The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือ แว่นดวงใจ (ฆราวาส)
โดย
หลวงตาพระมหาบัว ญาณสัมปันโน
วัดเกษรศีลคุณ(วัดป่าบ้านตาด)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ebook.luangta, 2021-09-08 03:07:46

หนังสือแว่นดวงใจ

หนังสือ แว่นดวงใจ (ฆราวาส)
โดย
หลวงตาพระมหาบัว ญาณสัมปันโน
วัดเกษรศีลคุณ(วัดป่าบ้านตาด)

ธรรมทาน

หากมีท่านผูศ้ รัทธาพมิ พแ์ จกเป็นธรรมทาน
ผู้เขียนมีความอนโุ มทนายินดีด้วยทุกโอกาส

กรุณาทราบตามนัยทเี่ รยี นมาแล้วน้ี
จะไมเ่ ปน็ กงั วลในการต้องขออนญุ าตอีกในวาระตอ่ ไป

แตก่ ารพมิ พจ์ �ำ หนา่ ยนั้นขอสงวนลขิ สิทธิ์
ดังทเี่ คยปฏิบตั ิมากับหนงั สือทกุ เล่มทผี่ เู้ ขยี นเปน็ ผ้เู รยี บเรยี ง

เพราะม่งุ ประโยชน์แกโ่ ลกด้วยความบริสุทธิ์ใจ
ไมป่ ระสงค์ให้มอี ะไรเป็นเครื่องผูกพนั
จึงขอความเห็นใจมาพร้อมนีด้ ้วย
ขอความเปน็ สริ มิ งคลท่ีโลกปรารถนา
จงเกิดมแี ตท่ า่ นผอู้ ่านผู้ฟัง
และท่านผปู้ ฏบิ ัตติ ามทัง้ หลายโดยทัว่ กนั

คำ�นำ�

หนังสอื แวน่ ดวงใจ เปน็ หนงั สอื ที่หนาเล่มหนึ่ง ซง่ึ ยากแก่การขวนขวายเพ่ือจัดพมิ พอ์ ยู่
ไมน่ ้อย แตก่ ็ยังมีทา่ นผ้ศู รทั ธาพิมพแ์ จกทานเรอื่ ยมา หากขาดไปบา้ งก็เปน็ ครั้งคราว บดั นีก้ ็ได้
มที ่านผ้ศู รทั ธาประสงค์จะพิมพ์แจกทานแกท่ า่ นผู้สนใจธรรมปฏิบัติ ซงึ่ นับวา่ เปน็ การทมุ่ เทกำ�ลงั
ทรัพย์ ก�ำ ลังศรทั ธา เมตตามหาคุณค�้ำ จนุ โลกผหู้ วงั พึง่ ใบบุญอยไู่ มน่ ้อยเลย ผู้เขยี นจึงขอขอบคณุ
และอนโุ มทนาในเจตนาศรทั ธาอนั แรงกล้าของทา่ นท้ังหลายมาพรอ้ มน้ี ดว้ ยความซาบซึ้งเปน็
อยา่ งยิง่
ขอความสวสั ดีมชี ัยจงเกิดมแี ก่ทา่ นผ้ศู รทั ธา และท่านผอู้ ่านโดยท่วั กนั เทอญ ฯ


(คำ�นำ�ของทา่ นอาจารยพ์ ระมหาบวั ญาณสัมปนั โน
จากการพมิ พค์ ร้ังก่อน ๕ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๒๕)

เทศน์อบรมฆราวาส ณ วัดป่าบา้ นตาด จังหวดั อุดรธานี
เม่ือวันที่ ๑๗ มิถุนายน พุทธศกั ราช ๒๕๓๗

“...หนังสอื น้ีอยา่ เอาไปโยนข้นึ หง้ิ แลว้ เก็บส่งั สมหนงั สอื เอาไว้ว่า เรามีหนงั สอื เท่าน้ันเลม่
เท่านเ้ี ล่ม ไมน่ อ้ ยหนา้ ใคร แต่ไม่ได้อา่ นดูตวั เองนนั่ ซี อ่านหนงั สือไม่อา่ น เอาไปโยนขึน้ หิ้งใชไ้ ม่ได้นะ
ไมเ่ ห็นคณุ ค่าของหนงั สือ พระพทุ ธเจา้ สลบ ๓ หนกว่าจะไดเ้ ปน็ พระพทุ ธเจา้ ครูบาอาจารย์
แตล่ ะองคท์ จี่ ะได้นำ�หนังสอื มาแจกพวกเรานีแ้ ทบเป็นแทบตายท้ังนน้ั ละ ไมม่ ีองค์ไหนสบายๆ
มาแหละ มแี ต่องคเ์ ดนตายมา เราเอาไปโยนขึ้นห้ิงมนั เข้ากันได้ไหมละ่ เขา้ ไม่ไดน้ ะ
ถ้าอยากเปน็ คนดใี หเ้ อาไปอา่ น อา่ นหนังสอื แลว้ ก็อา่ นตวั เองเทียบกันไป หนังสือทา่ นว่า
ยังไงๆ เราปฏบิ ัตติ วั เรายังไงๆ ดูตรงไหนควรแกไ้ ขยงั ไงๆ ใหร้ ีบแก้ไข อ่านไปสงั เกตตวั เองไป
ตรวจตราดูตัวเองไป แก้ไขตัวเองไปเร่อื ยๆ เป็นคนดไี ด้ ไม่ไดด้ เี ฉยๆ ไม่ได้ชัว่ เฉยๆ นะ มเี หตุมี
ผลทค่ี วรจะดจี ะช่ัว ถา้ ทำ�ตัวให้ดกี ็เปน็ คนดี ท�ำ ตวั ใหช้ ั่วก็เปน็ คนเลวไปเลย ไมใ่ ช่อย่ๆู ก็ดี อยๆู่
กช็ ่ัว มเี หตุมผี ลควรดี ควรช่ัว....”

โดย ท่านอาจารย์พระมหาบัว ญาณสมั ปันโน

คุณค่าของการอา่ นหนงั สือธรรมะ

เราเหน็ คุณคา่ ของการอ่านหนังสอื ทางดา้ นธรรมะเป็นสำ�คญั อา่ นธรรมะ ฟังธรรมะ
อบรมธรรมะเพือ่ ดับไฟในใจ เพราะสง่ิ ที่ท�ำ ใหเ้ พลดิ เพลนิ น้ันเป็นส่งิ ทม่ี พี ิษภัยและความโศกเศร้า
แฝงอยใู่ นนั้น จึงน�ำ ธรรมะเข้าไปชะลา้ งในจดุ นนั้ เปดิ ออกเพื่อให้เห็นโทษของมัน ถา้ มแี ต่สิง่
เหลา่ นน้ั ถึงจะมีโทษขนาดไหน ก็ไม่ไดเ้ ห็นโทษ เพราะไมส่ นใจดูโทษ พอธรรมะสอ่ งเข้าไปปั๊ป
กเ็ หน็ เห็นโทษของมนั มากน้อยเหน็ เร่อื ยๆ เหน็ หลายครั้งหลายหนก็มกี ำ�ลงั มากและปราบกนั
ได้ๆ อยา่ งนอ้ ยกอ็ ยูด่ ว้ ยความสงบเย็นใจ ไมป่ ีนร้วั ปนี ลกู กรงอย่างเขาวา่
เราเห็นอยา่ งน้ันแหละ จงึ ได้พมิ พห์ นงั สอื ออกแจก ทีแรกทางวัดพิมพ์แจกก่อน ทนี ตี้ อ่
มาบรรดาลูกศิษยล์ กู หาก็พมิ พ์ เลยพิมพ์กนั เปน็ เน้อื เป็นหนงั จริงๆ ทางวัดก็เป็นอนั ว่าปลอ่ ย เปน็
แต่เพยี งวา่ รับแจก ให้ทำ�ออกมาแลว้ ก็แจกประชาชนญาติโยม เพราะเราเหน็ คณุ คา่ ของการอา่ น
หนังสอื ธรรมะน้มี ากอย่างฝงั ใจ นห่ี ลวงตาบวั บวชต้งั แตห่ นมุ่ ฟ้อจนกระทั่งป่านนี้ ก็เพราะได้อา่ น
หนังสือธรรมะ ใหล้ กู หลานท้ังหลายเอาไปเป็นคตนิ ะ

(อะไรจะจริงย่งิ กว่าธรรม ๒๐ มถิ ุนายน ๒๕๓๖)

ทา่ นพระอาจารย์เสาร์ กันตสโี ล

โอวาทธรรม
ท่านพระอาจารย์เสาร์ กนั ตสีโล

“การใหท้ านใครๆ กใ็ หท้ านมามากแล้ว มีผลานิสงคม์ ากเหมอื นกนั
แตส่ บู้ วชเปน็ ขาวเปน็ ชีรักษาศีลอุโบสถไม่ได้ มอี านิสงส์มากกว่าใหท้ านน่ันเสยี อีก

ถ้าใครอยากได้บญุ มาก ขน้ึ สวรรคไ์ ปนิพพานพน้ ทกุ ข์
ก็ควรบวชเปน็ ขาว เปน็ ชีรกั ษาศลี อุโบสถเสียในวันน”ี้
“ใหพ้ ากนั ละบาปและบ�ำ เพ็ญบุญ อยา่ ให้เสยี ชวี ิตลมหายใจไปเปล่า

ท่ไี ด้มวี าสนามาเกิดเปน็ มนษุ ย์”
“เราเกิดเปน็ มนุษย์มีความสูงศกั ดิม์ าก แต่อยา่ น�ำ เร่อื งของสัตวม์ าประพฤติ

มนุษย์ของเราจะตำ่�ลงกว่าสัตว์ และจะเลวกวา่ สัตวอ์ ีกมาก
เวลาตกนรกจะตกหลมุ ท่รี ้อนกว่าสตั ว์อกี มากมาย อย่าพากนั ท�ำ ”

คดั จากหนังสอื ทา่ นพระอาจารยเ์ สาร์ กนตสีลเถร
พระปรมาจารย์ใหญ่ฝ่ายวปิ สั สนากมั มัฏฐาน

การบริกรรมภาวนา ใหจ้ ิตอยู่ ณ จดุ เดียว คือ พุทโธ ซึ่งพุทโธ แปลว่า ผรู้ ู้ ผตู้ นื่ ผ้เู บิกบาน
เปน็ กริ ยิ าของจิต เมอื่ จิตมาจดจ้องอยทู่ ี่ คำ�วา่ พุทโธ ใหพ้ จิ ารณาตามองค์ฌาน ๕

การนกึ ถึง พทุ โธ เรยี กวา่ วติ ก จติ อย่กู บั พทุ โธ ไม่พรากจากไป เรียกว่า วจิ าร หลงั จากน้ี
ปีติ และความสขุ ก็เกิดขึน้ เมอ่ื ปตี ิและความสุขเกดิ ขึ้นแลว้ จติ ของผภู้ าวนา ยอ่ มด�ำ เนนิ ไป

สู่ความสงบ เข้าไปส่อู ปุ จารสมาธิ และ อปั ปนาสมาธิ ลักษณะทีจ่ ติ เข้าสู่ อปั ปนาสมาธิ
ภาวะจติ เปน็ ภาวะสงบน่งิ สวา่ ง ไม่มกี ริ ิยาอาการแสดงความรู้ ในข้ันนี้ เรียกว่า
จิตอยูใ่ นสมถะ

บอกเล่าโดยพระราชสังวรญาณ หลวงพอ่ พธุ ฐานโิ ย

ทา่ นพระอาจารยม์ ั่น ภรู ทิ ัตตเถระ

โอวาทธรรม
ท่านพระอาจารยม์ ั่น ภรู ิทัตตเถระ

ผปู้ ฏบิ ัติ โดยมากมกั เข้าใจกันวา่ พระพทุ ธเจ้า
และสาวกอรหันต์ท้งั หลายนพิ พานไปแล้ว สาบสญู ไปแลว้

ไม่มคี วามหมายอะไรเก่ียวกับตนเองเสียแล้ว
ก็พระธรรมอันเป็นฝ่ายเหตุ ทส่ี อนกันใหป้ ฏิบตั อิ ยู่เวลาน้ี
เปน็ ธรรมของทา่ นผ้ใู ดขุดค้นข้นึ มาใหโ้ ลกไดเ้ หน็ และได้ปฏิบตั ติ ามเลา่

และพระธรรมตง้ั ตัวอยู่ได้อยา่ งไร
ทำ�ไมจึงไม่สาบสญู ไปดว้ ยเล่า

ความจริงพุทธะกบั สังฆะ กค็ ือใจดวงบริสุทธท์ิ พี่ น้ วสิ ยั แหง่ ความตาย
และความสาบสญู อยแู่ ล้วโดยธรรมชาติ

จะให้ตายใหส้ าบสญู ให้หมดความหมายไปไดอ้ ย่างไร
เม่อื ธรรมชาตนิ นั้ มไิ ดเ้ ป็นไปกบั สมมุติ
มิไดอ้ ย่ใู ตอ้ �ำ นาจแหง่ ความตาย
มไิ ดอ้ ยูใ่ ต้อ�ำ นาจแห่งความสาบสญู

มิได้อย่ใู ตอ้ �ำ นาจแห่งการหมดความหมายใดๆ
พทุ ธะ จึงคือ พทุ ธะอยโู่ ดยดี
ธรรมะ จงึ คือ ธรรมะอยู่โดยดี

และสังฆะ จึงคอื สงั ฆะอยู่โดยดี
มไิ ดส้ นั่ สะเทือนไปกบั ความสำ�คัญใดๆ แหง่ สมมตุ ิ

ทีเ่ สกสรรทำ�ลายใหเ้ ป็นไปตามอ�ำ นาจของตน
ฉะนั้นการปฏบิ ตั ดิ ว้ ยธรรมานธุ รรมะ

จึงเปน็ เหมอื นเขา้ เฝ้าพระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์อยตู่ ลอดเวลา
ท่ีมธี รรมานธุ รรมะภายในใจ เพราะการรูพ้ ุทธะ ธรรมะ สังฆะ

โดยหลกั ธรรมชาติจ�ำ ตอ้ งรขู้ ้ึนทีใ่ จ ซึ่งเป็นทส่ี ถิตแห่งธรรมอยา่ งเหมาะสมสดุ สว่ น
ไมม่ ภี าชนะใดยิ่งไปกว่า ดงั น้ี

บนั ทกึ โดยทา่ นอาจารยพ์ ระมหาบัว ญาณสัมปันโน

ทา่ นอาจารยพ์ ระมหาบวั ญาณสมั ปนั โน

โอวาทธรรม
ทา่ นอาจารย์พระมหาบวั ญาณสัมปนั โน

สู้ไมถ่ อย สดุ ทา้ ยกต็ ้งั ไข่ได้

จิตฟ้งุ ซ่านรำ�คาญเสียจนน�ำ้ ตาร่วงบนภูเขาก็เคยมาแล้ว
นีเ่ วลากระแสของกิเลสมกี �ำ ลงั มาก ตัง้ สติไม่อยู่ ตง้ั พบั ล้มผลอ็ ยๆ

จนน�้ำ ตาร่วงบนภเู ขา กลบั ลงมาหาพ่อแมค่ รอู าจารย์มั่นอีก
มาโรงงานใหญ่ ท่านฝึกฝนอบรมเรยี บร้อยแล้ว ไปอกี
หงายกลับมาอีก ไปหลายหน หงายหลายหน
ไปไม่ถอย สู้ไมถ่ อย สุดทา้ ยกต็ ้ังไข่ได้
ตอ่ จากนั้นจติ กก็ า้ วละทนี ี้ ฟงั ...นักภาวนาดว้ ยกัน
พระพทุ ธเจา้ เป็นศาสดาเอกดว้ ยการภาวนา
สาวกท้งั หลายบรรลธุ รรมได้ด้วยการภาวนา

เราเป็นสาวกของพระพทุ ธเจ้าแบบไหน ใหเ้ อามาคดิ ทุกคน
ทั้งพระทง้ั โยมนนั่ แหละ

กเิ ลสมันอย่กู ับหวั ใจ ไม่เลอื กชาติช้ันวรรณะ
เพศหญิง เพศชายมีอยู่นั้น แกม้ นั ดว้ ยธรรมถึงจะแก้ได้
นีก่ แ็ ก้กเิ ลสด้วยจิตตภาวนา ซดั กันใหเ้ ต็มเหน่ียวเลย

พดู ใหม้ นั ชัดเสยี นะ มนั จะตายแล้ว
นีล่ ะหาของดมี าพดู ให้พ่ีนอ้ งทงั้ หลายฟังมันขวางโลกแล้วเหรอ พจิ ารณาซิ

(เมือ่ จิตกับธรรมสัมพนั ธก์ นั ณ สวนแสงธรรม กรงุ เทพฯ
ค�่ำ ๓ กรกฎาคม ๒๕๕๑)

ดินแดนอรยิ ธรรม

ณ วัดป่าบ้านตาด ต�ำ บลบา้ นตาด อ�ำ เภอเมอื ง จงั หวัดอุดรธานี
ภายในขอบเขตแห่งขัณฑสมี าอาราม ทีม่ ชี ่อื อย่างเป็นทางการวา่ “เกษรศีลคุณ”
ถกู สร้างข้นึ เม่ือปี พ.ศ. ๒๔๙๘ ด้วยเหตเุ พ่ือโปรดและสนองคุณมารดาผูใ้ ห้กำ�เนิด

ในยามดวงอาทิตยอ์ ุทยั ...ภาพแห่งพระมหาเถระผ้เู ฒ่า ผสู้ งู อายุกา้ วผา่ นปนู ปลายปัจฉิมวยั รปู หนง่ึ
ซึ่งทุกคนเรียกติดปากวา่ ”หลวงตามหาบวั ” เดินดุ่มเพอ่ื จารกิ บณิ ฑบาตโปรดเวไนยนิกรเพยี งล�ำ พงั

มีผู้รอถวายอาหารเป็นแหง่ ๆ เป็นภาพท่คี ้นุ ตาของประชาชนท่ีเลื่อมใสอย่เู สมอ
เพราะนีค่ ือ ทสั สนานุตตรยิ ะ....

การเหน็ อย่างยอดเย่ียม หมู่พระภิกษุครองผ้ากาสายะ ๒ ช้ัน สหี มองคล้�ำ
เดนิ สำ�รวมเพอ่ื จาริกบิณฑบาตอย่างรวดเร็วเปน็ ทิวแถว มีความมงุ่ มน่ั เดนิ ตามรอยแหง่ พ่อแมค่ รู

อาจารย์ เสียงเทศนาธรรมในตอนเชา้ ...กล่อมเกลาจิตประชาชน...วนั แลว้ วนั เลา่ ...มิไดข้ าด
เสยี งเจ้ือยแจว้ ของไก่ นก และสตั วอ์ ่ืน ๆ มีใหไ้ ด้ยินอยตู่ ลอดเวลา ท่ามกลางธรรมชาตทิ ีร่ ่มเย็น

ทุกชีวติ ตา่ งมาพ่งึ ใบบญุ ของหลวงตา องค์ทา่ นไมไ่ ดใ้ ห้เฉพาะภายในวัดนเี้ ท่านัน้
หากยงั เผ่ือแผเ่ มตตาไปทุกหย่อมหญ้าท่ีเดือดร้อน ไมว่ า่ จะเป็นโรงพยาบาล โรงเรียน

สถานทเ่ี ล้ียงเดก็ ก�ำ พร้า ฯลฯ หลวงตาใหค้ วามอนเุ คราะหท์ ้ังน้ันฯ

สารบัญ

ฆราวาส

พระธรรมเทศนา ฆราวาส

ปญั ญาอบรมสมาธิ ๑
๑๘
กัณฑ์ที่ ๑ ทาน ศลี ภาวนา วดั อรณุ รงั ษี หนองคาย (๒๕ มีนาคม ๒๕๐๔) ๓๒
๔๓
กัณฑ์ท่ี ๒ ธรรมป่า วัดป่าบ้านตาด อุดรธานี (๗ มิถุนายน ๒๕๐๕) ๕๕
๗๐
กัณฑท์ ี่ ๓ ชำ�ระใจ วัดป่าบา้ นตาด อุดรธานี (๘ มิถุนายน ๒๕๐๕) ๘๑
๙๑
กัณฑ์ที่ ๔ ปัญญาอบรมสมาธิ กรุงเทพมหานคร (พฤษภาคม ๒๕๐๗) ๑๐๔
๑๑๕
กณั ฑท์ ่ี ๕ จิตภาวนา วดั ปา่ บา้ นตาด อดุ รธาน ี (๒๐ มกราคม ๒๕๐๘) ๑๒๙
๑๓๙
กณั ฑท์ ี่ ๖ กิเลส-อริยสัจ วดั ป่าบ้านตาด อุดรธานี (๑๐ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๐๘) ๑๕๒
๑๖๖
กณั ฑท์ ี่ ๗ จรติ นสิ ยั ในการบำ�เพ็ญ วัดปา่ บา้ นตาด อดุ รธานี (๒๒ กมุ ภาพนธ์ ๒๕๐๘) ๑๗๕
๑๘๗
กณั ฑ์ท่ี ๘ ความเพียร วัดป่าบ้านตาด อดุ รธาน ี (๒๔ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๐๘) ๑๙๖
๒๐๘
กัณฑท์ ี่ ๙ ธรรมเปน็ โอสถส�ำ คัญ วดั ป่าบ้านตาด อุดรธาน ี (๑ เมษายน ๒๕๐๘) ๒๒๒

กัณฑ์ท่ี ๑๐ ปัญญาถอดถอนกิเลส วดั ป่าบ้านตาด อดุ รธาน ี (๓ เมษายน ๒๕๐๘)

กัณฑท์ ่ี ๑๑ พุทธประวัติ วัดปา่ บ้านตาด อดุ รธานี (๑๕ พฤษภาคม ๒๕๐๘)

กณั ฑท์ ี่ ๑๒ สงั ขารธรรม วัดโพธิสมภรณ์ อดุ รธานี (๒๘ กรกฎาคม ๒๕๐๕)

กัณฑท์ ่ี ๑๓ ธรรมสังเวช วดั โพธสิ มภรณ์ อดุ รธาน ี (๔ สิงหาคม ๒๕๐๕)

กณั ฑท์ ี่ ๑๔ กฎแห่งกรรม วดั ป่าบ้านตาด อดุ รธานี (๑๗ กรกฎาคม ๒๕๐๖)

กัณฑ์ที่ ๑๕ ขันธ์ห้า-หลกั ปจั จบุ นั วัดป่าบา้ นตาด อดุ รธานี (๑๗ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๐๗)

กัณฑ์ท่ี ๑๖ พระอรยิ บุคคล วัดป่าบ้านตาด อดุ รธาน ี (๑๘ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๐๗)

กณั ฑท์ ี่ ๑๗ อรยิ สจั นอก อริยสจั ใน วดั ปา่ บา้ นตาด อุดรธาน ี (๒๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๐๗)

กณั ฑท์ ี่ ๑๘ ความว่างในหลักธรรมชาติ วดั ป่าบ้านตาด อดุ รธาน ี (๒๗ มีนาคม ๒๕๐๗)

ศาลาวดั ป่าบา้ นตาด จงั หวดั อดุ รธานี

ปัญญาอบรมสมาธิ ๑

ปญ ญาอบรมสมาธิ

ศลี

ศีล
ศีล เปน รัว้ กั้นความคะนองทางกายวาจา มใี จเปนผูร ับผิดชอบในงานและผลของ
งานท่กี ายวาจาทําข้ึน คนท่ไี มม ศี ีลเปนเคร่อื งปองกันความคะนอง เปน ผทู ส่ี ังคมผูดีรงั
เกียจ ไมเ ปน ท่ไี วว างใจของสงั คมท่วั ไป แมจะเปน สังคมในวงราชการหรอื สังคมใดๆ ก็
ตาม ถามคี นทศุ ีลไมม ยี างอายทางความประพฤตแิ ฝงอยูใ นสงั คมและวงงานน้ันๆ แมแ ต
คนเดยี วหรือสองคน แนทีเดยี วทส่ี ังคมและวงงานน้นั ๆ จะตงั้ อยูเปนปกแผนแนน หนาไม
ไดนาน จะตองถูกทําลายหรอื บนั่ ทอนจากคนประเภทนั้น โดยทางใดก็ได ตามแตเ ขาจะ
มโี อกาสทาํ ไดใ นเวลาทส่ี ังคมนั้นเผลอตัว เชน เดยี วกับอยใู กลอ สรพิษตวั รายกาจ คอยแต
จะขบกัดในเวลาพลัง้ เผลอฉะนน้ั

ศลี จึงเปน ธรรมคมุ ครองโลกใหอยูเ ยน็ เปน สขุ ปราศจากความระแวงสงสยั อนั
เกิดแตค วามไมไ วใ จกนั ในทางท่ีจะใหเกิดความเดอื ดรอนเสียหาย นบั แตสว นเล็กนอ ยไป
ถึงสวนใหญ ซงึ่ เปน ส่ิงทใ่ี ครๆ ไมพ งึ ปรารถนา ศีลมหี ลายประเภท นบั แต ศลี ๕ ศีล ๘
ศีล ๑๐ ถึงศีล ๒๒๗ ตามประเภทของบุคคลท่จี ะควรรักษาใหเ หมาะแกเ พศและวยั ของ
ตน เฉพาะศลี ๕ เปนศลี ที่จําเปนที่สดุ สําหรบั ฆราวาสผเู กี่ยวของกับสังคมหลายชัน้ จึง
ควรมีศีลเปนเครอื่ งรับรองความบริสทุ ธิข์ องตน และรบั รองความบรสิ ทุ ธขิ์ องกนั และกนั
ตอ สวนรวมท่เี ก่ยี วแกผ ลไดเ สยี อนั อาจเกดิ มไี ดในวงงานและสังคมทั่วไป

คนมศี ลี ๕ ประจําตนคนเดยี วหรอื สองคน เขา ทาํ งานในวงงานหน่ึงวงงานใด จะ
เปน งานบรษิ ทั หา งรา น หรอื งานรัฐบาลซึง่ เปนงานแผน ดินก็ตาม จะเหน็ ไดว า คนมศี ีล ๕
เพียงคนเดยี วหรือสองคนนั้น จะไดรับความนิยมชมชอบ ความไววางใจในกิจการนนั้ ๆ
เชน การเงิน เปนตน จากชุมนมุ ชนในวงงานนน้ั ๆ เปน อยา งยง่ิ ตลอดเวลาทเี่ ขายงั อยู
หรือแมเ ขาจะไปอยหู นใด กต็ องไดร ับความนยิ มนับถือในทท่ี ว่ั ไป เพราะคนมศี ลี กแ็ สดง
วา ตองมธี รรมประจําใจดว ย เชน เดียวกับรสของอาหารกบั ตัวของอาหารจะแยกจากกันไม
ได ในขณะเดยี วกัน คนมธี รรมกแ็ สดงวาเปน ผูมีศีลดว ย ขณะใดทเ่ี ขาลว งเกนิ ศีลขอใดขอ
หน่ึง ขณะน้นั แสดงวาเขาไมม ธี รรม เพราะธรรมอยูกบั ใจ ศีลอยูก ับกายวาจา แลว แตกาย
วาจาจะเคลอ่ื นไหวไปทางถกู หรอื ผดิ ตอ งสอ ถงึ เรอ่ื งของใจผเู ปนหัวหนา รบั ผดิ ชอบดวย

ปญั ญา-อบ๑ร-มสมาธิ



ถาใจมธี รรมประจาํ กายวาจาตองสะอาด ปราศจากโทษในขณะทาํ และพูด ฉะน้ัน
ผูม ีกายวาจาสะอาดจึงเปนเครื่องประกาศใหคนอืน่ เขาทราบวา เปนคนมธี รรมในใจ คนมี
ศลี ธรรมประจํากาย วาจา ใจ จึงเปน คนมเี สนห มีเครอ่ื งดงึ ดูดใจประชาชนท่ัวโลกใหห นั

มาสนใจและนิยมรกั ชอบทกุ ยคุ ทกุ สมัยไมมวี ันจืดจาง แมผไู มส ามารถกระทํากายวาจาให
เปนอยา งเขาได กย็ งั รูจักนิยมเล่อื มใสในคนผมู ีกาย วาจา ใจ อนั มีศลี ธรรม เชนเดยี วกับ
ทีพ่ วกเขาเคารพและเลื่อมใสในพระพุทธเจาและสาวกทงั้ หลาย ฉะนน้ั จงึ ชี้ใหเหน็ วา ศลี
ธรรมคือความดีความงาม เปน สงิ่ ทีโ่ ลกตอ งการอยทู กุ เวลา ไมเปน ของลาสมยั ท้ังมคี ณุ

คาเทา กับโลกเสมอไป
จะมอี ยบู า งกเ็ นือ่ งจากศลี ธรรมไดถ ูกแปรสภาพจากธรรมชาติเดมิ ออกมาสู
ระเบียบลัทธิประเพณี ซงึ่ แยกออกไปตามความนิยมของชาติ ชั้น วรรณะ จงึ เปน เหตุให
ศลี ธรรมกลายเปนของชาติ ชัน้ วรรณะ ไปตามความนยิ มของลทั ธนิ ้ันๆ อันเปนเหตใุ ห

โลกติชมตลอดมา นอกจากท่ีวา นี้ ศีลธรรมยอมเปน คณุ ธรรมท่นี าํ ยุคนําสมัยไปสคู วาม
เจรญิ ไดทุกโอกาส ถา โลกยงั สนใจทจ่ี ะนาํ เอาศลี ธรรมไปเปนเสนบรรทดั ดดั กาย วาจา ใจ
ของตนใหเปนไปตามอยู
จะเหน็ ไดงา ยๆ ก็คอื กาลใดท่ีโลกเกิดความยุงเหยิงไมสงบ กาลนน้ั พึงทราบวา

โลกเร่ิมขาดความสมบูรณทางศีลธรรม ถาไมร บี ปรบั ปรงุ ใหตรงกับทางศลี ธรรมแลว ไม
นานฤทธ์ิของโลกลวนๆ จะระเบดิ อยางเต็มท่ี แมต วั โลกผูทรงฤทธิ์เอง ก็ตองแตกทลาย
ลงทนั ทีทนอยไู มไ ด
เฉพาะอยา งยิง่ ในครอบครวั หนึง่ ๆ ถา ขาดศีลธรรมอันเปน หลักของความ
ประพฤติแลว แมคูส ามีภรรยาก็ไวใ จกันไมไ ด คอยแตจ ะเกดิ ความระแวงแคลงใจวา คู

ครองของตนจะไปคบชูกับชายอนื่ หญงิ อื่น อันเปน เหตุบอนทาํ ลายความมั่นคงของครอบ
ครวั และทรัพยส ิน เพยี งเทา น้คี วามปวดราวภายในใจเรมิ่ ฟก ตวั ข้ึนมาแลว ไมเ ปน อนั กนิ
อนั นอน แมก ารงานอนั เปนหลกั อาชพี ประจาํ ครอบครัว ตลอดลกู เลก็ เดก็ แดงกจ็ ะเรม่ิ
แตกแหลกลาญไปตามๆกนั ในขณะทีค่ รอบครัวนัน้ ๆ เร่มิ ทาํ ลายศีลธรรมของตน ยิ่งได

แตกจากศีลธรรมโดยประพฤตอิ ยา งทกี่ ลาวแลว แนท ีเดยี วสงิ่ ทีม่ ่ันคงทัง้ หลายจะกลาย
เปนกองเพลิงไปตาม ๆ กัน เชนเดยี วกับหมอน้าํ ท่เี ต็มไปดว ยนาํ้ ไดถกู สงิ่ อืน่ กระทบให
ตกลง นาํ้ ทั้งหมดทีบ่ รรจอุ ยูในหมอ จะตอ งแตกกระจายไปทันทีฉะนน้ั
ดังนนั้ เม่อื โลกยังตองการความเจรญิ อยตู ราบใด ศลี ธรรมจงึ เปนสิง่ จาํ เปน สาํ หรับ

โลกอยตู ราบนนั้ ใครจะคัดคานหลักความจริง คือศีลธรรมอันเปนส่ิงท่มี อี ยปู ระจาํ โลกมา

แว-่นด๒วง-ใจ

ปญั ญาอบรมสมาธิ
-๓-

สมาธิ

แว-น่ ด๔วง-ใจ



หยดุ ) พรอมทั้งใจใหท ําความรสู กึ ไวกบั ผมบนศรี ษะ จะบรกิ รรมบทใดก็ใหท าํ ความรูอยู
กับกรรมฐานบทน้นั เชน เดยี วกบั บรกิ รรมบทเกสา ซึ่งทาํ ความรูอ ยใู นผมบนศีรษะฉะน้นั

สว นการบรกิ รรมบท พุทฺโธ ธมโฺ ม สงฺโฆ บทใดๆ ใหทาํ ความรไู วจาํ เพาะใจไม
เหมอื นบทอนื่ ๆ คือ ใหค าํ บรกิ รรมวา พทุ โฺ ธ เปน ตน สัมพันธกันอยกู บั ใจไปตลอดจน
กวาจะปรากฏ พทุ ฺโธ ในคําบรกิ รรมกับผูรู คอื ใจเปนอันเดียวกนั แมผูจะบรกิ รรมบท
ธมโฺ ม สงโฺ ฆ ตามจริต กพ็ ึงบริกรรมใหส มั พันธกันกับใจ จนกวาจะปรากฏ ธมโฺ ม หรอื
สงโฺ ฆ เปน อนั เดียวกนั กับใจ ทํานองเดียวกับบท พทุ ฺโธ เถดิ ฯ

อานาปานสตภิ าวนา ถอื ลมหายใจเขาหายใจออก เปนอารมณข องใจ มีความรู
และสตอิ ยูก บั ลมหายใจเขาออก เบ้อื งตน การตง้ั ลม ควรต้งั ท่ีปลายจมูกหรอื เพดานเพราะ
เปนท่กี ระทบลมหายใจ พอถือเอาเปนเคร่อื งหมายได เมื่อทําจนชํานาญ และลมละเอียด
เขา ไปเทา ไร จะคอยรูหรอื เขาใจความสมั ผสั ของลมเขา ไปโดยลําดบั จนปรากฏลมท่อี ยู
ทามกลางอก หรือล้นิ ปแ หง เดียว ทนี จ้ี งกาํ หนดลม ณ ท่นี น้ั ไมตอ งกงั วลออกมากําหนด
หรือตามรูลมทป่ี ลายจมกู หรอื เพดานอกี ตอไป

การกาํ หนดลมจะตามดว ย พุทฺโธ เปน คาํ บรกิ รรมกํากับลมหายใจเขาออกดวยก็
ได เพ่ือเปน การพยุงผูรใู หเ ดน จะไดป รากฏลมชัดข้นึ กบั ใจ เม่ือชาํ นาญในลมแลว ตอไป
ทุกครงั้ ทีก่ ําหนด จงกาํ หนดลงทลี่ มหายใจทามกลางอกหรอื ล้ินปโ ดยเฉพาะ ท้งั นส้ี าํ คญั
อยูทต่ี งั้ สติ จงตั้งสติกับใจ ใหม คี วามรสู ึกในลมทกุ ขณะท่ีลมเขา และลมออก สน้ั หรือยาว
จนกวาจะรชู ัดในลมหายใจ มคี วามละเอยี ดเขาไปทกุ ที และจนปรากฏความละเอยี ดของ
ลมกบั ใจเปนอันเดยี วกนั

ทีนีใ้ หก ําหนดลมอยจู ําเพาะใจ ไมตอ งกงั วลในคําบริกรรมใดๆ ท้ังส้ิน เพราะการ
กําหนดลมเขาออกและสนั้ ยาวตลอดคําบริกรรมนน้ั ๆ กเ็ พอื่ จะใหจติ ถงึ ความละเอียด
เมือ่ ถึงลมละเอยี ดที่สดุ จติ จะปรากฏมคี วามสวา งไสว เยือกเย็นเปนความสงบสุขและรอู ยู
จําเพาะใจ ไมเ กี่ยวขอ งกบั อารมณใด ๆ แมที่สดุ กองลมก็ลดละความเก่ียวของ ในขณะ
นั้นไมม ีความกงั วล เพราะจติ วางภาระ มีความรูอยูจําเพาะใจดวงเดียว คือ ความเปน
หนึ่ง (เอกัคคตารมณ) น่ีคือผลท่ีไดรบั จากการเจริญอานาปานสติกรรมฐาน ในกรรมฐาน
บทอ่ืนพึงทราบวา ผภู าวนาจะตองไดรบั ผลเชน เดียวกันกบั บทน้ี

การบรกิ รรมภาวนา มบี ทกรรมฐานน้ัน ๆ เปนเครอ่ื งกาํ กบั ใจดว ยสติ จะระงบั
ความคะนองของใจไดเปนลําดับ จะปรากฏความสงบสขุ ข้ึนท่ีใจ มอี ารมณอันเดียว คอื
รูอยจู าํ เพาะใจ ปราศจากความฟงุ ซา นใด ๆ ไมม สี งิ่ มากวนใจใหเอนเอยี ง เปนความสขุ

ปญั ญาอบรมสมาธิ
-๕-



จาํ เพาะใจ ปราศจากความเสกสรรหรือปรุงแตงใดๆ ท้งั สนิ้ เพียงเทาน้ี ผูปฏบิ ตั จิ ะเห็น
ความอศั จรรยใ นใจ ทไี่ มเ คยประสบมาแตกาลไหนๆ และเปนความสขุ ที่ดูดด่ืมย่ิงกวา
อืน่ ใดที่เคยผา นมา

อนง่ึ พึงทราบ ผูบ รกิ รรมบทกรรมฐานนั้นๆ บางทา นอาจปรากฏอาการแหง
กรรมฐาน ท่ีตนกาํ ลงั บริกรรมนัน้ ข้นึ ที่ใจ ในขณะทกี่ าํ ลงั บริกรรมอยูก็ได เชน ปรากฏผม
ขน เลบ็ ฟน หนงั เนอ้ื เอ็น กระดูก เปนตน อาการใดอาการหน่ึง ประจักษกบั ใจ
เหมือนมองเห็นดวยตาเนอ้ื เมอ่ื ปรากฏอยางนี้ พึงกําหนดดอู าการทตี่ นเห็นน้ันใหชัดเจน
ตดิ ใจ และกําหนดใหต้ังอยา งน้นั ไดนาน และติดใจเทาไรย่งิ ดี เม่อื ติดใจแนบสนทิ แลว จง
ทาํ ความแยบคายในใจ กําหนดสวนทเี่ หน็ นน้ั โดยเปนของปฏิกลู โสโครก ทง้ั อาการสวนใน
และอาการสวนนอกของกายโดยรอบ และแยกสว นของกายออกเปนสวนๆ หรือเปน
แผนกๆ ตามอาการนนั้ ๆ โดยเปน กองผม กองขน กองเนื้อ กองกระดูก ฯลฯ

เสรจ็ แลวกําหนดใหเ นา เปอ ยลงบาง กาํ หนดไฟเผาบาง กาํ หนดให แรง กา หมา
กินบา ง กาํ หนดใหแตกลงสธู าตเุ ดิมของเขา คือ ดิน นาํ้ ลม ไฟ บา งเปน ตน การทาํ
อยางนเ้ี พอ่ื ความชาํ นาญ คลองแคลว ของใจในการเหน็ กาย เพอื่ ความเหน็ จรงิ ในกายวา มี
อะไรอยูใ นน้นั เพือ่ ความบรรเทาและตดั ขาดเสียไดซง่ึ ความหลงกาย อนั เปน เหตใุ หเ กิด
ราคะตัณหา คือ ความคะนองของใจ ทําอยางนีไ้ ดช าํ นาญเทาไรย่ิงดี ใจจะสงบละเอียด
เขาทุกที ขอสาํ คัญเมือ่ ปรากฏอาการของกายขนึ้ อยา ปลอ ยใหผ า นไปโดยไมสนใจ และ
อยา กลวั อาการของกายทป่ี รากฏ จงกาํ หนดไวเ ฉพาะหนา ทนั ที กายนเ้ี ม่ือภาวนาไดเห็นจน
ตดิ ใจจริงๆ จะเกิดความเบ่ือหนา ยสลดสงั เวชตน จะเกดิ ขนพองสยองเกลา นํา้ ตาไหลลง
ทนั ที อนงึ่ ผูท ี่ปรากฏกายขึ้นเฉพาะหนา ในขณะภาวนา ใจจะเปน สมาธไิ ดอยา งรวดเรว็
และจะทําปญญาใหแจงไปพรอ มๆ กันกับความสงบของใจทภี่ าวนาเห็นกาย

ผทู ่ไี มเหน็ อาการของกาย จงทราบวา การบริกรรมภาวนาทั้งน้ี กเ็ ปน การภาวนา
เพ่ือจะยังจิตใหเขาสูความสงบสุขเชน เดยี วกนั จึงไมมีขอ ระแวงสงสยั ท่ตี รงไหนวา จิตจะไม
หยั่งลงสูความสงบ และเหน็ ภยั ดวยปญ ญาในวาระตอไป จงทําความมัน่ ใจในบทภาวนา
และคําบริกรรมของตนอยา ทอ ถอย ผูด าํ เนินไปโดยวธิ ีใด พึงทราบวา ดําเนนิ ไปสูจดุ
ประสงคเชน เดยี วกัน และจงทราบวา บทธรรมทง้ั หมดนี้ เปนบทธรรมทจี่ ะนาํ ใจไปสสู นั ติ
สุข คอื พระนิพพาน อันเปนจุดสดุ ทายของการภาวนาทกุ บทไป ฉะน้นั จงทาํ ตามหนาที่
แหง บทภาวนาของตน อยาพะวกั พะวนในกรรมฐานบทอน่ื ๆ จะเปน ความลงั เลสงสยั ตัด
สินใจลงไปสคู วามจรงิ ไมได จะเปนอุปสรรคแกความจริงใจตลอดกาล จงต้ังใจทาํ ดว ย

แว-่น๖ดว-งใจ



ความมีสตจิ ริงๆ และอยาเรยี งศลี สมาธิ ปญญา ใหน อกไปจากใจ เพราะกเิ ลสคือ ราคะ
โทสะ โมหะ เปนตน อยทู ใี่ จ ใครไมไดเรยี งรายเขา เม่อื คดิ ไปทางผิด มันกเ็ กดิ กเิ ลส
ขึน้ มาท่ใี จดวงน้ัน ไมไดก าํ หนดหรือนดั กันวา ใครจะมากอ นมาหลงั มันเปน กเิ ลสมาที
เดยี ว กเิ ลสชนิดไหนมา มนั กท็ ําใหเ รารอ นไดเ ชนเดียวกัน เร่อื งของกิเลสมนั จะตอ งเปน
กิเลสเรือ่ ยไปอยางนี้ กิเลสตวั ไหนจะมากอนมาหลงั เปน ไมเสยี ผล ทําใหเกดิ ความรอนได
ทง้ั น้ัน วิธีการแกกิเลสอยา คอยใหศลี ไปกอ น สมาธมิ าที่สอง ปญญามาที่สาม นเ่ี รยี กวา
ทําสมาธเิ รยี งแบบ เปนอดตี อนาคตเสมอไป หาความสงบสขุ ไมไดต ลอดกาล

ปญ ญาอบรมสมาธิ

ความจริงการภาวนาเพ่ือใหใ จสงบ ถาสงบดวยวิธีปลอบโยนโดยทางบริกรรมไม
ได ตอ งภาวนาดว ยวธิ ปี ราบปรามขูเข็ญ คอื คน คดิ หาเหตุผลในส่ิงทจ่ี ติ ติดของดว ยปญญา
แลว แตค วามแยบคายของปญญา จะหาอุบายทรมานจิตดวงพยศ จนปรากฏใจยอมจํานน
ตามปญ ญาวา เปน ความจริงอยา งนนั้ แลว ใจจะฟุงซา นไปไหนไมไ ด ตอ งหยั่งเขาสคู วาม
สงบเชนเดียวกบั สัตวพาหนะตวั คะนอง ตอ งฝกฝนทรมานอยางหนักจึงจะยอมจาํ นนตอ
เจาของ

ฉะนน้ั ในเรื่องนี้จะขอยกอปุ มาเปน หลักเทยี บเคยี ง เชน ตน ไมบ างประเภท ตั้งอยู
โดดเด่ยี วไมมีสง่ิ เกีย่ วของ ผูต อ งการตน ไมนน้ั ก็ตอ งตดั ดวยมดี หรอื ขวาน เมอ่ื ขาดแลว
ไมต นนัน้ ก็ลมลงสูจุดทหี่ มาย แลวนําไปไดต ามตอ งการ ไมมคี วามยากเย็นอะไรนกั แต
ไมอ ีกบางประเภท ไมตัง้ อยโู ดดเดยี่ ว ยังเกยี่ วของอยกู บั กิ่งแขนงของตน อื่นๆ อกี มาก
ยากท่จี ะตดั ใหล งสทู ี่หมายได ตอ งใชป ญ ญาหรือสายตาตรวจดสู ง่ิ เกี่ยวของของตน ไมน ัน้
โดยถถี่ วน แลว จงึ ตัดตนไมน ้ันใหข าด พรอมทงั้ ตัดสง่ิ เกีย่ วของจนหมดส้ินไป ไมยอมตก
หรอื ลม ลงสูทหี่ มายและนาํ ไปไดต ามความตองการฉนั ใด จรติ นิสัยของคนเราก็ฉันนั้น

คนบางประเภทไมคอ ยมสี ิง่ แวดลอ มเปน ภาระกดถวงใจมาก เพยี งใชค ําบรกิ รรม
ภาวนา พุทฺโธ ธมโฺ ม สง.โฆ เปนตน บทใดบทหนึ่งเขา เทาน้นั ใจก็ไดรบั ความสงบ
เยือกเยน็ เปนสมาธลิ งได กลายเปน ตนทุนหนนุ ปญญา ใหกา วหนาตอไปไดอยางสบายที่
เรียกวา สมาธิอบรมปญญา แตค นบางประเภทมสี ิง่ แวดลอมเปน ภาระกดถว งใจมาก และ
เปน นิสัยชอบคิดอะไรมากอยางนี้ จะอบรมดว ยคําบริกรรมอยางที่กลา วมาแลว น้ัน ไม
สามารถทจ่ี ะยังจติ ใหห ยงั่ ลงสคู วามสงบเปนสมาธิได ตองใชปญญาไตรต รองเหตผุ ล ตัด
ตนเหตขุ องความฟุง ซานดวยปญญา เม่อื ปญ ญาไดห วานลอ มในสง่ิ ท่จี ิตตดิ ของนัน้ ไว

ปัญญา-อ๗บรม- สมาธิ

แว-่นด๘วง-ใจ



ไดเ ปน ลําดับ สําหรบั ผกู ลา ตอ เหตุผล เพือ่ จะยังประโยชนต นใหส าํ เร็จ ยอมไดสติปญญา
จากนมิ ิตนัน้ ๆเสมอไป

แตผขู ้ีขลาดหวาดกลัวอาจจะทาํ ใจใหเ สยี เพราะสมาธิประเภทนี้มีจาํ นวนมาก
เพราะเรอื่ งที่นากลัวมมี าก เชน ปรากฏมีคน รปู รา ง สสี นั วรรณะ นา กลวั ทาํ ทา จะ
ฆาฟน หรือจะกินเปนอาหาร อยางนี้เปน ตน แตถา เปน ผกู ลา หาญตอ เหตุการณแลว ก็
ไมมคี วามเสยี หายอะไรเกิดข้นึ ยง่ิ จะไดอุบายเพม่ิ ข้นึ จากนิมิตหรอื สมาธปิ ระเภทนเ้ี สยี อีก
สาํ หรบั ผมู ักกลัว ปกติกแ็ สห าเรอ่ื งกลวั อยแู ลว ยง่ิ ปรากฏนิมติ ทีน่ ากลวั กย็ ง่ิ ไปใหญ ดีไม
ดอี าจจะเปนบา ขนึ้ ในขณะนน้ั กไ็ ด

สวนนมิ ิตนอกทผี่ า นมา จะรูหรอื ไมว า เปนนมิ ติ นอก หรือนิมิตเกดิ กบั ตวั น้นั ตอง
ผา นนิมติ ใน ซงึ่ เกดิ กบั ตวั ไปจนชาํ นาญแลว จงึ จะสามารถรไู ด นมิ ิตนอกนนั้ เปน เร่ืองที่
เกย่ี วกับเหตุการณตางๆ ของคนหรอื สัตว เปรต ภูตผี เทวบตุ ร เทวดา อินทร พรหม
ที่มาเก่ียวของกบั สมาธิในเวลานน้ั เชน เดยี วกบั เราสนทนากนั กับแขกทม่ี าเยีย่ ม เรอ่ื ง
ปรากฏข้ึนจะนานหรอื ไมนนั้ แลวแตเ หตกุ ารณจ ะยตุ ลิ งเม่ือใด บางครงั้ เรอ่ื งหนง่ึ จบลง
เร่ืองอื่นแฝงเขามาตอ กันไปอกี ไมจบสนิ้ ลงงา ยๆ เรียกวา สน้ั บา งยาวบา ง เม่อื จบลงแลว
จิตก็ถอนขึ้นมา บางคร้งั ก็กินเวลาหลายชว่ั โมง

สมาธิประเภทน้แี มรวมนานเทา ใดก็ตาม เม่ือถอนขนึ้ มาแลว ก็ไมมีกําลังเพม่ิ สมาธิ
ใหแ นน หนา และไมมีกําลงั หนุนปญญาไดด ว ย เหมือนคนนอนหลบั แลวฝน ไป ธาตุขันธ
ยอ มไมม กี ําลงั เต็มที่ สว นสมาธิท่ีรวมลงแลวอยูกับที่ พอถอนขึ้นมาปรากฏเปนกาํ ลงั
หนุนสมาธใิ หแนน หนา เชนเดียวกบั คนนอนหลบั สนิทดีไมฝน พอตนื่ ข้นึ ธาตุขนั ธรสู ึกมี
กาํ ลังดี ฉะน้ันสมาธปิ ระเภทนี้ ถายงั ไมชํานาญ และรอบคอบดวยปญ ญา ก็ทําใหเสียคน
เชน เปนบาไปได โดยมากนักภาวนาท่เี ขาเลาลอื กันวา “ธรรมแตก” นน้ั เปนเพราะสมาธิ
ประเภทน้ี แตเมอื่ รอบคอบดแี ลว กเ็ ปน ประโยชนเ กยี่ วกบั เหตุการณไ ดดี

สวนอคุ คหนมิ ิตท่ปี รากฏขึน้ จากจิตตามที่ไดอ ธิบายไวขา งตน นั้น เปนนิมิตทคี่ วร
แกการปฏภิ าคในหลกั ภาวนา ของผูตอ งการอบุ ายแยบคายดว ยปญญาโดยแท เพราะเปน
นมิ ิตทีเ่ กีย่ วกบั อรยิ สจั นิมิตอนั หลงั ตอ งนอมเขาหา จงึ จะเปนอริยสัจไดบา ง แตท ง้ั นมิ ติ
เกดิ กับตน และนมิ ติ ผา นมาจากภายนอก ถาเปนคนขลาดกอ็ าจเสยี ไดเ หมอื นกัน สาํ คัญ
อยทู ป่ี ญ ญาและความกลา หาญตอ เหตุการณ ผูมปี ญญาจึงไมป ระมาทสมาธิประเภทน้โี ดย
ถายเดยี ว เชน งเู ปนตัวอสรพิษ เขานํามาเลี้ยงไวเพอ่ื ถอื เอาประโยชนจากงกู ย็ งั ได วิธี
ปฏบิ ตั ใิ นนมิ ิตทงั้ สองซึง่ เกดิ จากสมาธิประเภทนี้ นมิ ติ ท่ีเกิดจากจติ ท่ีเรียกวา “ นิมิต

ปญั ญา-อบ๙รม- สมาธิ

๑๐

ใน” จงทําปฏภิ าค มีแบงแยก เปนตน ตามทไี่ ดอ ธิบายไวขา งตน แลว นมิ ติ ที่ผา นมา
อันเก่ียวแกค นหรือสัตว เปนตน ถาสมาธยิ ังไมชํานาญ จงงดไวกอ นอยาดวนสนใจ เม่อื
สมาธชิ าํ นาญแลว จึงปลอ ยจิตออกรตู ามเหตกุ ารณป รากฏ จะเปน ประโยชนที่เก่ียวกบั
เรอ่ื งราวในอดตี อนาคตไมน อยเลย สมาธปิ ระเภทน้ีเปน สมาธิท่ีแปลกมาก อยา ดว น
เพลิดเพลนิ และเสียใจในสมาธปิ ระเภทนีโ้ ดยถา ยเดียว จงทาํ ใจใหก ลา หาญขณะที่นมิ ิต
นานาประการเกดิ ข้ึนจากสมาธปิ ระเภทน้ี เบอื้ งตนใหนอมลงสูไตรลกั ษณ ขณะนมิ ิต
ปรากฏข้นึ จะไมท ําใหเสยี

แตพ งึ ทราบวา สมาธิประเภทมนี มิ ิตนไี้ มมที กุ รายไป รายทไ่ี มมกี ็คือเม่อื จิตสงบ
แลว รวมอยกู ับท่ี จะรวมนานเทาไร กไ็ มคอ ยมนี ิมิตมาปรากฏ หรือจะเรยี กงาย ๆ กค็ ือ
รายทป่ี ญญาอบรมสมาธิ แมสงบรวมลงแลวจะอยูนานหรือไมนานกต็ ามกไ็ มมนี มิ ติ
เพราะเกย่ี วกับปญญาแฝงอยูกบั องคส มาธนิ ้นั สว นรายท่ีสมาธิอบรมปญญา มักจะ
ปรากฏนิมิตแทบทุกรายไป เพราะจิตประเภทนร้ี วมลงอยางเรว็ ท่สี ุด เหมอื นคนตกบอ
ตกเหวไมค อยระวังตัว ลงรวดเดยี วก็ถงึ ท่ีพกั ของจติ แลว ก็ถอนออกมารเู หตกุ ารณต า งๆ
จงึ ปรากฏเปนนมิ ติ ขึ้นมาในขณะนน้ั และกเ็ ปนนิสยั ของจิตประเภทนี้แทบทกุ รายไป แต
จะเปน สมาธปิ ระเภทใดกต็ าม ปญญาเปน ส่ิงสาํ คัญประจาํ สมาธปิ ระเภทน้ันๆ เมื่อถอน
ออกมาแลว จงไตรตรองธาตุขนั ธด ว ยปญ ญา เพราะปญ ญากบั สมาธเิ ปน ธรรมคูเ คยี งกัน
จะแยกจากกนั ไมได ถา สมาธไิ มก า วหนา ตองใชป ญญาหนนุ หลงั ขอยตุ เิ ร่อื งอปุ จารสมาธิ
แตเ พยี งเทา นี้

อปั ปนาสมาธิ เปน สมาธทิ ี่ละเอยี ดและแนนหนาม่นั คง ทง้ั รวมอยไู ดน าน จะให
รวมอยหู รือถอนขึน้ มาไดตามตองการ สมาธทิ ุกประเภทพงึ ทราบวา เปน เคร่ืองหนนุ
ปญญาไดตามกําลังของตน คอื สมาธิอยา งหยาบ อยางกลาง และอยางละเอียด ก็
หนนุ ปญญาอยา งหยาบ อยา งกลาง และอยางละเอยี ดเปนช้ัน ๆ ไป แลวแตผ ูมีปญญา
จะนําออกใช แตโดยมากจะเปน สมาธปิ ระเภทใดก็ตามปรากฏขึน้ ผภู าวนามักจะตดิ
เพราะเปนความสขุ ในขณะทจ่ี ิตรวมลงและพกั อยู การท่จี ะเรยี กวาจิตตดิ สมาธิ หรอื
ตดิ ความสงบไดนน้ั ไมเปนปญหา ในขณะทีจ่ ิตพกั รวมอยู จะพกั อยูนานเทา ไรก็ไดต าม
ขั้นของสมาธิ ทสี่ าํ คญั กค็ อื เม่ือจติ ถอนขนึ้ มาแลวยังอาลยั ในความพักของจติ ทั้ง ๆ ที่
ตนมคี วามสงบพอที่จะใชป ญ ญาไตรต รอง และมคี วามสงบจนพอตวั ซ่ึงควรจะใชป ญ ญา
ไดอ ยางเตม็ ทแี่ ลว แตย ังพยายามทีจ่ ะอยูในความสงบไมส นใจในปญญาเลย อยา งนี้
เรียกวา ตดิ สมาธถิ อนตัวไมขึ้น

แว-น่ ๑ด๐วง-ใจ

๑๒

การท่ีจิตใชกลอ ง คอื ปญญา ทอ งเทยี่ วในเมอื ง “กายนคร” ยอมเห็น “กาย

นคร” ของตน และ “กายนคร” ของคนและสัตวท ่วั ไปไดชัด ตลอดจนทางสามแพรง
คอื ไตรลักษณ อนจิ จฺ ํ ทุกฺขํ อนตฺตา อแาลปกญั ะาญทร-าขาอ๑บงอ๑รสมง-ส่ีแกมพาาธยริ ทง กุ สควือน ธาตสุ ี่ ดิน นํา้ ลม ไฟ ท่วั
ทัง้ ตรอกของทางสายตาง ๆ คือ พรอมทั้งหอ งนํ้า ครวั ไฟ

(สวนขา งในของรางกาย) แหง เมืองกายนคร จัดเปน โลกวิทู ความเห็นแจงในกายนคร

การที่จิตใชกลอ ง คอื ปญญา ทองเท่ียวในเมอื ง “กายนคร” ยอมเหน็ “กาย
นคร” ของตน และ “กายนคร” ของคนและสัตวท ่ัวไปไดชดั ตลอดจนทางสามแพรง
คอื ไตรลักษณ อนจิ ฺจํ ทุกฺขํ อนตฺตา และทางสี่แพรง คอื ธาตุส่ี ดิน นํา้ ลม ไฟ ทวั่
ท้งั ตรอกของทางสายตา ง ๆ คือ อาการของกายทกุ สว น พรอ มท้ังหอ งน้าํ ครวั ไฟ
(สวนขา งในของรา งกาย) แหงเมืองกายนคร จัดเปน โลกวทิ ู ความเห็นแจงในกายนคร
ท่ัวท้ังไตรโลกธาตกุ ็ไดด ว ย ยถาภตู ญาณทัสสนะ ความเหน็ ตามเปนจริงในกายทุกสวน
หมดความสงสยั ในเร่อื งของกายทเ่ี รียกวา รปู ธรรม

ตอ ไปนี้จะอธบิ ายวิปส สนาเก่ยี วกบั นามธรรม คือ เวทนา สัญญา สังขาร และ
วิญญาณ นามธรรมทั้งส่ีน้ี เปน สวนหนงึ่ ของขนั ธหา แตล ะเอียดไปกวารูปขนั ธ คอื กาย
ไมสามารถมองเห็นดวยตา แตรูไดทางใจ เวทนา คือ ส่งิ ที่จะตอ งเสวยทางใจ สุขบาง
ทุกขบา ง เฉย ๆ บา ง สญั ญา คือ ความจํา เชน จําชอื่ จาํ เสียง จาํ วัตถสุ ิง่ ของ จาํ บาลี
คาถา เปน ตน สงั ขาร คอื ความคดิ ความปรุง เชน คิดดี คิดชว่ั คิดกลางๆ ไมดี ไม
ช่ัว หรอื ปรงุ อดีตอนาคต เปน ตน และ วิญญาณ ความรบั รู คอื รบั รู รปู เสยี ง กลิน่
รส เครอ่ื งสมั ผสั และธรรมารมณ ในขณะที่สง่ิ เหลา นม้ี ากระทบ ตา หู จมูก ล้ิน กาย
และใจ นามธรรมทง้ั สนี่ ี้ เปน อาการของใจ ออกมาจากใจ รไู ดท ใ่ี จ และเปนมายาของ
ใจดว ย ถา ใจยงั ไมร อบคอบ จงึ จดั วา เปนเครอื่ งปกปด ความจรงิ ไดด ว ย

การพจิ ารณานามธรรมท้งั สี่ ตอ งพจิ ารณาดวยปญ ญา โดยทางไตรลกั ษณลว นๆ
เพราะขันธเ หลา นม้ี ไี ตรลักษณประจาํ ตนทุกอาการท่เี คลื่อนไหว แตว ิธีพจิ ารณาในขนั ธ
ทง้ั สีน่ ้ี ตามแตจ ริตจะชอบในขนั ธใด ไตรลักษณใด หรือทัว่ ไปในขันธ และไตรลักษณ
นน้ั ๆ จงพิจารณาตามจริตชอบในขนั ธและไตรลกั ษณน้นั ๆ เพราะขันธแ ละไตรลกั ษณ
หนงึ่ ๆ เปนธรรมเกีย่ วโยงถึงกนั จะพจิ ารณาเพียงขันธหรอื ไตรลกั ษณเ ดยี วกเ็ ปนเหตใุ ห
ความเขา ใจหยงั่ ทราบไปในขนั ธและไตรลักษณอ่นื ๆ ไดโ ดยสมบรู ณ เชน เดียวกบั
พจิ ารณาไปพรอม ๆ กัน เพราะขันธและไตรลักษณเหลานี้มีอรยิ สัจเปน รั้วก้นั เขตแดนรบั
รองไวแลว เชน เดยี วกับการรบั ประทานอาหารลงในทแี่ หง เดียว ยอมซึมซาบไปท่ัวอวยั วะ
นอ ยใหญของรางกาย ซึง่ เปนสวนใหญร บั รองไวแลว ฉะนัน้

เพราะฉะน้ันผปู ฏิบตั ิจงตัง้ สติและปญ ญาใหเขา ใกลชิดตอนามธรรม คือ ขันธสนี่ ้ี
ทุกขณะที่ขนั ธน ้นั ๆ เคล่ือนไหว คอื ปรากฏข้ึน ตั้งอยู และดบั ไป และไมเท่ยี ง เปน
ทุกข เปนอนตั ตาประจําตน ไมม เี วลาหยดุ ย้ังตามความจริงของเขา ซ่ึงแสดงหรอื
ประกาศตนอยอู ยางนี้ ไมม ีเวลาสงบแมแ ตขณะเดยี ว ทงั้ ภายใน ท้งั ภายนอก ท่วั โลกธาตุ

แว- ่น๑ด๒วง-ใจ

ประกาศเปน เสยี งเดียวกนั คือ ไมเ ท่ยี ง เปนทุกข เปนอนตั ตา ปฏิเสธความหวังของสตั ว
พูดงา ยๆ กค็ อื ธรรมทง้ั นี้ไมม เี จาของ ประกาศตนอยูอ ยางอสิ รเสรีตลอดกาล ใครหลง
ไปยดึ เขา ก็พบแตค วามทกุ ขดวยความเหย่ี วแหงใจตรอมใจ หนกั เขา กินอยหู ลับนอนไม

ได นํ้าตาไหลจนจะกลายเปนแมนา้ํ ลาํ คลองไหลนองตลอดเวลา และตลอดอนันตกาลที่
สัตวย งั หลงขอ งอยู ชี้ใหเหน็ งา ยๆ ขนั ธท ้ังหาเปน บอหลง่ั นา้ํ ตาของสัตวผ ลู ุมหลงนนั่ เอง
การพิจารณาใหร ูดว ยปญญาชอบในขันธแ ละสภาวธรรมทงั้ หลาย ก็เพ่ือจะประหยัดน้ําตา
และตัดภพชาตใิ หนอยลง หรอื ใหข าดกระเดน็ ออกจากใจผูเปนเจาทกุ ข ใหไดร ับสุขอยาง

สมบูรณน ัน่ เอง
สภาวธรรมมีขันธเปนตนนี้ จะเปน พษิ สาํ หรับผูย ังลมุ หลง สวนผูรูเ ทา ทนั ขันธแ ละ
สภาวธรรมทงั้ ปวงแลว สิ่งทง้ั นี้จะสามารถทาํ พิษอะไรได และทานยงั ถือเอาประโยชนจ าก
สงิ่ เหลา น้ีไดเ ทาท่ีควร เชน เดยี วกับขวากหนามทม่ี อี ยูทัว่ ไป ใครไมรไู ปโดนเขา ก็เปน

อันตราย แตถ า รวู าเปนหนามแลวนาํ ไปทํารวั้ บา นหรือกน้ั สิ่งปลกู สราง กไ็ ดร บั ประโยชน
เทา ท่ีควรฉะนน้ั เพราะฉะนัน้ ผูปฏบิ ตั ิ จงทําความแยบคายในขนั ธและสภาวธรรมดว ยดี
ส่ิงท้ังน้เี กิดดบั อยูกับจิตทุกขณะ จงตามรคู วามเปน ไปของเขาดวยปญญาวาอยางไรจะ
รอบคอบและรเู ทา นัน้ จงถอื เปนภาระสาํ คัญประจาํ อริ ิยาบถ อยาไดป ระมาทนอนใจ

ธรรมเทศนาทีแ่ สดงขนึ้ จากขันธแ ละสภาวธรรมท่วั ไปในระยะน้ี จะปรากฏทางสติ
ปญ ญาไมม เี วลาจบสิ้น และเทศนไมม ีจาํ นนทางสํานวนโวหาร ประกาศเรื่องไตรลักษณ
ประจําตลอดเวลา ทง้ั กลางวนั กลางคนื ยนื เดิน นั่ง นอน ทง้ั เปนระยะท่ีปญ ญาของเรา
ควรแกก ารฟง แลว เหมอื นเราไดไตรตรองตามธรรมเทศนาของพระธรรมกถกึ อยางสุดซ้งึ
นั่นเอง ข้นั นนี้ ักปฏบิ ัติจะรูสกึ วา เพลิดเพลินเตม็ ท่ี ในการคนคดิ ตามความจรงิ ของขันธ

และสภาวธรรมทป่ี ระกาศความจรงิ ประจําตน แทบไมมีเวลาหลบั นอน เพราะอาํ นาจ
ความเพยี รในหลกั ธรรมชาติ ไมขาดวรรคขาดตอนโดยทางปญ ญา สบื ตอในขันธห รือ
สภาวธรรมซ่ึงเปนหลักธรรมชาติเชน เดยี วกัน กจ็ ะพบความจรงิ จากขนั ธและสภาวธรรม
ประจักษใ จข้นึ มาดวยปญ ญาวา แมข นั ธทั้งมวลและสภาวธรรมทว่ั ไปตลอดไตรโลกธาตุ

กเ็ ปนธรรมชาติธรรมดาของเขาอยางนน้ั ไมป รากฏวาสง่ิ เหลา น้เี ปนกิเลสตณั หาตามโมห
นิยมแตอ ยางใด
อุปมาเปน หลกั เทียบเคียง เชน ของกลางทีโ่ จรลกั ไปก็พลอยเปน เรือ่ งราวไปตาม
โจร แตเ มือ่ เจาหนา ทีไ่ ดส ืบสวนสอบสวนดูถว นถี่ จนไดพ ยานหลกั ฐานเปน ที่พอใจแล๑๔ว
ของกลางจบั ไดก ็สงคืนเจา ของเดมิ หรือเกบ็ ไวในสถานที่ควรไมม ีโทษแตอยางใด เจา
หนาท่ีกม็ ไิ ดติดใจในของกลาง ปญหาเรือ่ งโทษก็ขน้ึ อยูก บั โจร เจา หนา ที่จะตองเกี่ยว
ของกับโจรและจบั ตัวไปสอบสวนตามกฎหมาย เมอื่ ไดค วามตามพยานหลกั ฐานถกู ตอ ง
ตามกฎหมายวาเปนความจริงแลว ก็ลงโทษผูตอ งหาตามกฎหมายและปลอ ยตวั ผูไ มม ี

ความผิดและไมมสี วนเกีย่ วของออกไปเปน อิสรเสรตี ามเดมิ ฉนั ใด เรอ่ื งอวิชชาจิตกบั
สภาวธรรมท้ังหลายก็ฉันนัน้ ปัญญ-าอ๑บ๓รม-สมาธิ

ขันธและสภาวธรรมท่วั ท้ังไตรโลกธาตุ ไมม คี วามผิดและเปน กิเลสบาปธรรมแต

ขอ งกบั โจรและจับตวั ไปสอบสวนตามกฎหมาย เมอื่ ไดค วามตามพยานหลกั ฐานถูกตอง
ตามกฎหมายวา เปน ความจรงิ แลว กล็ งโทษผตู องหาตามกฎหมายและปลอ ยตัวผูไมม ี

ความผดิ และไมม สี ว นเกยี่ วขอ งออกไปเปนอิสรเสรตี ามเดิมฉันใด เรือ่ งอวชิ ชาจติ กับ
สภาวธรรมทง้ั หลายกฉ็ ันนัน้
ขนั ธแ ละสภาวธรรมท่ัวทง้ั ไตรโลกธาตุ ไมมีความผิดและเปน กิเลสบาปธรรมแต
อยา งใด แตพลอยเปน เร่อื งไปดว ย เพราะจติ ผูฝง อยูใ ตอาํ นาจของอวชิ ชา ไมร ูต ัววา

อวชิ ชาคือใคร อวชิ ชากบั จิตจึงกลมกลนื เปนอนั เดียวกนั เปนจติ หลงไปท้ังดวง เทย่ี วกอ
เร่ืองรัก เร่ืองชัง ฝงไวต ามธาตขุ ันธ คอื ตามรปู เสยี ง กล่นิ รส เครือ่ งสมั ผสั ตามตา
หู จมกู ลน้ิ กาย และใจ และฝง รักฝงชังไวต ามรปู เวทนา สญั ญา สงั ขาร วิญญาณ
ตลอดไตรโลกธาตุ เปน สภาวะที่ถกู จับจองและรักชงั ยึดถอื จากใจดวงลุมหลงน้ีทง้ั สน้ิ

เพราะอํานาจความจับจองยึดถอื เปนเหตุ ใจอวชิ ชาดวงนี้จงึ เทยี่ วเกิด แก เจ็บ ตาย หมุน
เวียนไปไดท กุ กาํ เนิด ไมว าสูง ตํา่ ดี ชวั่ ในภพทัง้ สามน้ี
แมจ ะแยกกําเนิดของสตั วท ีต่ า งกันในภพนน้ั ๆ ไวมากเทา ไร ใจดวงอวิชชานี้
สามารถจะไปถือเอากําเนิดในภพน้นั ๆ ไดต ามแตป จจัยเคร่อื งหนุนของจติ ดวงนี้ มีกําลงั

มากนอยและดีชัว่ เทาไร ใจดวงนต้ี องไปเกดิ ไดต ามโอกาสท่ีจะอาํ นวย ตามสภาวะทงั้
หลายที่ใจดวงน้ีมคี วามเก่ยี วของ จึงกลายเปน เรื่องผดิ จากความจริงของตนไปโดยลาํ ดับ
เพราะอํานาจอวชิ ชาอันเดยี วเทาน้ี จึงกอ เหตุรายปา ยสีไปทัว่ ไตรโลกธาตใุ หแปรสภาพ
คือ ธาตุลว นๆ ของเดมิ ไปเปนสตั ว เปนบุคคล และเปนความเกดิ แก เจ็บ ตาย ตาม

โมหะ (อวชิ ชา) นิยม เมื่อทราบชดั ดวยปญญาวา ขันธห า และสภาวธรรมทั้งหลาย ไม

ใชต ัวเร่ืองและตวั กอเรอื่ ง เปน แตพ ลอยมเี รอื่ ง เพราะอวชิ ชาเปนผเู รืองอาํ นาจ บนั ดาล
ใหสภาวะท้งั หลายเปนไปไดตามอยางนแ้ี ลว ปญญาจึงตามคนลงทต่ี น ตอ คือจิตดวงรู

อันเปนบอ เกิดของเร่ืองท้ังหลายอยา งไมหยดุ ยง้ั ตลอดอริ ิยาบถ คอื ยนื เดนิ นั่ง นอน
โดยความไมว างใจในความรูอ นั น้ี
เม่ือสตปิ ญ ญาท่ีไดฝกซอ มเปนเวลานานจนมีความสามารถเต็มท่ี ไดแ ผวงลอ ม
และฟาดฟนเขา ไปตรงจุดใหญ คือ ผูรูท่เี ตม็ ไปดว ยอวิชชาอยางไมรีรอ ตอ ยทุ ธก ันทาง
ปญญา เม่ืออวิชชาทนตอดาบเพชร คือสตปิ ญญาไมไหวก็ทลายลงจากจิตทเ่ี ปนแทน

บลั ลังกอ นั ประเสรฐิ ของอวิชชามาแตก าลไหนๆ เเพมยีอ่ื งอขวณชิ ชะาเดไดยี ถวเูกททาํานล้นั ายตคายวลามงไจปรแงิ ๑ทล๕วั้ง
ดว ยอํานาจ “มรรคญาณ” ซึง่ เปนอาวุธทันสมัย

หลายท่ีไดถูกอวิชชากดขีบ่ ังคับเอาไวน านเปน แสนกัปนับไมถ ว น กไ็ ดถกู เปด เผยขน้ึ มา
เปนของกลาง คอื เปน ความจรงิ ลว นๆ ท้งั สน้ิ ธรรมท่ไี มเคยรไู ดป รากฏข้ึนมาในวาระสดุ

ทา ย “ยถาภูตญาณทสั สนะ” เปนความรเู ห็นตามเปน จริงในสภาวธรรมทัง้ หลายอยาง

เปดเผย ไมมอี ะไรปดบงั แมแ ตน อ ย
นิพพานเจมะอ่ื ทอนวติชอชาคเวจาา มผเปู ปกดคเผรอยงขนอคงผรวูทฏั าํ จฏระแิง-วตน่ ๑าด๔รวยจูง-ไใรจปงิ แลเหว น็ดวจยรงิอไาปวไุธมไคดือ ปญ ญาญาณ พระ
แมสภาวธรรมทงั้
หลาย นบั แตขันธหา อายตนะภายใน ภายนอก ทว่ั ทงั้ ไตรโลกธาตุ ก็ไดเปนธรรมเปดเผย

๑๖

ยังไมเ กดิ จงเหน็ วาพระองคส อนคนเปน คือยังมีชีวติ อยู เชน พวกเราทัง้ หลาย สมกับ
พระพทุ ธศาสนาเปนปจ จุบันทนั สมยั ตลอดกาล

ขอความสวสั ดมี งคล จงมีแดทานผูอานผูฟ งทง้ั หลายโดยทัว่ หนา กันเถดิ ฯ

www.Luangta.or.th

ปัญญ-าอ๑บ๕รม-สมาธิ



อธภบรารรมมคเฆทศร๑นาาวาส

กณั ฑท์ ี่ ๑ ๑

เทเทเศมศนื่อเนมอว์อ่ือนับบวรทรนั มม่ีท๒ฆฆี่ทร๕๒ราาา๕วมวนาามนีสสนีาศทณคาณคมีลามวอนพัดรพภอทุุณุทราธธณุรวศศงั รษกันักังรรษี าจาาี ชช.จห.ห๒๒นน๕๕ออ๐ง๐ง๔ค๔คาายย

นโม ตสสฺ ภควโต อรหโต สมมฺ าสมฺพทุ ธฺ สฺส
ทานํ เทติ สลี ํ รกฺขติ ภาวนํ ภาเวตวฺ า เอกจโฺ จ สคฺคํ คจฺฉติ
เอกจฺโจ โมกฺขํ คจฺฉติ นสิ สฺ สํ ยนฺติ
วันนี้เปน วนั อดุ มมงคลของทานพุทธบริษทั ทีอ่ ุตสาหม าจากสถานทตี่ า ง ๆ ดว ย
ศรทั ธาความเช่อื ปสาทะความเลอื่ มใสในพระพุทธศาสนา ไดอ าราธนาพระสงฆมาจาก
อารามตาง ๆ มพี ระเดชพระคณุ ทา นเจา คุณพระธรรมเจดียเปนประธานในงานน้ี เนอ่ื งดว ย
คณะเจา ภาพพรอ มกนั ขวนขวายกอสรางสถานทนี่ ี้ใหป รากฏเปน วดั ขึน้ มา โดยมีโบสถ
ศาลา กุฎี และถงั นํา้ ลวนแตส ิ่งมรี าคามากและตั้งเรยี งรายท่วั ทง้ั วัด จนกลายเปนสถานท่ี
สาํ คัญอนั ควรเคารพบชู าขึน้ มา ปรากฏเปนที่อยูอ าศยั ของทา นผมู ศี ลี มธี รรมจะไดพกั เพื่อ
บาํ เพ็ญสมณธรรมโดยสะดวก ทัง้ นเ้ี ปน เคร่ืองแสดงความสําคัญของทา นผมู ศี รทั ธาอนั แรง
กลา ตางเสยี สละทรัพยอ ันมีคา ของตนออกเปน ทานโดยความพรอมเพรยี ง ผลจึงปรากฏ
เปน ทีพ่ งึ พอใจทงั้ แกตนและประชาชนทั่ว ๆ ไป ตลอดพระสงฆในวัดและนอกวัดทมี่ า
อนุโมทนาในงานน้ี ซึง่ คณะเจา ภาพจัดใหม กี ารฉลองขนึ้ ในวันน้ี บดั นตี้ างมศี รัทธาต้ังจิตมงุ
ตอการฟง ธรรม เพอ่ื ใหส ําเรจ็ เปนธรรมสวนามยั อานิสงส ตรงกับหลักธรรม ๕ ประการทผี่ ู
ฟงจะไดรับในขณะนั้น คือ
๑. จะไดฟง สง่ิ ท่ยี ังไมเ คยไดฟง

๒. สง่ิ ทฟ่ี ง แลว แตยงั ไมเ ขา ใจชัด จะเขาใจชดั

๓. จะบรรเทาความสงสยั ซ่ึงเคยมอี ยใู นใจเสยี ได

๔. จะทาํ ความเห็นใหถกู ตอ งได

๕. จติ ของผฟู ง ธรรมจะไดร ับความผองใส
ทงั้ ๕ ประการน้ี คอื ธรรมสมบตั ิของทา นผฟู ง ดว ยความสนใจ ดงั นัน้ คร้ังองค
สมเดจ็ พระผมู ีพระภาคทรงแสดง พุทธบรษิ ทั ผนู ัง่ ฟง ในลกั ษณะนี้ จึงปรากฏผลเปนลําดบั
นบั แตธรรมขัน้ ตํ่าจนถงึ ธรรมข้นั สูงสดุ แมผูหลดุ พนจากทกุ ขท างใจ กลายเปนพระ
อรยิ บคุ คลอยางเตม็ ภมู ิ เพราะการฟง กม็ จี าํ นวนไมน อย เพราะฉะนัน้ การฟงธรรมจึงถือ

แวนดวงใจ แวน่ ดวงใจ : ภ-า๑๑ค๘๑-อบรมฆราวาส



เปนกิจสาํ คัญทางพระพทุ ธศาสนา ไมด อยกวา ภาคปฏบิ ัติอ่นื ๆ ที่ผูเปน พุทธศาสนกิ ชนจะ
พึงบําเพ็ญ

บดั นจ้ี ะเร่ิมพระธรรมเทศนา โดยปรารภกจิ การของทา นท้ังหลายเปนแนวทางแหง
ธรรม เพราะเปนกิจทใี่ หญโ ตมาก ไมอาจจะใหส าํ เรจ็ ลงไดโ ดยลาํ พงั ของศรทั ธาเพยี งคน
เดียว จาํ ตองอาศัยกาํ ลังศรทั ธามากทา นดว ยกัน ท้ังน้ไี มว าทางโลกทางธรรม หากเปน กจิ ท่ี
เหลอื กาํ ลังของบุคคลคนเดียวแลว ตองอาศยั ความสามคั คจี ากสวนรวม กจิ น้นั ยอมสาํ เรจ็
ลงได ไมน อกเหนอื ความสามัคคีอนั เปน กําลังใหญไ ปได ดังสิง่ กอ สรางภายในวดั อรุณรังษี
เปน ตน ซ่ึงอาศยั กําลังความสามัคคีแหง ศรัทธาของผูใจบญุ ท้ังหลาย ทั้งใกลแ ละไกลชวย
กนั สง เสรมิ ยอมสาํ เรจ็ ขน้ึ มาไดอ ยา งภาคภมู ใิ จ นอกจากนน้ั ยังพรอ มใจกนั ทําการฉลองกิจ
การนี้ ซงึ่ จําตอ งสละปจ จัยไทยทานเปนจํานวนไมน อยอีกเชนเดยี วกนั นับวาทานทง้ั หลายมี
วสิ ารทศรัทธา คอื ศรัทธาแกลวกลา ในพระศาสนา โดยไมเ หน็ แกค วามลําบากและส้ิน
เปลืองใด ๆ แตเ หน็ ประโยชนทพ่ี งึ จะไดท้งั แกต นและสวนรวมเปน สําคัญ ตางทา นจึงชว ย
กันขวนขวายเพ่อื ใหก จิ ธุระนเ้ี ปนไปดว ยดี และสําเร็จลงดวยความเรยี บรอยและสมบรู ณ จงึ
เปน ทน่ี าอนโุ มทนาเปนอยางยิ่ง

ถา องคสมเด็จพระผมู พี ระภาคเจาของพวกเรายงั ทรงพระชนมอ ยู และทรงทอดพระ
เนตรกิจการมหากศุ ลซ่ึงสาธชุ นผใู จบญุ ท้งั หลาย กาํ ลงั บาํ เพ็ญใหเปน ไปอยูดว ยความพรอม
เพรียงเชน น้ี จะทรงอนุโมทนาสาธกุ ารดวยอยางพอพระทัย แตท ั้งนี้เพราะขันธปญจกะ คือ
พระกายไมวา ของพระองคท า นและของสาวกตลอดของเราและสตั ว ยอ มมคี วามแปรปรวน
ประจาํ ตนไมเลอื กสถานที่ กาล บุคคล คงดําเนินไปตามเสนทางคติธรรมดา ไมมีวนั และ
เวลายบั ยง้ั ผูมปี ญ ญาพจิ ารณาเหน็ เหตุอันเปนเชน เดยี วกบั ทางหลวงซงึ่ เตม็ ไปดวยอํานาจ
ราชศกั ดิ์ ไมมีใครจะสามารถคดั คา นตา นทานไดเชน นี้แลว จงึ รบี เรง ดัดแปลงตนเองใหท ัน
กับเหตกุ ารณ ซึ่งกาํ ลงั เปนไปอยใู นสตั วและสังขารไมว าทานและเรา ไมใหเ สยี เวลาไปเปลา
โดยปราศจากประโยชน

เพราะมาพจิ ารณาเห็นสงั ขารผูกําลงั ถูกไฟ คอื ชรา พยาธิ มรณะ ไหมรมุ ลอมอยูท้ัง
วันทัง้ คนื ยืน เดิน น่ัง นอน หมดหนทางท่ีจะกน้ั กางหวงหา มไวไ ด จงึ รบี เรง ขนทรพั ย
สมบตั ิ คือบุญกศุ ลที่ควรจะไดจ ากรา งกายออกเสียแตตนมอื ทย่ี งั ไมถ ูกไฟไหมเปนจณุ วจิ ุณ
ไปเสียกอ น เผอื่ จะไดอ าศัยสมบตั ิเหลา น้เี ปน ตนทนุ เพื่อหมนุ ตัวในภพชาตติ อไป จะไดไม
เปน ผูขดั สนจนทรพั ยในคตภิ ูมิที่ตนอุบตั นิ นั้ ๆ ทั้งจะเปนผูสมหวังในสิ่งท้งั ปวงทต่ี น
ปรารถนา เพราะอาํ นาจปญ ญาเปนเคร่อื งสอ งทางใหเ หน็ แดนแหง ความสมหวงั ไปเปน

แวนดวงใจ ๒

กณั ฑ์เทศน์ท่ี ๑- ๑: ๙ทา-น ศีล ภาวนา



ลําดบั แมทานคณะศรัทธาทก่ี ําลงั บาํ เพ็ญอยเู วลานี้ ก็เพราะอํานาจปญ ญาประเภทที่กลา ว
แลว สามารถใหม องเหน็ จุดดอยของรา งกาย อันเปน ที่ตงั้ แหง ความไมประมาทนอนใจ จึง
พากันรบี เรงขวนขวายสรางคุณงามความดเี พื่อเปนที่พ่งึ ของตน จะไมม คี วามเดือดรอนใน
ภายหลงั

แมร างกายจะแตกสลายลงไปตามกาล แตใ จผูไมมปี า ชา เพราะความไมตายเหมือน
สภาพเหลา นน้ั ยอมอาศยั กศุ ลผลบญุ ท่สี ง่ั สมไวเ ปนเสบยี งตอไปในภพนนั้ ๆ จนกวาจะ
ขา มพนไปไดเ สียจรงิ ๆ ไมพึ่งพิงสิ่งใด หากยงั ไมส ามารถเปนไดเชนนัน้ เพราะยงั ไมสนิ้ ไป
แหง กรรมภายในใจ ยงั จาํ ตอ งมาสภู พชาตติ อ ไปอกี ยอ มจะมาดว ยอํานาจกรรมดีพามา พา
อยู และพาไป สิ่งอาศัยในภพนัน้ ๆ จะเปน เครือ่ งบํารงุ บาํ เรอใหม คี วามสขุ กายสบายใจ นกึ
ส่ิงใดยอมมีมาสนองความตองการ ไมอดอยากขาดแคลน สมบตั ทิ กุ ประเภท เชน ลกู หญิง
ลกู ชาย สามี ภรรยา เปนตน ทก่ี า วเขามาสอู อมอกตกเปน ของเรา ยอมเปนที่พึงพอใจ

เพราะสมบตั อิ ันมีคุณคานา พึงใจยอมเกิดขึน้ จากสาเหตอุ ันดี ของชั่วยอมเกิดจาก
สาเหตอุ นั ชั่ว เมื่อทาํ ลงไปแลว ผลจาํ ตองปรากฏข้ึนตามรอยแหง เหตุ ดังนัน้ จงึ ควรเลือก
เฟน ทํากรรมดี อันเปน เสน ทางไหลมาแหง ความดีทุกประเภทไวเสียแตต นทาง ผลดจี ะไมม ี
อะไรกีดขวางไวไ ด ตอ งตามสนองผูทาํ กรรมดีโดยแนน อน เชนเดียวกบั เงาตามตวั ฉะน้ัน
แมร า งกายจะแตกดบั สลับซับซอน และนานกก่ี ปั จนนบั ไมไ ด เพราะใจดวงเดยี วเปน ผูครอง
รางนนั้ ๆ กต็ าม แตใ จซ่งึ เปน ผูส ัง่ สมและเกบ็ ไวซ่ึงบญุ และบาปน้นั เปนของไมต าย ดแี ละ
ชัว่ สุขกับทุกข จาํ ตอ งอาศัยติดแนบกบั ใจไปสูภพชาติตา ง ๆ ผลจึงปรากฏดีบาง ชว่ั บา ง
สุขบาง ทกุ ขบาง ไมเสมอกัน เพราะฉะนั้นคนและสัตวจงึ สําคัญทใี่ จกวาสง่ิ อื่น ๆ ในรางกาย

ทา นพทุ ธศาสนกิ ชนท้ังหลายไดพ ากันกอสรางบุญกุศล มไิ ดหยุดย้ังท้งั วันทัง้ คนื ก็
เพราะความฉลาดเลง็ เหน็ รา งกายวา จะตองแตกสลายโดยแนน อน และกลัววาเมือ่ ตายแลว
อาจจะเกิดผดิ พลาดความมุงหมายจากสถานท่ี และไดร ับส่งิ ที่ไมพึงปรารถนา จึงได
รบี อบรมจติ ใจใหเ ชอ่ื งชินตอกศุ ล เปน ตนวา พาใหทาน รักษาศีล และเจริญเมตตาภาวนา
หาทางปอ งกันไวเสียแตเ ม่อื ยงั มีชีวิตอยู จะเปนความเย็นใจ เพราะมีธรรมเปนเครือ่ งหลอ
เลย้ี ง เม่ือจากโลกน้ไี ปแลว ธรรมยอมตามรกั ษาใหม คี วามสขุ ย่งิ ๆ ขึ้น ชีวิตของผมู ธี รรม
ประคองรักษา ยอมเปน ชวี ิตที่สดชื่นแจมใส มีใจเยือกเย็น เปน สุขประจําตนในภพน้ัน ๆ

กบ็ ัดนี้เราทา นทง้ั หลายไดมาเกดิ ในภพชาติอนั สมบูรณดวยมนษุ ยสมบัติ จัดวาเปน
วาสนาบารมีอยา งย่งิ ทเี่ คยบําเพ็ญไวแตภ พกอ นไมนอยเลย แมเ ราจะจําไมไดกข็ อไดโ ปรด
ยึดเอาตัวเราผกู าํ ลังบาํ เพญ็ ความดอี ยขู ณะนี้วาไดบาํ เพญ็ ไวแตอ ดีต จะไมม ีใครบาํ เพ็ญ

แวนดวงใจ ๓

แวน่ ดวงใจ : ภ-า๒ค๐๑-อบรมฆราวาส



ความดจี นเต็มภมู คิ วรเปนมนุษยแลวจะกลา เสียสละตําแหนงมนุษยน้นั ใหแ กเ รา สว นเขา
ยอมทนไปตกในอบายภมู ิ อันเปนภูมขิ องสตั วผ ูอ าภัพวาสนาแทน ทกุ ทา นจึงควรภาคภูมิ
ในวาสนาของตน และพยายามกา วหนาดวยความพากเพียร ดังองคสมเดจ็ พระผูมพี ระภาค
เจา ซง่ึ ไดทรงบาํ เพ็ญเปนตวั อยา งและเปนสักขพี ยานมากอนแลว

วันน้จี ะมกี ารเทศนม หาชาติของพระพทุ ธเจา ครั้งเสวยพระชาติเปน พระเวสสนั ดร
แปลวา เปนชาตทิ ใ่ี หญย ่งิ ของพระองค ทท่ี รงกาวผานวัฏสงสารมาดวยทรงบาํ เพ็ญมหาทาน
ซ่ึงเปน ทานใหญแ ละอัศจรรย แปลวา ชาติสุดทายที่ทรงทุมเทพระกําลังลง เพือ่ พระ
สพั พัญดู ว ยความกลาหาญตอแดนพนทกุ ข และแปลวาการประมวลภพชาตซิ งึ่ เปนสมบัติ
ของพระองคท ท่ี รงทอ งเทย่ี วมาเปนเวลานาน ลงในพระชาตขิ องพระเวสสนั ดรกไ็ ด พระ
พทุ ธเจา ครงั้ เปนพระเวสสันดร พระองคทรงทําอยางไร ในพระคาถาของพระเวสสนั ดร
ชาดกมมี ากมาย แตจ ะยกมาแสดงเพียงยอ ๆ วา ทานํ เทติ พระเวสสนั ดรทานทรงใหท าน
สลี ํ รกขฺ ติ พระเวสสนั ดรทานทรงรกั ษาศีล ภาวนํ ภาเวตวฺ า พระเวสสันดรทานทรงเจริญ
ภาวนา จงึ เปนพระพทุ ธเจาข้ึนมาและกลายเปน ศาสดาของโลกท้งั สาม นค่ี อื หลกั ธรรม
เคร่ืองดําเนนิ ของพระเวสสนั ดรทท่ี รงดาํ เนินมาเปน ลาํ ดับ จนบรรลุถึงความเปนพระพทุ ธ
เจาอยางสมบูรณ

ธรรมท้ังนี้ทานประทานไวเพอ่ื พทุ ธบรษิ ัท คือ พวกเราจะตามเสดจ็ พระองคท า น
ตามกําลงั ภมู นิ ิสัยวาสนาของแตละทา น ถา จะกลา วถึงการบําเพญ็ และฝา ฝนความทกุ ข
ทรมานในคราวเปน พระเวสสนั ดรนน้ั จะเห็นไดว าเปนการยากลาํ บากแสนสาหสั และไมมี
ใครจะกลา ทําไดเหมือนอยา งพระองค การบาํ เพญ็ ทานก็เปน ความอัศจรรย อาจจะกลา วได
วาพระองคทรงควาประวัติศาสตรแ หง การเสยี สละของคนในสมัยน้นั โดยไมม ีใครจะ
สามารถเปน คูแ ขง ได ประหนง่ึ ฟาดนิ อันแสนกวางจะถลม เพราะความเล่ืองลอื กิตติศัพท
กิตตคิ ณุ ฟงุ ขจรไปทกุ แหงทุกหน ท้ังเบอื้ งบน เบ้อื งลา ง

ชาวเมืองเกดิ ความไมย นิ ดีและไมพ อใจในการบาํ เพญ็ ของพระองค ถกู กลาวหาวา
ใหทานชา งมงคลประจําเมอื งและประจําแผนดิน จนเกิดฟอ งรองกันข้นึ โดยตั้งขอหาวา
พระเวสสนั ดรเปน คนขวางโลก ไมสมควรเปนกษัตริยปกครองแผน ดินตอไป ถา ฝนใหอ ยู
บา นเมืองและแผน ดินจะลม จม ฝา ยพระบดิ าซง่ึ เปน เปา หมายแหง การรับฟอ งรอ งของคน
ทั้งแผน ดิน ดวยพระปรีชาฉลาดก็ทรงบรรเทาเหตุรายซง่ึ กําลังเกิดขนึ้ โดยพระอบุ ายใหพ ระ
เวสสนั ดรพระลูกรกั เหมอื นดวงหทยั ขยบั ขยายออกจากเมืองตามเหตกุ ารณกอน พอมที าง
แกเ หตรุ า ยใหสงบลง

แวนดวงใจ ๔

กัณฑ์เทศนท์ ี่ ๑- ๒: ๑ทา-น ศลี ภาวนา



ฝายพระเวสสนั ดรหนอ พระสัพพญั ูผูท รงธรรม มีพระทยั อนั เต็มไปดว ยพระ
เมตตาตอสัตวผยู ากจน และมีพระราชศรทั ธาอันกวางขวางเหมอื นทองฟามหาสมทุ ร เม่อื
ทรงสดับพระดาํ รัสจากพระบิดาผบู ังเกิดเกลา แลว ทรงนอมพระเศียรรับและปฏบิ ัตติ าม

ดวยความพอพระทัยมไิ ดขัดขนื แมเชน นน้ั กอ นจะเสด็จออกจากพระนคร ยังทรงขอยับยัง้
ไวช ั่วกาล พอใหไ ดบ ริจาคทานใหพอพระทยั กอน แลว ก็เสด็จออกจากพระนครดวยพระ
อาการอนั ยมิ้ แยมแจมพระทยั ซ่ึงสมกับพระองคเ ปนพระเวสสันดรผูเปน จอมใหทานใน
โลก อันไมม ใี ครเสมอเหมือน ไมท รงมีพระอาการหวั่นไหว เพราะความไมพอใจและการ

ขบั ไลข องชาวเมือง ทรงเปย มดว ยพระราชศรัทธาทัง้ การเสด็จไป เสดจ็ อยใู นปา และเสดจ็
กลับสพู ระนครตามคาํ ทลู ใหเสด็จกลบั
การเสดจ็ ออกจากพระนคร มีพระนางมทั รคี พู ระบารมแี ละพระโอรสพระธดิ าดวง
หทยั ตามเสดจ็ การเสดจ็ ออกจากพระนครทัง้ น้ี พระเวสสนั ดรทรงปฏบิ ัตใิ หเปน ที่พอใจ

ของชาวเมือง แตก ารบรจิ าคทานซ่ึงเปนธรรมประจาํ พระนสิ ัยของหนอ พระโพธญิ าณ ผูจ ะ
ทรงรอื้ ขนสตั วโลกใหขา มตามเสด็จ พระเวสสนั ดรไมเ คยลดหยอ นออนพระทัยไปตามใคร
และทรงยอมอยูใตอาํ นาจของผูใดท้ังน้ัน แมจะเสดจ็ เขาอยใู นดงหนาทบึ แรน แคน กันดาร
เหมือนแดนนรกอนั ใคร ๆ ไมพ ึงปรารถนากต็ าม พระองคยังทรงพอพระทัยในทเี่ ชนน้ัน

และทรงบาํ เพญ็ ทานไมเคยลดละ เม่ือไมม ีอะไรจะทรงบรจิ าคกท็ รงยกพระลูกรักทัง้ สอง
บรจิ าคใหแ กพราหมณผ จู นมุมมารองขอ ไมทรงถอื พระลูกรกั ทง้ั สองเปน อุปสรรคตอทาน
บารมเี พอ่ื ความเปน ศาสดาของโลกเลย
เมอ่ื ทรงบริจาคไปแลว แมพราหมณผ มู นี สิ ัยใจโหดรายไรศลี ธรรม จะเฆยี่ นตพี ระ
ลกู รักทง้ั สองตอ พระพกั ตรโ ดยไมเกรงขามพระบารมีกต็ าม ก็ทรงทอดอาลัย ไมท รงกรว้ิ

โกรธแกพ ราหมณเ ลย เพราะทรงถอื วาเปนทานทบ่ี ริจาคใหเ ปน ของคนอื่นดว ยความ
บรสิ ุทธพิ์ ระทัยแลว ไมเพยี งพระลกู รกั ซ่ึงเทยี บกับพระเนตรทัง้ สองท่บี รจิ าคใหแ ก
พราหมณไ ปแลว ยงั ทรงยกพระนางมัทรคี ูพระบารมี ผูเปรยี บเหมอื นดวงหทยั ใหแก
พราหมณผมู ารองขอในอันดบั ตอ มาอีก ดวยความพอพระทัย มิไดทรงอดิ เออ้ื นซ่ึงจะเปน

เหตุใหป ลกี แวะจากทานบารมเี พื่อพระโพธิญาณเลย และยังทรงอทุ านเพ่อื สละเลอื ดเน้อื
และชีวิตทกุ พระอาการแกผมู ุงมาขอทานอีก ไมทรงอาลยั ในพระกายและจิตใจแมแ ตน อย
การที่ทรงบําเพญ็ ทานบารมไี ดอ ยา งเตม็ พระทยั น้ี เนือ่ งจากทท่ี รงอาศัยอยใู นสถาน
ที่ทโี่ ลกเห็นวา เปนท่ีอยูของบคุ คลผูจนมมุ แตส ําหรบั พระเวสสนั ดรกลับทรงเห็นวา เปนท่ี

เว้งิ วา งจากภาระหนกั และอารมณเครือ่ งกงั วลใจ ทัง้ การบําเพญ็ ทานบารมี ศลี บารมี ตลอด

แวน ดวงใจ ๕

แวน่ ดวงใจ : -ภา๒ค๒๑- อบรมฆราวาส



อเุ บกขาบารมี ฯลฯ ซ่งึ เปน ธรรมเคร่ืองสงเสริมทุกประเภท พระเวสสันดรทรงมีโอกาสได
บาํ เพญ็ อยางพอพระทยั ในเวลานั้น การบําเพญ็ ที่แสนยากลาํ บากและเตม็ ไปดวยความชอก
ช้ํา เพราะการกระทบกระเทอื นนานาประการ ท้ังเปน การขดั ขวางทางดําเนนิ ของพระ
เวสสนั ดร หากกรรมดี กรรมชัว่ จะเปน ไปตามความตาํ หนติ ชิ มของบุคคลแลว พระ
เวสสันดรถงึ กบั ตอ งถูกเนรเทศเพราะการใหท าน กไ็ มควรจะรอดจากเหตุการณอันรุนแรง
นั้นกลายมาเปน พระพุทธเจาใหโลกกราบไหวไ ด เพราะผลแหง ทานอันเปนตน เหตุนน้ั

เราทุกทานผูเ ปน เจา ของแหง กรรมและนบั ถือพระพุทธศาสนา ทแี่ สดงเร่ืองกรรม
เปน หลักใหญก วา ส่งิ ท้ังปวง คงพอจะทราบไดว า ผลแหงกรรมดแี ละกรรมชัว่ เปนธรรมชาติ
ทมี่ ีอาํ นาจเหนือสิ่งใด ๆ ในไตรโลกธาตุ จะไมมใี ครสามารถดดั แปลง และลบลา งผลเหลา
นใี้ หส ูญสิ้นไปจากโลกไดเ มือ่ ยังพอใจกอ เหตุ คอื ทําดี ทําช่ัวอยู และผลจาํ ตองสบื ตอกนั วนั
ยงั คํ่า โดยไมฟงเสียงการตาํ หนติ ิชมจากผูใด จะตางกันอยูบา งก็เพียงชา หรือเรว็ ในกรรม
บางประเภทเทานั้น

ดังนัน้ ผเู ช่ือในกรรมและผลของกรรมวา จะใหผล จงึ เปน บุคคลผไู มประมาทท้งั ทาง
โลกและทางธรรม เพราะเปนสิ่งจะเกดิ ขึ้นจากหลกั ของเหตดุ ีเหตชุ วั่ ดวยกนั ไมมีทางอื่น
เปน ท่ีเกิดข้นึ พอจะแสวงหาความมั่งมีดีเดน และพน ทกุ ขได จากการวาดภาพทางใจเอาเฉย
ๆ โดยไมสนใจในการงานอันเปนที่ไหลมาแหง โภคทรัพย คอื เงินทองและกองกุศลอันเปน
ผลที่พึงพอใจ ผไู มประมาทในการงาน อยูท่ใี ด ไปที่ใด ยอมไมอ ดอยากขาดแคลน ทั้งวนั นี้
และวนั หนา และโลกนี้โลกหนา เพราะเปนโลกทีส่ ัตวจ ะเปน อยูดวยกรรมและผลแหง กรรม
ดว ยกนั ทผี่ ทู ําทาํ ไวแตต น ทาง ดงั พระเวสสนั ดรเปน ตวั อยาง

การเทศนมหาชาติมาเปน ลาํ ดับนับแตบ รรพบุรุษมาถึงพวกเราฟง อยูข ณะน้ี กเ็ ทศน
เพ่ือเปนคติสอนใจใหพ วกเราดําเนนิ ตามรองรอยของทานท่ีไดรบั ผลมาแลว จนปรากฏเปน
ครขู องเทวดาและมนุษยทกุ ช้ัน เพราะประวตั ิของพระเวสสนั ดรท่ีทรงดําเนินมากด็ ี ท่พี ระ
สิทธัตถราชกุมารทรงดําเนนิ มาก็ดี ไดกลายเปนศาสนธรรมเครื่องประกาศสอนโลกทงั้ สาม
ใหต น่ื ตวั เปนลําดบั มาจนถงึ บดั น้ี ใครทตี่ ื่นตัวสะดุดใจในธรรมของทาน เร็วหรอื ชา กเ็ ตรยี ม
ตวั ตามเสดจ็ ทา นทนั กับเวลาก็มี ทตี่ ามเสด็จทานในลาํ ดับตอ มากม็ ี ทก่ี าํ ลงั ตามเสดจ็ อยกู ม็ ี

ดังพุทธบรษิ ทั ซึ่งกําลังบาํ เพญ็ ตนอยู ณ บดั นด้ี วยความสงบเสง่ยี ม อันเปน ทีน่ า
เลอื่ มใสและอนโุ มทนาอยา งยิง่ และผูท ่ียังหลับดวยอาํ นาจโมหะครอบงาํ ไมอ าจจะมองเห็น
บญุ และบาปวาเปน อยางไร และจะเปนของใครผูจะคอยรบั ผลกรรมนัน้ กอ็ าจมอี ยู แตพ วก
เราตางก็มืดแปดทศิ แปดดานเพราะโมหะดวยกนั จงึ ไมอาจมองเห็นทง้ั เรือ่ งของตวั และของ

แวน ดวงใจ ๖

กณั ฑ์เทศนท์ ่ี -๑ ๒: ๓ทา-น ศลี ภาวนา



ทา น ตา งทา นจงึ ตา งอตุ สาหแ หวกวาย เพอื่ ขา มพน จากหว งแหง ความมดื มนอันนี้อยา งเตม็
กําลงั ดว ยกัน สว นจะไดถ งึ ไหนนนั้ ขอนอบนอมถวายไวกับพระธรรมบทวา ธมฺโม หเว รกขฺ
ติ ธมมฺ จารึ พระธรรมยอมรักษาผูประพฤตธิ รรม ไมเ คยลําเอยี งตอผูใ ด ใหเ ปน ผูมีอาํ นาจ
พิพากษาตอไป

ทา นสาธุชนผใู จบุญไดบ ําเพญ็ ทาน ศลี ภาวนาตามเยีย่ งอยา งของพระเวสสันดรทาน
แมจะไมไดสมบรู ณตามแบบพมิ พจ นถงึ ความเลศิ โลกอยางทา น ก็คงไดต ามแบบลกู ของ
พระ คือพุทธบรษิ ัทท่ีทรงธรรมภายในใจ ประดับธรรมในทางมารยาท ความเคลื่อนไหว
เปน ทเ่ี ย็นหเู ยน็ ตาและไวใ จของผูทีไ่ ดคบคาสมาคมกับผูถือ พทุ ฺธํ ธมมฺ ํ สงฆฺ ํ สรณํ คจฺฉา
มิ ประจําใจตามหลกั ผูเชือ่ ถือกรรม เพราะหลกั ของการเชอ่ื กรรมทีถ่ กู ตอง ผทู ํากรรมทกุ
ประเภท ตอ งเชอื่ วาทําเพอื่ ตัวเสมอ แมจะทาํ เพือ่ สงเคราะหผูอ่ืนกต็ อ งเพอื่ ความดงี าม
สําหรับตัวผูทาํ อยนู นั่ เอง ตามหลกั ธรรมทีส่ อนวา ทําดีไดดี ทาํ ชวั่ ตอ งไดรบั ผลช่ัว กห็ มาย
ถึงเร่ืองของผทู ําโดยตรง

ขอยกตัวอยา งเชน วดั อรณุ รงั ษี ซงึ่ แตกอนเปน ปาเต็มไปดวยสิ่งท่ีนากลวั นานาชนิด
ผตี ายในทอ งที่นี้ แทบจะพดู ไดว า เกอื บทกุ ศพนํามาทง้ิ กนั ตามบรเิ วณนเ้ี กล่ือนไปหมด ไมมี
ใครกลา สามารถมาแถวบริเวณนไ้ี ดในเวลากลางคืน แมกลางวนั กย็ ังเปนสถานท่ีนา กลวั อยู
นนั่ เอง เพราะเงยี บสงดั ปราศจากผูคนและเสียงตาง ๆ นอกจากทีน่ ่ีจะเตม็ ไปดว ยผีตายท้งั
นน้ั แลว ยังกลวั ผหี ลอกอกี ดว ย ไมม ีใครคาดฝน วาสถานท่นี ีจ้ ะปรากฏเปน วัดข้ึนมา แต
เพราะอํานาจกําลังศรัทธาของทานผใู จบญุ มากทานดวยกัน สามารถรอ้ื ขนสิ่งรกรงุ รงั ออก
ได กลายเปน โบสถ ศาลา กุฎีและวดั ขึ้นมาอยา งสมบูรณ และกลายเปนสถานท่ีบําเพ็ญ
สมณธรรมของสงฆและประชาชนใหไดรับความสะดวกขน้ึ

ท้ังนเี้ พราะความเชอื่ มั่นวา ทาํ ดไี ดด ี สําหรบั ผทู าํ ไมเ ปนอยางอื่น คอื ผทู ําจะเปนผรู บั
ผลจากการกระทําของตน วดั ก็ดี โบสถก ด็ ี ศาลา และกฎุ ีก็ดี มใิ ชเปนผูรับผลบญุ และมใิ ช
เปน ผูจะไปสวรรคแ ละนิพพาน เพราะสง่ิ เหลาน้เี ปนเพียงตัวเหตุทเ่ี กดิ จากผูจัดทําเทานั้น
สว นผลคือบญุ ซง่ึ เกิดจากการสรางวัดน้ัน เปน สมบตั ิของผทู ํา ฉะนนั้ ผลดีทง้ั มวลจนสามารถ
ยงั ผูบําเพญ็ ใหพนจากทุกขไ ปได จึงเปน สมบตั ิของผูบาํ เพ็ญเหตโุ ดยตรง เหมอื นเราท่มี นี า
อยูใ นความครอบครอง เราทาํ การปกดาํ ขาวลงในนา ขา วทกุ ตนกเ็ ปน ขา วของเรา ผลเกดิ
จากนามากนอ ยเปน ของเราทุกระยะ มไิ ดกลายเปนสมบตั ิของนาแปลงใด ๆ จะเปน ผูรบั
เสวยผลแมแตน อย คาํ วา วดั จงึ เปนบญุ เขตของผูสรางวดั เพือ่ บญุ ถงึ กาลอันควรสิ่งกอ

แวนดวงใจ ๗

แวน่ ดวงใจ : ภ-า๒ค๔๑-อบรมฆราวาส



สรางยอมรว งโรยไปตามสภาพของคตธิ รรมดา สว นผลบุญอันเกิดจากการน้ี มิไดร วงโรยไป
ตาม ยอมตามสนองใหผูท ําไดรับผลเปนสขุ ตลอดกาล

เม่ือสรุปหลักกรรมในพระพุทธศาสนาแลว เรยี กวา ทาํ เพื่อเราเปนสวนใหญ เพราะ
ผลของกรรมดแี ละกรรมช่ัวเปน สงิ่ ทผ่ี ูท าํ จะพึงไดรบั ผล แมเราสรา งวดั และใหท านกับพระ
บุญทีเ่ ปน ผลจาํ ตองเปน ของเราอยูนนั่ เอง ไมเ ชน นน้ั พระไมจําตองรักษาศีล เดินจงกรม
นง่ั ภาวนา และไปเท่ียวกรรมฐานตามปา ดงพงลกึ ใหล าํ บาก เพียงอาศัยบุญที่ญาตโิ ยมมาทาํ
บญุ ใหท านกับพระภายในวัดก็พอแลว เพราะวนั หน่งึ ๆ คนมาทําบุญในวดั ไมน อ ย ซึ่งพอ
จะรวบรวมบญุ มาเปน ของพระไดอ ยา งพอเพียง แตห าเปน เชน น้ันไม ญาตโิ ยมกท็ ําหนา ท่ี
ของญาติโยม บุญก็เปน ของโยม พระกท็ าํ หนาท่ีของพระ บุญกเ็ ปน ของทาน แตอ าศยั ซ่งึ กัน
และกนั ตามสายแหงความสมั พนั ธเ กย่ี วเน่ืองระหวางพระกบั ญาติโยม ซึง่ แยกจากกันไม
ออกเทา นั้น สวนผลที่จะพึงไดรบั ยอ มไมร ะคนกัน

เชน เดยี วกับการรับประทานอาหาร ผูร ับประทานไมจาํ ตอ งมีกฎเกณฑไ วว า โอชารส
สว นน้ตี องสงไปหลอ เลีย้ งรางกายสว นนนั้ นี้ไปสวนขา งบน นี้ไปสวนขางลา ง น้ีไปขา งหนา
นีไ้ ปขา งหลัง จนทัว่ สวนรา งกาย แตรสอาหารทําหนา ที่ซึมซาบไปตามสว นตาง ๆ ของรา ง
กายจนตลอดท่ัวถึง โดยผูรบั ประทานจะไมเ ปนกังวลกับรสอาหาร วา จะมีการลําเอยี งตอ
สว นรา งกายเลย กลบั จะมคี วามสบายขนึ้ ทนั ทที ร่ี สอาหารไดเดนิ ถึงทแ่ี ลวฉันใด กศุ ลผลบญุ
ของผบู าํ เพ็ญรว มกันก็ฉนั นั้น โปรดเทียบเคียงตามขอธรรมทีอ่ ธบิ ายมาน้ีจะเปนทีม่ ัน่ ใจใน
การสรา งบุญทงั้ สวนยอ ยและสวนใหญ เพราะบญุ กศุ ลบางประเภทตองอาศยั ความสามคั คี
จากสวนใหญ ไมเ ชนนนั้ จะไมสาํ เร็จ หรือกวา จะสาํ เร็จก็สิน้ เปลอื งทรพั ยและกําลงั ไมนอ ย
ทั้งกนิ เวลานาน

ทานพทุ ธศาสนกิ ชนผมู ีบุญทงั้ หลาย บัดน้เี รากําลงั มีโอกาสวาสนาอํานวย ชวี ติ
เครื่องประกาศใหเ ราและโลกไดเ หน็ ยังมีอยู คนและสตั วเปนจาํ นวนมากทเ่ี กดิ กบั เราไดร วง
โรยไปมากกวามาก ทยี่ งั เหลอื อยมู จี ํานวนนอ ย แตเ ราในคนจาํ นวนรว งโรยนน้ั ยังมีชีวติ
ผานพนมาได ทงั้ ยังมศี รัทธาความเช่ือเล่ือมใสบริจาคทรพั ยมากมายฝง ไวในพระพุทธ
ศาสนา นอกจากนน้ั ยงั ใหท านเปน ประจําวันมิไดข าด โดยไมม คี วามอาลัยในทรพั ยทีใ่ หท าน
ไปแมแตนอ ย ท้ังน้ีเพราะนิสัยที่เคยฝงใจและฝากเปน ฝากตายกับพระศาสนามานาน ยิ่งได
บําเพ็ญคุณงามความดีมากเทาไร กย็ ่งิ มีความอมิ่ อกอ่ิมใจยิม้ แยม อยภู ายใน คนผูมวี าสนา
บารมเี ชน เรา ๆ นับวาเปนผหู าไดย าก

แวน ดวงใจ ๘

กัณฑ์เทศน์ที่ -๑ ๒: ๕ทา-น ศีล ภาวนา



คนประเภททแ่ี สวงหาคณุ ธรรมไมมกี ารทอ ถอยน้ันคือ คนทีเ่ หน็ ภัยในทุกข เพราะ
การซา้ํ ซากแหงทุกขท เ่ี นอื่ งมาจากการเกิด การตาย ไมมีวันจบสิ้น ก็แลการทองเทีย่ วไปตาม
ภพนอ ยภพใหญของแตละราย เชน เดียวกับการเดินทางไปตามหมูบ าน ระยะทางทเี่ ดนิ ไป
ยอ มมีสูง ๆ ตํ่า ๆ ลมุ ๆ ดอน ๆ ไมสมํ่าเสมอ แมเ ชน น้นั ผูเ ดนิ ทางตองผานไปเพราะกิจ
จาํ เปน ของตน จนกวาจะถงึ จุดที่หมาย การทองเทย่ี วไปมาในภพชาติก็ยอมมคี วามลาํ บาก
เชน เดียวกัน แมเชนน้นั ผยู ังมีกิจจําเปน เพราะกฎแหง กรรมทางภายในจําตองไป ดงั นนั้ โลก
จงึ ไมวา งจากการสญั จร คือการเกดิ ตายของสตั ว

ดวยเหตนุ ้ี ทา นผูมีโลกวทิ รู แู จงโลกโดยตลอดทว่ั ถึง จึงสอนใหบาํ เพ็ญกศุ ลเพื่อเปน
เสบยี งในการเดนิ ทางไปตามภพชาตขิ องตน และเพื่อเปน การบรรเทาทกุ ขอนั จะเกิดขนึ้ ใน
เวลาเดนิ ทาง หากภพชาตยิ ังจะเปนไปอยใู นสงสาร ก็ขอใหอาศยั บญุ คณุ ธรรมท่ีตนเคย
สรา งไวเ ปน เครอ่ื งบ่ันทอนและตานทานทกุ ข มีความสขุ เปนเครอ่ื งเสวยผล เปนผลไมเดือด
รอนขนุ เคอื งในภพนัน้ ๆ เพราะกุศลผลบุญที่ตนบาํ เพ็ญไว ชวยคา้ํ จนุ อดุ หนุนใหม ีความสขุ
ไมกลายเปนเพลงิ ทง้ั กองไปเสยี ทเี ดยี ว ผูกาํ ลงั มีความสขุ บาง ทุกขบาง อนั เปนพยานแหง
กรรมดีและช่ัว จึงไมค วรประมาทนอนใจในบาปและบญุ วาจะเปนของหางไกลจากตัวเราผู
ทาํ กรรม เพราะการมาสูโลกอันเปน ทอ่ี ยอู าศยั ของบุคคลผูท าํ กรรม เราตองทํากรรมเหมอื น
โลกท่วั ๆ ไป แตการพิจารณาเลือกเฟนแลว ทําลงไปน้ันเปนความชอบธรรม ไมควรทาํ
แบบสุม เดา ผลทีเ่ กิดข้ึนจากการกระทาํ โดยไมใครครวญไตรต รอง จะสะทอนกลับมาใหผ ู
สะเพราตอ กรรมรบั เสวยทุกขตอไป

เพราะคาํ วา โลกแลวยอมระคนปนเปไปดว ยดีและช่ัว ผใู ชสายตายาวดวยปญ ญาจะ
ไดรบั ของดีมาครองเปน เจา ของ แตถาสายตาสัน้ แลว ควาไปทีไ่ หนจะเจอแตเ รอ่ื งของความ
ทกุ ขเดอื ดรอ นหาชิ้นดไี มไ ดเลย คาํ วา นิสมมฺ กรณํ เสยฺโย ใครครวญกอ นแลว คอ ยทาํ กิจ
ทกุ อยาง จะเปน ผลดรี บั สนอง นคี้ ือพระโอวาทที่สอนคนใหฉลาดรเู ทา ทนั ความเคลอ่ื นไหว
ของโลกและการกระทําของตน ผูสนใจจะไดนําไปใชใ หเหมาะสมกับภาวะของตน ๆ ผลจะ
เปน ความเจรญิ ท้ังวนั น้ี วนั หนา และชาตนิ ี้ ชาตหิ นา

ทา นสาธุชนผใู จบุญทั้งหลาย วนั น้ีพรอ มกันมาฉลองกุฎี ศาลา และถงั นํา้ ซ่งึ ปรากฏ
ความสําเร็จข้ึนมาใหต าโลกไดเ ห็นอยา งเดน ชดั มอบไวเ ปนสมบตั ิของวดั อรุณรงั ษี จงั หวัด
หนองคาย สวนกุศลผลบุญอันเกดิ จากการนี้ มอบไวก บั ดวงใจของทกุ ทานที่เปน เจา ของ
ทานกุศลสมบัติ ท้ังนจี้ ะเปน แกว สารพดั นกึ อันลนคาประดบั ใจของทา นท้งั หลายไปทกุ ภพ
ทุกชาติไมม วี นั เสื่อมสญู แมส ่งิ กอสรา งจะปรกั หกั พงั ลงไปตามสภาพก็ตาม สว นผลท่ที า น

แวนดวงใจ ๙

แวน่ ดวงใจ : ภ-า๒ค๖๑-อบรมฆราวาส

๑๐

ไดร บั จะเปนคณุ สมบตั ปิ ระจําใจตลอดกาล ดงั นัน้ ขอทุกทา นโปรดมใี จอาจหาญราเรงิ ตอ ผล
บุญท่ไี ดร ับแลว และทีก่ ําลงั จะเกดิ ขนึ้ เพราะความแกลวกลาแหงศรทั ธาของทา นท้ังหลาย
ชาติน้ีนบั วา เราทง้ั หลายไมเสยี ทีในอัตภาพแหง มนษุ ยอันเกดิ มาดว ยบุญ ไดพารา งกาย คือ
กอ นบญุ อนั นี้ สรางตเู ซฟเพ่อื เกบ็ ทรพั ยภ ายในไวอ ยา งพรอ มมูล ประหน่ึงไดส รา งสําเภา
ใหญไวเ พอ่ื ข่ขี ามมหาสมุทรทะเลหลวงทีท่ ว มทน อยูภายในใหพน ไปได

ถึงอยางไร กศุ ลกรรมทีส่ รางไวจ ะไมยอมปลอ ยวาง ตอ งตดิ ตามสนองเราย่งิ กวา
เพ่อื นสนทิ มติ รรักเสยี อกี เพราะเราเปน นกั สรา งบญุ ถึงคราวจาํ เปนนกึ ถงึ บญุ ตองเห็นบญุ
ประจกั ษตาประจักษใ จทั้งในชาติน้แี ละชาตหิ นา เร่อื งทั้งนเ้ี ราเปน นักบญุ คงจะเคยมปี ระสบ
การณม าบา ง และการกลา วทงั้ น้ีคงไมเ ปน การชกั นาํ ใหทา นเชอ่ื ในทางผดิ เพราะทัง้ ดาน
วัตถุและดา นนามธรรม ยอมมีทางปรากฏจากการทําดแี ละทาํ ชว่ั เสมอกัน ฉะนัน้ ผลบุญที่
เปนวัตถุจงึ ควรเปนคเู คยี งกับผลบุญทางดา นนามธรรมภายในใจ อันจะปรากฏออกมาใหผู
เปน เจา ของไดร ับเสวยเสมอกัน

เชนผมู ีสมบัติมากอาจจะเกดิ จากสาเหตอุ ันช่ัว มเี ที่ยวกดขี่บงั คบั หรอื คดโกง ปลนจี้
เอาของของเขามาเปน ของตนก็มี อาจเกดิ จากสาเหตอุ นั ดี เชน เกดิ จากการงานทชี่ อบ มี
ปุพเฺ พ จ กตปุญฺ ตา ชว ยสนับสนนุ ชอ งทางทีม่ าแหง โภคทรพั ยกม็ ี ฉะน้นั ผทู าํ ดแี ละช่วั
จึงมีทางไดรบั ผลดีและช่ัวท้งั ดานวตั ถแุ ละดา นนามธรรม โลกจงึ ตอ งมีทง้ั ดา นวตั ถุและดา น
นามธรรมเปน สมบัติดีและช่วั เปน ของตนท่วั ๆ ไป ไมม จี ดุ ทค่ี วรยกเวน ยกตวั อยา งเชน
พระพุทธเจา ผบู ริสทุ ธน์ิ ้คี อื ธรรม เม่ือเสด็จไปแหง หนตาํ บลใดมีดอกบัวผุดขึ้นรับรองฝา
พระบาท (ฝา เทา) และมีเครอ่ื งสกั การบชู ามาจากทต่ี าง ๆ ซ่ึงผดิ จากปกติธรรมดาของคน
สามญั มากมาย แตเ ม่ือมีผขู อ งใจทูลถามทา นจงึ ตรัสวา สง่ิ ทงั้ น้เี กิดข้ึนดว ย ปพุ ฺเพ จ กต
ปุญฺ ตา ของเรา ฉะน้ัน คาํ วา กสุ ลา ธมมาฺ อกุสลา ธมมฺ า จงึ เปน หลักธรรมประกัน
ความจรงิ ของผทู ําไวอยางสมบรู ณ

เราทกุ ทานซึ่งเปน พุทธบรษิ ัทผเู ช่อื กรรม โปรดเชือ่ ตนผทู าํ กรรมวา จะตองเปนผูรับ
ผลโดยแนนอน เพราะตางกอ็ ยใู นโลกแหงกรรมอนั เดียวกนั แลว พยายามสรา งกรรมดไี วให
เพียงพอกับความตอ งการ วนั หนง่ึ ชีวิตผา นไปเพอ่ื ความแตกสลายไมม เี วลายับย้ัง ย่งิ กวา
เครอื่ งจกั รเคร่อื งยนตเสียอีก เราผหู มุนตัวเพอ่ื หลบภัยโปรดพิจารณาดวยปญญา ทาน ศีล
ภาวนาท่ีแสดงไวขางตน นั่นคอื ทางดําเนินเพื่อมนษุ ยส มบัติ สวรรคส มบตั ิและนพิ พาน
สมบัติ ทาน แปลวา การให ออกจากเจตนาท่กี ลาเสียสละ เพราะความเมตตาและความเชอ่ื
เลื่อมใสเปน รากฐาน คนไมม คี วามเมตตาและความเช่อื เลื่อมใสตอสถานทแ่ี ละผรู บั บรจิ าค

แวน ดวงใจ ๑๐

กณั ฑ์เทศนท์ ี่ -๑ ๒: ๗ทา-น ศีล ภาวนา

๑๑

ยอมไมสามารถทําทานได นอกจากจะใหเ พอื่ แกร ําคาญจากผูมารบกวนขอเปนบางคราว
เทา น้นั

ฉะน้ันผูม ที านประจาํ นสิ ัย ตอ งเปนผูม ีใจเมตตาและเชือ่ ตอ ทานของตนวาตองมผี ล
แนนอนประจําใจ จึงสามารถบริจาคไดเปนประจํา และบรจิ าคคราวละมาก ๆ โดยไมมี
ความเสียดาย ยิ่งไดใ หทานมากเทาไรก็ยงิ่ มีความปตยิ ินดแี ทบตัวลอยกม็ ี แมในเมอื งไทย
เราก็มที านนกั ใจบุญประเภทนี้ไมน อ ยเลย ท้ังนี้ เกิดจากหลกั ธรรมชาตภิ ายในใจของผู
บรจิ าคเอง โดยจะวาดภาพความรูส กึ ใหใครดดู ว ยไมไ ด พอไดยินไดฟ งกย็ ่ิงเพิ่มกําลัง
ศรัทธาอยา งแรงกลา จนถงึ ขน้ั สละไดทงั้ ภายนอกภายใน หมดความเยือ่ ใยในสิ่งทง้ั ปวง
กลายเปนผบู รสิ ุทธ์ขิ ึ้นมาในทามกลางสิ่งแวดลอ ม ฉะน้ัน ทานจงึ เปนธรรมสาํ คญั ซงึ่ จะมอง
ขามไปไมได ทง้ั เปนรากฐานและเครอ่ื งยึดเหนีย่ วโลกใหอ ยูดว ยกันไดอยางสนิท

ในระหวา งพอ แมก บั บตุ รธิดา ระหวา งญาติกบั ญาติ ผูใหญกบั ผนู อ ย เพื่อนสนิทกบั
มิตรทรี่ ัก ระหวางสตั วก ับสตั วด ว ยกัน ระหวา งสัตวเลยี้ งกบั เจาของ ซง่ึ จะตองสงเคราะหกนั
ดวยการแบงปนซง่ึ ออกมาจากใจของผเู ห็นใจเพ่อื นรวมโลกดวยกนั โดยไมเ ลอื กชาติชัน้
วรรณะ ในหลกั ธรรมชาติของโลกจะเวนทานเสียมไิ ด นอกจากจะไมสนใจตามหลักจําเปน น้ี
เทา น้ัน จึงอาจเห็นวา ทานเปนของไมจาํ เปน สาํ หรบั โลก ผูมีอธั ยาศัยใจกวางขวางเผ่ือแผ
แกเพ่อื นฝูง และใหความรมเยน็ แกผ ูอ ื่นทีม่ าอาศัยและคบคาสมาคมไมเลือกช้ันวรรณะ
ยอ มเปน ผมู สี งา ราศไี มจ ดื จาง และไมคอยมใี ครรังเกียจเบยี ดเบียน คําวา “ทาน” จึงมี
ความกวางขวางและลึกซึง้ มากเหลือจะพรรณนา และนํามาแสดงใหท ุกทา นไดฟ งอยา งสม
ใจ ขอแสดงโดยสงั เขปเพยี งเทาน้ี พอเปนแนวความคดิ สาํ หรับทา นผูเปนนกั ใหท าน

ศีล แปลวา ความปกติในความประพฤติ ไมค ึกคะนองทางกายวาจา กายวาจาทมี่ ี
ศีลกํากบั อยดู ว ย จงึ เปน กายวาจาทหี่ อมหวนชวนชม ไมแสลงหูแสลงตาทงั้ หญงิ ชาย ทง้ั นกั
บวชและฆราวาส มีลกั ษณะทาทางสวยงามนาดู ทัง้ กาวไปและถอยกลบั เหลอื บซายแลขวา
เปน กริ ยิ าทน่ี า ดูทกุ อาการ ฉะนัน้ ลูกศิษยข องพระตถาคตจงึ ปรากฏงามในหมูช น และไมมี
ชาตชิ ้นั วรรณะแฝงอยูในวงศิษยพระตถาคต ปรากฏคาํ เดยี ววา สมณะ คือ ผสู งบเสงี่ยมเทา
นน้ั เปนนามของทา น เพราะทานมศี ีลเปน เคร่ืองประดับ แมจะมเี พยี งศรี ษะโลน ๆ และเต็ม
ไปดว ยความทกุ ขยากลาํ บากดว ยปจจยั เครอ่ื งอาศยั ตอ งเทย่ี วโคจรบิณฑบาตขอทานชาว
บา นเขามารบั ประทาน แตก เ็ ปน ทกุ ขทน่ี ากราบไหว นา เคารพบชู า เพราะทานมศี ีลสมบตั ิ
และธรรมสมบตั ปิ ระจํากาย วาจา ใจ

แวนดวงใจ ๑๑

แวน่ ดวงใจ : ภ- า๒ค๘๑- อบรมฆราวาส

๑๒

คําวา สเี ลน โภคสมฺปทา ปจจัยส่ี คือจวี ร เคร่ืองนงุ หม บณิ ฑบาต ทอี่ ยอู าศัยและ
ยาบาํ บดั โรค จึงมผี นู าํ มาถวาย เพราะทา นมศี ลี เปนที่รัก สเี ลน สคุ ตึ ยนตฺ ิ ทานเปน ผูไ ปดี
มาดี อยูดี กนิ ดดี วยศีลของทา น ทานจึงมีสคุ ติอยทู กุ อริ ิยาบถ ตายแลว จะไปตกนรกหมก
ไหมท่ีไหน จาํ ตอ งเปนสคุ ติอยูนัน่ เอง เพราะกาย วาจา ใจของทา นเปน สคุ ติ เพราะการ
รักษาศลี อยูแลว สเี ลน นพิ ฺพุตึ ยนตฺ ิ ทกุ ขท ีเ่ คยมเี พราะความคะนองแตกอ น จําตองดับไป
เพราะอํานาจศีลธรรมของทา นไดส ังหาร คําวา สงฺฆํ สรณํ คจฉฺ ามิ จึงไมท ําใจของประชา
ชนผูกราบไหวด วยความเคารพรกั ในทา นใหจดื จางไปตลอดทกุ วันน้ี

ภาวนา ไดแกการอบรมใจใหมเี หตผุ ลประจําตน เพื่อดําเนนิ กจิ การทัง้ ทางโลกและ
ทางธรรมใหเปนไปดวยความไมง มงายและจนมุมตอเหตกุ ารณ เพราะคนทไ่ี ดร ับการอบรม
ทางใจ ยอมเชื่องตอสิง่ ทง้ั ปวง ไมวอกแวกคลอนแคลนและเชอื่ งา ยโดยไรเหตุผล พยายาม
อบรมใจใหอ ยใู นความสงบตามโอกาสอนั ควร อยาปลอ ยใหค วามคิดอนั ไรส าระผลักดัน
ออกมาทางกาย วาจา ถงึ กับฉดุ ลากกายวาจาใหเ ปน ไปตามจนเสียคน ทั้งนี้เพราะขาด
การอบรมใจในหลกั ธรรม อันดับตอ ไป พยายามบงั คับจติ ใหอ ยใู นขอบเขตแหงคําบริกรรม
มพี ทุ โธหรือลมหายใจ เปน ตน ทําความรสู กึ ไวก ับคาํ บริกรรมน้ัน ๆ จนกวา จะถึงเวลาท่คี วร
ปลอยวางไปตามหนา ทก่ี ารงานทีค่ วรจัดทาํ เพ่ือการอาชพี จนปรากฏเปนความสงบข้ึนมา
ในขณะน้ัน

ตามธรรมดาของจติ เมื่อถกู บังคบั โดยที่ชอบ ยอ มจะหยั่งเขา สูค วามสงบ ไมมีดวงจิต
ดวงไหนจะพนอาํ นาจของความมีสติไปได นอกจากจะไมทําดวยความสนใจและจริงจงั เทา
นนั้ จติ อาจจะเพน พานไปได เพราะสงิ่ ผลักดันคอยสงเสริมอยูตลอดเวลามีจํานวนมากภาย
ในใจโดยไมนยิ มวา นักบวชและฆราวาส ฉะนั้นการปด กัน้ ทาํ นบไมใ หก ระแสของใจไหลออก
มาเพ่ือหากอ เรือ่ งราํ คาญใสต นดวยสติ จงึ เปนหนา ที่ของนักภาวนาจะทาํ ความพยายาม
อยา งเขมแข็งในเวลาเชนนัน้ ไมยอมใหจติ ฝา ฝน อาํ นาจของความเพยี รออกมา จติ จะเส่อื ม
จากความพยศและปรากฏเปนความสงบสขุ ข้นึ มาในเวลานน้ั น่คี อื ผลของการอบรมใจใน
ดานภาวนาทีผ่ ูบ ําเพญ็ จะประจักษใจทัง้ หญิงทงั้ ชายและนกั บวช และจะเหน็ คุณของการ
ภาวนา ทงั้ จะเหน็ โทษแหง ความพยศของใจทีเ่ คยเปน มาในขณะเดยี วกนั

คราวตอ ไปกจ็ ดจําวธิ ีทําทเ่ี คยไดรบั ผลมาแลว และฝกทาํ บอย ๆ จนเปน ความ
ชาํ นาญและตดิ ใจในวธิ กี าร คร้งั ตอไปจะคอ ยงา ยข้ึน หรอื แมจ ะยากบางเปน บางกาลก็พอมี
ทางแกไขดดั แปลง เพราะเคยเหน็ ผลมาแลว โปรดทราบวาใจเปนของประเสริฐ และมีอยู
กบั เรา เราเปน ชาตมิ นุษยผ ูมีใจสงู จึงไมค วรปลอ ยใจของตนใหทิง้ จมดินอยเู หมือนทอ นซงุ

แวน ดวงใจ ๑๒

กณั ฑเ์ ทศนท์ ่ี -๑ ๒: ๙ทา-น ศลี ภาวนา

๑๓

ไมเปนการสมควรแกเราเลย ควรทาํ การอบรมใหใ จมีทางสงบบาง ขา วแหงความสงบเยอื ก
เยน็ ภายในใจ จะกลายมาเปนของเราผอู บรมใจเปน ลําดับ นบั แตข น้ั ต่ําจนถึงข้นั สูงสดุ จะ
ไมพ นจากใจของผอู บรมน้เี ลย

การอธบิ ายธรรมทางดานภาวนายังไมถ งึ จุดทีค่ วรจะจบ แตเ วลาจวนจะจบกอนแลว
เพราะแสดงธรรมในทามกลางกิจการซึ่งกาํ ลังเปนไปอยู จึงขอสรปุ ธรรมเทศนาที่แสดงมา
โดยยกคาถายอ ของพระเวสสันดรชาดก เปน บทคาถาวา ทานํ เทติ สีลํ รกฺขติ ภาวนํ ภา
เวตฺวา เปนตน ถอื เอาใจความวา พระเวสสนั ดรไดตรัสรเู ปนพระพุทธเจาเพราะการใหท าน
รกั ษาศีล และภาวนา ฉะนัน้ ขอทุกทา นผูใจบญุ โปรดยดึ หลักธรรมของพระองคไ วเ ปน สกั ขี
พยานแหง การบําเพ็ญตนตอไป ชอ่ื วาเปนผูตามเสด็จพระเวสสันดรและพระพทุ ธเจา โดยไม
ตองสงสัย ในท่สี ดุ ของการตามเสดจ็ จะสมหวงั ในวนั หน่ึงขา งหนา

ในทสี่ ดุ แหงการแสดงธรรม ขอความสวสั ดีมงคลจงเกิดมแี กท านท้ังหลายโดยท่ัว
หนากัน ตามนัยท่ไี ดแ สดงมาก็สมควรแกเ วลา ขอยุตลิ งเพียงน้ี เอวํ ก็มดี วยประการฉะน้ี

www.Luangta.or.th

แวน ดวงใจ ๑๓

แวน่ ดวงใจ : ภ-า๓ค๐๑-อบรมฆราวาส



กณั ฑ์ท่ี ๒ ๑๔

เทศนอ บรมฆรธาวรารสมณป่าวดั ปา บา นตาด

เม่ือเมวเจื่อทนั วศุดทันน่ี ททอ์๗ี่บีร่๗รมวมถิมฆมิถนุรุนาแาวายายหนสนง พณพอุททุ รวธธดัศิยศปกั ักธา่รรบาราชา้ ชรน๒ตม๒๕าด๕๐๕๐๕

วันนจ้ี ะแสดงธรรมปา ลว น ๆ ใหบ รรดาทา นผฟู งท้งั หลายทราบ ทง้ั ทไ่ี ดอ ตุ สาห
มาจากทางใกลแ ละทางไกล ทงั้ ผูทีอ่ ยูกับบา นนี้ ตลอดถึงผทู ีอ่ ยใู นวัด คาํ วา ธรรมปา
นน้ั เปน ธรรมทไ่ี มไดท องหรอื จดจาํ มาจากคัมภีรไ หน ๆ นอกจากจะแสดงตามหลัก
ธรรมชาตแิ หง ธรรม ซ่งึ เปน ของมีอยทู ัว่ ไปในโลกเทา นั้น สว นจะถกู หรอื ผดิ อยา งไรนนั้
ขอใหบรรดาทานผูฟง ทัง้ หลายจงไตรต รองตามธรรมทีแ่ สดง แลว เทยี บเคยี งกบั หลกั
ธรรมในคมั ภรี อันเปน ธรรมตายตัว

ธรรมคาํ ส่ังสอนของพระพุทธเจาคอื หลกั แหงเหตุผล ถา เมือ่ เหตกุ บั ผลถกู ตอง
กันแลว ท้ังทีเ่ ปนฝายดแี ละฝายชวั่ พึงทราบวา สง่ิ นนั้ เปน สิง่ ทีด่ แี ละเปนสงิ่ ท่ชี ั่วไดอยา ง
สมบรู ณ และเปน หลกั ธรรมคาํ สง่ั สอนของพระพทุ ธเจา ไดด วย องคสมเดจ็ พระผมู ีพระ
ภาคเจา ในคราวพระองคเสด็จออกจากหอปราสาทเพอื่ แสวงหาโมกขธรรม ในเบื้องตน
กป็ รากฏวา พระองคไดพจิ ารณาหลกั ธรรมชาติ ทัง้ ๆ ที่ไมมีใครหรือพระพุทธเจาองค
ใดมาประกาศสอนพระองคว า สภาวะทัง้ หลายเปน อยา งนน้ั ๆ แมป ระชาชนพรอ มท้งั
บรษิ ทั และบรวิ าร ซึง่ อยูในพระราชวงั ของพระองค ก็ปรากฏวาเปน คนธรรมดาเชน เดยี ว
กบั พระองคทาน

แตใ นคนื ทีพ่ ระองคจะเสดจ็ ออกทรงผนวช หลักธรรมชาติแหงธรรมไดปรากฏ
ขน้ึ ในพระทยั วา ทั้งคนในพระราชวงั คือบรษิ ัทบริวารทงั้ หลายดว ย และนอกพระราชวงั
ท่วั ทง้ั ไตรโลกธาตดุ ว ย ปรากฏวา เปน ปาชา ผีดบิ ไปทั้งดนิ แดน หาทีจ่ ะปลงจติ ปลงใจ
พึง่ พงิ องิ อาศยั ในบคุ คลหรือสตั วส ักรายหนงึ่ วา ไมใ ชปาชา ไมม ีเลย น้คี ือหลักธรรม
ชาตแิ หง ธรรมซงึ่ เปนของมอี ยูในสตั วและบคุ คลท่ัวไป ไดปรากฏขนึ้ ในพระทยั ของพระ
องค แมทสี่ ุดพระองคเ องก็ปรากฏเปน ปา ชาผดี ิบเชนเดยี วกบั มนุษยและสตั วท่วั ๆ ไป
จึงเปน เหตุใหท รงเบ่ือหนา ยในความเปน อยขู องโลกเกิดตาย อนั เปนท่ีรวมแหง กอง
ทุกขนานาชนดิ ท้ังของเขาและของเรา นอกจากจะแสวงหาความพนจากความเปน เชนน้ี
ไปเสียเทา น้นั ทรงพินิจพจิ ารณาถงึ หลักธรรมชาตแิ หงธรรมซ่งึ เคยประกาศตัวอยตู ลอด
มา ก็ทรงไดพระสตสิ ะดดุ พระทยั ในขณะนัน้ และเพราะหลกั ธรรมชาติเหลา นนั้ ไดเตอื น

แวนดวงใจ แวน่ ดวงใจ : ภ-า๓ค๒๑๑๔-อบรมฆราวาส

กณั ฑเ์ ทศน- ท์ ๓่ี ๓๒ -: ธรรมปา่

แวน่ ดวงใจ : ภ-าค๓๔๑ -อบรมฆราวาส


Click to View FlipBook Version