โรงเรยี นบา้ นเปาู
(2) ครูตรวจสอบว่านักเรียนทําภาระงานที่ได้รับมอบหมายไปหรือไม่ โดยตรวจสอบจากการจดบันทึก
ของนักเรียน และถามคําถามเกี่ยวกบั ภาระงาน ดงั น้ี
- สิ่งแวดล้อมคืออะไร (แนวคําตอบ ส่ิงตา่ งๆ ท่ีอยรู่ อบตวั เรา)
- ส่ิงมีชีวิตชนิดเดียวกันท่ีอาศัยอยู่ในแหล่งเดียวกัน ในช่วงเวลาใดเวลาหน่ึง เรียกว่าอะไร
(แนวคําตอบ ประชากร)
(3) ครเู ปิดโอกาสให้นักเรียนตั้งประเด็นคําถามที่นักเรียนสงสัยจากการทําภาระงานอย่างน้อยคนละ 1
คําถาม ซง่ึ ครูให้นักเรียนเตรียมมาลว่ งหนา้ และใหน้ ักเรยี นชว่ ยกันตอบและแสดงความคิดเห็น
(4) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับภาระงาน โดยครูช่วยอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า สิ่งมีชีวิต
หลายๆ ชนิดทั้งพืชและสัตว์ท่ีอาศัยอยู่ร่วมกันในแหล่งที่อยู่หน่ึงๆ เรียกว่า ชุมนุมสิ่งมีชีวิต ซึ่งชุมนุมส่ิงมีชีวิตใน
แหลง่ ทอ่ี ยู่หนงึ่ จะมีความสัมพันธ์กบั สิง่ แวดลอ้ ม
2) ขั้นสารวจและคน้ หา
(1) ใหน้ กั เรยี นศึกษาสิ่งแวดลอ้ มและระบบนิเวศจากใบความรหู้ รือในหนงั สือเรยี น โดยครูช่วยเช่ือมโยง
ความร้ใู หม่จากบทเรียนกบั ความรู้เดมิ ที่เรยี นรู้มาแลว้ ดว้ ยการใช้คําถามกระตุ้นให้นักเรียนตอบจากความรู้และ
ประสบการณข์ องนกั เรียนดงั น้ี
- นักเรียนทราบหรือไม่ว่า ส่ิงมีชีวิตชนิดเดียวกันท่ีอาศัยอยู่ในแหล่งเดียวกันในช่วงเวลาใดเวลา
หนงึ่ เราเรยี กว่าอะไร
- ประชากรของสิ่งมีชีวิตท่ีมากกว่า 1 ชนิด อาศัยอยู่ร่วมกันในบริเวณใดบริเวณหนึ่งและมี
ความสัมพันธซ์ ง่ึ กันและกัน เราเรียกวา่ อะไร
- บรเิ วณทกี่ ลุ่มสงิ่ มีชวี ิตอาศยั อยู่ เราเรยี กว่าอะไร
(2) แบ่งนักเรียนกลุ่มละ 5 - 6 คน ปฏิบัติกิจกรรม สํารวจกลุ่มส่ิงมีชีวิต ตามขั้นตอนทางวิทยาศาสตร์
โดยใชท้ กั ษะ/กระบวนการสังเกตดงั นี้
- แต่ละกลุ่มเลือกระบบนิเวศที่ต้องการสังเกต 1 บริเวณ เช่น ใต้ต้นไม้ใหญ่ พุ่มไม้ แอ่งน้ํา
เล็กๆ บ่อเล้ียงปลา หรือใต้ขอนไม้ กําหนดขอบเขตที่จะศึกษาให้แน่นอน เช่น 2 × 2 ตารางเมตร หรือ 3 × 3
ตารางเมตร
- ถ้าเป็นแหลง่ น้าํ ใชส้ วงิ ตกั ชอ้ นสงิ่ มีชวี ิต นับจํานวนสิ่งมชี ีวติ ทั้งพชื และสตั ว์ ถ้าบริเวณที่สํารวจ
เปน็ พน้ื ดนิ ให้ใชเ้ สยี มขุดคุ้ย เขี่ยดินแล้วตกั ใส่ถาด นับจํานวนสงิ่ มชี ีวติ ทัง้ พืชและสัตว์ บนั ทกึ ผลการสาํ รวจ
หมายเหตุ การสังเกตครัง้ น้ีครูควรจดั กิจกรรมให้เหมาะสมกับสภาพของแต่ละท้องถ่นิ
(3) นักเรยี นและครูรว่ มกนั ตรวจสอบความถูกต้องของขอ้ มูลที่ไดจ้ ากใบกจิ กรรม
(4) ครคู อยแนะนาํ ช่วยเหลอื นักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบๆ ห้องเรียนและเปิดโอกาส
ให้นกั เรียนทกุ คนซกั ถามเม่ือมปี ัญหา
โรงเรยี นบ้านเปูา
3) ข้ันอธบิ ายและลงขอ้ สรุป
(1) นักเรียนแต่ละกลุม่ ส่งตัวแทนกล่มุ นําเสนอข้อมลู จากการปฏิบัติกิจกรรมหนา้ ชนั้ เรยี น
(2) นักเรยี นและครรู ว่ มกนั อภปิ รายและหาข้อสรปุ จากการปฏิบตั ิกิจกรรม โดยใชแ้ นวคาํ ถามต่อไปน้ี
- ในบริเวณท่ีนักเรียนสังเกตมีสิ่งมีชีวิตใดบ้าง ชนิดใดมีมากที่สุด (แนวคําตอบ สาหร่ายหาง
กระรอก จอก จอกหหู นู ปลาหางนกยูง จิงโจ้น้ํา และปลาหมอ โดยจะพบจอกหหู นมู ากทส่ี ดุ )
- ส่ิงมีชีวิตในบริเวณที่สํารวจได้รับอาหารจากแหล่งใด (แนวคําตอบ พืชสร้างอาหารโดย
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง สัตว์บางชนิดได้รับอาหารจากการกินพืช และสัตว์บางชนิดได้รับอาหารจาก
การกนิ สัตว์ชนดิ อ่นื )
(3) นักเรียนและครูร่วมกันสรุปผลจากการปฏิบัติกิจกรรม โดยให้ได้ข้อสรุปว่า สิ่งมีชีวิตท่ีอาศัยอยู่
ร่วมกนั จะมคี วามสมั พนั ธ์กับสง่ิ แวดล้อม
4) ข้ันขยายความรู้
(1) ครูให้ความรู้เพิ่มเตมิ เกีย่ วกบั ความหมายของระบบนิเวศและยกตัวอย่างระบบนิเวศแบบต่างๆ เช่น
ระบบนเิ วศตามธรรมชาติ และระบบนเิ วศท่มี นษุ ย์สร้างข้ึน
(2) นกั เรยี นสังเกตส่งิ แวดล้อมและระบบนเิ วศในชมุ ชนทีอ่ าศัยอยู่ วาดภาพส่ิงแวดล้อมและระบบนิเวศ
ทีพ่ บเห็น บอกจาํ นวนกลมุ่ สง่ิ มชี วี ติ ที่อาศัยอยู่ และอธบิ ายลกั ษณะแหล่งท่ีอยู่ นาํ เสนอผลงานหน้าชั้นเรยี น
(3) ครูเชื่อมโยงความรู้สู่อาเซียน โดยนําอภิปรายว่า ในอาเซียนของเราก็มีสภาพแวดล้อมแบบ
ทะเลทรายอยู่ด้วย ซ่ึงอยู่ในบริเวณหมู่บ้านมุยเน (Mui Ne) ในจังหวัดบินทวน (Binh Thuan) ประเทศ
เวียดนาม ปกติหมู่บ้านแห่งน้ีจะมีภูมิอากาศแห้งแล้ง ลมพัดแรง และมีฝนตกน้อยมาก การผ่านสภาพอากาศ
ดังกล่าวเป็นระยะเวลายาวนาน ทําให้ในที่สุดท่ีราบทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือกลายเป็นทะเลทรายสีแดง
เหมือนกับทะเลทรายสะฮารา ในทวีปแอฟริกา ส่วนทางทิศใต้เป็นทะเลทรายสีขาว และถัดออกไปอีกไม่ไกล
มากนักจะพบทะเล ในอดตี หม่บู ้านมุยเนเคยเปน็ หมู่บ้านชาวประมงมาก่อน
ครแู ละนกั เรียนรว่ มกันอภปิ รายเพม่ิ เติมเก่ยี วกับระบบนิเวศแบบทะเลทราย
(4) นกั เรียนค้นควา้ รายละเอียดและคาํ ศพั ท์ภาษาต่างประเทศเก่ียวกับส่ิงแวดล้อมและระบบนิเวศจาก
หนังสอื เรียนภาษาตา่ งประเทศหรอื อนิ เทอร์เนต็
5) ข้นั ประเมิน
(1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่าจากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจุดใดบ้างท่ียังไม่
เข้าใจหรือยังมีข้อสงสยั ถ้ามี ครชู ว่ ยอธบิ ายเพิ่มเติมใหน้ ักเรียนเข้าใจ
(2) นักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคใดและได้มีการแก้ไข
อย่างไรบ้าง
(3) ครแู ละนักเรียนรว่ มกันแสดงความคดิ เห็นเกีย่ วกบั ประโยชน์ที่ได้รบั จากการปฏิบัติกิจกรรมและการ
นาํ ความร้ทู ีไ่ ด้ไปใช้ประโยชน์
(4) ครูทดสอบความเขา้ ใจของนักเรยี นโดยการให้ตอบคําถาม เชน่
โรงเรยี นบา้ นเปาู
- สิง่ มีชวี ิตชนดิ เดียวกัน อาศัยอยูใ่ นแหลง่ ที่อยเู่ ดยี วกันเรียกวา่ อะไร
- ส่งิ มชี ีวิตทีอ่ าศัยอย่รู ่วมกนั และมีความสมั พนั ธซ์ ึง่ กันและกันเรยี กวา่ อะไร
ขัน้ สรปุ
(1) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเก่ียวกับส่ิงแวดล้อมและระบบนิเวศ โดยร่วมกันเขียนเป็นแผนที่
ความคดิ หรือผังมโนทัศน์
(2) ครูมอบหมายให้นักเรียนไปศึกษาค้นคว้าเน้ือหาของบทเรียนชั่วโมงหน้า เพ่ือจัดการเรียนรู้ครั้ง
ต่อไป โดยใหน้ ักเรยี นศกึ ษาคน้ คว้าล่วงหน้าในหวั ขอ้ ความสมั พนั ธข์ องสง่ิ มีชวี ิตกบั สงิ่ แวดล้อม
(3) ครูให้นักเรียนเตรียมประเด็นคําถามที่สงสัยมาอย่างน้อยคนละ 1 คําถาม เพ่ือนํามาอภิปราย
ร่วมกนั ในชน้ั เรยี นครั้งต่อไป
8. กจิ กรรมเสนอแนะ
นกั เรียนสรา้ งระบบนเิ วศจาํ ลองและสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับระบบนิเวศท่ีสร้างข้ึนจากหนังสือในห้องสมุด
หรอื จากแหลง่ ความรูต้ ่างๆ แล้วนาํ เสนอผลการสบื ค้นหนา้ ช้นั เรยี น
9. สอ่ื /แหลง่ การเรยี นรู้
1. แบบทดสอบก่อนเรียน
2. ภาพสิง่ แวดล้อมที่มพี ืชและสตั วห์ ลาย ๆ ชนิดอาศัยอยูร่ ่วมกนั
3. ใบกจิ กรรมที่ 8 สาํ รวจกลุ่มส่งิ มีชวี ิต
4. คมู่ อื การสอน วทิ ยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 6
5. ส่อื การเรยี นรู้ PowerPoint รายวชิ าพน้ื ฐาน วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6
6. แบบฝกึ ทักษะ รายวชิ าพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 6
7. หนังสือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 6
โรงเรยี นบ้านเปาู
10. บนั ทึกหลังการจดั การเรียนรู้
ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
(ลงช่ือ)..............................................
(นายธนิตย์ พระสนุ ิน)
ผอู้ ํานวยการโรงเรียนเค็งใหญ่หนองงเู หลอื ม
รักษาการในตาํ แหนง่ ผูอ้ ํานวยการโรงเรียนบา้ นเปาู
บันทึกหลังการสอน
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................................................................................................... ..........
ปัญหา/อปุ สรรค
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
ขอ้ เสนอแนะ
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
(ลงชอื่ )..............................................
(นางสาววมิ ลรตั น์ ประทปี ะเสน)
ครูผู้สอน
โรงเรียนบา้ นเปาู
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 10
รายวิชาวิทยาศาสตร์ (ว16101) ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 6
หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 2 ส่ิงมชี ีวติ กบั สิ่งแวดลอ้ ม เวลาเรียน 12 ชัว่ โมง
เร่ือง ความสมั พันธข์ องสงิ่ มีชวี ิตกับสงิ่ แวดล้อม เวลาจาํ นวน 1 ช่วั โมง
**********************************************************************************
1. สาระสาคญั
ในระบบนิเวศชุมนุมสิง่ มชี วี ติ ในแต่ละแหล่งที่อยู่มีความสัมพันธ์กันในเร่ืองของการกินต่อกันเป็นทอดๆ
พืชสร้างอาหารได้เองจึงเป็นผู้ผลิต สัตว์ไม่สามารถสร้างอาหารได้เองเหมือนพืช สัตว์จึงเป็นผู้บริโภค และยังมี
ส่งิ มชี วี ิตจาํ พวกแบคทีเรยี เหด็ รา ทาํ หนา้ ท่ยี อ่ ยสลายซากพชื ซากสตั ว์ จึงเป็นผู้สลายสารอินทรีย์ในระบบนิเวศ
เม่ือนําความสัมพันธ์เหล่านี้มาเขียนแผนภาพแสดงการกินต่อกันเป็นทอดๆ ได้ในรูปของโซ่อาหาร ซึ่ง
ความสัมพันธข์ องโซอ่ าหารท่ีซบั ซ้อนหลายๆ อนั เรียกว่า สายใยอาหาร
2. ตัวชี้วัดช้ันปี
อธบิ ายความสมั พันธข์ องสง่ิ มีชวี ติ ในรูปของโซอ่ าหารและสายใยอาหาร (ว 2.1 ป. 6/2)
3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
1. อธบิ ายความหมายของผผู้ ลิต ผูบ้ ริโภค และสลายสารอินทรียไ์ ด้ (K)
2. อธิบายและเขยี นแผนภาพแสดงโซอ่ าหารของชุมนุมส่ิงมีชีวิตในแหล่งทอ่ี ยู่หน่งึ ๆ ได้ (K)
3. อธบิ ายความหมายของสายใยอาหารได้ (K)
4. มีความสนใจใฝรุ หู้ รอื อยากรอู้ ยากเห็น (A)
5. พอใจในประสบการณก์ ารเรยี นร้ทู ี่เกยี่ วกบั วทิ ยาศาสตร์ (A)
6. ทาํ งานรว่ มกบั ผ้อู น่ื อยา่ งสร้างสรรค์ (A)
7. สอื่ สารและนําความรู้เร่ืองความสัมพนั ธ์ของสง่ิ มชี วี ติ กับสง่ิ แวดล้อมไปใช้ในชีวิตประจําวนั ได้ (P)
4. การวดั และการประเมนิ ผลการเรียนรู้
ดา้ นความรู้ (K) ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม และ ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P)
จิตวิทยาศาสตร์ (A)
1. ประเมนิ ทกั ษะ/กระบวนการทาง
1. ซกั ถามความร้เู ร่ือง 1. ประเมินเจตคตทิ าง วทิ ยาศาสตร์
ความสัมพันธข์ องสิง่ มีชวี ติ กบั วทิ ยาศาสตรเ์ ป็นรายบคุ คล 2. ประเมินทกั ษะการคดิ
3. ประเมินทกั ษะการแกป้ ญั หา
สิ่งแวดลอ้ ม 2. ประเมินเจตคติตอ่
4. ประเมนิ พฤตกิ รรมในการปฏิบตั ิ
2. ประเมนิ กิจกรรมฝึกทกั ษะ วิทยาศาสตรเ์ ปน็ รายบคุ คล
กิจกรรมเป็นรายบุคคล
ระหว่างเรียน
โรงเรยี นบา้ นเปูา
5. สาระการเรยี นรู้
ความสัมพันธข์ องสิง่ มีชีวิตกบั ส่ิงแวดลอ้ ม
- โซ่อาหาร
- สายใยอาหาร
6. แนวทางการบูรณาการ
ภาษาไทย สนทนา พดู คยุ หรอื เลา่ ประสบการณ์เกี่ยวกบั ความสมั พันธ์
ของส่งิ มีชวี ิตกบั สิ่งแวดล้อมตามประสบการณ์ของนักเรยี น
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
สนทนา พูดคุยเกย่ี วกบั มังกรโคโมโดซึง่ อาศัยอยบู่ นเกาะเล็กๆ ทาง
ตอนกลางของประเทศอินโดนีเซยี และบทบาทของมังกรโคโมโดใน
โซ่อาหาร
ภาษาตา่ งประเทศ ฟงั พูด อา่ น และเขียนคาํ ศพั ท์ภาษาต่างประเทศเกย่ี วกบั ความสมั พนั ธข์ อง
สิ่งมชี ีวิตกับสงิ่ แวดล้อมทีไ่ ด้เรียนรหู้ รอื ท่นี กั เรียนสนใจ
7. กระบวนการจดั การเรียนรู้
ขนั้ นาเขา้ สู่บทเรยี น
1) ครถู ามคาํ ถามนักเรยี นเพื่อกระตุน้ ความสนใจ เชน่
- กระตา่ ยได้รบั อาหารจากการกินส่ิงใด
- สตั ว์แตล่ ะชนดิ อาศยั อยูท่ ่ใี ด
- สัตว์ไดร้ บั อาหารจากการกินสิง่ ใดบา้ ง
2) นักเรียนร่วมกันตอบคําถามและแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับคําตอบของคําถาม เพ่ือเช่ือมโยงไปสู่
การเรยี นรูเ้ รอื่ ง ความสัมพันธข์ องสิ่งมีชีวิตกบั สง่ิ แวดล้อม
ข้ันจัดกิจกรรมการเรยี นรู้
1) ขัน้ สร้างความสนใจ
(1) ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนแล้วเปิดโอกาสให้นักเรียนในกลุ่มนําเสนอข้อมูลเก่ียวกับความสัมพันธ์ของ
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ที่ครูมอบหมายให้ไปเรียนรู้ล่วงหน้าให้เพื่อนๆ ในกลุ่มฟัง จากนั้นให้แต่ละกลุ่มส่ง
ตวั แทนมานําเสนอขอ้ มลู หนา้ หอ้ งเรียน
(2) ครูตรวจสอบว่านักเรียนทําภาระงานท่ีได้รับมอบหมายไปหรือไม่ โดยตรวจสอบจากการจดบันทึก
ของนกั เรียน และถามคาํ ถามเก่ียวกับภาระงาน ดังนี้
- นักเรยี นได้รบั อาหารจากการกนิ สง่ิ ใดบ้าง (แนวคําตอบ พืชและสัตว)์
- พืชได้อาหารจากแหล่งใด (แนวคําตอบ พืชสามารถใช้พลังงานจากดวงอาทิตย์สร้างอาหาร
เองได้)
โรงเรียนบ้านเปาู
(3) ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนตั้งประเด็นคําถามท่ีนักเรียนสงสัยจากการทําภาระงานอย่างน้อยคนละ 1
คําถาม ซึ่งครใู หน้ ักเรียนเตรียมมาลว่ งหน้า และให้นักเรียนชว่ ยกนั ตอบและแสดงความคิดเห็น
(4) ครูและนักเรยี นรว่ มกนั สรุปเกี่ยวกบั ภาระงาน โดยครูช่วยอธบิ ายให้นักเรียนเข้าใจว่า ในระบบนิเวศ
มีผู้ผลิต สิ่งมีชีวิตกินพืช ส่ิงมีชีวิตกินสัตว์ สิ่งมีชีวิตกินพืชและสัตว์ และสัตว์กินซากสัตว์ ซ่ึงจะกินกันเป็นทอดๆ
โดยมผี ้สู ลายสารอนิ ทรีย์ทําหนา้ ที่ย่อยสลายซากพชื ซากสตั ว์ทต่ี ายแลว้ ใหก้ ลายเป็นแร่ธาตกุ ลับคืนสูด่ นิ
2) ขั้นสารวจและค้นหา
(1) ให้นักเรียนศึกษาความสมั พันธ์ของส่งิ มีชวี ติ กับสิ่งแวดลอ้ มจากใบความรู้หรือในหนังสือเรียนโดยครู
ช่วยอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า ในระบบนิเวศจะมีผู้ผลิต ผู้บริโภคพืช ผู้บริโภคสัตว์ ผู้บริโภคท้ังพืชและสัตว์
และผู้บริโภคซากพืชซากสัตว์ ซ่ึงจะกินต่อกันเป็นทอดๆ โดยมีผู้สลายสารอินทรีย์ ทําหน้าท่ีย่อยสลายซากพืช
ซากสตั วท์ ตี่ ายแล้วให้กลายเป็นแรธ่ าตกุ ลบั คืนสดู่ นิ
(2) แบ่งนักเรียนกลุ่มละ 5 - 6 คน ปฏิบัติกิจกรรม สํารวจแหล่งที่มาของอาหาร ตามข้ันตอนทาง
วิทยาศาสตร์ โดยใช้ทกั ษะ/กระบวนการสังเกตและการสาํ รวจดังน้ี
- ทํารายการชนิดของอาหารท่ีนกั เรยี นไดร้ ับประทานในม้ือเย็น หรอื มือ้ กลางวนั
- ใหบ้ อกช่อื พืช สตั ว์ และส่ิงมีชวี ติ ท่นี าํ มาทาํ เป็นอาหารแต่ละชนิด เช่น ขนมปัง ทํามาจากแปูง
ซึ่งได้มาจากพืช คือ ข้าวสาลี ส่วนน้ําตาลได้มาจากอ้อย และนมได้มาจากสัตว์ คือ วัว ส่วนยีสต์ คือสิ่งมีชีวิตที่
เป็นผ้ยู อ่ ยสลายสารอินทรยี ์
- นับจํานวนส่ิงมชี ีวติ ทนี่ ํามาทําเปน็ อาหาร จากนั้นบันทึกผลการสํารวจ
(3) นกั เรยี นและครูรว่ มกันตรวจสอบความถูกตอ้ งของข้อมูลท่ีได้จากใบกิจกรรม
(4) ครูคอยแนะนาํ ช่วยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบๆ ห้องเรียนและเปิดโอกาส
ให้นกั เรียนทุกคนซักถามเมือ่ มีปญั หา
3) ขน้ั อธบิ ายและลงข้อสรุป
(1) นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ ส่งตวั แทนกลุ่มนาํ เสนอข้อมูลจากการปฏิบัติกจิ กรรมหนา้ ชั้นเรียน
(2) นักเรยี นและครูร่วมกนั อภปิ รายและหาข้อสรปุ จากการปฏบิ ัตกิ จิ กรรม โดยใชแ้ นวคําถามต่อไปน้ี
- อาหารของนักเรียนไดม้ าจากสิ่งมชี วี ติ ชนิดใดบ้าง (แนวคําตอบ พืชและสัตว)์
- ถ้าโลกนี้ไม่มีพืชจะเกิดสิ่งใดกับส่ิงมีชีวิตชนิดอื่น ๆ (แนวคําตอบ มนุษย์และสัตว์อื่นๆ ขาด
อาหารและตายในทีส่ ุด)
(3) นักเรียนและครูร่วมกันสรุปผลจากการปฏิบัติกิจกรรมโดยให้ได้ข้อสรุปว่า สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์
ในเรอ่ื งของการกินต่อกนั เป็นทอดๆ ภายในระบบนเิ วศ
4) ขน้ั ขยายความรู้
(1) ครูให้ความรู้เพ่ิมเติมเกี่ยวกับความหมายของโซ่อาหารและสายใยอาหาร และอธิบายถึง
ความสมั พนั ธข์ องโซอ่ าหารและสายใยอาหารในธรรมชาติ ซึ่งทําให้เกิดความสมดุลของประชากรในระบบนิเวศ
โรงเรียนบา้ นเปาู
ร่วมกนั จากน้นั ให้นักเรียนสบื ค้นขอ้ มลู เกยี่ วกับความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมแล้วนําข้อมูลท่ีค้นคว้า
ได้มาจัดทาํ เป็นรายงาน หรือจดั ปูายนิเทศให้เพ่ือนๆ ได้ทราบเพื่อแลกเปล่ียนเรยี นรกู้ นั
(2) ครูเช่ือมโยงความรู้สู่อาเซียน โดยครูถามนักเรียนว่า รู้จักมังกรโคโมโดหรือไม่ สัตว์ชนิดน้ีมีบทบาท
อย่างไรในโซ่อาหาร จากนั้นครูให้ความรู้เพม่ิ เตมิ เกีย่ วกับมงั กรโคโมโด
มังกรโคโมโด เป็นสัตว์ในตระกูลก้ิงก่าท่ีตัวใหญ่
ท่ีสุดในโลก เม่ือโตเต็มที่ลําตัวจะยาวประมาณ 3 เมตร หนัก
ประมาณ 127 กิโลเมตร พบได้บนเกาะเล็ก ๆ ทางตอนกลางของ
ประเทศอนิ โดนเี ซยี มังกรโคโมโดเป็นสัตว์ที่กินสัตว์อื่นเป็นอาหาร
หรือเป็นผู้ล่าเหยื่อ มีฟันที่แหลมคมมาก มีขากรรไกรท่ีแข็งแรง
นํ้าลายของสัตว์ชนิดน้ีมีแบคทีเรียที่เป็นอันตรายเกือบ 15 ชนิด
สามารถล้มสัตว์ได้หลายชนิดทั้งควาย กวาง แพะ และกินกันเอง
ด้วย แม้ว่ามังกรโคโมโดจะเป็นสัตว์ที่ดุร้ายแต่ก็เป็นสัตว์ท่ีเหลือน้อยมาก เน่ืองจากถูกมนุษย์รบกวน รัฐบาล
อนิ โดนีเซยี จึงอนุรกั ษไ์ วโ้ ดยประกาศให้เกาะ 3 เกาะเป็นอุทยานแห่งชาติโคโมโด ได้แก่ เกาะโคโมโด เกาะริงกา
และเกาะปาดาร์
(3) นักเรียนค้นคว้ารายละเอียดและคําศัพท์ภาษาต่างประเทศเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตกับ
สิง่ แวดล้อม จากหนังสอื เรยี นภาษาต่างประเทศหรืออินเทอรเ์ นต็
5) ขน้ั ประเมนิ
(1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่าจากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีจุดใดบ้างที่ยังไม่
เขา้ ใจหรือยงั มีข้อสงสยั ถ้ามีครูชว่ ยอธบิ ายเพม่ิ เติมใหน้ ักเรยี นเข้าใจ
(2) นักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคใด และได้มีการแก้ไข
อย่างไรบา้ ง
(3) ครแู ละนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเหน็ เกี่ยวกบั ประโยชนท์ ่ไี ด้รับจากการปฏิบัติกิจกรรมและการ
นาํ ความรู้ทีไ่ ดไ้ ปใช้ประโยชน์
(4) ครูทดสอบความเขา้ ใจของนกั เรียนโดยการใหต้ อบคาํ ถาม เช่น
- ผูบ้ รโิ ภคมกี ่ีชนดิ อะไรบา้ ง ยกตวั อยา่ งประกอบ
- ในระบบนิเวศ ผูผ้ ลิต ผู้บริโภค และผสู้ ลายสารอินทรยี ม์ ีความสัมพันธ์กนั ในลกั ษณะใด
ขน้ั สรุป
(1) ครแู ละนกั เรยี นร่วมกนั สรุปเกีย่ วกับความสัมพนั ธข์ องส่งิ มชี วี ติ กับส่ิงแวดล้อม โดยร่วมกันเขียนเป็น
แผนทีค่ วามคิดหรอื ผังมโนทศั น์
(2) ครูมอบหมายให้นักเรียนไปศึกษาค้นคว้าเนื้อหาของบทเรียนชั่วโมงหน้า เพื่อจัดการเรียนรู้คร้ัง
ตอ่ ไป โดยใหน้ กั เรียนศึกษาค้นคว้าล่วงหน้าในหวั ขอ้ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ร่วมกัน โดยใช้ใบ
โรงเรียนบ้านเปูา
งาน สํารวจก่อนเรียน 3 ที่ครูจัดเตรียมไว้ให้ประกอบการศึกษาค้นคว้า (ในส่ือการเรียนรู้ PowerPoint
วทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 6 )
(3) ครูอธิบายขั้นตอนการปฏิบัติกิจกรรมและมอบหมายให้นักเรียนไปปฏิบัติกิจกรรมที่บ้าน พร้อมทั้ง
ให้นักเรยี นเตรียมประเด็นคาํ ถามทสี่ งสยั มาอย่างนอ้ ยคนละ 1 คําถาม เพอ่ื นาํ มาอภิปรายร่วมกันในช้ันเรียนครั้ง
ตอ่ ไป
8. กจิ กรรมเสนอแนะ
นักเรียนสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม จากหนังสือ วารสาร
สารานกุ รมวิทยาศาสตร์ สารานุกรมไทยสําหรับเยาวชน และอินเทอร์เน็ต รวมท้ังนําข้อมูลที่ค้นคว้าได้มาจัดทํา
เป็นรายงาน หรอื จัดปาู ยนิเทศใหเ้ พ่อื นๆ ไดท้ ราบเพ่อื แลกเปล่ยี นเรยี นร้กู ัน
9. สอ่ื /แหล่งการเรยี นรู้
1. ภาพการกนิ อาหารของคนและสัตว์
2. ใบกจิ กรรมที่ 9 สาํ รวจแหล่งทีม่ าของอาหาร
3. ใบงานสาํ รวจก่อนเรียน 3
4. ค่มู อื การสอน วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6
5. สอ่ื การเรยี นรู้ PowerPoint รายวชิ าพ้นื ฐาน วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6
6. แบบฝึกทักษะ รายวิชาพ้นื ฐาน วิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 6
7. หนงั สอื เรียน รายวชิ าพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6
โรงเรยี นบา้ นเปูา
10. บันทกึ หลงั การจดั การเรยี นรู้
ความคิดเหน็ /ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
(ลงช่ือ)..............................................
(นายธนติ ย์ พระสนุ ิน)
ผู้อํานวยการโรงเรียนเค็งใหญ่หนองงูเหลือม
รกั ษาการในตําแหนง่ ผูอ้ าํ นวยการโรงเรียนบา้ นเปูา
บันทกึ หลังการสอน
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
ปญั หา/อปุ สรรค
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
ข้อเสนอแนะ
.................................................................................................................................................................. ............
..................................................................................................................... .........................................................
............................................................................................................................. .................................................
(ลงช่อื )..............................................
(นางสาววมิ ลรัตน์ ประทปี ะเสน)
ครูผู้ชว่ ย
โรงเรียนบ้านเปูา
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 11
รายวิชาวิทยาศาสตร์ (ว16101) ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 6
หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 2 ส่งิ มชี ีวติ กบั ส่งิ แวดล้อม เวลาเรยี น 12 ชวั่ โมง
เรอ่ื ง ความสัมพันธ์ระหวา่ งสิ่งมชี วี ิตที่อาศัยอยูร่ ว่ มกัน เวลาจาํ นวน 1 ช่วั โมง
**********************************************************************************
1. สาระสาคัญ
ส่ิงมีชีวิตที่อาศัยอยู่ร่วมกันในธรรมชาติจะมีความสัมพันธ์กันในรูปแบบต่างๆ ได้แก่ ภาวะพึ่งพากัน
ภาวะองิ อาศัย ภาวะการไดป้ ระโยชนร์ ่วมกัน และภาวะปรสิต
2. ตวั ช้ีวดั ชัน้ ปี
สืบค้นข้อมูลและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างการดํารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตกับสภาพแวดล้อมในท้องถิ่ น
(ว 2.1 ป. 6/3)
3. จุดประสงค์การเรยี นรู้
1. บ่งชแี้ ละอธิบายความสมั พันธ์ระหว่างสง่ิ มชี วี ิตที่อาศัยอยู่รว่ มกนั ในรปู แบบตา่ ง ๆ ได้ (K)
2. มีความสนใจใฝรุ หู้ รอื อยากร้อู ยากเห็น (A)
3. พอใจในประสบการณ์การเรียนรทู้ ่เี กย่ี วกับวทิ ยาศาสตร์ (A)
4. ทาํ งานรว่ มกบั ผู้อืน่ อยา่ งสร้างสรรค์ (A)
5. ส่ือสารและนาํ ความรู้เรื่องความสัมพนั ธร์ ะหว่างส่ิงมชี ีวิตที่อาศยั อยู่ร่วมกันไปใช้ในชีวติ ประจําวันได้
(P)
4. การวัดและการประเมนิ ผลการเรียนรู้
ด้านความรู้ (K) ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม และ ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P)
จติ วทิ ยาศาสตร์ (A)
1. ซักถามความรู้เร่ือง 1. ประเมนิ เจตคติทาง 1. ประเมินทักษะ/กระบวนการ
ความสัมพันธ์ระหว่างสง่ิ มชี วี ิต วทิ ยาศาสตรเ์ ปน็ รายบคุ คล ทางวิทยาศาสตร์
ทีอ่ าศัยอยรู่ ว่ มกัน 2. ประเมินเจตคติตอ่ วิทยาศาสตร์ 2. ประเมนิ ทักษะการคิด
2. ประเมนิ กิจกรรมฝึกทักษะ เป็นรายบุคคล 3. ประเมนิ ทักษะการแกป้ ัญหา
ระหว่างเรียน 4. ประเมินพฤติกรรมในการ
ปฏบิ ัติกจิ กรรมเปน็ รายบุคคล
หรือรายกลมุ่
โรงเรยี นบา้ นเปาู
5. สาระการเรยี นรู้
ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งส่ิงมีชีวิตทีอ่ าศยั อยรู่ ว่ มกัน
- ภาวะพึง่ พากนั
- ภาวะอิงอาศัย
- ภาวะการได้ประโยชนร์ ่วมกัน
- ภาวะปรสติ
6. แนวทางการบูรณาการ สนทนา พดู คยุ หรอื เลา่ ประสบการณเ์ กีย่ วกบั ความสมั พนั ธ์ระหว่างสิง่ มชี วี ติ
ภาษาไทย ท่อี าศัยอยรู่ ่วมกันตามประสบการณ์ของนักเรียน
ฟงั พดู อา่ น และเขียนคําศัพท์ภาษาต่างประเทศเก่ยี วกบั ความสัมพนั ธ์
ภาษาต่างประเทศ ระหว่างสงิ่ มีชวี ติ ท่ีอาศัยอยู่ร่วมกันที่ได้เรยี นรู้หรือท่ีนกั เรยี นสนใจ
7. กระบวนการจดั การเรียนรู้
ขน้ั นาเขา้ สู่บทเรียน
1) ครถู ามคาํ ถามนกั เรียน เพ่อื กระตุ้นความสนใจ เชน่
- นักเรียนคิดว่านอกจากความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในรูปแบบผู้ล่าเหยื่อและเหยื่อแล้ว ยังมี
ความสมั พนั ธใ์ นรูปแบบอน่ื หรอื ไม่
2) นักเรียนร่วมกันตอบคําถามและแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับคําตอบของคําถาม เพื่อเชื่อมโยงไปสู่
การเรยี นรเู้ รื่อง ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งสง่ิ มชี ีวิตทอ่ี าศยั อยู่รว่ มกนั
ขน้ั จัดกจิ กรรมการเรยี นรู้
จัดกจิ กรรมการเรยี นร้โู ดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับแบบกลับด้านชั้นเรียน ซึ่งมีข้ันตอน
ดังน้ี
1) ขน้ั สร้างความสนใจ
(1) ครูให้นักเรียนนําใบงาน สํารวจก่อนเรียน 3 ท่ีครูมอบหมายให้ไปเรียนรู้ล่วงหน้าท่ีบ้านมาอภิปราย
ร่วมกนั ในชัน้ เรียน
(2) ครูตรวจสอบว่านักเรียนทํากิจกรรมที่ได้รับมอบหมายไปหรือไม่ โดยตรวจสอบจากการจดบันทึก
ของนกั เรียน และถามคําถามเก่ยี วกับกจิ กรรม ดังน้ี
- มีส่ิงมีชีวิตท่ีมีความสัมพันธ์คล้ายคลึงกับดอกไม้กับแมลงหรือไม่ อะไรบ้าง (แนวคําตอบ มี
เช่น นกเอยี้ งกับควาย)
- ถา้ ดอกไม้กบั แมลงแยกจากกันจะสามารถดํารงชีวติ อยู่ตอ่ ไปได้หรือไม่ (แนวคําตอบ ได)้
(3) ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนตั้งประเด็นคําถามท่ีนักเรียนสงสัยจากการทํากิจกรรมอย่างน้อยคนละ 1
คําถาม ซึ่งครใู ห้นกั เรยี นเตรยี มมาล่วงหนา้ และให้นกั เรยี นชว่ ยกนั ตอบและแสดงความคิดเห็น
โรงเรยี นบ้านเปาู
(4) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับกิจกรรม สํารวจก่อนเรียน 3 โดยครูช่วยอธิบายให้นักเรียน
เข้าใจว่า สิ่งมีชีวิตท่ีอาศัยอยู่ร่วมกันในธรรมชาติมีความสัมพันธ์กันในรูปแบบต่างๆ เช่น ภาวะพ่ึงพากัน ภาวะ
อิงอาศัย ภาวะการไดป้ ระโยชนร์ ว่ มกนั และภาวะปรสิต
2) ขั้นสารวจและค้นหา
(1) ให้นักเรยี นศึกษาความสมั พนั ธร์ ะหว่างสิ่งมีชีวิตท่อี าศยั อยูร่ ว่ มกนั จากใบความรู้หรือในหนังสือเรียน
โดยครูช่วยอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า ในระบบนิเวศนอกจากจะมีความสัมพันธ์ของการล่าเหยื่อแล้ว ยังมี
ความสัมพนั ธ์ของส่ิงมีชวี ติ ท่อี าศยั อยรู่ ่วมกนั อกี หลายรปู แบบ ซึง่ มลี กั ษณะของความสัมพันธท์ ี่แตกตา่ งกัน
(2) แบง่ นกั เรยี นกลมุ่ ละ 5 - 6 คน สืบคน้ ขอ้ มูลเก่ียวกับความสัมพันธ์ระหวา่ งสิ่งมชี วี ิตท่ีอาศัย
อยู่รว่ มกัน โดยดาํ เนินการตามขนั้ ตอนดังน้ี
- แต่ละกลุ่มวางแผนการสืบค้นข้อมูล โดยแบ่งหัวข้อความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่
รว่ มกนั เป็นหัวข้อย่อย เชน่ ภาวะพ่ึงพากนั ภาวะองิ อาศยั ภาวะการได้ประโยชน์ร่วมกัน ภาวะปรสิต ให้สมาชิก
แต่ละกลมุ่ ช่วยกนั สบื ค้นตามหัวขอ้ ท่กี าํ หนด
- สมาชิกแต่ละกลุ่มชว่ ยกันสืบค้นข้อมูลตามหัวข้อท่ีกลุ่มของตนเองรับผิดชอบ โดยการสืบค้นจาก
หนังสอื วารสาร สารานุกรมวิทยาศาสตร์ สารานุกรมไทยสําหรบั เยาวชน และอินเทอร์เนต็
- สมาชิกกลุ่มนําข้อมูลท่ีสืบค้นได้มารายงานให้เพ่ือน ๆ สมาชิกในกลุ่มฟังรวมท้ังร่วมกันอภิปราย
ซกั ถามจนคาดว่าสมาชิกทุกคนมคี วามร้คู วามเข้าใจท่ตี รงกัน
- สมาชิกกลุ่มชว่ ยกนั สรุปความร้ทู ไี่ ดท้ ง้ั หมดเปน็ ผลงานของกลมุ่
(3) ครคู อยแนะนําช่วยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบๆ ห้องเรียนและเปิดโอกาส
ใหน้ ักเรยี นทุกคนซกั ถามเมอื่ มปี ัญหา
3) ข้ันอธิบายและลงข้อสรุป
(1) นักเรียนแต่ละกล่มุ ส่งตัวแทนกลุ่มนําเสนอขอ้ มลู จากการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมหนา้ ช้นั เรยี น
(2) นกั เรยี นและครูรว่ มกันอภิปรายและหาข้อสรุปจากการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม โดยใชแ้ นวคาํ ถามต่อไปนี้
- ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ร่วมกันมีอะไรบ้าง (แนวคําตอบ ภาวะพึ่งพากัน ภาวะ
องิ อาศยั ภาวะการไดป้ ระโยชน์ร่วมกนั และภาวะปรสิต)
- ความสัมพันธ์แต่ละรูปแบบมีความแตกต่างกันในลักษณะใด (แนวคําตอบ การได้ประโยชน์หรือ
เสยี ประโยชน์ของสิง่ มีชวี ติ ที่อาศัยอยูร่ ่วมกนั )
(3) นักเรียนและครูร่วมกันสรุปผลจากการปฏิบัติกิจกรรม โดยให้ได้ข้อสรุปว่า ความสัมพันธ์ระหว่าง
ส่ิงมีชีวิตท่ีอาศัยอยู่ร่วมกันมีหลายรูปแบบ เช่น ภาวะพึ่งพากัน ภาวะอิงอาศัย ภาวะการได้ประโยชน์ร่วมกัน
ภาวะปรสติ ซึง่ แตล่ ะรปู แบบจะมลี ักษณะของความสมั พนั ธ์ท่ีแตกต่างกัน
โรงเรียนบ้านเปาู
4) ขน้ั ขยายความรู้
(1) นักเรียนจัดทําตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตท่ีอาศัยอยู่ร่วมกัน โดยประกอบด้วย
ภาพความสัมพันธ์ของส่ิงมีชีวิต รูปแบบความสัมพันธ์ และคําอธิบายลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตท่ี
อาศัยอยูร่ ่วมกัน แลว้ นําตารางทไี่ ด้มาแสดงใหเ้ พ่อื นๆ ได้ทราบเพือ่ แลกเปลยี่ นเรยี นรกู้ นั
(2) นกั เรียนค้นควา้ รายละเอียดและคําศัพทภ์ าษาต่างประเทศเก่ียวกับความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตท่ี
อาศยั อยรู่ ว่ มกัน จากหนังสอื เรียนภาษาต่างประเทศหรอื อนิ เทอร์เนต็
5) ข้นั ประเมิน
(1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่าจากหัวข้อท่ีเรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจุดใดบ้างที่ยังไม่
เข้าใจหรอื ยังมขี ้อสงสยั ถ้ามี ครูชว่ ยอธบิ ายเพ่ิมเตมิ ให้นกั เรียนเข้าใจ
(2) นักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคใด และได้มีการแก้ไข
อย่างไรบา้ ง
(3) ครแู ละนักเรียนร่วมกนั แสดงความคดิ เห็นเกี่ยวกับประโยชนท์ ไี่ ด้รับจากการปฏิบัติกิจกรรมและการ
นาํ ความร้ทู ไี่ ด้ไปใชป้ ระโยชน์
(4) ครูทดสอบความเขา้ ใจของนักเรียนโดยการให้ตอบคําถาม เชน่
- แบคทีเรยี ไรโซเบยี มในปมรากพชื ตระกูลถัว่ มรี ปู แบบความสมั พนั ธเ์ ปน็ แบบใด
- หนอนผเี สื้อกินใบไม้เป็นอาหาร ทําให้ต้นไม้ถูกทําลาย เป็นความสมั พันธ์ของส่ิงมชี วี ิตแบบใด
ขนั้ สรปุ
1) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตที่อาศัยอยู่ร่วมกัน โดยร่วมกัน
เขยี นเปน็ แผนท่ีความคดิ หรอื ผังมโนทศั น์
2) ครมู อบหมายให้นักเรยี นไปศึกษาค้นคว้าเนอ้ื หาของบทเรียนช่ัวโมงหน้า เพื่อจัดการเรียนรู้คร้ังต่อไป
โดยให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าล่วงหน้าในหัวข้อความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต โดยใช้ใบงาน
สํารวจก่อนเรียน 4 ท่คี รูจัดเตรียมไวใ้ ห้ประกอบการศึกษาค้นคว้า (ในสื่อการเรียนรู้ PowerPoint วิทยาศาสตร์
ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 6 )
3) ครูอธิบายขั้นตอนการปฏิบัติกิจกรรมและมอบหมายให้นักเรียนไปปฏิบัติกิจกรรมที่บ้าน พร้อมทั้ง
ให้นักเรียนเตรียมประเดน็ คาํ ถามท่ีสงสยั มาอยา่ งน้อยคนละ 1 คาํ ถาม เพือ่ นาํ มาอภิปรายร่วมกันในช้ันเรียนคร้ัง
ตอ่ ไป
8. กิจกรรมเสนอแนะ
นักเรียนสังเกตความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตท่ีอาศัยอยู่ร่วมกันในท้องถิ่นของนักเรียน ว่ามี
ความสัมพนั ธ์เป็นแบบใดบา้ ง รวบรวมรปู แบบความสัมพนั ธ์ท่ไี ด้จดั เป็นรายงาน แล้วนาํ เสนอหนา้ ชั้นเรียน
โรงเรยี นบา้ นเปาู
9. สอ่ื /แหล่งการเรียนรู้
1. ใบงานสาํ รวจก่อนเรยี น 3
2. ใบงานสํารวจก่อนเรยี น 4
3. คู่มอื การสอน วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 6
4. ส่ือการเรียนรู้ PowerPoint รายวิชาพื้นฐาน วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 6
5. แบบฝกึ ทกั ษะ รายวชิ าพน้ื ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6
6. หนงั สือเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 6
10. บันทกึ หลงั การจดั การเรียนรู้
ความคดิ เหน็ /ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................. .................................................
.......................................................................................................................................................... ....................
(ลงชอ่ื )..............................................
(นายธนติ ย์ พระสนุ ิน)
ผ้อู ํานวยการโรงเรียนเค็งใหญห่ นองงเู หลอื ม
รกั ษาการในตําแหนง่ ผู้อํานวยการโรงเรียนบา้ นเปาู
บันทกึ หลงั การสอน
................................................................................................ ..............................................................................
............................................................................................................................. .................................................
ปัญหา/อปุ สรรค
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
ข้อเสนอแนะ
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
(ลงชื่อ)..............................................
(นางสาววมิ ลรัตน์ ประทีปะเสน)
ครูผู้ชว่ ย
โรงเรียนบา้ นเปูา
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 12
รายวิชาวิทยาศาสตร์ (ว16101) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 2 สง่ิ มีชีวติ กับสิ่งแวดลอ้ ม เวลาเรียน 12 ชว่ั โมง
เรื่อง ความสัมพันธ์ระหวา่ งสภาพแวดล้อมกบั สงิ่ มชี วี ิต เวลาจํานวน 2 ชวั่ โมง
**********************************************************************************
1. สาระสาคญั
สง่ิ มีชีวิตมีความสมั พันธ์กับสภาพแวดลอ้ ม ไดแ้ ก่ แสงสวา่ ง อุณหภูมิ น้ํา ออกซิเจน ดิน และแร่ธาตุ จะ
เห็นวา่ ส่ิงมีชวี ติ ยังตอ้ งอาศัยสง่ิ แวดลอ้ มเพื่อการดาํ รงชวี ิตอยรู่ ่วมกัน
2. ตวั ชี้วัดชน้ั ปี
สืบค้นข้อมูลและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างการดํารงชีวิตของส่ิงมีชีวิตกับสภาพแวดล้อมในท้องถ่ิน
(ว 2.1 ป. 6/3)
3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. อธิบายความสมั พนั ธ์ระหว่างการดํารงชีวติ ของสง่ิ มีชวี ติ กบั สภาพแวดลอ้ มได้ (K)
2. มคี วามสนใจใฝรุ ้หู รอื อยากรูอ้ ยากเหน็ (A)
3. พอใจในประสบการณ์การเรยี นร้ทู ่ีเกีย่ วกบั วิทยาศาสตร์ (A)
4. ทํางานร่วมกบั ผู้อ่นื อยา่ งสร้างสรรค์ (A)
5. ส่อื สารและนําความรู้เรื่องความสัมพนั ธร์ ะหว่างสภาพแวดลอ้ มกับส่ิงมชี ีวิตไปใชใ้ นชวี ติ ประจําวนั ได้
(P)
4. การวัดและการประเมนิ ผลการเรียนรู้
ดา้ นความรู้ (K) ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม และ ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P)
จติ วทิ ยาศาสตร์ (A)
1. ซกั ถามความร้เู ร่ือง 1. ประเมนิ เจตคติทาง 1. ประเมนิ ทักษะ/กระบวนการ
ความสัมพันธร์ ะหว่าง วิทยาศาสตรเ์ ป็นรายบคุ คล ทางวทิ ยาศาสตร์
สภาพแวดลอ้ มกบั สงิ่ มีชีวิต 2. ประเมนิ เจตคติตอ่ วิทยาศาสตร์ 2. ประเมินทักษะการคดิ
2. ประเมนิ กิจกรรมฝกึ ทกั ษะ เปน็ รายบุคคล 3. ประเมินทักษะการแกป้ ัญหา
ระหว่างเรียน 4. ประเมินพฤติกรรมในการ
ปฏิบตั กิ จิ กรรมเปน็ รายบุคคล
หรือรายกลุ่ม
โรงเรียนบ้านเปาู
5. สาระการเรียนรู้
ความสัมพนั ธ์ระหว่างสภาพแวดลอ้ มกบั สิ่งมชี ีวติ
- แสงสว่าง
- อณุ หภมู ิ
- นํ้า
- ออกซิเจน
- ดินและแร่ธาตุ
6. แนวทางการบูรณาการ สนทนา พดู คุย หรอื เล่าประสบการณเ์ ก่ียวกบั ความสัมพนั ธ์ระหว่าง
ภาษาไทย สภาพแวดลอ้ มกบั ส่ิงมชี ีวิตตามประสบการณข์ องนักเรียน
ฟัง พดู อา่ น และเขียนคาํ ศพั ทภ์ าษาต่างประเทศเกี่ยวกับความสมั พันธ์
ภาษาต่างประเทศ ระหว่างสภาพแวดล้อมกับส่งิ มีชวี ิตที่ได้เรยี นรู้หรือท่นี ักเรยี นสนใจ
7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขน้ั นาเข้าสู่บทเรียน
1) ครูนําภาพแสดงระบบนิเวศบนบกหรือระบบนิเวศในน้ํามาให้นักเรียนดู และร่วมกันอภิปราย
เกีย่ วกบั ความสัมพันธร์ ะหวา่ งสภาพแวดล้อมกับสง่ิ มีชีวติ โดยครใู ช้คาํ ถามกระตุ้นดังน้ี
- สง่ิ มีชีวิตในภาพนด้ี ํารงชีวติ อยู่ไดเ้ พราะเหตใุ ด
- นักเรียนคิดว่าในสภาพแวดล้อมของระบบนิเวศเหล่านี้ ถ้าขาดส่ิงใดสิ่งหน่ึงไป ส่ิงมีชีวิตจะ
ดาํ รงชีวติ อยู่ไดห้ รอื ไม่ เพราะอะไร
2) นักเรยี นรว่ มกันตอบคําถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคําตอบของคําถามเพ่ือเชื่อมโยงไปสู่การ
เรียนร้เู ร่อื ง ความสมั พันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมกับส่งิ มีชีวิต
ขนั้ จัดกิจกรรมการเรยี นรู้
จดั กจิ กรรมการเรยี นรู้โดยใชก้ ระบวนการสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับแบบกลับด้านช้ันเรียน ซ่ึงมีข้ันตอน
ดงั นี้
1) ขั้นสร้างความสนใจ
(1) ครใู ห้นักเรียนนําใบงาน สํารวจก่อนเรียน 4 ที่ครูมอบหมายให้ไปเรียนรู้ล่วงหน้าที่บ้านมาอภิปราย
รว่ มกันในชนั้ เรียน
(2) ครูตรวจสอบว่านักเรียนทํากิจกรรมท่ีได้รับมอบหมายไปหรือไม่ โดยตรวจสอบจากการจดบันทึก
ของนักเรียน และถามคําถามเกีย่ วกบั กจิ กรรม ดังนี้
- ปลาโผล่ข้ึนมาเหนอื ผวิ นํ้าเพือ่ อะไร (แนวคาํ ตอบ ตอ้ งการออกซเิ จน)
โรงเรียนบา้ นเปูา
- นํ้า ดิน และแร่ธาตมุ ีผลต่อการดํารงชีวิตของพืชในลักษณะใด (แนวคําตอบ พืชจะใช้นํ้า ดิน
และแร่ธาตใุ นการเจริญเติบโต และสรา้ งอาหาร)
(3) ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนต้ังประเด็นคําถามท่ีนักเรียนสงสัยจากการทํากิจกรรมอย่างน้อยคนละ 1
คําถาม ซ่ึงครูใหน้ กั เรยี นเตรียมมาลว่ งหน้า และให้นักเรียนชว่ ยกนั ตอบและแสดงความคดิ เหน็
(4) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเก่ียวกับกิจกรรม สํารวจก่อนเรียน 4 โดยครูช่วยอธิบายให้นักเรียน
เขา้ ใจว่า ส่ิงมีชีวิตมีความสัมพนั ธก์ บั สภาพแวดล้อม ไดแ้ ก่ แสงสว่าง อณุ หภูมิ น้ํา ออกซิเจน ดนิ และแรธ่ าตุ
2) ขัน้ สารวจและคน้ หา
(1) ให้นักเรียนศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมกับส่ิงมีชีวิตจากใบความรู้หรือในหนังสือ
เรียน โดยครูช่วยให้นักเรียนเข้าใจว่า สภาพแวดล้อมของแต่ละแหล่งที่อยู่มีอิทธิพลต่อการดํารงชีวิตของ
สิ่งมชี วี ิต
(2) แบ่งนกั เรยี นกลมุ่ ละ 5 - 6 คน ปฏบิ ตั ิกิจกรรม สังเกตสภาพแวดลอ้ มแหล่งที่อย่อู าศัย
ของไสเ้ ดอื นดิน ตามข้นั ตอนทางวิทยาศาสตร์ โดยใช้ทกั ษะ/กระบวนการสงั เกตดงั น้ี
- นาํ ดิน กอ้ นหิน เศษไม้ และใบไม้วางลงบนผ้าพลาสติก รดนํ้าบนดินเล็กน้อย แต่ไม่เปียกมาก คลุก
สว่ นผสมทัง้ หมดให้เข้ากัน แล้วนําไปใส่กล่องพลาสติกใส
- วางไส้เดือนดินลงในกล่องพลาสติกใสจากข้อ 1 นําไปวางในห้องมืดที่อุณหภูมิห้องและคอยดูแลให้
ดนิ ชน้ื อยูเ่ สมอ
- หลังจากน้นั 1 สัปดาห์ สงั เกตการเปล่ียนแปลงที่อยู่อาศยั ของไสเ้ ดอื นดิน บนั ทึกผล
- วดั อุณหภมู ขิ องพื้นดนิ โดยเสียบเทอรม์ อมิเตอรล์ งในดนิ และบันทกึ สภาพแวดล้อมทีเ่ หมาะสาํ หรบั
ทอ่ี ยู่อาศยั ของไสเ้ ดือนดนิ
(3) นักเรยี นและครรู ว่ มกนั ตรวจสอบความถกู ตอ้ งของข้อมูลทไ่ี ดจ้ ากใบกิจกรรม
(4) ครูคอยแนะนาํ ช่วยเหลอื นักเรยี นขณะปฏบิ ตั กิ ิจกรรม โดยครูเดนิ ดรู อบๆ หอ้ งเรยี นและเปิดโอกาส
ให้นักเรียนทกุ คนซักถามเมือ่ มปี ัญหา
3) ข้ันอธบิ ายและลงข้อสรปุ
(1) นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ สง่ ตวั แทนกลุ่มนําเสนอข้อมูลจากการปฏิบตั ิกจิ กรรมหน้าช้ันเรยี น
(2) นกั เรียนและครรู ว่ มกันอภปิ รายและหาข้อสรุปจากการปฏิบตั กิ ิจกรรม โดยใช้แนวคําถามต่อไปนี้
- ไส้เดือนดินอาศัยในแหล่งที่อยู่ที่มีลักษณะเป็นแบบใด (แนวคําตอบ ชื้น มืด และอุณหภูมิไม่สูง
มากนัก)
- ถ้าสภาพแวดล้อมที่ไส้เดือนดินอาศัยอยู่เปลี่ยนแปลงไป จะส่งผลกระทบต่อการดํารงชีวิตของ
ไส้เดือนดินในลักษณะใด (แนวคําตอบ ไส้เดือนดินต้องหาแหล่งที่อยู่ใหม่ที่เหมาะสม ไม่เช่นน้ันอาจทําให้
ไส้เดอื นดินตายได้)
(3) นักเรียนและครูร่วมกันสรุปผลจากการปฏิบัติกิจกรรม โดยให้ได้ข้อสรุปว่า สภาพแวดล้อมท่ี
เหมาะสมจะทาํ ให้สง่ิ มีชวี ติ อย่ไู ด้
โรงเรียนบา้ นเปูา
4) ขน้ั ขยายความรู้
(1) ครูใหค้ วามรเู้ พม่ิ เตมิ เก่ยี วกับความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมกับส่ิงมีชีวิตของแต่ละแหล่งท่ีอยู่
ซ่ึงต้องประกอบด้วยแสงสว่าง อุณหภูมิ น้ํา ออกซิเจน ดิน และแร่ธาตุที่เหมาะสมต่อส่ิงมีชีวิตที่อาศัยอยู่
จากนั้นให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตจากหนังสือ
วิทยาศาสตร์และอินเทอร์เน็ต โดยนําข้อมูลท่ีค้นคว้าได้มาจัดทําเป็นรายงาน หรือจัดปูายนิเทศให้เพื่อนๆ ได้
ทราบเพ่อื แลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน
(2) ครูให้ความรู้เพิ่มเติมเก่ียวกับการจําศีลว่า อุณหภูมิมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมบางประการของสัตว์
เชน่ ในฤดหู นาวกบจะหยุดพักกินอาหารและไม่เคลอ่ื นไหวเพือ่ ถนอมพลงั งาน และซ่อนตัวอยู่ในรูใต้ดินเพื่อปรับ
อณุ หภมู ิในร่างกาย ลดอัตราการหายใจและการเตน้ ของหัวใจ สภาพดังกล่าวนี้เรยี กว่า การจําศีล (estivation)
(3) นักเรียนคน้ คว้ารายละเอยี ดและคาํ ศัพทภ์ าษาองั กฤษเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อม
กับสง่ิ มีชวี ติ จากหนังสือเรยี นภาษาต่างประเทศหรืออินเทอรเ์ น็ต
5) ขนั้ ประเมนิ
(1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่าจากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจุดใดบ้างท่ียังไม่
เขา้ ใจหรอื ยังมีขอ้ สงสยั ถา้ มีครชู ่วยอธิบายเพิ่มเตมิ ให้นักเรยี นเขา้ ใจ
(2) นักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคใด และได้มีการแก้ไข
อยา่ งไรบ้าง
(3) ครแู ละนักเรียนรว่ มกันแสดงความคิดเห็นเก่ยี วกบั ประโยชนท์ ีไ่ ดร้ บั จากการปฏิบัติกิจกรรมและการ
นาํ ความร้ทู ่ไี ด้ไปใช้ประโยชน์
(4) ครทู ดสอบความเขา้ ใจของนกั เรียนโดยการให้ตอบคาํ ถาม เชน่
- ถ้าสภาพแวดล้อมที่สิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่เปล่ียนแปลงไปจะส่งผลกระทบต่อการดํารงชีวิตของ
สิง่ มีชีวิตในลกั ษณะใด
- แสงสว่าง อณุ หภูมิ นํ้า และออกซิเจน มีผลต่อการดํารงชีวิตของสัตวใ์ นลักษณะใด
ขน้ั สรุป
1) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเก่ียวกับความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต โดยร่วมกัน
เขียนเป็นแผนท่ีความคดิ หรอื ผงั มโนทัศน์
2) ครูมอบหมายให้นกั เรยี นไปศึกษาคน้ คว้าเนื้อหาของบทเรียนช่ัวโมงหน้า เพ่ือจัดการเรียนรู้คร้ังต่อไป
โดยให้นกั เรียนศกึ ษาค้นควา้ ลว่ งหน้าในหัวข้อการปรับตัวของสิ่งมชี วี ติ ให้เขา้ กับสภาพแวดลอ้ ม
3) ครูใหน้ กั เรยี นเตรยี มประเดน็ คาํ ถามทีส่ งสัยมาอย่างน้อยคนละ 1 คําถาม เพ่ือนํามาอภิปรายร่วมกัน
ในชนั้ เรียนครั้งต่อไป
8. กิจกรรมเสนอแนะ
นักเรียนสังเกตแหล่งที่อยู่ของพืชหรือสัตว์ท่ีนักเรียนสนใจ ว่ามีลักษณะของแหล่งท่ีอยู่เป็นอย่างไร
ประกอบดว้ ยส่ิงใดบา้ ง บนั ทกึ ขอ้ มูลทไ่ี ด้แลว้ นาํ มาจดั ทาํ เป็นรายงาน นําเสนอหน้าชั้นเรยี น
โรงเรยี นบา้ นเปูา
9. สอ่ื /แหล่งการเรียนรู้
1. ภาพแสดงระบบนิเวศบนบกหรอื ระบบนเิ วศในน้ํา
2. ใบงานสํารวจกอ่ นเรียน 4
3. ใบกิจกรรมท่ี 10 สงั เกตสภาพแวดลอ้ มแหลง่ ท่ีอยอู่ าศยั ของไส้เดือนดิน
4. คมู่ อื การสอน วทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
5. สื่อการเรียนรู้ PowerPoint รายวิชาพืน้ ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6
6. แบบฝึกทักษะ รายวิชาพนื้ ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 6
7. หนังสอื เรียน รายวิชาพน้ื ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 6
โรงเรียนบา้ นเปูา
10. บนั ทึกหลังการจดั การเรียนรู้
ความคดิ เหน็ /ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
(ลงช่อื )..............................................
(นายธนิตย์ พระสุนนิ )
ผอู้ าํ นวยการโรงเรยี นเค็งใหญ่หนองงเู หลือม
รักษาการในตําแหนง่ ผูอ้ ํานวยการโรงเรียนบ้านเปูา
บนั ทกึ หลังการสอน
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................................................................................................... ..........
ปญั หา/อปุ สรรค
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
ขอ้ เสนอแนะ
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
(ลงช่ือ)..............................................
(นางสาววมิ ลรตั น์ ประทปี ะเสน)
ครผู ู้ช่วย
โรงเรยี นบา้ นเปาู
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 13
รายวิชาวิทยาศาสตร์ (ว16101) ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 6
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 ส่งิ มชี ีวติ กับส่ิงแวดล้อม เวลาเรยี น 12 ชั่วโมง
เรอื่ ง การปรับตัวของส่งิ มีชวี ิตใหเ้ ข้ากับสภาพแวดลอ้ ม เวลาจาํ นวน 1 ชั่วโมง
**********************************************************************************
1. สาระสาคญั
สิ่งมีชีวิตท่ีอาศัยอยู่ในแหล่งท่ีอยู่ท่ีแตกต่างกันจะมีโครงสร้างของร่างกายที่เหมาะสมต่อการดํารงชีวิต
สาํ หรบั แหลง่ ทอ่ี ยนู่ นั้ ๆ
2. ตัวชวี้ ัดชนั้ ปี
สืบค้นข้อมูลและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างการดํารงชีวิตของส่ิงมีชีวิตกับสภาพแวดล้อมในท้องถ่ิน
(ว 2.1 ป. 6/3)
3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
1. อธบิ ายวธิ กี ารปรบั ตวั ของสิ่งมีชีวิตในสภาพแวดลอ้ มต่าง ๆ ได้ (K)
2. มีความสนใจใฝรุ ้หู รืออยากรูอ้ ยากเห็น (A)
3. พอใจในประสบการณ์การเรยี นรู้ที่เกยี่ วกับวทิ ยาศาสตร์ (A)
4. ทาํ งานร่วมกับผูอ้ ่ืนอยา่ งสร้างสรรค์ (A)
5. สอ่ื สารและนําความรเู้ รื่องการปรับตวั ของสง่ิ มีชีวติ ใหเ้ ข้ากับสภาพแวดล้อมไปใช้ในชวี ติ ประจําวันได้
(P)
4. การวดั และการประเมินผลการเรียนรู้
ดา้ นความรู้ (K) ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และ ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P)
จติ วิทยาศาสตร์ (A)
1. ซกั ถามความรู้เร่ืองการปรบั ตัว 1. ประเมนิ เจตคตทิ าง 1. ประเมินทักษะ/กระบวนการ
ของสงิ่ มชี วี ิตให้เข้ากบั วทิ ยาศาสตรเ์ ป็นรายบุคคล ทางวิทยาศาสตร์
สภาพแวดลอ้ ม 2. ประเมินเจตคตติ ่อวิทยาศาสตร์ 2. ประเมินทักษะการคดิ
2. ประเมินกิจกรรมฝกึ ทกั ษะ เปน็ รายบุคคล 3. ประเมินทักษะการแก้ปัญหา
ระหวา่ งเรยี น 4. ประเมนิ พฤติกรรมในการ
ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมเปน็ รายบุคคล
หรือรายกลุ่ม
โรงเรียนบ้านเปาู
5. สาระการเรียนรู้
การปรบั ตวั ของส่ิงมชี ีวติ ใหเ้ ข้ากบั สภาพแวดลอ้ ม
6. แนวทางการบูรณาการ สนทนา พูดคยุ หรือเลา่ ประสบการณ์เกี่ยวกับการปรบั ตัวของสง่ิ มชี วี ิตให้
ภาษาไทย เขา้ กบั สภาพแวดลอ้ มตามประสบการณ์ของนกั เรยี น
วาดรปู การปรบั ตวั ของสิ่งมีชีวติ บริเวณโรงเรียน
ศิลปะ ฟัง พดู อา่ น และเขยี นคาํ ศพั ท์ภาษาตา่ งประเทศเกยี่ วกับการปรับตวั ของ
ภาษาตา่ งประเทศ ส่งิ มีชีวิตให้เข้ากบั สภาพแวดล้อมที่ได้เรียนรู้หรอื ท่ีนักเรยี นสนใจ
7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นนาเขา้ ส่บู ทเรียน
1) ครถู ามคาํ ถามนกั เรยี นเพ่อื กระตุ้นความสนใจ เชน่
- พชื ท่เี จรญิ เติบโตในทะเลทรายมคี วามแตกตา่ งจากพชื ในบรเิ วณอ่นื ๆ อยา่ งไร
2) นกั เรียนชว่ ยกันอภปิ รายและแสดงความคิดเห็นของคําตอบจากคําถามข้างต้นเพื่อเช่ือมโยงไปสู่การ
เรยี นรเู้ ร่อื ง การปรบั ตัวของส่งิ มชี ีวติ ใหเ้ ขา้ กบั สภาพแวดล้อม
ขั้นจัดกิจกรรมการเรียนรู้
จดั กิจกรรมการเรยี นร้โู ดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับแบบกลับด้านชั้นเรียน ซ่ึงมีข้ันตอน
ดงั น้ี
1) ข้นั สรา้ งความสนใจ
(1) ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนแล้วเปิดโอกาสให้นักเรียนในกลุ่มนําเสนอข้อมูลเกี่ยวกับการปรับตัวของ
ส่ิงมีชีวิตให้เข้ากับสภาพแวดล้อม ท่ีครูมอบหมายให้ไปเรียนรู้ล่วงหน้าให้เพื่อนๆ ในกลุ่มฟัง จากน้ันให้แต่ละ
กลุ่มส่งตวั แทนมานาํ เสนอข้อมูลหน้าห้องเรยี น
(2) ครูตรวจสอบว่านักเรียนทําภาระงานท่ีได้รับมอบหมายไปหรือไม่ โดยตรวจสอบจากการจดบันทึก
ของนักเรียน และถามคําถามเก่ยี วกบั ภาระงาน ดงั นี้
- สัตว์ท่ีอาศัยอยู่ในแหล่งท่ีอยู่บริเวณข้ัวโลกเหนือมีความแตกต่างจากสัตว์ในบริเวณอื่นๆ
อย่างไร (แนวคาํ ตอบ ทนต่อความหนาวเย็นไดด้ ี มีชัน้ ไขมนั หนา เพือ่ สร้างความอบอ่นุ ให้รา่ งกาย)
- ส่ิงมีชีวิตมีการปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมในแหล่งท่ีอยู่เพ่ืออะไร (แนวคําตอบ เพ่ือการ
อยรู่ อดและสามารถสบื พันธุต์ อ่ ไปได้)
(3) ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนต้ังประเด็นคําถามท่ีนักเรียนสงสัยจากการทําภาระงานอย่างน้อยคนละ 1
คําถาม ซึง่ ครูใหน้ ักเรียนเตรียมมาลว่ งหนา้ และใหน้ ักเรียนช่วยกันตอบและแสดงความคดิ เห็น
โรงเรยี นบา้ นเปาู
(4) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเก่ียวกับภาระงาน โดยครูช่วยอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า สิ่งมีชีวิตที่
อาศัยอยู่ในแหล่งท่ีอยู่ท่ีแตกต่างกันจะมีโครงสร้างของร่างกายที่เหมาะสมต่อการดํารงชีวิตสําหรับแหล่งที่อยู่
นนั้ ๆ
2) ขน้ั สารวจและค้นหา
(1) ให้นักเรียนศึกษาการปรับตัวของสิ่งมีชีวิตให้เข้ากับสภาพแวดล้อมจากใบความรู้หรือในหนังสือ
เรียน โดยครูช่วยอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า ส่ิงมีชีวิตทุกชนิดจะมีการปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมท่ีอาศัย
อยเู่ พื่อการอย่รู อดและสบื พนั ธุ์ต่อไปได้
(2) แบ่งนักเรียนกลุ่มละ 5 - 6 คน ปฏิบัติกิจกรรม สังเกตการปรับตัวของสิ่งมีชีวิตในบริเวณโรงเรียน
ตามขน้ั ตอนทางวิทยาศาสตร์ โดยใชท้ ักษะ/กระบวนการสงั เกตดังน้ี
- สังเกตการปรับตัวของสิ่งมีชีวิตบริเวณโรงเรียน เช่น ผักตบชวา ตําลึง และจิ้งจก บันทึกผล
การสงั เกตและวาดรปู ประกอบ
- อภิปรายและสรปุ ผลการสังเกต
(3) นกั เรยี นและครูร่วมกนั ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมลู ทไี่ ดจ้ ากใบกจิ กรรม
(4) ครคู อยแนะนําชว่ ยเหลอื นักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบๆ ห้องเรียนและเปิดโอกาส
ใหน้ ักเรยี นทุกคนซกั ถามเมื่อมปี ัญหา
3) ข้ันอธบิ ายและลงข้อสรุป
(1) นักเรยี นแตล่ ะกลุม่ ส่งตวั แทนกล่มุ นําเสนอขอ้ มูลจากการปฏิบตั ิกจิ กรรมหนา้ ชัน้ เรียน
(2) นักเรียนและครรู ว่ มกนั อภปิ รายและหาข้อสรปุ จากการปฏบิ ัตกิ ิจกรรม โดยใชแ้ นวคาํ ถาม
ต่อไปนี้
- ยกตัวอย่างส่ิงมีชีวิตท่ีมีการปรับรูปร่างให้เข้ากับส่ิงแวดล้อมที่อาศัยอยู่ (แนวคําตอบ ต๊ักแตน
กิง่ ไม้ ต๊กั แตนใบไม้ และผีเสือ้ กลางคนื )
- ถ้าส่ิงมีชีวิตไม่ปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมจะเกิดสิ่งใดขึ้นกับส่ิงมีชีวิตน้ันๆ (แนวคําตอบ
ไม่สามารถอยูใ่ นส่ิงแวดลอ้ มได้)
(3) นกั เรยี นและครูร่วมกนั สรุปผลจากการปฏิบัติกิจกรรม โดยให้ได้ข้อสรุปว่า ส่ิงมีชีวิตจะมีโครงสร้าง
และพฤติกรรมทเ่ี หมาะสมต่อการดํารงชวี ิตในแต่ละแหลง่ ท่อี ยู่ เป็นการปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมเพ่ือการ
ดาํ รงพนั ธต์ุ อ่ ไป
4) ขั้นขยายความรู้
(1) ให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับการปรับตัวของสิ่งมีชีวิตให้เข้ากับสภาพแวดล้อมจากหนังสือ
วิทยาศาสตร์และอินเทอร์เน็ต โดยนําข้อมูลท่ีค้นคว้าได้มาจัดทําเป็นรายงานหรือจัดปูายนิเทศให้เพื่อนๆ ได้
ทราบเพื่อแลกเปลย่ี นเรียนรกู้ ัน
(2) นักเรียนค้นคว้ารายละเอียดและคําศัพท์ภาษาต่างประเทศเก่ียวกับการปรับตัวของสิ่งมีชีวิตให้เข้า
กับสภาพแวดล้อม จากหนังสือเรยี นภาษาตา่ งประเทศหรืออินเทอรเ์ น็ต
โรงเรยี นบ้านเปาู
5) ขนั้ ประเมิน
(1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่าจากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจุดใดบ้างที่ยังไม่
เข้าใจหรอื ยงั มีข้อสงสยั ถ้ามีครชู ่วยอธบิ ายเพิม่ เติมใหน้ กั เรยี นเขา้ ใจ
(2) นักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคใด และได้มีการแก้ไข
อย่างไรบา้ ง
(3) ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกันแสดงความคิดเหน็ เกย่ี วกบั ประโยชนท์ ่ไี ด้รบั จากการปฏิบัติกิจกรรมและการ
นาํ ความรู้ท่ีได้ไปใชป้ ระโยชน์
(4) ครทู ดสอบความเข้าใจของนกั เรียนโดยการใหต้ อบคาํ ถาม เชน่
- ส่ิงมีชีวิตท่ีอาศัยอยู่ในท้องถ่ินของนักเรียนมีการปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมในลักษณะ
ใดบา้ ง
- นักเรียนคิดว่าการสูญพันธุ์ของพืชและสัตว์มีความเก่ียวข้องกับการปรับตัวให้เข้ากับ
สภาพแวดลอ้ มหรอื ไม่ เพราะเหตใุ ด
ข้ันสรปุ
1) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับการปรับตัวของสิ่งมีชีวิตให้เข้ากับสภาพแวดล้อม โดยร่วมกัน
เขียนเป็นแผนทค่ี วามคิดหรือผังมโนทัศน์
2) ครมู อบหมายให้นกั เรียนไปศกึ ษาค้นคว้าเนอื้ หาของบทเรียนช่ัวโมงหน้า เพื่อจัดการเรียนรู้คร้ังต่อไป
โดยให้นกั เรยี นศึกษาค้นคว้าล่วงหนา้ ในหัวขอ้ ทรพั ยากรธรรมชาติในทอ้ งถิ่น
3) ครูให้นกั เรยี นเตรยี มประเดน็ คาํ ถามท่ีสงสยั มาอย่างน้อยคนละ 1 คําถาม เพื่อนํามาอภิปรายร่วมกัน
ในชน้ั เรยี นครงั้ ตอ่ ไป
8. กจิ กรรมเสนอแนะ
นักเรียนสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับการปรับตัวของส่ิงมีชีวิตให้เข้ากับสภาพแวดล้อม จากหนังสือวารสาร
สารานุกรมวทิ ยาศาสตร์ สารานกุ รมไทยสาํ หรับเยาวชน และอินเทอร์เน็ต รวมท้ังนําข้อมูลท่ีค้นคว้าได้มาจัดทํา
เป็นรายงาน หรือจัดปาู ยนเิ ทศให้เพื่อนๆ ไดท้ ราบเพอื่ แลกเปลย่ี นเรยี นรู้กัน
9. สอ่ื /แหลง่ การเรยี นรู้
1. ภาพสัตวแ์ ละพชื ที่อาศยั ตามแหล่งที่อยู่ต่างๆ บนโลก เชน่ ขัว้ โลก ทะเลทราย
2. ใบกจิ กรรมท่ี 11 สังเกตการปรับตวั ของส่ิงมีชวี ติ ในบรเิ วณโรงเรยี น
3. ค่มู อื การสอน วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
4. สือ่ การเรียนรู้ PowerPoint รายวิชาพน้ื ฐาน วิทยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 6
5. แบบฝกึ ทกั ษะ รายวชิ าพ้นื ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 6
6. หนังสือเรียน รายวชิ าพื้นฐาน วทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6
โรงเรียนบา้ นเปูา
10. บันทกึ หลังการจัดการเรยี นรู้
ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
(ลงช่ือ)..............................................
(นายธนติ ย์ พระสุนนิ )
ผูอ้ าํ นวยการโรงเรยี นเค็งใหญห่ นองงเู หลอื ม
รักษาการในตาํ แหน่ง ผู้อํานวยการโรงเรียนบา้ นเปูา
บนั ทกึ หลงั การสอน
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................................................................................................... ..........
ปัญหา/อุปสรรค
........................................................................................................ ......................................................................
............................................................................................................................. .................................................
..................................................................................................................................... .........................................
ข้อเสนอแนะ
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
(ลงช่อื )..............................................
(นางสาววิมลรัตน์ ประทีปะเสน)
ครูผู้ช่วย
โรงเรียนบ้านเปาู
แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 14
รายวชิ าวิทยาศาสตร์ (ว16101) ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6
หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 2 สิง่ มชี วี ติ กบั สงิ่ แวดลอ้ ม เวลาเรยี น 12 ชวั่ โมง
เร่ือง ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถ่ิน เวลาจาํ นวน 1 ชว่ั โมง
**********************************************************************************
1. สาระสาคัญ
มนุษย์ต้องพึ่งพาอาศัยทรัพยากรธรรมชาติในการดํารงชีวิตตลอดเวลา เพราะมนุษย์ต้องใช้ประโยชน์
จากส่ิงเหล่านี้เพื่อผลิตอาหาร เคร่ืองนุ่งห่ม ท่ีอยู่อาศัย และยารักษาโรค ประเทศไทยพบว่ามี
ทรัพยากรธรรมชาติมากมาย เช่น ทรัพยากรปุาไม้ ทรัพยากรสัตว์ปุา ทรัพยากรนํ้า และทรัพยากรอากาศ ซ่ึง
ทรัพยากรเหลา่ น้ีมคี วามหลากหลายแตกต่างกนั ไปในแตล่ ะท้องถิ่น
2. ตัวช้ีวดั ชน้ั ปี
สบื ค้นข้อมูลและอภปิ รายแหลง่ ทรัพยากรธรรมชาติในแต่ละท้องถ่นิ ที่เป็นประโยชนต์ ่อการดํารงชีวติ
(ว 2.2 ป.6/1)
3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
1. อธิบายเก่ียวกับแหลง่ ทรพั ยากรธรรมชาติในทอ้ งถ่ินประโยชน์และสาเหตทุ ่ีทําให้ทรัพยากรธรรมชาติ
ถูกทาํ ลายได้ (K)
2. มคี วามสนใจใฝรุ ู้หรืออยากรู้อยากเหน็ (A)
3. พอใจในประสบการณ์การเรยี นรู้ท่ีเกยี่ วกับวิทยาศาสตร์ (A)
4. ทาํ งานร่วมกับผูอ้ น่ื อยา่ งสร้างสรรค์ (A)
5. ส่อื สารและนําความรเู้ ร่ืองทรพั ยากรธรรมชาติในทอ้ งถน่ิ ไปใชใ้ นชวี ิตประจาํ วันได้ (P)
4. การวดั และการประเมนิ ผลการเรียนรู้
ดา้ นความรู้ (K) ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และ ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P)
จติ วิทยาศาสตร์ (A)
1. ประเมินทักษะ/กระบวนการทาง
1. ซกั ถามความรูเ้ ร่อื ง 1. ประเมินเจตคติทาง วทิ ยาศาสตร์
ทรพั ยากรธรรมชาติใน วิทยาศาสตร์เปน็ รายบคุ คล 2. ประเมินทักษะการคดิ
3. ประเมนิ ทกั ษะการแกป้ ัญหา
ท้องถ่นิ 2. ประเมนิ เจตคติตอ่ วิทยาศาสตร์ 4. ประเมนิ พฤตกิ รรมในการปฏบิ ัติ
2. ประเมินกจิ กรรมฝกึ ทกั ษะ เปน็ รายบุคคล กิจกรรมเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม
ระหว่างเรยี น
โรงเรยี นบ้านเปาู
5. สาระการเรียนรู้
ทรพั ยากรธรรมชาติในทอ้ งถิน่
- ทรพั ยากรปุาไม้
- ทรัพยากรสัตว์ปุา
- ทรพั ยากรนํ้า
- ทรัพยากรอากาศ
6. แนวทางการบรู ณาการ
ภาษาไทย สนทนา พูดคยุ หรอื เลา่ ประสบการณเ์ กีย่ วกบั ทรัพยากรธรรมชาตใิ น
ท้องถิน่ ตามประสบการณข์ องนักเรยี น
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
สนทนา พดู คุยเกยี่ วกบั ทรัพยากรปุาไมข้ องประเทศสมาชกิ อาเซยี น
ภาษาต่างประเทศ ฟงั พูด อา่ น และเขยี นคําศัพทภ์ าษาตา่ งประเทศเกย่ี วกับทรพั ยากร
ธรรมชาตใิ นท้องถนิ่ ที่ได้เรียนรหู้ รือท่นี ักเรยี นสนใจ
7. กระบวนการจัดการเรยี นรู้
ข้นั นาเข้าส่บู ทเรียน
1) ครูนําภาพปุาไมท้ ่ีมนี ้ําตกและตน้ ไม้มากมายหลายชนดิ มาให้นักเรียนดู และช่วยกนั อภิปรายเกี่ยวกับ
ทรัพยากรธรรมชาตใิ นทอ้ งถนิ่ โดยครใู ช้คําถามกระตุ้นดังนี้
- ในภาพน้ีคอื ทรัพยากรธรรมชาตปิ ระเภทใด
- ในท้องถิน่ ของนกั เรยี นมีทรพั ยากรธรรมชาติประเภทนีห้ รือไม่
- ถา้ ขาดทรพั ยากรธรรมชาตดิ ังกล่าวแล้วจะมผี ลต่อการดํารงชีวิตของเราในเรื่องใด
- ปาุ ไม้ในทอ้ งถ่ินของนักเรยี นมลี ักษณะเป็นแบบใด
2) นักเรียนร่วมกันตอบคําถามและแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับคําตอบของคําถาม เพื่อเชื่อมโยงไปสู่
การเรียนรเู้ รอื่ ง ทรัพยากรธรรมชาตใิ นทอ้ งถิน่
ขั้นจดั กจิ กรรมการเรียนรู้
จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับแบบกลับด้านชั้นเรียน ซ่ึงมี
ขน้ั ตอนดงั น้ี
1) ข้ันสรา้ งความสนใจ
(1) ครแู บง่ กลุ่มนักเรียนแล้วเปิดโอกาสให้นักเรียนในกลุ่มนําเสนอข้อมูลเก่ียวกับทรัพยากรธรรมชาติ
ในทอ้ งถิ่น ที่ครมู อบหมายให้ไปเรียนรู้ล่วงหน้าให้เพ่ือนๆ ในกลุ่มฟัง จากน้ันให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนมานําเสนอ
ข้อมูลหนา้ ห้องเรียน
โรงเรียนบา้ นเปูา
(2) ครตู รวจสอบวา่ นักเรียนทาํ ภาระงานท่ไี ดร้ บั มอบหมายไปหรือไม่ โดยตรวจสอบจากการจดบันทึก
ของนักเรยี น และถามคําถามเกีย่ วกับภาระงาน ดงั น้ี
- ถ้าขาดทรัพยากรปุาไม้แล้วจะมีผลต่อการดํารงชีวิตของเราในเร่ืองใด (แนวคําตอบ มีผล
เนื่องจากปาุ ไมเ้ ปน็ แหล่งตน้ น้าํ ลําธาร ซ่งึ นาํ้ เปน็ ปัจจยั สําคัญในการดํารงชวี ิตของมนษุ ย)์
- ในทอ้ งถิ่นของนักเรยี นมที รัพยากรธรรมชาติประเภทใดมากท่ีสุด (แนวคําตอบ ทรัพยากรปุา
ไม้)
(3) ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนตั้งประเด็นคําถามที่นักเรียนสงสัยจากการทําภาระงานอย่างน้อยคนละ
1 คําถาม ซงึ่ ครูใหน้ ักเรยี นเตรยี มมาลว่ งหน้า และใหน้ ักเรยี นชว่ ยกนั ตอบและแสดงความคิดเห็น
(4) ครูและนกั เรียนรว่ มกนั สรปุ เกี่ยวกบั ภาระงาน โดยครชู ่วยอธิบายให้นกั เรยี นเข้าใจว่า ประเทศไทย
มีทรัพยากรธรรมชาติมากมาย เช่น ทรัพยากรปุาไม้ ทรัพยากรสัตว์ปุา ทรัพยากรน้ํา และทรัพยากรอากาศ ซึ่ง
ทรัพยากรเหล่านี้มคี วามหลากหลายแตกต่างกนั ไปในแต่ละท้องถิน่
2) ขัน้ สารวจและคน้ หา
(1) ให้นักเรียนศึกษาทรัพยากรธรรมชาติในท้องถ่ินจากใบความรู้หรือในหนังสือเรียนโดยครูช่วย
อธบิ ายให้นกั เรียนเขา้ ใจว่า ประเทศไทยมีทรพั ยากรปุาไม้จําแนกได้หลายประเภท
(2) แบ่งนักเรียนกลุ่มละ 5 - 6 คน ปฏิบัติกิจกรรม สืบค้นข้อมูลปุาไม้ในท้องถิ่น ตามข้ันตอนทาง
วทิ ยาศาสตร์ โดยใชท้ กั ษะ/กระบวนการสงั เกตและการสํารวจดงั น้ี
- สืบค้นข้อมลู ปุาไมใ้ นจงั หวัดหรอื ในท้องถ่ินทีน่ ักเรยี นอาศัยอยูว่ า่ มีลกั ษณะเป็นแบบใด
มชี นิดพันธุ์ของพชื มากน้อยเพยี งใด มคี วามอุดมสมบรู ณ์ของปาุ หรอื ไม่
- วเิ คราะห์และสรุปว่าปาุ ไม้ในทอ้ งถิ่นของนักเรียนเปน็ ปุาประเภทใด
(3) นักเรียนและครูร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลท่ไี ดจ้ ากใบกจิ กรรม
(4) ครูคอยแนะนําช่วยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบๆ ห้องเรียนและเปิด
โอกาสใหน้ ักเรยี นทกุ คนซกั ถามเมอื่ มปี ัญหา
3) ขน้ั อธิบายและลงข้อสรปุ
(1) นักเรยี นแต่ละกลุ่มสง่ ตัวแทนกลุม่ นาํ เสนอขอ้ มูลจากการปฏบิ ัติกิจกรรมหน้าชนั้ เรยี น
(2) นักเรียนและครูรว่ มกนั อภปิ รายและหาข้อสรุปจากการปฏิบัตกิ ิจกรรม โดยใช้แนวคาํ ถามตอ่ ไปน้ี
- ปาุ ไม้ในจงั หวัดหรือในท้องถิ่นทีน่ กั เรยี นอาศัยอยู่มีลักษณะเป็นแบบใด (แนวคําตอบ เป็นปุา
เบญจพรรณ มลี กั ษณะเป็นปุาโปรง่ และมพี นั ธ์พุ ืชหลายชนิด)
- ส่ิงมีชีวิตท้ังท่ีเป็นพืชและสัตว์ท่ีนักเรียนสํารวจพบมีอะไรบ้าง (แนวคําตอบ พืชที่พบ คือ ไม้
สัก แดง ประดู่ เสลา ไผ่ ตะแบก และมะเกลอื ส่วนสตั ว์ทพ่ี บ คือ นกกาเหว่า ผีเสอ้ื และหอยทาก)
(3) นกั เรยี นและครรู ว่ มกันสรุปผลจากการปฏิบัติกจิ กรรม โดยให้ได้ข้อสรุปว่า ปุาไม้ในประเทศไทยมี
หลายประเภท และเป็นทรพั ยากรธรรมชาติทีส่ ําคญั อยา่ งยงิ่ สาํ หรบั มนุษย์
โรงเรยี นบา้ นเปาู
4) ขน้ั ขยายความรู้
(1) ครูให้ความรู้เพิม่ เติมเรื่องทรัพยากรปุาไม้ สัตว์ปุา ทรัพยากรน้ํา และทรัพยากรอากาศ โดยเน้นท่ี
ประโยชน์ทีไ่ ดร้ บั จากทรพั ยากรแตล่ ะประเภท รวมถึงสาเหตุท่ีทําให้ทรัพยากรแต่ละประเภทถูกทําลาย จากน้ัน
ใหน้ ักเรยี นสืบค้นขอ้ มูลเกย่ี วกบั ทรพั ยากรธรรมชาตใิ นทอ้ งถิ่นจากหนังสือวิทยาศาสตร์และอินเทอร์เน็ต โดยนํา
ข้อมูลทค่ี น้ คว้าไดม้ าจดั ทําเปน็ รายงาน หรือจัดปูายนเิ ทศใหเ้ พ่ือน ๆ ได้ทราบเพอื่ แลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน
(2) ครูเช่อื มโยงความรสู้ ู่อาเซียน โดยใหค้ วามรเู้ พ่มิ เติมเกี่ยวกบั ปุาไมข้ องประเทศเพ่อื นบา้ นดังน้ี
ลาว อุดมไปด้วยทรัพยากรปุาไม้ เช่น ไม้ประดู่ ไม้มะค่า ไม้ตะเคียน ไม้สัก ไม้รัง และไม้ยาง
นอกจากนี้ยังมีไม้ท่ีน่าสนใจ คือ ไม้โลงเลง มีลําต้นขนาดใหญ่ ทนแดด ทนฝน และทนปลวกได้นานกว่าร้อยปี
ชาวบ้านนิยมนํามาทําหลังคาบ้าน และนํามาทําเป็นโลงศพ ไม้โลงเลง หรือโหรงเหรง เป็นไม้วงศ์เดียวกับสน
เป็นไม้สีอ่อนสวย มีกลิ่นหอมแบบธรรมชาติจากน้ํามันในเนื้อไม้ ต้านทานแบคทีเรียได้ พบมากทางตอนเหนือ
ของประเทศลาว
เมียนมา พ้ืนที่คร่ึงหนึ่งของประเทศยังคงเป็นผืนปุา เมียนมาจึงอุดมไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติ ท้ัง
บนดิน ใต้ดนิ และในนา้ํ ไม้ทสี่ าํ คญั ได้แก่ ไมส้ ักและไม้เน้อื แขง็ เปน็ ทรพั ยากรทม่ี คี า่ มากทีส่ ุด
อนิ โดนีเซยี เปน็ ประเทศหน่งึ ที่มีปุาไม้อดุ มสมบูรณ์เน่อื งจากอยใู่ นเขตศูนย์สูตร ปุาไม้ส่วนใหญ่เป็นปุา
ดิบชนื้ และปุาพรุ ซึง่ เปน็ ทัง้ แหลง่ ตน้ น้ําธรรมชาติและทีอ่ ย่อู าศัยของสัตว์ปาุ น้อยใหญ่และพชื นานาพันธ์ุ
(3) นักเรยี นค้นคว้ารายละเอยี ดและคําศพั ทภ์ าษาตา่ งประเทศเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น
จากหนงั สือเรียนภาษาต่างประเทศหรืออนิ เทอร์เนต็
5) ข้ันประเมิน
(1) ครูให้นกั เรยี นแตล่ ะคนพิจารณาว่าจากหัวข้อท่ีเรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีจุดใดบ้างท่ียังไม่
เข้าใจหรอื ยังมีขอ้ สงสยั ถา้ มีครูช่วยอธบิ ายเพ่มิ เตมิ ใหน้ กั เรียนเข้าใจ
(2) นักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคใดและได้มีการแก้ไข
อย่างไรบา้ ง
(3) ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรมและ
การนาํ ความร้ทู ี่ได้ไปใช้ประโยชน์
(4) ครทู ดสอบความเข้าใจของนักเรยี นโดยการใหต้ อบคาํ ถาม เชน่
- ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถ่ินของนักเรียนโดยเฉพาะปุาไม้มีความอุดมสมบูรณ์หรือไม่
ลักษณะใด
- มนุษย์ได้รับประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติแตล่ ะประเภทในลักษณะใดบ้าง
ขน้ั สรุป
(1) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเก่ียวกับทรัพยากรธรรมชาติในท้องถ่ิน โดยร่วมกันเขียนเป็นแผนที่
ความคิดหรือผังมโนทัศน์
โรงเรยี นบ้านเปาู
(2) ครูมอบหมายให้นักเรียนไปศึกษาค้นคว้าเน้ือหาของบทเรียนชั่วโมงหน้า เพื่อจัดการเรียนรู้ครั้ง
ต่อไป โดยใหน้ ักเรียนศึกษาค้นคว้าล่วงหนา้ ในหัวขอ้ ประชากรมนษุ ย์กับทรัพยากรธรรมชาติ
(3) ครูให้นักเรียนเตรียมประเด็นคําถามท่ีสงสัยมาอย่างน้อยคนละ 1 คําถาม เพื่อนํามาอภิปราย
รว่ มกันในช้นั เรียนครัง้ ตอ่ ไป
8. กจิ กรรมเสนอแนะ
นักเรียนสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติในท้องถ่ินจากหนังสือ วารสาร สารานุกรม
วิทยาศาสตร์ สารานกุ รมไทยสาํ หรบั เยาวชน และอินเทอรเ์ นต็ รวมทัง้ นําขอ้ มลู ท่ีไดม้ าจัดทาํ เป็นรายงานหรือจัด
ปูายนิเทศใหเ้ พ่ือนๆ ได้ทราบเพอ่ื แลกเปลี่ยนเรยี นรกู้ นั
9. สอ่ื /แหล่งการเรยี นรู้
1. ภาพปาุ ไมท้ ่ีมนี า้ํ ตกและต้นไมม้ ากมายหลายชนิด
2. ใบกิจกรรมท่ี 12 สบื คน้ ขอ้ มูลปุาไม้ในทอ้ งถ่ิน
3. ค่มู อื การสอน วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 6
4. ส่อื การเรียนรู้ PowerPoint รายวิชาพืน้ ฐาน วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
5. แบบฝกึ ทักษะ รายวชิ าพน้ื ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6
6. หนงั สอื เรยี น รายวชิ าพ้ืนฐาน วิทยาศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 6
โรงเรยี นบ้านเปูา
10. บนั ทกึ หลงั การจดั การเรยี นรู้
ความคดิ เหน็ /ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
(ลงชอ่ื )..............................................
(นายธนิตย์ พระสนุ ิน)
ผู้อาํ นวยการโรงเรยี นเค็งใหญห่ นองงูเหลือม
รักษาการในตาํ แหนง่ ผูอ้ าํ นวยการโรงเรียนบ้านเปาู
บนั ทึกหลงั การสอน
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
ปญั หา/อุปสรรค
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
(ลงช่ือ)..............................................
(นางสาววิมลรตั น์ ประทีปะเสน)
ครูผู้ช่วย
โรงเรียนบ้านเปูา
แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี 15
รายวชิ าวิทยาศาสตร์ (ว16101) ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 6
หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 2 ส่งิ มชี ีวติ กบั ส่ิงแวดล้อม เวลาเรียน 12 ชัว่ โมง
เร่ือง ประชากรมนุษย์กบั ทรัพยากรธรรมชาติ เวลาจํานวน 1 ชั่วโมง
**********************************************************************************
1. สาระสาคัญ
การเพ่ิมของประชากรมนษุ ย์มผี ลทาํ ให้ทรัพยากรธรรมชาติต่างๆ ถูกนาํ มาใชม้ ากขึน้
2. ตัวชี้วดั ช้นั ปี
วิเคราะห์ผลของการเพมิ่ ขน้ึ ของประชากรมนุษย์ตอ่ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติ (ว 2.2 ป. 6/2)
3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. อธบิ ายการใชท้ รัพยากรธรรมชาติและข้อจํากัดของทรัพยากรธรรมชาติกับความต้องการของมนุษย์
ได้ (K)
2. มีความสนใจใฝุรู้หรอื อยากร้อู ยากเห็น (A)
3. พอใจในประสบการณก์ ารเรียนรทู้ ี่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ (A)
4. ทาํ งานรว่ มกับผู้อน่ื อย่างสร้างสรรค์ (A)
5. สือ่ สารและนําความรเู้ ร่ืองประชากรมนุษยก์ บั ทรัพยากรธรรมชาตไิ ปใชใ้ นชวี ิตประจาํ วนั ได้ (P)
4. การวัดและการประเมนิ ผลการเรียนรู้
ด้านความรู้ (K) ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และ ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P)
จิตวิทยาศาสตร์ (A)
1. ซกั ถามความรเู้ ร่ืองประชากร 1. ประเมินเจตคตทิ าง 1. ประเมนิ ทักษะ/กระบวนการ
มนษุ ย์กับทรพั ยากรธรรมชาติ วิทยาศาสตรเ์ ปน็ รายบคุ คล ทางวทิ ยาศาสตร์
2. ประเมินกจิ กรรมฝกึ ทกั ษะ 2. ประเมินเจตคตติ อ่ วิทยาศาสตร์ 2. ประเมนิ ทักษะการคิด
ระหว่างเรยี น เปน็ รายบุคคล 3. ประเมินทักษะการแกป้ ัญหา
4. ประเมินพฤติกรรมในการ
ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมเปน็ รายบุคคล
หรอื รายกลุ่ม
5. สาระการเรียนรู้
ประชากรมนุษยก์ บั ทรัพยากรธรรมชาติ
โรงเรยี นบ้านเปูา
6. แนวทางการบูรณาการ
ภาษาไทย สนทนา พูดคุย หรอื เล่าประสบการณ์เกย่ี วกบั ประชากรมนุษยก์ ับ
ทรพั ยากรธรรมชาติตามประสบการณข์ องนักเรยี น
สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม สนทนา พดู คยุ เกย่ี วกบั จํานวนประชากรในกลุ่มประเทศ
สมาชิกอาเซียน
ภาษาตา่ งประเทศ ฟงั พดู อา่ น และเขยี นคาํ ศัพท์ภาษาต่างประเทศเกี่ยวกบั ประชากร
มนุษย์กับทรพั ยากรธรรมชาติท่ไี ดเ้ รียนร้หู รอื ทน่ี ักเรยี นสนใจ
7. กระบวนการจดั การเรียนรู้
ข้นั นาเขา้ สบู่ ทเรียน
1) ครูนาํ แผนภูมิแสดงการเพ่มิ ประชากรมนุษย์ของประเทศไทยตดิ บนกระดานใหน้ ักเรยี นดู
แล้วครตู ้ังประเดน็ การอภปิ รายดังน้ี
- แผนภมู นิ แ้ี สดงขอ้ มลู อะไร
- การเปล่ียนแปลงของประชากรของประเทศไทยเป็นไปในลักษณะใด
- จากแผนภมู นิ แี้ นวโนม้ ของการเปล่ยี นแปลงประชากรของประเทศไทยเปน็ ไปในลักษณะใด
2) นักเรียนร่วมกันตอบคําถามและแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับคําตอบของคําถาม เพื่อเชื่อมโยงไปสู่
การเรยี นรู้เร่ือง ประชากรมนุษย์กับทรัพยากรธรรมชาติ
ขนั้ จัดกิจกรรมการเรียนรู้
จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับแบบกลับด้านช้ันเรียน ซึ่งมี
ขน้ั ตอนดังน้ี
1) ขน้ั สร้างความสนใจ
(1) ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนแล้วเปิดโอกาสให้นักเรียนในกลุ่มนําเสนอข้อมูลเกี่ยวกับประชากรมนุษย์กับ
ทรัพยากรธรรมชาติ ท่ีครูมอบหมายให้ไปเรียนรู้ล่วงหน้าให้เพื่อนๆ ในกลุ่มฟัง จากน้ันให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทน
มานาํ เสนอขอ้ มลู หน้าหอ้ งเรยี น
(2) ครูตรวจสอบวา่ นักเรียนทําภาระงานที่ไดร้ ับมอบหมายไปหรือไม่ โดยตรวจสอบจากการจดบันทึก
ของนักเรยี น และถามคําถามเกยี่ วกบั ภาระงาน ดังนี้
- การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมต่างๆ เกิดจากความต้องการในด้านใดของมนุษย์
(แนวคําตอบ ความต้องการในการบรโิ ภคทรพั ยากรธรรมชาต)ิ
- นักเรียนมีวิธีการในการแก้ไขปัญหาการลดลงของทรัพยากรธรรมชาติอย่างไร (แนว
คาํ ตอบ ไม่ใช้ทรพั ยากรธรรมชาติฟมุ เฟอื ย)
(3) ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนตั้งประเด็นคําถามที่นักเรียนสงสัยจากการทําภาระงานอย่างน้อยคนละ
1 คําถาม ซ่ึงครูให้นกั เรยี นเตรียมมาล่วงหน้า และให้นกั เรียนช่วยกันตอบและแสดงความคดิ เห็น
โรงเรยี นบา้ นเปาู
(4) ครูและนกั เรยี นรว่ มกนั สรปุ เกยี่ วกบั ภาระงาน โดยครูช่วยอธบิ ายให้นักเรียนเข้าใจว่า การเพิ่มของ
ประชากรมนษุ ย์ มผี ลทาํ ใหท้ รัพยากรธรรมชาตติ ่างๆ ถกู นาํ มาใช้มากข้ึน
2) ข้ันสารวจและค้นหา
(1) ให้นักเรียนศึกษาประชากรมนุษย์กับทรัพยากรธรรมชาติจากใบความรู้หรือในหนังสือเรียน โดย
ครชู ่วยอธิบายให้นกั เรียนเข้าใจวา่ การเพม่ิ ของประชากรมนุษยท์ าํ ใหท้ รัพยากรธรรมชาตลิ ดลงอยา่ งรวดเรว็
(2) แบ่งนักเรียนกลุ่มละ 5-6 คน สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับประชากรมนุษย์กับทรัพยากรธรรมชาติโดย
ดาํ เนินการตามข้ันตอนดังน้ี
- แตล่ ะกลมุ่ วางแผนการสบื ค้นข้อมลู โดยแบ่งหัวข้อประชากรมนุษย์กับรัพยากรธรรมชาติ
เป็นหัวข้อย่อย เช่น ประชากรกับปุาไม้ ประชากรกับสัตว์ปุา หรือประชากรกับความหลากหลายของส่ิงมีชีวิต
ใหส้ มาชิกแต่ละกลมุ่ ช่วยกันสบื คน้ ตามหัวข้อที่กําหนด
- สมาชิกแต่ละกลุ่มช่วยกันสืบค้นข้อมูลตามหัวข้อที่กลุ่มของตนเองรับผิดชอบ โดยการ
สบื คน้ จากหนังสือ วารสาร สารานุกรมวิทยาศาสตร์ สารานกุ รมไทยสําหรบั เยาวชน และอินเทอร์เน็ต
- สมาชิกกลุ่มนําข้อมูลที่สืบค้นได้มารายงานให้เพื่อน ๆ สมาชิกในกลุ่มฟังรวมทั้งร่วมกัน
อภปิ รายซกั ถามจนคาดวา่ สมาชิกทกุ คนมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจที่ตรงกนั
- สมาชิกกลมุ่ ชว่ ยกนั สรุปความร้ทู ี่ไดท้ ง้ั หมดเป็นผลงานของกลุม่
(3) ครูคอยแนะนําช่วยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบๆ ห้องเรียนและเปิด
โอกาสใหน้ ักเรยี นทุกคนซักถามเมอื่ มีปัญหา
3) ข้นั อธิบายและลงข้อสรุป
(1) นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มส่งตวั แทนกลุ่มนาํ เสนอขอ้ มลู จากการปฏบิ ตั ิกิจกรรมหน้าชน้ั เรยี น
(2) นักเรียนและครูรว่ มกนั อภปิ รายและหาข้อสรุปจากการปฏบิ ตั กิ ิจกรรม โดยใชแ้ นวคาํ ถามต่อไปน้ี
- ความต้องการด้านต่าง ๆ ของมนุษย์มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงของ
ทรพั ยากรธรรมชาตใิ นลักษณะใด (แนวคาํ ตอบ ทําให้ทรัพยากรธรรมชาตลิ ดลงอย่างรวดเร็ว)
- นกั เรยี นมวี ิธีการทําให้ทรัพยากรธรรมชาติอยู่คู่กับโลกของเราต่อไปได้อย่างไร (แนวคําตอบ
ใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพและสร้างจิตสํานึกของประชาชนให้ตระหนักถึงความสําคัญของ
ทรพั ยากรธรรมชาติ)
(3) นกั เรียนและครูร่วมกนั สรุปผลจากการปฏิบัตกิ ิจกรรม โดยให้ได้ข้อสรุปว่า การเพ่ิมของประชากร
ทําใหม้ กี ารใช้ทรัพยากรธรรมชาติเพ่มิ ขน้ึ และก่อใหเ้ กิดมลพิษซ่งึ เป็นปัญหาสิง่ แวดลอ้ ม
4) ขน้ั ขยายความรู้
(1) ครูให้ความรู้เพ่ิมเติมและช้ีให้เห็นถึงผลดีผลเสียของการเพ่ิมประชากร จากน้ันให้นักเรียนสืบค้น
ข้อมลู เกย่ี วกับประชากรมนุษยก์ บั ทรัพยากรธรรมชาติจากหนังสือ วารสาร สารานุกรมวิทยาศาสตร์สารานุกรม
ไทยสําหรับเยาวชน และอินเทอร์เน็ต รวมทั้งนําข้อมูลที่ค้นคว้าได้มาจัดทําเป็นรายงาน หรือจัดปูายนิเทศให้
เพื่อน ๆ ไดท้ ราบเพ่ือแลกเปล่ยี นเรยี นรกู้ ัน
โรงเรียนบา้ นเปาู
(2) ครูเช่ือมโยงความรู้สู่อาเซียน โดยถามนักเรียนว่า ทราบหรือไม่ว่า ประเทศใดในอาเซียนท่ีมี
จํานวนประชากรมากที่สุด (ประเทศอินโดนีเซีย) ครูให้ความรู้เพ่ิมเติมดังนี้ อาเซียนประกอบด้วยประเทศ
สมาชิกถึง 10 ประเทศ ประเทศท่ีมีประชากรมากที่สุด คือ ประเทศอินโดนีเซีย เน่ืองจากประเทศอินโดนีเซียมี
ขนาดใหญท่ ี่สุดในอาเซียน โดยมีพ้ืนท่ีขนาดใหญ่กว่าประเทศไทยถึง 10 เท่า มีจํานวนประชากรประมาณ 243
ล้านคน ส่วนประเทศที่มีจํานวนประชากรนอ้ ยทีส่ ดุ ในอาเซยี น คือ บรูไนดารุสซาลาม มีประชากรเพียง 14,000
คน (ข้อมูลปี 2553) และประเทศที่มีจํานวนประชากรหนาแน่นมากท่ีสุดในอาเซียน คือ สิงคโปร์ คือ มี
ประชากรเกือบ 7,300 คนตอ่ 1 ตารางกิโลเมตร
(3) นักเรียนค้นคว้ารายละเอียดและคําศัพท์ภาษาต่างประเทศเก่ียวกับประชากรมนุษย์กับ
ทรพั ยากรธรรมชาตจิ ากหนังสอื เรยี นภาษาตา่ งประเทศหรอื อินเทอรเ์ น็ต
5) ขั้นประเมนิ
(1) ครใู หน้ ักเรยี นแตล่ ะคนพิจารณาวา่ จากหัวข้อท่ีเรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจุดใดบ้างท่ียังไม่
เข้าใจหรอื ยงั มขี อ้ สงสยั ถา้ มคี รชู ว่ ยอธบิ ายเพ่มิ เตมิ ใหน้ กั เรียนเขา้ ใจ
(2) นักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคใด และได้มีการแก้ไข
อย่างไรบา้ ง
(3) ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรมและ
การนําความรทู้ ไ่ี ด้ไปใช้ประโยชน์
(4) ครทู ดสอบความเข้าใจของนักเรียนโดยการให้ตอบคําถาม เชน่
- ผลดีและผลเสียท่ีเกิดข้ึนกับทรัพยากรธรรมชาติอันเนื่องมาจากการเพ่ิมขึ้นของประชากร
มนษุ ย์และการกระทาํ ของมนษุ ย์มอี ะไรบ้าง
- นักเรียนเห็นด้วยหรือไม่กับการลงนามในสนธิสัญญาระหว่างประเทศเก่ียวกับทรัพยากร
ธรรมชาติ เพราะอะไร
ข้ันสรปุ
(1) ครแู ละนักเรียนรว่ มกนั สรปุ เกยี่ วกบั ประชากรมนษุ ยก์ บั ทรพั ยากรธรรมชาติ โดยร่วมกันเขียนเป็น
แผนท่ีความคิดหรอื ผังมโนทศั น์
(2) ครูมอบหมายให้นักเรียนไปศึกษาค้นคว้าเนื้อหาของบทเรียนชั่วโมงหน้า เพ่ือจัดการเรียนรู้คร้ัง
ต่อไป โดยใหน้ ักเรยี นศึกษาคน้ ควา้ ล่วงหนา้ ในหัวข้อมลพษิ ทางนํา้
(3) ครูให้นักเรียนเตรียมประเด็นคําถามที่สงสัยมาอย่างน้อยคนละ 1 คําถาม เพื่อนํามาอภิปราย
รว่ มกันในชัน้ เรียนคร้งั ต่อไป
8. กจิ กรรมเสนอแนะ
นักเรียนสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับประชากรมนุษย์กับทรัพยากรธรรมชาติจากหนังสือ วารสารสารานุกรม
วทิ ยาศาสตร์ สารานกุ รมไทยสําหรบั เยาวชน และอินเทอรเ์ นต็ รวมทั้งนาํ ขอ้ มูลทไ่ี ด้มาจัดทําเป็นรายงานหรือจัด
ปาู ยนิเทศใหเ้ พอื่ นๆ ได้ทราบเพ่อื แลกเปล่ยี นเรียนร้กู ัน
โรงเรยี นบ้านเปูา
9. สอ่ื /แหล่งการเรียนรู้
1. แผนภมู แิ สดงการเพิ่มประชากรมนษุ ยข์ องประเทศไทย
2. สื่อการเรยี นรู้ PowerPoint รายวิชาพ้ืนฐาน วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6
3. แบบฝกึ ทักษะ รายวชิ าพ้นื ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6
4. หนังสือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6
10. บันทึกหลังการจดั การเรียนรู้
ความคดิ เหน็ /ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
(ลงช่อื )..............................................
(นายธนติ ย์ พระสุนนิ )
ผู้อาํ นวยการโรงเรยี นเค็งใหญ่หนองงูเหลอื ม
รกั ษาการในตาํ แหน่ง ผอู้ าํ นวยการโรงเรียนบา้ นเปาู
บนั ทกึ หลังการสอน
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
ปญั หา/อุปสรรค
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
(ลงช่ือ)..............................................
(นางสาววิมลรัตน์ ประทปี ะเสน)
ครูผู้ช่วย
โรงเรยี นบ้านเปาู
แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ 16
รายวิชาวิทยาศาสตร์ (ว16101) ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6
หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 2 สิ่งมีชวี ติ กับสิ่งแวดลอ้ ม เวลาเรยี น 12 ชัว่ โมง
เร่ือง มลพษิ ทางนา้ํ เวลาจํานวน 1 ชว่ั โมง
**********************************************************************************
1. สาระสาคญั
มลพิษทางน้ําเป็นสภาวะของนํ้าท่ีเสื่อมคุณภาพหรือมีคุณสมบัติเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมเน่ืองจากมี
สารพิษเจือปนจนทําให้เกิดความเสียหายต่อการใช้ประโยชน์ของมนุษย์ เป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตและ
สภาพแวดลอ้ ม
2. ตัวช้ีวดั ช้ันปี
1. อภิปรายผลต่อสิ่งมีชีวติ จากการเปล่ยี นแปลงส่ิงแวดลอ้ ม ทัง้ โดยธรรมชาตแิ ละโดยมนุษย์
(ว 2.2 ป. 6/3)
2. อภิปรายแนวทางในการดแู ลรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ว 2.2 ป. 6/4)
3. มสี ว่ นรว่ มในการดูแลรกั ษาสิ่งแวดลอ้ มในท้องถนิ่ (ว 2.2 ป. 6/5)
3. จุดประสงค์การเรยี นรู้
1. อธิบายสาเหตขุ องนํ้าเสยี ได้ (K)
2. เสนอแนะแนวทางการอนรุ ักษ์แหล่งน้าํ ตามธรรมชาตไิ ด้ (K)
3. มีความสนใจใฝุรูห้ รอื อยากรูอ้ ยากเห็น (A)
4. พอใจในประสบการณ์การเรยี นรูท้ ี่เก่ียวกับวทิ ยาศาสตร์ (A)
5. ทํางานร่วมกบั ผู้อน่ื อยา่ งสร้างสรรค์ (A)
6. สอื่ สารและนาํ ความรเู้ รื่องมลพษิ ทางนา้ํ ไปใชใ้ นชีวติ ประจาํ วนั ได้ (P)
4. การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้
ด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม และ ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P)
จิตวทิ ยาศาสตร์ (A)
1. ประเมินทักษะ/กระบวนการทาง
1. ซกั ถามความรเู้ ร่อื งมลพิษทางนา้ํ 1. ประเมนิ เจตคตทิ างวทิ ยาศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์
2. ประเมนิ กจิ กรรมฝึกทกั ษะ เปน็ รายบุคคล 2. ประเมนิ ทักษะการคิด
3. ประเมินทกั ษะการแกป้ ัญหา
ระหวา่ งเรียน 2. ประเมินเจตคติตอ่ วิทยาศาสตร์ 4. ประเมนิ พฤตกิ รรมในการปฏบิ ัติ
เป็นรายบุคคล กจิ กรรมเปน็ รายบุคคล
โรงเรียนบ้านเปูา
5. สาระการเรียนรู้
มลพิษทางน้าํ
6. แนวทางการบูรณาการ
ภาษาไทย สนทนา พูดคุย หรอื เลา่ ประสบการณเ์ ก่ยี วกบั มลพษิ ทางนา้ํ และการอนุรักษ์
แหลง่ นาํ้ ตามประสบการณ์ของนกั เรยี น
สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม
แสดงบทบาทสมมตุ ิเกี่ยวกบั แนวทางการปูองกันนาํ้ เสียและการอนุรักษ์
แหลง่ น้าํ ในชมุ ชน
ภาษาตา่ งประเทศ ฟัง พดู อา่ น และเขียนคาํ ศพั ท์ภาษาตา่ งประเทศเกยี่ วกบั มลพษิ ทางนํ้าทีไ่ ด้
เรียนรู้หรือทนี่ กั เรียนสนใจ
7. กระบวนการจดั การเรียนรู้
ข้ันนาเขา้ สู่บทเรยี น
1) ครถู ามคําถามนกั เรียนเพอ่ื กระต้นุ ความสนใจ เช่น
- ถ้ามนี าํ้ เสยี เช่นนไี้ หลลงสูแ่ ม่น้าํ ลาํ คลองในบรเิ วณบ้านของเราจะเกิดอะไรขน้ึ
- ผลกระทบท่เี กดิ จากนํา้ เสยี ส่งผลตอ่ สิ่งมีชวี ิตในเรอ่ื งใดบ้าง
2) นักเรียนร่วมกันตอบคําถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคําตอบของคําถาม เพ่ือเชื่อมโยงไปสู่
การเรียนรเู้ รอ่ื ง มลพษิ ทางนํ้า
ข้ันจัดกจิ กรรมการเรียนรู้
จัดกิจกรรมการเรยี นรูโ้ ดยใชก้ ระบวนการสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับแบบกลับด้านชั้นเรียน ซ่ึงมีข้ันตอน
ดังน้ี
1) ขน้ั สรา้ งความสนใจ
(1) ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนแล้วเปิดโอกาสให้นักเรียนในกลุ่มนําเสนอข้อมูลเก่ียวกับมลพิษทางน้ํา ที่ครู
มอบหมายให้ไปเรียนรู้ล่วงหน้าให้เพื่อนๆ ในกลุ่มฟัง จากนั้นให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนมานําเสนอข้อมูลหน้า
ห้องเรยี น
(2) ครูตรวจสอบว่านักเรียนทําภาระงานที่ได้รับมอบหมายไปหรือไม่ โดยตรวจสอบจากการจดบันทึก
ของนกั เรยี น และถามคําถามเกีย่ วกบั ภาระงาน ดงั นี้
- นกั เรียนจะมีวธิ กี ารแก้ไขไม่ให้เกิดน้ําเสียได้อย่างไร (แนวคําตอบ รณรงค์ไม่ให้ประชาชนท้ิง
ขยะลงในแหลง่ นา้ํ และปลกู ผักตบชวาเพ่อื เพ่ิมออกซเิ จนใหแ้ หลง่ นา้ํ )
(3) ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนตั้งประเด็นคําถามท่ีนักเรียนสงสัยจากการทําภาระงานอย่างน้อยคนละ
1 คําถาม ซ่งึ ครใู ห้นักเรียนเตรยี มมาลว่ งหนา้ และให้นักเรยี นช่วยกนั ตอบและแสดงความคิดเหน็
โรงเรยี นบ้านเปูา
(4) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับภาระงาน โดยครูช่วยอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า มลพิษทาง
นํา้ เปน็ สภาวะของนาํ้ ท่เี สือ่ มคุณภาพหรอื มีคณุ สมบัติเปลย่ี นแปลงไปจากเดิม
2) ขัน้ สารวจและค้นหา
(1) ให้นักเรียนศึกษามลพิษทางน้ําจากใบความรู้หรือในหนังสือเรียน โดยครูช่วยอธิบายให้นักเรียน
เข้าใจวา่ นํา้ เสยี เป็นปัญหาส่งิ แวดลอ้ มทส่ี ่งผลตอ่ การดาํ รงชีวิตของมนุษย์
(2) แบ่งนกั เรยี นกลุ่มละ 5 - 6 คน สืบคน้ ขอ้ มลู เก่ียวกับมลพิษทางน้ําโดยดาํ เนนิ การตามข้นั ตอนดงั น้ี
- แต่ละกลุ่มวางแผนการสืบค้นข้อมูล โดยแบ่งหัวข้อมลพิษทางน้ําเป็นหัวข้อย่อย เช่น
แหล่งท่ีมาของมลพษิ ทางนํ้า ผลเสยี ท่เี กดิ จากมลพิษทางนาํ้ วิธีการลดและปูองกันมลพิษทางนํ้าให้สมาชิกแต่ละ
กลุม่ ช่วยกันสบื ค้นตามหัวข้อทีก่ าํ หนด
- สมาชกิ แต่ละกลุ่มช่วยกันสืบค้นข้อมูลตามหัวข้อท่ีกลุ่มของตนเองรับผิดชอบ โดยการสืบค้น
จากหนังสอื วารสาร สารานุกรมวทิ ยาศาสตร์ สารานุกรมไทยสาํ หรับเยาวชน และอินเทอร์เนต็
- สมาชิกกลุ่มนําข้อมูลที่สืบค้นได้มารายงานให้เพื่อน ๆ สมาชิกในกลุ่มฟัง รวมทั้งร่วมกัน
อภิปรายซักถามจนคาดวา่ สมาชิกทุกคนมคี วามรคู้ วามเข้าใจทีต่ รงกัน
- สมาชกิ กลมุ่ ช่วยกันสรุปความรทู้ ่ีไดท้ งั้ หมดเป็นผลงานของกลุ่ม
(3) ครูคอยแนะนําช่วยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบๆ ห้องเรียนและเปิด
โอกาสให้นักเรียนทุกคนซักถามเมือ่ มปี ัญหา
3) ข้ันอธิบายและลงข้อสรุป
(1) นักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ สง่ ตัวแทนกลุ่มนําเสนอข้อมูลจากการปฏิบัติกจิ กรรมหน้าช้นั เรียน
(2) นักเรยี นและครูรว่ มกันอภปิ รายและหาขอ้ สรปุ จากการปฏิบตั กิ จิ กรรม โดยใช้แนวคําถามตอ่ ไปนี้
- นํ้าเสียเกิดจากสาเหตุใด (แนวคําตอบ การปล่อยนํ้าเสียจากบ้านเรือนลงสู่แหล่งน้ํา การ
ปล่อยนํ้าทิ้งจากโรงงานอตุ สาหกรรม และการปล่อยของเสียจากการเกษตรกรรม)
- เราสามารถลดและปูองกันการเกดิ มลพษิ ทางนา้ํ ได้โดยวิธีใด (แนวคําตอบ ไม่ทิ้งของเสียลงสู่
แหล่งนํ้าและบาํ บดั น้ําเสยี ก่อนระบายลงสูแ่ หลง่ น้ําสาธารณะ)
(3) นักเรียนและครูร่วมกันสรุปผลจากการปฏิบัติกิจกรรม โดยให้ได้ข้อสรุปว่า นํ้าเสียเกิดจากการ
ปะปนของสงิ่ ปฏกิ ูลต่าง ๆ จนทําใหค้ ณุ ภาพของนาํ้ เปลี่ยนแปลงไป
4) ขัน้ ขยายความรู้
(1) นักเรียนสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับมลพิษทางน้ําและการอนุรักษ์แหล่งน้ําจากหนังสือ วารสาร
สารานกุ รมวทิ ยาศาสตร์ สารานกุ รมไทยสาํ หรับเยาวชน และอินเทอร์เน็ต รวมทั้งนําข้อมูลท่ีค้นคว้าได้มาจัดทํา
เป็นรายงาน หรอื จดั ปูายนเิ ทศให้เพอ่ื นๆ ไดท้ ราบเพื่อแลกเปลีย่ นเรียนรู้กนั
(2) นกั เรยี นค้นควา้ รายละเอยี ดและคําศัพทภ์ าษาต่างประเทศเกย่ี วกบั มลพิษทางนํ้าจากหนังสือเรียน
ภาษาต่างประเทศหรืออินเทอร์เน็ต
โรงเรียนบา้ นเปูา
5) ข้นั ประเมนิ
(1) ครูให้นักเรียนแตล่ ะคนพจิ ารณาว่าจากหวั ข้อทเี่ รยี นมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจุดใดบ้างท่ียังไม่
เข้าใจหรือยงั มขี ้อสงสัย ถ้ามคี รชู ว่ ยอธิบายเพ่ิมเตมิ ใหน้ ักเรียนเขา้ ใจ
(2) นักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคใด และได้มีการแก้ไข
อยา่ งไรบา้ ง
(3) ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรมและ
การนาํ ความร้ทู ีไ่ ดไ้ ปใชป้ ระโยชน์
(4) ครูทดสอบความเข้าใจของนักเรียนโดยการใหต้ อบคําถาม เช่น
- แหล่งนาํ้ ในชุมชนของนกั เรียนมสี ่ิงใดที่บง่ ชถี้ งึ ความสกปรกบ้าง
- ถ้านักเรียนพบว่าคูนํ้าบริเวณโรงเรียนมีนํ้าเสียส่งกล่ินเหม็นรบกวนชุมชนที่อาศัยอยู่บริเวณ
โรงเรียน นกั เรียนจะพัฒนาสภาพแวดล้อมของโรงเรียนเพ่อื แก้ปญั หาดังกล่าวได้ด้วยวธิ ีใด
ขนั้ สรปุ
(1) ครแู ละนักเรยี นร่วมกนั สรุปเก่ียวกบั มลพษิ ทางน้าํ โดยร่วมกนั เขยี นเปน็ แผนที่ความคิดหรือผังมโน
ทศั น์
(2) ครูมอบหมายให้นักเรียนไปศึกษาค้นคว้าเน้ือหาของบทเรียนช่ัวโมงหน้า เพ่ือจัดการเรียนรู้ครั้ง
ตอ่ ไป โดยใหน้ ักเรียนศึกษาค้นคว้าล่วงหน้าในหัวข้อมลพิษทางอากาศ โดยใช้ใบงาน สืบค้นข้อมูลก่อนเรียน 5
ทคี่ รูจัดเตรยี มไวใ้ ห้ประกอบการศึกษาค้นคว้า (ในสื่อการเรียนรู้ PowerPoint วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปี
ท่ี 6 )
(3) ครอู ธบิ ายขนั้ ตอนการปฏิบัติกจิ กรรมและมอบหมายให้นกั เรยี นไปปฏิบัติกจิ กรรมที่บ้าน พร้อมท้ัง
ใหน้ ักเรียนเตรียมประเด็นคําถามทส่ี งสัยมาอยา่ งน้อยคนละ 1 คําถาม เพอ่ื นาํ มาอภปิ รายร่วมกันในช้ันเรียนคร้ัง
ต่อไป
8. กิจกรรมเสนอแนะ
1. นักเรียนชว่ ยกนั เขียนคาํ ขวัญและจดั ปูายนเิ ทศเชญิ ชวนใหช้ ่วยกันลดมลพิษทางนํ้า
2. นักเรียนร่วมกนั แสดงบทบาทสมมุตเิ กยี่ วกับแนวทางการปูองกนั น้ําเสียและการอนุรักษ์แหล่งนํ้าใน
ชมุ ชน
9. สอ่ื /แหล่งการเรยี นรู้
1. ใบงานสบื คน้ ข้อมูลก่อนเรียน 5
2. คู่มือการสอน วิทยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 6
3. ส่ือการเรียนรู้ PowerPoint รายวิชาพ้นื ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6
4. แบบฝกึ ทักษะ รายวชิ าพืน้ ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 6
5. หนังสอื เรียน รายวิชาพน้ื ฐาน วิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6
โรงเรยี นบ้านเปาู
10. บันทึกหลงั การจัดการเรียนรู้
ความคิดเหน็ /ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
(ลงชอ่ื )..............................................
(นายธนติ ย์ พระสุนนิ )
ผ้อู าํ นวยการโรงเรยี นเค็งใหญห่ นองงูเหลอื ม
รกั ษาการในตาํ แหน่ง ผอู้ าํ นวยการโรงเรียนบ้านเปาู
บันทกึ หลังการสอน
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................................................................................................... ..........
ปญั หา/อปุ สรรค
........................................................................................................ ......................................................................
............................................................................................................................. .................................................
..................................................................................................................................... .........................................
ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
(ลงชือ่ )..............................................
(นางสาววมิ ลรัตน์ ประทีปะเสน)
ครูผู้ช่วย
โรงเรยี นบ้านเปูา
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 17
รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ (ว16101) ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 สิง่ มีชวี ติ กับสิง่ แวดลอ้ ม เวลาเรียน 12 ช่วั โมง
เรื่อง มลพิษทางอากาศ เวลาจํานวน 1 ชั่วโมง
**********************************************************************************
1. สาระสาคัญ
มลพิษทางอากาศเป็นสภาวะที่มีสิ่งเป็นพิษ เช่น ฝุน ควัน แก๊สพิษ เจือปนอยู่ในอากาศในปริมาณมาก
จนเปน็ อนั ตรายต่อสิง่ มชี ีวติ และส่ิงแวดล้อมท้งั ทางตรงและทางอ้อม
2. ตวั ชี้วัดชนั้ ปี
1. อภิปรายผลต่อสง่ิ มีชวี ิตจากการเปลีย่ นแปลงสิง่ แวดล้อมท้ังโดยธรรมชาติและโดยมนษุ ย์
(ว 2.2 ป. 6/3)
2. อภปิ รายแนวทางในการดูแลรักษาทรัพยากรส่ิงแวดล้อม (ว 2.2 ป. 6/4)
3. มสี ่วนรว่ มในการดูแลรกั ษาสิ่งแวดลอ้ มในท้องถิ่น (ว 2.2 ป. 6/5)
3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. อธบิ ายสาเหตุของอากาศเสยี ได้ (K)
2. เสนอแนะแนวทางการปูองกนั อากาศเปน็ พิษได้ (K)
3. มคี วามสนใจใฝุรหู้ รืออยากรู้อยากเหน็ (A)
4. พอใจในประสบการณ์การเรยี นรทู้ ่ีเกี่ยวกับวทิ ยาศาสตร์ (A)
5. ทาํ งานร่วมกบั ผูอ้ ื่นอย่างสร้างสรรค์ (A)
6. ส่ือสารและนําความรู้เรื่องมลพิษทางอากาศไปใชใ้ นชีวติ ประจําวนั ได้ (P)
4. การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้
ดา้ นความรู้ (K) ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม และ ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P)
จิตวิทยาศาสตร์ (A)
1. ประเมินทักษะ/กระบวนการทาง
1. ซักถามความรู้เรอื่ งมลพษิ ทาง 1. ประเมนิ เจตคติทางวทิ ยาศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์
อากาศ เปน็ รายบุคคล 2. ประเมินทกั ษะการคิด
3. ประเมินทักษะการแก้ปญั หา
2. ประเมนิ กจิ กรรมฝกึ ทกั ษะ 2. ประเมนิ เจตคตติ ่อวทิ ยาศาสตร์ 4. ประเมินพฤตกิ รรมในการปฏบิ ตั ิ
ระหวา่ งเรียน เป็นรายบคุ คล กจิ กรรมเปน็ รายบคุ คลหรอื รายกลุ่ม
โรงเรียนบา้ นเปูา
5. สาระการเรยี นรู้
มลพษิ ทางอากาศ
6. แนวทางการบรู ณาการ
ภาษาไทย สนทนา พูดคุย หรือเลา่ ประสบการณ์เกยี่ วกับมลพษิ ทางอากาศและ
แนวทางในการแกป้ ัญหาตามประสบการณ์ของนักเรียน
สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม
แสดงบทบาทสมมุตเิ กย่ี วกบั แนวทางการปูองกนั อากาศเสยี ในชุมชน
ภาษาต่างประเทศ ฟัง พูด อ่าน และเขยี นคําศัพทภ์ าษาตา่ งประเทศเก่ยี วกบั มลพิษทางอากาศ
รวมทง้ั แนวทางการปอู งกนั ในชมุ ชนทีไ่ ดเ้ รยี นรหู้ รือที่นักเรยี นสนใจ
7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ข้ันนาเข้าสู่บทเรยี น
1) ครูถามคาํ ถามนกั เรยี นเพ่อื กระตุน้ ความสนใจ เช่น
- ควันที่เกดิ จากท่อไอเสียรถยนต์ที่ปลอ่ ยออกมามีผลกระทบต่อสง่ิ แวดล้อมในลกั ษณะใด
- ในระหว่างที่นกั เรียนเดนิ ทางมาโรงเรยี นหรือบริเวณใดในโรงเรียนหรอื ชุมชนท่นี กั เรียนอาศัย
อยมู่ ฝี ุนละอองหรอื ควันมากๆ บ้างหรือไม่
2) นักเรียนร่วมกันตอบคําถามและแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับคําตอบของคําถาม เพ่ือเช่ือมโยงไปสู่
การเรียนรู้เรอ่ื ง มลพิษทางอากาศ
ขั้นจดั กิจกรรมการเรยี นรู้
จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับแบบกลับด้านชั้นเรียน ซึ่งมี
ขั้นตอนดังน้ี
1) ขัน้ สร้างความสนใจ
(1) ครูให้นักเรียนนําใบงาน สืบค้นข้อมูลก่อนเรียน 5 ท่ีครูมอบหมายให้ไปเรียนรู้ล่วงหน้าที่บ้านมา
อภิปรายร่วมกันในช้นั เรียน
(2) ครูตรวจสอบว่านักเรียนทํากิจกรรมท่ีได้รับมอบหมายไปหรือไม่ โดยตรวจสอบจากการจดบันทึก
ของนกั เรยี น และถามคาํ ถามเกยี่ วกบั กิจกรรม ดังน้ี
- ถ้ามีควันจากท่อไอเสียรถยนต์จํานวนมาก ๆ จะส่งผลกระทบต่อช้ันบรรยากาศของโลก
หรือไม่ ลักษณะใด (แนวคําตอบ ส่งผลให้เกิดการสะสมของแก๊สท่ีช้ันบรรยากาศอย่างหนาแน่น จึงทําให้ช้ัน
บรรยากาศกกั เก็บความร้อนจากดวงอาทติ ย์ไว้มากขนึ้ )
- การตัดต้นไม้ส่งผลต่อมลพิษทางอากาศมากเพราะอะไร (แนวคําตอบ เพราะต้นไม้เป็น
ส่ิงมีชีวิตที่สามารถกําจัดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ซ่ึงเป็นแก๊สที่ทําให้เกิดมลพิษทางอากาศได้ถ้ามีปริมาณเกิน
สมดลุ )
โรงเรียนบา้ นเปูา
(3) ครเู ปดิ โอกาสให้นกั เรยี นตง้ั ประเด็นคําถามท่ีนักเรียนสงสัยจากการทํากิจกรรมอย่างน้อยคนละ 1
คําถาม ซึง่ ครใู หน้ ักเรยี นเตรียมมาลว่ งหนา้ และใหน้ ักเรียนช่วยกันตอบและแสดงความคิดเหน็
(4) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับกิจกรรม สืบค้นข้อมูลก่อนเรียน 5 โดยครูช่วยอธิบายให้
นักเรียนเข้าใจว่า มลพิษทางอากาศเป็นสภาวะที่มีสิ่งเป็นพิษ เช่น ฝุน ควัน แก๊สพิษ เจือปนอยู่ในอากาศใน
ปริมาณมาก จนเปน็ อนั ตรายตอ่ สิง่ มีชีวติ และสงิ่ แวดล้อม
2) ขั้นสารวจและคน้ หา
(1) ให้นักเรียนศึกษามลพิษทางอากาศจากใบความรู้หรือในหนังสือเรียนโดยครูช่วยอธิบายให้
นกั เรียนเขา้ ใจว่า อากาศเสียเป็นปัญหาสิง่ แวดล้อมทีส่ ่งผลตอ่ การดาํ รงชีวติ ของมนุษย์
(2) แบ่งนักเรียนกลุ่มละ 5 - 6 คน สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับมลพิษทางอากาศ โดยดําเนินการตาม
ขน้ั ตอนดงั น้ี
- แต่ละกลุ่มวางแผนการสืบค้นข้อมูลโดยแบ่งหัวข้อมลพิษทางอากาศเป็นหัวข้อย่อย เช่น
ปรากฏการณ์เรือนกระจก ผลจากมลพิษทางอากาศ วิธีปูองกันและลดมลพิษทางอากาศ ให้สมาชิกแต่ละกลุ่ม
ช่วยกนั สืบค้นตามหวั ขอ้ ทกี่ ําหนด
- สมาชิกแต่ละกลุ่มช่วยกันสืบค้นข้อมูลตามหัวข้อท่ีกลุ่มของตนเองรับผิดชอบโดยการสืบค้น
จากหนงั สือ วารสาร สารานุกรมวทิ ยาศาสตร์ สารานุกรมไทยสําหรับเยาวชน และอนิ เทอร์เน็ต
- สมาชิกกลุ่มนําข้อมูลที่สืบค้นได้มารายงานให้เพื่อน ๆ สมาชิกในกลุ่มฟัง รวมท้ังร่วมกัน
อภิปรายซักถามจนคาดว่า สมาชิกทกุ คนมคี วามรู้ความเข้าใจทต่ี รงกัน
- สมาชกิ กลมุ่ ช่วยกนั สรุปความรทู้ ีไ่ ด้ท้งั หมดเป็นผลงานของกล่มุ
(3) ครูคอยแนะนําช่วยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบๆ ห้องเรียนและเปิด
โอกาสใหน้ ักเรียนทกุ คนซกั ถามเม่อื มปี ัญหา
3) ขัน้ อธิบายและลงข้อสรปุ
(1) นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ส่งตัวแทนกล่มุ นาํ เสนอข้อมลู จากการปฏบิ ตั ิกิจกรรมหนา้ ชน้ั เรยี น
(2) นกั เรียนและครูร่วมกันอภิปรายและหาข้อสรปุ จากการปฏบิ ัตกิ ิจกรรม โดยใช้แนวคําถามตอ่ ไปนี้
- แก๊สเรือนกระจกคืออะไร มีแก๊สอะไรบ้าง (แนวคําตอบ แก๊สเรือนกระจก คือ แก๊สที่มนุษย์
ปล่อยข้ึนสู่ช้ันบรรยากาศจากกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ แก๊สเหล่านี้จะสะสมอยู่ในชั้นบรรยากาศ และ
กักเก็บความร้อนจากดวงอาทิตย์ไว้ทําให้อุณหภูมิของโลกสูงขึ้น แก๊สเรือนกระจกที่สําคัญ ได้แก่ แก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์ แก๊สมีเทน แกส๊ ไนโตรเจนออกไซด์ และสารซีเอฟซ)ี
- คนในชุมชนเมอื งควรปลูกต้นไม้ เพื่อช่วยลดมลพิษทางอากาศ เน่ืองจากต้นไม้มีส่วนช่วยลด
แกส๊ ชนิดใดจากอากาศ (แนวคาํ ตอบ แก๊สคารบ์ อนไดออกไซด)์
(3) นกั เรียนและครรู ่วมกนั สรุปผลจากการปฏิบัติกิจกรรม โดยให้ได้ข้อสรุปว่า มลพิษทางอากาศเกิด
จากอากาศมีส่ิงเปน็ พิษเจอื ปนอยูใ่ นปริมาณมากจนเป็นอนั ตรายต่อสง่ิ มีชวี ติ และสง่ิ แวดล้อม
โรงเรยี นบา้ นเปูา
4) ข้นั ขยายความรู้
(1) ครูให้ความรู้เพ่ิมเติมเก่ียวกับผลจากปรากฏการณ์เรือนกระจก ผลกระทบจากมลพิษทางอากาศ
และวิธีการปูองกันและลดมลพิษทางอากาศ จากนั้นให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับมลพิษทางอากาศจาก
หนังสือ วารสาร สารานุกรมวิทยาศาสตร์ สารานุกรมไทยสําหรับเยาวชน และอินเทอร์เน็ต รวมทั้งนําข้อมูลที่
ค้นคว้าได้มาจดั ทําเป็นรายงาน หรอื จัดปาู ยนเิ ทศให้เพือ่ นๆ ได้ทราบเพ่อื แลกเปล่ียนเรียนรูก้ ัน
(2) นกั เรยี นคน้ ควา้ รายละเอียดและคําศพั ท์ภาษาต่างประเทศเก่ียวกบั มลพิษทางอากาศจาก
หนงั สอื เรียนภาษาตา่ งประเทศหรอื อินเทอร์เน็ต
5) ขนั้ ประเมิน
(1) ครูให้นกั เรยี นแต่ละคนพิจารณาวา่ จากหวั ข้อทเี่ รยี นมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจุดใดบ้างที่ยังไม่
เข้าใจหรอื ยงั มีข้อสงสยั ถา้ มคี รชู ่วยอธบิ ายเพม่ิ เตมิ ให้นกั เรียนเข้าใจ
(2) นักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคใด และได้มีการแก้ไข
อย่างไรบ้าง
(3) ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรมและ
การนําความรทู้ ่ีได้ไปใช้ประโยชน์
(4) ครทู ดสอบความเข้าใจของนกั เรียนโดยการใหต้ อบคําถาม เชน่
- ถ้านักเรียนต้องหายใจรับอากาศบริเวณที่มีการจราจรหนาแน่นหรือถนนที่มีฝุนมาก ๆ หรือ
ควันจากการเผาขยะต่าง ๆ เขา้ ไปวันละ 1 ชั่วโมง จะเกดิ ผลตอ่ ร่างกายของนกั เรียนในลักษณะใด
- นักเรียนมีวิธีการหรือแนวทางการปูองกนั ไมใ่ ห้เกดิ อากาศเสยี อย่างไร
ข้นั สรปุ
(1) ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกันสรปุ เกยี่ วกบั มลพษิ ทางอากาศ โดยร่วมกันเขียนเป็นแผนท่คี วามคิดหรือผัง
มโนทศั น์
(2) ครูมอบหมายให้นักเรียนไปศึกษาค้นคว้าเน้ือหาของบทเรียนช่ัวโมงหน้า เพ่ือจัดการเรียนรู้คร้ัง
ต่อไป โดยใหน้ ักเรียนศึกษาค้นควา้ ล่วงหน้าในหัวขอ้ มลพิษจากขยะมลู ฝอย
(3) ครูให้นักเรียนเตรียมประเด็นคําถามที่สงสัยมาอย่างน้อยคนละ 1 คําถาม เพื่อนํามาอภิปราย
รว่ มกันในช้นั เรียนคร้ังตอ่ ไป
8. กิจกรรมเสนอแนะ
1. นักเรียนสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับมลพิษทางอากาศและปรากฏการณ์เรือนกระจกจากหนังสือ วารสาร
สารานุกรมวิทยาศาสตร์ สารานุกรมไทยสําหรับเยาวชน และอินเทอร์เน็ต รวมทั้งนําข้อมูลที่ได้จากการปฏิบัติ
กิจกรรมและการค้นควา้ มาจัดทาํ เป็นรายงาน หรอื จัดปาู ยนเิ ทศให้เพอื่ นๆ ได้ทราบเพื่อแลกเปล่ียนเรียนรู้กัน
2. นักเรยี นรว่ มกันแสดงบทบาทสมมตุ เิ กยี่ วกบั แนวทางการปอู งกันอากาศเสยี ในชมุ ชน
โรงเรยี นบา้ นเปาู
9. สอ่ื /แหล่งการเรียนรู้
1. ใบงานสืบค้นข้อมลู ก่อนเรียน 5
2. สอื่ การเรียนรู้ PowerPoint รายวิชาพืน้ ฐาน วิทยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 6
3. แบบฝกึ ทกั ษะ รายวชิ าพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6
4. หนังสือเรยี น รายวิชาพ้นื ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6
10. บันทกึ หลงั การจัดการเรียนรู้
ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................. .................................................
.......................................................................................................................................................... ....................
............................................................................................................. .................................................................
(ลงชอื่ )..............................................
(นายธนติ ย์ พระสุนิน)
ผูอ้ ํานวยการโรงเรียนเค็งใหญห่ นองงเู หลอื ม
รักษาการในตาํ แหนง่ ผู้อาํ นวยการโรงเรียนบ้านเปูา
บนั ทกึ หลงั การสอน
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
ปัญหา/อปุ สรรค
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
(ลงชื่อ)..............................................
(นางสาววมิ ลรตั น์ ประทีปะเสน)
ครูผู้ช่วย
โรงเรยี นบา้ นเปาู
แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 18
รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ (ว16101) ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 6
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 2 สง่ิ มชี วี ติ กบั ส่ิงแวดล้อม เวลาเรียน 12 ชัว่ โมง
เรือ่ ง มลพิษจากขยะมูลฝอย เวลาจํานวน 1 ชวั่ โมง
**********************************************************************************
1. สาระสาคญั
มลพิษจากขยะมูลฝอยเป็นสภาวะท่ีไม่เหมาะสมเนื่องมาจากขยะมูลฝอย เช่น การท้ิงขยะลงในแหล่ง
น้ําทําให้นํ้าเน่าเสีย หรือการเกิดกล่ินเน่าเหม็นจากกองขยะ เราควรช่วยกันดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมร่วมกัน โดย
การมสี ว่ นร่วมในการรักษาทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอยา่ งยงั่ ยืน เพอื่ ใหโ้ ลกนี้นา่ อยูต่ ลอดไป
2. ตัวช้ีวดั ชน้ั ปี
1. อภปิ รายผลตอ่ สิ่งมชี ีวติ จากการเปล่ยี นแปลงส่งิ แวดลอ้ ม ทงั้ โดยธรรมชาติและโดยมนุษย์
(ว 2.2 ป. 6/3)
2. อภปิ รายแนวทางในการดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม (ว 2.2 ป. 6/4)
3. มสี ่วนรว่ มในการดแู ลรักษาสงิ่ แวดล้อมในท้องถ่นิ (ว 2.2 ป. 6/5)
3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
1. อธบิ ายสาเหตขุ องมลพิษจากขยะมูลฝอยได้ (K)
2. เสนอแนะแนวทางการปูองกันมลพิษจากขยะมลู ฝอยได้ (K)
3. มคี วามสนใจใฝุรหู้ รอื อยากรอู้ ยากเหน็ (A)
4. พอใจในประสบการณก์ ารเรียนรู้ท่เี กีย่ วกบั วิทยาศาสตร์ (A)
5. ทํางานร่วมกับผอู้ น่ื อยา่ งสร้างสรรค์ (A)
6. สือ่ สารและนาํ ความรู้เร่ืองมลพิษจากขยะมูลฝอยไปใชใ้ นชวี ติ ประจําวันได้ (P)
4. การวดั และการประเมินผลการเรยี นรู้
ดา้ นความรู้ (K) ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และ ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P)
จิตวิทยาศาสตร์ (A)
1. ประเมินทักษะ/กระบวนการทาง
1. ซกั ถามความรเู้ รื่องมลพิษจาก 1. ประเมนิ เจตคติทางวทิ ยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์
ขยะมูลฝอย เป็นรายบุคคล 2. ประเมินทกั ษะการคดิ
3. ประเมนิ ทกั ษะการแก้ปญั หา
2. ประเมินกจิ กรรมฝกึ ทักษะ 2. ประเมนิ เจตคตติ ่อวิทยาศาสตร์ 4. ประเมินพฤติกรรมในการปฏิบัติ
ระหว่างเรยี น เปน็ รายบคุ คล กิจกรรมเปน็ รายบคุ คล
3. ทดสอบหลงั เรียน
โรงเรียนบ้านเปูา
5. สาระการเรียนรู้
มลพษิ จากขยะมูลฝอย
- แนวทางการอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาตอิ ยา่ งยัง่ ยืน
6. แนวทางการบูรณาการ สนทนา พูดคยุ หรือเลา่ ประสบการณ์เกย่ี วกบั มลพิษจากขยะ
ภาษาไทย มูลฝอยและแนวทางการปูองกนั มลพิษจากขยะมูลฝอย
ตามประสบการณข์ องนักเรยี น
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ออกแบบโครงการประดษิ ฐส์ ่งิ ของใชซ้ ํ้า
สังคมศึกษา ศาสนา สนทนา พดู คยุ เกยี่ วกบั การมีสว่ นร่วมอนรุ กั ษ์
และวัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อมโดยใช้หลกั เศรษฐกจิ
พอเพยี ง
ภาษาต่างประเทศ ฟงั พูด อ่าน และเขยี นคําศพั ท์ภาษาต่างประเทศเกีย่ วกบั
มลพิษจากขยะมลู ฝอย และแนวทางการปูองกันมลพษิ จาก
ขยะมลู ฝอยในชมุ ชนที่ไดเ้ รยี นรหู้ รอื ทีน่ ักเรียนสนใจ
7. กระบวนการจัดการเรยี นรู้
ข้นั นาเขา้ สบู่ ทเรยี น
1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนนําส่ิงที่ตนคิดว่าเป็นขยะมา เช่น โฟม พลาสติก แก้ว หลอดไฟฟูา และ
รว่ มกนั อภปิ รายเกยี่ วกับมลพษิ จากขยะมูลฝอย โดยครใู ช้คําถามกระต้นุ ดงั น้ี
- เพราะเหตใุ ดนักเรยี นจึงคิดวา่ สงิ่ ท่นี ํามาเปน็ ขยะ
- ขยะที่นักเรยี นนํามานสี้ ว่ นใหญ่แล้วจะพบไดท้ บี่ รเิ วณใด/แหลง่ ใด
- ขยะที่นาํ มานสี้ ามารถจะนํากลับมาใชป้ ระโยชนไ์ ด้อีกหรือไม่ ถ้าได้จะใชว้ ธิ ีการใด
- ในชุมชนของนกั เรียนมักจะพบขยะจําพวกใดมากท่สี ุด
2) นักเรียนร่วมกันตอบคําถามและแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับคําตอบของคําถาม เพื่อเชื่อมโยงไปสู่
การเรยี นร้เู รอื่ ง มลพษิ จากขยะมูลฝอย
ข้นั จัดกิจกรรมการเรยี นรู้
จัดกิจกรรมการเรยี นรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้รว่ มกบั แบบกลับด้านชน้ั เรยี น ซึง่ มขี น้ั ตอน
ดังน้ี
1) ขนั้ สร้างความสนใจ
(1) ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนแล้วเปิดโอกาสให้นักเรียนในกลุ่มนําเสนอข้อมูลเก่ียวกับมลพิษจากขยะมูล
ฝอย ท่คี รมู อบหมายให้ไปเรียนร้ลู ว่ งหน้าใหเ้ พ่ือน ๆ ในกลมุ่ ฟงั จากนนั้ ใหแ้ ตล่ ะกลุ่มสง่ ตวั แทนมานําเสนอข้อมูล
หนา้ ห้องเรียน
โรงเรียนบา้ นเปาู
(2) ครูตรวจสอบวา่ นักเรียนทําภาระงานทไี่ ดร้ บั มอบหมายไปหรือไม่ โดยตรวจสอบจากการจดบันทึก
ของนักเรียน และถามคําถามเกี่ยวกบั ภาระงาน ดงั น้ี
- ถ้าเราไม่มีวิธีการกําจัดขยะที่ถูกต้องและเหมาะสมแล้วขยะเหล่าน้ีจะส่งผลต่อประชาชน
ในเรื่องใด (แนวคําตอบ เปน็ แหลง่ เพาะพนั ธแ์ุ ละแพร่เชือ้ โรค)
- การเผาขยะมูลฝอยมีผลกระทบต่อส่ิงมีชีวิตเพราะอะไร (แนวคําตอบ เพราะทําให้เกิด
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์จํานวนมาก และถ้าการเผาไหม้เกิดไม่สมบูรณ์จะทําให้เกิดแก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ท่ี
เปน็ พษิ ตอ่ ส่ิงมชี ีวติ ดว้ ย)
(3) ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนต้ังประเด็นคําถามท่ีนักเรียนสงสัยจากการทําภาระงานอย่างน้อยคนละ
1 คาํ ถาม ซ่ึงครใู ห้นกั เรยี นเตรยี มมาล่วงหนา้ และให้นักเรียนช่วยกันตอบและแสดงความคิดเหน็
(4) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเก่ียวกับภาระงาน โดยครูช่วยอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า มลพิษจาก
ขยะมลู ฝอยเป็นสภาวะทไ่ี ม่เหมาะสมเนือ่ งมาจากขยะมลู ฝอย เชน่ การท้งิ ขยะลงในแหล่งน้าํ
ทาํ ให้นาํ้ เน่าเสยี หรอื การเกดิ กลิ่นเนา่ เหม็นจากกองขยะ
2) ข้นั สารวจและคน้ หา
(1) ให้นักเรียนศึกษามลพิษจากขยะมูลฝอยจากใบความรู้หรือในหนังสือเรียน โดยครูช่วยอธิบายให้
นักเรียนเข้าใจว่า ขยะเป็นสิ่งของเหลือทิ้งจากกระบวนการผลิตและอุปโภค บริโภค ซึ่งแบ่งได้หลายประเภท
ตามลักษณะและคุณสมบัติ เราสามารถช่วยกันดูแลรักษาส่ิงแวดล้อมไม่ให้เสื่อมสภาพไปอย่างรวดเร็วได้โดย
อาศยั แนวทางการอนุรกั ษท์ รพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อมอย่างยง่ั ยืน
(2) แบ่งนกั เรยี นกลุ่มละ 5 - 6 คน ปฏบิ ตั ิกจิ กรรม สํารวจสภาพแวดล้อมในท้องถ่ิน ตามข้ันตอนทาง
วิทยาศาสตร์ โดยใชท้ กั ษะ/กระบวนการสังเกตและการสาํ รวจดงั น้ี
- ใหแ้ ตล่ ะกลุ่มเลือกสาํ รวจสถานท่ีในท้องถ่นิ กลุ่มละ 1 แหง่ เชน่ โรงเรียน วัด ตลาด ฯลฯ
- ร่วมกันวางแผนจัดทําโครงงานดูแลรักษาส่ิงแวดล้อมในท้องถ่ิน โดยมีขั้นตอนการวางแผน
ดงั น้ี
• ศึกษาปัญหาวา่ คอื อะไร
• ศกึ ษาสาเหตขุ องปัญหาว่าเกิดจากอะไร
• ศกึ ษาแนวทางในการแกป้ ญั หาและวิธกี ารแกป้ ัญหาท่ีเหมาะสม และปฏบิ ัติไดใ้ นทอ้ งถ่ิน
• นาํ เสนอวิธีการแก้ปัญหา
- ปฏิบตั ิตามขน้ั ตอนท่ีวางแผนไว้ โดยเขียนนาํ เสนอในรูปของโครงงาน
- นาํ ผลทไี่ ดม้ าอภปิ รายหน้าชั้นเรียนและเผยแพร่โดยการจัดนทิ รรศการ
(3) นักเรยี นและครรู ่วมกันตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลที่ได้จากใบกจิ กรรม
(4) ครูคอยแนะนําช่วยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบๆ ห้องเรียนและเปิด
โอกาสใหน้ ักเรยี นทกุ คนซกั ถามเมอื่ มปี ัญหา