๑๕๕
พยายามรื้อฟน สง่ิ ทต่ี ิดแนบอยกู ับใจและแกไ ขดวยปญ ญา อยาน่ิงนอนใจ ความเปนอยู
แหงภพชาติของเรา มคี วามสขุ ความทกุ ข ขนาดไหนท่ีเคยเปน มา โปรดประมวลมา
พิจารณาโดยตลอด อยายอมหมกั หมมเอาไว จะเปนเชอื้ ตอ ทุกขภยั มาถึงตวั เชนทเี่ คย
เปน มาตามภพชาตติ าง ๆ จงพยายามพิจารณาและถอดถอนออกใหหมดดว ยความเพียร
ถา จิตหมดเชื้อโดยสิน้ เชิงแลว เรือ่ งทกุ ขใ นภพไหน ๆ จะไมมีอีกตอไป นน่ั แล
ทานเรยี กวา ผูหมดทุกขโดยประการทงั้ ปวง คาํ วา นพิ พฺ านํ ปรมํ สุ ญฺ ํ โปรดทราบวา
คือ สูญทกุ ขท ้ังมวลภายในใจนัน่ เอง แตผทู รี่ วู าทกุ ขส ูญส้นิ ไปนน้ั คือผูบรสิ ทุ ธโิ์ ดยสิ้นเชิง
มิไดสญู ไปดว ย เชนเดียวกบั หัวกลอยหวั มันท่ถี กู ตมจนจดื สนทิ ดแี ลว ไมมรี สคนั ฝง เหลอื
อยู ยอมทรงรสชาติอันดีไวใ นหัวของมันอยา งสมบูรณ มิไดส ูญไปตามรสคันอนั เปนพิษ
รับประทานยอมมรี สเอร็ดอรอ ยดฉี ะนัน้
ดงั น้ันในอวสานแหง ธรรมนี้ จงึ ขออาราธนาคุณพระศรีรัตนตรยั มาคุมครองทุก
ทา นใหมคี วามสุขกายสบายใจ และมโี อกาสไดบ าํ เพญ็ คุณงามความดเี ต็มสติกาํ ลงั จน
บรรลุถงึ ฝง แหง ความพน ทกุ ขโ ดยสิ้นเชิงทกุ ถวนหนา กันเทอญฯ
www.Luangta.or.th
แวนดวงใจ ๑๕๕
กณั ฑ์เทศนท์ -่ี ๑๑๔๘๕: -กฏแหง่ กรรม
เทศนอ บขรันมธฆ์หรกาา้ ณัว-าหฑส ท์ลณี่กั ๑วปดั๕ัจปจา บุบา นั นตาด ๑๕๖
เมอื่ วเมนั ทือ่ ทเวทาี่ันศ๑งทน๗เ่ี อ์ ด๑บก๗รนิ ุมมกถภฆุมราึงภาพาควนัพาสวันธธาพณ์ มพทุ ทุวสธัดธศิน้ปศัก่าักทรบราา้ากุ ชชนตข๒๒า๕ด๕๐๐๗๗
การตงั้ ขอสงั เกตจิตในเวลาฟงเทศนห รอื เวลาน่งั ภาวนา เราไมตอ งกดขี่บงั คบั
จิตจนเกนิ ไป เปนเพยี งทําความรไู วเฉพาะหนาเทา น้นั ทา นผกู าํ ลงั เรม่ิ ฝก หดั โปรดจดจาํ
วิธไี ว แลวนาํ ไปปฏิบัติ สว นจะปรากฏผลอยา งไรน้ัน โปรดอยา คาดคะเนและถือเปน
อารมณใ นผลของสมาธิที่เคยปรากฏมาในคราวลว งแลว ขอใหต ้ังหลักปจ จบุ ัน คอื
ระหวา งจติ กบั อารมณม ลี มหายใจเปนตน ทก่ี ําลงั พจิ ารณาอยูใหม น่ั คง จะเปนเคร่อื ง
หนุนใหเกิดความสงบเยอื กเยน็ ขึ้นมาในเวลานน้ั เมือ่ ปรากฏผลชนิดใดขึน้ มา จะเปน
ความสงบนง่ิ และเยน็ สบายใจก็ดี จะเปน นิมิตเร่อื งตา ง ๆ ก็ดี ในขณะนัง่ ฟง เทศน หรอื
ขณะนง่ั ภาวนากต็ าม เวลาจะทาํ สมาธภิ าวนาในคราวตอไป โปรดอยาถอื อารมณท ี่ลวง
แลวเหลานีเ้ ขามาเปน อารมณของใจในขณะน้ัน จิตจะไปทําความรูสกึ กับอารมณอดีต
โดยลมื หลกั ปจจุบันซึง่ เปน ทรี่ ับรองผล แลว จะไมปรากฏผลอะไรขนึ้ มา
โปรดทาํ ความเขาใจวา เราทําคร้งั แรกซ่งึ ยงั ไมเคยมีความสงบมากอนเลย ทําไม
จงึ ปรากฏขึ้นมาได ทงั้ นเ้ี พราะการต้งั หลักปจ จุบันจติ ไวโดยถกู ตอ ง สิ่งท่ีจะถือเอาเปน
แบบฉบบั จากอดีตท่เี คยไดรับผลมาแลวน้นั คอื หลักเหตุ ไดแกว ิธตี ง้ั จิตกบั อารมณแ หง
ธรรมตามแตจริตชอบ ตงั้ จิตไวกบั อารมณแหง ธรรมบทใดและปฏบิ ัติตอ กันอยางไรใน
เวลานน้ั จงึ ปรากฏผลเปนความสงบสุขขนึ้ มา โปรดยดึ เอาหลักการนี้มาปฏบิ ัติในคราว
ตอไป แตอ ยาไปยดึ ผลท่ปี รากฏขน้ึ และลวงไปแลว จะไมม ีผลอะไรในเวลาน้ัน นอกจาก
จะทาํ ใหจติ เขวไปเทาน้ัน โดยมากท่ีจิตไดรับความสงบในวนั นี้ แตวันตอ ไปไมส งบ ทัง้ น้ี
เพราะจติ ไปยดึ เอาสญั ญาอดตี ทผี่ า นไปแลวมาเปนอารมณในเวลาทาํ สมาธนิ ั้น ถา เรา
ยึดเอาเพยี งวิธีการมาปฏบิ ตั ิ ผลจะปรากฏขน้ึ เชน ท่ีเคยเปน มาแลว หนึง่ จะแปลก
ประหลาดยิง่ กวา ทเ่ี คยเปนมาแลวเปนลาํ ดับหนง่ึ
สว นมากผบู าํ เพ็ญทางดานจิตใจท่เี คยไดร ับความสงบเย็นใจมาแลว แตขาดการ
รักษาระดับท่ีเคยเปน มาแลว ทงั้ ความเพียรดอยลง เพราะไดรับความเยน็ ใจแลว
ประมาทนอนใจ จิตก็มคี วามเสือ่ มลงได เม่ือจติ เสอ่ื มลงไปแลว พยายามหาทางปรับ
ปรุงจติ ใหข ้นึ สรู ะดับเดิม แตไมสามารถจะยกขึ้นสรู ะดบั เดิมได ท้ังน้เี พราะจิตไปยึดเอา
แวนดวงใจ กณั ฑเ์ ทศน์ที่ ๑๕- ๑๑: ๘๕ข๗นั ๖ธ-์หา้ -หลกั ปจั จุบัน
แวน่ ดวงใจ : -ภา๑ค๘๘๑ -อบรมฆราวาส
กณั ฑ์เทศนท์ ี่ ๑๕- ๑: ๘ข๙นั ธ-์หา้ -หลกั ปัจจุบนั
๑๕๙
สมุทัยเทยี่ วปกปน เขตเอาไว ดงั นัน้ อุบายทง้ั หา คอื เกสา โลมา นขา ทนั ตา ตโจ อัน
เปน สวนใหญท ท่ี า นมอบใหแ กนกั บวช จึงเปน เหมือนใหอาวธุ เขา ถากถางเพือ่ ถอดถอน
อปุ าทานท่ีฝงเกล่ือนอยตู ามสว นตาง ๆ ของรา งกายใหห มดส้นิ ไปเปนลําดับ เร่ิมแตก าร
พิจารณาช้ันตน จนถงึ ขั้นความชํานาญ และสามารถรเู ทา ทันสว นรางกาย ทงั้ ภายนอก
ภายใน ทั้งเบ้อื งบน เบื้องลา งโดยทั่วถึง
ถาจะแยกกายนอ้ี อกเปน ประเภทของทุกข ทุกอาการของกายจะว่ิงลงสูส ายทุกข
ตามกันหมด ไมม ีชิน้ ใดฝน ตัวอยไู ด เพ่อื ความประจกั ษใจและแนนอนกับทกุ ขใ นกาย
ลองเอาปลายเข็มจรดลงดานใดดานหนง่ึ ของกายสกั นดิ หนง่ึ จะทราบทันทวี า ทกุ ขมอี ยู
ทุกขมุ ขนท่วั รางกายของบุคคลและสัตวผูหนงึ่ ๆ ดงั นั้น ผใู ชสติปญญาตรวจตรองอยู
กบั ขันธ ยอ มมที างทราบเรื่องของตัวและทกุ ขทอี่ ยใู นขันธน ที้ ั้งขันธโดยลําดับ เพราะ
ทุกขทัง้ มวลไมน อกไปจากขันธน ้ีเลย แมค าํ วา อริยสจั ซึ่งถือวาเปนธรรมลกึ ซ้งึ จึงไมเ ลย
ความรสู กึ ของผูร บั สัมผัสไปได ตองอยูในวงความรูส กึ ของเราดวยกนั จะสูงก็ไมเลยกาย
กบั ใจน้ไี ปได สมุทยั ก็ไมลึกเลยความรอู นั น้ี เพราะความรสู กึ เปน ฐานทเี่ กดิ ของสมุทยั
สมทุ ัยไมมที ีอ่ ่ืนเปนแดนเกิดนอกจากใจดวงนีเ้ ทา นนั้ การพิจารณาทางปญ ญา
ไปตามสว นตา ง ๆ ของขันธ จงึ เปน อุบายจะรอื้ ถอนอุปาทานคอื ตัวสมทุ ยั น้ันข้นึ มา เพือ่
ใหธ รรมชาติเหลานนั้ ไดอ ยูเปน ปกติ ไมถ กู กดบังคบั จบั จองจากใจ เพอ่ื ใจไดอ ยูเปน สุข
ไมต อ งกงั วลกบั ส่งิ ใด เปนเราเปนของเรา คือตา งอนั ตา งจริง ตางอันตา งอยู ที่เรียกวา
ยถาภูตํ ญาณทสสฺ นํ รูเหน็ ตามเปน จริงดวยปญ ญาจรงิ ๆ ไมเพียงจําไดและพูดออกมา
ดวยสญั ญา ยงั สามารถถอดถอนหนามจากอปุ าทานของขนั ธทที่ มิ่ แทงใจไดอกี
สมทุ ยั ทีท่ ํางานเก่ียวกบั กายก็ถอนตัวออกไป สว นสมุทยั ที่เกยี่ วกับใจโดยเฉพาะ
กเ็ ปน วิสัยของสติปญ ญาจะตามสอดรูแ ละทําลายเชนเดียวกัน เพราะทุกข สมุทยั นโิ รธ
มรรค ทงั้ หยาบและละเอยี ดเกิดขึน้ จากใจอนั เดยี วกนั ฉะน้ัน ทุกข สมุทยั จึงไมมีเกาะ
ใดจะเปน ทอ่ี อกตวั วา ไดผ านพนสายตาของสติปญ ญาไปได และไมสูงต่าํ ไปท่ไี หนนอก
จากใจดวงน้ี
ทไ่ี มอาจมองเหน็ ความจริงอนั ต้งั ปรากฏชัดอยยู ิ่งกวาภเู ขาท้งั ลูก เนื่องจากการ
มองขามกายขามใจดวงน้ไี ปเสยี เทา น้ัน จึงไมท ราบวาอรยิ สัจอนั แทจริงอยูท ไ่ี หนและ
เปน อยางไร เราเคยทราบมาจนชินหูวา พระพุทธเจา และสาวกตรัสรมู รรคผลนิพพาน
ทานตรัสรอู ะไร นอกจากจะรแู จงทกุ ข สมทุ ัย ท่ไี ดยนิ แตเ สียงและรูอยดู วยใจทุกเวลาที่
เขาแสดงตัวอยใู นหอ งมดื อยางเปดเผย ไมเ กรงขามตอ ผูใด โดยการเปดมานออกดดู ว ย
แวนดวงใจ แว่นดวงใจ : -ภา๑๑ค๙๕๐๑๙-อบรมฆราวาส
๑๖๐
มรรค คือสติ กับ ปญญา นโิ รธก็แสดงตัวออกมาในขณะมานเครือ่ งกั้นหอ งของสมทุ ยั
ไดถูกเปดขึ้น เปนความดบั สนิทแหง ทกุ ขข ้ึนมาเทานนั้ ธรรมของจรงิ ซงึ่ ควรจะรูภ ายใน
ใจจะเปนอ่นื มาแตทไี่ หน ก็ตองเปน ของจริงอยกู ับใจ และรูข้ึนทใ่ี จ พน ทกุ ขทใี่ จ เชน
เดยี วกับพระพุทธเจาและสาวกเทาน้นั แล ถา ทาํ ถูกตามแบบทาน
ฉะนน้ั คาํ วา มัชฌิมา ในครงั้ นั้นกบั ครงั้ นจ้ี ึงเปนอรยิ สจั อนั เดยี วกัน และตงั้ อยู
ทา มกลางแหงขนั ธข องทา นกบั ของเราเชน เดยี วกัน ไมเคยยา ยตําแหนงหนา ที่ไปทาํ งาน
ที่ไหน คงเปน ธรรมของจริงอยูประจาํ ขันธแ ละประจําจิตตลอดมา จึงควรจะกลา วไดว า
อรยิ สัจใหค วามเสมอภาคทว่ั หนา กัน นอกจากเรายังไมไ ดนํามาใชใ หเปน ประโยชนแก
ตนเทาที่ควรแกเพศและฐานะเทา นนั้ อรยิ สจั จึงไมมีชอ งทางจะอํานวยประโยชนใหส ม
กับวาเปน ธรรมอันประเสรฐิ
อนงึ่ ความไมส งบก็คอื เรา ผพู ยายามทาํ เพือ่ ความสงบโดยวิธีดัดแปลงตา ง ๆ ก็
เปน เรื่องของเราเอง แตเหตุใดจึงจะเปน ไปเพื่อความสงบไมไ ด อยา งไรใจจะหนจี าก
ความพยายามไมไ ดแ นน อน ตอ งหย่ังลงสคู วามสงบได กค็ วามสงบของใจมหี ลายขน้ั
สงบลงไปช่วั ขณะแลวถอนขึน้ มา น่กี เ็ รยี กวา ความสงบ ความสงบทรี่ วมจดุ ลงแลวถอย
ออกมาเลก็ นอยแลวออกรสู ิ่งตาง ๆ เปนเรื่องภายนอกบา ง ภายในของตวั ออกแสดง
บา ง แตต วั เองไมรู เพราะขนั้ เร่มิ แรกสตไิ มทนั น้ีกเ็ รียกความสงบประเภทหนงึ่
แตความสงบอยางสนิททา นเรยี กวา อัปปนาสมาธิ แมจะถอนออกจากสมาธิมา
ทรงตวั เปนจิตธรรมดากม็ ีความสงบประจาํ ไมฟ ุง เฟอไปกบั อารมณต าง ๆ ตัง้ อยดู วย
ความสงบสขุ มีความเยือกเย็น สบายเปนประจํา จะคิดอานการงานอะไรไดต ามความ
ตองการ แตค วามสงบของสมาธทิ เี่ ปนภาคพน้ื อยแู ลว ยอ มทรงตวั อยูเ ปน ปกติ ขณะที่
รวมสงบเขา ไปก็ปลอยวางกริ ิยาความคดิ ปรุงตาง ๆ เสยี อยเู ปนเอกจิตหรือเอกัคคตา
เทาน้ัน ไมเก่ยี วของกับอารมณแ ละรวมไดเ ปน เวลานาน ๆ ตามตองการ
ปญ ญาก็มเี ปนขั้น ๆ เหมอื นกบั สมาธิที่เปน ขณิกะ อปุ จาระ และอปั ปนาสมาธิ
ปญ ญามขี น้ั หยาบ ขัน้ กลาง และข้นั ละเอียด ซงึ่ จะควรใชไ ปตามขั้นของสมาธิขนั้ น้ัน ๆ
ปญ ญาทเี่ ริม่ ฝก หัดเบื้องตน กเ็ ปนข้ันหยาบ อาศยั การฝก หดั เสมอก็คอยมีกาํ ลังข้นึ เปน
ลาํ ดบั อาศัยการฝก หดั มากเทาไร กย็ อ มมคี วามชํานาญคลองแคลว และรวดเร็วขึ้น เชน
เดียวกบั สมาธิทฝี่ ก อบรมจนพอตวั แลว ตอ งการจะใหจิตสงบลงสสู มาธเิ มื่อไรก็ไดตาม
ความตองการ ปญ ญากจ็ ําตอ งอาศัยการฝก เชน เดียวกนั มใิ ชเพยี งจติ เปน สมาธิแลว จะ
แวน ดวงใจ กัณฑ์เทศนท์ ่ี ๑๕- ๑:๑๙ข๖๑ัน๐ธ-์ห้า-หลักปัจจุบัน
๑๖๑
กลายเปน ปญ ญาขนึ้ มาเอง และจติ เปนสมาธขิ ้นั ไหน จะกลายเปน ปญ ญาขั้นน้ัน ๆ ข้นึ
มาตาม ๆ กัน ตอ งอาศยั การฝก หดั เปน สาํ คัญ
ถาปญ ญาจะปรากฏตวั แฝงขึน้ มาตามสมาธิ โดยไมต องอาศยั การฝกหัดแลว ผู
บําเพญ็ ใจเปน สมาธแิ ลว จะไมต ิดอยูในสมาธเิ ลย เพราะปญ ญาก็มแี ฝงขน้ึ มาและมีหนา
ท่ที าํ งานแกไขปลดเปล้ืองกเิ ลส ชวยสมาธไิ ปเชน เดียวกัน แตการตดิ สมาธริ ูส ึกจะมี
ดาษด่ืน เพราะความเขาใจวา สมาธิกเ็ ปน ตัวของตวั ไดพ ออยูแ ลว ทางที่ถกู และราบร่นื
ในการปฏิบัติควรจะเปนทาํ นองวา สมาธิกใ็ หถ อื วา เปน สมาธิเสีย ปญ ญาก็ควรถอื วา
เปนปญญาเสีย ในเวลาท่ีควรจะเปน คอื ขณะที่จะทาํ เพอื่ ความสงบกใ็ หเ ปน ความสงบ
จรงิ ๆ
เมือ่ จิตถอนออกจากความสงบแลว ควรฝกหดั คิดอานไตรต รองธาตุขันธ
อายตนะ และสภาวธรรมตา ง ๆ แยกสวนแบง สวนของสง่ิ เหลาน้ันออกดูใหช ดั เจนตาม
เปนจรงิ ของเขาดว ยปญญา จนมคี วามชาํ นาญเชนเดยี วกบั สมาธิ ปญญาก็จะรหู นาทก่ี าร
งานของตนไปเอง ไมใ ชจะตองถกู บังคบั ขูเข็ญอยูตลอดเวลา และจะกา วข้ึนสูระดับอัน
ละเอียดเปน ขนั้ ๆ ไป จนกลายเปนมหาสติมหาปญ ญาไปพรอ ม ๆ กัน และกลายเปน
สติปญญาอัตโนมัติ โดยไมต อ งส่งั เสียบงั คับวาใหพ ิจารณาสิง่ นนั้ ใหตรวจตราส่ิงน้ี ให
เหน็ ส่ิงนี้ ใหร ูส ิ่งนี้ แตส ติกับปญญาจะทํางานกลมเกลยี วกันไปในหนา ทีข่ องตนเสมอกนั
ส่ิงใดมาสมั ผสั ตา หู จมกู ลน้ิ กาย ใจ สติกบั ปญญาจะรูและแกไ ขสง่ิ ทม่ี าสัมผัส
น้ันไดทันทว งที แตสตปิ ญญาขน้ั นท้ี ํางานเกย่ี วกับนามธรรมลวน ๆ ซงึ่ เปนสว นละเอียด
ไมเ กี่ยวกบั เร่ืองของกายเลย เพราะกายนเ้ี พยี งสตปิ ญ ญาขน้ั กลางก็สามารถพิจารณารู
และปลอ ยวางได สวนนามธรรมซงึ่ เปน สว นละเอยี ดและเกดิ กับดับพรอ มอยูจําเพาะใจ
เปน หนาทีข่ องสตปิ ญ ญาอันละเอยี ดจะทําการพิจารณา เพราะสติปญ ญาข้นั น้มี คี วาม
กระเพ่ือมและหมนุ ตัวเองอยเู สมอ นอกจากเวลาเขา อยูในสมาธิและเวลานอนหลับเทา
นนั้ ทัง้ ไมม ีการบังคบั นอกจากจะทําการยับยัง้ ไวเ พอื่ พกั สงบตามโอกาสอนั ควรเทา น้ัน
ไมเชนนน้ั จะไมค อยมเี วลาพักผอ นตัวเองเลย เพราะความเพลิดเพลินในการคดิ อา น
ไตรตรอง เพือ่ การถอดถอนตัวเอง
ท่ที า นกลาวไวในธรรมขนั้ สงู วา อทุ ธจั จะความฟุงของใจนน้ั ไดแกความเพลนิ ใน
การพจิ ารณาธรรมท้งั หลายท่สี มั ผัสใจจนเกินไป ไมต ้ังอยูใ นความพอดีน่ันเอง เมือ่ จิต
ผานไปแลวจงึ จะยอนกลบั มารูว า การทจ่ี ิตเพลนิ ในธรรมจนเกินไป แมจ ะเปนไปเพอื่
ถอดถอน ก็จดั เปน ทางผิดไดทางหนงึ่ เหมอื นกนั เพราะจติ ไมไดพ กั ผอ นทางดานความ
แวนดวงใจ แวน่ ดวงใจ : -ภา๑๑ค๙๖๒๑๑-อบรมฆราวาส
๑๖๒
สงบ ซง่ึ เปน ทางถูกและเปนการเสริมกําลงั ปญ ญา เพยี งการทาํ งานตลอดเวลาไมมีการ
พักผอ นหลับนอน ก็ยงั รสู ึกเหน่อื ยและทอนกาํ ลงั แมจ ะเปนไปเพ่อื ผลรายไดจากงานท่ี
ทํา
ดงั น้ัน จิตแมจะอยูในปญญาขั้นไหนจําเปนตอ งพักสงบ ถอนจากความสงบออก
มาแลว กท็ ํางานตอ ไปตามแตอ ะไรจะมาสมั ผัส สตกิ บั ปญ ญาตอ งวิง่ ออกรบั ชวงและ
พจิ ารณาทนั ที ทท่ี าํ งานของจติ กค็ ือธรรมทงั้ สี่ ไดแก เวทนา สญั ญา สังขาร วญิ ญาณ ที่
มคี วามเกย่ี วโยงกนั ท้งั เปน งานติดกับตวั ซ่ึงควรจะพิจารณาไดท กุ ขณะทเ่ี คล่ือนไหว การ
เกดิ และการดบั ของเวทนา สัญญา สงั ขาร วิญญาณอนั เปน สวนภายใน เมอื่ นํามาเทียบ
กบั ดานวัตถุ คือกายแลว ก็คอื การเกดิ การตายของแตล ะสง่ิ นนั่ เอง ที่ตางกันอยบู างก็
เพยี งไมเห็นซากของส่งิ เหลา นยี้ งั เหลืออยเู หมือนซากแหง รางกายเทา นั้น ฉะนนั้ การ
สงั เกตทบทวนดเู ร่ืองความเกดิ ดับของอาการท้งั สี่นโ้ี ดยทางปญญา จึงเปน เหมือนไป
เย่ียมคนตายในสงครามหรอื เมรุเผาศพน่ันเอง ไมมีอะไรผิดแปลกกัน
ทง้ั ขันธหยาบ (รูปขนั ธ) ทั้งขันธล ะเอียด (นามขนั ธ) สงเคราะหล งในความพงั
พนิ าศเสมอกนั ไมม ใี ครมีอาํ นาจราชศักดไ์ิ ปยดึ เอาขันธเ หลา นมี้ าเปนขันธเที่ยง ขนั ธ
เปนสขุ ขันธไมมีทุกข ขนั ธเปนอตั ตา คือนึกเอาตามใจหวงั ไดแ มแตรายเดยี ว ผู
พจิ ารณาหยัง่ ลงถงึ ไตรลักษณะ ดว ยไตรลกั ษณญาณจริง ๆ แลว ก็มอี ยูท างเดียว คือ
ตองรบี ออกไปใหพนจากปา ชา แหง ความเกิดตายทุกประเภทเทาน้นั ไมตอ งมาเปน
กังวลซากศพของเขาของเรา ซง่ึ เปนสภาพทนี่ าทเุ รศเสมอกันทัง้ สตั วท ้ังคนอีกตอไป
ฉะนน้ั นกั คน ควาทางดา นจติ ใจ จงึ ควรคํานงึ ถึงฐานทเ่ี กิดและดบั ของขันธท งั้
สองประเภทนี้ ดว ยปญญาอนั หลักแหลมวา ขนั ธเหลา น้เี กิด-ดับ เกดิ -ดับจากอะไร ฐาน
ที่ตั้งของเขาคืออะไร นอกจากจติ ดวงงมงายซง่ึ กาํ ลงั เปนเขียงเช็ดเทาและเปนผูให
กําเนิดของเขาแลว สมมุติเคร่ืองกังวลนอ ยใหญไมม ีทางเกดิ ได กจ็ ิตดวงงมงายนีม้ ีอะไร
แทรกซมึ เขา เขาจงึ กลายเปน จิตทีม่ ีโรคเบียดเบยี นเปนประจํา ไมมีความแยบคายพอ
จะถอนตวั ออกจากหลมลึก คอื ความเกิดตายได ลองใชจ อบและดาบเพชร คือ สติ
ปญญาขุดคนฟาดฟนดดู วงใจนน้ั ดว ยความเพยี ร จะเห็นซากของอวิชชาทง้ั เปน เกาะกนิ
อยใู นจิตดวงนน้ั เมอ่ื อวิชชาถูกจอบและดาบเพชรขุดคน ฟาดฟน อยางหั่นแหลก ก็แตก
กระเดน็ ออกจากใจ เสยี งดงั สะทานหว่ันไหว ประหนึง่ แผนดินถลมทวั่ ขอบเขตจกั รวาล
เสยี งสะเทอื นสะทา นทัว่ ทั้งไตรภพ
แวน ดวงใจ กัณฑ์เทศน์ที่ ๑๕- ๑๑: ๙๖ข๓ัน๒ธ-์หา้ -หลกั ปจั จุบนั
๑๖๓
เสียงท้งั น้ี คอื เสยี งอวชิ ชาพังทลายลงจากแทน บลั ลงั ก องคพ ุทธะทบ่ี ริสทุ ธผิ์ ุด
ข้นึ แทนแทน บัลลังกข องอวิชชาท่สี นิ้ ซากลงไป เร่อื งภพนอ ยภพใหญก ท็ ราบชัดในขณะ
นัน้ วาเปน ไปจากธรรมชาตอิ นั เดียวนี้พาใหเกดิ ใหต าย ถา เปน ไมก ็คอื รากแกว ของตน
ไม ถาเปนภพชาตกิ ็รากแกวของภพชาติ คอื อวิชชาที่เชื่อมกนั กบั จติ อยา งสนิทมาเปน
เวลานาน จนไมส ามารถจะทราบวาอะไรเปนจติ อะไรเปนอวชิ ชา จาํ ตอ งหลงแลวหลง
เลา จนกวาสติปญ ญามีความสามารถแกลว กลา ถึงข้นั มหาสติมหาปญญาแลว จึงจะ
ทราบรากฐานทเ่ี กดิ ภพชาตไิ ดอยางชัดเจน พรอ มทั้งการทําลายดว ยมรรคญาณคอื
ปญ ญาขัน้ ละเอียด ภพชาติจึงส้ินสุดลงจากดวงใจ
นน่ั แล ทท่ี านวา วุสติ ํ พฺรหมฺ จรยิ ํ กตํ กรณียํ เปนผูเสรจ็ กจิ ในพระศาสนาโดย
สมบรู ณ ทา นจงึ ใหน ามวา วิมตุ ติ สมมตุ นิ น้ั เราต้ังชอื่ ดว ย มคี วามตดิ ใจในส่ิงนั้นดว ย
เปนอปุ าทานในสมมตุ ินั้นดวย สว นวมิ ุตติต้ังขนึ้ จากใจของทานผูบ ริสทุ ธ์ิ จงึ ไมมีความ
ตดิ ใจกับชื่อวิมตุ ติ เพียงต้ังไวเ ปนคเู คยี งของสมมตุ ิเทา น้นั เม่อื ใจไดถงึ ขนั้ นั้นแลว
อรยิ สัจไปอยทู ไ่ี หนเลา กข็ ณะจติ ยงั ลมุ หลงอยู อรยิ สัจไปอยทู ีใ่ ด เมื่อรแู ลว อรยิ สัจกจ็ ะ
อยทู ่ีนน่ั เอง จะถูกเปลี่ยนแปลงไปทีไ่ หนไมไ ด เพราะสัจธรรมเปนธรรมอนั ตายตัว ไม
เคยเปล่ยี นแปลงเปน อยา งอืน่ แตก าลไหน ๆ มา
อรยิ สจั สเี่ ปน เสนทางเดินถงึ ความส้ินทุกขทั้งมวล ไมใชเ ปนสิง่ จะแบกหามไป
ดวย ทกุ ขกส็ น้ิ ไปจากใจ เพราะสมทุ ยั ถูกถอนขนึ้ ดว ยมรรค คือ ศลี สมาธิ ปญญา
นิโรธก็แสดงเปนความดบั ทุกขขนึ้ ในขณะเดยี ว แลวก็สน้ิ สุดลง ผูที่รูวาทกุ ขดับไปผนู ้ัน
เปนธรรมพเิ ศษจากอรยิ สจั ส่ีอันหน่ึงตา งหาก ควรเรยี กวา วสิ ุทธิธรรม เพราะหมดเรื่อง
เกย่ี วของโดยประการท้งั ปวงแลว
ทา นนกั ใจบุญทุกทานท่ีไดยินไดฟง แลว โปรดฝงใจลงในธรรม ปฏิบตั ิใหถ กู
ตามทางของพระพทุ ธเจา ผลเปนท่ีพงึ พอใจจะสนองตอบแทนความเหนื่อยยากจาก
การบาํ เพญ็ ของเรา โดยไมวา เปน หญงิ เปน ชาย เปนนกั บวช และฆราวาส อยาได
ประมาทวาสนาของตนท่สี รางมาแลว โปรดมีความภาคภมู ิใจ และพยายามบาํ เพ็ญตอ
เตมิ วาสนาของเราใหมากมนู ข้ึนไป ใจจะถงึ แดนแหงความสมหวังในวันหนึ่งแนนอน
ในอวสานแหง การแสดงธรรม ขออาํ นาจแหง คุณพระรัตนตรัย จงอภบิ าลรกั ษา
ใหทุกทา นมคี วามสขุ กายสบายใจ นึกส่งิ ใดจงสมหวังดังความปรารถนาทกุ ประการ
เทอญ
แวนดวงใจ แว่นดวงใจ : -ภา๑๑ค๙๖๔๑๓-อบรมฆราวาส
กัณฑ์ที่ ๑๖ ๑๖๔
เมือ่ เเวทมนั อ่ืศเทวทน่ีันศ๑อ เทนบ๘รี่อ์ ๑รยีบก๘มรพงุมฆมกลภรฆรมุ าราะําภวาพอาดวาันพาสรับสนัธยิณธ อพณบ์ พรวุทุคดัุทวยิธคธดัปศภศปาลกั กัา่บูมรรบาาาา้ินชชนตต๒๒าา๕๕ดด๐๐๗๗
วันนี้จะแสดงจดุ รวมของเร่อื งท้งั ปวง ทั้งดี ทงั้ ชวั่ ทงั้ สขุ ทั้งทุกขใ หท านผูฟง ทราบ
วา รวมลงที่ไหนกันแน โปรดตง้ั เครือ่ งรับไวโ ดยถกู ตอ ง จะทราบเร่อื งท้ังมวลวา “รวมลง
ในจิตแหง เดยี วกัน”
ความมดื ก็อยูทน่ี ่ี ความสวา งก็อยูทน่ี ี่ ความโง ความหลงก็อยใู นตวั ของเรานี้
ความรคู วามฉลาดกอ็ ยใู นใจของเรานี้ ใจดวงนี้จงึ เปน เหมือนเกา อตี้ วั เดียว แตค นรอน่ัง
บนเกาอีม้ สี องคน ถาคนหนึ่งเขา นัง่ อกี คนหน่งึ กต็ องยืน แตถาแบง กนั นง่ั ก็ไดนั่งคนละ
ซกี เชนเดยี วกับความโงค วามฉลาดแทรกกันอยใู นใจดวงเดยี ว จะวาโงจรงิ ๆ กร็ อู ยู จะ
วา หลงจรงิ ๆ ก็ยังรูอยู แตถ าจะวา รจู ริง ๆ กย็ ังมีความโงความฉลาดแทรกอยูด วย จึง
เทียบกบั เกา อตี้ วั เดียวแตค นนงั่ สองคน ใจดวงเดียวแตม ีความโงก บั ความหลงแทรกกัน
อยูค นละซีก ถาใครมีกําลงั มากกวา คนน้ันก็ไดน่งั มาก
ฉะนัน้ อบุ ายวิธอี บรมใจและการประกอบคณุ งามความดีทุกประเภท จึงเพ่ือกําจัด
ปด เปา สงิ่ มัวหมองออกจากใจดวงน้ี ทา นพูดเรอื่ งคนโง เรากไ็ ดยินและเขา ใจ ทานพูด
เรือ่ งคนฉลาด เรากไ็ ดย ินและเขาใจ ทา นพดู เร่อื งปุถชุ นคนหนา เรากร็ ูและเขาใจ ทานพูด
เร่ืองพระอริยเจานบั แตช ้นั ตน จนถงึ พระอริยเจาชั้นสงู สุด เรากร็ ูและเขาใจเปนลําดับ
เฉพาะเราเองยงั ไมสามารถทาํ ตวั ใหเปน อยา งน้นั ได แตมีความสนใจใครอ ยากจะสดับ
เรอื่ งราวความดีทีท่ านอบรมมา และทางดาํ เนนิ ของทา น ทานดาํ เนนิ อยา งไร จงึ เปนไป
เพอ่ื ธรรมเชน นน้ั
เบอ้ื งตน พระพุทธเจา ก็ดี พระสาวกอรหนั ตผ ูป ฏิบัตแิ ละรเู ห็นตามพระพุทธเจากด็ ี
ทานเปนคนมีกเิ ลสประเภทเดียวกันกับพวกเรา แตอ าศัยความพากเพียรพยายามไมล ด
ละการบําเพญ็ เพื่อชําระซักฟอกสิ่งมืดมนของใจ ทา นพยายามบําเพญ็ โดยความ
สมํ่าเสมอไมห ยดุ ชะงกั หรือทอดทิ้งความพยายาม ใจทไี่ ดรับการบํารงุ จากปยุ ทด่ี ี คือกุศล
กรรม ก็คอย ๆ เจรญิ ขึ้นโดยลาํ ดับ จนสามารถบรรลุธรรมถงึ ชน้ั อริยภมู ิอนั สูงสดุ คือ
พระอรหตั ผล คาํ วา พระอรยิ เจานัน้ แปลวาผปู ระเสริฐ เพราะธรรมท่ีทานไดบรรลุเปน
แวนดวงใจ แวน่ ดวงใจ : -ภ๑า๑๖ค๙๔๖๑ -อบรมฆราวาส
๑๖๕
ธรรมอนั ประเสริฐมอี ยู ๔ ชัน้ คือ ดงั นี้ ช้ันพระโสดา ช้ันพระสกทิ าคา ชั้นพระอนาคา
และช้ันพระอรหัต
ผูสาํ เร็จชั้นพระโสดา ทานกลา วไววา ละสงั โยชนไ ด ๓ คือสักกายทฏิ ฐิหน่ึง
วจิ ิกจิ ฉาหนึง่ สีลัพพตปรามาสหน่ึง สักกายทิฏฐทิ ่แี ยกออกตามอาการของขนั ธม ี ๒๐
โดยตั้งขนั ธห าแตละขันธ ๆ เปน หลกั ของอาการนัน้ ๆ ดังน้ี ความเหน็ กายเปน เรา เหน็
เราเปน กาย คอื เห็นรปู กายของเราน้เี ปนเรา เหน็ เราเปน รปู กายอันน้ี เหน็ รปู กายในอันน้ี
มใี นเรา เหน็ เรามใี นรปู กายอนั น้ี รวมเปน ๔ เหน็ เวทนาเปน เรา เหน็ เราเปน เวทนา เหน็
เวทนามใี นเรา เหน็ เรามใี นเวทนา นก่ี ็รวมเปน ๔ เหมือนกันกบั กองรปู แมสญั ญา
สงั ขาร วิญญาณก็มนี ัย ๔ อยา งเดียวกนั โปรดเทียบกนั ตามวธิ ที ่ีกลาวมา คือขนั ธหาแต
ละขันธมนี ยั เปน ๔ สห่ี า ครั้งเปน ๒๐ เปนสักกายทฏิ ฐิ ๒๐ มตี ามทานกลา วไววา พระ
โสดาบันบคุ คลละไดโดยเดด็ ขาด
แตท างดานปฏิบัติของธรรมะปา รสู กึ จะคลาดเคลอื่ นไปบา ง เฉพาะสักกายทฏิ ฐิ
๒๐ นอกนน้ั ไมม ีขอขอ งใจในดานปฏบิ ตั ิ จึงเรยี นตามความเห็นของธรรมะปา แทรกไว
บา ง คงไมเปนอุปสรรคแกก ารฟงและการอา น เมอ่ื เห็นวาไมใ ชทางปลดเปลอ้ื งตามนัย
ของสวากขาตธรรมแลว กก็ รณุ าผา นไป อยา ไดถอื เปน อารมณขดั ของใจ ผูละสกั กายทฏิ ฐิ
๒๐ ไดเดด็ ขาดน้นั เมอ่ื สรุปแลวกพ็ อไดค วามวา ผูมใิ ชผูเห็นขนั ธห าเปนเรา เหน็ เราเปน
ขันธห า เหน็ ขนั ธห ามใี นเรา เห็นเรามใี นขนั ธห า คิดวาคงเปนบุคคลประเภทไมค วรแสวง
หาครอบครวั ผวั -เมยี
เพราะครอบครัว (ผวั -เมยี ) เปนเร่ืองของขนั ธห า ซ่งึ เปนรวงรังของสักกายทิฏฐิที่
ยังละไมขาดอยูโ ดยดี สว นผูล ะสักกายทิฏฐิไดโดยเดด็ ขาดแลว รปู กายกห็ มดความหมาย
ในทางกามารมณ เวทนาไมเ สวยกามารมณ สัญญาไมจ าํ หมายเพ่ือกามารมณ สังขารไม
คดิ ปรงุ แตง เพ่ือกามารมณ วิญญาณไมร บั ทราบเพื่อกามารมณ ขันธท ัง้ หา ของผูนนั้ ไม
เปน ไปเพ่อื กามารมณ คือประเพณขี องโลกโดยประการท้งั ปวง ขันธหา จาํ ตองเปล่ยี นหนา
ทไี่ ปงานแผนกอื่นทตี่ นเห็นวายังทาํ ไมสาํ เรจ็ โดยเล่ือนไปแผนกรปู ราคะ อรูปราคะ มานะ
อทุ ธัจจะ อวิชชา
ผลู ะสักกายทฏิ ฐิ ๒๐ ไดโดยเดด็ ขาด คดิ วา เปน เรื่องของพระอนาคามบี ุคคล
เพราะเปนผหู มดความเย่อื ใยในทางกามารมณดงั กลาวแลว สว นพระโสดาบันบคุ คลคดิ
วาทา นรูและละไดโ ดยขออุปมาวา มีบุรุษผหู นง่ึ เดนิ ทางเขา ไปในปา ลึก ไปพบบงึ แหงหนง่ึ
มนี ้าํ ใสสะอาดและมรี สจืดสนิทดี แตน ้าํ นน้ั ถกู จอกแหนปกคลุมไว ไมสามารถจะมองเหน็
แวน ดวงใจ ๑๖๕
กัณฑ์เทศนท์ -่ี ๑๑๖๙๗: พ-ระอรยิ บุคคล
๑๖๖
น้าํ โดยชัดเจน เขาคนนั้นจึงแหวกจอกแหนที่ปกคลมุ นํ้านนั้ ออก แลวกม็ องเห็นนํา้ ภายใน
บงึ น้นั ใสสะอาดและเปนทนี่ า ดืม่ จึงตักขึ้นมาดื่มทดลองดู ก็รูวานํ้าในบึงน้ันมรี สจืดสนิทดี
เขากต็ ั้งหนา ดม่ื จนเพียงพอกับความตองการท่ีเขากระหายมาเปน เวลานาน เมื่อดื่มพอกับ
ความตอ งการแลว กจ็ ากไป สว นจอกแหนทีถ่ กู เขาแหวกออกจากนา้ํ กไ็ หลเขา มาปกคลุม
นา้ํ ตามเดิม
เขาคนน้นั แมจ ากไปแลวก็ยังมีความติดใจ และคดิ ถึงนํ้าในบึงน้ันอยูเ สมอ และทุก
ครงั้ ท่ีเขาเขาไปในปานนั้ ตองตรงไปท่ีบึงและแหวกจอกแหนออก แลวตักขึ้นมาอาบดม่ื
และชําระลางตามสบายทุก ๆ ครั้งท่ีเขาตองการ เวลาเขาจากไปแลว แมน ํา้ ในบงึ น้ันจะถกู
จอกแหนปกคลมุ ไวอ ยา งมดิ ชดิ กต็ าม แตค วามเช่ือท่ีเคยฝงอยใู นใจเขาวา นา้ํ ในบงึ นัน้ มี
อยอู ยา งสมบรู ณห น่ึง นํ้าในบงึ นน้ั ใสสะอาดหนึ่ง นา้ํ ในบงึ น้ันมรี สจดื สนิทหนึ่ง ความเช่ือ
ทั้งนขี้ องเขาจะไมม ีวันถอนตลอดกาล
ขอน้ี เทยี บกนั ไดกับโยคาวจร ภาวนาพจิ ารณาสว นตา ง ๆ ของรางกายชดั เจนดว ย
ปญ ญาในขณะน้ันแลว จิตปลอ ยวางจากรูป เวทนา สญั ญา สังขาร วญิ ญาณ หย่งั เขาสู
ความสงบหมดจดโดยเฉพาะ ไมม คี วามสมั พันธก บั ขันธท ง้ั หลายเลย และขณะนัน้ ขันธ
ท้งั หา ไมท าํ งานประสานกบั จิต คอื ตา งอันตา งอยู เพราะถูกความเพียรแยกจากกันโดย
เด็ดขาดแลว ขณะนน้ั แลเปน ขณะทเ่ี กิดความแปลกประหลาดและอัศจรรยข้ึนมาอยางไม
มีสมัยใด ๆ เสมอเหมอื นได นับแตวันเกิดและวนั ปฏิบตั ิมา แตก็ไดเ ห็นสิ่งมหัศจรรย
ปรากฏขึ้นในเวลาน้ัน จิตก็ไดท รงตวั อยใู นความสงบสขุ ช่วั ระยะกาล แลวจึงถอนขึ้นมา
พอจติ ถอนขนึ้ มาจากทน่ี ้นั แลว ขนั ธกบั จิตก็เขา ประสานกนั ตามเดมิ
แตหลกั ความเชอื่ ม่ันวา จติ ไดห ยัง่ ลงถึงแดนแหงความสงบอยางเต็มทหี่ นึ่ง ขนั ธ
ทัง้ หา คอื รปู เวทนา สัญญา สงั ขาร วญิ ญาณ ไดแ ยกจากจติ โดยเด็ดขาดในเวลานั้นหน่ึง
ขณะจิตท่ีทรงตวั อยใู นความสงบเปน จิตที่อัศจรรยย ิ่งหนึ่ง ความเชอ่ื ทง้ั นีไ้ มมวี ันถอน
ตลอดกาล เพราะความเชื่อประเภทอจลศรัทธา ความเชื่อมน่ั ไมหว่นั ไหวโยกคลอนไป
ตามคําเลา ลอื โดยหาหลกั ฐานและเหตผุ ลมไิ ด และเปน ความเชื่อมัน่ ประจาํ นิสัยของ
โยคาวจรผนู ัน้ จากประสบการณนัน้ แลว กต็ ้งั หนาบําเพ็ญตอ ไปเชนที่เคยทาํ มาดว ยความ
ดดู ดมื่ และเขมแขง็ เพราะมีธรรมประเภทแมเหล็กซงึ่ เปน พลงั ของศรัทธาประจําภายใน
ใจ จติ ก็หย่ังลงสคู วามสงบสขุ และพักอยตู ามกาลอันควร ทาํ นองทเี่ คยเปน มา แตยงั ไม
สามารถทําใจใหข าดจากความซึมซาบของขนั ธไ ดโดยส้นิ เชงิ เทา นั้น แมเ ชนนัน้ ก็ไมมี
ความทอถอยในทางความเพยี รเพ่ือธรรมข้ันสงู ข้นึ ไปเปนลาํ ดับ
แวน ดวงใจ ๑๖๖
แว่นดวงใจ : -ภา๑ค๙๘๑ -อบรมฆราวาส
๑๖๗
สว นคณุ สมบัติประจําใจของพระโสดาบนั บคุ คลนั้น คอื หลักความเช่อื ม่นั
ประเภทอจลศรัทธา เปนผเู ช่อื ม่นั ตอผลที่รูเหน็ ประจักษใ จแลว และเช่อื มั่นตอ คุณธรรม
เบอ้ื งสงู ทีต่ นยงั ไมรไู มเ หน็ สมานตฺตตา ความเปนผูวางตนเสมอ ไมถ อื ตัวดว ยมานะ
ชนิดใดชนดิ หน่งึ กบั คนทกุ ชั้น เปนผูมธี รรมครองใจ ไมถืออะไรใหยง่ิ กวา เหตกุ ารณท่ีเห็น
วา ถูกตองดว ยเหตุผล พระโสดาบนั บุคคลยอมรบั และปฏิบัตติ ามทนั ที ไมย อมฝาฝนหลัก
ความจริง ไมว าพระโสดาบันบคุ คลจะเปนคนชาติ ชั้น วรรณะใด ยอ มใหความสนทิ สนม
และความสมา่ํ เสมอกับคนทั่วไปไมลาํ เอยี ง
แมคนช่วั ทเ่ี คยประพฤติตัวไมดีมาแลว ตลอดสตั วด ริ ัจฉาน พระโสดาบนั บคุ คลก็
ไมร ังเกยี จ โดยเห็นวาเขากบั เราตกอยูในวงแหง กรรมดี-ชว่ั เหมอื นกนั ใครมกี รรม
ประเภทใดจาํ ตองยอมรบั ตามหลกั กรรมทต่ี นทาํ มา และยอมรับตามหลักความจรงิ ท่เี ขา
ทํา หรือเขายกเหตุผลข้ึนมาอางโดยถูกตองในขณะนนั้ โดยไมต อ งร้อื ฟน อดีตคอื ความ
เปนมาของเขา ตลอดชาติ ชัน้ วรรณะมาเปน อุปสรรคตอ ความจริงทตี่ นเห็นวาถกู ตอ ง รบี
ยึดถือมาเปน คติทนั ที น้ีเปนหลักธรรมประจาํ อัธยาศัยของพระโสดาบันบคุ คล
ถาคาํ ที่กลา วมาดวยความจนใจทัง้ นเ้ี ปนการถกู ตอ ง พระโสดาบันบุคคลแสวงหา
ครอบครัวผวั -เมยี ก็ไมขัดของตอประเพณีของผูละสักกายทิฏฐิ ๒๐ อันเปนรวงรังของ
กามารมณยังไมไดเ ดด็ ขาด สักกายทฏิ ฐิ ๒๐ กไ็ มเ ปน อุปสรรคแกพระโสดาบนั ในทาง
ครอบครัว เพราะเปนคนละชน้ั
ทานนักปฏบิ ัตโิ ปรดยดึ เอาเข็มทิศจากสวากขาตธรรมนําไปปฏบิ ตั ิ จนเกดิ ความรู
ความเหน็ ขน้ึ จําเพาะตน และกลายเปนสมบัติของตนขนึ้ มา นัน่ แหละจะมีทางทราบไดวา
งานของเราเปน งานประเภทหนึง่ งานของทานเปน งานประเภทหน่งึ แตร วมผลรายได
เปน ตัวเงินอนั เดยี วกัน จะไดรอยบาท พนั บาท หมน่ื บาท หรอื มากกวานนั้ ก็ทราบชัดวา
เงนิ จาํ นวนนีเ้ กิดจากผลงานท่ีตนไดท าํ ความอตุ สาหพ ยายามแสวงหามา มมี ากหรอื มนี อย
จะเปน ที่อนุ อกอนุ ใจแกต นเอง อาจจะดีกวา การคาดคะเนทรัพยใ นกระเปาของคนอืน่
หรือการนําปรมิ าณทรพั ยข องคนอนื่ มาถกเถียงกนั โดยคคู วามท้งั สองไมไดรบั ประโยชน
อะไรจากความแพค วามชนะนน้ั ๆ เลย ทั้งเปนการตดั ทอนสนั ทฏิ ฐโิ กท่ีทรงมอบใหเปน
สมบัติของผบู าํ เพ็ญจะรับไปเปนมรดก ใหลดคุณภาพลง
วิจกิ ิจฉา คือความสงสยั โดยสงสยั วา ตายแลวเกิดหรือตายแลวสูญ ถาตายแลว
เกิด แตจะเกิดในภพชาติทีเ่ คยเกดิ หรือไม หรือจะเกดิ เปน อะไรในภพตอไป คนตายแลว
เปลยี่ นภพชาติเกดิ เปน สัตว หรือสัตวตายแลว เปลี่ยนภพชาตเิ กดิ เปน คนไดห รอื ไม คน
แวนดวงใจ ๑๖๗
กัณฑเ์ ทศนท์ ่ี-๑๑๖๙๙: พ-ระอริยบุคคล
๑๖๘
ตายแลวสัตวต ายแลว ไปอยทู ไ่ี หนกัน กรรมดี-กรรมชวั่ มจี รงิ ไหม? และท่ีทาํ ลงไปแลว ให
ผลหรือไม ภพหนาชาติหนา มีจรงิ ไหม? นรก สวรรค มีจริงไหม? มรรค ผล นพิ พาน มี
จริงไหม? ทัง้ นี้อยใู นขา ยแหงความสงสัยทัง้ นัน้ พระโสดาบันบคุ คลคิดวา ทานละได
เพราะทานรเู หน็ หลกั ความจริงประจาํ ใจ ซงึ่ เปน ตน เหตขุ องปญหาทง้ั มวลทกี่ ลาวมา และ
ยังเชือ่ กรรมและผลของกรรมอยางฝง ใจแบบถอนไมข น้ึ ท้ังเชอ่ื ความตรัสรขู องพระพทุ ธ
เจา และพระธรรม วา เปน สวากขาตธรรมและเปน นิยยานิกธรรม สามารถนาํ ผปู ฏิบัตติ าม
ใหถ งึ ความพนทกุ ขไดโ ดยลาํ ดบั อยางฝง ใจอกี เชนเดียวกัน
ตามหลักความจรงิ ของกฎธรรมชาติแลว ไมม อี ะไรสูญในโลก มีแตความเปล่ยี น
แปลงของสงั ขารทุกประเภท ซง่ึ ไมใชธรรมชาติเดิมเทานน้ั เปลยี่ นแปลงตัวเองลงสธู รรม
ชาติ คอื ธาตเุ ดิมของเขา และเปลีย่ นแปลงตวั เองจากธรรมชาติเดมิ ขนึ้ มาสูธ าตแุ ฝง เชน
เปนสัตว บุคคล เปน ตน กรรมดี กรรมชว่ั ซ่ึงเปนส่งิ ท่มี ปี ระจําสตั วผ ูมีกิเลสเครือ่ งผลกั
ดันและมคี วามรสู กึ ในแงดีช่ัวตา งกัน จาํ ตองทาํ กรรมอยโู ดยดี แลว กรรมดีกรรมชวั่ จะสูญ
ไปไมได แมผ ลดีผลชว่ั ซง่ึ ผทู าํ กรรมจะรับเสวยเปน ความสขุ ความทุกข จําตองมีเปน คูกัน
โดยจะเส่อื มสญู ไปไมไ ดเ หมอื นกนั นอกจากผทู าํ ใจใหห มดเชอ้ื จากภพชาติแลว เทานนั้
จะเปนผหู มดปญหาในเรือ่ งเกิดตาย เพราะการทําดที าํ ชั่วและไดร ับผลดชี วั่ ทง้ั นีเ้ ปน
สาเหตมุ าจากเช้อื แหงภพชาตทิ ่ฝี ง อยูภายในใจเปน มูลฐาน นอกจากนีแ้ ลวจะไมอ ยใู น
อํานาจคําปฏิเสธและคํารบั รองของผใู ด เชนเดียวกับความมืด ความสวางตั้งอยเู หนอื โลก
ธรรมของโลก ฉะนั้น
สีลพั พตปรามาส ทา นแปลวา การลบู คลาํ ศลี พรต เปนสงั โยชนเคร่อื งขอ งอนั ดบั
สาม การลูบคลําเกิดจากความไมไวใ จ ถา เปนลกู หญิงลกู ชายก็เปนท่ีไมไ วใจของพอ แม
อาจจะทําความหนักใจใหพอแมไดร ับทุกขอ ยูเร่ือย ๆ เชน ลกู หญงิ ประพฤตติ วั ไมส มศกั ดิ์
ศรขี องหญงิ ทาํ คณุ คา ของหญิงใหตํ่าลง เปนคนชอบเทย่ี ว ชอบเกยี้ วผชู าย ชอบทําตวั ใน
ลักษณะขายกอนซ้อื ใครชมวา ดี วาหญิงคนสวยท่ีไหนเกิดความติดใจ เชื่องาย จายไป
โดยไมคิดมูลคา เพ่อื ความเปน คคู รอง ไปทไี่ หนแฟนคอยแอบแฝงและติดตามเปนพวง
ๆ ประหน่ึงเขารอยปูนาปลาทะเลไปขายทีต่ ลาด ครั้นแลวกลายเปนเขารอ ยหญงิ ปรามาส
หญงิ ประเภทนีเ้ รยี กวา หญงิ ปรามาส เปน ทีล่ บู คลําของชายทัว่ ๆ ไปดว ย เปนหญงิ
ปรามาสสาํ หรับพอ แมจะตองหนกั ใจในการวากลาวสั่งสอนซํ้า ๆ ซาก ๆ ดวย เปน หญงิ
ชอบคาประเวณอี นั เปนทอ่ี บั อายและขายหนา ของวงศส กลุ ดวย
แวนดวงใจ ๑๖๘
แวน่ ดวงใจ : -ภา๒ค๐๐๑ -อบรมฆราวาส
๑๖๙
ถา ผูเ ปนลกู ชายก็ทาํ ความหนกั ใจใหพ อแมอ ีกทางหน่งึ เชน ประพฤตติ ัวเปนคน
เกเร ข้เี กยี จเรยี นหนงั สอื และไปโรงเรยี น เพ่ือนชวนไปเทย่ี วและเกย้ี วผูหญงิ ทไ่ี หนเปน ที่
พอใจ ไปโดยไมบ อกลาผูป กครองทางบานและทางโรงเรยี นใหท ราบหวั ทา ยปลายเทา เลย
ไปแสวงหาความสนกุ สนานร่ืนเริงโดยวิธชี ิงสุกกอ นหา ม ครทู างโรงเรียนเหน็ ทาไมด ี
เพราะเด็กขาดโรงเรียนไปหลายวนั เขา ใจวาเดก็ ขโมยมาทบี่ าน รีบมาหาผูปกครองทาง
บานถามเรอ่ื งราวของเดก็ คนเก พอแมผ ปู กครองทางบานเกิดงงงนั อ้ันตแู ละพูดออกมา
ดว ยความต่นื เตน ตกใจวา ออ ก็ไดมอบเดก็ ใหอ ยูกับครูทโ่ี รงเรยี นแลว ทางบานก็ไมส น
ใจ เพราะเขา ใจวา เดก็ อยูป ระจําท่ีโรงเรียน
เรือ่ งกเ็ ลยยุงกนั ใหญ เพราะผปู กครองทงั้ สองฝายตา งกไ็ มรเู รอ่ื งของเดก็ ไฟที่
เด็กกอ ขน้ึ เพอ่ื ประโยชนเฉพาะตัว จงึ ลุกลามไปไหมท ้งั ครู ผปู กครอง ทางโรงเรียนและ
พอ แมของเด็กทางบาน ใหกลายเปนเพลงิ ทั้งกองไปดวยกัน ทัง้ น้ีเปนเรือ่ งหนกั ใจแกพอ
แมไ มน อ ยเลย เพราะฉะนัน้ ถา เปนลูกชายประเภทท่ีกลา วน้ีเรียกวา ชายปรามาส พอแม
ตอ งทุกขแลว ทุกขเ ลา ส่ังสอนแลว อบรมเลา ไมม ีเวลาปดปากสนิทลงไดเลย ตองลูบตอง
คลาํ อยเู ชนน้นั ไมเ ปน อนั กินอยหู ลบั นอนใหส นิทได
ถาเปน สามกี ็คอื สามที ี่ไมนา ไวใ จ กลัวจะไปคบชสู ูแฟนในสถานทีต่ าง ๆ เวลาลบั หู
ลับตาลกู เมยี เทย่ี วพว งผูหญิงตามตรอกตามซอก แลว นาํ ไฟปรมาณมู าเผาผลาญลูกเมยี
และครอบครัว เพราะตามธรรมดาผชู ายชอบเปน นกั เทีย่ ว นกั เกย้ี วผูหญงิ และนักฉวย
โอกาส ผหู ญิงคนใดใจลอยพลอยเชอื่ งาย มกั จะถูกตมจากฝายชายเสมอ ผูชายท่ีไมค อ ย
จะเหน็ คูครองเปนของสําคญั โดยมากมนั เปนคนเสยี หายในทางกามารมณ เบื้องตน ก็
เหน็ เหยอ่ื (หญงิ ) ท่ีผา นเขา มาอยา งลอย ๆ นน้ั วา เปน อาหารวา ง แตไ มไ ดคํานงึ ถึงปลาท่ี
ติดเบ็ดจนถึงตายเพราะเหยื่อลอ ปลอยเลยตามเลยจงึ ตอ งเสียคน
ผูม คี รอบครัวเปน หลักฐานประพฤติใหหนักไปทางอารมณ จงึ เปน ความเส่อื มเสีย
แกตนและครอบครวั หญงิ ผูม สี ามปี ระเภทชอบแสวงหาอาหารวา งเปน นิสยั จงึ เปนที่
หนกั ใจยิ่งกวา ภูเขาท้ังลูก กนิ อยูหลับนอนไมเปนสขุ ฉะนัน้ สามีประเภทอาหารวางนี้ จึง
ควรใหน ามวาสามีปรามาสของภรรยา เพราะตองรบั ประทานขาวกบั น้ําตา เนอื่ งจากความ
ประพฤติระแวงจากสามเี สมอ ปลอยอารมณใ หส บายใจสกั นิดไมไ ดเ ลย
ถา เปนภรรยากเ็ ปน ภรรยาทีไ่ มนา ไวใจของสามเี ชน เดียวกัน เปนคนผลาญทรพั ย
กลบั ใจ มีนิสัยเหมือนวานร (ลงิ ) ทัง้ เปน คูรัก ทัง้ เปนคเู วร ชอบเทยี่ วแสวงหาส่งิ แปลก
ๆ เปน อาหารในเวลาวกิ าลแบบนกคา งคาว กลับมาถงึ บานกท็ ําการเคี่ยวเข็ญสามี ทําทาตี
แวนดวงใจ ๑๖๙
กณั ฑเ์ ทศนท์ ี่-๑๒๖๐:๑พ-ระอริยบคุ คล
๑๗๐
โพยตพี ายหาโทษรายปา ยสสี ามี เพื่อหาอุบายหนีจากสามีไปตามชู กิจการงานซ่ึงเปนหนา
ที่ของแมบ านในครอบครวั จะจัดทําไมน ําพา สอดหูสายตามองไปมองมา ลว นแตเปน
เรือ่ งมารยามองทางหาแฟน หนักเขากน็ ําเงินไปมอบใหชายชู จา งคนมาฆา สามขี องตวั
เพ่อื ครองรกั กับเขา ถา เปน หญงิ ประเภทน้ีก็ควรใหน ามวา ภรรยาปรามาส เพราะกอกรรม
ทาํ เข็ญใหส ามีไดรบั ความทกุ ขท รมานและปวดราวในหัวใจไมม วี ันสราง ท้งั เปนการเสยี่ ง
ภยั ตอชวี ิตอนั อาจเกดิ ขึน้ จากภรรยาเพชฌฆาตผคู อยสังหารอยตู ลอดเวลาท่ีไดโอกาส
ถา เปน สมบัติ มีรถราเปนตน ก็เปนที่ไมน าไวใจ จะขบั ข่ไี ปทางไหนกก็ ลวั อันตราย
ตองเขาโรงซอ มบอย ๆ ไมเ ชนน้นั กจ็ ะพาเจาของไปคว่าํ จมดนิ ทไ่ี หนไมแ นท้งั นน้ั ตอง
ตรวจดเู ครอ่ื งทกุ เวลากอ นจะขับข่ไี ปไหนมาไหน ลกั ษณะท่ีกลา วมาท้ังนีเ้ ขา ในขา ยของคํา
วา ปรามาส คือการลูบคลําทั้งนน้ั
ถาเปนศีลก็เปนศีลประเภทลม ลกุ คนผรู กั ษาศลี ก็เปนบคุ คลลมลุก เดี๋ยวกท็ ําศีล
ใหข าด เดย๋ี วก็ไปรบั ศีลใหม รบั แลว รบั เลา ขาดแลว ขาดเลา จนตวั เองก็ไมแ นใจวา ตนมี
ศีลหรือเปลา ทัง้ ๆ ท่รี บั ศีลแลว รบั ศลี เลา อยูน ัน่ เอง ท้ังน้หี มายถึงศลี ของสามัญชนท่วั ๆ
ไปเพราะรบั แลว วนั นค้ี ราวน้ี แตวนั หนาคราวหนา ตอ งรับอกี เหลา นเ้ี รยี กวา สีลพั พต
ปรามาส เพราะลบู คลาํ ศลี เหมือนลูบคลําบาดแผล
พระอรยิ บุคคลชั้นพระโสดาบันแมจ ะเปน ฆราวาส กเ็ ปนผแู นว แนใ นศีลทีต่ น
รักษาอยู ไมรับศลี แลวรบั ศลี เลา เหมอื นสามัญชน เพราะทานเชอื่ เจตนาของตนและรกั ษา
ศลี ดว ยความระมัดระวงั ไมย อมใหศ ีลขาดหรอื ดา งพรอ ยดวยเจตนาลวงเกนิ แมจะเปน ผู
นาํ หนาของหมชู น กเ็ พียงรบั เปนจารีตของผูเ ปนหวั หนา เทานั้น แตเ จตนาจะรับเพราะเขา
ใจวา ตนเปน ผมู ีศีลขาดหรอื ดา งพรอ ยนั้น ไมมีในพระโสดาบนั บคุ คลเลย
พระสกทิ าคา ทา นวา ทาํ ราคะ โทสะ โมหะใหเ บาลง น่ีทางดานปฏิบตั ไิ มมขี อ ขอ ง
ใจ จึงขอยตุ ิไวเ พียงน้ี
พระอนาคามลี ะสงั โยชนได ๕ คอื ๓ กับทผี่ า นมาแลว และละเพม่ิ ไดอกี ๒ ขอ คอื
กามราคะ ความยนิ ดีในประเพณีของโลก และปฏฆิ ะความหงดุ หงดิ ใจ สวนกามราคะนั้น
อยูในวงของรปู กาย ตามความเห็นของธรรมะปา วา สกั กายทิฏฐิ ๒๐ นน่ั แลเปนบอของ
กามราคะแท ควรเปน ภาระของพระอนาคามีเปนผูล ะไดโดยเด็ดขาด เพราะผูจะกาวขน้ึ สู
ภูมอิ นาคามโี ดยสมบรู ณ จาํ ตอ งพจิ ารณาขันธหาโดยความรอบคอบดวยปญญา แลว ผา น
ไปดวยความหมดเยอื่ ใย คือสามารถพิจารณาสว นแหง รา งกายทุกสว น เหน็ ดว ยความเปน
แวน ดวงใจ ๑๗๐
แวน่ ดวงใจ : -ภา๒ค๐๒๑ -อบรมฆราวาส
๑๗๑
ปฏกิ ูลดว ย โดยความเปน ไตรลักษณด วย ประจักษกบั ใจ จนทราบชดั วา ทกุ สวนในราง
กายสะทอ นน้มี ีความปฏกิ ลู เตม็ ไปหมด
ความปฏกิ ูลของรางกายที่ปรากฏเปนภาพอยูภ ายนอก กลบั ยอนเขามาสูวงของจิต
ภายในโดยเฉพาะ และทราบชัดวาความเปน สุภะท้งั นี้ เปน เร่อื งของจิตออกไปวาดภาพ
ขึ้นมา แลวเกิดความกาํ หนัดยินดกี ด็ ี ความเปน อสภุ ะที่จติ ออกไปวาดภาพข้ึน แลว เกิด
ความเบอ่ื หนา ยและอดิ หนาระอาใจตอ ความเปน อยูของรา งกายทุกสว นก็ดี ในภาพทั้ง
สองน้จี ะรวมเขาสจู ติ ดวงเดยี ว คือมไิ ดปรากฏออกภายนอกดังท่ีเคยเปนมา จิตไดเ ห็น
โทษแหง ภาพภายนอกทต่ี นวาดขน้ึ อยางเต็มใจ พรอ มทง้ั การปลอยวางจากสภุ ะและอสุภะ
ภายนอก ทเ่ี ก่ยี วโยงกับสว นรางกายทีต่ นเคยพิจารณา ถอนอปุ าทานความถอื กายออกได
โดยส้ินเชงิ เร่ืองของกามราคะซึง่ เกย่ี วกบั กายกย็ ตุ ลิ งได ในขณะที่ถอนจติ ถอนอปุ าทาน
จากกาย โดยผานออกระหวางสภุ ะและอสภุ ะตอกัน หมดความเย่ือใยในสุภะและอสภุ ะ
ท้งั สองประเภท
ปฏฆิ ะ ความหงดุ หงดิ ของใจ ขอ นที้ างดา นปฏิบตั ิไมมีแปลกตางและของใจ จึงขอ
ยตุ ไิ วเ พียงเทานี้
อนั ดับสี่คอื อรหตั ภมู ิ ทานวาละสงั โยชนได ๑๐ คือสงั โยชนเบอื้ งต่าํ ๕ ทกี่ ลา ว
ผา นมาแลว กับสังโยชนเ บอ้ื งบนอกี ๕ คอื รูปราคะ อรปู ราคะ มานะ อุทธัจจะ อวิชชา
รปู ราคะ ความกาํ หนัดยินดใี นรูป ไมไดหมายถึงรปู หญิง รปู ชาย และรปู พสั ดุสิ่ง
ของตาง ๆ ซึ่งเปน ของภายนอกและเปนสว นหยาบ ๆ แตหมายถงึ นิมติ ท่ปี รากฏกบั จติ
อยภู ายในโดยเฉพาะ คือภาพที่ไดจ ากภายนอกตามทก่ี ลาวผา นมา ซ่งึ ยอนกลบั เขา มาอยู
ในวงของจิตโดยเฉพาะ ผพู จิ ารณาจําตอ งถือนิมิตนีเ้ ปนอารมณข องจติ หรือเปนเคร่อื ง
เพง เล็งของจิต จะวา จติ ยินดีหรือตดิ รูปฌานก็ถูก เพราะจติ ชน้ั นต้ี องทาํ การฝก ซอ มความ
เขาใจเพอ่ื ความชาํ นาญอยกู ับนิมติ ภายใน โดยไมเ กีย่ วกบั กายอีกเลย จนเกดิ ความชาํ นิ
ชํานาญในการปรงุ และทําลายภาพภายในจิต ใหม ีการปรากฏขน้ึ และดบั ไปแหงภาพได
อยางรวดเร็ว
แตก ารเกิด-ดบั ของภาพทง้ั นเ้ี ปนการเกดิ -ดบั อยูจาํ เพาะใจ มิไดเ กิด-ดับอยูภาย
นอกเหมอื นแตกอ น ซ่ึงจติ กําลงั เกี่ยวของอยูกบั กายเลย แมค วามเกดิ ดับของภาพภายใน
เมื่อถูกสตปิ ญ ญาจดจองเพง เลง็ อยูไมห ยดุ ยอมมกี ารเปล่ียนแปลงตวั เองไปโดยลาํ ดบั
ความเกดิ -ดบั ของภาพชนดิ น้ี นบั วันและเวลาเร็วเขาทุกทจี นปรากฏเหมือนฟา แลบแลว
ดบั ไป ผลสุดทา ยก็หมดไป ไมมีนิมิตเหลืออยูภายในใจเลย พรอมทงั้ ความรูเทาทนั วา
แวนดวงใจ ๑๗๑
กณั ฑ์เทศนท์ -ี่ ๑๒๖๐:๓พ-ระอริยบุคคล
แวน่ ดวงใจ : -ภา๒ค๐๔๑ -อบรมฆราวาส
กณั ฑ์เทศน์ท่ี-๑๒๖๐:๕พ-ระอรยิ บุคคล
๑๗๔
ธรรมทงั้ น้ไี ดอธิบายตามปริยัติบา ง ตามความเหน็ ของธรรมะปา บาง เมอ่ื ผิดบาง
ถกู บางก็ขออภยั จากทา นผูฟงผอู า นทุกทานดวย เพราะแสดงไปตามความเขา ใจแบบปา
ๆ ท่ีไดปฏบิ ัติมา และพรอ มทจี่ ะรบั ฟงเหตุผล ผิดถูกและตชิ มจากทา นผมู ีเมตตาเสมอ
วธิ ีปฏิบัตเิ พ่อื ความสขุ ความเจรญิ เปนขั้น ๆ และประจกั ษใ จ คอื การอบรมภาวนา
คณุ งามความดอี ่นื ๆ ยอมเปนเครื่องอดุ หนนุ กนั ไป ขึ้นชือ่ วา ความดีแลว ตอ งเปน เครื่อง
หนนุ กนั ไปทง้ั น้นั เชน เดียวกับพรกิ แมจ ะเปน เม็ดเล็ก ๆ หรอื เม็ดไมค อ ยจะเต็มเทา ไรก็
ตาม เมอื่ นํามาผสมกนั ตําลงในครกแลวคดออกมาใสถวยหรือจาน ขณะรับประทานจะจิม้
ลงไปดานไหนของถวยหรอื จานนั้น ยอมมีรสเผด็ เชนเดียวกนั หมด ไมไ ดน ยิ มวาดา นนนั้
พริกเต็ม ดานน้พี รกิ ลีบ
ขึน้ ช่อื วาความดีแลว ไมว าจะเกิดจากกุศลกรรมประเภทใดรวมกันแลวจะกลาย
เปน กองบุญอนั ใหญโตเชนเดยี วกัน ดงั นัน้ โปรดทานผูฟง ทุกทานซ่งึ มคี วามมงุ หวงั ใน
ธรรมอยางเต็มใจ นําไปปฏิบัตดิ ัดแปลงตัวเองตามฐานะใหถกู เขม็ ทศิ ทางเดนิ ของธรรม
ในขณะที่มีชวี ิตอยู แมถ งึ คราวจาํ เปน ซ่งึ ทกุ คนจําตองเผชญิ จติ จะมหี ลกั ยึดไมรวนเรไป
ในทางผดิ จะกา วไปตามทางผิด นยิ ยานกิ ธรรมนาํ ตนใหถึงสขุ ในคตภิ พน้นั ๆ ขึน้ ชือ่ วา
ความสุขความเจริญท่เี รารําพงึ ราํ พันถงึ อยูทกุ ขณะจติ นน้ั จะกลายมาเปนสมบัติเครื่อง
ครองของใจในภพของตน ๆ โดยไมต อ งสงสยั
ในอวสานแหง ธรรม จึงขออาราธนาคุณพระศรีรัตนตรยั ตามคมุ ครองรกั ษาทาน
ทง้ั หลาย ใหม แี ตค วามสขุ กายสบายใจ นกึ สงิ่ ใดจงสมหวงั ดังความปรารถนาทุกประการ
เทอญฯ
www.Luangta.or.th
แวนดวงใจ ๑๗๔
แวน่ ดวงใจ : -ภา๒ค๐๖๑ -อบรมฆราวาส
อรยิ สัจกนัณอฑกท์ ี่ อ๑ร๗ิยสจั ใน
เทศนอ์ บรมฆราวาส ณ วดั ป่าบ้านตาด
เมื่อวนั ท่ี ๒๑ กุมภาพันธ์ พุทธศกั ราช ๒๕๐๗
แว่นดวงใจ : -ภา๒ค๐๘๑ -อบรมฆราวาส
๑๗๖
ผทู าํ ตัวใหตํ่าลงไป จนเปน ที่ดถู กู เหยยี ดหยามของเพอ่ื นมนษุ ยด ว ยกนั เนอื่ ง
จากการดัดแปลงตวั เองไปในทางผดิ โดยมีความคดิ ผิดเปน เจาเรอื น ผูจ ะทาํ ตวั ใหด ี
และเดน ขน้ึ เปนลาํ ดับ จําตองดัดแปลงตวั เองใหถูกทาง ผลยอมเปนความสุขความ
เจรญิ คบื หนา ตามลําดบั แหง เหตทุ ีท่ ําไวดแี ลว ไมว าวนั น้ี วนั หนา ชาตนิ ้ี ชาตหิ นา ความ
สขุ ความเจริญตองอาศัยผลท่ีเราทาํ จากคนคนเดียวนี้แล เปนเครื่องตามสนองในภพ
น้ัน ๆ ดว ยเหตนุ ค้ี วามเปน มนษุ ยจงึ อยูในความนยิ มของโลก วาเปนภพชาติทีส่ งู และ
เปนท่ีรวมแหง ความดที ัง้ ปวงไวด ว ย เชน พระศาสนา เครอ่ื งหลอหลอมมนษุ ยใหเ ปน
คนดีกร็ วมอยทู ่ีนี่
แมพระพุทธศาสนาซ่ึงเปน ศาสนาทเี่ ยีย่ มดวยเหตผุ ลก็มีอยกู บั มนุษยเรา พระ
พทุ ธเจา กม็ าตรัสรูในแดนแหง มนษุ ยเรานี้ พระสาวกเกิดเปนมนษุ ยโ ดยสมบรู ณแลว จงึ
สามารถปฏบิ ัตธิ รรมจนไดต รัสรูต ามพระพทุ ธเจา ฉะน้นั ความเปนมนุษยจ ึงเปน ผมู ี
ภาชนะอันดีสาํ หรบั รบั รอง ทั้งกองสมบตั ิเงินทองของมีคา ในโลก ทั้งโลกตุ รภมู สิ มบัติ
จงึ ควรภาคภูมิใจในบุญวาสนาของตนทพ่ี บพระพุทธศาสนา อันเปน ศาสนาท่ีบริสทุ ธิ์ท้ัง
เหตทุ ้งั ผล การกลา วทงั้ นีม้ ิไดตาํ หนิศาสนาใด ๆ วา ไมดี เพราะศาสนาใดกด็ ีดว ยกนั
เนื่องจากไมไดสอนคนใหช ่วั แตความดนี นั้ มีสงู ตาํ่ ตางกัน คณุ ภาพของศาสนาจึงตาง
กัน พระพุทธศาสนานส้ี ามารถสอนคนใหเ ปนคนดเี ย่ยี มได ทัง้ ความประพฤตแิ ละความ
รคู วามเหน็ ภายในใจ จนกลายเปน ใจวเิ ศษและอัศจรรยเ หนือใจสามญั ธรรมดา เพราะ
การอบรมจากธรรมของจริงอยา งประเสรฐิ คือพระพุทธศาสนา
เวลานเ้ี รากําลงั อยใู นมชั ฌมิ า คอื ศนู ยกลางของโลก สตั วด ริ ัจฉานกไ็ มไดไ ปเกิด
นรกคอื แดนหาความสุขกายสบายใจไมไดก ไ็ มเ คยประสบ กาํ เนิดเปรตผไี ดยินแตชื่อ
แตไมไ ดเปนสัตวประเภทนน้ั คอื เราเปน มนษุ ยโ ดยสมบูรณ ฉะน้นั จงึ ควรเหน็ คณุ คาใน
ตวั เราและชวี ิต จิตซงึ่ ครองตวั อยขู ณะน้ี พยายามอบรมดัดแปลงวถิ ีทางเดินของชีวิต
และจิตใจใหเปนไปดวยความสม่าํ เสมอและราบรนื่ ท้งั ทางโลกและทางธรรม จะมีความ
สุขกายสขุ ใจ อยใู นโลกนก้ี ็เหน็ ประจักษใจ ถา มีธรรมเครอื่ งดัดแปลงใหถูกทาง จะไป
โลกหนา ก็คือใจดวงกาํ ลังดัดแปลงอยู ณ บดั นี้ จะเปนผพู าไป ไมม สี งิ่ ใดจะไปโลกหนา
ได นอกจากจิตดวงเดยี วซงึ่ เปน ของละเอียดย่งิ นเ้ี ทาน้ัน
เราทุกทา นตา งก็เปน นายชา งผูฝ ก ฝนอบรมตน อยางไรจะเปน ท่มี น่ั ใจ โปรด
กระทาํ ลงไปจนสุดความสามารถในขณะมชี ีวิตอยู ถาชีวติ หาไมแลวจะสุดวิสัย เพราะ
รา งกายแตกสลาย ตองหมดทางเดนิ ทนั ทีทช่ี วี ติ ส้ินสุดลง การบําเพ็ญความดที กุ
แวนดวงใจ กัณฑ์เทศน์ท่ี ๑๗- :๒๑อ๐๗ร๙ยิ ๖ส-จั นอก อริยสัจใน
๑๗๗
ประเภทเปนตนวา เคยบําเพญ็ ทาน รักษาศลี และเจริญภาวนาก็ทาํ ตอ ไปอีกไมได ทํา
ใหข าดไปเสียทกุ อยาง เราจงึ ไมควรเหน็ ส่งิ ใดวา เปน ของมคี ุณคาย่งิ กวา ใจซง่ึ กาํ ลงั รบั
ผิดชอบในสมบัติทกุ ส่ิงอยูเ วลาน้ี แมเ ราจะเสาะแสวงหาส่งิ ใดมาเพือ่ บําบดั รางกายและ
จติ ใจใหมคี วามสขุ เทาทคี่ วรจะเปนได แตเราอยา ลืมตวั ถงึ กบั ไดผ ดิ พลาดไปกบั สงิ่ น้นั
ๆ จนถอนตวั ไมข ้นึ เพราะอํานาจความอยากเปน เจา ของเรอื นใจ ถา ไดรับการอบรมอยู
เสมอ อยา งไรกไ็ มตกตํ่าและถอยหลงั มาสูความทุกขและความต่าํ ทรามตา ง ๆ ที่ไมพึง
ปรารถนา จะกา วไปทลี ะเล็กละนอ ย และกา วไปเสมอจนถงึ จดุ ประสงคจนได
ผูม ีความเจริญรงุ เรอื งทงั้ ทรัพยภายนอกและทรพั ยภายใน คอื คณุ สมบตั ขิ องใจ
ทานเจรญิ รงุ เรอื งไดเพราะการฝก ฝนดดั แปลง อยาเขา ใจวา เปนไปจากเหตุอน่ื ใดท้ังสน้ิ
เพราะกาย วาจา ใจ เปนส่งิ อบรมดดั แปลงไดดว ยกนั ไมเ ชนนน้ั จะหาคนดคี นฉลาดไม
ไดในโลกมนุษยเรา และจะไมผ ิดอะไรกับสัตวท ่ีมิไดฝก หดั ดดั แปลงเลย สง่ิ ท่ีจะทําให
คนดคี นช่วั ไดจงึ ขึน้ อยกู ับการฝกหัดดดั แปลงตัวเองตามใจชอบ ผลกก็ ลายเปน คนดีคน
ชว่ั และสขุ ทุกขข ้นึ มาเปน เงาตามตวั ฉะนั้นการไมปลอยตวั คือใหอยูในกรอบของการ
สงั เกตสอดรูของตัวเสมอน่ันแล เปนทางเจรญิ กา วหนา ผูช อบความเจรญิ กา วหนา จง
เปนผูสงวนตน
อนึง่ ธรรมเครอื่ งขดั เกลามนุษยและสัตวใ หเปนคนดีและสัตวด ตี ามฐานะของ
ตนนั้น มีอยกู บั ทุกคน ไมวา นักบวชและฆราวาสหญิงชาย ขึ้นอยูก บั ความขยันหมัน่
เพยี ร ความอดทน ความดี ความชว่ั ข้นึ อยูกับตวั ผูชอบทํา ทําทีไ่ หนกไ็ ด ไมน ิยมวาใน
บา น นอกบาน ในวดั นอกวัด ในนํา้ บนบก เพราะตนเหตคุ วามดแี ละชว่ั มันอยูก ับตวั
ของผูทํา ไมไ ดอ ยูทอ่ี น่ื ใดท้ังนน้ั ดงั นั้น คาํ วา ธมโฺ ม หเว รกขฺ ติ ธมมฺ จารึ ธรรมยอ ม
รกั ษาผูปฏบิ ัติธรรมก็ดี น ทุคฺคตึ คจฺฉติ ธมมฺ จารี ผปู ฏบิ ัตธิ รรมยอ มไมตกไปในท่ชี ั่ว
ก็ดี ธรรมทัง้ สองบทนจ้ี ึงไมตองมตี น มปี ลาย คอื ยงั คงเสนคงวาอยูตลอดกาล
ทานที่เปนนักบวชทกุ ทา น โปรดทาํ ความสําคัญในเพศและหนาที่ของตน เพราะ
คําวา นกั บวช เปนผูปลอยภาระความยงุ เหยิงทางการงานทฆ่ี ราวาสจดั ทาํ ทุกประเภท
เปน ผมู ีภาระนอย และปลอยความกังวลในสิง่ ทง้ั ปวง ทกุ ขก็ขอใหทุกขแบบลกู ของพระ
พทุ ธเจา สุขก็ขอใหส ุขตามแบบของพระพุทธเจา หนา ที่การงานทีช่ อบตามเพศของพระ
โปรดเห็นเปนสิ่งที่มคี ุณคาประจาํ ตน อยาเหน็ สิง่ ใดวาเปน ของมคี ณุ คา ย่ิงไปกวา เรอื่ ง
ของพระ ถา เห็นสงิ่ อน่ื เปนของมีคา ยิง่ กวาเรอ่ื งของพระแลว พระของเรากเ็ ริ่มจะดอยลง
ไป ขอ วัตรปฏิบตั ขิ องพระ การรักษาศีลของพระ การปฏบิ ัติธรรมของพระ ความ
แวน ดวงใจ แว่นดวงใจ : -ภา๑๒ค๗๑๐๑๗-อบรมฆราวาส
๑๗๘
พากเพยี รประจาํ หนาท่ีและเพศของพระจะดอยลงไปตาม ๆ กัน เพราะส่งิ อืน่ ๆ มีคณุ
คามากกวาคําวา พระซงึ่ มปี ระจาํ เพศของตน
ทุกขจ ะแสนทกุ ขแสนลําบากขนาดไหน กข็ อใหทกุ ขลาํ บากเยีย่ งลูกพระตถาคต
โงก ข็ อใหโงอ ยูในกรอบของพระธรรมวนิ ัย ฉลาดกอ็ ยา ใหเลยเสนทางของหลกั พระ
ธรรมวนิ ัยทีป่ ระทานไว จะไดนามวาลกู ของพระตถาคตแท แมจะเกิดสุดทา ยภายหลงั ก็
คือลกู พระตถาคตผูสุดทอ งน่นั เอง ไมใชเ ปนลูกของผอู นื่ ใด เชน เดียวกบั เรามลี กู หลาย
คน เปนผหู ญงิ ก็คือลกู ของเรา เปน ผูชายก็คือลกู ของเรา คนหวั ปก ค็ อื ลูกของเรา คน
กลางก็คือลกู ของเรา คนสดุ ทองก็คอื ลูกของเรา ลกู ของพระพทุ ธเจา ก็เปนคนเชนน้นั
เหมอื นกนั
คาํ วา พระเมตตาน้ันมอี ยูทุกสัตวท กุ บคุ คล รองรอยพระเมตตา ไดแกพระธรรม
๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธที่วางไวเปน แนวทางหรือเปนบันได เพ่ือใหพทุ ธบรษิ ทั คือลกู
ของพระองคไ ดก า วเดนิ ไปตามพระโอวาทน้ัน ๆ จะไมผ ดิ หวงั ทง้ั ชาติน้ีก็จะมีผลตอบ
แทน คอื มีความสขุ ความเจรญิ ภายในใจ ทัง้ ชาตหิ นาซึ่งจะสืบตอไปจากชาตนิ ี้อยทู ุก ๆ
ขณะ คือ เมื่อจติ เคลอื่ นยายจากรางกายนี้ออกไปแลว กจ็ ะมีความสขุ ความเจรญิ ประจํา
คติภพของตน เม่ือยงั ไมถ ึงแดนสน้ิ ทุกขโดยสนิ้ เชิง ทั้งนีเ้ ชนเดยี วกบั คนเดินทาง จะกาว
ไปขา งหนา กจ็ ากเทา อนั นี้ จะกา วไปทางไหนหรอื กา วไปถงึ ไหนก็จากเทาอันน้ี ผมู าจาก
ภพไหน มาจากโลกใด จะไปสูภพไหน หรอื จะไปอยโู ลกใด กค็ ือใจดวงน้ีจะเปนผพู ามา
และพาไป ไมใชใจดวงไหนคนผูใดทัง้ นั้น
เพราะฉะน้นั การประคองการกา วไปของตน จงึ เปนหนาทแ่ี ละภาระของผเู ดนิ
ทาง จําตอ งสงั เกตดวยดวี า ทางไหนถูก ทางไหนผดิ มิใชว าทางและเทา แลว กจ็ ะเดนิ ไป
ทาเดียว โดยไมค ํานึงถึงทางผิดทางถกู และขวากหนาม เพราะคาํ วา ทาง ยอมมีทัง้ ทาง
ผิด ทางถกู และขวากหนาม ผกู า วเดินโดยไมคํานึงดังกลา วจะไดรบั ความเดอื ดรอ นเม่ือ
ภายหลงั แตผสู ังเกตทง้ั ทางเดนิ สงั เกตทัง้ การเหยยี บยา ง จะถึงจุดหมายปลายทางโดย
ความสวสั ดแี ละปลอดภัยในระยะทาง
พระโอวาทของพระพุทธเจา ทุกบททุกบาท ลวนเปนทางแหง สวากขาตธรรม
เพราะโอวาททีอ่ อกจากพระโอษฐของพระพุทธเจานนั้ เต็มไปดวยเหตผุ ลหาท่ีแยง ไมได
ทัง้ นีเ้ นื่องจากใจของพระองคเ ปนใจทเ่ี ตม็ ไปดว ยเหตุผล เม่ือเหตผุ ลเพยี งพอแกก าร
ปฏบิ ตั แิ ลว กป็ รากฏเปนพระพุทธเจา ขึน้ มา ดังนั้นความบริสุทธข์ิ องพระองคจึงเกิดจาก
หลักเหตผุ ลที่สมบรู ณ เม่ือประทานธรรมขอไหนไวจงึ เปน ธรรมท่ีถูกตอง และใหนามวา
แวนดวงใจ กณั ฑ์เทศน์ท่ี ๑๗- :๑๒อ๗๑ร๑ยิ๘ส-ัจนอก อริยสจั ใน
๑๗๙
สวากขาตธรรม และ นยิ ยานกิ ธรรม สามารถนําผปู ฏบิ ตั ิตามใหถึงจุดหมายปลายทาง
ไดโ ดยสมบรู ณ คือ นพิ พฺ านํ ปรมํ สขุ ํ โดยไมเลอื กกาล ตามบทธรรมท่วี า อกาลโิ ก
ความดี ความชั่วมอี ยู ผทู าํ ดี ทาํ ช่ัวมีอยู ความสขุ ความทกุ ขอันเปน ตวั ผลจะสูญหาย
ไปไมได
อกาลโิ กจงึ เปน ธรรมศูนยกลางอยตู ลอดเวลา เมื่อธรรมคืออกาลโิ กเปน ธรรมยนื
ตายตัวอยเู ชนน้ี ผูปฏบิ ตั ติ ามจะไดร บั ความเดือดรอนหรือถึงความอับจนนั้นจะเปนไป
ไมได คาํ วา ธมฺโม หเว รกฺขติ ธมมฺ จารึ จะเปน ธรรมทที่ รงโลกทรงธรรมอยูไมได ทุก
ๆ สงิ่ จะอนั ตรธานหายสญู ลงทันที แตพ ระธรรมบทน้ีเคยรบั รองโลกและธรรมมา
ตลอดอนันตกาลแลว ไมมีสิ่งใดอาจเอ้ือมลว งล้ําหลักธรรมนไี้ ปได จงึ เปน ที่แนใจและ
วางใจสาํ หรบั ผดู าํ เนินตามพระธรรม มหี วงั ผลเปนเครื่องตอบแทนโดยแนนอน เชน
เดียวกบั ผรู บั ประทาน มีความอิม่ สบายกาย หายหวิ เปน เคร่อื งตอบแทนฉะนนั้
ทา นผบู ําเพญ็ ที่อยูในศลี และธรรมประเภทใด ก็โปรดไดส งวนรักษาศลี ธรรม
ของตนเชนเดยี วกบั เรารักษาชีวติ ประจาํ วนั ดวยเครื่องบํารงุ ตาง ๆ ฉะนน้ั อยาเหน็ แก
ความหลับนอน เหน็ แกค วามเกียจครา น เห็นแกความมกั งายออนแอ เพราะส่งิ เหลาน้ี
เคยเปน อุปสรรคตอความเจริญมาประจําโลก ถาปลอยชอ งใหส่งิ เหลา นีม้ ีโอกาสแทรก
ได จะกลายมาเปนศาสดาแทนพระพทุ ธเจา สมบตั ภิ ายนอกและภายในที่ควรจะไดจ ะ
ถึงกจ็ ะสญู หายไปหมด เม่ือขาดสมบตั ิทงั้ สองเปน เครอ่ื งบํารุง กายกับใจกเ็ ปน ทกุ ข
เดอื ดรอน มแี ตสิ่งท่กี ลาวมาเขา รมุ ลอ มถายเดียว ผูน้นั จะหาความเจริญไมได จะเปน
พระเปนฆราวาสก็เดือดรอ นหาความสุขไมไดเ ลย
จงึ ควรทราบวา ผูจ ะสรางโลกก็ดี สรางธรรมก็ดี ตอ งมธี รรมเปนเคร่อื ง
สนบั สนุนอยูภายในใจและกจิ การทท่ี าํ ไมเชนนน้ั จะไมเ ปน ไปเพือ่ ความเรียบรอยและ
สวยงาม และไมเ ปนไปเพ่ือความรมเย็นแกตนเองและผอู ื่น แมผ มู หี นาท่ีปฏิบัติธรรม
โดยตรง แตธ รรมเปนสมบตั กิ ลาง ไมเ ขาใครออกใคร ผปู ฏิบตั ผิ ดิ ทางโดยเขาใจวาตน
ปฏิบตั ิถกู แลว ฝน ทาํ ไป แตใ จกลายเปนโลกไปเสีย ท้ัง ๆ ทีเ่ ขาใจวา ตนดําเนินตาม
ธรรม ผลจงึ ปรากฏเปนความทกุ ขเ ดือดรอน แลว กม็ าตําหนวิ า เราปฏิบตั ิธรรมมาเปน
เวลาเทา นน้ั ๆ แตไ มเ ห็นมผี ลอนั ใดเปนเคร่ืองตอบแทนขน้ึ มาเลย แทจ ริงการกระทาํ
ของตนผิดพลาดไปจากหลกั ธรรมโดยเจาตวั ไมร ู
ถา การกระทาํ ของผนู น้ั ไดดําเนินไปดวยดี คําวา มรรค ผล นพิ พาน ในคร้ังนนั้
กบั คร้ังนจ้ี ะไมม ีอะไรมาเปน อุปสรรคไดเ ลย นอกจากตัวเปนอปุ สรรคตอตวั เสียเองดว ย
แวน ดวงใจ แว่นดวงใจ : -ภา๒๑ค๑๗๒๑๙-อบรมฆราวาส
กณั ฑ์เทศนท์ ี่ ๑๗- :๒อ๑ร๓ยิ ส-จั นอก อริยสัจใน
๑๘๑
ตอ งมกี ารบาํ เพญ็ ความดโี ดยมีทานเปน ประจํา ถาไมไดทําความรูสกึ ไมส บายใจ เพยี ง
เทานี้ผนู ัน้ กค็ วรจะรูสกึ ในตวั เองวา ความรสู กึ ของเขาไดเ ปล่ยี นแปลงไปเทาไร
ผเู ร่มิ ฝกหดั ภาวนาเบอ้ื งตนใจมีความยงุ เหยงิ ดวยเรอื่ งตาง ๆ ไมม คี วามสงบ
สบายลงได แตอาศยั การฝกทรมานครั้งแลวครัง้ เลา ใจท่ีเคยวุน วายก็คอยเปล่ียนสภาพ
ไปวนั ละเล็กละนอยจนลงสูความสงบได และจิตลงสูความสงบไดเปน ลาํ ดบั จนสงบลง
ถึงฐานของสมาธไิ ดอ ยา งแทจริง นส่ี ันทฏิ ฐิโก ยิง่ ปรากฏชดั แกผ บู าํ เพญ็ ข้นึ เปน ลาํ ดับ
โดยทีผ่ หู นึ่งผูใดท่ไี มร ดู วยจะมาโกหกไมไ ดเ ปนอนั ขาด เพียงความสงบในขัน้ สมาธมิ ี
เคร่อื งยนื ยนั ภายในใจของผปู ฏบิ ัติอยูแลว ทีนีก้ ลาวถงึ ข้นั ปญ ญาความแหลมหลักของ
นักคน ควายอ มจะรูเหน็ สิ่งตา ง ๆ ท่ีไมเ คยปรากฏในใจมาเลย ท้ังใกล ทั้งไกล ท้ังภาย
ในและภายนอก เพราะหลกั ความจริงของไตรลักษณในหลกั ธรรมชาตทิ ่แี สดงตัวอยทู กุ
หนทุกแหงทัว่ ทงั้ ไตรโลกธาตุ ประหน่ึงมาตั้งทีท่ าํ งานอยบู นหัวใจของนักคน ควาคนนนั้
ตลอดเวลา
นอกจากถึงเวลาจะพกั ผอนจติ และพักผอ นกาย แลวปด สวิตซความรูเพ่อื
พจิ ารณาเสยี เทา นน้ั เร่ืองตาง ๆ จงึ จะยุติลง พอเรม่ิ เปด สวิตซแ หงความรเู พ่ือทาํ งาน
งานที่จะพจิ ารณากห็ ลงั่ ไหลเขามาท้ังทางตา หู จมูก ลิ้น กายและทางใจ ทง้ั ภายนอก
ภายใน สวนกันไปผานกนั มา แตรวมความแลว มันเปนเรื่องเตอื นใจไมใ หป ระมาทตน
ทง้ั นนั้ ผูมีความสนใจตอการพจิ ารณาเพื่อหาทางออกจากทุกขก็ย่ิงถอื เปน โอกาสอัน
เหมาะสม ท่ีจะพยายามตกั ตวงเอาใหพอกบั ความตองการของสตปิ ญ ญา ศรัทธา ความ
เพยี ร ในเวลาเชน นน้ั
คาํ วา ทุกขฺ ํ กร็ ูเหน็ ทุกขอ ยางถึงใจ ทั้งทุกขทางกาย ท้งั ทุกขทางใจ ทั้งทุกขของ
ทา น ทั้งทุกขของเรา ไมเพียงรแู ละจําไดต ามที่ไดย ินไดฟงมา คําวา อนจิ จฺ ํ กร็ เู ห็นอยาง
ถึงใจ ทัง้ ความแปรปรวนทางกาย ท้งั ความแปรปรวนทางใจ ทั้งความแปรปรวนของ
ทา น ท้งั ความแปรปรวนของเรา ทงั้ ความแปรปรวนของสภาวธรรมทเ่ี กย่ี วกบั เราและทว่ั
ๆ ไป ท้งั การกาวหนา ทั้งการถอยกลบั ในอิรยิ าบถท้งั สี่ ตลอดอาการของใจเปน ไปกบั
ความแปรปรวนท้ังมวลตลอดกาล หาความคงทีไ่ มไดแ มแตชนิ้ เดียว คําวา อนตตฺ า กร็ ู
เหน็ อยา งถึงใจวา เปน สภาพทเ่ี ปลาจากสัตวจ ากบคุ คล เปลา จากความเสกสรรปน ยอ
ของใคร ๆ ทง้ั สิน้ ไมไ ดเปน ไปตามท่ีสตั วป รารถนาและขอรองใด ๆ ทงั้ สนิ้ แตเ ปนไป
ตามลกั ษณะแหง ความจริงของตนเทานัน้
แวนดวงใจ แวน่ ดวงใจ : -ภา๒๑ค๑๘๔๑๑-อบรมฆราวาส
กณั ฑ์เทศนท์ ี่ ๑๗- :๒อ๑ร๕ยิ ส-จั นอก อริยสัจใน
๑๘๓
นถ่ี าจะคิดและพูดกนั ไปในทํานองนัน้ กแ็ สดงใหเหน็ วา ผนู น้ั ยงั ไมไดร ับการ
ศึกษาอบรมใหรูค วามหมายของศาสนาท่ีแทจริงใหด ีพอ เพราะท่ีพระศาสนาสอนเชน
นั้นเปน การสอนถูกตองตามหลกั ความจรงิ สมนามวา อรยิ สัจ ซ่งึ เปนหลักธรรมของพระ
ศาสนา เปนของจรงิ และพระพุทธเจาเปนผูรจู ริง จงึ สามารถสอนและช้ถี ูกจุดบกพรอง
ของสตั ว เพราะทกุ ขทเี่ กิดขึ้นแกคนและสัตว ยอมมสี าเหตมุ าจากจดุ บกพรอง เชน รา ง
กายเปน โรคอนั เปน ทางมาของทุกข ก็แสดงวารา งกายมสี วนบกพรอ งภายในตวั
หากวารางกายยงั สมบรู ณอยทู กุ ๆ สว นแลว จะไมมชี อ งทางใหท กุ ขเ กิดไดเลย
จะเหน็ ไดจากคนไขด ว ยโรคชนิดตา ง ๆ พากนั หลั่งไหลเขาไปใหหมอตรวจ และรกั ษาท่ี
โรงพยาบาล ทัง้ นล้ี วนเปน ผมู ีสวนบกพรอ งในรา งกายทัง้ นนั้ ไมใ ชผมู รี า งกายอัน
สมบรู ณเ ลย แมก ารตรวจโรคและการใหยาของหมอ กค็ อื ตรวจดสู ่งิ บกพรองและการ
แกไ ขซอมแซมสง่ิ บกพรองของคนไขใหส มบรู ณข ้ึนนน่ั เอง ถา รา งกายเริ่มดีข้ึนคนไขก ็
เริม่ มคี วามสุข เพราะโรคถูกกบั ยา ถา รา งกายไดรบั การรกั ษาโดยถูกตอง โรคกห็ าย
ทกุ ขกด็ บั ไปนน่ั เอง
พระพทุ ธเจาเปน ผูฉ ลาดจงึ ไมท รงสอนใหแ กท ุกขซ งึ่ เปนตัวผล แตทรงสอนให
แกตน เหตุ คอื ความบกพรองหรอื สงิ่ บกพรอ ง อันเปน สาเหตทุ ี่เกดิ ข้ึนแหง ทุกขท ่เี รยี ก
วา “สมทุ ยั ” แปลวา แดนเกิดขน้ึ แหง ทกุ ข เม่ือเหตุดบั ผลกด็ ับไปเอง การท่ีพระพทุ ธ
เจา ทรงยกเอาทกุ ขข น้ึ ประกาศกอนอืน่ ก็คือการชบ้ี อกหลกั ฐานความจรงิ ใหทราบ เพ่ือ
จะไดคน หาสาเหตุที่เปนมาแลว ทําการแกไ ขใหถ กู ทาง เชนเดยี วกบั ของกลางท่โี จรลักไป
เจา หนา ท่ตี องถอื เปน หลักฐานช้ินสาํ คญั เพอื่ จะผูกมดั โจรใหอยใู นเง้ือมมือฉะน้ัน
การแสวงหาอาชีพไมเพียงพอกบั ความจําเปน ในครอบครวั ยอ มเกดิ ความทกุ ข
เดอื ดรอ นขน้ึ มาในครอบครวั เพราะไมว า คนและสัตวถ ามเี ครื่องบํารงุ ดว ยความ
สมบรู ณแ ลว ความทุกขเดอื ดรอนไมค อยมใี นหมชู นและครอบครัวน้นั ๆ ถาหาไมแลว
แมแ ตคสู ามีภรรยาซ่งึ เปน ที่รักยิ่งของกันและกัน ก็ยงั กลายเปนคูเ วรและแยกทางเดิน
กันได ทง้ั นเ้ี นอื่ งจากความบกพรองในการแสวงหาอาชีพและทางอน่ื ๆ อกี เขา ผสมกัน
ทกุ ขใ นครอบครัวจงึ เกดิ ขึ้น เพราะความอดอยากขาดแคลนมีไมเพียงพอกบั ความจํา
เปนทจ่ี ะพึงใช พึงรบั ประทานบา ง เพราะราคะตัณหาไมม เี พียงพอในอารมณบ าง
ความบกพรอ งเกดิ ไดหลายทางคือ เพราะความไมฉ ลาดในการทํามาหาเลย้ี งชีพ
หารายไดไ มทนั เขาบาง เพราะสุขภาพไมส มประกอบบา ง เพราะความโงและเกียจคราน
เปน เจา เรอื นบา ง ข้เี กียจทาํ งานหารายได แตก ารจา ยกับการกินน้นั ลอื นามบาง เพราะ
แวน ดวงใจ แวน่ ดวงใจ : -ภา๑๒ค๑๘๖๑๓-อบรมฆราวาส
กณั ฑ์เทศนท์ ี่ ๑๗- :๒อ๑ร๗ยิ ส-จั นอก อริยสัจใน
๑๘๕
ทรัพย ทรัพยท ุกประเภทจะตง้ั อยไู ดเพราะหลักใจดี มนี สิ ยั มนั่ คง ไมเอนเอยี งตอ สิง่
แวดลอ มโดยงา ยดาย มเี หตุผลเปน เคร่ืองปกครองตนเองและทรัพยสิน จะไมเส่ือมเสีย
ไปเพราะถูกหลอกลวงจากคนอนื่ หรอื ถกู หลอกลวงจากตัวเอง แตการหลอกลวงตนเอง
เปน สิ่งท่เี ราจะมองเหน็ ไดโ ดยยาก ทั้ง ๆ ทถี่ ูกหลอกจากตวั เองอยูต ลอดเวลา ทรัพย
สมบตั ิเก็บไวด วยมอื ของตัวเอง แตแลวกต็ ัวเปน ผสู ังหารทรัพย โดยไมคาํ นึงวาควรหรอื
ไมควร จับจายตามความอยากเปน เจาครองใจ เพียงเทา นี้กพ็ อทราบไดว าตนถกู หลอก
จากตนเองดว ยความสนทิ ใจ
เพราะฉะนัน้ การท่ีพระศาสนาสอนคนใหรจู กั วธิ ีปฏบิ ตั ิตอ ตวั เองโดยถูกตอ ง
เพื่อปดกั้นทางมาของทุกข จึงเปน ทาํ นองเดยี วกนั กบั หมออธบิ ายเร่อื งโรคและวิธรี ักษา
ตวั ใหแกคนไขนาํ ไปปฏบิ ัตเิ พ่อื ความปลอดภัยแกตวั เอง ซึ่งตรงกับอรยิ สจั ที่สอนคนให
ฉลาดปกครองตัวเองดวย การรสู าเหตทุ างมาของความสุขความทกุ ข และรูวธิ ีแกไขและ
สง เสริมตามเหตกุ ารณทีค่ วร มิไดเปนไปตามท่คี ิดวาพระศาสนาสอนคนในแงร าย จึง
ควรทราบความหมายอันแทจริงของอริยสัจ ซึง่ เปน หัวใจของโลกทุกภูมแิ ละของธรรม
ทุกขั้น ผูหวงั ความเจรญิ จงึ ควรแยกแยะอรยิ สัจไปปฏบิ ัตติ ามเพศและขนั้ ภมู ิของตน จะ
เปน ผเู จริญรงุ เรอื งทั้งปจจบุ นั และอนาคต เพราะไมเคยปรากฏพทุ ธบริษัทรายใด ท่นี ํา
อริยสัจของพระพุทธเจาไปปฏบิ ัตแิ ลว ไดรบั ความเสยี หายและลม จมไป นอกจากจะทาํ
ผนู ้นั ใหเ ปน คนดแี ละประเสริฐ จนกลายมาเปน บุคคลตัวอยางของโลกเทา นั้น ท่กี ลาวนี้
โดยมากเปนอริยสัจท่วั ไป จะเรยี กวา อริยสจั นอก หรอื อรยิ สัจครอบครวั กไ็ ด ตามแต
จะเรียกดวยความถนัดใจ
ตอไปนีจ้ ะอธบิ ายอรยิ สจั ใน อริยสัจนโ้ี ดยมากเกีย่ วกับใจโดยเฉพาะ แตจ ะ
อธิบายเพียงสงั เขปใหพ อดีกบั เวลา เพราะไดอธิบายผา นมามากแลว ผปู ฏบิ ัตติ าม
อริยสจั ภายนอกไดต ามสมควรและสมบรู ณ จนมคี วามสขุ ทางฆราวาสปกครอง แตอ าจ
มีความบกพรอ งทางภายในโดยเฉพาะคอื ใจ เพราะทุกขประเภทนอ้ี าจเกิดไดก ับคนทกุ
ชั้น ไมว า คนมี คนจน นกั บวช และฆราวาสหญิง ชายไมเ ลอื กหนา ถามีจุดบกพรองทุกข
ยอ มมีทางเกิดขึ้นไดเ ชนเดยี วกบั สว นรางกาย จดุ บกพรอ งของใจเรยี กวา สมุทัย แดน
เกดิ ทกุ ขท างใจ ทา นกลา วไวยอ ๆ มสี าม คือ กามตณั หา ภวตณั หา และวภิ วตัณหา
แปลวา ความอยาก ความอยากทงั้ สามนแ้ี ตละอยา งเปนทางที่มาของทกุ ขทงั้ นนั้ เพราะ
เปน เครอ่ื งกดถวงจิตใจ
แวน ดวงใจ แว่นดวงใจ : ภา๑ค๘๑๕อบรมฆราวาส
- ๒๑๘ -
๑๘๖
วิธแี กไ ขคือธรรมเครื่องอบรม เพ่อื บํารงุ ใจใหม ีความสงบสขุ ถาธรรมเครื่อง
บํารุงไมพอกบั ความตอ งการของใจ ใจยอมมีทางเล็ดลอดออกไปสูอ ารมณประเภท
ตา งๆ เพือ่ แสวงหาอาหารเคร่อื งบํารงุ แตอ าหารประเภททีใ่ จตองการน้นั โดยมากเปน
อาหารประเภทน้าํ เกลือ ด่มื เขาไปแลวทําใหรอ นทอ งตอ งการดืม่ นา้ํ บอย จงึ หาความอมิ่
พอในการดื่มไมได ลักษณะของใจทม่ี ีความอยากในอารมณป ระเภททาํ ใหเ กดิ ตณั หา
จงึ หาเมอื งพอไมเจอ ใครจะดม่ื ไปสักเทา ไร และเคยดมื่ มามากและนานเทาไรก็ไมเคย
ไปเจอเอาเมืองพอดี แตไปเจอเอาเมืองหวิ ทง้ั นั้น ทา นจึงกลาวประมาณความอยากใน
อาหารประเภทเหลา นว้ี า นตฺถิ ตณหฺ าสมา นที แมน า้ํ จะเสมอตณั หายอ มไมมี ดังน้ี
น่ีคอื อาหารประเภทที่ดื่มเขาไปแลวทําใหเ กดิ โทษแกผูด ่ืม คือออกรอนทองทํา
ใหชวนดมื่ เสมอ เครอื่ งดื่มประเภทนี้ ถา ขืนด่ืมมาก ๆ และดืม่ ไปนาน ๆ คิดวา ลําไสค ง
ทะลแุ นน อน ถา ไมมียาแกใหห ายตอ งเสียคนและตายกนั ดว ยโรคชนดิ นี้ทุกราย ทา นผูรู
โทษของมันมาแลว จึงสอนใหระวงั และหาหนทางตดั ตัณหาความอยากทัง้ สามนดี้ ว ย
อุบายตา ง ๆ ใหนอ ยลง โดยมกี ารอบรมใจดวยธรรม อันมีรสเยยี่ มยอดเปน ท่ดี ่มื ของใจ
เพอ่ื จะใหจิตปลอ ยวางอาหารประเภทน้ําเกลือนั้นเสีย เหลือแตธรรมรสไวเปนเครื่อง
บาํ รงุ ใจ
การอบรมใจดว ยธรรมจนปรากฏเปนความสงบสุขขนึ้ มา นนั่ คอื ธรรมรสทใ่ี ห
คุณแกผ ดู ม่ื ดื่มไดมากเทาไรกย็ ิ่งเห็นความสงบสุขมากเทาน้นั ท้ังจะทําใหผ ดู มื่ มโี ลกอัน
กวา งขวางและเบิกบานภายในใจ เห็นสัตวเปนสัตว เห็นคนเปนคน เหน็ ส่ิงช่วั เปนของ
ช่ัว เห็นส่งิ ทด่ี ีเปน ของดี เหน็ บุญเปน บุญ เหน็ บาปเปน บาปจรงิ ๆ กลายเปนคนจรงิ ตอ
หลักกรรม ไมเอนเอยี ง ทาํ นองคนขณะทีก่ ําลังหวิ จดั มองเห็นใบไมแ หง กลายเปน ผัก
ตมไป ไดควา มาเปนอาหารและจ้มิ นํา้ พรกิ พอหายหวิ แลว จึงกลบั เหน็ โทษวา ความหวิ
จดั ทาํ ใหตาฝาฟางไปไดฉ ะนั้น ความอยากในอฐานะท่ไี มค วรอยาก ทา นเรียกวา สมทุ ัย
ทุกขค อื โทษท่เี กิดจากอฐานะ เปน ความแผดเผาตวั เองจนจติ ทรงตวั นิง่ ๆ ไมได เพราะ
ถกู ส่งิ ผลักดันใหกระสับกระสา ยอยตู ลอดเวลา หาความสขุ ไมไดต ลอดกาล มรรค คือ
อุบายวธิ ีตดั รอนตัณหาท้ังสามนั้นใหห มดไปเปน ลาํ ดบั นโิ รธ คอื ความดบั ทุกขทางใจ
ดวยอาํ นาจของมรรค คอื การบาํ เพ็ญ
การทาํ คุณงามความดีทกุ ประเภท มีการใหทาน รกั ษาศีล และเจรญิ สมาธิ
ภาวนา แตล ะประเภทจัดวาเปน มรรค คือทางสงั หารทุกข สมุทยั ภายในใจทง้ั น้ัน ผู
ตองการดับทุกขทางใจจงึ ควรเห็นกิจทงั้ นีเ้ ปน กิจจําเปนประจาํ นสิ ยั จนมีความสมบูรณ
แวนดวงใจ กณั ฑ์เทศนท์ ่ี ๑๗- :๒๑อ๑ร๘๙ิย๖ส-ัจนอก อริยสัจใน
๑๘๗
ภายในใจ ทางพน ทุกขไมมใี ครตัดหนามกัน้ ไวเลย จะเปน เสนทางของผูหนีทกุ ขก าวไป
ดวยความบริสทุ ธ์ใิ จ แมท ี่อยูข องผูส้นิ ทุกขกไ็ มม ีใครนาํ ขวากหนามไปปกเสยี บไว เปน
ธรรมชาตทิ ร่ี ่ืนรมยเ ชนเดยี วกับใจที่หมดจากทุกขแลว นัน่ แล
อนึ่ง คาํ วา ทกุ ขใ นชาติน้ี ชาตหิ นา โปรดอยา มองขามใจซง่ึ เปน เจา ทุกขอ ยูข ณะ
น้ี แมส ุขทุกขั้นกม็ ใี จดวงเดยี วน้เี ทาน้นั จะเปน เจา ของผูครองสุขในคตขิ องตน
การแสดงธรรมท้งั อริยสจั นอกและอริยสัจในกเ็ ห็นสมควรแกเ วลา อริยสัจใดที่
เห็นสมควรแกภ าวะของตน โปรดนาํ ไปปฏบิ ตั เิ พ่อื กําจัดทกุ ขท เี่ ก่ียวกบั สง่ิ ภายนอก
และทกุ ขท่มี อี ยภู ายในใจโดยเฉพาะ ใหไ ดร บั ประโยชนเทาที่ควร สมกบั อริยสัจอนั
ประเสริฐเปนของทุกคน เพราะความบกพรองอาจมกี บั ทกุ คน ถาไดนาํ อรยิ สจั ไปแกไข
สวนทีย่ ังเห็นวา บกพรองใหส มบรู ณเ ตม็ ที่ ผลคอื ความสุขอันสมบรู ณจะเปน ที่ยอมรับ
โดยไมล าํ เอยี งตอ ผูใด
ในอวสานแหงการแสดงธรรม ขออํานาจคุณพระรัตนตรยั จงคุมครองรกั ษาให
ทกุ ทานมคี วามรมเย็นเปน สขุ และมีโอกาสบําเพ็ญคุณงามความดีเต็มสตกิ าํ ลัง โดย
ปราศจากอุปสรรคใด ๆ มากีดขวาง และขอใหมีแตความรืน่ เริงสดช่ืนทง้ั หลบั และตื่น
ตลอดอิรยิ าบถ นึกส่ิงใดจงมีมาสนองความตอ งการดงั ใจหวังทกุ ประการเทอญ
www.Luangta.or.th
แวนดวงใจ แวน่ ดวงใจ : -ภา๒๑ค๒๘๐๑๗-อบรมฆราวาส
กัณฑท์ ี่ ๑๘ ๑๘๘
เทคศวนอาบมรวม่าฆงรใาวนาหส ลณกั วธัดรปราบมาชนตาาตดิ
เม่ือวเทนั ศทนี่ อ์๒บ๗รมมฆีนราวคามส พณทุ ธวศดั ักปรา่ บาช้าน๒ต๕าด๐๗
เม่อืคววันทาี่ ม๒โ๗งมแ นี ลาคะมคพวุทาธมศักสรางชส๒ยั ๕๐๗
วันน้จี ะขอโอกาสเลาความโงแ ละความสงสยั ของตน ใหบรรดาทานผูฟ งทราบ
บางเปนบางตอน โดยคิดวา ทกุ คนยอ มมาจากแดนแหง ความโงและความสงสัยดวยกนั
เพราะบิดามารดาทีส่ ืบสายมาจากบรรพบรุ ษุ ผใู หก ําเนดิ สบื ทอดกนั มา คงเปนคนมี
กิเลสสิ่งท่พี าใหโ งเหมือนกนั แมบ รรดาเราท้ังหลายก็คงไมมผี ใู ดแหวกมาเกิดถูกแดน
แหง ความฉลาด และตัดปญ หาความสงสยั ไดแ ตผเู ดยี ว เมอื่ เปน เชน น้ัน ความสงสยั จํา
ตอ งมีอยดู ว ยกนั ฉะน้ันวนั นจี้ ะขอถือโอกาสแกไ ขปญ หาขอ ของใจของแตละทาน โดย
การแสดงธรรมแทนการตอบปญหา ท่ถี ามตามแงแ หง ความสงสัยตาง ๆ กนั นับแต
ปญหาข้นั เร่ิมตนจนถงึ ปญหาขน้ั สูงสุด ซง่ึ ผูแสดงก็ไมแ นใ จวาจะตอบไดห รอื ไม แต
ปญหาท่ีแตละทา นถามรูสึกวาเรียงลําดับกนั ดี พอจะเปนแนวทางของการแสดงธรรม
แทนการตอบปญ หาได
กอนการปฏบิ ัตแิ ละกําลงั ปฏิบตั ิเบื้องตน ความโงแ ละความสงสัยจาํ ตองมดี ว ย
กันทุกคน เพราะธรรมชาติทกี่ ลาวน้ี เคยเปนผูน าํ ของภพชาตทิ ่ีสัตวจ ะมาเกิดทุกราย
การวางรากฐานเบ้อื งตน เรายงั ไมมีตนทนุ มากมาย พอจะมีความฉลาดมาเปนผูนาํ ทกุ
กรณี เมือ่ เปน เชนน้นั ความโงก ต็ อ งมโี อกาสนาํ หนาเราอยูโดยดี เรื่องความโงน น้ี ัน้ ถา
เรายงั ไมเ คยอบรมความฉลาดเปน เครอ่ื งสองทาง เขาซึง่ ครองอาํ นาจอยภู ายในใจ จํา
ตองฉุดลากไปในทางผิดไดเปนธรรมดา การฝก หัดอบรมเบือ้ งตนเทา ทเี่ คยปฏิบัตมิ า รู
สกึ มีความสงสัยในธรรมของพระพทุ ธเจา ทง้ั ปฏปิ ทาเคร่ืองดาํ เนนิ และผลอนั จะพึงได
รับ จะเปน ไปโดยสมบูรณต ามธรรมทีต่ รสั ไวห รอื ไม นเี่ ปนความสงสัยอยา งฝง ใจ ใน
ระยะทมี่ ีความสงสยั ใครจะปฏบิ ัตอิ บรมเพื่อธรรมขนั้ สงู จรงิ ๆ พูดฟงงาย ๆ กค็ อื เพอ่ื
พระนิพพานนัน่ เอง
กอนทีย่ งั ไมค ดิ และสนใจจะปฏิบัตเิ พือ่ พระนิพพานนั้น ความสงสัยดังกลาวก็ไม
คอยปรากฏในใจ คงจะเปนเพราะเรายังไมไดตั้งเข็มทิศหมุนมาทางนี้ พอบวชในพระ
ศาสนาและไดศึกษาขอ อรรถขอธรรม เฉพาะอยางยงิ่ คือพุทธประวตั ิซ่งึ เปนประวัตขิ อง
พระพุทธเจา เสด็จออกบวชจนไดตรสั รู มรรค ผล นพิ พาน อนั ดับตอ มาก็เปนประวตั ิ
ของพระสาวกที่ไดสดับธรรมจากพระพุทธเจาแลว ปลีกตวั ออกไปบําเพ็ญเพยี รในสถาน
ทีต่ า ง ๆ แลวไดตรสั รูข ้นึ มาเปนองคพยานของพระพทุ ธเจา และศาสนธรรม เมื่อได
แวนดวงใจ แวน่ ดวงใจ : -ภา๒๑ค๒๘๒๑๘-อบรมฆราวาส
๑๘๙
ศึกษาเลา เรียนมาถึงระยะนี้ เกดิ ความเชอ่ื เลื่อมใสขนึ้ มาและคดิ อยากบาํ เพ็ญตนใหเปน
เชนนน้ั ดวย
แตว ิธีบาํ เพญ็ เพ่อื เปนเชน นั้นจะบําเพ็ญอยา งไร ธรรมคือ ปฏปิ ทาเคร่อื งดําเนิน
ซ่ึงจะชักจูงจิตใจใหเปนไปเพอ่ื ธรรมขั้นสูง คอื การตรสั รเู หมอื นอยางพระพทุ ธเจาและ
สาวกทง้ั หลายนน้ั บัดน้ีจะสามารถผลิตผลใหเ ปนเชน นั้นไดหรอื ไม หรอื จะเปนโมฆะ
และกลายเปน ความลําบากแกตนผปู ฏบิ ัติไปเปลา ๆ หรอื อาจจะมีผลเชนน้ันอยูอยา ง
สมบรู ณ ตามสวากขาตธรรมทตี่ รสั ไวชอบแลว นี้เปนความสงสยั เบ้ืองตน แตความเชือ่
วา พระพทุ ธเจา ตรสั รูก็ดี พระสาวกตรสั รูเปนพระอรหันตก ด็ ี รสู กึ เชอื่ มน่ั อยา งเต็มใจ
ตามวิสยั ของปุถุชน สิ่งทเ่ี ปนอุปสรรคแกต นอยใู นระยะเริ่มตนน้ี กค็ ือความสงสัยวา
ปฏปิ ทาทเี่ ราดําเนินตามทานจะบรรลุถึงจุดทีท่ านบรรลหุ รือไม หรือวาทางเหลาน้ีจะ
กลายเปนขวากเปนหนามไปเสยี หมด หรอื จะกลายเปน อน่ื จากนยิ ยานกิ ธรรม ทัง้ ๆ ที่
พระพทุ ธเจา และสาวกทงั้ หลายดําเนนิ ไปตามทางสายน้ีแลว ถึงแดนแหงความเกษม นี่
เปนความสงสยั ปฏิปทาฝายเหตุ
ฝายผลกใ็ หม คี วามสงสัยวา เวลาน้ีมรรคผลนิพพานจะมอี ยูเ หมือนคร้ังพุทธกาล
หรอื ไม ความสงสยั ที่ฝงอยูภายในใจทัง้ น้ี ไมสามารถจะระบายใหผหู นึง่ ผใู ดฟงได
เพราะเขา ใจวาจะไมม ีใครสามารถแกไขความสงสัยน้ีใหสิ้นซากไปจากใจได จึงเปนเหตุ
ใหม คี วามสนใจและมงุ หวงั ท่จี ะพบทานพระอาจารยม่ันอยูเ สมอ แมจะยงั ไมเคยพบเห็น
ทา นมากอนเลยกต็ าม แตเ คยไดยนิ กิตติศพั ทกติ ติคณุ ของทานฟุงขจรมาจากจังหวัด
เชยี งใหมเ ปน เวลานานแลววา ทา นเปนพระสําคญั รปู หน่งึ โดยมากผูที่มาเลาเร่อื งของ
ทานใหฟงนั้น จะไมเ ลาธรรมขั้นอริยภมู ธิ รรมดา แตจ ะเลาถึงขนั้ พระอรหตั ภูมิของทา น
ทัง้ น้นั
จึงเปน เหตุใหม ่นั ใจวา เมอื่ เราไดศึกษาเลาเรียนใหเ ต็มภูมคิ าํ สัตยของตนทต่ี ้งั ไว
แลว อยางไรเราจะตองพยายามออกปฏิบัติ และไปอยสู ํานักของทา น และศึกษาอบรม
กบั ทา น เพือ่ จะตดั ขอขอ งใจสงสยั ทีฝ่ ง ใจอยขู ณะน้ีใหจ งได ความสตั ยท ่เี คยตั้งตอ ตน
เองนนั้ คือฝา ยบาลขี อใหจบเพียงเปรยี ญ ๓ ประโยคเทา น้ัน สวนนักธรรมแมจะไมจบ
ช้ันก็ไมถือเปน ปญหา พอสอบเปรยี ญได ๓ ประโยคแลว จะออกปฏิบัติโดยถายเดียว
จะไมยอมศึกษาและสอบประโยคตอ ไปเปน อันขาด นเ่ี ปน คําสัตยท่เี คยต้ังไว ฉะนน้ั การ
ศึกษาเลา เรยี นจงึ มงุ เพอ่ื เปรียญ ๓ ประโยค แตจะเปนกรรมดหี รอื กรรมชั่วอยา งไรกไ็ ม
ทราบได การสอบเปรียญตกอยูถึง ๒ ป ปท ส่ี ามจงึ สอบได แมฝายนักธรรมทีเ่ รียนและ
สอบยังไมจบชนั้ ก็พลอยไดต ามกนั ไปจนจบช้ัน เพราะเรียนและสอบควบกันไป
แวนดวงใจ กัณฑ์เทศนท์ ่ี ๑๘ :- ค๒ว๑๒า๘๓มว๙-า่ งในหลักธรรมชาติ
๑๙๐
พอเดินทางไปถงึ จงั หวดั เชียงใหมก ็เผอิญทา นพระอาจารยม น่ั ถูกทา นเจา คุณ
ธรรมเจดีย จงั หวดั อุดรธานี อาราธนานมิ นตทา นใหไ ปพักจําพรรษาอยูท จ่ี ังหวัด
อดุ รธานี ทานกําลังออกเดินทางออกจากที่วเิ วกมาพกั อยทู ว่ี ดั เจดียห ลวง จังหวัด
เชียงใหมไ ลเ ล่ียกันกับทางนไี้ ปถงึ พอไดท ราบวา ทานมาพกั อยวู ดั เจดียห ลวงเทา นนั้ ก็
เกิดความยินดีเปน ลน พน ตอนเชาไปบณิ ฑบาตกลับมาไดทราบจากพระเลา ใหฟงวา
เชานี้ทานพระอาจารยมัน่ ออกบิณฑบาตสายนแ้ี ละกลับมาทางเดิม ดังน้ีกย็ ิ่งเปน เหตุให
มีความสนใจใครอยากจะพบเหน็ ทานมากขน้ึ จะไมพบซึ่ง ๆ หนา กต็ าม แตขอใหพบ
เหน็ ทา นจะเปน ทพ่ี อใจ กอนทท่ี า นจะออกเดนิ ทางไปจังหวดั อุดรธานี
พอวันรงุ ขน้ึ เชากอนทา นออกบณิ ฑบาต เราก็รบี ไปบิณฑบาตแตเ ชากอนทาน
แลว กลบั มาถงึ กฎุ ี กค็ อยสังเกตตามเสนทางที่ทานจะผานมา ตามท่ไี ดสอบถามกบั พระ
ไวแ ลว ไมน านก็เหน็ ทา นมา จึงรบี เขา ไปในหองกุฎี แลว คอ ยสอดสายตาออกดทู า นภาย
ในหอ งอยางลับ ๆ ดว ยความหวิ กระหายอยากพบทา นมาเปน เวลานาน ก็ไดเ ห็นทานมา
จริง ๆ เกิดความเล่อื มใสในทานขึ้นอยา งเตม็ ท่ีในขณะน้นั วาเราไมเ สียทที ่ีเกดิ มาเปน
มนุษยทั้งชาติ ไดเ ห็นพระอรหนั ตในคราวนเี้ สยี แลว ทงั้ ๆ ท่ไี มมีใครบอกวา ทานพระ
อาจารยม น่ั เปนพระอรหันต แตใ จเรามันหย่งั เชอื่ แนว แนล งไปอยา งน้ัน พรอ มทง้ั ความ
ปต ยิ ินดี จนขนพองสยองเกลาอยา งบอกไมถ กู ในขณะทีไ่ ดเ หน็ ทา น ทง้ั ๆ ทท่ี า นก็ไมได
มองเห็นเราดวยตาเนื้อ
คราวนั้นทา นพกั อยูทวี่ ดั เจดยี ห ลวงไมก ีว่ นั กอ็ อกเดนิ ทางมาจงั หวดั อดุ รธานีกับ
คณะลูกศิษยข องทาน สวนเราพยายามเรยี นหนังสอื อยทู วี่ ดั เจดยี หลวง พอสอบเปรยี ญ
ไดก ็เขาไปกรงุ เทพฯ เพื่อมงุ หนาออกปฏิบตั กิ รรมฐานตามคําสตั ยท ตี่ ง้ั ไว แตถ ูกผใู หญ
สงั่ ใหอ ยทู ีน่ ัน่ ดว ยความเมตตา หวังอนุเคราะหท างดานปรยิ ตั ิ พยายามหาทางหลกี ออก
เพื่อปฏิบตั ิตามความตัง้ ใจและคําสตั ยทีต่ ้งั ไวแ ลว เพราะคดิ วา คําสตั ยไดส ิน้ สดุ แลวใน
ขณะท่สี อบเปรียญได เราจะเรียนและสอบประโยคตอไปอีกไมไดโดยเด็ดขาด ตามปกติ
นิสยั รกั ความสตั ยมาก ถาไดต ั้งคาํ สตั ยลงคราวไหนแลว จะไมย อมทาํ ลายคาํ สัตยน น้ั แม
ชวี ติ ก็ไมร ักเทาคาํ สัตย น่ีอยา งไรจะพยายามออกปฏบิ ัติใหจ นได
เผอญิ ในระยะน้ัน พระผใู หญท ีเ่ ปนอาจารยถกู นิมนตไ ปตา งจงั หวัด เราก็พอมี
โอกาสปลกี ตวั ออกจากกรุงเทพฯไดใ นเวลานน้ั หากวาทา นยังอยูทนี่ ัน้ จะหาทางออกยาก
เพราะทา นก็เปน เจาบุญเจา คุณเหนือกระหมอมเราอยู อาจจะเกรงอกเกรงใจทา น และ
หาทางออกไดย าก พอเห็นเปน โอกาสดีตอนกลางคนื ก็เขา น่งั ตง้ั สจั จาธิษฐาน ขอบันดาล
จากพระธรรม เพอ่ื เปน การสนบั สนนุ ความแนใ จในการออกคราวน้ี เมอ่ื ทาํ วัตรสวด
มนตเ สรจ็ แลว ในคาํ อธิษฐานน้นั มคี วามมงุ หมายวา ถาจะไดอ อกปฏบิ ัติกรรมฐานตาม
แวนดวงใจ แว่นดวงใจ : -ภา๒ค๑๒๙๔๑๐-อบรมฆราวาส
กณั ฑเ์ ทศนท์ ่ี ๑๘ :- ค๒ว๒า๕มว-า่ งในหลักธรรมชาติ
๑๙๒
ทา นถูกนิมนตไ ปจังหวัดสกลนครเสียกอน จึงเลยไปพกั อยูที่วัดทงุ สวาง จังหวัด
หนองคาย ประมาณสามเดือนกวา พอถึงเดอื นพฤษภาคม ๒๔๘๕ ก็ออกเดนิ ทางจาก
หนองคายไปจังหวดั สกลนคร และเดนิ ทางตอ ไปถงึ วดั ทานพระอาจารยม ่ัน ท่ีต้งั อยูบ า น
โคก ตาํ บลตองโขบ อําเภอเมือง จงั หวัดสกลนคร พอไปถงึ วัดพบทา นกาํ ลังเดินจงกรม
อยูเวลาโพลเพล (จวนมืด) ทา นกถ็ ามวา “ใครมา” ก็กราบเรียนถวายทา น จากนน้ั ทา น
กอ็ อกจากทางจงกรมขึน้ ไปบนศาลา เพราะทานพกั อยใู นหอ งบนศาลานนั้ ทา นกท็ กั
ทายปราศรัยดว ยความเมตตา และเอ็นดคู นทีแ่ สนโงไปหาทา น และไดแสดงธรรมใหฟง
ในบทธรรมที่ทา นแสดงใหฟง ในคืนวนั ท่ีไปถงึ ทแี รกนนั้ จะนาํ ใจความยอ เทา ที่
จําไดมาเลาใหท านผูฟง ทราบ และเปนบทธรรมท่ีฝงลกึ อยภู ายในใจจนบัดน้ีวา “ทาน
มหาก็นับวาเรยี นมาพอสมควร จนปรากฏนามเปนมหา ผมจะพูดธรรมใหฟงเพื่อเปน
ขอคิด แตอยาเขาใจวาผมประมาทธรรมของพระพทุ ธเจานะ เวลานีธ้ รรมท่ที านเรียนมา
ไดมากไดน อ ย ยังไมอ ํานวยประโยชนใหทานสมภูมทิ ่ีเปน เปรียญ นอกจากจะเปน
อุปสรรคตอการภาวนาของทา นในเวลาน้ีเทา นั้น เพราะทานจะอดเปนกังวล และนาํ
ธรรมทเ่ี รยี นมาน้ันเขามาเทยี บเคยี งไมได ในขณะที่ทาํ ใจใหสงบ
ดังน้นั เพอ่ื ความสะดวกในเวลาจะทาํ ความสงบใหแ กใ จ ขอใหทา นทีจ่ ะทําใจให
สงบยกบชู าไวก อ น ในบรรดาธรรมท่ีทานไดเรยี นมา ตอ เม่อื ถึงกาลทีธ่ รรมซ่ึงทา นเรียน
มาจะเขามาชวยสนับสนุนใหท านไดร บั ประโยชนมากข้นึ แลว ธรรมที่เรยี นมาทงั้ หมดจะ
ว่ิงเขามาประสานกันกับทางดา นปฏิบัติ และกลมกลืนกันไดอ ยา งสนิท ทัง้ เปนธรรม
แบบพมิ พ ซึ่งเราควรจะพยายามปรับปรุงจิตใจใหเปนไปตามดวย แตเวลาน้ผี มยงั ไม
อยากจะใหทา นเปนอารมณก บั ธรรมที่ทานเลา เรียนมา อยา งไรจิตจะสงบลงได หรือจะ
ใชป ญ ญาคดิ คนในขนั ธ ก็ขอใหท านทําอยใู นวงกายนกี้ อน
เพราะธรรมในตําราทา นช้เี ขา มาในขนั ธท ้ังนัน้ แตหลกั ฐานของจิตยงั ไมม ี จงึ ไม
สามารถนาํ ธรรมท่ีเรยี นมาจากตํารา นอมเขามาเปนประโยชนแกต นได และยงั จะกลาย
เปน สัญญาอารมณคาดคะเนไปท่อี ื่น จนกลายเปนคนไมมหี ลกั เพราะจิตติดปริยัติใน
ลักษณะไมใ ชท างของพระพุทธเจา ขอใหท านนาํ ธรรมที่ผมพูดใหฟงไปคดิ ดู ถาทานต้ัง
ใจปฏิบตั ไิ มทอถอย วนั หนึ่งขางหนา ธรรมท่ีกลาวน้จี ะประทบั ใจทา นแนนอน” เทาทีจ่ าํ
ไดในวนั นัน้ ก็นํามาเลา ใหฟ งเพยี งเทา นี้
เรารสู ึกเกิดความเช่ือเล่ือมใสทานทันที ทไี่ ดเ หน็ องคข องทานชดั เจนในคนื วนั
น้นั พรอ มท้งั ความเชอ่ื ในธรรมท่ีทานเมตตาแสดงใหฟง และทานก็อนเุ คราะหรับไวใ ห
อยใู นสํานกั ของทา นตลอดมา เรากอ็ ยกู บั ทา นดว ยความพอใจจนบอกไมถ กู แตอ ยูดว ย
ความโงเ งา อยางบอกไมถูกอกี เหมอื นกัน เฉพาะองคท านรูสึกมเี มตตา ธรรมานุเคราะห
แวนดวงใจ แวน่ ดวงใจ : -ภา๒๑ค๒๙๖๑๒-อบรมฆราวาส
กณั ฑเ์ ทศนท์ ่ี ๑๘ :- ค๒ว๒า๗มวา่-งในหลักธรรมชาติ
แวน่ ดวงใจ : -ภา๒ค๒๘๑ -อบรมฆราวาส
๑๙๕
ไมวางจากนมิ ิตภายในของตวั เอง จนกวาจะมีความชาํ นาญโดยอาศัยการฝก ซอมไมลด
ละ นมิ ิตภายในใจกน็ ับวันจางไป
สุดทา ยกห็ มด ไมปรากฏนมิ ิตทงั้ ภายนอกภายในใจ นน่ั ทานก็เรยี กวาจิตวาง
วา งชนิดนเ้ี ปน เรอ่ื งวา งประจาํ นสิ ัยของจติ ทม่ี ีภมู ธิ รรมประจําขน้ั แหง ความวางของตน
นไ่ี มใ ชว า งสมาธิ และไมใชว า งในขณะทนี่ ัง่ สมาธิ ขณะท่ีนง่ั สมาธเิ ปนความวา งของสมาธิ
แตจติ ที่ปลอยวางจากรางกายเพราะความรูรอบดวยนมิ ิตภายในก็หมดสิ้นไป เพราะ
อํานาจของสติปญ ญารเู ทา ทันดว ย นีแ่ ลช่อื วาวางตามฐานะของจติ เมื่อถงึ ขัน้ นแี้ ลว จิต
วา งจริง ๆ แมก ายจะปรากฏตวั อยูก ส็ กั แตความรูสกึ วา กายมอี ยูเ ทา นัน้ แตภาพแหง กาย
หาไดป รากฏเปน นิมติ ภายในจติ ไม วา งเชนนแ้ี ลเรียกวา วา งตามภมู ขิ องจิต และมคี วาม
วา งอยูอยางน้ปี ระจํา ถาวา งเชน นวี้ าเปน นพิ พาน กเ็ ปน นิพพานของผนู ้ัน หรือของจิตชั้น
น้ัน แตยังไมใ ชนพิ พานวางของพระพทุ ธเจา
ถา ผูจะถอื สมาธเิ ปนความวางของนพิ พาน ในขณะจิตท่ีลงสสู มาธิกเ็ ปนนพิ พาน
ของสมาธแิ หง โยคาวจรผปู ฏิบตั ิผนู น้ั เสียเทาน้ัน ความวางท้งั สองประเภทท่กี ลา วมานี้ไม
ใชเ ปน นพิ พานวางของพระพทุ ธเจา เพราะเหตุใด เพราะจิตที่มคี วามวา งในสมาธิ จาํ
ตอ งพอใจและตดิ ในสมาธิ จิตทมี่ คี วามวางตามภูมขิ องจิตจําตองมีความดดู ดื่มและตดิ
ใจในความวา งประเภทน้ี จาํ ตองถอื ความวางนเ้ี ปน อารมณข องใจจนกวาจะผานไปได
ถา ผถู ือความวา งนวี้ าเปน นพิ พาน กเ็ รียกวาผูนั้นติดนพิ พานในความวางประเภทนี้โดย
เจาตัวไมรู เมื่อเปนเชนนี้ความวา งประเภทนจ้ี ะจดั วาเปน นิพพานไดอยา งไร
ถา ไมต องการนิพพานข้ันน้ี กค็ วรกาง เวทนา สัญญา สงั ขาร วญิ ญาณออกตรวจ
ตราดใู หชดั เจนและละเอียดถ่ีถวน เพราะความวา งที่กลาวนีเ้ ปนความวา งของเวทนา คือ
สุขเวทนามเี ต็มอยใู นความวา งน้นั สัญญากห็ มายวา ง สงั ขารก็ปรงุ แตเรอื่ งความวางเปน
อารมณ วญิ ญาณก็ชว ยรบั รูทางภายใน ไมเพียงจะรับรภู ายนอก เลยกลายเปน นพิ พาน
ของอารมณ ถา พจิ ารณาสิง่ เหลา นใี้ หช ัดและความวา งใหช ัด โดยเหน็ เปน เร่อื งของ
สังขารธรรม คอื สง่ิ ผสมนน่ั แล จะมชี องทางผานไปไดในวนั หนึง่ แนน อน เม่อื พิจารณา
ตามท่ีกลา วน้ี ขันธทั้งส่แี ละความวางซึง่ เปนส่งิ ปด บงั ความจริงไว กจ็ ะคอ ยเปดเผยตวั
ออกมาทีละเล็กละนอ ย จนปรากฏไดชดั จิตยอ มมที างสลดั ตัวออกได
แมฐ านทต่ี ้งั ของสงั ขารธรรมที่เตม็ ไปดวยสิ่งผสมน้ี กท็ นตอสติปญ ญาไมไ ด
เพราะเปน สิ่งเกี่ยวโยงกัน สตปิ ญ ญาประเภทคนแรแ ปรธาตุจะฟาดฟน เขาไป เชนเดียว
กับไฟไดเชอ้ื ลุกลามไปไมหยดุ จนกวา จะขดุ รากเหงาของธรรมผสมน้ขี นึ้ ไดเสยี เมอ่ื ใด
เมื่อนั้นจึงจะหยุดการรุกการรบ เวลานมี้ อี ะไรทีเ่ ปน ขา ศึกตอ นพิ พานวา งตามแบบของ
พระพทุ ธเจา คือส่ิงท่ีติดใจอยใู นข้ันน้ีและขณะนแี้ ลเปนขา ศกึ ส่ิงทตี่ ิดใจก็ไดแ กความ
แวนดวงใจ กัณฑ์เทศนท์ ่ี ๑๘ :-ค๒ว๑า๒ม๙๙ว๕่า-งในหลกั ธรรมชาติ
แวน่ ดวงใจ : -ภา๒ค๓๐๑ -อบรมฆราวาส
โครงการผา้ ปา่ ชว่ ยชาติ โดยทา่ นอาจารย์พระมหาบวั ญาณสัมปนั โน
ธรรมะเป็นเหมือนกบั ทำ�นบก้ันนำ�้ กเิ ลสตณั หา
ซ่งึ ไมม่ ีวันยบุ ยอบน้ี ให้ยุบยอบลงไปได้
และเหอื ดแหง้ ลงไปโดยไม่มีเหลอื
ถา้ เปน็ ผสู้ นใจนำ�มาปฏิบตั ิปิดก้ันตนเอง
ตามหลักเหตผุ ลท่ีพระพทุ ธเจา้ ประกาศสอนไว้
แมจ้ ะไมม่ คี วามเจริญสุดขีดสุดแดน
ก็ตอ้ งมีความเจรญิ รงุ่ เรอื งตามฐานะของตนที่มีธรรมภายในใจ
จะให้เสยี ผลนน้ั เปน็ ไมม่ ี
(อบรมพระวดั ปา่ บ้านตาด ๑๓ พฤศจกิ ายน ๒๕๑๐)
ธรรมะคร้งั สดุ ทา้ ย
เพราะฉะนัน้ จงึ วา่ บวชคราวน้เี ปน็ บวชครัง้ สดุ ทา้ ยด้วย
เกิดคราวนี้เปน็ เกิดคร้งั สดุ ทา้ ยด้วย จะไมก่ ลับมาเกดิ อีกและจะไม่กลับมาตายอีกตอ่ ไป
๘ เมษายน ๒๕๕๓
มอื ของครูอาจารย์กับมือของลูกศิษยล์ ูกหา ญาติมติ ร เพ่อื นฝูง เปน็ อนั หนึง่ อันเดยี วกัน
ใชแ้ ทนกนั ได้ ไวใ้ จกนั ได้ เชื่อใจกันได้ ตายใจกนั ได้
๑ มกราคม ๒๕๕๔
พระพทุ ธเจา้ องคเ์ ดยี วกัน พระธรรมวินยั กอ็ ันเดียวกัน ใหเ้ อาจรงิ เอาจงั นะ
๑๑ มกราคม ๒๕๕๔
“...อยา่ งพิมพห์ นงั สอื ออกแจกทานซ่านเข้าหัวใจ
สัตว์โลกชมุ่ เย็นไปหมด ผลประโยชน์ออกมาจากจิตใจ
ชุ่มเยน็ มีหลักเกณฑก์ ระจายออกไป หนา้ ทก่ี ารงานกเ็ รียบรอ้ ยดีงาม
ธรรมเขา้ สูใ่ จนี้กระจายออกไปเปน็ มงคลทัง้ หมด
ทา่ นจึงว่าการใหท้ านธรรมนช้ี นะซ่งึ ทานทง้ั ปวง
บอกว่าชนะเลย...”
แว่นดวงใจ เล่ม ๑ ภาคฆราวาส
ชดุ หนงั สือ แว่นดวงใจ แบง่ ออกเปน็ ๓ เล่ม
ภาคฆราวาส ภาคบรรพชิต และภาคสนทนาปญั หาธรรม
ธรรมเทศนา ท่านอาจารยพ์ ระมหาบัว ญาณสัมปนั โน
วดั ป่าบา้ นตาด จงั หวัดอุดรธานี
พมิ พว์ นั ที่ ตลุ าคม ๒๕๖๔
จ�ำ นวน ๗,๐๐๐ ชุด
ทมี่ าของภาพ Facebook : วัดป่าบ้านตาด (ภาพบางส่วน)