอเปย และท่ีราบสูงเคนยา ทางตะวันออกของทวีป
ลกั ษณะอากาศชื้นอยูกับความสูงของพืน้ ที่ ยิง่ สงู ขน้ึ อากาศจะเย็นลง และมปี ริมาณฝนตกนอ ยลง

30

4. ลักษณะเศรษฐกจิ และสภาพแวดลอ มทางสงั คมวฒั นธรรม

ลกั ษณะเศรษฐกิจ
การเกษตรกรรม
1. การเพาะปลูกแบบยงั ชีพ เปน การปลูกพชื เพือ่ บริโภคภายในครอบครวั
2. การทําไรขนาดใหญ เปน การเพาะปลูกเพอื่ การคา พืชที่ปลกู เชน ยางพารา ปาลม นา้ํ มนั
3. การเกษตรแบบผสม คอื การเพาะปลูกแบบเลี้ยงสัตวควบคูกันไป พืชท่ีปลูกคือ ขาวโพดขาวสาลี
สตั วท เี่ ลี้ยง คือ โคเน้อื โคนม แกะ
4. การเกษตรแบบเมดิเตอรเรเนียน คือปลูกองุน มะกอก บริเวณชายฝงทะเลเมดิเตอรเรเนียนและ
ตอนใตข องทวีป
5. การทําไรปศุสัตว สวนใหญจะเปนการเลี้ยงแบบปลอยคือ การปลอยใหสัตวหากินในทุงหญา
ตามธรรมชาติ
6. การเล้ยี งสตั วแบบเรรอน เปนการเล้ยี งสัตวใ นพนื้ ท่ที เี่ ปน ทะเลทราย

การปาไม

พ้นื ท่ที ่ีมคี วามสําคัญในการทําปาไม คือ แอฟริกาตะวันตก แอฟริกากลาง ปาไมสวนใหญสูญเสียไป
เนอ่ื งจากการทาํ ไรเลือ่ นลอยและการขาดการบํารงุ

การลาสัตวและการประมง

ชนพนื้ เมอื งจะดํารงชพี ดว ยการลา สัตว สวนการประมงมีความสําคัญไมมาก การประมงน้ําจืดจะทํา
ตามลุมแมนํ้าสายใหญ และทะเลสาบวคิ ตอเรยี สวนประมงนํ้าเค็มมักจะทําบรเิ วณท่ีมีกระแสนํ้าเย็นเบงเก-ลา
ไหลผา น

การทําเหมอื งแร

เปนทวปี ท่ีมีสินแรอ ยูเปนจาํ นวนมาก ทีส่ าํ คัญคือ เพชร ทองคํา นํ้ามนั กาซธรรมชาติ

การอตุ สาหกรรม

การทําอุตสาหกรรมสวนใหญในทวีปแอฟริกา เปนอุตสาหกรรมที่เก่ียวของกับการแปรรูปผลิตผล
การเกษตร การอุตสาหกรรมสวนใหญย ังไมคอยเจรญิ มากนักเน่ืองจากยังขาดเงินทุนและผูเชี่ยวชาญดานการ
พฒั นาอตุ สาหกรรม

ประชากร มีประชากรมากเปน อนั ดบั 2 รองจากทวปี เอเชยี

ประชากรหนาแนนบรเิ วณลมุ แมนาํ้ และบริเวณชายฝงทะเล ประกอบดวยเช้ือชาตินิกรอยดและ
คอเคซอยด

31

ทวปี ออสเตรเลียและโอเซียเนยี

1. ขนาดทตี่ งั้ และอาณาเขตตดิ ตอ

ทวปี ออสเตรเลียและโอเซียเนีย เปน ทต่ี ้ังของประเทศออสเตรเลีย ประเทศนิวซีแลนด ทวีปออสเตรเลีย
ไดร ับสมญานามวา ทวปี เกาะ สว นหมูเกาะแปซิฟก ซง่ึ เปนท่ตี งั้ ของประเทศ อน่ื ๆ ตอ เนอื่ งไปถงึ ทวปี แอนตารกติก
เรยี กวา โอเชียเนีย หมายถึง เกาะและหมูเกาะในภาคกลางและภาคใตข องมหาสมทุ รแปซิฟก รวมทั้งหมูเกาะ
ไมโครนเี ซยี เมลานเี ซยี โปลนี ีเซีย ออสเตรเลยี นิวซีแลนด และหมูเกาะมลายู

ทวปี ออสเตรเลยี เปนทวปี ทีม่ ีขนาดเล็กทส่ี ดุ ในโลก มพี ้ืนที่ 7.6 ลา น ตร.กม. มีประชากร 17.5 ลา นคน
ที่ตั้งของทวีปออสเตรเลียอยูในซีกโลกใตท้ังหมด ตั้งแตละติจูด ที่ 10 องศา 41 ลิปดาใต ถึง 43 องศา 39
ลิปดาใต และลองจิจดู 113 องศา 9 ลปิ ดาตะวนั ออก ถงึ 153 องศา 39 ลปิ ดาตะวนั ออก

อาณาเขตตดิ ตอ

ทิศเหนือ ติดตอกบั ทะเลเมดิเตอรเรเนียนในมหาสมทุ รแปซิฟก จดุ เหนอื สดุ ของทวีปอยูที่แหลมยอรก
มีชองแคบทอรเรสกัน้ จากเกาะนวิ กนิ ี

ทิศตะวันออก ติดกับทะเลคอรัลและทะเลแทสมันในมหาสมุทรแปซิฟก จุดดานตะวันออกสุดอยูท่ี
แหลมไบรอน

ทศิ ใต ติดกับมหาสมุทรอินเดีย จดุ ใตส ดุ อยทู ี่แหลมวิลสนั มชี องแคบบาสสก ้นั จากเกาะแทสมาเนยี
ทิศตะวนั ตก ติดกบั มหาสมทุ รอินเดยี จดุ ตะวันตกสุดอยูท่แี หลมสตีฟ

ภมู ิภาคและประเทศตาง ๆ ของทวีปออสเตรเลยี

1. ออสเตรเลีย ไดแก ออสเตรเลยี และนวิ ซแี ลนด
2. หมูเกาะในมหาสมุทรแปซิฟก ไดแก ปาปวนิวกินี หมูเกาะเซโลมอน ฟจิ วานูอาตู คิริบาส ซามัว
ตะวันตก ตองกา ตูวาลู นาอรู ู ไมโครนีเซยี

2. ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศของทวีปออสเตรเลียและโอเซียเนีย

มีเขตท่สี ูงทางดา นตะวนั ออก มฝี นตกชกุ ที่สุดของทวปี มีเทอื กเขาเกรตดไิ วดิงอยทู างดา นตะวนั ออก
มลี ักษณะเปนสนั ปนน้ําทแี่ บง ฝนทต่ี กลงใหไ หลสลู าํ ธาร เขตที่ราบตาํ่ ตอนกลาง พ้ืนทีร่ าบเรยี บ มลี าํ น้าํ หลายสาย
ไหลมาอยูบริเวณนี้ และเขตที่ราบสูงทางดานตะวันตกตอนกลางของเขตน้ีเปนทะเลบริเวณทางใตและทาง
ตะวันออกเฉยี งเหนือใชเปนเขตปศสุ ตั วและเพาะปลูก

3. ลกั ษณะภูมอิ ากาศของทวปี ออสเตรเลียและโอเซียเนีย

ปจจยั สําคัญที่ทาํ ใหท วีปออสเตรเลยี มภี ูมอิ ากาศตาง ๆ กนั คือ ตัง้ อยูในโซนรอนใตแ ละอบอนุ ใต
มีลมประจําพัดผา น ลักษณะภูมปิ ระเทศและมกี ระแสนาํ้ อุนและกระแสนา้ํ เยน็ ไหลผาน

32

ลกั ษณะภมู อิ ากาศของทวีปออสเตรเลียและโอเซียเนยี แบงเขตภูมิอากาศเปน 6 ประเภท คือ
1. ภมู อิ ากาศทงุ หญา เขตรอ น
2. ภูมิอากาศทงุ หญา กึ่งทะเลทราย
3. ภมู อิ ากาศทะเลทราย
4. ภมู อิ ากาศเมดเิ ตอรเ รเนยี น
5. ภูมิอากาศอบอนุ ช้ืน
6. ภมู ิอากาศภาคพนื้ สมทุ รชายฝง ตะวันตก

4. สภาพทางสังคม เชอ้ื ชาติ เศรษฐกจิ ศาสนาและวฒั นธรรม

ประชากร
เชื้อชาติเผาพันธุของออสเตรเลีย ชาวพื้นเมืองด้ังเดิมเปนพวกผิวดําเรียกวาอะบอริจินสเปนพวกท่ี
อพยพมาจากหมเู กาะในมหาสมุทรแปซฟิ ก สวนใหญอยูทางภาคเหนอื และภาคตะวันตกปจจุบันมี ชาวผิวขาว
ซ่ึงสวนใหญเปนชาวอังกฤษอาศัยอยูจํานวนมากรัฐบาลไดจัดท่ีอยูในเขตนอรทเทิรนเทริทอร่ี รัฐควีนสแลนด
และรัฐออสเตรเลียตะวันตก พวกผิวเหลืองเปนพวกที่อพยพมาภายหลังสงครามโลกคร้ังที่ 2 ไดแก ชาวจีน
ญ่ีปนุ พวกผวิ ขาว สว นใหญเปนพวกทอี่ พยพมาจากประเทศอังกฤษ มีการประกอบอาชีพทางดานการเกษตร
คือปลกู พืชและเลย้ี งสัตว การประมง และอตุ สาหกรรม
การกระจายประชากร
รัฐบาลออสเตรเลยี มีนโยบายสงวนพื้นท่ีไวสําหรับชาวผิวขาว คือ นโยบายออสเตรเลียขาวกีดกันผิว
โดยจาํ กัดจํานวนคนสีผวิ อนื่ ทไ่ี มใชผ วิ ขาวเขา ไปต้ังถน่ิ ฐานในออสเตรเลีย บรเิ วณทีป่ ระชากรอาศัยอยูหนาแนน
ไดแก ภาคตะวันออกเฉียงใต บริเวณที่มีประชากรเบาบาง ไดแก ตอนกลางของทวีป ภาคเหนือ และภาค
ตะวนั ตก
ศาสนา
ชาวออสเตรเลียนบั ถือศาสนาครสิ ตห ลายนกิ าย ไดแก แองกลกิ นั โรมนั คาทอลกิ โปรแตสแตนส
ภาษาที่ใชม ากคอื ภาษาอังกฤษ
การปกครอง
การแบงแยกทางการเมือง ออสเตรเลียมีระบบการปกครองแบบสหพันธรัฐประกอบดวยรัฐตาง ๆ
รวม 6 รัฐและดินแดนอสิ ระท่ไี มขน้ึ กบั รฐั ใด ๆ อีก 2 แหง คือ
1. รฐั นิวเซาทเ วล เมืองหลวง ซิดนีย
2. รัฐวิกตอเรยี เมอื งหลวง เมลเบริ น
3. รัฐควีนสแลนด เมอื งหลวง บรสิ เบรน
4. รัฐออสเตรเลยี ใต เมืองหลวง แอเดเลด
5. รัฐออสเตรเลยี ตะวนั ตก เมืองหลวง เพริ ธ
6. รัฐแทนสเมเนยี เมอื งหลวง โอบารต

33

ดินแดนอิสระ 2 บรเิ วณ ไดแก
นอรทเทิรนแทริทอรี เมอื งหลวง ดารว ิน
ออสเตรเลยี แคปตอลเทรทิ อรี เมอื งหลวงแคนเบอรร า ออสเตรเลยี เปน ประเทศเอกราช ในเครอื จกั รภพ

องั กฤษ มพี ระนางเจาอลซิ าเบธท่ี 2 เปนพระราชินีและเปนประมุขของประเทศ มีขาหลวงใหญเปนผูสําเร็จ-
ราชการแทนพระองค

จดั การปกครองระบอบประชาธิปไตยในรูปแบบ สหพันธรัฐการปกครองของออสเตรเลีย เปนแบบ
รฐั บาลรวม คือ มรี ฐั บาล 2 ระดบั ไดแ ก รัฐบาลกลาง รัฐบาลของรฐั

กจิ กรรมท่ี 1.1 สภาพภูมิศาสตรก ายภาพ
1. ใหบ อกลักษณะภมู ปิ ระเทศและลกั ษณะเศรษฐกจิ ของประเทศไทยและทวีปยโุ รป

ลักษณะภูมปิ ระเทศ ลกั ษณะเศรษฐกจิ

ประเทศไทย

ทวีปยโุ รป

2. ปจ จัยทมี่ ีอิทธพิ ลตอภูมอิ ากาศของทวปี อเมรกิ าใต คอื
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

3. ปจ จยั สําคัญทท่ี าํ ใหท วปี ออสเตรเลยี มีสภาพภมู ิอากาศท่ีแตกตา งกัน

..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

34

เรอื่ งท่ี 2 ลักษณะปรากฏการณท างธรรมชาติทีส่ ําคญั และ
การปองกันอันตราย

ปรากฏการณธรรมชาติ คือ การเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติ ท้ังในระยะยาวและระยะส้ัน
สภาพแวดลอมของโลกเปลี่ยนแปลงไปตามเวลา ทั้งเปนระบบและไมเปนระบบ เปนส่ิงที่อยูรอบตัวเรา
มักสงผลกระทบตอเราในธรรมชาติ การเปลย่ี นแปลงบางอยางมีผลกระทบตอเรารุนแรงมาก สาเหตุของการ
เปลี่ยนแปลงมีทั้งเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและเปนสิ่งที่มนุษยทําใหเกิดขึ้น ในเรื่องน้ีจะกลาวถึงสาเหตุและ
ลักษณะปรากฏการณท างธรรมชาตทิ ีส่ ําคญั ดงั น้ี

1) พายุ

พายุ คือ สภาพบรรยากาศที่เคลื่อนตัวดวยความเร็วมีผลกระทบตอพ้ืนผิวโลก โดยบางคร้ังอาจมี
ความเร็วท่ีศูนยกลางถึง 400 กิโลเมตร/ชั่วโมง อาณาบริเวณที่จะไดรับความเสียหายจากพายุวาครอบคลุม
เทาใดข้ึนอยกู ับความเร็วของการเคลอ่ื นตัวของพายุ ขนาด ความกวาง เสนผาศูนยกลางของตัวพายุ หนวยวัด
ความเรว็ ของพายคุ ือ หนว ยริกเตอรเ หมือนการวัดความรนุ แรงแผน ดินไหว

พายุแบงเปนประเภทใหญ ๆ คือ

1. พายุฝนฟาคะนอง มีลักษณะเปนลมพัดยอนไปมาหรือพัดเคลื่อนตัวไปในทิศทางเดียวกัน
อาจเกิดจากพายุทอี่ อนตัวและลดความรุนแรงของลมลง หรือเกิดจากหยอมความกดอากาศต่ํา รองความกด
อากาศตา่ํ อาจไมมที ิศทางทีแ่ นนอน หากสภาพการณแ วดลอมตาง ๆ ของการเกิดฝนเหมาะสม กจ็ ะเกิดฝนตก
มีลมพดั

2. พายหุ มุนเขตรอ น (Tropical cyclone) ไดแ ก เฮอรริเคน ไตฝุน และไซโคลน ซึ่งลวนเปนพายุ
หมุนขนาดใหญเชนเดียวกัน และจะเกิดขึ้นหรือเริ่มตนกอตัวในทะเล หากเกิดเหนือเสนศูนยสูตร จะมีทิศ
ทางการหมุนเวยี นทวนเขม็ นาฬกิ า และหากเกิดใตเสนศูนยสูตรจะหมุนตามเข็มนาฬิกา โดยมีช่ือตางกันตาม
สถานทเ่ี กดิ คอื

2.1 พายุเฮอรริแคน (hurricane) เปนชื่อเรียกพายุหมุนท่ีเกิดบริเวณทิศตะวันตกของ
มหาสมุทรแอตแลนติก เชน บริเวณฟลอริดา สหรัฐอเมริกา อาวเม็กซิโก ทะเลแคริบเบียน เปนตน รวมท้ัง
มหาสมทุ รแปซิฟกบรเิ วณชายฝงประเทศเม็กซิโก

2.2 พายุไตฝุน (typhoon) เปนชื่อพายุหมุนท่ีเกิดทางทิศตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟก
เหนือ เชน บริเวณทะเลจีนใต อาวไทย อาวตังเก๋ีย ประเทศญี่ปุน แตถาเกิดในหมูเกาะฟลิปปนส เรียกวา
บาเกยี ว (Baguio)

2.3 พายไุ ซโคลน (cyclone) เปนช่ือพายุหมุนท่ีเกิดในมหาสมุทรอินเดียเหนือ เชน บริเวณ
อา วเบงกอล ทะเลอาหรับ เปนตน แตถ า พายุนีเ้ กิดบรเิ วณทะเลติมอรแ ละทศิ ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ของประเทศ
ออสเตรเลยี จะเรียกวา พายุวิลลี-วลิ ลี (willy-willy)

35

2.4 พายโุ ซนรอน (tropical storm) เกิดขนึ้ เม่ือพายเุ ขตรอ นขนาดใหญออ นกําลงั ลง
ขณะเคล่อื นตัวในทะเล และความเรว็ ทีจ่ ดุ ศูนยก ลางลดลงเมอื่ เคลอื่ นเขา หาฝง

2.5 พายดุ ีเปรสชนั (depression) เกดิ ข้นึ เม่อื ความเร็วลดลงจากพายุโซนรอน ซึ่งกอใหเกิด
พายุฝนฟา คะนองธรรมดาหรือฝนตกหนัก

2.6 พายุทอรนาโด (tornado) เปนชอื่ เรยี กพายหุ มุนทเี่ กิดในทวีปอเมริกา มีขนาดเนื้อที่เล็ก
หรือเสน ผาศูนยกลางนอย แตหมนุ ดวยความเร็วสงู หรอื ความเร็วทีจ่ ดุ ศูนยกลางสูงมากกวา พายหุ มนุ อื่น ๆ
กอ ความเสียหายไดร ุนแรงในบรเิ วณที่พดั ผา นเกิดไดท ง้ั บนบก และในทะเล หากเกดิ ในทะเล จะเรยี กวา
นาคเลนนํ้า (water spout) บางครั้งอาจเกิดจากกลุมเมฆบนทองฟา แตหมุนตัวยื่นลงมาจากทองฟาไมถึง
พ้นื ดิน มีรูปรา งเหมอื นงวงชา ง จงึ เรยี กกันวา ลมงวง

อนั ตรายของพายุ

1. ความรุนแรงและอนั ตรายอนั เกิดจากพายไุ ตฝ ุน
เม่อื พายุทมี่ ีกาํ ลังขนาดไตฝ นุ พดั ผานที่ใดยอ มทาํ ใหเ กิดความเสียหายรา ยแรงทว่ั ไป เชน บนบกตนไม
จะลม ถอนราก ถอนโคน บา นเรือนพงั ทับผูคนในบานและทใี่ กลเคียงบาดเจ็บหรอื ตาย สวน ไรนาเสียหายหนกั
มาก เสาไฟฟาลม สายไฟฟา ขาด ไฟฟา ช็อต เกิดเพลงิ ไหมและผคู นอาจเสียชวี ติ จากไฟฟา ดูดได ผคู นทม่ี อี าคาร
พกั อาศัยอยรู มิ ทะเลอาจถกู นา้ํ พดั พาลงทะเลจมนาํ้ ตายได ดังเชน ปรากฎการณทแี่ หลมตะลุมพุก จังหวดั
นครศรธี รรมราช
ในทะเลลมแรงจัดมากคลื่นใหญ เรือขนาดใหญ ขนาดหมื่นตันอาจจะถูกพัดพาไปเกยฝงลมจมได
บรรดาเรอื เล็กจะเกดิ อนั ตรายเรือลม ไมสามารถจะตา นความรุนแรงของพายไุ ด คลน่ื ใหญซ ดั ขนึ้ ริมฝงจะทําให
ระดบั นา้ํ ข้ึนสูงมากจนทวมอาคารบานชองริมทะเลได บรรดาโปะ จบั ปลาในทะเลจะถกู ทําลายลงโดยคล่นื และลม

36

2. ความรุนแรงและอันตรายจากพายุโซนรอน
พายุโซนรอนมีความรุนแรงนอยกวาพายุไตฝุน ฉะนั้น อันตรายจะเกิดจากการท่ีพายุน้ีพัดมาปะทะ
ลดลงในระดบั รองลงมาจากพายุไตฝ ุน แตค วามรนุ แรงท่ีจะทาํ ใหความเสยี หายก็ยงั มมี ากเหมอื นกนั ในทะเลลม
จะแรงมากจนสามารถทาํ ใหเ รอื ขนาดใหญ ๆ จมได ตนไมถ อนรากถอนโคน ดังพายุโซนรอนที่ปะทะฝงแหลม
ตะลมุ พุก จังหวดั นครศรธี รรมราช
ถาการเตรียมการรบั สถานการณไมเพียงพอ ไมมกี ารประชาสมั พนั ธใ หประชาชนไดทราบ เพ่อื หลกี เลยี่ ง
ภัยอนั ตรายอยา งทั่วถงึ ไมมีวธิ กี ารดาํ เนินการทเ่ี ขม แข็งในการอพยพ การชว ยเหลอื ผปู ระสบภัยตา ง ๆ
ในระหวา งเกิดพายุ การสญู เสยี ก็ยอ มมกี ารเสยี ทัง้ ชีวิตและทรัพยสมบตั ขิ องประชาชน

3. พายุดเี ปรสช่ัน เปนพายุท่มี ีกาํ ลังออน ไมมีอันตรายรุนแรงแตทําใหมีฝนตกปานกลางท่ัวไปตลอด
ทางทพ่ี ายดุ ีเปรสชัน่ พดั ผาน และมีฝนตกหนักเปนแหง ๆ พรอ มดว ยลมกรรโชกแรงเปนครั้งคราว ซ่ึงบางคราว
จะรุนแรงจนทําใหเกิดความเสียหายได ในทะเลคอนขางแรงและคล่ืนจัด บรรดาเรือประมงเล็กขนาด
ตา่ํ กวา 50 ตนั ควรงดเวน ออกทะเลเพราะอาจจะลม ลงได และพายดุ เี ปรสช่นั นเี้ ม่ืออยูในทะเลไดรับไอน้ําหลอ
เลย้ี งตลอดเวลา และไมมีสิ่งกดี ขวางทางลมอาจจะทวกี าํ ลังขึ้นได โดยฉับพลัน ฉะน้ัน เม่ือไดรับทราบขาววามี
พายุดีเปรสช่ันข้ึนในทะเลก็อยาวางใจวาจะมีกําลังออนเสมอไปอาจจะมีอันตรายไดเหมือนกัน สําหรับพายุ
พดั จัดจะลดนอยลงเปน ลําดับ มแี ตฝนตกทัว่ ไปเปน ระยะนาน ๆ และตกไดมากถึง 100 มิลลิเมตร ภายใน 12
ชั่วโมง ซึง่ ตอ ไปกจ็ ะทาํ ใหเกดิ นาํ้ ปา ไหลบา จากภเู ขาและปา ใกลเ คียงลงมาทว มบานเรือนไดในระยะเวลาสั้น ๆ
หลังจากพายุไดผา นไปแลว

4. ความรนุ แรงและอันตรายจากพายฤุ ดรู อน
พายุฤดูรอนเปน พายทุ ี่เกิดขึน้ โดยเหตแุ ละวิธีการตางกับพายุดีเปรสช่ัน และเกิดบนผืนแผนดินที่รอน
อบอาวในฤดูรอนแตเ ปน พายทุ ม่ี บี ริเวณยอม ๆ มอี าณาเขตเพยี ง 20-30 ตารางกิโลเมตร แตอาจมีลมแรงมาก

37

ถึง 47 น็อต หรือ 87 กิโลเมตรตอชั่วโมง พายุนี้มีกําลังแรงที่จะทําใหเกิดความเสียหายไดมาก แตเปนชวง
ระยะเวลาสัน้ ๆ ประมาณ 2-3 ช่วั โมง อนั ตรายทีเ่ กดิ ขนึ้ คือ ตน ไมหักลม ทบั บา นเรอื นผคู น ฝนตกหนกั และอาจ
มีลกู เหบ็ ตกได ในกรณที ี่พายุมีกําลงั แรง

การเตรยี มการปอ งกนั อนั ตรายจากพายุ

1. ตดิ ตามสภาวะอากาศ ฟง คาํ เตอื นจากกรมอุตนุ ิยมวิทยาสม่าํ เสมอ
2. สอบถาม แจงสภาวะอากาศรอนแกก รมอตุ ุนยิ มวทิ ยา
3. ปลูกสราง ซอมแซม อาคารใหแข็งแรง เตรียมปองกนั ภยั ใหส ัตวเลี้ยงและพชื ผลการเกษตร
4. ฝกซอ มการปองกนั ภยั พิบตั ิ เตรียมพรอมรับมอื และวางแผนอพยพหากจําเปน
5. เตรียมเครอ่ื งอปุ โภค บริโภค ไฟฉาย แบตเตอรี่ วิทยกุ ระเปา ห้ิวเพ่ือตดิ ตามขาวสาร
6. เตรยี มพรอมอพยพเม่ือไดรับแจง ใหอ พยพ

2) นํา้ ทว ม

สาเหตุสาํ คัญข้ึนอยกู บั สภาพทอ งที่ และความวิปรติ ผันแปรของธรรมชาติแตใ นบางทองท่ี การกระทํา
ของมนุษยก ็มีสวนสาํ คญั และ เกดิ จากมนี ้าํ เปน สาเหตุ อาจจะเปนน้ําทวม น้ําปาหรืออื่น ๆ โดยปกติ อุทกภัย
เกิดจากฝนตกหนกั ตอ เนื่องกนั เปน เวลานาน บางครง้ั ทาํ ใหเ กิดแผนดินถลม อาจมสี าเหตจุ ากพายหุ มนุ เขตรอน
ลมมรสุมมีกําลังแรง รองความกดอากาศต่ํามีกําลังแรงอากาศแปรปรวน นํ้าทะเลหนุน แผนดินไหว เข่ือนพัง
ซ่งึ ทาํ ใหเกดิ อุทกภยั ได สาเหตุการเกิดอุทกภัยแบง ไดเปน 2 ชนดิ ดงั น้ี

2.1 จากนํา้ ปา ไหลหลากและน้ําทวมฉับพลัน เกิดจากฝนตกหนักติดตอกันหลายช่ัวโมง ดินดูดซับ
ไมท นั น้ําฝนไหลลงพน้ื ราบอยางรวดเรว็ ความแรงของนาํ้ ทาํ ลายตน ไม อาคาร ถนน สะพาน ชีวิต ทรัพยสนิ

2.2 จากน้ําทวมขงั และนา้ํ เออนอง เกิดจากนาํ้ ในแมน ้าํ ลําธารลนตล่ิง มีระดับสูงจากปกติ ทวมและ
แชขงั ทําใหก ารคมนาคมชะงัก เกดิ โรคระบาด ทาํ ลายสาธารณูปโภค และพืชผลการเกษตร

การปอ งกนั นํา้ ทว มปฏิบตั ิไดดงั น้ี

1. ตดิ ตามสภาวะอากาศ ฟง คําเตอื นจากกรมอตุ ุนิยมวทิ ยา
2. ฝก ซอ มการปองกันภัยพบิ ัติ เตรียมพรอมรับมอื และวางแผนอพยพหากจําเปน
3. เตรียมน้าํ ด่ืม เคร่ืองอุปโภค บรโิ ภค ไฟฉาย แบตเตอร่ี วทิ ยกุ ระเปาหวิ้ เพอ่ื ตดิ ตามขา วสาร
4. ซอ มแซมอาคารใหแขง็ แรง เตรยี มปองกันภยั ใหส ตั วเ ลย้ี งและพืชผลการเกษตร
5. เตรียมพรอมเสมอเมอ่ื ไดร บั แจง ใหอ พยพไปท่ีสงู เม่ืออยูในพื้นท่ีเส่ียงภัย และฝนตกหนกั ตอเน่ือง
6. ไมล งเลน น้าํ ไมขับรถผา นนาํ้ หลากแมอยูบ นถนน ถาอยูใ กลนา้ํ เตรียมเรอื เพอื่ การคมนาคม
7. หากอยใู นพ้นื ท่นี ํา้ ทวมขัง ปอ งกันโรคระบาด ระวังเร่ืองนํา้ และอาหารตอ งสุก และ สะอาดกอ น

บริโภค

38

3) แผน ดินไหว

เปนปรากฏการณ การสน่ั สะเทอื นหรอื เขยาของพ้ืนผวิ โลก สาเหตขุ องการเกิดแผน ดนิ ไหวน้ันสวนใหญ
เกดิ จากธรรมชาติ โดยแผนดนิ ไหวบางลักษณะสามารถเกดิ จากการกระทาํ ของมนษุ ยไ ดเชน การทดลองระเบดิ
ปรมาณู การปรบั สมดลุ เนื่องจากนํ้าหนักของนํ้าท่ีกักเก็บในเขอ่ื นและแรงระเบดิ การทาํ เหมืองแร เปน ตน

การปฏบิ ตั ิปองกนั ตัวเองจากการเกดิ แผนดนิ ไหว

กอนเกิดแผน ดนิ ไหว
1. ควรมไี ฟฉายพรอ มถา นไฟฉาย และกระเปายาเตรยี มไวใ นบา น และใหท กุ คนทราบวาอยทู ่ไี หน
2. ศกึ ษาการปฐมพยาบาลเบ้อื งตน
3. ควรมีเครือ่ งมอื ดับเพลิงไวใ นบาน เชน เครื่องดับเพลงิ ถุงทราย เปนตน
4. ควรทราบตําแหนงของวาลว ปด นํา้ วาลวปด กา ซ สะพานไฟฟา สําหรับตัดกระแสไฟฟา
5. อยาวางสงิ่ ของหนักบนชน้ั หรอื หงิ้ สูง ๆ เม่ือแผน ดินไหวอาจตกลงมากเปนอนั ตรายได
6. ผกู เครอ่ื งใชหนัก ๆ ใหแนนกบั พ้ืนผนังบา น
7. ควรมกี ารวางแผนเรื่องจดุ นดั หมาย ในกรณที ่ตี องพลดั พรากจากกนั เพื่อมารวมกันอีกคร้ังในภายหลงั

ระหวา งเกิดแผน ดนิ ไหว

1. อยา ตืน่ ตกใจ พยายามควบคุมสติอยูอยา งสงบ
2. ถาอยใู นบานใหยืนหรอื หมอบอยูในสว นของบา นที่มโี ครงสรา งแขง็ แรงท่ีสามารถรับน้ําหนักไดมาก

และใหอยหู างจากประตู ระเบียง และหนา ตาง
3. หากอยูในอาคารสูง ควรตงั้ สติ และรีบออกจากอาคารโดยเร็วหนใี หห างจากส่งิ ทีจ่ ะลมทับได
4. ถาอยูในที่โลงแจง ใหอยูหางจากเสาไฟฟา และส่ิงหอยแขวนตาง ๆ ที่ปลอดภัยภายนอก คือ

ทโี่ ลงแจง
5. อยา ใช เทยี น ไมข ีดไฟ หรอื สิง่ ท่ที าํ ใหเ กดิ เปลวหรือประกายไฟ เพราะอาจมีแกส รัว่ อยูบรเิ วณนัน้
6. ถา กําลังขบั รถใหหยดุ รถและอยูภายในรถ จนกระทัง่ การส่นั สะเทอื นจะหยดุ
7. หามใชล ฟิ ทโ ดยเดด็ ขาดขณะเกดิ แผน ดินไหว
8. หากอยชู ายหาดใหอ ยูห างจากชายฝง เพราะอาจเกดิ คลืน่ ขนาดใหญซดั เขา หาฝง

หลงั เกิดแผน ดนิ ไหว

1. ควรตรวจตวั เองและคนขางเคยี งวา ไดร ับบาดเจบ็ หรอื ไม ใหทาํ การปฐมพยาบาลขั้นตน กอน
2. ควรรบี ออกจากอาคารที่เสียหายทันที เพราะหากเกดิ แผนดินไหวตามมา อาคารอาจพงั ทลายได
3. ใสรองเทาหุมสนเสมอ เพราะอาจมีเศษแกว หรือวสั ดุแหลมคมอน่ื ๆ และสงิ่ หกั พังท่มิ แทงได
4. ตรวจสายไฟ ทอ นํ้า ทอแกส ถา แกส รัว่ ใหปด วาลว ถังแกส ยกสะพานไฟ อยา จดุ ไมขดี ไฟ หรอื กอ

ไฟจนกวา จะแนใจวาไมมีแกสรัว่
5. ตรวจสอบวา แกส รวั่ ดวยการดมกลิ่นเทา นัน้ ถาไดก ล่นิ ใหเปด ประตหู นาตา งทกุ บาน

39

6. ใหออกจากบริเวณท่ีสายไฟขาด และวัสดุสายไฟพาดถึง
7. เปดวทิ ยฟุ งคาํ แนะนําฉกุ เฉิน อยาใชโ ทรศพั ท นอกจากจําเปนจริง ๆ
8. สํารวจดูความเสยี หายของทอสว ม และทอนาํ้ ท้งิ กอนใช
9. อยา เขาไปในเขตทมี่ คี วามเสียหายสูง หรืออาคารพงั

4) ปรากฏการณเรือนกระจก

คาํ วา เรอื นกระจก (greenhouse) หมายถงึ อาณาบริเวณทป่ี ด ลอ มดวยกระจกหรอื วสั ดอุ นื่ ซ่งึ มผี ล
ในการเก็บกักความรอนไวภายใน ในประเทศเขตหนาวนิยมใชเรือนกระจกในการเพาะปลูกตนไม เพราะ
พลังงานแสงอาทิตยสามารถผานเขาไปภายในไดแตความรอนที่อยูภายในจะถูกกักเก็บ โดยกระจกไมให
สะทอ นหรอื แผอ อกสูภายนอกไดท ําใหอณุ หภูมขิ องอากาศภายในอบอนุ และเหมาะสมตอ การเจรญิ เติบโตของ
พชื แตกตา งจากภายนอกที่ยังหนาวเย็น นักวิทยาศาสตรจงึ เปรียบเทียบปรากฏการณท ค่ี วามรอนภายในโลก
ถูกกับดักความรอนหรือกาซเรือนกระจก (Greenhouse gases) เก็บกักเอาไวไมใหสะทอนหรือแผออกสู
ภายนอกโลกวาปรากฏการณเ รอื นกระจก

โลกของเราตามปกติมกี ลไกควบคุมภมู ิอากาศโดยธรรมชาตอิ ยแู ลว กระจกตามธรรมชาติของโลก คือ
กา ซคารบ อนไดออกไซดและไอนาํ้ ซึ่งจะคอยควบคุมใหอุณหภูมิของโลกโดยเฉล่ียมีคาประมาณ 15 °C และ
ถา หากในบรรยากาศไมม กี ระจกตามธรรมชาตอิ ุณหภูมขิ องโลกจะลดลงเหลอื เพียง -20°C มนุษยและพืชก็จะ
ลมตายและโลกก็จะเขา สยู ุคนาํ้ แข็งอกี ครัง้ หนง่ึ

สาเหตสุ ําคัญของการเกดิ ปรากฎการณเรอื นกระจกมาจากการเพิ่มขึ้นของกาซเรือนกระจกประเภท
ตา ง ๆ ไดแก คารบ อนไดออกไซด (CO2) ไอน้ํา (H2O) โอโซน (O3) มีเทน (CH4)ไนตรัสออกไซด (N2O) และ
คลอโรฟลอู อโรคารบอน (CFCs) ในสวนของกาซคารบอนไดออกไซดจะเกดิ การหมนุ เวยี นและรักษาสมดลุ
ตามธรรมชาติ ปญหาในเรื่องปรากฏการณเ รอื นกระจกจะไมส ง ผลกระทบท่รี ุนแรงตอมนษุ ยช าตโิ ดยเด็ดขาด

แตปญหาทโ่ี ลกของสงิ่ มีชวี ติ กําลงั ประสบอยใู นปจจุบันก็คือ ปริมาณกา ซเรอื นกระจกทอี่ ยูในบรรยากาศ
เกดิ การสูญเสียสมดลุ ขึน้ ปรมิ าณความเขมของกา ซเรือนกระจกบางตัว เชน คารบอนไดออกไซด มเี ทน ไนตรัส
ออกไซดแ ละคลอโรฟลอู อโรคารบ อนกลบั เพิ่มปรมิ าณมากขนึ้ นับตัง้ แตเ กดิ การปฏิวัตอิ ุตสาหกรรม (industrial
revolution) หรือประมาณป พ.ศ. 2493 เปนตน มา

กิจกรรมตา ง ๆ ทท่ี ําใหเ กิดการเพิ่มข้ึนของกาซเรือนกระจกมีดังน้ีคือ 57% เกิดจากการเผาไหมของ
เช้ือเพลิงฟอสซิล (นํ้ามันเชื้อเพลิง ถานหินและกาซธรรมชาติ) 17% เกิดจากการใชสารคลอโรฟลูออโร
คารบ อน 15% เกดิ จากการผลิตในภาคเกษตรกรรม 8% เกดิ จากการตัดไมทําลายปา สวนอีก 3% เกิดจาก
การเปลี่ยนแปลงตามธรรมชาติ

นักวิทยาศาสตรท่ัวโลกไดต ิดตามการเพิ่มข้นึ ของปรมิ าณกาซเรือนกระจก โดยการใชวิทยาศาสตรและ
เทคโนโลยีอนั ทนั สมัย เชน การใชดาวเทียมสํารวจอากาศและสามารถสรปุ ไดว าในแตละปส ดั สว นของกา ซเรอื น
กระจกที่ถูกปลอยออกจากโลก โมเลกุลของคารบอนไดออกไซดจะมีผลตอการตอบสนองในการเก็บกัก
ความรอนนอยมาก แตเน่ืองจากปริมาณของคารบอนไดออกไซดที่เกิดจากกิจกรรมตาง ๆ ของมนุษยมีมาก

40

ที่สดุ ดังน้ัน หัวใจสาํ คัญของการแกป ญ หาจงึ ตอ งมงุ ประเด็นตรงไปทกี่ ารลดปริมาณคารบ อนไดออกไซด ซ่ึงเกิด
จากการเผาไหมข องเช้ือเพลงิ ฟอสซิลกอ นเปน อนั ดับแรก ตอ จากนั้นจึงคอ ยลดและเลิกการใชค ลอโรฟลอู อโร-
คารบอนรวมถึงการควบคมุ ปริมาณของมีเทนและไนตรสั ออกไซดทจี่ ะปลอ ยข้นึ สูบรรยากาศ

ผลกระทบตอ มนุษยชาติจากการเกิดปรากฎการณเรอื นกระจก

จากการคาดการณของนกั วิทยาศาสตร อณุ หภูมโิ ดยเฉลีย่ ของโลกสูงขึ้นถึงแมการเพ่ิมสูงขึ้นจะแสดง
ออกมาเปนตัวเลขเพียงเล็กนอย แตอาจสงผลกระทบที่รุนแรงตอโลกของสิ่งมีชีวิต เพราะการเปล่ียนแปลง
อณุ หภูมเิ ฉลีย่ ของโลกดังทเี่ กิดขึ้นในปจ จบุ นั ทําใหค วามแตกตางระหวางอุณหภมู บิ ริเวณเสน ศนู ยสตู รกบั บรเิ วณ
ขวั้ โลกลดนอยลงทําใหเกดิ ความผนั ผวนขนึ้ ในอณุ หภมู ิอากาศของโลก เชน แนวปะทะระหวางอากาศรอนกับ
อากาศเยน็ ของลมเปลย่ี นไปอยางมากเกิดสภาวะความกดอากาศต่ํามากขน้ึ ทําใหม ลี มมรสมุ พัดแรง เกดิ ลมพายุ
ชนิดตาง ๆ เชน พายุโซนรอน ใตฝุน ดีเปรสชั่นและทอรนาโดขึ้นบอย ๆ หรืออาจเกิดฝนตกหนักผิดพ้ืนท่ี
สมดุลทางธรรมชาติจะเปลี่ยนแปลงไปทําใหเกิดภัยธรรมชาติ เชน ดินถูกน้ําเซาะพังทลายหรือเกิดอุทกภัย
เฉียบพลนั เปน ตน

นอกจากนนี้ กั วิทยาศาสตรย งั มีความเชื่อวาหากอุณหภูมิเฉล่ียของโลกสูงมากจะทําใหน้ําแข็งบริเวณ
ข้ัวโลกละลาย นํ้าในทะเลและมหาสมทุ รจะเพ่มิ ปรมิ าณและทวมทนทําใหเกาะบางแหงจมหายไป เมืองท่ีอยู
ใกลช ายทะเลหรือมรี ะดบั พืน้ ทตี่ าํ่ เชน กรงุ เทพฯ จะเกิดปญหานํ้าทวมข้ึนและถานํ้าแข็งบริเวณขั้วโลกละลาย
อยา งตอเน่ือง ก็จะสง ผลใหระดับน้าํ ทะเลท่ัวโลกเพ่มิ สูงขน้ึ อกี สามเมตรหรอื มากกวานัน้ ซง่ึ หมายถึงอทุ กภัย
ครั้งใหญจะเกิดข้ึนในโลกอยางแนนอน จากเอกสารของโครงการสิ่งแวดลอมขององคการสหประชาชาติ
ไดประมาณการณวาอุณหภูมิเฉลี่ยของโลกอาจสูงขึ้น 2 ถึง 4°C และระดับน้ําทะเลอาจสูงขึ้น 20-50
เซนติเมตร ในระยะเวลาอีก 10 – 50 ปนบั จากปจจุบัน

มาตรการปอ งกันผลกระทบจากการเกิดปรากฎการณเ รอื นกระจก

หลกั จากที่เราไดทราบมูลเหตุแหง การเกิดปรากฎการณเ รือนกระจกแลว ขอ สรุปที่ดีท่ีสุดในการแกไข
ปญ หา คอื การลดปรมิ าณกาซเรอื นกระจกท่ีจะถูกปลอยออกสบู รรยากาศใหอยูในสัดสวน และปริมาณท่ีนอย
ที่สดุ เทา ทีจ่ ะกระทําได การรักษาระดบั ความหนาแนนของกา ซเรือนกระจกในบรรยากาศท่ที ว่ั โลกกําลังปฏิบัติ
มีหลายวิธี ยกตัวอยางเชน มาตรการของ IPCC (Intergovermental Panel on Climate Change)
ซ่งึ ประมาณการณเอาไววาการรักษาระดับความหนาแนนของกาซเรือนกระจกในบรรยากาศใหอยูในระดับ
เดยี วกับปจ จบุ นั จะตอ งลดการปลดปลอ ยกาซเรอื นกระจกจากการกระทาํ ของมนษุ ยใหตาํ่ ลงจากเดมิ 6% และ
ไดเ สนอมาตรการตาง ๆ ดังน้ี

1. สงเสรมิ การสงวนและการใชพลงั งานอยางมปี ระสิทธิภาพสูงสุดดังจะยกตัวอยางในบานเมืองของ
เราก็เชน การใชเครื่องไฟฟาที่มีสลากประหยัดไฟ หรือการเลือกใชหลอดฟลูออเรสเซนต ชนิดหลอดผอม
เปนตน

41

2. หามาตรการในการลดปริมาณคารบอนไดออกไซด เชน กําหนดนโยบายผูทําใหเกิดมลพิษตอง
เปนผูรับผิดชอบคาใชจาย ในการบําบัดในบางประเทศมีการกําหนดใหมีการเก็บภาษีผูท่ีทําใหเกิดกาซ
คารบ อนไดออกไซดใ หม ากข้นึ ทัง้ นี้จะสงผลตอ การประหยดั พลงั งานของประเทศทางออ มดวย

3. เลิกการผลิตและการใชคลอโรฟลูออโรคารบอน (CFCs) รวมท้ังคนหาสารอื่นมาทดแทนคลอโร
ฟลอู อโรคารบ อน ในบางประเทศกาํ หนดใหใชไ ฮโดรฟลูออโรคารบอน(HFCs) แทน สําหรับประเทศไทยของ
เรามีการสงเสริมการสรางคานิยมในการใชสเปรย และอุปกรณที่อยูในประเภทที่ปราศจากคลอโรฟลูออโร
คารบ อน (Non-CFCs) เปน ตน

4. หนั มาใชเ ชอื้ เพลิงท่กี อ ใหเ กดิ คารบ อนไดออกไซดใ นปรมิ าณทนี่ อ ยกวาเมือ่ เทียบกบั คาพลังงานท่ีได
เชน การกอสรา งโครงการรถไฟฟาของกรุงเทพมหานครจะชว ยลดการใชนาํ้ มนั เชอ้ื เพลิงจากการขนสงมวลชน
ในแตล ะวันไดอ ยา งดีและประสิทธิภาพที่สุด

5. สนับสนุนการวิจัยเกี่ยวกับแหลงพลังงานทดแทนอ่ืน ๆ เชน พลังงานแสงอาทิตยและพลังงาน
นวิ เคลยี รใ หเ กดิ เปน รปู ธรรมและไดรบั ความเช่ือมั่นจากประชาชนวาจะไมกอใหเกิดมหันตภัยมวลมนุษยชาติ
ดงั ท่ีเกดิ ข้ึนในเชอรโนบวิ ล

6. หยุดย้ังการทําลายปาไมและสนับสนุนการปลูกปาทดแทน สําหรับในประเทศไทยการรณรงค
ในเรือ่ งการปลูกปา เฉลมิ พระเกียรตินับเปนโครงการที่นาสนบั สนนุ อยา งมาก

5) ภาวะโลกรอ น

ภาวะโลกรอ น หมายถงึ การเปล่ียนแปลงภูมิอากาศทเี่ กิดจากการกระทําของมนุษย ท่ีทําใหอุณหภูมิ
เฉลยี่ ของโลกเพม่ิ สงู ขึน้ เราจึงเรียกวา ภาวะโลกรอ น (Global Warming) กิจกรรมของมนุษยท ี่ทําใหเกิดภาวะ
โลกรอนคือ กิจกรรมที่ทาํ ใหป รมิ าณกาซเรอื นกระจกในบรรยากาศเพมิ่ มากขนึ้ ไดแก การเพม่ิ ปริมาณกาซเรอื น
กระจกโดยตรง เชน การเผาไหมเชื้อเพลิง และการเพิ่มปริมาณกาซเรือนกระจกโดยทางออม คือ การตัดไม
ทาํ ลายปา

หากไมมีการชว ยกนั แกไขปญหาโลกในวนั น้ี ในอนาคตจะสงผลกระทบดงั น้ี
1. ทําใหฤดูกาลของฝนเปลี่ยนแปลงไป กระบวนการระเหยและการกล่ันตัวจะเร็วข้ึน หมายถึงวา
ฝนอาจจะตกบอ ยขนึ้ แตน ้าํ จะระเหยเร็วขน้ึ ดว ย ทําใหด ินแหงเร็วกวาปกตใิ นชว งฤดกู าลเพาะปลูก
2. ผลผลิตทางการเกษตรจะลดลง นอกจากผลกระทบโดยตรงจากอุณหภูมิ ฝน ชวงระยะเวลาฤดูกาล
เพาะปลกู แลว ยังเกิดจากผลกระทบทางออ มอีกดว ย คอื การระบาดของโรคพชื ศตั รพู ชื และวชั พชื
3. สตั วน ํา้ จะอพยพไปตามการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิน้าํ ทะเล แหลงประมงท่ีสาํ คัญ ๆ ของโลกจะ
เปลยี่ นแปลงไป
4. มนุษยจะเสียชีวิตเนื่องจากความรอนมากขึ้น ตัวนําเช้ือโรคในเขตรอนเพิ่มมากข้ึน ปญหาภาวะ
มลพิษทางอากาศภายในเมอื งจะรนุ แรงมากข้ึน

42

วิธีการลดภาวะโลกรอน มี 10 วธิ ีดงั น้ี

1. ลดการใชพลงั งานทไี่ มจาํ เปน จากเคร่ืองใชไฟฟา เชน เครอื่ งปรับอากาศ พัดลม หากเปนไปไดใชวิธี
เปดหนา ตา ง ซึ่งบางชว งท่ีอากาศดี ๆ สามารถทาํ ได เชน หลังฝนตก หรือชว งอากาศเยน็ เปนการลดคาไฟ และ
ลดความรอ น เนือ่ งจากหลกั การทาํ ความเยน็ น้ันคอื การถา ยเทความรอนออก ดังนั้นเวลาเราใชเครื่องปรับอากาศ
จะเกดิ ปริมาณความรอนบรเิ วณหลงั เครื่องระบายความรอน

2. เลอื กใชระบบขนสง มวลชน ในกรณที ่สี ามารถทาํ ได ไดแก รถไฟฟา รถตู รถเมล เนื่องจากพาหนะ
แตละคัน จะเกิดการเผาผลาญเช้ือเพลิง ซ่ึงจะเกิดความรอน และกาซคารบอนไดออกไซด ดังนั้นเมื่อลด
ปรมิ าณจาํ นวนรถ ก็จะลดจํานวนการเผาไหมบ นทองถนน ในแตละวันลงได

3. ชวยกันปลูกตน ไม เพราะตนไมจ ะคายความชุมช้ืนใหกับโลก และชวยดูดกาซคารบอนไดออกไซด
ซึง่ เปนสาเหตภุ าวะเรือนกระจก

4. การชวนกนั ออกไปเที่ยวธรรมชาตภิ ายนอก กช็ วยลดการใชปรมิ าณไฟฟา ได
5. เวลาซ้ือของพยายามไมรับภาชนะที่เปนโฟม หรือกรณีที่เปนพลาสติก เชน ขวดนํ้าพยายามนํา
กลับมาใชอ ีก เน่อื งจากพลาสตกิ เหลา น้ีทาํ การยอ ยสลายยาก ตองใชปริมาณความรอน เหมือนกับตอนท่ีผลิต
มนั มา ซงึ่ จะกอใหเ กดิ ความรอนกับโลกของเรา เราสามารถนาํ กลับมาใชเปน ภาชนะใสนํ้าแทนกระติกน้ํา หรือ
ใชปลกู ตนไมก ็ได
6. ใชกระดาษดวยความประหยดั กระดาษแตละแผน ทาํ มาจากการตัดตนไม ซึ่งเปนเสมือนปราการ
สําคญั ของโลกเรา ดงั นั้นการใชกระดาษแตละแผนควรใชใหประหยัดท้ังดานหนาหลัง ใชเสร็จควรนํามาเปน
วัสดรุ อง หรอื นาํ มาเชด็ กระจกกไ็ ด นอกจากนก้ี ารนาํ กระดาษไปเผาก็จะเกิดความรอนตอ โลกเราเชนกนั
7. ไมสนับสนุนกิจการใด ๆ ท่ีส้ินเปลืองทรัพยากรของโลกเรา และควรสนับสนุนกิจการที่มีการ
คาํ นึงถึงการรักษาส่ิงแวดลอม

กิจกรรมท่ี 1.2 ลักษณะปรากฏการณท างธรรมชาติทสี่ ําคัญและการปองกันอันตราย

1. ปรากฏการณเ รอื นกระจกคืออะไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................


Click to View FlipBook Version