The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือเรียนวิชาทักษะการเรียนรู้ ม.ปลาย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ebookchon, 2020-05-27 02:51:41

หนังสือเรียนวิชาทักษะการเรียนรู้ ม.ปลาย (ทร31001)

หนังสือเรียนวิชาทักษะการเรียนรู้ ม.ปลาย

Keywords: ทร31001,ทักษะการเรียนรู้

~ 101 ~

หอสมุดแห่งชาตจิ งั หวดั สุพรรณบุรี เฉลมิ พระเกยี รติ
ถนนสุพรรณบุรี-ชยั นาท ตาํ บลสนามชยั อาํ เภอเมือง
จงั หวดั สุพรรณบุรี 72000
โทรศพั ท์ 035 - 535 - 343, 535 - 244 โทรสาร 035 - 535 -343
เวลาเปิ ด-ปิ ดทาํ การ/บริการ : 09.00 - 17.00 น. วนั องั คาร - วนั พุธ
และวนั นกั ขตั ฤกษ์

ภาคเหนอื

หอสมุดแห่งชาตริ ัชมงั คลาภเิ ษก เชียงใหม่
ถนนบุญเรืองฤทธิ อาํ เภอเมือง จงั หวดั เชียงใหม่ 50200
โทรศพั ท์ 053 - 278 - 3223, 053 - 808 - 550
โทรสาร 053 - 808 - 550
เวลาเปิ ด-ปิ ดทาํ การ/บริการ : 09.00 - 17.00 น. วนั องั คาร - วนั เสาร์
หยดุ วนั อาทิตย์ - วนั จนั ทร์ และวนั นกั ขตั ฤกษ์

~ 102 ~

หอสมดุ แห่งชาตลิ าํ พูน
ถนนอินทรยงยศ ตาํ บลในเมอื ง อาํ เภอเมอื ง จงั หวดั ลาํ พนู 5100
โทรศพั ท์ 053 - 511 - 911 โทรสาร 053 - 560 - 801
เวลาเปิ ด-ปิ ดทาํ การ/บริการ : 09.11 - 17.00 น. วนั องั คาร - วนั เสาร์
หยดุ วนั อาทิตย์ - วนั จนั ทร์ และวนั นกั ขตั ฤกษ์

ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื

หอสมดุ แห่งชาตเิ ฉลมิ พระเกยี รติ ร.9 นครราชสีมา
ถนนราชดาํ เนิน ตาํ บลในเมอื ง อาํ เภอเมือง จงั หวดั นครราชสีมา
30000 โทรศพั ท์ 044 - 256 - 029 - 30 โทรสาร 044 - 256 - 030
เวลาเปิ ด-ปิ ดทาํ การ/บริการ : 09.00 - 17.00 น. วนั องั คาร - วนั เสาร์
หยดุ วนั อาทิตย์ - วนั จนั ทร์ – และวนั นกั ขตั ฤกษ์

~ 103 ~

หอสมุดแห่งชาตปิ ระโคนชัย บุรีรัมย์
ถนนโชคชยั - เดชอดุ ม ตาํ บลประโคนชยั อาํ เภอประโคนชยั
จงั หวดั บุรีรัมย์ 31140
โทรศพั ท์ 044 - 671 - 239 โทรสาร 044 - 671 - 239
เวลาเปิ ด-ปิ ดทาํ การ/บริการ : 09.00 - 17.00 น. วนั องั คาร-วนั เสาร์
หยดุ วนั อาทิตย์ - วนั จนั ทร์ - และวนั นกั ขตั ฤกษ์

หอสมุดแห่งชาตเิ ฉลมิ พระเกยี รตสิ มเดจ็ พระนางเจ้าสิริกติ ิ
พระบรมราชินนี าถ นครพนม
ถนนอภิบาลบญั ชา อาํ เภอเมอื ง จงั หวดั นครพนม 48000
โทรศพั ท์ 144 - 512 - 200, 042 - 512 - 204
โทรสาร 042 - 516 - 246
เวลาเปิ ด-ปิ ดทาํ การ/บริการ : 09.00 - 17.00 น. วนั องั คาร-วนั เสาร์
หยดุ วนั อาทิตย์ - วนั จนั ทร์ - และวนั นกั ขตั ฤกษ์

~ 104 ~

ภาคตะวนั ออก

หอสมุดแห่งชาตชิ ลบุรี
ถนนวชิรปราการ ตาํ บลบางปลาสร้อย อาํ เภอเมอื ง จงั หวดั ชลบุรี
20000 โทรศพั ท์ 038 - 286 - 339 โทรสาร 038 - 273 - 231
เวลาเปิ ด-ปิ ดทาํ การ/บริการ : 09.00 - 17.00 น. วนั องั คาร - วนั เสาร์
หยดุ วนั อาทิตย์ - วนั จนั ทร์ - และวนั นกั ขตั ฤกษ์

หอสมุดแห่งชาตริ ัชมงั คลาภิเษก จนั ทบุรี
ถนนเทศบาล 3 อาํ เภอเมือง จงั หวดั จนั ทบุรี 22000
โทรศพั ท์ 039 - 321 - 333, 039 - 331 - 211, 322 - 168
เวลาเปิ ด-ปิ ดทาํ การ/บริการ : 09.00 - 17.00 น. วนั องั คาร-วนั เสาร์
หยดุ วนั อาทิตย์ - วนั จนั ทร์ และวนั นกั ขตั ฤกษ์

~ 105 ~

ภาคใต้

หอสมดุ แห่งชาตนิ ครศรีธรรมราช
ถนนราชดาํ เนิน ตาํ บลในเมือง อาํ เภอเมอื ง จงั หวดั นครศรีธรรมราช
80000 โทรศพั ท์ 075 - 324 - 137, 075 - 324 - 138
โทรสาร 075 - 341 - 056
เวลาเปิ ด-ปิ ดทาํ การ/บริการ : 09.00 - 17.00 น. วนั องั คาร - วนั เสาร์
หยดุ วนั อาทิตย์ - วนั จนั ทร์ และวนั นกั ขตั ฤกษ์

หอสมุดแห่งชาตกิ าญจนาภิเษก สงขลา
ซอยบา้ นศรัทธา ถนนนาํ กระจาย-อา่ งทอง ตาํ บลพะวง อาํ เภอเมอื ง
จงั หวดั สงขลา 90100
โทรศพั ท์ 074 - 333 - 063 -5 โทรสาร 074 - 333 - 065
เวลาเปิ ด-ปิ ดทาํ การ/บริการ : 09.00 - 17.00 น. วนั องั คาร - วนั เสาร์
หยดุ วนั อาทิตย์ - วนั จนั ทร์ และวนั นกั ขตั ฤกษ์

~ 106 ~

หอสมดุ แห่งชาตเิ ฉลมิ พระเกยี รตสิ มเด็จพระนางเจ้าสิริกติ ์
พระบรมราชินนี าถ สงขลา
สวนสาธารณะเทศบาลนครหาดใหญ่ ถนนกาญจนวานิช
ตาํ บลคอหงส์ อาํ เภอหาดใหญ่ จงั หวดั สงขลา 90110
โทรศพั ท์ 074 - 212 - 211, 212 - 250 โทรสาร 074 - 212 - 211,
212 - 250 ต่อ 201
เวลาเปิ ด-ปิ ดทาํ การ/บริการ : 09.00 - 17.00 น. วนั องั คาร - วนั เสาร์
หยดุ วนั อาทิตย์ - วนั จนั ทร์ และวนั นกั ขตั ฤกษ์

หอสมดุ แห่งชาติ วดั ดอนรัก สงขลา
ถนนไทรบุรี ตาํ บลยอ่ บาง อาํ เภอเมือง จงั หวดั สงขลา 90000
โทรศพั ท์ 074 - 313 - 730 โทรสาร 074 - 212 - 211
เวลาเปิ ด-ปิ ดทาํ การ/บริการ : 09.00 - 17.00 น. วนั องั คาร-วนั เสาร์
หยดุ วนั อาทิตย์ - วนั จนั ทร์ และวนั นกั ขตั ฤกษ์

~ 107 ~

หอสมดุ แห่งชาตเิ ฉลมิ พระเกยี รตสิ มเด็จพระนางเจ้าสิริกติ ิ
พระบรมราชินีนาถ ตรัง
วดั มชั ฌิมภูมิ ถนนหยองหวน ตาํ บลทบั เทียง อาํ เภอเมือง
จงั หวดั ตรัง 92000
โทรศพั ท์ 075 - 215 - 450 โทรสาร 075 - 215 - 450
เวลาเปิ ด-ปิ ดทาํ การ/บริการ : 09.00 - 17.00 น. วนั องั คาร - วนั เสาร์
หยดุ วนั อาทิตย์ - วนั จนั ทร์ และวนั นกั ขตั ฤกษ์

หอสมุดแห่งชาตวิ ดั เจริยสมณกจิ ภูเกต็
วดั หลงั ศาล ตาํ บลเขาโต๊ะแซะ อาํ เภอเมอื ง จงั หวดั ภูเก็ต 83000
โทรศพั ท์ 076 - 217 -780 - 1 โทรสาร 076 - 217 - 781
เปิ ดเปิ ด-ปิ ดทาํ การ/บริการ : 09.00 - 17.00 น. วนั องั คาร - วนั เสาร์
หยดุ วนั อาทิตย์ - วนั จนั ทร์ และวนั นกั ขตั ฤกษ์

~ 108 ~

ห้องสมดุ เฉพาะ

ห้องสมุดเฉพาะคือหอ้ งสมุดซึงรวบรวมหนังสือในสาขาวิชาบางสาขาโดยเฉพาะ มกั เป็ นส่วน
หนึงของหน่วยราชการ องคก์ าร บริษทั เอกชน หรือธนาคาร ทาํ หนา้ ทีจดั หาหนงั สือและให้บริการความรู้
ขอ้ มลู และข่าวสารเฉพาะเรืองทีเกียวขอ้ งกบั การดาํ เนินงานของหน่วยงานนนั ๆ หอ้ งสมุดเฉพาะจะเนน้ การ
รวบรวมรายงานการคน้ ควา้ วิจยั วารสารทางวิชาการ และเอกสารเฉพาะเรืองทีผลิต เพือการใชใ้ นกลุ่ม
วิชาการ บริการของห้องสมุดเฉพาะจะเน้นการช่วยคน้ เรืองราว ตอบคาํ ถาม แปลบทความทางวิชาการ
จดั ทาํ สาํ เนาเอกสาร คน้ หาเอกสาร จดั ทาํ บรรณานุกรมและดรรชนีคน้ เรืองใหต้ ามตอ้ งการ จดั พิมพข์ ่าวสาร
เกียวกบั สิงพิมพเ์ ฉพาะเรืองส่งให้ถึงผใู้ ช้ จดั ส่งเอกสารและเรืองยอ่ ของเอกสารเฉพาะเรืองใหถ้ ึงผใู้ ชต้ าม
ความสนใจเป็ นรายบุคคล

ในปัจจุบนั นีเนืองจากการผลติ หนงั สือและสิงพิมพอ์ นื ๆ โดยเฉพาะวารสารทางวิชาการ รายงาน
การวิจยั และรายงานการประชุมทางวชิ าการมปี ริมาณเพมิ ขึนมากมาย แต่ละสาขาวิชามีสาขาแยกย่อยเป็ น
รายละเอียดลึกซึง จึงยากทีห้องสมุดแห่งใดแห่งหนึงจะรวบรวมเอกสารเหล่านีได้หมดทุกอย่างและ
ใหบ้ ริการไดท้ ุกอยา่ งครบถว้ น จึงเกิดมหี น่วยงานดาํ เนินการเฉพาะเรือง เช่น รวบรวมหนงั สือและสิงพิมพ์
อืน ๆ เฉพาะสาขาวิชายอ่ ย วิเคราะห์เนือหา จดั ทาํ เรืองยอ่ และดรรชนีคน้ เรืองนัน ๆ แลว้ พิมพอ์ อก
เผยแพร่ใหถ้ งึ ตวั ผตู้ อ้ งการขอ้ มลู ตลอดจนเอกสารในเรืองนนั

ตวั อย่างห้องสมดุ เฉพาะ
หอ้ งสมดุ มารวย เติมความรู้ เติมความสนุก ทุกอรรถรสแห่งการเรียนรู้

ความเป็ นมา
จดั ตงั ขึนเมือปี พ.ศ. 2518 ในนาม “หอ้ งสมุดตลาดหลกั ทรัพยแ์ ห่งประเทศไทย” เพือเป็ นแหล่ง
สารสนเทศดา้ นตลาดเงิน ตลาดทุน และสาขาวิชาทีเกียวขอ้ ง ก่อนจะปรับปรุงรูปลกั ษณ์ใหม่ และเปลียน
ชือเป็ น “ห้องสมุดมารวย” ในปี พ.ศ. 2547 เพือเป็ นเกียรติแก่ ดร.มารวย ผดุกงสริรทมธกิ ารผจู้ ดั การ
ตลาดทรัพยท์ รัพยฯ์ คนที 5

วตั ถุประสงค์
1. เพือใหบ้ ริการเผยแพร่ขอ้ มลู ความรู้ดา้ นการเงิน การออม และการลงทุน
2. เพือใหป้ ระชาชนผสู้ นใจมีช่องทางในการเขา้ ถึงแหล่งความรู้ผา่ นศนู ยก์ ารคา้ ชนั นาํ ไดส้ ะดวก

ยงิ ขึน
3. เพอื ขยายฐานและสร้างผลู้ งทุนหนา้ ใหม่

~ 109 ~

การดําเนนิ การ
หอ้ งสมดุ มารวยไดจ้ ดั มุมบริการสาํ หรับกลุ่มเป้ าหมายในการใชบ้ ริการ ดงั นี
1. Library Zone

รวบรวมขอ้ มลู สือสิงพิมพท์ ีผลิตโดย ตลท. บจ. บลจ. กลต. สมาคมฯ ทีเกียวขอ้ ง เผยแพร่
ความรู้ดา้ นการวางแผนทางการเงิน การออม และการลงุทน ตลอดจนเอกสารต่าง ๆ ทีเกียวขอ้ งใหเ้ ป็นที
รู้จกั อยา่ งกวา้ งขวาง ประกอบดว้ ยขอ้ มลู เกียวกบั

- SET Corner
- Magazine & Nespaper
- Listed Company : Annual Report
- Personal Finance
- Business & Management
- Literature & Best Seller : หนงั สือจาก MOU ระหว่างตลาดหลกั ทรัพยฯ์ และ

สาํ นกั พมิ พช์ นั นาํ
- อนื ๆ ประกอบดว้ ยหนงั สือทีเกียวขอ้ งกบั วฒั นธรรมการออม การลงทุน และ จริยธรรม

เป็ นตน้
2. E - Learing & Internet Zone

จดั คอมพิวเตอร์นาํ เสนอขอ้ มลู ทางอนิ เทอร์เน็ตในการติดตามหุน้ รวงมสท่งัคาํ สงั ซือ-ขาย ได้
อยา่ งสะดวกรวดเร็ว เพือดึงดูดลกู คา้ ทีเป็นนกั ลงผงทอ่ ุนนคลั ายโดยทีไมพ่ ลาดความเคลอื นไหวสาํ คญั ที
เกียวกบั การซือ-ขายหลกั ทรัพย์ ตลอดจนความรู้ในรูปแบบ e-learing, e-book รวมทงั การ สืบคน้ ขอ้ มลู จาก
อินเทอร์เน็ต

3. Coffee Zone
เพอื ใหส้ อดคลอ้ งกบั Lifestyle ของผใู้ ชบ้ ริการ โดยจาํ หน่ายเครืองดืม ชา กาแฟ จาก

Settrade.com
4. Activity Zone
เป็นการจดั กิจกรรมและการประชาสมั พนั ธต์ ่าง ๆ อาทิ การเชิญผทู้ ีมีชือเสียงมา สมั ภาษณ์ใน

เรืองน่าสนใจและเชือมโยงเนือหาเกียวขอ้ งกบั วิธีการบริหารเงิน และการลงทุน หรือเป็นกิจกรรมและนาํ
หนงั สือขายดี หรือการจดั เสวนาใหค้ วามรู้ดา้ นการออม การเงิน การลงทุนจากตวั แทน บล. บลจ. เป็นตน้

กจิ กรรมที
ใหผ้ เู้ รียนคน้ ควา้ หอ้ งสมุดเฉพาะจากอนิ เทอร์เน็ต แลว้ ทาํ รายงานส่งครู

~ 110 ~

วดั โบสถ์ และมสั ยดิ

1.วดั
วดั เป็นศานสถานทีเป็นรากฐานของวฒั นธรรมในดา้ นต่าง ๆ และเป็นส่วนประกอบสาํ คญั ของ

ทอ้ งถนิ และเป็นศนู ยก์ ลางในการทาํ กิจกรรมการศกึ ษาทีหลากหลายของชุมชนในทอ้นงถิ วดั ในประเทศ
ไทยสามารถแบ่งได้ 2 ประเภท คือ

ก. พระอารามหลวง หมายถึงวดั ทีพระเจา้ แผน่ ดินทรงสร้างหรือบรู ณะปฏสิ งั ขรณข์ ึนใหม่ หรือ
เป็นวดั ทีเจา้ นายหรือขุนนางสร้างแลว้ ถวายเป็นวดั หลวงพระอารามหลวง แบ่งออกเป็น ไนดแ้ 3ก่ ชพั ระ
อารามหลวงชนั เอก ชนั โท และชนั ตรี

ข. พระอารามราษฎร์ เป็นวดั ทีผสู้ ร้างไม่ไดย้ กถวายเป็นวดั หลวง ซึงมจี าํ นวนมาก กระจายอยู่
ตามทอ้ งถนิ ต่าง ๆ ทวั ไป

อนึง นอกเหนือจากการแบ่งวดั ออกเป็น 2 ประเภทแลว้ ยงั มีวดั ประจาํ รัชกาลซึงตามโบราณราช
ประเพณี จะตอ้ งมกี ารแต่งตงั วดั ประจาํ รัชกาลของพระเจา้ แผน่ ดินแต่ละพระองค์

ความสําคญั ของวดั วดั มคี วามสาํ คญั นานปั การต่อสงั คม เป็ นแหล่งความรู้ของคนในชุมชน ทีมี
ค่ามากในทุกดา้ น ไม่ว่าจะเป็ นดา้ นการอบรงมสสอั นโดยตรงแก่ประชาชนทวั ไป และการอบรมสังสอน
โดยเฉพาะแก่กุลบุตรเพือให้เตรียมตวั ออกไปเป็ นผนู้ าํ ครอบครัวและทอ้ นงทถีดิ ีในอนาคตหรือการให้
การศึกษาในดา้ นศิลปวฒั นธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี พิธีกรรมต่างๆ นอกจากนีบริการต่าง ๆ ทีวดั
ใหแ้ ก่คนในทอ้ งถนิ ในรูปของกิจกรรมทางศาสนาต่าง ๆ นนั นบั เป็นการให้การศึกษาทางออ้ ม ประชาชน
สามารถศกึ ษาเรียนรู้ไดด้ ว้ ยตนเอง จากการสงั เกตพดู คุย ปรึกษาหารือ หรือเขา้ ร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ทีวดั จดั
ใหบ้ ริการ ในส่วนทีเป็นสถานทีพกั ผอ่ นหยอ่ นในจนเมั ือประชาชนเขา้ ไปในวดั เพอื พกั ผอ่ นหยอ่ นใจ ก็จะ
เกิดการเรียนรู้สิงต่าง ๆ ไปดว้ ยในตวั เช่น เรียนรู้วิธีปฏิบตั ิให้จิตใจผ่องใส สงบเยือกเย็น ตามหลกั ธรรม
คาํ สงั สอนของพุทธศาสนา ซึงพระจะเป็นผถู้ ่ายทอดความรู้และวิธีปฏิบตั ิให้ นอกจาหกานกี วดั บางวดั ยงั จดั
บริเวณสถานทีใหเ้ ออื ต่อการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง เช่น ปลูกตน้ ไมน้ านาพรรณ และเขียนชือตน้ ไมต้ ิดไว้ ผทู้ ี
เขา้ วดั ก็มโี อกาสจะศึกษาหาความรู้ในเรืองชนิดของพรรณไมเ้ หลนา่ ไนดั ด้ ว้ ยตวั เอง

วดั กบั การจดั กจิ กรรมการศึกษา กิจกรรมการศกึ ษาทีพบในวดั ไดแ้ ก่
ก. ศึกษาและฝึกอบรมศีลธรรม สงั สอนวิชาการต่าง ๆ ทงั โดยตรง คือแก่ผมู้ าบวชตาม
ประเพณี และแก่เด็กทีมาอยวู่ ดั และโดยออ้ มคือแก่ผมู้ าทาํ กิจกรรมต่าง ๆ ในวดั หรือมาร่วมกิจกรรมใน
วดั ทงั วชิ าหนงั สือและวชิ าช่างต่าง ๆ
ข. ก่อกาํ เนิดและอนุรกั ษศ์ ิลปวฒั นธรรม สืบทอดวฒั นธรรม รวบรวมศลิ ปกรรมเสมือนเป็น
พิพิธภณั ฑ์

~ 111 ~

ค. สงเคราะห์ช่วยใหบ้ ุตรหลานชาวบา้ นทียากจนไดม้ าอาศยั เลียงชีพพร้อมไปกบั ไดศ้ ึกษาเล่าเรียน
รับเลียงและฝึกอบรมเด็กทีมีปัญหา เด็กอนาถา ตลอดจนผใู้ หญ่ซึงไร้ทีพกั พงิ

ง. ใหค้ าํ ปรึกษาแนะนาํ เกียวกบั ปัญหาชีวิต ความทุกข์ ความเดือดร้อน ความรู้สึกคบั แคน้
ขอ้ งใจต่าง ๆ และปรึกษาหารือใหค้ าํ แนะนาํ สงั สอนเกียวกบั วธิ ีแกป้ ัญหา

จ. ไกล่เกลียระงบั ขอ้ พิพาท โดยอาศยั ความเคารพนับถือ เชือฟัง พระสงฆท์ าํ หน้าทีประดุจ
ศาลตดั สินความทีมงุ่ ในทางสมคั รสมานสามคั คี เป็นสาํ คญั

ฉ. ใหค้ วามบนั เทิงจดั งานเทศกาล งานสนุกสนานร่าเริง และมหรสพต่าง ๆ ของชุมชน รวมทงั
เป็นทีเล่นสนุกสนานของเด็ก ๆ

ช. เป็ นสถานทีพกั ผ่อนหย่อนใจทีให้ความร่ มรื นสดชืนของธรรมชาติ พร้อมไปกับให้
บรรยากาศทีสงบเยอื กเย็นทางจิตใจของพระศาสนา

ซ. เป็ นสถานทีพบปะประดุจสโมสรทีชาวบา้ นนดั พบ เป็ นทีชุมนุมสงั สรรค์ สนทนาปรึกษา
หารือกนั ในกิจกรรมทีเหมาะสม และผอ่ นคลาย

ฌ. เป็ นสถานทีแจง้ ข่าว แพร่ข่าว และสือสัมพนั ธเ์ กียวกบั กิจการของทอ้ นงถิ ข่าวภายใน
ทอ้ งถนิ ข่าวจากภายนอกทอ้ งถนิ เช่น ข่าวเกียวกบั เหตุการณ์ของประเทศชาติบา้ นเมือง อาศยั วดั เป็ นศนู ย์
เผยแพร่ทีสาํ คญั ทีสุด และวดั หรือศาลาวดั เป็ นทีสาํ หรับกาํ นนั หรือผใู้ หญ่บา้ น ตลอดจนนายอาํ เภอเรียก
ชาวบา้ น หรือลกู บา้ นมาประชุม หรือถอื โอกาสทีมชี ุมชนในงานวดั แจง้ ข่าวคราว กิจกรรมต่าง ๆ

ญ. เป็นสถานทีจดั กิจกรรมของชุมชน ตลอดจนดาํ เนินการบางอยา่ งของบา้ นเมือง เช่น เป็ นที
กลา่ วปราศรัยหาเสียงของนกั การเมอื ง ทีจดั ลงคะแนนเสียงเลือกตงั

ฎ. เป็ นสถานพยาบาล และเป็ นทีทีรวบรวมสืบทอดตาํ รายาแผนโบราณ ยากลางบา้ นทีรักษา
ผปู้ ่ วยเจ็บตามภมู ริ ู้ซึงถา่ ยทอดสืบ ๆ มา

ฏ. ใหบ้ ริการทีพกั คนเดินทาง ทาํ หน้าทีดุจโรงแรม สาํ หรับผเู้ ดินทางไกล โดยเฉพาะจากต่าง
ถนิ และไมม่ ีญาติเพือนพอ้ ง

ฐ. เป็นคลงั พสั ดุ สาํ หรับเก็บอุปกรณ์และเครืองใชต้ ่าง ๆ ซึงชาวบา้ นจะไดใ้ ชร้ ่วมกนั เมือมีงาน
ทีวดั หรือยมื ไปใชเ้ มือตนมีงาน

ฑ. เป็นสถานทีประกอบพธิ ีกรรม หรือใหบ้ ริการดา้ นพธิ ีกรรม ซึงผกู พนั กบั ชีวิตของทุกคนใน
ระยะเวลาและเหตุการณ์ต่าง ๆ ของชีวิต ตามวฒั นธรรมประเพณีชุมชนไทยแต่ละชุมชน เช่น
แต่ละหมบู่ า้ น มีวดั ประจาํ ชุมชนของตน และต่างก็ยดึ ถือวา่ วเดปั น็ี นวดั ของตน เป็ นสมบตั ิร่วมกนั ของคน
ทงั หมดในชุมชน วดั แต่ละวดั จึงเป็ นเครืองผนึกชุมชนให้รวมเป็ นหน่วยหนึง ๆ ของสังคม วดั ทีสาํ คญั
ทีปชู นียสถานทีประชาชนเคารพอย่างกวา้ งขวางก็เป็ นเครืองรวมใจประชงเามชือนงททั งั จงั หวดั ทงั ภาค
หรือทงั ประเทศ พระสงฆซ์ ึงเป็นทีเคารพนบั ถือ ก็ไดก้ ลายเป็ นส่วนประกอบสาํ คญั ในระบบ การรวมพลงั
และควบคุมทางสงั คม

~ 112 ~

รูป : การนวดแผนโบราณเพือรักษาโรค ทีวดั พระเชตพุ นฯ
โบสถ์ (คริสต์ศาสนา)

ในทางคริสตศ์ าสนา โบสถ์ หมายถึง อาคารหรือสถานทีทีผนู้ บั ถือศาสนาคริสตม์ ารวมกนั เพือ
ประกอบพธิ ีหรือทาํ ศาสนกิจร่วมกนั เป็นเอกลกั ษณ์ประการหนึงของวิถีชีวิตของคริสตชน และคริสตชน
สาํ นึกตนเองว่าเป็นประชากรของพระเจา้ และพวกเขาก็มารวมตวั กนั ถวายนมสั การในฐานะทีเป็นประชากร

~ 113 ~

ส่ วนประกอบของโบสถ์
คาํ ว่า “โบสถ”์ (Church) มาจากภาษากรีกว่า “ekklesia” ตรงกบั คาํ ภาษาลาตินว่า “ecclesai”
ความหมายตามอกั ษร “ekklesia” คือผไู้ ดร้ ับเรียก (จากพระจิตเจา้ ) ใหเ้ รารวมตวั กนั หมายถึง ตวั อาคาร
โบสถ์ ซึงเป็ นสถานทีใหก้ ารตอ้ นรับผทู้ ีมาชุมชนกนั คนวี ามหมายของคาํ ว่า “โบสถ”์ มีพฒั นาการอนั
ยาวนาน ตลอดประวตั ิศาสตร์ของพระศาสนจกั ร โบสถม์ สี ่วนประกอบคร่าว ๆ ดงั นี
ลานหน้าโบสถ์ (Church Courtyard)
ลานหนา้ โบสถถ์ ือว่ามีความสาํ คญั มากทีจะตอ้ งมีเผอื ไว้ เพราะลานนีจะแสดงออกซึงคุณค่าของ
การใหก้ ารตอ้ นรับเป็นด่านแรก ดนงั นอั าจออกแบบเป็นรูปลานหน้าโบสถท์ ีมีเสาเรียงรายรองรับ ซุม้ โคง้
อยโู่ ดยรอบ ๆ ดา้ น หรือรูปแบบอยา่ งอนื ทีจะส่งผลคลา้ ยคลึงกนั บางครังก็ใชล้ านดงั กล่าวในการประกอบ
พิธีดว้ ย หรือบางทีก็ใชเ้ ป็ นทางผ่านเขา้ เป็ น “ตวั เชือมโยง” ระหว่าง “ภายนอกโบสถ”์ และ “ภายใน
โบสถ”์ โดยจะตอ้ งไม่ให้ส่งผลกระทบทีกลายเป็ นการปนิ ดกแั ต่มีวตั ถุประสงคเ์ พือการปรับสภาพจิตใจ
จากความสบั สนวุน่ วายของชีวิตภายนอก เตรียมจิตใจเขา้ สู่ความสงบภายในโบสถ์
ระเบยี งทางเข้าสู่อาคารโบสถ์ (Atrium หรือ Nathex) และประตูโบสถ์
การสร้างโบสถใ์ นคติเดิมเพือจะผ่านเขา้ สู่โถงภายในอาคารโบสถ์ จะตอ้ งผา่ นระเบียงทางเขา้ สู่
อาคารโบสถท์ ีเรียกกนั ว่า Atrium หรือ Nathex ก่อน และบริเวณนันจะมีประตูอยดู่ ว้ ย ระเบียงนีคือ
บริเวณทีใหก้ ารตอ้ นรับบรรดาสตั บุรุษผมู้ าร่วมพิธีซึงเปรียบเสมือนพระศาสนจกั ร เหมอื น “มารดา ผใู้ หก้ าร
ตอ้ นรับลูก ๆ ของพวกเธอ” และประตูทางเขา้ อาคารโบสถก์ ็เปรียบเสมือน “พระคริสตเจา้ ผทู้ รงเป็ น
ประตูของบรรดาแกะทงั หลาย” (เทียบ ยน : 10:7) ดงั นันหากจะมีภาพตกแต่งทีประตูกลาง ก็ให้คาํ นึงถึง
ความหมายดงั กล่าวขนาดของประตูและทางเขา้ นี นอกจากจะตอ้ งคาํ นึงถึงสดั ส่วนใหเ้ หมาะสมกบั ขนาด
ความจุของโถง ภายในโบสถแ์ ลว้ ยงั จะตอ้ งคาํ นึงถึงความจาํ เป็ นของขบวนแห่ อย่างสง่าทีจะตอ้ งผ่านเขา้ -
ออกดว้ ย

หอระฆงั (Bell Tower) และระฆงั โบสถ์ (Bell)
ในการออกแบบก่อสร้างโบสถ์ ควรจะคาํ นึงถงึ บริเวณการก่อสร้างหอระฆงั และกาํ หนดใหม้ กี าร
ใชร้ ะฆงั เพอื ประโยชนใ์ ชส้ อยแบบดงั เดิม นนั คือ การเรียกสตั บุรุษใหม้ าร่วมชุมนุมกนั ในวนั พระเจา้ หรือ
เป็นการแสดงออกถึงวนั ฉลองและสมโภช รวงมเปท็ั นการสือสารให้ทราบกนั ดว้ ยสญั ญาณการเคาะระฆงั
เช่น ระฆงั เขา้ โบสถว์ นั ธรรมดา ระฆงั พรหมถอื สาร ระฆงั วนั สมโภช ระฆงั ผตู้ าย ฯลฯ ควรละเวน้ การใช้
เสียงระฆงั จากเครืองเสียงและลาํ โพง

~ 114 ~

รูปพระ
สอดคลอ้ งกบั ธรรมเนียมประเพณีดงั เดิมของพระศาสนจกั ร พระรูปของคริสตเจา้ , พระแม่มารี
และนกั บุญไดร้ ับการเคารพในโบสถต์ ่าง ๆ แต่รูปพระเหล่านีจะตอ้ งจดั วางในลกั ษณะทีจะไม่ทาํ ให้สตั บุรุษ
วอกแวกไปจากการประกอบพิธีทีกาํ ลงั ดาํ เนินอย่แู ละไม่ควรมีจาํ นวนมาก และจะตอ้ งไม่มีรูปนกั บุญองค์
เดียวกนั มากกว่าหนึงรูป รวมทงั จดั ขนาดให้เหมาะสมดว้ ย โดยปกติแลว้ ควรจะคาํ นึงถึงความศรัทธาของ
หม่คู ณะทงั หมดในการตกแต่งและการจดั สร้างโบสถ์ (I.G.278)

อ่างนําเสก (Holy water Font)
อ่างนาํ เสกเตือนใหร้ ะลึกถงึ อา่ งลา้ งบาป และนาํ เสกทีสตั บุรุษใชท้ าํ เครืองหมายกางเขนบนตนเอง
นัน เป็ นการเตือนใจให้ระลึกถึงศีลลา้ งบาปทีเราไดร้ ับ ดว้ ยเหเตอุนงที ีนาํ เสกจึงตงั ไวต้ รงทางเขา้ โบสถ์
นอกจากนียงั กาํ กบั ใหใ้ ชว้ สั ดุเดียวกนั มีรูปแบบและรูปทรงสอดคลอ้ งกบั อา่ งลา้ งบาปดว้ ย

รูปสิบสีภาค (Stations of the Cross)
ไม่ว่ารูปสิบสีภาคจะประกอบดว้ ยพระรูปพร้อม ทงั ไมก้ างเขน หรือมีเฉพาะไมก้ างเขนเพียง
อยา่ งเดียว ก็ให้ประดิษฐานไวใ้ นโบสถ์ หรือ ณ สถานทีเหมาะสมสาํ หรับตงิดรตูปั สิบสีภาค เพือความ
สะดวกของสตั บุรุษ (หนงั สือเสก และอวยพร บทที 34 ขอ้ 1098)

เครืองเรือนศักดสิ ิทธิ (Sacred Futnishings)
การประกอบพิธีกรรมของคริสตชนต้องใช้อุปกรณ์หลายอย่าง ทังทีเป็ นโครงสร้างถาวรและ
ทีเป็นแบบเคลอื นยา้ ยได้ งมเปีท็ั นเครืองเรือนหรือภาชนะ เราใชช้ ือรวมเรียกอปุ กรณ์เหลว่าน“ี เครืองเรือน
ศกั ดิสิทธิ” หรือ “เครืองเรือนพิธีกรรม” ซึงอุปกรณ์เหล่านนั มีไวใ้ ชส้ อยในระหว่างการ ประกอบพิธีการ
ปฏิรูปพิธีกรรมสงั คายนาก็ไดก้ ล่าวถึงเรือดงว้ นยี “พระศาสนจกั รเอาใจใส่กวดขนั เป็นพิเศษ ใหเ้ ครืองเรือน
ทีใชใ้ นศาสนาสวยงามสมทีจะให้คารวกิจมีความสง่างาม พระศาสนจกั รจึงยอมให้มีการเปลียนแปลง
รูปทรงการตกแต่งทีเกิดจากความกา้ วหนา้ ทางวิชาการตามยคุ สมยั (S.C.122)
คริสตศาสนาในประเทศไทยมีหลายนิกาย แต่ละนิกายจะมีจารีตและการใช้คาํ สัญลกั ษณ์ที
แตกต่างกนั นิกายทีมปี ระชาชนรู้จกั และนบั ถือกนั มากมีอยู่ 2 นิกาย คือนิกายโรมนั คอทอลิก (คริสตงั )
และนิกายโปรเตสแตนต์ (คริสเตียน) แต่ละนิกายจะมีวิธีเรียกทีแตกต่างกนั เช่น นิกาย โรมนั คาทอลิก
จะเรียกโบสถข์ องตนเองว่า โบสถพ์ ระแม่มารี โบสถใ์ นนิกายนีจะแตกต่างด้านสถาปัตยกรรมยุโรป
ประดบั ประดาดว้ ยรูปปันต่าง ๆ แต่นิกายโปรแตสแตนส์และเรียกโบถส์ของตนเองว่า คริสตจกั ร เช่น
คริสตจกั รพระสญั ญา อาคารของโบสถจ์ ะเนน้ ความเรียบง่ายเหมือนอาคารทวั ไป ไมเ่ น้นรูปเคารพ หรือรูป
ปัน อาจจะมีไมก้ างเขนเล็กพอเป็ นเครืองหมายแสดงถึงอาคารทางดา้ น ศาสนกนิจเท(อ่า้นางั จาก http:
www.panyathai.or.th)

~ 115 ~

มสั ยดิ
มสั ยิด หรือสุเหร่า หรือสะกดว่า มสั ฺด เป็ นศาสนสถานของชาวมุสลิม ชาวมุสลิมในแต่ละ

ชุมชนจะสร้างมสั ยดิ ขึนเพอื เป็ นสถานทีปฏิบตั ิพิธีกรรมทางศาสนา อนั ไดแ้ ก่ การนมาซ และการวิงวอน
การปลกี ตนเพือบาํ เพ็ญตบะ หาความสนั โดษ (ออิ ฺติกาฟ และคอลวะหฺ) มนสั อยกดิ จยางักเปน็ี นโรงเรียน
สอนอลั กุรอานและศาสนาสถานทีชุมนุมพบปะ ประชุม เฉลิมฉลอง ทาํ บุญเลียง สถานทีทาํ พิธีสมรส
และสถานทีพกั พิงของผสู้ ัญจรผไู้ ร้ทีพาํ นกั โดยทีจะตอ้ งรักษามารยาทของมสั ยิด เช่น การไม่คละเคลา้
ระหว่างเพศชายและ หญิง การกระทาํ ทีขดั กบั บทบญั ญตั ิหา้ มของอสิ ลาม (ฮะรอม) ทงั มวล

คาํ ว่า มสั ยดิ หรือมสั ญิด เป็นคาํ ทียมื มาจากภาษาอาหรับ แปลวา่ สถานทีกราบ
คาํ วา่ สุเหร่า เป็นคาํ ทียมื มาจากภาษามลายู Surau

ศาสนสถานของศาสนาอิสลามทีสาํ คญั ทีสุด คือ อลั มสั ญิด อลั ฮะรอม (มสั ญิดตอ้ งหา้ ม) ในนคร
มกั กะหฺ อนั เป็งขนองทกีตะั อุบะหฺ มะกอมอบิ รอฮีม (รอยเทา้ ของศาสดาอิบรอฮีม) ขา้ ง ๆนเนปั็ นเนินเขา
อศั ศอฟา และอลั มรั วะหฺ อลั มสั ญิด อลั ฮะรอม เป็ นสถานทีนมาซประจาํ วนั และสถานทีบาํ เพ็ญฮจั น์
เพราะยามทีมุสลิม ประกอบพิธีฮจั ญต์ ้องฏอวาฟรอบกะอฺบะหฺ นมาซหลงั มะกอมอิบรอฮีม และ
เดิน (สะอฺย)ุ ระหวา่ ง อศั ศอฟา และอลั มรั วะหฺ

รองลงมาคือ อลั มสั ญิด อลั นะบะวยี ์ คือมสั ญิดของศาสนทูตมุฮมั มดั ซึงมีร่างของท่านฝังอยู่
อลั มสั ญิด อลั อกั ศอ เป็ นมสั ญิดทีมีความสาํ คญั ทางประวตั ิศาสตร์อิสลาม เพราะศาสนทูต
มุฮมั มดั ไดข้ ึนสู่ฟากฟ้ า (มอิ ฺรอจญ)์ จากนทีน(hั tt://www.wikipedia.org/wike)

กจิ กรรมที
ให้ผเู้ รียนแต่ละคนไปสาํ รวจวดั โบสถ์ และมสั ยิดทีอย่ใู นชุมชน/ตาํ บล แลว้ เขียนเป็ นประวตั ิ

ความเป็นมา ความสาํ คญังทสีจิ ะเรียนรู้ไดจ้ ากวดั โบสถ์ มสั ยดิ จดั ทาํ เป็นรายงานส่งครู

~ 116 ~

พพิ ธิ ภณั ฑ์
พพิ ธิ ภณั ฑ์ เป็นทีรวบรวม รักษา คน้ ควา้ วิจยั และจดั แสดงหลกั ฐานวตั งถขุสอิ งทีสัมพนั ธก์ บั

มนุษยแ์ ละสิงแวดลอ้ ม เป็ นบริการการศึกษาทีใงหค้ทวั ามรู้และความเพลิดเพลินแก่ประชาชนทวั ไป
เนน้ การจดั กิจกรรมการศกึ ษาทีเอือใหป้ ระชาชนสามารถเรียนรู้ดว้ ยตวั เอง พิพิธภณั ฑ์ มีหลากหลายรูปแบบ
มกี ารจดั แบ่งประเภทแตกต่างกนั ไป ซึงกลา่ วโดยสรุปแบ่งออกได้ 6 ประเภท ดงั นี

1. พิพิธภณั ฑสถานประเภททวั ไป (Encyclopedia Museum) เป็ นสถาบนั ทีรวมวิชาการทุก
สาขาเขา้ ดว้ ยกนั โดยจดั เป็นแผนก ๆ

2. พพิ ิธภณั ฑสถานศลิ ปะ (Museum of Arts) เป็นสถาบนั ทีจดั แสดงงานศลิ ปะทุกแขนง
3. พิพิธภณั ฑสถานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (Museum of Science and Technology) เป็ น
สถาบนั ทีจดั แสดงวิวฒั นาการทางวิทยาศาสตร์ดา้ นต่าง ๆ เช่น เครืองจกั รกล โทรคมนาคม ยานอวกาศ
และววิ ฒั นาการเกียวกบั เครืองมอื การเกษตร เป็นตน้
4. พิพิธภณั ฑสถานธรรมชาติวิทยา (Natural Science Museum) เป็ นสถาบนั ทีจัดแสดง
เรืองราวของธรรมชาติเกียวกบั เรืองของโลก ดิน หิน แร่ สัตว์ พืช รวมทงั สวนสตั ว์ สวนพฤกษชาติ
วนอุทยาน และพพิ ธิ ภณั ฑสตั วน์ าํ และสตั วบ์ กดว้ ย
5. พิพิธภณั ฑสถานประวตั ิศาสตร์ (Historical Museum) เป็ นสถาบนั ทีจดั แสดงหลกั ฐานทาง
ประวตั ิศาสตร์ แสดงถงึ ชีวิตความเป็นอยู่ วฒั นธรรมและประเพณี พพิ ธิ ภณั ฑประเภอทานจีแยกเฉพาะเรือง
ก็ได้ เช่น พิพิธภณั ฑท์ ีรวบรวมและจดั แสดงหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ซึงเกียวกบั การเมือง การทหาร
เศรษฐกิจ สงั คม หรือการแสดงบา้ นและเมืองประวตั ิศาสตร์ ทงั นีรวมถึงโบราณสถาน อนุสาวรีย์ และ
สถานทีสาํ คญั ทางวฒั นธรรม
6. พิพิธภณั ฑสถานชาติพนั ธุ์วิทยาและประเพณีพืนเมือง (Museum of Ethnology) และ
การจาํ แนกชาติพนั ธุ์ และอาจจดั เฉพาะเรืองของทอ้ งถนิ ใดทอ้ งถนิ หนึง ซึงเรียกว่าพพิ ิธภณั ฑสถานพืนฐาน
และถา้ จดั แสดงกลางแจง้ โดยปลกู โรงเรือน จดั สภาพแวดลอ้ มใหเ้ หมือนสภาพจริง ก็เรียกว่าพิพิธภณั ฑสถาน
กลางแจง้ (Open-air Museum)
อนึง พิพิธภณั ฑสถานแห่งชาตินัน เป็ นพิพิธภณั ฑ์ทีอยภู่ ายใตก้ ารดูแลของรัฐ สามารถแบ่ง
ประเภทได้ 3 ประเภท คือ
ก. พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติทีเป็ นสถานทีสะสมศิลปโบราณวตั ถุของวดั และประกาศเป็ น
พิพิธภณั ฑสถานแห่งชาติ ขณะนีมจี าํ นวน 10 แห่ง ไดแ้ ก่
1. พิพิธภณั ฑสถานแห่งชาติ วดั พระเชตุพนวิมลมงั คลาราม กรุงเทพมหานคร
2. พพิ ธภณั ฑสถานแห่งชาติ วดั เบญจมบพติ ร กรุงเทพมหานคร
3. พิพิธภณั ฑสถานแห่งชาติ วดั มหาธาตุ อาํ เภอไชยา จงั หวดั สุราษฎร์ธานี
4. พิพธิ ภณั ฑสถานแห่งชาติ มหาวีรวงศ์ วดั สุทธิจินดา จงั หวดั นครราชสีมา
5. พพิ ธิ ภณั ฑสถานแห่งชาติ อินทบุรี วดั โบสถ์ อาํ เภออินทบุรี จงั หวดั สิงหบ์ ุรี

~ 117 ~

6. พพิ ิธภณั ฑสถานแห่งชาติ พระปฐมเจดีย์ จงั หวดั นครปฐม
7. พิพิธภณั ฑสถานแห่งชาติ วดั พระมหาธาตุ จงั หวดั นครศรีธรรมราช
8. พิพธิ ภณั ฑสถานแห่งชาติ วดั พระธาตุหริภุญชยั จงั หวดั ลาํ พนู
9. พพิ ิธภณั ฑสถานแห่งชาติ วดั มชั ฌิมาวาส จงั หวดั สงขลา
10. พิพธิ ภณั ฑสถานแห่งชาติ ชยั นาทมุนี วดั พระบรมธาตุ จงั หวดั ชยั นาท

ข. พพิ ิธภณั ฑสถานแห่งชาติ แหลง่ อนุสรณ์สถาน (Site Museum) พิพิธภณั ฑสถานประเภทนี
เกิดขึนเมือกรมศิลปากรดาํ เนินการสาํ รวจขุดคน้ และขุดแต่งบูรณะโบราณสถานในจงั หวดั ต่าง ๆ เป็ นตน้ เหตุ
ให้พบศิลปวตั ถุโบราณเป็ นจาํ นวนมาก กรมศิลปากรจึงดาํ เนินนโยบายจดั สร้างพิพิธภณั ฑสถานนตขรึ ง
แหล่งทีพบศิลปะโบราณวตั ถุให้เป็ นสถานทีรวบรวม สงวนรักษา และจดั แสดงงทสีคิ น้ พบจากแหล่ง
โบราณสถาน เพือให้ประชาชนทีไดม้ าชมโบราณสถานไดช้ มโบราณวตั ถุ ศิลปะวตั ถุทีขุดคน้ พบดว้ ย
ทาํ ใหเ้ กิดความรู้ ความเขา้ ใจในเรืองศิลปวฒั นธรรม ประวตั ิศาสตร์ โบราณคดีของแต่ละแห่ง ไดเ้ ขา้ ใจ
เห็นคุณค่าและเกิดความภาคภูมิใจ ช่วยกนั หวงแหนรักษาสมบตั ิ วฒั นธรรมใหเ้ ป็ นมรดกของชาติสืบไป
พิพิธภณั ฑสถานแห่งชาติในแหล่งอนุสรณ์สถานทีสร้างขึนแลว้ ไดแ้ ก่

1. พพิ ิธภณั ฑสถานแห่งชาติเชียงแสน จงั หวดั เชียงราย
2. พพิ ิธภณั ฑสถานแห่งชาติเจา้ สามพระยา จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา
3. พพิ ธิ ภณั ฑสถานแห่งชาติรามคาํ แหง จงั หวดั สุโขทยั
4. พิพิธภณั ฑสถานแห่งชาติอทู่ อง จงั หวดั สุพรรณบุรี
5. พิพธิ ภณั ฑสถานแห่งชาติกาํ แพงเพชร จงั หวดั กาํ แพงเพชร
6. พพิ ธิ ภณั ฑสถานแห่งชาติบา้ นเล่า จงั หวดั กาญจบุรี
7. พพิ ิธภณั ฑสถานแห่งชาติพระปฐมเจดีย์ จงั หวดั นครปฐม
8. พิพธิ ภณั ฑสถานแห่งชาติบา้ นเชียง จงั หวดั อุดรธานี
9. พพิ ธิ ภณั ฑสถานแห่งชาติวงั จนั ทรเกษม จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา
10. พิพธิ ภณั ฑสถานแห่งชาติสมเด็จพระนารายณ์ จงั หวดั ลพบุรี

~ 118 ~

ค. พพิ ิธภณั ฑสถานแห่งชาติส่วนภมู ิภาค (Regional Museun) เป็นการดาํ เนินนโยบายเผยแพร่
ศิลปวฒั นธรรม ประวตั ิศาสตร์ และโบราณคดีแก่ประชาชนในภาคต่าง ๆ โดยใชพ้ ิพิธภณั ฑสถานเป็ น
ศนู ยก์ ลางวฒั นธรรมใหก้ ารศกึ ษาแก่ประชาชนแต่ละภาค ไดแ้ ก่

1. พิพิธภณั ฑสถานแห่งชาติขอนแก่น จงั หวดั ขอนแก่น
2. พพิ ิธภณั ฑสถานแห่งชาติเชียงใหม่ จงั หวดั เชียงใหม่
3. พิพธิ ภณั ฑสถานแห่งชาตินครศรีธรรมราช จงั หวดั นครศรีธรรมราช
4. พพิ ิธภณั ฑสถานแห่งชาติปราจีนบุรี จงั หวดั ปราจีนบุรี
5. พพิ ธิ ภณั ฑสถานแห่งชาติสวรรคโลก จงั หวดั สุโขทยั
6. พิพธิ ภณั ฑสถานแห่งชาติสงขลา จงั หวดั สงขลา

พพิ ิธภัณฑ์กบั การจดั กิจกรรมการศึกษา พิพิธภณั ฑไ์ ดม้ ีการจดั กิจกรรมการศึกษาในรูปแบบที
หลากหลาย ดงั นี

ก. งานบริการใหก้ ารศกึ ษา ไดแ้ ก่
1. จดั บริการบรรยายและนําชมแก่นกั เรียน นักศึกษา ซึงติดต่อนัดหมายวนั เวลากับฝ่ าย

การศึกษา เจา้ หนา้ ทีการศึกษาจะบรรยายและนาํ ชมตามระดบั ความรู้ ความสนใจของนกั เรียน และเน้น
พเิ ศษในเรืองทีสมั พนั ธก์ บั หลกั สูตรวชิ าเรียนของนกั เรียนแต่ละระดบั ชนั การศึกษา

2. จดั บรรยายและนาํ ชมแก่ประชาชนในวนั อาทิตย์ เจา้ หนา้ ทีการศึกษาจะบรรยาย และ นาํ ชม
ซึงเป็ นบริการสาํ หรับประชาชน งมกีทาัรนาํ ชมทวั ไป (Guided Tour) และการบรรยายแต่ละห้อง
(Gallery Talk)

3. เปิ ดชนั สอนศิลปะแก่เด็กระหว่างปิ ดภาคฤดูร้อน ฝ่ ายการศึกษาไดท้ าํ การเปิ ดสอน ศิลปะ
แก่เด็งกไททั ยและต่างประเทศ

ข. งานเผยแพร่ศิละวฒั นธรรมแก่ชาวต่างประเทศ ฝ่ ายการศึกษามีเจา้ หน้าทีจาํ กดั ไม่สามารถ
บรรยายและนาํ ชมแก่ชาวต่างประเทศเป็นภาษาต่าง ๆ ได้ จึงไดจ้ ดั อาสาสมคั รและทาํ การอบรมมคั คุเทศก์
อาสาสมคั รทีเป็นชาวต่างประเทศทีอยใู่ นไทยมาช่วยงานพิพธิ ภณั ฑสถาน เรียกชือ คณะชาวต่างประเทศว่า
“The National Museum Volunteer Group” คณะอาสาสมคั รทาํ กิจกรรม ต่าง ๆ ไดแ้ ก่

1. จดั มคั คุเทศนช์ มพพิ ธิ ภณั ฑส์ ถานแห่งชาติ เป็นภาษาองั กฤษ ภาษางฝเศรสั ภาษาเยอรมนั
และภาษาญีป่ ุน

2. จดั อบรมวิชาศลิ ปในประเทศไทยระยะเวลาครังละ 10-12 สปั ดาห์ เป็นภาษาองั กฤษ
3. จดั รายการนาํ ชมโบราณสถาน โดยมีเจา้ หนา้ ทีการศกึ ษาร่วมไปดว้ ย
4. จดั รายการบรรยายทางวิชาการเป็ นประจาํ โดยเชิญผูท้ รงคุณวุฒิและผเู้ ชียวชาญเป็ น
ผบู้ รรยาย
5. คณะอาสาสมคั รช่วยงานหอ้ งสมดุ งานหอ้ งสมุดภาพนิง และงานวิชาการอนื ๆ

~ 119 ~

ค. งานวิชาการ ไดแ้ ก่
1. จดั ตงั ห้องสมุดศิลปโบราณคดี ฝ่ ายการศึกษาไดป้ รับปรุงห้องสมุดกองกลางโบราณคดี

ซึงเดิมมหี นงั สือส่วนใหญ่เป็นหนงั สือทีพิมพใ์ นงานฌาปนกิจ จึงไดต้ ิดต่อขอรับหนังสือจากมลู นิธิต่าง ๆ
และไดจ้ ดั หาเงินจดั ซือหนงั สือประเภทศลิ ปะและโบราณคดีเขา้ หอ้ งสมุด และจดั หาบรรณารักษ์อาสามคั ร
ทาํ บตั รหอ้ งสมุดและดแู ลงานหอ้ งสมดุ

2. จดั ตงั หอ้ งสมุดภาพนิง (Slide Library) มีภาพนิงศิลปะ โบราณวตั ถุและโบราณสถาน
3. จดั ทาํ Catalogue ศิลปวตั ถุในพิพิธภณั ฑสถานแห่งชาติ เป็นภาษาองั กฤษ
4. จดั พิมพเ์ อกสารทางวิชาการ
อนึง ในทอ้ งถนิ ทีอยหู่ ่างไกลจากแหลง่ วทิ ยาการ จะมกี ารจดั กิจกรรมพพิ ิธภณั ฑ์เคลือนที ซึงเป็ น
รถเคลอื นทีไปตามสถานทีต่าง ๆ มีการจดั กิจกรรมหลากหลายในรถ อาทิ จดั นิทรรศการ บรรยาย สาธิต
และศกึ ษาคน้ ควา้ เอกสารต่าง ๆ

รูป พพิ ธิ ภัณฑ์พยาธิวทิ ยาเอลลสิ

~ 120 ~

รูป พพิ ธิ ภณั ฑ์สตั ว์นาํ ราชมงคลศรีวชิ ัย จ.ตรัง
รูป อาคารพพิ ธิ ภัณฑ์สถานแห่งชาติน่าน

~ 121 ~

อทุ ยานการศึกษา
อุทยานการศึกษา หมายถึง การออกแบบระบบการศึกษาเพืออาํ นวยความสะดวกและบริการ

แก่ประชาชนในทอ้ งถนิ ในเขตเมือง เป็นการบริการทีผสมผสานระหว่างการพกั ผอ่ น หยอ่ นใจกบั การศึกษา
ตามอธั ยาศยั เพอื พฒั นาคุณภาพชีวติ ของคน แต่อยา่ งไรก็ตามไดม้ ีความเห็นแตกต่างกนั ในเรืองของนิยาม
ของ “อทุ ยานการศกึ ษา” ซึงสามารถสรุปไดเ้ ป็น 2 กลมุ่ คือ

ก. กล่มุ พฒั นาการนยิ ม จดั อทุ ยานการศึกษาเพือปัญหาการขาดแคลนวสั ดุ อปุ กรณ์ อาคาร
สถานที สิงแวดลอ้ มและบุคลากรทีมีความเชียวชาญหายากไวใ้ นทีเดียวกนั โดยจดั เป็ นสถานศึกษาขนาด
ใหญ่ทีสามารถให้การศึกษาในหลกั สูตรทีจัดไม่ไดใ้ นโรงเรียนปกติ เพราะขาดทรัพยากรการศึกษา
เพอื เออื อาํ นวยโอกาสทางการศกึ ษาแก่นกั ศึกษา นกั เรียนทุกระดบั ชนั ประชาชนทวั ไปทงั ใน และนอกเวลา
เรียนปกติ เป็นการตอบสนองต่อการใหก้ ารศกึ ษงาใทนัระบบ นอกระบบ และการศึกษาตลอดชีวิต

~ 122 ~

ข. กล่มุ มนุษยนยิ ม มกี ารจดั อทุ ยานการศกึ ษาเพอื แกป้ ัญหาการขาดแคลนวสั ดุ อุปกรณ์ อาคาร
สถานที สิงแวดลอ้ มและบุคลากรทีมีความเชียวชาญ หายากไวใ้ นทีเดียวกนั คลา้ ยกบั กลุ่มพิพฒั นาการนิยม
แต่ในอุทยานการศึกษาของกลุ่มมนุษยนิยม เน้นให้มีส่วนบริเวณทีร่มรืนเป็ นทีพกั ผ่อนแก่ผใู้ ช้อุทยาน
การศึกษาเพิมขึนอีกส่วนหนึง

ความสําคญั ของอทุ ยานการศึกษา
อทุ ยานการศึกษามคี วามสาํ คญั ดงั นี
ก. ช่วยสร้างความคิดรวบยอด การทีผเู้ รียนมีโอกาสไดเ้ ห็น ไดส้ ัมผสั ไดร้ ับคาํ แนะนาํ สาธิต

และไดท้ ดลองดว้ ยตนเอง ทาํ ใหผ้ เู้ รียนสามารถสร้างมโนภาพทีถูกตอ้ งไดท้ นั ทีทีเห็น เช่น การไดท้ ดลอง
ทอผา้ ดว้ ยกีกระตุก ทาํ ให้ผเู้ รียนสามารถสร้างความคิดรวบยอดไดร้ วดเร็วและถกู ตอ้ งกว่าการอ่านจาก
เอกสาร เป็นตน้

ข. ให้ประสบการณ์ทีเป็ นรูปธรรม การเรียนรู้ประสบการณ์ตรงหรือประสบการณ์จาํ ลองใน
อุทยาน การศึกษาทาํ ใหส้ ามารถเขา้ ใจสภาพทีจริงแทข้ ององค์ความรู้ เช่น การศึกษาสถาปัตยกรรมของ
บา้ นทรงไทย และเพนียดคลอ้ งชา้ งสมยั โบราณ เป็นตน้

ค. ช่วยสร้างความใฝ่ รู้ในเรืองอนื ๆ เพมิ ขึน จากการทีผเู้ รียนสามารถสัมผสั และเห็นสภาพจริง
ของสิงทีตอ้ งการศึกษา ทาํ ใหเ้ ขา้ ใจง่าย และไปเสริมแรงจงู ใจในการเรียนรู้เรืองอนื ๆ ต่อไป

ง. เป็นแหล่งทีใหก้ ารศึกษาต่อเนือง อุทยานการศึกษาสามารถใหบ้ ริการแก่คนทุกเพศ ทุกวยั
ทุกอาชีพ ในรูปแบบทีหลากหลายทงั ทางดา้ นการพกั ผอ่ นหยอ่ นใจ และการทาํ กิจกรรมการเรียนรู้สิงต่าง ๆ
ทีมีอย่จู าํ นวนมากมาย ซึงลว้ นแต่ส่งเสริมการพฒั นาคุณภาพชีวิตทงั สิน จึงเป็ นแหล่งทีทุกคนสามารถ
แสวงหาไดท้ ุกอยา่ งทีตนตอ้ งการอยา่ งอสิ ระและต่อเนือง

รูป อทุ ยานการศึกษารัชกาลที 2

~ 123 ~

รูป แสดงผ้เู รียนร่อนทองในอุทยานการศึกษา

จ. เป็นแหล่งทีใหค้ วามเสมอภาคแก่ประชาชนทุก ๆ คนมีสิทธิเท่าเทียมกนั ในการให้บริการของ
อุทยานการศึกษา ไม่ว่าจะเป็ นดา้ นการทาํ กิจกรรมพฒั นาวิชาชีพ การทาํ กิจกรรมสุขภาพ ตามเวลาที
ตอ้ งการจะเรียน

อุทยานการศกึ ษากบั การจดั กิจกรรมการศึกษา อุทยานการศึกษามีลกั ษณะเป็ นสวนสาธารณะที
จดั สร้างขึนเพือส่งเสริ มการศึกษาตามอธั ยาศัย และการพกั ผ่อนหย่อนใจของประชาชนกิจกรรมของ
การศกึ ษาทีสาํ คญั ของอุทยานการศกึ ษามี 2 ส่วน คือ

ส่วนที 1 เป็นส่วนของอทุ ยานทีมีภมู ทิ ศั นเ์ ขียว สะอาด สงบ ร่มรืน สวยงามตามธรรมชาติ มี
สระนาํ ลาํ ธารตน้ ไมใ้ บหญา้ เขียวชอ่มุ ตลอดปี และมีอาคารสถานที พร้อมทงั สิงอาํ นวยความสะดวกในการ
จดั กิจกรรม การศกึ ษาตามอธั ยาศยั และการพกั ผอ่ นหยอ่ นใจของประชาชนทุกเพศ ทุกวยั พนื ทีส่วนทีเป็น
พฤกษชาติ มกี ารปลกู และแสดงไมด้ อกและไมป้ ระดบั ของไทยไวใ้ หส้ มบูรณ์ครบถว้ น มสี วนนาํ ซึงจดั ปลกู
บวั ทุกชนิด อาคารสญั ลกั ษณ์ ศาลาพุ่มขา้ วบิณฑ์ และอาคารตรีศร เป็นศนู ยก์ ลางของอทุ ยาน มีอาคารไทย
สมยั ปัจจุบนั สาํ หรับจดั พิพิธภณั ฑ์ นิทรรศการ การสาธิต และการจดั แสดงเรืองต่างๆ ดว้ ยเทคโนโลยี
สมยั ใหม่ สวนสุขภาพทงั สวนกายและสวนจิต มีศาลาสาํ หรับการนงั พกั ผอ่ นกระจายอยใู่ นบริเวณอุทยาน
และมสี ือไทย 4 ภาค คือภาคเหนือ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคใต้ สร้างขึนตามรูปแบบ
ของสถาปัตยกรรมในภาคนนั ๆ รวมทงั จดั แสดงสิงของ เครืองใชท้ ีมีลกั ษณะเฉพาะของภาคนนั ๆ ในเรือน
ไทย ดงั กล่าวดว้ ย

~ 124 ~

ส่วนที 2 เป็นส่วนของกิจกรรมการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ซึงประกอบดว้ ย
1) กิจกรรมส่งเสริมความรู้เกียวกบั ชีวิตไทย เอกลกั ษณ์ไทย ศิลปวฒั นธรรมไทย วิทยาการ
กา้ วหนา้ และประยุกตว์ ิทยาทีมีผลต่อการดาํ เนินชีวิตของคนไทยโดยส่วนรวมดว้ ย มีการผลิต และพฒั นา
เทคโนโลยีการสือสารสมยั ใหม่เสนอไวใ้ นอุทยานการศึกษา เช่น ภาพยนตร์ ภาพทศั น์ คอมพิวเตอร์
มลั ติวิชนั และสือโสตทศั นอ์ นื ๆ ทีแสดงใหเ้ ห็นถงึ วิวฒั นาการและการประยกุ ตเ์ ทคโนโลยี การสือสารใน
ประเทศไทยมกี ารจดั แสดงมหกรรม นิทรรศการ และการสาธิต ทงั ทีจดั ประจาํ และจดั เป็ นงคครรั าว ทงั ที
เกียวขอ้ งกบั การศึกษาและเรืองทวั ไป เช่น แสดงใหเ้ ห็นถึงววิ ฒั นาการดา้ นวิทยกุ ระจายเสียง วทิ ยโุ ทรทศั น์
โทรศพั ท์ โทรพิมพ์ และการสือสารผา่ นดาวเทียม เป็นตน้ ตลอดจนมกี ารจดั พิพธิ ภณั ฑเ์ ฉพาะเรือง เฉพาะ
อย่างทีไม่ซาํ ซอ้ นกบั พิพิธภณั ฑท์ ีจดั กนั อยแู่ ลว้ เช่น พิพิธภณั ฑ์ ชีวิตไทย และจดั สร้างเรือนไทย 4 ภาค
เป็ นตน้
2) กิจกรรมส่งเสริ มการพกั ผ่อนและนันทนาการ เพือให้ประชาชนได้ใชเ้ วลาว่างให้เป็ น
ประโยชน์ ไดม้ ีสถานทีพกั ผอ่ นหยอ่ นใจทีมีบรรยากาศร่มรืน สงบ สะอาด และปลอดภยั มีงานอดิเรกที
เหมาะสม รวมทงั ไดพ้ ฒั นาร่างกายและจิตใจใหส้ มบูรณ์แข็งแรง โดยการจดั สร้างศาลาทีพกั กระจายไวใ้ น
บริเวณใหม้ ากพอเพอื ใชเ้ ป็นทีพกั ผอ่ นหยอ่ นในวนั หยุดของประชาชน จงดั ชตมั รมกลุ่มผสู้ นใจงานอดิเรก
ต่าง ๆ และเป็นศนู ยน์ ดั พบเพอื การทาํ งานอดิเรกร่วมกนั โดยอุทยานการศึกษาเป็ นผปู้ ระสานส่งเสริมและ
อาํ นวยความสะดวก นอกจากนีมีการจดั สวนสุขภาพ ทงั สวนกายและสวนจิต เพือให้ผมู้ าใชป้ ระโยชน์
ไดม้ าใชอ้ อกกาํ ลงั กายโดยสภาพธรรมชาติ และการพฒั นาสุขภาพจิต
3) กิจกรรมส่งเสริมศิลปวฒั นธรรมและประเพณีอนั ดีงามเกียวกบั ศิลปะพืนบา้ น การละเล่น
พนื บา้ น และงานประเพณีในเทศกาลต่าง ๆ ของไทย โดยการเลือกสรรเรืองทีหาดูไดย้ าก หรือกาํ ลงั จะสูญ
หายมาแสดงเป็นงครัาว จดั ทาํ ภาพยนตร์และภาพวีดิทศั น์ บนั ทึกเรืองต่างๆ ลว้ นเสนอผ่านเทคโนโลยี
การสือสารทีจดั ไวใ้ นอุทยานการศกึ ษา นอกจากนียงั มีการร่วมกบั ชุมชนจดั งานประเพณีในเทศกาลต่าง ๆ
โดยมุ่งธาํ รงรักษารูปแบบและวธิ ีการจดั ทีถกู ตอ้ งเหมาะสมไวเ้ ป็นตวั อยา่ ง
อทุ ยานแห่งชาติ หมายถงึ พนื ทีอนั กวา้ งใหญ่ไพศาล ทีประกอบดว้ ยทรัพยากรธรรมชาติ
ทีสวยงาม เหมาะสาํ หรับการพกั ผอ่ นหยอ่ นใจ เป็นแหล่งทีอยอู่ าศยั ของสตั วป์ ่ าหายาก หรือมีปรากฏการณ์
ธรรมชาติทีอศั จรรย์ อุทยานแห่งชาติทีสาํ คญั ไดแ้ ก่ อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ อุทยานแห่งชาติภกู ระดึง
อุทยานแห่งชาติตะรุเตา อทุ ยานแห่งชาติดอยขุนตาล เป็นตน้
อุทยานแห่งชาติกบั การจดั กิจกรรมการศกึ ษา มีดงั นี
ก. เป็ นสถานทีศึกษาดา้ นธรรมชาติวิทยา มีการรักษาและอนุรักษส์ ายพนั ธุธ์ รรมชาติ ของพืช
และสตั วป์ ่ า ซึงเอือประโยชน์อยา่ งมหาศาลต่อการจดั กิจกรรมการศึกษาดา้ นเกษตรศาสตร์ และชีววทิ ยา
ข. การรกั ษาสิงแวดลอ้ มทางธรรมชาติของอุทยานแห่งชาติเอือต่อการพฒั นาคุณภาพกาย และ
สุขภาพจิตของมนุษยชาติ
ค. ใชเ้ ป็นแหลง่ นนั ทนาการเพือการพฒั นาคุณภาพชวี ิตของมนุษย์

~ 125 ~

กจิ กรรมที
ใหผ้ เู้ รียนแบ่งกลุ่ม ๆ ละ 8-10 คน แต่ละกลุ่มวางแผนการคน้ ควา้ เกียวกบั “ศิลปวฒั นธรรม

ไทย” เรืองใดเรืองหนึง โดยใชข้ อบข่ายเนือหา จากบทที 2 ว่าผเู้ รียนสามารถใชแ้ หล่งเรียนรู้ใดในการ
คน้ ควา้ เรียงลาํ ดบั อยา่ งน้อย 3 แหล่ง รวมทงั บอกเหตุผลว่า ทาํ ไมจึงใชแ้ หล่งเรียนรู้ลาํ ดบั ที 1,2 และ 3
แลว้ รายงานหนา้ ชนั รวมทงั จดั ทาํ เป็นรายการการคน้ ควา้ ส่งครู

~ 126 ~

เรืองที 5 : การใช้แหล่งเรียนรู้ผ่านเครือข่ายอนิ เทอร์เนต็

มารู้จกั อนิ เทอร์เน็ตกนั เถอะ
1. อนิ เทอร์เนต็ (Internet) คอื อะไร
ถา้ จะถามว่าอนิ เทอร์เน็ต (Internet) คืออะไร ก็คงจะตอบไดไ้ ม่ชดั เจน ว่า คือ 1) ระบบเครือข่าย

คอมพิวเตอร์ (Computer Network) ขนาดใหญ่ ซึงเกิดจากนาํ เอาคอมพิวเตอร์และเครือข่ายคอมพิวเตอร์
จากทวั โลกมาเชือมต่อกันเป็ นเครือข่ายเดียวกัน โดยใชข้ อ้ ตกลงในการสือสารระหว่างคอมพิวเตอร์ใน
เครือข่ายหรือใชภ้ าษาสือสารหลกั (Protocol) เดียวกนั คือ TCP/IP (Transmission Control Protocol/Internet
Protocol) 2) เป็นแหลง่ ขอ้ มลู ขนาดใหญ่ ใชเ้ ป็นเครืองมือในการคน้ หาขอ้ มลู ทีตอ้ งการไดเ้ กือบทุกประเภท
เป็ นเครืองมือสือสารของคนทุกชาติ ทุกภาษวาโทลั ก และ 3) เป็ นสือ (Media) เผยแพร่ขอ้ มูลไดห้ ลาย
ประเภท เช่น สือสิงพมิ พ,์ สือโทรทศั น์ สือวิทยุ สือโทรศพั ท์ เป็นตน้

2. อนิ เทอร์เน็ตสําคญั อย่างไร
เทคโนโลยีสนเทศ (Information Technology) หลายประเทศทวั โลกกาํ ลงั ให้ความสาํ คัญ
เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือเรียกโดยยอ่ ว่า “ไอที (IT) ซึงหมายถึงความรู้ในวิธีการประมวลผล จดั เก็บ
รวบรวม เรียกใช้ และนาํ เสนอขอ้ มลู ดว้ ยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ เครืองมือทีจาํ เป็ นตอ้ งใชส้ าํ หรับงาน
ไอที คือคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์สือสาร โทรคมนาคม โครงสร้างพืนฐานดา้ นการสือสาร ไม่ว่าจะเป็ น
สายโทรศพั ท์ ดาวเทียม หรือเคเบิลใยแกว้ นาํ แสง อินเทอร์เน็ตเป็ นเครืองมือสาํ คญั อย่างหนึงในการ
ประยกุ ตใ์ ชไ้ อที หากเราจาํ เป็นตอ้ งอาศยั ขอ้ มลู ข่าวสารในการทาํ งานประจาํ วนั อินเทอร์เน็ตจะเป็นช่องทาง
ทีทาํ ใหเ้ ราเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ข่าวสารหรือเหตุการณ์ความเป็นไปต่างๆวโทลักทีเกิดขึนไดใ้ นเวลา อนั รวดเร็ว ใน
ปัจจุบนั สามารถสืบคน้ ขอ้ มลู ไดง้ ่ายๆ กวา่ สืออืนๆ อินเทอร์เน็ตเป็ นแหล่งรวบรวมขอ้ มลู แหล่งใหญ่ทีสุด
ของโลก และเป็นทีรวงมบทรัิการเครืองมือสืบคน้ ขอ้ มลู หลายประเภท จนกระทงั กล่าวไดว้ ่าอินเทอร์เน็ต
เป็นเครืองมอื สาํ คญั อยา่ งหนึงในการประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทงศใทนัระดบั บุคคลและองคก์ ร
(อา้ งองิ จาก http://www.montfort.ac.th/mcs/dept/computer/Internet/whatinet.html 7 มนี าคม 2552)

3. ความหมายของอนิ เทอร์เนต็
อินเทอร์เน็ต (Internet) หมายถึง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ ทีมีการเชือมต่อระหว่าง
เครือข่ายหลายๆ เครือข่ายทวั โลก โดยใชภ้ าษาทีใชส้ ือกลางกนั ระหวา่ งคอมพวิ เตอร์ทีเรียกว่า โพรโทรคอล
(Protocol) ผใู้ ชเ้ ครือข่ายนีสามารถสือสารถึงกนั ไดใ้ นหลายๆ ทาง อาทิเช่น อีเมล์ (E-mail), เว็บบอร์ด
(Web bord), แชทรูม (Chat room) การสืบคน้ ขอ้ มลู และข่าวสารต่างๆ รวมทงั คดั ลอกแฟ้ มขอ้ มลู และ
โปรแกรมมาใชไ้ ด้ (อา้ งองิ จาก http : //th.wikipedai.org/wiki/)

~ 127 ~

อนิ เทอร์เนต็ ในลกั ษณะเป็ นแหล่งเรียนรู้สําคญั ในโลกปัจจบุ ัน
ถา้ จะพดู ถึงว่าอนิ เทอร์เน็ตมคี วามจาํ เป็นและเป็นแหล่งเรียนรู้ทีสาํ คญั ทีสุดคงจะไม่ผดิ นกั เพราะ

เราสามารถใชช้ ่องทางนีทาํ อะไรไดม้ ากมายโดยทีเราก็คาดไมถ่ ึง ซึงพอสรุปความสาํ คญั ไดด้ งั นี

1. เหตผุ ลสําคญั ทีทําให้แหล่งเรียนรู้ผ่านเครือข่ายอนิ เทอร์เน็ตได้รับความนยิ มแพร่หลาย คือ
1. การสือสารบนอนิ เทอร์เน็ตเป็นแหลง่ เรียนรู้ทีไมจ่ าํ กดั ระบบปฏิบตั ิการของเครืองคอมพิวเตอร์ ที

ต่างระบบปฏบิ ตั ิการก็สามารถติดต่อสือสารกนั ได้
2. แหล่งเรียนรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตไม่มีขอ้ จาํ กดั ในเรืองของระยะทาง ไม่ว่าจะอย่ภู ายใน

อาคารเดียวกนั ห่างกนั คนละมุมโลก ขอ้ มลู ก็สามารถส่งผา่ นถึงกนั ไดด้ ว้ ยเวลารวดเร็ว
3. อินเทอร์เน็ตไม่จาํ กดั รูปแบบของขอ้ มูล ซึงมีไงดมท้ ูลั มลู ทีเป็ นขอ้ ความอย่างเดียว หรืออาจมี

ภาพประกอบ รวมไปถงึ ขอ้ มลู ชนิดมลั ติมีเดีย คือมที งั ภาพเคลือนไหวและมเี สียงประกอบดว้ ยได้
2. หน้าทีและความสําคญั ของแหล่งเรียนรู้อนิ เทอร์เนต็

การสือสารในยคุ ปัจจุบนั เป็นยคุ ไร้พรมแดน การเขา้ ถึงกล่มุ เป้ าหมาย จาํ นวนมากๆ ไดใ้ น
เวลาอนั รวดเร็ว และใชต้ น้ ทุนในการลงทุนตาํ เป็งทีพนึงสปิ รารถนาของทุกหน่วยงาน และอินเทอร์เน็ต
เป็นสือทีสามารถตอบสนองต่อความตอ้ งการดงั กล่าวได้ จึงเป็นความจาํ เป็นทีทุกคนตอ้ งใหค้ วามสนใจและ
ปรับตวั ใหเ้ ขา้ กบั เทคโนโลยใี หม่นี เพือจะไดใ้ ชป้ ระโยชน์จากเทคโนโลยี ดงั กลา่ วอยา่ งเต็มที

อินเทอร์เน็ตถือเป็ นระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์สากลทีเชือมต่อเขา้ ด้วยกัน ภายใต้
มาตรฐานการสือสารเดียวกนั เพือใชเ้ ป็นเครืองมือสือสารและสืบคน้ สารสนเทศจากเครือข่ายต่างๆวโทลั ก
ดงั นัน อินเทอร์เน็ตจึงเป็ นแหล่งรวมสารสนเทศจากทุกมุมโลก ทุกสาขาวิชา ทุกดงา้บนนั เทิงั และ
วิชาการ ตลอดจนการประกอบธุรกิจต่าง ๆ (อา้ งอิงจาก http://www.srangfun.net/web/ Knowlage/
BasicCom/09.htm)
3. ความสําคญั ของแหล่งเรียนรู้อนิ เทอร์เน็ตกบั งานด้านต่างๆ

ด้านการศึกษา
1. สามารถใชเ้ ป็ นแหล่งคน้ ควา้ หาขอ้ มลู ไม่ว่าจะเป็ นขอ้ มูลทางวิชาการ ขอ้ มลู ดา้ นการเมือง ดา้ น
การแพทย์ และอนื ๆ ทีน่าสนใจ
2. ระบบเครือข่ายอนิ เทอร์เน็ตจะทาํ หนา้ ทีเสมือนเป็นหอ้ งสมดุ ขนาดใหญ่
3. ผใู้ ชส้ ามารถใชอ้ ินเทอร์เน็ตติดต่อกบั แหล่งเรียนรู้อืนๆ เพือคน้ หาขอ้ มลู ทีกาํ ลงั ศึกษาอยไู่ ดงท้ ที ั
ขอ้ มลู ทีเป็นขอ้ ความ เสียง ภาพเคลือนไหวต่างๆ เป็นตน้
ด้านธุรกจิ และการพาณชิ ย์
1. ในการดาํ เนินงานทางธุรกิจ สามารถคน้ หาขอ้ มลู ต่างๆ เพือช่วยในการตดั สินใจทางธุรกิจ
2. สามารถซือขายสินคา้ ผา่ นระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

~ 128 ~

3. บริษทั หรือองค์กรต่าง ๆ ก็สามารถเปิ ดให้บริการและสนับสนุนลูกคา้ ของตนผ่านระบบเครือข่าย
อนิ เทอร์เน็ตได้ เช่น การใหค้ าํ แนะนาํ สอบถามปัญหาต่างๆ ใหแ้ ก่ลกู คา้ แจกจ่ายตวั โปรแกรมทดลองใช้
(Shareware) หรือโปรแกรมแจกฟรี (Freeware) เป็นตน้

ด้านการบันเทิง
1. การพกั ผอ่ นหยอ่ นใจ สนั ทนาการ เช่น การคน้ หาวารสารต่างๆ ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ทีเรียกวา่ Magazine Online รวมทงั หนงั สือพิมพแ์ ละข่าวสารอืนๆ โดยมีภาพประกอบทีจอคอมพิวเตอร์
เหมอื นกบั วารสารตามร้านหนงั สือทวั ๆ ไป
2. สามารถฟังวิทยผุ า่ นระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้
3. สามารถดึงขอ้ มลู (Download) ภาพยนตร์ตวั อย่าง ทงั ภาพยนตร์ใหม่และเก่ามาดูไดจ้ ากเหตุผล
ดงั กลา่ ว พอจะสรุปไดว้ ่าอินเทอร์เน็ตมีความสาํ คญั ในรูปแบบ ดงั นี

3.1 การประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศทีทนั สมยั
3.2 การติดต่อสือสารทีสะดวกและรวดเร็ว
3.3 แหล่งรวบรวมขอ้ มลู แหลง่ ใหญ่ทีสุดของโลก โดยสรุปอนิ เทอร์เน็ตไดน้ าํ มาใชเ้ ครืองมอื
ทีจาํ เป็ นสาํ หรับงานไอที ทาํ ใหเ้ กิดช่องทางในการเขา้ ถึงขอ้ มูลทีรวดเร็ว ช่วยในการตดั สินใจและ
บริหารงาน ทงั ระดบั บุคคลและองคก์ ร (อา้ งองิ จาก http://www.geocities.com/edtecthno251/nuntiya/6thml)
3. ความสําคญั ของแหล่งเรียนรู้ผ่านเครือข่ายอนิ เทอร์เน็ต
ความสาํ คญั ของขอ้ มลู แหล่งเรียนรู้ผา่ นเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เปง็ทีตนระสหิ นกั กนั อยเู่ สมอ
1. การจดั เกบ็ ข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ผ่านเครือข่ายอนิ เทอร์เน็ต ไดง้ ่ายและสือสารไดร้ วดเร็ว การ
จดั เก็บขอ้ มูลจากแหล่งเรียนรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ซึงอย่ใู นรูปแบบของสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์
ผเู้ รียนสามารถจดั เก็บไวใ้ นแผน่ บนั ทึกขอ้ มูล สามารถบนั ทึกไดม้ ากกว่า ลา้ นตวั อกั ษร สาํ หรับการ
สือสารขอ้ มลู จากแหล่งเรียนรู้ผา่ นเครือข่ายอินเทอร์เน็นตนขั อ้ มูลสามารถส่งผา่ นสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์
ไดด้ ว้ ยอตั รา 120 ตวั อกั ษรต่อวินาที และสามารถส่งขอ้ มูล 200 หนา้ ไดใ้ นเวลาเพียง 40 นาที โดยที
ผเู้ รียนไม่ตอ้ งเสียเวลานงั ป้ อนขอ้ มลู เหล่านนั ชา้ ใหมอ่ กี
2. ความถูกต้องของข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยปกติมีการส่งขอ้ มูลดว้ ย
สญั ญาณอเิ ล็กทรอนิกส์จากจุดหนึงไปยงั จุดหนึงดว้ ยระบบดิจิตอล วิธีการรับส่งขอ้ มูลจะมีการตรวจสอบ
สภาพของขอ้ มูล หากขอ้ มลู ผิดพลาดก็มีการรับรู้และพยายามหาวิธีแกไ้ ขใหข้ อ้ มลู ทีไดร้ ับมีความถูกตอ้ ง
โดยอาจใหท้ าํ การส่งใหม่ กรณีทีผิดพลาดไม่มาก ผรู้ ับอาจใชโ้ ปรแกรมของตนแกไ้ ขขอ้ มลู ให้ถูกตอ้ งได้
ดว้ ยตนเอง
3. ความรวดเร็วของการทํางานจากแหล่งเรียนรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยปกติสญั ญาณทาง
ไฟฟ้ าจะเดินทางดว้ ยความเร็วเท่าแสง ทาํ ใหก้ ารส่งผา่ นขอ้ มลู จากแหลง่ เรียนรู้ผา่ นเครือข่ายอนิ เทอร์เน็ตจาก
ซีกโลกหนึงสามารถทาํ ไดร้ วดเร็ว ถงึ แมว้ ่าขอ้ มลู จากฐานขอ้ มูลของแหล่งเรียนนรู้นจัะมีขนาดใหญ่ก็ตาม
ความรวดเร็วของระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตจะทาํ ใหผ้ ูเ้ รียนสะดวกสบายงอย่าเงชย่นิ การทาํ บตั ร

~ 129 ~

ประจาํ ตวั ประชาชน ผรู้ ับบริการสามารถทาํ ทีใดก็ได้ เพราะระบบฐานขอ้ มลู จะเชือมต่อถึงกนั ไดท้ ุกวทีทั
ประเทศ ทาํ ใหเ้ กิดความสะดวกกบั ประชาชนผรู้ ับบริการ

4. แหล่งเรียนรู้ผ่านเครือข่ายอนิ เทอร์เน็ตมตี ้นทุนประหยดั การเชือมต่อคอมพิวเตอร์เขา้ หากนั เป็ น
เครือข่ายเพือรับและส่งหรือสาํ เนาขอ้ มลู จากแหล่งเรียนรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ทาํ ให้ราคาตน้ ทุนของ
การใชข้ อ้ มลู ประหยดั มาก เมือเปรียบเทียบกบั การจดั ส่งแบบอืน ซึงผเู้ รียนสามารถรับและส่งขอ้ มูลจาก
แหลง่ เรียนรู้ใหร้ ะหว่างกนั ผา่ นทางสญั ญาณอิเล็กทรอนิกสไ์ ดส้ ะดวก รวดเร็ว และถกู ตอ้ ง

5. ชือและเลขทอี ย่ไู อพขี องแหล่งเรียนรู้ผ่านเครือข่ายอนิ เทอร์เน็ต
คอมพิวเตอร์ทุกเครืองทีต่ออยบู่ นเครือข่ายอนิ เทอร์เน็ตจะมเี ลขทีอย่ไู อพี (IP address) และแต่ละ

เครืองทวั โลกจะตอ้ งมีเลขทีอยไู่ อพีไม่ซาํ กนั เลขทีอยไู่ อพีนีจะไดร้ ับการกาํ หนดเป็ นกฎเกณฑ์ให้แต่ละ
องคก์ รนาํ ไปปฏบิ ตั ิเพือ ใหร้ ะบบปฏิบตั ิการเรียกชือง่ายและการบริหารจดั การเครือข่ายทาํ ไดด้ ี จึงกาํ หนด
ชือแทนเลขทีอย่ไู อพี เรียกว่า โดเมน โดยจะมีการตงั ชือสาํ หรับเครืองคอมพิวเตอร์แต่ละเครืองทีอย่บู น
เครือข่าย เช่น nfe.go.th ซึงใชแ้ ทนเลขทีอยไู่ อพี 203.172.142.0 การกาํ หนดใหม้ ีการใช้ ระบบชือโดเมนมี
การกาํ หนดรูปแบบเป็นลาํ ดนบั ชคั ือ

http://www.nfe.go.th

~ 130 ~

บริการจากอนิ เทอร์เนต็
1. การสืบคน้ ขอ้ มูลความรู้จากเว็บไซต์ต่าง ๆ เพียงแต่พิมพค์ าํ สาํ คญั จากอเหนาื หรือเรือง ที

ตอ้ งการคน้ ควา้ ก็จะไดช้ ือเว็บไซตจ์ าํ นวนมาก ผเู้ รียนสามารถเลือกหาอ่านไดต้ ามความตอ้ งการ เช่น
กลว้ ยไม้ สัตวส์ งวน ข่าวด่วนวนั นี ราคาทองคาํ อุณหภูมิวนั นี อตั ราแลกเปลียนเงิน ฯลฯ (ผเู้ รียน
สามารถฝึกการใชอ้ ินเทอร์เน็ตจากหอ้ งสมดุ ประชาชน หรือเรียนรู้ดว้ ยตนเองจากหนงั สือ)

2. ไปรษณียอ์ ิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) หรือทีเรียกกนั ว่า อีเมล์ เป็ นการติดต่อสือสารดว้ ย
ตวั หนงั สือแบบใหม่ แทนจดหมายบนกระดาษ สามารถรับส่งขอ้ มลู ระหวา่ งกนั ไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว เป็นทีนิยม
ในปัจจุบนั

3. การสนทนาหรือหอ้ งสนทนา (Chat room) เป็ นการสนทนาผ่านอินเทอร์เน็ต สามารถ
โตต้ อบกนั ไดท้ นั ที แลกเปลยี นเรียนรู้ ถามตอบปัญหาไดห้ ลาย ๆ คนในเวลาเดียวกนั

4. กระดานข่าว (Web Board) ผใู้ ชส้ ามารถแลกเปลยี นขอ้ มลู ข่าวสารต่าง ๆ การใหข้ อ้ เสนอ
ขอ้ คิดเห็น อภิปรายโตต้ อบ ทุกคนสามารถเขา้ ไปใหข้ อ้ คิดเห็นไดโ้ ดยมผี ใู้ หบ้ ริการเป็นผตู้ อรหวจาสอบเนื
และสามารถลบออกจากขอ้ มลู ได้

5. การโฆษณาประชาสัมพันธ์หน่ วยงานต่าง ๆจะมีเว็บไซต์ให้บริ การข้อมูลและ
ประชาสมั พนั ธอ์ งคก์ รหรือหน่วยงาน เราสามารถเขา้ ไปใชบ้ ริการ เช่น สถานทีตงั ของห้องสมุด บทบาท
ภารกิจของพิพธิ ภณั ฑ์ สวนสตั วอ์ ยทู่ ีใดบา้ ง แหลง่ เรียนรู้มที ีใดบา้ ง ตารางสอบของนกั ศกึ ษา กศน. เป็นตน้

6. การอ่านข่าว มีเว็บไซต์บริการข่าว เช่น CNN New York Time ตลอดจนข่าวจาก
หนงั สือพิมพต์ ่าง ๆ ในประเทศไทย

7. การอ่านหนังสือ วารสาร และนิตยสาร มีบริษทั ทีผลิตสือสิงพิมพจ์ าํ นวนมากจดั ทาํ เป็ น
นิตยสารออนไลน์ เช่น นิตยสาร MaxPC นิตยสาร Interment ToDay นิตยสารดิฉนั เป็นตน้

8. การส่งการ์ดอวยพร สามารถส่งการ์ดอวยพรอิเล็กทรอนิกส์ หรือ E-Card ผา่ น อินเทอร์เน็ต
โดยไมเ่ สียค่าใชจ้ ่าย สะดวก รวดเร็ว

9. การซือสินค้าและบริการเป็ นกาอรสซินื คา้ ออนไลน์ โดยสามารถเลือกดูสินคา้ พร้อมทัง
คุณสมบตั ิของสินคา้ และสงั ซือสินคา้ พร้อมชาํ ระเงินดว้ ยบตั รเครดิตในทนั ที บริษทั ต่าง ๆ จึงมีการ
โฆษณาขายสินคา้ ผา่ นอนิ เทอร์เน็ต เป็นการใชอ้ นิ เทอร์เน็ตเชิงพาณิชย์ ซึงไดร้ ับความนิยมในต่างประเทศ
มาก

10. สถานีวิทยแุ ละโทรทศั น์บนเครือข่าย ปัจจุบนั สถานีวิทยบุ นเครือข่ายอนิ เทอร์เน็ต มหี ลายร้อย
สถานี ผใู้ ชส้ ามารถเลอื กสถานีและไดย้ นิ เสียงเหมือนการเปิ ดฟังวทิ ยุ ขณะเดียวกนั ก็มกี ารส่งกระจายภาพ
วดิ ีโอบนเครือข่ายดว้ ย แต่ยงั มีปัญหาตรงทีความเร็วของเครือข่ายทียงั ไมส่ ามารถรองรับการส่งขอ้ มลู จาํ นวน
มาก ทาํ ใหค้ ุณภาพของภาพไมต่ ่อเนือง

~ 131 ~

กจิ กรรมที
ใหผ้ เู้ รียนสืบคน้ ขอ้ มลู จากอนิ เทอร์เน็ตในเรืองทีผเู้ รียนสนใจ 1 เรือง และบนั ทึกผลการ ปฏบิ ตั ิ

ชือเว็บไซต์ http://www.nfe.go.th
สรุปเนือหาทีได้
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................

ใหผ้ เู้ รียนศกึ ษาสือในรูปเว็บเพจเรืองไปรษณียอ์ เิ ล็กทรอนิกส์แลว้ ช่วยกนั ตอบคาํ ถามต่อไปนี
1. E-mail คืออะไรมปี ระโยชนอ์ ยา่ งไร...........................................................................
……………………………………………………………………………………………….……
2. ในการส่ง E-mail มีส่วนกรอกขอ้ มลู ต่อไปนี
ช่อง To มไี วส้ าํ หรับ ................................................................................................................
ช่อง Subject มีไวส้ าํ หรับ................................................................................................................
ช่อง CC และช่อง BCC มีขอ้ แตกต่างในการใชง้ านอยา่ งไร.............................................................
. ถา้ ตอ้ งการส่งแฟ้ มขอ้ มลู ไปพร้อมกบั E-mail จะตอ้ งทาํ อยา่ งไร
......................................................................................................................................................................
4. เมือเราไดร้ ับไปรษณียอ์ เิ ล็กทรอนิกสแ์ ละตอ้ งการทาํ สาํ เนาส่งต่อ ทาํ อยา่ งไร
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
5. ใหผ้ เู้ รียนสมคั รเป็นสมาชิก เพอื ขอ E-mail Address จากเว็บไซต์ E-mail ใดก็ได้ เช่น
http:www.hotmail.com, yahoo.com thaimail.com gmail.com แลว้ เขียนชือ E-mail ของตน
……………………………………………………………………………………………………………….

~ 132 ~

ประโยชน์ โทษ และมารยาทในการใช้อนิ เทอร์เนต็ เป็ นแหล่งเรียนรู้
1. ประโยชน์ของแหล่งเรียนรู้ผ่านเครือข่ายอนิ เทอร์เนต็

อินเทอร์เน็ตเปรียบเสมือนชุมชนเมืองแห่งใหม่ของโลก เป็ นชุมชนขอวงมคุมนโทลกั จึงมี
บริการต่าง ๆ เกิดขึนใหม่ตลอดเวลา ในทีนีจะกล่าวถึงประโยชนข์ องอินเทอร์เน็ตหลกั ๆ ดงั นี

1.1 ไปรษณียอ์ ิเล็กทรอนิกส์ (Electronic mail) หรือ E-mail เป็นการส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์
ผา่ นเครือข่ายอนิ เทอร์เน็ต โดยผสู้ ่งจะตอ้ งส่งขอ้ ความไปยงั ทีอยขู่ องผรู้ ับ ซึงเป็ นทีอย่ใู นรูปแบบของอีเมล์
เมอื ผสู้ ่งเขียนจดหมาย 1 ฉบบั แลว้ ส่งไปยงั ทีอยนู่ นั ผรู้ ับจะไดร้ ับจดหมายภายในเวลาไมก่ ีวินาที แมจ้ ะอยู่
ห่างกนั คนละซีกโลกก็ตาม นอกจายกงั นสี ามารถส่งแฟ้ มขอ้ มลู หรือไฟลแ์ นบไปกบั อีเมลไ์ ดด้ ว้ ย

1.2 การขอเขา้ ระบบจากระยะไกลหรือเทลเน็ต (Telnet) เป็ นการบริการอินเทอร์เน็ตรูปแบบ
หนึงโดยทีเราสามารถเขา้ ไปใชง้ านคอมพิวเตอร์อีกเครืองหนึงทีอย่ไู กล ๆ ไดด้ ว้ ยตนเอง เช่น ถา้ เราอยทู่ ี
โรงเรียนทาํ งานโดยใชอ้ ินเทอร์เน็ตของโรงเรียนแลว้ กลบั ไปทีบา้ น เรามีคอมพิวเตอร์ทีบา้ นและต่อ
อนิ เทอร์เน็ตไวเ้ ราสามารถเรียกขอ้ มลู จากทีโรงเรียนมาทาํ ทีบา้ นได้ เสมอื นกบั เราทาํ งานทีโรงเรียนเนอัง

1.3 การโอนถ่ายขอ้ มูล (File Transfer Protocol หรือ FTP) เป็ นการบริการอีกรูปแบบหนึง
ของระบบอินเทอร์เน็ต เราสามารถคน้ หาและเรียกขอ้ มูลจากแหล่งต่างๆ มาเก็บไวใ้ นเครืองของเราได้
ทงั ขอ้ มลู ประเภทตวั หนงั สือ รูปภาพ และเสียง

1.4 การสืบคน้ ขอ้ มลู (Gopher, Archie, World wide Web) หมายถึง การใชเ้ ครือข่าย
อินเทอร์เน็ต ในการคน้ หาข่าวสารทีมีอยมู่ ากมายแลว้ ช่วยจดั เรียงขอ้ มลู ข่าวสารหวั ขอ้ อยา่ งมีระบบ เป็ นเมนู
ทาํ ใหเ้ ราหาขอ้ มลู ไดง้ ่ายหรือสะดวกมากขึน

1.5 การแลกเปลียนข่าวสารและความคิดเห็น (Usenet) เป็ นการให้บริการแลกเปลียนข่าวสาร
และแสดงความคิดเห็นทีผใู้ ชบ้ ริการอนิ เทอร์เนว็โลกตสทาั มารถพบปะกนั แสดงความคิดเห็นของตน โดย
มีการจดั การผใู้ ชเ้ ป็ นกลุ่มหรือนิวกรุ๊ป (New Group) แลกเปลียนความคิดเห็นกนั เป็ นหวั ขอ้ ต่าง ๆ เช่น
เรืองหนงั สือ เรืองการเลียงสตั ว์ ตน้ ไม้ คอมพิวเตอร์ และการเมือง เป็ นตน้ ปัจจุบนั มี Usenet มากกว่า
15,000 กลุ่ม นบั เป็นเวทีขนาดใหญ่ใหท้ ุกคนจาวกมทมุ ั โลกแสดงความคิดเห็นอยา่ งกวา้ งขวาง

1.6 การสือสารดว้ ยขอ้ ความ (Chat, IRC-Internet Relay Chat) เป็นการพดู คุยระหวา่ งผใู้ ช้
อินเทอร์เน็ตโดยพิมพข์ อ้ ความตอบกนั ซึงเป็นวิธีการสือสารทีไดร้ ับความนิยมมากอกี วธิ ีหนึง การสนทนา
กนั ผา่ นอนิ เทอร์เน็ตเปรียบเสมอื นเรงาอนยัใู่ นหอ้ งสนทนาเดียวกนั แต่ละคนก็พิมพข์ อ้ ความโตต้ อบกนั ไป
มาไดใ้ นเวลาเดียวกนั แมจ้ ะอยคู่ นละประเทศหรือคนละซีกโลกก็ตาม
(อา้ งอิงจากhttp://www.geocities.com/useng_9/33.htm 9 มีนาคม 2522)

1.7 การซือขายสินคา้ และบริการ (E-Commerce = Electronic Commerce) เป็ นการจบั จ่าอยซื
สินคา้ และบริการ เช่น ขายหนงั สือ คอมพิวเตอร์ การท่องเทียว เป็ นตน้ ปัจจุบนั มีบริษทั อใชิน้เทอร์เน็ต
ในการทาํ ธุรกิจและใหบ้ ริการลกู คา้ ตลอด 24 ชวั โมง ในปี พ.ศ. 2540 การคา้ ขายบนอนิ เทอร์เน็ตมีมลู ค่าสงู

~ 133 ~

ถงึ 1 แสนลา้ นบาท และจะเพิมเป็ น 1 ลา้ นลา้ นบาท ในอีก 5 ปี ขา้ งหนา้ ซึงเป็ นโอกาสธุรกิจแบบใหม่
ทีน่าสนใจและเปิ ดทางใหท้ ุกคนเขา้ มาทาํ ธุรกรรมไม่มากนกั

1.8 การใหค้ วามบนั เทิง (Entertain) ในอนิ เทอร์เน็ตมบี ริการดา้ นความบนั เทิงในทุกรูปแบบต่าง ๆ
เช่น เกม เพลง รายการโทรทศั น์ รายการวิทยุ เป็ นตน้ เราสามารถเลือกใช้ บริการเพือความบนั เทิง
ไดต้ ลอด 24 ชวั โมง และจากแหล่งต่าง ๆ ทวั ทุกมุมโลก ทงั ประเทศไทย อเมริกา ยโุ รป และ
ออสเตรเลยี เป็นตน้

2. โทษของแหล่งเรียนรู้ผ่านเครือข่ายอนิ เทอร์เน็ต
ทุกสรรพสิงในโลกยอ่ มมีทงั ดา้ นทีเป็ นคุณประโยชน์และดา้ นทีเป็ นโทษ เปรียบเสมือน เหรียญ

ทีมี 2 ดา้ นเสมอ ขึนอยกู่ บั วา่ เราจะเลอื กใชอ้ ยา่ งไรใหเ้ กิดผลดีต่อเรา ขอยกตวั อยา่ งโทษทีอาจจะเกิดขึนได้
จากการใชง้ านอินเทอร์เน็ต ดงั นี

2.1 โรคติดอนิ เทอร์เน็ต (Webaholic) ถา้ จะถามว่าอินเทอร์เน็ตงกเ็สพเตปิด็หรืนอสกิ ็คงไม่ใช่
แต่ถา้ เปรียบเทียบกนั แลว้ ก็คงไม่แตกต่าง หากการเล่นอินเทอร์เน็ตทาํ ให้คุณเสียงานหรือแมแ้ ต่ทาํ ลาย
สุขภาพ

(อา้ งองิ จาก www.kbyala.ca.th/web-subject/web-tec/pen/my%20web/mywebit7/pan8/word/tot.doc
10 มีนาคม 2552)

2.2 อินเทอร์เน็ตทาํ ใหร้ ู้สึกหมกมุ่น มีความตอ้ งการใชอ้ ินเทอร์เน็ตเป็ นนเวลไมาน่สานมขารึ ถ
ควบคุมการใชอ้ ินเทอร์เน็ตได้ รู้สึกหงุดหงิดเมือตอ้ งใชอ้ นิ เทอร์เน็ตนอ้ ยลงหรือหยดุ ใช้ อนิ เทอร์เน็ตเป็ นวิธี
ในการหลีกเลียงปัญหาหรือคิดว่าการใชอ้ ินเทอร์เน็ตทาํ ใหต้ นเองรู้สึกนดีขึ หลอกคนในครอบครัวหรือ
เพอื นเรืองการใชอ้ นิ เทอร์เน็ตของตวั เอง การใชอ้ นิ เทอร์เน็ตทาํ ใหเ้ กิดการเสียงต่อการสูญเสียงาน การเรียน
และความสัมพนั ธ์ ยงั ใชอ้ ินเทอร์เน็ตถึงแมว้ ่าตอ้ งเสียค่าใชจ้ ่ายมาก มีอาการผดิ ปกติ อย่างเช่น หดหู่
กระวนกระวายเมอื เลิกใชอ้ นิ เทอร์เน็ต ใชเ้ วลาในการใชอ้ นิ เทอร์เน็ต นานกวา่ ทีตวั เงอใงจไไดวต้ ั

~ 134 ~

2.3 เรืองอนาจารผดิ ศีลธรรม เรืองของขอ้ มลู ต่าง ๆ ทีมีเนือหาไปในทางขดั ต่อศีลธรรม ลามก
อนาจาร หรือรวมถงึ ภาพโป๊ เปลือยต่าง ๆนเนป็ั นเรืองทีมีมานานพอสมควรแลว้ บนโลกอนิ เทอร์เน็ต แต่ไม่
โจ่งแจง้ เนืองจากสมยั ก่อนเป็ นยุคที www ยงั ไม่พฒั นามากนกั ทาํ ให้ไม่มีภาพออกมา แต่ในปัจจุบนั
ภาพเหลา่ นีเป็นทีโจ่งแจง้ บนอนิ เทอร์เน็ตงเแหลละ่าสนิีสามารถเขา้ สู่เด็กและเยาวชนไดง้ ่าย โดยผปู้ กครอง
ไม่สามารถทีจะใหค้ วามดูแลไดเ้ ต็มที เพราะวา่ อนิ เทอร์เนน็เป็ตนั นโลกทีไร้พรมแดน และเปิ ดกวา้ งทาํ ให้
สือเหลา่ นีสามารถเผยแพร่ไปไดร้ วดเร็ว จนเราไมส่ ามารถจบั กุมหรือเอาผดิ ผทู้ ีทงาเํ หสลิ ่านีขึนมาได้

2.4 ไวรัส มา้ โทรจนั หนอนอินเทอร์เน็ต และระเบิดเวลา ทาํ ใหข้ อ้ มลู ทีเก็บไวถ้ กู ทาํ ลายหมด
ไวรัส เป็ นโปรแกรมอิสระซึงจะสืบพนั ธุ์โดยการจาํ ลองตวั เองใหม้ านกเขรืึอย ๆ เพือทีจะทาํ ลายขอ้ มลู
หรืออาจทาํ ให้เครืองคอมพิวเตอร์ทาํ งานชา้ ลง โดยการแอบใชส้ อยหน่วยความจาํ หรือพืนทีว่างบนดิสก์
โดยพลการ

หนอนอินเทอร์เน็ต ถูกสร้านงโขดึ ย Robert Morris, Jr. จนดงั กระฉ่อนไปทวั โลก มนั คือ
โปรแกรมทีจะสืบพนั ธุ์โดยการจาํ ลองตวั เองมากขึนเรือย ๆ จากระบบหนึง ครอบครองทรัพยากร และ
ทาํ ใหร้ ะบบชา้ ลง

ระเบิดเวลา คือ รหสั ซึงจะทาํ หนา้ ทีเป็ นตวั กระตุน้ รูปแบบเฉพาะของการโจมนตีนๆั ทาํ งาน
เมอื สภาพการโจมตีนนั ๆ มาถึง เช่น ระเบิดเวลาจะทาํ ลายไฟลท์ งั หมดในวนั ที 31 กรกฎาคม 2542
ส่วนโทษเฉพาะทเี ป็ นภยั ต่อเด็กมอี ยู่ 7 ประการ บนอนิ เทอร์เน็ตสามารถจาํ แนกออกได้ ดงั นี

1. การแพร่สือลามก มีทงั ทีเผยแพร่ภาพลามกอนาจาร ภาพการสมสู่ ภาพตดั ต่อลามก
2. การล่อล่วง โดยปล่อยให้เด็กและเยาวชนเข้าไปพูดคุยกนั ใน Chat จนเกิดการล่อลวง
นดั หมายไปข่มขืนหรือทาํ ในสิงทีเลวร้าย
3. การคา้ ประเวณี มีการโฆษณาเพอื ขายบริการ รวมทงั ชกั ชวนใหเ้ ขา้ มาสมคั รขายบริการ
4. การขายสินคา้ อนั ตราย มตี งั แต่ยาสลบ ยาปลกุ เซ็กซ์ ปื น เครืองช็อตไฟฟ้ า
5. การเผยแพร่การทาํ ระเบิด โดยอธิบายขนั ตอนการทาํ งานอยา่ งละเอยี ด
6. การพนนั มใี หเ้ ขา้ ไปเล่นไดใ้ นหลายรูปแบบ
7. การเล่มเกม มที งั เกมทีรุนแรงไล่ฆ่าฟัน และเกมละเมดิ ทางเพศ

~ 135 ~

3. มารยาทในการใช้อนิ เทอร์เน็ตเป็ นแหล่งเรียนรู้
ทุกวันนีอินเทอร์เน็ตได้เข้ามามีบทบาทและส่งผลกระทบต่อชีวิตความเป็ นอยู่ของมนุษย์

ในแทบทุกดา้ น รวมทังได้ก่อให้เกิดประเด็นปัญหนาใขนึ สังคม ไม่ว่าในเรืองความเป็ นส่วนตัว
ความ ปลอดภยั เสรีภาพของการพดู อ่านเขียน ความซือสตั ย์ รวมถงึ ความตระหนักในเรืองพฤติกรรมทีเรา
ปฏิบตั ิต่อกนั และกนั ในสังคมอินเทอร์เน็ต ในเรืองมารยาท หรือจรรยามารยาทบนอินเตอร์เน็ต ซึงเป็ น
พนื ทีทีเปิ ดโอกาสใหผ้ คู้ นเขา้ มาแลกเปลียน สือสาร และทาํ กิจกรรมร่วมกนั ชุมชนใหญ่บา้ งเล็กบา้ งบน
อินเทอร์เน็นตกน็ั ไม่ต่างจากสังคมบนโลกแห่งความเป็ นจริงทีจาํ เป็ นตอ้ งมีกฎกติกา (Codes of Conducr)
เพือใชเ้ ป็นกลไกสาํ หรับการกาํ กบั ดูแลพฤติกรรมและการปฏิสมั พนั ธข์ องสมาชิก

 กจิ กรรม
ในความคิดเห็นของผเู้ รียนคิดวา่ จะมวี ิธีการจดั การอย่างไรทีจะรู้ เท่าทนั ถึงโทษของแหล่งเรียนรู้

ผา่ นเครือข่ายอนิ เทอร์เน็ต

(อา้ งองิ จาก http://th.answers.yahoo.com/question/indexMqid=20071130091130A4hQlq 10 มีนาคม 2552
ขนิษฐา รุจิโรจน์ อา้ งถึงใน http://cc.swu.ac.th/ccnews/content/e1624/e1950/e3918/e3949/indez-th.html
มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ 9 มนี าคม 2552)

~ 136 ~

แบบทดสอบ เรือง การใช้แหล่งเรียนรู้
ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย

1. ขอ้ ใดเป็นแหลง่ รวบรวมขอ้ มลู สารสนเทศ มากทีสุด
ก. หอ้ งสมุด
ข. สวนสาธารณะ
ค. อินเทอร์เน็ต
ง. อทุ ยานแห่งชาติ

2. หอ้ งสมุดประเภทใดทีเก็บรวบรวมทรัพยากรสารสนเทศทมีอเีหนาื เฉพาะวชิ า
ก. หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ ารี”
ข. หอ้ งสมดุ โรงเรียนสวนกุหลาบ
ค. หอ้ งสมดุ มารวย
ง. หอ้ งสมดุ อาํ เภอ

3. แหลง่ เรียนรู้ หมายถงึ ขอ้ ใด
ก. สถานทีใหค้ วามรู้ตามอธั ยาศยั
ข. แหล่งคน้ ควา้ เพอื ประโยชนใ์ นการพฒั นาตนเอง
ค. แหล่งรวบรวมความรู้และขอ้ มลู เฉพาะสาขาวชิ าใดวิชาหนึง
ง. แหลง่ ขอ้ มลู และประสบการณ์ทีส่งเสริมใหผ้ เู้ รียนแสวงหาความรู้และเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง

4. ถา้ นกั ศกึ ษาตอ้ งการรู้เกียวกบั โลกและดวงดาว ควรไปใชบ้ ริการแหล่งเรียนรู้ใด
ก. ทอ้ งฟ้ าจาํ ลอง
ข. เมืองโบราณ
ค. พิพธิ ภณั ฑ์
ง. หอ้ งสมุด

~ 137 ~

5. หนงั สือประเภทใดทีหา้ มยมื ออกนอกหอ้ งสมดุ
ก. เรืองแปล
ข. หนงั สืออา้ งองิ
ค. นวนิยาย เรืองสนั
ง. วรรณกรรมสาํ หรับเด็ก

6. เหตุใดหอ้ งสมุดจึงตอ้ งกาํ หนดระเบียบและขอ้ ปฏิบตั ิในการเขา้ ใชบ้ ริการ
ก. เพอื อาํ นวยความสะดวกต่อผใู้ ชบ้ ริการ
ข. เพือสนองความตอ้ งการแก่ผใู้ ชบ้ ริการ
ค. เพือใหก้ ารบริหารงานหอ้ งสมุดเป็นไปอยา่ งเรียบร้อย
ง. เพือใหเ้ กิดความเป็นธรรมและความเสมอภาคแก่ผใู้ ชบ้ ริการ

7. การจดั ทาํ คู่มอื การใชห้ อ้ งสมุดเพอื ใหข้ อ้ มลู เกียวกบั หอ้ งสมุด เป็นบริการประเภทใด
ก. บริการขา่ วสารขอ้ มลู
ข. บริการสอนการใชห้ อ้ งสมุด
ค. บริการแนะนาํ การใชห้ อ้ งสมุด
ง. บริการตอบคาํ ถามและช่วยการคน้ ควา้

8. ความสาํ คญั ของหอ้ งสมุดขอ้ ใดทีช่วยใหผ้ ใู้ ชบ้ ริการมีจิตสาํ นึกทีดีต่อส่วนรวม
ก. ช่วยใหร้ ู้จกั แบ่งเวลาในการศึกษาหาความรู้
ข. ช่วยใหม้ ีความรู้เท่าทนั โลกยคุ ใหม่ตลอดเวลา
ค. ช่วยใหม้ ีนิสยั รักการคน้ ควา้ หาความรูด้ ว้ ยตนเอง
ง. ช่วยใหร้ ะวงั รกั ษาทรัพยส์ ิน สิงของของหอ้ งสมุด

9. หอ้ งสมุดประเภทใดใหบ้ ริการทุกเพศ วยั และความรู้
ก. หอ้ งสมดุ เฉพาะ
ข. หอ้ งสมุดโรงเรียน
ค. หอ้ งสมุดประชาชน
ง. หอ้ งสมดุ มหาวิทยาลยั

~ 138 ~

10. หอ้ งสมุดมารวยเป็นหอ้ งสมดุ ประเภทใด
ก. หอ้ งสมดุ เฉพาะ
ข. หอ้ งสมุดโรงเรียน
ค. หอ้ งสมดุ ประชาชน
ง. หอ้ งสมุดมหาวิทยาลยั

11. ขอ้ ใดเป็นแหล่งเรียนรู้ทีสาํ คญั ในการทาํ กิจกรรมทางศาสนาและสอนคนใหเ้ ป็นคนดี
ก. วดั
ข. มสั ยดิ
ค. โบสถ์
ง. ถกู ทุกขอ้

12. ขอ้ ใดต่อไปนีคือประโยชน์ทีไดร้ ับจากอนิ เทอร์เน็ต
ก. ส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์
ข. ใชค้ น้ หาขอ้ มลู ทาํ รายงาน
ค. ดาวนโ์ หลดโปรแกรม
ง. ถกู ทุกขอ้

13. เว็บไซตค์ ืออะไร
ก. แหล่งรวบเว็บเพจ
ข. แหลง่ ทีเก็บรวบรวมขอ้ มลู
ค. ส่วนทีช่วยคน้ หาเว็บเพจ
ง. คอมพวิ เตอร์เก็บเว็บเพจ

14. เว็บเพจเปรียบเทียบกงบั ใสดิ
ก. ลนิ ชกั
ข. แฟ้ มเอกสาร
ค. หนงั สือ
ง. หนา้ หนงั สือ

~ 139 ~

15. ถา้ หากหนา้ เว็บเพจโหลดไมส่ มบูรณ์ ตอ้ งแกไ้ ขอยา่ งไร
ก. กดป่ ุมกากบาท
ข. กดป่ ุม Refresh
ค. คลิกเมา้ สท์ ีป่ ุม
ง. กดป่ ุม Refresh และคลกิ เมา้ สท์ ีป่ ุม

16. E-mail ใดต่อไปนีไดม้ าฟรี ไมเ่ สียค่าใชจ้ ่าย
ก. [email protected]
ข. [email protected]
ค. [email protected]
ง. เสียค่าใชจ้ ่ายทงั หมด

17. จดหมายฉบบั ใดต่อไปนีจะถกู นาํ ไปเก็บไวใ้ นโฟลเดอร์ Junk mail
ก. จดหมายทีมีการแนบไฟลภ์ าพ และไฟลเ์ อกสารมาพร้อมกบั จดหมาย
ข. จดหมายทีผรู้ ับไดเ้ ปิ ดอ่านเรียบร้อยแลว้ และทาํ การลบทิงไปแลว้
ค. จดหมายทีมขี อ้ ความอวยพรจากบุคคลทีเราไม่รูจ้ กั
ง. จดหมายโฆษณายาลดนาํ หนกั จากบริษทั หรือร้านขายยา

18. ในการใชง้ าน Hotmail เมือเราลืมรหสั ผา่ น เราสามารถเรียกคน้ รหสั ผา่ นของเราไดโ้ ดยอะไร
ก. Sign-out Name
ข. Sign-in Name
ค. Secret Question
ง. ถกู ทุกขอ้

แนวคาํ ตอบ
1.ค 2.ค 3.ง 4.ก 5.ข 6.ง 7.ค 8.ง 9.ค
10.ก 11.ง 12.ง 13.ข 14.ง 15.ข 16.ข 17.ง 18.ค

~ 140 ~

บทที 3
การจดั การความรู้

 สาระสําคญั

การจดั การความรู้เป็นเครืองมอื ของการพฒั นาคุณภาพของงาน หรือสร้างนวตั กรรมในการทาํ งาน
การจดั การความรู้จึงเป็นการจดั การกบั ความรู้และประสบการณ์ทีมีอย่ใู นตวั คน และความรู้เด่นชดั นาํ มา
แบ่งปันให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและองค์กร ดว้ ยการผสมผสานความสามารถของคนเขา้ ด้วยกนั
อยา่ งเหมาะสม มเี ป้ าหมายเพือการพฒั นางาน พฒั นาคน และพฒั นาองคก์ รใหเ้ ป็นองคก์ รแห่งการเรียนรู้

 ผลการเรียนรู้ทีคาดหวงั

1. ออกแบบผลิตภณั ฑ์ สร้างสูตร สรุปองคค์ วามรู้ใหมข่ องขอบเขตความรู้
2. ประพฤติตนเป็นบคุ คลแห่งการเรียนรู้
3. สร้างสรรคส์ งั คมอดุ มปัญญา

ขอบข่ายเนอื หา

เรืองที 1 ความหมาย ความสาํ คญั หลกั การ
เรืองที 2 กระบวนการจดั การความรู้ การรวมกลุม่ เพือต่อยอดความรู้
และการจดั ทาํ สารสนเทศเผยแพร่ความรู้
เรืองที 3 ทกั ษะกระบวนการจดั การความรู้

~ 141 ~

แบบทดสอบก่อนเรียน
แบบทดสอบเรืองการจดั การความรู้

คาํ ชีแจง จงกากบาท X เลือกขอ้ ทีท่านคิดว่าถกู ตอ้ งทีสุด

1. การจดั การความรู้เรียกสนั ๆ ว่าอะไร
ก. MK
ข. KM
ค. LO
ง. QA

2. เป้ าหมายของการจดั การความรูค้ ืออะไร
ก. พฒั นาคน
ข. พฒั นางาน
ค. พฒั นาองคก์ ร
ง. ถกู ทุกขอ้

3. ขอ้ ใดถกู ตอ้ งมากทีสุด
ก. การจดั การความรู้หากไม่ทาํ จะไม่รู้
ข. การจดั การความรู้ คือการจดั การความรู้ของผเู้ ชียวชาญ
ค. การจดั การความรู้ ถอื เป็นเป้ าหมายของการทาํ งาน
ง. การจดั การความรู้ คือการจดั การความรู้ทีมใี นเอกสาร ตาํ รา มาจดั ใหเ้ ป็นระบบ

4. ขนั สูงสุดของการเรียนรูค้ ืออะไร
ก. ปัญญา
ข. สารสนเทศ
ค. ขอ้ มลู
ง. ความรู้

~ 142 ~

5. ชุมชนนกั ปฏบิ ตั ิ (CoP) คืออะไร
ก. การจดั การความรู้
ข. เป้ าหมายของการจดั การความรู้
ค. วิธีการหนึงของการจดั การความรู้
ง. แนวปฏบิ ตั ิของการจดั การความรู้

6. รูปแบบของการจดั การความรู้ตามโมเดลปลาทู ส่วน “ทอ้ งปลา” หมายถงึ อะไร
ก. การกาํ หนดเป้ าหมาย
ข. การแลกเปลยี นเรียนรู้
ค. การจดั เก็บเป็นคลงั ความรู้
ง. ความรู้ทีชดั แจง้

7. ผทู้ ีทาํ หนา้ ทีกระตุน้ ใหเ้ กิดการแลกเปลียนเรียนรู้คือใคร
ก. คุณเออื
ข. คุณอาํ นวย
ค. คุณกิจ
ง. คุณลขิ ิต

8. สารสนเทศเพือเผยแพร่ความรู้ในปัจจุบนั มอี ะไรบา้ ง
ก. เอกสาร
ข. วซี ีดี
ค. เว็บไซต์
ง. ถกู ทุกขอ้

9. การจดั การความรูด้ ว้ ยตนเองกบั ชุมชนแห่งการเรียนรู้มคี วามเกียวขอ้ งกนั หรือไม่ อยา่ งไร
ก. เกียวขอ้ งกนั เพราะการจดั การความรู้ในบุคคลหลาย ๆ คน รวมกนั เป็นชุมชน
เรี ยกว่าเป็ นชุมชนแห่งการเรี ยนรู้
ข. เกียวขอ้ งกนั เพราะการจดั การความรู้ใหก้ บั ตนเองก็เหมือนกบั จดั การความรู้
ใหช้ ุมชนดว้ ย
ค. ไมเ่ กียวขอ้ งกนั เพราะจดั การความรู้ดว้ ยตนเองเป็นปัจเจกบุคคล ส่วนชุมชน
แห่งการเรี ยนรู้เป็ นเรื องของชุมชน
ง. ไม่เกียวขอ้ งกนั เพราะชุมชนแห่งการเรียนรู้เป็นการเรียนรู้เฉพาะกลุ่ม

เฉลย : 1) ข 2) ง 3) ก 4) ก 5) ค 6) ข 7) ข 8) ง 9) ก

~ 143 ~

เรืองที 1 : แนวคดิ เกยี วกบั การจดั การความรู้
ความหมายของการจดั การความรู้

การจดั การ (Management) หมายถึง กระบวนการในการเขา้ ถึงความรู้ และการถ่ายทอด ความรู้
ทีต้องดาํ เนินการร่วมกันกับผูป้ ฏิบัติงาน ซึงอาจเริ มตน้ จากการบ่งชีความรู้ทีต้องการใช้การสร้าง
และแสวงหาความรู้ การประมวลเพือกลนั กรองความรู้ การจดั การความรู้ใหเ้ ป็ นระบบ การสร้างช่องทาง
เพือการสือสารกับผูเ้ กียวข้อง การแลกเปลียนความรู้ การจดั การสมยั ใหม่กระบวนการทางปัญญา
เป็งนสสาํ ิคญั ในการคิด ตดั สินใจ และส่งผลใหเ้ กิดการกระทาํ การจดั การจึงเนน้ ไปทีการปฏบิ ตั ิ

ความรู้ (Knowledge) หมายถึง ความรู้ทีควบคู่กบั การปฏิบตั ิ ซึงในการปฏิบตั ิจาํ เป็ น ตอ้ งใช้
ความรู้ทีหลากหลายสาขาวิชามาเชือมโยงบูรณาการเพือการคิดและตดั สินใจ และลงมือปฏิบตั ิ จุดกาํ เนิด
ของความรู้คือสมองของคน เป็นความรู้ทีฝังลึกอย่ใู นสมองแจชงี ออกมาเป็ นถอ้ ยคาํ หรือ ตวั อกั ษรไดย้ าก
ความรู้นนั เมอื นาํ ไปใชจ้ ะไมห่ มดไป แต่จะยงิ เกิดความรู้เพมิ พนู มากขึนอยใู่ นสมองของผปู้ ฏบิ ตั ิ

ในยคุ แรก ๆ มองวา่ ความรู้ หรือทุนทางปัญญา มาจากการจดั กระบวนการตีความ สารสนเทศ
ซึงสารสนเทศก็มาจากการประมวลขอ้ มลู นขขอั งการเรียนรู้ เปรียบดงั ปิ รามิดตามรูป แบบนี

ความรู้แบ่งได้เป็ น 2 ประเภท คือ
1. ความรู้เด่นชัด (Explicit Knowledge) เป็ นความรู้ทีเป็ นเอกสาร ตาํ รา คู่มือปฏิบตั ิงาน

สือต่าง ๆ กฎเกณฑ์ กติกา ขอ้ ตกลง ตารางการทาํ งาน บนั ทึกจากการทาํ งาน ความรู้เด่นชดั จึงมี ชือเรียก
อีกอยา่ งหนึงว่า “ความรู้ในกระดาษ”

~ 144 ~

2. ความรู้ซ่อนเร้น / ความรู้ฝังลึก (Tacit Knowledge) เป็ นความรู้ทีแฝงอย่ใู นตวั คน พฒั นา
เป็นภูมิปัญญา ฝังอยใู่ นความคิด ความเชือ ค่านิยม ทีคนไดม้ าจากประสบการงณส์สมั มานาน หรือเป็ น
พรสวรรคอ์ นั เป็นความสามารถพเิ ศษเฉพาะตวั ทีมีมาแต่กาํ เนิด หรือเรียกอีกอยา่ งหนึงว่า “ความรู้ในคน”
แลกเปลียนความรู้กนั ไดย้ าก ไม่สามารถแลกเปลียนมาเป็ นความรู้ทีเปิ ดเผยไงดหท้ มั ด ตอ้ งเกิดจากการ
เรียนรู้ร่วมกนั ผา่ นการเป็ นชุมชน เช่นการสงั เกต การแลกเปลียนเรียนรู้ ระหว่างการทาํ งาน หากเปรียบ
ความรู้เหมอื นภเู ขานาํ แข็ง จะมลี กั ษณะดงั นี

ส่วนของนาํ แข็งทีลอยพาน้ นเปํ รียบเหมือนความรู้ทีเด่นชดั คือความรู้ทีอย่ใู นเอกสาร ตาํ รา ซีดี วีดีโอ
หรือสืออืน ๆ ทีจบั ตอ้ งได้ ความรู้นีมีเพยี ง 20 เปอร์เซ็นต์

ส่วนของนาํ แข็งทีจมอยใู่ านนเปํ รียบเหมือนความรู้ทียงั ฝังลึกอยใู่ นสมองคน มีความรู้จาก สิงที
ตนเองไดป้ ฏบิ ตั ิ ไมส่ ามารถถ่ายทอดออกมาเป็นตวั หนงั สือใหค้ นอืนไดร้ ับรู้ได้ ความรู้ทีฝังลึกในตวั คนนี
มีประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์

~ 145 ~

ความรู้ 2 ยคุ
ความรู้ยุคที 1 เนน้ ความรู้ในกระดาษ เน้นความรู้ของคนส่วนน้อย ความรู้ทีสร้างขึนโดย

นกั วิชาการทีมคี วามชาํ นาญเฉพาะดา้ น เรามกั เรียกคนเหล่านนั วา่ “ผมู้ ปี ัญญา” ซึงเชือว่าคนส่วนใหญ่ไม่มี
ความรู้ ไมม่ ีปัญญา ไม่สนใจทีจะใชค้ วามรู้ของคนเหล่านนั โลกทศั น์ในยคุ ที 1 เป็นโลกทศั นท์ ีคบั แคน้

ความรู้ยคุ ที 2 เป็นความรู้ในคน หรืออยใู่ นความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งคน เป็นการคน้ พบ “ภมู ิปัญญา”
ทีอยใู่ นตวั คน ทุกคนมีความรู้เพราะทุกคนทาํ งาน ทุกคนมีสมั พนั ธ์กบั ผอู้ ืน จึงย่อมมีความรู้ทีฝังลึกในตวั
คนทีเกิดจากการทาํ งาน และการมคี วามสมั พนั ธก์ นั นนั เรียกวา่ “ความรู้อนั เกิดจากประสบการณ์” ซึงความรู้
ยุคที 2 นีมีคุณประโยชน์ 2 ประการ คือประการแรก ทาํ ใหเ้ ราเคารพซึงกนั และกนั ต่างก็มีความรู้
ประการที 2 ทาํ ใหห้ น่วยงานหรือองคก์ รทีมีความเชือเช่นนี สามารถใชศ้ กั ยภาพแฝงของทุกคนในองค์กร
มาสร้างผลงาน สร้างนวตั กรรมใหก้ บั องคก์ ร ทาํ ใหอ้ งคก์ รมกี ารพฒั นามากขึน

การจดั การความรู้
การจดั การความรู้ (Knowledge Management) หมายถงึ การจดั การกบั ความรู้และ ประสบการณ์

ทีมีอย่ใู นตวั คนและความรู้เด่นชัด นาํ มาแบ่งปันให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและครอบครัว ด้วยการ
ผสมผสานความสามารถของคนเขา้ ดว้ ยกนั อยา่ งเหมาะสม มีเป้ าหมายเพือการพฒั นางาน พฒั นาคน และ
พฒั นาองคก์ รใหเ้ ป็นองคก์ รแห่งการเรียนรู้

ในปัจจุบนั และในอนาคต โลกจะปรับตวั เขา้ สู่การเป็นสงั คมแห่งการเรียนรู้ ซึงความรู้กลายเป็ น
ปัจจยั สาํ คญั ในการพฒั นาคน ทาํ ใหค้ นจาํ เป็นตอ้ งสามารถแสวงหาความรู้ พฒั นาและสร้างองคก์ รความรู้
อยา่ งต่อเนือง เพอื นาํ พาตนเองสู่ความสาํ เร็จ และนาํ พาประเทศชาติไปสู่การพฒั นา มีความเจริญกา้ วหน้า
และสามารถแข่งขนั กบั ต่างประเทศได้

คนทุกคนมีการจดั การความรู้ในตนเอง แต่ยงั ไม่เป็ นระบบ การจดั การความรู้เกนิดไขดึ ใ้ น
ครอบครัวทีมีการเรียนรู้ตามอธั ยาศยั พ่อแม่สอนลกู ป่ ูย่า ตายาย ถ่ายทอดความรู้และภูมิปัญญา ให้แก่
ลูกหลานในครอบครัว ทาํ กนั มาหลายชวั อายุคน โดยใชว้ ิธีธรรมชาติ เช่นพูดคุย สังสอน จดจาํ ไม่มี
กระบวนการทีเป็นระบบแต่อยา่ งใด วิธีการดงั กลา่ วถือเป็นการจดั การความรู้รูปแบบหนึง แต่อยา่ งใดก็ตาม
โลกในยคุ ปัจจุบนั มกี ารเปลียนแปลงอยา่ งรวดเร็วในดา้ นต่าง ๆ การใชว้ ิธีการจดั การ ความรู้แบบธรรมชาติ
อาจกา้ วตามโลกไม่ทนั จึงจาํ เป็ นตอ้ งมีกระบวนการทีเป็ นระบบ เพือช่วยใหอ้ งคก์ รสามารถทาํ ให้บุคคล
ไดใ้ ชค้ วามรู้ตามทีตอ้ งการไดท้ นั เวลา ซึงเป็ นกระบวนการพฒั นาคนให้มีศกั ยภาพ โดยการสร้างและใช้
ความรู้ในการปฏิบตั ิงานใหเ้ กิดผลสมั ฤทธิดีขึนกว่าเดิม การจดั การ ความรู้หากไม่ปฏิบตั ิจะไม่เขา้ ใจเรือง
การจดั การความรู้ นันคือ “ไม่ทาํ ไม่รู้” การจดั การความรู้จึงเป็ นกิจกรรมของนกั ปฏิบตั ิ กระบวนการ
จดั การความรู้จึงมลี กั ษณะเป็นวงจรเรียนรู้ทีต่อเนืองสมาํ เสมอ เป้ าหมายคือ การพฒั นางานและพฒั นาคน

~ 146 ~

การจดั การความรู้ทีแทจ้ ริง เป็ นการจดั การความรู้โดยกลุ่มผปู้ ฏิบตั ิงาน เป็ นการดาํ เนินกิจกรรม
ร่วมกนั ในกลุม่ ผทู้ าํ งาน เพอื ช่วยกนั ดึง “ความรู้ในคน” และควา้ ความรู้ภายนอกมาใชใ้ นการทาํ งาน ทาํ ให้
ไดร้ ับความรู้มากขึน ซึงถอื เป็นการยกระดบั ความรู้และนาํ ความรู้ทีไดร้ ับการยกระดบั ไปใชใ้ นการทาํ งาน
เป็ นวงจรต่อเนืองไม่จนบสิ การจดั การความรู้จึงตอ้ งร่วมมือกนั ทาํ หลายคน ความคิดเห็นทีแตกต่าง
ในแต่ละบุคคลจะก่อใหเ้ กิดการสร้างสรรคด์ ว้ ยการใชก้ ระบวนการแลกเปลียนเรียนรู้ มีปณิธานมุ่งมนั ทีจะ
ทาํ งานใหป้ ระสบผลสาํ เร็จนดกีขวึ ่าเดิม เมือดาํ เนินการจดั การความรู้แลว้ จะเกิดนวตั กรรมในการทาํ งาน
นนั คือการต่อยอดความรู้ และมอี งคค์ วามรู้เฉพาะเพือใชใ้ นการปฏิบตั ิงานของตนเอง การจดั การความรู้มใิ ช่
การเอาความรู้ทีมีอยใู่ นตาํ ราหรือจากผทู้ ีเชียวชาญมากองรวมกนั และจดั หมวดหมู่ เผยแพร่ แต่เป็ นการดึง
เอาความรู้เฉพาะส่วนทีใชใ้ นงานมาจดั การใหเ้ กิดประโยชน์กบั ตนเอง กล่มุ หรือชุมชน

“การจัดการความรู้เป็ นการเรียนรู้จากการปฏิบัติ นาํ ผลจากการปฏิบัติมาแลกเปลียนเรียนรู้กัน
เสริมพลงั ของการแลกเปลยี นเรียนรู้ด้วยการชืนชม ทาํ ให้เป็ นกระบวนการแห่งความสุข ความภูมิใจ และ
การเคารพเห็นคุณค่าซึงกันและกัน ทักษะเหล่านีนาํ ไปสู่การสร้ างนิสัยคิดบวกทาํ บวก มองโลก ในแง่ดี
และสร้ างวัฒนธรรมในองค์กรทีผ้คู นสัมพนั ธ์กันด้วยเรืองราวดี ๆ ด้วยการแบ่งปันความรู้ และ แลกเปลียน
ความรู้จากประสบการณ์ ซึงกันและกัน โดยทีกิจกรรมเหล่านีสอดคล้องแทรกอยู่ในการทาํ งานประจํา
ทุกเรือง ทุกเวลา”

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

ความสําคญั ของการจดั การความรู้

หัวใจของการจัดการความรู้ คือการจัดการความรู้ทีอยู่ในตวั บุคคล โดยเฉพาะบุคคลทีมี
ประสบการณ์ในการปฏบิ ตั ิงานจนงานประสบผลสาํ เร็จ กระบวนการแลกเปลียนเรียนรู้ระหว่าง คนกบั คน
หรือกลุม่ กบั กล่มุ จะก่อใหเ้ กิดการยกระดบั ความรู้ทีส่งผลต่อเป้ าหมายของการทาํ งาน นนั คือเกิดการพฒั นา
ประสิทธิภาพของงาน คนเกิดการพฒั นา และส่งผลต่อเนืองไปถึงองค์กรเป็ นองค์กรแห่งการเรียนรู้ ผลที
เกิดขึนกบั การจดั การความรู้จึงถอื วา่ มคี วามสาํ คญั ต่อการพฒั นาบุคลากรในองคก์ ร ซึงประโยชน์ทีจะเกิดขึน
ต่อบุคคล กล่มุ หรือองคก์ ร มีอยา่ งนอ้ ย 3 ประการ คือ

1. ผลสัมฤทธิของงาน หากมีการจดั การความรู้ในตนเอง หรือในหน่วยงาน องคก์ ร จะเกิด
ผลสาํ เร็จทีรวดเรง็ขึน วเยนิ ืองจากความรู้เพือใชใ้ นการพฒั นางานนนั เป็นความรู้ทีไดจ้ ากผทู้ ีผา่ นการปฏิบตั ิ
โดยตรง จึงสามารถนาํ มาใชใ้ นการพฒั นางานไดท้ นั ที จะเกิดนวตั กรรมใหม่ในการทาํ งาน ทงั ผลงาน
ทีเกิดขึนใหม่ และวฒั นธรรมการทาํ งานร่วมกนั ของคนในองคก์ รทีมคี วามเออื อาทรต่อกนั

~ 147 ~

2. บุคลากร การจดั การความรู้ในตนเองจะส่งผลใหค้ นในองคก์ รเกิดการพฒั นาตนเอง และส่ง
ผลรวมถงึ องคก์ ร กระบวนการเรียนรู้จากการแลกเปลียนความรู้ร่วมกนั จะทาํ ใหบ้ ุคลากรเกิดความมนั ใจใน
ตนเอง เกิดความเป็นชุมชนในหม่เู พอื นร่วมงาน บุคลากรเป็นบุคคลเรียนรู้และส่งผลให้องค์กรเป็ นองคก์ ร
แห่งการเรียนรู้อกี ดว้ ย

3. ยกระดบั ความรู้ของบุคลากรและองคก์ ร การแลกเปลียนเรียนรู้ จะทาํ ใหบ้ ุคลากรมีความรู้
เพมิ ขึนจากเดิม เห็นแนวทางในการพฒั นางานทีชดั เจนมานกขแึ ละเมือนาํ ไปปฏิบตั ิจะทาํ ให้บุคลากรและ
องคก์ รมีองคค์ วามรู้เพือใชใ้ นการปฏิบตั ิงานในเรืองทีสามารถนาํ ไปปฏิบตั ิได้ มีองค์ความรู้ทีจาํ เป็ นต่อการ
ใชง้ าน และจดั ระบบใหอ้ ยใู่ นสภาพพร้อมใช้

“การทีเรามกี ารจัดการความรู้ในตวั เอง จะพบว่าความรู้ในตัวเราทีคิดว่าเรามีเยอะแล้ว เป็ นจริง ๆ
แล้ว ยงั น้อยมากเมือเทียบกับบุคคลอืน และหากเรามีการแบ่งปันแลกเปลียนความรู้กับบุคคลอืน จะพบว่า
มคี วามรู้บางอย่างเกิดขึนโดยทีเราคาดไม่ถึง และหากเราเห็นแนวทางมีความรู้ แล้วไม่นาํ ไปปฏิบัติ ความรู้
นันกจ็ ะไม่มีคุณค่าอะไรเลย หากนาํ ความรู้นันไปแลกเปลียน และนาํ ไปสู่การปฏิบัติทีเป็ นวงจรต่อเนือง
ไม่รู้จบ จะเกิดความรู้เพิมขึนอย่างมาก หรือทีเรียกว่า “ยงิ ให้ ยงิ ได้รับ”

หลกั การของการจดั การความรู้

การจัดการความรู้ ไม่มีสูตรสําเร็จในวิธีการของการจดั การเพือใหบ้ รรลุเป้ าหมายในเรืองใด
เรืองหนึง แต่ขึนอยกู่ บั ปณิธานความมุ่งมนั ทีจะทาํ งานของตนหรือกิจกรรมของกลุ่มตนใหด้ ีขึนกว่าเดิม
แลว้ ใชว้ ิธีการจดั การความรู้เป็ นเครืองมือหนึงในการพฒั นางานหรือสร้างนวตั กรรมในงาน มีหลกั การ
สาํ คญั 4 ประการ ดงั นี

1. ให้คนหลากหลายทักษะ หลากหลายวิธีคดิ ทํางานร่วมกนั อย่างสร้างสรรค์ การจดั การ
ความรู้ทีมพี ลงั ตอ้ งทาํ โดยคนทีมพี นื ฐานแตกต่างกนั มคี วามเชือหรือวิธีคิดแตกต่างกนั (แต่มีจุดรวมพลงั คือ
มีเป้ าหมายอย่ทู ีงานดว้ ยกนั ) ถา้ กลุ่มทีดาํ เนินการจดั การความรู้ประกอบดว้ ยคน ทีคิดเหมือน ๆ กนั
การจดั การความรู้จะไมม่ ีพลงั ในการจดั การความรู้ ความแตกต่างหลากหลาย มีคุณค่ามากกวา่ ความเหมือน

2. ร่ วมกันพัฒนาวิธีการทํางานในรูปแบบใหม่ ๆ เพือบรรลุประสิทธิผลทีกําหนดไว้
ประสิทธิผลประกอบดว้ ยองคป์ ระกอบ 4 ประการ คือ

2.1 การตอบสนองความตอ้ งการ ซึงอาจเป็นความตอ้ งการของตนเอง ผรู้ ับบริการ
ความตอ้ งการของสงั คม หรือความตอ้ งการทีกาํ หนดโดยผนู้ าํ องคก์ ร

2.2 นวตั กรรม ซึงอาจเป็นนวตั กรรมดา้ นผลิตภณั ฑใ์ หม่ ๆ หรือวธิ ีการใหม่ ๆ ก็ได้
2.3 ขีดความสามารถของบุคคล และขององคก์ ร
2.4 ประสิทธิภาพในการทาํ งาน

~ 148 ~

3. ทดลองและการเรียนรู้ เนืองจากกิจกรรมการจดั การความรู้เป็นกิจกรรมทีสร้างสรรค์ จึงตอ้ ง
ทดลองทาํ เพยี งนอ้ ย ๆ ซึงถา้ ลม้ เหลวก็ก่อผลเสียหายไมม่ ากนกั ถา้ ไดผ้ ลไม่ดีก็ยกเลกิ ควนามถคา้ิดไนดัผ้ ลดี
จึงขยายการทดลอง คือปฏิบตั ิมากขึน จนในทีสุดขยายเป็ นวิธีทาํ งานแบบใหม่ หรือทีเรียกว่า ไดว้ ิธีการ
ปฏิบตั ิทีส่งผลเป็นเลศิ (Best Practice) ใหนมเ่นอัง

4. นําเข้าความรู้จากภายนอกอย่างเหมาะสม โดยตอ้ งถอื วา่ ความรู้จากภายนอกยงั เป็ นความรู้ที
“ดิบ” อยู่ ตอ้ งเอามาทาํ ให้ “สุก” ใหพ้ ร้อมใชต้ ามสภาพของเรา โดยการเติมความรู้ทีมีตามสภาพของเรา
ลงไป จึงจะเกิดความรู้ทีเหมาะสมกบั ทีเราตอ้ งการใช้

หลกั การของการจดั การความรู้ จึงมุ่งเนน้ ไปทีการจดั การทีมีประสิทธิภาพ เพราะการจดั การ
ความรู้เป็นเครืองมอื ระดมความรู้ในคน และความรู้ในกระดางษททีเปั ็ นความรู้จากภายนอก และความรู้
ของกลุ่มผรู้ ่วมงาน เอามาใชแ้ ละยกระดบั ความรู้ของบุคคล ของผรู้ ่วมงานและขององค์กร ทาํ ให้งานมี
คุณภาพสูงขึน คนเป็นบุคคลเรียนรู้และองคก์ รเป็นองคก์ รแห่งการเรียนรู้ การจดั การความรู้ จึงเป็ นทกั ษะ
สิบส่วน เป็นความรู้เชิงทฤษฏีเพียงส่วนเดียว การจดั การความรู้จึงอยใู่ นลกั ษณะ “ไม่ทาํ -ไมร่ ู้”

 กจิ กรรม

กิจกรรมที 1 ใหอ้ ธิบายความหมายของ “การจดั การความรู้” มาพอสงั เขป
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................

~ 149 ~

กิจกรรมที 2 ใหอ้ ธิบายความสาํ คญั ของ “การจดั การความรู้” มาพอสงั เขป
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................

กิจกรรมที 3 ใหอ้ ธิบายหลกั ของ “การจดั การความรู”้ มาพอสงั เขป
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................

~ 150 ~

เรืองที 2 : รูปแบบและกระบวนการในการจดั การความรู้

1. รูปแบบการจดั การความรู้
การจดั การความรู้นนั มีหลายรูปแบบ หรือทีเรียกกนั วา่ “โมเดล” มีหลากหลายโมเดล หวั ใจ ของ

การจดั การความรู้ คือการจดั การความรู้ทีอยใู่ นตวั คนในฐานะผปู้ ฏิบตั ิและเป็นผมู้ ีความรู้ การจดั การความรู้
ทีทาํ ใหค้ นเคารพในศกั ดิศรีของคนอืน การจดั การความรู้นอกจากการจดั การความรู้ในตนเองเพือใหเ้ กิด
การพฒั นางานและพฒั นาตนเองแลว้ ยงั มองรวมถึงการจดั การความรู้ในกลุ่มหรือ องค์กรดว้ ยรูปแบบ
การจดั การความรู้จึงอยบู่ นพนื ฐานของความเชือทีว่า ทุกคนมีความรู้ปฏิบตั ิในระดบั ความชาํ นาญทีต่างกนั
เคารพความรู้ทีอยใู่ นตวั คน

ดร.ประพนธ์ ผาสุกยดื ไดค้ ิดคน้ รูปแบบการจดั การความรู้ไว้ 2 รูปแบบ คือรูปแบบ ปลาทูหรือ
ทีเรียกว่า “โมเดลปลาท”ู และรูปแบบปลาตะเพยี น หรือทีเรียกว่า “โมเดลปลาตะเพียน” แสดงใหเ้ ห็นถึง
รูปแบบการจดั การความรู้ในภาพรวมของการจดั การทีครอบคลุมทงั ความรู้ทีชดั แจง้ และความรู้ทีฝังลึก
ดงั นี

โมเดลปลาทู
เพือให้การจดั การความรู้ หรือ KM เป็ นเรืองทีเขา้ ใจง่าย จึงกาํ หนดใหก้ ารจดั การความรู้
เปรียบเหมือนกบั ปลาทตู วั หนึง มีสิงทีตอ้ งดาํ เนินการจดั การความรู้อยู่ 3 ส่วน โดยกาํ หนดว่า ส่วนหัว คือ
การกาํ หนดเป้ าหมายของการจดั การความรู้ทีชดั เจน ส่วนตวั ปลาคือการแลกเปลียนความรู้ซึงกนั และกนั
และส่วนหางปลาคือ ความรู้ทีไดร้ ับจากการแลกเปลยี นเรียนรู้

รูปแบบการจดั การความรู้ ตาม โมเดลปลาทู


Click to View FlipBook Version