The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงาน กศน.

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by maw.nfe, 2020-04-21 22:21:48

สังคมศึกษา สค31001 ม.ปลาย

กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงาน กศน.

193

3. สถาบนั ทเ่ี กย่ี วของกบั การแลกเปลี่ยน ไดแก
1) คนกลาง (Middleman) หมายถึง ผูทําหนาที่เปนส่ือกลางระหวางผูผลิตกับผูบริโภค เชน

พอคาขายปลีก พอคาเรตาง ๆ เปนตน คนกลางมีประโยชนทําใหผูบริโภคไดใชสินคาและบริการตามความ
ตองการแตถ าคนกลางเปน ผูเอาเปรียบผบู รโิ ภคมากเกนิ ไปจะทําใหประชาชนเดอื ดรอน

2) ธนาคาร (Bank) คือ สถาบันการเงินที่ใหความสะดวกในดานการแลกเปลี่ยน ธนาคารทํา
หนาท่เี ปน ตวั กลางระหวางผอู อมและผลู งทนุ

3) ตลาด (Market) ในทางเศรษฐศาสตร หมายถึง กระบวนการแลกเปลี่ยนซ้ือขายสินคาและ
บรกิ าร ไมไดหมายถึงสถานท่ีทําการซ้ือขายสนิ คา แตเปนสถานทใ่ี ด ๆ ทส่ี ามารถติดตอซ้ือขายกันได อาจจะมี
หลายรูปแบบ เชน ตลาดขา ว ตลาดหนุ ตลาดโค กระบอื เปนตน หนา ทีส่ ําคัญของตลาด ไดแก

3.1) การจัดหาสินคา (Assembling) คอื จัดหา รวบรวมสินคา และบริการมาไวเพื่อจําหนาย
แกผตู อ งการซ้ือ

3.2) การเก็บรักษาสนิ คา (Storage) คอื การเกบ็ รกั ษาสนิ คา ท่ีรอการจาํ หนา ยแกผตู องการซอ้ื
หรือเกบ็ เพื่อการเก็งกาํ ไรของผูข าย เชน โกดัง หรอื ไซโลเก็บพืชผลตาง ๆ เปน ตน

3.3) การขายสินคา และบรกิ าร (Selling) ทาํ หนา ที่ขายสนิ คาและบรกิ ารแกผูต องการซอ้ื เชน
รานคาปลกี หา งสรรพสินคา ตลาดสด เปนตน

3.4) การกําหนดมาตรฐานของสินคา (Standardization) ทําหนาที่กําหนดมาตรฐานของ
สินคาท่นี าํ มาเสนอขายในดานของนํ้าหนกั ปริมาณและคณุ ภาพ เพือ่ ใหผ ซู ือ้ เกดิ ความไววางใจในสินคาที่นํามา
เสนอขาย

3.5) การขนสง (Transportation) ระบบการขนสงทําหนาท่ีสงสินคาที่นํามาแลกเปล่ียนซ้ือ
ขายกนั การขนสงมคี วามสําคญั เพราะทุกขั้นตอนของการผลิตจะตองผานกระบวนการขนสงทง้ั สน้ิ

3.6) การยอมรับการเสี่ยงภัย (Assumtion of Risk) ตลาดจะยอมรับการเสี่ยงภัยตาง ๆ
อนั อาจเกดิ ข้ึนจากการแลกเปล่ียนซอ้ื ขาย อาทิ ความเสยี่ งภยั เกี่ยวกบั สนิ คาสญู หายหรอื เสอ่ื มภาพ เชน สินคา
การเกษตร ยารักษาโรค อาหาร เปนตน

3.7) การเงิน (Financing) ตลาดทําหนาที่รับจายเงินในข้ันตอนตาง ๆ ของการซื้อขาย
ตลอดจนการจัดหาทนุ หมุนเวียนและสนิ เชือ่ ตาง ๆ เพือ่ การดําเนนิ ธรุ กิจเกย่ี วกับการแลกเปล่ยี นซ้อื ขาย

ในการแขงขนั ตลาดแบง ออกเปน 2 ลกั ษณะคือ
1) ตลาดท่ีมีการแขงขันท่ีไมสมบูรณ (Imperfect Competitive Market) เปนตลาดที่พบอยู

โดยทวั่ ไปในประเทศตา ง ๆ ลักษณะสาํ คญั ของตลาดชนิดน้ีคือ มักมีการจํากัดอยางใดอยางหน่ึงที่ทําใหผูขาย
หรือผซู ื้อมอี ิทธพิ ลตอการกําหนดราคาหรือปริมาณได ตลาดที่มีการแขงขันไมสมบูรณแบงออกเปน 3 แบบ
ไดแก

1.1) ตลาดก่ึงแขงขันก่ึงผูกขาด (Monopolistic Comtetition) คือ ตลาดที่มีผูซื้อขาย
จาํ นวนมาก สนิ คา ของผูขายแตล ะรายจะมคี วามแตกตางกันเพียงเลก็ นอยแตไมเหมอื นกนั ทุกประการ สามารถ
ท่ีจะทดแทนกนั ไดแ ตไ มอาจทดแทนกันไดอยางสมบูรณ สวนใหญจะแตกตางกันในเรื่องของการบรรจุหีบหอ

194

และเครื่องหมายการคา ในตลาดชนิดน้ีผูขายสามารถกําหนดราคาไดบางแตตองคํานึงถึงราคาของผูขาย
รายอื่น ๆ ดวย ตัวอยางของสินคาในตลาด กึ่งแขงขันกึ่งผูกขาด ไดแก ผงซักฟอก ยาสีฟน สบู ยาสระผม
แปง เด็ก เปน ตน

1.2) ตลาดผขู ายนอยราย (Oligopoly) หมายถงึ ตลาดทมี่ ผี ขู ายไมม ากนัก ผูขายแตละราย
จะมีสวนแบง ในตลาด (Market Share) มาก สนิ คาที่ซื้อขายในตลาดจะมลี กั ษณะคลา ยคลงึ กันแตไ มเหมอื นกัน
ทุกประการ เชน การผลิตนาํ้ อัดลมในประเทศไทยมีเพยี งไมกีร่ าย ถาหากผูผลติ นํ้าอัดลมรายใดลดราคาสินคา
ลงจะทําใหปรมิ าณขายของผูผลิตรายน้ันเพิ่มข้ึนและปริมาณขายของผูอ่ืนจะลดลง แตอยางไรก็ตามผูขายใน
ตลาดชนดิ นีม้ กั จะไมลดราคาแขง ขนั กนั เพราะการลดราคาเพอ่ื แยงลกู คาซึ่งกันและกันในที่สุดจะทําใหรายได
ของผูขายทกุ รายลดลงโดยที่ไมไดลูกคาเพิม่ ดงั นั้น ผขู ายมกั จะแขงขันกันดวยวิธีอ่ืน เชน การโฆษณาและการ
ปรับปรุงคุณภาพของสินคา เปนตน ตัวอยางสินคาในตลาดชนิดนี้ ไดแก น้ําดื่ม น้ําอัดลม น้ํามัน รถยนต
เปนตน

1.3) ตลาดผูกขาด (Monopoly) หมายถงึ ตลาดทม่ี ีผูขายเพียงรายเดียวสินคาท่ีซื้อขายใน
ตลาดมีคุณลกั ษณะพเิ ศษไมเ หมอื นใคร ไมสามารถหาสินคา อื่นมาทดแทนไดอ ยางใกลเ คียง เปนการผูกขาดตาม
นโยบายของรัฐบาล เชน การผลติ บหุ รี่ การออกสลากกินแบง เปนตน หรอื ขนาดของกิจการตอ งใหญม าก เชน
กจิ การรถไฟใตดิน โทรศัพท การผลิตไฟฟา เปน ตน

2) ตลาดแขง ขนั สมบรู ณ (Prefect Competitive Market) มีลกั ษณะดงั น้ี
2.1) ผูขายและผูซื้อมีจํานวนมากราย การซื้อขายของแตละรายเปนปริมาณสินคาเพียง

เล็กนอยเม่ือเทยี บกบั จํานวนซ้อื ขายทงั้ ตลาด ดังนัน้ การเปล่ยี นแปลงปรมิ าณซ้อื ขายของผูซอ้ื และผูขายรายใด
รายหนง่ึ จึงไมท าํ ใหอุปสงคข องตลาดเปลี่ยนแปลง และไมส ง ผลกระทบตอราคาตลาด

2.2) สินคามคี ุณลกั ษณะและคุณภาพใกลเคียงกันมาก (Homogeneous Product)
หมายความวา ในสายตาของผูซอ้ื เห็นวา สินคาดังกลาวของผขู ายแตล ะรายไมแ ตกตางกันจะซอื้ จากผูขายรายใด
ก็ไดต ราบเทา ที่ขายในราคาตลาด

2.3) ผผู ลิตรายใหมส ามารถเขาสตู ลาดไดโดยงา ย ขณะเดียวกันการเลิกกิจการก็สามารถทํา
ไดโดยไมมีอุปสรรคในการเขาและออกจากตลาด (Free Entry and Exit) กิจการใดที่มีกําไรสูงจะมีผูเขามา
แขง ขันมากเพอื่ จะไดมีสวนแบงในกําไรนั้น แตกิจการใดขาดทุนผูประกอบกิจการจะเลิกไปเพื่อไปประกอบ
กจิ การอยางอน่ื ที่ทํากาํ ไรมากกวา

2.4) ปจจยั การผลิตสามารถเคล่ือนยายไดโดยสมบูรณ (Perfect Mobility of factors of
Production) ปจจัยการผลติ สามารถเคลอ่ื นยายจากกจิ กรรมทีม่ ีผลตอบแทนต่ําไปยงั กิจกรรมที่มีผลตอบแทน
สูงกวาทนั ทีโดยไมต องเสียตนทุนการเคล่อื นยา ยแตอยางใด

2.5) ผซู ้อื ผูขายมขี อมลู ขา วสารสมบรู ณ (Perfect information หรอื Perfect Knowledge)
กลาวคอื ผูซ ้อื ผูขายสามารถเขาถึงขอมูลเก่ียวกบั ตลาด เชน ราคาสินคาในแตละพื้นท่ไี ดส ะดวกและเสมอภาค
กนั เปนตน

195

ในตลาดแขงขันสมบรู ณดงั กลาว การจดั สรรและการใชท รพั ยากรท่มี อี ยูอยางจํากดั รวมทั้งสินคาและ
บริการตาง ๆ จะถูกกําหนดโดยกลไกตลาด (Price Mechanism) หรือโดยปฏิสัมพันธของผูซ้ือและผูขาย
จาํ นวนมากในตลาดซึง่ ในทางเศรษฐศาสตร กค็ ืออุปสงคแ ละอปุ ทานตลาดนัน่ เอง การซอื้ ขายเปน ไปตามความ
พอใจของผซู อ้ื และผขู ายอยา งแทจ ริง

4. การแทรกแซงราคาในตลาดของรัฐบาล
ราคาสนิ คาและบริการในตลาดบางครงั้ อาจถกู แทรกแซงโดยรฐั บาลกไ็ ด ซงึ่ สามารถทาํ ไดใน 3 กรณี คือ

1) การกําหนดราคาสงู สดุ (Fixing of Maximum Prices) ในกรณที ร่ี ฐั บาลเหน็ วา สนิ คา ทจี่ ําหนา ย
จําเปนตอการครองชีพในทองตลาดเกิดการขาดแคลนและราคาสินคาสูงข้ึน ทําใหประชาชนไดรับความ
เดือดรอน รัฐบาลจะเขาควบคุมโดยกําหนดราคาสูงสุดของสินคาน้ัน ๆ เชน เน้ือสัตว น้ําตาลทราย
เปนตน

2) การประกันราคาขั้นตํ่า (Guaranteed Minimum Prices) ในกรณีที่รัฐบาลเห็นวาราคา
สนิ คาบางอยางลดตํา่ ลง จนอาจเกิดผลเสยี แกผ ผู ลิต เชน สินคา การเกษตรบางประเภทรัฐบาลจะเขาควบคุม
โดยกาํ หนดราคาข้ันตํา่ หรอื ถา ไมม ีพอ คา รบั ซ้อื รฐั บาลจะเขา รับซอื้ เอง เปนตน

3) การพยุงราคา (Price Support) เปนมาตรการที่รัฐบาลชวยใหราคาสินคาชนิดใดชนิดหน่ึง
เพิม่ สูงขึน้ เพอื่ ประโยชนของผูผลิตหรือผูขายอาจกระทําโดยการเขาแทรกแซงตลาดของรัฐบาลดวยการเขา
แขงขนั การซ้ือกับเอกชน เพ่ือขยายอุปสงค หรือการใหเงินอุดหนุนแกผูผลิตที่ลดการผลิตลงเพ่ือลดอุปทาน
ใหมีนอ ยลงกไ็ ด

กลาวไดว า การแลกเปลี่ยนเปนกิจกรรมที่สําคัญตอการกระจายสินคาและรายไดไปยังบุคคลตาง ๆ
ซ่งึ ตองอาศยั สถาบันท่ีเกี่ยวของกับการแลกเปลี่ยนหลายสถาบัน อาทิ คนกลาง ตลาด ธนาคาร และสถาบัน
อ่นื ๆ อีกมากมาย รวมทง้ั บทบาทของรัฐบาลที่จะเขา มาอาํ นวยความสะดวกใหก ารแลกเปล่ยี นดาํ เนินไปดวยดี

สรุป

การแลกเปลี่ยน หมายถึง การเปล่ียนความเปนเจาของในสินคาและบริการ โดยการโอนหรือยาย
กรรมสทิ ธิ์หรอื ความเปน เจาของระหวางบุคคลหรือธุรกิจ การแลกเปลี่ยนมีวิวัฒนาการมายาวนานต้ังแตการ
แลกสิ่งของกับสิ่งของจนถึงปจจุบันท่ีใชระบบเงินและเครดิตและอาศัยสถาบันตาง ๆ เปนตัวกลางในการ
แลกเปลี่ยน

แบบฝกหดั ทา ยบทเร่ืองท่ี 3 กระบวนการทางเศรษฐกจิ

คําส่ัง เมื่อผูเรียนศึกษา เร่ืองกระบวนการทางเศรษฐกิจแลวใหทําแบบฝกหัดตอไปน้ี โดยเขียนในสมุด
บนั ทึกกิจกรรมการเรยี นรู
แบบฝกหดั ท่ี 1 ใหผูเ รยี นศกึ ษาวเิ คราะหช่อื สินคา และประเภทของสินคาตามท่ีกําหนด แลวนําช่ือ ประเภท
สนิ คาใสท า ยชื่อสินคา ใหส ัมพันธ / สอดคลอ งกัน

196

ก. สินคาไรราคา (Free Goods)
ข. สินคา เศรษฐทรพั ย (Economic Goods)
ค. สินคาสาธารณะ (Public Goods)

1. นาํ้ ทะเล ......................................................................................
2. ผลไม ......................................................................................
3. โทรศพั ท ......................................................................................

4. รถยนต ......................................................................................
5. ขยะ ......................................................................................
7. ปลาทตู วั เลก็ ......................................................................................

8. กองทพั แหง ชาติ ......................................................................................
9. ขาวสารชนดิ 25% ......................................................................................
10. แสงแดด ......................................................................................

แบบฝก หัดที่ 2 ใหผเู รยี นตอบคาํ ถามตอไปน้ี
1. การผลติ หมายถึง อะไร

…………………………………………………………………………………………………….…………..…………………
2. ปจ จยั การผลิต ไดแกอะไรบาง

………………………………………………………………………………………………………………..…………………

3. ลาํ ดบั ข้นั การผลติ มกี ีล่ าํ ดับขั้น ไดแ กอะไรบาง
………………………………………………………………………………………….……………………….………………
………………………………………………………………………………………………………………..……………......

4. สินคา มีกี่ประเภท อะไรบา ง
.........................................................................................................................………....
.........................................................................................................................………....

5. สิ่งกําหนดการผลิตไดแกอะไรบาง
……………………………………………………………………………………………………………………..…………
…………………………………………………………………………………………………..……………………………

6. ประเภทของหนวยธรุ กจิ ไดแกอ ะไรบา ง
………………………………………………………………………………………………………..………………...……
…………………………………………………………………………………………………..……………………………

197

7. การแบง สรร หมายถงึ อะไร
……………………………………………………………………………………………………………………..…………
…………………………………………………………………………………………………..……………………………

8. การแบง สรรมีกีป่ ระเภท อะไรบาง
………………………………………………………………………………………………………..………………………
…………………………………………………………………………………………………..……………………………

9. ความแตกตา งในดา นรายไดข องคนเราเกิดจากอะไร
………………………………………………………………………………………………………..………………………
…………………………………………………………………………………………………..……………………………

แบบฝก หัดที่ 3 ใหผูเรยี นอา นขอ ความทกี่ าํ หนดใหแ ลว ตอบคําถาม
อปุ สงค (Demand) หมายถงึ ความตอ งการของผูบ ริโภคในการท่ีจะบริโภคสินคาอยางใด อยางหนึ่ง

ดว ยเงินที่เขามอี ยู ณ ราคา และเวลาใดเวลาหนึ่ง เปน ความตอ งการทีผ่ ซู ้อื ตอ งการและเต็มใจท่จี ะซอ้ื สนิ คา

อุปทาน (Supply) หมายถงึ ปรมิ าณการเสนอขายสินคา ณ ราคาหนง่ึ ตามความตอ งการของผูซอื้ เปน
สภาพการตดั สินใจของผขู ายวาจะขายสนิ คา จํานวนเทาใด ในราคาเทา ใด

ใหผเู รียนพจิ ารณาตารางแสดงอุปสงค อุปทานของลําไยในตลาดแหง หนึ่ง แลว ตอบคําถาม

ตารางราคาลําไย

ราคา (บาท) ปริมาณซ้อื (Demand) ปริมาณจา ย (Supply)
(กก.) (กก.)
30 20 80
25 35 65
20 50 50
15 65 35
10 80 20

198

คําถาม
1. ราคาสินคา จะสงู หรือตาํ่ ขึน้ อยูกบั

....................................................................................................................
2. เพราะเหตุใดลาํ ไยราคากโิ ลกรมั ละ 30 บาท ผซู อื้ จึงตองการซื้อนอ ย

....................................................................................................................

3. ณ ราคาเทาใดที่ผูข ายตอ งการขายลําไยนอ ยทส่ี ุด
....................................................................................................................

4. ลาํ ไยราคา 20 บาท เรียกวา

....................................................................................................................
5. ปริมาณลาํ ไย 50 กิโลกรัม เรียกวา

....................................................................................................................

แบบฝก หดั ที่ 4 ใหผ เู รยี นศึกษาปจ จัยการผลิตและผลตอบแทนตอ ไปน้แี ลว ตอบคําถามท่กี ําหนดให

ในการผลติ สนิ คา จะตองอาศยั ปจ จัยการผลิต 4 อยา ง คอื
1. ที่ดิน (Land) หมายถงึ ทรพั ยากรธรรมชาตทิ ุกชนดิ มผี ลตอบแทนเปนคา เชา
2. แรงงาน (Labour) หมายถงึ ความมานะพยายามของมนษุ ยท ัง้ ทางกายและทางสมองมผี ลตอบแทน
เปน คา จา ง
3. ทนุ (Capital) หมายถึง สนิ คาประเภททนุ หรือเคร่ืองมือในการผลติ มผี ลตอบแทนเปน ดอกเบย้ี
4. ผูประกอบการ (Entrepreneurship) หมายถึง การจัดต้ังองคการเพ่ือผลิตสินคาและบริการ
มผี ลตอบแทน คอื กาํ ไร

ใหผ ูเ รียนแสดงผลตอบแทนของปจ จัยการผลติ แตละชนดิ

ปจ จยั การผลติ ผลตอบแทนของปจจยั การผลิต

1. ที่ดนิ

2. แรงงาน

3. ทุน

4. ผปู ระกอบการ

199

เรอ่ื งท่ี 4 แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหงชาติ

1. ความหมายและความสาํ คญั ของการพัฒนาเศรษฐกิจ
การพัฒนาเศรษฐกิจ หมายถึง การเปล่ียนแปลงโครงสรา งทางสงั คม การเมอื ง และเศรษฐกิจใหอยู

ในภาวะทีเ่ หมาะสม เพ่อื ทําใหร ายไดทแี่ ทจริงเฉล่ียตอบุคคลเพ่ิมข้ึนอยางตอเน่ือง อันเปนผลทําใหประชากร
ของประเทศมีมาตรฐานการครองชพี สงู ขนึ้

การพัฒนาเศรษฐกจิ ของแตละประเทศ จะมจี ดุ มุงหมายทแ่ี ตกตางกัน ท้งั น้ีเนอ่ื งจากทรัพยากร
การผลิต สภาพภูมิศาสตร ตลอดจนพ้ืนฐานทางวัฒนธรรมไมเหมือนกัน แตอยางไรก็ตาม ในแตละประเทศ
ยังคงมีจดุ มงุ หมายท่ีเหมอื นกันประการหน่ึง คือ มุงใหเกิดความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอยางมีเสถียรภาพ
เพื่อใหป ระชากรของประเทศอยูดกี ินดนี น่ั เอง

การพัฒนาเศรษฐกิจ หากทาํ ไดผลดียอ มสงผลใหประเทศมีฐานะทางเศรษฐกิจดีข้ึน ประชาชนมี
ความเปนอยสู ุขสภาพในทางตรงกันขาม หากการพฒั นาเศรษฐกิจไมไ ดผลหรอื ไมไ ดร ับการเอาใจใสอ ยา งจริงจัง
ฐานะทางเศรษฐกจิ ของประเทศก็จะทรดุ โทรมลง และประชาชนมีความเปนอยูแรนแคน มากขึน้

สาํ หรบั การพัฒนาเศรษฐกจิ ของประเทศไทยน้ันไดมีการพัฒนาอยางตอเน่ืองและใหความสําคัญ
มาก โดยเฉพาะอยางย่งิ การวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจ โดยจะเหน็ ไดจากการกําหนดให มีหนวยงานรับผิดชอบ
ในการจัดทําแผน คือ สาํ นกั งานคณะกรรมการพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ซ่ึงในปจจุบันประเทศไทย
มีแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติทัง้ หมด 11 ฉบับ

2. ปจ จยั ทีเ่ กีย่ วของกบั การพัฒนาเศรษฐกจิ
ปจ จยั ทีเ่ ก่ียวของกับการพัฒนาเศรษฐกิจมี 4 ประการ คือ ปจจัยทางเศรษฐกิจ ปจจัยทางการเมือง

ปจ จยั ทางสังคม และปจจยั ทางเทคโนโลยี ซ่ึงปจจยั ดังกลา วมรี ายละเอยี ดดังน้ี
2.1 ปจ จยั ทางเศรษฐกิจ ปจจัยทางเศรษฐกิจที่มีผลใหเกิดการเพ่ิมข้ึนของรายไดตอบุคคลมี 4

อยาง คอื
1) การสะสมทุน การสะสมทนุ จะเกดิ ขึ้นไดใ นกรณีทมี่ รี ายไดประชาชาติสูงขึ้น ซึ่งทําใหเกิด

เงินออมและเงินลงทนุ เพมิ่ ขนึ้ ซ่งึ เม่อื มกี ารสะสมทนุ ขึ้นแลว กจ็ ะมผี ลตอการเพ่มิ การผลติ และรายไดตอบุคคล
ตามมา

2) การเพิม่ จํานวนประชากร ในปจจุบันน้ันการเพ่ิมจํานวนประชากรกอใหเกิดผลเสียทาง
เศรษฐกิจอยา งมาก โดยเฉพาะอยางย่ิงการผลิตจะมีประสิทธิภาพต่ําลงเนื่องจากมีการใชทรัพยากรธรรมชาติ
กันมากขนึ้ ซ่งึ มผี ลทําใหทรัพยากรเสื่อมคุณภาพและทรัพยากรบางอยาง ก็ไมสามารถงอกเงยมาทดแทนได
นอกจากน้เี มอื่ มีประชากรเพ่ิมข้นึ ทําใหรฐั บาลตอ งเสียคาใชจา ย ดา นสวัสดิการเพิ่มขึ้น เชน คาใชจายดานการ
จดั การศกึ ษา การสาธารณสุขและการสาธารณูปโภค เปนตน นอกจากรัฐบาลจะตองเสียคาใชจายดังกลาว
แลว ยงั มีปญ หาอยา งอื่นตามมาอกี เชน ปญหาดานการจราจร ปญ หาดานมลพษิ ฯลฯ

3) การคนพบทรพั ยากรใหม ๆ ทําใหเ กิดโอกาสใหม ๆ ในการผลิต รวมท้ังมีผลทําใหมีการ
ลงทุนเพม่ิ ขน้ึ และสงผลในการเพิม่ ขนึ้ ของผลผลิตเพือ่ ใหป ระชาชนไดบ รโิ ภคมากข้นึ

200

4) ความกาวหนา ทางเทคโนโลยจี ากความกา วหนาทางเทคโนโลยีในปจจุบัน จะเห็นไดวามี
การนาํ เคร่อื งจกั รมาใชในการผลิต ดังนนั้ จึงทําใหมีความสามารถในการผลิตไดมาก ปริมาณผลผลิตก็เพิ่มข้ึน
และเปนไปอยางสมาํ่ เสมอ ประการท่ีสําคญั ชว ยลดตนทนุ ในการผลิตไดเ ปน จํานวนมากอีกดวย

2.2 ปจจยั ทางการเมือง
ปจจัยทางการเมืองนับวามีผลตอการพัฒนาเศรษฐกิจมากดวยเชนกัน โดยเฉพาะในดาน

นโยบายและความมน่ั คงการปกครอง การเปล่ยี นแปลงรัฐบาลบอ ย ๆ หรอื การยดึ อํานาจ โดยรฐั บาลเผด็จการ
จะมสี วนทําใหเกิดปญ หาดานการผลติ ตางชาตไิ มส ามารถเขาไปลงทนุ ดา นการผลิตได นอกจากนอี้ งคก รธุรกจิ
ภายในประเทศเองกอ็ าจตอ งหยุดซะงกั ตามไปดวย

2.3 ปจ จยั ทางสงั คม
ปจ จัยทางสังคมมีผลตอการพัฒนาเศรษฐกิจไมแพปจจัยอ่ืน ๆ โดยเฉพาะประเทศ ที่กําลัง

พัฒนา ซ่ึงพบวาสวนใหญประชาชนมักขาดความกระตือรือรนในการทํางานและมีนิสัยใช จายเงินฟุมเฟอย
การเก็บออมจงึ มีนอ ย และเมอ่ื มีรายไดเ พิ่มมักใชจ า ยในการซือ้ เครื่องอุปโภคบรโิ ภคทีอ่ าํ นวยความสะดวกสบาย
มากกวา ทจี่ ะไปลงทนุ ในการผลิตเพอื่ ใหรายไดงอกเงยข้นึ

2.4 ปจ จยั ดานเทคโนโลยี
ใ น ป ร ะ เ ท ศ อุ ต ส า ห ก ร ร ม ก า ร ใ ช เ ท ค โ น โ ล ยี ชั้ น สู ง ช ว ย ทํ า ใ ห เ พิ่ ม ผ ล ผ ลิ ต ไ ด ม า ก ข้ึ น

ในขณะเดียวกันก็สามารถประหยดั การใชแรงงานซง่ึ มีอยอู ยา งจาํ กัด โดยการใชเ ครื่องจักรทุนแรงตาง ๆ แตใน
ประเทศกําลังพัฒนาการใชเทคโนโลยีมีขอบเขตจํากัดเน่ืองจากยังขาดผูมีความรู ความสามารถ ดานการใช
เทคโนโลยี ขาดเงินทนุ ท่จี ะสนับสนนุ การคน ควาวจิ ัยทางดา นเทคโนโลยีใหม ๆ และท่ีสําคัญการใชเ คร่ืองจักร
ทุนแรงในประเทศทก่ี ําลังพฒั นาจะกอ ใหเกิดปญหาดาน แรงงานสว นเกิน แทนท่ีจะทําใหก ารวา งงานนอ ยลง

3. แผนพฒั นาเศรษฐกจิ ของประเทศไทย
ประเทศไทยไดมีการจัดทําแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติตั้งแตมี พ.ศ. 2504 โดยเริ่ม

ตง้ั แตฉ บับที่ 1 จนถงึ ปจจบุ นั คอื ฉบบั ที่ 11 มกี ารกาํ หนดวาระของแผน ฯ ดงั นี้
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 1 พ.ศ. 2504 – 2509
แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบบั ที่ 2 พ.ศ. 2510 – 2514
แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหงชาติ ฉบบั ที่ 3 พ.ศ. 2515 – 2519
แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติ ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2520 – 2524
แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติ ฉบบั ที่ 5 พ.ศ. 2525 – 2529
แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง ชาติ ฉบับที่ 6 พ.ศ. 2530 – 2534
แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง ชาติ ฉบับที่ 7 พ.ศ. 2535 – 2539
แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหงชาติ ฉบบั ที่ 8 พ.ศ. 2540 – 2544
แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหงชาติ ฉบับที่ 9 พ.ศ. 2545 – 2549
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหงชาติ ฉบบั ท่ี 10 พ.ศ. 2550 – 2554
แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหงชาติ ฉบบั ท่ี 11 พ.ศ. 2555 – 2559

201

3. สาระสาํ คญั และผลการใชพ ฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหงชาติ

แผนฯ สาระสาํ คัญ ผลจากการใชแ ผนฯ

ฉบับที่ 1 จุดมงุ หมาย สงเสรมิ อตุ สาหกรรมทดแทนการ G.D.P. เพม่ิ ขนึ้ 8 % ตอไป

พ.ศ. 2504 - 2509 นาํ เขา การกระจายรายไดไมเปน

สาระสําคญั เนนการลงทนุ เศรษฐกิจขั้นพื้นฐาน ธรรมเกิดปญ หาสาํ คญั

เชน เขอ่ื น ไฟฟา ประปา ถนน และ ในชวงนค้ี ือประชากร

สาธารณูปการอืน่ ๆ นอกจากนยี้ งั มีการพฒั นา เพิม่ ข้นึ อยางรวดเรว็

การศกึ ษาระดบั อดุ มศึกษาไปสูภูมภิ าคเปน

ครงั้ แรก (ตั้งมหาวิทยาลยั เชยี งใหม, ขอนแกน)

อปุ สรรค ขาดบคุ ลากรทางวิชาการและการ

บรกิ าร

ฉบบั ท่ี 2 จดุ มงุ หมาย พัฒนาสงั คมควบคกู ับการ พัฒนา อตั ราการขยายตัวทาง
เศรษฐกจิ สงู แตตํ่ากวา
พ.ศ. 2510 - 2514 เศรษฐกจิ แผนฉบบั นีจ้ งึ เร่ิมใชชือ่ วา เปา หมาย การกระจาย
“แผน พัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาต”ิ รายไดไ มเปน ธรรม

สงเสรมิ การผลิตเพื่อการสงออก

ฉบับที่ 3 สาระสาํ คัญ เนน การพัฒนาสงั คม โดยลด G.D.P. เพม่ิ ขึน้ 6.2% ตอ
ปซ ึ่งตาํ่ กวา เปาหมายทั้งน้ี
พ.ศ. 2515 - 2519 ชองวางของการกระจายรายไดนอกจากนี้ยงั ได เพราะสภาพดินฟา อากาศ
เร่ิมโยบายประชากรและการวางแผนครอบครวั
แปรปรวนประกอบกบั การ
ผันผวนของเศรษฐกจิ โลก
(โดยเฉพาะการข้ึนราคา

นา้ํ มัน) อุตสาหกรรมทําให
ไทยตองนําเขาสนิ คาทนุ
มากข้ึนจนตอ งประสบ

ภาวะขาดดลุ การคา และ
ดลุ ชําระเงนิ อยางมาก

ฉบบั ที่ 4 จดุ มงุ หมาย เนนการกระจายรายไดแ ละสรา ง ผลการพฒั นาสงู กวา
เปาหมายเลก็ นอยยงั คงมี
พ.ศ. 2520 - 2524 ความเปนธรรมทางสังคมมกี ารปรับปรงุ ปญ หาตอ งพงึ่ พาการ

อุตสาหกรรมเพ่อื ขยายการสงออกและพัฒนา

202

แผนฯ สาระสําคัญ ผลจากการใชแ ผนฯ

ทรัพยากรธรรมชาติ (โดยเฉพาะนาํ้ มนั และกาซ นาํ เขาขาดดลุ การคา ความ
ธรรมชาต)ิ มาใชประโยชนนอกจากน้มี ีการ
พัฒนาเมอื งหลกั ในแตล ะภาคอยางชดั เจน ยากจนในชนบทการ
พัฒนาสงั คมความเสอื่ ม
โทรมของสง่ิ แวดลอม

ฉบับที่ 5 จดุ มุงหมาย แกป ญหาการกระจายรายได และ G. D.P. เพม่ิ ขน้ึ 4.4%
พ.ศ. 2525 - 2529 ความยากจนในชนบท โดยใหช าวชนบทมสี วน ตอ ปซ ึง่ ตํา่ กวาเปา หมาย
รวมในการแกป ญหาดว ยตัวเองมากทสี่ ดุ ประสบความสาํ เร็จในการ

นอกจากนีย้ งั เนนการพฒั นาเมอื งในพนื้ ทีช่ ายฝง พัฒนาชนบททยี่ ากจนและ
ตะวันออก การลดอัตราการเพม่ิ
ประชากร

ฉบบั ที่ 6 จุดมงุ หมาย เนน การขยายตวั ทางเศรษฐกจิ และ เศรษฐกจิ ขยายตัวสูงและ
พ.ศ. 2530 - 2534 พฒั นาคุณภาพประชากร เปดกวางเขาสรู ะดบั
นานาชาตมิ ากข้นึ
สาระสําคัญ โครงสรางเศรษฐกจิ เริ่มเขา
พัฒนาคณุ ภาพประชากร วทิ ยาศาสตร สูภ าคอตุ สาหกรรมฐานะ
การเงินการคลังของ
เทคโนโลยี และทรพั ยากรธรรมชาติ ปรบั ปรงุ ประเทศมเี สถียรภาพ
(ดลุ การคลังเกินดลุ ครั้ง
คณุ ภาพสนิ คาไทยเพอื่ แขงขนั ในตลาดโลก แรกในป 2531) ยงั คงมี
ปญ หาการกระจายรายได
กระจายรายไดส ภู ูมภิ าคและชนบท แผนฉบบั นี้ ขาดบริการขนั้ พน้ื ฐานและ
เงนิ ออมปญ หาสังคมและ
หันมาเพมิ่ บทบาทของภาคเอกชนในการพัฒนา ความเสือ่ มโทรมของ
ทรัพยากรธรรมชาตริ ะบบ
ประเทศมากขึ้นอุปสรรค ขาดแคลนบรกิ ารขน้ั ราชการไมด พี อ
พนื้ ฐาน (เชน ถนน ไฟฟา ทาเรอื สนามบนิ )

และแรงงานฝม ือ

ฉบบั ท่ี 7 จดุ มุงหมาย เนน “ปรมิ าณทางเศรษฐกจิ ” การเปดเสรที างการเงนิ ทํา
พ.ศ. 2535 - 2539 “คุณภาพประชากร” และ “ความเปน ธรรมทาง ใหฟ องสบแู ตก เปน

สังคม” ใหส มดลุ กนั สาระสําคญั เนนการ ตนเหตุของวิกฤตเิ ศรษฐกจิ
ไทย (ตมยาํ กุง)
พฒั นาคุณภาพชวี ติ โดย มงุ การขยายตัวและ

203

แผนฯ สาระสําคัญ ผลจากการใชแ ผนฯ

เสถียรภาพทางเศรษฐกจิ พฒั นากรงุ เทพฯ และ
ปริมณฑลใหเ ช่อื มโยงกับพน้ื ทชี่ ายฝง ทะเล
ตะวันออก

ฉบบั ที่ 8 จดุ มงุ หมาย เนน “การพฒั นาทรัพยากร เกิดวกิ ฤตเศรษฐกจิ ไทย
ในเดือนกรกฎาคม 2540
พ.ศ. 2540 - 2544 มนษุ ย และคณุ ภาพชีวิตของคนไทยเปนสาํ คัญ ทําใหเ กิดภาวะชะงกั งนั
ทางเศรษฐกจิ และรฐั ตองกู
การพัฒนาคุณภาพชีวิต สงิ่ แวดลอ มและ เงินจาก IMF มาพยุงฐานะ
ทางเศรษฐกจิ
ทรพั ยากรธรรมชาติ สาํ หรบั การพฒั นาอยาง

ยัง่ ยนื และยาวนาน การกระจายความเจริญสู

สว นภมู ิภาคโดยใหค วามสําคัญแกการพฒั นา

กลุม คนในชนบท และกระจายอํานาจบรหิ ารสู

ทอ งถ่นิ กําหนดเขตเศรษฐกจิ อยางจรงิ จงั และ

ชัดเจนโดยรัฐ เขา ไปดแู ลใหก ารสนบั สนุนการ

ปลูกพืชตามท่กี ําหนดให

ฉบบั ที่ 9 จดุ มุง หมาย เนน พฒั นาคนเปน ศนู ยก ลางปรบั

พ.ศ. 2545 - 2549 โครงสรา งการพฒั นาประเทศ ใชค วามคิดเห็น

ประชาชนท้งั ประเทศ มากําหนดกรอบและ

ทศิ ทางของแผนพัฒนาฯ ใชแ นวพระราชดําริ

“เศรษฐกจิ พอเพียง” เปน วิสยั ทศั นของแผน

การพฒั นาทีย่ ่ังยืน และความอยดู ีมีสขุ ของคน

ไทยรากฐานการพัฒนาประเทศทเี่ ขม แข็ง

กระจายผลประโยชนแ กปญ หาความยากจน

ฉบบั ที่ 10 จุดมงุ หมาย เนน “สังคมอยเู ย็นเปน สุข

พ.ศ. 2550 - 2554 รวมกนั ” ภายใตแ นวปฏบิ ัติของ “ปรชั ญา

เศรษฐกจิ พอเพยี ง”การพฒั นาแบบบรู ณาการ

เปนองคร วมทม่ี ี “คนเปนศูนยกลางการพฒั นา”

การพฒั นาทีย่ งั่ ยืนการพฒั นาคนและ เทคโนโลยี

204

4. วเิ คราะหส าระสําคัญจากแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง ชาติ ฉบับท่ี 10
จากแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 ไดสรุปสาระสําคัญเก่ียวกับสถานะดาน

เศรษฐกจิ ของประเทศไว คือ ประเทศไทยมีการเจริญเติบโตอยางตอเนื่องอัตราเฉล่ีย 5.7 ตอป ชวงป 2545 -
2548 และจัดอยูในกลมุ ประเทศท่มี ีรายไดปานกลาง โดยมีขนาดเศรษฐกิจใหญเปนอันดับท่ี 20 จากจํานวน
192 ประเทศของโลก มีบทบาททางการคาระหวางประเทศ และรักษาสวนแบงการตลาดไวไดในขณะท่ีการ
แขงขันสูงขึ้น ตลอดถึงการพัฒนาเศรษฐกิจฐานความรูของประเทศไทยปรับตัวสูงข้ึน โครงสรางการผลิตมี
จุดแข็ง คือมีฐานการผลิตท่ีหลากหลาย ชวยลดความเส่ียงจากภาวะผันผวนของวัฎจักรเศรษฐกิจ สามารถ
เช่ือมโยงการผลิตเพื่อสรางมูลคาเพิ่มไดมากข้ึน แตเศรษฐกิจไทยมีจุดออนในเชิงโครงสรางที่ตองพ่ึงพิงการ
นําเขาวตั ถุดิบ ชิน้ สว น พลังงาน เงินทุนและเทคโนโลยีในสัดสวนที่สูง การผลิตอาศัยฐานทรัพยากรมากกวา
องคความรู มีการใชทรัพยากรเพื่อการผลิตและบริโภคอยางสิ้นเปลือง ทําใหเกิดปญหาสภาพแวดลอมและ
ผลกระทบในดานสังคมตามมา โดยไมไดมีการสรางภูมิคุมกันอยางเหมาะสม ภาคขนสงมีสัดสวนการใช
พลังงานเชิงพานิชยส ูงถงึ รอ ยละ 38 โครงสรา งพื้นฐานดานเทคโนโลยสี ารสนเทศและสื่อสาร รวมถึงน้าํ เพือ่ การ
บรโิ ภคยังไมก ระจายไปสูพื้นท่ีชนบทอยา งเพียงพอและท่ัวถึง โครงสรางพื้นฐานดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี
และนวัตกรรมยงั อยูในระดับตาํ่ และเปน รองของประเทศที่เปนคูแขง ทางการคา

ประเทศไทยยังมีจุดแข็งอยูท่ีมีเสถียรภาพเศรษฐกิจในระดับท่ีดี จากการดําเนินนโยบายเพ่ือฟนฟู
เสถียรภาพเศรษฐกจิ ของประเทศและวิกฤตเศรษฐกิจ อยางไรก็ตามราคานํ้ามันที่เพิ่มสูงขึ้นและตอเน่ืองถึง
ปจจบุ นั สง ผลใหด ุลการคา ดุลบัญชเี ดินสะพดั ขาดดุลเพม่ิ ขึน้ สะทอนถึงปญหาความออ นแอในเชิง โครงสรางท่ี
พง่ึ พงิ ภายนอกมากเกินไป ประเทศไทยยังมกี ารออมต่ํากวาการลงทนุ จึงตองพ่งึ เงินทุนจากตา งประเทศทําใหมี
ความเสย่ี งจากการขาดดลุ บญั ชเี ดนิ สะพัด และจากการเคลอ่ื นยายเงินทนุ ระหวางประเทศ จงึ จาํ เปนตอ งพฒั นา
ระบบภูมิคุมกันทางเศรษฐกิจภายใตเงื่อนไขบริบทโลกที่มีการเคลื่อนยายอยางเสรีของคนองคความรู
เทคโนโลยี เงินทนุ สินคา และบรกิ าร

การพฒั นาเพื่อเสรมิ สรางความเปน ธรรมทางเศรษฐกิจและการแกไขปญหาความยากจนมีสวนชวยให
ความยากจนลดลงตามลําดับและการกระจายรายไดป รบั ตวั ดีข้ึนอยา งชา ๆ

5. แนวคดิ หลักและทศิ ทางการปรบั ตัวของประเทศไทย จากสถานการณด ังกลาวจาํ เปนตอ งปรับตัว
หันมาปรบั กระบวนทรรศนก ารพัฒนาในทิศทางที่พึ่งตนเองและภูมิคุมกันมากขึ้น โดยยึดหลัก “ปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง” เปนแนวทางปฏิบัติควบคูไปกับการพัฒนาแบบบูรณาการเปนองครวมที่ยึด “คนเปน
ศนู ยกลางการพฒั นา” เพือ่ เกดิ ความเชื่อมโยงทง้ั ดา นตวั คน สงั คม เศรษฐกิจ ส่ิงแวดลอมและการเมือง โดยมี
การวเิ คราะหอยางมี “เหตุผล” และใชหลัก “ความพอประมาณ” ใหเกิดความสมดุลระหวางความสามารถ
ในการพึ่งตนเองกบั ความสามารถในการแขง ขันในเวทีโลก ความสมดุลระหวา งสงั คมชนบทกบั สงั คมเมือง
โดยมกี ารเตรยี ม “ภมู คิ ุมกัน” ดวยการบริหารจดั การความเสย่ี งใหเพียงพอพรอ มรับผลกระทบจากการเปล่ียน
ทงั้ จากภายนอกและภายในประเทศ

การขับเคล่ือนการพัฒนาทุกข้ันตอนตองใช “ความรอบรู” ในการพัฒนาดานตาง ๆ ดวยความ
รอบคอบ เปนไปตามลําดับข้ันตอน รวมทั้งเสริมสรางศีลธรรมและสํานึกใน “คุณธรรม”จริยธรรมในการ

205

ปฏบิ ัติหนาที่และการดําเนินชวี ติ ดวยความเพียร อนั เปน ภูมิคมุ กนั ในตวั ทดี่ ี พรอมรับการเปล่ียนแปลงที่เกิดขนึ้
ท้ังในระดับครอบครัว ชุมชน สังคมและประเทศชาติ และสอดคลองกับวิถีชีวิตสังคมและสอดคลองกับ
เจตนารมณของรัฐธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2550

เปาหมายดานเศรษฐกิจ ปรับโครงสรางเศรษฐกิจใหมีความสมดุลและยั่งยืน โดยใหสัดสวนภาค
เศรษฐกิจในประเทศตอภาคการคาระหวางประเทศเพ่ิมข้ึน สัดสวนภาคการผลิตเกษตรและอุตสาหกรรม
เพิ่มขึน้ กาํ หนดอตั ราเงนิ เฟอ ลดการใชพ ลงั งานโดยเฉพาะภาคขนสง สดั สว นผลผลิตของวิสาหกิจขนาดกลาง
และขนาดยอมตอ ผลติ ภณั ฑร วมในประเทศต่ํากวา รอ ยละ 40

แบบฝกหดั ทา ยบท เรอื่ งท่ี 4 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหงชาติ

คาํ สัง่ เมือ่ ผเู รียนศึกษา เรือ่ ง แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติจบแลวใหทาํ แบบฝกหัดตอไปน้ี
โดยเขียนในสมุดบนั ทกึ กจิ กรรมการเรยี นรู

แบบฝกหดั ที่ 1 ใหผเู รียนตอบคาํ ถามตอ ไปนี้ โดยกาเคร่ืองหมาย X คําตอบทีถ่ กู ท่สี ุด
1. การพัฒนาเศรษฐกจิ หมายถึงอะไร
ก. การเพ่มิ ขึน้ ของรายได
ข. การขายตัวทางดา นเศรษฐกจิ และการคา
ค. อตั ราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและรายไดเพิ่มสูงข้ึน
ง. การเปล่ยี นโครงสรา งทางเศรษฐกจิ สงั คม การเมือง นําไปสูก ารกระจายรายไดท สี่ งู ขนึ้
2. ประเทศตา ง ๆ เร่มิ มีความตนื่ ตวั ในการพัฒนาเศรษฐกิจเมื่อใด
ก. กอ นสงครามโลกครัง้ ท่ี 1
ข. หลังสงครามโลกครงั้ ที่ 1
ค. กอ นสงครามโลกครงั้ ที่ 2
ง. หลังสงครามโลกคร้ังท่ี 3
3. เหตุผลใดไมไ ดส งผลกระตนุ ใหป ระเทศตาง ๆ หนั มาพฒั นาเศรษฐกิจ
ก. ภาวะเศรษฐกิจตกต่ําหลงั สงครามโลกคร้ังที่ 2
ข. ภาวะสงครามเยน็ หลังสงครามโลกคร้ังท่ี 2
ค. ความเจริญทางการสอื่ สารกอใหเ กดิ การเลยี นแบบกนั
ง. ประเทศเอกราชหลงั สงครามโลกครงั้ ท่ี 2 ตนื่ ตัวในการพฒั นาเศรษฐกจิ มากขนึ้
4. ส่งิ ทีใ่ ชวดั ระดับการพฒั นาเศรษฐกจิ ของประเทศตา ง ๆ คืออะไร
ก. รายไดต อบคุ คล
ข. รายไดป ระชาชาติ
ค. รายไดร วมจากสินคาและบรกิ าร
ง. ความกาวหนา ทางเทคโนโลยี

206

5. ประเทศ A มีรายไดแทจ รงิ ตอบคุ คล 500,000 บาท / คน / ป ประเทศ B มีรายไดแ ทจรงิ ตอ
บคุ คล เทา กบั ประเทศ A แสดงวาอยา งไร
ก. ประเทศ A และประเทศ B เปนประเทศพฒั นาแลวเหมอื นกัน
ข. ประเทศ A มีระดบั การพัฒนาเทา กบั ประเทศ B ถา ดชั นีช้ีวดั ความอยูด กี นิ ดขี อง 2 ประเทศ
ใกลเ คยี งกนั
ค. ประเทศ B มีระดบั การพฒั นาสงู กวา ประเทศ A ถาประเทศ B มดี ลุ การชําระเงินเกนิ ดลุ
ง. ทั้งประเทศ A และประเทศ B เปน ประเทศกาํ ลงั พัฒนาเหมือนกัน

6. นอกเหนอื จากรายไดต อ หวั ตอ คน ตอปแลว ส่งิ สาํ คัญทบี่ ง บอกถงึ ระดบั การพฒั นาของประเทศ
ตาง ๆ คอื อะไร
ก. จํานวนประชากร
ข. อาชีพของประชากร
ค. คุณภาพประชากร
ง. อตั ราการเพิม่ ของประชากร

7. ขอ ใดไมใ ชสิ่งบง บอกวาเปนประเทศดอ ยพฒั นาหรือกําลังพฒั นา
ก. รายไดตาํ่
ข. ประชากรสวนใหญเ ปนเกษตรกร
ค. มีความแตกตา งกันมากเร่ืองรายได
ง. เศรษฐกจิ ของประเทศพง่ึ ตวั เองได

8. จุดเร่ิมตน ของวัฏจักรแหง ความอยากจนอยูท่ีใด
ก. การลงทนุ ตํา่
ข. รายไดแทจริงตํ่า
ค. ปจ จัยทนุ มีประสทิ ธิภาพตาํ่
ง. ประสิทธภิ าพการผลติ ตาํ่

9. ในการวางแผนพฒั นาเศรษฐกิจจะมกี ระบวนการพัฒนาโดยเริม่ ตนและสิ้นสุดอยา งไร
ก. สาํ รวจภาวะเศรษฐกิจ - กาํ หนดเปาหมาย
ข. สาํ รวจภาวะเศรษฐกิจ – ประเมนิ ผลการพัฒนา
ค. กาํ หนดเปา หมาย – ปฏบิ ตั งิ านตามแผนพฒั นา
ง. กาํ หนดเปา หมาย – ประเมินผลการพัฒนาเศรษฐกิจ

10. ขอใดไมถ กู ตอ ง
ก. ประเทศไทยไดประกาศใชแ ผนพฒั นาเศรษฐกิจหลงั การเปลย่ี นแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475
ข. ประเทศไทยเรม่ิ ใชแผนพฒั นาเศรษฐกจิ คร้ังแรกใน พ.ศ. 2504
ค. ประเทศไทยเรม่ิ ใชแผนพฒั นาเศรษฐกจิ ครง้ั แรกในสมยั จอมพลสฤษด์ิ ธนะรัชต
ง. แผนพฒั นาเศรษฐกจิ แผนแรกของประเทศไทยเปน แผนทีม่ รี ะยะเวลายาวนานทสี่ ดุ

207

11. ระยะแรกของการใชแ ผนพฒั นาเศรษฐกิจแหง ชาติ ฉบบั ที่ 1 เนนในเรื่องใด
ก. การพฒั นาสังคม
ข. การผลิตสินคา สาํ เรจ็ รปู
ค. การลงทนุ ปจจยั พืน้ ฐาน
ง. การควบคมุ อตั ราเพิ่มประชากร

12. ขอบกพรอ งของแผนพฒั นาเศรษฐกิจแหง ชาติ ฉบับท่ี 1 คืออะไร
ก. ขาดการลงทนุ ปจจยั พนื้ ฐาน
ข. ละเลยการพัฒนาชนบท
ค. พัฒนาอตุ สาหกรรมมากกวา การเกษตร
ง. ละเลยการพฒั นาทางดา นสังคม

13. แผนพฒั นาเศรษฐกิจฉบบั ใดที่เริ่มพัฒนาเศรษฐกจิ ควบคูกบั สังคม
ก. ฉบบั ที่ 1
ข. ฉบับที่ 2
ค. ฉบบั ที่ 3
ง. ฉบับที่ 4

14. ขอ ใดไมใ ชอปุ สรรคของการดาํ เนินงานตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง ชาติ ฉบับท่ี 3
ก. สภาพดินฟา อากาศแปรปรวน
ข. ภาวะการคาและเศรษฐกิจโลกซบเซา
ค. ดุลการคาและดุลการชาํ ระเงนิ ของประเทศเกนิ ดลุ
ง. การขึ้นราคาน้าํ มนั ของกลมุ โอเปคทําใหเ กิดภาวะเงนิ เฟอ

15. แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหงชาตฉิ บบั ใดทีม่ งุ แกป ญ หาความยากจนในชนบทอยางจรงิ จงั
ก. ฉบบั ท่ี 4
ข. ฉบบั ท่ี 5
ค. ฉบับที่ 6
ง. ฉบับท่ี 7

16. แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติฉบบั ใดทีก่ ําหนดเปา หมายการลดอัตราเพม่ิ ประชากรเปน
ครง้ั แรก
ก. ฉบบั ท่ี 3
ข. ฉบบั ท่ี 4
ค. ฉบบั ท่ี 5
ง. ฉบบั ที่ 7

208

17. ขอ ใดไมไดอยใู นเปาหมายการพฒั นาตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบบั ท่ี 6
ก. พัฒนาคุณภาพของทรัพยากร
ข. กําหนดอตั ราเพิ่มประชากรไมเกนิ รอยละ 1.2
ค. การผลติ สินคา เพอ่ื การสงออกไปแขงขนั ในตลาดโลก
ง. การขยายตวั ทางดานการลงทุนและดานอตุ สาหกรรม

18. ขอ ใดไมใ ชจดุ เนนของแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหงชาติ ฉบบั ท่ี 7
ก. การกระจายรายไดไ ปสภู มู ภิ าคมากขึ้น
ข. การพฒั นาคุณภาพชวี ิต รกั ษาสง่ิ แวดลอมและทรพั ยากรธรรมชาติ
ค. การขยายตวั ทางเศรษฐกิจอยา งตอเนื่องเหมาะสมและมเี สถยี รภาพ
ง. การพฒั นาอุตสาหกรรมโดยใชว ตั ถุดิบทางการเกษตรเพอื่ พง่ึ ตนเอง

19. การมงุ พัฒนาประเทศใหเ ปนประเทศอตุ สาหกรรมตามแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง ชาติ
ฉบบั ท่ี 1-7 ไดก อ ใหเ กิดผลตอ สงั คมไทยอยางไร
ก. รายไดต อหัวของประชากรสงู ขนึ้ และกระจายไปสูคนสวนใหญอ ยางท่ัวถงึ
ข. ประชาชนไดรับการบรกิ ารพ้ืนฐานอยา งเพียงพอและมีความเปนธรรมในสงั คม
ค. สังคมไดรบั การพัฒนาทางวัตถุ ละเลยการพฒั นาทางจติ ใจเกิดชองวา งระหวางเมอื งและ
ชนบท
ง. เกดิ เสถยี รภาพทางเศรษฐกจิ สงั คมและการเมือง มาตรฐานการครองชพี ของประชาชนสงู ขน้ึ

20. เปาหมายหลกั ของแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง ชาติ ฉบบั ท่ี 8 คืออะไร
ก. การกระจายรายไดท่ีเปนธรรม
ข. อตั ราการขยายตวั ทางเศรษฐกจิ สงู ข้นึ
ค. คุณภาพประชากร
ง. การเปนประเทศอตุ สาหกรรมช้นั นํา

209

เรอื่ งที่ 5 สถาบนั การเงินและการธนาคาร การคลงั

ความหมายและความสาํ คัญของเงนิ

เงิน (Money) หมายถึง อะไรก็ไดท่ีมนุษยนํามาใชเปนสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน แตตองเปนส่ิงท่ี
สังคมนัน้ ยอมรับในการชําระหน้ี เชน คนไทยสมยั สโุ ขทัย ใชเ บี้ยหรือเปลือกหอย เปนตน เงินอาจจะอยูในรูป
ของโลหะกระดาษ หนังสตั ว ใบไมก็ได เงินท่ดี จี ะตองมลี กั ษณะดงั น้ี

1. เปน ของมีคาและหายาก เงินจะตอ งเปน สิ่งที่มีประโยชน และมีคา ในตัวของมนั เอง เชน ทองคาํ และ
โลหะเงิน เปนตน

2. เปน ของทด่ี อู อกงาย สามารถรูไดวาเปนเงินปลอมหรือเงินจริง โดยไมตองอาศัยวิธีการท่ีซับซอน
ในการตรวจสอบ

3. เปน ของทีม่ ีมลู คาคงตัว ไมเปลี่ยนแปลงมากนักแมเวลาจะผานไป
4. เปน ของทแ่ี บง ออกเปน สวนยอ ยได และมลู คา ของสว นทแ่ี บงยอย ๆ น้นั ไมเ ปลีย่ นแปลงและใชเปน
สือ่ กลางในการแลกเปลยี่ นได
5. เปน ของท่ขี นยา ยสะดวก สามารถพกพาติดตวั ไปไดง า ย
6. เปนของท่คี งทนถาวร เงินสามารถจะเกบ็ ไวไดนาน ไมแ ตกหักงาย
คาํ วา “เงนิ ” ในสมัยกอ นใชโลหะทองคําและเงิน ตอมามกี ารปลอมแปลงกันมากจึงมีการประทับตรา
เพ่ือรบั รองน้ําหนักและความบรสิ ุทธ์ิของเงิน เงินท่ีไดรบั การประทบั ตรานีจ้ ึงเรียกวา “เงนิ ตรา”

ความสาํ คัญของเงิน
เงนิ เปน ส่ือกลางในการแลกเปลี่ยนที่มีความสําคัญตอชีวิตประจําวันของมนุษยมาก เงินชวยอํานวย
ความสะดวกใหแกมนุษย 3 ประการ คอื
1. ความสะดวกในการซ้ือขาย ในสมยั โบราณมนุษยนําส่งิ ของมาแลกเปลีย่ นกันทาํ ใหเกิดความยุงยาก
ในการแลกเปลย่ี นเพราะความตอ งการไมตรงกนั หรอื ไมยุติธรรมเพราะมูลคา ของสง่ิ ของไมเ ทาเทยี มกนั การนํา
เงินเปนสือ่ กลางทาํ ใหเกิดความสะดวกในการซ้ือขายมากข้ึน
2. ความสะดวกในการวัดมูลคา เงินจะชวยกําหนดมูลคาของส่ิงของตาง ๆ ซ่ึงสามารถนํามา
เปรยี บเทียบกนั ได
3. ความสะดวกในการสะสมทรัพยสิน สนิ คาทม่ี นุษยผ ลิตไดบางอยา งไมสามารถเกบ็ ไวไ ดนาน ๆ
แตเมอ่ื แลกเปลี่ยนเปนเงิน สามารถทีจ่ ะเก็บไวแ ละสะสมใหเพ่มิ ข้ึนได
สรปุ

เงิน หมายถงึ อะไรก็ไดที่มนุษยนํามาใชเปน ส่ือกลางในการแลกเปลี่ยนและเปนสิ่งท่ีสังคมน้ันยอมรับ

เงินนอกจะมีความสําคัญในแงของสอื่ กลางในการแลกเปลย่ี นแลว ยงั ชวยอํานวยความสะดวกในการซอ้ื ขายการ

วัดมลู คา และการสะสมทรัพยส ิน

210

ประเภท และหนา ท่ขี องเงนิ

ประเภทของเงนิ
เงินในปจจบุ ันแบงออกเปน 3 ประเภท ไดแ ก
1. เหรยี ญกษาปณ (Coinage) เปน เงินโลหะทสี่ ามารถชําระหนี้ไดตามกฎหมาย ในประเทศไทยผลิต
โดยกรมธนารักษ กระทรวงการคลัง
2. เงนิ กระดาษหรอื ธนบัตร (Paper Currency) เปนเงินท่ีสามารถชาํ ระหนไ้ี ดต ามกฎหมายในประเทศ
ไทยผลิตโดยธนาคารแหงประเทศไทย
3. เงินเครดิต (Credit Money) ไดแก เงินฝากกระแสรายวัน หรือเงินฝากท่ีส่ังจายโอนโดยใชเช็ค
รวมทั้งบตั รเครดติ ทใ่ี ชแ ทนเงนิ ได
การท่ีสังคมยอมรับวาทั้ง 3 ประเภทเปนเงิน (Money) เพราะวามีสภาพคลอง (Liquidity) สูงกวา
สินทรัพยอ ่นื ๆ กลาวคอื สามารถเปลีย่ นเปนสนิ คาและบรกิ ารไดทนั ที สว นสนิ ทรัพยอ่นื ๆ เชน เงนิ ฝากประจาํ
เงนิ ฝากออมทรัพย ตั๋วแลกเงิน พันธบัตรรัฐบาล เปนตน มีสภาพคลองนอยกวาจึงเรียกวา เปนสินทรัพยท่ีมี
ลักษณะใกลเ คียงกับเงิน (Near Money)

หนา ท่ขี องเงนิ
เงนิ มีหนา ที่สาํ คญั 4 ประการ คือ
1. เปนมาตรฐานในการเทียบเทา (Standard of Value) มนุษยใชเงินในการเทียบคาสินคาและ
บริการตาง ๆ ทาํ ใหก ารซ้ือขายแลกเปล่ยี นสะดวกน้นั
2. เปนสื่อกลางในการแลกเปล่ียน (Medium of Exchange) เงินทําหนาท่ีสื่อกลางในการซื้อขาย
สินคาตาง ๆ เพราะวา เงนิ มีอาํ นาจซือ้ (Purchasing Power) ทจี่ ะทาํ ใหการซื้อขายเกดิ ขนึ้ ไดทกุ เวลา
3. เปนมาตรฐานในการชําระหน้ีภายหนาการซ้ือแลกเปลี่ยนสินคาภายในประเทศและระหวาง
ประเทศยอมเกดิ หน้สี ินทจ่ี ะตอ งชาํ ระเงนิ เขา มามบี ทบาทในการเปนสัญญาที่จะตอ งชําระหนี้นน้ั
4. เปนเครื่องรักษามูลคา (Store of Value) เงินที่เก็บไวจะยังคงมูลคาของสินคาและบริการไว
ไดอ ยา งครบถวนมากกวาการเก็บเปนตัวของสินคา ซึง่ อาจจะอยไู ดไ มน าน

สรุป

เงนิ แบงออกเปน 3 ประเภท คือ เหรียญกษาปณ ธนบัตร และเงินเครดิต เงินมีหนาที่สําคัญในดาน

เปน มาตรฐานในการเทยี บคา เปนสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนเปนมาตรฐานในการชําระหน้ีภายหนา และเปน

เครอ่ื งรกั ษามลู คา

211

วิวฒั นาการของเงิน

วิวัฒนาการในดานการแลกเปลี่ยนของมนษุ ยม ดี งั น้ี
1. ระบบเศรษฐกิจท่ีไมใชเงินตรา เปนการแลกเปลี่ยนโดยใชสิ่งของกับสิ่งของซ่ึงมีขอยุงยากและ
ไมส ะดวกหลายประการ ไดแ ก

1.1 ความตอ งการไมตรงกันทั้งชนิดและจํานวนของสนิ คา
1.2 ขาดมาตรฐานในการเทียบคา เพราะส่ิงของนําทนี่ าํ มาแลกเปลีย่ นมีมลู คา ไมเทากนั
1.3 ยงุ ยากในการเกบ็ รักษา การเกบ็ เปน สินคาเปลืองเนอ้ื ทม่ี าก
2. ระบบเศรษฐกิจท่ีใชเ งนิ ตรา มวี วิ ัฒนาการดังน้ี
2.1 เงินที่เปน สิ่งของหรือสนิ คา คอื การนาํ สิ่งของหรอื สินคา บางอยางมาเปน สื่อกลาง เชน ลูกปด
ผา ขนสตั ว เปลอื กหอย เปนตน ซงึ่ เงนิ ชนดิ น้ีอาจจะไมเ หมาะสมในดา นความไมค งทน มมี าตรฐานและคุณภาพ
ไมเหมอื นกัน ทําใหค าไมม่ันคง ยุงยากในการพกพาและแบงยอยไดย าก
2.2 เงินกษาปณ (Coinage) การนําโลหะมาเปนสื่อกลางในการแลกเปล่ียน แตเดิมใชไปตาม
สภาพเดิมของแรนั้นๆ ยังไมรูจักการหลอม ตอมาไดมีวิวัฒนาการดีขึ้นเรื่อย ๆ มีการหลอม การตรวจสอบ
นาํ้ หนักและความบริสุทธหิ์ รือผสมโลหะหลายชนดิ เขา ดว ยกัน
2.3 เงินกระดาษ (Paper Money) นิยมใชเปนส่ือกลางในการแลกเปล่ียนเพราะมีนํ้าหนักเบา
พกพาสะดวก ประเทศแรกที่รูจกั การใชเงินกระดาษ คอื ประเทศจีน
2.4 เงินเครดติ (Credit Money) เปนเงินทเ่ี กิดขน้ึ ในสังคมเศรษฐกิจสมัยใหมท่ีมีระบบธนาคาร
แพรหลายเรว็ การใชเ งินชนิดนีก้ อใหเ กิดความรวดเร็วและปลอดภัยในการแลกเปลี่ยน
สาํ หรบั ประเทศไทยมีววิ ัฒนาการของเงนิ ประเภทตางๆ ดงั นี้
1. เหรยี ญกษาปณ ประเทศไทยใชเ งนิ เบ้ียเปนส่อื กลางในการแลกเปล่ียนมาตั้งแตสมัยสุโขทัยและใช
มาถงึ สมยั กรงุ ศรอี ยุธยา ในรัชสมัยพระเจา อยหู วั บรมโกศเกิดการขาดแคลนเบี้ย จึงนําดินเผามาปนและตีตรา
ประทับ เรียกกวา “ประกับ” ตอมาไดมีการทําเงินพดดวงข้ึนซ่ึงไดใชตอมาถึงสมัยรัชกาลที่ 4 แหงกรุง-
รตั นโกสินทร เมอื งไทยเราทาํ การคากับตางประเทศมากขึ้นทําใหเ กิดความขาดแคลนเงินพดดวง จึงไดจัดทํา
เงนิ เหรียญข้ึนแทน ในสมยั รัชกาลท่ี 5 ไดจัดทําเหรียญสตางคขึน้ เพ่ือสะดวกในการทําบญั ชี
2. ธนบตั ร รัชกาลที่ 4 ไดม ีพระราชดาํ ริใหผ ลิตธนบัตรข้นึ เรยี กวา “หมาย” แตไมแพรหลายมากนกั ใน
สมัยรัชกาลท่ี 5 ไดประกาศใชพระราชบัญญัติธนบัตร เม่ือวันที่ 24 มิถุนายน 2445 ดําเนินการออกธนบัตร
โดยรฐั บาล ธนบตั รจึงแพรห ลายต้ังแตน้นั มา

สรุป

การแลกเปลยี่ นของมนษุ ยม วี ิวัฒนาการจากระบบเศรษฐกิจทไ่ี มใชเ งินตรามาเปนระบบเศรษฐกิจท่ีใช

เงินตรา สําหรับประเทศไทยใชเงินเบี้ยเปนสื่อกลางในการแลกเปล่ียนมาตั้งแตสมัยสุโขทัย มาจนถึงการใช

212

เหรยี ญสตางคในสมยั รัชกาลที่ 5 สวนธนบัตรมีการผลติ และประกาศใชพระราชบัญญตั ิธนบัตรเปนคร้ังแรกใน

สมัยรชั กาลท่ี 5

ปริมาณและการหมุนเวียนของเงิน

1. ปรมิ าณเงนิ
ปริมาณเงินในความหมายอยางแคบ หมายถึง ปริมาณของเหรียญกษาปณ ธนบัตร และเงินฝาก
กระแสรายวนั รวมกันท้งั หมดนาํ ออกใชหมุนเวยี นอยใู นมอื ประชาชนขณะใดขณะหน่งึ
ปริมาณเงิน ในความหมายอยางกวาง หมายถึง ปริมาณของเหรียญกษาปณ ธนบัตร และเงินฝาก
กระแสรายวนั รวมท้งั เงินฝากประจาํ และเงินฝากออมทรพั ยในสถาบันการเงนิ ทุกประเภท
2. การวัดปริมาณเงิน ปริมาณเงินจะเปนเครื่องช้ีบอกภาวะเศรษฐกิจของประเทศในขณะใด
ถา ปรมิ าณเงินสงู ขนึ้ อํานาจซ้ือของประชาชนกจ็ ะสูงข้ึน ถา ปริมาณสินคาและบริการไมเพียงพอประชาชนจะ
แยงกันซื้อและกักตุนสินคา ถาปริมาณเงินนอยลง อํานาจซื้อของประชาชนก็จะลดลง สินคาจะลนตลาด
ผผู ลติ อาจจะลดการผลิตสนิ คา ลง หรืออาจจะเกดิ การวางงานได
3. การหมนุ เวียนของเงนิ กับกฎของเกรแชม การหมนุ วยี นของเงิน หมายถึง เงินท่ีเราจับจายใชสอย
เปลี่ยนมือไปเรื่อยๆ เซอรโทมัส เกรแชม ไดต้ังกฎท่ีเรียกวา กฎของเกรแชม (Greshan’s Law) กลาววา
ถาประชาชนใหความสําคัญแกเงินทุกชนิดเทาเทียมกันการหมุนเวียนของเงินก็จะไมติดขัด ถาขณะใด
ประชาชนเหน็ วา เงินชนดิ หนง่ึ สงู กวาเงินอกี ชนดิ หนึง่ ประชาชนจะเกบ็ เงนิ ที่มีคา สูงไวไ มน าํ ออกมาใชจ าย
แตจะรบี นาํ เงนิ ทม่ี ีคาตํ่ามาใช
4. คา ของเงนิ หมายถึง ความสามารถหรืออํานาจซ้ือของเงินแตละชนิดท่ีจะซื้อสินคาหรือบริการได
การวัดคาของเงินจะวัดดวยระดับราคาท่ัวไปซึ่งเปนราคาถัวเฉลี่ยของสินคาและบริการคาของเงินจะ
เปลีย่ นแปลงในทางเพิม่ ขึน้ หรือลดลง ยอ มมผี ลกระทบตอ บุคคลกลมุ ตา ง ๆ

สรปุ

ปริมาณเงนิ ในระบบเศรษฐกิจมที ้งั ปรมิ าณเงนิ ในความหมายอยางแคบและปรมิ าณเงินในความหมาย
อยางกวาง ปริมาณเงินจะเปนเคร่ืองช้ีบอกภาวะเศรษฐกิจของประเทศ การวัดวาเงินจะมีคาหรือไมวัดดวย
ระดับราคาท่ัวไปหรือดัชนีราคา

สถาบันการเงิน

1. ความหมายของสถาบนั การเงนิ
สถาบันการเงินเปนตลาดเงิน (Financial Market) หรือแหลงเงินทุนใหผูที่ตองการลงทุนกูยืม

เพื่อนําไปดําเนนิ ธรุ กิจ ตลาดการเงินมที งั้ ตลาดการเงินในระบบ ไดแ ก แหลง การเงินของสถาบันการเงินตาง ๆ
กับตลาดการเงนิ นอกระบบ ซึ่งเปนแหลงการกยู มื เงนิ ระหวา งบุคคล เชน การจาํ นํา จาํ นอง เปน ตน




























































Click to View FlipBook Version