The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือ แว่นดวงใจ (ฆราวาส)
โดย
หลวงตาพระมหาบัว ญาณสัมปันโน
วัดเกษรศีลคุณ(วัดป่าบ้านตาด)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ebook.luangta, 2021-09-08 03:07:46

หนังสือแว่นดวงใจ

หนังสือ แว่นดวงใจ (ฆราวาส)
โดย
หลวงตาพระมหาบัว ญาณสัมปันโน
วัดเกษรศีลคุณ(วัดป่าบ้านตาด)

๑๐๙

แสวงหาสารประโยชนอยแู ลว แตอ าจเปน ความเสยี หายแกผ ไู มรอบคอบ และไมร จู กั
ประมาณในทกุ ส่งิ ที่มีประมาณอยูในตวั มนั เอง ฉะนนั้ ดานธรรมทานจงึ สอนใหพยายาม
ฝก หัดดดั แปลงตนเสียแตตนมือ ซงึ่ เปนโอกาสอนั เหมาะสาํ หรับผอู ยใู นระหวา งการศกึ ษา
อบรม จะไดตอสูก ับภาระของโลกและดํารงตนอยใู นฐานะท่คี วร ไมหลดุ ลุย ไปในระหวา ง
ซงึ่ ยงั ไมถึงกาลท่คี วรจะเปน

สําหรบั ดานธรรมะเวลานยี้ งั ไมส าย พอเหมาะกบั เราผูกําลังตงั้ หนาศกึ ษาและ
ปฏิบัตอิ ยู โปรดพยายามตักตวงคณุ งามความดใี หเพยี งพอกับความตองการ ในอนาคต
ขา งหนา หากวา เช้ือแหง ภพชาติของเรายงั มอี ยูตราบใด คณุ งามความดอี นั เปน สง่ิ อาศยั
เพือ่ เสวยผล จะเปน สมบัติคอยรบั รองเราอยตู ราบน้นั เพราะใจมีอาหารประเภทหน่งึ คอื
อารมณ กายมอี าหารประเภทหนง่ึ มขี าว น้ํา เปน ตน ทง้ั สองน้ีมีอาหารเครอ่ื งบาํ รุงตา ง
กัน แมอ าศัยกนั อยู เครือ่ งบํารงุ ใจไดแ กบ ญุ กุศลที่เราบาํ เพ็ญมาเปน ลาํ ดบั นบั หลายภพ
หลายชาติ โดยการใหทาน รักษาศลี และเจรญิ ภาวนา การภาวนาตามความรูส กึ ของนัก
บําเพญ็ เห็นวาเปนของยาก แตม ีผลมาก เพราะเปน ของทาํ ยาก เราควรสนใจ

อนงึ่ การนึกภาวนาไมไดเ สยี อัฐเสียสตางคอะไรเลย และทาํ ไดทกุ เวลาทตี่ อ งการ
การฝนใจทาํ ความดนี ้นั ไมผ ดิ จากหลักธรรมของพระพุทธเจา และทา นทรงชมเชยมากนัก
เพราะพระองคไดต รสั รเู ปน พระพุทธเจาเพราะการฝนใจ เราเปน ลกู ของทานตองเดิน
ตามรองรอยของทาน จะชอ่ื วาลูกศษิ ยมคี รู

การฝน ใจเพอ่ื ธรรมนัน้ กเิ ลสเขาไมชอบ เพราะกเิ ลสเปนส่งิ ท่ีชวั่ และโสมม เขาจงึ
ไมชอบธรรมซง่ึ เปน ของดีและสะอาด ทัง้ ไมอ ยากเดินทางรว มดว ย แตถาคลอยตามเขา
แลว เขายนิ ดดี ว ยวนั ยงั คํา่ เวลาํ่ เวลาไมต องมี เขายนิ ดีตลอดกาล น่นั คือส่ิงที่เขาชอบจรงิ
ๆ แตกลับเปน พษิ แกเรา สง่ิ ทีเ่ ราชอบ เขากลบั ไมชอบ เพราะเปน ภยั แกเขา กิเลสอาสวะ
นรี้ สู ึกมมี ารยาและอบุ ายอนั แหลมคมมาก เชน เวลาเขาเขา สงิ ใจ ทาํ ใหเ ราชอบเขาและ
หลงไปตามทนั ที กวาจะรูสึกตัวและฉดุ ลากกลับมาได คลายกบั เขาควักเอาดวงหทัยวตั ถุ
ไปกนิ เสยี ครงึ่ หนง่ึ แลว เรารูส กึ ชอกชํา้ ใจไมน อย ขณะท่ีเขาเขาถงึ ตัว แมจ ะฝนนึก พุทโธ
ธัมโม สงั โฆ แหม รสู กึ ลําบากมาก ประหนง่ึ ใจจะขาดไปในเวลาน้นั จนได

แตถ าปลอยไปตามเขาใหเ ขาพาไป พาเท่ยี วชมนัน่ ชมน่ี เขา ตรอกนน้ั ออกซอยนี้
เขา รา นนน้ั ข้ึนหองนี้ พักโฮเต็ลนั้นโรงแรมน้ี เขาโรงโนน ออกโรงนี้ รูสึกวา นกึ งาย เทีย่ ว
งาย ไปงา ย อยงู า ย พักงาย นอนงาย อยางคลอ งปากคลองใจขนึ้ มาทันที สิง่ ท่ยี ังไมเคยรู
เคยเหน็ เขาวาดภาพใหดทู นั ทแี ละเชอ่ื เขาอยา งทนั ควัน ยอมจํานนทนั ที เรอื่ งความ

แวนดวงใจ ๑๐๙

กณั ฑ์เทศนท์ ่ี ๑๐- :๑๓ป๕ัญญ- าถอดถอนกิเลส

๑๑๐

ชํานาญของกเิ ลสท่เี คยปกครองใจเรา มนั ปกครองงายอยา งนี้เอง ใครก็รกั และเคารพมัน
มาก ไมอยากใหน ายคนนี้จากไปไหน ไมคอยมีการตําหนมิ ันวาไมด ี แตชอบกนั ทัง้ นั้น ยิง่
ผูแ สดงดว ยแลวกย็ ่ิงถกู มันตมยําเอาอยางสด ๆ รอ น ๆ ไมม คี วามเกรงขามเราบา งเลย
นับประมาณไมได เพราะตัวเราเองกช็ อบอยา งนั้น จะใหม ันเกรงเอาอะไร ฉะน้ัน การฝน
กิเลสจึงเปน การฝนยาก นาเห็นใจทั้งทานและเรา เพราะมคี วามรูสึกเชน เดยี วกนั

การอบรมใจท่วี า ยาก ๆ กเ็ พราะกิเลสมันฝนน่นั เอง แตโปรดทราบวา กิเลสมัน
กลวั ธรรม ถา คนมธี รรมกเิ ลสก็พลอยกลัวดว ย ไมก ลามาทะล่งึ มากนัก เพราะธรรมมี
ความคมคายกวา กเิ ลสอีกมากมาย พูดถงึ รสชาติก็ย่ิงกวารสชาติของกเิ ลส พดู ถงึ ความสงู
ของธรรมกบั ความตาํ่ ของกเิ ลสกห็ าที่เทียบไมได เพราะไมมอี ะไรเหมอื นธรรม นี่ก็พอจะ
ทราบไดว าธรรมมปี ระสทิ ธิภาพสงู เพยี งไร กิเลสตํา่ เพยี งไร ธรรมมีความเบาเพียงไร
กเิ ลสมคี วามหนักหนว งเพียงไร ดงั นน้ั พระพทุ ธเจา จงึ ทรงชมเชยและเคารพธรรม แตท รง
ตําหนิกเิ ลส ทั้ง ๆ ท่ที รงผานมาเชนเดยี วกนั

ทา นนักปฏบิ ัติพอจะนาํ กิเลสโสมมมาช่งั ตวงเทยี บกบั ธรรมไดบ างไหมวา ทางไหน
จะมนี าํ้ หนกั ทางคณุ สมบัตเิ ชิดชใู จใหมคี วามเกษมสาํ ราญ และกดถวงจิตใจใหไดรบั ความ
ทุกขท รมานมากนอยตา งกันอยา งไรบา ง เทาทท่ี ราบมาในวงปราชญ คอื บคุ คลที่แนนอน
มพี ระพุทธเจา เปน ตน ลวนแตชมเชยธรรมวา เปน นยิ ยานกิ ธรรมท้งั นนั้ และทรงตําหนิ
กเิ ลสวา เปนเคร่อื งผูกมดั มวลสตั วใ หอ ยูในวงลอมแหงวัฏจักร และถกู ทรมานใหไดรับ
ความทุกขช อกชา้ํ อยูตลอดกาล ถา ทราบชัดวา ธรรมเปน ธรรม กิเลสเปน กเิ ลส ทาํ นองเห็น
กงจักรเปน กงจักร เห็นดอกบัวเปน ดอกบัว โดยเหตผุ ลทีถ่ ูกตอ งแลว ควรเลือกหาทาง
เดนิ อยางมน่ั ใจไดแ ลว เด๋ยี วจะสายเกินไป โปรดรีบ ๆ แจว รบี ๆ พาย เดีย๋ วตะวนั จะ
สาย ตลาดจะวาย สายบัวจะเนาและขายไมอ อก คือรีบเรงบําเพญ็ ขอวัตรปฏบิ ตั ิ สมาธิ
ปญญาใหม กี าํ ลงั ในเร็ววัน

เพราะรางกาย อยาเขา ใจวาไมก า วเดินทุกระยะ เพ่อื ความแกชราตลอดถึงความ
ตาย ไมเคยมีจุดหมายบอกไวว า วนั นนั้ เดือนนน้ั ปนัน้ นาทีนั้น ชวั่ โมงน้นั เปนเวลาทีเ่ ขา
จะตาย แตต ายไดท ุกกาลสถานท่ีและไมเลือกบุคคล ตลอดชาตชิ ้นั วรรณะ เม่อื ถึงข้ันตาย
แลวจะทําอะไรไมไ ดอกี ตอ ไป เทา กับขายไมอ อก นอกจากปลอยใหเนา เปอยท้งิ ไปเทา น้นั
อยา มวั เพลนิ กับส่ิงทเ่ี กิด ๆ ดับ ๆ อยเู พียงเทา นัน้ จะเสียการ เพราะพระศาสนามไิ ดสอน
เพียงเลน ๆ แบบนง่ั ๆ นอน ๆ อยูเ ปลา ๆ โดยไมคดิ อา นไตรต รองเพ่อื หาทางออก แต
สอนเร่ืองทกุ ขเ พอ่ื ใหร ูเ ห็นทกุ ขจริง ๆ สอนเรอ่ื งสขุ เพอ่ื ใหเห็นสขุ จริง ๆ สอนเรอ่ื งกเิ ลส

แวนดวงใจ ๑๑๐

แวน่ ดวงใจ : -ภา๑ค๓๖๑ -อบรมฆราวาส

๑๑๑

เพือ่ ใหเหน็ และถอนตวั ออกจากกิเลสจรงิ ๆ และสอนอบุ ายวธิ ดี ับกิเลสและกองทกุ ขเพื่อ
ใหรแู ละดับไดจ รงิ ๆ ฉะน้ันทานจึงประกาศวาธรรมเปน ของจริง มไิ ดบ อกวาธรรมเปน
ของเลน เหมือนตกุ ตาพอจะทํากนั แบบเลนๆ และหลบั ๆ ตน่ื ๆ เหมอื นคนขี้เกยี จ
เพราะพระพุทธเจามใิ ชค นขเี้ กียจมาส่งั สอนโลกใหเปนคนเกยี จครานออ นแอ ทาํ อะไรไม
เปน ชน้ิ เปนอัน

พระพทุ ธศาสนาสอนคนใหเ ห็นบุญเห็นบาปในปจ จบุ นั เพราะกรรมดี กรรมช่ัว
เรากท็ ํากนั อยูในปจจุบนั ผลก็ควรจะรใู นปจจบุ นั คือวันนี้ ชาตนิ ้ี สว นทเ่ี ศษจากปจ จบุ ัน
อันตางแหงกรรมซ่งึ ควรจะใหผ ลในระยะสนั้ หรอื ระยะยาวนัน้ กค็ วรใหเ ปน ไปตามกรรม
และตามกาล จะเปนโลกหนา หรอื ชาตหิ นา ยกใหแกก รรมและจติ ผเู ปน เจา ของแหงกรรม
ทั้งระยะสัน้ และระยะยาว แมเ ชนนนั้ ผูบาํ เพญ็ จิตตภาวนากย็ งั มีทางจะรูวา จิตของตนยัง
จะมที างสบื ตอกับภพชาติซึง่ ควรจะมีกรรมเกย่ี วขอ งอยหู รอื ไม ตลอดความบริสุทธ์ิของ
จติ อนั เปน วาระสุดทาย จาํ ตองทราบขึ้นมาเปน ลาํ ดบั ไมเ ชนนัน้ พระพุทธเจา จะสั่งสอน
โลกไดอ ยางไร เพราะทานไมท รงทราบความตรสั รูของทา น แตท ่ีทรงสั่งสอนโลกไดอ ยา ง
เต็มภูมขิ องพระพทุ ธเจา กเ็ พราะ ปจฺจตตฺ ํ เวทติ พโฺ พ วิฺ ูหิ นนั่ เอง เปนเครื่อง
ประกาศพระองคเ อง และ สนทฺ ฏิ ฐโิ ก สําหรบั ผบู รรลุจําตองรปู ระจักษใ จโดยทั่วกัน

ดังน้นั โปรดยดึ ธรรมที่ทรงรูจ รงิ เหน็ จริงไปปฏิบตั อิ ยางเอาจรงิ เอาจัง ผลทจ่ี ะควร
ไดรับจะไมเ ปนทํานองคอยรับรางวัลจากครู แตจ ะรูขึน้ มาทีด่ วงใจอนั บริสุทธห์ิ มดจดแลว
นน่ั แล จึงยตุ ธิ รรมเพียงเทาน้ี เอวํ

www.Luangta.or.th

แวน ดวงใจ ๑๑๑

กัณฑ์เทศน์ท่ี ๑๐- :๑๓ป๗ญั ญ-าถอดถอนกิเลส



กณั ฑท์ ่ี ๑๑

พุทธประวตั ิ

เทศนอ์ บรมฆราวาส ณ วัดปา่ บา้ นตาด
เมอ่ื วนั ท่ี ๑๕ พฤษภาคม พุทธศกั ราช ๒๕๐๘

กณั ฑ์เทศนท์ ี่ ๑๑ : พทุ ธประวัติ
- ๑๓๙ -

๑๑๓

เสดจ็ ประพาสไปในสถานท่ีใดและคราวใด กเ็ ผอิญใหทรงพบแตส งิ่ ท่ีทาํ ใหสลดพระทยั คือ
เมื่อเสดจ็ ประพาสพระอทุ ยานครัง้ แรก กไ็ ดท อดพระเนตรเห็นทารกพง่ึ คลอดใหม ๆ ตัว
เลก็ ๆ นอนคลกุ เคลา กับฝนุ ปราศจากผูใหความอารักขาเพ่อื ความปลอดภัยอยูระหวาง
ทางเสด็จ พระองคท อดพระเนตรเห็นและพิจารณาจนเกดิ ความสลดสังเวชพระทัยในทารก
แลว รับสง่ั ใหพ าเสดจ็ กลบั พระราชวงั

เสด็จประพาสวาระที่สอง ก็ไดท อดพระเนตรเหน็ คนแกถอื ไมเทา เดนิ งกงนั อยดู วย
ความทุกขท รมานในระหวางทางเสดจ็ ก็ทอดพระเนตรเห็นและสลดพระทยั แลว รบั สง่ั ให
พาเสดจ็ กลบั เสดจ็ ออกประพาสวาระทีส่ าม กไ็ ดทอดพระเนตรเห็นคนตาย ซ่งึ ในพระราช
วังไมค อยจะมีคนประเภทท่ีนา สลดสงั เวชปะปนอยู เพราะเกรงจะกระเทอื นพระทัยแลว จะ
เสด็จออกผนวช เนอ่ื งจากทางสาํ นักพระราชวังเคยทราบจากนกั ทาํ นายไวกอนแลววา พระ
องคมีคตเิ ปน สอง คือ หน่ึง ถา ครองราชสมบตั จิ ะไดเปนพระเจา จกั รพรรดิ สอง ถาเสด็จ
ออกผนวชจะไดตรัสรูเ ปนพระพุทธเจา ดังนั้นจงึ มกี ารกวดขันกนั โดยทางลับ เม่ือเสด็จออก
ประพาสวาระทส่ี ี่ กไ็ ดทอดพระเนตรเหน็ เพศสมณะ ซึ่งเปนเพศท่ตี อ งพระทัยเพื่อทาง
ดาํ เนนิ ของพระองคผ เู ปนหนอพระโพธิญาณอยแู ลว

แตสมณะในคร้งั นน้ั จะเปน สมณะประเภทใดนั้น สันนษิ ฐานยาก ถาเปน ประเภทนกั
บวชนุงเหลอื งหม เหลอื ง เชน ประเพณีของพระไทยเรากค็ งจะยงั มีขึ้นไมไ ด เพราะพระพทุ ธ
ศาสนาท่ปี ระสทิ ธิ์ประสาทสมณะประเภทนีย้ ังไมอบุ ัติ คงจะเปนสมณะท่ีมีอยตู ามประเพณี
นิยมของคนสมยั นนั้ ที่บวชแลวเท่ียวทาํ ความสงบ กาย วาจา ใจ ดวยการประพฤติตบธรรม
อยูตามลัทธิของตน และเคยมีเกลื่อนอยใู นโลกมาเปนเวลานาน ทงั้ สวี่ าระท่ีพระองคท อด
พระเนตรเห็นนเ้ี ปน เรือ่ งทเ่ี ก่ยี วกบั จะเตอื นพระบารมีท่ที รงบาํ เพ็ญมา ใหส นพระทัยเพอ่ื
บาํ เพ็ญพระบารมีใหยงิ่ ขน้ึ ท้ังพระองคเ องก็สนพระทัยตอ สภาพทงั้ ส่นี ้ี จนเกิดความสลด
สังเวชเตม็ พระทัย

ในวาระสุดทา ยท่ีทรงเหน็ เพศสมณะ รสู กึ วา เปน เพศท่มี ีความสงบเสง่ียม นา
เลอื่ มใสและยนิ ดี เปนเหตุใหพระองคพ อพระทยั อยากจะบําเพญ็ พระองคใ นเพศนน้ั มาก
ขนึ้ ในราตรวี นั นน้ั คลา ยกบั พระบารมบี นั ดาล ใหทรงคิดอา นไตรต รองเรอ่ื งโลกและธรรม
และทรงยอนกลบั ไปพจิ ารณาเรื่องเกดิ แก เจบ็ ตายซ่งึ ปรากฏในคลองจักษคุ ราวเสด็จ
ประพาสอยางตดิ พระทัย ทรงเทียบพระองคกับสภาพท่ปี ระสบนั้นเขาในลกั ษณะเดียวกัน
วาความเกิดของเรากบั เด็กทที่ รงเห็นนน้ั มีเทา กนั ความแกข องเรากบั คนแกทท่ี รงเหน็ นน้ั มี
เทากนั ความทุกขของเรากับคนที่ทรงเห็นเปน ทกุ ขน นั้ มเี ทากนั ความตายของเรากบั คนท่ี

แวน ดวงใจ ๑๑๓

แว่นดวงใจ : ภาค ๑ อบรมฆราวาส
- ๑๔๐ -

กณั ฑ์เทศน์ท่ี ๑๑ : พทุ ธประวัติ
- ๑๔๑ -

๑๑๕

และสงเสียงรบกวนพระทัยใหท รงพล้งั เผลอพระองค ทรงมโี อกาสรําพึงไตรตรองสภาพ
การณทุกดานอยางเตม็ พระทยั

พอทรงยตุ จิ ากเหตุการณในวาระนั้น แลวกาวเสด็จออกทางพระทวารทเี่ ปดไว ก็พอ
ดีกับเหตกุ ารณท่ีทรงพจิ ารณาพ่งึ ยุตลิ งนนั้ มาแสดงความจรงิ ขึน้ กับคณะนางบาํ เรอผขู บั
กลอมโดยทางอากัปกิริยา ไมเ ปนที่พอพระทัยและนา สลดสังเวชยง่ิ ขึน้ อกี บางนางนอนใน
ลักษณะของคนตายแลว บา งก็ทงิ้ แขง ทงิ้ ขาท้ิงอวัยวะ บา งก็เปลือยทอนหนา บา งกเ็ ปลือย
ทอนหลงั บา งกเ็ ปลอื ยหมดทั้งอวัยวะ นาํ้ ลายไหลออกมุขทวารเหมอื นคนกําลังสลบไสล
บา งกก็ ดั ฟน กรอดๆ และบนพึมพาํ ทั้ง ๆ กําลงั หลับอยู เครื่องดนตรตี กทงิ้ เกลอ่ื นอยตู าม
บริเวณอยางไมมรี ะเบยี บสวยงามอะไรเลย ทอดพระเนตรไปทางทศิ ใดในบรเิ วณน้ัน มี
ลักษณะเชน เดยี วกนั หมด ซง่ึ แตกอ นมาไมเ คยแสดงอาการเชนนี้ ปรากฏแกพ ระทยั ในเวลา
นัน้ เหมอื นปาชา ผดี บิ ท้งั เปนสกั ขพี ยานกบั สภาพการณที่พง่ึ พิจารณามาอยา งสด ๆ รอน ๆ
อีกดวย

สดุ ทจ่ี ะทนอยูใ นปาชาผดี ิบเชนนไ้ี ด จึงเสดจ็ กลบั เขาในหอ งพระบรรทม จะเสด็จ
เยยี่ มพระราหลุ พระปโ ยรส กเ็ กรงพระชายาจะทรงตืน่ จากบรรทม และจะเปนอปุ สรรคตอ
การทรงผนวช ทรงขบพระทนตกล้ันพระทัยจาํ เสด็จจากไปในราตรีวันน้นั โดยไมท รงอําลา
ใคร ๆ มนี ายฉนั นอํามาตยและมา กณั ฐกะตามเสดจ็ มีพระทยั มงุ ตอ การทรงผนวชอยาง
แรงกลา เมอ่ื เสดจ็ ถึงสถานทแ่ี ละทรงผนวชเสร็จแลว กท็ รงรับสั่งใหน ายฉนั นะนํามากลับ
พระราชฐาน สวนพระองคก็กลายเปน นักบวชและเปน คนขอทานเขามาเสวย พอยงั ชีวติ ให
เปน ไปในวันหนึง่ ๆ และทรงบําเพ็ญพระบารมอี ยา งสดุ กาํ ลังของมหาวรี บรุ ุษ ทรงสละทฐิ ิ
มานะ สละพระราชสมบัติ ไพรฟาประชาราษฎรแผน ดินกวางแคบ พระชนกชนนี พระชายา
และพระโอรสสดุ ทร่ี กั ตลอดตําแหนงพระมหากษตั รยิ  ทรงสละโดยไมม คี วามอาลัยเสยี
ดาย

ประทบั อยูในปาในเขาอันเปน สถานที่ใคร ๆ ไมพึงปรารถนา ความเปนอยทู ุกอยา ง
ยอมมคี วามลําบากและฝดเคืองไปตาม ๆ กัน เพราะศาสนายังไมม ี คนชาวปา เปน ผูใหท าน
ทุกส่ิงทอี่ าศัยเขาตองเปน ปา ไปตามคน ทรงเขา อยูอ าศยั ดวยความลําบากเชนนนั้ ถงึ หกป
จงึ ไดตรสั รเู ปนพระพทุ ธเจา ข้ึนมาในโลก ไมใ ชเปนกิจท่ีทาํ ไดอ ยางงายดายเลย วันพระองค
ตรสั รู ตรงกับวันเพญ็ เดือนหก ซ่งึ คลายกับวนั นี้ นับวาเปน วันอุดมมงคลอยางย่ิงสาํ หรบั
พวกเรา ท่ไี ดพรอมกนั มาทงั้ ทางใกลแ ละทางไกล มาทาํ ความระลึกกราบไหวถงึ พระองค
ทา น

แวน ดวงใจ ๑๑๕

แวน่ ดวงใจ : ภาค ๑ อบรมฆราวาส
- ๑๔๒ -

๑๑๖

พอสําเร็จดงั พระทยั หมายแลว กไ็ มทรงทาํ ความขวนขวายนอ ย เสวยสขุ เฉพาะพระ
องคผ เู ดยี ว ยงั มีพระมหากรณุ าธิคุณอยา งยง่ิ ในมวลสตั ว ทรงเทีย่ วแนะนําสง่ั สอนเวไนยชน
ผมู อี ุปนสิ ัยควรแกการอบรม พระปฐมฤกษแหง ธรรม ทรงแสดงแกพ ระเบญจวัคคียท ้ังหา
ดวยพระธัมมจักกัปปวัตตนสูตร จนไดบรรลุธรรมเบ้อื งตนคือ พระโสดาบนั อันดับตอไปก็
ทรงแสดงอนตั ตลักขณสตู ร จนทานทง้ั หา ไดสําเรจ็ พระอรหันต เปน พระอรยิ บุคคลขน้ั สูง
สดุ ขน้ึ มาในวงพระศาสนา เพราะพระปรชี าสามารถของพระองค จากน้ันก็ทรงรบั สั่งแกพ ระ
สาวกเหลา นน้ั ใหชว ยประกาศพระศาสนาสง่ั สอนประชาชน โดยรบั ส่ังมใิ หไปซ้ํารอยกัน
แหง ละสององค เพราะพระสาวกมีนอ ย เกรงจะไมท วั่ ถงึ ประชาชน

บรรดาสาวกซง่ึ เปน ทไ่ี ววางพระทยั ของพระพทุ ธเจา และไวใจตวั เองไดอ ยางเตม็ ที่
แลว ก็เที่ยวแนะนาํ ส่ังสอนประชาชนใหร จู กั ศาสนาวา มสี วนสําคัญและเก่ยี วขอ งกบั ตน
อยา งไรบา ง บรรดาประชาชนเมอ่ื ไดรับการแนะนาํ ส่งั สอน ยอมซาบซงึ้ ในรสพระสัทธรรม
และรจู ักการทําบญุ ใหทาน รักษาศลี เจรญิ ภาวนา ตลอดคณุ งามความดีประเภทตางๆ ที่
ควรไดควรมแี กต น จนสาํ เร็จมรรคผลขึน้ มาในทามกลางแหงการสั่งสอนก็มี ผไู ดร บั การสงั่
สอนแลวนาํ ไปปฏิบัตโิ ดยลําพงั ตนเอง จนสาํ เรจ็ มรรคผลข้นึ เปนช้นั ๆ ก็มี ทง้ั ฝายนักบวช
และฆราวาส

เมื่อสาวกมจี ํานวนมากขนึ้ และตางกช็ ว ยกันส่ังสอนเพ่ือพุทธภาระใหเ บาลง พระ
ศาสนาก็แผก ระจายไปทกุ ทิศทกุ ทาง นบั แตพระพุทธเจาตรัสรู และทําการสงั่ สอนเวไนยชน
มาเปน เวลา ๔๕ พรรษา พระศาสนานบั วา เจรญิ แพรห ลาย และผดิ ปกตกิ วา ศาสนาทัว่ ๆ
ไปที่ทาํ การสัง่ สอนกนั อยใู นสมัยน้ัน เน่ืองจากพระธรรมทพี่ ระพทุ ธเจา ตรสั รูน้ัน เปน ธรรม
ทอ่ี ัศจรรยย่ิง คนในสมยั น้นั ไมมใี ครสามารถจะรไู ด มพี ระพทุ ธเจาพระองคเดยี วทรงรูเปน
พระองคแ รก จงึ ทรงสามารถประกาศพระศาสนาไดอยางกวา งขวาง พอพรรษาที่ ๔๕ ลว ง
แลวจึงเสด็จดับขนั ธป รนิ ิพพาน แมเ ชน นัน้ ยังทรงเมตตาประทานหลกั พระศาสนาไวเ พ่อื
เปนองคแทนศาสดา

ในขอ นม้ี ีพระสาวกบางทานกราบทลู ถามพระพุทธเจา ดวยความวิตกกงั วลและนอย
ใจ โดยเกรงวาเวลาพระองคปรินพิ พานแลวจะไมมีครูอาจารยแ นะนําส่ังสอน พระองคก็
ทรงยกพระธรรมวินยั ขึน้ แสดงเปนองคแทนศาสดาวา “พระธรรมและพระวินัยนีแ้ ล จะ
เปนศาสดาแทน เม่ือเราตถาคตลว งลบั ไปแลว ผูใ ดมีความจงรักภกั ดี มีความเช่อื เลื่อมใส
ในตถาคต และมีความมุงหวังจะเปล้อื งทกุ ขเพอื่ บรรลมุ รรคผลนิพพาน ผูนัน้ จงมีความ
เคารพในพระธรรมวนิ ัยทต่ี ถาคตสงั่ สอนไวแลวเถดิ เพราะหลกั ธรรมทีเ่ ปน องคแทน

แวน ดวงใจ ๑๑๖

กณั ฑเ์ ทศน์ที่ ๑๑ : พทุ ธประวตั ิ
- ๑๔๓ -

๑๑๗

ตถาคตลวนเปน สวากขาตธรรม ท่ีกลาวไวชอบแลว ท้ังนั้น ไมม สี ิ่งใดจะบกพรอ ง และแสดง
ไวแลวดวยความบริสทุ ธใิ์ จ ท้งั เปนนิยยานกิ ธรรม สามารถยงั ผูปฏิบัตติ ามใหพนจากทุกข
ไดโดยชอบ เชนเดยี วกับตถาคตยังอยู แมการผา นไปแหง เราก็ไมมีอะไรจะกระทบ
กระเทอื นถงึ มรรคผลนพิ พาน อันผปู ฏบิ ัตจิ ะพึงไดพึงถึงดว ยขอ ปฏบิ ตั ิของตน

อนึง่ การปรินพิ พานเปน เร่ืองจติ ท่ีบรสิ ทุ ธ์ิ จะเคลอ่ื นยา ยจากกองสังขารอันเปน สว น
ผสมจะสลายจากกันเทา น้นั หาไดกระทบกระเทอื นแกวงพระธรรมวนิ ยั อันเปนทางพน
ทกุ ขของผปู ฏบิ ตั ิชอบและผมู คี วามบริสทุ ธท์ิ ัว่ ๆ ไปไม และการปรนิ ิพพานเปน เร่อื งของ
เราตถาคตโดยเฉพาะ ไมเ กีย่ วกับมรรค ผล นิพพานอันพึงไดพึงถึง จะมสี วนเสียหายไป
ดว ยแตอยางใด เพราะสวากขาตธรรมที่เราตถาคตแสดงไวแลว กเ็ พ่อื มรรคผลนพิ พานทัง้
นนั้ ไมมีธรรมบทใดบาทใดจะบกพรองไปตามการปรินพิ พานของเรา ฉะนน้ั ทกุ ทานจงม่นั
ใจและแนใ จตอหลกั พระธรรมวินัยที่เราไดแ สดงไวแลว นแ่ี ลจะนาํ ทา นท้งั หลายใหพน ทุกข
โดยสมหวัง”

ดังน้นั พวกเราผูมคี วามตั้งมน่ั ตอ หลกั ธรรม ประพฤติใหเ ปน ไปอยู จงึ เทา กบั ไดเ ขา
เฝาพระพุทธเจา อยูตลอดกาล เพราะคาํ วา “ศาสดา” นน้ั มไิ ดห มายถึงพระรปู พระโฉม
โดยเฉพาะ เพราะเปน สภาพมอี ันแตกสลายเชน เดียวกบั สิง่ ท่วั ๆ ไป แตห มายถึงพระทยั ที่
บรสิ ทุ ธ์ิ และพระธรรมที่ตรัสไวโ ดยชอบธรรม ซ่งึ เวลาน้ียงั สถิตอยกู ับผบู าํ เพญ็ ทุกทา น มิได
นพิ พานไปตามพระองค โปรดยดึ หลักธรรมนไี้ วบ นเศียรเกลา ตลอดเวลา จะเปน การบูชา
พระพุทธเจา ตลอดกาล

จวนวาระสดุ ทายก็มีผูมาทูลถามวา เมอ่ื พระองคป รินพิ พานไปแลว นานประมาณ
เทาไรพระอรหันตจะสนิ้ สูญจากโลก มรรคผลนพิ พานจะยังมอี ยใู นโลกนานประมาณเทา ไร
พระพทุ ธเจา ตรสั วา “กห็ ลกั พระธรรมวนิ ัย ตถาคตมไิ ดแ สดงใหผ ิดจากเหตุผลอนั เปนฐาน
ท่เี กิดขนึ้ แหง มรรค ผล นิพพาน พอผูป ฏิบตั ติ ามจะผดิ หวังในกาลทล่ี วงไปแลว แหง เรา แต
เราแสดงเพื่อมรรค ผล นิพพานทงั้ นนั้ เหตุใดจงึ ตอ งมาถามอยา งนนั้ ผใู ดมีความสนใจใคร
ตอ การปฏิบตั ธิ รรมที่เราแสดงไวช อบแลว ผนู ัน้ จะไดร ับความเปน ธรรมอยูตลอดกาล ทั้งที่
ตถาคตยงั มชี ีวติ อยู และตถาคตนิพพานไปแลว เพราะสวากขาตธรรมไมนิยมกาล สถานท่ี
บุคคล แตเปนอกาลโิ กอยตู ลอดกาล ถา ยงั มผี ปู ฏบิ ัตธิ รรมสมควรแกธ รรมอยตู ราบใด พระ
อรหันตจ ะไมส ูญสน้ิ จากโลกอยตู ราบน้นั

ฉะน้นั จงึ ไมควรสงสยั ในส่งิ ท่ีไมน า สงสัย แตควรสงสยั ในตัวเอง วา เวลานเ้ี รามคี วาม
ขยันหมน่ั เพยี รตามหลักธรรมของพระพทุ ธเจา สอนหรือไมเทาน้นั เปน ส่ิงที่ควรสนใจในตวั

แวนดวงใจ ๑๑๗

แวน่ ดวงใจ : -ภา๑ค๔๔๑ -อบรมฆราวาส

๑๑๘

เอง ถา เปน ผูเกยี จครานหมดศรทั ธาตอ พระสัทธรรม แมตถาคตจะยังมีชีวติ อยู ผนู นั้ กค็ อื
โมฆบรุ ษุ โมฆสตรี ผูเ ปลา จากประโยชนอยูน น่ั เอง ถงึ แมวาเขาจะจบั ชายสบงจวี รตถาคตอยู
กห็ าไดช อื่ วา ไปตามตถาคตไม แตผปู ฏิบัติสมควรแกธ รรมน่ันแล ชอ่ื วาผูไปตามเราตถาคต
ช่อื วา บชู าตถาคต บูชาพระธรรม และพระสงฆอ ยูทุกระยะกาล”

นเ่ี ปนพระโอวาททีต่ รสั กบั ผูมาทลู ถามจวนวาระสุดทาย ซง่ึ เปนพระโอวาทท่ีประทับ
ใจของผมู งุ ตอ ธรรมอยางยง่ิ จะไดพยายามบําเพ็ญตนโดยความสมํ่าเสมอ เชน เดยี วกับสมัย
ท่พี ระพทุ ธเจายังทรงพระชนมอ ยู และคอยตกั เตือนอยตู ลอดเวลา โดยธรรมทีป่ ระทานไว
แลว เชน ผปู ฏิบัตถิ ูกหรอื ผิดกแ็ สดงถงึ ผลวา ตองเปนความสุขหรือความทกุ ขอยูเชนเคย
ไมม กี ารเปล่ียนแปลง พระธรรมที่ประทานไวเ ปน ความคงที่ตอเหตุผล สมกบั ธรรมทีต่ รสั ไว
ชอบแลว และเปน ธรรมคงเสนคงวาสําหรบั ผูปฏบิ ัติตาม ไมเ ปน อยา งอ่นื

หลักใหญข องธรรมที่ตรสั รวมไว เปน สจั จะความจริงแลว ตรงไปโดยถายเดยี วนัน้
เรียกวา อรยิ สจั ขอ ตนตรสั เรอื่ ง ทุกข คอื ความบีบค้นั มีทัง้ สตั ว ท้งั คน ทง้ั ทา น ทงั้ เรา มี
ทั้งทางกายและทางใจ ความบบี คนั้ ทําคนและสัตวใ หอยูสบายไมได ถา เปนนาํ้ ก็ถกู รบกวน
อยเู สมอ หาเวลาน่ิงและใสสะอาดไมได ข้ึนช่ือวา ทุกขไ มไปรบกวนในสถานทอี่ น่ื แตจ ะรบ
กวนท่กี ายทใ่ี จของมนุษยแ ละสตั ว และทําใหไ ดรับความทุกขเ ดือดรอ นข้นึ ทนั ทีที่ทุกขเ ขา ถงึ
ตัว แมจะยนื เดนิ น่ัง นอนอยูตามปกติ กต็ อ งแสดงอาการเอนเอียงหรือกระดกุ กระดกิ ข้นึ
มาทันที และแสดงอาการระสาํ่ ระสาย ถา มากกวา น้ันทนไมไหวกถ็ งึ ตาย

ขอ ทส่ี องตรสั เรือ่ ง สมุทัย คือความคะนองของใจทแ่ี สดงตวั อยูภายในใจของคนและ
สตั ว แลว ระบายออกมาทางกาย ทางวาจา อันดับแรกก็แสดงเปน ความอยากและคอ ย
เคลือ่ นขนึ้ ไปเปน ความทะเยอทะยานไมมีทางสิ้นสุด ไมมขี อบเขตแหงความเพยี งพอของ
ความอยากประเภทนี้ ไมมีปกตปิ ระจําตัว แตป น เกลียวอยทู าํ นองน้นั แมจ ะไดส ง่ิ ทีต่ น
ตอ งการมาครองอยา งสมหวังแลว ก็ไมวายทจ่ี ะเออื้ มออกไปดวยอํานาจแหงความอยาก ไม
มใี ครในโลกจะสามารถปฏบิ ัตติ วั ตอ ความอยาก ใหไดร ะดับและอยใู นความพอดีได ทา นจงึ
เรียกวาสมทุ ัย คอื ความโผลต วั อยูเสมอ ยิง่ กวาวานร (ลงิ ) ตัวคะนองเสยี อีก

ขอทสี่ าม ตรัสเรื่อง นโิ รธ ความดับทุกขทางใจ ชอื่ วาทุกขท ีส่ ําเรจ็ รปู มาจากสมุทัย
เปนผูผลติ ขนึ้ ยอ มดบั ลงเพราะนิโรธธรรม แตก ารกลาวถึงนิโรธจําตอ งกลาวถงึ มรรคใน
ระยะเดียวกัน เพราะมรรคเปน อุบายหรอื เครื่องมือดบั ทุกข ถา ไมม เี ครือ่ งมือก็ดับทุกขไ ม
ลง เชนเดียวกับการดบั ไฟ ตองมเี คร่ืองมือ ถาไมม เี ครือ่ งมือในการดบั ไฟกด็ ับไมลง
เหมอื นกัน

แวนดวงใจ ๑๑๘

กณั ฑเ์ ทศนท์ ่ี ๑๑ : พทุ ธประวตั ิ
- ๑๔๕ -

๑๑๙

มรรค แปลวา ทางดําเนนิ เพ่ือพนทกุ ข หรอื อุบายวธิ ีดบั ทุกข ซ่ึงมมี าก แตยอลงก็มี
เพียงสาม คือ ศีล สมาธิ ปญญา หรือทาน ศีล ภาวนา นคี่ อื เคร่อื งมอื ดับทุกขแตละประเภท
ตามที่ทุกขซงึ่ มีหลายประเภท การใหท านหรือการแบงปน เปนอุบายหรอื วิธีดบั สมุทยั คือ
ความตระหน่ีถีเ่ หนียว เกดิ จากความเหน็ แกตัวเปน มลู ฐาน โลกจะตั้งอยูได ธรรมจะเจริญ
ตอ งอาศยั ทานการใหหรอื แบง ปน ท่ีเรียกวาสังคหวตั ถุ และสังคหธรรม สงเคราะหก นั ทัง้
ดานวตั ถแุ ละดา นธรรมะ นับแตความรวู ชิ าเปน ตน ไป สัตวและคนทัง้ โลก นับแตบ ดิ า
มารดากับบุตร ผใู หญก บั ผูน อย อาจารยกบั ศิษย นกั เรยี นกบั ครู สตั วเ ล้ยี งกบั เจา ของ และ
สัตวตอสัตว มีสังคหวัตถแุ ละสังคหธรรมเปนเคร่อื งประสาน หรือยึดเหนยี่ วน้ําใจกันเปน
ประจาํ โลกจงึ อยดู ว ยกนั โดยความสนทิ สนมและความเปนปก แผนแนนหนาไดตลอดมา

คาํ วา ทาน คอื ทานอยางเปด เผยทร่ี ู ๆ กนั หน่งึ ทานในหลักธรรมชาติไดแกการ
สงเคราะหห รือแบงปน กัน เชน มารดา บดิ า ครู อาจารย สงเคราะหล กู และลกู ศษิ ย ซึ่งมิได
คิดวา ตนทําทาน แตก ิรยิ าที่ทาํ นั้น ๆ กค็ ือทานน่ันเอง แตเ ปน ทานในหลกั ธรรมชาติ คือ
ความจาํ เปนตองทาํ ตอ กนั ตามวสิ ัยของคนและสตั วทีอ่ ยูดวยกัน จะตอ งทํากันทวั่ โลกจะเวน
เสียไมได ดังน้ัน ทานจึงเปนของใหญโ ตค้าํ จนุ โลกและค้ําจุนธรรม ใหต ั้งเปน โลกและเปน
ธรรมอยไู ดตลอดมา ถาจะเทยี บกบั บา นเรือนก็ไดแ กร ากฐานท่ีผกู โครงเหล็ก เทคอนกรีต
เพือ่ ความม่ันคงของบานเรือนนั่นเอง พระพทุ ธเจาจะเปน ศาสดาสอนโลกไดก ็เพราะทาน
บารมี จะขาดไปไมได และทรงปฏิบัตติ อ สตั วโ ลกตลอดมาจนวันนพิ พาน

ทางเดนิ ของพระพุทธเจาที่เกย่ี วกับสัตวโ ลกกค็ ือทานอยูน นั่ แล ไดแก ใหทานวตั ถุ
และใหท านธรรม แมป รินพิ พานไปแลว กย็ งั ประทานธรรมวินัยไวเ พือ่ เปน ทานแกส ัตวโ ลก
ตลอดมาถึงพวกเรา ซ่ึงพอมองเห็นฟา เห็นดิน มองเหน็ บญุ เห็นบาปไดบ า ง กเ็ พราะธรรม
ทานของพระพทุ ธเจา นน้ั แล ดังนน้ั ทานจงึ เปนธรรมลกึ ซึ้งและจําเปน ทว่ั โลกเหลือท่จี ะ
พรรณนา จงึ ขอยุตไิ ว สวนศลี และภาวนาไดเ คยอธิบายมาบา งแลว เขา ใจวาคงไมมที า นทจ่ี ะ
สงสัย มอี ยูเ พยี งวา เราจะดาํ เนินใหถึงข้นั บรบิ รู ณไดแ คไ หนเทา นนั้ ธรรมทกี่ ลา วนเ้ี รียกวา
มรรค คือทางพน ทุกขเ ปนระยะ ๆ เมอื่ มรรคทบี่ ําเพ็ญใหสมบูรณเตม็ ทแี่ ลวกส็ ามารถดบั
ทุกขได กลายเปนนโิ รธขึ้นมาในขณะน้นั นนั่ แล เพราะธรรมทงั้ ส่ีน้ีทาํ งานเกี่ยวโยงกัน สว น
ชอื่ ของธรรมเหลา นท้ี านแยกจากกันเหมอื น นาย ก. นาย ข. นาย ค. และนาย ง. คนละ
ชือ่ แตท าํ งานบงั คบั เคร่ืองยนตอยูใ นเคร่อื งแหงเดียวกันฉะน้ัน

ดงั นน้ั โปรดทําความพยายามฝก หดั อบรมตนใหเปน ที่มนั่ ใจในปจ จบุ ันนี้ ในชาตินี้
เราเปน มนษุ ย หมดความสงสัยในความเปน อยางอ่ืน แมจ ะอยดู วยกนั กบั สตั ว แตก แ็ นใจวา

แวน ดวงใจ ๑๑๙

แว่นดวงใจ : ภาค ๑ อบรมฆราวาส
- ๑๔๖ -

๑๒๐

เราเปนมนุษย ทงั้ ไดผ า นทุกสิง่ ทกุ อยางมาดวยความรูความเขาใจมากกวา สตั ว เพ่อื ภมู ิ
ธรรมของเราใหย ่งิ ขึ้นไปกวา ทีเ่ ปนอยู โปรดภาวนาดูตวั เอง จะเหน็ เรอื่ งทคี่ วรตแิ ละควรชม
เกิดขึน้ กบั ใจ เชน ทกุ ขเ ปนสิง่ ที่ควรตาํ หนเิ พ่ือหาทางออก จงึ ควรพิจารณาใหร ูเ รื่องของเขา
ตามธรรมดาทุกขไ มเคยอยทู ไี่ หน ซง่ึ ควรจะรูอ ยกู ับตัว เพราะมอี ยูที่นี่เปน ประจํา

เราจะปลกู บา นสรา งเรือนใหท ุกขอยู แตทุกขไมยอมอยู ถา เปน กายและใจของสัตว
และของคนแลว ทุกขชอบเต็มที่ และอยูไ ดตลอดวันยังคํา่ คืนยังรุง ตลอดกาลท่ีกายและใจ
ยงั ควรแกเ ขา พาเกิดกเ็ กดิ ดวย พาแกก็แกด ว ย ตายก็ตายไป แตทกุ ขโ ดดหนีไมย อมตาย
ดวย เพราะใจไมต ายทุกขต องเกาะไปดว ย ฉะนัน้ ใจไปทไ่ี หน ทุกขจึงติดไปดว ย ใจไปถือ
กาํ เนดิ เกดิ ในภพชาติใด ทุกขยอมติดตามไปดวยทุกภพทุกชาติ จนกวา ใจจะไดร บั การชําระ
สะสางดวยเครื่องซักฟอก คอื กศุ ลธรรมจนสะอาดเตม็ ท่แี ลว ทุกขหาท่ีเกาะไมไ ด นน่ั แล
ทุกขจ ะสุดวิสัยไมมที างเอื้อมได เพราะใจกลายเปนวิวัฏฏะพนวิสยั ของสมมตุ ิแลว น่ีคือ
แดนสดุ วิสัยของกเิ ลสทุกประเภทโดยแทจ รงิ

พระพทุ ธเจา ทรงประทานธรรมะ มีสตปิ ญญาเปน ตน ใหพ วกเราสอดสอ งดเู รอ่ื งของ
ตัว เพื่อจะไดท ราบความเปน มาของตน ๆ หลักใหญค ือสงสัยเรอ่ื งความเกิดของตัว ซึง่ เคย
เปน ทํานองนน้ั มา โดยติดตอไมขาดวรรคขาดตอนแหงภพชาติ แตพวกเรารสู ึกจะโงต อ
เรอื่ งของตัวอยมู าก ท้ังนเี้ พราะการกาวเหยยี บไปแตล ะภพแตล ะชาติก็รอยเทา (ใจ) ของ
เราเอง เกดิ ในภพชาตใิ ดกเ็ ปนเร่ืองของใจดวงรู ๆ อยกู บั เราขณะน้ีทั้งน้ันพาไปเกดิ ไมใช
ใจดวงใดไปเปน ตวั การปลกู สรา งรูปรางขึน้ มา เปนสตั วเปน บคุ คล เปน เราเปน ทา น ถาไมมี
เชื้อแหงความเกิด ความเกิดจะแสดงตัวใหป รากฏออกมาไดอยางไร เชอ้ื นั้นก็ฝง จมอยูที่ใจ
ดวงรู ๆ น้เี อง ทา นใหช ่ือใจท่มี เี ช้อื นีว้ า จิตอวชิ ชา คือความรูแกมโกง ความหลงแกมเพลิน
ไมมีทางส้ินสดุ ทัง้ เปนเรอื่ งใหญโตมากสาํ หรบั จิตผูเปนนกั ทอ งเทย่ี ว แตไ มทราบการไป
และการมาของตน จงึ ควรถอื เปน ปญ หาสําคญั สําหรบั ตวั ที่จะพยายามตดั ตนเพลงิ ไมใ หล กุ
ลามไปนานและทําความเสยี หายแกตนมาก

คาํ วา ธมฺโม ปทีโป กค็ ือแวนสอ งทางของสตั วผมู ดื มนน้ันเอง จะไดย ดึ ถือเปน
เครอ่ื งมือในการสอ งทางดําเนนิ เพื่อถึงความปลอดภยั แกตน ไมเปน ความรกรงุ รงั ดวยภพ
ชาตแิ ละกองทุกขทง้ั มวลใหย ดื เยือ้ ตอ ไป ธมโฺ ม ปทีโป เปน ตน พระพุทธเจาทรงเรม่ิ
ประกาศและรื้อขนสตั วโ ลกนบั แตเ รมิ่ ตรัสรู จนถงึ วนั เสด็จดบั ขันธปรนิ ิพพานเปน เวลา ๔๕
พรรษา ถงึ วาระสดุ ทา ยก็ประทานไวแทนองคศ าสดา สว นพระองคก เ็ สด็จนิพพานไปตาม
หนาที่ของผูหมดเช้อื ภายใน กอ นจะทรงลาสมมุตทิ ว่ั ๆ ไปเสด็จนพิ พาน กต็ รสั เรียกบรรดา

แวน ดวงใจ ๑๒๐

กณั ฑเ์ ทศนท์- ่ี ๑๑๔๑๗: -พทุ ธประวัติ

๑๒๑

สาวกมาประชุมแลว รบั ส่ังวา “ผใู ดมีความสงสยั ขอ อรรถขอธรรม และวธิ ีดําเนนิ ของตน
ภายในใจก็จงพูดข้นึ ขณะทเี่ รายงั มีชีวิตอยู จะไดชว ยปลดเปลอื้ งแกไขมใิ หมคี วามเสยี ใจใน

ภายหลงั ”
ขณะนัน้ ปรากฏวา ไมมสี าวกองคใ ดทูลสนอง ตางก็น่ังอยูด วยทาอันสงบ และคอย

สดบั พระโอวาททีจ่ ะตรสั ตอไป เมือ่ ไมเ ห็นทา นผูใดทลู สนอง กท็ รงประทานพระโอวาทครัง้

สดุ ทา ยวา “ดกู อ นภกิ ษุทั้งหลาย ทา นทง้ั หลายจงพิจารณาสงั ขารทงั้ หลาย ท้ังสงั ขารภายใน
และสังขารภายนอก ซง่ึ เจริญข้ึนแลว เสอ่ื มไป ดว ยความไมประมาทเถดิ จะรแู จงแทงตลอด

ซึง่ พระสัทธรรมทเ่ี ราตถาคตแสดงไวแ ลว ” พอจบเทานก้ี ็ปดพระโอษฐไมต รสั อะไรตอไป
อีก จากนั้นก็ทรงทาํ หนาทีป่ รินพิ พานดว ยความสงาราศแี ละความองอาจกลา หาญ ไมสะทก
สะทา นตอ มรณภยั

ดว ยทรงเห็นวาเกดิ แลว ตองตาย ไมท รงแสดงความโศกกนั แสงตอความทกุ ขท ่มี า
ครอบงาํ พระกายในเวลานน้ั ทรงมีความองอาจตอหลกั ความจรงิ ทที่ รงรูเห็นมาแลวอยางไร
จนมคี วามชาํ นิชาํ นาญและสามารถสั่งสอนโลกไดเ ปนจํานวนมากสมภมู ิศาสดา เมื่อยงั ทรง
พระชนมอยูกท็ รงแสดงลวดลายของศาสดาไมใหมคี วามบกพรอง สมพระนามวา สตถฺ า
เทวมนสุ สฺ านํ เปนครูของเทวดาและคนทุกชั้น ดงั น้ันการทําหนาที่ปรินพิ พานโดยถกู ตอง
ตามหลักของศาสดา จึงเปน ความจาํ เปนสําหรับพระพุทธเจาโดยเฉพาะ เพื่อไวลวดลาย
และพระเกยี รตขิ องศาสดาในครัง้ สุดทาย ใหคนรุนหลังไดฟ งเปนขวัญใจ

เริ่มแรกแหง การทําหนาทปี่ รนิ ิพพาน ทรงเขาปฐมฌาน ออกจากปฐมฌานเขา ทุตยิ
ฌาน ตติยฌาน จตตุ ถฌาน ฌานท้งั สเ่ี บ้อื งตน นเ้ี รียกวา รูปฌาน โดยใชก ระแสจติ วิตก
วิจารณไ ปตามอาการของพระกาย จนถงึ ข้ันละเอียดแหง รปู ฌาน จากน้นั กท็ รงเขา อรูปฌาน
ส่ี คืออากาสานัญจายตนะ วญิ ญาณัญจายตนะ อากิญจญั ญายตนะ และเนวสญั ญานา
สญั ญายตนะ เปนลําดับ อรปู ฌานส่ีน้ีเปนนามธรรมลวน ๆ จากน้นั ก็ทรงเขา สญั ญาเวทยิต
นโิ รธ ดับสัญญาและเวทนา ทรงพกั อยใู นสัญญาเวทยิตนิโรธสมาบัตชิ ัว่ ขณะ แลวทรงถอย
จติ กลับลงมาเปน ลาํ ดบั จนถงึ ปฐมฌาน และถึงขั้นจิตบรสิ ุทธิธ์ รรมดา แลวทรงเขา
ปฐมฌาน ทตุ ิยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน ตอไปอีก พอผา นจตตุ ถฌานไปแลว เทานั้น ไม
ทรงเขาฌานใดตอไปอีก แลวเสด็จปรนิ พิ พานในทามกลางแหง ฌานทัง้ สอง คอื รูปฌานและ
อรูปฌานนนั้

ทง้ั นี้เพราะทรงไวล วดลายของพระพทุ ธเจา ผูเ ปนศาสดาเอกใหเตม็ ภมู ิ จงึ ไมทรง
ปรินพิ พานอยูใ นฌานใดฌานหน่งึ ถาจะนพิ พานอยูใ นฌานใดฌานหนงึ่ อาจจะถูกตาํ หนิ

แวน ดวงใจ ๑๒๑

แว่นดวงใจ : -ภา๑ค๔๘๑ -อบรมฆราวาส

๑๒๒

จากสาวกอรหนั ต วา ทรงทาํ หนา ทนี่ ิพพานไมสมบรู ณเตม็ ภูมิของศาสดาในวาระสุดทา ย
เพราะฉะน้นั เพือ่ ประกาศพระองคใหเ ต็มภูมิทัง้ ในเบื้องตน ทา มกลาง และวาระสุดทา ย จํา
ตองนพิ พานในทา มกลางแหง ฌานทัง้ สอง คือรูปฌานและอรูปฌาน ซ่งึ เปนการถูกตองและ
สมบรู ณต ามลกั ษณะของจติ ท่ีบริสุทธเิ์ ขา ชมฌานเพื่อปรนิ ิพพาน เพราะรปู ฌานและอรปู
ฌานลว นเปน สมมุตดิ วยกัน จะเขานพิ พานในจดุ สมมตุ ิ กช็ ือ่ วา ไมส มภูมิกับคาํ วา นพิ พาน
เทาทีพ่ ระองคท รงทํามานนั้ เปน อันวา ปรินพิ พานโดยสมบรู ณ เมอ่ื พระองคปรินพิ พานแลว
พระสรรี ะก็ถูกทูลอาราธนาไวเพ่ือทาํ การสักการบูชาจากพทุ ธบริษัท มมี ลั ลกษัตริย เปนตน
เพ่ือใหส มพระเกียรติ เพยี งเจด็ วนั เทา นน้ั กอ็ ญั เชิญขนึ้ ถวายพระเพลงิ

ตกมาสมยั ของพวกเรา ศพของครอู าจารยท ี่เคารพนบั ถือซง่ึ มรณภาพลง รสู ึกจะ
กลายเปน ของหมกั ดองคลายกบั ผักปลาไปเสียมาก จนจะกลายเปน ประเพณหี มักดองไป
หากมีความจาํ เปนซง่ึ จะควรอาราธนาทา นไวเ พ่อื ความจาํ เปน มีเก่ียวกบั พระราชาเปน ตน
น้ัน ทั้งโลกและธรรมกเ็ หน็ ใจโดยทั่วกัน แตจ ะเก็บไวโ ดยมไิ ดค าํ นึงถงึ ทานผเู ปนอาจารยท่ี
เคารพบชู า ซง่ึ ถกู อาราธนาไวเปน เวลานาน ๆ และพระพทุ ธเจา ผเู ปน ตวั อยา งของสัตวโลก
ท้งั เวลายังทรงพระชนมอ ยแู ละเวลานิพพานแลว ตอ ไปกเ็ กรงจะเปน ประเพณีใหก ลุ บุตรสุด
ทายภายหลังยดึ โดยหาเหตุผลและหลกั ฐานไมได

ครูอาจารยซึง่ เปนท่ีเคารพบูชาของปวงชน เวลาทา นยังมีชีวติ อยไู ดทําประโยชนแก
โลกเตม็ ภมู คิ วามรคู วามสามารถของทา น โดยบัวมใิ หช า้ํ นาํ้ มใิ หข ุน และเปน ที่อบอุนแก
บานแกเมอื ง แตเ วลาทา นมรณภาพไรว ิญญาณ ความรูสกึ ผดิ ชอบชว่ั ดีไมมปี ระจาํ รา งแลว
เกรงวาศพของทา นจะกลายเปน สินคา ไปท่ัวตลาดอยูเปนเวลานานกวาจะสน้ิ สดุ ลงได ดังนน้ั
พวกเราทเ่ี ปนนักบวชและนักปฏิบัติ ซงึ่ จดั วา เปนลูกศษิ ยทีม่ ีครู โปรดคดิ อานไตรตรองบาง
จะเปนการเสรมิ เกยี รติกรรมฐานวา เปน ผูช อบใครครวญ เพือ่ หาเหตผุ ลและอรรถธรรม นาํ
ความพอดมี าประดับตน ประดบั โลก ประดับธรรม ใหงามสบื ทอดกนั ไป

ถา คิดวา เมอื่ ทาํ การฌาปนกิจศพทา นผานไปแลว วัดวาอาวาสจะเสอ่ื มโทรม เพราะ
ไมมที ่ียึดเหนยี่ วน้าํ ใจของประชาชนใหม าสนใจกับวดั และพระเณร นบั เปนความคิดที่จะพา
ใหต นและวดั วาอาวาสศาสนา ทงั้ วงแคบและวงกวางเสอื่ มลงอยา งแนน อน จะหาทางเจรญิ
ไมไ ดเลย เพราะไปสนใจกับศพของทา นอนั เปน ทางจะไหลมาแหงอามสิ มากกวาจะสนใจ
ในธรรมทท่ี านส่งั สอน และมิไดส นใจกบั การจะปรบั ปรงุ ตนเองเพอื่ ขอ ปฏบิ ัตอิ ันดีงามใหยิ่ง
ข้ึนไป ซ่งึ เปน ทางที่จะยังตนและพระศาสนาใหเจรญิ โดยชอบธรรม

แวน ดวงใจ ๑๒๒

กัณฑเ์ ทศนท์-ี่ ๑๑๔๑๙: -พทุ ธประวตั ิ

๑๒๓

แมพระพุทธเจา พระองคก ็มไิ ดท รงส่งั สอนพทุ ธบรษิ ัท ใหม ีความเล่อื มใสและหนกั
แนนในพระองคมากกวาธรรม จะเหน็ ไดตอนพระอานนททูลถามถึงวิธจี ะปฏิบัตติ อพระ
สรรี ะของพระองคเ วลานพิ พานแลว พระองคยังไมทรงพอพระทัย และกลับหามพระ
อานนทไมใหย ุงเกี่ยว แตเมอ่ื ทรงเห็นพระอานนทท ลู โดยมีเหตผุ ลกท็ รงแนะนําใหเทา ท่ีควร
ครอู าจารยผูมธี รรมกค็ งจะเดินตามรอ งรอยของพระพุทธเจาพาดาํ เนิน ทา นคงไมส ั่งสอน
บรรดาศษิ ยใหห นักในทา นยิง่ กวาธรรม ทีล่ ูกศษิ ยค วรจะสนใจและนําไปปฏบิ ัตติ อ ตัวเอง
ตามทท่ี า นสอนไว

ผปู ฏบิ ตั ิสมควรแกธรรมช่อื วาผบู ูชาพระพุทธเจา ได ลกู ศษิ ยปฏบิ ัติสมควรแกธรรม
ก็คงจะบชู าครอู าจารยไ ดในทาํ นองเดียวกัน ดังนัน้ หลกั ของการปฏิบตั จิ ึงไมควรเห็นวาดอย
กวาสง่ิ ทีจ่ ะพาใหต นและศาสนาเส่อื ม พระศาสนามไิ ดเจรญิ มาดว ยศพดว ยเมรุ พอจะทํา
ความหนักแนน จนลมื ตน และลมื ความพอดที ีจ่ ะปฏิบัตติ อศพตอเมรุ แตเ จรญิ ดว ย ธมมฺ า
นุธมฺมปฏิปนฺโน ผูป ฏิบัตธิ รรมสมควรแกธรรมตางหาก การกลา วท้งั นมี้ ิไดสอนใหผูมุง
ธรรมเกิดความเนรคุณตอ ทานผมู พี ระคณุ แกตน แตก ารปฏบิ ัตติ อทานที่มคี ุณทง้ั เวลายัง
เปนอยหู รือตายไปแลว เทา ทโี่ ลกและธรรมเหน็ วางาม เขา ใจวา ทกุ ทา นคงเคยปฏบิ ัติตอ กัน
มาพอสมควร ลูกมีพอแม ลูกศษิ ยมคี รู เปน กับตายตอ งรองรับกันจนสนิ้ ใจไมม ีใครจะ
ปลอยทิ้งได แตขอไดคํานึงถึงความพอดี จะเปน ความชอบธรรมทง้ั ตนและสว นรวม สมกับ
เราเปนศษิ ยมคี รูทส่ี ั่งสอนใหรูจัก มตตฺ ฺตุ า สทา สาธุ ความรูจกั ประมาณยงั ประโยชน
ใหส ําเร็จทกุ เม่ือ

การแสดงประวตั ิของพระพทุ ธเจา ประสตู ิ ตรสั รู และปรินิพพาน ใหท า นผฟู งทัง้
หลายทราบ เพ่อื จะไดนอ มใจระลกึ ถึงทา น และนอมมาเปนอารมณเครือ่ งเตือนใจเปน
พุทธานสุ สติ หากยงั ไมถึงจดุ หมายปลายทางอยา งพระองคทา น คาํ วา นยิ ยานกิ ธรรม ผลที่
เกิดขึ้นจากการบําเพญ็ อยางไรตองเปน เคร่ืองสนองตอบแทนโดยแนน อน สมกบั ภาษิตวา
ธมฺโม หเว รกฺขติ ธมมฺ จารึ พระธรรมไมปลอยท้งิ ผบู ําเพญ็ ธรรม ยอมตามรักษาใหมคี วาม
สุขความเจริญทกุ ภพทุกชาติไป

ดังนั้นในอวสานแหงธรรมนี้ ขอบญุ ญานภุ าพแหงองคสมเดจ็ พระผูมีพระภาคเจา
พรอ มท้งั พระธรรมและพระสงฆ จงตามคมุ ครองทา นทัง้ หลาย ท้ังทม่ี าจากทางใกลแ ละทาง
ไกล อุตสาหม าดว ยความเสยี สละทกุ อยา ง จงปราศจากโรคาพยาธเิ บียดเบยี น มแี ตความ
สขุ ความเจรญิ และประสบแตส ิง่ ทพ่ี ึงปรารถนาโดยทัว่ หนากนั เทอญ

www.Luangta.or.th

แวน ดวงใจ ๑๒๓

แวน่ ดวงใจ : -ภา๑ค๕๐๑ -อบรมฆราวาส



กัณฑท์ ี่ ๑๒ ๑๒๔

เทศนอ บรมฆราวาสสงั ณขาวรดั ธโพรธริสมมภรณ อดุ รธานี

เมเท่อื ศวนัน์อทบ่ี ร๒ม๘ฆรการวกาสฎาณคมวัดพโพทุ ธิสศมกั ภรราณช์ ๒อดุ๕ร๐ธ๕านี

เมือ่ วันที่ ๒๘สงักรขกาฏราคธมรพรุทมธศักราช ๒๕๐๕

นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมมฺ าสมฺพุทฺธสฺส
อนจิ จฺ า วต สงขฺ ารา อปุ ฺปาทวยธมมฺ ิโน
อปุ ฺปชฺชติ วฺ า นิรชุ ฌฺ นตฺ ิ เตสํ วปู สโม สุโขตฯิ

ภาษิตทไี่ ดย กขนึ้ ไว ณ เบือ้ งตน นี้ ถาไมพ ิจารณาตามหลักความจริงแลว ยอ มเหน็ วา
เปน ภาษิตที่แสดงซํ้า ๆ ซากๆ แตใ นขณะเดียวกนั ภาษิตนีเ้ ปนเงาตามตัว สาํ หรบั แสดง
หลักฐานแหงความจรงิ ซ่งึ เปนอยูใ นสัตวแ ละสังขารทั้งหลาย
เนอ้ื ความในภาษติ น้ี แปลวา สังขารท้ังหลายไมเ ท่ยี ง เกิดขน้ึ แลว ยอ มดบั ไป การ

ระงับดับเสยี ซึ่งสังขารทัง้ หลายอนั เกดิ ๆ ดับ ๆ ไดโ ดยสิ้นเชิงเปน ความสุขอนั ย่ิง ดังน้ี คาํ
วา สงั ขารธรรม ท่ีวาไมเทยี่ งกด็ ี เกิดข้ึนแลวดบั ไดกด็ ี จะเหน็ วาสังขารประเภทใดที่เปนภัย
แกบรรดาสตั วทั้งหลายอยู ณ บดั นี้ และสังขารประเภทใดทีเ่ ปนเหตุใหห ล่งั นาํ้ ตา เปนเหตุ
ใหเกดิ ความวิปโยคพลดั พราก เปน เหตใุ หเกิดความเสยี อกเสียใจ เปนเหตุใหเ กิดความรนื่

เริงบนั เทงิ เปน เหตใุ หเกิดความรัก ความชัง ความกอ กังวลในใจของเราไมม ีจบสน้ิ
องคส มเดจ็ พระผูมพี ระภาคเจาตรัสไวว า อนจิ จฺ า วต สงฺขารา เราทัง้ หลายพึงทราบ
ใกล ๆ ณ บัดนี้ เปน หลกั ฐานพยานยืนยันใหเ ห็นอยอู ยา งคัดคา นไมไ ด คือ เจา พระคุณ
พระธรรมเจดยี  ซึ่งมคี ุณงามความดี บุญญาภิสมภารซ่งึ ไดสรา งสมไวไมน อ ย ไดอบรมสง่ั

สอนประชาชนใหร ดู ี รชู ่ัว ทาํ ตัวเปนคนดีมาเปนอันมาก ทัง้ ไดก อสรา งวดั โพธสิ มภรณน ีใ้ ห
เจรญิ รุงเรอื งเปน ที่บําเพญ็ กศุ ลของพทุ ธบริษัทท่วั ไปเปน เวลากวา ๔๐ ปแลว แตท า นกต็ อ ง
มรณภาพจากความเปนเขา สูค วามตาย นก้ี ็คือสังขารธรรมทงั้ หลายไมเ ท่ียง เกิดขึ้นแลว
แตกดับสลาย ทเี่ ราใหช อื่ วา ตาย น่นั เอง

เพราะเหตุนน้ั ทุกทานพึงทราบวา สงั ขารธรรมของทา นกับสงั ขารธรรมของพวกเรา
เปนสังขารธรรมประเภทเดียวกนั มเี กดิ ขึน้ เปนรูป เปนกาย เปน หญงิ เปน ชาย มีแปร
สภาพขึน้ มาเปนลาํ ดบั ๆ ต้ังแตคลอดออกมากลายเปน เดก็ เปนหนุม เปน สาว เฒา แก เมือ่
แปรสภาพไปเตม็ ทแี่ ลว ก็แสดงความแตกดับใหเ ราทง้ั หลายไดเห็น และไดม ชี อ่ื ขึ้นมาวา
ตาย คอื สังขารธรรมประเภทน้ีเอง เราอยา เหน็ วาสงั ขารธรรมประเภทใด ซึง่ เปนธรรมชาติ

ท่สี ําคัญ เปน เหตุใหห ลั่งนํ้าตาของบรรดาสัตวทงั้ หลายทั่วทง้ั โลกน้ีไมม เี วลาหยุด คอื สงั ขาร

แวน ดวงใจ ๑๒๔

แว่นดวงใจ : -ภา๑ค๕๒๑ -อบรมฆราวาส

๑๒๕

ธรรมประเภทนีเ้ ทาน้นั จึงเปน สังขารธรรมที่ใหญย่ิงในโลก ความรักกด็ ี ความชงั กด็ ี ความ
วปิ โยคพลัดพรากกด็ ี ความหลงความเพลิดเพลนิ ความโศกเศรา ทั้งหลายกด็ ี เกดิ ขึ้นมา
จากสังขารธรรมประเภทน้ที ัง้ นัน้

ฉะนนั้ สังขารธรรมประเภทน้ี ทา นจงึ ยกขน้ึ เปนภาษติ ตอ เน่อื งมาแตอ งคส มเดจ็ พระ
ผูม ีพระภาคเจา ทุก ๆ พระองค ตรสั ไวเ สมอวา อนจิ จฺ า วต สงขฺ ารา สงั ขารทงั้ หลายไม
เทย่ี ง เกิดขึ้นแลวดบั ไป ทง้ั นี้ สังขารธรรมไมใชวา จะมีแตทต่ี ายแลว ไมเ ทยี่ ง มแี ตทต่ี ายน้ัน
เกิดขึ้นแลว ดับไป พึงนอ มเขามาสูต วั เรา กายของเราทกุ ชน้ิ ทค่ี รองเปนเจา ของอยู ณ บัดนี้
ก็คอื สังขารประเภทนนั้ นน่ั เอง แปรสภาพไปเชนเดียวกนั มีความแก ความชรา ทนไมไ หว
ตองแตก ตอ งทําลายไปเชน เดียวกับทา น ความรกั กร็ ักในสงั ขารประเภทน้ี ความชังกช็ งั ใน
สังขารประเภทน้ี ความหลงก็หลงในสงั ขารประเภทน้ี ดใี จเสียใจก็เพราะสังขารประเภทน้ี
เปน เหตุ ไดรบั ความทุกขทรมานก็เพราะสงั ขารประเภทนเ้ี ปนเหตุ

สงั ขารประเภทนเี้ ปน ไดท ้ังสตั ว เปนไดท ้ังบคุ คล เปนไดท ้ังช้นั ต่ํา ชน้ั สงู เปนไดท ้งั ดี
ท้ังชั่ว เปน ไดในฝายรูปรา งกลางตวั ทั้งดํา ทงั้ ขาว ทั้งรปู รางสวยงามและไมส วยงาม คอื
สงั ขารธรรม ประเภทนีท้ งั้ น้ัน ขอใหบ รรดาทา นผูฟ งทง้ั หลาย จง โอปนยิโก นอมเขา มา
สอนตนเสมอ อยาเหน็ เพียงวา คนอืน่ ตาย คนอ่นื แตกสลาย คนอนื่ ทกุ ขยากลาํ บาก เพราะ
สงั ขารธรรมประเภทของคนอน่ื สัตวอ น่ื เทา น้นั ใหพ งึ ทราบวาสงั ขารธรรมอันน้ีเปนเหมอื น
กับฝาเทาที่กา วไปเปนลําดับ สังขารธรรมประเภทใดท่เี กดิ มาแลว ในโลก ไมส ําคญั เทา
สงั ขารธรรมคอื รา งกายของสัตวและบคุ คลท่ีแตกสลาย เดินตามรอยกันไปนีต้ ้งั แตค รงั้ ไหน
ครง้ั ไรมา

เกดิ ก็เกดิ มาแลว จนตนเองซงึ่ เปนผูเกิด แก เจบ็ ตาย และเคยเปน มานานแสนนาน
เพราะสงั ขารธรรมประเภทนที้ ้งั น้ัน เคยไดร ักไดชงั เคยไดเ สยี นํา้ ตา และกําลังกาย กาํ ลังใจ
เพราะเหตแุ หงสังขารธรรมประเภทนม้ี าแลว นบั ประมาณไมถ ว น เรากไ็ มส ามารถทราบ
ความเปน มาของเราได น่ีคืออวิชชาความงมงายกอตัวเอง ปกคลุมหุมหอ จิตใจไวมใิ หรู
ความเปน มา ทาํ ใหหมุนเวยี นเปลยี่ นกันไปเปลี่ยนกนั มาตามภพตามชาติ ตามอํานาจ
วาสนาดชี ่วั เกดิ ขน้ึ เปน รูปรา งกลางตวั ปรากฏเปนสัตวบา ง เปน บคุ คลบา ง เปน คนช้นั สงู
ชัน้ ตาํ่ บาง ตดิ คกุ ตดิ ตะรางไดร บั ความทกุ ขความลาํ บาก เปนเทพบตุ ร เทวดา อนิ ทรพรหม
กลับกลายเปลย่ี นแปลงมาเปน มนุษย สับสนปนเปกนั อยูต ลอดเวลา กเ็ นื่องในอวชิ ชาความ
หลงตน เปนผูเคยผา นมาแลว อยา งนดี้ ว ยกนั ทุก ๆ คน กไ็ มสามารถจะคํานวณถึงความเปน
มาของตนได

แวน ดวงใจ ๑๒๕

กัณฑเ์ ทศน์ท-่ี ๑๑๕๒๓: -สงั ขารธรรม

๑๒๖

การกลาวมาทงั้ น้เี ปนเรื่องของสังขารธรรมท้งั นน้ั จงึ ควรใช โยนิโส คือปญญา
พิจารณาตามหลกั ธรรมทเ่ี ปนจรงิ ซ่งึ ประกาศอยูท่วั ทั้งโลกธาตุ ไมมเี วลาจะสงบเงยี บลงไป
ได คือความเกิด ความแก ความเจ็บ ความตาย เปน ไปอยทู ัง้ สตั วท้งั บุคคล ทั้งนอกบา นใน
บา น ทั้งนอกเมืองในเมอื ง ท้งั ใตนํา้ ท้ังบนบก ทัง้ ใตด นิ บนอากาศ สตั วและสงั ขารมีอยูในที่
ใด ธรรมชาตนิ จ้ี ะตอ งเปนเงาเทยี มตัว ติดตามสัตวแ ละสงั ขารประเภทนั้น ๆ ไป แตยังไม
ถึงของเราเทานั้น เราจึงไมส นใจในสิง่ เหลา นว้ี าจะเปน อยา งนน้ั หรอื ไม เม่อื ผเู กี่ยวขอ งหรอื
ส่ิงเก่ียวขอ งมอี ยกู บั เรา เราเปนผูสงวนกรรมสทิ ธิ์ เปนผูมสี วนเกี่ยวของในสตั วแ ละสังขาร
ประเภทนั้น ๆ จึงปรากฏวา สง่ิ เหลาน้ีมขี ึ้นเฉพาะในบา นเรือน หรอื ในเครอื ญาตขิ องเราวา
พอ แม พี่ นอง ลูก หลาน ญาติ มิตร สามี ภรรยาเจบ็ ไขไดทุกข และพลดั พรากจากไปเทา
นนั้

แตเ มือ่ พจิ ารณาตามหลักธรรมชาตแิ ลว ส่งิ ท้งั หลายเหลา น้ีเคยประกาศตนมาตลอด
เวลา พระพุทธเจา จะอุบัติขึน้ ในโลกกต็ าม จะไมอบุ ตั กิ ็ตาม ธรรมชาติ คือ ความเกดิ ความ
ตาย และความวปิ โยคพลัดพราก ซง่ึ มีอยใู นสตั วและสงั ขารน้นั เปน ของเคยมีมาแลว แตดึก
ดาํ บรรพเปนมาอยา งนี้ แมปจ จบุ ันในวันนี้เราทั้งหลายก็เห็นแลว ในโกศของเจาพระคุณ
ธรรมเจดียกค็ อื โกศแหงคนตายนน่ั เอง ทานตายแลว อาราธนาไวใ นโกศของทาน สวนพวก
เราจะเปนเชน ไร จะอยูในโกศหรอื นอกโกศกต็ าม หมดชีวิตแลว เขาเรยี กวาคนตายหรอื สัตว
ตายท้งั นนั้ อยใู นไหปลารา ในนาํ้ ปลา ก็คือสตั วต ายนนั่ เอง ในตลาดเต็มไปดว ยสัตวเปน
และสัตวตาย เปน ปาชา ของสัตวท่ัวทั้งดนิ แดน

ถา เราพจิ ารณาเร่อื งความเปนความตายนี้แลว จะได โอปนยิโก นอ มเขา มาพิจารณา
สงั ขารทีม่ อี ยูก ับตัวของเราซง่ึ ประคองรกั ษาอยู ณ บัดน้ี วา จะเปนเชน เดยี วกนั กับสตั วและ
สังขารทวั่ ๆ ไป โดยไมต องสงสัย เพราะฉะนัน้ คําวา อนจิ จฺ า วต สงฺขารา จึงเปน คําสวย
งามและเหมาะสมกบั สมยั และสถานทีอ่ ยางยง่ิ สถานที่ไดแ กโ ลกอันเตม็ ไปดวยความเกดิ
ความแก ความทกุ ขทรมาน และเตม็ ไปดว ยความสลาย ตาย พลัดพรากจากสัตวแ ละสงั ขาร
นี้เรียกวาสถานที่ ธรรมะกแ็ สดงสวมรอยลงในสภาพเหลาน้ี ทม่ี ีความแปรปรวน มคี วาม
แตกดับหรอื มคี วามเกิดข้ึนแลว แตกดับไปประจําตน ภาษติ ทพี่ ระพทุ ธเจา ทรงไวน ีจ้ ึงเปน
ภาษิตทที่ ันตอ สมัยทุกกาล ไมมีวนั นี้และวนั หนาตลอดกปั ตลอดกัลป เม่ือสัตวและสงั ขาร
อันเปน สภาพผนั แปรเหลา นย้ี งั มอี ยูตราบใด พึงทราบวาธรรมท่ีพระพุทธเจา ทรงแสดงไวน้ี
ยังเปนของจรงิ อยตู ลอดเวลาและเปน สวากขาตธรรมทต่ี รัสไวชอบแลว ตรสั ไวต ามหลกั
ความจรงิ ท่เี ปนไปอยา งใด

แวน ดวงใจ ๑๒๖

แวน่ ดวงใจ : -ภา๑ค๕๔๑ -อบรมฆราวาส

กณั ฑ์เทศน์ท-่ี ๑๑๒๕๕: -สงั ขารธรรม

แวน่ ดวงใจ : -ภา๑ค๕๖๑ -อบรมฆราวาส

๑๒๙

นอ ยเทาไร ไมมใี ครจะสามารถรูไดในวชิ าของตนทงั้ ๆ ที่ตนเปนผเู รยี นมาเอง แตจะ
ปฏิเสธไมไดว าเราไมม คี วามรู

นึกถึงตัว ก. ก็ออกมาทันที นึกถึงตัว ข. ตัว ค. ก็ออกมาทันที นึกถงึ สระพยัญชนะ
นึกถงึ เลขตงั้ แตเลข ๑ ถงึ เลขทีเ่ ราตองการและตามหลักวิชาทีเ่ ลาเรยี นมาท้ังหมด พอนึกถึง
ตวั ไหนกอ็ อกมาทันที แมเราจะจาํ ช่อื จาํ เสียงของครซู ง่ึ เปนผูถายทอดวิชาความรูใ หแ กเ รา
ไมได และเราเปนผูรับถา ยทอดจากครูมาสกั กี่คน ก่โี รงเรียนและกว่ี ชิ าก็ตาม การจาํ ไดห รือ
ไมไ ดนน้ั ไมเ ปน สิ่งสําคญั สง่ิ ทีป่ ฏิเสธไมไดคือ ความรทู เ่ี ราเรยี นมาจากครู เวลานป้ี จ จบุ นั
อยทู ่ีใจของเราเทา นนั้ นึกอะไรกป็ รากฏข้นึ มาตามตอ งการขอ นฉ้ี ันใด คณุ งามความดีที่เรา
ไดสรางไวกเ็ หมือนกัน ไมจาํ เปนทีเ่ ราจะจาํ ไดท กุ แงท ุกกระทงวา เราไดทาํ คุณงามความดไี ว
ก่ีครง้ั อบรมบม นิสยั ของเรามากช่ี าติกภี่ พ ผลทป่ี รากฏก็ตองอยทู ี่ใจของเรา เชน เดยี วกับ
ความรูที่เราเรยี นมาจากครูฉะนัน้

ทนี ้ีจะอธิบายหลักแหง กรรม ซึง่ เปนเจาตวั แหงวัฏฏะ และยอนอธิบายถึงเรื่องวัฏ
จักร คือดวงใจนที้ ีจ่ ะใหกอ รูปกอนาม เม่ือมีคุณงามความดีทเ่ี ราสรางไวแลว เราตายไปแลว
กจ็ ะตอ งไปเกิดสถานท่ดี ี คตทิ ่งี าม สิ่งทจี่ ะมาเปนสมบตั ขิ องเราลวนแลว แตเปน ส่ิงที่เราพึง
ปรารถนาท้งั นั้น นข้ี นึ้ อยูกับกรรมดี แมเราจะจําชอ่ื จาํ นามของกรรมดแี ละจําวนั ที่ เวลาเรา
กระทาํ กรรมดี วาไดก ระทําไวก ีค่ รง้ั ไมไ ดก็ตาม ไมเปนปญ หาอะไร ทีส่ ําคญั ก็คือ ส่ิงท่เี ราได
รับเปนเจา ของนัน้ มแี ตของดที ้งั นั้น เปน ลูกก็ดี เมียกด็ ี ผวั ก็ดี หลานกด็ ี ญาตมิ ติ รสหายทั้ง
หลายท่ีเกย่ี วขอ งกบั เรามแี ตค นดี ใคร ๆ ท่มี าคบคาสมาคมกับเราทง้ั ใกลทัง้ ไกลมแี ตคนดี
สมบัติ บริวารทีอ่ ยใู นครอบครองมีแตข องดที ้งั นัน้ น่ีเกิดขน้ึ จากกรรมดขี องเรา

ทนี ีถ้ า ทาํ กรรมชว่ั เลาก็เชน เดยี วกนั ใครจะนับอา นไดมากนอยหรอื ไมไ ดก ต็ าม จะ
ตองมาแสดงใหเ ราเหน็ อยใู นตัวของเราน้ีเอง อะไรทีเ่ ปนของเรากลายเปน ของชัว่ เสียทั้งนัน้
ผหู ญงิ กด็ ี ผูชายกด็ ี เม่อื เปน ลูกของเขาอยกู ร็ ูส ึกวาดี แตตกมาเปนเมียเปนผัวของเราแลว
มนั กลายเปน ขา ศึกไปทั้งนน้ั แมล กู หญิงลกู ชายท่เี กิดในหวั อกของเราแทมันกไ็ มด ี สภุ าพ
บรุ ษุ สุภาพสตรเี มอ่ื มาเกยี่ วขอ งกับเรากลายเปน คนไมดไี ปตาม ๆ กัน สมบัตทิ กุ ๆ ชิน้
เมอ่ื เปน ของคนอื่นมันดี เม่ือตกทอดมาเปน ของเราเลยกลายเปนของเกไ ปเสียทัง้ น้นั นี่เปน
เพราะความชั่วมันอยกู ับตัวของเรา หลกั ใหญคอื เจาของผูรบั ผิดชอบมันอยูกับตวั เราซงึ่ ทํา
ช่วั เอาไว สิ่งทัง้ หลายตกทอดมาถึงเราจึงกลายเปนของชวั่ ไปตามเรา เราจะตาํ หนวิ า ส่งิ น้ัน
ไมดีก็ไมได เพราะเจา ของมันชั่ว มนั ก็กลายเปนของชวั่ ตามเจาของ เจา ของหมายถงึ ใจผูทาํ
ใจท่ีครองรางอยู จงึ หมายเอาหมดทั้งตวั ของเราน้วี าเปนผชู ว่ั เรื่องกรรมมันเปนอยูเ ชนน้ี

แวนดวงใจ ๑๒๙

กณั ฑ์เทศนท์ -ี่ ๑๑๕๒๗: -สังขารธรรม

๑๓๐

น่ีอธบิ ายถงึ เรือ่ งกรรม หลกั ที่ใชเปน ความหมุนเวยี นเปลี่ยนแปลง เกิด แก เจบ็
ตาย ไมแ ลว ไมเลาเปน อยา งน้ี ถึงอยางไรก็ตาม เมื่อคณุ งามความดี คือกรรมอันดซี ่งึ เราได
พยายามอบรมสั่งสมเอาไว จนเปนผชู นิ ตอ นิสยั ในทางความดแี ลวนน้ั แมจ ะเดนิ ไปตาม
ถนนหนทางท่เี ราจะไปสจู ุดตา ง ๆ เชนเดียวกบั มนษุ ยในโลกเขากต็ าม แตผ ูท มี่ ที รพั ย
สมบัตเิ ปน เทพบันดาลแลว ยอมไปดวยความสะดวกกายสบายใจ ขน้ึ เครื่องจกั ร เครื่อง
ยนต จอดท่ีไหนพักทไ่ี หนมีบานพัก มโี รงแรม มีตลาดรานคา จะจับจายใชสอยอะไรกไ็ ด
สะดวกดวยเงนิ ของเขา แตผ มู ที รัพยส มบัตนิ อ ยหรือไมม ที รพั ยส มบัตเิ ลย เดนิ ตากแดดวนั
ยงั คํ่าแทบจะตายไดทานไมกบ่ี าท แมทีพ่ ักกต็ อ งอาศยั รมไมน อนอยูกบั ดนิ กนิ อยูกบั หญา
ไมม ีหลงั คาเคร่ืองปกปด กาํ บงั ยุงกัดแมลงตอม ฝนตกแดดออก เราเปน ผรู บั เคราะหท ง้ั
นั้น จนกวา จะถึงที่เขาประสงคก ็กนิ เวลานาน

ความแตกตางกันแหงการเดินทาง แมจะไปในทางสายเดยี วกันก็มคี วามชาความเร็ว
มคี วามสะดวกขดั ของตา งกันอยา งนี้ เพราะการกา วไปแหง บคุ คลทง้ั สองจาํ พวกน้มี คี วาม
ตา งกัน คนจําพวกท่ีกลาวไวกอนนนั้ คือจาํ พวกท่ีมงั่ คัง่ สมบรู ณ มีทรพั ยมาก จะไปไหน
สะดวกสบาย เหมือนมีนางขับกลอมบาํ รุงบาํ เรอ มีผูบรกิ ารคนรับใชอ ยูตามระยะทางจนถึง
สถานทอี่ ยู เพราะเงินทองของมีคา เปน เจาอาํ นาจวาสนา เกดิ มาจากเจาของเองทหี่ ามาได
ดว ยความชอบธรรม กลายเปนความสุขแกต นเอง แตพวกคนขา งหลงั นัน้ ไปไหนก็อด
อยากขาดแคลน ทางกแ็ รนแคนกันดาร ไมมคี วามสะดวกกายสบายใจ แมไปถงึ แลว จะหาที่
พักอาศัยก็ไมได เปน ความไมสะดวกไปเสียท้งั นัน้

เราเดินอยใู นวฏั สงสารก็เหมอื นกนั บางคนเกิดมาไมมโี อกาสทีจ่ ะไดเหน็ ความสุข
ความเจรญิ เห็นแตความทุกขค วามขนแคน หาเชากนิ เย็นไมพอปากพอทอง ลาํ บากลาํ เคญ็
เขญ็ อกเข็ญใจ ไรทรัพยอบั ปญญา หากนิ วนั หนง่ึ ๆ ควรจะพอปากพอทองก็ไมพอ สองวัน
สามวนั จะอิม่ ทอ งวนั หนงึ่ ก็ทงั้ ยาก ทั้ง ๆ ทขี่ องในโลกนม้ี ีไมอดและมเี ต็มอยทู ัว่ แผน ดนิ
ตามตลาดรานคาท่วั ๆ ไป แตจ ะถอื มาเปนสมบตั ขิ องตวั นั้น มันจนใจทีไ่ มมอี ะไรจะแลก
เปลี่ยนและไมมีเงนิ จะซื้อ สุดทายก็ตองยอมอดแสบทอง นอนบนแผนดิน เราเหน็ อยเู ตม็
ตาในตลาดเมืองอดุ รของเรานี้ มีทั้งคนมั่งมี มีทง้ั คนจน นอนอยูตามถนนหนทาง ไมม เี สอ้ื
ผาจะปกปดกาย แมก างเกงตัวหนง่ึ ก็ตดิ ตอ กันไมร ูกี่ชนิ้ ชิ้นนัน้ ตอ ชน้ิ น้ี ปะ ๆ ชุน ๆ เต็มไป
ดวยความขาดวิ่นแหงกางเกงและเสอ้ื ผาท่ีเขานงุ หม

ความเปนทั้งน้เี พราะความจนบังคบั มองดูแลว นา ทุเรศ สงสารในความเปนมนษุ ย
ตาดํา ๆ เหมือนกัน ซึง่ เปน ไดถึงอยา งนี้ ผูท่เี ปน เศรษฐมี เี งินลา น ๆ ในอดุ รธานนี ี้ก็มีมาก

แวน ดวงใจ ๑๓๐

แวน่ ดวงใจ : -ภา๑ค๕๘๑ -อบรมฆราวาส

๑๓๑

เหตุใดคนเหมือนกนั ฐานะความเหลอ่ื มลาํ้ ตํา่ สงู จงึ ตา งกนั อยางนี้ ขอน้เี ราจะไปตําหนติ ิ
โทษคนทีเ่ ขาจนกไ็ มไ ด จะไปชมคนมงั่ มีถายเดยี วก็ไมได เพราะมีก็ข้นึ อยูก บั กรรม จนกข็ น้ึ
อยูกบั กรรม กรรมน้นั ก็มีอยูก บั เราเหมือนกัน ถา เราตอ งการใหเ ปนคนประเภททนี่ าสงั เวช
และนา ขยะแขยง เรากต็ องทํากรรมอยางนั้น ตองเปน คนอยา งนน้ั ถา เราตอ งการเปนคนมั่ง
มีเราตอ งพยายามฝกฝนอบรมตวั เรา ดัดแปลงตัวเราใหเ ปน ผูหนักในทางความดี มคี วาม
ขยันหมั่นเพียร มีความอตุ สาหพ ยายามทุก ๆ ทางท่ีจะใหเกดิ ข้ึนแหงโภคสมบตั ิ เรากจ็ ะ
กลายเปนคนที่สองข้นึ มาในคนดแี ละมัง่ มตี ามบคุ คลประเภททกี่ ลาวนั้น สงิ่ ทง้ั หลายในโลก
น้พี อทําไดห าได เกิดข้นึ จากน้ําใจเปน ของสาํ คัญ

นอ่ี ธิบายถงึ การทอ งเท่ียวในวฏั สงสาร เปน ของแตกตา งกนั โดยอาํ นาจวาสนาบุญญา
ภิสมภารอยางน้ี ผมู อี าํ นาจวาสนาสามารถแลว น้ัน ไปในทางใดกไ็ มม คี วามยงุ เหยงิ เปนไป
ดวยความสวัสดี จะมาเกดิ ในโลกนก้ี ไ็ มไดร บั ความทกุ ขลาํ บาก จนถงึ จดุ หมายปลายทางคอื
ความพน ทกุ ขไ ด เชน องคส มเด็จพระผูม พี ระภาคเจา ของเรา ปรากฏวา เวลามาประสตู ิใน
ตระกูลกษตั รยิ  เปน พระเจาแผน ดินครองกรุงกบิลพสั ดุ ไมม ีความขดั ขอ งขาดแคลน มีแต
ความสะดวกไปเสยี ท้งั ส้ิน ทง้ั โภคสมบตั ศิ ฤงคารบริวาร เครอื่ งทรงทกุ อยา งไมมีอะไรขัด
ของ บําเพญ็ คุณงามความดใี นเวลาพระองคเสด็จออกบวช ก็ตรัสรูเ ปนศาสดาของโลก
เสด็จไปทีไ่ หนก็มแี ตม นษุ ยเทวบตุ รเทวดาบูชาวันยงั คาํ่ คืนยงั รุง เต็มไปดวยเคร่อื งสกั การะ
จะวาเกดิ ขึ้นดว ยอํานาจของพระพุทธเจา ก็ไมใ ช แตเ กดิ ขนึ้ เพราะความดีของพระองคตาง
หาก แมพระพุทธเจาทปี่ รากฏข้ึนในพระองคก ็เกดิ จากคุณงามความดี

นีก่ ็เหมอื นกนั ผูใดมปี ญญาเฉลียวฉลาดพนิ จิ พจิ ารณาอบรมจิตใจของตน แมจ ะมา
เกดิ ในโลกมนษุ ยก จ็ ะเปนคนดมี พี ออยูพ อกิน พอเปนพอไป ท่อี ยูอาศัยปจจัยเครอ่ื งใชสอย
ตลอดถึงสมบตั ิทีม่ วี ญิ ญาณและไมมวี ญิ ญาณ จะเปนลูกเปนเมียเปนผวั และเพื่อนฝงู จะ
เปนคนดีมสี งาราศีเปน ทไ่ี ววางใจกันได นีก่ ็เกดิ ขึ้นเพราะอาํ นาจแหงความดี เมอื่ เราทอง
เที่ยวในวัฏสงสารอยู ก็ขอใหไ ดร บั ความสะดวกกาย สบายใจเพราะอํานาจแหงกรรมดี เมื่อ
อาํ นาจวาสนามจี นเพยี งพอแลว เราก็จะปรากฏ เตสํ วูปสโม สุโข จะระงบั ซ่ึงสงั ขารท่เี ต็ม
ไปดว ยความเกดิ แก เจ็บ ตายอันนี้เสยี ได

คําวา เตสํ วูปสโม สุโข การระงับสงั ขารนี้มีสองประเภท คอื การระงบั สงั ขารภาย
นอก ไดแกส งั ขารรางกายนี้ประเภทหน่งึ ระงับสังขารภายใน คอื ความคิด ความปรงุ ของใจ
ซ่งึ เกิดขึน้ เพราะอาํ นาจอวชิ ชาอนั เปน ตัวบงการนั้นประเภทหนง่ึ เหตทุ ีจ่ ะปรากฏสังขารภาย
นอกคอื รา งกายนข้ี ึน้ มา ก็เนือ่ งจากสงั ขารภายใน คือความปรุงความคดิ ของใจเปนเหตกุ อ

แวน ดวงใจ ๑๓๑

กณั ฑ์เทศนท์ -ี่ ๑๑๕๒๙: -สังขารธรรม

๑๓๒

เหตุ จะปรากฏสงั ขารภายในขนึ้ มาเพราะอาํ นาจแหงอวิชชา คอื ความหลงตัวเอง แมจะ
เที่ยวเกดิ แก เจ็บ ตายอยูก ก่ี ปั ก่กี ัลปนบั ชาตไิ มได ก็ไมสามารถจะถอนตนออกจากวฏั ฏะนี้
ได ทา นเรียกวา อวชิ ชา ความหลงในความเปน อยู ในความรอู ยขู องตน จะทุกขลําบากกด็ ี
สุขก็ดี ตนไดเคยรูเคยเห็น เคยประสบมาจนเพียงพอ แตก ็ไมรทู างจะออกจากสงสารจกั ร
อันนีไ้ ด จงึ เตม็ ไปดวยความสุข ความทกุ ขระคนปนเป

เชน เดียวกบั ขาวและแกลบราํ ผสมกันอยู รบั ประทานกไ็ มม ีความเอรด็ อรอย โลกท่ี
มีความเจือปนไปดวยทกุ ข แมจ ะมีสุขกส็ ุขเพอ่ื ทกุ ข เปน ของเจือปนกันอยูเชนนี้ ทานจึงให
นามโลกนี้วา โลกสังขารธรรม ไดแก อนจิ จฺ า วต สงขฺ ารา แปรปรวนอยูตลอดเวลา ขณะ
เกิดมีความย้ิมแยม แตข ณะตายมคี วามเสียใจ น่ันมันเกดิ จากสาเหตคุ อื ความหลงสงั ขาร
อนั เกย่ี วกัน ทแี รกเมื่อเกดิ ขน้ึ มาเปน หญงิ ก็ตาม เปนชายกต็ าม แหม ลกู เรานม้ี นั สวยเหลอื
เกิน มนั นารักนาปลื้มใจเหลือเกิน ท้งั มีความฉลาดรอบคอบ บอกงาย สอนงา ย ไมดื้อดึงฝา
ฝน คาํ สอนของพอแมผ ูปกครอง พอตายเทานนั้ รองไหโ ฮ น่กี ็ความหลงสังขารน่ันเอง ถา เรา
คิดไมร อบคอบแลว จะเห็นแตไดทาเดยี ว ไมค ดิ ดทู า เสีย น่ีแสดงวาไมพิจารณาถึงหลักเหตุ
ผลคือความจรงิ จงึ เกดิ ความเดือดรอ นเมอื่ ภายหลงั

ความดใี จทไ่ี ดในเบือ้ งตนเลยไมพอกับความเสียใจทไ่ี ดรับภายหลัง เบื้องตน มคี วาม
ดีใจทไี่ ดอะไรมาตามความปรารถนา แตเ วลาสง่ิ นัน้ กลบั กลายพลัดพรากจากไปเสยี เลย
เกดิ ความเสียใจขน้ึ มา ยงิ่ มากกวา รายไดท่ปี รากฏข้นึ นัน้ เสยี อีก เพราะขาดเหตผุ ล รายได
กับรายเสียจงึ ไมเพยี งพอกัน คนท่มี เี หตุผลไมคิดเชน น้ัน คนทม่ี ีหลกั ธรรมแลวยอมคดิ เห็น
ทงั้ ไดขน้ึ มาและรูรอบคอบทง้ั เสียไป จึงไมเ สียใจ สังขารประเภทนีป้ รากฏข้นึ พงึ ทราบวา
เงาคอื ความดับ มันจะตอ งมาตาม ๆ กัน แตไมว ันใดก็วนั หน่งึ เทานนั้ ตอ งแนน อนในความ
แตกสลายในความดับไปของสงั ขารธรรมประเภทน้ี แมสมบตั อิ ่ืนทไี่ ดมาและเสียไปกค็ วรมี
หลักเหตุผลเปน เคร่อื งคํ้าประกัน จะบรรเทาความดีใจเสียใจลงได ไมรนุ แรง สงั ขารธรรม
คือ กายปรากฏขึน้ มาจากสังขารภายใน สังขารภายในปรากฏข้นึ มาจากอวชิ ชาคือความหลง
ตวั เอง เม่อื มีศีล มสี มาธิ มีปญญา เปนเครื่องอบรมตนจนสามารถแกก ลา แลว จะไมเห็นตัว
วัฏฏะทีห่ มุนอยูกับหวั ใจของตนตลอดเวลาไดอ ยางไร

การพยายามทาํ ใจของเราใหเหน็ บอ แหงความหมนุ เวียนของตนเอง องคส มเดจ็
พระผูม ีพระภาคเจา ทรงชี้ชองทางวา จงพยายามใหทานจะเปน ทานประเภทใด คอื อภยั ทาน
ก็ตาม ทานดวยวัตถสุ ่งิ ของก็ตาม มากนอ ยไมส ําคัญ สาํ คัญท่ีทําอยูเสมอ นเี่ ปน ผล และเปน
ชอ งทางหรอื เปนเครอื่ งมืออันหน่ึง พยายามรักษาศีลไดมากนอ ยกต็ าม ดวยความเต็มอก

แวน ดวงใจ ๑๓๒

แว่นดวงใจ : -ภา๑ค๖๐๑ -อบรมฆราวาส

๑๓๓

เต็มใจ น่จี ดั วาเปนเครือ่ งมือท่จี ะแกตวั อวชิ ชาอันมืดเตม็ ดวงน้นั ได สมาธิคอื ความสงบของ
ใจเปนทางหรอื เปนเคร่ืองมอื อนั หนง่ึ ทจี่ ะแกต ัววัฏฏะนั้นได ปญ ญาคือความเฉลยี วฉลาด
นับแตปญ ญาขนั้ ตน จนถึงปญญาขัน้ สุดทา ย เปน เครอื่ งมือแตละขัน้ ๆ ทจ่ี ะแกไขอวชิ ชาดวง
น้ันใหไ ด เม่อื เปนผมู ีศลี สมาธิ หรือมีทาน ภาวนาจนเพียงพอแลว วฏั ฏะจะซุม ซอ นอยูท่ี
ไหน และจะไปไหนในเขาลูกใดเลา วฏั ฏะไมไ ดอยใู นกนนรกกบั พระเทวทตั ซ่งึ จะตามแก
ไขยาก แตมันอยูกับใจของเราทุกทาน

เราเปน นักทองเท่ียว เปน นกั เกดิ แก เจบ็ ตาย มาดวยกนั ไมมใี ครแพใครชนะ ไม
มีใครไดเ ปรยี บใคร เรือ่ งความเกดิ ความตาย ความสลาย ความทาํ ลาย ความวิปโยคพลดั
พรากจากสตั วและสงั ขาร การทอ งเที่ยวในวฏั สงสารนม้ี คี วามเสมอภาคกนั ทาํ ไมเราจะไม
สามารถเหน็ ตัวจกั รซ่งึ ทําใหเ ราหมุนเวียนเปล่ยี นแปลงอยูต ลอดเวลา ทําใหเกิด ๆ ตาย ๆ
ทุกขย ากลําบาก หมุนเวยี นอยอู ยางนตี้ ลอดท้งั กปั ทัง้ กัลปไดเ ลา เมอ่ื ปญญามีความสามารถ
พนิ ิจพิจารณาเขา ไปจนเหน็ จติ ซ่ึงเปน เจา วฏั จักร อันเต็มไปดวยอวิชชาหมนุ รอบตัวเองอยู
อยา งนี้ชดั เจนแลว เราตอ งทําลายจติ ทเี่ ปน วัฏจกั รนเี้ สยี ไดด ว ยอาํ นาจแหงปญ ญาแท

เมือ่ ปญ ญาไดทําลายวฏั จกั ร คือจิตทีเ่ ปนอวิชชานเ้ี สยี ไดแ ลว คําวา เตสํ วูปสโม สุ
โข ความระงบั เสียซึ่งสังขารนนั้ มนั ระงบั ดบั ไปเอง เชน เดยี วกับตน ไมท ีเ่ ราถอนขึ้นมาท้ังราก
ไมม อี ะไรเหลือ กง่ิ กา นสาขาทกุ ชิน้ ท่มี ีอยูในตนไมน้นั ตลอดลาํ ตน เขาเราไมต อ งไปทาํ ลาย
พอรากเหงา ของตนไมนน้ั ถูกถอนข้ึนมาหมดเทา น้ัน อวยั วะทุกช้ินของตน ไมน ับวนั จะเหยี่ ว
ยบุ ยอบและตายไป ไมม ชี ้นิ ใดเหลอื อยู ขอ น้ีกฉ็ ันนนั้ เหมือนกนั จะเปน สังขารท่ีวา รปู
สังขารคือกายน่กี ต็ าม สงั ขารทีค่ ดิ ปรุงขนึ้ ภายในจิตใจ จะคดิ ปรงุ ถึงเรอ่ื งอดตี อนาคต ให
ปรากฏเปนบุญเปน บาปในปจจุบันกต็ าม จะตองดับไปหมด เพราะอวชิ ชาซง่ึ เปน หวั หนา วัฏ
จักร หัวหนาของสังขารซ่ึงเปนตวั สมุทยั นี้ ไดถ กู ทาํ ลายหายสญู สน้ิ ไปจากหวั ใจแลว จะ
เหลือแตพุทโธท้ังแทง ไดแกใจทบ่ี รสิ ุทธ์ิเทา นนั้

นน่ั แหละเรียกวา เตสํ วูปสโม สุโข ความระงับดับเสียซึง่ สงั ขารอนั เปน บอ เกดิ แหง
สมุทยั ไดส ้นิ สดุ ลง เพราะอาํ นาจปญญาอันมกี าํ ลงั กลา สามารถประหตั ประหารตัวอวิชชา
ซงึ่ เปนเสนียดจัญไรน้ันไมมีอันใดเหลอื อยภู ายในใจแลว แลวจงึ กลายเปน เตสํ วูปสโม สุ
โข ความระงบั ดบั เสยี ซงึ่ สงั ขารท้งั หลายนัน้ ไมมีอนั ใดจะไปกอ ความทกุ ขทรมาน ไมมีอัน
ใดจะไปกอความทุกข ความลาํ บาก ความดีใจ เสียใจอีกแลว แมสังขารคอื รางกายยังครอง
ตวั อยู แตส งั ขารประเภทสมทุ ัยทเ่ี ปน เครื่องหลอกลวงจติ ใจใหยนิ ดียนิ รา ย ใหเกิดความดี

แวนดวงใจ ๑๓๓

กัณฑเ์ ทศนท์ -ี่ ๑๑๒๖๑: -สงั ขารธรรม

๑๓๔

ใจเสยี ใจ ใหเ กดิ ความทุกขย ากลาํ บาก ดับไปแลว เชน เดียวกับเตาไฟ เม่อื หมดเชอ้ื ไฟอยู
ภายในเตาแลว จะใสฟ นเขา ไปมากนอยก็สกั แตว า เปน ฟน เทานนั้ ไมก ลายเปน ไฟข้นึ มาได

ใจถึงจะเรยี กวาใจกต็ าม แตใจนไี้ มมเี ชื้อคอื อวชิ ชา สังขารปรงุ ข้นึ มาก็เปน ธรรมลว น
ๆ คิดเรื่องอะไรกเ็ ปน ธรรมลวน ๆ เวทนาถึงจะเสวยทุกขบางตามสภาพของขนั ธท ่ีมอี ยู ก็
ไมเ ปนเหตจุ ะใหเ กิดความลมุ หลงแตอยางใด วญิ ญาณความรูในสิ่งท่จี ะมาสัมผสั ก็รบั รูโ ดย
ธรรม ไมร ับรดู วยความหลง ไมรบั รูเพื่อเปน เหตใุ หเ กิดทุกข ใหเ กดิ สมุทยั สั่งสมกเิ ลสข้ึน
มา เลยกลายเปน ขนั ธลวน ๆ คือขนั ธไ มม ีกเิ ลสตณั หา นท่ี า นเรียกวา เตสํ วูปสโม สโุ ข ผู
ถึงธรรมดวงนแี้ ลว เรียกวาเปน ผูถงึ แดนแหงความพน ทกุ ข

แมจ ะมีธาตมุ ขี นั ธอ ยกู ็ไมม ีความเดอื ดรอ นภายในใจ เปน เตสํ วูปสโม สุโข อยู
ตลอดเวลา แตสังขารในขนั ธห านจี้ ะระงับไปไมไ ด เมอื่ รปู ขนั ธน้ยี ังไมแตก จะตองใชอยูเปน
ธรรมดา เหมอื นพระพทุ ธเจา ของเรา ทานตรัสรแู ลว ยงั อาศยั ขันธท ง้ั หานเ้ี ปน เครอื่ งมอื
ประกาศศาสนา คอื อาศัยรา งกายเดนิ เหินไปสทู ตี่ า ง ๆ เพ่อื ส่งั สอนบรรดาสตั ว อาศัยสังขาร
ความคดิ ความปรงุ ภายในใจของพระองค เพ่อื ช้ีแจงแสดงธรรมใหบ รรดาสตั วท ัง้ หลายฟง
อาศัยสญั ญาจาํ วา คนนน้ั คนนอ้ี ยูบานนัน้ เมอื งนั้น เปนผูสมควรจะรบั ธรรมของพระองค
ทานไดขนาดไหน วิญญาณความรบั รูว า ใครเขา ใจในพระสัทธรรมของพระพุทธเจา และใคร
ไมเ ขาใจ เมอ่ื มีการตอบรบั หรอื มกี ารสนทนากนั

เพราะฉะน้นั ขนั ธห าน้ีจงึ เปนเครือ่ งมอื ประกาศศาสนา แตไ มใ ชข ันธท จี่ ะทําพระ
องคใหว ุนวายเหมอื นแตกอ นมา ขนั ธท ่ีทาํ พระองคใ หวนุ วาย ไดแกขนั ธท ีม่ ีอวชิ ชาครองตัว
อยู และเปนเคร่ืองมือของอวิชชาท่ีมีบัญชาออกมาทางไหน กก็ ลายเปน สมุทัยไปท้ังนน้ั
เดอื ดรอนวุน วายไปทง้ั วนั ทัง้ คืน เพราะเหตแุ หง ขนั ธเหลา นไี้ ดร ับการกดข่บี ังคบั ออกจาก
สมทุ ยั ตวั ใหญ ไดแก อวิชชา เมอ่ื อวิชชาดับไปแลว พงึ ทราบวาสงั ขารอนั เปน สมนุ ของ
อวิชชาไดด บั ลงไปพรอมในขณะเดยี วกัน จึงเรียกวา เตสํ วูปสโม สโุ ข การระงับดบั เสียซง่ึ
สงั ขารทานกลาววาเปนความสุขอนั ยงิ่ นน้ั หมายถงึ ธรรมดวงนเี้ อง

บรรดาเราทกุ ๆ ทา น สังขารท่เี ปนตวั สมทุ ยั กอ ความยงุ ยากแกต นอยทู งั้ วันทัง้ คืน
เรากพ็ อทราบอยูภายในจิตใจ เมื่อไดอ บรมจติ ใจใหเปนไปเพอื่ ความสงบเรากพ็ อทราบได
จนกระทัง่ เรามีปญญาสามารถประหตั ประหารกเิ ลสอาสวะเขา ไปเปน ชั้น ๆ ตงั้ แตช้ันหยาบ
ขัน้ กลาง ชนั้ ละเอียด จนถึงช้นั ละเอยี ดทสี่ ดุ ไมม ีอะไรเหลืออยูภายในจติ ใจ แมแตอ วิชชาท่ี
เปน เจาการแหงวัฏจกั รกไ็ ดถูกทาํ ลายลงแลวดว ยปญญาไมมอี ะไรเหลืออยู กลายขนึ้ มาเปน
เตสํ วูปสโม สุโข ระงบั สังขารอยา งราบคาบ เมอื่ สงั ขารภายในใจทเ่ี ปน ไปเพราะอํานาจ

แวน ดวงใจ ๑๓๔

แว่นดวงใจ : -ภา๑ค๖๒๑ -อบรมฆราวาส

๑๓๕

แหง อวิชชาดบั ไปแลว ก็ไมส รา งเปน สงั ขารประเภทใหมข้นึ มา มีความระงบั ดบั เสียซง่ึ
สังขารอยตู ลอดเวลา แมอ อกจากรางนแี้ ลว ก็ไมเ ขาไปสปู ฏสิ นธทิ ไ่ี หน ไมตองเปนนกั เกดิ
แก เจ็บ ตายตอไปอีก

เหมอื นพระพุทธเจา ของเรา เพราะทานระงบั ดับเสียไดซ ึง่ สงั ขารอนั เปนตวั เสนียด
จญั ไร อันเปนเหตุใหทองเทย่ี วในวัฏฏะนีเ้ สยี ไมมอี ันใดท่กี อ กําเนดิ ตอ ไปอกี เปน สคุ โต
เสด็จไปดมี าดี แนะนําส่งั สอนประชาชนท้ังหลายใหเ ปนประโยชน เมื่อถงึ กาลอายขุ ยั ของ
พระองคแ ลว พวกเราทั้งหลายเรียกวา ปรนิ ิพพาน ปลอ ยสังขารอันนไ้ี วใหโลกไดกราบไหว
บูชา หรือปลอ ยใหเ ปน ดิน นํ้า ลม ไฟ ไปตามธรรมชาติ ธรรมชาติท่ีแทจรงิ คือ วิมุตตพิ ุท
โธ ของพระองค เปนสมบตั ขิ องพระองคเ จา แตผเู ดียว น่เี รยี กวา สมบัตทิ ่ีเปน เตสํ วูปสโม
สโุ ข เปน ธรรมท้ังแทง เปนความบริสทุ ธิล์ ว น ๆ ไมม อี นั ใดเจอื ปน

น่แี ลธรรมเทศนาวนั นไ้ี ดแ สดงเรอื่ งสงั ขารธรรม บรรดาทา นผฟู ง ทั้งหลายไดย นิ วา
อนจิ จฺ า วต สงขฺ ารา จะเขาใจวาเปน ภาษติ ทีก่ ลา วซา้ํ ๆ ซาก ๆ แตธรรมชาตทิ ่ีถกู กลา วคือ
ความตาย มันตายอยตู ลอดเวลา แมอยู ณ บัดนีม้ นั กต็ ายและเปลี่ยนแปลงอยตู ลอดเวลา
ที่เราอยูนีม่ ันกต็ าย ในบา น ในปา ภเู ขา ลําเนาไมม ันก็ตาย ในนาํ้ มันก็ตาย บนบกมนั ก็ตาย
ตายทงั้ วนั ทง้ั คืน ถาหากวามีเสียงเหมอื นกับเสยี งปนแลว เยอื่ หขู องเราทั้งหลายแตกทําลาย
ไมม อี ันใดเหลือ เพราะความแปรมนั กด็ งั ข้นึ มา ความแตกความสลายมันกด็ ังขนึ้ มา ความ
ทกุ ขย ากลําบากในครอบครวั เหยา เรือนแตละครอบครวั มนั กด็ ังขนึ้ มา สัตวไ ดร บั ความ
ทุกขมันก็ดังขึ้นมา ทอ่ี ยใู ตนํา้ มันกด็ ังขน้ึ มา อยบู นบกมนั กด็ งั ขนึ้ มา แมทส่ี ุดพวกเราน่งั ฟง
เทศนอ ยู ณ บัดนี้ เกิดความทกุ ขตา งก็จะดงั ขึน้ มาเหมือนกับเสียงปนดังเร่ืองกองทกุ ข เยื่อ
หูก็จะไมส ามารถตานทานอยูไ ด เพราะกองทกุ ขม ันประกาศล่ันโลกอยูอยางนี้

เมอื่ เปน เชนนีจ้ ะไมใ หว า อนจิ จฺ า วต สงฺขารา อยางไร มันเปนซํา้ ๆ ซาก ๆ อยู
ตลอดเวลา ตองแสดงตามความจริงที่มนั เปนอยเู ชน นี้ ใหบรรดาทานผฟู ง ทั้งหลายได
พจิ ารณาวา สง่ิ ทง้ั หลายเหลา น้เี มอื่ มีอยูม นั กแ็ สดงเสยี งลน่ั อยูตลอดเวลาอยา งนี้ แตม นั ไมมี
ปนใหสัญญาณแกเรา ในขณะความทกุ ขหรอื ความแปรปรวนปรากฏข้นึ ในสตั วแ ละสังขาร
แตล ะราย ๆ จึงคลาย ๆ กับวามีทกุ ขแ ตเราคนเดียว มีความเดือดรอนแตเ ราคนเดยี ว มี
ความฟงุ ซานวนุ วายแตเราคนเดียว มีความยากลําบากแตเราคนเดยี ว ขัดสนจนทรพั ยแ ละ
อับปญญาแตเ ราคนเดยี ว ไมดแี ตเ ราคนเดยี ว โลกเขาคลายกับวาเปน ทองคําไปหมด ทจ่ี ริง
โลกมันโลกเดยี วกัน ธาตุขันธอ นั เดยี วกนั โลก อนจิ จฺ า วต สงขฺ ารา อนั เดียวกัน หวั ใจอนั
เดียวกัน มนั เปนทุกขอ ยา งเดยี วกนั นี่เอง

แวนดวงใจ ๑๓๕

กัณฑ์เทศนท์ -่ี ๑๑๒๖๓: -สังขารธรรม

๑๓๖

ขอใหบรรดาทานผูฟ ง ทั้งหลายพนิ จิ พิจารณาในภาษิตที่ไดย กขึน้ ไวว า อนจิ จฺ า วต
สงฺขารา สงั ขารทง้ั หลาย ภายนอกภายใน ท้งั ของทานของเรามันไมเ ทีย่ ง อปุ ฺปาทวยธมฺมิ
โน อุปฺปชฺชิตฺวา นิรุชฌฺ นฺติ เกิดขึน้ แลวไมวาอยูทีไ่ หน ๆ มันแตกดว ยกันทง้ั นนั้ เตสํ วูปส
โม สโุ ข จงพยายามทาํ ความระงับเสียซงึ่ ตน เหตุ คอื สังขารอนั เปนตวั สมทุ ยั ใหด บั สิน้ ซาก
ไปเสียจากใจแลว สังขารทเ่ี ปน ตวั ผล คอื อนจิ จฺ า วต สงฺขารา ความเกดิ ความตายแหง
สงั ขารนจี้ ะไมป รากฏแกใ จของเรา ใหเ ปนความกงั วลตอ ไปอกี เรยี กวา ถึงสันตธิ รรมอัน
ราบคาบ ไดแ กบ รมสขุ คอื วมิ ตุ ตพิ ระนิพพาน

ในอวสานแหงพระธรรมเทศนานี้ ขอบญุ ญานุภาพแหงองคสมเด็จพระผมู พี ระภาค
เจา พรอ มทัง้ พระธรรมและพระสงฆ จงมาปกเกลา เหลา ทา นพทุ ธศาสนกิ ชนท้ังหลาย ที่ได
อุตสาหจ ากบานจากเรอื นมาสดับตรบั ฟง พระสัทธรรมเทศนาโดยความเตม็ อกเต็มใจ จงมี
ความสขุ กายสบายใจทกุ ทวิ าราตรกี าล ดังไดรับประทานวิสัชนามาในพระธรรมคําส่ังสอน
ขององคส มเดจ็ พระผมู ีพระภาคเจา กน็ ับวาสมควรแกเวลา ขอยตุ ิลงดวยเวลาเพียงเทา นี้
เอวํ กม็ ดี ว ยประการฉะน้ี

www.Luangta.or.th

แวน ดวงใจ ๑๓๖

แวน่ ดวงใจ : -ภา๑ค๖๔๑ -อบรมฆราวาส



กัณฑท์ ่ี ๑๓ ๑๓๗

เทศเทนศอ นบอ์ รบมรฆมรฆารวาาวธสารสณรณมวัดสวโดัังพโเพธวธิสชสิ มมภภรรณณ์ ออุดุดรธาานนีี

เม่ือเมว่อืันวทนั ่ี ท๔ี่ ๔สิงสหิงาหคามคมพุทพธทุ ศธศักกั รราาชช๒๒๕๕๐๐๕

อยา ประมาทนอนใจในชวี ติ

นโม ตสสฺ ภควโต อรหโต สมมฺ าสมพฺ ุทฺธสฺส
อจิรํ วต ยํ กาโย ปฐวึ อธิเสสฺสติ
ฉฑุ โฺ ฑ อเปตวิ ญฺ าโณ นิรตถฺ วํ กลิงคฺ รนตฺ ิ ฯ

บัดน้ีจะแสดงพระสัทธรรมเทศนา ทีเ่ ปนโอวาทคาํ สอนขององคส มเดจ็ พระผมู พี ระ
ภาคเจา เพอื่ ใหสาํ เร็จประโยชนเ ปน ธรรมสวนานสิ งสแกบรรดาทา นผูฟง ทงั้ หลาย ฉะน้นั
พงึ ตงั้ ใจของตนเพ่อื จะสดบั ตรับฟงโอวาทคาํ สอนของพระพุทธเจา จะไดสําเร็จประโยชนใน
ขณะท่ฟี ง เทศนด วย จะสาํ เรจ็ ประโยชนในกาลตอไปดว ย การฟง ธรรมเปน ความจาํ เปน

สําหรบั เราซึง่ เปน พุทธบริษัททกุ ๆ ทา น เพราะธรรมเตม็ ไปดวยหลกั เหตผุ ล ผูจะประพฤติ
ปฏิบตั จิ ะเปนทางโลกหรือทางธรรม ธรรมเปนเครื่องชี้แนวทางไวทงั้ ๒ ทาง ผูจะดาํ เนินใน
ทางโลกยอมเปน ความจาํ เปนสําหรับอุบายวิธี หรอื ความฉลาด ท่จี ะนําไปปฏบิ ตั ใิ นกจิ การ
น้ัน ๆ ใหถ ูกตอ งและราบรืน่ แกต นเอง ผจู ะปฏบิ ัติในทางธรรมจะเปนความสะดวกไมผ ิด

พลาด เพราะสงิ่ ใดถาปราศจากการสดับตรบั ฟง ใหเขา ใจและรวู ธิ กี ารไวก อ น แลว ทาํ ไปโดย

ไมไดศึกษา ไมว า ทางโลกหรอื ทางธรรม ยอมอาจทําใหผิดพลาดไดงาย หรือแมเ กิดผลก็ไม
สมบรู ณ เพราะฉะน้ันบรรดากิจการทง้ั ปวง ตอ งอาศยั การสําเหนยี กศกึ ษาใหเรยี บรอยมา
กอน การศึกษาจงึ เปนของจาํ เปน จะเปน เข็มทศิ ชี้แนวทางการดาํ เนินเพ่ือสําเร็จเปนผลขึ้น

มาดวยดี ไมว า กิจการงานใด ๆ ท้ังนนั้ ถา ปราศจากการศึกษาเพือ่ ความเขาอกเขา ใจแลว
การงานทจ่ี ะพึงกระทาํ นนั้ ๆ ยอ มไมส มบูรณ
เฉพาะอยา งยง่ิ ในทางพระพทุ ธศาสนา องคสมเดจ็ พระผูมพี ระภาคเจาจึงทรงสน
พระทัยอยางย่ิง และปรากฏวา ไดทรงศึกษาเพอื่ สรางพระบารมีมาเปนเวลานาน และใชอบ

รมบรรดาพทุ ธบริษัทท้ังหลาย ใหร ูหนทางดีและชั่วเพ่อื ดาํ เนนิ ตนใหถ กู ทาง แมพระองค
เองปรากฏวาเปน สยมั ภูรเู องเหน็ เองกต็ าม ก็ตอ งใหเสด็จออกทรงผนวชและทรงศกึ ษาใน
หลักธรรมชาตกิ ระตุน เตือนพระทัยอยรู อบดาน ถึงกบั ทรงสลดสงั เวชและทรงทนตอ เหตุ
การณเชน นนั้ ไมได

แวนดวงใจ แวน่ ดวงใจ :๑-ภ๓า๑ค๗๖๖๑ -อบรมฆราวาส

๑๓๘

ดงั นน้ั การสําเหนยี กศกึ ษาหรือการสนใจในตวั เหตุผล จึงเปนการศึกษาในตวั แลว
ทานเสด็จทรงผนวชบวชอยา งคนขอทาน ทรงบาํ เพญ็ ความพากเพียร เจรญิ ภาวนา สละทิฐิ
มานะจากความเปนกษัตรยิ ทาํ พระองคเ ปนขอทาน บําเพ็ญสมณธรรมอยใู นปาในเขาซ่งึ
ใคร ๆ เหน็ กจ็ าํ ไมไดว าน่ีคอื ใคร เพราะเหน็ เปนสมณะ เพยี งศรี ษะโลน ๆ เทา นน้ั คลา ย
กับวาไมไดท รงสําเหนยี กศึกษาจากใคร แตแ ทจ รงิ ครสู อนของพระองคมอี ยทู วั่ ๆ ไป และ
ตลอดเวลาท้ังกลางวันกลางคืน พระองคทรงทอดพระเนตรใบไมรว งหลน ลงมาจากตน ก็
ทรงพจิ ารณาวาใบไมเมื่อผลอิ อกทแี รกกเ็ ปนใบออ น แลวก็แปรรูปเปน ใบแกห ลนรว งตกลง
มา ชวี ิตสงั ขารของเราก็เชน เดียวกบั ใบไม สิง่ ตา ง ๆ ซึง่ นอกจากนี้ มลี ักษณะเชน เดยี วกับ
ใบไมท ่ีหลนรวงตกลงมาจากข้ัวของเขา

พระองคก็ทรงพจิ ารณาเทียบเหตุผลขา งนอกขา งใน ใหร ูชดั ตามเร่อื งความเปนจริง
ดว ยพระปญ ญา เพราะสภาพภายนอกกบั สภาพภายในมีลักษณะเชนเดยี วกนั คอื มีความต้ัง
ข้ึน มีความแปรไป และมีความแตกดบั ในทส่ี ุด เมอ่ื พจิ ารณาถงึ พระองคเ องกม็ ลี กั ษณะเชน
นัน้ นีเ่ รยี กวา พระองคท รงสดับธรรมทง้ั หลายซ่ึงเปนหลกั ธรรมชาติ อยูใ นปา เฉพาะพระ
องคเดยี ว กอนจะเสดจ็ ออกทรงผนวชก็ปรากฏวาทรงไดรบั การศกึ ษาในหลกั ธรรมชาติ
อยา งสดุ พระทยั ในคืนวนั พระองคเสดจ็ ออกทรงผนวช ปรากฏวา ไดท รงเหน็ บรรดานาง
สนมผขู ับกลอมบาํ รงุ บําเรอในหอปราสาท คลา ยกับคนตายและเปน ปา ชา ผดี บิ ไปเสียหมด
แมพระองคเองกป็ รากฏวาเปนเชน นน้ั เหมือนกนั จึงเปนเหตใุ หท รงมีความรมุ รอนในพระ
ทัยวา เราจะหาทไี่ หนเปนทพี่ ่งึ

แมบ รษิ ัทบริวารและหอปราสาทราชมนเทยี ร ทเ่ี ราอาศัยอยตู งั้ แตวันเกิดจนถงึ วันน้ี
แตกอ นปรากฏเปนความรมเยน็ เปนที่ร่นื เรงิ บนั เทิงในใจ มาในวันนมี้ องไปทศิ ใดปรากฏ
เปนเชน เดยี วกับปา ชาผดี ิบไปเสียท้ังส้นิ แมหอปราสาทท่เี ราอยู ณ บดั นี้ กไ็ มทราบจะลม
จมทลายลงเม่ือไร พจิ ารณายอ นเขาไปถงึ พระองคเ อง สภาพคอื สังขารรา งกายของเราที่
ประชุมขึ้นมาจากดนิ น้าํ ลม ไฟ กลายเปน สัตว เปน คน เปน หญิง เปน ชายข้นึ มา นี้ก็ตองมี
ลักษณะเชนเดียวกบั สภาวะท้งั หลายซ่ึงมองเห็นอยบู ัดน้ี ส่ิงทั้งหลายทจ่ี ะเปนไปดว ยความ
เทย่ี งแทถ าวรไมปรากฏวา มีในทไ่ี หน ๆ ซ่ึงพอจะเขา พ่ึงพิงอิงอาศัยใหเ ปน ทร่ี มเยน็ พระทยั
มองเหน็ อยูทางเดยี วคือการเสด็จออกผนวช เพอ่ื หาทวี่ ิเวกสงดั ประกอบความพากเพียร
พิจารณาตน เหตุ คือปาชา ผีดิบทพ่ี ระองคไดทรงปรากฏในคนื วันน้นั ใหช ัดเจนลงไป

ทรงเทยี บพระองคก บั บรรดาบรษิ ทั บริวารทั้งหลายเหลา น้นั วา เสมอกนั ในเรอ่ื ง
ความเกดิ เขากับเรากม็ ีลกั ษณะเดยี วกัน ในเร่ืองความแกเ ขากับเราก็มลี กั ษณะอันเดยี วกนั

แวนดวงใจ ๑๓๘

กณั ฑ์เทศน์ท-ี่ ๑๑๖๓๗: -ธรรมสังเวช

๑๓๙

ในเร่ืองความทุกขความลําบากในสกลกาย เขากบั เรากม็ ลี กั ษณะเชนเดยี วกัน พจิ ารณา
ออกไปนอกพระราชวังทัว่ ท้ังดินแดนในไตรโลกธาตุนี้ มสี ภาพเชน เดียวกนั น้ี ไมม ีเกาะใด
ดอนใดทีจ่ ะเปน เกาะเปน ดอนเพอื่ ความรมเย็น เพื่อความแนนหนามน่ั คง เพื่อความไวว าง
ใจได จะเปน ไปเพอ่ื ความแตกความสลายเชนเดียวกับเรานท้ี ัง้ นั้น พระทัยทรงหนกั ในทาง
ทรงผนวชเพื่อจะไดพ นิ ิจพจิ ารณาเรอ่ื งความเกิด แก เจบ็ ตาย ใหชัดเจนในพระทยั ยิง่ ข้ึน
จนไดเ สดจ็ ออกไปจรงิ ๆ

น่ีก็แสดงวา พระองคไ ดท รงศึกษาในหลักธรรมชาติ ซ่งึ เปนของมีอยูทวั่ ไปใหเ กดิ ผล
ประโยชน ใหเ กดิ ความสลดสังเวชในความเกดิ แก เจบ็ ตาย ซึ่งเปนของมีอยทู ่วั ท้ังโลก
สงสาร ไมว าเขา ไมว า เรา ไมว าคนหรอื สัตวชั้นไหน ๆ เม่ือตงั้ รูปตงั้ กายข้นึ มาแลว ความ
แปรสภาพจะตอ งเปน เงาตามตัวอยา งน้ี น่ีเปนการศึกษาที่พระองคท รงคนพบในเบ้อื งตน
มีหลกั เหตุผลเปนเครื่องเทียบเคยี งในคนอน่ื กับพระองคว า มลี กั ษณะเเปนแบบพมิ พอ นั
เดียวกัน คอื อนจิ จฺ ํ ความแปรสภาพมเี ต็มตวั เชนเดยี วกนั ความทกุ ขค วามทรมานในโลกนี้
ไมใ ชโลกท่ีเปนสุขลวน ๆ

โลกทีเ่ ปน อยดู วยความหมุนตัวเปนเกลยี ว ใครจะอยูเ ฉย ๆ ไมไดเ มื่อมสี ภาพราง
กายขึ้นมาแลว แสดงวาสภาพนั้นจะตองเปน สภาพที่กอ กงั วลใหทนไมได อยูเ ฉยก็ไมได ไม
ไดหลบั ไมไดนอน ไมไ ดร บั ประทาน ไมไดเดินไปมา เปลย่ี นอิริยาบถกไ็ มไ ด ถา มิฉะน้นั
แลว เราอยูก บั โลกไมได คือเมื่อไมทําไมได จงึ เรียกวาโลกนี้วา โลกไมได จะอยใู หสบายมัน
อยูไมได นั่งใหส บายกไ็ มไ ด นอนใหสบายกไ็ มได จะไมตองอยูตองกินตองหลับตองนอน
ทําตามสะดวกกายสบายใจมันไมไ ด โลกอนั นก้ี ลายเปนโลกไมไ ดเ สียทัง้ น้ันในพระทัยของ
พระองค โลกไหนจะเปน โลกไดเลา

จงึ ทรงสบื สวนพจิ ารณาทวนหาเหตุผล ก็มีโลกตุ รธรรมเทา น้นั คือธรรมที่บคุ คล
ประพฤติแลว พน ไปเสยี จากโลกไมได ถึงซึ่งโลกไดโลกถึง โลกแนน อนไดแกโ ลกตุ รธรรม
อนั เปน ธรรมที่สูงสดุ แลวทรงปลงพระทัยเสดจ็ ออกในคืนนัน้ ท้งั ท่ที รงทราบวา พระองค
เปนกษัตรยิ  และทรงมบี รษิ ัทบรวิ ารทวั่ ทงั้ แผน ดนิ ทอ่ี ยูในแวนแควน และในรมพระบารมี
ของพระองค แตกเ็ สดจ็ ออกไปพระองคเ ดยี ว มนี ายฉันนะตามเสด็จเพ่ือจะนาํ มา กณั ฐกะ
กลบั คืนเทา น้ัน เมอ่ื พิจารณาตน เหตุทท่ี รงปรากฏในคนื วนั นน้ั จนเหน็ แจม แจงชัดเจนขน้ึ
ยน ในความทพ่ี ระองคทรงบําเพ็ญมาเปนเวลา ๖ ป ถาพดู ตามภาษาของเรา เรยี กวา เกือบ
เปน เกือบตาย เพราะกษตั รยิ เสด็จออกผนวชดวยการเส่ยี งภยั ตอ ชวี ติ เพราะไมเ คยไดรับ
ความลาํ บาก

แวนดวงใจ ๑๓๙

แวน่ ดวงใจ : -ภา๑ค๖๘๑ -อบรมฆราวาส

๑๔๐

คําทีว่ า เปน กษัตรยิ  อะไรเปนกษตั ริยท้งั นน้ั เครอ่ื งทรงทกุ ๆ ชิน้ เปน ของกษัตรยิ 
อาหารการบริโภคเปนเครอ่ื งกษัตรยิ  ทอ่ี ยอู าศยั ปจจัยทกุ ๆ อยางเปนของกษัตริยท ัง้ นน้ั
เม่อื ไดเ สดจ็ ออกทรงผนวชเปนคนขอทานแลว ความเปนกษตั รยิ ก ็สูญหายไป ยังเหลือแต
ความเปน คนอนาถาหรอื คนขอทาน ไมม ีคุณคาราคาแมแ ตน อ ยในพระองค บรขิ ารเครอ่ื ง
อาศัยทกุ ช้ินก็กลายเปน บริขารของคนขอทานไปหมด ไมม ชี ้ินใดจะเปนเคร่ืองของกษัตรยิ 
เหมอื นแตก อ น แลวทรงพยายามสละทิฐมิ านะจากความเปนกษตั รยิ ใหหมดโดยสิน้ เชงิ ยงั
เหลอื แตคนขอทานเทานั้น ซง่ึ เปนคนเชน เดียวกับคนขอทานธรรมดาทว่ั ไป ซึ่งเราเห็นอยู
ดวยตา แตกลบั เปน เพศที่อยสู บายสาํ หรบั พระองค และเปนฐานะท่คี วรแกความเปน
ศาสดาของโลกไดด วย

แลวกท็ รงพนิ ิจพิจารณาหลักความเกดิ แก เจ็บ ตาย อันเปน โลกไมไ ดแลว โลกทน
อยูไมได โลกหมนุ เวียนเปลยี่ นกันไปเปล่ียนกันมา ตื่นของเกา ตืน่ ของใหม เขาใจวา เปน
ของใหมอ ยเู รือ่ ย ๆ อยา งนที้ ่ีเรยี กวา โลกวฏั จกั ร เมอื่ พระพทุ ธเจาไดท รงพิจารณาโลกน้ใี ห
ชดั เจนแลว ในพระทัยกท็ ราบวาเต็มไปดวยโลกอนั นี้เหมอื นกัน คือในเจตสกิ ธรรมก็แสดง
ความแปรปรวนหมุนเวยี นเปล่ียนแปลงไปดี ไปช่วั ไปอดีต อนาคต ปรุงกลบั ไปกลบั มาอยู
เชนน้ี ใหเห็นชัดดว ยพระปญญาเรียกวา ปจ จยาการ หรอื ปฏิจจสมุปบาท

กําหนดพิจารณาเร่ืองความเกิดความดับของสังขารท้งั ของเขาทง้ั ของเรา ตลอดทั้ง
โลกธาตุเห็นเปนสภาพไตรลักษณเ ทา น้นั คือ อนจิ จฺ ํ ท่วั ท้งั โลกธาตุ นบั ตัง้ แตตวั ของเราไป
ทุกฺขํ เปน ความทุกขเ ชน เดยี วกนั อนตตฺ า ตายแลว ใครจะถือเอาสงิ่ ใด ๆ จากโลกนี้ไปสูโ ลก
หนาไมได ทีส่ ดุ แมแตผมเสนเดียวซ่งึ เบาที่สดุ ท่ีเราไปไหนมาไหนติดตามตวั ของเราไปได
แตเม่อื จากโลกนไี้ ปแลว ตองมอบคืนเปนสมบัตเิ ดิม คือ ดิน นํา้ ลม ไฟ สงิ่ ทีเ่ หลือไปกค็ ือ
ดวงใจ และสง่ิ ทแ่ี ฝงไปกับดวงใจนั้นคือ ความดแี ละความชั่ว ซึ่งตนไดสัง่ สมไวในคราวมี
ชีวติ ธรรมชาตทิ ัง้ สองนี้เปนเงาตามตัว

เมอ่ื ทรงทราบเชน น้แี ลว กท็ รงย้าํ เขาไปอกี วา บาปเปนความช่วั เปนสง่ิ ที่เหน็ ไดชัด
แตบุญที่เปนความดีน้ีจะตามเราไปถึงไหน กท็ รงพิจารณาบญุ และบาปอกี ใหเ ห็นชดั โดย
ทางปจจยาการ เรียกวา ปฏิจจสมุปบาท คนเขา ไปถงึ อวชิ ฺชาปจฺจยา สงขฺ ารา เปน ตน
เร่ืองความเกดิ ต้งั กําเนดิ มาแตอ วชิ ชา ติดตอแตกแขนงเปนลําดับ ๆ คือเปน กิ่ง เปนกา น
เปน ใบ เปนดอก เปนผล ตอตนตอลาํ ไป จนกระทงั่ ถึง สมุทโย โหติ ท่ีทานเรียกวา ราก
เหงา ของอวิชชา เปนเครือ่ งตดิ ตอ แขนงไปอยา งน้ี

แวนดวงใจ ๑๔๐

กัณฑ์เทศน์ท-ี่ ๑๑๖๓๙: -ธรรมสงั เวช

๑๔๑

เม่ือพระองคทรงพจิ ารณายอ นกลับไปกลบั มา จนทรงเหน็ ชดั ตามเปน จริงในอวิชชา
วาเกิดข้ึนจากธรรมชาติ คือดวงใจนีแ้ ลว จงึ ทรงกําหนดพนิ จิ พจิ ารณาเรอื่ งใจดวงท่เี ปน
อวิชชาน้นั ดว ยพระปญญา ในคนื วนั เพญ็ เดอื น ๖ กท็ รงเห็นแจม แจงชัดเจน อวิชชาไดแ ตก
กระเดน็ ไปจากพระทยั ของพระองคใ นคืนวันนน้ั จงึ ปรากฏวาพระพทุ ธเจา ของเราไดต รัสรู
ในคนื วนั เพญ็ เดือน ๖ เปนอนั วา พระองคไดท รงขบคิดปญ หาตงั้ แตค ืนวนั เสด็จออกผนวช
จนถงึ วันเพ็ญเดือน ๖ รวมเปน เวลา ๖ ป ปญ หาทัง้ หมดในเร่อื ง เกดิ แก เจ็บ ตาย ในเรื่อง
ความหมุนเวียนเปลยี่ นแปลงแหงจิตใจและธาตขุ นั ธทัง้ หลายไดจบสน้ิ ลงในวันนั้น แลวได
ทรงทราบชดั วา พุทโธคือความบรสิ ุทธ์ิไดผดุ ขึ้นแลวในพระทยั ของพระองค เปน พุทโธที่
พนจากกิเลสตัณหาอาสวะ เปน พทุ โธท่บี ริสทุ ธ์ิเตม็ ท่ี เปน พทุ โธที่หมดความกังวล เรยี กวา
ผา นพนโลกไมไดน ีไ้ ปเสีย กลายเปน โลกที่ใหนามวา โลกุตรธรรม คือธรรมทีส่ ูงกวา แดน
แหงสมมุติ คอื พนจากแดนแหงความเกดิ แก เจบ็ ตายนี้ไปไดเ ปน องคแรก

เมอื่ พระองคไ ดท รงตรสั รใู นคนื นั้นแลว ทรงมีพระทัยจะสง่ั สอนบรรดาสัตว คร้งั
แรกของพระองคมคี วามทอพระทยั ในการจะทรงแนะนําสั่งสอนสัตว ดว ยเหน็ วา พระธรรม
ท่ีทรงไดรูไ ดเ ห็นนี้ เปน ธรรมทีเ่ หลอื วสิ ยั ของมนุษยผ มู กี ิเลสอยา งพวกเราท้งั หลายจะ
สามารถรไู ด แตเ มื่อพิจารณาพระองคเ ทียบกบั บรรดามนษุ ยท ้ังหลายแลว เหน็ วาพระองคก ็
เปนมนษุ ยเ ชน เดียวกบั มนษุ ยท ัว่ ไปในโลก เหตใุ ดจึงทรงรไู ดเห็นไดเลา ก็ยอ นเขา ถงึ
ปฏปิ ทาขอดําเนนิ เมอื่ มปี ฏิปทาเครือ่ งดําเนนิ ใหถ ูกทางแลว ตองเปนเหตุใหถงึ จดุ หมายได
โดยดี จึงทรงมพี ระทัยท่ีจะทรงแนะนําส่งั สอนสตั ว โดยเหน็ วา บรรดาสตั วท ง้ั หลาย ถาไดร ับ
การอบรมสั่งสอนตามแนวทางที่ถูกตองแลว ก็จะสามารถรไู ดเหน็ ไดเ ชน เดียวกับพระองค
จงึ ทรงปลงพระทยั แนะนาํ สัง่ สอนบรรดาสตั วทง้ั หลายเปนลําดับมา ปรากฏวา พระองคเ ปน
ศาสดาสอนพระองคอ ยางสมบรู ณแ ลว จงึ ทรงเปน ศาสดาสอนโลกไดอ ยา งสมบรู ณเ ปน
ลําดบั มาตลอดทกุ วนั นี้

เพราะฉะน้นั วันน้ีบรรดาทานพุทธศาสนิกชนท้ังหลาย ไดอ ตุ สา หพยายามมา
บําเพ็ญกศุ ลในสถานที่น้ี อันเกี่ยวกบั เจาพระคุณธรรมเจดีย ซ่งึ ทานถงึ มรณภาพบรรจศุ พ
ของทานไวในโกศ ไดมาสดบั ตรับฟงพระสทั ธรรมเทศนาและไดปลงธรรมสังเวชวา ทานเจา
คณุ พระธรรมเจดียก บั เราน้ีเปน ธาตุ ๔ ดิน น้าํ ลม ไฟ อันเดยี วกนั ตามบาลที ีก่ ลาวไวใน
เบือ้ งตน น้นั วา อจริ ํ วต ยํ กาโย กายเปน ของไมต ั้งอยมู ัน่ คงถาวรเชน เดยี วกบั พระคุณทา น
ปฐวึ อธเิ สสสฺ ติ ฉุฑฺโฑ อเปตวิฺญาโณ อยางไรกต็ องนอนทบั แผนดิน เมื่อวญิ ญาณได

แวน ดวงใจ ๑๔๑

แว่นดวงใจ : -ภา๑ค๗๐๑ -อบรมฆราวาส

๑๔๒

ปราศจากแลว นแี่ สดงใหเราทั้งหลายไดพินิจพจิ ารณาองคของทานทีม่ รณภาพไปแลว กับ
เราที่ยังมชี วี ติ อยู มีความแตกตางกนั ตรงไหนบา ง

ตา งกนั ตรงทีผ่ มู ีวญิ ญาณยงั ครองอัตภาพอยู กบั ทานท่มี ีวญิ ญาณปราศจากไปแลว
เขาใหชื่อวาตายแลว เทาน้ัน เม่ือวญิ ญาณไดป ราศจากตวั ของเราแลว เขาจะเรยี กเราวา อยา ง
ไรอีก กต็ องย้าํ รอยกันลงไป เชน เดยี วกบั พระคณุ ทานที่ปรากฏเปนสักขีพยานของเราท้งั
หลาย ณ บดั น้ี เพราะเหตนุ ัน้ เราทง้ั หลายท่ีมานี้ จงึ มาปลงธรรมสงั เวชอนั เปนเหตุใหระลกึ
ถึงตัวของเรา จะไดไมประมาทนอนใจ บําเพ็ญคณุ งามความดีเพื่อเปน เครอื่ งพยงุ จงู ใจให
ไปเกิดในสถานทด่ี ี แมจ ะไดมาเกดิ เปน มนษุ ยกจ็ ะเปน มนษุ ยที่ดี มคี วามเฉลียวฉลาดดวย
อาํ นาจวาสนา ความรูวิชา ตลอดถึงโภคสมบตั ิศฤงคารบริวารจะเปนมาดวยอาํ นาจแหง
ความดีของเรา เมื่อตายแลว หมดการกระทําดกี ระทําชั่ว ยอมเสวยผลกรรมทต่ี นไดท ําไว
แลว

บัดนี้ขณะนเ้ี ราท้งั หลายทกุ ๆ ทานยังไมสายเกินไป เปน ผูพ อเหมาะกับกาลเวลา
เรียกวา มัชฌิมา ในการทาํ คณุ งามความดี สามารถจะบาํ เพญ็ ตนใหเ ปนไปเพ่ือความเจริญ
ท้ังทางโลกทางธรรมได ดว ยการกระทาํ ของเรา เมือ่ ตายแลวกห็ มดวสิ ัยจะทําดที ําชัว่ ตอ ไป
ไดแลว ทา นเปรียบดว ยทอ นไมทอ นฟน ไมเปนประโยชนอ ันใด แตท อนไมทอ นฟนน้ันยัง
เอามาทําเปน ฟนหงุ ตมได หรือจะมาทําประโยชนอยา งอ่ืนกย็ ังได สวนเราทต่ี ายไปแลวจะ
ทาํ อยางนน้ั ไมไ ด แมจ ะทําเปน ฟนเปนถา นก็ไมได จะทําปลารานํ้าปลากไ็ มไดอกี เหมอื นกัน
เรยี กวา หมดราคาในคนตาย จะบําเพญ็ คุณงามความดตี อ ไปอีกไมไดแ ลว

พระองคต รัสไวว า นพิ พฺ านํ ปรมํ สุ ญฺ ํ พระนิพพานเปนธรรมทีส่ ญู ส้ินจากทกุ ข
จากภัย จากความเสนียดจญั ไรทกุ ๆ อยา ง นพิ พฺ านํ ปรมํ สขุ ํ ในขณะเดียวกัน เมอ่ื สญู ส้ิน
จากส่งิ ทง้ั หลายเหลานน้ั แลว ยังกลายเปนธรรมบรมสุขยงิ่ กวา ความสขุ ใด ๆ ในโลกน้ีอกี
โก นุ หาโส กมิ านนโฺ ท นจิ จฺ ํ ปชฺชลิเต สติ เพราะเหตนุ ั้น บรรดาทานทง้ั หลายจงรีบมา
ตามเราตถาคตในเดีย๋ วนี้ อยาพากนั มีความประมาทนอนใจในชวี ติ จิตใจของตน ซึง่ ปรากฏ
อยูกบั ดวยลมหายใจเทา นัน้ เม่ือลมหายใจดบั ลงไปแลว จะเปน คนหนมุ คนแก คนขนาด
ไหนกต็ าม เขาเรียกวาคนตายทัง้ นน้ั ฉะน้นั อยา ไดพากันประมาทนอนใจกบั ลมเพียงเทา น้ี
ไฟกเิ ลสตัณหากาํ ลังลกุ ลามไหมหวั ใจสตั วผ ปู ระมาท ใครฉลาดจะพน ไปกับเราตถาคต
หมดอํานาจของกเิ ลสจะตามทนั จงใหร ีบตามเราตถาคตไปดวยขอปฏิบตั ิ ดวยทาน ดว ยศลี
ดว ยภาวนา

แวนดวงใจ ๑๔๒

กณั ฑเ์ ทศน์ท-่ี ๑๑๗๓๑: -ธรรมสงั เวช

๑๔๓

จงมองดูตวั ของเราใหชัด มองดูหนงั ดเู นอื้ ดตู ัวของเราใหช ัดดวยปญญา หนังภาย
นอกทเี่ ราไปดใู นโรงหนงั โรงลเิ กโรงละครนั้น เปนหนังท่จี ะเพมิ่ ความทะเยอทะยาน ความ
ฟงุ เฟอเหอ เหิม เปนเหตุใหเ สียนสิ ัยต้ังแตเ ดก็ จนกระทัง่ ถึงเปนผูใหญ เสียเงินเสียทองไป
เพราะสิง่ เหลาน้นั กม็ ากมาย โดยไมคอยจะไดคติในทางทีด่ ี นอกจากจะเปนไปในทางเพลิน
เสยี โดยมาก การดหู นงั เนอ้ื เอ็น กระดูก และทุกสว นในรางกายของเราซงึ่ เปนภาพยนตรที่
มีอยูกบั ตวั นี้ จะไมต องเสียอฐั เสียสตางค ยิ่งจะใหเกิดธรรมสงั เวช เปนเหตุใหเดินตามรอย
ของพระพุทธองค ดว ยความเหน็ โทษในกองทุกขที่ตรสั ไววา โก นุ หาโส กิมานนฺโท นจิ จฺ ํ
ปชชฺ ลเิ ต สติ

อยาพากนั รน่ื เรงิ บนั เทงิ จนเกนิ ไป ใหมองดสู กลกาย ความแก ความเฒา ความชรา
ความจะแตก ความจะทาํ ลายน้นั จะไมทําลายท่ไี หน นอกจากจะแตกทาํ ลายในตวั ของเรา
จะตายในตวั ของเรา รบี เรง หาคณุ งามความดี เวลานีต้ ะวนั ยงั ไมอ สั ดง คือตัวของเรายังไม
ตาย ใหรีบเดนิ ตามพระตถาคตเจา ไปเดี๋ยวน้ี พวกทา นทั้งหลายจะปลอดภยั ไฟราคะ ไฟ
โทสะ ไฟโมหะ จะไมก ลมุ รมุ เผาลนทานท้งั หลายอีกตอ ไป เชนอยา งเราตถาคตน้ี เรา
ตถาคตนเ้ี กิดสุดทายในคร้ังเดียวเทาน้ัน เราไดต ัดขาดจากมติ รจากสหาย คอื ความเกิด
ความแก ความตาย ความกงั วลท้ังหลายแลว จะไมต อ งมาสูโ ลกซึ่งเปน โลกหมนุ ตวั เปน
เกลียวอีกตอ ไป นเ้ี ปนธรรมที่ประกาศใหเ ราพทุ ธศาสนกิ ชนท้งั หลายไดท ราบและตน่ื ตัวไม
ใหมัวเมาประมาท

ธรรมคําส่ังสอนทพ่ี ระองคตรสั ไวแลวนัน้ เปนมชั ฌิมา มคี วามเปน กลางอยูเสมอ
ใครทาํ ดวี นั ใด ใหท านวนั ใด เจรญิ ภาวนาหรอื รกั ษาศีลเมอื่ ใด เปนคุณงามความดี จะ
ปรากฏผลตลอดเวลา ใหเดินตามตถาคตเจา ไปอยา งน้ี น้ีเปนพระโอวาทของพระองค
สมเดจ็ พระผูมีพระภาคเจา นีแ่ สดงเรือ่ งธรรมชาตทิ ่ปี ระเสริฐเลิศกวาสง่ิ ใด ๆ ในโลก คือ
นพิ พฺ านํ ปรมํ สุ ญฺ ํ ไดแ กนิพพาน เปน ธรรมท่ีสูญสิน้ จากสงิ่ ท้งั หลาย ชื่อวากองทุกขแม
แตนอยจะไมมีในพระนพิ พานน้นั ๑ นพิ พฺ านํ ปรมํ สขุ ํ ไมมคี วามสขุ อนั ใดทเี่ ราท้งั หลาย
ไดผานมาในโลกน้ีจะเปนเหมือนความสขุ ในพระนิพพานน้ัน ๑ อเปตวิฺญาโณ นริ ตฺถํว
กลงิ ฺครํ ทานทงั้ หลายอยาเพลิดเพลินรื่นเริงกับทอ นไมท อ นฟนอันจะแตกจะดับ และลม
หายใจฟอด ๆ อยางนจ้ี นเกดิ ไปเลย จงตามเราตถาคตไปดว ยขอวตั รดว ยขอปฏิบตั ิ ดว ย
ทาน ดว ยศีล ดว ยภาวนา อยา เปน ผนู อนใจ ประมาทในชีวติ สังขารของตน

เขาตายกนั อยูท ่วั ท้ังแผน ดิน ซง่ึ เปนครสู อนเราแลว ทาํ ไมจงึ พากนั ประมาทเลา
แสดงเหมอื นกบั วาตะโกนเรียกเราใหร บี บาํ เพ็ญตน เพอ่ื ตามเสดจ็ พระองคไ ปใหพน ภยั คอื

แวน ดวงใจ ๑๔๓

แวน่ ดวงใจ : -ภา๑ค๗๒๑ -อบรมฆราวาส

๑๔๔

กองทุกข ซ่ึงมอี ยูในรา งกายและจิตใจ และเผารุมเราอยูต ลอดเวลาไมมเี วน ระยะแมแตข ณะ
เดยี ว สงั ขารรา งกายของเราเขาแสดงการทา ทายเราอยเู สมอวา สภาพอันน้เี ปน สภาพทว่ี าจะ
แตกแน ๆ ถา พูดตามภาษาของเรากเ็ หมือนวา กองทกุ ขเ ตม็ ตวั ทานรูหรือยัง แสดงความ
เอารดั เอาเปรยี บตลอดมา ถา ไมไ ดกนิ อยูหลับนอนเปนประจํา เขาตอ งแตกสลายโดย
ถา ยเดยี ว เพราะขันธนี้เปน สิง่ ท่อี ยเู ฉย ๆ ไมได ตองพยายามพะเนา พะนอ อุปถัมภ
อุปฏ ฐากดูแลรักษา อิริยาบถท้งั ๔ เปนเรือ่ งจะตองทําเพอื่ กายของเราท้งั นนั้

แตก ารแสดงธรรมทั้งหมดน้ี บรรดาทานผฟู งจะนําไปประพฤตปิ ฏบิ ตั ิใหไดผล
ประโยชนแกตนมากนอ ยเพียงใดน้ัน ขนึ้ อยูกับความสามารถ ข้นึ อยูกับกาํ ลังสติปญ ญา
หรือความคิดของตนเอง เปน ไปไดตามกาํ ลงั ศรทั ธาความสามารถ ยอ มไมเสียประโยชน

วันนีไ้ ดแ สดงถึงเรื่อง อจริ ํ วต ยํ กาโย ปฐวึ อธเิ สสสฺ ติ ไมว า กายของใคร ๆ ท้งั น้ัน
ไมจ รี ังถาวร เปนเรอื่ งเกดิ ๆ ตาย ๆ ถึงเราจะวาเรามอี ายยุ นื อยตู ัง้ ๖๐ ป ๗๐ ปก ็ตาม จาก
นน้ั มาถงึ วันตาย มันคลา ย ๆ กับวาเพียงชัว่ โมงเดียวเทา นั้น การราํ่ รร้ี าํ่ ไร การซ้าํ ๆ ซาก ๆ
แหงความเกดิ ความตาย ความทุกข จงึ เปนของทนี่ า รําคาญสาํ หรบั นกั ปราชญ คือพระพุทธ
เจา แมเราจะไมส ามารถทําไดอยา งพระองคทานกต็ าม แตก ็ควรจะนาํ แบบของทานไปพินจิ
พิจารณา แลว อตุ สาหประพฤตปิ ฏิบตั ติ ามคําสอนของพระองค จะเปน ไปเพอ่ื ความเจริญรงุ
เรอื งท้งั ในชาตนิ แ้ี ละชาติหนา ไมเ สียเวลาเปลาทไ่ี ดใ นความเปนมนษุ ยซ่งึ เปนชาตทิ ีส่ ูงสดุ
กวา บรรดาสตั ว ท่เี ขาไมม โี อกาสเหมือนอยางเรา ครองสมบตั แิ หงความเปนมนุษยอ ยู ณ
บัดน้ี

ในอวสานแหงพระธรรมเทศนานี้ ขอบญุ ญานภุ าพแหงองคสมเดจ็ พระผมู ีพระภาค
เจา พรอมทง้ั พระธรรมและพระสงฆ จงมาปกเกลาเหลาทา นพุทธศาสนกิ ชนทัง้ หลาย ที่ได
อตุ สา หม าดว ยความเต็มอกเต็มใจ ใหมีความสุขกายสบายใจทุกทิวาราตรกี าล ดังไดรบั
ประทานวิสัชนามาในธรรมคําส่ังสอนขององคส มเดจ็ พระผมู พี ระภาคเจา เหน็ วา สมควรแก
เวลา ขอยตุ ิลงดวยเวลาเพียงเทา นี้ เอวํ กม็ ดี ว ยประการฉะน้ี

www.Luangta.or.th

แวนดวงใจ ๑๔๔

กณั ฑ์เทศน์ท- ่ี ๑๑๗๓๓: -ธรรมสังเวช



เมอ่ื เเวทมนั ่ือศเททวนศนัี่ อ๑นทบ์อ่ี๗๑รบ๗มรกมกฆรฆกกฎรกรราฎัณกาแววฏาาหฑาคาสสคม่งท์ มณกณี่ พ๑พรวุทวุท๔รดั ธัดธมปศปศาา่ักักบบรราา้าาชนนชตต๒๒าาด๕ด๕๐๐๖๖ ๑๔๕

ยึดหลักมัชฌมิ าไวใหดี

ทุกทา นที่มาจากสถานทต่ี าง ๆ มุงหนา เพ่ือศกึ ษาและปฏิบตั ิ เจตนาทีเ่ คยตัง้ ไว
อยา งไร โปรดคาํ นึงเสมอ เพราะเจตนาเปนหลกั สําคัญ และเปน เคร่ืองเตือนใจไมใหเ ขว
ไปจากหลกั ของการดําเนนิ อัตสมบัติเปน สิง่ สาํ คญั มากกวา ส่งิ อน่ื ใด ฉะนนั้ อริ ยิ าบถทง้ั สี่
คือ ยืน เดนิ นัง่ นอน พึงสํานกึ ถงึ เรอื่ งของตวั เสมอ เรอ่ื งท้ังหมดท้ังภายนอกและภายใน
จงถือเปน เรอ่ื งของตัวจะวินจิ ฉัยใหท ราบเหตุดีเหตชุ ั่ว แลวปลอยวางไวตามควร การ
ปฏบิ ัตไิ มไดผลเทา ท่คี วร โดยมากเนือ่ งจากการลมื ตัวและลมื เร่อื งของตวั ซ่งึ ควรจะปฏบิ ตั ิ
ตอกัน เฉพาะอยา งย่งิ คือ การปรับปรุงจิตใจใหมคี วามมัน่ คงตอ หลักธรรม และรูว ิธีรักษา
ไวไ มใ หส่ิงที่ชัว่ เขามาแทรกซึมได นน้ั แล เปน ทางปฏิบตั ิชอบของพระผูมเี พศสงั วร และ
พากเพยี รในทางทีช่ อบ

โลกที่มคี วามเจริญรุงเรอื งทั้งดานวัตถุและดา นจติ ใจ เน่อื งจากการปรบั ปรุงจติ ให
มหี ลกั ฐานมน่ั คงตอตนเองและหนาท่กี ารงาน ไมป ลอยใจใหรวนเรไปตามอารมณเครื่อง
ผลักดันไปทางหายนะ หรือเปนสอ่ื แหง ความหายนะ จงึ สามารถสรา งตนและโลกใหเ ปน
ปก แผนแนนหนาได คนมหี ลักใจชื่อวา มีหลกั ทรัพยเปน เครือ่ งประดับตน ทาํ ผูนัน้ ใหงาม
และมสี งาราศใี นสังคมและทีท่ ั่วไปไมมวี นั จืดจาง ไมม เี ครอื่ งประดับใดจะสามารถทําคน
ใหงามตลอดวัย เหมอื นผูนําธรรมมาเปน เครือ่ งประดับกาย วาจา ใจของตน เพราะ
เคร่ืองประดบั อน่ื ยอ มเปน ไปไดตามวัย จากน้ันก็รวงโรยไปเพราะขาดความนิยม ไม
เหมอื นธรรมซง่ึ เปน ความงามอยูตามหลักธรรมชาติ

ฉะน้ัน การอบรมใจใหมีรากฐานมน่ั คงดวยธรรมและความรูว ชิ าเคร่ืองรักษาตน
แตตนมือ เปน ส่ิงสาํ คัญและจําเปนอยางย่ิงในคนทกุ ช้นั ทกุ วัย เชน พอแมอบรมเดก็ ตาม
โอกาสอันควร และสง เด็กเขา โรงเรยี นเสียตงั้ แตเ ม่อื ยังเด็ก ๆ เพอ่ื ใหเ ด็กมีความรวู ชิ า
และมีเหตุผลในสง่ิ ตา ง ๆ ไปในระยะนั้น จะไดไมเ ปนคนงมงาย ทัง้ เปนการฝกหัดเด็กให
รกู ารงานในหนา ท่ขี องตวั จนกลายเปนคนเคยชินตอหนา ท่ที ่ตี นจะควรทํา ไมเ ปนเดก็
เกยี จครานและเกเร เพราะหนาท่ีของพอแมจะสามารถใหก ารอบรมดูแลเดก็ ในดานการ
งานแขนงตาง ๆ ตลอดวิชาความรอู ยา งเต็มที่ได ก็ในระยะท่ีเดก็ กําลงั หัวออ นและอยูใน

แวน ดวงใจ กัณฑ์เทศน์ท-่ี ๑๑๑๔๔๗๕๕: ก-ฏแหง่ กรรม

๑๔๖

ความปกครองของตนเทา นั้น จากนัน้ จะหาโอกาสใหความรแู กเด็กไดยาก แมเ ขาจะ
ประพฤติตัวเปนคนเสยี คนเกเรไปมากนอ ยเทาไร พอ แมย อมหาทางดัดแปลงแกไ ขได
ยาก

อนงึ่ เด็กประเภทเกเรและโงเขลา พอแมจ ะเลี้ยงดใู หม วี นั เติบโตไมไดเลยตลอด
กาล แมเ ขาจะมคี รอบครวั หรอื โยกยายไปอยูท ่ไี หนแลว กจ็ าํ ตอ งมารบกวนออ นวอนและ
ถากเนือ้ เถือหนงั กัดแทะกระดูกพอ แมอ ยทู าํ นองนนั้ ไมม วี นั ทพี่ อแมจ ะอยสู บายใจได
เลย การเล้ียงดเู ด็กโง เดก็ เก เด็กเกียจคราน รูส ึกเปน เคราะหก รรมของพอ แมอยา งหนัก
ยง่ิ กวาภูเขาทง้ั ลูกเสียอีก ดังน้นั การตะเกยี กตะกายอบรมสงสอน และหาอบุ ายใหเ ดก็ มี
ความรูความฉลาดในวิชาและหนา ทก่ี ารงาน จงึ เปน ภาระอนั หนกั ยง่ิ ของพอแมแ ตละ
ครอบครวั

การสง เดก็ เขา โรงเรยี น และจา งครมู าสอนวิชาพเิ ศษใหในเวลาเดก็ วา ง ตลอด
การอบรมสง่ั สอนใหร ูจ กั กจิ บา นงานสงั คมและว่ิงเตนหางานใหเด็กทํา ทัง้ น้กี ็เพอื่ จะฉุด
ลากเดก็ ขึ้นจากหลมลกึ ซง่ึ เปนเหมือนเหวขวางหนาเด็กอยู ไดแกค วามขดั สนจนทรพั ย
อับปญญา ซงึ่ จะเปนเคราะหก รรมอันรายแกเ ด็กในอนาคต ทพ่ี อ แมผ ูคอยรับบาปกรรม
ดว ยจะนง่ิ นอนใจอยไู มไ ด ตองรบี หาหนทางหลีกเลี่ยงใหเด็กเสยี แตต น มือ จนกวาเด็กจะ
มคี วามรคู วามฉลาด ทั้งดานความรวู ิชาและดา นหนาทก่ี ารงาน แตการเลีย้ งดคู นฉลาด
และเชื่อฟง ทัง้ มีความขยันหม่นั เพยี ร ยอมมวี ันเติบโตและเบาใจแกผ ูรบั เล้ยี ง นอกจาก
นนั้ เขายังมองเห็นบญุ คณุ พอ แม และทา นผเู คยมบี ุญคุณแกเขา แลวพยายามหาโอกาส
ตอบแทนบญุ คุณจนได ไมเ ปน ทาํ นองวา กูยมื ไปแลว ไมก ลับมาแทน หรือรับประทาน
แลวตองรับประทานยาถา ย ไมเ ชนนั้นเขา แลว ไมยอมออก

ยอ นกลบั มาหาผเู ปน ลกู พระตถาคต ที่ปรากฏวา เปน ผูกินอยหู ลบั นอนใตร มเงา
แหง พระเมตตาของทาน จะควรทําความรูส ึกและปฏบิ ตั ิตนอยางไรบา ง ตอ พระโอวาทท่ี
ทรงส่ังสอนไวทุกแงทุกมมุ และเปน พระโอวาททอ่ี อกจากพระทัยทฉี่ ลาดและบริสุทธข์ิ อง
พระองค ทาํ อยา งไรจงึ จะเปนผฉู ลาด และเล้ยี งตวั ดว ยอามสิ และธรรมโดยความเย็นกาย
เยน็ ใจ และเปนการประดับเกียรตทิ าน ไมเ ปน การบอบชาํ้ แกพ ระโอวาทท่ปี ระทานไว
หากจะทําตวั แบบลูกคนโง คนเก และเกียจครานของพอแมแลว กจ็ ะเปนทาํ นองวา เลีย้ ง
ไมม ีวนั เติบโตสกั ที กดั แทะพระพทุ ธศาสนาอยูเร่อื ยไป พระพุทธเจา และพระศาสนาก็
พลอยไดร ับความชอกชํ้าไปดวย ผมู คี วามรูและปฏิบตั ิเปน ลมุ ๆ ดอน ๆ ไมเปน ไปตาม

แวน ดวงใจ ๑๔๖

แวน่ ดวงใจ : -ภา๑ค๗๖๑ -อบรมฆราวาส

๑๔๗

ทางพระโอวาทของทา น เพราะพระพุทธเจาทรงสั่งสอนพุทธบรษิ ทั ดวยธรรม ๘๔,๐๐๐
พระธรรมขันธ เชนเดยี วกบั บดิ ามารดาส่งั สอนบุตรธดิ าท่รี ักยงิ่ ของตน

พระสาวกทา น ถาเปนลกู ก็เปนลกู ประเภทที่เล้ียงงา ยและโตเรว็ รบู ญุ คณุ และ
เสริมเกยี รตวิ งศส กุลใหมสี งา ราศี ถา เปน พระก็เปน พระประเภททไี่ วว างพระทยั ของพระ
พุทธเจา ท้งั ยังทรงพระชนมอ ยแู ละนพิ พานไปแลว เปนผสู ามารถนํามรดก คอื ศาสน
ธรรมใหเล่ืองลอื แกโลกแทนพระองคท านได ไมเขา ในลักษณะลกู เก และทําลายวงศส กุล
คอื ทีเ่ กดิ ท่อี ยอู าศยั นาํ ไฟมาเผาบา นเผาเรอื น พอแมญ าตวิ งศใหฉิบหายเดือดรอ น โปรด
คาํ นงึ ถึงเร่ืองท่ีกลาวมาและคํานงึ ตัวเสมอ วาเราเปน ลูกพระตถาคต ปรากฏตัวในวงศ
พระศาสนาผูหน่ึง เปน ผูมสี ทิ ธแิ ละหนาท่จี ะนาํ บําเพ็ญตัว ใหเปนลกู ท่ีดีและดยี ิ่งของพระ
ตถาคต ดว ยขอปฏิบตั ิท่ีประทานไวแ ลว อยา งสมบูรณ

ศลี ทานปฏบิ ัติรักษาอยา งไร สมาธิทา นบําเพ็ญอยางไร ปญญาทา นเจรญิ อยา งไร
จงึ เปน ไปเพื่อความประเสรฐิ และประดับองคพ ระพทุ ธเจา และสาวกทา น จนกลายเปน ผู
ประเสริฐเลิศโลกขึน้ มา ธรรมท้ังนเี้ วลานี้ซอนองคอยูทไ่ี หน ช่อื ของพระธรรมเหลานีเ้ รา
เคยอานกนั จนตดิ ปากชนิ ใจ สวนองคของธรรมทีแ่ ทจริงนน้ั อาจจะถูกนง่ั ทบั นอนทับอยู
ดวยความเกยี จครานออนแอไมสนใจ จงึ ไมค อยปรากฏองคข นึ้ มา ถา ปลอ ยใหค วามสน
ใจและความขยันหมน่ั เพยี รมีโอกาสคยุ เขย่ี ขดุ คน บา ง กอ็ าจจะถกู เปด เผยเปน ศีล เปน
สมาธิ เปนปญญา เปนวมิ ุตตแิ ละเปน วิมุตติญาณทัสสนะขึ้นมาทกี่ าย วาจา ใจ ของผู
บาํ เพญ็ นน้ั บา ง

เพราะท่เี คยปรากฏแกพ ระพทุ ธเจา และสาวกทุก ๆ พระองค ก็ทราบวา ปรากฏขึน้
ที่นั่น ไมม ีท่อี ื่นเปน ท่ีปรากฏเลย และปรากฏข้นึ ทางความขยันหมนั่ เพยี รและสนใจ ไม
ปรากฏวา มีทางอ่ืนเปนที่เกิดขน้ึ แหง ธรรมเหลา น้ันเลย แมค าํ วา ธรรมเกยี จครา น ธรรม
มักงา ย ธรรมออนแอ ธรรมสะดวก ธรรมสบาย เพอ่ื การปฏบิ ตั ิจะไมตอ งเสียเวลาและ
ลาํ บาก ก็ไมค อยปรากฏวามีไวต อนรับ ผชู อบความสะดวกสบายกอนปฏิบัติและขณะ
ปฏบิ ัติ ใหไดร ับผลทันกับความตอ งการ นอกจากท่ีกลาวไววา ธรรมทง้ั หลายเกิดแตเหตุ
ถาเหตดุ ผี ลกด็ ี เหตชุ ั่วผลกช็ วั่ เหตสุ มบูรณผลกส็ มบูรณทั้งฝา ยดีฝา ยชั่ว ผลคอยอาํ นวย
ตามเหตเุ ทา นน้ั

แมอ งคของพระพทุ ธเจาเองขณะท่ที รงบาํ เพญ็ อยู กป็ รากฏในพระประวตั ติ าม
ภาษาโลก ๆ เราวา รอดตาย จงึ กลายเปนพระพุทธเจา องคทรงความบรสิ ทุ ธ์ิข้ึนมาใหโ ลก
ไดก ราบไหว ไมปรากฏวามีธรรมออนแอเปนตน มารอรับสนองพระองคใ หไ ดร ับความ

แวนดวงใจ ๑๔๗

กณั ฑ์เทศน์ท-่ี ๑๑๗๔๗: ก-ฏแห่งกรรม

๑๔๘

สะดวกสบายในการปฏบิ ตั ิ จนปรากฏเปน พระพุทธเจาข้นึ มาเลย หากจะมีอยบู างเพ่ือบาง
รายวา สขุ าปฏิปทา ขปิ ปาภญิ ญา ปฏบิ ตั ิสะดวกทั้งรูไ ดเ ร็ว ก็ควรคาํ นงึ ถึงคําวาบางราย ซึง่
ควรจะรับธรรมบทน้ี สวนมากรายอาจจะเปนไดอ ยา งนนั้ กไ็ ด หรืออาจจะยากและไมเปน
ไดอยา งนนั้ กไ็ ด ถาเราเปน ไดเ รว็ อยา งนนั้ เราก็เปน คนหนึง่ ของธรรมบทนัน้ แตจะเปน
รายไหนก็ตาม ขนึ้ ชอื่ วาความขยันหมน่ั เพยี รเพอื่ ความหลดุ พน ไปเสียไดใ นวันนี้ น้แี ลเปน
การดยี ิง่ กวา นอนใจเพอ่ื วนั หนาหรอื ชาติหนา ซึ่งอาจจะทาํ ใหผ บู าํ เพญ็ เกดิ ความประมาท
นอนใจ หรือถอยความเพียรพยายามอันเปน เหตุใหเ สยี ผลท่ีจะพงึ ไดร ับไปเสียได

ผูตอ งการพน ทุกขไ ปตามพระพทุ ธเจา และพระสาวกทาน โปรดสําเหนียกขอ อรรถ
ขอธรรมดว ยดี ทงั้ ภาคปฏิบัตแิ ละวธิ ีดาํ เนนิ อยา ใหเ คลื่อนคลาดจากหลกั มัชฌิมาคือสาย
กลาง จะบรรลุถึงผลเปนท่ีพงึ พอใจ ประเภทเดยี วกันกับทพ่ี ระพุทธเจา บรรลถุ ึง โดยมิ
ตอ งวติ กเดอื ดรอ นใจวา พระพทุ ธเจา นิพพานแลว ขอแตย ดึ หลักมชั ฌิมาไวใ หดีอยาให
ปลกี แวะ ผลตอ งเปนเชนเดยี วกันแนนอน เชนเดียวกับส่งิ ของท่ีสาํ เรจ็ รูปมาจากโรงงาน
ตางประเทศหรือในประเทศ ทีส่ งเขาสูหางรานหรือทอ งตลาด แมจ ะถกู ผลติ ออกมาจาก
โรงงานของประเทศใดก็ตาม เมื่อสนิ คา ไดถ ูกสงออกมาจากโรงงานนั้น ๆ แลว โรงงาน
นน้ั ๆ ยอมยังคงอยูตามปกติ มไิ ดถกู ฉบิ หายไปตามสนิ คา ทีส่ ง ออกไป และยงั สามารถ
ผลิตสนิ คา ไดอ ีกมากมายตามเคย

มัชฌิมาปฏปิ ทาน้ีเปรยี บเหมอื นโรงงานแหลงใหญในไตรภพ สามารถผลิตสาธชุ น
ทกุ ช้นั ใหม คี วามรูความฉลาดโดยลําดับ จนสามารถรแู จงแทงตลอด ซึ่งเคร่ืองปกปด
กําบงั ภายในใจ กลายเปนผบู ริสทุ ธิ์ขึน้ มาจากหลกั มัชฌิมา อันเปนโรงงานด้ังเดิมของพระ
พุทธเจา เชน เดียวกับเขาขนสินคา ออกจากโรงงานใหญสทู อ งตลาด ฉะนัน้ คุณธรรมท่ี
เปรียบเสมือนสนิ คา ซ่ึงผูบาํ เพญ็ จะพงึ ไดร บั เปนเกียรติ ท้ังชาตินี้และชาติหนา ตลอดคุณ
ธรรมอันเปย มนัน้ จะนบั ประมาณคุณคา ราคาไมไ ด

เพราะไมเคยปรากฏมรี ายใดสามารถนําเอาคุณธรรมท่ตี นและผูบําเพญ็ จนปรากฏ
ผลแลว ออกตรี าคาคา งวดของคุณธรรมขายตามตลาด วาผลของทานมรี าคาเทา นัน้ ผล
ของศีล ๕ ศลี ๘ ศีล ๑๐ ศลี ๒๒๗ มีราคาเทาน้ัน ผลของสมาธิ คือความเยอื กเย็นใจมี
ราคาเทา นน้ั ผลของปญญาเครอ่ื งรือ้ ถอนกเิ ลสมรี าคาเทาน้ัน และผลของมรรคผล
นิพพานอันเปน ธรรมเอก มีราคาเทา นน้ั พอทจ่ี ะเที่ยวกวานซอื้ คุณธรรมเหลา นน้ั มาไว
ประดบั ตนและบานเรอื น ไมต องยอมตัวเปนผูขัดสนจนใจในความสขุ ความเจริญ อนั เปน

แวนดวงใจ ๑๔๘

แว่นดวงใจ : -ภา๑ค๗๘๑ -อบรมฆราวาส

๑๔๙

สิ่งทส่ี ัตวปรารถนากันทวั่ โลกอีกตอไป จะเปน ผูน่ังนอนอยเู หนือกองสมบตั ิ คอื คุณธรรม
เหลา นน้ั

แตจ นใจท่คี ณุ ธรรมท้งั น้ไี มม ีซื้อขายตามทอ งตลาด ผูมคี วามขัดของและตอ งการ
เครื่องแกไ ขนานาประการ จงึ ไมมีทางแลกเปลยี่ นเพ่อื ผอ นคลาย ผูมคี วามสุขหรอื ความ
ทุกขมากนอย จึงเปน ภาระของตวั จะเสวยผลแตผูเดยี ว โดยจะหาผูชวยแบง หนกั แบงเบา
ไปบางไมไ ด ดงั ท่ีสัตวและมนุษยไ ดร ับทกุ ขท รมาน ซงึ่ เปน ทนี่ า สงสารเวทนา กห็ าทางแก
ไขและผอ นคลายใหไ มไ ด จาํ ตองปลอยใหผา นไปโดยกรรมของสัตวเสียเอง แมท ่ีสดุ พอ
แมข องเราไดร ับความทุกขท รมาน ก็ยังไมส ามารถชวยปลดเปลอื้ งออกใหท า นได จาํ ตอง
ปลอ ยใหเปนภาระกรรมของทา นและของเราจะพึงเสวยตามวิบากท่เี กดิ ข้นึ มากนอ ย ใน
สัตวและบุคคลเปนราย ๆ ไป

ฉะนั้น ผูมุง ความสขุ ความเจริญแกตนในปจจบุ นั และอนาคต จึงไมค วรมองขา ม
หลักของกรรมซง่ึ มอี ยกู บั ทกุ คน ถากรรมและผลของกรรมไมมอี ยูในมวลมนุษยและสตั ว
แลว โลกกไ็ มค วรทํากรรมและไมค วรไดเ สวยผลของกรรม อันเปน สวนดี ชว่ั และสุข
ทุกขอยา งที่เหน็ ๆ รู ๆ กันอยูท ั่วดินแดน ไมม ีรายใดจะอยูเหนืออาํ นาจความดี ชัว่ และ
สขุ ทกุ ขท ่เี กิดขึ้นจากกฎของกรรมทตี่ นทําไวเลย อนึ่งถา คนและสตั วทีต่ ายแลว สูญจรงิ ๆ
ก็ไมควรมคี นและสัตวม าเกิดและเสวยสุขและทุกข อนั เปนเรื่องของกรรมเกลื่อนอยูใน
โลกทเ่ี ขาใจวา ตายแลวสญู น้อี ีกตอ ไป โลกนี้จะไดม เี วลาวางจากการตอนรับความเกิด
ความตายของคนและสัตวไ ปบา ง แมจ ะมอี ยูบางกค็ วรใหเ ปนหนา ท่ีของตน ไม ภูเขา และ
ดินฟาอากาศ ซ่ึงไมร ภู าษภี าษา เปน ผเู กดิ ตาย รับเคราะหกรรมแทนมวลมนุษยแ ละสัตว
เปนการเหมาะสมยิ่ง

แตเพราะเหตุใด การเกดิ ตาย จึงเปน เรือ่ งของมนุษยและสตั วเ สยี เอง ทั้งน้ีเพราะ
กรรมและผลของกรรมไมใ ชฟุตบอล จงึ มไิ ดก ลิง้ ไปตามความชอบใจของผูตองการให
เปนตาง ๆ แตมันขนึ้ อยูก ับผูทํากรรมตา งหาก ผลคอื ความดี ความช่ัว และสขุ ทุกข จึงมิ
ไดส ญู ไปจากโลกทท่ี ํากรรมอยูเ ปน ประจํา

ฉะนน้ั การพสิ จู นดกู รรมและผลของกรรม พสิ จู นด กู ารตายแลว เกดิ หรือตายแลว
สญู พิสจู นดโู ลกนี้และโลกหนา และพิสูจนดคู วามเปลีย่ นแปลงของภพชาติ ถาไมยอนเขา
มาพิสจู นต วั เองซึง่ เปน องคก ารสําคญั ของส่งิ เหลาน้นั แลว จะไมมวี นั พบหลักฐานความ
จริงไดเ ลย เชนเดียวกบั การตะครุบเงานอกจากตัวน่ันแล เพราะหลักสาํ คญั ของสงิ่ เหลา

แวนดวงใจ ๑๔๙

กณั ฑ์เทศน์ท-่ี ๑๑๔๗๙: ก-ฏแหง่ กรรม

๑๕๐

นั้นมนั ข้ึนอยูกบั ใจของแตล ะราย ๆ ใจซ่งึ เปน ผูทาํ งานในหนา ทีเ่ หลา นีโ้ ดยตรงและเปน
เวลานานแสนนาน ทาํ ไมจะไมร ผู ลงานในหนา ที่ของตวั

งานทางโลกท่เี ขาทาํ ขึ้นมากนอยเทาไร แมจะมกี ารหลงลืมไปบาง แตเมือ่ มาตรวจ
คนดบู ญั น้ําบัญชแี ลวก็ยังพอทราบไดว า ไดม าเทา นน้ั จา ยหมดไปเทา นนั้ ยงั คงเหลืออยู
เทา น้ัน แตงานของใจทีท่ ําการส่งั สมกรรมดี กรรมช่วั ผลดี ผลชัว่ สขุ ทุกข และสั่งสมภพ
ชาตใิ หญน อ ยใสต วั เองใหไดรบั ผลเปน สุขเปน ทุกขอ ยตู ลอดกาล กค็ วรจะทาํ การตรวจคน
ดบู ญั ชีภายในใจบา ง โดยวิธีอบรมใจใหไดรบั ความสงบซง่ึ เปน วิธรี วมยอดผลรายไดท ่ีใจ
ทําและเก็บส่ังสมไว และใชปญ ญาตรวจตราคลีค่ ลายนับอา นดสู ิ่งนั้น ๆ ที่ใจทาํ และเก็บ
รวบรวมไวบ า ง ยอมจะมที างรูไดโดยลําดับ และมที างระบายหรือขบั ถา ยสิง่ ทีเ่ หน็ วาเปน
ภัยแกใจออกไดเปน ลําดับ

ย่ิงมีการรวบรวมโดยทางสมาธิ และคลคี่ ลายโดยทางปญ ญาไดมากเทาไร ก็ยิ่งมี
ทางรูเ รือ่ งของตวั มากขนึ้ วา ใจเปน ผกู อ กรรมทาํ เขญ็ สรา งภพสรา งชาติใสต วั เอง เพราะ
การเกิดการตายทุกภพทุกชาติมนั เปน เรอ่ื งของจิตแตผูเ ดยี ว ไมมสี งิ่ ใดมาแยง หนา ทท่ี าํ ได
แมการคลคี่ ลายดูสิ่งทจี่ ติ ส่ังสมไวภ ายในตนกเ็ ปนหนา ที่ของจิตจะหาอุบายเลือกเฟนเพือ่
ปลดเปล้อื งตนเอง จนปรากฏเปน อาสวกั ขยญาณข้ึนมาท่ีใจดวงเคยเปน โรงงานสั่งสม
เร่อื งตาง ๆ ทบั ถมตัวเองน้ัน คาํ วากรรมดกี ็ดี ผลของกรรมทกุ ประเภทก็ดี ตายแลวเกดิ
หรอื ตายแลวสูญก็ดี ภพหนามีหรอื ไมม กี ็ดี การเปล่ียนแปลงแหง ภพชาตขิ องสตั วก็ดี ท้งั
น้จี ะถกู เปด เผยขนึ้ มาทใี่ จโดยไมตอ งสงสัยและถามใคร

การพสิ จู นดูเร่อื งทีเ่ กดิ กับตวั มเี รือ่ งกรรมเปนตน ตอ งพิสูจนลงท่ีสาเหตุ คือใจ จะ
ไปพสิ ูจนท ่อี น่ื ไมม ีวันเจอความจรงิ ตลอดกาล แมใ จจะทําหนา ที่สงั่ สมกรรมรอ ยแปดพัน
ประการ และพาใหเ กดิ ใหตายอยตู ลอดอนันตกาลกไ็ มมที างทราบไดเลย ถา ไมพ ิสูจนลง
ทีต่ นเหตคุ ือใจ การพิสูจนไมเ จอตนเหตขุ อ เท็จจริงประจกั ษใ จ ไฉนจะสามารถรูไดว า
ความเปน มา ความเปนอยู และความไปเปนของจิต เปนมาดวยวธิ ีใด ขณะนจ้ี ิตเปน อยู
อยางไร ขา งหนา จิตจะเปน ไปอยางไร

หลกั ของวัฏฏะ ไดแ กตนเหตุ คือใจเปนผปู ระดษิ ฐก รรมดีกรรมชัว่ ใจจึงเปน
เหมอื นโรงงานผลิตส่งิ ตาง ๆ ใหสาํ เร็จรปู ออกมา ทีเ่ รยี กกันวา ผลกรรม ซ่ึงทําใหผูร บั
เสวยเปน สขุ บา ง เปน ทกุ ขบ า ง โดยไมเ ลอื กชาติช้ันวรรณะ เพราะอาํ นาจของกเิ ลสที่เปน
เช้ือฝง อยภู ายในใจผลักดนั ใหทาํ กรรม ในวฏั วนสาม ทานกลา วไวว า กิเลสวัฏฏะ กรรม
วฏั ฏะ วิปากวฏั ฏะ กิเลสเปนเหตใุ หสตั วทํากรรมและใหร ับเสวยผล วนไปเวียนมาทํานอง

แวน ดวงใจ ๑๕๐

แวน่ ดวงใจ : -ภา๑ค๘๐๑ -อบรมฆราวาส

๑๕๑

น้ตี ลอด อนนั ตกาล เพราะกิเลสเปน เหตเุ พียงอนั เดยี วเทาน้ัน วฏั ฏะของใจกห็ มุนไปเวียน
มา ไมม วี นั จบสน้ิ ถา มไิ ดด บั เชอื้ ภายในนีเ้ สียใหสน้ิ ซากลง กรรมและวบิ ากยอ มมที างสบื
ตอ การเกิดการตายของสตั ว ผูจ ําตองรบั ผลตามลาํ ดับแหงภพ จะหาวันสนิ้ สดุ ลงไมได
ตองเปนวฏั วนอยทู าํ นองน้ตี ลอดไป

การตายแลว สญู ตามความคดิ เห็นของนานาจติ ตงั น้ัน จงึ หาทสี่ อดแทรกลงไมได
ในระหวา งแหง ภพของสตั วผมู ีกิเลสภายในใจ ซ่งึ รอจะเกิดอยูทุกโอกาสทจ่ี ติ เคลอ่ื นยาย
ออกจากรางเกาภพเกา ของตน เพ่อื ปฏสิ นธใิ นภพตอไป ก็การตายแลว สูญนี้ ผูแสดงไม
สามารถจะหาหลักฐานยนื ยนั ไดวา สญู เพราะเหตุไร เพราะตามทสี่ ังเกตกนั ทวั่ ๆ ไปแลว
ไมป รากฏวามอี ะไรสูญไปจากโลกท่สี มบูรณด ว ยวตั ถุและนามธรรมนานาชนดิ นีเ้ ลย ถา
ทกุ สง่ิ สญู จรงิ ตามท่ีเขา ใจแลว สัตว บคุ คล หญงิ ชาย นานาชนิดเกดิ มาไดอยา งไร ถาไมมี
สิง่ มีอยูเปน ตัวรับประกนั แลว ทุก ๆ สิ่งไมวา เพียงสตั ว บคุ คล แมตน ไม ภูเขา ตลอดสิ่ง
ไมม ีวญิ ญาณครองทั่ว ๆ ไป จะปรากฏขนึ้ มาไมไดเลย เทาทสี่ ิ่งตาง ๆ ปรากฏตวั ขึ้นมาได
ท้งั นี้ เพราะฐานเดิมในคําวา มีรบั รองตายตัวอยูแลว เชน ดิน น้ํา ลม ไฟ อากาศ เหลา น้ี
เปน ธาตุเดมิ ตง้ั เปน หลกั อยูอยางสมบูรณ สว นอาศัยจงึ มีทางเกดิ ขน้ึ ได

สิง่ ทม่ี วี ิญญาณครอง เชน มนษุ ยและสัตวเปนตน ก็มีจิตหรอื ใจเปนเช้ือเดมิ ท่ไี มมี
การสญู เสีย เปนหลกั ประกันความเกิดใหสตั วและบคุ คลมีโอกาสปรากฏตวั ขึน้ มา คือ
อาศยั ธาตุส่ี ดิน นํ้า ลม ไฟ อากาศธาตุ อันเปน มาจากธาตุเดิมดวย อาศัยจิตอันเปนตวั
ธาตุเดมิ และรับประกันทางดา นความรูสึกประจํารางของสัตวและบุคคลดวย ทั้งฝายธาตุ
รู คือจติ และฝายธาตุไมรู คือดิน นาํ้ ลม ไฟ และอากาศธาตผุ สมสวนกนั เขาตามกฎของ
วฏั ฏะหรือกฎของธรรมชาตขิ องความหมุนเวยี นไดสว นสัดกนั แลว ยอมปรากฏตวั ออกมา
ท่โี ลกใหนามวาเกิด แตเ ม่อื ถึงกาลที่สง่ิ ผสมนส้ี ลายตัวลงสูธ าตุเดมิ ของตน ๆ โลกก็ให
นามอกี นามหน่งึ ในธาตจุ าํ พวกเดียวกันน่นั เองวา ตาย

เร่ืองเกดิ เรอ่ื งตายจงึ ออกมาจากกองผสมแหงธาตขุ องคนและสตั วร ายหน่ึง ๆ เทา
นน้ั เอง การสลายของธาตกุ องผสมนี้ยอมลงไปรวมอยูในธาตเุ ดิมอันเปน สว นใหญของตน
ตนมไิ ดสญู สน้ิ ไปไหน แมจติ ทเี่ ปน ธาตุรู เมอ่ื ออกจากรา งแลวกแ็ สวงหาทป่ี ฏสิ นธิตอไป
ตามอํานาจของเชอ้ื ทีม่ ีอยกู บั ตัวจะอํานวยในกาํ เนิดใด เปนธรรมชาตไิ มส ญู เชนเดียวกบั
ธาตุท่วั ๆ ไป

กฎแหง ความหมนุ เวยี นของธาตุยอ มมีอยเู ปนธรรมชาติแตไ หนแตไ รมา เชนสตั ว
เกดิ สตั วตาย ก็คอื ความแปรสภาพ หรือความหมุนเวยี นของธาตุนัน่ เอง มใิ ชค วามสญู สน้ิ

แวนดวงใจ ๑๕๑

กัณฑ์เทศน์ท-่ี ๑๑๔๘๑: -กฏแห่งกรรม

๑๕๒

ของธาตุ ถา ทกุ ส่ิงท่ใี หนามวา ธาตเุ ดิม แตสญู สิน้ ไปเสยี โลกนี้หรือโลกไหนก็เปนโลกอยู
ไมได เชน ธาตุดนิ ธาตนุ าํ้ ธาตลุ ม ธาตุไฟ อากาศธาตุ และวญิ ญาณธาตุ ไดสูญสิ้นไป สิง่
ท่เี ปนธาตอุ าศัย เชน ตนไมใ บหญา สตั ว บุคคล เปน ตน กส็ ญู สิ้นไปตาม ๆ กัน ไมม ีสิ่ง
ใดจะฝนตวั อยคู นเดียวและสงิ่ เดียวไดใ นโลกสญู โดยประการท้งั ปวง

วิญญาณธาตุ ถาแปลตามภาษาโลกเราฟง กนั งาย ๆ กค็ อื จติ นนั่ เอง รา งของสัตว
ของบุคคลท่ีมีความรูสกึ แฝงอยเู นื่องจากจิตเขา ครองตวั อยู แมจะมีรปู รางตางกนั แตจ ิต
ในความรูสึกเปน จิตเชนเดียวกนั ทง้ั นเ้ี ปนเพราะกรรมทีเ่ ปนพลงั ฝง อยภู ายในจิต ดีหรือ
ชวั่ เปนสิ่งผลกั ดนั ใหไ ปเกดิ ในกาํ เนดิ ตา ง ๆ แมจะเปนกาํ เนิดทไี่ มพ งึ พอใจ ก็จําตองยอม
รบั ผลของกรรมท่ีตนทําไว เชนเดยี วกบั ลูกหญิงลูกชายทเี่ กิดจากหัวอกพอแม แมจะเปน
คนหหู นวก ตาบอด ใบ บา เสยี จรติ มีอวัยวะไมสมประกอบ ก็จาํ ตองยอมรบั วา เปนบตุ ร
ธดิ าของตนฉะนั้น เพราะฉะนัน้ คนหรอื สตั วจงึ มกี ารเหลอื่ มล้ําต่ําสงู ตา งกันในคุณสมบตั ิ
ประจาํ ตน แมจ ะเปนสัตวประเภทเดยี วกัน และเปน มนุษยประเภทเดยี วกนั ก็ยอมมี
ลักษณะตา งกนั เพราะอาํ นาจแหงกรรมทที่ ําไวไมเหมือนกัน จําแนกสัตวใ หป ระณีตเลว
ทรามตา งกนั

ถามิใชกฎของกรรม คอื ยกมามอบใหเ ปน กฎของเราทกุ คนมีอํานาจเสียเองแลว
ตางก็ปน ปายขึน้ ไปอยูบนปราสาทสูงหา แสนโยชนต ั้งอยเู หนือทุกขท ั้งมวล ไมยอมใหทุกข
หนา ไหน ๆ ตามรบกวนใจไดเลย และตางก็จะหอยโหนโยนตัวอยบู นปราสาทเหนือฟา
ไมย อมมองหนาลงมาดูแดนแหงทกุ ขดังที่เปนอยูน ี้เลย นอกจากน้ันถา เปนผแู สดงแลว จะ
พาเพ่ือน ๆ หนมุ สาวชาวแสนสาํ ราญ เหาะเหนิ เดินฟา พาเทย่ี วเกี้ยวนางแสนสขุ อยบู น
ปราสาทนิรทกุ ข และเทีย่ วดูหนงั ดูละคร ดฟู อ นราํ วงในหองอนั โอโถงกวา งแสนโยชนบ น
ฟากฟาอันสูง สุดกําลังของทุกขจะเอื้อมถึง ทง้ั เปน สถานที่นา เจริญหู เจริญตา เจรญิ ใจ
ทง้ั เปนความสงางามและทรงไวซ ง่ึ สิรมิ หามงคล ไมม สี ิง่ ใดเสมอเหมือนในแหลง แหงไตร
โลกธาตุ

แตม ันไมเ ปน ไปตามกฎทน่ี กึ ใฝฝน มหิ นาํ ยงั กลบั มาปลง อนจิ จฺ า วต สงฺขารา
เปน ธรรมสงั เวชในสังขารธรรมซง่ึ เปน กองธาตุสวนผสม มีความแปรปรวนประจําตน
ตลอดเวลา ตามกฎแหงวฏั วนสาม และนําทุกขมาให เหมอื นแมนาํ้ ลําธารไหลรินอยดู ว ย
ความทกุ ขไมม ีวันจบสนิ้ ลงได

คําวาภพหนามีหรือไมน ้นั โปรดทราบตามวถิ แี หง การเกิดตายของสัตวทีอ่ ธิบาย
ผา นมาแลว เพราะถา ไมม ีภพชาติ การเกิดตายของสัตวก ็ยตุ ิกนั ลงได ไมมอี ะไรมาทําให

แวน ดวงใจ ๑๕๒

แว่นดวงใจ : -ภา๑ค๘๒๑ -อบรมฆราวาส

๑๕๓

กําเรบิ ท้ังนีเ้ น่อื งจากสง่ิ ท่ีเปนเชอื้ อยูภายใน ทาํ ใหจิตกาํ เริบและหมนุ ตัวเปนภพเปนชาติ
ข้ึนมา และพวงเอาทุกขใ นแหลงแหงไตรโลกธาตตุ ดิ มาดว ย

“โลกหนามหี รอื ไม” กว็ านนี้และวันน้ยี ังมี วนั พรุง นจ้ี ะหามไมใหมีไดอ ยา งไร
เพราะทง้ั สามวันนี้มันเปนกฎของธรรมชาติจะหมุนรอบตวั ของเขาเอง โดยไมม ีใครไปตก
แตง และหามปรามเขาได เรอื่ งโลกนก้ี บั โลกหนากเ็ ปนกฎอันตายตวั เชนเดยี วกัน สัตวท ุก
ประเภทในโลกทัง้ มวล จะมีสัตวตวั ไหนบางไมม ที อ่ี ยู แมแ ตนกั โทษเขายงั มีเรือนจาํ เปนที่
กนิ อยูหลับนอน ไมเห็นเขาสน้ิ ทา เพราะไมมีท่ีอยู เราไมใชน กั โทษทําไมจะไปคิดนอ ยเน้อื
ต่าํ ใจกลัวไมม ีโลกจะอยู นบั แตว นั เราเกดิ มาจนถึงวนั น้ี มวี ันไหนบา งท่เี ราจนมมุ เพราะหา
โลกอยูไมได ยงั ไมเคยปรากฏมสี ักวนั เดยี วและรายเดียว สัตวประเภทใดเกิดในภพใดก็
ตอ งมโี ลกอยตู ามภพและกรรมของตวั

แมแตพระเทวทตั ที่ร่าํ ลอื กันวา ทา นทํากรรมหนักมาก คลา ยกับจะไมมโี ลกไหน
ตานทานทานไวได แตค รั้นแลว ทานกม็ ไิ ดจ นมุม ยงั มีโลกอยูเ ชน เดยี วกับสตั วโ ลกท่ัวไป
โลกหนา โลกหลงั ไมเคยไดย นิ วา ขาดสูญหรอื บกพรอ ง สิง่ ทบ่ี กพรองก็คือการทําตวั ให
สมบรู ณดวยเครื่องสําหรับกินอยูหลบั นอน เคร่ืองใชสอย และการทาํ ตวั ใหเปน คนดีมี
ทรพั ยภายนอก ทรัพยภายในสมบรู ณ เพ่อื สนองความจําเปน ในเวลาตองการเทานั้น เรา
จะไปกลวั โลกหนา หรอื โลกไหนจะบกพรอง ยิ่งกวาตวั ของเราบกพรอง ถา เราบกพรอ ง
แลว แมจะอยใู นโลกทส่ี มบรู ณด วยทรัพยส นิ เงนิ ทอง เรากต็ อ งเปนคนจน และยอมรบั
ทกุ ขในโลกที่สมบรู ณอยโู ดยดี

เชน เราไมม ีเงินตดิ กระเปาไปดวยพอควร เพ่อื ซอื้ อาหารรับประทานและสิ่งจําเปน
อื่น ๆ แลว ลองเดินผา นหา งรานและตลาดอันเปนที่สมบรู ณด ว ยเคร่อื งอุปโภคบริโภค
ลองดู จะทาํ ใหเ ราอิม่ หนําสาํ ราญและเปน เศรษฐมี ีเงนิ มากขึน้ มา เพราะการเดนิ ผา น
ตลาดไดห รอื ไม มนั ตอ งเปน ทาํ นองคนอยูใ นกลางทะเล แตหานา้ํ จะดื่มไมม นี น่ั เอง
เพราะนาํ้ ในทะเลมนั มรี สเค็มจัดจนด่มื ไมไ ด น่ีเพียงโลกท่สี มบรู ณย งั มที างทนหิวแสบ
ทอง แลวเราจะไปกลัวโลกไหนยง่ิ กวากลัวตัวของเราจะอดอยากขาดแคลน ฉะนนั้ จงึ ควร
ปรบั ปรุงโลกในตัวของเราใหส มบูรณ

ถา โลกในตัวเราสมบรู ณแ ลว จะไปโลกไหนก็ไมอ ดอยากขาดแคลน จะกลายเปน
ความสมบรู ณไ ปหมดทงั้ โลกนท้ี ัง้ โลกหนา ท้ังอยูในบานในวัด ท้งั ออกจากบา นไปสูตลาด
ลาดเล ทัง้ อยูใ นเมอื งนี้ ทง้ั จะไปอยใู นเมืองโนน ทัง้ อยใู นประเทศนี้ ทง้ั จะไปอยใู น
ประเทศนอก ไมมีอดไมมีอั้น ถา เราสมบูรณด วยสตปิ ญญาและทรัพยส นิ เงนิ ทองแลว คาํ

แวนดวงใจ ๑๕๓

กณั ฑ์เทศนท์ -ี่ ๑๑๔๘๓: -กฏแห่งกรรม

๑๕๔

วา โลกแลวอยากลวั วาอด ถาเปนสินคา จา ยตลาดไดแ ลว จะหาทีเ่ หยียบยา งไปไมได จะ
เต็มไปดวยโลกและภพของสัตว โลกมนุษยท่เี ราเปน อยู ณ บดั นเี้ ปนโลกเลก็ นิดเดยี ว ผู
ตอ งการเปนมนุษยห รือภมู สิ งู กวามนษุ ย โปรดบาํ เพ็ญคณุ งามความดเี ขา ใหมาก ๆ จะ
เปน ผูสมหวังในภพทีเ่ กดิ และสถานทีอ่ ยู ท้งั จะเปนที่พึงพอใจ ไมเชนนนั้ เดยี๋ วจะพลาด
ภพ การเหยยี บยา ง (เกดิ ) พลาดภพนเ้ี ปนอปุ สรรคและอันตรายรายแรงไมนอ ยเลย
โปรดทาํ ความกลัวการเหยยี บยา งพลาดภพมากกวา การกลัวโลกหนา ไมมี

“มนุษยและสตั วสบั เปลยี่ นภพชาตเิ ปนอนื่ ไดห รอื ไม” กเ็ ราผลัดเปล่ยี นเสอื้ ผา
และผลัดเปล่ียนกางเกงกย็ งั ได จิตจะผลดั เปลี่ยนภพชาติของตนไมไ ดอยา งไร การผลัด
เปลีย่ นเส้อื ผาเราถอื เปนของธรรมดา วา ตอ งผลัดเปลี่ยนกนั ไดท ั่วโลก การผลดั เปลีย่ น
ภพชาตขิ องใจกเ็ ปนกฎธรรมดาของกรรมทต่ี นทาํ ไว ใหผลัดเปล่ียนไปไดตามสงิ่ ผลักดนั
อันเปน เจา ของผูมอี ํานาจเหนอื จิต ในระยะทก่ี เิ ลสวัฏฏะ กรรมวัฏฏะ และวิปากวฏั ฏะ
เรอื งอาํ นาจครองใจอยู สิง่ ทั้งนีม้ อี าํ นาจผลักดันจติ ใหเกิดไดในกําเนิดตาง ๆ โดยไมร อ
ใหจ ติ ไดม เี วลาพจิ ารณาและตัดสินใจเลย เพราะความกดดนั ของกรรมทีค่ รองจิต สว น
ไหนมีกาํ ลังมาก สว นนน้ั ตอ งเขาทาํ หนา ท่ีควบคมุ จติ ใหเ ปน ไปตามอํานาจของตน

ฉะนน้ั จติ จงึ ไมมีโอกาสจะใครครวญไตรต รองดสู ถานทเ่ี กดิ และภพกําเนดิ ของตน
จนปรากฏตวั ออกมาซึ่งเปน สง่ิ ทีเ่ หลือวิสัยจะแกไขแลว จึงจะทราบไดวา ตนเกิดเปน อะไร
แตส ัตวบ างจําพวกก็ไมม โี อกาสจะทราบไดว า ตนเปนสตั วป ระเภทไร นอกจากมนษุ ยและ
ภมู ิทีส่ งู กวา มนุษยเ ทาน้ันจะพอทราบไดใ นภพกําเนิดของตน ๆ

พระพุทธเจา ทานเลง็ เห็นการจตุ ิ คอื เคลอื่ นจากราง และการปฏสิ นธิ คอื การเขา สู
ภพชาตขิ องมวลสัตวว า เปน ไปไมมปี ระมาณทั้งภูมสิ งู ภมู ิต่ํา และการสบั เปลย่ี นแหง ภพ
ชาตสิ ูความเปนสตั วเปนบุคคล เปน ตน และเปนไปไดทุก ๆ ภายในบรรดาสตั วผ ูมกี เิ ลส
เปน เจา ครองใจ จงึ ทรงส่ังสอนใหอ บรมจิตไปในทางท่ีดี คอื ทาน ศลี ภาวนา เสยี ตัง้ แต
เม่อื ยังมชี วี ติ อยู เม่ือถงึ คราวจวนตวั ใจจะมีทพ่ี ่งึ ไมก ระสบั กระสา ยและเขวไปในทางผดิ
โดยไมควา เอากาํ เนดิ ตุกแกมาครองเสียบาง นับวา เปน กําเนิดท่ขี าดทุนอยางยอ ยยบั ใน
ภพเชนนน้ั

เราเปน พทุ ธศาสนกิ ชนและเปน นักปฏิบตั ิ เพ่ือรสู าเหตุของการเกดิ การตาย ซ่ึง
เปนการทองเท่ียวแหง จติ ของผยู งั ไมหมดเช้ือของความหมุนเวยี น จงึ ควรถือเปนกิจจาํ
เปน อยา งยงิ่ เหนืองานใด ๆ คอื พยายามอบรมจิตใหม ีความสงบเยือกเยน็ และฉลาดแยบ
คาย เพื่อใหท นั ความเคล่ือนไหวของจติ ท่จี ะออกทําการตดิ ตอ กบั เรอ่ื งตา ง ๆ และ

แวน ดวงใจ ๑๕๔

แวน่ ดวงใจ : -ภา๑ค๘๔๑ -อบรมฆราวาส


Click to View FlipBook Version