๑๗
ไวน ัน้ ใหเหน็ วา มีกีช่ ้ินดวยกัน มีไมอะไร และชอ่ื วา อะไรบาง เรือ่ งของปญ ญาจึงเปน
ธรรมชาตคิ ลี่คลายดูสภาวธรรมซงึ่ เปนของมีอยใู นตวั ของเรา
อนึ่ง คาํ วา “สมาธิ” การทาํ ใจใหมีความสงบเยอื กเย็น ทานผฟู งทัง้ หลายคงจะ
เคยไดทราบแลววามหี ลายช้นั ขณกิ สมาธิ จิตท่รี วมลงเพยี งขณะเดยี วแลวถอนขน้ึ มา
เสยี อปุ จารสมาธิ คือสมาธทิ ่ีรวมสงบแลว ถอนออกมาเลก็ นอยแลว ออกรสู ิง่ ตาง ๆ ที่มา
สมั ผัสใจในขณะนนั้ จะเปน เรื่องสตั ว บุคคล หรือภูตผกี ็ตาม จดั เขา ในวงอปุ จารสมาธิน้ี
สวนอปั ปนาสมาธิ จติ ทห่ี ยัง่ ลงแลวมคี วามสงบอยางเตม็ ท่ี และรวมอยูไดเปนเวลานาน
ๆ คาํ วา “อัปปนาสมาธิ” นีม้ คี วามหมายกวา งขวางมาก จิตรวมอยูไดนานดวย มี
ความชํานชิ าํ นาญในการเขาออกของสมาธิดวย ตองการเวลาใดไดต ามความตอ งการ
ดว ย
แตเราผูบาํ เพ็ญในทางปญญานัน้ ไมจ ําเปน ตอ งถงึ ขัน้ อัปปนาสมาธแิ ลว จึงจะ
ตอ งพจิ ารณาทางปญ ญา เร่ืองของสมาธิ คอื ความสงบ จะสงบมากนอย พงึ ทราบวา เปน
บาทฐานแหงวปิ ส สนาคอื ปญญาเปนขนั้ ๆ ไป เพราะปญ ญามหี ลายขัน้ ขน้ั หยาบ ขนั้
กลาง ขั้นละเอียด สมาธใิ นขั้นหยาบก็เปนบาทฐานของวปิ สสนาข้นั หยาบได ข้ันกลาง
ข้ันละเอียดก็เปนบาทฐานของปญญาข้นั กลาง ขั้นละเอียดได และในขณะเดยี วกันพงึ
ทราบวา สมาธกิ บั ปญญาน้ันเปนธรรมคูเ คียงโดยจะแยกจากกันไมอ อก ควรใชป ญญาคู
เคียงกันไปกบั สมาธิตามโอกาสอนั ควร คือถา เราจะดาํ เนินในทางสมาธโิ ดยถายเดยี ว
ไมคํานงึ ถึงเร่อื งปญญาเลยแลว จะเปนเหตใุ หต ดิ สมาธิคือความสงบ
เมอ่ื จิตถอนออกมาจากสมาธิแลว ตอ งพจิ ารณาในทางปญ ญา เชนพจิ ารณาธาตุ
ขนั ธโ ดยทางไตรลกั ษณ วนั น้ีกพ็ ิจารณาอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา วนั หนากพ็ ิจารณา
อนิจจงั ทุกขัง อนัตตา ไตรตรองอยเู ชนน้ที ุกวันทกุ คืนไป ไมตองสงสยั วาจะไมชํานาญ
ในทางปญญา ตอ งมคี วามคลอ งแคลวชาํ นาญเชนเดียวกนั กับทางสมาธิ ปญ ญาใน
เบอ้ื งตนตองอาศยั การบังคับใหพ ิจารณาอยูบาง ไมใชจติ เปน สมาธแิ ลวจะกลาย
เปน ปญ ญาขนึ้ มาทีเดียว ถา จิตเปนสมาธแิ ลว กลายเปนปญ ญาข้ึนมาเอง โดยผู
บําเพญ็ ไมตองสนใจมาพิจารณาทางดา นปญญาเลยแลว จิตกไ็ มมีโอกาสจะตดิ
สมาธิ ดงั ทเี่ คยปรากฏดาษดืน่ ในวงนักปฏิบัติ ความจริงเบื้องตนตองอาศยั มา
พจิ ารณา ปญญาจะมคี วามคลองแคลวและมีความสวางไสว ท้งั รเู ทาทนั กับสง่ิ ที่มาเกยี่ ว
ขอ งเปน ลําดบั จะเปน ไตรลกั ษณท หี่ ยาบกจ็ ะเหน็ ในทางปญญา
แวนดวงใจ กณั ฑเ์ ทศ-นท์ ๓่ี ๑๕๒๗-: ธรรมปา่
๑๘
คําวา ไตรลักษณอ ยางหยาบ อยา งกลาง และอยางละเอียดนั้น ข้ึนอยูก บั การ
พิจารณา เชนเราพจิ ารณาในสว นรางกายจดั วาเปน ไตรลกั ษณสว นหยาบ พจิ ารณาใน
เวทนา สัญญา สงั ขาร วญิ ญาณ จดั เปนไตรลักษณส วนกลาง พจิ ารณาเรอ่ื งจิตท่ีเปนราก
เหงา แหง วัฏฏะจริง ๆ แลว นั่นคือไตรลกั ษณสวนละเอยี ด เมื่อจิตไดกา วเขาสูไตร
ลกั ษณส วนหยาบ ไตรลักษณสว นกลาง ไตรลักษณสวนละเอยี ด จนผานพนไตรลักษณ
ทั้งสามนี้ไปแลว ธรรมชาตทิ ่ปี รากฏขึ้นในอันดบั ตอ ไปอยางไมมปี ญ หาใด ๆ นน้ั จะ
เรียกวา อัตตากต็ าม อนตั ตาก็ตาม ไมเ ปนไปตามความสมมุตนิ ิยมใด ๆ ทัง้ นนั้ เพราะ
อัตตากบั อนัตตาเปนเร่อื งของสมมุติ ซ่ึงโลกกม็ อี ยดู วยกัน ธรรมชาติอันนั้นไมใ ชส มมตุ ิ
โลกท้ังหลายจงึ เออื้ มถึงไดยาก เมือ่ มอี ัตตาและอนัตตาเปน เครื่องเคลอื บแฝงอยูในใจ
สมเด็จพระผมู ีพระภาคเจาไดท รงพจิ ารณาในสภาวะทัง้ หลาย โดยไตรลกั ษณ
สว นหยาบ สว นกลาง และสว นละเอียด จนเห็นประจักษแจม แจง พระทัยแลว กาลใด
กาลนน้ั พระองคจึงทรงเปลงพระอทุ านขึน้ วา เรียนจบไตรภพโดยสมบรู ณแลว จากนั้น
กท็ รงปลงพระทยั ท่ีจะสั่งสอนสัตวท ้ังหลาย มเี บญจวคั คียเปน ตน พรอ มกบั การประกาศ
พระองคว า เปนศาสดาของโลกได ถา พระองคยงั ไมผ านไตรลกั ษณ คือ อนิจจงั ทุกขัง
อนัตตา ทง้ั สวนหยาบ สว นกลาง และสว นละเอียดไปแลว พระองคจ ะเปน ศาสดาของ
โลกอยางเต็มท่ไี มไ ดเลย เราทง้ั หลายผมู งุ จะเปน ครสู อนตน เปนผูฝก ฝนทรมานตน เรา
กต็ อ งดําเนินไปตามแนวทางท่ีพระองคท รงพิจารณา และทรงรูเ ห็นไปโดยลาํ ดบั เชนนี้
คําวา ไตรลกั ษณ คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตาดว ย ไตรลกั ษณขั้นหยาบ ขนั้ กลาง
ขั้นละเอยี ดดวย พึงทราบวา มอี ยใู นกายในใจของเราทกุ ทาน ไมใ ชมีแตพ ระพุทธเจา
พระองคเ ดียวและพระสาวกของพระองคเทานั้น พึงทราบวาเราทั้งหลายเวลานก้ี ําลัง
เปนภาชนะทีส่ มบรู ณอ ยูแลวที่จะสามารถพจิ ารณา และรบั รองสภาวะทไี่ ดอธิบายมาน้ี
ใหเห็นแจม แจงขน้ึ ในใจ ซง่ึ เรยี กวา ธรรมในหลักธรรมชาติ เปน ของมอี ยตู ้งั แตว นั กา ว
เขาสปู ฏสิ นธวิ ญิ ญาณมาเปนลาํ ดบั จนถงึ วันนี้ องคสมเด็จพระผูมพี ระภาคเจาทาน
พจิ ารณาเหน็ สภาวธรรมทง้ั หลาย ไมไดไ ปคนหาท่ีไหน ธรรมท้ังหลายมอี ยูแลว อยาง
สมบรู ณ พระองคพจิ ารณาตามหลกั ธรรมชาติเหลาน้ีใหเ หน็ ชัดแจม แจง ตามหลกั แหง
ธรรมทัง้ หลายที่มอี ยูอยา งสมบูรณท ้ังภายนอกและภายใน จนหายสงสัยของพระทัยทกุ
อาการแลว จงึ ไดป ระกาศพระองคว า เปนผสู น้ิ แลวจากสังสารจักร คอื ความหมุนเวียน
เปล่ียนแปลง ไดแ กค วามเกิด แก เจ็บ ตายเหลา น้ี
แวนดวงใจ แว่นดวงใจ : ภ-าค๓๑๖๑๘-อบรมฆราวาส
๑๙
เราซ่งึ เปน พทุ ธบริษทั ของพระองคเจา ขอไดโปรดพิจารณาสภาวธรรมซงึ่ มอี ยู
ในตัว และเราอยาคดิ มากไปวา เราไมม ีศลี จะบาํ เพ็ญสมาธิใหเ ปนไปไมไ ด เราไมม ี
สมาธิจะบาํ เพญ็ ปญญาใหเปนไปไมไดด งั น้ี พงึ ทราบวา ศลี สมาธิ ปญญา เปน ธรรม
สมั พันธเกย่ี วเนือ่ งอยูกบั หัวใจของผูตงั้ ใจปฏิบตั ิดว ยกันทกุ ทา น ศลี หมายถึงปกติ
ความเปนปกตขิ องใจในปจจุบันนัน้ ปรากฏเปนศลี ขึน้ มาแลว ความสงบของใจในขณะที่
กาํ ลังภาวนาอยูนนั้ เรียกวา จติ เปน สมาธขิ ้นึ มาแลว การพิจารณาไตรตรองในหลักธรรม
ชาติ คือไตรลกั ษณท ี่มีอยทู วั่ สรรพางคร างกายและจติ ใจทั้งภายในและภายนอก จะเปน
เวลาใดก็ตาม พงึ ทราบวา ปญญาเรม่ิ ปรากฏขนึ้ มาภายในใจของเราแลว
เม่อื เราไดพ ยายามบําเพญ็ ในธรรมท้ังสามประเภท คือ ศลี สมาธิ ปญญา ใหม ี
การติดตอ กนั เปนลาํ ดับไป ศลี สมาธิ ปญญา จะเปนธรรมทมี่ ีกาํ ลงั กลา อาจปรากฏข้นึ
ภายในใจของเราท้งั สามประเภทพรอม ๆ กัน เราอยา เขา ใจวา เราเปน หญงิ หรอื ฆราวาส
แลวจะไมส ามารถบาํ เพ็ญสมณธรรม คือคุณงามความดี มมี รรค ผล นิพพานท่ีเรา
ตอ งการใหเ กิดข้นึ ในตวั ได ถา เราคดิ เชน นัน้ เปนความคดิ ผดิ จะเปนอปุ สรรคตอ ตนเอง
เพราะองคแหงอริยสจั ธรรมทง้ั สไี่ มไดน ยิ มวาน้คี ือผูหญงิ นน้ั คอื ผชู าย นน้ั ฆราวาส นนั้
คอื นักบวช พระ เณร เถร ชี แตมอี ยใู นสัตว สังขารบรรดาท่ีมีวิญญาณครองทว่ั ไป เมื่อ
ผใู ดมีปญญาพจิ ารณาอรยิ สจั ธรรมทัง้ สนี่ ี้ ผูนัน้ แลเปน ผกู ําลังกาวดําเนนิ ตามเสด็จพระ
องคทานเปนลําดบั อรยิ สจั ธรรมท้ังสนี่ ้ี คอื ทุกข สมทุ ยั นโิ รธ มรรค
คําวา “ทุกข” เปนชื่อแหง ธรรมชาตอิ ันหนงึ่ ซ่งึ เปนส่งิ ท่ีปรากฏอยูในกายและ
ในจิตของเรา ความไมสงบกายกด็ ี ความไมสงบใจก็ดี ทานเรยี กวา อรยิ สจั คือของจริง
อยางประเสรฐิ ของจริงทไ่ี มเ อนเอียงไปตามบคุ คลผูใด ใครจะตาํ หนิธรรมชาติน้ีวา ดกี ็
ตาม วา ช่ัวกต็ าม ธรรมชาตนิ ้กี ค็ อื ธรรมชาตนิ ้นี ้ันเอง ไมไดเปล่ยี นแปลงไปตามความ
ตําหนติ ชิ มของบคุ คลหรือสัตวใด ๆ ท้งั นัน้ ทานจึงเรียกวา ของจรงิ และมีอยูเ หมือน
เงาตามตัว แตเ งาจะปรากฏในทแี่ จง เทา นน้ั เขาสูที่มืดแลว เงาไมปรากฏ สวนอรยิ สัจ
ธรรมทง้ั สี่ มที กุ ขสัจเปน ตน เราจะอยใู นท่มี ดื กต็ าม อยใู นท่ีแจง ก็ตามจะปรากฏในกาย
ในใจของเราเสมอไป ไมวาเปน ทกุ ข หรอื เปนสขุ ฉะน้ันโปรดกําหนดพิจารณาใหท่ัวถึง
ตามที่อริยสัจปรากฏอยู
เรอื่ งการพิจารณากองทกุ ขน ี้ เราไมไ ดห มายจะเอาทกุ ขมาเปนสมบัตขิ องเรา แต
ถา เราไมพ จิ ารณาทุกข เรากไ็ มมอี ุบายปญ ญารรู อบคอบและหายสงสยั ในทกุ ข ก็จะเกิด
ความลมุ หลงนําทกุ ขมาพัวพนั ภายในใจวา เราท้งั อวยั วะนเี้ ปน ทุกข หรอื วาทกุ ขท งั้ หมด
แวน ดวงใจ กณั ฑ์เทศน- ท์ ๓่ี ๑๗๒๙-: ธรรมปา่
๒๐
น้ีเปนตัวของเราไปเสีย การที่เราพจิ ารณาทกุ ขใหเ หน็ ชดั ตามเปน จริงแลว เรากับทกุ ข
นั้นจะแยกกันออกได โดยไมตองคาดหมายใหเ ปน กังวล จะเห็นวาทกุ ขน นั้ เปนสวนหนึ่ง
จากเรา ในขณะเดยี วกนั เราผูรใู นสขุ กด็ ี ในทุกขก็ดี กจ็ ะเห็นวาเปน สภาพอันหนงึ่ จาก
เวทนาท้งั สามน้ัน
การพิจารณาทุกขโดยอุบายแยบคายและความรอบคอบอยางน้ี จงึ เปนทาง
ปลอ ยวางความกงั วลในทุกข หรือแยกความเปนทกุ ขนั้นออกจากตวั เราได โดยเหน็ วา
ทกุ ขน นั้ เปนของจริงอันหน่งึ ธรรมชาตทิ ี่รูทุกขคอื ใจนก้ี ็เปนของจรงิ อนั หน่ึง ไมสับสน
ปนกนั โดยถอื ทกุ ขน ้นั วาเปน เรา และถอื เราวา เปน ทุกข แมท ุกขจ ะปรากฏขนึ้ ทางกายก็
เห็นวา เปน สภาพอันหนึ่งจากความรู ไมใชเ รา ย่ิงพิจารณาเขา ไปภายใน คือทุกขทางใจ
กจ็ ะเห็นเชน เดียวกนั การพจิ ารณาทุกขท ง้ั นี้ เรียกวา ไดด าํ เนินมรรคไปในตัวแลว เพราะ
ถา ไมใชปญ ญาก็ไมม ีเครื่องมือเพอ่ื ดําเนนิ การไตรต รองหรือพจิ ารณาทกุ ขตั้งใจดูทุกข
กาํ หนดรทู ุกข ตั้งสติดูทุกข ลว นแลว แตเ ปนเรือ่ งของมรรค คอื ศีล สมาธิ ปญ ญาท้งั น้นั
คือการพจิ ารณาทุกขก ็เปน อริยสจั อนั หนึ่ง เมือ่ เหน็ เรื่องของทุกขแลว เปน เหตุให
คดิ ตอ ไปวา ทุกขนี้เกิดข้ึนเพราะอะไร เชน เราเสียใจในขณะท่ีประสบส่งิ ทีไ่ มน า ปรารถนา
โดยมีใครมาดาทอใหกระทบกระเทือนเราดว ยกริ ิยามารยาทอนั ไมส มควร เกิดความ
เสียใจขน้ึ มา เราพยายามพิจารณาหาตน เหตแุ หง ความเสยี ใจวา เกิดขึน้ มาเพราะเหตุใด
และจะมีทางแกไขความเสียใจดว ยวิธีใด ดงั นก้ี ็เรยี กวา เราพยายามจะถอนสมทุ ัยอยูใ น
ขณะเดียวกนั นัน้ แลว เมอ่ื เราทาํ การพจิ ารณาเร่อื ง ทุกข สมทุ ัย โดยมรรค คือสติกับ
ปญญาไปโดยทํานองนี้ ก็เปน การทําใหแ จงซ่งึ นโิ รธโดยลาํ ดับในขณะเดยี วกนั
อนึง่ โปรดทราบวาทกุ ขกบั สมทุ ัยมหี ลายขัน้ มรรคก็มหี ลายขั้น มอี ยางหยาบ
อยางกลาง อยา งละเอียด นิโรธกม็ ีหลายข้ันเชน เดียวกัน ทุกขสวนหยาบดบั ไป นโิ รธ
สว นหยาบไดเรมิ่ ปรากฏตวั ขึ้นมา ทกุ ขส ว นกลางดบั ไป นโิ รธสว นกลางไดปรากฏตัวข้นึ
มา ทกุ ขสวนละเอยี ดดับไป นิโรธไดปรากฏตัวขนึ้ มาอยางเต็มท่ี จึงควรทราบไวอ ยางนี้
ไมใชว า ทุกข สมทุ ัย นโิ รธ มรรค จะเปน ธรรมขัน้ เดยี ว แยกกนั ไดอ ยางน้ี เราพจิ ารณา
เบื้องตน ก็ตองเปนข้ันหยาบ ตอมากค็ อ ยเลือ่ นฐานะขนึ้ ไปขัน้ กลาง ขั้นละเอียด โดย
ความรอู ันเดียวเปน ผพู ิจารณา ความรูอันเดยี วเปน ผูวิพากษวจิ ารณ จนกลายเปน ความ
แยบคายโดยลําดบั และกลายเปน ความรคู วามฉลาดอนั ยอดเย่ยี มขนึ้ มาเปน ขน้ั ๆ จาก
ดวงใจอนั เดียวกัน
แวน ดวงใจ แว่นดวงใจ : ภ-า๓ค๒๘๑๐-อบรมฆราวาส
๒๑
พระพุทธเจา ผดู าํ เนนิ มากอนก็ทรงทําเชน น้ี รูส ึกวา พระองคเ ปน มาดว ยความ
ทกุ ขความลําบาก เปนมาดวยความอดทน เปน มาดว ยความขยนั หมั่นเพยี รและกลาเสีย
สละ แมช วี ิตก็ไมท รงเสียดาย เพ่อื ใหไดอรยิ สัจซึง่ เปนธรรมสายเอก ทรงพยายามเพอื่ รู
ชดั ในทุกขซ่งึ เปนความเดอื ดรอนในทุกขทง้ั มวล และพยายามร้อื ถอนสมุทยั อนั เปน ตวั
กอ ใหเ หตทุ ัง้ มวลเกดิ ข้นึ ดว ยมรรค คอื ศีล สมาธิ ปญญา เพือ่ ปรากฏผลคือ นโิ รธ
ความดับทกุ ขเปน ข้ัน ๆ จนไมมีอะไรเหลอื อยูภายในใจ แมอรยิ สจั สซ่ี ง่ึ เปนธรรมทเ่ี คย
เหน็ วา ลล้ี บั กป็ รากฏผลเปนธรรมเปดเผยตอ พระทยั ข้นึ มาจนได เพราะความพยายาม
เปน กญุ แจดอกสําคญั
ฉะนน้ั บรรดาเราทุกทา นผมู ุงตอ แดนพนทุกขต ามพระองค โปรดพจิ ารณาโดย
โอปนยโิ ก นอมอรยิ สจั ทง้ั สเ่ี ขามาสูกายสูใ จ ใหตรงตามหลักความจรงิ ซ่ึงเปนของมอี ยู
เชน เดียวกบั พระพทุ ธเจา ไมม อี ะไรบกพรอง และไมม ีสงิ่ ใดแปลกกนั แมแ ตนอย ปญญา
ทห่ี ย่งั ทราบในอริยสัจทั้งสกี่ เ็ กดิ จากใจดวงเดียว เราผูกําลังฟง เทศนอ ยใู นบัดน้ีจงึ ไมม ี
ความผิดแปลกอะไรจากคร้ังพทุ ธกาล และเปนปจจบุ ันกาลอยูเสมอ ภายในใจของผตู ัง้
ไวด ว ยดแี ลว ในคลองแหงธรรม และเปน ผูสามารถจะรบั รใู นสจั ธรรมทง้ั หลายซ่งึ เปน
ของมีอยใู นตวั เม่ือกาํ ลังปญญาสามารถแลว ยอมรอบรูท้งั ภายนอกและภายใน ตลอด
ดวงจติ ไมม ีอันใดเหลอื คําวารอบรูภ ายนอกน้ัน หมายถึง รปู เสยี ง กลิน่ รส เครอ่ื ง
สมั ผสั และปลอยวางได การพจิ ารณาภายใน คือ ยอนจิตเขามาสภู ายในกาย จนสามารถ
รูเทา กายทุกสวน เพราะอาํ นาจการพิจารณา จนถอนจากอปุ าทานความถือกายเสียได
สวนเวทนาจะเปนสุขก็ดี ทุกขก็ดี เฉย ๆ ก็ดี สัญญาความจําไดห มายรกู ็ดี
สังขาร ความปรงุ จะปรุงดี ปรงุ ชวั่ ปรงุ กลาง ๆ ปรงุ อดีต อนาคต กท็ ราบชดั วา เปน
เพียงสภาวะอันหนง่ึ ๆ วญิ ญาณ ความรับรูก็เปน เพยี งสภาวะอันหนึ่ง รวมแลว เรยี กวา
กองอนิจจัง ทุกขัง อนัตตาทัง้ นนั้ ปญญารรู อบแลวปลอ ยวางเขา ไปเปนลาํ ดบั ทนี ้ียัง
เหลือจิตซง่ึ เปน ตัวเหตุอันสําคญั และเปน ผใู หน ามวา รปู เวทนา สัญญา สงั ขาร
วญิ ญาณก็ดี และเปนผูห ลงในรปู เวทนา สัญญา สงั ขาร วิญญาณกด็ ี มายึดในรปู
เวทนา สัญญา สังขาร วญิ ญาณกด็ ี ปญ ญาขดุ คน ตามเขาไปเปนระยะ ๆ จนถงึ รากฐาน
แหงวัฏจักร คอื ความรูอวชิ ชาผเู ปนจอมแหง ไตรภพอนั เปนเร่อื งบรรจุแหงเร่อื งท้ังปวง
ชื่อวา เร่อื งท้งั หมดรวมอยทู ีน่ ี้ เพราะเหตุนนั้ ทา นจึงใหนามวา ปมแหงวฏั จกั ร
จงพจิ ารณาจนเห็นวานกี้ ค็ ือไตรลักษณ และเปน เครื่องมือของไตรจกั ร เชน เดียว
กบั สภาวธรรมอืน่ ๆ เมอ่ื รูเห็นชัดแลวความถอื มัน่ ยดึ มั่นในความรูทีเ่ จอื ดว ยยาพษิ จะ
แวน ดวงใจ กณั ฑ์เทศน-์ท๓ี่ ๒๒๙ ๑-: ธรรมป่า
๒๒
หมดไป เพราะเหน็ เปน อสรพิษอยางแนใจ ตองสลัดปดทิ้งทันที ความรูซ ่งึ เปน ตวั
อวิชชากข็ าดกระเดน็ ออกจากใจ เรอื่ งทั้งหลายทเ่ี ต็มอยกู บั ความรทู ่ีเต็มไปดวยเรื่องก็
ขาดไปพรอม ๆ กัน เรอื่ งทเี่ ปนกเิ ลสท้ังมวลไมม ีทางเกดิ ขึน้ จึงยตุ ลิ ง ความสัมผสั จาก
การเหน็ การไดยนิ การสูดกลน่ิ ลม้ิ รสทงั้ ปวงจึงเปนเพียงสกั วากริ ิยา ไมมเี รอ่ื งจะให
เกดิ ความซมึ ซาบและยึดมัน่ ถือม่นั ซึ่งเปนตัวอปุ าทานอีกตอ ไป เพราะความรทู ีเ่ ปนไป
ดวยเร่ืองซง่ึ เปน ผูบ งการไดห มดส้ินไปแลว เรอื่ งทง้ั หลายจึงไมมี
พระพทุ ธเจา กด็ ี สาวกท้งั หลายกด็ ี ไดทาํ ลายความรูท ่เี ต็มไปดว ยเรือ่ งนีข้ าดสนิ้
ไปจากจิตใจแลว แมทานจะทรงขนั ธอยู ขันธก ็สักวา ขนั ธ คือรปู ก็สกั วา รปู เสยี ง กลน่ิ
รส เคร่ืองสมั ผัสทั้งหลายก็สกั วาเทาน้ัน รปู เวทนา สญั ญา สังขาร วิญญาณ ซ่งึ เปน ของ
มีอยูประจําขนั ธ ๕ ก็สักแตว า อาการนัน้ ๆ เทานั้น ไมมีเรือ่ งเก่ยี วของกบั จิตอันจะให
เกดิ ความกังวล เพราะจิตกลายเปน จติ ที่พนจากเรือ่ งแลว คอื เปนจิตทีไ่ มม ีสมมุติแลว ก็
จติ ท่ีเปนสมมตุ หิ มายถึงจิตทีเ่ ต็มไปดว ยเร่อื งดังกลา ว คอื มีอวิชชาเปน หัวหนา ความรูท ี่
อยใู ตอ าํ นาจอวิชชาจัดวาความรูทเี่ ต็มไปดว ยเรอ่ื ง ฉะน้นั เรื่องจะโกรธกด็ ี เรอื่ งจะโลภก็
ดี เรื่องจะหลงก็ดี จึงขึ้นอยกู บั ความรอู นั น้ที ั้งนน้ั เมื่อความรอู ันน้ไี ดดับลงไป เร่อื งจะ
โลภ เร่อื งจะหลงจึงไมมีอกี ตอไป เพราะรากเหงา มันดบั แลวกิ่งกานสาขาจะทนอยไู ด
อยา งไร จาํ ตอ งดับตามกนั ไปหมด
ปญญาทพี่ จิ ารณาเปน ไปตามลําดบั จนรแู จง เหน็ จริงแลว คาํ วา จติ กห็ มดสมมตุ ิ
ไป จะใหช ่ือใหนามกส็ กั แตว า ไมไ ดมีความผูกพันมั่นหมายในความรปู ระเภทน้นั ทา น
จึงเปน ผูหมดเร่ืองทางภายใน อยูด ว ยความไมมปี จจัยสืบตอ ระหวางจติ กบั อารมณ เปน
บรมสุขในอิริยาบถทงั้ สี่ คือ ยืน เดิน น่ัง นอนไมม เี รอื่ งทั้งนน้ั หลบั หรือตน่ื กเ็ ปนสุข
เพราะไมม สี ง่ิ รบกวนใจ เปน อยดู ว ยความหมดเร่อื ง ขนั ธ ๕ จงึ กลายเปน เครอื่ งมือ
สําหรบั ใชเ ปน ประโยชนข องนกั ปราชญโ ดยสมบรู ณก อ น แตยงั ไมร ูเ ทาทนั ขนั ธท ้งั ๕
ตองเปน เครอ่ื งมือของมหาโจรผลู ือนามซ่งึ เปน หัวหนา บงั คับขันธท งั้ ๕
คือกาย จําตอ งทําไปดว ยอาํ นาจของกิเลสตณั หา เวทนาท่ปี รากฏขึน้ มากป็ รากฏ
ข้ึนมาดวยอํานาจกิเลสตณั หา สญั ญาจําข้ึนมากจ็ าํ เพราะอํานาจของกเิ ลสตณั หา สังขารก็
ปรงุ เร่อื งกิเลสตัณหาทัง้ มวล วญิ ญาณก็รบั รเู พ่ือกเิ ลสตณั หาอาสวะไปเสียทัง้ นั้น เพราะ
เจา อวชิ ชาเปนตัวมหาโจร คือเจาเรือน เจา กเิ ลสตัณหา รากเหงาแหง กเิ ลสตณั หาทงั้
มวลอยทู ี่นนั้ ทงั้ หมด พออวิชชาดบั ไปเทานนั้ ขันธท ้งั ๕ จึงกลายเปนเครือ่ งมอื ของ
อวชิ ชาวมิ ุตติไป วิชชาวมิ ตุ ติไดผ ดุ ข้นึ มาอยางเตม็ ที่แลว ขนั ธก ลายเปนบรษิ ัทบริวาร
แวนดวงใจ แวน่ ดวงใจ : ภ-า๔ค๒๐๑๒-อบรมฆราวาส
๒๓
คอื เครือ่ งมอื วิชชาวมิ ุตติน้ันไปเสีย กิรยิ าของกายทจี่ ะเคลื่อนไหวก็จะเปนไปโดยธรรม
เวทนาคอื ความสุข ความทุกข เฉย ๆ ซ่งึ เกิดขึ้นทางกายกเ็ ปน ไปโดยธรรม สัญญา จาํ
ไดหมายรูกจ็ ําไปโดยธรรม สังขารกป็ รุงโดยธรรม วิญญาณก็รบั รูโดยธรรมท้ังนั้น ไมได
เปน ตามกเิ ลสตณั หาอาสวะท่เี คยเปน มา
องคสมเด็จพระผมู พี ระภาคทานทรงทาํ ปริวรรต ทา นทาํ อยางน้ี ทอ งเที่ยวใน
วฏั สงสาร พระพุทธเจา กท็ องเทย่ี วมานานไมม ีจบสนิ้ เทีย่ วท่ีไหนก็เกิดตายท่นี นั่ ทุกขที่
นั่น เม่ือไดป รวิ รรต กลับเขา มาทองเทย่ี วในสกลกายและใจ คือ จดุ ที่รวมแหง อรยิ ธรรม
โดยหลกั ธรรมชาตินีแ้ ลว จงึ ไดยกธงชัยวา “พทุ โธ” อยา งเต็มดวง ผูขา มหว งแหงความ
หลงแลวกน็ าํ มาประกาศใหเ ราทั้งหลายไดถ อื เปน สรณะ คอื พทุ ฺธํ ธมมฺ ํ สงฺฆํ สรณํ คจฺ
ฉามิ อยจู นบัดน้ี ธรรมทง้ั นเี้ กดิ ขึ้นมาจากการปรวิ รรตเขามาสูภายใน เรยี กวา โอปนยิ
โก นอมเขามาสภู ายใน พิจารณาใหเ หน็ ชัดแจมแจง
การขา มโลกสงสารไมขามทีไ่ หน โลกกค็ ือดวงใจทเ่ี ปนอวชิ ชาน้ที งั้ ดวง สงั สาระ
ความทอ งเท่ยี วก็หมายถงึ จิตดวงน้ี วฏั จักร ตวั หมนุ ก็คือความรูทเ่ี ตม็ ไปดวยเรือ่ งนเ้ี อง
เปนเหตใุ หว กเวยี นไปมา กรรมทัง้ หลายจึงสืบตอ กนั ไปโดยลาํ ดับ เพราะธรรมชาตซิ ่ึง
เปนตัวจกั รใหญพาหมุนอยตู ลอดเวลา เมื่อตวั จักรใหญไดทําลายลงแลว ตวั จกั รเล็กก็
พลอยถูกทําลายไปตาม ๆ กัน ผลสุดทา ยไมม อี ะไรเหลืออยู เชน เดยี วกบั ตน ไมท ถ่ี ูก
ถอนขน้ึ หมดท้งั ราก แมก ิ่งกา นสาขาจะมมี ากมายก็จะตองตายฉิบหายไปตาม ๆ กัน
หมด เร่อื งอวิชชาดับไปก็เชน เดยี วกนั กเิ ลสตัณหาประเภทใด ๆ ดบั ไปหมด ไมมีอะไร
เหลอื
วนั นแ้ี สดงธรรมเทศนาใหท านผูฟ งทง้ั หลายทราบในลักษณะแหงธรรมปา หาก
ไมถ กู จรติ จิตใจในหลกั ธรรมบางประการ ผแู สดงยงั หวังไดรบั อภัยจากบรรดาทา นผฟู ง
ทั้งหลายดวยจติ เมตตา ถา ธรรมท่แี สดงนพี้ อจะเปน ประโยชนไ ดบ า ง กข็ อไดโ ปรดนําไป
ไตรตรองและปฏบิ ัติตามในโอกาสอนั ควร ความสขุ ความเจรญิ ทโ่ี ลกปรารถนามานาน
จะเปน เครือ่ งสนองตอบแทนทานนกั ปฏิบัตทิ ง้ั หลาย ผูอุตสาหพ ยายามเปน ลาํ ดบั นบั
แตข ัน้ แรกจนถึงขั้นสูงสุด คอื วมิ ตุ ตนิ ิพพานฯ ในอนาคตอันใกลน้ี ดงั นั้นการแสดง
ธรรมกเ็ ห็นวาสมควรแกเ วลา จึงขอยตุ ิการแสดงเทาน้ี เอวํ
www.Luangta.or.th
แวนดวงใจ กัณฑ์เทศน- ท์ ๔ี่ ๒๑๒๓-: ธรรมปา่
๒๔
เมเอ่ืทเมวเศทอ่ืันนศวทอันน่ี บท์อ๘่ีบร๘รมมมเฆถิมฆนนุริถรกาุนือ้าาชณัวยวา�ำานยานฑสรสนาะพท์ณบณพใ่ีทุ จทุ ๓ุญวธวธดัศดัศปกัปัการา่รบาบาชชา้า นน๒๒ตต๕า๕าด๐ด๐๕๕
ตอ ไปน้ีจะไดเร่มิ แสดงคาํ สง่ั สอนของสมเด็จพระผูม พี ระภาคเจา ขอใหบ รรดา
ทานผฟู งพงึ สังเกตความเคลื่อนไหวแหง ใจของตนในขณะฟง ถาไดส ังเกตความเคลื่อน
ไหวของใจโดยใกลชิดแลว เราจะไดเ ห็นอาการทเ่ี คลื่อนไหว ซง่ึ แสดงออกมาท้ังดีและช่วั
จากใจดวงเดยี วทุกระยะ ทา นกลา วไววา โลกธาตุดเู หมอื นวากวา งขวางมากมาย แตนัน้
เปนสภาวธรรมอนั หนึง่ ๆ เทา น้นั เขาไมม ีความหมายและความรูสกึ ในตัวของเขาเองแต
อยา งใด
แตใจซง่ึ เปนตัวโลกธาตุนีเ้ ปน ธรรมชาติทีร่ ูสกึ ตัวเองอยูเสมอ และธรรมชาตนิ เ้ี ปน
สิ่งที่มีคณุ คายิง่ กวา สงิ่ ใด ๆ ในโลก ถา ช่วั ก็ไมม อี ะไรจะเทียบ ดกี ็ไมม อี ะไรจะทัดเทยี ม
และเปนธรรมชาติทแ่ี ปลกประหลาดย่ิงกวาส่ิงใด ๆ เหตุน้นั องคส มเด็จพระผูมีพระภาค
จึงไดตรสั ไววา มโนปุพพฺ งฺคมา ธมมฺ า เปนตน สงิ่ ทงั้ หลายมใี จเปนสําคญั จะดีหรือช่วั ข้ึน
อยูกับใจ แตส ่ิงท่ีเปน บริวารของใจกลับเปน นายของใจนน้ั มจี าํ นวนมาก ถาพดู อยางคํา
สวยงามกว็ า บรวิ ารของใจ เคร่ืองใชข องใจ แตถ า พดู ใหถกู หลักธรรมจริง ๆ แลวก็ควรวา
นายของใจ เครื่องกดถวงหรอื เคร่ืองผกู มัดจติ ใจนัน่ เอง
ใจทไ่ี มไ ดรับการอบรมยอ มมภี ยั รอบตัว แตส ว นมากก็เกดิ ข้นึ จากเรือ่ งของตวั เอง
ถายงั ไมไดอบรมใหรเู รื่องของตวั เองเสยี บางแลว ยอมจะคิดตําหนิติชมสิง่ ภายนอกมาก
กวาเร่อื งของใจผผู ลิตการตชิ มเสียเอง องคส มเด็จพระผมู ีพระภาคเจา จึงไดตรสั ไวว า
โอปนยิโก สงิ่ ท่ีเราเห็นดวยตากด็ ี ไดยนิ ดว ยหูกด็ ี พึงนอ มเขา มาสูใจใหท ราบวา สงิ่ ท้งั
หลายนั้นมใี จเปนผูร บั รู เปน ผใู หความหมายในสิ่งทง้ั ปวง ถา ใจไมเ ปน ผใู หความหมาย
แลว ส่ิงเหลานน้ั จะปรากฏความหมายขึน้ โดยลาํ พงั ตัวเองยอ มเปน ไปไมได การอบรมใจ
ก็เพ่อื จะใหรูเรอ่ื งของตวั เองผกู อ เหตุ
พระพทุ ธเจา ทรงพยายามอบรมพระองค เพ่ือใหร ูสกึ ดีชัว่ ในพระองคม าเปน เวลา
นาน แตน ่นั เปน วสิ ยั ของพระพทุ ธเจาซง่ึ เชน เดยี วกับหนทางหลวง ยอ มกวา งขวางหรือยดื
ยาว การกอสรางก็ตอ งทุม เทกําลังมากมาย จึงจะสมชอื่ วา เปนทางหลวง สว นทางของ
บุคคลท่ีจะไปสูจดุ ตา ง ๆ ยอมคบั แคบ พอหลวมตวั เทาน้นั ก็ไปไดอยา งสบาย แตภ าระที่
จะนําไปใหประโยชนสาํ หรบั ตนน้นั กม็ จี าํ นวนนอ ย พอเหมาะกับกาํ ลงั จะหอบหว้ิ ไปได
แวนดวงใจ กณั ฑ์เทศ-น์ท๒๔่ี๓๓๔-: ช�ำ ระใจ
๒๕
สว นทางหลวงเมื่อสาํ เรจ็ แลวนาํ สัมภาระไปไดม าก เชน ทางรถไฟ เปน ตน ไปมาแตละ
เทย่ี วบรรทกุ คนไดเปนจาํ นวนมาก นอกจากนั้นยงั มสี ิ่งของติดมากับรถไฟกม็ ีจํานวนไม
นอย
วิสยั ของพระพทุ ธเจาจะรื้อขนสตั วโลกใหพ น จากโอฆสงสาร กย็ อ มจะทมุ เทกาํ ลัง
ลงเปน จาํ นวนมากและเปน เวลานาน เมื่อบาํ เพญ็ ใหส าํ เร็จตามภมู ิของพทุ ธวิสัยแลว จงึ
เปนผูมคี วามสามารถและฉลาดแนะนําพร่าํ สอนสัตวท ง้ั หลาย พรอมทง้ั ทราบอปุ นสิ ยั ของ
สัตวแ ตละราย ๆ วาควรจะแนะนําพรํา่ สอนได โดยวธิ ีซึ่งจะใหส าํ เรจ็ ผลแกผมู าศึกษาและ
ปฏิบัตติ ามเปนขัน้ ๆ ไป พระองคท รงทราบไดด ี นอกจากทรงทราบอธั ยาศัยของบรรดา
สัตวแลว ยงั ทราบธรรมทจ่ี ะพงึ นาํ มาแนะนาํ สง่ั สอนใหไดป ระโยชนแกบ รรดาสตั วทั้ง
หลายเปน ราย ๆ ไปดวย แตสาวกทัง้ หลายไมม คี วามสามารถทดั เทียมพระพุทธเจา ได
เพยี งมกี ําลงั และความสามารถทจ่ี ะแนะนาํ ส่งั สอน ทําหนา ท่แี ทนพระพทุ ธองคไ ดตาม
กาํ ลงั ความสามารถของตนเทา นนั้ แมจะเปน ผูบรสิ ุทธห์ิ มดจดจากกิเลสอาสวะเชน เดียว
กับพระพุทธเจากต็ าม แตกาํ ลังความเชยี่ วชาญเฉลียวฉลาดสามารถที่จะแนะนาํ พุทธ
บริษทั ใหเปน ไปไดเปนจํานวนมากเหมือนอยา งพระพุทธเจานนั้ ไมใชว สิ ยั ของสาวกผไู ม
มีความสามารถเทาเทียมพระพทุ ธเจาได
เมอ่ื ยอนเขามาถึงเราท้งั หลายผูบาํ เพญ็ ใหขามพน ไปโดยเฉพาะแลว จงึ ไมควรคิด
วา พระพทุ ธเจา ทรงบาํ เพญ็ พุทธบารมีมาเปนจํานวนเทานั้นเทาน้ี ทานจึงสามารถพน ทุกข
ไปได แตเรามีกาํ ลงั เพยี งเทาน้ี สตปิ ญ ญาเพยี งเทาน้ี ไฉนจะสามารถบาํ เพญ็ ตนใหพ นได
เชน พระพุทธเจา ทถ่ี กู เราไมควรคิดเชนน้นั เพราะวสิ ยั ของพระพทุ ธเจากับวิสัยของเรามี
ความแตกตางกนั มาก ถาจะเทยี บกับรถ รถของพระพุทธเจาเปนรถขนาดใหญ เชน
รถไฟหรอื รถบรรทุก รถของพวกเราเปนรถเล็กและรถน่ังเฉพาะ ไมส ามารถจะบรรทุก
สมั ภาระและคนโดยสารไปได แมจะบรรทกุ ไปบางก็เพียงหน่ึงคนหรอื สองคนเทาน้ันก็พอ
ดีกับกําลังของตน ไมเหมอื นรถใหญซง่ึ บรรทุกไดค ราวละมาก ๆ กบ็ ัดนเ้ี ราจะพยายาม
บรรทุกเฉพาะตวั ของเราใหข ามพนไปดวยความสะดวกและราบร่ืน โดยไมเ กีย่ วกับภาระ
ซ่งึ จะเปน ทางใหเ น่นิ ชา จึงไมค วรเทียบพระพุทธเจา กับเราในสวนบาํ เพ็ญบารมี
อนึง่ การอบรมใจท่เี รากําลงั ทําอยูขณะนี้ นบั วาเปนวิธีท่ีถกู ตองรดั กมุ อยแู ลว พอ
จะพยุงเราใหก า วพน ไปจากวัฏสงสารไดทนั กับเวลา สวนวิธีอืน่ กเ็ ปนประโยชนและเปน
อปุ กรณซ่ึงกนั และกันอยแู ลว แตว ธิ นี เี้ ปนวธิ ีทรี่ ดั กุม พอเปนทาํ นบท่ีไหลรวมแหงบารมี
ทัง้ หลายใหม ารวมอยูจ ดุ เดยี ว คอื ใจทเ่ี ต็มไปดว ยความสงบและเยอื กเย็น เพราะฉะน้ัน
แวน ดวงใจ ๒๕
แวน่ ดวงใจ : ภ-า๔ค๔๑-อบรมฆราวาส
๒๖
บรรดาพระภิกษุสามเณรที่บรรพชาอปุ สมบทในพระพทุ ธศาสนาแลว หลกั พระธรรมวนิ ัย
จงึ ไมนยิ มใหป ระกอบการงานสวนอืน่ ซง่ึ นอกไปจากขอวัตรปฏิบตั ิ คือ ศลี สมาธิ ปญญา
อนั เปน หนา ที่เฉพาะของนกั บวช เฉพาะผบู วชจึงสอนทางลัดทางตรงเสมอวา เกสา โลมา
นขา ทนั ตา ตโจ เปนตน
และสอนทอี่ ยทู อ่ี าศยั เพือ่ บําเพ็ญดวยความสะดวกตามเพศของนักบวชวา รุกขฺ
มลู เสนาสนํ นสิ สฺ าย ปพฺพชฺชา ตตฺถ โว ยาวชวี ํ อสุ สฺ าโห กรณโี ย บรรพชาอุปสมบทใน
พระศาสนาแลว ขอใหท า นทง้ั หลายพยายามอุตสา หอยตู ามรกุ ขมูล คือ รม ไมช ายเขาอัน
เปน ท่สี งัดวเิ วกและสะดวกแกการบาํ เพ็ญสมณธรรม ไมใหมีภาระผูกพนั พึงประพฤติตน
เชน เดียวกบั นกซ่งึ มีปกกบั หางเทา น้ัน แมจะเท่ียวหากินผลไมห รอื อาหาร ณ ที่ใดเพยี ง
พอแกจ ะงอยปากของตนแลว ก็บนิ ไปตามสบาย ทีห่ ลับนอนของนกไมมีกาํ หนดวา จะอยูที่
ไหน คํ่าทไ่ี หนก็นอนที่น่ัน ไมมีความเกาะเกีย่ วกงั วลใด ๆ แมบินไปจับตนไมแลว เมอ่ื จะ
บินจากตนนไี้ ปสูตน หนา กไ็ มไ ดท าํ ความผูกพันหรอื อาลยั ในตน ไมต น นี้เปนของตน บนิ
ผา นไปเปน ลาํ ดับ นกไมมกี ังวลใด ๆ ท้ังอาหารท่ียงั เหลืออยู ทัง้ ตน ไมทีต่ นอาศัย บนิ จาก
ไปแลว ก็ไมเ ปน อาลัย
บรรดานักบวชในพระพุทธศาสนา ซ่ึงมุงหนาเพอื่ ความเปน ลูกศษิ ยต ถาคตแลว
จาํ ตอ งดําเนินตนใหเ ปน อยา งฝูงนกเสมอไปตลอดชีวติ พยายามอบรมตนใหเปน ทรี่ มเย็น
และเปนเนื้อนาบญุ ของตนไดอ ยา งสมบูรณ ดวยอุบายวธิ ที ปี่ ระทานไว อะไรเลาทเี่ ปน เน้อื
นาบญุ ของตน คือ ทาน ศลี ภาวนา หรอื ศลี สมาธิ ปญญา ขอ วัตร ซ่ึงเปนอปุ กรณแ หง
การบําเพญ็ สมณธรรมเหลา น้ี จดั เปน เนอื้ นาบญุ แตล ะอยาง ๆ เปน ผมู ภี ารกิจนอ ย
บําเพญ็ อยูในศีล สมาธิ ปญญา ขดั เกลาจิตใจของตนอยเู สมอ ไมทําความผกู พนั อาลยั ใน
ทอี่ ยแู ละสถานที่อาศยั ตลอดถึงตระกลู ทีอ่ ุปการะเปนประจํา ซงึ่ ตนไดเ คยอาศัยทกุ วัน
บณิ ฑบาตมาวันหนึง่ จะไดอ ะไรมากนอ ยเปน ท่ีพอใจ ไมม ีความสาํ คัญมนั่ หมายในอาหาร
การบรโิ ภควา จะมรี สประณตี บรรจงหรอื ไมก ต็ าม เมื่อเหน็ วาไมข ัดของในหลกั พระธรรม
วนิ ยั แลว ยนิ ดบี ริโภคขบฉันไปเพยี งยังอตั ภาพใหเ ปน ไปในวันหน่งึ ๆ ซ่งึ จะเปน ประโยชน
แกชีวติ และการประกอบความเพยี รเทา นนั้ นี่ชอื่ วาเปน ผูทําตนใหเปนเนอ้ื นาบญุ ของตน
ตามท่ไี ดอ ธิบายแลว
ศลี กเ็ ปนเนือ้ นาบุญอันหน่งึ สมาธกิ เ็ ปนเนือ้ นาบุญอันหน่ึง ปญญาก็เปน เนอื้ นา
บญุ อนั หน่ึง ทานกเ็ ปนเนือ้ นาบุญอนั หนงึ่ ท้งั นักบวชและฆราวาสผบู าํ เพ็ญตามนจ้ี ัดวา
เปน ผบู าํ เพ็ญตนใหเ ปน เน้ือนาบญุ ของตน วนั นบี้ ําเพ็ญ วันหนา กบ็ าํ เพ็ญ ไมลดละในเนือ้
แวน ดวงใจ ๒๖
กณั ฑเ์ ทศ-นท์ ๔่ี๕๓-: ชำ�ระใจ
๒๗
นาบุญของตน จนสามารถทาํ ศลี ทําสมาธิ ทาํ ปญญาใหส มบรู ณข ้นึ แลว กก็ ลายเปน ความ
รม เย็นแกต นอยางเตม็ ท่ี เมือ่ มคี วามเพยี รบําเพ็ญตนใหเปนเน้อื นาบญุ ของตนไดแ ลว ก็
สามารถเปนเน้ือนาบญุ คอื ใหความรม เยน็ แกป ระชาชนไดเ ชนเดียวกนั แนวทางขององค
สมเด็จพระผมู ีพระภาคเจาและสาวกอรหนั ต ทา นไดดาํ เนนิ มาอยางน้ที ั้งนนั้
แมกอนพระองคจ ะเปน ศาสดาของโลก กป็ รากฏวาเปนศาสดาของพระองคเ องมา
กอน จนมีความคลอ งแคลวแกลว กลาในวิชชาวมิ ุตตหิ ลุดพน จากกิเลสอาสวะ เมือ่ เปน
ศาสดาในพระองคอยา งสมบูรณแลว ตอ มากเ็ ปน ครสู อนของเทวดาและมนุษยทง้ั หลาย
ซ่ึงเราทงั้ หลายกก็ ลาวอยูเสมอวา ปุรสิ ทมมฺ สารถิ สตถฺ า เทวมนสุ สฺ านํ ดงั น้ี ซึง่ หมาย
ความวาพระองคเปน บรุ ษุ ผูหน่ึงซ่ึงควรฝก ทรมานใหเ ปนผคู วรแกมนษุ ยธรรม และมรรค
ผลนิพพาน เมอ่ื ฝกทรมานไดเตม็ ภมู ิแลว เปน ผสู มควรจะสงั่ สอนโลกในวาระตอไป โดย
ไมเ ลือกชาติ ชน้ั วรรณะ และความมี ความจน เพราะน่ันมันเปนกฎของกรรมประจําสัตว
และบุคคล ไมมใี ครจะหลีกเล่ยี งได ตองยอมจํานนและรับเสวยผลกรรมทีม่ ปี ระจําตน
เฉพาะนักบวชเปน ไปเพ่ือไมก อความกงั วลวุนวาย แตเปน ไปเพอ่ื ประหัตประหาร
กิเลส ซง่ึ เปนขา ศกึ ภายในใจใหคอยหมดไป และเปนไปเพอ่ื การไมส ่งั สมกเิ ลสซ่งึ ยังไม
เกิดใหเ กดิ ขนึ้ กอ็ ยูในสถานที่นน้ั ไปในสถานทีน่ ้นั บําเพญ็ อยใู นสถานที่นนั้ ศีลก็เรมิ่
บรสิ ุทธ์ิบรบิ รู ณขนึ้ มา เพราะสถานทกี่ เ็ หมาะเจาะ การบําเพญ็ กส็ ะดวก สงิ่ ทจ่ี ะมากอกวน
ใหศ ีลดา งพรอ ยก็ไมม ี จะทําใหศีลขาดทะลุกไ็ มม ี แตละวนั เจริญขนึ้ ดว ยการรกั ษาและมี
สติสืบตอ อยูเสมอ จติ กไ็ มป ลอ ยไปตามอําเภอใจ พยายามระมัดระวงั รักษาความ
กระเทือนของจิตใจซ่ึงจะเปน ไปในทางทีผ่ ิด อันเกดิ ข้นึ จากความพลง้ั เผลอ
ใจเม่ือไดร ับการอบรมรกั ษาโดยความเอาใจใส กจ็ ะเปน ไปเพือ่ ความสงบเยอื ก
เย็น เหน็ ผลในปจจุบันจิต ปรากฏวา เปนความสุขความสบาย เบาทั้งกาย เบาทงั้ จติ คิด
คน ควา หาเหตผุ ลในหลกั ธรรม ซ่งึ จะเปน ไปเพอ่ื ความชดั เจนแจม แจงเปนลาํ ดับ จน
สามารถถอดถอนกเิ ลสอาสวะไปไดเ ปนข้นั ๆ ผลทีส่ ุดก็ไมมอี ะไรเหลอื อยภู ายในจติ ใจ
กลายเปนเนื้อบาบุญข้นึ มาอยา งมหัศจรรย อันดับตอไปก็สมควรจะประกาศพระศาสนา
ส่งั สอนประชาชนทั้งหลายไดเ หน็ อรรถเหน็ ธรรม ใหรทู างผิดทางถูก แลวบาํ เพ็ญตนให
เปน ลาํ ดับ ไมเสยี ชาติที่เขาเกิดมายงั ไมไดรบั ประโยชนจ ากผเู ปน ปุญญกั เขต ทรงคณุ อัน
สงู ในโลก ไดก ราบไวบ ชู าถึงสวรรค ถึงนิพพานได เพราะเหตุแหงพระรัตนตรยั นมี้ จี ํานวน
มาก เพราะทรงคณุ ไวอยางสมบูรณ ใครมากราบไหวก ็ไดร บั ผลประโยชน
แวนดวงใจ ๒๗
แวน่ ดวงใจ : ภ-า๔ค๖๑- อบรมฆราวาส
๒๘
เราทกุ ๆ คนพึงนอมธรรมเหลา นั้นเขามาสจู ิตใจ พุทธะ คือ ความรูมอี ยูท ี่ใจของ
เรา ธรรมะ ท่ีจะอบรมฝกฝนผรู นู ี้ใหม ีความเดน และมีความเฉลียวฉลาด จะตองเกิดขึ้น
จากผรู เู ปนผแู สวงหามาเอง เพอ่ื แนะนําพราํ่ สอนตนโดยทางทจี่ ะใหเปนไปเพ่ือความ
เฉลยี วฉลาด สงั ฆะ ผูจะปฏบิ ัตติ ามพระโอวาทคาํ ส่ังสอนของพระพุทธเจา พยายามแกไ ข
ตนเองก็คอื เรอื่ งของเราผเู ดียว จนสามารถปรากฏเปน พระรตั นตรัย คือพทุ ธะที่บรสิ ทุ ธิ์
แจมแจง ธรรมะคอื ความอัศจรรย ซึง่ เกดิ ข้ึนจากความบริสุทธิ์ สังฆะเปนเจา ของแหง
พุทธะและธรรมะ ทงั้ สามนัน้ กค็ ือเรอื่ งของเราคนเดยี ว การอธิบายทัง้ น้เี พ่ือนอ มพระ
รตั นตรัยเขามาสเู ราคนเดียว เพื่อเปนสมบตั ขิ องเราท่ีแทจ รงิ พุทโธ ธัมโม สังโฆ ของพระ
พทุ ธเจานั้นเปน สมบตั ิสว นหนง่ึ ซงึ่ เราไดห ยบิ ยมื มาคา คือการบําเพญ็ เพ่อื หากําไรใสตัว
เองจนปรากฏเปนพุทธะ ธรรมะ สังฆะ ในธรรมชาติขึน้ ภายในจิตใจของผบู ําเพญ็ ผูเชนนี้
จะไปอยูในที่ใด ๆ พระรตั นตรัยก็ตดิ แนบอยกู ับใจ
ฉะนัน้ พทุ โธ ธัมโม สังโฆ เม่ือกลาวโดยช่อื แลวกม็ ีแตกตา งกนั อยบู าง แตเม่อื
กลาวตามหลกั ธรรมชาตแิ ลว พุทธะอันใด ธรรมะก็อันน้นั ธรรมะอนั ใด สังฆะกอ็ นั น้นั
เพราะพทุ ธะ ธรรมะ สงั ฆะ เปน ธรรมกลมเกลียวกันอยา งสนทิ ไมไดนอกเหนือไปจากใจ
ดวงเดียวน้ี พุทธะดวงนัน้ เวลาน้กี ม็ ีอยกู บั พวกเรา โปรดพยายามอบรมแกไ ขใหไ ด พุทธะ
ดวงนไ้ี มน อกเหนอื ไปจากอํานาจของสตแิ ละปญญา ไมม ใี ครจะเปน ผูม ีอาํ นาจและวาสนา
ยงิ่ กวา ตัวเราที่จะอบรมฝก ฝนทรมานใจของเราไปได พระพทุ ธเจาแมพระองคมอี าํ นาจ
วาสนาเปน ศาสดา คือ ครูของสัตวโลกกต็ าม แตก ็เปนครใู นอบุ ายวธิ กี ารส่งั สอนตา งหาก
ไมใชเ ปน ผจู ะถอดถอนกเิ ลสอาสวะใหแ กบรรดาสัตวท ้ังหลายได
การถอดถอนกิเลสอาสวะต้งั แตข ้นั หยาบจนถงึ ขนั้ ละเอยี ดเปนหนา ทข่ี องเรา ซึ่งได
รบั อบุ ายวิธีจากพระพุทธเจา แลวมาพรา่ํ สอนตวั เองและแกไ ขตนเองโดยตรง ไดยน ธรรม
เขา มาสเู ราใหเ หน็ วา ปุ ญฺ กเฺ ขตฺตํ โลกสฺส ไมใ ชผอู ่ืนผูใ ดนอกจากตวั เราทุกทา นจะ
บาํ เพ็ญตนใหเ ปนประโยชนเ ฉพาะตนเทา น้ัน ไมมใี ครจะมาทําใหเ ราได วนั นเ้ี ราบน วา ยงุ
ยาก เราบน วา ลาํ บาก บนวา ไมม ีโอกาส วนั หนา เรากจ็ าํ ตอ งบน อกี ตอไป ผจู ะมาปลด
เปลอ้ื งความยุงเหยงิ ขัดของหรือโอกาสเวล่ําเวลาใหเรานัน้ ไมม ีใครจะสามารถมาเปลอ้ื ง
ใหได เพราะใครกต็ อ งเตม็ ไปดว ยความยุง เหยิงขดั ของดว ยกันทั่วทงั้ โลกอนั นี้ เราอยูใ น
บา นคนเดยี วมกี ายอันเดยี ว ไมเ ก่ียวของกบั ใครก็บน อยภู ายในบา นคนเดยี ว วนุ วายอยู
คนเดียว คนอ่ืนบานอื่นเขาใจวาไมยุงยากเหมอื นกบั เรา เรากจ็ ะเหน็ วาในโลกน้ีหรือใน
แวน ดวงใจ ๒๘
กณั ฑเ์ ทศ-น์ท๔่ี๗๓ -: ช�ำ ระใจ
๒๙
แผน ดินอนั นม้ี แี ตเ ราคนเดียวเปน ผูร ับเคราะหก รรม ความยุงยากความทกุ ขกจ็ ะมีแตเ รา
คนเดียว ความยงุ เหยงิ ใด ๆ ก็จะมแี ตเ รารับเสียคนเดยี ว
โปรดไดเปด ประตูบา นออกไปมองดคู นภายนอก จะเห็นคนอ่ืนทีเ่ ปน ทกุ ขเ ชน เรา
หรอื ยง่ิ กวา เราอกี เปน คนที่สอง เดนิ ออกนอกบา นไปก็ยง่ิ จะเหน็ คนทีส่ าม ทส่ี เ่ี ปน ลาํ ดบั
ยิ่งเดินออกไปไกล ก็ยิ่งจะเหน็ คนเปนจํานวนมากซ่ึงเตม็ ไปดว ยความยุงยากเชนเดียวกบั
เรา เราเปน อยา งไร เขากเ็ ปน เชนน้ัน ความทกุ ขความยุงเหยิงทั้งมวล เราลองไปถามเขาดู
วา มคี วามทกุ ขความยุงเหยิงเชน เดยี วกับเราหรอื ไม โอกาสเวลาเขาจะมีหรอื ไม หรือไมม ี
เฉพาะเรา ก็จะทราบไดทนั ทวี า คนในโลกน้ี สัตวในโลกนไี้ มมใี ครจะอยเู หนือความทุกข
ความยงุ เหยงิ ไปได แมโ อกาสและความสะดวกขัดของกอ็ ยกู ับคนเรา ซงึ่ จะใหโ อกาสและ
ความขดั ขอ งแกต นโดยทางใดเทาน้ัน นอกจากตวั เราเองจะฝา ฝนตัวเราเพอ่ื ทางเจริญ
แหง โภคทรพั ยแ ละสมบตั ิภายในใจแลว ไมมที างอื่นจะทาํ ได
แมพ ระพุทธเจา ถา จะรอโอกาส รอวาสนา รอเวลาํ่ เวลา รอการงานใหเ บาบางลง
ไปเสียกอนจึงจะออกบําเพญ็ สมณธรรมแลว ปา นนพ้ี ระองคจะไมปรากฏเปน ศาสดาของ
โลก ใหเ ราท้งั หลายไดก ราบไหวเคารพนบั ถอื เลย แตพ ระองคเปน ศาสดาได กเ็ นอื่ งจาก
พระองคเ หน็ วาความไมม ีโอกาสก็ดี ความยุงยากก็ดี ก็คอื พระองคผ ูเดียว ความหวิ
กระหายทัง้ หลายมีอยูใ นธาตุในขันธข องพระองค พระองคจ ะตองรบั ประทานอาหาร ผูใด
จะมารับประทานแทนพระพทุ ธเจา ไมไ ด แมกิเลสอาสวะท่มี อี ยูภายในใจของทา น กเ็ ปน
ภาระจะทรงทําหนาทถ่ี อดถอนออกจนไมม อี ะไรเหลือ ผลที่ทรงไดร ับจากความเพียรไม
ทอถอย จึงปรากฏเปนมหศั จรรยไปทั่วโลกธาตุประหน่งึ โลกธาตหุ วัน่ ไหว
ฉะน้ัน จึงควรจะกลาวไดวา ทางพระพทุ ธเจาเดนิ เดินดินฝาฝนอุปสรรค ไมใช
เดนิ เขาไปยอมอปุ สรรค ไมใชจ ะยอมตนตอ เหตุการณท ีม่ าเผชญิ เอาอยางงา ย ๆ เราทห่ี า
เร่อื งใสเ ราท้ังวันท้ังคืนนี้มันเปนเร่อื งสาํ คญั ย่ิงกวาเรอื่ งใด ๆ ตลุ าการท่ีไหนจะมาตัดสินก็
ไมมี แตถูกฟองรองทั้งวัน คดรี ายไหนท่ีเกิดจากใจกย็ อมแพเสยี ทง้ั นั้น เพราะไมใ ช
ปญ ญามาตัดสิน แลวใครจะมาตดั สนิ ใหว าโอกาสอยูทน่ี ั่น ความวา งอยูทโ่ี นน ใหท านไป
เสาะแสวงมา แลวเราจะตดั สินใหท านเปนผูช นะความดังนี้
ทง้ั นกี้ ็เพราะโอกาสมนั กอ็ ยกู บั เรา เวลา่ํ เวลามนั กอ็ ยกู ับเรา วาสนามันก็อยูก บั เรา
ที่ทําไว ขออยางเดยี วแตอยานําความข้เี กียจขคี้ รานมาเปนหวั หนางาน เมอ่ื เราทาํ ลงไป
โอกาสวาสนาจะตองมี ไมตองไปหามาจากทไ่ี หน เพราะส่ิงทง้ั นไี้ มมีอยูกับดินฟา อากาศ
เราซ่งึ เปนลูกศิษยของพระพทุ ธเจา ผูลือพระนามในทางความเพยี ร จงึ ควรคาํ นงึ ถึงวิธีการ
แวนดวงใจ ๒๙
แวน่ ดวงใจ : ภ-า๔ค๘๑-อบรมฆราวาส
๓๐
ของพระองค นอ มเขามาฝก ฝนตนใหเ ปนไปตาม อนึ่ง เราผมู งุ ตอ ของดีมคี า มาก โปรด
อยา นาํ สิง่ ทช่ี วั่ และบุคคลเลวทรามมาเปน แบบฉบบั จะทําใหเ ราใหเ สียไปดวยโดยไมตอง
สงสยั
ปราชญท านดาํ เนนิ อยา งใด เราตองพยายามนาํ ธรรมทที่ า นไดร ับผลไปแลวนนั้ มา
เปน เครอื่ งพรา่ํ สอนใจเรา ถาปลอยใหแ ตโอกาส ปลอยใหค วามยงุ ยากมาตัดสนิ ใหเรา มา
ชช้ี องใหเ รา เขาจะตองชี้ชอ งเขา ทางยุงทางวนุ วายตลอดเวลา และชเ้ี ขาชอ งไมมโี อกาส ช้ี
วา ไมม ีวาสนา ไมม บี ุญญาภิสมภารจนตลอดวนั ตาย วนั หนงึ่ ที่เขาจะชวี้ าทานมีอํานาจ
วาสนาพอแลว วันนี้ทา นวางแลว โอกาสวาสนาพรอ มมูลแลว ทานควรจะทําคณุ งามความ
ดไี ดแ ลว ไมม เี ลย แมท ส่ี ุดจนกระท่ังวนั ตายกไ็ มม เี วลาจะผอ นผนั ใหเราไดร บั ความ
สะดวกจากเขา แตมนั กต็ ายได เพราะเวลามันอยูกับความตายนัน่ เอง มันถงึ ตายไดท้งั ๆ
ไมอ ยากตาย และไมเ คยปลอ ยโอกาสใหความตายเลย โปรดคิดตรองดูดวยปญ ญาดวยดี
เราคงมที างสรา งความดีโดยอุบายที่กลา วน้ี
เพราะคนและสัตวใ นโลกไมมใี ครจะอยเู ฉย เพราะโลกนีเ้ ปน โลกท่จี ะกอรางสราง
อยูสรางกิน มีที่อยูอาศยั เปนอยหู ลับนอน มีความจําเปน อยูรอบดาน ตองจัดตองทํา ไม
ทาํ ไมไ ด ใครจะไมย ุงในโลกน้ีไมม ีเลย เราเดินออกไปกวางและไกลเทาไร จะเหน็ เรอ่ื งราว
ท่ีเตม็ ไปดว ยความยุงยากมาก ไมมจี บส้นิ แมจะใหนามความยงุ เหยงิ ในมวลสตั ว คือ โรค
เรอื้ รังกค็ งไมผิด เพราะโรคแกไ มหาย จะถามใครเขาก็จาํ ตอ งตอบเปน เสยี งเดียวกนั
เพราะมันเปนโลกยงุ เหยิงอนั เดยี วกัน ไมม ใี ครจะไดร บั เปน เอกราชจากกจิ การและโอกาส
ใด ๆ ท้ังนนั้ เพราะขนั ธแตล ะขันธเปน กองแหงความยงุ ยากจะตองบําบัดรักษา และ
กงั วลอยูต ลอดเวลา สงิ่ ที่จะนาํ มาเยยี วยารกั ษาก็ตองพยายามหามา ความกังวลในเรอ่ื งทงั้
นี้จนถึงรับประทานไมไ ด นอนไมหลับกม็ ใี นบางเวลา เพราะคิดหาทางแกไขเพ่อื ผอน
หนกั ใหเ ปน เบา และเพื่อครองตัวไปไดอยา งโลกเขา
บางรายปลอ ยใจใหเลยเถดิ จนลมื ตัวอยางมืดมิด จนปดกั้นทางเดนิ เพือ่ มรรคผล
ทต่ี นจะพึงไดรบั เพราะความกงั วลมีกาํ ลังกลาจนสามารถปกปด กําลัง แมอุปนิสยั แหง
มรรคผลอนั ควรจะไดอ ยูแ ลว ใหแคลวคลาดไป เชน เดียวกบั อาหารที่แปดเปอ นดวยของ
สกปรกเลยกลายเปน ของนาเกลยี ดไปฉะน้นั นอกจากจะชาํ ระใหสะอาดแลวจงึ จะเปน ของ
ที่นารับประทาน
การชําระใจจากส่งิ มัวหมองจึงเปน กจิ ทคี่ วรทาํ สาํ หรบั ผูมุงตอ ความสขุ อนั สมบูรณ
เพราะฉะนน้ั คําวา การทาํ ปรินพิ พานใหแจงน้ัน จึงหมายถงึ การกําจัดสง่ิ มวั หมองของใจ
แวน ดวงใจ ๓๐
กณั ฑเ์ ทศ-นท์๔่ี๙๓-: ชำ�ระใจ
๓๑
ใหคอ ยหมดไปเปน ลาํ ดับ เชน เราน่งั สมาธิ ณ บดั น้ี ก็เรียกวาเราทาํ พระนพิ พานใหแ จง
ไดเหมอื นกัน แตว ิธีท่จี ะทาํ ใหแจงไดมากนอ ยเทาไรนั้นขึน้ อยกู บั กําลงั การกระทาํ เราทาํ
บญุ ใหท าน รกั ษาศลี ภาวนา ทงั้ หมดเปน วิธกี ารจะทาํ พระนพิ พานใหแ จงท้ังนน้ั เหมอื น
เรากา วลงจากบา นไปสทู ี่ตา ง ๆ ตามความประสงค กาวแรกนั้นกค็ อื กาวจะไปอยูแลว
กาวท่ีสองก็เปนกาวที่จะไป กา วนต้ี อ กา วนนั้ ๆ ตอ กาวนั้น ก็ถงึ จดุ หมายปลายทางที่เรา
ประสงคไ ด ดังนน้ั การกระทาํ คณุ งามความดีทง้ั หมดจัดเปนความดีแตละกาวทีจ่ ะกระทาํ
พระนิพพานใหแจง ไดอยา งเตม็ ท่ี
ขอบรรดาทกุ ทานจงพยายามทําจิตใจใหเ ปน ไปเพื่อความสงบไดบ าง แมย งั ไมถงึ
ความสงบอยา งเตม็ ทีก่ พ็ อจะเปนชองทางใหเหน็ ดวงใจ วา เปน สิ่งทีม่ คี ณุ คาอยูภายในรา ง
กาย เปน แตถ กู ส่ิงตาง ๆ มาปกปด กําบังไว แลวเห็นส่งิ ทง้ั หลายวา เปน ของมีคณุ คา ยิ่งกวา
ใจของตนไปเสยี จงึ เปนเหตใุ หใจฟงุ เฟอเหอ เหมิ ตอสง่ิ เหลา นัน้ โดยไมรูสึกตัว จิตจงึ
กลายเปน เขียงเช็ดเทาและถอดตนลงเปน ทาสแหง สงิ่ ท้ังหลายไปเสยี โดยเห็นส่งิ ทัง้ หลาย
เปนของมคี ุณคากวาใจซงึ่ เปนสาระสําคัญ แลวขาดการยับยัง้ ใจ ผลจึงเปนความเดือด
รอ นท้งั วันท้ังคนื นเี่ ปน เพราะเหตแุ หง ความลืมตน
เมอ่ื พยายามทาํ ใจใหไ ดรบั ความสงบบา งดว ยวธิ ีอบรม ใจกจ็ ะเรมิ่ เหน็ ความสขุ
และเรมิ่ เช่ือพระศาสนาดง่ิ ลงไปเปนลําดบั ความเชือ่ ซ่ึงเคยมีอยูแลว นน้ั เปนความเชอ่ื ซึง่
ไมม ีหลักฐานและเหตุผลเพยี งพอ แตค วามเชื่อทป่ี รากฏขน้ึ ในเวลาจิตมีความสงบ จะ
เปน ความเช่ือทีเ่ ปน ปจจกั ขสทิ ธิ คือเปนความเชอ่ื เกิดขึน้ โดยเฉพาะ รูข นึ้ เฉพาะหนา น่ัน
เปนสําคญั ขอ นเี้ ปนธรรมดาเหลอื เกนิ ท่ีสง่ิ ใดถาไมเหน็ ผลเสียกอน ความเชอื่ กย็ ังไม
สมบรู ณ เชนใจของเราทังวันทงั้ คืนมีแตค วามรมุ รอ น ไมมคี วามสงบ ตง้ั ตวั อยูไ มไ ดแม
แตข ณะเดียว เราจะหาความสขุ ท่ีใจก็หาไมไ ด แมแตศาสนาทา นวาเปน ของประเสริฐ
ความรใู นแงห น่ึงก็ไมเ หน็ ไปตาม บางทีอาจเหน็ ไปวาศาสนาเปน โมฆะ ไมจรงิ แตเม่ือได
พยายามฝกหดั จิตใจใหห ยงั่ เขาสคู วามสงบแลว ยอ มจะเร่ิมเห็นความสุขและเริม่ เหน็
ความอัศจรรยข องพระศาสนา
คาํ วา “ใจสงบ” นี้โปรดทราบไวว า นสิ ยั ไมเหมือนกัน ลักษณะแหง ความสงบนน้ั
มตี า งกนั อยบู า ง แตเ มอื่ เขาถงึ ทแี่ ลวกเ็ ปน ธรรมชาติปลอ ยวางภาระทั้งหลายเชนเดยี วกนั
บางรายจะคอ ย ๆ สงบลงไปดว ยวิธบี รกิ รรมภาวนา จะเปนธรรมบทใดก็ตาม หรือจะ
คอย ๆ สงบลงไปดว ยลมหายใจเรียกวา อานาปานสติ ความสงบลงไปโดยลาํ ดบั จน
กระทง่ั จติ หยุดทํางาน มคี วามรอู ยจู าํ เพาะหนานน้ั เรียกวา จติ สงบ นานหรือไมนานกต็ าม
แวนดวงใจ ๓๑
แว่นดวงใจ : ภ-า๕ค๐๑-อบรมฆราวาส
๓๒
เพยี งแตเ ห็นความสงบขณะทจี่ ติ หยุดทาํ งานเทา นั้น เราก็พอจะเห็นความสุขภายในใจได
แลว ถา เราพยายามทําไปเรอื่ ย ๆ จติ ก็จะสงบไดเรว็ และจะละเอยี ดลงไปเปนลาํ ดบั จน
กระทง่ั จติ เราถอนข้นึ มาแลวจะคดิ อานการงานอะไร แทนท่ีจิตจะวนุ วายไปตามสง่ิ ตา ง ๆ
เหมือนที่เคยเปน มา กลบั เปน จิตละเอียดออน และเปน ความสะดวกสบายภายในใจไมว ุน
วาย น่ีก็เปน ผลใหเ ราประจักษอ ยูแลว ยง่ิ ใจมคี วามสงบลงไปไดน าน ๆ ปลอยภาระไดทงั้
หมดเรียกวา จติ หยดุ ทํางาน จะปรงุ แตง เรือ่ งใด ๆ ก็มีความรูอยจู าํ เพาะหนา ขณะนัน้ เรา
จะเห็นของอัศจรรยขนึ้ ทน่ี นั่ เอง เม่ือถอนขึ้นมาแลว เราควรพจิ ารณาไตรลกั ษณโ ดยทาง
ปญญา
คาํ วา “อนิจจงั ” คอื ความแปรปรวนน้นั มอี ยูรอบตวั ทั่วสรรพางครา งกาย
ไตรต รองไปตามสภาวะซง่ึ มีอยูใ นตวั อยา งสมบรู ณใหเห็นชดั แมทุกข ความบีบคน้ั กม็ ีอยู
ทัง้ วันทงั้ คนื ไมเพียงแตท กุ ขท างกาย ทุกขท างใจที่เกดิ ข้ึนเพราะอารมณตา ง ๆ กม็ อี ยูเ ชน
เดียวกนั จงกําหนดใหเหน็ ชัด คําวา “อนัตตา” ก็ปฏเิ สธในความเปน สัตว เปนสังขาร
เปน เรา เปนเขาอยูท ุกขณะ เมือ่ พิจารณาจนมคี วามชาํ นาญ กายก็จะรูส ึกวา เบา ใจก็มี
ความอศั จรรยแ ละสวา งกระจางแจง ไปโดยลาํ ดับ ปญญาก็ย่ิงจะไหวตัวทงั้ กลางวนั กลาง
คืน โทษมีอยูทไ่ี หนก็จะเห็นชดั แมคณุ ก็จะปรากฏขนึ้ ในขณะท่ีเราเหน็ โทษเปน ลาํ ดับไป
ใจคอ ย ๆ ยกฐานะขึ้นจากสิง่ กดขบ่ี งั คบั ทั้งหลาย คอยพยุงตัวสงู ขึน้ เปน ลําดบั น่ที าน
เรยี กวา จติ ใจไดรบั ความเบาบางพนจากภาระไปเปนขัน้ ๆ
ภาระกค็ ือเร่อื งของใจหรอื อารมณ ไมใชเ รือ่ งอ่นื ใด กิจการท้งั หลายเขาไมใ ชภ าระ
รปู เสยี ง กล่นิ รส ทั้งหลายไมใ ชภาระ แตเปนภาระอยกู ับเรอ่ื งของใจทปี่ รงุ ไปเกี่ยวขอ ง
เร่อื งทั้งหลายแลว ถอื มาเปน อารมณก ดถวงใจ เสยี ดแทงจิตใจตนเอง จงึ จดั วา เปน ภาระ
ของใจ เมื่อใจปลอยวางสิ่งท้งั หลาย ใจกห็ มดภาระไปเปน ระยะ ๆ จนกระทง่ั จิตไดห ลดุ
พน หรอื ปลอ ยวางสิ่งเหลาน้ันไดอยา งจริงจงั แลว ภาระท้ังหลายกห็ มดไป ไมม อี ันใดเหลือ
แมแ ตความคิดความปรงุ ของจิตก็รูเทาทัน ไมไดถ ือเปน ภาระตอไปอกี ความรคู วามเหน็
ซ่งึ เปนขนึ้ ภายในใจทกุ ดานทุกมมุ ก็รเู ทาเอาทนั ไมมีอนั ใดจะเหลืออยใู หเปน ความลมุ
หลงอีกตอไป ใจยอ มหมดภาระทเ่ี ปน ขา ศึกอนั จะพงึ ชําระสะสาง
คําวา “ขา ศกึ ” นั้น เบอ้ื งตนเราตอ งถือวา ส่งิ ภายนอกเปนขาศึกกอน ตอเมอ่ื เรา
พจิ ารณาปญญาอยา งชดั เจนแลว ยอมปฏเิ สธสิ่งทงั้ หลายเหลาน้ันวา ไมใชข าศึกเขา มา
เปนลาํ ดับ นอกจากกระแสของใจท่เี คลอ่ื นออกจากใจแลว กลายเปนอารมณเ ทา น้ัน เปน
ขา ศกึ ตอตัวเราเอง กระแสจิตที่คดิ ไปมากในเรื่องอดีต อนาคต ดี ชวั่ เมอ่ื เห็นวาเปน
แวน ดวงใจ ๓๒
กัณฑเ์ ทศ-นท์๕่ี๑๓-: ชำ�ระใจ
๓๓
ขาศึกชดั แลว ส่งิ เหลานก้ี จ็ ะปรุงแตง ไปมากมายเหมอื นท่ีเคยเปนมาไมได จะคอ ยสงบตัว
ลงไปเปน ลําดับและสงบลงไปจนถึงบอแหงความคดิ ความปรุง เหมอื นโจรไปเทีย่ วปลน
บานปลนเรอื นทุก ๆ วนั ทาํ ใหป ระชาชนทัง้ หลายไดรบั ความเดอื ดรอนอยูเ สมอ เขา
อาศัยซมุ ซอนอยูท่ไี หน เจา หนา ทเี่ ขาตรวจคนดใู หละเอียดถ่ถี วนจนเหน็ จุดทอี่ ยูของโจร
แลว ก็ทําลายโจรไมใหม ีเหลืออยใู นที่น้นั บา นเมืองก็รม เย็น หายกรรมหายเวรจากโจรทง้ั
หลาย
เรือ่ งของกระแสจิตท่ีคดิ ไปคดิ มาอยูต ลอดเวลา เปนเงาซ่งึ เกิดขนึ้ จากใจเอง แตใจ
ก็ตน่ื เงาของตวั เอง คิดไปทางดีทางชัว่ อดีต อนาคต ลวนแลว แตคดิ ไปจากจิตทง้ั นน้ั แต
จติ ก็หารไู มวา อาการทั้งหลายเหลา น้ีเกิดขน้ึ จากตัวเอง แลว กลบั มาหลอกตัวเองใหล มุ
หลง ไมม โี อกาสจะทราบได ตอ เมอ่ื ปญ ญามคี วามสามารถจําตอ งเห็นกระแสของจิตทั้ง
หมดน้ี เปนตัวขาศกึ ทีเ่ กิดข้นึ จากตัวเอง และทาํ ศกึ กับตัวเอง เพราะตัวเองเปนผหู ลง
อาการของตนจงึ กลายเปนผมู เี รอื่ งเสมอ ทกุ ขร อนเปนเรื่องตวั กอไฟเผาตัวเองไมใชค น
อ่ืนใดท้งั นั้นจะมากอไฟเผา
ปญ ญาจะตอ งยอนเขามาดทู ตี่ น เหตุ เม่ือมีความสามารถพอตัวแลว จะยอ นมา
เห็นโทษภายใน คือเหน็ โทษตวั ผรู ู ซงึ่ เปน ท่ซี ุมซอ นแหงโจรทัง้ หลาย แลว ถกู ทําลายไป
เสยี จนส้นิ ซากไมมีอนั ใดเหลอื อยู น่ันแหละเราจะอยูสบายสคุ โต ไปไหนกเ็ ปน ขันธลว น ๆ
ไมเปน กิเลสอาสวะทั้งภายนอก ภายใน ทง้ั ใจตนเอง จงึ หมดเรือ่ งหมดราว หมดภาระ
หมดหว งใยทง้ั ส้ิน นแี่ ลช่อื วา ปุญญักเขต เปน เนือ้ นาบญุ ของตนไดเอง แลว กเ็ ปนเนื้อนา
บญุ ของโลกไดดวย การบาํ เพญ็ ของทกุ ๆ ทา น ทง้ั ที่เปนนักบวชและเปนฆราวาส จงมุง
เพ่ือเปนเน้อื นาบุญของตนใหไดอ ยางสมบูรณ เม่ือสมบัตติ นมีมากเหลอื ใชจา ยแลว อาจ
จะเฉล่ยี เผอ่ื แผแ กคนอ่ืนใหเ ปนประโยชนไ ด เราบาํ เพ็ญประโยชนเต็มกําลงั ในตัวเราแลว
กส็ ามารถจะเฉลย่ี เผอ่ื แผความสุขใหแกบ ุคคลอ่นื ได
ในการแสดงพระธรรมเทศนาวันน้ี แสดงเร่ือง ปุญญักเขต โปรดพยายามทําตวั
เราใหเปน เนือ้ นาบญุ ของเรา แลว ก็จะเปน เนือ้ นาบุญของคนอ่นื ไดในขณะเดยี วกนั ขอให
ทา นผฟู งท้งั หลายจงพยายามฝก ฝนจติ ใจใหเ ปนคณุ แกตัวเรา อยา พยายามสง เสริมจติ ใจ
ใหเ ปนขา ศึกแกตนเอง ตัวเองเปน ขาศกึ ตอ ตัวนั้น ไมมเี วลาจะยับยง้ั ผอนผนั ไมม สี ถานที่
อยู ไมมีเวลาจะยตุ ิลงได ไมเ หมือนคดภี ายนอกที่เปนถอยเปนความกัน เมอ่ื ตุลาการตัด
สินถึงขั้นสงู สุดแลวกเ็ ปน อันยุติ ใครแพกแ็ พไ ป ใครชนะก็ชนะไป เปน อันเลิกแลว กนั ไป
แวนดวงใจ ๓๓
แวน่ ดวงใจ : ภ-า๕ค๒๑-อบรมฆราวาส
๓๔
ได แตค ดภี ายในใจเราน้ี ผูท ่ีฟองกเ็ ราเอง ผูท รี่ ับฟองกเ็ ราเอง ผทู ี่ไดร ับความทุกขเ สยี
หายกเ็ ราเอง แลวเราจะหาตุลาการทไ่ี หนมาตดั สนิ
เราเองเปนผูก อ คดีแกต ัวเราเอง เปนผูก อ ความเสียหายใหแ กตัวเราเองน่ี ไมมี
ใครจะมาเปน ตวั การตดั สนิ ใจให นอกจากเราจะนําปญญามาเปนตลุ าการตัดสิน วา ทาง
ไหนถกู ทางไหนผดิ ใหพ ยายามงดเวน ในทางท่ีผิด พยายามบาํ เพญ็ ในทางท่ถี ูก แลว สง
เสริมทางทถ่ี กู ใหม ากเปน ลาํ ดบั ไป พยายามตดั ทอนทางผิดใหลดนอ ยถอยลงไปจนไมมี
อะไรเหลืออยูแ ลว ผูนน้ั แลเปน ผูตัดสนิ ตนไดอ ยา งเด็ดขาดและถกู ตองท่ีสดุ เหมือนพระ
พุทธเจาและสาวกทง้ั หลาย เปน ตุลาการตดั สนิ พระองคแ ละสาวกไดช ัยชนะแลว พนจาก
ทุกขในวฏั สงสารถงึ นพิ พานในวันนัน้ นอกจากน้ันยังเปน ปุญญักเขต ของเราท้งั หลายได
ในการแสดงพระธรรมเทศนาน้ี ขอบรรดาทานผูฟง ทั้งหลายจง โอปนยโิ ก นอม
เขา มาในตนใหเ ปนผลเปน ประโยชนสาํ หรับเรา เม่อื พยายามบําเพ็ญตวั เราอยเู ชนน้ี
ความแปลกประหลาดหรือความมหัศจรรยที่พระพทุ ธเจา ไดทรงแสดงไว ก็ปรากฏข้นึ ที่ใจ
ของเรา คาํ ท่วี า พทุ ฺโธ ก็ดี ธมฺโม ก็ดี สงฺโฆ ก็ดี จะเห็นปรากฏขึ้นที่ดวงใจดวงเดียวน้เี ทา
นน้ั โดยไมตอ งไปหาหยิบยืมพระพุทธเจา พระธรรม พระสงฆ มาอีกตอไปแลว ไปทไ่ี หน
พุทฺโธ กค็ อื ใจที่บริสุทธิด์ วงน้ี ธมฺโม กค็ อื ธรรมชาตอิ ันนี้ สงโฺ ฆ กค็ อื ธรรมอนั เกิดจาก
จิตดวงเดียวกัน ทั้งสามรตั นะเลยรวมอยูใ นตวั ของเราคนเดียว เปนผไู มข าดแคลนพระ
รตั นตรัย ไปทีไ่ หนติดกบั ใจของเราไปทน่ี ั่น
ในอวสานแหงพระธรรมเทศนานี้ ขอบญุ ญานุภาพองคสมเดจ็ พระผมู ีพระภาคเจา
จงดลบนั ดาลใหท า นผฟู งท้ังหลายมีความสุขกายสบายใจ และมคี วามมงุ มาดปรารถนาส่ิง
ใด ขอสงิ่ น้ัน ๆ จงสําเร็จตามความมงุ มาดปรารถนาแหงทา นทั้งหลายทกุ ทา นเทอญฯ
www.Luangta.or.th
แวนดวงใจ ๓๔
กณั ฑเ์ ทศ-น์ท๕่ี ๓๓ -: ชำ�ระใจ
กณั ฑ์ท่ี ๔ ๓๕
เทศนอบรปมคญั ณญะผาูจ อดั บพริมมพส “มทาาธงริ ม เย็น”
ณ บณเา มนบือ่ ใา้ วนนเันซทใเนทศอมซี่นยื่ออ์อสยพบมพสรฤปมฤมษรปคษภะรณาภสะคะาสงมผคงคจู้คมพ ัด์๓ุทพ๓พธมิถทุศถพนกัธน์ นรศน“าทเกัเชพพารงชชา๒รรรช๕ม่บบ๐เรุ๒ยรุ๗ี ็น๕ีพพ”๐รระ๗ะนนคคร ร
อบุ ายวธิ สี อนตน
การเรม่ิ อบรมธรรม ก็เชน เดยี วกบั การเริม่ เรียนหนังสือและเริม่ เขยี นหนังสือ
เบ้อื งตน กม็ ผี ดิ ๆ ถูก ๆ เขยี นและอานกไ็ มคลองแคลว ตัวหนงั สอื ท่เี ขยี นกไ็ มส วยงาม
อานก็ไมถกู ตอ งและชดั เจน แตการหัดเรียนและหัดเขียนบอย ๆ ความจาํ และความ
ชํานาญกเ็ กิดขึน้ ทุกระยะ จนเปน ความชํานาญจริง ๆ ตอ ไปกไ็ มจ ําเปนตองระวังในการ
อานและการเขยี น แตก ็เปน ไปโดยเรียบรอยตามความตอ งการ การฝกหัดทางดา นจิตใจ
เบื้องตนก็ตอ งมกี ารลมลุกคลกุ คลานเปนธรรมดา ไมวาพระพุทธเจา และพระสาวก ยอม
ผานการฝก หดั มากอน เชน เดยี วกับพวกเรา และมีผดิ ๆ ถูก ๆ อันเปน ลกั ษณะลม ลุก
คลกุ คลานเหมอื นกนั เมื่อเปน เชนน้นั พวกเราผูม ุง ศึกษาและปฏบิ ตั ิ ซึง่ ไมเ คยผา นและรู
เหน็ มากอนกย็ อมมกี ารผดิ พลาดเปนธรรมดา ซงึ่ จะหลีกเวน ไมไ ด แตอาศยั ความ
พยายามเปน หลกั สําคญั ซึง่ ไมควรมองขา มไปโดยเห็นวา ไมจาํ เปน
การทาํ จติ ใจใหส งบดว ยอบุ าย “สมาธิอบรมปญญา” หรือดวยอุบาย “ปญญาอบ
รมสมาธ”ิ ทง้ั สองน้ีเปน อบุ ายวิธที ถ่ี ูกตอ งเสมอกนั เพราะเปนอบุ ายเครอ่ื งกระตนุ เตอื น
สตใิ หตามรูค วามเคลื่อนไหวของจิตทกุ ระยะในขณะทําการอบรม ทานยงั ไมเคยมีประสบ
การณดวยตนเองในทางสมาธิมากอน เพราะไมเ คยศึกษาและปฏิบัติ โปรดทาํ ความ
พยายามตามวิธีทัง้ สองอยา งใดอยา งหน่งึ ตามจรติ นสิ ัยและโอกาสทค่ี วร แตว ธิ ีทําใจให
สงบดว ยวธิ ที ั้งสองนั้นโปรดทราบไวเสมอวา สติเปนของสาํ คญั ทุก ๆ ครงั้ และทุก ๆ ข้นั
ของจิตขึ้นอยกู ับสติ อยาใหข าดไปในขณะอบรม จิตจะขาดธรรมเครอ่ื งบํารุง การภาวนา
จะกําหนดลมหายใจเขา ออกทเี่ รยี กวา อานาปานสติ เปน ตนก็ตาม จงทําความพยายาม
ใหสตอิ ยูกับลมจริง ๆ ท้งั ลมเขา และลมออก ตลอดความหยาบ ความละเอียดของลมทกุ
ระยะไป จนปรากฏผลคอื ความสงบสขุ ขนึ้ มา วธิ นี ้ีเรยี กวา “สมาธอิ บรมปญ ญา” ทีก่ ลาว
ไวใ นหนงั สือซง่ึ เคยพมิ พมาหลายครงั้ แลว
กอนอ่ืนอยากจะเรยี นใหบ รรดาทา นผใู ครต อ ธรรมทราบ เพอื่ ความสงบสขุ อยาง
จริงใจ พอเปนสักขีพยานแหงการบาํ เพญ็ จติ ไดร ับความสงบมีลกั ษณะอยา งนีค้ อื มี
แวน ดวงใจ กณั ฑเ์ ทศนท์ ่ี ๔- ๓:๕๕ป๕ญั -ญาอบรมสมาธิ
๓๖
อารมณอันเดยี ว เฉพาะความรเู ดนดวงอยใู นขณะนนั้ ปลอ ยวางจากอารมณ แมบ ท
บรกิ รรมภาวนาจาํ ตองละ ไมเ กีย่ วขอ งกบั อารมณใ ด ๆ ทั้งสิ้น ดํารงตนอยูด ว ยความสงบ
สขุ ไมคดิ ปรงุ อารมณเครอ่ื งกอ กวน การพกั สงบจิตในลักษณะเชนน้จี ะนานหรอื ไมน ัน้
ยอมเปนไปตามฐานะของจติ ซง่ึ ควรจะทรงตัวอยูไ ด บางเวลาก็พกั อยไู ดน าน บางเวลาก็
ไมนานแลว ถอนขน้ึ มา จากนั้นกท็ ําหนา ทีต่ อไปอีก ตามแตจ ะเหน็ ควรของผูบ ําเพ็ญ เม่อื
ทราบผลเบ้ืองตน แลว ตอ ไปก็พอมที างทราบอุบายวิธีตา ง ๆ เพอื่ ใหจติ มคี วามสงบยิ่ง ๆ
ขน้ึ ไปและพกั อยูไ ดน าน
ตอไปน้เี ปน “ปญญาอบรมสมาธ”ิ ปญ ญาอบรมสมาธนิ ้ันเปนธรรมทค่ี วรนาํ มา
ใชใ นเวลาทจี่ ติ มีความฟงุ ซานราํ คาญจนเกินควร เชน จิตประสบเหตกุ ารณต าง ๆ จนเกิด
ความเสยี อกเสียใจอยา งรนุ แรง หรือเกดิ ความเพลดิ เพลนิ จนเกนิ ตัว ปญญาทําการ
พิจารณาหกั หามกีดกันจิตท่กี ําลงั ฟงุ ซา นกบั อารมณใ นเวลานั้น ใหจิตรสู กึ ตัวดว ยเหตผุ ล
โดยวธิ ีตา ง ๆ จนจิตยอมรบั หลกั เหตผุ ลและยอมจาํ นนตอ ปญญาผพู ราํ่ สอนแลว กลบั ตัว
แลวยอ นเขาสคู วามสงบไดเ ชนเดยี วกับสมาธอิ บรมปญญา ยกตวั อยา งเชน เรานง่ั ภาวนา
มานาน ๆ เกิดทุกขเวทนาอยางหนกั ขึน้ มา มกี ารเจ็บปวดตามแขงขาและอวัยวะสว นตาง
ๆ แทบทนไมไหว ประหนึ่งรา งกายจะแตกไปในเวลาน้ันใหไ ด เพราะทกุ ขเวทนาครอบงํา
มาก
ตามธรรมดาของใจท่มี ีกิเลส และถอื ขนั ธห าเปน ตัวตนอยแู ลว ขณะที่ทกุ ขเวทนา
ครอบงาํ รางกายมาก ๆ ใจจาํ ตอ งเปน ทุกขไปดว ย แสดงอาการระสาํ่ ระสาย กระวน
กระวาย อยากจะออกจากการนั่งสมาธมิ าอยตู ามลาํ พังบาง ตัง้ ความปรารถนาอยากให
ทกุ ขดับไปบา ง ซ่งึ ความคดิ ท้งั นีเ้ ปน การสง เสรมิ สมทุ ัย เพอื่ ผลิตทุกขเพิ่มข้นึ ท่ีใจโดยไมรู
สึกตัว แตผ ูตองการฝกทรมานใจตามหลกั ธรรม เพ่อื ยังผลประจักษข ึ้นกบั ใจโดยทาง
ปญญา จําตอ งพจิ ารณาทกุ ขเวทนาท่เี ก่ยี วกับกาย และอปุ าทานยดึ มน่ั ถอื มน่ั ในกายและ
เวทนา ซึง่ เปนเหตใุ หเ สริมทุกขข ึ้นมาอยางมากมาย
โดยแยกเวทนากบั กายออกพิจารณาดว ยปญ ญา ตามหลักเหตผุ ลวา กาย เวทนา
และจติ เปนอยา งเดยี วกันหรือไม ขณะทําการพจิ ารณาตองทําความรูส ึกอยกู บั กายและ
เวทนา ไมยอมใหจติ เลด็ ลอดสง ไปท่ีอื่น ทาํ การแยกกายและเวทนาออกดูใหเหน็ ชดั ดว ย
ปญ ญาวา ทงั้ กาย ทง้ั เวทนา เปนสวนหนงึ่ จากจติ แมกายกับเวทนาก็เปนสวนหน่งึ จากกัน
มไิ ดเ ปน อันเดียวกันตามความสาํ คัญของจิต จนสามารถแยกกาย เวทนา และจิตออกจาก
กันได โดยทางปญญา ตา งก็เปน ความจรงิ อยูต ามสภาพของตน จิตกห็ ย่ังลงสูค วามสงบ
แวน ดวงใจ ๓๖
แว่นดวงใจ : ภ-า๕ค๖๑- อบรมฆราวาส
๓๗
ดาํ รงตนอยเู ปนเอกเทศหนงึ่ จากขันธ ตั้งมัน่ เปน องคสมาธอิ ยา งเต็มทใี่ นเวลาน้นั กายกับ
ทุกขเวทนาไมปรากฏในความรูสกึ วา มี ปรากฏเหน็ จิตเปน ของที่แปลกและอัศจรรยอ ยา ง
ยง่ิ ในขณะนนั้ ซึ่งควรจะยดึ เอาเปนสักขพี ยานในการบําเพญ็ ดว ยวธิ ีนีต้ อ ไปวิธหี นึ่ง
การฝก ทรมานจติ ใหสงบเปน สมาธิลงได ดว ยท้งั จติ กาํ ลังฟงุ ซา นและระสา่ํ ระสาย
ดว ยอุบายท่ีกลาวมา เรยี กวา “ปญญาอบรมสมาธ”ิ เพราะทาํ การหักหา มจติ ลงไดดว ย
ความฉลาดรอบคอบของปญญา ผูป ฏบิ ัตโิ ปรดนําไปใชฝกจติ ดวงพยศตามกาลอันควร
จะไดร ับประโยชนเ ทา กนั กับวิธปี ลอบโยน ทีเ่ รยี กวา “สมาธิอบรมปญ ญา” อนึ่ง
การอบรมจติ ใหหายพยศดวยอุบายวธิ ีตา ง ๆ น้ี เทียบกันไดกับการอบรมสัง่ สอนเดก็
ตอ งมหี นกั บา งเบาบางเปนคูเคยี งกนั ไป เพราะนสิ ยั ของเด็กบางรายและจิตของเดก็ ซง่ึ จะ
ลาํ พองข้นึ เปนบางกาล ยอ มมปี ระจาํ นสิ ัยเด็ก ทงั้ เปน การสอ ใหผปู กครองรทู ้งั ความไมด ี
ของเด็ก และรูท้งั อบุ ายวธิ จี ะนาํ มาส่ังสอนเด็กใหก ลบั ตวั เปนคนดี ดงั น้นั ผูปกครองทง้ั
ทางบา นและทางโรงเรียน จาํ ตองคอยสอดสองเพ่อื รูความประพฤติของเด็กเสมอ เพื่อจะ
ดาํ เนินการสอนใหถูกตอ งตามจุดบกพรอ งของเดก็ และไดร บั ประโยชนทั้งสองฝา ย คือ
ฝา ยเด็กกก็ ลบั ตวั เปนคนดี ผูป กครองกม็ คี วามเย็นใจ เพราะอบุ ายวิธสี ง่ั สอนเดก็ โดยถกู
ตองและไดผ ลดี
ปญญาอบรมสมาธินี้ ผูบาํ เพ็ญมกั จะเห็นผลประจักษใ จในเวลาไมน านนกั เพราะ
ความกลาหาญตอ ความเพียร เพ่ือการพิจารณาทกุ ขเวทนา ไมย อมถอยหลังในขณะท่ีมี
ทกุ ขเวทนากลาครอบงํา แตถ ามีความทอ แทและระอาตอ ทกุ ขเวทนาที่เกดิ ขน้ึ ในขณะนนั้ ก็
อาจจะไมปรากฏผล มิหนาํ ทกุ ขท ีเ่ กิดขึ้นยังจะกลายเปน ขา ศกึ ตอผูนัน้ อกี ดวย เพราะไม
อาจจะหาทางออกไดดวยอุบายของปญญาอันแหลมคมพอ ๆ กัน
จะอยางไรกต็ าม การพยายามพราํ่ สอนใจโดยอุบายตาง ๆ นั้น ยอมเปน ผลดี
เสมอ แมจะไมไ ดผลอยา งสมใจเสยี ทเี ดยี ว แตกพ็ อมีทางทําใหใจคลอยไปตามธรรมวัน
ละเล็กละนอ ย จนกลายเปน จติ ทม่ี ีเหตผุ ลประจําตัวข้นึ เปน ลําดบั และกลายเปนผูมีธรรม
ในใจ ท้งั ปกครองงายในกาลตอ ไป เพราะตามธรรมดาของใจไมมธี รรมตามรกั ษายอ มมี
ความคะนองประจําตวั นอกจากจะไมส งั เกตเทา น้ัน จงึ ไมทราบวา จติ ของตนเปน อยางไร
คาํ วา จติ ไดแ กธ รรมชาตทิ รี่ ู ๆ และรับผิดชอบอยใู นตัวของคนและสตั วทกุ ประเภท ท้ัง
เปนส่งิ สาํ คัญมากภายในรางกาย จึงควรรกั สงวน และอบรมใหดี แตใจจะดีไดตองมี
ธรรมที่เหนือกวา คือ สตแิ ละปญญา
แวนดวงใจ ๓๗
กัณฑ์เทศนท์ ี่ ๔- :๕ป๗ญั -ญาอบรมสมาธิ
๓๘
สติปญ ญาในหลักธรรมของพระพุทธเจา ทา นสอนใหน ําไปใชใ นกิจท่ีชอบ จะไป
จะอยู จะทํา จะพูด จะคิดอะไร ควรนําสติปญญาเขา มาวนิ จิ ฉยั ไตรตรองดใู หรอบคอบ
กอนจะลงมือ จงึ จะไมค อ ยมีความผิดพลาดและเสียหายเกิดขึน้ นอกจากน้นั ยังทาํ ให
เปลี่ยนความรูความเหน็ และความประพฤตจิ ากสิ่งท่ีเหน็ วา ไมควร กลายเปนคนที่เชื่อตัว
เองได พอแมพ นี่ องเชอ่ื ถอื และไววางใจได ผูมาคบคา สมาคมดว ยกใ็ หความรมเย็น และ
เชื่อถอื แกเ ขาไดเ ทาที่ควร
ดังนั้น ผนู ับถอื พระพุทธศาสนาอันเปน ธรรมท้งั แทง ซึ่งเต็มไปดว ยความไววางใจ
และใหความสม่ําเสมอแกผูบาํ เพญ็ จึงควรไตรต รองตามหลักธรรมทส่ี อนไว ท้ังนลี้ ว นชี้
ชองทางเพ่ือความปลดเปลอื้ งทกุ ขแ ละความยงุ เหยงิ นานาชนดิ แกม วลสัตว ซึ่งจะนําไป
ปฏิบัตเิ พ่ือกําจัดสง่ิ มวั หมองของตนทงั้ นน้ั เพราะพระทัยทสี่ ถิตอยูแหงธรรมและแสดง
ออกเปนพระทัยบรสิ ุทธ์ิทส่ี ดุ ไมม สี ว นสมมตุ แิ มป รมาณูสว นละเอียดย่ิงเขา เคลือบแฝงอยู
ซง่ึ พอจะใหแสดงธรรมอันจอมปลอมออกมาใหมวลสตั วผปู ฏิบตั ิตามผดิ ทางเลย นกั บวช
หรือฆราวาสยอมมสี ทิ ธใิ นการปฏบิ ตั ธิ รรมเสมอกนั แมผลอนั พึงไดรบั ของแตล ะรายกไ็ ม
ลาํ เอียง โดยรักเพศนัน้ ชงั เพศน้ี แตถอื เหตุ คอื การบาํ เพ็ญ เปนเครือ่ งตกั ตวงผลดว ย
ความเปน ธรรม ไมนาํ ส่งิ อ่นื มาวดั ผลของการกระทํา สมกบั พระพุทธศาสนานิยมกรรม
เปนหลักใหญ
ฉะน้ันผเู ช่ือกรรมตามหลกั ศาสนาท่ีสอนไว จงึ ควรเลอื กเฟน ทํากรรมทต่ี นจะทาํ
ไมค วรทาํ ไปแบบสมุ เดา และทาํ ตามความอยากพาใหท าํ โดยไมคาํ นงึ วาผดิ หรือถกู จะ
เสยี ใจในภายหลงั ผลคอื ความทุกขร อ นท่ีเกิดจากการทาํ แบบสมุ เดาหรือแบบตัดสนิ เอา
เองโดยไมมคี รูสอน คือหลกั ธรรมน้ี แมผูรับเคราะหกรรมก็ไมพ งึ ปรารถนา แตจ ําตอ ง
ยอมรับเพราะฝนกฎของกรรมไปไมได ดว ยเหตนุ ผ้ี อู ยใู นวงแหงกรรม จงึ ควรเตรียมตวั
ไวแ ตบัดนเี้ ปนตน ไป อยา รอไปเตรยี มวนั หนา เดอื นหนา ปหนา และชาตหิ นา เด๋ยี วจะไป
เจอเอากรรมท่ีพระเทวทัตสาปแชง ไว โดยไมรูตัวเปนผทู ําเองเขาอกี ก็ย่ิงจะแย เพราะไม
มีทางหลบหลกี และแกไขเพอื่ เอาตัวรอดไดใ นเวลาเชน นนั้
อน่งึ อบุ ายวิธสี อนตนเพ่อื ใหจติ ยอมรบั หลักการ และนาํ มาใชเ ปนคณุ สมบัติ
ประจําตวั ตอไป เราควรเทยี บความรูสึกระหวางเราผมู ีกเิ ลสกับพระพุทธเจา ผูส ้นิ กิเลส
แลว วาใครจะมคี วามรูแนน อนและแมน ยําตางกนั อยา งไรบา ง ท้งั ทางโลกและทางธรรม
ท้งั การทํา การพดู การคิด ท้งั ความโง ความฉลาด ทง้ั ความดี ความชั่ว ทง้ั ความสขุ ความ
ทุกข ทง้ั หนาทก่ี ารงาน เขา ใจวาพระพุทธเจา จะเปน คตแิ กเ ราอยา งสด ๆ รอน ๆ พอจะมี
แวนดวงใจ ๓๘
แว่นดวงใจ : ภ-า๕ค๘๑-อบรมฆราวาส
๓๙
ทางผอนคลายตัวเองจากความตงึ เครียดในสง่ิ ท้ังหลาย ไมใ หผูกมัดเราเกินไปจนเลย
ขอบเขตแหงการดัดแปลงแกไข
เพราะตามปกตเิ รากม็ ีความรูค วามฉลาดอยูแลว เพราะการศกึ ษาเจรญิ สถานทท่ี ่ี
ใหการศึกษาก็มอี ยทู ุกหนทุกแหง ทั้งในเมืองและนอกเมือง ทั้งในและนอกประเทศ เด็ก
และผูใหญนบั วาไดรับการศึกษาโดยความสะดวก และมีความรูความฉลาดทัดเทยี มกัน
ไป แตสิง่ ทค่ี วรจะใหเปน คเู คยี งกนั ไปคือดา นธรรมะ ท้งั เดก็ และผใู หญจึงไมควรมองขาม
ไป ถามองขา มธรรมก็เทากบั มองขามตน เพราะตนกบั ธรรมแยกกันไมอ อก สาํ หรบั ผู
ตอ งการความเจรญิ รุงเรืองแกต นและประเทศชาติบานเมือง เพราะธรรมคือโลกบาล
เคร่ืองคมุ ครองโลก คุม ครองเราใหไ ดร บั สันติสุขทั้งภายในและภายนอก
ถา จะมองเหน็ เพยี งความรคู วามฉลาดทเี่ ลา เรยี นมา วา เปน ของมสี าระพอแลว ไซร
คนเราผไู ดร บั การศึกษาสูง ๆ มาแลว กค็ วรจะเปน ตัวอยางอันดขี องประเทศชาตบิ าน
เมืองได ไมควรจะมีความประพฤตใิ นทางเสยี หายแทรกเขา มาในคนประเภทน้นั แตก็
หลีกไปไมพน จาํ ตองหลวมตัวไปในความประพฤติผิด โดยไมเ ลือกวยั และชาติชน้ั วรรณะ
ทัง้ นเ้ี พราะมีแตความรูท ่ีเรยี นมาจากหลักวิชาลวน ๆ ไมมีธรรมอันเปน หลกั วชิ าพิเศษ
แฝงอยใู นใจบา ง จึงขาดการใครครวญและยับย้ังช่งั ตวง เห็นความอยากทาํ กลายเปนของ
ดีไปหมด
หลกั วิชาธรรมของพระพทุ ธศาสนาท้ังมวลเปนหลักวชิ าทีส่ ม่ําเสมอ ผูยดึ หลักวชิ า
ทางพุทธศาสนามาใช จงึ กลายเปน คนสมํ่าเสมอและงามตาเย็นใจทง้ั ตนและผเู ก่ยี วขอ ง
เพราะหลกั ธรรมก็คอื หลกั ความประพฤติอันดงี ามอยางลึกซงึ้ ของคนทุกช้ัน ทกุ วยั นัน่
เอง โดยไมเ ลือกชาติ ช้ัน วรรณะ และสามารถเหน่ยี วร้ังจิตใจคนใหเ ปน คนดไี ด การคดิ
การพูดและการทําทกุ อยางของคนทม่ี ธี รรมในใจ ยอมเปนไปดวยความสม่ําเสมอไมผ าด
โผนโลดเตน มีความนมิ่ นวลประจํามรรยาทและความประพฤติ ไมเ ปน ทีแ่ สลงหู แสลงตา
และแสลงใจของคนอืน่
ยิง่ สมัยทุกวันนี้ เปน สมยั ทีเ่ ก่ยี วของกับสงั คมมาก ไมวาบานนอก ในเมอื ง เมือง
ใหญห รอื เมอื งเลก็ การอาชพี มีความเกย่ี วของกับสงั คมโดยมาก ผเู กีย่ วกบั สงั คมไมวา
หญงิ หรือชาย ถาไมมีธรรมเครอื่ งคมุ กนั ภายในตวั แลว อาจมคี วามเสยี หายไดอยา งงาย
ดาย เฉพาะอยา งยิง่ ผูท อ่ี ยูในวยั รนุ ทัง้ หญิงทงั้ ชาย รสู กึ วาลอแหลมตอ ความเสยี หายอยู
มาก เพราะคนในวยั นี้ไมคอ ยจะมโี อกาสคิดอา นไตรตรองดูความประพฤติชว่ั ของตวั
แวน ดวงใจ ๓๙
กณั ฑ์เทศน์ท่ี ๔- :๕๙ปัญ-ญาอบรมสมาธิ
๔๐
นอกจากจะคดิ ไปในทางเพลิดเพลินสนกุ สนานตามหมเู พอ่ื น อนั เปนทางมาแหง ความ
หายนะมากกวาจะคดิ มาทางแงค วามประพฤติ
เร่ืองทง้ั น้เี คยไดย นิ จากผูปกครองเดก็ ท้ังทางบา นและทางโรงเรยี นเสมอ โดย
แสดงความหนักใจและเปน หว งเดก็ มาก วา เด็กทุกวันนีท้ ัง้ หญิงท้ังชาย รสู กึ วา นาหนักใจ
มาก ท้งั ทางดา นการศกึ ษาและความประพฤติ ปรากฏวา จะหนักไปในทางอบายมขุ มาก
กวาท่จี ะไปศึกษาหาความรูและความประพฤตใิ นทางท่ีดี ใครมลี กู หญิงลกู ชายมาก ๆ ก็
ยิง่ เปน เหมือนภูเขาหนิ ทับหวั ใจ ไมมีเวลาอยูแ ละหลับนอนใหส นิทลงได ไมวากลางคืน
กลางวนั มนั เตม็ ไปดวยสง่ิ แวดลอ มท่จี ะทําใหเ ด็กมคี วามเสยี หายไปไดทุกเวลา และเดก็
ทกุ วนั น้ี รสู ึกแปลกกวา กวาเด็กสมัยกอน ๆ มากทีเดียว ทกี่ าํ ลงั ดําเนินเขาถงึ จุดทเ่ี ลวราย
ก็คือ ชอบประพฤตติ วั ในลกั ษณะชิงสกุ กอ นหาม โตกวาวยั เปน หนมุ สาวกอ นเปน เดก็ รู
มากกวาผูปกครอง ชอบฉลาดในส่งิ ท่ีไมควรฉลาด แตช อบโงใ นสงิ่ ทจี่ ะควรใหฉลาด
ทีส่ าํ คญั และนากลัวมาก ก็คอื ชอบแอบฉลาดในเวลาลับหูลับตาผูป กครอง นี่ซมิ ัน
สําคญั และเปน จุดทจ่ี ะทําความเหลวแหลกแกสกุลดวย เวลาไปโรงเรียนแกไมเรยี นแต
หนงั สือ และทาํ หนาที่ทีค่ รูสั่งใหท าํ แตแ กแอบไปเรียนและแอบไปทาํ อะไรอยางลกึ ลับนน้ั
ซ่ึงเปนที่นา เจบ็ ใจมากกวาเรื่องอนื่ ๆ จะแกไขอยางไรกันดี ชว ยคิดใหท เี ถอะ นบั วา เปน
การเมตตาสงสารเดก็ ตาดํา ๆ ซ่งึ กําลังจะเปน ผใู หญในวนั หนา และเปนคนของชาตดิ ว ย
รสู ึกวาภาระทีเ่ กยี่ วกบั เดก็ สมยั นหี้ นกั มาก
และยังรสู ึกวติ กเปน หวงเดก็ ๆ ตา งจังหวดั ที่พอแมผ ูป กครองสง เขามาเรียน
หนงั สอื ในเมืองใหญ ๆ อีกดวย กลวั วา แกจะไมเ รยี นเพียงวิชาทคี่ รูสอน แตกลัวแกจะไป
เท่ียวแอบเรยี นและแอบทําวิชาไฟเผาโลก ดงั ทเี่ ห็น ๆ มาเขา อีก คดิ แลวกนิ ไมได นอน
ไมหลบั นับวา เปน เรอื่ งกวนสมองจรงิ ๆ ใครจะมอี บุ ายอยา งไร กรณุ าชวยกนั สงเคราะห
ดว ย ไมเชนนั้นจะจมไปท้ังเขาทง้ั เราผูปกครอง เพราะความเห็นของเขากับของเรามันไกล
กนั ราวฟา กับดนิ เขาเหน็ เปน ความสนกุ สนามรน่ื เรงิ แตเ รามนั คดิ เหน็ ความเสยี หาย อัน
จะมีแกต ัวเขาเองและแกวงศส กุล ตลอดประเทศชาตบิ า นเมอื ง ซึง่ เปนเร่อื งใหญโตมาก
ทางพระก็ไมท ราบวา จะตอบอยางไร เพราะตา งคนตางชอบและตางคนก็ตางวัย
กัน ไมใชอ ยูใ นวัยเดยี วกนั พอจะใหช อบอยา งเดยี วกนั เปน เพยี งสนทนากนั ไปและถาม
ยอกยอนกันไปบาง เพราะถา จะเขากบั ผใู หญกเ็ กรงเด็กจะเสียใจ ถา จะเขากบั เด็ก ผใู หญ
ซ่ึงกาํ ลงั น่งั ฟง คําตอบอยูก็จะยงิ่ เสียใจมาก ผูตอบกเ็ ปน คนมีกเิ ลสเชนเดยี วกบั เดก็ ๆ
และผถู าม จงึ ตอบแบบแบงสูแบงรับเพอ่ื ทางเดก็ บา ง เพราะเรากเ็ คยเปน เดก็ และเติบโต
แวน ดวงใจ ๔๐
แวน่ ดวงใจ : -ภา๖ค๐ ๑- อบรมฆราวาส
๔๑
มาจากเด็ก จะลบหลดู ูหม่ินเดก็ ก็ไมงาม และแบง เพอ่ื ผใู หญบ า ง เพราะเปนผเู ลี้ยงดแู ละ
ปกครองเด็กดว ยความรกั และเมตตา ปรารถนาอยากจะใหเดก็ เปน คนดี มรี าศีแกว งศ
สกลุ และประเทศชาตบิ านเมอื ง ทัง้ เปนผูรับผดิ ชอบและรับเคราะหกรรมกบั เดก็ ดว ย
ครูทางโรงเรยี นก็เปนผมู ีสวนรับผิดชอบ และรับเคราะหก รรมกบั เดก็ เหมอื นกนั
แมจ ะไมเ ปนผใู หก าํ เนดิ เดก็ แตก็เปนผใู หกําเนิดทางความรูว ิชา ตลอดมรรยาทความ
ประพฤติ และถอื วา เปนเดก็ ของครูเสมอ เดก็ ในบา นของตน ถา เดก็ ดีก็พลอยมีเกียรติ ถา
เดก็ ชวั่ ครูกพ็ ลอยเสียไปดวย เรอ่ื งมันเกย่ี วโยงกันทั้งผปู กครองทางบา นและผูปกครอง
ทางโรงเรยี น ซ่ึงมีสว นไดเสยี เก่ยี วกบั เดก็ เทียบเทากนั จึงแสดงความหนกั ใจและเปน หวง
เดก็ เทา ๆ กัน
ทางเด็กเมอ่ื ถกู ตาํ หนกิ อ็ อกตวั ไปทางหนึ่ง แตกม็ ีเหตุมผี ลพอฟง ไดไมแ พผใู หญ
ไปเสยี ทีเดยี ว ผูตําหนกิ ็เกดิ งงงนั อ้นั ตไู ปดวย โดยไมคาดวาเดก็ จะมเี หตมุ ผี ลที่นาฟงเชน
นั้น โดยใหเ หตผุ ลในเวลาถกู ตําหนิ วา ความเปน ท้งั นี้จะไปตําหนเิ ฉพาะเด็กฝายเดียวก็
เปน ความไมช อบธรรมเหมือนกนั เพราะหลักวชิ าที่ออกจากโรงเรยี นใหญและครใู หญ
มนั ออกจากผปู กครองท้งั ทางบา นและทางโรงเรียนท้ังนน้ั เดก็ ไมไ ดไ ปศึกษามาจากไหน
แมแตเมอื งนอกเมืองนา เด็กบางคนยังไมเ คยไป ไมเ คยเห็นเลย นับแตว ันเกิดมากเ็ กิด
จากพอกบั แม ความรูว ิชาก็เรียนจากพอ กับแม มรรยาทความประพฤติ คําพูดจาพาทดี ี
หรอื ชัว่ กอ็ อกมาจากพอ กับแม
พอโตขึ้นบางมองดดู ินฟา อากาศยังไมท ัว่ ถงึ พอ แมก็สง เขา โรงเรียน เวลาไปโรง
เรียนกเ็ รียนวิชาและความประพฤตมิ รรยาทจากครแู ละเพ่อื นนักเรยี นดวยกัน แมเพื่อน
นกั เรียนดวยกันกล็ วนมพี อ แมเปนแดนเกดิ และใหก ําเนิดความรูวชิ ามาเชนเดยี วกัน เด็ก
ทุกคนตองรบั ถายทอดมาจากพอแมและครซู ึง่ เปน ผปู กครองเดก็ เหมือนกัน จะเปน ความ
รแู ละความประพฤตทิ ่ีจริงหรอื ปลอม ข้นึ อยกู บั แบบพิมพม าดัง้ เดมิ เด็ก ๆ เปนเพยี งผู
นํามาใชเทานน้ั ไมไ ดอ วดรอู วดฉลาด ไปแสวงหาความรูวิชาและความประพฤตดิ ชี ั่วมา
จากทไ่ี หน พอจะมาตาํ หนิวาเด็กไมดีทาเดยี ว ความรแู ละมรรยาท ความประพฤติตลอด
คําพดู ทุกคําท่เี ดก็ ตา งคนตา งนาํ มาใชอยเู วลาน้ี ลวนแตไดม าจากพอ แมทง้ั นั้น เด็ก ๆ ไม
มคี วามรูความสามารถจะไปหาความรูและความประพฤติมาจากทไี่ หนได แมแตรา งกาย
ของเด็กท่ีเตบิ โตมาขนาดทเี่ หน็ ๆ กนั อยนู ี้เตบิ โตมาจากการเล้ียงดขู องพอแม พอแมพา
กินอะไร พานุง หม อะไร พาไป พาอยูอ ยา งไร พาประพฤติอยางไร เดก็ ๆ กจ็ าํ ตองเปน
ไปตามพอแม เพราะไมมีความสามารถในตัวเอง
แวน ดวงใจ ๔๑
กณั ฑเ์ ทศนท์ ่ี ๔- :๖๑ปญั -ญาอบรมสมาธิ
๔๒
เมอ่ื ถูกถามถงึ การชอบเทย่ี วตามโรงหนงั โรงละคร และบารเปนตน เดก็ ก็ตอบวา
โรงหนงั โรงอะไรเหลา นี้ กเ็ ปนเรอ่ื งของผูใ หญจ ัดทาํ ข้นึ และผใู หญพ าเดก็ ๆ ไปดู เด็ก
จะมีเงนิ และความฉลาดสามารถมาจากไหน พอจะจัดสรา งโรงหนัง โรงละคร โรงระบาํ
ตา ง ๆ เหลาน้นั ขนึ้ มาได แมแตเ งินคา ตัว๋ เขาดกู เ็ ปน เงินของคุณพอ คุณแมใ หท ั้งน้ัน
เพราะตนเองหาเงนิ ไมเปน เมอื่ ถกู ถามถงึ เรือ่ งคณุ พอ คณุ แมก็พาไปดูหนังและดูอะไรตอ
มิอะไรดวยหรอื เด็กกต็ อบวา คณุ พอ คณุ แมและครเู ปน ตวั การทีเดยี ว พาไปแทบทกุ วนั
ตอนเปนเด็กเลก็ ๆ ถาไปพกั ประจาํ ทโี่ รงเรียนหรอื หอพัก กอ็ าศัยเพื่อนนกั เรียนพาไป
บา ง บางทมี โี อกาสคุณครกู พ็ าไปบาง เมอ่ื ถูกถามถึงการจับจายเงิน เดก็ กใ็ หเหตผุ ลวา
คุณพอคุณแมย่ิงจายเงินเปนไฟไปเลย บางครง้ั คณุ พอ กับคณุ แมเ กิดทะเลาะกันเพราะ
การจายเงินมาก โดยไมทราบเหตผุ ลตน ปลาย การทะเลาะกนั เนื่องจากทง้ั สองฝายไมเ ขา
ใจกนั โดยฝายหน่งึ หาวาอกี ฝา ยหนึ่งแอบเอาเงนิ ไปบาํ รุงบาํ เรออะไรไมทราบ เร่ืองจึงยุง
กนั อยเู รอ่ื ย ๆ
เมื่อทราบตน สายปลายเหตจุ ากท้ังสองฝาย ซง่ึ ตา งก็มเี หตผุ ลเทา ๆ กัน จึงไม
ทราบวา จะตําหนแิ ละชมใคร เพราะฝา ยผูปกครองเด็กกม็ ีสวนผิด อันเปนตน เหตุไมด ใี ห
เดก็ ๆ มีสวนผิดไปตามไดด ังทเ่ี ด็ก ๆ อา งเหตุผล เรอื่ งจงึ ควรลงเอยกันทต่ี น เหตุเปน
กรณที ี่ควรแกกอนอน่ื ถาตน เหตุยังไมด ีพอทผ่ี รู ับถา ยทอดจะยดึ ไปใชเปนประโยชนไ ด
การตําหนิก็ไมมผี ลดีอะไรเกิดขน้ึ จะเปนทํานองปลอยใหเรอื นของตัวรว่ั แตม วั ไปตาํ หนิ
เรือนของคนอืน่ ไมเ ขาหลักของบคุ คลผูจะเปนผูน ําที่ดขี องโลก
ดงั น้ันเร่อื งจึงสําคญั อยูทีผ่ ูป กครอง จะพยายามปรบั ปรงุ ตวั ใหเปน แบบพมิ พท ด่ี ี
ของเด็ก ๆ เพราะทุกส่งิ ทกุ อยางทีเ่ ด็กนาํ ไปใชล ว นแตไดรับถายทอดไปจากผูใ หญท้ังน้นั
ดงั ทีเ่ ด็กนาํ ออกแสดงโดยมากเปน สงิ่ ทีผ่ ูใหญริเริม่ ทาํ เพอ่ื หาความสขุ เฉพาะตวั แตข าด
ความคํานึงวา เด็ก ๆ อาจจะเดินรอยตามผใู หญหรอื ไม ซ่ึงจะทําใหเดก็ เสียในอนาคต ถา
ผูใหญมีความสนใจทกุ กรณีทตี่ นจะพงึ ทําในฐานะเปนผใู หญวา ควรหรือไมค วรแลว เดก็
จะไดรบั สงิ่ ทด่ี ีและเปนประโยชนจากผใู หญไปใช กลายเปนคนดีในปจ จุบันและอนาคต
จาํ นวนไมนอ ยเลย
ดังนน้ั ผปู กครองเดก็ ทั้งหลายทั้งทางบา นและทางโรงเรียน ตา งไมควรมองขา ม
ตนและควรสงั เกตดคู วามประพฤติของตวั อยูเ สมอ อยา งไรตอ งเปนแบบพมิ พท ดี่ ีของ
เดก็ และประเทศชาติบา นเมอื งไดอ ยา งนาชนื่ ชม เมอื่ ผูใหญตัง้ เข็มทศิ ทางเดนิ ท่ีดไี วโดย
ความประพฤตติ วั ดใี หเด็ก ๆ ดาํ เนินตามแลว เด็ก ๆ ยอ มจะไมประพฤติเขวไปนอกลู
แวน ดวงใจ ๔๒
แว่นดวงใจ : ภ-า๖ค๒๑-อบรมฆราวาส
กณั ฑ์เทศน์ท่ี ๔- :๖๓ปัญ-ญาอบรมสมาธิ
๔๔
กรรมช่วั เปน เหมือนวัตถุเครอ่ื งทําลาย มหี ลายขนาดตามแตผ ทู าํ กรรมจะผลติ ขึ้น
มาใชเ อง ผลของกรรมกม็ หี ลายขนาดไปตามเหตทุ ่ีผลิตไว รวมกรรมประเภทนี้แลว เรยี ก
วา เคร่ืองทาํ ลายตัวเอง ใครเจอขนาดไหนเขา จําตองรอ งทุกขเหมือนกนั หมด ไมว าสัตว
บคุ คลและชาติช้นั วรรณะใด ทกุ คนท่เี ชื่อตอ สง่ิ ทมี่ นุษยท ําขึ้นทางดานวตั ถุ ท้ังดา นทาํ ลาย
และดานสงเสริมวา เปน ของมีประสิทธภิ าพ สามารถทําลายและสง เสรมิ ไดจรงิ จงึ ควรสน
ใจตอหลกั กรรมดี กรรมช่ัว ซึง่ เปนสงิ่ ที่มนุษยท ําเองเหมือนกนั วาจะมีผลดผี ลชว่ั เชน
เดยี วกบั ดานวัตถุ เพราะท้งั ดา นวัตถุและดา นนามธรรม ยอ มมีทางไหลออกเปนตวั ผล
เหมอื นกนั เนอ่ื งจากเหตุดเี หตชุ ่วั เปนกญุ แจเปด ทางเพ่อื ผลอยตู ลอดเวลา
ผกู ลวั ภัยจากความทุกขแ ละหวงั ความสขุ ความเจริญแกตน ทงั้ โลกนีแ้ ละโลกหนา
จึงควรเห็นกรรมท้ังฝา ยดฝี ายช่ัววาเปนส่ิงจะใหผล แมแ ตอ าหารหวานคาวและท่ีอยอู าศยั
ซ่ึงถอื วาเปน ของจําเปน ท่ัวโลกยังตองอาศัยกรรม คอื การปรุงแตงและการปลูกสรางท่ี
เรยี กวา กรรม ตามหลักของศาสนา ความสขุ ทีเ่ กดิ ข้นึ เพราะอาศยั สง่ิ เหลาน้ัน ยอมเปน ผล
ใหโลกไดค รองตวั ตลอดมา ฉะนน้ั คาํ วากรรมดีกรรมชัว่ จึงมีความสําคญั ไปคนละทาง ซึง่
ผทู าํ กรรมจะควรเลือกเฟน กอนจะมีผลตามสนอง
มนุษยเราเปน ผูม ใี จฉลาดแยบคายกวา สัตว แมจ ะอาศยั อยใู นโลกเดียวกันกเ็ ปน
ประหนึ่งอยคู นละโลก จงึ ควรทําตวั ใหแปลกจากสตั ว โดยความประพฤติ ความรู ความ
เห็นทแ่ี สดงออกมาจากใจอนั ฉลาด จะเปนความรม เยน็ แกเพ่ือนมนุษยตลอดสตั วซึง่ เปน
ผูโง หวงั พ่ึงผเู ปน ธรรมซึ่งมีการหกั หา มใจตวั เองดว ยเหตุผล คือหลกั ธรรม อนั เปนธรรม
ชาติใหความแนน อนและไววางใจได ไมป ลอยไปตามอําเภอใจที่มคี วามอยากเปน เครอื่ ง
ผลักดันใหไ หลลงทางต่าํ เพราะตามธรรมดาของใจยอ มมคี วามอยากเปน เจา เรือน ท้งั
เด็กและผใู หญ ทั้งคนโงค นฉลาด และคนมฐี านะสงู และตา่ํ ยอมมคี วามอยากฝง อยใู นใจ
ดวยกันทัง้ น้ัน แตส ําคญั ที่การฝก อบรมใจใหอ ยใู นหลักธรรมอันเปน ความพอดี ทกุ คนจะ
กลายเปนบคุ คลที่พอดไี ปตามธรรม และไมกอความเดือดรอ นใสตนเองและสว นรวม
สงิ่ ใดทไี่ ตรต รองดูแลวเห็นวา ดีและเปนประโยชนก ท็ ําลงไป แตสงิ่ ทีเ่ หน็ วา เปน
โทษ แมใ จอยากทาํ กไ็ มยอมลอุ ํานาจใหท าํ จะเปน ความเคยตวั และหักหา มไมอยูในคราว
ตอไป รบี หกั หา มเสียแตตน มอื จะสมชือ่ วา เปน ผูรักตนและผมู ีสว นเกี่ยวของ แมเ ดก็ ผูจาํ
ตอ งอาศยั ผูใหญทุกกรณี กจ็ ะตอ งเดินตามรอยและกลายเปนเด็กดีในวันตอ ไป เพราะ
รอ งรอยทางช่วั พอแมผูปกครองมิไดทําแบบพมิ พเ อาไว พอจะใหเ ดก็ หยบิ ฉวยมาเลยี น
แบบและกลายเปนคนเสยี หายไปตาม
แวน ดวงใจ ๔๔
แวน่ ดวงใจ : ภ-า๖ค๔๑- อบรมฆราวาส
๔๕
ธรรมคอื ความสม่าํ เสมอไมเอนเอยี ง ผูสนใจและเลื่อมใส ยอ มนาํ ไปปฏบิ ัติไดต าม
เพศและวัยของตน เฉพาะครวั เรอื นหน่งึ ๆ ถา ขาดธรรมเปน เครอื่ งปกครองแลว แมจะมี
ความฉลาดและมีสมบตั มิ าก ก็ไมสามารถจะใหความรมเย็นแกตนและครอบครวั ได
เพราะความรมเยน็ มิใชอ ยูทีส่ มบัตแิ ละความฉลาดท่ีไดเ รยี นมาเพยี งเทานัน้ แตอ ยทู ใ่ี จซ่งึ
มธี รรมอนั นบั วา มีความพอดีประจําใจ กลายเปน ความพอดปี ระจําครอบครวั เพราะทกุ
ส่งิ ทมี่ ีความพอดปี ระจาํ อยูแลว ยอมเพยี งพอกบั ความตองการ ไมก าํ เริบ เชน แกงทแี่ ม
ครวั ปรงุ พอดแี ลว รบั ประทานกม็ ีรสอรอยและเปนสขุ กายสุขใจ
สามภี รรยามคี วามพอดีประจาํ ตน ยอ มเปนทพี่ อใจและเปนสขุ ดว ยกันท้งั สองฝาย
แตถ าฝายใดฝา ยหนึง่ ประพฤติขา มเขตความพอดี ตอ งเกดิ เรอื่ งยงุ และเดอื ดรอ นขึ้นทันที
ในครอบครัวนนั้ อยดู ว ยกันไมเ ปน สขุ แมจ ะมสี มบัติมากก็นํามาแกไขไมต ก ดังนน้ั พระ
พทุ ธเจา จึงสอนวา สนฺตุฏฐ ี ปรมํ ธนํ ความพอดีเปน หลักทรัพยอนั พึงพอใจอยา งยิง่ คน
ท่มี ีธรรมสันโดษ ความพอดีและอปั ปจ ฉตา คอื ความมกั นอ ยในอารมณเครอ่ื งเสรมิ ไฟ จงึ
มคี วามสขุ เปนเรอื นพกั ของใจ จะไมคะนองแบบลนฝงอยูตลอดเวลา แมจ ะฉลาดและมี
ทรพั ยมาก
มบี างทานมาถามวา ไดพ บในหนังสือบางฉบบั แสดงเปน เชงิ ไมอยากใหพ ระ
เทศนส อนประชาชนเกยี่ วกบั ความสนั โดษและความมกั นอย เพราะสมัยนี้เปนสมัยทก่ี าํ ลัง
ฟน ฟูเศรษฐกิจของบานเมอื งใหมคี วามเจรญิ กาวหนา การสอนธรรมท้ังสองขอน้ี จะเปน
การขัดแยง หรือเปนอปุ สรรคตอ การฟน ฟูเศรษฐกิจของบานเมือง ทานจะเหน็ วาอยา งไร?
ในขอนี้ สาํ คญั อยูกบั ผูต คี วามหมายในธรรม แลว นํามาชแี้ จงใหค นฟง คนอา น ถา
ตีความหมายวา ธรรมทัง้ สองบทนี้สอนใหเ กียจครา นออนแอ สอนใหค นกินนอ ย ใชน อ ย
ท่อี ยอู าศยั ก็ใหท ําคบั แคบไมเ พยี งพอกับการหลับนอน เครอ่ื งใชส อยทกุ อยางก็ทาํ ใหน อย
ไมพอกิน พออยูอาศยั ไมพอใช ทําอะไรกใ็ หท าํ แบบอด ๆ อยาก ๆ ทุกส่งิ ทุกอยา งที่
เกีย่ วกับมนุษยอ าศัยก็ใหท าํ แบบขาด ๆ เกนิ ๆ แมรบั ประทานก็ไมใ หอิม่ และเพียงพอ
กบั ธาตขุ นั ธท ีต่ อ งการ ถา เปนเชน นีก้ ็กลัวคนจะลําบากและอดตายกันหมดท้งั ประเทศ ก็
จําตองบอกใหทราบ เพราะปกตนิ สิ ัยของคนกข็ ้ีเกยี จอยดู วย การบอกเพอ่ื ใหคนมีความ
ขยนั หมั่นเพยี รจึงไมเปนทางผิด
ความจริง ความมักนอยกบั ความสันโดษเปนธรรมคเู คยี งของโลกตลอดมา และ
เปนธรรมจําเปนทัง้ นักบวชและคฤหสั ถ ท่ีจะนาํ ไปใชใหเหมาะกับเพศและฐานะของตน
เทา ท่จี ะเหน็ ควร เพราะความหมายของธรรมกบ็ งชดั อยูแ ลว วา จงเปนผมู กั นอ ยในสงิ่ ท่ี
แวน ดวงใจ ๔๕
กัณฑ์เทศนท์ ่ี ๔-: ๖ป๕ญั -ญาอบรมสมาธิ
๔๖
ควรมักนอย เชน คสู ามภี รรยา มเี พยี งผัวเดยี วเมียเดียวเทานนั้ เปนท่เี หมาะและงามอยา ง
ย่ิงแลว ไมพ ะรุงพะรัง หามบาป หามกรรม เพราะมเี มยี มาก เรือ่ งมาก เวลาตายไปคน
ขางหลงั จะไมย งุ ยากในการแบง ปนมรดก ยกใหเมียโทนคนเดยี วเก็บไวเ ล้ยี งลกู เขาจะได
เห็นบญุ คุณของพอ ทล่ี ว งลับไป
ท้งั ตางฝา ยตางถือวา เปนคคู รองของกนั และกนั ไมป ระพฤตินอกใจซง่ึ ผดิ จากหลัก
ความมักนอ ย ตางกไ็ วว างใจกันไดใ นทางอารมณ นคี้ อื บอแหงความสขุ ในครอบครัว
เพราะคสู ามภี รรยาเปนผูฝากเปนฝากตายกันไดต ามหลักธรรม คือความมักนอย ไมยุง
เกยี่ วกับหญงิ ชายอน่ื ๆ แมจ ะว่งิ ตามมาเพราะไมใชของเรา จะไปเกย่ี วขอ งใหย งุ ไปทาํ ไม
สมบตั ิของเราจริง ๆ คอื ผวั คนเดียวหรอื เมยี คนเดียวเทานั้น นอกน้ันไมยงุ ดว ย น้คี ือการ
ตัดตนเพลิงที่ถูกตอง เพ่ือมิใหล ุกลามมาไหมค รอบครวั
ความสนั โดษ คอื ความพอดี เชนนํา้ ทีเ่ ต็มแกวแลว จัดวา พอดีแลว จะเทน้ําลงเพ่มิ
อีกก็ผิดความพอดี ไมเปนประโยชนอ ะไร คนทต่ี ั้งอยใู นความพอดี คือคนทร่ี ูจักเราและรู
จักทาน รจู ักของเราและรูจ ักของทา น เหน็ ใจเราและเหน็ ใจทา น ซึง่ มีความรูสกึ เชนเดียว
กัน จะเปน คนมีหรอื คนจน คนโงห รือคนฉลาด กร็ ูจ ักฐานะของกนั และกนั ไมเ ยอ หยง่ิ ไม
เหยยี ดหยาม ไมกลา้ํ กราย ไมล ว งลํา้ ไมเ ห็นแกไ ด สมบตั ิของทานมีมากหรอื มีนอ ย ไม
ลวงลํ้าเขตแดนโดยเหน็ วา พอเอาได เห็นวาเขามอี าํ นาจนอ ยพอจะเค้ยี วกลืนได เหน็ วา เขา
โงพอตบตากินได เห็นวา เขามีพวกนอ ยพอขม ขเู อาได เห็นวาเขาเผลอพอหยิบฉวยเอาได
เหน็ วา เขานอนหลับพอขโมยเอาได เห็นวา เขามชี อ งโหวพอคดโกงได เห็นวาเขาไมม อี าวุธ
พอปลนจ้เี อาได เหน็ วามีแตผหู ญงิ เฝา รักษาสมบตั ิพอขูเข็ญเอาได
ผมู ีธรรมสนั โดษภายในใจแลว ทําไมล ง ปลงจิตไมตกเพื่อจะทํา เพราะความเหน็
ใจกนั และสงสาร เน่ืองจากคิดดใู จเรากบั ใจทานผูอ่นื แลวมคี วามรูสึกอนั เดยี วกัน เรามี
สมบตั นิ อ ยมาก เรารักและสงวนของเรา ไมอยากใหใครมาลวงลา้ํ มีความยินดีทจ่ี ะแสวง
หาสมบัติดว ยความชอบธรรม หาไดม ากเทา ไรก็เปน ท่เี ย็นใจ เพราะการแสวงหาสมบตั ิ
ดวยความชอบธรรมจะไดม ามากมายเทาไร ไมเ ปนการขัดแยง ตอธรรมสนั โดษ เพราะ
พระพทุ ธเจา สอนใหค นมคี วามขยนั หมั่นเพียรในทางทช่ี อบ แตมไิ ดสอนใหขยันในการ
เบียดเบยี นกันและทําลายกัน และถือเอาสมบตั เิ ขามาเปนของตน ดงั นน้ั ความมักนอ ย
และสันโดษจงึ มิไดเ ปน ขาศึกแกก ารงานของโลกทกุ ประเภท ซึ่งจะเปน ไปเพอ่ื ความเจรญิ
พระองคยังกลบั สรรเสรญิ คนมีความขยนั และอดทนในการงานท่ชี อบอกี ดว ย สมกับ
แวนดวงใจ ๔๖
แวน่ ดวงใจ : ภ-าค๖๖๑- อบรมฆราวาส
๔๗
ปฏิปทาทส่ี อนไวทุกบททกุ บาท เพ่อื การรอ้ื ฟนโลกและธรรมใหเ จริญดว ยความขยันหม่นั
เพียร ไมม ปี ฏปิ ทาขเ้ี กยี จแฝงอยูใ นวงธรรมของพระพุทธเจา เลย
ธรรมสนั โดษ คือความยินดใี นสมบตั ทิ ม่ี ีอยขู องตน จะมีนอ ยมากเทา ไรกใ็ หย นิ ดี
ในของทีต่ นมอี ยู ถาเรามคี วามขยันและฉลาดสามารถพอ จะทาํ การเพาะปลูกหรือจะปลูก
สรา งโรงงานอตุ สาหกรรมใหญ ๆ ข้นึ ทว่ั ประเทศ ก็จะเปน ที่นิยมยินดีของคนจน ๆ เปน
อนั มาก เผือ่ เขาจะไดอ าศัยพึง่ รมเงาแหง บารมีของเรา ทั้งจะเปน ที่เบาใจของรฐั บาลซ่ึง
กาํ ลงั เปนหว งพีน่ องชาวไทยเรากลวั จะไมมีทอ่ี ยูอ าศัย เคร่อื งอุปโภคบริโภคเพียงพอกับ
ความเปนอยใู นครอบครวั ทั้งจะเปนทเี่ ทิดทนู ศาสนธรรมในบทวา
อฏุ ฐานสมั ปทา ถงึ พรอ มดว ยความขยนั หมัน่ เพียร วาเปน ประโยชนแกโลกจรงิ
คาํ สัง่ สอนของพระพทุ ธเจา จะไมเปนโมฆะอยูเ ปลา ๆ โดยไมมีผสู นใจและปฏิบตั ิตามจน
เกดิ ผล
ธรรมขอ ที่สองวา อารกั ขสัมปทา ถงึ พรอมดวยการเกบ็ รกั ษาทรัพยท่แี สวงหามา
ไดดว ยความชอบธรรม ไมจบั จายอยางสรุ ยุ สุรา ยโดยไมม ีขอบเขต การจบั จายควรถือ
ความจําเปนเปนประมาณ ทรพั ยจ ะมีสถานท่ีจอดแวะบาง ไมไหลผานมือไปเสียทเี ดยี ว
ธรรมคอื มตั ตญั ตุ า ความรูจกั ประมาณในการเกบ็ รักษา และการจับจายทเี่ ปน ฝาปด
และเปด ทรพั ยใ นคราวจาํ เปนทค่ี วรปด และควรเปด แมแตบ านเรือนกย็ งั มปี ระตปู ด เปด
ที่เก็บทรัพยก ็ควรจะมบี าง ถงึ คราวจาํ เปน เชน เจบ็ ไขเ ปนตน ทรพั ยก ็จะมีทางชวยเปลอื้ ง
ทุกขไ ดเ ทาที่ควร
ขอ ทีส่ าม สมชีวติ า การเลีย้ งและรกั ษาตัวใหเปนไปพอประมาณ อยาใหถงึ กับ
ฟุม เฟอยหรือฝดเคืองจนเกนิ ไป ทงั้ ๆ ที่ทรัพยเครือ่ งแกขดั แกจนมีอยู แตอ ยาใหก ลาย
ไปวาทรพั ยเปน เคร่ืองเสรมิ คนใหเสยี และเสรมิ คนใหข เ้ี หนียวจนเขากับใครไมได เหม็น
ฟุงไปหมดดวยกล่ินของความตระหนถ่ี ่เี หนียว และสง กล่ินฟงุ ไปไกลดว ยทัง้ ตามลมและ
ทวนลม จนหาท่หี ลบซอ นจมกู ไมไ ดเลย
ขอทสี่ ่ี กัลยาณมติ ตตา ความมมี ิตรสหายทีด่ งี าม การคบมติ รเปน สง่ิ สาํ คัญมาก
ควรเลือกเฟน ดว ยดี แมอ าหารในถวยในจานซง่ึ เปน สิง่ สําเร็จรปู มาเรียบรอยแลว ผรู ับ
ประทานยงั ตอ งเลือกเฟน ทกุ ครง้ั ท่ีรับประทาน เพราะในอาหารยอ มมที ั้งกระดูกทั้งกาง
ซึ่งเปน ภยั ตอ รางกายปะปนอยู และอาหารบางชนิดยังแสลงตอโรค จาํ ตองสังเกตดวยดี
ไมเ ชน น้ันอาจเปน ภยั ตอรางกาย บาปมติ รยง่ิ เปนภยั อยางรา ยแรง ถา คบดว ยความ
สะเพรา ไมใ ชค วามสังเกตและเลือกเฟน ถาเปน กลั ยาณมิตรกเ็ ปนคณุ อยางมากมาย พงึ่
แวน ดวงใจ ๔๗
กัณฑเ์ ทศน์ท่ี ๔- :๖๗ปัญ-ญาอบรมสมาธิ
๔๘
ไดท ง้ั คราวเปนคราวตาย ไมยอมทอดทิ้ง สขุ กส็ ุขดว ย ทุกขก็ทุกขดวย เมอ่ื มีกิจจําเปนก็
ชว ยเหลือไดเตม็ ไมเ ต็มมือ ไมกลัวความสน้ิ เปลอื งใด ๆ ทั้งส้ิน ขอแตเ พอื่ นผูจําเปน หรือ
จนมุมรอดพนออกมากได จงึ จะเปนทีพ่ อใจ น่ีคือเพ่อื นผพู ่งึ เปน พ่งึ ตายจริง ๆ ควรคบ
ตลอดกาล เพอ่ื นท่ดี เี ราชอบคบ แตเ ราไมดเี พือ่ นก็รังเกียจเหมือนกัน ตองมองดตู วั บา ง
เพ่อื จะไดเปน เพอื่ นท่ีดีของเขา เขาพลชี ีพเพ่ือเราฉนั ใด เราตองพลีชพี เพ่ือเขาฉนั นั้น
วันนี้ไดอธิบายธรรมเริ่มแตสมาธิมาพอประมาณ แลว ก็อธิบายเรื่องเด็กและผูปก
ครองเปนลําดบั จนถงึ อปั ปจ ฉตาและสนั โดษ ใหทา นผูฟ งท้ังหลายทราบ ขอขอบคณุ และ
อนุโมทนากบั ทกุ ทา นท่อี ตุ สาหมาดวยความสนใจตอธรรม หากวาโลกเราใครตอธรรมดงั
ทุก ๆ ทา นทีส่ นใจและบําเพญ็ อยูเวลาน้ี โลกกจ็ ะเปน ไปเพือ่ ความเจรญิ รุงเรือง แมเด็กที่
ไดร บั การถอ ยทอดจากผูใหญก ็จะกลายเปน เด็กดี มคี วามเฉลยี วฉลาดและปฏิบตั ิตัวไดด ี
เปน ท่เี บาใจของผปู กครอง โดยเหน็ วาเด็กจะเจริญวัยทง้ั ความรวู ิชา และความประพฤติ
เปน ลาํ ดับ ทงั้ จะเปนผนู ําของชาตติ อไปดว ยความละเอยี ดสุขมุ ประเทศชาตขิ องเรากจ็ ะ
เจรญิ ถาวรสบื ๆ ไป ชั่วฟา ดินสลาย
ดังน้นั การแสดงธรรมก็เห็นวาสมควรแกเ วลา จึงยตุ ธิ รรมเทศนาเพียงเทาน้ี เอวํ ก็
มดี ว ยประการฉะน้ี
www.Luangta.or.th
แวน ดวงใจ ๔๘
แวน่ ดวงใจ : ภ-าค๖๘๑- อบรมฆราวาส
๔๙
เมอื่เทวศนั เทนทศอ่ี น๒บอ์ ๐รบมรมฆมกฆรจรารกาิตวาัณควาภาสมฑสาณพ์ทวณีุ่ทนว๕ธดัวาศัดปปักา ่ารบบาา า้ชนน๒ตตาา๕ดด๐๘
บเาํ มเอื่ พวนั ญ็ ท่ี ต๒๐นมเกพราอ่ื คมหวพุทงั ธพศักน รากชร๒ร๕ม๐๘
วันน้จี ะอธบิ ายธรรมเกย่ี วกบั การบาํ เพญ็ ทางดา นจติ ใจ ใหบ รรดาทานผฟู งที่มา
จากสถานทต่ี า ง ๆ ดวยความสนใจใครต อธรรมเปนอยางยง่ิ ทราบตามโอกาสอันควร
ทานทีเ่ ปน นกั บวชซ่ึงพาคณะศรัทธาผใู จบญุ มากทา นมาสทู นี่ ี่ นบั วา เปนผมู คี วามมุงหวัง
ในธรรมอยา งแรงกลา และมคี วามมัน่ ใจตอการปฏบิ ตั เิ พอื่ ถอดถอนเคร่อื งหมักหมมที่
นกั ปราชญถือวาเปน ภัยตอ จิตใจใหหลดุ ลอยออกเปนลาํ ดบั จนไมมอี ะไรยงั เหลือให
เปนเชื้อแหง ภพชาติอีกตอไป แตก ารอธบิ ายธรรมเกีย่ วกบั การอบรมจติ ใจตามหลกั
ธรรมทา นแสดงไวม ากมาย เมอ่ื สรปุ ลงใหย อ กม็ ีสามประการ คอื ศีล สมาธิ ปญญา หรอื
ทาน ศลี ภาวนา
คําวา ศีล เขา ใจวา ทุกทานคงเคยไดยนิ ไดฟ งและเขาใจกนั มาพอสมควรแลว แม
คําวา ทานซึง่ เปน หลกั ใหญสวนหนึ่งของพระศาสนา และเปน หลกั ธรรมทีพ่ วกเราไดเคย
บาํ เพ็ญมาเปนประจํานิสัย ผูแ สดงไมสงสัยวาทานนักใจบุญจะของใจ เพราะตา งทานก็
เปนนกั ใจบุญสนุ ทานอยูแลว แตคําวา สมาธิ และ ปญญา ท้งั สองประเภทนี้รสู ึกวา สลับ
ซบั ซอ นและละเอียดลึกซงึ้ มาก ท้ังไมอ าจจะปฏบิ ัติใหถกู ตอ งตามความหมายในคาํ วา
สมาธิและปญญาไดท ุกระยะไป ฉะน้ันอุบายวธิ อี บรมทมี่ ีผูบ าํ เพญ็ จะปฏบิ ตั ิใหถกู ตอ ง
ตามธรรมทงั้ สองประเภทน้ี จงึ ควรอาศัยครอู าจารยเ ปนผแู นะนาํ แนวทางให
อนงึ่ ทานผูจ ะควรแนะนําแนวทางใหโ ดยถูกตอง โดยมากก็เปน ผูเคยไดรบั
การอบรม และรูเรอ่ื งของสมาธิและปญญาภายในใจมาพอสมควร หรือเปนผูมคี วาม
ชาํ นิชาํ นาญและปฏบิ ัติผา นสมาธแิ ละปญ ญาไปเปน ขั้น ๆ นับแตข นั้ ตา่ํ จนถงึ ข้นั สูงสดุ
ของสมาธิและปญญา มีความเฉลียวฉลาดและสามารถใหก ารอบรมสั่งสอนแกผ ูมาอบ
รมศกึ ษาและปฏิบตั อิ ยดู ว ย ใหไดร บั ความเขาอกเขา ใจตามขนั้ ภูมิของตนทม่ี าศกึ ษา
คาํ วา สมาธิ เมอ่ื แปลตามศัพทแ ลว แปลวา ความต้ังมัน่ ประโยคแรกของความ
ตง้ั มั่นสาํ หรับนกั บวชผูม หี นา ท่โี ดยเฉพาะแลว เริม่ ต้ังมั่นไปแตขอ วัตรปฏบิ ตั ิ ตง้ั มั่นใน
ระเบยี บพระธรรมวินัย ตัง้ ม่นั ตอ การสาํ รวมระวังท้งั กจิ นอกการใน เหลือบซายมองขวา
ไมย อมปลอยวางสตแิ ละปญ ญาเคร่อื งคมุ ครองใจใหพนจากภยั ทกุ ระยะ อนั จะเกิดข้นึ
จากอายตนะภายนอกกบั ภายในสมั ผสั กนั เพ่อื เปนเคร่ืองสนบั สนนุ จติ ใจใหมคี วาม
แวนดวงใจ แว่นดวงใจ : ภ-า๗ค๔๐๙๑-อบรมฆราวาส
กณั ฑเ์ ทศน-ท์ ๗่ี ๕๑ :- จติ ภาวนา
๕๑
เรือ้ รงั นี้ ทานท่ีไดร บั ผลอยา งสมบรู ณม าแลว คือพระพุทธเจา มพี ระเมตตาไวว า สกฺกตฺ
วา พทุ ธฺ รตนํ ธมมฺ รตนํ สงฺฆรตนํ โอสถํ อตุ ฺตมํ วรํ พระพทุ ธเจา พระธรรม และพระ
สงฆเปนโอสถอนั อุดมเลศิ
ดังนั้น ทา นผูตองการใหใจหายหรือทเุ ลาเบาบางจากโรคประเภทน้ี จงึ ควร
อาศยั ยา คือธรรมดังทก่ี ลาวมา แตธ รรมกค็ วรเปน ธรรมทีถ่ กู กบั จรติ นิสยั ในขัน้ เริ่มแรก
เพอื่ ใจจะไดส งบลง นเ้ี ปน หลักสําคญั ที่ผูบาํ เพญ็ ไมควรมองขามไป จติ ท่ไี ดรบั
การอบรมดวยวิธที ่ถี กู ตอ งกบั หลกั ธรรมตามจริตของตน ยอมจะเหน็ ผลคอื ความสงบ
เยอื กเยน็ ประจักษใ จ ไมวาหญิง ชาย นกั บวช และฆราวาส เพราะโรคในกายและโรคใน
ใจเปนไดในบุคคลทกุ เพศ ยาท่ีควรจะถูกกบั โรคน้นั ๆ ผูท ห่ี วังประโยชนจ ากยานํามา
รกั ษาโดยถูกตองตามวธิ ี กย็ อ มจะหายไดเ ชนเดียวกัน โดยไมเ ลอื กเพศหรือชาติชน้ั
วรรณะใด ๆ เพราะสําคัญอยทู ีโ่ รคถูกกบั ยาเทานัน้ ฉะนน้ั ผูสนใจใครตอ การปฏบิ ตั ิ
ธรรมจงึ มหี วังไดร บั ผลเปนเครอื่ งตอบแทนโดยทั่วกัน หากจะมตี า งกนั อยบู า งก็ขึ้นอยู
กบั เหตุ คอื การบําเพ็ญของแตละราย อาจมคี วามหนักเบามากนอ ยไปตามจรติ นสิ ัย ผล
จงึ มกี ารเหลื่อมล้ําตํ่าสงู ไปตามเหตุท่ีทาํ ใหเปน ไป
แตก ารเรม่ิ ปฏบิ ัติเบอื้ งตน อาจมีความลําบากอยูบา ง เพราะเปนงานท่ียงั ไมเคย
คลาํ หรอื ทางทีย่ ังไมเ คยเดนิ แตอ ยาลืมวาการปฏบิ ตั อิ บรมใจก็คือการทํางาน ข้ึนช่อื วา
การทํางานแลว ไมวา งานภายนอกหรอื งานภายใน ยอมมีความเหนือ่ ยยากลําบากเชน
เดยี วกนั เฉพาะงานภายใน หากจะมีความสะดวกนบั แตข้นั เริม่ ตน จนถึงข้ันสูงสดุ ก็คง
มเี ปน บางราย ดังทที่ านเขยี นประวตั ไิ วว า สขุ า ปฏิปทา ขปิ ฺปาภิฺญา หรอื ทนธฺ าภิฺ
ญา แตจ ะอยา งไรก็ดีเราควรคํานงึ ถงึ หลกั ธรรมเสมอวา ไมไ ดส อนคนใหมองเพยี งแง
ความลาํ บาก และท่สี ะเพราทําลงไปแลวบงั คับใหเ ห็นผล อยมฺภทนฺตา ถา ไมส มใจใน
ขณะน้นั ใหเ ลกิ ลม ไปเสยี
หากหลกั ธรรมสอนเชน นัน้ แมองคพระพทุ ธเจาเองก็คงเปน บุคคลทลี่ มละลาย
ไมสามารถตรสั รูและนาํ พระธรรมมาสงั่ สอนโลกใหไดรบั ความรมเยน็ ไดเลย แตไมท รง
สอนเชน นั้น กลบั สอนลงที่ผลอนั จะพงึ ไดรับเปน ที่ภาคภมู ใิ จกบั เหตุ คอื การบาํ เพ็ญ
เพือ่ ผลเชนนั้นใหเ หมาะสมแกกัน โดยมีความขยนั หมน่ั เพียรและความหนกั แนน ตอกจิ
การทที่ ํา เปนเคร่อื งหนุนงานอยูเสมอ เพอื่ ผลจะมชี องทางแสดงขึ้นตามรอยแหงเหตุท่ี
ทําแบบพมิ พเ อาไว เพราะฉะน้นั หลกั พระพทุ ธศาสนาจึงนิยมและสอนเนน ลงทต่ี นเหตุ
คอื การกระทําเปน สําคญั กวา อืน่ เมื่อเหตเุ ปน พน้ื ฐานท่ผี ูทาํ ทาํ ไดม ากนอยเพยี งไร ผล
แวนดวงใจ แวน่ ดวงใจ : ภ- า๗ค๕๒๑๑-อบรมฆราวาส
กณั ฑเ์ ทศน-ท์ ๗่ี ๕๓ :-จติ ภาวนา
แวน่ ดวงใจ : ภ-า๗ค๔๑-อบรมฆราวาส
กณั ฑเ์ ทศน-ท์ ๗่ี ๕๕ :-จติ ภาวนา
๕๕
ไดต ามแตความถนดั เพราะมคี วามมน่ั คงตอ ตนเองและตออารมณ ไมคอยจะวอกแวก
คลอนแคลนไปตามอารมณท่มี าย่ัวยวนอยา งงา ยดายเหมอื นที่เคยเปน มา
แตก ารพกั อยูไดนานหรอื ไมน ้ัน ขึ้นอยูก ับความชาํ นาญหรอื ไมชํานาญตางกนั
ถาจติ มีความชํานาญมากก็ทรงตวั อยูไดน าน และแสดงความสขุ ทแี่ ปลกประหลาดและ
อศั จรรยใหผูบ ําเพ็ญไดชมเปน เวลานาน ๆ เชน เดยี วกนั แมจ ติ ถอนขน้ึ มาแลว แต
กระแสแหง ธรรมที่เคยไดร ับในขณะทีจ่ ิตพกั อยู ก็ยังมีอานุภาพพอจะดึงดดู จิตใหม ี
ความพอใจในรสชาติอยไู มน อย ฉะนัน้ ผมู สี มาธิเปนเรอื นใจจึงมที างติดได หากไมใ ช
ความสังเกตสอดรูดวยปญญา หรือไมมีผูแ สดงใหร ไู วล ว งหนากอ น เพราะเปน ความ
สงบสุขทีแ่ ปลกประหลาดอยูไมน อ ย วิธีรกั ษาจิตประเภทน้ใี หทรงตัวหรอื ใหเจริญกาว
หนา ไดแกความเพยี ร อยา ลดละ และอยา ทาํ ความยนิ ดีเพยี งเทา นั้น เพราะธรรมท่ี
ละเอียดยง่ิ กวานยี้ งั มอี ีกมากมาย ซ่งึ จะกลายมาเปนสมบัตขิ องเรา เพราะอาํ นาจแหง
ความเพยี ร
เมอื่ จิตถอนขึน้ มาแลว พยายามพิจารณาอกี เชน ทเ่ี คยทาํ มา แตอยาคาดผลที่
เคยปรากฏมาแลว แตไ ดผ านไปแลว โปรดกาํ หนดตามวธิ ที ่ีเคยทําและเคยปรากฏมาแต
หนหลังซงึ่ เปน หลกั เหตุนไ้ี ว เม่อื หลักของเหตแุ มน ยาํ และม่ันคงอยแู ลว ผลจะปรากฏ
ข้ึนมาเองโดยไมมีใครบังคับได เชน เราเคยกาํ หนดอานาปานสติ ปรากฏผลขนึ้ มาเชน
นั้น ก็จงถือเอาธรรมน้นั เปนหลักเหตุ แลวบําเพ็ญตอ ไป เมอ่ื เหตมุ ีกาํ ลังพอจะเปน ไป
ไดใ นธรรมขัน้ ใด ผลกย็ ่ิงจะแสดงขึ้นมาในลําดับแหงเหตุ อันมีกําลงั เปนลําดับไปน่นั แล
ลาํ ดบั ตอไป เมื่อจิตมีความสงบพอทรงตัวได หลังจากจิตถอนขึ้นจากสมาธิแลว
ควรพิจารณาทางดา นปญญา เพอื่ เปนการเรืองปญ ญาและบาํ รุงสมาธใิ หม กี ําลงั ม่ันคง
เพิ่มขน้ึ อีก โดยสอดสอ งไตรต รองดูสภาพธาตขุ นั ธภ ายนอกภายใน ตามจริตของปญญา
จะหนกั ไปทางไหน ในขน้ั เรม่ิ แรก ตามธรรมดาของสภาวธรรมทั่ว ๆ ไป ยอ มมีการ
แปรและแตกสลายทัง้ ภายนอกทงั้ ภายใน ทั้งท่ีผา นมาแลว ทงั้ ทย่ี งั ไมม าถึง ทง้ั ปจจบุ นั ที่
ปรากฏดว ยหูดว ยตา และสมั ผัสรบั รอู ยกู บั ใจ มนั เต็มไปดว ยของแปรปรวนทั้งน้ัน แม
แตภ ูเขาหินท้ังลูกกย็ ังไมมีอํานาจตั้งอยเู หนืออนจิ จงั คอื ความแปรปรวนไปได ถงึ จะสูง
จรดฟา ก็เพียงแตลกั ษณะเทา นั้น สว นตวั ภเู ขายอ มอยูใตอ าํ นาจของกฎอนิจจงั พรอ มท้งั
ความสงู ของมนั ไมม สี ว นใดเลด็ ลอดตาขา ยของอนจิ จังไปไดเ ลย
แตค วามแปรสภาพของภูเขาหนิ ซง่ึ เปน วัตถทุ ่แี ข็งกวาสิ่งทไ่ี มแ ข็งแรงทัว่ ๆ ไป
จึงมีความแปรสภาพอยางเชอ่ื งชา คอย ๆ แปรไปตามความแขง็ ของตน แตมใิ ชป ญ หา
แวน ดวงใจ แวน่ ดวงใจ : ภ-า๗๕ค๖๕๑-อบรมฆราวาส
๕๖
ท่ีจะสามารถมาลบลางกฎของอนิจจังได จําตอ งแปรไปในระยะกอนและหลังกนั อยนู น่ั
เอง ยอนเขา มาถึงตัวและเร่ืองของเรา ของหมูเพื่อน และของแตล ะครอบครวั จะเหน็
เปนเร่ืองความวิปโยคพลดั พรากกันตลอดสาย ทัง้ คราวเปนและคราวตาย ลวนเปน
เรือ่ งวิปริณามธรรมประจําสัตวแ ละสังขารน้ันๆ เฉพาะในวงวัดก็แสดงตัวอยใู นลกั ษณะ
เชน เดยี วกนั กับสง่ิ ทัว่ ๆ ไป
เชนวนั นท้ี านองคน ้ีเขามา วันหนา ทานองคน ัน้ จากไป และทานองคนั้นไมสบาย
ทา นองคนป้ี วดทอง ทานองคนัน้ ปวดศีรษะ ตา งก็เปนไปอยเู ชนนน้ั ท้ังในบานในวดั ทัง้
นอกเมืองในเมือง ทวั่ ดนิ แดน ไมม ีผูใดและสิง่ ใดจะไดร ับสิทธเิ ปน พเิ ศษ อยูเหนือ
อาํ นาจของกฎไตรลักษณ คอื อนจิ จฺ ํ ทุกฺขํ อนตฺตา ซึ่งเปน กฎของคตธิ รรมดาและมี
ประจาํ อยูท ว่ั ไตรภพไปไดเลย ผูใดเรยี นจบคตธิ รรมดานโี้ ดยทางปญญาแลว ผูนั้นจะ
พน จากความทกุ ขโดยประการทง้ั ปวง
ดังนัน้ ทุกทา นซง่ึ กาํ ลังนั่งฟงการพรรณานาถงึ กฎของคติธรรมดาอยดู วยความ
สนใจ โปรดใชปญ ญาพิจารณาปลงธรรมสังเวชลงใหถึงหลกั ความจริงของธรรมทกี่ ลา ว
มาน้ี ซง่ึ ขณะน้ีมีอยกู บั ตวั ของเราทกุ ทา นอยางสมบูรณ อนิจจังไดอธิบายมาบางพอ
ประมาณ แมทุกขัง อนตั ตาก็โปรดทราบวาอยูในจดุ เดียวกนั เชน เดยี วกบั เชือกสาม
เกลียวท่ฟี น ติดกนั เปนเสน เดียวน่นั แล พดู ถึงเรอื่ งของทุกขแลวไมควรจะเปนสิง่ ที่นา
สงสยั ท่ีไหน เพราะไมใ ชเ ปน ของลี้ลับ แตม ีอยใู นกายและในใจของมนุษยและสตั วท ุก
ๆ ราย แมแ ตเดก็ ตวั แดงๆ ที่พึ่งคลอด เขายงั ตองผา นออกมากบั ความทุกขและแสดง
อาการใหเรารวู าเขาเปน ทุกข ทุกอาการท่ีเขาแสดงออกมาในเวลานน้ั ลว นเปนเคร่ืองสอ
ใหเ หน็ วา กองทกุ ขเรม่ิ แสดงตัวออกมาอยา งเปด เผย จากนนั้ ก็แสดงทกุ ขตดิ ตอ กนั ไป
ตลอดสาย จนถงึ วาระสดุ ทายก็แสดงตัวอยา งเตม็ ท่อี กี ครั้งหน่งึ แลวตา งอาการตางก็
แยกยายกันไปที่โลกใหน ามวาตาย
ส่ิงทง้ั นเี้ ปนเรือ่ งแสดงออกแหง กฎของไตรลกั ษณโดยส้ินเชิง ไมมีอะไรนอก
เหนือไปจากน้พี อจะใหเกิดความสงสัย เพอ่ื ความแจง ประจักษใ จ โปรดมองลงไปทกี่ าย
กับใจของเราเอง เราจะไดเ ห็นทุกขแสดงตัวเปน อาการตาง ๆ เต็มอยใู นกายในใจอยา ง
สมบรู ณ ไมมีวนั และเวลาบกพรอ ง ความเคล่อื นไหวไปมาตาง ๆ ทเี่ ราแสดงออก ลว น
เปน วิธหี าทางบรรเทาทุกขใ นตัวเราท้งั นน้ั ฉะนัน้ ท่วั โลกจงึ ไมม ใี ครจะอยูเ หนือใคร และ
ไดเ ปรยี บใครในเรอ่ื งความทุกขในขันธ เพราะแตล ะขนั ธม ันเปนบานเรอื นของทกุ ข
แวน ดวงใจ กณั ฑเ์ ทศน-ท์ ๗ี่๕๕๗๖:-จติ ภาวนา
แวน่ ดวงใจ : ภ-า๗ค๘๑-อบรมฆราวาส
๕๘
ฉะน้นั ทานนักปฏิบตั ทิ ี่สนใจทุกทาน โปรดมองดูตวั เอง อยามองขามไป เพราะ
ใจเปนสงิ่ ที่มีคณุ คามากเหนอื สิง่ ใด ๆ ในตวั เรา พยายามบําเพ็ญประโยชนต นใหเต็มที่
อยา ใหเสยี ทา เสียทีที่เกดิ มาเปนมนษุ ยอ ยา งเตม็ ภูมิ พรอ มทง้ั ไดพ บไดบ วช และเปน
พทุ ธบรษิ ทั ในพระพุทธศาสนาอันสมบรู ณดวยเหตุและผล สมกบั บทธรรมทว่ี า สวาก
ขาตธรรม ธรรมท่ีตรัสไวช อบแลว และบทวา นยิ ยานกิ ธรรม เปน ธรรมที่สามารถนําผู
ปฏบิ ัตติ ามใหพ นทกุ ขไดโดยแนนอน โปรดมองดทู างพนทุกขใ นธรรมทเี่ รียกวา นิยยา
นกิ ธรรม แกไขดัดแปลงกาย วาจา ใจใหเปน ไปตามธรรมและตามเพศของตน ผทู ีไ่ ด
บาํ เพ็ญเต็มความสามารถและไดบ รรลุถงึ ผลอันสมบูรณแลว จะผา นพน จากทุกขไ ปได
ในอตั ภาพนี้ ผูท่ีกาํ ลังบาํ เพ็ญเพื่อแดนพนทุกขโดยไมล ดละความเพยี ร กจ็ ะผานพน
ทุกขไ ปในวันหนา ขออยางเดยี ว คือ อยา มองดูทางพน ทกุ ขเ ลยธรรมของพระพทุ ธเจา ท่ี
เรียกวา มชฺฌมิ า จะเปน การชอบธรรม
ในอวสานแหง ธรรม จึงขออาราธนาคณุ พระพทุ ธเจา พระธรรม และพระสงฆ
องคเปนสรณะของโลก มาคุมครองรักษาทา นพุทธบรษิ ทั ทั้งหลายใหม คี วามสุขกาย
สบายใจ และปฏบิ ตั ติ นดวยความสะอาด ปราศจากอุปสรรคเครื่องกดี ขวางทางดาํ เนนิ
ทกุ ประเภทจนถึงแดนแหงความเกษมโดยสวัสดีเถดิ
www.Luangta.or.th
แวนดวงใจ กณั ฑ์เทศน-ท์ ๗่ี๕๕๙๘:-จติ ภาวนา
๕๙
เมอื่ เวทนั ศเททนศ่ี อ๑นบ๐อ์ รบกมรกมุมฆฆิเภรลรกาาาวพณัสวาาัน-สฑสอธณ์ทรณพี่ ิยวุท๖วดสั ธดั ปจัศปา่ากั บบรา้าานนชตต๒าาดด๕๐๘
เมอ่ื พวันอท่ีแ๑ม๐ ขกุมอภางพกนั ิเธล์ พสทุ ตธศณั ักราหชา๒๕๐๘
ความคิดทเ่ี กดิ ขนึ้ ในเบ้ืองตน สําหรบั นกั บวชผูมุงตอ การปฏิบตั ิ ความคิดเพ่อื
แสวงหาครูอาจารยน เี้ ปนความคดิ ท่ีถกู ตอ ง โปรดรกั ษาความคดิ เชนน้ีไว ความคดิ เชนน้ี
แลจะสามารถลบลา งความคิดทีไ่ มด ี และไมเ ปน ที่ไววางใจตอ การปฏิบตั ิพระธรรมวินัยให
ถูกตอง จงึ เปนเหตุใหคิดเพื่อเสาะแสวงหาครูอาจารย ผูช ี้แนวทางอนั ถูกตอง แลว จะได
ดําเนินไปดวยความสะดวกและราบรืน่ แมพระสาวกองคท ป่ี รากฏวา ไดถงึ แดนแหงความ
เกษม กต็ อ งมีความคิดเชน นี้เหมือนกนั เชน คดิ อยากจะเขา เฝาองคส มเดจ็ พระผูม ีพระ
ภาคเจา เพ่ือพระองคจะไดป ระทานพระโอวาทสง่ั สอนทั้งทางถูกและทางผิด เพือ่ ผูใคร
ตอ การศกึ ษาและปฏิบัติจะไดรบี แกไขและดาํ เนินโดยถกู ตอง
ดังนนั้ การแสวงหาครอู าจารย ซง่ึ เปนที่แนใ จเราวาจะเปน ผสู ามารถแนะนาํ สั่งสอน
เราได จึงเปนความคิดทด่ี แี ละควรสงเสรมิ ความคิดประเภทนีใ้ หเ จริญย่ิง ๆ ขนึ้ ไป แลว
คอยพยายามดดั แปลงกาย วาจา ใจของตนใหเปน ไปตามโอวาทของทา น แตระวงั ความ
คิดที่จะคอยแทรกสิงและลบลางความคดิ ทด่ี นี ้ี ซง่ึ อาจจะเกิดข้ึนได เพราะส่งิ เหลา นม้ี อี ยู
ในฉากเดยี วกัน เม่อื ไดโอกาสอาจจะเกิดขนึ้ ได เราเองก็อาจจะหลงเชอ่ื ไปตาม ถงึ กับกาย
วาจา ใจไหวไปดว ย นีค้ อื สาเหตุท่จี ะใหเ ราไดร บั ความเสยี หายไปวนั ละเล็กละนอ ย และ
ดอยในทางปฏบิ ตั ิ ซ่ึงยงั ผลใหปรากฏเปนลาํ ดบั
เพราะกิเลสกับธรรมตามธรรมดาทานถอื วาเปน ขาศึกตอกนั ถากิเลสมกี าํ ลังมาก
กวา ก็สามารถจะลบลา งธรรมซึง่ เปน ของดีเย่ยี มใหลดนอยลงไป จนถงึ กบั ไมมีธรรมภาย
ในใจ แตถ าธรรมมกี าํ ลังมากกวา ก็สามารถลบลางกเิ ลสใหลดนอ ยลงจนหมดสิ้นไปไมมี
อะไรเหลือ เชนพระพทุ ธเจา และพระสาวกเปนตวั อยา ง ดงั น้นั เราผเู ปนนกั ปฏบิ ัตโิ ปรด
สาํ นึกไวเสมอวามขี า ศึกประจาํ ตวั ตลอดเวลา การแสวงหาครูอาจารยจงึ เปนอุบายวิธจี ะแก
ความคดิ ฝายตา่ํ ใหม กี าํ ลงั ลดนอยลง และเพ่อื จะสง เสริมความคิดฝา ยสงู ใหมีกาํ ลงั มาก
ขึ้น พอเปนทางเกิดขน้ึ แหง ธรรมวนั ละเลก็ ละนอ ย จนกลายเปนคนมธี รรมภายในใจ เรม่ิ
ตนแตความสงบเย็นใจเปนขน้ั ๆ ไป
สว นสถานทีแ่ ละกาลเวลานั้นใหคาดเพยี งช่วั ระยะกาล เพอื่ จะแสวงหาชยั สมรภมู ิท่ี
เหมาะสาํ หรบั นกั รบ อนั ไดนามวาศิษยพ ระตถาคต แตห ลักสําคญั ท่ไี มหา งไกลจากกนั นั้น
แวน ดวงใจ กณั ฑ์เทศน์ท่ี ๖๕๙: กิเลศ-อรยิ สจั
- ๘๑ -
๖๐
คอื การบําเพ็ญตวั อยตู ลอดเวลา ไมว า อริ ยิ าบถใดใหอ ยดู วยความเพยี ร เพอ่ื ร้อื ถอนสิง่
แทรกซมึ และกอ กวนภายในใจ ดว ยอํานาจของสตแิ ละปญญาอยูเสมอ น่ีเปนหลักและจุด
สาํ คัญสาํ หรับผบู ําเพญ็ เพอ่ื ความหลดุ พน สิง่ ที่ปรากฏภายในใจ ซงึ่ เชือ่ แนวาถูกตามหลกั
ธรรม แมจ ะเพียงเล็กนอ ยก็ใหถือวา น้นั คอื ผลทีเ่ กดิ ขึ้นจากการบําเพญ็ ของตน
เร่ืองความลําบากในการบําเพ็ญโปรดอยา ถอื เปนส่ิงสาํ คญั ถาถือเปนส่ิงสําคญั
แลว สงิ่ นั้นจะมกี ําลงั ส่ังสมตวั เองมากระทําการกดี ขวาง ทางดําเนินเพือ่ ความกา วหนา
ของเรา มีขอของใจอยูตรงไหน ซึ่งเหน็ วา ไมแนใ จตามหลักธรรม โปรดทําความรูสกึ กบั
จดุ นั้นทันที และถอื วา จุดน้ันเปน เปา หมายสาํ หรับพจิ ารณาอยาลดละ และอยา คาดคะเน
อยา เอาความรูเ ขา ไปคาด มรรค ผล นพิ พาน อนั จะเกิดจากการปฏิบตั ิ อยาคาดสถานที่
วา ควรจะรูใ นสถานทเ่ี ชน นน้ั ๆ ขณะที่ขอของใจเกิดขึ้น จงทําความรบั รูอยูกบั ความขดั
ขอ งน้นั ตามวาระที่ความขัดขอ งแสดงตัวออกมา สถานที่นน้ั แลคอื ชัยสมรภมู ิ ไดแก
สนามรบเพ่ือชัยชนะตลอดไป
คาํ วา กเิ ลสไมว า ประเภทใด จะตองแสดงขึน้ ท่ีใจของเราทกุ ๆ ทา น ไมม ที ่ีอน่ื เปน
ทีแ่ สดงขึ้นแหง กเิ ลสทัง้ หลาย เพราะส่ิงทง้ั นไี้ มไ ดม อี ยใู นสถานทีอ่ ื่นใด นอกจากจะอยูกบั
ความรูคือใจนี้เทาน้ัน ผูปฏบิ ัติเพ่ือแกไขกเิ ลสอาสวะใหเ บาบางลงเปนลําดบั จนถึงขน้ั
กิเลสหมดไปโดยสิ้นเชงิ จงอยามองขา มสิง่ ที่ปรากฏมีความขดั ขอ งภายในใจเปนตน จะมี
ทางแกไขและถอดถอนกิเลสไดตลอดไป และควรทราบวา ความขดั ของ ความไมสะดวก
สบายภายในใจ มนั เปนเรอ่ื งของกิเลสทัง้ น้นั เปนผผู ลิตออกมา ไมใ ชส ่งิ อืน่ ๆ จะสามารถ
ทาํ ได โปรดดูเรอื่ งของตัวใหล ะเอียดถถี่ ว น ถาดใู จจะรเู รอื่ งของกิเลส เพราะกิเลสกับใจ
นั้นอยดู ว ยกัน
ขณะน้เี ปนเวลาทเ่ี รามีกิเลสฝง อยูภายในใจ โปรดทราบไว เขามิไดอยูในสถานท่ี
และกาลใด ๆ นอกจากจะอยูและแสดงข้นึ ท่ใี จทุก ๆ ขณะทม่ี ีความพลงั้ เผลอเทา นั้น การ
แกไขและถอดถอนกิเลส ถาไมข ุดคน ลงทจ่ี ดุ นี้ ไมมที างผา นพนไปได ทงั้ ไมส ามารถจะรู
เรื่องของตวั วา เปนกิเลส หรือเร่อื งของกเิ ลสเปน เรอ่ื งของตัว เพราะทกุ สง่ิ ทเี่ กิดข้ึนเราถือ
วา เปนเรือ่ งของเราไปเสียหมด โดยท่ีเราไมทราบวา กิเลสกับเรานั้นเปนอยา งไรบา ง ผิด
ตา งหรอื เหมือนกัน เปน คนละอยา ง หรือเปนอยางเดยี วกัน ถา มีสตปิ ญญากจ็ ะทราบไดวา
กเิ ลสกบั ใจไมใชอ นั เดียวกัน แตถาหาไมแลว กิเลสจะกลายเปนเรา เราจะกลายเปนกิเลส
กนั วนั ยังค่าํ จะแกก เิ ลสกห็ าท่แี กไ มไ ด เพราะจะกระเทือนตวั เรา จะแกเรากแ็ กไมได
เพราะจะไปกระเทอื นกเิ ลส เพราะถอื วาเปน เรื่องของเราเชน เดยี วกัน จะประกอบความ
แวน ดวงใจ ๖๐
แวน่ ดวงใจ : ภ-า๘ค๒๑-อบรมฆราวาส
๖๑
เพียรกก็ ลวั จะกระเทือนตัวเราใหไ ดรบั ความลาํ บาก ทั้งกลวั จะกระเทอื นกิเลสซึง่ ถอื วาเปน
เร่ืองเดยี วกนั กับเรา
เมื่อกิเลสมากลายเปน เราเสยี ทุกสวนแลว เราก็ไมม ีทางแกก เิ ลสได เพราะกลัวจะ
มกี ารกระทบกระเทอื นกันระหวา งกิเลสกบั เราซง่ึ กลายมาเปน อนั เดยี วกัน เร่ืองทงั้ นผี้ มู ี
สตปิ ญ ญาจะทราบไดต ามวาระแหง ธรรมท่พี ระพทุ ธเจา ทรงสอนไว ส่ิงใดทกี่ อความ
รําคาญและผลติ ทุกขขน้ึ มาใหแกตน แมจ ะเปน สง่ิ ทช่ี อบอกชอบใจก็ตาม สง่ิ น้ันทานบอก
วา เปนกิเลส เปน สิ่งท่ีจะกอ กรรมทาํ เข็ญใหเ ราตลอดไป ไมม ีสมัยใดท่กี ิเลสจะผลิตความ
ดี ความชอบ ความสุข ความเจรญิ ใหค น นอกจากจะทาํ แตความทกุ ขร อนใหต ลอดไปเทา
นัน้ แลวควรละหรือทจ่ี ะไปเชอื่ ดวงใจทีเ่ ตม็ ไปดว ยกิเลส กระซิบอยูตลอดเวลาวา เปน ของ
ดี ควรจะยอมจํานนตามเขาท่ีชเี้ ข็มทิศใหไ ปตามแลว หรอื ทาํ ไมเราจะเปน ผเู อนเอยี งและ
ลมละลายไปตามเขาเชน น้ัน จะหาตวั เราที่แทจ รงิ ไมเ จอตลอดกาล และจะหาความเปน
ตวั ของตัวจากความเพยี รไมไ ดเ หมอื นกนั
ทุก ๆ ทา นโปรดทราบไวว า เวลานีก้ ิเลสกบั เรากาํ ลังคละเคลา เปน อันเดียวกันจน
หาทางแยกไมได จะประกอบกจิ การทีช่ อบใด ๆ มแี ตกลัวจะกระเทอื นกิเลสกับเรา ซ่งึ
แยกจากกันไมออก สุดทายกอ็ ยากอยเู ฉย ๆ คอยใหกเิ ลสหลุดลอยไปเอง โดยไมทราบ
วาการอยเู ฉย ๆ ก็เปนเรอื่ งเกียจครา นและเปนทางสง่ั สมกเิ ลสเพิม่ ขึน้ ภายในใจ คนท่อี ยู
เฉย ๆ ไมท ํางานโลกเขาเรยี กวา คนเกียจครา น คนเกียจครานไมม ที รพั ยสมบตั ิเคร่อื ง
ครองชีพ ไมมอี าหารรับประทาน ไมม เี ครือ่ งนงุ หม ไมม ีบานจะอยู เครอื่ งอปุ โภคบรโิ ภค
ขาดแคลนไปตาม ๆ กัน นั่นคือคนทกุ ข เพราะสาเหตมุ าจากความเกยี จครา นเปน เจา
เรอื น ความทกุ ขเ ดอื ดรอ นเลยกลายเปนโรคระบาดเร่ียราดไปหมดทัง้ ครอบครวั ไมม ีใคร
จะไดรบั ความสมบรู ณพนู ผลในครอบครวั นน้ั นค่ี อื โทษแหงความเกียจครานหรือความ
อยูเ ฉย ๆ
จติ ท่ีชอบอยูเฉย ๆ ไมพินิจพิจารณาหาทางแกไขตน ก็ตอ งเปน ผขู าดแคลนความ
สขุ ภายในใจ ศลี สมบัติ กไ็ มสมบูรณ นบั วันจะดางพรอยและขาดทะลุไป สมาธสิ มบตั ิ คอื
ความสงบเยือกเย็นภายในใจกเ็ กิดขน้ึ มาไมได เพราะไมม ีทางจะเกดิ เนื่องจากความเกียจ
ครา นเปน เพชฌฆาตสงั หาร แม ปญ ญาสมบัติ กห็ าทางกําจดั กเิ ลสไมได เพราะความ
เกยี จครานปด กน้ั ทางเดิน เมอื่ สรปุ ความแลว ศีลสมบัติ สมาธสิ มบตั ิ และปญ ญาสมบตั ิ
จะหาทางเกดิ ขึ้นมาเองเฉย ๆ โดยไมทําอะไรนน้ั ไมไ ดเลย นอกจากจะเกดิ ขนึ้ เพราะการ
แวนดวงใจ ๖๑
กัณฑ์เทศนท์ -ี่ ๖๘๓: ก-ิเลศ-อริยสัจ
๖๒
บําเพ็ญทีเ่ รยี กวาทํางานเทานน้ั การระมัดระวงั และการบังคับจิตใจเพื่อรวู ิถที างเดินของใจ
วา เดินไปในทางถกู หรอื ผิด เหลานจี้ ัดวา มงี านไมอ ยูเ ฉย ๆ
ผูมงี านนี้แลจะเปน ผูสามารถยังสมบตั ิทัง้ สามนัน้ ใหเกิดข้ึนได ศลี สมบตั ิ กจ็ ะเปน
ไปเพ่ือความบรสิ ุทธแิ์ ละเย็นใจแกเจาของ สมาธสิ มบตั ิ คอื ความสขุ ใจเพราะความสงบ
เปน บาทฐานกจ็ ะเกดิ ขึน้ เพราะความเพียรเปนรากฐาน ปญ ญาสมบัติ คอื ความฉลาด
รอบคอบก็จะมีทางเกิดไดจากความพยายาม และยังจะสามารถถอดถอนส่งิ ลามกโสมม
ซงึ่ แทรกสงิ อยภู ายในใหห มดส้ินไปเปน ลาํ ดบั ท้ังสามารถแยกกิเลสกับเราออกจากกันได
เปน ระยะ ๆ ดว ย เพราะเร่ืองกเิ ลสกบั เราเปน เรอื่ งสาํ คญั มาก ถา รเู ทา ไมถ ึงเหตกุ ารณ
แลว กเิ ลสกบั เราและเรากบั กิเลสจะตองคละเคลากันไปตลอดสายดงั ทก่ี ลา วผานมา จะ
ทําการร้อื ฟน และถอดถอนกเิ ลสภายในใจ กก็ ลัววา จะไปทําลายใจใหฉ บิ หายไปดวยจงึ ไม
กลา ทําลงไป เพราะกลัวจะไปทาํ ความกระทบกระเทือนมิตรสหาย ซึ่งอาศยั และอยูดว ย
กนั มาเปน เวลานาน
หาทราบไมวา ความกลัวนัน้ คอื เรอ่ื งของกเิ ลสหึงหวงตวั เอง ไมอ ยากใหอ ะไรเขา
ไปแตะตอง เพราะกลวั จะเส่ือมคุณภาพและอาํ นาจวาสนาที่เคยครองไตรภพบนหวั ใจของ
คนมานาน ขอน้ีผูปฏิบัตคิ วรคํานึงเสมอ ถา ปลอยตามอําเภอใจแลว ปรากฏเปนความสขุ
ความเจริญขน้ึ มา ท้งั ทางโลกและทางธรรมจะไมมอี ะไรเปน ขอบเขต ไมม ีกฎหมายบา น
เมอื งเปน เครอ่ื งบังคบั ไมม ีหลักธรรมวนิ ัยเปนเครอ่ื งดําเนนิ แมท่สี ุดสัตวดิรัจฉานทไ่ี มรู
ภาษภี าษาอะไรเลย กจ็ ะพลอยไดรบั ความสขุ ความเจริญไปตาม ๆ กันหมด เพราะการทาํ
ตามอําเภอใจเปน ไปไดท้ังสตั วทงั้ คนโดยไมมขี อบเขต แตม นั ไมเปนดงั ท่ีวานั้น ทา นจงึ
สอนไวเสมอวา กุสลา ธมมฺ า อกุสลา ธมมฺ า ไดฟ ง ทงั้ คนเปน ท้งั คนตาย แตจ ะทราบ
ความหมายหรือไมน้ัน ไมร ับรองทงั้ คนเปนและคนตาย แมผูแสดงเองก็ยงั ไมรบั รองตวั
เองวาจะเปนไปดงั ท่ที านสอนหรอื ไม แตธรรมซงึ่ เปน ทไี่ วว างใจของโลกสอนไวอยา งไรก็
วา ไปตาม แบบนกขุนทองเพื่อหาทกี่ ําบงั ไปตามธรรมเนยี มของคนมีกิเลส
ความหมายในธรรมทง้ั สองบทนวี้ า กุสลา ธมมฺ า หนง่ึ อกุสลา ธมมฺ า หนงึ่ เปน
ธรรมกลาง ๆ ถา เปนคุณสมบัติของผทู าํ ก็แปลวาผูมีกุศลธรรมหนึ่ง ผูมีอกุศลธรรมหนงึ่
หรือจะแปลวา ผูม บี ญุ และบาปกไ็ ดส ุดแตจ ะแปล เพราะคาํ วาบุญหรอื บาปนั้นข้ึนอยูก ับผู
ทํา ถาโงก็ทาํ ความชั่วลามกใสตัวเอง ผลก็กลายเปน ทุกขเดือดรอ นข้นึ มาในบคุ คลผูนัน้
ทา นจงึ กลาวไวว า ดกี ับชั่ว สุขกับทุกขเ ปน ของคูกนั และเปน สมบตั ิของผูท าํ ซง่ึ เปน ตัวเหตุ
มิไดเ กดิ ข้ึนมาเองโดยปราศจากเหตุคือการกระทํา ฉะนนั้ ผูน บั ถือพระพทุ ธศาสนาซง่ึ เปน
แวน ดวงใจ ๖๒
แว่นดวงใจ : ภ-า๘ค๔๑-อบรมฆราวาส