ั้ชนค่มู ือครหู นงั สอื เรยี นท่ี
BBL ศลิ ปะ 6ประถมศึกษาปี
5 Active Learning
STEPs ใชก้ ระบวนการ GPAS
เนน้ การทำ�งานของสมอง
มาตรฐานสากล BBL & PBL
ศตวรรษที่ จBดัacกkาwรaเรrdยี นDรeตู้ sาigมnแนวทาง
เพ่มิ ผลสัมฤทธิ์ดว้ ย
21
NT/O-NET/PISA
โสทคกัู่อราษงเะซงศียาตนนวบแรรูลรณะษโลทากก่ี 2า1ร
ลเฉะลเอยียคดำ�ทตกุ อขบ้อ
สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)
ผังสาระการเรยี นรู้
หนงั สอื เรยี น รายวิชาพนื้ ฐาน ศลิ ปะ ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ ๖ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ
หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ ๒ สีตรงขา้ มก็งามได้ หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๑ สวยงามด้วยความสมดุล หน่วยการเรียนรทู้ ี่ ๑ องคป์ ระกอบดนตรี หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ ๒ เครื่องดนตรีไทยและ
(ศ ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๖) (ศ ๑.๑ ป.๖/๒, ป.๖/๕) และศพั ทส์ ังคีต เครอ่ื งดนตรีสากล
(ศ ๒.๑ ป.๖/๑) (ศ ๒.๑ ป.๖/๒)
หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ ๓ ๒ มิติ สู่ ๓ มติ ิ สาระท่ี ๑ ศิลปะ
(ศ ๑.๑ ป.๖/๓) ทัศนศิลป์ สาระที่ ๒ หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๓ เครอื่ งหมายและ
ดนตรี สัญลักษณ์ทางดนตรี
หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ ๔ ปนั้ แต่งเติม เพิม่ และลด (ศ ๒.๑ ป.๖/๓)
(ศ ๑.๑ ป.๖/๔)
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๔ หลกั การรอ้ งเพลง
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๕ ภาพนี้มีความหมาย (ศ ๒.๑ ป.๖/๔)
(ศ ๑.๑ ป.๖/๗)
หน่วยการเรียนรทู้ ่ี ๕ การวเิ คราะหเ์ พลง
หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ ๖ ทศั นศิลป์สะทอ้ นชีวิต และหลกั การฟังเพลง
(ศ ๑.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓) (ศ ๒.๑ ป.๖/๕, ป.๖/๖)
หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ ๖ วิวัฒนาการดนตรีไทย
(ศ ๒.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓)
หน่วยการเรียนร้ทู ี่ ๑ นาฏศิลป์สรา้ งสรรค์ สาระที่ ๓ หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๔ มารยาทในการชมการแสดงนาฏศลิ ป์และละคร
(ศ ๓.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒) นาฏศลิ ป์ (ศ ๓.๑ ป.๖/๕, ศ ๓.๒ ป.๖/๒)
หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๒ นาฏยศัพท์และภาษาท่า ทางนาฏศลิ ป์ไทย หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๕ บทบาทหนา้ ท่ขี องงานนาฏศลิ ปแ์ ละการละคร
(ศ ๓.๑ ป.๖/๓) (ศ ๓.๑ ป.๖/๔, ป.๖/๖)
หน่วยการเรียนรทู้ ี่ ๓ การแสดงนาฏศลิ ป์และละคร หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ ๖ ประวตั ินาฏศลิ ปแ์ ละการละครของไทย
(ศ ๓.๑ ป.๖/๓) (ศ ๓.๒ ป.๖/๑)
คมู่ อื ครหู นังสือเรยี น
ศิลปะ
กลุม่ สาระการเรียนรศู้ ิลปะ ั้ชน6ประถมศึกษาปีท่ี
ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน
พทุ ธศกั ราช 2551
website : สงวนลขิ สทิ ธ์ิ
ส�ำ นักพิมพ์ บริษัทพัฒนาคณุ ภาพวิชาการ (พว.) จ�ำ กัด
www.iadth.com พ.ศ. 2563
สถาบันพฒั นาคณุ ภาพวชิ าการ (พว.)
1256/9 ถนนนครไชยศรี แขวงถนนนครไชยศรี เขตดสุ ติ กรุงเทพฯ 10300
โทร. 0-2243-8000 (อัตโนมัติ 15 สาย), 0-2241-8999
แฟกซ์ : ทุกหมายเลข, แฟกซอ์ ตั โนมตั ิ : 0-2241-4131, 0-2243-7666
พิเศษ การพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รยี นท่ีสอดคล้องกบั
G PA S S T E P s เสรมิ สร้างศักยภาพการเรยี นรตู้ ามมาตรฐาน
GPAS 5 STEPs ข้ันGรวaบthรวeมrขin้อgมูล ขั้นคิดวิPเคrรoาcะหe์แsลsะiสnรgุปความรู้
บูรณาการทักษะศตวรรษท่ี 21
แนวข้อสอบ O-NET
การอธบิ ายเป้าหมาย St St เป้าหมายการเรยี นรู้ จดุ ประกายความคิด
การเรียนรู้ และการทำ�
ชน้ิ งานทีผ่ ู้เรยี นจะได้ ระบเุ ปา้ หมายการเรยี นรใู้ นหลกั สตู รตามแนวทาง 55%
คะแนนอยา่ งชัดเจน ทำ�ให้ผเู้ รียน Backward Design ซง่ึ ประกอบดว้ ย
เหน็ ทิศทางในการเรยี น เป็นการ - มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชว้ี ดั ลวดลายบนปีกผเี สื้อมคี วามสมดุลกัน นักเรยี นลองมอง
ขจดั ความกังวลใจ และสร้าง - สมรรถนะส�ำ คญั ของผเู้ รยี น ไปรอบ ๆ ตัวดูสวิ ่ามสี ่งิ ใดบ้างท่ีลวดลายมีความสมดลุ เหมอื นกนั
ความรู้สึกเชิงบวกให้แกผ่ ูเ้ รยี น - คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
การใชค้ �ำ ถาม 10 ศลิ ปะ ป.๖
หรอื กำ�หนดปัญหา ภาระงาน/ชน้ิ งาน
ท่ผี ู้เรียนตอ้ งพบในชวี ิต กำ�หนดภาระงานหรือชน้ิ งานของผเู้ รยี น กจิ กรรมเสริมสรา้ งศักยภาพการเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21
(Problem-based Learning : PBL) ซงึ่ เปน็ หลักฐานแสดงความเขา้ ใจ แนวขอ้ สอบ NT/O-NET/PISA
เพื่อสร้างความร้สู ึกตืน่ เตน้ ท้าทาย
กระตนุ้ อารมณใ์ หผ้ เู้ รยี นสนใจ ep 1 และสารประโยชนม์ ากมายสำ�หรบั ครู
อยากเรียนรู้ อยากสบื สอบ
ซึง่ ส่งผลตอ่ การเรียนรูท้ ่ีดี ข้นั รวบรวมข้อมลู
การรวบรวมข้อมูล 1. ตงั้ คำ�ถาม ตัง้ สมมุติฐาน เพ่ือกระตุ้น
จากสิ่งแวดลอ้ ม ประสบการณใ์ หผ้ ้เู รียนเกิดการเรยี นรู้
และแหล่งเรียนรู้
อยา่ งหลากหลาย ผา่ นระบบ 2. สงั เกตและรวบรวมขอ้ มลู จากแหล่งเรยี นรู้
ประสาทสมั ผสั (ways of knowing) อย่างหลากหลาย เพอ่ื ให้ผูเ้ รยี นรู้จัก
ทง้ั การเหน็ (ทางตา) การได้ยนิ เลือกข้อมลู ท่ตี ้องการ
(ทางห)ู การสัมผสั (ทางกาย)
การได้กลิน่ (ทางจมกู ) ep 2
การรับรส (ทางปาก) ท�ำ ใหส้ มอง
เกิดการเรียนรู้และมีพัฒนาการ ข้นั คดิ วิเคราะหแ์ ละสรปุ ความรู้
เพราะสงิ่ แวดล้อมคอื ตัวกระตุน้
พัฒนาการสมอง และสง่ิ แวดล้อม 3. จดั กระท�ำ ขอ้ มูลดว้ ยการคิดวเิ คราะห์
ทหี่ ลากหลายทำ�ให้สมองเรียนรไู้ ด้ดี (จ�ำ แนก จดั หมวดหม่ ู หาความสมั พันธ์
การจัดขอ้ มลู ของสมอง เปรยี บเทยี บ ฯลฯ) โดยใชแ้ ผนภาพจัด
จะใชก้ ารคิดหา ความคิดอย่างเปน็ ระบบ สรุปสาระสำ�คัญ
ความสัมพันธเ์ ชือ่ มโยงกับ สังเคราะหเ์ ป็นความคิดรวบยอด
ประสบการณเ์ ดิม เปรียบเทียบ
จดั กลุม่ และสรุปเปน็ หลักการ 4. คิดประเมินเพื่อเพ่ิมคุณค่าโดยเช่ือมโยงกับ
ของตนเอง กจิ กรรมท่เี น้นการคิด หลกั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม หลกั ปรชั ญา
จึงทำ�ใหส้ มองเกิดการเรยี นรู้ ของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อสร้างความเป็น
และครูตอ้ งฝกึ ให้ผเู้ รยี นใช้ พลเมืองไทยและพลโลกที่มีคุณภาพ
แผนภาพความคดิ แลว้ สรุปเปน็ ความคิดรวบยอด
(Graphic Organizer)
เพื่อจดั ขอ้ มูลอยา่ งเปน็ ระบบ 5. สรา้ งทางเลอื กโดยออกแบบหรอื คดิ สรา้ งสรรค์
สร้างการคดิ อยา่ งมแี บบแผน แนวทางอย่างหลากหลาย แล้วตัดสินใจ
เลือกแนวทางทีด่ ีทสี่ ดุ
6. วางแผนขน้ั ตอนการปฏบิ ตั งิ านทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพ
เพอื่ น�ำ ไปสูค่ วามสำ�เร็จ
การคดิ ประเมนิ เพอ่ื เพม่ิ คุณค่า ท�ำ ใหผ้ ูเ้ รยี นเห็นความส�ำ คัญของสิ่งน้นั
ข้อมูลที่มคี วามสำ�คญั มคี วามหมายต่อชีวิต สมองจะสนใจและตอบสนอง
จงึ สง่ ขอ้ มูลเหล่านน้ั เข้าสูก่ ระบวนการเรียนรู้ โดยเช่อื มโยงกบั ความรู้
และทกั ษะที่มีอย่เู ดิม สรา้ งความหมายใหม้ ากยงิ่ ข้นึ
สุดยอดคู่มือครู 2
พิเศษ
การเรียนรูข้ องสมอง (Brain-based Learning)
หลักสตู รแกนกลาง’ 51 และมาตรฐานสากลในศตวรรษที่ 21
Apขpั้นlปyฏiิบnัตgิแลanะสdรCุปoคnsวtาruมcรtiู้หngลังthกeารKปnoฏwิบlัeตdิ ge A ขั้นสื่อสารและน�ำเสนอ ข้ันSปeรlะfเม-Rินeเพgื่อuเพla่ิมtคinุณgค่า
pplying the Communication Skill
เสริมความรู้ ครูควรสอน ตัวช้ีวัด รอบรู้อาเซียนและโลก
St St St asean
3ep ขั้นปฏหิบลตัังกิแาลระปสฏริบุปตัควิ ามรู้
๑. ความสมดลุ 7. เขยี นขนั้ ตอนการปฏิบตั ิงานจริงและ
ความสมดุล คอื ความเท่ากนั เสมอกัน สง่ิ ต่าง ๆ ทเี่ ราเห็นวา่ มคี วามสวยงาม ลงมอื ปฏบิ ตั ติ ามแผน ประเมนิ ความส�ำ เรจ็
เม่ือนักเรียนสังเกตใหด้ ีกจ็ ะพบวา่ มีความสมดลุ แฝงอยูใ่ นสงิ่ นน้ั เชน่
ของงานและประเมนิ การทำ�งานเชงิ ระบบ
55%พระท่ีนั่งอนันตสมาคม แม้มีความแตกต่างทางด้านซ้าย
เพื่อปรับปรงุ และแก้ปัญหา แลว้ สรปุ การเคลอ่ื นไหวและ
และด้านขวา แต่ก็ยังมีความสมดุลสวยงาม เป็นความคิดรวบยอด การลงมือปฏบิ ตั ทิ ำ�ให้
8. นำ�ความเข้าใจทเี่ กดิ จากการปฏบิ ตั ิ สมองพัฒนาท้ังสองด้าน
เมอื่ ผูเ้ รียนน�ำ หลักการจากศาสตร์
มาสรา้ งองค์ความรู้ หรอื สรุปเปน็ หลักการ แขนงตา่ ง ๆ ไปปฏิบัตหิ รือลงมือ
แก้ปัญหามากขึน้ ความรู้จะยง่ิ ถกั ทอ
ขยายกวา้ งข้นึ เกดิ ทกั ษะการคิด
รเิ รม่ิ สรา้ งสรรค์ (creative thinking)
ep 4 การคิดแก้ปัญหา (problem solving
ประตูวัดโพธ์ิ ความสมดุลท่ีเกิดจาก ขัน้ ส่ือสารและน�ำเสนอ thinking) การคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ
ความเหมือนกัน เท่ากันในด้านซ้าย
และด้านขวา และความสมดุลใน 9. สอื่ สารและน�ำ เสนอผลงานหรอื ความส�ำ เรจ็ (critical thinking) ผเู้ รยี นไดพ้ ฒั นา
ลายไทย เพือ่ ขยายความรใู้ นรูปแบบการอภปิ ราย ความคดิ ทัง้ ระบบ และสามารถ
การรายงาน นำ�เสนอด้วยแผงโครงงาน สร้างองคค์ วามรู้ไปพรอ้ ม ๆ กัน
ความรเู้ พิ่มเติม PowerPoint Presentation เป็นต้น เกิดความเข้าใจทลี่ ุ่มลกึ และเปน็
ความสมดุลในดอกบานชื่น พ ร ะ ที่ นั่ ง อ นั น ต ส ม า ค ม สร้างขึ้นใน ความเข้าใจทค่ี งทน สามารถนำ�ไป
สมัยรัชกาลที่ ๕ สร้างด้วยหินอ่อน เป็นศิลปะ ประดิษฐผ์ ลงาน สร้างผลิตภัณฑ์
จดุ ประกายความรู้ ตะวันตก บนเพดานของพระที่นั่งมีภาพเขียนสี จดั ท�ำ โครงงาน (Project-based
ปูนเปียกสวยงาม
Learning : PBL) พัฒนาพหปุ ัญญา
และขยายผลสู่สังคมตามมาตรฐาน
วัดโพธ์ ิ มีช่ือเต็มว่า วัดพระเชตพุ นวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร เป็นพระอารามหลวงชน้ั เอก ep 5 สากลและวสิ ัยทัศน์ในศตวรรษที่ 21
และเป็นวัดประจํารัชกาลในสมัยรัชกาลท่ี ๑ ขั้นประเมนิ เพอ่ื เพิม่ คุณค่า
บริการสงั คมและจิตสาธารณะ
สวยงามดว้ ยความสมดุล 11
กจิ กรรมเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพการเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21 10. เช่ือมโยงความรู้ไปสู่การทำ�ประโยชน์ให้กับ
แนวขอ้ สอบ NT/O-NET/PISA ท้องถ่ิน สังคม สิ่งแวดล้อม ในระดับ
ประเทศ อาเซียน และโลก ตามวุฒิภาวะ
และสารประโยชน์มากมายสำ�หรบั ครู ข อ ง ผู้ เ รี ย น แ ล้ ว ป ร ะ เ มิ น ค่ า นิ ย ม
นสิ ยั แหง่ การคิด การกระทำ�
Active Learning
3 สุดยอดคู่มือครู
พเิ ศษ
GPAS กระบวนการเรยี นรู้ BBL อยา่ งแทจ้ รงิ
STEPs ตามมาตรฐานสากลและวิสยั ทศั น์ในศตวรรษท่ี ๒๑
ep 1
ข้ันรวบรวมข้อมูล (Gathering)
St
การรวบรวมข้อมูลเพ่ือสร้างฐานการเรียนรู้ กระตุ้นอารมณ์ต่ืนเต้น สร้างความรู้สึกเชิงบวก สนุกสนาน
Stน่าสนใจ ทำ�ใหส้ มองต่นื ตัวพร้อมเรียนรู้ ซ่งึ มี ๒ วธิ ี ดังน้ี
St
วิธีท ่ี ๑ การใชค้ ำ�ถามหรือก�ำ หนดปญั หาทีผ่ ู้เรียนต้องพบในชีวิต
วิธที ่ี ๒ ให้ผู้เรียนอยู่ในส่ิงแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ โดยใช้ระบบประสาทสัมผัสรับรู้ข้อมูล เรียนรู้
จากของจรงิ สิ่งใกลต้ ัว ภาพ บัตรค�ำ ฯลฯ รวมทั้งไดส้ บื ค้นจากแหลง่ เรียนรู้ตา่ งๆ ดว้ ยตนเอง
G Pขั้นรวบรวมข้อมูล
ข้ันGรวaบthรวeมrขin้อgมูลathering
GPAS 5GPSATS E5PSsTEPs ขั้นคิดวิPเคrรoาcะหe์แsลsะiสnรgุปความรู้ ขั้นคิดวิเคrรoาcะหe์แsลsะiสnรgุปความรู้
ep 1 ep 1 บูรณากาบรูรทณักากษาระทศักตษะวศตรวรรรษษทที่ ี่2211 แนวข้อสอบ O-NET แนวข้อสอบ O-NET
ขั้นรวบรวมขอ้ มูล
ขนั้ ร๒ว. บโใดหร้ยนวัใกมหเร้นขียัก้อนเมรร่ีวยูลมนกเขันียเลน่นชเื่อกสมีทค่ีตู่สนีคเู่กอันง ๑. สีคูต่ รงขา้ ม
๒. ให้นักเรียนร่วชไมวอ้ทบกี่หมนันา้ากผเทาลี่สกุด่นขลอเงงกใตนนมกเอรคงะ ดู่คสารษีคูใ ชแู่้คกลำาะันถตา ิดม ๑. สีคตู่ รงขา้ ม สีคู่ตรงข้าม คือ สีที่อยู่ตรงข้ามกันในวงสีธรรมชาติ เป็นคู่สีกันคือ สีคู่ท่ีตัดกัน
โดยให้นักเรียเพน่อื ใเหขน้ ียกั เรนียนชหื่อาคสู่สีขีทองี่ตตนนเอเงอ ดังงน ี้
ชอบมากที่สุ ดลต •นง เสใอีทงนค่ีเหกอื มสรืออี ะะนไหดรรือาใษกล ้เแคียลงะกับตสิดีขอ ง หรือต่างจากกันมากที่สุด เช่น สีแดงกับสีเขียว สีม่วงกับสีเหลือง สีส้มกับสีนำ้าเงิน
เไพว้ทอื่ ใี่หหน้น้ากัผเารกยี ขนอจ สห •ขีาง อกาสตงคนีทตน้ันี่น่สูแใเตเอขีหอกง้อนคตงัอืก่งา สงเตครหีอียะนรรไือนรูใเตจอชัรบง้คงคก ู่ดำากันัถบขัง้เาานพมม่ื้ีอก ันบ เมื่อนักเรียนผสมแม่สีจนได้สีขั้นท่ี ๓ แล้วจัดเรียงเป็นวงสี นักเรียนจะพบว่ามีส ี
ต •น เสอีทงค่ีเหอื มสือีอะนไหทใกรคาี่ชรรรอเือจตบับ้นใสผหกีตินดลร้าจชง้เะ้ันกคตเับร้อียียคงนงถำา ูกกถ(คทาับรมำาูถโสทาที่มคีขษครอ ำาูถโถงดาามมย
ที่อย ู่ตรงข้ามสกันีคหู่ตลารยงคขู่ ้าม คือ สีท่ีอยู่ตรงข้ามกันในวงสีธรรมชาติ เป็นคู่สีกันคือ สีคู่ที่ตัดกัน
หรือต่างจากกันมากที่สุด เช่น สีแดงกับสีเขียว สีม่วงกับสีเหลือง สีส้มกับสีนำ้าเงิน
เมื่อนักเรียนผสมแม่สีจนได้สีขั้นที่ ๓ แล้วจัดเรียงเป็นวงสี นักเรียนจะพบว่ามีส ี
ท่ีอยู่ตรงข้ามกันหลายคู่
ส •ีข อสงีทต่ีนแเตอกงคต๓.อื่ าทคใสงหีวลา้หอีะนมคัถกะรำาูกไเถือตรราี้อยมตง น)แรศลงึ้กวกรษ่วันามคกขวัน้าาตมมรวรกจู้เสรับ่ืออ บง
จากน้ันให้นักสเพีเคือ่ รู่ตเชียรอ่ื งมนขโ้ยาจมงค ับวแามลค้รวูู่้กร่วับมกเันพสื่อนทนน า
ท่ี ช อ บ สี ต ร ง กั บ คำ า ถ า ม ที่ ค รู ถ า ม
วงสีธรรมชาติ
ใครจับผิดจะต้องถูกทำาโทษ โดย
การเต้นหน้าช้ันเรียน (ครูถามคำาถาม วงสีธรรมชำติที่เกิดจำกกำรผสมกันของแม่สี
ทีละคำาถาม แล้วร่วมกันตรวจสอบ ได้เป็นสีต่ำง ๆ ซ่ึงกลำยเป็นคู่สีกัน
ความถูกต้อง)
22 ศิลปะ ป.๖
๓. ใ ห้ นั ก เ รี ย น ศึ ก ษ า ค ว า ม รู้ เ ร่ื อ ง รอบรู้อาเซียนและโลก
สีคู่ตรงข้าม แล้วร่วมกันสนทนา
เพื่อเช่ือมโยงความรู้ a saeseaann
สุดยอดคู่มือครู 22 สธี งชาติของประเทศสมาชิกอาเซียน
๑. ประเทศบรไู นดารสุ ซาลาม : ธงชาตมิ ีสเี หลือง สขี าว สีดาำ และสแี ดง
๒. ประเทศกมั พูชา : ธงชาตมิ สี นี ำา้ เงิน สีแดง และสีขาว
๓. ประเทศอินโดนีเซีย : ธงชาตมิ สี แี ดง และสีขาว
๔. ปปรระะเเททศศมลาาวเล :เ ซธยีงช :า ธตงิมชสี านีติมำ้าเสีงนิีแ ดสงีแ สดีขงา แวล สะนีสาำ้ขี เางวนิ และสีเหวลงือสงีธรรมชาติ
๕.
วงสีธรรมชำติที่เกิดจำกกำรผสมกันของแม่สี
ได้เป็นสีต่ำง ๆ ซ่ึงกลำยเป็นคู่สีกัน
สุดยอดคู่มือครู 4 22 ศิลปะ ป.๖
พิเศษ
ep 2
ข้นั คิดวเิ คราะหแ์ ละสรุปความรู้ (Processing)
St
St St
สมองจะเกิดการเรียนรู้ทันทีเมื่อประเมินได้ว่า เรื่องที่กำ�ลังเรียนมีความหมายและสำ�คัญต่อการดำ�เนินชีวิต
ดังน้ัน ในการสอนควรให้ผู้เรียนคิดประเมินเพื่อสร้างความหมายของความรู้ในมิติคุณธรรม จริยธรรม และ
คา่ นิยมหลกั ๑๒ ประการ
ผเู้ รยี นจะกระตอื รอื รน้ เมอื่ รา่ งกายไดเ้ คลอื่ นไหว มสี ว่ นรว่ มในกจิ กรรมการเรยี นรู้ ท�ำ ใหส้ มองพฒั นา มศี กั ยภาพ
ในการคิดมากขนึ้ สมองจะใช้การคิดหาความสมั พันธข์ องส่ิงต่าง ๆ เพ่อื เปรยี บเทียบ จัดกลมุ่ และสร้างเป็นหลักการ
ของตนเอง โดยใช้แผนภาพมาชว่ ยจดั ความคดิ เหลา่ นใ้ี หเ้ ป็นระบบชดั เจน
ขั้นปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ
A A Spplying and ConstructiAngppขt้ันlhyปieฏnิบgKัตaิแnnลodะสwCรoุปlneคsวdtrาugมcรetiู้หngลังtกheารKปnฏoิบwัตleิ dge
ขั้นสื่อสารและน�าเสนอ ข้ันประเมินเพ่ือเพิ่มคุณค่า
pplying elf RegulatingApplyขitn้ันhgสeื่อthสCeารoCแomลmะนmm�าuเunสiนncaอitcioantSiokilnl Skill ขั้นSปeรlะfเม-Rินeเพg่ือuเพla่ิมtคinุณgค่า -
เสริมความรู้ ครูควรสอน เสริมความรู้ ครูควรสอน ตัวช้ีวัด ตัวชี้วัด 2aseaenpas2eรaeอnpบรู้อารแขเลซนั้อะียคสบนิดรแวรปุลเิ คคูะ้อโรวลาาากะมขเหรซัน้์ู้ ียคนิดแวลิเคะโรลากะห์
สามารถลงน้�าหนักแสงเงา ๔. เงาตกกระทบ ๑๐. ให้นักเรียนร่วมกแันลวะิเสครรปุาะคหว์วา่าม รู้
๔. เงาตกกระทบ นอกจากแสงจะท�าให้เกิดเงาที่วัตถุแล้ว แสงยังท�าให้เกิดเงาท่ีบริเวณพ้ืน เงาตกกระทบคืออะไร จากนั้นครู
หรือฉากซึ่งอยู่ใกล้วัตถุอีกด้วย เม่ือแสงผ่านวัตถุนั้นมาที่พ้ืนหรือฉากซ่ึงอยู่ใกล้วัตถุ
ไม่ได้ ก็จะเกิดเงาตามรูปร่างของวัตถุข้ึนบนพ้ืนหรือฉากน้ัน ซ่ึงเงาชนิดนี้เรียกว่า ๑ใ๐ห.้น ักใเรหียน้ นสำาั กรวเจสริ่งี ยต่านง ๆร ่ วบรมิเวณกั น วิ เ ค ร า ะ ห์ ว่ า
ทโรี่มงเีเรงยี าเนตง (กใานกตทรี่แะกจทง้ กบ) แ รลแะะลส้วทังใเกหบต้นสคัก่งิ เตือรา่ ียงอ นๆะ ไร จากน้ันครู
นอกจากแสงจะท�าให้เกเงิาดตกเงกราะททบี่วัตถุแล้ว แสงยังท�าให้เกิดเงาที่บริเวณพ้ืน ขอร่วยอมา่งงสกไใโ่ิงรันรหบตวง้า่าิเ้นงเงคร รักๆยี า เะนเรหห ีย์ว(ลใ่า่านนเนงสาท้ันตมำา่แี กีลรจกักว้งรษจะ) ณทแสบะลิ่ง ะตส่าังงเ กๆต สบิง่ รติเ่าวงณ ๆ
รือฉากซึ่งอยู่ใกล้วัตถุอีกด้วย เมื่อแสงผ่านวัตถุนั้นมาท่ีพ้ืนหรือฉากซึ่งอยู่ใกล้วัตถุ ๑๑. ใโแหรลน้ง้วเักใรชเรทียร้ด่ียวี่นมินนทมสวีเอี่นางกดลักางภันเแตารสพียวกงสนิเเิ่งงกคไตาปท่ารรง่ีสต ะๆำกาาท รกะบวรรบหจะิเวทม์ วณบาแ่า ลเง้วาใตหก้นกักรเะรีทยนบ
ม่ได้ ก็จะเกิดเงาตามรูปร่างของวัตถุขึ้นบนพ้ืนหรือฉากน้ัน ซ่ึงเงาชนิดน้ีเรียกว่า
งาตกกระทบ
โแจดาลกย้วนรคว่ ้ันอขรมอูคยอกออนั า่กงยสงมสใราไหปุ นิ่ งร้คคำาบตเำวาสแา้า่นามนงอคงะหิด นนรำๆาว้าเชบพ ้ันย่ิมเเอรหเดตียิลมน ่ า นั้ น มี ลั ก ษ ณ ะ
๑๑. ใหน้ ักเรียนวาดภาพส่งิ ตา่ ง ๆ บริเวณ
โรงเรียนที่นักเรียนไปสำารวจมา
แล้วใช้ดินสอลงแสงเงาท่ีตกกระทบ
ค�ำถำมทำ้ ทำย สนุกกับคําศัพท์ จากน้ันออกมานำาเสนอหน้าชั้นเรียน
ถา้ เปน็ เวลาเท่ยี งวนั โดยครูคอยให้คำาแนะนำาเพ่ิมเติม
เงาของนักเรียนจะเป็น light (ไลท) แสง แล้วร่วมกันสรุปความคดิ รวบยอด
ลกั ษณะอย่างไร shadow (แชด′โ� ด) เงา
๒ มิติ สู่ ๓ มิติ 43
แนวข้อสอบ O-NET (เฉลย ๑ เพราะลกั ษณะของภาพ
๓ มติ ิ จะมคี วามกวา้ ง ความยาว
สิ่งใดมีลักษณะเปน็ ๓ มิติ ความลึกและความหนา)
๑ ถ้ำาท่มี องเหน็ ความลกึ
คำ� ถำมท้ำทำย ๒ กระดาษวาดเขยี น ๑ แผ่น
๓ ภาพถ่ายขนาด ๔ Ö ๖ นวิ้
ถ้าเปน็ เวลาเทย่ี งวัน ๔ ผ้าทอพืน้ เมอื ง ๑ ผืน
เงาของนกั เรยี นจะเปน็
สนกุ กบั คําศพั ท์ 43 สุดยอดคู่มือครู
ลักษณะอย่างไร
light (ไลท) แสง 5 สุดยอดคู่มือครู
shadow (แชด′โ� ด) เงา
๒ มติ ิ สู่ ๓ มติ ิ 43
พิเศษ
ep 3
St
ขั้นปฏบิ ัตแิ ละสรปุ ความรหู้ ลงั การปฏิบัติ (Applying and Constructing the Knowledge)
St
ทซ่ี บั ซอ้ กนาขรนนึ้ �ำ ยหง่ิ ลปกัฏกบิ าตั รเิทปี่สน็ รป้ารงGะขPจ้ึนA�ำ Sไจป5ะปเSกฏTEดิ ิบPคsัตวิ าลมงชม�ำือนทา�ำ ญ ลกงมลาอื ยแขเกั้นGป้ปรน็ วaญั บคthรหววeามาrมขinท้อเgมขำ�ูลา้ใใหจส้ ทมค่ี องงทตนอ่ ยซงอ่ึ เดรคยี กวาวมา่ ขร้ันอคทู้ งิด่มีควค์ิอีPเคrยวรoาา่เู cะดมหeมิ์แรsลู้sหะเiสnกรรgดิุอปื คคปววญัาามญรมู้ ารู้
St บูรณาการทักษะศตวรรษท่ี 21 แนวข้อสอบ O-NET
2ep
ข้นั คดิ วิเคราะห์ ข้ันGรวaบthรวeมrขin้อgมูล ขั้นคิดวิPเคrรoาcะหe์แsลsะiสnรgุปความรู้
และสรุปความรู้ GPAS 5 STEPs
บูรณาการทักษะศตวรรษท่ี 21 ๓. ตวั อย่างแรนูปวขป้อสัน้ อตบ O่า-งNEๆT
๑๒. ใรหูป้นปัก้ันeเตรp่าีย2งน ๆศ ึกเษพแขลั้นา่ือะค สเดิ วรปวปุิเิเ็นคคครวแราาะมราหระง์ู้ หบ์ันตัดวอาลยใ่าจง
๑๓. ใใหนน้ก๑กัา๒รเรส. ยี รใรหนูป้าง้นปแสักั้นบเรตรง่ ร่าียกงคน ลๆศผ์ มุ่ ึกลเรษพงว่ า่ือาม เนวปกิเข็นคนั แอรอรางะงอตบหกนั์นตแัดวเออบาลยงบใ่าจง
๓. ตวั อยา่ งรปู ปน้ั ต่าง ๆ
แจกันลวใดนกลาารยสรตา้ ่างสง รๆรค ผ์พลรง้อานมขกองาำ ตหนนเอดง
วัสด๑ุท๓่ีจ. ะใใหชน้ ้ใกั นเรกยี นารแบสง่รก้าลงมุ่ สรรว่ มรกคนั ์ผอลอกงแาบนบ
เแชช่น่น ำ้าดผินสเแวนชัสจม่น้ำาดกมก นัุทดันาลี่จินวะว นใด ดชำ้าขลม้ใินานวันยเกดห ตดาา่รนรินงสูป ียเรๆหท้าว นงพ รสียกรงรว้อรรต มคกะ่าก์ผรดงาำะลหา ดงนษๆาาษดน
แล้วร่วมแชก่นัน้ำาผวสามงกแาผว นขวขดั้นรูตปทอรนงตก่าาง รๆ
ปฏิบัตงิ าปแนฏล้ิบวรัต่วงิ ามนกันวางแผนข้ันตอนการ
St3ep ep 3 ขัน้ ปฏบิ ขัตน้ ปิ ฏิบตั ิ
แหลละังสกราุปรแหปคลลวะฏังสากิบรมาุปรัตรปคิู้วฏาบิ มตั ริู้
St
๑๔. ใ ห้ น๑ั๔ก. เสใรหีรย้้นานังกสแเรรตียร่ นลค์แงะาตกน่ลลปะุ่ั้มนกลแรุ่มจ่ วกรม่ัวนมกจักนาันก
ส ร้ า ง สขรวรดคเห์ งลือาในช้ทปี่อั้ นอกแแจบกบไั นว้ จพาร้อกม 56 ศลิ ปะ ป.๖
ขวดเหลเขือียในชบ้ทัน่ีอทอึกกข้อแมบูลบขั้นไตว้อ นพกรา้อรปมั้น
เขียนบันลงทใึนกแขบ้อบมบันูลทขึก้ันตอนการป้ัน
ลงในแแบบบบบนับทนั ึกงทานกึ ปนั้ แจกันจากขวดเหลอื ใช้
แบบบนั ทึกชงอ่ื าผนลงปานั้น แ จกันจากขวดเหลือใช้
ชอ่ื ผลงาน ว ัสดุ อปุ กรณ์
วัสด ุ อุปกรขณั้นต์ อนการปัน้ 56 ศลิ ปะ ป.๖
๔.
๓.
ขน้ั ตอนการปนั้ ๒.
๑.
๔.
๓.
สุดยอด๒คู่.มือครู 56
๑.
สุดยอดคู่มือครู 6
สุดยอดคู่มือครู 56
พิเศษ
A 4ppขั้นlyปiฏnิบgัตaิแnลedะpสCรoุปnคsวtrาuมcรtiู้หngลังtกheารKปnฏoิบwัตleิ dge A ข้ันสื่อสารและน�าเสนอ ขั้นSปeรlะfเม-Rินeเพgื่อuเพla่ิมtคinุณgค่า
pplying the Communication Skill
St
St St
สริมความรู้ ครูควรสอน ขั้นสอ่ื สารและน�ำเสนอ (Aตpัวpชly้ีวัดing the Communication Skilla)sean รอบรู้อาเซียนและโลก
3ep ขนั้ ปฏิบตั ิ
การถ่ายทอดความรู้ ความคิด ความรู้สึก โดยใช้ภาษา แสดงถึงความสาแหลมละงัาสกรราุปถรปคใวนฏาบิ มกัตราิู้ รสื่อสารหรือปัญญา
ห้นักเรียนอ่ำนคดห�ำแ้ารลนอื ะสภค่ือวาำอษมิเาหลกมก็ ิจกำทกยรขรระรออบมงนวคพนกิำ� ฒั ตสก่อน์าไผารปกเู้นนราท้ีีย้ีรอนำ�่าใกนห็จผ้ ะ้เูไรดียพ้ นฒั ไดนแ้ าลทกกั เษปะลดย่ี า้นนคเวทาคมโรนู้ โทลัศยนีดว้ค๑ยต๔ซิ .ึ่ง กใคหันว้แานมลักถะเกูกรันีตย้อนถงป้าขนรอะ�ำงเเผสมลนินงอา โนตด ยรพใวรชจ้อ้คสมออมหบพา ิวเตอร์
พท์ คำ� อำ่ นการส่ือสารและนำ�เสนคอวเำปม็หนมกำายรสร้างอารมณ์เชิงบวกได้อย่างดแี นเมวท่ือาผงู้อป่ืนรับชื่ปนรชงุ อแบกผ้ไขลใงหา้ดนีขข้นึ องตน ช่ืนชม
ทธา คสวดั า-ทมาสำ�เร็จขคอวงามตเนชือ่ ผ คเู้ วราียมนเลจ่ือะมเใกสิดความภาคภูมิใจ เกิดแรงบันดาลใจ๑ท๕จ่ี . ะใสหร้า้นงักสรเรรียคผ์นลแงลานะคตอ่รๆูร่วไมปกันสรุป
ธพิ ล อิด-ท-ิ พน ก�าลงั ทยี่ งั ผลใหส้ า� เร็จ อา� นาจทีส่ ามารถบันดาล หลักการ ดังน้ี
ใหเ้ ป็นไปได้ตา่ ง ๆAppขั้นlyปiฏnิบgัตaิแnลdะสCรoุปnคsวtrาuมcรtiู้หngลังtกheารKปnฏoิบwัตleิ dge • บทบาทของงานทศั นศิลป์ ในชวี ติA ขั้นสื่อสารและน�าเสนอ
pplying the Communication Skill
ขั้นSปeรlะfเม-Rินeเพg่ือuเพlaิ่มtคinุณgค่า
เสริมความรู้ ครูควรสอน ตัวชี้วัด asean และสังครอบรู้อาเซียนและโลก ม ง า น ทั ศ น ศิ ล ป์ ส ร้ า ง ข้ึ น
ทนาดงินทัศเกผเนวาาศ ็บรภิลดไปาซชแู์ขนอลตะงรทหแ์ ัก้อุงนตงษถะ้มา่ินน โ เเบพ�าชื่่นอรก าณาร สถาน โบราณวัตถ ุ ศลิ ปวตั ถุ wwwก.tจิ hกaรรiมloพcฒั aนlาaกdารmอา่ iนn.go.th ep 3 ขน้ั ปฏบิ ตั ิ
ใหแห้สลละงัสอกราปุรดปควฏาคิบมัตรลิู้ ้องกับวิถีชีวิตของคนใน
านเรือนตามสภาพภูมิศาสตร์ของ ให้นักเรียนอ่ำนค�ำและควำมหมำยของคำ� ต่อไปนี้ ๑๔. ให้นักทเรอ้ ียงนถปน่ิระ เเมกินดิ ตจราวกจสภอบมู ปิ ญั ญาทเี่ กย่ี วกบั
สูงกว่าบ้านท่ีอยู่บนเนินเขา
ค�ำศพั ท์ คำ� อำ่ น ควำมหมำย คแนววามทคถางูกวปตรา้อบั มงปขรเองุ ชงแผกื่อล้ไข งใาคหน้ด วพขี า้นึร้อมมศหารัทธา ศาสนาและ
๑๕. ใหหล้กันกักสาเรภร ดียาังนนพแ้ี ลภะูมคริศูร่วามสกตันรสร์ ุป
ศรัทธา สัด-ทา ความเชือ่ ความเล่อื มใส • บ ท บ•า ทขออิทงงาธนทิพศั นลศิลขปอ์ ในงชวีศติ าสนาที่มีต่องาน
ผังสรุปสาระสา� คัญ อทิ ธพิ ล อดิ -ทิ-พน ก�าลงั ท่ยี งั ผลใหส้ �าเร็จ อา� นาจท่ีสามารถบันดาล
ให้เปน็ ไปได้ตา่ ง ๆ
ตองีนกจรกรมลววดิธีกลาารยทอัอนผเป้า็นในเอกกลลุ่มักคษนณพ์แ้ืนบเทมบือศั ง นศบลิ ทปบ์ใานทชขวี อติ งแงลาะนสกเงั วาผค็บรงัดไสมซูแรลตปุ ร์แสักนาษะรานะโบสา� รา� าคณญั สกงสคเถกาาภัวนบนิ ดาาโทบวมพรจิศัถาเภณชานี ชวูมอื่กตัศี วถ ิศคภ ุลิิศตาวูลิปมสปาขส์ิวตมปัตอรถรศัญาุ้ ง์wงรคwขญทั wน้ึนธ.าtใhาใหทa ศiนlส้่ีoเาcกทอaสlaดี่้ยนอdคmาวงiแลnถก.ลอg้ ่ิัoนบะง.t h ใแหล้สะอสทดังคคศั มลน้ องงศากนับลิทวัศิปถนีชใ์ศีวนิติลขปทอ์สงรอ้ ค้านงงขใถ้ึนน น่ิ งานทศั นศลิ ป์ท่ี
งานทศั นศลิ ปส์ รา้ งขนึ้ ใหส้ อดคลอ้ ง คทอ้วางมถไนเิ่ ชด เ่ือก ้รดิคจับวาากมแภศมูรรปิัทงญัธบาญ ันศาทาสดเี่ กนย่ีาาวแลกลบัะใจจากศาสนาจะมี
วั ฒ น ธ ร ร ม ท่ี เ กี่ ย ว ข ้ อ ง ทัศนงศบลิาทปนบ์ใานททชขศัวี อติ งนแงลาศะนสลิ ังคปมท์ ไ่ี ดร้ กคเสบักภัวบิดาาแวมพจิถเรภชาีชูมอ่ืกงีว ศิคภบิตาวูมสนาัขิตมปอรศัดญง์ รคาญทั นธลาาใท ใศน่ีเจากทสี่้ยนอาวงแถกลิ่ันบะ ส ท •ภศั านอพศิ คทภ ลิ ธ•ูมวปิพ ศิา์ใลนามอสขทตสทิออ้ รงงว์ธถศยน่ิาพิ ส งงนาลานามทททัศี่อมานีตอ่งศ่อวนิลงปฒัาชน์ทอ้่ี นยธแรลระมมใเี อนกทลอ้ กั งษถณน่ิ ์
พณีต่าง ๆ เช่น การประดิษฐ์ จากศาสนาจะมีความสวยงาม คไดวา้รมับสทแวรย่ีมงงบาีมผันอดอ่ ลานลชตใอ้ จย่จอแาลกกะศมาเาี อสกรนลาสกั จษะรณม้า์ี งงานทัศนศิลป์
ทออี่มิทตีธอ่ อ่ิพนงลาขนชอทง้อศัศยนาสศแนลิ าปล์ ะมเี อกจงลาานกักทศษศั านสณศนลิ า์ปจท์ ะไี่ ดมร้ีคบั วแารมงบสนั วดยางลาใมจ ใท น•่ีม แีผอตทิปใล่ลธนตะรพิ ่อทละแก้อทเางตาพรถงสว่ิน่ลณฒัรม้าะนีวงทีัฒธทงราเนี่ร้นอปมธทใรงน็นัศรถทมนเอ้ อศ่ินแงิลถกลมนปิ่ะล์ ีวกั ัฒษนณธ ์ ซรงึ่ รมมผี ลแตลอ่ะ
ทศท งนอ้ใ นในศนปปรชลิ ะรวีเปะพเิตพ์ณณีบีลุญอบย้ังกไรฟะ ทง การท�าทอ่ีมทิ ตี ธ่อิพงลาขนอทงศัศนาสศนิลาป์ ในท้องถน่ิ อ่อนช้อยและมีเอกลักษณ์ กปารระสเพกรณา้ งาทีผรเ่ีลปสงน็ ารนเอทา้กาลงงกัทผษัศณลนศ ์ซงิลงึ่ าปมน์ผี ลทตอ่างทัศนศลิ ป์
ในทอ้ งถนิ่ สทะทศั นอ้ นศชิลวีปติ ์
ep 4ep 4
ทธิพลต่อการสร้างสรรค์ผลงาน อิทใธนพิ ลแทาตงว่ลฒั ะนธทรร้อมงถ่ินมีวในัฒแต่นละธท้อรงถริ่นมมีวแัฒลนธะรรมและ ขั้นสื่อสารและนา� เสนอ
ปัจจุบัน โดยมีการปรับปรุงใหอ ้ิทธพิ ลทางวัฒนธรรม ในสทปรอ้ ้ารงงถงะ่นิานเทพทีม่ ศัผี ณนลตศีท่อิลกปี่เา์ปร ็นเอกลตปอ่รักะกเาพษรณสณรีทา้ ่ีเงป์ ผ็นซลเงอ่ึงากนมลทักาีผงษทณลศั ์ นซศึ่งมิลปีผ์ล
ณ์ มีคุณค่า ควรแก่การอนุรักใษน ์ ท้องถ่ินทมี่ ผี ลตอ่ การ
St
St St
สร้างงานทัศนศิลป์ ต่อการสร้างผลงานทางทัศนศลิ ป์
5 ทศั นศลิ ปส์ ะท้อนชวี ติ 81 ๑๖. ใแบห้บนบั กันเทรึกี ยงานนขอท้ันัศอนสกศอื่มิลสาปน์ใานำราทเแ้อสลงนถะ่ินอน �าเสนอ
ของตนเองหน้าช้ันเรียน โดยครู
คอยตรวจสอบความถกู ตอ้ ง และให้
คาำ แนะนาำ เพมิ่ เติม
5ep ข้นั ประเมนิ เพื่อเพม่ิ คณุ คา่
บรกิ ารสังคม
๑๖. ใ ห้ นั ก เ รี ย น อ อ ก ม า นำ า เ ส น อ และจิตสาธารณะ
ทัศนศลิ ปส์ ะทอ้ นชีวิต 81
p แบบบันทึกงานทัศนศิลป์ในท้องถิ่น๑๗. ให้นักเรียนร่วมกันจัดทำาแผ่นพับแนะนำาผลงานทัศนศิลป์ท่ีสะท้อนถึงชีวิต
ขั้นประเมนิ เพือ่ เพ่ิมคณุ คา่ ของคนในท้องถิ่น แล้วนำาไปวางไว้ที่ห้องสมุดโรงเรียน ห้องสมุดชุมชน หรือ ของตนเองหน้าชั้นเรียน โดยครู
บริการสังคม ศาลาประชุมของชุมชน เพ่ือเผยแพร่ความรู้ให้แก่ผู้ที่สนใจศึกษาและ คอยตรวจสอบความถูกต้อง และให้
เป็นการประชาสัมพนั ธ์เก่ยี วกบั ชุมชน คาำ แนะนาำ8เ1พ่มิ สุดเยตอดมิคู่มือครู
และจติ สาธารณะ
ให้นักเรียนร่วมกันจัดทำาแผ่นพับแนะนำาผลงานทัศนศิลป์ที่สะท้อนถึงชีวิต
ของคนในท้องถิ่น แล้วนำาไปวางไว้ที่ห้องสมุดโรงเรียน ห้องสมุดชุมชน หรือ
ศาลาประชุมของชุมชน เพื่อเผยแพร่ความรู้ให้แก่ผู้ที่สนใจศึกษาและ
เป็นการประชาสมั พันธเ์ ก่ียวกับชุมชน 7 สุดยอดคู่มือครู
สุดยอดคู่มือครู
พเิ ศษ
ep 5
ขั้นประเมนิ เพือ่ เพมิ่ คณุ ค่าบรกิ ารสงั คมและจติ สาธารณะ (Self-Regulating)
St
ส งิ่ ท่ีเปเน็ มป่ือรสะมโยอชงนข์เอพงม่ิผขู้เร้ึนียอนีกไหดล้รับ่อGหกPลAาSอรเม5สเSรปTิมE็นPแsนริสงัยเแชหิงบง่ กวากรอคยดิ ่ากงาสรมขกั้นGํ่ารรเวaะสบtทhรม�ำวeอมใrนขจin้อาตgมกวัูลสผิู่เ้งรทียี่ทนำ� สาจมะการรถะขตยุ้นาใยหขผ้ัน้คลคิดิดไวปสิPเคสรrร้าสู่oางcังะหสeค์แsรมลsระไiสnคดรgุป์้ ความรู้
St
ตามมาตรฐานepส3ากลและวขิสนั้ ยัปทฏิบบัศัตูรนณิ ใ์ านกาศรตทักวษระรศษตวทร่ีร๒ษ๑ท่ี 21 แนวข้อสอบ O-NET
แหลละังสกราุปรปควฏาบิ มตั ริู้ กจิ กรรมพัฒนาการอา่ น
ใขหั้นGร้นวaบกัthรเวรeมียrขiนn้อgมอูล่านคาํ และความหมาขย้ันขคิอดวงิPเคคrราํoาตcะหeอ่ ์แsลไsะปiสnรนgุป้ีความรู้
๑๗. ใ ห้ นั ก เ รี ย น แ ล ะ ค รู ร่ วบมูรณGกาPกัAนาSรสท5ักรSษTุะปEศPตs วรรษท่ี 21 คแํานอวา่ ขน้อสอบ O-NET
หลกั การ ดังepน3ี้
ขน้ั ปฏบิ ัติ คาํ ศัพท์ ความหมาย
• การวาดภาพ ๒แห ลลมะังสกริตาปุรปิคใวฏหาบิ มตั้เรปิู้ ็นภาพ St St St ทิวทัศน์ กทจิ วิ ก-รทรมดั พฒั นาการอล่ากันษณะภมู ิประเทศที่ปรากฏเห็นตามธรรมชาติ
๓ มิติ ท๑ำ๗า.ไ ใดห้โ้นดักเยรียกนาแรลละคงรแูร่สวมงกเันงสาร ุป ใบหร้นรักเยรยีานกอา่าศนคําและควาบมหันม-ายยขาอ-งกคาําดตอ่ ไปน้ี อากาศทหี่ ุ้มหอ่ โลก ความรู้สึกหรือสง่ิ ท่ีอย่รู อบ ๆ ตวั
ของภาพ ซ่ึงทหำาลใักหกา้ภร าดพงั นดี้ ูมีมิติ และมี คาํ ศพั ท์ คาํ อ่าน ความหมาย
น้าำ หนกั ม ากข๓ ้ึน • การวาดภาพ ๒ มิติให้เป็นภาพ ทิวทัศน์
มิติ ทำาได้โดยการลงแสงเงา บรรยากาศ เวบ็ ทไิวซ-ทตดั ์แนะนล�ากั ษณะภูมิประเทศที่ปรากฏเห็นตามธรรมชาติ
ของภาพ ซ่ึงทำาให้ภาพดูมีมิติ และมี รูปบนั ๒-ย าม-กติ าดิ และ อ๓าก มาศติ ท ิ ีห่ wุ้มหwอ่ โwลก.a คdวvามeรrูส้ tกึisหiรnือgส.ิ่งcทl่อี icยู่รkอiบn gๆm ตัวe.com
น้าำ หนกั มากขนึ้
ep 4 เวบ็ ไซต์แนะนา�
St St ขน้ั ส่อื สepาร4และนา� เสนอ รปู ๒ มติ ิ แผลังะ ส๓ รมุปติ ิ สwาwรwะ.aสdา�veคrtญั ising.clickingme.com
ขน้ั สอ่ื สารและนา� เสนอ ผงั สรุปสาระส�าคัญ รูป ๒ มิติและรปู ๓ มิติ รปู ๒ มติ ิ เปน็ รปู ทม่ี ดี า้ นกวา้ งและดา้ นยาว
รูป ๒ มิตแิ ละรปู ๓ มติ ิ รครปููปว า ๒ม๓ นม ตูนิม ิ ิเตคปิ วน็ เาปรมปู็นหทรนม่ีูปาดี ทา้ ี่แนสกวดา้ งงครถแูปึวลงคะา ดวม๓า้านนม ยลนูามึกว ิตคิ วเาปม็นหรนูปา ท่ีแสดงถึงความลึก
๑๘. ให้นักเรีย๑น๘อ. ใอหก้นักมเราียนนำาอเอสกนมาอนำาภเสานพอภวาาพดว าด
๓ มติ ิ ของตน๓เ อมติง ิหขอนงตา้ นชเั้นองเหรนียา้ ชนัน้ เรียน
รปู ทรงกบั แสงรเงูปา ทรงกับ๒รแูป มสทติ รงิ งจเกงะับกาแลสายงเเปงา็น รเูปมทื่อรลงง แ๓รส มูงปติเงทิ าใรนงภกาพับ แสงเงา เม่ือลงแสงเงาในภาพ
ep 5 5ep ขน้ั ประเมินเพ่ือเพม่ิ คณุ ค่า ๒ มิติ ๒ มติ ิ จะกลายเปน็ รูปทรง ๓ มติ ิ
สู่ ๓ มิติ
ขั้นประเมินเพอื่ เพแิ่มลบะครจุณติิกาสราคสธ่างัาครมณะ หลักการลงน�้าหนกั แสงเงา หลักการลงน�้าหนักแสงเงาส่วนที่รับแสง
๑แล๙บะ. รจตใติกิ หนาส้นรเาสอักธงัางเครรแมณียลนะะเรพว่ือบนรว มๆผ จลัดงาทนำาขเปอ็นง ๒ มิติ
สู่ ๓ มติ ิ หลักการลงน�้าหแจะตนส่สว่กัวา่ งนแมทาสี่รกับง ไเแมงสต่ าง้อนง้อลยงนห�า้ รหือนหไักมแล่ไสดักง้รเกงับาแมาสารกงล งน�้าหนักแสงเงาส่วนที่รับแสง
จะต้องลงน�า้ หนักแสงเงามากจะสว่างมาก ไมต่ อ้ งลงน�้าหนกั แสงเงามาก
เงาตกกระทบ เงาตกกระทบ เป็นเงาที่เกิดขแึ้นตตา่สมร่วูปนร่าทง ี่รับแสงน้อยหรือไม่ได้รับแสง
ของวตั ถทุ าบบนพ้นื หรอื ฉากจนั้นะตอ้ งลงน้า� หนักแสงเงามาก
๑๙. ตใหน้นเอักงเรแียลนะสเจเรพัพดมวื่อแุด่ือบใสภชดนร้ปางวใพร นะมๆแหโลย้อผ ้วงชจสลนนมัด์ำแางุดไลาทขปะนอำใามงหขเโอ้รคปบองวเ็นแรางียลม นระ ู้
แสงเงาในภาพทิวทศัเงนา์ ตกกรแรสะะบงเทางายบใแนสภงาพเงทาิวใทหัศ้เปน์็ นภ า๓พ ทมเิวงิทตาัศิ ตจน์ทะกท่ีมก�าีกใราหระ้ ทบ เป็นเงาที่เกิดขึ้นตามรูปร่าง
สวยงามสมจริง ของวัตถทุ าบบนพนื้ หรือฉากนน้ั
ส มุ ด ภ า พ แแลก่ผ้ วูท้ สี่นนำใาจไศึกปษาม อ บ แ ล ะ
แสงเงากับการสร้างสรรค์ แสงทา� ใหภ้ าพดสู วา่ ง เงาทา� ใหภ้ าพดมู นี า�้ หนกั
จัดแสดงในห้องสมุดของโรงเรียน 46 ศลิ ปะ ป.๖
แสงเงาในภาเ๓ปพ ลม่ียทติ นิ ิวรูปทรา่ัศงจนาก์ ๒ มิต ิ ใหก้ ลรแาสะยเบงปเ็นางรายปู ใทแนรงสภ งาพเงทาิวใทหัศ้เปน์็ นภ า๓พ ทมิวิทตัศิ จน์ทะท่ีม�าีกใาหร้
เ พ่ื อ ใ ช้ ป ร ะ โ ย ช น์ แ ล ะ ใ ห้ ค ว า ม รู้
สวยงามสมจริง
แกผ่ ทู้ ี่สนใจศึกษา
แสงเงากับการสรา้ งสรรค์ แสงทา� ใหภ้ าพดสู วา่ ง เงาทา� ใหภ้ าพดมู นี า�้ หนกั
เปลีย่ นรปู ร่างจาก ๒ มิต ิ ใหก้ ลายเปน็ รปู ทรง
46 ศิลปะ ป.๖ ๓ มติ ิ
สุดยอดคู่มือครู 46
สุดยอดคู่มือครู 8
พเิ ศษ
ค�ำชี้แจงในการใช้หนังสือเรียน
ที่ได้รับการออกแบบให้สอดคล้องกับการเรียนรู้ของสมอง
หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ศิลปะ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ เล่มนี้ ได้จัดทำ�ขึ้นตาม
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
โดยมีเนื้อหา กิจกรรม และคำ�ถามที่เหมาะสมกับพัฒนาการของผู้เรียน กระตุ้นกระบวนการคิดวิเคราะห์ให้กับผู้เรียน
ซึ่งสอดคล้องกับการเรียนรู้ของสมอง (Brain-based Learning)
๑หน่วยการเรียนรู้ที่
ตวั ชีว้ ดั สวยงามดว้ ยความสมดลุ
เป็นเป้าหมายในการพัฒนา
ผูเ้ รยี น ท่ผี เู้ รยี นจะไดร้ บั และ ตัวช้ีวดั
ปฏบิ ัติได้ในหน่วยการเรยี นร้นู ี้
๑. อธิบายหลกั การจัดขนาด สดั สว่ น ความสมดลุ ในการสรา้ งงานทศั นศิลป์ (ศ ๑.๑ ป.๖/๒)
ผังสาระการเรยี นรู้ ๒. สร้างสรรค์งานทศั นศลิ ป ์ โดยใชห้ ลกั การของรูปและพน้ื ทว่ี ่าง (ศ ๑.๑ ป.๖/๕)
เป็นหวั ขอ้ ท่ีผู้เรียนจะไดเ้ รียน
ในหนว่ ยการเรยี นรนู้ ้ี ผังสาระการเรยี นรู้
สาระสำ� คญั ความสมดุล ขนาด
เป็นความรูส้ �ำคัญท่ีเปน็
ความเขา้ ใจท่คี งทน สวยงามดว้ ย
ทผี่ ู้เรยี นจะไดร้ บั ความสมดุล
รูปและพ้ืนทีว่ า่ ง สัดสว่ น
สาระสา� คัญ
หลกั การจัดขนาด สดั สว่ น ความสมดลุ รูปและพ้ืนทีว่ ่าง เป็นองคป์ ระกอบที่สําคัญในการสรา้ งงาน
ทัศนศิลป์
9 สุดยอดคู่มือครู
พเิ ศษ
จุดประกายความคดิ
จุดประกายความคิด
เปน็ ค�ำถามทก่ี ระต้นุ ความคิดให้ผู้เรียนฝึกใช้
ความคิดสรา้ งสรรค์เกีย่ วกบั เรอ่ื งท่ีจะเรียน
ลวดลายบนปกี ผเี สอื้ มคี วามสมดลุ กัน นักเรยี นลองมอง
ไปรอบ ๆ ตัวดูสิว่ามสี ่งิ ใดบา้ งทล่ี วดลายมีความสมดลุ เหมอื นกนั
10 ศลิ ปะ ป.๖ ๔. รปู และพนื้ ทว่ี ่าง
ภาพท่ีสวยงามจําเป็นต้องมีการจัดวางขนาดและเรื่องราวให้เหมาะสมกับ
เน้ือหา พ้ืนท่ีว่าง โดยการกําหนดขนาดไม่ให้เล็กหรือใหญ่จนเกินไป และนําองค์ประกอบ
ครบตามตัวชว้ี ัดและตรงตามหลกั สตู รแกนกลาง ของเรื่องราวมาจัดวางให้เหมาะสมสัมพันธ์กันอย่างลงตัว จะทําให้รูปโดดเด่น
การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ น่าสนใจมากยิ่งขึ้น
เหมาะสมกับระดบั ชั้นของผเู้ รียน
ภาพที่มีขนาดรูปเต็มพ้ืนที่ ไม่มีพ้ืนท่ีว่าง ภาพท่ีมีขนาดรูปและพ้ืนที่ว่างอย่างเหมาะสม
สุดยอดคู่มือครู 10 การจัดบริเวณพื้นที่ว่างภายในภาพสามารถทําได้หลายรูปแบบ เช่น
การวางพ้ืนที่ว่างรอบ ๆ รูป เพื่อให้รูปมีขนาดใหญ่และโดดเด่น ส่วนการวางพื้นท่ีว่าง
ตรงกลางภาพเป็นการเน้นจุดเด่นของภาพ และการวางพื้นที่ว่างกระจาย
อยู่รอบ ๆ รูป ทําให้องค์ประกอบของภาพมีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น
พื้นที่ว่างในภาพอาจปรากฏในลักษณะต่าง ๆ ดังน้ี
พ้ืนที่ว่างรอบ ๆ รูป พื้นท่ีว่างกลางภาพ พื้นที่ว่างกระจายอยู่รอบ ๆ รูป
สวยงามด้วยความสมดุล 17
พิเศษ
๑. ความสมดุล
ความสมดุล คอื ความเทา่ กัน เสมอกัน ส่งิ ตา่ ง ๆ ทีเ่ ราเหน็ วา่ มคี วามสวยงาม
เมอื่ นกั เรยี นสังเกตใหด้ กี จ็ ะพบว่ามีความสมดลุ แฝงอย่ใู นส่ิงนนั้ เช่น
พระท่ีน่ังอนันตสมาคม แม้มีความแตกต่างทางด้านซ้าย
และด้านขวา แต่ก็ยังมีความสมดุลสวยงาม
ประตูวัดโพธ์ิ ความสมดุลท่ีเกิดจาก ความรเู้ พ่มิ เตมิ
ความเหมือนกัน เท่ากันในด้านซ้าย เปน็ หวั ขอ้ ความรทู้ ี่เพม่ิ เติมจากเน้ือหาเพือ่ ใหผ้ ู้เรียน
และด้านขวา และความสมดุลใน ไดร้ ับความร้ทู ี่นอกเหนอื จากบทเรียนเพม่ิ ข้นึ
ลายไทย
ความรู้เพ่มิ เติม ๔. เงาตกกระทบ
นอกจากแสงจะท�าให้เกิดเงาท่ีวัตถุแล้ว แสงยังท�าให้เกิดเงาที่บริเวณพ้ืน
ความสมดุลในดอกบานช่ืน พ ร ะ ที่ นั่ ง อ นั น ต ส ม า ค ม สร้างขึ้นใน หรือฉากซึ่งอยู่ใกล้วัตถุอีกด้วย เม่ือแสงผ่านวัตถุน้ันมาท่ีพ้ืนหรือฉากซึ่งอยู่ใกล้วัตถุ
จดุ ประกายความรู้ สมัยรัชกาลที่ ๕ สร้างด้วยหินอ่อน เป็นศิลปะ ไม่ได้ ก็จะเกิดเงาตามรูปร่างของวัตถุข้ึนบนพื้นหรือฉากนั้น ซึ่งเงาชนิดนี้เรียกว่า
ตะวันตก บนเพดานของพระที่นั่งมีภาพเขียนสี เงาตกกระทบ
ปูนเปียกสวยงาม
วัดโพธ์ ิ มชี อ่ื เตม็ วา่ วัดพระเชตุพนวมิ ลมังคลารามราชวรมหาวิหาร เปน็ พระอารามหลวงชน้ั เอก
และเป็นวัดประจํารัชกาลในสมยั รชั กาลท ี่ ๑
สวยงามดว้ ยความสมดลุ 11
สนกุ กบั คำ� ศพั ท์ ค�ำถำมทำ้ ทำย สนกุ กับคําศพั ท์
เปน็ หวั ขอ้ ค�ำศพั ทภ์ าษาองั กฤษทเ่ี กยี่ วกบั ถ้าเปน็ เวลาเท่ียงวัน
เร่อื งทีเ่ รียน โดยมคี �ำศัพท์ ค�ำอ่าน เงาของนกั เรียนจะเป็น light (ไลท) แสง
และความหมาย ลักษณะอย่างไร shadow (แชด′โ� ด) เงา
คำ� ถามท้าทาย ๒ มติ ิ สู่ ๓ มิติ 43
เป็นค�ำถามกระตุ้นความคิดของผู้เรียน
ใหเ้ กดิ ความคิดสร้างสรรค์ 11 สุดยอดคู่มือครู
พเิ ศษ
๒.๓ เคร่อื งเปา่ ลมทองเหลอื ง เฟรนช์ฮอร์น
ทรอมโบน
เครื่องเป่าลมทองเหลือง เป็นเครื่องดนตรีที่ท�ำจำกโลหะ
เป็นประเภทกลุ่มแตร เป็นเคร่ืองดนตรีที่มีปำกเป่ำหรือ
ที่เรียกว่ำ ก�ำพวด ท�ำให้เกิดเสียงโดยกำร เป่ำลมให้เกิด
กำรส่ันสะเทือนท่ีริมฝีปำกของผู้เป่ำเข้ำไปในปำกเป่ำ
เครื่องเป่ำลมทองเหลืองจะมีท่อลมท�ำด้วยโลหะขนำด
ตำ่ ง ๆ
บทบาทหน้าที่ : ใช้บรรเลงด�ำเนินท�ำนองเพลงและ
ประสำนเสยี งไปพร้อมกับเคร่ืองดนตรีอน่ื
ความรรู้ อบโลก ทรัมเป็ต ทูบา คอร์เน็ต
เป็นหัวข้อความรู้ที่น�ำเสนอเนื้อหาและความรู้อันเป็น
สากล เพอื่ ให้ผ้เู รยี นมจี ิตส�ำนกึ ในความเปน็ พลโลก
ยูโฟเนียม ซูซาโฟน บาริโทน
ความรู้รอบโลก คา� ถามท้าทาย
ซูซำโฟน เป็นเคร่ืองเป่ำลม- ถา้ จะบรรเลงดนตรีในงานบวช
ทองเหลืองท่ีใหญ่ที่สุด ต้ังขึ้นให้กับ จะเลือกเคร่อื งเป่าลมทองเหลือง
จอหน์ ฟลิ ปิ ซซู ำ นกั ประพนั ธเ์ พลงผคู้ วบคมุ
วงดนตรีของอเมริกำ ชนดิ ใด เพราะเหตใุ ด
เครือ่ งดนตรีไทยและเครอ่ื งดนตรีสากล 105
๒.๒ หลกั กำรออกแบบ
การออกแบบเคร่ืองแต่งกาย การประดิษฐ์อุปกรณ์และฉากประกอบ
การแสดงควรค�านึงถึงส่ิงต่าง ๆ ดังนี้
ประหยดั ในการประดิษฐ์อุปกรณ์การแสดงควรค�านึงถึงวัสดุท่ีน�ามาใช้
เพ่ือเป็นการประหยัดค่าใช้จ่าย ประหยัดวัสดุ โดยน�าวัสดุเหลือใช้ เช่น
เศษผา้ ขวดพลาสตกิ กระดาษ มาตกแตง่ ในเชงิ สรา้ งสรรค์
หลักการ ประโยชน์ ในการออกแบบสร้างสรรค์อุปกรณ์
ออกแบบ ควรค�านึงถึงประโยชน์ด้วย โดยอุปกรณ์ท่ีประดิษฐ์ขึ้น
ควรน�าไปใชต้ ่อไดอ้ ีก เช่น การประดษิ ฐพ์ ดั การประดษิ ฐ์
งอบ เมอ่ื ใช้ในการแสดงเสรจ็ แลว้ สามารถน�าไปใช้ตอ่ ได้
ปลอดภัย ในการประดษิ ฐอ์ ปุ กรณป์ ระกอบการแสดงควรคา� นงึ ถงึ ความ อนรุ กั ษ์สิง่ แวดล้อม
ปลอดภัย คือ ต้องไม่ใช้อุปกรณ์ หรือวัสดุอันตราย เช่น ของมีคม เป็นหัวข้อความรู้ในการปลูกฝังจิตส�ำนึก
สีทมี่ สี ารอนั ตราย ของผู้เรียนให้ร้จู กั อนุรกั ษ์รักษาสิง่ แวดลอ้ ม
คำ� ถำมทำ้ ทำย ปลอดภยั ไว้ก่อน
นกั เรียนจะเลอื กใชว้ สั ดธุ รรมชาตใิ ด เป็นหัวข้อความรู้ที่ให้ผู้เรียนรู้จักระมัดระวัง
มาประดิษฐอ์ ุปกรณป์ ระกอบการแสดง ในการท�ำกจิ กรรมตา่ ง ๆ โดยสอดแทรกหวั ขอ้
ท่ีสัมพนั ธก์ บั เรอ่ื งทีเ่ รยี น
เซง้ิ กระตบิ ขา้ ว เพราะอะไร
การประดิษฐ์อุปกรณ์การแสดง ควรใช้วัสดุท่ีมีอยู่อย่างคุ้มค่า หรือใช้วัสดุ
เหลือใช้ เพราะนอกจากจะช่วยให้ประหยัดแล้ว ยังช่วยลดปัญหาภาวะโลกร้อน
เมอ่ื ประดษิ ฐช์ นิ้ งานเสรจ็ แลว้ ควรเกบ็ วสั ดุ อปุ กรณใ์ หเ้ รยี บรอ้ ย ไมว่ างเกะกะ เพราะ
อาจท�าให้ผู้อ่ืนได้รับอันตรายได้
นาฏศลิ ป์สร้างสรรค์ 167
สุดยอดคู่มือครู 12
กิจกรรมการเรียนรู้ พเิ ศษ
๑. ให้นักเรียนแต่งนิทานส้ันตามจินตนาการของตนเอง จากน้ันวาด กจิ กรรมการเรยี นรู้
เป็นแผนภาพ จำานวน ๔ ช่อง ดังตัวอย่าง เป็นกิจกรรมให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติและพัฒนาทักษะ
แผนภาพนิทานสั้น ทางด้านการคดิ และความรปู้ ระจ�ำหน่วยการเรยี นรู้
๒. ให้นักเรียนคิดจินตนาการ “โรงเรียนในฝัน„ ว่าอยากให้บริเวณโรงเรียน คำ� ถามพัฒนากระบวนการคดิ
มีสิ่งใดบ้าง จากนั้นให้วาด “แผนผังโรงเรียนในฝัน„ แล้วระบายสี เป็นค�ำถามท้ายหน่วยการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนได้ฝึก
๓. ให้นักเรียนเขียนเล่าเหตุการณ์ท่ีประทับใจที่สุด แล้ววาดภาพประกอบ คดิ วิเคราะห์
จากนั้นนำามาเล่าหน้าชั้นเรียน
จุดประกายโครงงาน กลมุ่ สาระการเรยี นรูศ้ ลิ ปะ
คา� ถามพฒั นากระบวนการคดิ ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๖
๑. แผนภาพต่างจากแผนผังอย่างไร
๒. ถ้าต้องการแสดงสถานท่ีสำาคัญของชุมชนจะใช้การนำาเสนอรูปแบบใด ใหน้ กั เรยี นเลอื กโครงงานทก่ี า� หนดให ้ หรอื คดิ โครงงานขนึ้ มาใหม ่ แลว้ ฝกึ ปฏบิ ตั ิ
๓. ในสวนสัตว์จะมีสิ่งใดบ้างที่ต้องวาดลงบนแผนผัง โครงงานตามขั้นตอนการท�าโครงงาน โดยครเู ปน็ ผูช้ ว่ ยเหลือและให้ค�าแนะนา�
๔. ถ้าต้องการวาดภาพประกอบเร่ืองราวในหัวข้อ “ปีใหม่หรรษา„ สาระทศั นศิลป์ : โครงงานออกแบบลายไทยประยุกต์
นักเรียนควรฝึกซ้อมวาดภาพใดบ้าง รปู เรขาคณิตสามารถน�ามาออกแบบลายไทยประยกุ ตไ์ ดอ้ ยา่ งไร ให้นักเรียน
๕. การวาดภาพประกอบเนื้อหามีประโยชน์อย่างไร ทดลองน�าเรขาคณิตรูปแบบต่าง ๆ มาออกแบบเป็นลายไทยประยุกต์แบบต่าง ๆ
และน�าไปส�ารวจความคิดเห็น เลือกแบบที่เหมาะสม น�ามาใช้ตกแต่งสิ่งของ
ภาพนี้มีความหมาย 71 เคร่อื งใช้ในชีวติ ประจ�าวนั
สาระดนตรี : โครงงานเคร่ืองดนตรีมหศั จรรย์
จดุ ประกายโครงงาน ให้นักเรียนประดิษฐ์เครื่องดนตรีง่าย ๆ โดยใช้วัสดุเหลือใช้หรือหาได้ง่าย
น�ำเสนอแนวทางการจัดท�ำโครงงาน ตามท้องถิ่นมาประดิษฐ์เป็นเครื่องดนตรี ตกแต่งเครื่องดนตรีให้สวยงาม และ
ทนี่ ่าสนใจ สามารถพฒั นาผเู้ รียนให้ ทดลองเลน่
มีสมรรถนะส�ำคัญ และคณุ ลกั ษณะ สาระนาฏศลิ ป์ : โครงงานประดิษฐท์ า่ ราำ ประเพณีท้องถิ่น
อนั พงึ ประสงค์ สอดคลอ้ งกบั ตวั ชวี้ ดั ให้นักเรียนเลือกประเพณีในท้องถิ่นที่สนใจ ๑ ประเพณี แล้วประดิษฐ์ท่าร�า
ในกลมุ่ สาระการเรยี นรู้และบรู ณาการ สรา้ งสรรค์ เพอื่ ส่ือถงึ ประเพณนี นั้ จากนนั้ ฝกึ ซอ้ มและน�ามาแสดงในงานโรงเรยี น
กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น รวมทั้ง
สง่ เสรมิ ความเปน็ ไทยและหลกั ปรชั ญา
ของเศรษฐกจิ พอเพียง
จุดประกายโครงงาน 231
13 สุดยอดคู่มือครู
พเิ ศษ
กิจกรรมพฒั นาการอา่ น กจิ กรรมพัฒนาการอ่าน
เป็นกิจกรรมให้ผู้เรียนได้ฝึกอ่านค�ำศัพท์ภาษาไทย
ในหนว่ ยการเรยี นร ู้ พรอ้ มกบั มคี �ำอา่ น และความหมาย ให้นักเรียนอ่านคาํ และความหมายของคําตอ่ ไปน้ี
เว็บไซตแ์ นะนำ� คําศัพท์ คาํ อ่าน ความหมาย
เป็นหัวข้อท่ีให้ผู้เรียนสามารถค้นหาข้อมูลเพิ่มเติม
ในเรอ่ื งทีเ่ รยี นจากเวบ็ ไซตท์ ี่เกี่ยวข้อง ทวิ ทศั น์ ทิว-ทัด ลักษณะภมู ิประเทศทปี่ รากฏเห็นตามธรรมชาติ
ผงั สรปุ สาระสำ� คญั บรรยากาศ บนั -ยา-กาด อากาศท่ีห้มุ ห่อโลก ความรู้สึกหรือสิ่งทอ่ี ยูร่ อบ ๆ ตัว
เป็นการสรุปความคิดรวบยอด
ของเน้อื หาในแตล่ ะหัวขอ้ เว็บไซต์แนะนา�
ของหนว่ ยการเรยี นรู้ รปู ๒ มติ ิ และ ๓ มติ ิ www.advertising.clickingme.com
ผงั สรปุ สาระส�าคญั รปู ๒ มติ ิ เปน็ รปู ทมี่ ดี า้ นกวา้ งและดา้ นยาว
รปู ๒ มติ ิและรูป ๓ มติ ิ รูป ๓ มิติ เป็นรูปท่ีแสดงถึงความลึก
ความนูน ความหนา
๒ มิติ รูปทรงกบั แสงเงา
สู่ ๓ มิติ หลกั การลงน�า้ หนกั แสงเงา รูปทรงกับแสงเงา เม่ือลงแสงเงาในภาพ
๒ มิติ จะกลายเป็นรปู ทรง ๓ มติ ิ
เงาตกกระทบ
แสงเงาในภาพทิวทศั น์ หลักการลงน�้าหนักแสงเงาส่วนท่ีรับแสง
จะสวา่ งมาก ไมต่ ้องลงนา�้ หนกั แสงเงามาก
แสงเงากับการสร้างสรรค์ แต่ส่วนที่รับแสงน้อยหรือไม่ได้รับแสง
จะตอ้ งลงนา�้ หนกั แสงเงามาก
46 ศลิ ปะ ป.๖
เงาตกกระทบ เป็นเงาท่ีเกิดข้ึนตามรูปร่าง
ของวตั ถทุ าบบนพืน้ หรือฉากนนั้
แสงเงาในภาพทิวทัศน์ ภาพทิวทัศน์ที่มีการ
ระบายแสงเงาให้เป็น ๓ มิติ จะท�าให้
สวยงามสมจรงิ
แสงทา� ใหภ้ าพดสู วา่ ง เงาทา� ใหภ้ าพดมู นี า�้ หนกั
เปลยี่ นรูปรา่ งจาก ๒ มติ ิ ให้กลายเปน็ รูปทรง
๓ มติ ิ
สุดยอดคู่มือครู 14
หนงั สือเรียน
รายวชิ าพืน้ ฐาน
สถาบนั พัฒนาคณุ ภาพวิชาการ (พว.) ศลิ ปะ
๑๒๕๖/๙ ถนนนครไชยศรี
แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสติ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖
กรุงเทพฯ ๑๐๓๐๐ กลมุ่ สาระการเรียนรศู้ ิลปะ
โทร. ๐-๒๒๔๓-๘๐๐๐ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
(อตั โนมัติ ๑๕ สาย),
๐-๒๒๔๑-๘๙๙๙ ผูเ้ รยี บเรยี ง ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารยอ์ รวรรณ ขมวฒั นา
แฟกซ์ : ทุกหมายเลข, อาจารยร์ งค์ ประภาสะโนบล
แฟกซ์อัตโนมตั ิ : อาจารย์นวลฉวี ส�ำ ราญราษฎร์
๐-๒๒๔๑-๔๑๓๑,
๐-๒๒๔๓-๗๖๖๖
สงวนลิขสทิ ธ์ิ
ส�ำ นกั พิมพ์ บรษิ ทั พฒั นาคณุ ภาพ
วิชาการ (พว.) จำ�กัด
พ.ศ. ๒๕๖๓
ผ้ตู รวจ ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.อนกุ ลู โรจนสขุ สมบรู ณ์
ผู้ช่วยศาสตราจารยพ์ งษ์ลดา ธรรมพทิ กั ษ์กุล
อาจารยธ์ งชยั รกั ปทมุ อาจารยน์ คร บญุ ราช
อาจารยว์ ลยั พร เอี่ยมสนธ ิ อาจารย์สกุ ญั ญา ทรพั ยป์ ระเสริฐ
website : บรรณาธกิ าร ศาสตราจารยว์ ิโชค มุกดามณี
www.iadth.com อาจารย์อุษา วงศก์ ลม
หน้า
สาระท่ ี ๑ ทศั นศลิ ป์
หน้า
สาระที่ ๒ ดนตรี
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ หลักการร้องเพลง หน้า
การขับร้องเพลง ๑๒๕
๑๒๗
๑๓๔
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ การวิเคราะห์เพลงและหลักการฟังเพลง ๑๓๕
การวิเคราะห์เพลง ๑๔๐
หลักการฟังเพลง ๑๔๓
๑๔๔
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ วิวัฒนาการดนตรีไทย ๑๕๐
ดนตรีไทยในประวัติศาสตร์
อิทธิพลของวัฒนธรรมต่อดนตรีในท้องถิ่น ๑๕๓
๑๕๔
สาระที ่ ๓ นาฏศิลป์ ๑๕๖
๑๖๖
ผังสาระการเรยี นรูน้ าฏศลิ ป ์ ๑๗๐
หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๑ นาฏศลิ ป์สร้างสรรค์ ๑๗๑
๑๗๓
การประดษิ ฐท์ า่ ทางประกอบเพลงพนื้ เมอื ง ๑๗๖
งานออกแบบนาฏศิลป ์ ๑๗๗
๑๘๑
หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี ๒ นาฏยศพั ท์และภาษาทา่ ทางนาฏศิลปไ์ ทย ๑๘๙
นาฏยศัพท์ ๑๙๙
ภาษาทา่
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๓ การแสดงนาฏศิลปแ์ ละละคร
ราำ วงมาตรฐาน
ระบำาตารกี ปี สั
ฟ้อนเลบ็
ละครสร้างสรรค ์
หน้า
สาระท่ี ๑ ทัศนศิลป์
ผังสาระการเรียนรู้ทัศนศิลป์
ศ ๑.๑
ศ ๑.๒
A ขั้นปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ Applyขinั้นgส่ือthสeารCแoลmะนm�ำuเnสiนcaอtion Skill ขั้นSปeรlะfเม-Rินeเพg่ือuเพla่ิมtคinุณgค่า
pplying and Constructing the Knowledge
เสริมความรู้ ครูควรสอน ตัวช้ีวัด รอบรู้อาเซียนและโลก
asean
เป้าหมายการเรียนรู้
๑หน่วยการเรียนรู้ท่ี มาตรฐานการเรยี นรู้
มาตรฐาน ศ ๑.๑
สวยงามด้วยความสมดลุ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ
และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์
วิ พ า ก ษ์ วิ จ า ร ณ์ คุ ณ ค่ า ง า น ทั ศ น ศิ ล ป์
ถา่ ยทอดความรสู้ กึ ความคดิ ตอ่ งานศลิ ปะ
อย่างอิสระ ช่ืนชม และประยุกต์ใช้
ในชวี ิตประจ�ำ วัน
สมรรถนะส�ำ คัญของผูเ้ รยี น
ตวั ชี้วดั ความสามารถในการคิด
คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
๑. อธบิ ายหลักการจดั ขนาด สดั ส่วน ความสมดุลในการสร้างงานทัศนศลิ ป ์ (ศ ๑.๑ ป.๖/๒)
๒. สรา้ งสรรค์งานทศั นศิลป์ โดยใชห้ ลกั การของรูปและพื้นทว่ี ่าง (ศ ๑.๑ ป.๖/๕)
ผงั สาระการเรยี นรู้ ขนาด ใฝเ่ รียนรู้
ตวั ชว้ี ดั ที่ ๔.๑ ต้ังใจ เพียรพยายาม
ความสมดุล ในการเรียนและเขา้ ร่วมกิจกรรม
การเรยี นรู้
สวยงามดว้ ย
ความสมดุล
รปู และพน้ื ที่วา่ ง สดั ส่วน
สาระสา� คัญ
หลกั การจัดขนาด สัดส่วน ความสมดุล รูปและพืน้ ทวี่ า่ ง เป็นองค์ประกอบทีส่ ําคัญในการสรา้ งงาน
ทศั นศลิ ป์
บูรณาการทักษะศตวรรษท่ี 21 จุด ประกายโครงงาน
ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มร่วมกันสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์จากเศษวัสดุเหลือใช้
โดยอาศยั หลักการจัดความสมดลุ กลมุ่ ละ ๑ ช้นิ
9 สุดยอดคู่มือครู
GPAS 5 STEPs ขั้นGรวaบthรวeมrขin้อgมูล ข้ันคิดวิPเคrรoาcะหe์แsลsะiสnรgุปความรู้
บูรณาการทักษะศตวรรษที่ 21 แนวข้อสอบ O-NET
ตวั ชวี้ ัด จดุ ประกายความคิด
ศ ๑.๑ ป.๖/๒St
ศ ๑.๑ ป.๖/๕
ลวดลายบนปีกผเี สอื้ มคี วามสมดุลกัน นักเรยี นลองมอง
ภาระงาน/ชิ้นงาน ไปรอบ ๆ ตัวดสู วิ ่ามีส่งิ ใดบา้ งที่ลวดลายมีความสมดุลเหมอื นกนั
ภาพวาดระบายสี
ep 1
ข้ันรวบรวมข้อมูล
๑. ให้นักเรียนร่วมกันสนทนาและ
แสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คำ�ถาม
ดงั นี้
• ส่ิงต่าง ๆ รอบ ๆ ตัวนักเรียน
อะไรบ้างท่ีมีความสมดุล เพราะเหตุใด
(ตัวอย่างคำ�ตอบ โต๊ะเรียน เพราะเม่ือ
แบ่งครึ่งแล้ว แต่ละดา้ นมขี า ๒ ขา เท่ากัน)
10 ศลิ ปะ ป.๖
สุดยอดคู่มือครู 10
A ข้ันปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ Applyขin้ันgสื่อthสeารCแoลmะนm�ำuเnสiนcaอtion Skill ข้ันSปeรlะfเม-Rินeเพgื่อuเพla่ิมtคinุณgค่า
pplying and Constructing the Knowledge
เสริมความรู้ ครูควรสอน ตัวชี้วัด รอบรู้อาเซียนและโลก
ep 1asean
St
๑. ความสมดุล ขั้นรวบรวมขอ้ มลู
ความสมดุล คอื ความเท่ากัน เสมอกนั สงิ่ ตา่ ง ๆ ท่ีเราเห็นว่ามีความสวยงาม ๒. ให้นักเรียนค้นหาภาพถ่าย หรือ
เมอ่ื นกั เรียนสงั เกตใหด้ ีกจ็ ะพบวา่ มีความสมดลุ แฝงอยใู่ นสง่ิ น้นั เช่น ภาพวาดทมี่ คี วามสมดลุ คนละ ๑ ภาพ
แล้วออกมานำ�เสนอหน้าช้ันเรียน
พระที่นั่งอนันตสมาคม แม้มีความแตกต่างทางด้านซ้าย เพ่ือแลกเปลี่ยนความรู้กับเพ่ือน ๆ
และด้านขวา แต่ก็ยังมีความสมดุลสวยงาม โดยครูก�ำ หนดหัวขอ้ ดังน้ี
ประตูวัดโพธ์ิ ความสมดุลที่เกิดจาก • ชื่อภาพ
ความเหมือนกัน เท่ากันในด้านซ้าย • ลกั ษณะความสมดุล
และด้านขวา และความสมดุลใน จากนั้นให้ครูและเพ่ือน ๆ ร่วมกัน
ลายไทย
ตรวจสอบความถูกต้อง และให้
ความร้เู พิ่มเตมิ คำ�แนะน�ำ เพ่มิ เตมิ
๓. ใ ห้ นั ก เ รี ย น ศึ ก ษ า ค ว า ม รู้ เ ร่ื อ ง
ความสมดุล แล้วร่วมกันสนทนา
เพอ่ื เช่อื มโยงความรู้
ความสมดุลในดอกบานชื่น พ ร ะ ที่ นั่ ง อ นั น ต ส ม า ค ม สร้างขึ้นใน
สมัยรัชกาลที่ ๕ สร้างด้วยหินอ่อน เป็นศิลปะ
จดุ ประกายความรู้ ตะวันตก บนเพดานของพระที่นั่งมีภาพเขียนสี
ปูนเปียกสวยงาม
วัดโพธ ิ์ มชี อ่ื เตม็ วา่ วัดพระเชตุพนวมิ ลมงั คลารามราชวรมหาวิหาร เปน็ พระอารามหลวงชน้ั เอก
และเป็นวดั ประจํารัชกาลในสมยั รชั กาลท่ี ๑
สวยงามดว้ ยความสมดลุ 11
รอบรู้อาเซียนและโลก
a saeseaann
ประเทศสมาชกิ อาเซยี นมสี ถานท่สี �ำ คัญทแี่ สดงถึงความสมดุล เช่น
• ปราสาทนครวัด นครธม ประเทศกมั พชู า
• บุโรพทุ โธ ประเทศอินโดนเี ซีย
• พระปรางค์วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวหิ าร ประเทศไทย
11 สุดยอดคู่มือครู
GPAS 5 STEPs ข้ันGรวaบthรวeมrขin้อgมูล ขั้นคิดวิPเคrรoาcะหe์แsลsะiสnรgุปความรู้
บูรณาการทักษะศตวรรษท่ี 21 แนวข้อสอบ O-NET
ep 2 ขนั้ คดิ วิเคราะห์
St
และสรุปความรู้
การวาดภาพโดยคํานึงถึงความสมดุล สามารถกําหนดหรือแบ่งพ้ืนที่
๔. ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายว่าเราจะ ในการวาดได้ด้วยสายตา ดังนี้ ๒
ทราบได้อย่างไรว่าผลงานทัศนศิลป์
๑
ช้ินใดมีความสมดุลและไม่สมดลุ
๕. ครูนำ�ภาพท่ีไม่มีความสมดุลให้
นักเรียนดู แล้วให้นักเรียนร่วมกัน
วิเคราะห์ว่าจะทำ�อย่างไรเพื่อให้ภาพ
ดังกลา่ วเกิดความสมดุล
๓๔
๕๖
สุดยอดคู่มือครู 12 มองแล้วคิดวางแผน กะประมาณเส้นแนวกลางของกระดาษ
ด้วยสายตา หากไม่มั่นใจ อาจใช้ดินสอลากเป็นเส้นบาง ๆ
12 ศิลปะ ป.๖
แนวข้อสอบ O-NET
การวาดภาพใหส้ มดลุ ควรปฏบิ ัตอิ ย่างไร
๑ ระบายสพี ้นื หลงั ดว้ ยสีออ่ น ๆ
๒ แบ่งพนื้ ท่กี ารวาดในกระดาษก่อนวาดจรงิ
๓ ส่งิ ต่าง ๆ ในภาพตอ้ งมีขนาดเท่ากนั
๔ วาดภาพใหเ้ ตม็ พืน้ ทไ่ี มใ่ หม้ ที ่ีวา่ งในภาพ
(เฉลย ๒ เพราะการวาดภาพให้มีความสมดลุ สามารถกะประมาณด้วยสายตา
หรือใชด้ ินสอลากแบง่ พน้ื ท่ีการวาดเป็นเสน้ บาง ๆ กอ่ นวาดจรงิ )
ขนาด
A ข้ันปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ การวาดภาพต้องคํานึงถึงความสมดุลขององค์ประกอบต่าง ๆ ในภาพ
pplying and Constructing the Knowledge A Spplyคเชขiวn่น้ันา มgสขรนื่อู้สtาึกhสดวeาข่ารอภCแงาoสพลm่ิงดะตนูเmอ่า�ำงียu เงnสๆไi ปนcใขaนอ้าtภงiใาoดพnข ้าจSงะkหตiนl้อlึ่งงมีความเหมาะขส้ันมแปลeระlะสfเมม-Rดินุลeเพไgมื่อ่ทuเําพlใaห่ิม้เtกคiิดnุณ gค่า
เสริมความรู้ ครูควรสอน ตัวชี้วัด รอบรู้อาเซียนและโลก
1aseaen p หากภาคพวขาอมงสนมักดเรุลียเกนิดมไีรดูป้จซาึ่งกมกีขานราจดัดใขหนญาด่แขลอะงเลส็กิ่งตอ่ายงู่ค ๆน ใลนะภดา้าพน
St รกู้ส็ชึก่ววย่าสภรา้ขพางขน้ั คารดววาคมบวสารมมวสดมมุลดขใุลหอ้ ้กมเอับูลียภงาไปพทไดาง้ ดแ้ามน้วท่า่ีมรีรูปูปทขี่นอยาดู่ดใ้หานญ
๒. ขนาด ขนาดเล็กกวา่ รูปอกี ด้านหน่งึ แตก่ ารใชส้ ที มี่ นี ํา้ หนกั ระบายในรปู
๖. ครเพนู ่ิมำ�นภ้ําหานพักใตห่อ้กับไรปูปนน้ันี้ตไดดิ ้ เบน่ือนงกจารกะทําดใหา้เนกิดการถ่วงนํ้าหนัก
ขนาด หมายถึง มาตราส่วนของส่ิงใดสิ่งหน่ึง ซึ่งมนุษย์ได้กําหนด หหากนภ่วาคพยวขาวอมังดสน มักดเรุลียเกนิดมไีรดูป้จซา่ึงก มกีขานราจกดัดใ.ขภหนาญาพด่แมขลีคอะวงเลาสม็ก่ิงสตอม่ายงดู่ค ๆุลน ใลนะภดา้าพนใขหอ้มงภีคาวพาม กเห็จมะาทะําสใมห ้
ขึ้นมาเพื่อเป็นมาตรฐานในการกําหนดให้มีขนาดที่แตกต่างกัน เช่น รขู้สนึกาว่าดภเาลพ็ขกา ดความสมดุล เอียงไปทางด้านท่ีมีรูปขนาดใหญ่กว่า แต่บางคร้ังสี
ข นาดขในหญาด่ เโปด็นยสใชิ่ง้คสําวคามัญกสว่ว้านง หคนว่ึงามทยี่ช่วาวย ถห่ารยือทคอวดามอหารนมาณแล์ ะคลวึกามเปร็นู้สตึกัวขกอํางหกขเงพน็ชนาิ่มา่นวดดนยศเํ้าลสหิล็กรนก้ปาักวงใะา่คหร ้กวูปาับอมรกี ูปสดนม้านั้นดหไุลดนใ้ ่ึงหเ นแ้กื่อตับงก่ จภาารากใพชท้สไําดใที ห้ม่ี ้เแนีกมํ้าิดห้กวน่าาักรรถรูปะ่วทบงี่นอาย้ํายหใู่ดนนร้าักูปนใทนห่ีมภนขีา่ึงนพขา อดจงึงเลชภก็่วายจพะทจชําะว่ใหมย้ ี
ให้เป็นไปตามความต้องการของผู้สร้างสรรค์ผลงาน หรือผู้ออกแบบภทาพ่ีจมะีคตวา้อมสงมดุล
พิจารณาเองว่า ขนาดเท่าใดจึงจะดูงดงาม เหมาะสมกับลักษณะของผลงานนั้น ๆ ข. ภาพด้านซ้ายมีขนาดที่เล็กกว่า แต่ดูมีนํ้าหนักมากกว่า เพราะมีก
การกําหนดขนาดใหญ่ ปานกลาง และเล็ก ให้มีความแตกต่างกัน โดยการคํานึง
สวยงาม
รายละเอียดของโครงสร้าง และพ้ืนท่ีรองรับ หากขนาดเล็กหรือใหญ่เกินไปอาจทําให้
ผลงานท่ีสร้างสรรค์ขาดความเหมาะสมและสวยงาม
ขกนาารดวขา ดองภสา่ิงพตต่าง้ อ งๆค ํใานนภึ ง ถาพึ ง คจวะาตม้อสงมมดีคุ ลวาขมอเงหอมงาคะส์ ปมรแะลกะอสบมตด่ าุลงไ มๆ่ท ําใในหภภ้าเกพาดพิด้าน ซ้ายมีขนาดท่ีเล ็กกว่า แจตา่ดูมกีนน้ําห้ันนักใมาหกก้นว่าักเพเรราสียะวยมงนีกามาดรรว้ เยพ่วคิ่มวมานม้ําสกหมดนันุลักสสี 1ัง5 เกตว่า
เช่น ภาพทงั้ ๒ ภาพ เหมอื นหรอื แตกตา่ งกนั
ความรู้สึกว่าภาพดูเอียงไปข้างใดข้างหน่ึง
อย่างไร (ตัวอย่างคำ�ตอบ ภาพ ก.
มีขนาดเล็กกว่า แต่ดูมีนํ้าหนักมากกว่า
ภาพ ข. เพราะมกี ารเพ่มิ น้ําหนักสี)
๗. ให้นักเรียนศึกษาความรู้เรื่อง ขนาด
แล้วร่วมกันสนทนาเพื่อเชื่อมโยง
ความรู้
สวยงามดว้ ยความสมดุล 13
เสริมความรู้ ครูควรสอน
สชี ่วยสรา้ งความสมดลุ ให้ภาพได้ โดยใช้สที ีม่ นี า้ํ หนกั (สที ี่มคี วามเข้ม) ระบาย
ในภาพที่มีขนาดเล็กจะช่วยเพิ่มนํ้าหนักให้กับภาพนั้นได้ เน่ืองจากท�ำให้เกิด
การถว่ งนา้ํ หนักในภาพ จงึ ชว่ ยท�ำใหภ้ าพมีความสมดุล
13 สุดยอดคู่มือครู
GPAS 5 STEPs ข้ันGรวaบthรวeมrขin้อgมูล ข้ันคิดวิPเคrรoาcะหe์แsลsะiสnรgุปความรู้
บูรณาการทักษะศตวรรษที่ 21 แนวข้อสอบ O-NET
ep 2 ข้ันคดิ วเิ คราะห์
St
และสรปุ ความรู้
ขนาดในภาพไม่จําเป็นต้องเท่ากันก็ทําให้ภาพเกิดความสมดุลได้ ข้ึนอยู่กับ
การออกแบบจัดวางรูป การวาดภาพควรมีรูปขนาดเล็กและรูปขนาดใหญ่ประสานกัน
๘. ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายว่าขนาด ให้ดูงาม ซ่ึงรูปท่ีมีขนาดแตกต่างกันน้ัน เม่ือมาอยู่รวมกันในภาพแล้วต้องจัดให้เกิด
ของภาพช่วยให้ภาพเกิดความสมดุล ความพอดี
ไดอ้ ย่างไร
๙. ครูนำ�ตัวอย่างภาพให้นักเรียนดู
จากน้ันให้นักเรียนร่วมกันกำ�หนด
สดั สว่ นของภาพลงในกระดาษวาดเขยี น
หรอื กระดาษขนาด A4
การเพ่ิมจ�านวนของรูปท่ีมีขนาดเล็ก ท�าให้สมดุลกับรูปท่ีมีขนาดใหญ่
ขนาดที่แตกต่างกันแต่ก่อให้เกิดความงาม การออกแบบจัดวางให้ภาพเกิดความสมดุล
ค�ำถำมท้ำทำย
นักเรยี นคดิ ว่า ผลไม้ชนดิ ใด
มีขนาดใหญท่ สี่ ุด
14 ศลิ ปะ ป.๖
สุดยอดคู่มือครู 14
A ข้ันปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ Applyขinั้นgส่ือthสeารCแoลmะนm�ำuเnสiนcaอtion Skill ข้ันSปeรlะfเม-Rินeเพgื่อuเพlaิ่มtคinุณgค่า
pplying and Constructing the Knowledge
เสริมความรู้ ครูควรสอน ตัวช้ีวัด รอบรู้อาเซียนและโลก
ep 1asean
St
๓. สดั ส่วน ขนั้ รวบรวมข้อมลู
สัดส่วน หมายถึง ความสัมพันธ์กันอย่างเหมาะสม ระหว่างขนาดของ ๑๐. ให้นักเรียนสังเกตภาพเด็กท่ีมีอายุ
องค์ประกอบท่ีแตกต่างกัน สัดส่วนในภาพวาดเก่ียวข้องกับขนาดของส่ิงต่าง ๆ แตกตา่ งกนั วา่ ภาพแตล่ ะภาพมคี วาม
ในภาพ ซึ่งต้องมีความสัมพันธ์กันอย่างพอดี แตกตา่ งกนั อยา่ งไร
สัดส่วนของคนเรามีความแตกต่างกันตามเพศและวัยของรูปคนท่ีต้องการวาด
ดังน้ัน การวาดภาพคนจะกําหนดขนาดตามความสูง ตั้งแต่เด็กไปจนถึงผู้ใหญ่ จะมี ๑๑. ให้นกั เรยี นศึกษาความรเู้ รื่อง สัดส่วน
สัดส่วนของการวาดท่ีไม่เหมือนกัน โดยใช้ขนาดความสูงของศีรษะกําหนดสัดส่วน แล้วร่วมกันสนทนาเพ่ือเชื่อมโยง
ตามช่วงอายุจะทําให้ดูสมส่วนมากย่ิงข้ึน ความรู้
สัดส่วนเด็กอายุ ๑ ปี สัดส่วนเด็กอายุ ๓ ปี สัดส่วนเด็กอายุ ๕ ปี
สวยงามดว้ ยความสมดุล 15
15 สุดยอดคู่มือครู
GPAS 5 STEPs ข้ันGรวaบthรวeมrขin้อgมูล ขั้นคิดวิPเคrรoาcะหe์แsลsะiสnรgุปความรู้
บูรณาการทักษะศตวรรษท่ี 21 แนวข้อสอบ O-NET
ep 2 ขัน้ คดิ วิเคราะห์
St
และสรุปความรู้
ความเข้าใจเร่ืองสัดส่วนที่เหมาะสมในการวาดภาพ
๑๒. ให้นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ว่าการ จะช่วยให้จัดวางองค์ประกอบต่าง ๆ ในภาพได้ง่ายข้ึน
กำ�หนดสัดส่วนมีผลต่อพ้ืนที่ว่าง ข้ันตอนกำรวำดภำพโดยก�ำหนดสัดส่วนโครงสร้ำงของวัตถุ
ในภาพวาดอยา่ งไร จำกรูปร่ำงและรูปทรง
การวาดภาพต้องกําหนดสัดส่วนโครงสร้างโดยใช้รูปร่างของวัตถุจัดวางขนาด
ให้เหมาะสมกับพ้ืนรองรับ และเพิ่มรายละเอียดโดยใช้รูปทรงของวัตถุให้มีความ
เหมือนจริงมากย่ิงข้ึน
๑. ก�าหนดสัดส่วนโดยการร่างด้วย ๒. วาดรายละเอียดเพิ่มเติม
ดินสอ หรือกะประมาณด้วยสายตา
๓. แต่งเติมแสงเงาให้ภาพสวยงาม
16 ศิลปะ ป.๖
สุดยอดคู่มือครู 16
A ขั้นปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ Applyขinั้นgสื่อthสeารCแoลmะนm�ำuเnสiนcaอtion Skill ข้ันSปeรlะfเม-Rินeเพgื่อuเพla่ิมtคinุณgค่า
pplying and Constructing the Knowledge
เสริมความรู้ ครูควรสอน ตัวชี้วัด รอบรู้อาเซียนและโลก
ep 1asean
St St
๔. รูปและพน้ื ที่วา่ ง ขั้นรวบรวมขอ้ มูล
ภาพท่ีสวยงามจําเป็นต้องมีการจัดวางขนาดและเรื่องราวให้เหมาะสมกับ ๑๓. ให้นักเรียนสังเกตภาพท่ีมีขนาดรูป
พื้นที่ว่าง โดยการกําหนดขนาดไม่ให้เล็กหรือใหญ่จนเกินไป และนําองค์ประกอบ และพนื้ ทว่ี า่ งแตกตา่ งกนั แลว้ รว่ มกนั
ของเรื่องราวมาจัดวางให้เหมาะสมสัมพันธ์กันอย่างลงตัว จะทําให้รูปโดดเด่น แสดงความคดิ เห็น
น่าสนใจมากย่ิงขึ้น
๑๔. ให้นักเรียนศึกษาความรู้เร่ือง รูป
และพื้นที่ว่าง แล้วร่วมกันสนทนา
เพ่ือเช่ือมโยงความร ู้
ภาพท่ีมีขนาดรูปเต็มพ้ืนท่ี ไม่มีพื้นท่ีว่าง ภาพที่มีขนาดรูปและพื้นที่ว่างอย่างเหมาะสม ep 2 ข้ันคิดวเิ คราะห์
การจัดบริเวณพื้นที่ว่างภายในภาพสามารถทําได้หลายรูปแบบ เช่น และสรุปความรู้
การวางพื้นที่ว่างรอบ ๆ รูป เพื่อให้รูปมีขนาดใหญ่และโดดเด่น ส่วนการวางพ้ืนที่ว่าง
ตรงกลางภาพเป็นการเน้นจุดเด่นของภาพ และการวางพ้ืนที่ว่างกระจาย ๑๕. ครนู ำ�ตัวอยา่ งผลงานทศั นศิลป์ ๒-๓
อยู่รอบ ๆ รูป ทําให้องค์ประกอบของภาพมีความสมบูรณ์มากย่ิงข้ึน ผลงานให้นักเรียนดู จากน้ันครูสุ่ม
พ้ืนที่ว่างในภาพอาจปรากฏในลักษณะต่าง ๆ ดังน้ี ตัวแทนนักเรียนออกมาอภิปราย
เกี่ยวกับภาพวาดคนละ ๑ หัวข้อ
พ้ืนท่ีว่างรอบ ๆ รูป พ้ืนที่ว่างกลางภาพ พื้นท่ีว่างกระจายอยู่รอบ ๆ รูป ตามทคี่ รูกำ�หนด ดงั นี ้
สวยงามดว้ ยความสมดุล 17
• ความสมดุล
• ขนาด
• สดั สว่ น
• รูปและพ้นื ทวี่ ่าง
จากนั้นให้นักเรียนและครูร่วมกัน
สรปุ ความคดิ รวบยอด
๑๖. ใ ห้ นั ก เ รี ย น ว า ง แ ผ น ข้ั น ต อ น
การปฏิบัติงาน โดยการเลือกใช้วัสดุ
อุ ป ก ร ณ์ ท่ี ต น เ อ ง ช อ บ ห รื อ ถ นั ด
ในการวาดภาพระบายสี
แนวข้อสอบ O-NET
ขอ้ ใดคือประโยชน์ของพน้ื ที่ว่างในภาพ
๑ ท�ำใหร้ ูปในภาพมขี นาดเทา่ กนั ๒ ท�ำใหภ้ าพมีนาํ้ หนักมากขึน้
๓ ท�ำให้ภาพมีสีสนั มากขึน้ ๔ ท�ำใหร้ ปู ในภาพดเู ดน่ ข้นึ
(เฉลย ๔ เพราะพ้นื ทวี่ ่างของภาพเป็นส่วนท่ที ำ�ให้ผู้ชมภาพได้พกั สายตา
และทำ�ให้รูปเดน่ ข้นึ )
17 สุดยอดคู่มือครู
GPAS 5 STEPs ขั้นGรวaบthรวeมrขin้อgมูล ขั้นคิดวิPเคrรoาcะหe์แsลsะiสnรgุปความรู้
บูรณาการทักษะศตวรรษที่ 21 แนวข้อสอบ O-NET
St St Step 3 ขัน้ ปฏบิ ตั ิ กจิ กรรมพัฒนาการอา่ น
แหลละังสกราปุรปควฏาิบมตั ริู้
๑๗. ให้นักเรียนลงมือวาดภาพสิ่งต่าง ๆ ใหน้ กั เรียนอา่ นค�าและความหมายของค�าตอ่ ไปนี้
ที่ตนเองประทับใจ อาจเป็นคน
สัตว์ ส่ิงของ หรือสถานที่ คนละ คา� ศัพท์ คา� อ่าน ความหมาย
๑ ภาพ ให้มีความสมดุลในภาพวาด
โดยการเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ที่ ขนาด ขะ-หนาด ลักษณะของรปู ท่ีกําหนด สงั เกตได้ว่า
ตนเองถนัด ใหญ ่ เล็ก สนั้ ยาว หนักหรือเบา
สมดุล สะ-มะ-ดนุ , สม-ดุน เสมอกนั เท่ากนั
๑๘. ให้นักเรียนประเมิน ตรวจสอบ เว็บไซตแ์ นะนา�
ความเรียบร้อยของผลงาน พรอ้ มหา ความสมดุล www.vattaka.com/composit.htm
แนวทางปรับปรุงแก้ไขให้ดขี ึน้
๑๙. ให้นักเรียนและครูร่วมกันสรุป ผงั สรปุ สาระสา� คัญ
หลกั การ ดงั นี้
ความสมดุลที่เกิดจากการจัดวางขนาด สัดส่วน และ
• การวาดสง่ิ ตา่ ง ๆ ตอ้ งจดั ต�ำ แหนง่ ความสมดลุ พื้นที่ว่างให้ประสานกลมกลืนกันพอเหมาะพอดี
กำ�หนดขนาด สัดส่วน รูปและ กับส่วนต่าง ๆ ของงานศิลปะน้ัน ทําให้ผลงานมีความ
พืน้ ที่วา่ งให้เหมาะสม เพื่อจะทำ�ให้ภาพ สมบูรณ์และสวยงาม
เกดิ ความสมดลุ และมคี วามสวยงาม สวยงามด้วย ขนาด ขนาดเล็กและใหญ่ ถ้าจัดวางตําแหน่งให้อยู่ใน
ความสมดุล สัดสว่ น ภาพเดียวกันทําให้การสร้างความสมดุลเกิดข้ึนภายใน
ep 4 ภาพได ้ โดยการวางตาํ แหนง่ ของรปู ทมี่ ขี นาดใหญใ่ กลก้ บั
เส้นแกนกลางของภาพ
ขัน้ ส่ือสารและนำ� เสนอ สัดส่วนเป็นความสัมพันธ์กันอย่างเหมาะสมระหว่าง
ขนาดขององคป์ ระกอบทแี่ ตกตา่ งกนั การสงั เกตสดั สว่ น
๒๐. ให้นักเรียนออกมานำ�เสนอภาพวาด ของสง่ิ ตา่ ง ๆ จะทําใหว้ าดภาพส่ิงต่าง ๆ ไดเ้ หมาะสมกับ
ของตนเองหน้าช้ันเรียน โดยครู พ้ืนที่
คอยใหค้ �ำ แนะน�ำ เพ่ิมเติม รปู และพ้นื ที่วา่ ง การวาดภาพให้มีพ้ืนที่ว่างอย่างเหมาะสมจะทําให้ภาพ
มคี วามสมดุล
5ep ข้ันประเมนิ เพอ่ื เพิม่ คุณคา่
บริการสงั คม 18 ศลิ ปะ ป.๖
และจติ สาธารณะ
๒๑. ให้นักเรียนรวบรวมภาพวาดของ บูรณาการทักษะศตวรรษที่ 21
ตนเองและเพื่อน ๆ ไปจัดเป็น
นิทรรศการผลงานภาพวาด เพ่ือ ใหน้ กั เรยี นสืบค้นข้อมลู เกย่ี วกับความสมดลุ จากเว็บไซตท์ เ่ี กี่ยวข้อง
เผยแพรค่ วามรูใ้ ห้กบั ผู้อื่น แล้วนำ�ข้อมลู มารว่ มกันแลกเปลยี่ นความรู้
สุดยอดคู่มือครู 18
A ขั้นปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ Applyขin้ันgส่ือthสeารCแoลmะนm�ำuเnสiนcaอtion Skill ข้ันSปeรlะfเม-Rินeเพg่ือuเพla่ิมtคinุณgค่า
pplying and Constructing the Knowledge
เสริมความรู้ ครูควรสอน ตัวช้ีวัด รอบรู้อาเซียนและโลก
asean
ตัวชี้วัด
กิจกรรมการเรียนรู้ ศ ๑.๑ ป.๖/๒
ศ ๑.๑ ป.๖/๕
๑. ให้นักเรียนร่วมกันอธิบายวิธีการสร้างงานทัศนศิลป์ แล้วร่วมกันสรุป
เป็นแผนภาพความคิด ดังนี้
วิธีการสร้างงาน
ทัศนศิลป์
๒. ให้นักเรียนวาดภาพตามความสนใจ โดยใช้หลักการของรูปและพื้นท่ีว่าง แนวคำ� ตอบ
จากนั้นออกมานําเสนอผลงาน
๑. กลางกระดาษ
ค�าถามพฒั นากระบวนการคดิ ๒. ทำ�ให้ภาพมีสดั ส่วนทส่ี วยงาม
๑. ถ้าต้องการวาดภาพสัตว์ตัวใหญ่ตัวเดียว ควรวาดลงในตําแหน่งใด ๓. ระบายสีเข้ม
ของกระดาษวาดเขียน ๔. ภาพไม่สวย
๒. การแบ่งพื้นที่ในการวาดด้วยสายตามีประโยชน์อย่างไร ๕. อึดอัด ไมส่ บายตา
๓. ถ้าภาพมีขนาดเล็กจะมีวิธีทําให้ภาพดูมีน้ําหนักได้อย่างไร
๔. ภาพที่มีการวาดสัดส่วนไม่ถูกต้อง จะทําให้ภาพเป็นอย่างไร
๕. การมองภาพท่ีไม่มีพื้นที่ว่างจะเกิดความรู้สึกอย่างไร
สวยงามด้วยความสมดุล 19
19 สุดยอดคู่มือครู
GPAS 5 STEPs ข้ันGรวaบthรวeมrขin้อgมูล ข้ันคิดวิPเคrรoาcะหe์แsลsะiสnรgุปความรู้
บูรณาการทักษะศตวรรษท่ี 21 แนวข้อสอบ O-NET
เป้าหมายการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้ ๒หน่วยการเรียนรู้ท่ี
มาตรฐาน ศ ๑.๑ สตี รงข้ามก็งามได้
สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ
และความคดิ สร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษ์
วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอด
ความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่าง
อิสระ ช่ืนชม และประยุกต์ใช้ในชีวิต-
ประจำ�วัน
สมรรถนะสำ�คญั ของผ้เู รียน ตวั ชวี้ ัด
ความสามารถในการสอ่ื สาร
๑. ระบสุ คี ตู่ รงขา้ มและอภปิ รายเกย่ี วกบั การใชส้ คี ตู่ รงขา้ มในการถา่ ยทอดความคดิ และอารมณ์ (ศ ๑.๑ ป.๖/๑)
๒. สรา้ งสรรคง์ านทศั นศลิ ป์ โดยใชส้ คี ่ตู รงข้าม หลกั การจดั ขนาด สัดสว่ นและความสมดลุ (ศ ๑.๑ ป.๖/๖)
คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ผงั สาระการเรียนรู้
มุ่งม่นั ในการท�ำ งาน
ตัวชี้วัดท่ี ๖.๑ ตั้งใจและรับผิดชอบ สคี ตู่ รงข้าม การใช้สคี ตู่ รงข้าม
ในการปฏบิ ัติหน้าท่ีการงาน
สตี รงขา้ ม
กง็ ามได้
วิธกี ารลงสีคตู่ รงขา้ มในภาพ
สาระสา� คัญ
สีคตู่ รงขา้ มเปน็ สีทอี่ ยู่ตรงข้ามกนั ในวงสธี รรมชาติ สีคูต่ รงขา้ มทาำ ให้ผู้ที่มองเห็นเกิดความรู้สึกขัดแยง้ แตว่ ธิ กี าร
ใชส้ ีคตู่ รงขา้ มที่เหมาะสมจะทาำ ให้ผลงานทศั นศิลปม์ ีความโดดเดน่ สวยงามและนา่ สนใจ
บูรณาการทักษะศตวรรษท่ี 21 จุดประกายโครงงาน
ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มร่วมกันออกแบบและประดิษฐ์ส่ิงของเครื่องใช้ภายในบ้าน
จากวัสดุเหลือใช้ในบ้าน ให้มีความแปลกใหม่ โดยการใช้สีคู่ตรงข้าม กลุ่มละ
๑ ชิ้น
สุดยอดคู่มือครู 20
A ข้ันปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ Applyขin้ันgส่ือthสeารCแoลmะนm�ำuเnสiนcaอtion Skill ข้ันSปeรlะfเม-Rินeเพgื่อuเพlaิ่มtคinุณgค่า
pplying and Constructing the Knowledge
เสริมความรู้ ครูควรสอน ตัวชี้วัด รอบรู้อาเซียนและโลก
asean
จุดประกายความคิด ตัวชวี้ ัด
ศ ๑.๑ ป.๖/๑
ศ ๑.๑ ป.๖/๖
ภาระงาน/ชิ้นงาน
ภาพวาดโดยใชส้ คี ู่ตรงขา้ ม
ep 1St
มีค�ำใดบำ้ งที่แสดงถงึ ส่งิ ตรงขำ้ ม ขน้ั รวบรวมขอ้ มลู
ให้นกั เรียนคิดใหไ้ ดม้ ำกที่สดุ
๑. ใ ห้ นั ก เ รี ย น ร่ ว ม กั น ส น ท น า แ ล ะ
แสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คำ�ถาม
ดังนี้
• นักเรยี นชอบสีอะไรมากท่สี ดุ
เพราะอะไร (ตัวอย่างคำ�ตอบ สีชมพู
เพราะเป็นสีที่มองแล้วรู้สึกมีความสุข
สบายตา)
• นักเรียนไม่ชอบสีอะไรมากท่ีสุด
เพราะอะไร (ตัวอย่างคำ�ตอบ สีดำ�
เพราะเปน็ สที ม่ี ืด มองแลว้ รู้สกึ มดื มน)
สีตรงขา้ มกง็ ามได้ 21
21 สุดยอดคู่มือครู
GPAS 5 STEPs ข้ันGรวaบthรวeมrขin้อgมูล ข้ันคิดวิPเคrรoาcะหe์แsลsะiสnรgุปความรู้
บูรณาการทักษะศตวรรษท่ี 21 แนวข้อสอบ O-NET
Step 1
ข้ันรวบรวมข้อมลู ๑. สีคู่ตรงข้าม
๒. ให้นักเรียนร่วมกันเล่นเกมคู่สีคู่กัน สีคู่ตรงข้าม คือ สีท่ีอยู่ตรงข้ามกันในวงสีธรรมชาติ เป็นคู่สีกันคือ สีคู่ท่ีตัดกัน
โดยให้นักเรียนเขียนชื่อสีท่ีตนเอง หรือต่างจากกันมากท่ีสุด เช่น สีแดงกับสีเขียว สีม่วงกับสีเหลือง สีส้มกับสีนำ้าเงิน
ชอบมากที่สุดลงในกระดาษ และติด เมื่อนักเรียนผสมแม่สีจนได้สีข้ันที่ ๓ แล้วจัดเรียงเป็นวงสี นักเรียนจะพบว่ามีส ี
ไว้ที่หน้าผากของตนเอง ครูใช้คำ�ถาม ท่ีอยู่ตรงข้ามกันหลายคู่
เพ่ือให้นกั เรียนหาคู่สขี องตนเอง ดังน้ี
• สีท่ีเหมือนหรือใกล้เคียงกับสีของ
ตนเองคอื สีอะไร
• สีท่ีแตกต่างหรือตรงกันข้ามกับ
สีของตนเองคือสีอะไร
จากน้ันให้นักเรียนจับคู่กับเพื่อน
ที่ ช อ บ สี ต ร ง กั บ คำ � ถ า ม ที่ ค รู ถ า ม
ใครจับผิดจะต้องถูกทำ�โทษ โดย
การเต้นหน้าช้ันเรียน (ครูถามคำ�ถาม
ทีละคำ�ถาม แล้วร่วมกันตรวจสอบ
ความถูกตอ้ ง)
๓. ใ ห้ นั ก เ รี ย น ศึ ก ษ า ค ว า ม รู้ เ ร่ื อ ง
สีคู่ตรงข้าม แล้วร่วมกันสนทนา
เพือ่ เชื่อมโยงความรู้
วงสีธรรมชาติ
วงสีธรรมชำติท่ีเกิดจำกกำรผสมกันของแม่สี
ได้เป็นสีต่ำง ๆ ซ่ึงกลำยเป็นคู่สีกัน
22 ศิลปะ ป.๖
สุดยอดคู่มือครู 22 รอบรู้อาเซียนและโลก
a saeseaann
สีธงชาตขิ องประเทศสมาชกิ อาเซียน
๑. ประเทศบรไู นดารุสซาลาม : ธงชาติมีสเี หลอื ง สขี าว สีดำ� และสีแดง
๒. ประเทศกมั พชู า : ธงชาติมสี ีน้ําเงิน สีแดง และสีขาว
๓. ประเทศอนิ โดนเี ซีย : ธงชาตมิ ีสแี ดง และสขี าว
๔. ประเทศลาว : ธงชาตมิ สี นี ํ้าเงิน สแี ดง และสีขาว
๕. ประเทศมาเลเซยี : ธงชาติมีสีแดง สีขาว สีน้าํ เงิน และสเี หลือง
A ข้ันปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ Applyขin้ันgสื่อthสeารCแoลmะนm�ำuเnสiนcaอtion Skill ข้ันSปeรlะfเม-Rินeเพg่ือuเพlaิ่มtคinุณgค่า
pplying and Constructing the Knowledge
เสริมความรู้ ครูควรสอน ตัวช้ีวัด รอบรู้อาเซียนและโลก
Step 2asean
ข้ันคิดวิเคราะห์
และสรุปความรู้
๔. ให้นักเรียนสืบค้น รวบรวมข้อมูล
และศึกษาว่าธงชาติประเทศใดบ้าง
ที่มีการใช้สีคู่ตรงข้าม มาคนละ
๓ ประเทศ พรอ้ มภาพประกอบ
สีม่วงกับสีเหลือง สีม่วงแดงกับสีเขียวเหลือง
สีแดงกับสีเขียว สีส้มแดงกับสีเขียวน้ําเงิน
สีส้มกับสีนํ้าเงิน สีส้มเหลืองกับสีม่วงน้ําเงิน
ค�ำถำมทำ้ ทำย
นักเรยี นคดิ วำ่ สคี ใู่ ดท่ีจับคู่กนั
แลว้ เดน่ ทส่ี ุด
สีตรงขา้ มกง็ ามได้ 23
รอบรู้อาเซียนและโลก 23 สุดยอดคู่มือครู
a saeseaann
สธี งชาตขิ องประเทศสมาชกิ อาเซยี น
๖. ประเทศเมียนมา : ธงชาติมีสเี หลอื ง สีเขียว สีแดง และสขี าว
๗. ประเทศฟิลิปปนิ ส์ : ธงชาติมสี ขี าว สเี หลือง สนี ํ้าเงนิ และสแี ดง
๘. ประเทศสงิ คโปร์ : ธงชาตมิ ีสีแดง และสีขาว
๙. ประเทศไทย : ธงชาติมีสีนา้ํ เงนิ สแี ดง และสีขาว
๑๐. ประเทศเวียดนาม : ธงชาตมิ ีสแี ดง และสเี หลือง
GPAS 5 STEPs ขั้นGรวaบthรวeมrขin้อgมูล ข้ันคิดวิPเคrรoาcะหe์แsลsะiสnรgุปความรู้
บูรณาการทักษะศตวรรษที่ 21 แนวข้อสอบ O-NET
Step 2 ขั้นคิดวเิ คราะห์
และสรุปความรู้
๕. ใ ห้ นั ก เ รี ย น นำ � ภ า พ ธ ง ช า ติ ท่ี ต น เ อ ง ๒. การใชส้ ีคู่ตรงข้าม
สืบค้นได้มานำ�เสนอหน้าช้ันเรียน สีคู่ตรงข้ามจะให้ความรู้สึกขัดแย้ง ดังนั้น การใช้สีคู่ตรงข้ามจึงนิยมใช้สีใด
พร้อมอธิบายว่ามีการใช้สีคู่ตรงข้าม สีหนึ่งให้มากกว่าอีกสีหน่ึงในพื้นที่การระบายสี หรือใช้สีคู่ตรงข้ามโดยมีการผสมส ี
อย่างไร โดยครูคอยตรวจสอบ คู่นั้นในอัตราส่วนท่ีต่างกันเพ่ือลดความขัดแย้งของสี ทำาให้ภาพมีความกลมกลืน
ความถกู ตอ้ งและใหค้ �ำ แนะน�ำ เพ่มิ เติม สวยงาม
๒.๑ กำรใช้สีคูต่ รงข้ำมหรือสีตดั กัน
วิธีการใช้สีคู่ตรงข้ามหรือสีตัดกัน สามารถทำาได้หลายวิธี ดังนี้
วิธีท่ี ๑ ใช้ในปริมาณต่างกัน โดยใช้สีใดสีหน่ึงจำานวน ๘๐%
ส่วนอีกสีหนึ่งต้องเป็น ๒๐% จึงจะเกิดคุณค่าทางศิลปะ
วิธีที่ ๒ ลดปรมิ าณคา่ ของสลี ง หากจาำ เปน็ ตอ้ งใชส้ คี ใู่ ดคหู่ นง่ึ ในปรมิ าณ
เท่า ๆ กัน ต้องลดค่าของสีลงด้วยการผสมสีขาวหรือสีเทาดำา
วิธีที่ ๓ ผสมซ่ึงกันและกัน เพื่อลดความรุนแรงที่เกิดจากการตัดกัน
ของสีภายในภาพ
สีม่วงกับสีเหลือง สีส้มกับสีนํ้าเงิน สีแดงกับสีเขียว
สีส้มแดงกับสีเขียวน้ําเงิน สีม่วงแดงกับสีเขียวเหลือง สีส้มเหลืองกับสีม่วงนํ้าเงิน
24 ศิลปะ ป.๖
แนวข้อสอบ O-NET
ขอ้ ใดไม่ใช่สีคตู่ รงขา้ มกนั
๑ ส ีสม้ ส เี หล อื ง ๒ สแี ดง สีนำ้� เงิน
๓ สีน ำ้� เงนิ สสี ้ม ๔ สเี หลือง สเี ขยี ว
(เฉลย ๑ เพราะสีคตู่ รงข้ามจะมีลกั ษณะทแี่ ตกต่างกัน ตดั กนั อย่างเหน็ ได้ชัด)
สุดยอดคู่มือครู 24
A ข้ันปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ Applyขin้ันgส่ือthสeารCแoลmะนm�ำuเnสiนcaอtion Skill ข้ันSปeรlะfเม-Rินeเพg่ือuเพla่ิมtคinุณgค่า
pplying and Constructing the Knowledge
เสริมความรู้ ครูควรสอน ตัวช้ีวัด รอบรู้อาเซียนและโลก
Step 2asean
ขน้ั คิดวิเคราะห์
และสรปุ ความรู้
๖. ใหน้ กั เรยี นรว่ มกนั วเิ คราะหเ์ ปรยี บเทยี บ
ว่ า ก า ร ใ ช้ สี คู่ ต ร ง ข้ า ม ใ น ป ริ ม า ณ ที่
ต่างกัน และในปริมาณที่เท่ากัน
ส่งผลต่อผลงานแตกต่างกันอย่างไร
เป็นแผนภาพความคิด
การใช้สีคู่ตรงข้ามสร้างลวดลายที่ดูโดดเด่น
๒.๒ กำรใช้สีคู่ตรงขำ้ มในปรมิ ำณท่ีตำ่ งกัน
การใช้สีคู่ตรงข้ามในปริมาณที่ต่างกัน คือใช้สีใดสีหน่ึงมากกว่าอีก
สีหนึ่ง จะเพ่ิมความน่าสนใจให้กับภาพมากขึ้น
การใช้สีคู่ตรงข้ามโดยใช้สีแดงให้มากกว่าสีเขียว การใช้สีคู่ตรงข้ามโดยใช้สีแดงให้น้อยกว่าสีเขียว
สีตรงขา้ มกง็ ามได้ 25
แนวข้อสอบ O-NET
การใช้สีค่ตู รงข้ามมาระบายผสมกนั จะทำ�ให้ภาพทอ่ี อกมามีลกั ษณะอย่างไร
๑ ภาพมีความโดดเดน่ ๒ ภาพมคี วามสวยงาม กลมกลนื
๓ ภาพมคี วามสมดุลกัน ๔ ภาพมคี วามขดั แยง้ กนั
(เฉลย ๒ เพราะการใชส้ ีคูต่ รงข้ามระบายผสมกนั เป็นการลดความขัดแยง้ ของสี
ทำ�ใหภ้ าพที่ออกมามีความสวยงาม กลมกลืน)
25 สุดยอดคู่มือครู
GPAS 5 STEPs ขั้นGรวaบthรวeมrขin้อgมูล ขั้นคิดวิPเคrรoาcะหe์แsลsะiสnรgุปความรู้
บูรณาการทักษะศตวรรษท่ี 21
แนวข้อสอบ O-NET
ep 2 ขนั้ คดิ วเิ คราะห์
St
และสรุปความรู้
๗. ให้นักเรียนสังเกตตัวอย่างผลงาน การใช้สีคู่ตรงข้ามโดยใช้สีเขียวให้น้อยกว่าสีแดง การใช้สีคู่ตรงข้ามโดยใช้สีเขียวให้มากกว่าสีแดง
การใช้สีคู่ตรงข้ามจากหนังสือเรียน
จากนั้นครูสุ่มตัวแทนนักเรียนออกมา
อภิปรายเก่ียวกับลักษณะการใช้สี
คู่ตรงข้ามของภาพน้ัน ๆ หน้าช้ันเรียน
โดยครกู ำ�หนดหวั ข้อ ดงั น้ี
• สีทีใ่ ช้
• ความร้สู กึ เมือ่ เหน็ ผลงาน
• ข้อเสนอแนะเพ่มิ เตมิ
การใช้สีคู่ตรงข้ามโดยใช้สีนํ้าเงินให้มากกว่าสีส้ม การใช้สีคู่ตรงข้ามโดยใช้สีส้มให้มากกว่าสีน้ําเงิน
26 ศิลปะ ป.๖
สุดยอดคู่มือครู 26
A ขั้นปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ Applyขinั้นgส่ือthสeารCแoลmะนm�ำuเnสiนcaอtion Skill ข้ันSปeรlะfเม-Rินeเพgื่อuเพla่ิมtคinุณgค่า
pplying and Constructing the Knowledge
เสริมความรู้ ครูควรสอน ตัวช้ีวัด รอบรู้อาเซียนและโลก
Step 2asean
๒.๓ ตวั อยำ่ งภำพวำดทร่ี ะบำยดว้ ยสีคู่ตรงข้ำม ข้ันคิดวิเคราะห์
และสรุปความรู้
๘. ให้นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ว่าการ
เลือกใช้สีคู่ตรงข้ามในงานทัศนศิลป์
ต้องคำ�นึงถึงส่ิงใดบ้างเป็นแผนภาพ
ความคิด
การใช้สีนํ้าเงินมากกว่าสีส้ม การใช้สีเหลืองมากกว่าสีม่วง
การใช้สีแดงมากกว่าสีเขียว การใช้สีแดงน้อยกว่าสีเขียว
สตี รงข้ามกง็ ามได้ 27
แนวข้อสอบ O-NET
ขอ้ ใดกลา่ วได้ถูกตอ้ งเกีย่ วกบั สคี ู่ตรงข้าม
๑ สีที่มีความใกล้เคียงกนั มากท่สี ดุ ๒ สที ่ผี สมกันแล้วจะได้เป็นแม่สี
๓ สีทตี่ ่างจากกันมากทส่ี ุด ๔ สีท่ีมีโทนสเี ดียวกัน
(เฉลย ๓ เพราะสีคูต่ รงข้าม คอื สที ม่ี ีการตัดกันและตา่ งจากกันมากทีส่ ุด เช่น สีแดงกับสีเขียว
สเี หลอื งกับสีมว่ ง)
27 สุดยอดคู่มือครู
GPAS 5 STEPs ขั้นGรวaบthรวeมrขin้อgมูล ขั้นคิดวิPเคrรoาcะหe์แsลsะiสnรgุปความรู้
บูรณาการทักษะศตวรรษท่ี 21 แนวข้อสอบ O-NET
ep 2 ข้นั คิดวเิ คราะห์
St
และสรุปความรู้ การใช้สีคู่ตรงข้ามผสมกันระบายในภาพ จะช่วยลดความขัดแย้งของส ี
๙. ใหต้ วั แทนนกั เรยี นออกมาเขยี นขนั้ ตอน ทำาให้ภาพมีความสวยงามกลมกลืน
การลงสคี ตู่ รงขา้ มในภาพ เปน็ แผนภาพ
ความคิด จากนน้ั ร่วมกนั สรุปความคดิ
รวบยอด
การใช้สีแดงระบายให้มีน้ําหนักแตกต่างกัน การใช้สีแดงกับสีเขียวผสมกัน ระบายบาง ๆ
และใช้สีแดงกับสีเขียวผสมกันระบายที่ผมและ รอบต้นมะเขือเทศ
กางเกงเพ่ือเพ่ิมความกลมกลืนให้กับภาพ
การใช้สีคู่ตรงข้ามโดยระบายทับกัน เพื่อช่วยลดความขัดแย้งของสีคู่ตรงข้าม
การใช้สีส้มระบายทับสีน้ําเงิน การใช้สีม่วงแดงและสีเขียวเหลืองระบายทับกัน
เพ่ือลดความขัดแย้งของคู่สี เพ่ือช่วยลดความขัดแย้งของคู่สี
28 ศิลปะ ป.๖
สุดยอดคู่มือครู 28
A ขั้นปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ Applyขinั้นgส่ือthสeารCแoลmะนm�ำuเnสiนcaอtion Skill ข้ันSปeรlะfเม-Rินeเพgื่อuเพlaิ่มtคinุณgค่า
pplying and Constructing the Knowledge
เสริมความรู้ ครูควรสอน ตัวช้ีวัด รอบรู้อาเซียนและโลก
Step 2asean
การใช้สีขาวและสีดำา เพ่ือช่วยลดความขัดแย้งของสีคู่ตรงข้าม ขน้ั คิดวเิ คราะห์
และสรุปความรู้
การใช้สีขาวช่วยลดความขัดแย้งระหว่าง การใช้สีขาวช่วยลดความขัดแย้งระหว่าง ๑๐. ใหน้ กั เรยี นคดิ ประเมนิ เพอ่ื เพม่ิ คณุ คา่
สีส้มกับสีน้ําเงิน สีเขียวกับสีแดง และปลกู ฝงั คา่ นยิ มหลกั ๑๒ประการ
ด้านการใฝ่เรียนรู้ สีคู่ตรงข้ามคู่ใด
ท่ีนักเรียนพบเห็นบ่อยท่ีสุด พร้อม
ยกตวั อยา่ งผลงาน และสรุปความคดิ
รวบยอด
๑๑. ให้นักเรียนกำ�หนดสีคู่ตรงข้าม
สำ�หรับสร้างสรรค์ผลงานภาพวาด
คนละ ๒ สี และวางแผนข้ันตอน
การปฏิบตั งิ าน
การใช้สีขาวช่วยลดความขัดแย้งระหว่าง การใช้สีดําช่วยลดความขัดแย้งระหว่าง
สีเหลืองกับสีม่วง สีเขียวฟ้ากับสีม่วงแดง
ปลอดภยั ไวก้ ่อน
สีขาวและแดง เป็นสัญลักษณ์สี
ท่ีแสดงถึงการห้ามปฏิบัติ เช่น ห้ามจอด
โดยจะสังเกตได้จากริมถนน จะมีการทาสีขาว
และแดง ถ้าพบเห็นควรอ่านและปฏิบัติตาม
เพื่อความปลอดภัย
สีตรงขา้ มกง็ ามได้ 29
แนวข้อสอบ O-NET
ถา้ ตอ้ งใช้สีคตู่ รงขา้ มระบายดอกไม้ ควรระบายอย่างไรเพ่ือชว่ ยลดความขดั แยง้ ของสี
๑ ใช้สีคู่ตรงขา้ มสใี ดสหี นง่ึ ใหม้ ากกว่า (เฉลย ๔ เพราะในการระบายสดี อกไม้โดยใช้สคี ู่ตรงข้าม
๒ ใชส้ คี ตู่ รงขา้ มระบายตามความชอบ เพื่อลดความขัดแย้งของสี ควรใช้สีคู่ตรงข้ามผสมกัน
๓ ใชส้ คี ตู่ รงข้ามในอัตราสว่ นที่เทา่ กนั แล้วระบายรอบ ๆ ดอกไม้ ใหภ้ าพมคี วามกลมกลืนมากขึน้ )
๔ ใชส้ คี ู่ตรงข้ามผสมกันระบายรอบ ๆ ดอกไม้
29 สุดยอดคู่มือครู
GPAS 5 STEPs ขั้นGรวaบthรวeมrขin้อgมูล ข้ันคิดวิPเคrรoาcะหe์แsลsะiสnรgุปความรู้
บูรณาการทักษะศตวรรษที่ 21 แนวข้อสอบ O-NET
Step 3 ขน้ั ปฏบิ ัติ
แหลละงั สกราุปรปควฏาิบมตั ริู้
๓. วธิ กี ารลงสีคู่ตรงขา้ มในภาพ
๑๒. ใ ห้ นั ก เ รี ย น ล ง มื อ ว า ด ภ า พ
ตามจินตนาการของตนเอง และ “ห่ำนจอมซน”
ระบายสีโดยการใช้สีคู่ตรงข้ามท่ี
ตนเองกำ�หนดไว้ใหส้ วยงาม
๑๓. ให้นักเรียนประเมิน ตรวจสอบ
ความเรียบร้อยของผลงานตนเอง
พร้อมหาแนวทางปรบั ปรงุ แกไ้ ข
๑. มองภาพแล้วจินตนาการว่า ๒. ตัดสนิ ใจวา่ จะใช้สสี ้มกับสนี ำา้ เงิน
จะเลือกใช้คู่สีตรงข้ามคู่ใดในภาพ แล้วลงสีส้มเป็นสีแรก
๓. ลงสีนำ้าเงินท่ีก้อนหิน นำ้า และ ๔. ตกแต่งแสงเงาให้กับตัวห่าน
ต้นไม้ ภาพก็จะมีความงามที่ลงตัว
30 ศลิ ปะ ป.๖
สุดยอดคู่มือครู 30
A ขั้นปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ Applyขinั้นgส่ือthสeารCแoลmะนm�ำuเnสiนcaอtion Skill ขั้นSปeรlะfเม-Rินeเพg่ือuเพlaิ่มtคinุณgค่า
pplying and Constructing the Knowledge
เสริมความรู้ ครูควรสอน ตัวชี้วัด รอบรู้อาเซียนและโลก
Stasean
“เพ่ือนกันวันหยุด” ep 3 ขน้ั ปฏบิ ัติ
และสรุปความรู้
หลงั การปฏิบตั ิ
๑. มองภาพแล้วจินตนาการถึงสีสันที่ ๒. เร่ิมลงสีแดงอย่างบาง ๆ เพื่อให้เป็น ๑๔. ให้นักเรียนและครูร่วมกันสรุป
จะใช้ หากเราใช้สีเขียวระบาย สีของท้องฟ้า และแต่งเติมสีแดง หลกั การ ดังน้ี
สนามหญ้า สีคู่ตรงข้ามกับสีเขียว ในส่วนต่าง ๆ ของภาพ
ก็คือสีแดง • สคี ตู่ รงขา้ ม คอื สที อ่ี ยตู่ รงขา้ มกนั
ในวงสีธรรมชาติ
• การใช้สีคู่ตรงข้าม ทำ�ให้ภาพ
ดูมีความกลมกลืน สวยงาม ควรใช้
สีหน่ึงมากกว่าอีกสีหน่ึง หรือผสม
สีคนู่ ั้นในอัตราส่วนทต่ี ่างกัน
• วิธีการลงสีคู่ตรงข้ามในภาพ
ให้ลงสีท่ีเป็นพ้ืนที่ส่วนใหญ่ก่อน
แล้วจงึ ลงสีบริเวณพ้ืนท่ีสว่ นนอ้ ย
๓. ลงสีเขียวในสนามหญ้า ส่วนใกล้ตา ๔. ส่วนท่ีเหลือใช้สีตรงข้ามอีกคู่หนึ่ง
ให้ลงสีเขียวเข้มและค่อย ๆ ระบาย คือสีนำ้าเงินและสีส้มระบายให้มี
ให้อ่อนลงเมื่อเป็นระยะท่ีไกลตา น้ำาหนักแตกต่างกัน
สตี รงขา้ มกง็ ามได้ 31
แนวข้อสอบ O-NET
การฝึกใช้สีคู่ตรงขา้ มในการระบายสีภาพมปี ระโยชน์อย่างไร
๑ ทำ�ใหภ้ าพมีความเหมือนจรงิ (เฉลย ๓ เพราะการฝึกใช้สีคู่ตรงข้าม
๒ ท�ำ ให้ภาพจำ�หน่ายได้ราคาดี ทำ�ใหภ้ าพมสี ีสันสดใส โดดเด่น
๓ ทำ�ใหภ้ าพมีความสวยงามโดดเดน่ เพราะมีการตัดกันของสี ภาพจงึ สวยงาม
๔ ท�ำ ให้ภาพมีสีสนั สดใสไมซ่ ีดจาง กลมกลนื น่าสนใจ)
31 สุดยอดคู่มือครู
GPAS 5 STEPs ขั้นGรวaบthรวeมrขin้อgมูล ข้ันคิดวิPเคrรoาcะหe์แsลsะiสnรgุปความรู้
บูรณาการทักษะศตวรรษที่ 21 แนวข้อสอบ O-NET
St Step 4
ขัน้ สอื่ สารและน�ำเสนอ กิจกรรมพฒั นาการอ่าน
๑๕. ให้นักเรียนออกมานำ�เสนอภาพวาด ให้นักเรยี นอ่านคา� และความหมายของค�าต่อไปนี้
ของตนเองหน้าช้ันเรียน โดยครู
คอยให้คำ�แนะน�ำ เพมิ่ เตมิ ค�าศพั ท์ ค�าอา่ น ความหมาย
5ep ข้ันประเมนิ เพอื่ เพม่ิ คณุ ค่า จินตนาการ จิน-ตะ-นา-กาน การสร้างภาพข้นึ ในจติ ใจ
บรกิ ารสังคม
และจิตสาธารณะ วงจร วง-จอน เสน้ ทางท่เี คลอื่ นทไ่ี ปครบรอบ
๑๖. ให้นักเรียนร่วมกันรวบรวมภาพวาด เว็บไซต์แนะน�า
ของตนเองและเพ่ือน ๆ มาจัดเป็น สีคู่ตรงขา้ ม www.cfa.bpi.ac.th/sub5-7-12.html
นทิ รรศการภาพวาด การใชส้ คี ตู่ รงขา้ ม
เพ่ือเป็นการเผยแพร่ความรู้ให้กับ ผังสรุปสาระสา� คัญ สีคู่ตรงข้าม คือสีที่อยู่ตรงข้ามกัน
ผ้อู ่นื สีค่ตู รงข้าม ในวงสีธรรมชาติ
สตี รงข้าม การใช้สคี ู่ตรงข้าม การใช้สีคู่ตรงข้าม ทำาให้ภาพดูมี
ก็งามได้ ความกลมกลืน สวยงาม ควรใช้
สีใดสีหน่ึงมากกว่าอีกสีหน่ึง หรือ
ผสมสีคู่นนั้ ในอัตราสว่ นท่ีต่างกนั
วิธีการลงสีคตู่ รงข้าม วธิ ีการลงสีคตู่ รงขา้ มในภาพ
ในภาพ ให้ลงสีท่ีเป็นพ้ืนท่ีส่วนใหญ่ก่อน
แลว้ จงึ ลงสีบริเวณพนื้ ทส่ี ่วนน้อย
32 ศิลปะ ป.๖
สุดยอดคู่มือครู 32
A ข้ันปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ Applyขinั้นgสื่อthสeารCแoลmะนm�ำuเnสiนcaอtion Skill ขั้นSปeรlะfเม-Rินeเพg่ือuเพla่ิมtคinุณgค่า
pplying and Constructing the Knowledge
เสริมความรู้ ครูควรสอน ตัวช้ีวัด รอบรู้อาเซียนและโลก
asean
ตัวชี้วัด
กิจกรรมการเรยี นรู้ ศ ๑.๑ ป.๖/๑
ศ ๑.๑ ป.๖/๖
๑. ให้นักเรียนสำารวจสิ่งของรอบตัวท่ีมีสีต่าง ๆ แล้วอภิปรายว่ามีสีใดบ้าง
ที่เป็นสีคู่ตรงข้าม
๒. ให้นักเรียนเลือกหัวข้อที่จะวาดภาพ ๑ หัวข้อ ดังต่อไปนี้
“ความรัก” “ความเสียสละ” “ธรรมชาติประทับใจ”
จากนั้นให้วาดภาพโดยใช้สีคู่ตรงข้าม และใช้หลักการจัดขนาด สัดส่วน
และความสมดุล
๓. ให้นักเรียนนำาเสนอผลงานแล้วร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับความคิด
และ อารมณ์ของภาพ
คา� ถามพฒั นากระบวนการคิด แนวคำ� ตอบ
๑. ส่ิงแวดล้อมทางธรรมชาติคู่ใดบ้างที่มีสีเป็นสีคู่ตรงข้าม ๑. แตงโม ดอกหน้าววั
๒. สีประจำาวันใดบ้างท่ีเป็นสีคู่ตรงข้าม ๒. วนั อาทิตย์กบั วันพุธ
๓. สีคู่ตรงข้ามสีใดท่ีให้ความรู้สึกสดใส วันจนั ทร์กับวันเสาร์
๔. สีม่วงกับสีเหลืองเหมาะสำาหรับใช้ระบายสีภาพอะไร จึงจะเหมาะสม วันพฤหัสบดกี บั วันศกุ ร์
๕. ภาพทะเลควรใช้คู่สีใดจึงจะเหมาะสม ๓. สีมว่ งกับสเี หลือง
๔. ภาพทงุ่ ดอกไม้ทม่ี ดี อกไม้สเี หลือง
กบั สีม่วง
๕. สสี ม้ กับสีนา้ํ เงิน
สีตรงขา้ มก็งามได้ 33
33 สุดยอดคู่มือครู
GPAS 5 STEPs ข้ันGรวaบthรวeมrขin้อgมูล ข้ันคิดวิPเคrรoาcะหe์แsลsะiสnรgุปความรู้
บูรณาการทักษะศตวรรษท่ี 21
แนวข้อสอบ O-NET
เปา้ หมายการเรียนรู้
มาตรฐานการเรยี นรู้ ๓หน่วยการเรียนรู้ที่
มาตรฐาน ศ ๑.๑ ๒ มติ ิ สู่ ๓ มิติ
สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ
และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์
วิ พ า ก ษ์ วิ จ า ร ณ์ คุ ณ ค่ า ง า น ทั ศ น ศิ ล ป์
ถา่ ยทอดความรสู้ กึ ความคิดต่องานศลิ ปะ
อย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจำ�วนั
สมรรถนะสำ�คญั ของผ้เู รียน ตัวชีว้ ดั
ความสามารถในการคดิ
สร้างงานทศั นศลิ ปจ์ ากรูปแบบ ๒ มติ ิ เปน็ ๓ มิติโดยใชห้ ลกั การของแสงเงาและนา�้ หนกั (ศ ๑.๑ ป.๖/๓)
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
มีวนิ ัย ผงั สาระการเรยี นรู้
ตัวช้ีวัดที่ ๓.๑ ปฏิบัติตามข้อตกลง
กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ขอ้ บงั คบั ของครอบครวั รูปทรงกับแสงเงา วธิ กี ารลงนา�้ หนัก
โรงเรียน และสังคม แสงเงา
รูป ๒ มิติ และรปู ๓ มติ ิ หลักการลงน�้าหนกั แสงเงา
๒ มิติ
สู่ ๓ มิติ
แสงเงากบั การสร้างสรรค์ เงาตกกระทบ
แสงเงาในภาพทิวทศั น์
สาระส�าคญั
การวาดภาพ ๒ มติ ิ ให้เปน็ ภาพ ๓ มติ ิ จา� เปน็ ต้องใช้เส้นอยา่ งถกู ตอ้ ง และมกี ารลงน�า้ หนักแสงเงาในภาพ ซ่งึ เปน็
หลักการพื้นฐานที่ผู้สร้างงานทัศนศิลป์ต้องรู้และเข้าใจเพื่อน�าไปใช้สร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ให้มีความลงตัว และ
สามารถนา� ความรู้พ้นื ฐานไปประยกุ ตส์ ร้างสรรค์ผลงานให้มคี วามแปลกใหมไ่ ดอ้ ยา่ งเหมาะสม
บูรณาการทักษะศตวรรษท่ี 21 จุดประกายโครงงาน
ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มร่วมกันจัดทำ�แผ่นพับตัวอย่างภาพจากการลงแสงเงา
ในลกั ษณะต่าง ๆ กลุ่มละ ๑ แผ่นพบั
สุดยอดคู่มือครู 34