The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ ป.6

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by PP, 2022-12-13 12:20:35

แผนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ ป.6

แผนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ ป.6

โรงเรียนบ้านเปาู

5) ขัน้ ประเมิน
(1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพจิ ารณาวา่ จากหวั ข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจุดใดบ้างที่ยังไม่

เข้าใจหรือยงั มีขอ้ สงสยั ถ้ามีครชู ่วยอธบิ ายเพิม่ เติมใหน้ ักเรียนเขา้ ใจ
(2) นักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคใด และได้มีการแก้ไข

อย่างไรบ้าง
(3) ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรม และการนํา

ความรูท้ ี่ไดไ้ ปใช้ประโยชน์
(4) ครูทดสอบความเขา้ ใจของนักเรียนโดยการใหต้ อบคําถาม เช่น
- การต้มนํ้าจนเดือดกลายเป็นไอ เป็นการเปล่ียนแปลงทางกายภาพหรือทางเคมีของน้ํา

เพราะอะไร
- การทํากับขา้ วเปน็ การเปลีย่ นแปลงลักษณะใด เพราะอะไร

ข้นั สรุป
(1) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับการเปล่ียนแปลงทางกายภาพและทางเคมีของสาร โดย

ร่วมกนั เขยี นเปน็ แผนทค่ี วามคดิ หรือผงั มโนทศั น์
(2) ครูมอบหมายให้นักเรียนไปศึกษาค้นคว้าเนื้อหาของบทเรียนชั่วโมงหน้า เพ่ือจัดการเรียนรู้คร้ัง

ตอ่ ไป โดยใหน้ กั เรียนศกึ ษาค้นควา้ ลว่ งหนา้ ในหวั ข้อการเปลี่ยนแปลงของสารท่ีมีผลต่อส่ิงมีชีวิตและสง่ิ แวดล้อม
(3) ครูให้นักเรียนเตรียมประเด็นคําถามที่สงสัยมาอย่างน้อยคนละ 1 คําถาม เพ่ือนํามาอภิปราย

รว่ มกนั ในชน้ั เรียนคร้งั ต่อไป

8. กจิ กรรมเสนอแนะ
ให้นักเรียนยกตัวอย่างการเปล่ียนแปลงของสารที่พบในชีวิตประจําวัน แล้วร่วมกันอภิปรายจัด

จําแนกว่าทย่ี กตัวอย่างมาเป็นการเปล่ียนแปลงทางกายภาพหรือทางเคมีของสาร

9. สอ่ื /แหลง่ การเรียนรู้
1. ดนิ น้ํามัน
2. ใบงานสาํ รวจกอ่ นเรียน 9
3. ใบกิจกรรมท่ี 20 ทดลองการละลาย
4. คู่มอื การสอน วิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6
5. สอื่ การเรียนรู้ PowerPoint รายวิชาพนื้ ฐาน วิทยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 6
6. แบบฝกึ ทกั ษะ รายวชิ าพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6
7. หนังสือเรยี น รายวิชาพ้ืนฐาน วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 6


โรงเรยี นบ้านเปูา

10. บนั ทกึ หลังการจัดการเรยี นรู้
ความคดิ เหน็ /ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

(ลงช่อื )..............................................
(นายธนติ ย์ พระสนุ นิ )

ผอู้ ํานวยการโรงเรียนเค็งใหญห่ นองงูเหลือม
รักษาการในตําแหนง่ ผ้อู ํานวยการโรงเรียนบ้านเปาู

บันทึกหลงั การสอน
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................

ปญั หา/อปุ สรรค
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................

ขอ้ เสนอแนะ
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

(ลงช่อื )..............................................
(นางสาววิมลรัตน์ ประทปี ะเสน)
ครผู ู้ช่วย


โรงเรยี นบา้ นเปูา

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 27

รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ (ว16101) ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 6

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 3 สารในชวี ติ ประจาํ วนั เวลาเรยี น 12 ชัว่ โมง

เรือ่ ง การเปลยี่ นแปลงของสารที่มผี ลตอ่ สงิ่ มชี วี ติ และสิ่งแวดล้อม เวลาจํานวน 1 ช่วั โมง

**********************************************************************************

1. สาระสาคัญ

สารบางชนดิ เมอ่ื เกดิ การเปลี่ยนแปลงแลว้ จะเป็นอันตรายต่อสิ่งมชี วี ิตและส่งิ แวดล้อมได้ เช่น การเผา

ไหมข้ องเชื้อเพลิงทาํ ให้เกดิ ควนั พิษ หรือการเนา่ เสยี ของอาหาร

2. ตัวช้ีวดั ชั้นปี
อภปิ รายการเปลีย่ นแปลงของสารทกี่ ่อให้เกิดผลต่อสง่ิ มีชวี ติ และสิ่งแวดล้อม (ว 3.2 ป. 6/3)

3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
1. อธบิ ายการเปลยี่ นแปลงของสารท่ีมีผลตอ่ สงิ่ มีชีวิตและสง่ิ แวดล้อมได้ (K)
2. มคี วามสนใจใฝรุ ู้หรอื อยากร้อู ยากเห็น (A)
3. พอใจในประสบการณ์การเรียนรูท้ เี่ กี่ยวกบั วทิ ยาศาสตร์ (A)
4. ทาํ งานร่วมกับผอู้ ืน่ อยา่ งสร้างสรรค์ (A)
5. สือ่ สารและนําความร้เู รื่องการเปลี่ยนแปลงของสารที่มผี ลตอ่ ส่ิงมชี วี ติ และส่ิงแวดล้อมไปใช้ใน

ชีวิตประจําวันได้ (P)

4. การวดั และการประเมินผลการเรยี นรู้

ดา้ นความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริยธรรม และ ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P)
จิตวทิ ยาศาสตร์ (A)
1. ประเมินทักษะ/กระบวนการ
1. ซักถามความรู้เร่ืองการ 1. ประเมนิ เจตคติทาง ทางวทิ ยาศาสตร์

เปลย่ี นแปลงของสารท่มี ผี ลต่อ วิทยาศาสตรเ์ ป็นรายบคุ คล 2. ประเมนิ ทักษะการคิด
3. ประเมนิ ทักษะการแกป้ ญั หา
สิง่ มชี วี ิตและสง่ิ แวดล้อม 2. ประเมนิ เจตคตติ อ่ วทิ ยาศาสตร์ 4. ประเมินพฤติกรรมในการ

2. ประเมนิ กจิ กรรมฝกึ ทักษะ เปน็ รายบุคคล ปฏบิ ตั ิกิจกรรมเปน็ รายบุคคล
หรือรายกลมุ่
ระหวา่ งเรยี น

3. ทดสอบหลังเรยี น


โรงเรียนบา้ นเปาู

5. สาระการเรียนรู้
การเปลีย่ นแปลงของสารท่ีมีผลตอ่ ส่ิงมีชีวิตและสงิ่ แวดล้อม

6. แนวทางการบรู ณาการ สนทนา พดู คยุ หรอื เล่าประสบการณ์เก่ยี วกบั การเปลย่ี นแปลงของสารท่ีมี
ภาษาไทย ผลตอ่ ส่งิ มีชวี ิตและสง่ิ แวดล้อม
ประดิษฐ์ ตกแต่งปาู ยนิเทศทเ่ี ก่ียวกับการเปล่ยี นแปลงของสารทีม่ ผี ลตอ่
ศลิ ปะ สง่ิ มชี ีวติ และสงิ่ แวดล้อมให้สวยงาม
จําแนก จัดประเภทประโยชน์ และโทษท่ีเกดิ จากการเปลย่ี นแปลงของสาร
คณติ ศาสตร์ ฟัง พูด อ่าน และเขยี นคําศพั ทภ์ าษาต่างประเทศเก่ียวกบั การเปลยี่ นแปลง
ภาษาตา่ งประเทศ ของสารที่มีผลตอ่ สิง่ มีชวี ิตและสง่ิ แวดล้อมที่เรียนรหู้ รือท่นี ักเรยี นสนใจ

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ข้ันนาเขา้ สบู่ ทเรียน

1) ครูนําภาพการจราจรท่ีติดขัดบนท้องถนนให้นักเรียนดู โดยอธิบายให้นักเรียนฟังว่า การเผาไหม้ของ
เช้ือเพลงิ ภายในเคร่อื งยนตเ์ ป็นสาเหตทุ ําให้เชอ้ื เพลิงหรอื นาํ้ มนั ภายในเครื่องยนต์เปล่ียนแปลงไปเป็นพลังงานที่
ทําให้รถวิ่งได้ และได้แก๊สที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพของคนซึ่งปล่อยออกมาทางท่อไอเสียรถยนต์ แล้วครูตั้ง
คําถามกระตนุ้ ใหน้ ักเรียนตอบดงั น้ี

- นกั เรยี นเคยอยู่ในบริเวณทีม่ ีการจราจรตดิ ขัดหรอื ไม่ นกั เรียนรู้สกึ อย่างไร
- ควันพษิ ในรูปเกิดจากอะไร และมผี ลต่อเราในลักษณะใด
- นักเรียนมวี ธิ ีการหลกี เล่ียงควันพษิ ที่ปลอ่ ยออกมาน้ไี ด้โดยวธิ ีการใด
2) นักเรียนร่วมกันตอบคําถามตามความคิดเห็นของแต่ละคนแล้วครูและนักเรียนร่วมกันอภิปราย
คําตอบ เพ่ือเชือ่ มโยงไปสู่การเรยี นรูเ้ รือ่ ง การเปลีย่ นแปลงของสารที่มีผลต่อสง่ิ มีชีวิตและส่งิ แวดลอ้ ม
ขนั้ จัดกจิ กรรมการเรียนรู้
จดั กจิ กรรมการเรียนร้โู ดยใช้กระบวนการสบื เสาะหาความรูร้ ว่ มกับแบบกลับด้านช้ันเรยี น ซึง่ มขี ั้นตอนดงั นี้
1) ข้ันสรา้ งความสนใจ
(1) ครแู บง่ กลุม่ นกั เรยี นแลว้ เปดิ โอกาสให้นักเรียนในกลมุ่ นําเสนอข้อมลู เก่ียวกับการเปลี่ยนแปลงของ
สารท่ีมีผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ท่ีครูมอบหมายให้ไปเรียนรู้ล่วงหน้าให้เพื่อนๆ ในกลุ่มฟัง จากน้ันให้แต่
ละกลมุ่ สง่ ตัวแทนมานาํ เสนอขอ้ มลู หนา้ ห้องเรียน
(2) ครตู รวจสอบว่านักเรียนทาํ ภาระงานทไี่ ดร้ ับมอบหมายไปหรือไม่ โดยตรวจสอบจากการจดบันทึก
ของนกั เรียน และถามคาํ ถามเก่ยี วกับภาระงาน ดังน้ี

- การเปลี่ยนแปลงของสารที่เกิดผลดีต่อสิ่งมีชีวิตมีอะไรบ้าง (แนวคําตอบ การละลายของ
ปยุ๋ ในนํา้ ทําให้พชื ดูดไปใช้ได)้


โรงเรียนบ้านเปูา

- การเปลี่ยนแปลงของสารที่เกิดผลเสียต่อสิ่งแวดล้อมมีอะไรบ้าง (แนวคําตอบ การสร้าง
ควนั พษิ ทําให้เกดิ มลพิษทางอากาศ)

(3) ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนต้ังประเด็นคําถามท่ีนักเรียนสงสัยจากการทําภาระงานอย่างน้อยคนละ
1 คําถาม ซง่ึ ครูใหน้ กั เรียนเตรียมมาล่วงหน้า และให้นักเรยี นช่วยกันตอบและแสดงความคิดเห็น

(4) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเก่ียวกับภาระงาน โดยครูช่วยอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า การ
เปล่ียนแปลงของสารมีทงั้ ผลดีและผลเสียต่อสิ่งมีชวี ติ และสิง่ แวดลอ้ ม
2) ขน้ั สารวจและคน้ หา

(1) ให้นักเรียนศึกษาการเปลี่ยนแปลงของสารท่ีมีผลต่อส่ิงมีชีวิตและส่ิงแวดล้อม จากใบความรู้หรือ
ในหนงั สอื เรยี น โดยครตู ั้งคําถามใหน้ กั เรยี นตอบประกอบการคน้ ควา้ ดังนี้

- นักเรยี นเคยเห็นการเปลี่ยนแปลงของสารหรอื ไม่อะไรบ้าง
- การเปลยี่ นแปลงทนี่ กั เรยี นสงั เกตเห็นมีผลต่อส่งิ มีชวี ติ และส่งิ แวดล้อมอย่างไร
(2) แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับการเปล่ียนแปลงของสารที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิตและ
สิ่งแวดลอ้ ม โดยดําเนินการตามข้ันตอนดังนี้
- แต่ละกลุ่มวางแผนการสืบค้นข้อมูล โดยแบ่งหัวข้อย่อยให้เพ่ือนสมาชิกช่วยกันสืบค้นตามท่ี
สมาชกิ กลุ่มชว่ ยกนั กาํ หนดหวั ข้อย่อย เช่น ประเภทของการเปลี่ยนแปลงของสาร การเปล่ียนแปลงของสารท่ีมี
ผลกระทบตอ่ สง่ิ มชี ีวิต การเปลย่ี นแปลงของสารท่ีมผี ลกระทบต่อสง่ิ แวดล้อม
- สมาชิกกลุ่มแต่ละคนหรือกลุ่มย่อยช่วยกันสืบค้นข้อมูลตามหัวข้อย่อยท่ีตนรับผิดชอบโดย
สืบคน้ จากใบความร้ทู ี่ครเู ตรียมมาให้ หรือหนังสือ วารสาร สารานกุ รม และอนิ เทอร์เนต็
- สมาชิกกลุ่มนําข้อมูลท่ีสืบค้นได้มารายงานให้เพ่ือน ๆ สมาชิกในกลุ่มฟัง รวมทั้งร่วมกัน
อภปิ รายซกั ถามจนกว่าสมาชกิ ทุกคนมคี วามรคู้ วามเข้าใจทตี่ รงกัน
- สมาชิกกลุ่มช่วยกันสรุปความรู้ท่ีได้ท้ังหมดเป็นผลงานของกลุ่ม และช่วยกันจัดทํารายงาน
การศกึ ษาค้นควา้ เกีย่ วกบั การเปลีย่ นแปลงของสารที่มีผลตอ่ ส่งิ มชี ีวิตและสิง่ แวดลอ้ ม
3) ข้นั อธบิ ายและลงข้อสรปุ
(1) นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มสง่ ตัวแทนกลุม่ นาํ เสนอขอ้ มลู จากการปฏิบัติกิจกรรมหน้าชัน้ เรียน
(2) นกั เรียนและครูรว่ มกนั อภิปรายและหาข้อสรปุ จากการปฏบิ ัตกิ ิจกรรม โดยใช้แนวคําถามต่อไปนี้
- การเปลี่ยนแปลงของสารท่ีนักเรียนสํารวจพบมีผลดีหรือผลเสียอย่างไรบ้าง (แนวคําตอบ
ผลดี เชน่ การละลายของปยุ๋ ทําใหพ้ ืชสามารถดดู ซบั ธาตุอาหารไปใช้สร้างอาหารได้ ผลเสยี เช่น การละลายของ
ปยุ๋ ทต่ี กค้างในดินและไหลลงส่แู หลง่ นาํ้ เมือ่ ฝนตกทําใหผ้ กั ตบชวาเจรญิ เตบิ โตเรว็ เกินไป)
- กิจกรรมใดในชีวิตประจําวันของนักเรียนที่ทําให้เกิดการเปล่ียนแปลงของสารที่เกิดผลเสีย
ต่อสิง่ แวดล้อม (แนวคาํ ตอบ การเทน้าํ ที่เหลอื จากการซกั ล้างลงสแู่ หลง่ นา้ํ )
(3) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลจากการปฏิบัติกิจกรรม โดยให้ได้ข้อสรุปว่า เม่ือสารบางชนิดเกิด
การเปล่ียนแปลง สารใหม่ท่ีเกิดข้ึนมนุษย์สามารถนําไปใช้ประโยชน์ได้ แต่บางชนิดจะเป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิต


โรงเรียนบา้ นเปาู

และสิ่งแวดลอ้ ม เช่น การเน่าเสยี ของอาหารหรอื การเส่ือมคุณภาพของอาหารกระป๋อง ซึ่งจะทําให้เกิดอันตราย
ต่อผ้บู รโิ ภค หรอื การปล่อยควันพษิ และนํ้าเสียของโรงงานอตุ สาหกรรมในชุมชน จะทําใหเ้ กิดผลเสียต่อส่ิงมีชีวิต
และสงิ่ แวดล้อมทอ่ี ยู่ในบริเวณนนั้ ได้
4) ขน้ั ขยายความรู้

(1) นักเรียนค้นคว้ารายละเอียดเพิ่มเติมเก่ียวกับการเปลี่ยนแปลงของสารท่ีมีผลต่อส่ิงมีชีวิตและ
สิ่งแวดล้อมจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ เช่น หนังสือ วารสารวิทยาศาสตร์ และอินเทอร์เน็ต แล้วสรุปเป็นรายงาน
สง่ ครู

(2) นกั เรยี นคน้ คว้ารายละเอียดและคําศัพท์ภาษาต่างประเทศ เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของสารท่ีมี
ผลตอ่ สิง่ มชี ีวติ และสงิ่ แวดล้อม จากหนงั สือเรยี นภาษาต่างประเทศหรอื อนิ เทอรเ์ นต็
5) ข้ันประเมิน

(1) ครูใหน้ กั เรยี นแตล่ ะคนพิจารณาว่าจากหวั ขอ้ ท่ีเรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจุดใดบ้างท่ียังไม่
เขา้ ใจหรือยงั มขี ้อสงสยั ถ้ามี ครูช่วยอธิบายเพิม่ เติมให้นกั เรยี นเขา้ ใจ

(2) นักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคใด และได้มีการแก้ไข
อย่างไรบา้ ง

(3) ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ท่ีได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรม และการนํา
ความรทู้ ไ่ี ด้ไปใช้ประโยชน์

(4) ครทู ดสอบความเขา้ ใจของนกั เรียนโดยการใหต้ อบคําถาม เช่น
- นํ้าเสียทป่ี ลอ่ ยทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรม จะทําให้แหลง่ นา้ํ เปลี่ยนแปลงไป อยา่ งไร
- กิจกรรมใดในชีวิตประจําวันของนักเรียนที่ทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของสารท่ีเกิดผลเสีย

ตอ่ สิ่งแวดลอ้ ม
ข้นั สรปุ

(1) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับการเปล่ียนแปลงของสารที่มีผลต่อส่ิงมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
โดยรว่ มกนั เขียนเป็นแผนที่ความคิดหรือผังมโนทัศน์

(2) ครูดําเนินการทดสอบหลังเรียน โดยให้นักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียนเพ่ือวัดความก้าวหน้า/
ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 3 ของนกั เรยี น

(3) ครเู ชอื่ มโยงเน้ือหาจากบทเรยี นนีก้ ับบทเรยี นช่วั โมงหน้า เพื่อให้นักเรียนเตรียมความพร้อมในการ
เรยี นช่วั โมงต่อไป โดยการใชค้ าํ ถามกระตุ้น ดงั นี้

- สารท่ีสามารถนําไฟฟาู ได้นาํ ไปใชป้ ระโยชนอ์ ะไรไดบ้ า้ ง (แนวคาํ ตอบ นําไปทําสายไฟฟูา)
(4) ครูมอบหมายให้นักเรียนไปศึกษาค้นคว้าเนื้อหาของบทเรียนชั่วโมงหน้า เพ่ือจัดการเรียนรู้คร้ัง
ต่อไป โดยใหน้ ักเรียนศึกษาคน้ คว้าล่วงหนา้ ในหัวขอ้ วงจรไฟฟาู อยา่ งงา่ ย
(5) ครูให้นักเรียนเตรียมประเด็นคําถามที่สงสัยมาอย่างน้อยคนละ 1 คําถาม เพื่อนํามาอภิปราย
ร่วมกันในชนั้ เรียนครั้งตอ่ ไป


โรงเรยี นบา้ นเปูา

8. กิจกรรมเสนอแนะ
ครูประเมินด้านความรู้ของนักเรียนตามตัวช้ีวัดช้ันปี โดยให้นักเรียนทําแบบทดสอบกลางปี เพื่อวัด

ความกา้ วหน้า/ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1-3 ของนกั เรยี น

9. สอ่ื /แหล่งการเรียนรู้
1. ภาพการจราจรทต่ี ิดขัดบนท้องถนน
2. แบบทดสอบหลังเรยี น
3. คมู่ ือการสอน วิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 6
4. สอื่ การเรยี นรู้ PowerPoint รายวชิ าพืน้ ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6
5. แบบฝึกทักษะ รายวชิ าพนื้ ฐาน วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6
6. หนงั สอื เรียน รายวชิ าพนื้ ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 6


โรงเรียนบา้ นเปาู

10. บันทกึ หลงั การจดั การเรียนรู้
ความคดิ เหน็ /ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................

(ลงชื่อ)..............................................
(นายธนติ ย์ พระสนุ นิ )

ผอู้ ํานวยการโรงเรียนเค็งใหญห่ นองงูเหลอื ม
รกั ษาการในตําแหนง่ ผอู้ าํ นวยการโรงเรียนบา้ นเปาู

บันทกึ หลงั การสอน
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................

ปญั หา/อุปสรรค
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

ขอ้ เสนอแนะ
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................

(ลงชือ่ )..............................................
(นางสาววมิ ลรตั น์ ประทีปะเสน)
ครผู ู้ชว่ ย


โรงเรียนบา้ นเปูา

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 28

รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ (ว16101) ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 6

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 4 ไฟฟูา เวลาเรียน 14 ชั่วโมง

เรือ่ ง วงจรไฟฟาู อย่างงา่ ย เวลาจํานวน 2 ชว่ั โมง

**********************************************************************************

1. สาระสาคัญ

วงจรไฟฟูาเป็นเส้นทางท่ีกระแสไฟฟูาผ่านได้ครบรอบ ประกอบด้วยแหล่งกําเนิดไฟฟูาสายไฟฟูา

และอุปกรณ์ไฟฟูา วงจรไฟฟูามี 2 ลักษณะ คือ วงจรปิดเป็นวงจรที่กระแสไฟฟูาผ่านได้ครบรอบและวงจรเปิด

เป็นวงจรที่กระแสไฟฟูาผา่ นไมไ่ ด้

2. ตวั ช้ีวดั ช้ันปี
ทดลองและอธิบายการต่อวงจรไฟฟาู อย่างงา่ ย (ว 5.1 ป. 6/1)

3. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายหลักการและเขียนแผนภาพวงจรไฟฟูาอย่างงา่ ยได้ (K)
2. ต่ออปุ กรณไ์ ฟฟูาเปน็ วงจรไฟฟูาอยา่ งง่ายได้ (K)
3. มีความสนใจใฝรุ หู้ รืออยากร้อู ยากเห็น (A)
4. พอใจในประสบการณก์ ารเรียนร้ทู ่เี ก่ยี วกบั วทิ ยาศาสตร์ (A)
5. ทาํ งานร่วมกับผอู้ น่ื อย่างสร้างสรรค์ (A)
6. สื่อสารและนาํ ความรเู้ รื่องวงจรไฟฟูาอย่างง่ายไปใช้ในชวี ิตประจาํ วันได้ (P)

4. การวดั และการประเมินผลการเรยี นรู้

ด้านความรู้ (K) ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม และ ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P)
จิตวิทยาศาสตร์ (A)
1. ประเมินทักษะ/กระบวนการ
1. ซักถามความรเู้ ร่ืองวงจรไฟฟูา 1. ประเมนิ เจตคติทาง ทางวทิ ยาศาสตร์

อย่างงา่ ย วทิ ยาศาสตร์เป็นรายบคุ คล 2. ประเมนิ ทักษะการคดิ
3. ประเมินทักษะการแก้ปัญหา
2. ประเมินกิจกรรมฝกึ ทกั ษะ 2. ประเมนิ เจตคตติ ่อวิทยาศาสตร์ 4. ประเมินพฤติกรรมในการ

ระหวา่ งเรยี น เป็นรายบคุ คล ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมเป็นรายบุคคล
หรือรายกลุม่
3. ทดสอบก่อนเรียน


โรงเรียนบ้านเปาู

5. สาระการเรยี นรู้
วงจรไฟฟูาอย่างงา่ ย

6. แนวทางการบรู ณาการ เขียนรายงานเกี่ยวกับวงจรไฟฟูาอยา่ งง่ายจากการศกึ ษาคน้ คว้าจากเอกสาร
ภาษาไทย ที่เกย่ี วข้องและอินเทอรเ์ น็ต
ฟงั พูด อ่าน และเขยี นคาํ ศัพท์ภาษาตา่ งประเทศเกย่ี วกบั วงจรไฟฟูาอย่าง
ภาษาต่างประเทศ ง่ายท่ีได้เรยี นรหู้ รือท่ีนักเรียนสนใจ

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ครดู าํ เนนิ การทดสอบก่อนเรยี น โดยใหน้ กั เรยี นทาํ แบบทดสอบก่อนเรียนเพื่อตรวจสอบความ

พร้อมและพ้ืนฐานของนกั เรียน
ขั้นนาเขา้ สู่บทเรยี น

1) ครนู ําไฟฉายทแี่ ยกชิ้นส่วนแสดงให้เห็นส่วนประกอบภายในหรือแผนภาพภายในของไฟฉายมาให้
นักเรยี นร่วมกนั อภิปราย โดยครูตง้ั ประเดน็ การอภิปราย ดงั น้ี

- ภาพนี้แสดงให้เห็นส่วนประกอบของอะไร
- ไฟฉายจะใหแ้ สงสวา่ งได้นกั เรยี นตอ้ งทาํ อย่างไร
2) นกั เรยี นรว่ มกนั ตอบคาํ ถามและแสดงความคิดเหน็ เก่ียวกับคาํ ตอบของคาํ ถาม เพอื่ เช่อื มโยง
ไปสูก่ ารเรียนรู้เรอื่ ง วงจรไฟฟูาอยา่ งง่าย
ขน้ั จดั กิจกรรมการเรยี นรู้
จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับแบบกลับด้านช้ันเรียน ซ่ึงมี
ขน้ั ตอนดงั น้ี
1) ขน้ั สรา้ งความสนใจ
(1) ครแู บ่งกลมุ่ นกั เรียนแล้วเปิดโอกาสให้นักเรียนในกลุ่มนําเสนอข้อมูลเก่ียวกับวงจรไฟฟูาอย่างง่าย
ทค่ี รมู อบหมายใหไ้ ปเรยี นรลู้ ่วงหนา้ ให้เพ่อื น ๆ ในกล่มุ ฟงั จากนั้นให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนมานําเสนอข้อมูลหน้า
หอ้ งเรียน
(2) ครตู รวจสอบวา่ นกั เรียนทําภาระงานที่ไดร้ บั มอบหมายไปหรือไม่ โดยตรวจสอบจากการจดบันทึก
ของนักเรยี น และถามคาํ ถามเก่ียวกบั ภาระงาน ดังน้ี
- วงจรไฟฟูาอย่างง่ายประกอบด้วยอะไรบ้าง (แนวคําตอบ แหล่งกําเนิดไฟฟูา สายไฟฟูา
และเคร่ืองใชไ้ ฟฟูา)
- หนา้ ที่ของสวติ ชค์ อื อะไร (แนวคาํ ตอบ เปิดหรอื ปิดวงจรไฟฟาู )
(3) ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนตั้งประเด็นคําถามท่ีนักเรียนสงสัยจากการทําภาระงานอย่างน้อยคนละ
1 คาํ ถาม ซงึ่ ครใู ห้นกั เรยี นเตรียมมาล่วงหนา้ และใหน้ กั เรยี นช่วยกันตอบและแสดงความคิดเห็น


โรงเรยี นบา้ นเปาู

(4) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับภาระงาน โดยครูช่วยอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า วงจรไฟฟูา
เป็นเส้นทางท่ีกระแสไฟฟูาไหลผ่านได้ครบรอบ วงจรไฟฟูาอย่างง่ายประกอบด้วยถ่านไฟฉายซ่ึงเป็น
แหล่งกําเนดิ ไฟฟูา สายไฟฟูา และหลอดไฟฟาู
2) ขนั้ สารวจและคน้ หา

(1) ให้นักเรียนศึกษาวงจรไฟฟูาอย่างง่ายจากใบความรู้และในหนังสือเรียน โดยครูช่วยอธิบายให้
นกั เรียนได้เหน็ ว่าความร้เู ร่อื งวงจรไฟฟูาอยา่ งงา่ ยทนี่ ักเรยี นศึกษานี้ เปน็ สง่ิ ทีน่ กั เรียนได้เรียนรู้มาบ้างแล้ว

(2) แบ่งนักเรียนกลุ่มละ 5 - 6 คน สืบค้นข้อมูลเก่ียวกับวงจรไฟฟูาอย่างง่ายโดยดําเนินการตาม
ข้นั ตอนดงั นี้

- แต่ละกลุ่มวางแผนการสืบค้นข้อมูล โดยแบ่งหัวข้อวงจรไฟฟูาอย่างง่ายเป็นหัวข้อย่อย เช่น
วงจรไฟฟูา วงจรปดิ วงจรเปิด ใหส้ มาชิกแต่ละกลมุ่ ชว่ ยกนั สืบคน้ ตามหัวข้อทีก่ าํ หนด

- สมาชิกแต่ละกลมุ่ ช่วยกันสืบคน้ ข้อมูลตามหัวข้อที่กลุ่มของตนเองรับผิดชอบ โดยการสืบค้น
จากหนังสอื วารสาร สารานุกรมวิทยาศาสตร์ สารานกุ รมไทยสาํ หรบั เยาวชนและอนิ เทอรเ์ นต็

- สมาชิกกลุ่มนําข้อมูลที่สืบค้นได้มารายงานให้เพื่อนๆ สมาชิกในกลุ่มฟัง รวมทั้งร่วมกัน
อภิปรายซกั ถามจนคาดวา่ สมาชกิ ทกุ คนมีความรคู้ วามเข้าใจที่ตรงกนั

- สมาชิกกลุม่ ชว่ ยกนั สรปุ ความรูท้ ี่ไดท้ ้งั หมดเปน็ ผลงานของกลุ่ม
(3) ครูคอยแนะนําช่วยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบๆ ห้องเรียนและเปิด
โอกาสใหน้ ักเรยี นทกุ คนซกั ถามเมอื่ มปี ัญหา
3) ขนั้ อธิบายและลงข้อสรปุ
(1) นักเรียนแตล่ ะกลุม่ ส่งตัวแทนกลมุ่ นําเสนอข้อมูลจากการปฏิบตั ิกิจกรรมหนา้ ชน้ั เรยี น
(2) นกั เรยี นและครูรว่ มกันอภปิ รายและหาขอ้ สรุปจากการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมโดยใช้แนวคาํ ถามตอ่ ไปน้ี

- วงจรปิดกับวงจรเปิดแตกต่างกันในเร่ืองใด (แนวคําตอบ วงจรปิด คือ วงจรไฟฟูาท่ี
กระแสไฟฟูาไหลไดค้ รบวงจร สว่ นวงจรเปดิ คอื วงจรไฟฟูาที่กระแสไฟฟูาไมส่ ามารถไหลได้ครบวงจร)

- กระแสไฟฟูามีทิศทางออกจากข้ัวไฟฟูาใดผ่านวงจรไฟฟูาไปยังข้ัวไฟฟูาใด (แนวคําตอบ
จากขว้ั บวกไปยังข้วั ลบ)

(3) นักเรยี นและครูร่วมกนั สรุปผลจากการปฏบิ ตั ิกจิ กรรม โดยให้ข้อสรุปว่า วงจรไฟฟูาเป็นเส้นทางที่
กระแสไฟฟาู ผา่ นไดค้ รบรอบ
4) ขัน้ ขยายความรู้

นักเรียนสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับวงจรไฟฟูาอย่างง่ายจากหนังสือ วารสารเก่ียวกับไฟฟูา สารานุกรม
วิทยาศาสตร์ สารานุกรมไทยสําหรบั เยาวชน และอนิ เทอรเ์ นต็ รวมทงั้ นําข้อมูลทีค่ น้ ควา้ ได้มาจัดทําเป็นรายงาน
หรือจดั ปูายนิเทศใหเ้ พอ่ื นๆ ได้ทราบเพื่อแลกเปล่ยี นเรียนรูก้ นั


โรงเรยี นบา้ นเปาู

5) ข้ันประเมนิ
(1) ครใู ห้นักเรยี นแต่ละคนพิจารณาวา่ จากหวั ขอ้ ท่ีเรยี นมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจุดใดบ้างท่ียังไม่

เขา้ ใจหรอื ยังมขี ้อสงสยั ถ้ามคี รชู ว่ ยอธบิ ายเพ่ิมเติมให้นกั เรียนเขา้ ใจ
(2) นักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคใด และได้มีการแก้ไข

อย่างไรบ้าง
(3) ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับประโยชน์ท่ีได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรมและ

การนาํ ความรู้ท่ีไดไ้ ปใช้ประโยชน์
(4) ครทู ดสอบความเขา้ ใจของนกั เรยี นโดยการให้ตอบคําถาม เช่น
- วงจรไฟฟูาคอื อะไร
- วงจรไฟฟูาครบวงจรหมายถึงอะไร
- วงจรปิดและวงจรเปิดหมายถงึ อะไร

ขั้นสรุป
(1) ครแู ละนักเรียนร่วมกันสรปุ เก่ียวกับวงจรไฟฟาู อยา่ งงา่ ย โดยรว่ มกนั เขยี นเป็นแผนท่ีความคิดหรือ

ผงั มโนทศั น์
(2) ครูมอบหมายให้นักเรียนไปศึกษาค้นคว้าเน้ือหาของบทเรียนชั่วโมงหน้า เพ่ือจัดการเรียนรู้คร้ัง

ต่อไป โดยให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าล่วงหน้าในหัวข้อการต่อวงจรไฟฟูาแบบอนุกรมและแบบขนาน โดยใช้ใบ
งาน สํารวจก่อนเรียน 10 ท่ีครูจัดเตรียมไว้ให้ประกอบการศึกษาค้นคว้า (ในสื่อการเรียนรู้ PowerPoint
วิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6 )

(3) ครูอธบิ ายขน้ั ตอนการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมและมอบหมายใหน้ กั เรียนไปปฏบิ ตั กิ จิ กรรมท่ีบ้าน พร้อมท้ัง
ให้นกั เรยี นเตรียมประเด็นคําถามท่ีสงสยั มาอย่างนอ้ ยคนละ 1 คาํ ถาม เพอื่ นาํ มาอภปิ รายร่วมกันในชั้นเรียนครั้ง
ตอ่ ไป

8. กจิ กรรมเสนอแนะ
นักเรียนสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับสัญลักษณ์ต่างๆ ที่ใช้ในวงจรไฟฟูาอย่างง่ายจากหนังสือ วารสาร

เกี่ยวกับไฟฟูา สารานุกรมวิทยาศาสตร์ สารานุกรมไทยสําหรับเยาวชน และอินเทอร์เน็ต รวมท้ังนําข้อมูลที่
ค้นควา้ ได้มาจดั ทําเปน็ รายงานหรือจดั ปาู ยนเิ ทศให้เพื่อนๆ ไดท้ ราบเพือ่ แลกเปลี่ยนเรียนรกู้ ัน

9. สอ่ื /แหล่งการเรยี นรู้
1. แบบทดสอบกอ่ นเรียน
2. ไฟฉายท่แี ยกช้นิ ส่วนแสดงให้เห็นสว่ นประกอบภายในหรอื แผนภาพภายในของไฟฉาย
3. ใบงานสํารวจกอ่ นเรียน 10
4. คู่มอื การสอน วิทยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 6
5. สือ่ การเรียนรู้ PowerPoint รายวชิ าพ้นื ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 6


โรงเรยี นบ้านเปูา

6. แบบฝกึ ทกั ษะ รายวิชาพ้นื ฐาน วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 6
7. หนังสอื เรยี น รายวิชาพ้นื ฐาน วิทยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 6

10. บนั ทกึ หลงั การจัดการเรียนรู้
ความคดิ เหน็ /ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

(ลงชอื่ )..............................................
(นายธนิตย์ พระสนุ นิ )

ผูอ้ ํานวยการโรงเรยี นเค็งใหญห่ นองงเู หลอื ม
รักษาการในตาํ แหน่ง ผู้อํานวยการโรงเรียนบ้านเปาู

บนั ทึกหลงั การสอน
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................................................................................................... ..........

ปัญหา/อปุ สรรค
........................................................................................................ ......................................................................
............................................................................................................................. .................................................

ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................

(ลงชื่อ)..............................................
(นางสาววิมลรตั น์ ประทีปะเสน)
ครูผู้ชว่ ย


โรงเรยี นบ้านเปาู

แผนการจัดการเรยี นรูท้ ่ี 29

รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ (ว16101) ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 4 ไฟฟาู เวลาเรยี น 14 ชว่ั โมง

เรือ่ ง การตอ่ หลอดไฟฟูาในวงจรไฟฟูา เวลาจาํ นวน 2 ชว่ั โมง

**********************************************************************************

1. สาระสาคัญ

การต่อวงจรไฟฟูาแบบอนุกรม หลอดไฟฟูาหรืออุปกรณ์ไฟฟูาจะจัดต่อเรียงกันและกระแสไฟฟูาจะ

ผ่านหลอดไฟฟูาหรืออุปกรณ์เป็นปริมาณเดียวกัน ถ้าเป็นการต่อเซลล์ไฟฟูาจะทําให้มีกระแสไฟฟูาผ่านวงจร

มากข้ึน สังเกตจากหลอดไฟฟูาสว่างข้ึน แต่ถ้าหลอดไฟฟูาดวงใดดวงหน่ึงขาดจะทําให้วงจรเปิดไม่มี

กระแสไฟฟูาผ่านวงจร

การต่อวงจรไฟฟาู แบบขนานเปน็ การนําปลายขา้ งเดียวกัน (ขัว้ เดยี วกัน) ของแต่ละอุปกรณ์มารวมกัน

ก่อนแล้วจึงต่อเข้ากับเซลล์ไฟฟูา กระแสไฟฟูาจะแยกผ่านอุปกรณ์ไฟฟูาแต่ละอย่าง โดยกระแสไฟฟูารวมใน

วงจรเท่ากับกระแสไฟฟาู ที่แยกผ่านอุปกรณแ์ ตล่ ะอยา่ งรวมกนั

2. ตัวชี้วัดชน้ั ปี
ทดลองและอธิบายการต่อหลอดไฟฟูาทั้งแบบอนุกรม แบบขนาน และนําความรู้ไปใช้ประโยชน์ (ว

5.1 ป. 6/4)

3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. อธบิ ายหลกั การต่อหลอดไฟฟูาในวงจรไฟฟาู ได้ (K)
2. ตอ่ หลอดไฟฟูาและอปุ กรณ์ไฟฟูาแบบอนุกรมได้ (K)
3. ตอ่ หลอดไฟฟูาและอปุ กรณไ์ ฟฟาู แบบขนานได้ (K)
4. มคี วามสนใจใฝรุ ู้หรืออยากรอู้ ยากเห็น (A)
5. พอใจในประสบการณก์ ารเรียนรู้ที่เกยี่ วกบั วิทยาศาสตร์ (A)
6. ทาํ งานร่วมกบั ผอู้ ่นื อยา่ งสร้างสรรค์ (A)
7. สอ่ื สารและนําความรเู้ รื่องการตอ่ หลอดไฟฟูาในวงจรไฟฟาู ไปใช้ในชวี ิตประจําวนั ได้ (P)


โรงเรยี นบา้ นเปาู

4. การวดั และการประเมนิ ผลการเรยี นรู้

ด้านความรู้ (K) ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และ ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P)
จติ วิทยาศาสตร์ (A)
1. ประเมนิ ทักษะ/กระบวนการ
1. ซักถามความรูเ้ ร่ืองการตอ่ 1. ประเมนิ เจตคตทิ าง ทางวิทยาศาสตร์

หลอดไฟฟาู ในวงจรไฟฟาู วิทยาศาสตรเ์ ป็นรายบคุ คล 2. ประเมนิ ทักษะการคดิ
3. ประเมินทักษะการแก้ปญั หา
2. ประเมินกจิ กรรมฝึกทักษะ 2. ประเมินเจตคติต่อ 4. ประเมินพฤติกรรมในการ

ระหวา่ งเรยี น วทิ ยาศาสตร์เป็นรายบคุ คล ปฏบิ ัติกจิ กรรมเปน็ รายบุคคล
หรอื รายกลุม่

5. สาระการเรียนรู้
การตอ่ หลอดไฟฟูาในวงจรไฟฟูา

6. แนวทางการบูรณาการ เขยี นรายงานเกย่ี วกับการต่อหลอดไฟฟูาในวงจรไฟฟูาจากการศึกษาค้นควา้
ภาษาไทย จากเอกสารทเี่ กย่ี วข้องและอินเทอร์เน็ต
ฟงั พูด อ่าน และเขียนคาํ ศพั ทภ์ าษาต่างประเทศเกี่ยวกบั การต่อหลอด
ภาษาตา่ งประเทศ ไฟฟูาในวงจรไฟฟาู ที่ไดเ้ รียนรู้หรือทนี่ กั เรยี นสนใจ

7. กระบวนการจดั การเรยี นรู้
ขัน้ นาเข้าสูบ่ ทเรยี น

1) ครูนําชุดหลอดไฟฟูาที่ใช้ประดับต้นไม้ ตู้โชว์ ต่อกับแหล่งกําเนิดไฟฟูา แล้วเปิดสวิตช์ให้หลอด
ไฟฟูาสว่าง นักเรียนสังเกตผลท่ีเกิดขึ้น จากน้ันครูถอดหลอดไฟฟูาออก 1 หลอด สังเกตผลท่ีเกิดข้ึน แล้วครูใช้
คําถามกระตุ้นดังนี้

- เพราะเหตใุ ดเมื่อถอดหลอดไฟฟูาเพียง 1 หลอดออก หลอดไฟฟาู ทุกหลอดจงึ ดบั
- การตอ่ วงจรไฟฟาู ของเครอ่ื งใช้ไฟฟูาแตล่ ะชนิดในบ้านเหมือนกันท้ังหมดหรือไม่ เพราะอะไร
2) นกั เรียนร่วมกนั อภิปรายคาํ ตอบของนักเรยี น โดยที่ครูยงั ไมเ่ ฉลย
ขน้ั จดั กจิ กรรมการเรยี นรู้
จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับแบบกลับด้านช้ันเรียน ซึ่งมี
ขั้นตอนดังน้ี


โรงเรียนบ้านเปาู

1) ข้นั สร้างความสนใจ
(1) ครูให้นักเรียนนําใบงาน สํารวจก่อนเรียน 10 ท่ีครูมอบหมายให้ไปเรียนรู้ล่วงหน้าที่บ้านมา

อภปิ รายรว่ มกนั ในช้ันเรียน
(2) ครูตรวจสอบว่านักเรียนทํากิจกรรมท่ีได้รับมอบหมายไปหรือไม่ โดยตรวจสอบจากการจดบันทึก

ของนกั เรยี น และถามคาํ ถามเก่ียวกับกจิ กรรม ดงั น้ี
- การตอ่ วงจรไฟฟูามีก่ีแบบ อะไรบ้าง (แนวคําตอบ 2 แบบ ได้แก่ การต่อวงจรไฟฟูาแบบ

อนุกรมและการต่อวงจรไฟฟาู แบบขนาน)
- การต่อหลอดไฟฟูาภายในบ้านควรต่อแบบใด เพราะอะไร (แนวคําตอบ ควรต่อแบบ

ขนาน เพราะถา้ หลอดไฟฟูาหลอดใดหลอดหน่ึงใช้งานไม่ได้ หลอดอื่นที่เหลือก็ยังสว่าง เนื่องจากมีกระแสไฟฟูา
ไหลผ่านในวงจรไฟฟาู )

(3) ครูเปดิ โอกาสใหน้ ักเรยี นตั้งประเด็นคําถามท่ีนักเรียนสงสัยจากการทํากิจกรรมอย่างน้อยคนละ 1
คาํ ถาม ซงึ่ ครใู ห้นกั เรยี นเตรยี มมาล่วงหนา้ และใหน้ ักเรยี นช่วยกนั ตอบและแสดงความคดิ เหน็

(4) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเก่ียวกับกิจกรรม สํารวจก่อนเรียน 10 โดยครูช่วยอธิบายให้นักเรียน
เข้าใจว่า การต่ออุปกรณ์ไฟฟูาในวงจรไฟฟูาแบ่งเป็น 2 แบบ คือ การต่อวงจรไฟฟูาแบบอนุกรมและการต่อ
วงจรไฟฟูาแบบขนาน
2) ข้นั สารวจและคน้ หา

(1) ให้นักเรียนศึกษาการต่อหลอดไฟฟูาในวงจรไฟฟูาแบบอนุกรมและแบบขนานจากใบความรู้และ
ในหนังสือเรยี น โดยครชู ่วยอธบิ ายใหน้ ักเรียนไดเ้ ห็นว่าความรู้เรอ่ื งท่ีนกั เรียนศึกษาน้ี เป็น
สิ่งทีน่ กั เรียนได้เรยี นรมู้ าบา้ งแลว้

(2) แบ่งกลุ่มนักเรียนกลุ่มละ 5 - 6 คน ปฏิบัติกิจกรรม สังเกตการเปรียบเทียบการต่อหลอดไฟฟูา
แบบอนกุ รมและแบบขนาน ตามข้นั ตอนการทางวิทยาศาสตร์ โดยใช้ทกั ษะ/กระบวนการสังเกตดงั น้ี

- ให้นักเรียนดูรูปของการต่อหลอดไฟฟูาแบบอนุกรม (รูป ก) ใช้นิ้วลากไปตามเส้นทางที่
กระแสไฟฟาู ไหลไปในวงจร จากน้นั วาดรปู ของวงจร และต่อหลอดไฟฟูาแบบอนุกรมให้เหมือนกับวงจรท่ีแสดง
ไว้ในรูป

- ถ้านักเรียนต่อเสร็จหลอดไฟฟูาทั้งสองจะสว่าง และจะเกิดอะไรข้ึนถ้านักเรียนถอด
หลอดไฟฟาู ออก 1 หลอด บันทกึ การทํานายของนกั เรยี นลงในตารางบันทกึ ผล

- ถอดหลอดไฟฟูา 1 หลอด ออกจากวงจร สังเกตการเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดข้ึนและบันทึกผล
จากนนั้ ใหใ้ ส่หลอดไฟฟาู กลับคืนท่ีเดมิ แลว้ ถอดสายไฟฟูาออกจากจดุ เชือ่ มต่อ


โรงเรยี นบ้านเปูา

รูป ก รปู ข
- ให้นักเรียนดูรูปของการต่อหลอดไฟฟูาแบบขนาน (รูป ข) ใช้น้ิวลากไปตามเส้นทางท่ี
กระแสไฟไหลไปในวงจร จากน้ันวาดรูปของวงจรและต่อหลอดไฟฟูาแบบขนานให้เหมือนกับวงจรท่ีแสดงไว้ใน
รปู
- ดาํ เนินการเชน่ เดียวกบั ขน้ั ตอนที่ 3 และ 4
- นักเรยี นรว่ มกันวิเคราะห์ อภิปราย และสรปุ ผลการสงั เกต
(3) นกั เรียนและครูร่วมกันตรวจสอบความถูกตอ้ งของขอ้ มูลที่ได้จากใบกิจกรรม
(4) ครูคอยแนะนําช่วยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบๆ ห้องเรียนและเปิด
โอกาสให้นักเรยี นทุกคนซักถามเมอ่ื มีปัญหา
3) ข้ันอธิบายและลงข้อสรุป
(1) นกั เรยี นแต่ละกลุม่ ส่งตัวแทนกลมุ่ นําเสนอขอ้ มูลจากการปฏิบตั ิกจิ กรรมหนา้ ช้ันเรยี น
(2) ครูและนกั เรยี นร่วมกันอภปิ รายผลจากการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม โดยใชแ้ นวคาํ ถามต่อไปน้ี
- ถ้านักเรียนเพ่ิมหลอดไฟฟูาเข้าไปในวงจรไฟฟูาแบบอนุกรมแล้ว จะเกิดอะไรข้ึนกับความ
สวา่ งของหลอดไฟฟาู ทง้ั หมด (แนวคาํ ตอบ หลอดไฟฟาู สว่างเทา่ กันทุกดวง)
- ถ้าเปรยี บเทียบวงจรไฟฟูากับระบบไหลเวียนโลหิตของร่างกาย นักเรียนคิดว่าเส้นเลือดท่ีอยู่
ในอวัยวะต่าง ๆ ควรเช่ือมต่อกันคล้ายกับวงจรไฟฟูาแบบอนุกรมหรือวงจรไฟฟูาแบบขนาน เพราะอะไร (แนว
คําตอบ คล้ายกับวงจรไฟฟูาแบบขนาน เพราะเส้นเลือดในร่างกายมีหลายเส้นแยกไปตามอวัยวะต่างๆ เพื่อให้
เลือดไหลผา่ น)
(3) นักเรียนและครรู ่วมกนั สรปุ ผลจากการปฏิบัติกิจกรรม โดยให้ได้ข้อสรุปว่า การต่อหลอดไฟฟูาใน
วงจรไฟฟาู ทาํ ได้ 2 แบบ คือ แบบอนกุ รมและแบบขนาน
4) ขน้ั ขยายความรู้
นักเรียนสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับการต่อหลอดไฟฟูาในวงจรไฟฟูาแบบอนุกรมและแบบขนานจาก
หนงั สอื วารสารเกยี่ วกับไฟฟาู สารานกุ รมวิทยาศาสตร์ สารานุกรมไทยสาํ หรบั เยาวชน และอินเทอร์เน็ตรวมทั้ง
นําข้อมูลทค่ี น้ ควา้ ได้มาจัดทําเปน็ รายงาน หรือจัดปูายนิเทศให้เพือ่ นๆ ไดท้ ราบเพื่อแลกเปล่ยี นเรียนรู้กนั


โรงเรียนบา้ นเปูา

5) ขั้นประเมิน
(1) ครูให้นกั เรยี นแตล่ ะคนพิจารณาวา่ จากหัวข้อท่ีเรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจุดใดบ้างท่ียังไม่

เข้าใจหรือยงั มีข้อสงสัย ถา้ มีครูช่วยอธบิ ายเพม่ิ เติมให้นกั เรยี นเข้าใจ
(2) นักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคใด และได้มีการแก้ไข

อยา่ งไรบ้าง
(3) ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรมและ

การนําความรทู้ ไ่ี ดไ้ ปใช้ประโยชน์
(4) ครูทดสอบความเขา้ ใจของนักเรยี นโดยการให้ตอบคาํ ถาม เช่น
- ขอ้ ดีและขอ้ เสยี ของการต่อวงจรไฟฟาู แบบอนุกรมและแบบขนานคืออะไร
- อธิบายความแตกต่างของวงจรไฟฟาู แบบอนกุ รมและวงจรไฟฟาู แบบขนาน

ขนั้ สรปุ
(1) ครแู ละนกั เรยี นร่วมกันสรุปเก่ยี วกับการต่อหลอดไฟฟูาในวงจรไฟฟูา โดยร่วมกันเขียนเป็นแผนท่ี

ความคิดหรอื ผังมโนทศั น์
(2) ครูมอบหมายให้นักเรียนไปศึกษาค้นคว้าเน้ือหาของบทเรียนชั่วโมงหน้า เพ่ือจัดการเรียนรู้คร้ัง

ต่อไป โดยให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าล่วงหน้าในหัวข้อการต่อวงจรไฟฟูาแบบอนุกรมและแบบขนาน (การต่อ
เซลลไ์ ฟฟาู )

(3) ครูให้นักเรียนเตรียมประเด็นคําถามท่ีสงสัยมาอย่างน้อยคนละ 1 คําถาม เพ่ือนํามาอภิปราย
ร่วมกนั ในช้ันเรียนครั้งต่อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
นักเรียนสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับการต่อหลอดไฟฟูาในวงจรไฟฟูาแบบอนุกรมและแบบขนานจากหนังสือ

วารสารเก่ียวกับไฟฟูา สารานุกรมวิทยาศาสตร์ สารานุกรมสําหรับเยาวชน และอินเทอร์เน็ตรวมท้ังนําข้อมูลที่
ค้นคว้าไดม้ าจดั ทําเปน็ รายงาน หรือจัดปาู ยนิเทศให้เพอ่ื นๆ ไดท้ ราบเพอื่ แลกเปล่ียนเรยี นรู้กนั

9. สอ่ื /แหล่งการเรยี นรู้
1. ใบงานสาํ รวจกอ่ นเรยี น 10
2. ชดุ หลอดไฟฟูาท่ใี ชป้ ระดับต้นไม้ ต้โู ชว์
3. ใบกจิ กรรมท่ี 21 สงั เกตการเปรียบเทยี บการต่อหลอดไฟฟูาแบบอนกุ รมและแบบขนาน
4. คู่มอื การสอน วทิ ยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 6
5. สือ่ การเรยี นรู้ PowerPoint รายวชิ าพ้ืนฐาน วิทยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 6
6. แบบฝกึ ทักษะ รายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6
7. หนังสอื เรยี น รายวชิ าพ้นื ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6


โรงเรยี นบ้านเปูา

10. บนั ทกึ หลังการจัดการเรยี นรู้
ความคดิ เหน็ /ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................

(ลงช่อื )..............................................
(นายธนติ ย์ พระสุนนิ )

ผ้อู ํานวยการโรงเรยี นเค็งใหญ่หนองงเู หลือม
รกั ษาการในตําแหน่ง ผู้อํานวยการโรงเรียนบา้ นเปูา

บนั ทกึ หลงั การสอน
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

ปัญหา/อปุ สรรค
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

(ลงชือ่ )..............................................
(นางสาววิมลรัตน์ ประทีปะเสน)
ครผู ูส้ อน


โรงเรียนบ้านเปาู

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 30

รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ (ว16101) ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 4 ไฟฟาู เวลาเรยี น 14 ชัว่ โมง

เร่อื ง การตอ่ เซลล์ไฟฟาู ในวงจรไฟฟูา เวลาจํานวน 2 ชั่วโมง

**********************************************************************************

1. สาระสาคญั

การต่อเซลล์ไฟฟูาแบบอนุกรมจะทําให้มีกระแสไฟฟูาผ่านวงจรมากข้ึน ส่วนการต่อเซลล์ไฟฟูาแบบ

ขนานจะชว่ ยทําให้อายกุ ารใชง้ านของเซลลไ์ ฟฟูาหรืออปุ กรณย์ าวนานขน้ึ

2. ตัวช้ีวัดช้นั ปี
ทดลองและอธิบายการต่อเซลล์ไฟฟูาแบบอนกุ รม และนาํ ความรูไ้ ปใช้ประโยชน์ (ว 5.1 ป. 6/3)

3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. อธบิ ายหลกั การต่อเซลลไ์ ฟฟูาในวงจรไฟฟูาแบบอนกุ รมและวงจรไฟฟูาแบบขนานได้ (K)
2. ต่อเซลล์ไฟฟาู ในวงจรไฟฟูาแบบอนุกรมและแบบขนานได้ (K)
3. เปรยี บเทียบผลท่ีเกิดขน้ึ จากการต่อเซลล์ไฟฟูาในวงจรไฟฟาู แบบอนกุ รมและแบบขนานได้ (K)
4. มีความสนใจใฝุรหู้ รืออยากรูอ้ ยากเหน็ (A)
5. พอใจในประสบการณ์การเรียนรูท้ เี่ กี่ยวกบั วิทยาศาสตร์ (A)
6. ทํางานร่วมกับผ้อู นื่ อย่างสร้างสรรค์ (A)
7. สื่อสารและนําความรเู้ ร่ืองการต่อเซลลไ์ ฟฟาู ในวงจรไฟฟูาไปใชใ้ นชวี ติ ประจาํ วันได้ (P)

4. การวัดและการประเมนิ ผลการเรยี นรู้

ด้านความรู้ (K) ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม และ ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P)
จิตวิทยาศาสตร์ (A)
1. ประเมนิ ทักษะ/กระบวนการ
1. ซกั ถามความรเู้ ร่ืองการตอ่ 1. ประเมนิ เจตคติทาง ทางวทิ ยาศาสตร์

เซลลไ์ ฟฟูาในวงจรไฟฟาู วทิ ยาศาสตรเ์ ป็นรายบุคคล 2. ประเมินทักษะการคิด
3. ประเมนิ ทักษะการแกป้ ัญหา
2. ประเมนิ กจิ กรรมฝกึ ทักษะ 2. ประเมนิ เจตคตติ ่อวทิ ยาศาสตร์ 4. ประเมนิ พฤติกรรมในการ

ระหว่างเรยี น เป็นรายบุคคล ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมเปน็ รายบุคคล
หรอื รายกล่มุ


โรงเรยี นบา้ นเปาู

5. สาระการเรียนรู้
การตอ่ เซลลไ์ ฟฟูาในวงจรไฟฟาู

6. แนวทางการบูรณาการ เขียนรายงานเกย่ี วกับการต่อเซลลไ์ ฟฟูาในวงจรไฟฟูาจากการศกึ ษาคน้ คว้า
ภาษาไทย จากเอกสารทเี่ กีย่ วขอ้ งและอินเทอร์เนต็
ฟงั พูด อา่ น และเขยี นคาํ ศัพท์ภาษาตา่ งประเทศเกย่ี วกบั การต่อเซลล์ไฟฟูา
ภาษาตา่ งประเทศ ในวงจรไฟฟาู ท่ีไดเ้ รียนร้หู รือทเี่ รียนสนใจ

7. กระบวนการจดั การเรยี นรู้
ขัน้ นาเขา้ ส่บู ทเรียน

1) ครูให้นักเรียนดูรูปการต่อหลอดไฟฟูา 2 หลอด แบบอนุกรมและแบบขนานแล้วถามคําถามเพ่ือ
ทบทวนความรู้เดมิ ของนักเรียน เชน่

- ถ้าหลอดไฟฟูาเสีย 1 หลอด วงจรไฟฟูาในรูปใดจะใช้งานไม่ได้เลย เพราะอะไร (แนว
คาํ ตอบ รปู การตอ่ หลอดไฟฟูา 2 หลอด แบบอนกุ รม เพราะกระแสไฟฟาู ไหลเปน็ เส้นทางเดียว เมื่อหลอดไฟฟูา
เสยี 1 หลอด กระแสไฟฟาู จงึ ไหลกลับส่แู หล่งกําเนิดไฟฟาู ไม่ได้ วงจรไฟฟาู จึงใชง้ านไม่ได้)

2) ครูและนักเรียนร่วมกนั อภปิ รายคําตอบของนักเรียน โดยทค่ี รยู ังไม่เฉลยคาํ ตอบ
ขัน้ จดั กิจกรรมการเรยี นรู้

จัดกิจกรรมการเรียนร้โู ดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับแบบกลับด้านชั้นเรียน ซ่ึงมีขั้นตอน
ดังนี้
1) ขนั้ สรา้ งความสนใจ

(1) ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนแล้วเปิดโอกาสให้นักเรียนในกลุ่มนําเสนอข้อมูลเกี่ยวกับการต่อวงจรไฟฟูา
แบบอนุกรมและแบบขนาน (การต่อเซลล์ไฟฟูา) ที่ครูมอบหมายให้ไปเรียนรู้ล่วงหน้าให้ เพ่ือนๆ ในกลุ่มฟัง
จากนัน้ ใหแ้ ตล่ ะกลุม่ ส่งตัวแทนมานําเสนอขอ้ มลู หน้าห้องเรียน

(2) ครตู รวจสอบวา่ นักเรียนทาํ ภาระงานท่ีไดร้ ับมอบหมายไปหรือไม่ โดยตรวจสอบจากการจดบันทึก
ของนกั เรยี น และถามคาํ ถามเกี่ยวกับภาระงาน ดังนี้

- การต่อหลอดไฟฟูาแบบอนุกรมและการต่อเซลล์ไฟฟูาแบบอนุกรมมีหลักการเหมือนกันหรือไม่
ลักษณะใด (แนวคําตอบ มีหลักการเหมือนกัน คือ กระแสไฟฟูาไหลผ่านเซลล์ไฟฟูา สายไฟฟูา และ
เครื่องใช้ไฟฟาู ทงั้ หมดเสน้ ทางเดียว)

- การต่อเซลลไ์ ฟฟูาแบบใดทําให้พลังงานที่ได้จากเซลล์ไฟฟูามีระยะเวลาการใช้งานมากข้ึน (แนว
คาํ ตอบ การต่อเซลล์ไฟฟาู แบบขนาน)

(3) ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนตั้งประเด็นคําถามท่ีนักเรียนสงสัยจากการทําภาระงานอย่างน้อยคนละ
1 คําถาม ซงึ่ ครใู หน้ กั เรียนเตรียมมาลว่ งหน้า และให้นักเรียนช่วยกันตอบและแสดงความคดิ เห็น


โรงเรียนบา้ นเปาู

(4) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเก่ียวกับภาระงาน โดยครูช่วยอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า การต่อ
เซลลไ์ ฟฟาู แบบอนุกรมจะทําให้มีกระแสไฟฟูาผ่านวงจรมากข้ึน ส่วนการต่อเซลล์ไฟฟูาแบบขนานจะช่วยทําให้
อายกุ ารใช้งานของเซลลไ์ ฟฟาู ยาวนานข้ึน
2) ขนั้ สารวจและค้นหา

(1) ให้นักเรียนศึกษาการต่อวงจรไฟฟูาแบบขนานจากใบความรู้และในหนังสือเรียน โดยครูช่วย
อธิบายให้นักเรยี นไดเ้ หน็ วา่ ความรู้เรอ่ื งที่นักเรยี นศกึ ษาน้ี เปน็ สง่ิ ท่นี กั เรียนได้เรยี นรมู้ าบ้างแล้ว

(2) แบ่งกลุ่มนักเรียนกลุ่มละ 4 - 5 คน ปฏิบัติกิจกรรม สังเกตการเปรียบเทียบการต่อเซลล์ไฟฟูา
แบบอนุกรมและแบบขนาน ตามข้ันตอนทางวทิ ยาศาสตร์ โดยใชท้ ักษะ/กระบวนการสงั เกตดงั นี้

- ให้นกั เรยี นดแู ผนภาพของการต่อเซลล์ไฟฟูาแบบอนกุ รม รปู ที่ 1
- นําถ่านไฟฉาย 1 ก้อน หลอดไฟฟูา และสวิตช์ ต่อกันเป็นวงจรไฟฟูาแบบอนุกรมให้เหมือนกับ
รูปที่ 1 สังเกตความสวา่ งของหลอดไฟฟูา

รปู ท่ี 1 รปู ท่ี 2

- เพ่ิมถา่ นไฟฉายอีก 1 กอ้ น เข้าไปในวงจรไฟฟูา โดยเรยี งต่อกันดังรูปท่ี 2 สังเกตความสว่างของ
หลอดไฟฟาู เปรียบเทียบกับเม่อื ตอ่ กบั ถา่ นไฟฉาย 1 ก้อน

- นําถ่านไฟฉาย 1 ก้อน สวิตช์ และหลอดไฟฟูา มาต่อกันเป็นวงจรไฟฟูาดังรูปท่ี 3 สังเกตความ
สวา่ งของหลอดไฟฟาู


โรงเรียนบา้ นเปาู

รปู ท่ี 3 รูปท่ี 4
- เพิม่ ถ่านไฟฉายอีก 1 กอ้ น เข้าไปในวงจรไฟฟูา โดยวางถ่านไฟฉายให้ขนานและต่อสายไฟฟูาดัง
รปู ที่ 4 สงั เกตความสวา่ งของหลอดไฟฟูาเปรียบเทยี บกับเมื่อต่อกบั ถ่านไฟฉาย 1 กอ้ น
- นักเรยี นรว่ มกันวเิ คราะห์ อภปิ ราย และสรปุ ผลการสังเกต
(3) นักเรยี นและครูร่วมกนั ตรวจสอบความถกู ต้องของข้อมูลทไี่ ด้จากใบกิจกรรม
(4) ครูคอยแนะนําช่วยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบๆ ห้องเรียนและเปิด
โอกาสใหน้ ักเรยี นทกุ คนซักถามเม่ือมีปัญหา
3) ขนั้ อธบิ ายและลงข้อสรปุ
(1) นกั เรยี นแตล่ ะกล่มุ ส่งตวั แทนนําเสนอข้อมลู จากการปฏบิ ัติกิจกรรมหน้าช้ันเรียน
(2) ครแู ละนักเรยี นร่วมกันอภปิ รายและหาข้อสรุปจากการปฏิบตั ิกจิ กรรม โดยใชแ้ นวคําถามตอ่ ไปน้ี
- ถ้าวางเรียงเซลล์ไฟฟูากลับขั้วกันในวงจรที่ต่อเซลล์ไฟฟูาแบบอนุกรมแล้ว กระแสไฟฟูาในวงจร
จะมคี า่ เท่าใด (แนวคําตอบ กระแสไฟฟาู ในวงจรไฟฟาู จะมีคา่ ลดลง)
- การต่อเซลล์ไฟฟูาแบบขนาน กระแสไฟฟูาที่ไหลผ่านอุปกรณ์ไฟฟูา (หลอดไฟฟูา) แต่ละ
ตําแหนง่ มีคา่ เท่าใด (แนวคําตอบ มคี า่ เท่ากบั การใช้เซลลไ์ ฟฟูาอนั เดยี ว)
- ข้อดีของการต่อเซลล์ไฟฟูาแบบขนานคืออะไร (แนวคําตอบ พลังงานท่ีได้จากเซลล์ไฟฟูามีอายุ
การใชง้ านมากข้นึ )
(3) นักเรียนและครูร่วมกันสรุปผลจากการปฏิบัติกิจกรรม โดยให้ได้ข้อสรุปว่า การต่อเซลล์ไฟฟูา
แบบอนุกรม จะทําให้กระแสไฟฟูาผ่านวงจรมากข้ึน ส่วนการต่อเซลล์ไฟฟูาแบบขนาน จะช่วยยืดอายุการใช้
งานของอุปกรณ์ไฟฟูาใหย้ าวนานขนึ้
4) ขัน้ ขยายความรู้
นักเรยี นสืบค้นขอ้ มูลเกย่ี วกับการตอ่ วงจรไฟฟูาแบบขนานและการใช้ประโยชนจ์ ากการต่อวงจรไฟฟูา
แบบน้ีจากหนังสือ วารสารเก่ียวกับไฟฟูา สารานุกรมวิทยาศาสตร์ สารานุกรมไทยสําหรับเยาวชน และ
อินเทอร์เน็ต รวมทั้งนําข้อมูลที่ค้นคว้าได้มาจัดทําเป็นรายงาน หรือจัดปูายนิเทศให้เพื่อนๆ ได้ทราบเพ่ือ
แลกเปล่ียนเรียนรูก้ ัน
5) ข้ันประเมิน
(1) ครใู ห้นักเรยี นแตล่ ะคนพิจารณาว่าจากหัวขอ้ ท่ีเรยี นมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจุดใดบ้างท่ียังไม่
เขา้ ใจหรอื ยงั มขี อ้ สงสยั ถา้ มคี รชู ว่ ยอธิบายเพิ่มเตมิ ให้นกั เรียนเขา้ ใจ
(2) นักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคใด และได้มีการแก้ไข
อย่างไรบา้ ง
(3) ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ท่ีได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรม และ
การนาํ ความรทู้ ี่ได้ไปใชป้ ระโยชน์
(4) ครทู ดสอบความเข้าใจของนักเรียนโดยการให้ตอบคาํ ถาม เชน่


โรงเรยี นบา้ นเปูา

- การต่อเซลลไ์ ฟฟูาในวงจรไฟฟูาแตกต่างจากการต่อหลอดไฟฟาู ในวงจรไฟฟาู หรือไมเ่ พราะอะไร
- ถ้านักเรียนจะตอ่ เซลล์ไฟฟูาใชใ้ นชวี ติ ประจําวันนกั เรยี นจะต่อเซลล์ไฟฟูาแบบใด เพราะอะไร
ขน้ั สรปุ
(1) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับการต่อเซลล์ไฟฟูาในวงจรไฟฟูา โดยร่วมกันเขียนเป็นแผนที่
ความคดิ หรอื ผงั มโนทศั น์
(2) ครูมอบหมายให้นักเรียนไปศึกษาค้นคว้าเน้ือหาของบทเรียนช่ัวโมงหน้า เพ่ือจัดการเรียนรู้คร้ัง
ตอ่ ไป โดยใหน้ ักเรยี นศกึ ษาค้นควา้ ลว่ งหน้าในหวั ขอ้ วงจรไฟฟาู ในบา้ น
(3) ครูให้นักเรียนเตรียมประเด็นคําถามท่ีสงสัยมาอย่างน้อยคนละ 1 คําถาม เพ่ือนํามาอภิปราย
ร่วมกนั ในชน้ั เรียนคร้ังตอ่ ไป

8. กจิ กรรมเสนอแนะ
นกั เรียนฝึกเขยี นแผนภาพวงจรไฟฟาู แบบอนุกรมและแบบขนาน

9. สอ่ื /แหลง่ การเรยี นรู้
1. รปู การต่อหลอดไฟฟาู 2 หลอดแบบอนุกรมและแบบขนาน
2. ใบกจิ กรรมที่ 22 สงั เกตการเปรียบเทียบการต่อเซลลไ์ ฟฟาู แบบอนุกรมและแบบขนาน
3. แผนภาพวงจรไฟฟูาแบบอนุกรมและแบบขนาน
4. คู่มอื การสอน วทิ ยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 6
5. สอ่ื การเรยี นรู้ PowerPoint รายวชิ าพน้ื ฐาน วิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6
6. แบบฝกึ ทกั ษะ รายวชิ าพนื้ ฐาน วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6
7. หนงั สือเรียน รายวชิ าพืน้ ฐาน วิทยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 6


โรงเรียนบา้ นเปาู

10. บนั ทึกหลงั การจดั การเรียนรู้
ความคดิ เหน็ /ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

(ลงชอ่ื )..............................................
(นายธนติ ย์ พระสุนิน)

ผู้อํานวยการโรงเรยี นเค็งใหญห่ นองงูเหลือม
รักษาการในตําแหนง่ ผอู้ ํานวยการโรงเรียนบ้านเปาู

บันทึกหลังการสอน
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................

ปัญหา/อปุ สรรค
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................

ข้อเสนอแนะ
..................................................................................................................... .........................................................
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................................................................................. ............................

(ลงชือ่ )..............................................
(นางสาววมิ ลรตั น์ ประทปี ะเสน)
ครผู ู้ชว่ ย


โรงเรยี นบา้ นเปาู

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 31

รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ (ว16101) ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6

หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 4 ไฟฟูา เวลาเรยี น 14 ชัว่ โมง

เรือ่ ง วงจรไฟฟาู ในบา้ น เวลาจาํ นวน 2 ช่ัวโมง

**********************************************************************************

1. สาระสาคัญ

วงจรไฟฟูาในบ้านเป็นเสน้ ทางทีก่ ระแสไฟฟูาไหลผ่านอปุ กรณแ์ ละเครือ่ งใช้ไฟฟูาต่างๆ ภายในบ้านซ่ึง

นิยมตอ่ เครอื่ งใชไ้ ฟฟูาและอปุ กรณ์กับวงจรไฟฟูาแบบขนาน

2. ตัวช้ีวัดชัน้ ปี
1. ทดลองและอธิบายการต่อเซลลไ์ ฟฟาู แบบอนกุ รม และนําความรไู้ ปใช้ประโยชน์

(ว 5.1 ป. 6/3)
2. ทดลองและอธิบายการต่อหลอดไฟฟาู ทั้งแบบอนุกรม แบบขนาน และนําความร้ไู ปใช้ประโยชน์

(ว 5.1 ป. 6/4)

3. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธบิ ายหลักการต่อเครื่องใชไ้ ฟฟูาและอุปกรณ์ต่าง ๆ กับวงจรไฟฟูาในบ้านได้ (K)
2. มีความใฝุร้หู รืออยากรู้อยากเหน็ (A)
3. พอใจในประสบการณ์การเรยี นรู้ทเี่ กย่ี วกับวทิ ยาศาสตร์ (A)
4. การทาํ งานร่วมกับผูอ้ ื่นอย่างสร้างสรรค์ (A)
5. ส่อื สารและนําความร้เู รื่องวงจรไฟฟูาในบ้านไปใช้ในชวี ิตประจาํ วันได้ (P)

4. การวัดและการประเมินผลการเรยี นรู้

ดา้ นความรู้ (K) ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม และ ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P)
จติ วิทยาศาสตร์ (A)
1. ประเมนิ ทักษะ/กระบวนการ
1. ซกั ถามความรเู้ ร่ืองวงจรไฟฟูา 1. ประเมนิ เจตคติทาง ทางวิทยาศาสตร์

ในบา้ น วทิ ยาศาสตรเ์ ปน็ รายบคุ คล 2. ประเมนิ ทักษะการคิด
3. ประเมินทักษะการแก้ปัญหา
2. ประเมนิ กิจกรรมฝึกทกั ษะ 2. ประเมนิ เจตคติตอ่ วิทยาศาสตร์ 4. ประเมนิ พฤติกรรมในการ

ระหว่างเรยี น เปน็ รายบคุ คล ปฏิบตั กิ จิ กรรมเป็นรายบุคคล
หรอื รายกลุ่ม


โรงเรียนบ้านเปาู

5. สาระการเรียนรู้
วงจรไฟฟูาในบ้าน

6. แนวทางการบรู ณาการ

ภาษาไทย เขยี นรายงานเกย่ี วกบั วงจรไฟฟูาในบา้ นและการใช้ไฟฟาู อย่างปลอดภัยจาก

การศกึ ษาค้นควา้ จากเอกสารทีเ่ กีย่ วข้องและอินเทอร์เน็ต

การงานอาชพี และเทคโนโลยี

นาํ หลักการของการต่อเครือ่ งใชไ้ ฟฟูาและอุปกรณ์ไปใช้ในงานช่างไฟฟูา

ภาษาตา่ งประเทศ ฟัง พูด อ่าน และเขียนคําศัพท์ภาษาตา่ งประเทศเกี่ยวกบั วงจรไฟฟาู ในบ้าน

ทไ่ี ด้เรยี นรหู้ รือท่ีนักเรยี นสนใจ

สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

สนทนา พดู คุยเกี่ยวกับ การช่วยกันประหยดั ไฟฟาู ตามหลัก

เศรษฐกจิ พอเพียง

7. กระบวนการจดั การเรยี นรู้
ขนั้ นาเข้าส่บู ทเรียน

1) ครูนําภาพเคร่ืองใช้ไฟฟูาและอุปกรณ์ท่ีติดตั้งอยู่ในห้องต่างๆ ภายในบ้านมาให้นักเรียนดูแล้วใช้
คาํ ถามกระตุ้นดังน้ี

- นักเรียนคิดว่า การต่อเครื่องใช้ไฟฟูาและอุปกรณ์ต่างๆ ภายในบ้านกับสายไฟฟูาน้ัน ช่างไฟฟูา
ตอ่ ในวงจรแบบใด เพราะอะไร

- อุปกรณไ์ ฟฟาู ทใี่ ช้ในวงจรไฟฟาู มีอะไรบ้าง
- ยกตวั อยา่ งการตอ่ วงจรไฟฟูาของเครื่องใชไ้ ฟฟูาท่บี ้านของนกั เรยี น
2) นักเรียนร่วมกันตอบคําถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคําตอบของคําถาม เพ่ือเช่ือมโยงไปสู่
การเรยี นรเู้ รื่อง วงจรไฟฟาู ในบ้าน
ขนั้ จดั กจิ กรรมการเรียนรู้
จดั กจิ กรรมการเรียนร้โู ดยใชก้ ระบวนการสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับแบบกลับด้านชั้นเรียน ซึ่งมขี นั้ ตอน
ดงั นี้
1) ขนั้ สร้างความสนใจ
(1) ครูแบง่ กลมุ่ นกั เรยี นแลว้ เปดิ โอกาสใหน้ กั เรยี นในกลุ่มนําเสนอข้อมูลเกี่ยวกับวงจรไฟฟูาในบ้าน ท่ี
ครูมอบหมายให้ไปเรียนรู้ล่วงหน้าให้เพ่ือนๆ ในกลุ่มฟัง จากนั้นให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนมานําเสนอข้อมูลหน้า
หอ้ งเรียน
(2) ครตู รวจสอบวา่ นักเรยี นทาํ ภาระงานทไ่ี ดร้ ับมอบหมายไปหรือไม่ โดยตรวจสอบจากการจดบันทึก
ของนกั เรยี น และถามคาํ ถามเกี่ยวกับภาระงาน ดังน้ี


โรงเรียนบา้ นเปาู

- แหล่งกําเนิดไฟฟูาที่ใช้ในบ้านมาจากที่ใดบ้าง (แนวคําตอบ ถ่านไฟฉาย แบตเตอร่ี และ
โรงไฟฟูา) - ยกตวั อยา่ งอุปกรณป์ อู งกันไฟฟาู ลัดวงจรในบ้าน (แนวคาํ ตอบ เบรกเกอร์และฟวิ ส)์

(3) ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนตั้งประเด็นคําถามที่นักเรียนสงสัยจากการทําภาระงานอย่างน้อยคนละ
1 คาํ ถาม ซงึ่ ครใู ห้นักเรียนเตรยี มมาล่วงหนา้ และใหน้ กั เรยี นชว่ ยกนั ตอบและแสดงความคดิ เห็น

(4) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเก่ียวกับภาระงาน โดยครูช่วยอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า ไฟฟูาท่ีเรา
ใช้อยู่ในบ้านเรือน ทีอ่ ยู่อาศยั และสํานกั งานต่าง ๆ ได้มาจากโรงไฟฟูา ซง่ึ เป็นไฟฟาู กระแสสลบั
2) ขัน้ สารวจและค้นหา

(1) ให้นักเรียนศึกษาการต่อวงจรไฟฟูาในบ้านจากใบความรู้หรือในหนังสือเรียน โดยครูช่วยอธิบาย
ให้นกั เรยี นไดเ้ หน็ วา่ ความรู้เร่อื งทีน่ กั เรยี นศึกษานี้ เป็นสิง่ ทน่ี ักเรยี นได้เรยี นรูม้ าบา้ งแลว้

(2) แบ่งนกั เรยี นกลมุ่ ละ 5 - 6 คน สืบคน้ ขอ้ มูลเกีย่ วกบั วงจรไฟฟาู ในบ้าน โดยดําเนนิ การ
ตามขนั้ ตอนดังนี้

- แต่ละกลมุ่ วางแผนการสบื คน้ ขอ้ มลู โดยแบง่ หัวข้อวงจรไฟฟูาในบ้านเป็นหัวข้อย่อย เช่น การต่อ
วงจรไฟฟูาแบบขนาน ไฟฟูากระแสตรงและไฟฟูากระแสสลับ อุปกรณ์ท่ีใช้กับเครื่องใช้ไฟฟูา การวัดการใช้
ไฟฟูา อปุ กรณป์ ูองกันอันตรายจากไฟฟูาลัดวงจรให้สมาชิกแต่ละกลุ่มชว่ ยกันสบื ค้นตามหัวข้อทก่ี ําหนด

- สมาชิกแตล่ ะกลุ่ม ชว่ ยกนั สืบคน้ ข้อมูลตามหัวขอ้ ทกี่ ลมุ่ ของตนเองรบั ผิดชอบ โดยการสืบค้นจาก
หนังสือ วารสาร สารานกุ รมวิทยาศาสตร์ สารานุกรมไทยสําหรับเยาวชน และอินเทอร์เนต็

- สมาชกิ กลมุ่ นาํ ขอ้ มูลท่ีสืบค้นไดม้ ารายงานให้เพ่ือน ๆ สมาชิกในกลุ่มฟัง รวมทั้งร่วมกันอภิปราย
ซกั ถามจนคาดว่าสมาชกิ ทกุ คนมคี วามรูค้ วามเขา้ ใจทต่ี รงกนั

- สมาชิกกลุ่มชว่ ยกนั สรุปความรทู้ ไ่ี ด้ทง้ั หมดเปน็ ผลงานของกล่มุ
(3) ครูคอยแนะนําช่วยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบ ๆ ห้องเรียนและเปิด
โอกาสให้นกั เรยี นทกุ คนซกั ถามเมอ่ื มปี ัญหา
3) ข้ันอธบิ ายและลงข้อสรปุ
(1) นักเรียนแตล่ ะกลุ่มส่งตัวแทนกลมุ่ นําเสนอข้อมลู จากการปฏบิ ตั ิกิจกรรมหนา้ ชนั้ เรยี น
(2) นกั เรียนและครูรว่ มกันอภิปรายและหาข้อสรุปจากการปฏบิ ัติกิจกรรม โดยใช้แนวคาํ ถามต่อไปนี้

- การต่อเครื่องใช้ไฟฟูาหลายๆ อย่างกับเต้ารับเพียงอันเดียวจะเกิดผลอะไร (แนวคําตอบ เกิด
ไฟฟูาฟาู ลัดวงจร เน่อื งจากมกี ระแสไฟฟูาไหลผา่ นในวงจรไฟฟาู มากเกินไป)

- ไฟฟาู ที่ในบ้านเรือนท่ัวไปเป็นไฟฟาู ประเภทใด (แนวคําตอบ ไฟฟูากระแสสลับ )
(3) นักเรยี นและครูร่วมกนั สรปุ ผลจากการปฏิบตั ิกจิ กรรมโดยใหไ้ ด้ขอ้ สรุปว่า วงจรไฟฟูา
ในบา้ นนิยมต่อแบบขนาน


โรงเรียนบา้ นเปาู

4) ข้ันขยายความรู้
(1) นักเรียนสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับวงจรไฟฟูาภายในบ้านและการใช้ไฟฟูาอย่างปลอดภัยจากหนังสือ

วารสารเก่ียวกับไฟฟูา สารานุกรมวิทยาศาสตร์ สารานุกรมไทยสําหรับเยาวชน และอินเทอร์เน็ตรวมท้ังนํา
ข้อมูลทค่ี น้ ควา้ ไดม้ าจดั ทําเป็นรายงาน หรือจัดปาู ยนิเทศให้เพ่ือนๆ ได้ทราบเพอื่ แลกเปล่ียนเรยี นรู้กัน

(2) นกั เรียนคน้ คว้ารายละเอียดและคาํ ศัพทภ์ าษาต่างประเทศเก่ียวกบั วงจรไฟฟาู ในบ้าน จากหนังสือ
เรียนภาษาต่างประเทศหรืออินเทอรเ์ นต็
5) ข้ันประเมนิ

(1) ครใู ห้นกั เรยี นแตล่ ะคนพิจารณาว่าจากหัวข้อท่ีเรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีจุดใดบ้างท่ียังไม่
เขา้ ใจหรอื ยังมขี อ้ สงสัย ถา้ มคี รชู ่วยอธิบายเพิ่มเติมให้นักเรยี นเขา้ ใจ

(2) นักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคใด และได้มีการแก้ไข
อย่างไรบ้าง

(3) ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรมและ
การนาํ ความรทู้ ี่ไดไ้ ปใชป้ ระโยชน์

(4) ครทู ดสอบความเขา้ ใจของนกั เรยี นโดยการใหต้ อบคาํ ถาม เช่น
- ช่างไฟฟูานยิ มต่อเคร่ืองใชไ้ ฟฟาู กบั วงจรไฟฟูาภายในบา้ นแบบใด เพราะอะไร
- ไฟฟาู ที่ใชภ้ ายในบา้ นไดม้ าจากแหล่งใดและเปน็ ไฟฟาู ประเภทใด
- อุปกรณ์ปูองกันไฟฟาู ลัดวงจรมีอะไรบ้าง ทําหนา้ ท่ีอย่างไร
- เครือ่ งมือที่สามารถบอกปริมาณการใช้ไฟฟาู ในแตล่ ะเดอื นได้คืออะไร

ขัน้ สรุป
(1) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับวงจรไฟฟูาในบ้าน โดยร่วมกันเขียนเป็นแผนที่ความคิดหรือ

ผังมโนทศั น์
(2) ครูมอบหมายให้นักเรียนไปศึกษาค้นคว้าเนื้อหาของบทเรียนช่ัวโมงหน้า เพ่ือจัดการเรียนรู้คร้ัง

ต่อไป โดยให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าล่วงหน้าในหัวข้อตัวนําไฟฟูาและฉนวนไฟฟูา โดยใช้ใบงาน สํารวจก่อน
เรียน 11 ที่ครูจัดเตรียมไว้ให้ประกอบการศึกษาค้นคว้า (ในส่ือการเรียนรู้ PowerPoint วิทยาศาสตร์ ชั้น
ประถมศกึ ษาปีที่ 6 )

(3) ครูอธิบายขนั้ ตอนการปฏิบัตกิ ิจกรรมและมอบหมายให้นักเรยี นไปปฏิบัติกิจกรรมท่ีบ้าน พร้อมท้ัง
ใหน้ ักเรียนเตรยี มประเด็นคําถามทสี่ งสัยมาอยา่ งนอ้ ยคนละ 1 คําถาม เพอื่ นํามาอภปิ รายร่วมกันในช้ันเรียนครั้ง
ตอ่ ไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
1. นักเรียนสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับวงจรไฟฟูาในบ้านจากหนังสือ วารสารเกี่ยวกับไฟฟูา สารานุกรม

วิทยาศาสตร์ สารานกุ รมไทยสําหรับเยาวชน และอนิ เทอรเ์ น็ต รวมทั้งนาํ ขอ้ มลู ทีค่ น้ คว้าไดม้ าจัดทําเป็นรายงาน
หรอื จัดปาู ยนเิ ทศใหเ้ พือ่ นๆ ได้ทราบเพื่อแลกเปลยี่ นเรียนรกู้ นั


โรงเรียนบา้ นเปูา

2. ครูเชื่อมโยงความรู้กับหลักเศรษฐกิจพอเพียง โดยเน้นให้นักเรียนเข้าใจว่าพลังงานไฟฟูา เป็น
ปัจจัยสําคัญอย่างหนึ่งท่ีจําเป็นต่อชีวิต และมีผลต่อความเป็นอยู่ตั้งแต่ระดับครอบครัวไปจนถึงระดับประเทศ
และท่ัวโลก สําหรบั ประเทศไทยแม้วา่ จะมที รพั ยากรในการผลิตไฟฟูา เชน่ พลังน้ํา
ถา่ นลิกไนต์ แก๊สธรรมชาติ รวมทง้ั นํ้ามันดบิ แต่กย็ ังต้องพ่งึ พานาํ้ มันเช้อื เพลิงจากต่างประเทศ เราทุกคนจึงต้อง
ชว่ ยกนั ประหยดั ไฟฟาู เพอ่ื ช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายให้กบั ครอบครัวรวมทั้งยงั เกดิ ประโยชน์ต่อสว่ นรวมอกี ด้วย
การประหยดั ไฟฟาู ต้องเริ่มต้นจากการซอ้ื เครื่องใช้ไฟฟาู ซ่ึงมีขอ้ แนะนํา 4 ประการ ดังนี้

1) คา่ ใช้จา่ ยในการใช้งาน คือ คา่ ไฟฟาู ท่ีนํามาใช้กับเครื่องใช้ไฟฟูานั้นๆ ว่าเครื่องใช้ไฟฟูาเหล่าน้ันใช้
ไฟฟูามากน้อยเพียงใด ปกติเคร่ืองใช้ไฟฟูาจะมีแผ่นปูายบอกไว้ที่ตัวเครื่องว่าใช้ไฟฟูาก่ีวัตต์ ดังน้ันเราจึงควร
ทราบวัตต์ของเครื่องใช้ไฟฟูา ถ้าจํานวนวัตต์มากก็ย่อมเสียค่าไฟฟูามากน่ันเอง นอกจากนี้ยังขึ้นอยู่กับ
ระยะเวลาของการใช้งานในแตล่ ะเดอื นอีกดว้ ย

2) ความปลอดภยั และความไว้วางใจ ไฟฟูามีอันตรายเมื่อใช้ไม่ถูกวิธี จึงควรเลือกซื้อเคร่ืองใช้ไฟฟูาท่ี
มีการออกแบบที่ดีและเป็นท่ีไว้วางใจได้ หากไม่มีความรู้เก่ียวกับเรื่องไฟฟูา ก็ควรปรึกษากับช่างหรือผู้ชํานาญ
เกีย่ วกบั เครอื่ งใช้ไฟฟูาน้นั ๆ ก่อนจึงตดั สินใจซ้ือ

3) ราคา ราคาของเครื่องใช้ไฟฟูาก็เป็นเร่ืองท่ีต้องพิจารณาให้ดี เพราะการเลือกซ้ือเครื่องใช้ไฟฟูาท่ี
ราคาถูกบางครั้งก็ ไม่ประหยัดนัก เพราะอาจได้ของคุณภาพต่ํา ควรปรึกษาผู้รู้หรือเปรียบเทียบคุณภาพของ
สนิ ค้าก่อนซื้อ และอย่าตดั สนิ ใจซอ้ื เคร่ืองใช้ไฟฟูาราคาแพงเพราะแรงโฆษณา

4) ค่าติดต้ังและบํารุงรักษา ก่อนซ้ือเครื่องใช้ไฟฟูาต้องพิจารณาถึงค่าติดต้ังและค่าบํารุงรักษาเคร่ือง
ด้วย หากซ้ือมาแล้วต้องเดินสายไฟฟูาใหม่ และค่าติดต้ังสูง บางทีอาจแพงกว่าเครื่องใช้ไฟฟูาท่ีซื้อมา และควร
พิจารณาถึงค่าซ่อม อะไหล่ ค่าบํารุงรักษา ควรสอบถามจากผู้ท่ีเคยใช้ว่าเป็นอย่างไร แล้วจึงตัดสินใจเลือกซ้ือ
สําหรับอุปกรณ์ไฟฟูาท่ีซื้อจากร้านควรมีคู่มือการใช้แนบมาด้วย ผู้ใช้ควรอ่านให้เข้าใจและปฏิบัติตามคู่มือให้
ถูกต้อง จะทาํ ใหอ้ ายุการใชง้ านยาวนานและทาํ ใหป้ ระหยัดค่าไฟฟูาอีกดว้ ย

9. สอ่ื /แหล่งการเรยี นรู้
1. ภาพเคร่อื งใชไ้ ฟฟูาและอปุ กรณท์ ่ตี ดิ ต้งั อยู่ในห้องตา่ งๆ ภายในบ้าน
2. ใบงานสํารวจก่อนเรียน 11
3. ค่มู อื การสอน วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6
4. สอ่ื การเรยี นรู้ PowerPoint รายวชิ าพืน้ ฐาน วิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 6
5. แบบฝกึ ทกั ษะ รายวิชาพ้นื ฐาน วิทยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 6
6. หนังสือเรยี น รายวิชาพ้ืนฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 6


โรงเรยี นบา้ นเปาู

10. บนั ทึกหลังการจดั การเรยี นรู้
ความคดิ เห็น/ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

(ลงชอื่ )..............................................
(นายธนติ ย์ พระสุนิน)

ผอู้ ํานวยการโรงเรยี นเค็งใหญ่หนองงเู หลอื ม
รกั ษาการในตําแหนง่ ผอู้ าํ นวยการโรงเรียนบ้านเปูา

บนั ทึกหลังการสอน
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................

ปญั หา/อุปสรรค
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................

ขอ้ เสนอแนะ
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

(ลงชื่อ)..............................................
(นางสาววมิ ลรตั น์ ประทปี ะเสน)
ครูผู้ช่วย


โรงเรียนบ้านเปาู

แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่ี 32

รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ (ว16101) ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 6

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 4 ไฟฟาู เวลาเรียน 14 ช่วั โมง

เรื่อง ตัวนาํ ไฟฟูาและฉนวนไฟฟาู เวลาจาํ นวน 2 ชัว่ โมง

**********************************************************************************

1. สาระสาคัญ

ตัวนําไฟฟูาเป็นวัสดุท่ีกระแสไฟฟูาผ่านได้ เช่น ทองแดง เหล็ก สังกะสี และอะลูมิเนียม ใช้ทํา

สายไฟฟูาและทาํ ชิ้นสว่ นอปุ กรณไ์ ฟฟาู

ฉนวนไฟฟูาเป็นวัสดุท่ีกระแสไฟฟูาผ่านไม่ได้ เช่น ยาง พลาสติก ไม้ และกระเบ้ือง ใช้ทําช้ินส่วนท่ี

เปน็ ด้ามจับอุปกรณแ์ ละเครื่องใช้ไฟฟูา

2. ตวั ช้ีวดั ช้ันปี
ทดลองและอธบิ ายตัวนาํ ไฟฟูาและฉนวนไฟฟาู (ว 5.1 ป. 6/2)

3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
1. อธิบายความหมายของตวั นาํ ไฟฟาู ได้ (K)
2. สังเกตการนาํ ไฟฟาู ของวัสดุต่าง ๆ ได้ (K)
3. อธิบายความหมายของฉนวนไฟฟูาได้ (K)
4. ระบุวัสดทุ ่ีเป็นฉนวนไฟฟาู ได้ (K)
5. มคี วามสนใจใฝุรหู้ รืออยากรู้อยากเหน็ (A)
6. พอใจในประสบการณก์ ารเรียนร้ทู ีเ่ กี่ยวกับวิทยาศาสตร์ (A)
7. ทํางานร่วมกบั ผูอ้ ่ืนอยา่ งสร้างสรรค์ (A)
8. สอ่ื สารและนาํ ความรู้เรื่องตัวนาํ ไฟฟาู และฉนวนไฟฟาู ไปใชใ้ นชวี ิตประจําวนั ได้ (P)

4. การวัดและการประเมนิ ผลการเรยี นรู้

ดา้ นความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม และ ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P)
จิตวิทยาศาสตร์ (A)
1. ประเมินทกั ษะ/กระบวนการทาง
1. ซกั ถามความรู้เร่ืองตัวนาํ ไฟฟาู 1. ประเมนิ เจตคติทางวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์

และฉนวนไฟฟาู เปน็ รายบคุ คล 2. ประเมนิ ทกั ษะการคดิ
3. ประเมนิ ทกั ษะการแกป้ ญั หา
2. ประเมนิ กจิ กรรมฝกึ ทักษะ 2. ประเมินเจตคตติ ่อวทิ ยาศาสตร์ 4. ประเมินพฤติกรรมในการปฏบิ ตั ิ

ระหวา่ งเรียน เป็นรายบุคคล กิจกรรมเปน็ รายบคุ คล


โรงเรยี นบ้านเปูา

5. สาระการเรียนรู้
ตัวนาํ ไฟฟูาและฉนวนไฟฟูา

6. แนวทางการบูรณาการ

ภาษาไทย เขียนรายงานเร่ืองตวั นําไฟฟูาและฉนวนไฟฟูาจากการศึกษาค้นคว้าจาก

เอกสารท่ีเกย่ี วข้องและอินเทอร์เนต็

การงานอาชพี และเทคโนโลยี

นําหลักการเร่อื งตวั นําไฟฟูาและฉนวนไฟฟูาไปใชง้ านชา่ งไฟฟูา

ภาษาต่างประเทศ ฟงั พูด อา่ น และเขียนคาํ ศัพทภ์ าษาตา่ งประเทศเกย่ี วกบั ตัวนาํ ไฟฟูาและ

ฉนวนไฟฟูาที่ได้เรยี นร้หู รือที่นักเรยี นสนใจ

7. กระบวนการจดั การเรยี นรู้
ข้ันนาเข้าสูบ่ ทเรียน

1) ครูนําภาพการใช้ไฟฟูาท่ีทําให้มีคนถูกไฟฟูาดูดและไม่ถูกไฟฟูาดูด มาให้นักเรียนดู แล้วครูใช้
คําถามกระตุ้นดงั น้ี

- เพราะเหตใุ ดคนในภาพนจี้ งึ ถูกไฟฟูาดูด
- เพราะเหตุใดคนในภาพนี้จึงไม่ถูกไฟฟูาดดู
- การทไ่ี ฟฟูาจะดดู หรอื ไม่นั้น นักเรยี นคดิ ว่าข้นึ อยกู่ บั ส่งิ ใด
2) นักเรียนร่วมกันตอบคําถามและแสดงความคิดเห็นเกย่ี วกบั คําตอบของคาํ ถาม เพือ่ เชื่อมโยง
ไปสกู่ ารเรยี นรู้เรือ่ ง ตัวนําไฟฟูาและฉนวนไฟฟาู
ขั้นจัดกจิ กรรมการเรียนรู้
จดั กจิ กรรมการเรยี นร้โู ดยใชก้ ระบวนการสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับแบบกลับด้านช้ันเรียน ซ่ึงมีขั้นตอน
ดังน้ี
1) ขนั้ สร้างความสนใจ
(1) ครูให้นักเรียนนําใบงาน สํารวจก่อนเรียน 11 ที่ครูมอบหมายให้ไปเรียนรู้ล่วงหน้าท่ีบ้านมา
อภปิ รายร่วมกนั ในชน้ั เรียน
(2) ครูตรวจสอบว่านักเรียนทํากิจกรรมท่ีได้รับมอบหมายไปหรือไม่ โดยตรวจสอบจากการจดบันทึก
ของนักเรยี น และถามคาํ ถามเก่ียวกับกจิ กรรม ดงั นี้

- ตวั นําไฟฟูาและฉนวนไฟฟูามีสมบตั ิลักษณะใด (แนวคาํ ตอบ ตัวนาํ ไฟฟูายอมให้กระแสไฟฟูา
ไหลผ่าน ส่วนฉนวนไฟฟูาไมย่ อมใหก้ ระแสไฟฟูาไหลผ่าน)

- เพราะเหตุใดวัตถุจําพวกยางและพลาสติก จึงทําให้วงจรไฟฟูาไม่สมบูรณ์ (แนวคําตอบ
เพราะยางและพลาสติกเปน็ ฉนวนไฟฟูา จงึ ไม่ยอมให้กระแสไฟฟาู ไหลผ่าน)


โรงเรยี นบ้านเปาู

(3) ครูเปิดโอกาสให้นักเรยี นต้ังประเด็นคําถามที่นักเรียนสงสัยจากการทํากิจกรรมอย่างน้อยคนละ 1
คาํ ถาม ซึง่ ครูใหน้ ักเรียนเตรยี มมาล่วงหน้า และให้นักเรียนช่วยกนั ตอบและแสดงความคิดเห็น
(4) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเก่ียวกับกิจกรรม สํารวจก่อนเรียน 11 โดยครูช่วยอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า
ตวั นาํ ไฟฟูาเปน็ วัสดุทีก่ ระแสไฟฟูาผ่านได้ ฉนวนไฟฟาู เป็นวสั ดุท่ีกระแสไฟฟูาผา่ นไม่ได้
2) ขนั้ สารวจและคน้ หา

(1) ให้นักเรียนศึกษาตัวนําไฟฟูาและฉนวนไฟฟูาจากใบความรู้หรือในหนังสือเรียน โดยครูช่วย
อธิบายใหน้ ักเรียนไดเ้ ห็นวา่ ความร้เู รือ่ งทนี่ กั เรียนศึกษาน้ีเป็นสงิ่ ที่นักเรยี นได้เรยี นรมู้ าบ้างแลว้

(2) แบง่ นักเรยี นกลมุ่ ละ 5 - 6 คน ปฏบิ ตั กิ ิจกรรม สงั เกตทดสอบการนําไฟฟูา ตามข้ันตอน
ทางวทิ ยาศาสตร์ โดยใชท้ กั ษะ/กระบวนการสงั เกตดังน้ี

- นาํ ถ่านไฟฉายใส่ลงในกล่อง ตอ่ สายไฟฟาู กล่องถ่านไฟฉาย และหลอดไฟฟาู เขา้ ดว้ ยกนั
- ทดสอบวงจรท่ีทําข้ึนโดยนําปลายสายไฟฟูาทั้ง 2 เส้นสัมผัสกัน ถ้าหลอดไฟฟูาสว่าง แสดงว่า
วงจรไฟฟูาสมบรู ณ์หรอื เปน็ วงจรปิด จากนน้ั จงึ แยกสายไฟฟูาออกจากกัน
- นําไมจ้ ม้ิ ฟนั วางลงบนโตะ๊ เรยี น ทาํ นายว่า ไม้จ้ิมฟันจะทําให้วงจรสมบูรณ์ และทําให้หลอดไฟฟูา
สว่างหรือไม่ พร้อมทั้งเขียนผลการทํานายลงในตารางบันทึกผล จากน้ันนําปลายสายไฟฟูาทั้ง 2 เส้นสัมผัสกับ
ปลายของไม้จมิ้ ฟันทัง้ 2 ดา้ น สงั เกตผลที่เกดิ ขึ้นและบนั ทกึ ผลลงในตารางบันทึกผล
- ดําเนินการเช่นเดียวกับข้อ 3 แต่ใช้เงินเหรียญ หลอดพลาสติก ลวดเสียบกระดาษ ยางรัด
แผ่นกระดาษแขง็ อะลมู ิเนยี มฟอยล์ เศษผ้า ช้อนโลหะ และทองแดงจากปลายสายไฟฟาู
(3) นกั เรียนและครูรว่ มกันตรวจสอบความถูกตอ้ งของข้อมูลท่ไี ดจ้ ากใบกจิ กรรม
(4) ครูคอยแนะนําช่วยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบ ๆ ห้องเรียนและเปิด
โอกาสให้นักเรยี นทกุ คนซักถามเมอ่ื มีปัญหา
3) ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป
(1) นักเรยี นแต่ละกลมุ่ สง่ ตัวแทนกล่มุ นําเสนอขอ้ มูลจากการปฏิบตั ิกิจกรรมหน้าช้ันเรยี น
(2) นักเรยี นและครรู ว่ มกันอภิปรายและหาข้อสรปุ จากการปฏบิ ตั ิกิจกรรม โดยใช้แนวคําถามตอ่ ไปนี้
- เพราะเหตุใดวัตถุจําพวกโลหะจึงทําให้วงจรไฟฟูาสมบูรณ์ (แนวคําตอบ โลหะยอมให้
กระแสไฟฟูาไหลผา่ น)
- เพราะเหตุใดวัตถุจําพวกไม้ แผ่นกระดาษ และพลาสติกจึงทําให้วงจรไฟฟูาไม่สมบูรณ์ (แนว
คาํ ตอบ วตั ถจุ ําพวกไม้ แผน่ กระดาษ และพลาสตกิ ไมย่ อมใหก้ ระแสไฟฟูาไหลผ่าน)
- ผลสรุปของกจิ กรรมนคี้ อื อะไร (แนวคาํ ตอบ วตั ถุจาํ พวกโลหะทาํ ให้วงจรไฟฟูาสมบรู ณ)์
(3) นกั เรยี นและครรู ่วมกนั สรุปผลจากการปฏิบตั กิ ิจกรรม โดยให้ได้ขอ้ สรุปวา่ ตัวนาํ ไฟฟาู
เป็นวสั ดทุ ่ยี อมให้กระแสไฟฟูาผ่านได้ ส่วนฉนวนไฟฟาู เป็นวัสดทุ ไี่ มย่ อมให้กระแสไฟฟาู ไหลผ่าน


โรงเรยี นบา้ นเปาู

4) ขัน้ ขยายความรู้
(1) ให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับตัวนําไฟฟูาและฉนวนไฟฟูาจากหนังสือ วารสารเกี่ยวกับไฟฟูา

สารานกุ รมวทิ ยาศาสตร์ สารานกุ รมไทยสําหรบั เยาวชน และอินเทอร์เน็ต รวมทั้งนําข้อมูลท่ีค้นคว้าได้มาจัดทํา
เปน็ รายงาน หรือจดั ปูายนิเทศให้เพือ่ นๆ ได้ทราบเพ่ือแลกเปลีย่ นเรียนร้กู นั

(2) นักเรยี นค้นคว้ารายละเอียดและคําศพั ท์ภาษาตา่ งประเทศเกย่ี วกบั ตวั นาํ ไฟฟาู และฉนวน
ไฟฟาู จากหนังสือเรียนภาษาต่างประเทศหรืออินเทอรเ์ น็ต
5) ขน้ั ประเมิน

(1) ครูใหน้ กั เรยี นแต่ละคนพิจารณาว่าจากหวั ขอ้ ท่เี รียนมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจุดใดบ้างท่ียังไม่
เข้าใจหรอื ยังมีขอ้ สงสยั ถ้ามีครูช่วยอธิบายเพิม่ เติมให้นกั เรียนเขา้ ใจ

(2) นักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคใด และได้มีการแก้ไข
อยา่ งไรบา้ ง

(3) ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรมและ
การนาํ ความรูท้ ีไ่ ด้ไปใชป้ ระโยชน์

(4) ครทู ดสอบความเขา้ ใจของนกั เรยี นโดยการให้ตอบคาํ ถาม เช่น
- ตัวนาํ ไฟฟาู และฉนวนไฟฟาู แตกตา่ งกนั ในเรื่องใด
- ตัวนาํ ไฟฟูามคี วามสมั พนั ธ์กับการตอ่ เครื่องใช้ไฟฟูาในวงจรไฟฟูาในลักษณะใด
- สายไฟท่ใี ช้ในงานชา่ งไฟฟาู ปัจจุบนั นใ้ี ชส้ งิ่ ใดเปน็ ตวั นาํ ไฟฟูา เพราะอะไร

ขนั้ สรปุ
(1) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับตัวนําไฟฟูาและฉนวนไฟฟูา โดยร่วมกันเขียนเป็นแผนที่

ความคิดหรือผังมโนทัศน์
(2) ครูมอบหมายให้นักเรียนไปศึกษาค้นคว้าเนื้อหาของบทเรียนชั่วโมงหน้า เพ่ือจัดการเรียนรู้ครั้ง

ต่อไป โดยให้นกั เรยี นศกึ ษาคน้ ควา้ ล่วงหนา้ ในหวั ขอ้ แมเ่ หล็กไฟฟาู
(3) ครูให้นักเรียนเตรียมประเด็นคําถามท่ีสงสัยมาอย่างน้อยคนละ 1 คําถาม เพื่อนํามาอภิปราย

รว่ มกนั ในชัน้ เรยี นครั้งต่อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
1) นักเรียนสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับตัวนําไฟฟูาและฉนวนไฟฟูาจากหนังสือ วารสารเกี่ยวกับไฟฟูา

สารานุกรมวิทยาศาสตร์ สารานุกรมไทยสาํ หรับเยาวชน และอินเทอร์เน็ต รวมท้ังนําข้อมูลที่ค้นคว้าได้มาจัดทํา
เป็นรายงาน หรอื จดั ปาู ยนเิ ทศใหเ้ พ่อื นๆ ได้ทราบเพือ่ แลกเปลี่ยนเรียนรกู้ ัน

2) ครูให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา (STEM Education) จาก
สถานการณ์เร่ือง ไฟฉายฉุกเฉนิ โดยใช้แนวการสอนในคู่มือการสอน วิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 6


โรงเรียนบา้ นเปาู

9. สอ่ื /แหล่งการเรยี นรู้
1. ภาพการใชไ้ ฟฟูาทท่ี าํ ให้มีคนถูกไฟฟาู ดูดและไม่ถกู ไฟฟูาดดู
2. ใบงานสาํ รวจก่อนเรียน 11
3. ใบกิจกรรมท่ี 23 สงั เกตทดสอบการนาํ ไฟฟูา
4. คู่มือการสอน วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6
5. สอื่ การเรยี นรู้ PowerPoint รายวชิ าพืน้ ฐาน วิทยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 6
6. แบบฝึกทกั ษะ รายวิชาพ้นื ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 6

10. บนั ทึกหลงั การจดั การเรียนรู้
ความคิดเหน็ /ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................

(ลงชือ่ )..............................................
(นายธนิตย์ พระสุนิน)

ผอู้ าํ นวยการโรงเรยี นเค็งใหญห่ นองงูเหลือม
รักษาการในตาํ แหน่ง ผู้อํานวยการโรงเรียนบ้านเปูา
บันทึกหลังการสอน
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

ปัญหา/อปุ สรรค
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................

ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

(ลงช่อื )..............................................
(นางสาววิมลรัตน์ ประทีปะเสน)
ครูผู้ช่วย


โรงเรียนบา้ นเปาู

แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ 33

รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ (ว16101) ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 6

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 4 ไฟฟูา เวลาเรียน 14 ชว่ั โมง

เรื่อง แมเ่ หลก็ ไฟฟาู เวลาจํานวน 2 ชวั่ โมง

**********************************************************************************

1. สาระสาคญั

เมื่อให้กระแสไฟฟูาผ่านขดลวดจะเกิดสภาพแม่เหล็กรอบ ๆ ขดลวด ถ้านําแท่งเหล็กใส่ไว้ในขดลวด

จะทาํ ใหแ้ ทง่ เหล็กนั้นมีสภาพเป็นแม่เหล็ก แรงแม่เหล็กท่ีได้ขึ้นอยู่กับปริมาณกระแสไฟฟูาและจํานวนรอบของ

ขดลวดทพี่ นั รอบแกนเหลก็

2. ตัวชี้วัดชัน้ ปี
ทดลองและอธิบายการเกิดสนามแม่เหล็กรอบสายไฟที่มีกระแสไฟฟูาผ่าน และนําความรู้ไปใช้

ประโยชน์ (ว 5.1 ป. 6/5)

3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
1. อธบิ ายความหมายของสนามแม่เหลก็ ได้ (K)
2. สังเกตและอธิบายการทําแมเ่ หล็กไฟฟาู ได้ (K)
3. บอกความสัมพนั ธ์ระหว่างความแรงของแมเ่ หลก็ ไฟฟาู กับจํานวนรอบและขนาดของกระแสไฟฟาู

ได้ (K)
4. มีความสนใจใฝุร้หู รอื อยากรอู้ ยากเหน็ (A)
5. พอใจในประสบการณก์ ารเรยี นรู้ที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ (A)
6. ทํางานรว่ มกับผู้อื่นอยา่ งสร้างสรรค์ (A)
7. สื่อสารและนําความรเู้ ร่ืองแมเ่ หล็กไฟฟาู ไปใชใ้ นชีวติ ประจําวนั ได้ (P)

4. การวัดและการประเมินผลการเรยี นรู้

ด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม และ ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P)
จิตวทิ ยาศาสตร์ (A)
1. ประเมินทักษะ/กระบวนการทาง
1.ซักถามความรู้เรอ่ื งแม่เหลก็ ไฟฟูา 1. ประเมนิ เจตคตทิ างวทิ ยาศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์

2.ประเมนิ กิจกรรมฝึกทกั ษะระหวา่ ง เปน็ รายบคุ คล 2. ประเมนิ ทักษะการคิด
3. ประเมนิ ทกั ษะการแก้ปัญหา
เรยี น 2. ประเมนิ เจตคติตอ่ วิทยาศาสตร์ 4. ประเมินพฤตกิ รรมในการปฏบิ ตั ิ

เปน็ รายบคุ คล กจิ กรรมเป็นรายบุคคล


โรงเรยี นบ้านเปาู

5. สาระการเรยี นรู้
แมเ่ หลก็ ไฟฟูา

6. แนวทางการบูรณาการ เขยี นรายงานเรื่องแมเ่ หล็กไฟฟูาจากการศึกษาคน้ คว้าจากเอกสาร
ภาษาไทย ที่เกยี่ วข้องและอนิ เทอรเ์ นต็
ฟัง พดู อา่ น และเขยี นคําศัพท์ภาษาตา่ งประเทศเก่ยี วกบั
ภาษาต่างประเทศ แม่เหลก็ ไฟฟูาท่ีได้เรยี นร้หู รอื ท่นี กั เรียนสนใจ

7. กระบวนการจดั การเรียนรู้
ขั้นนาเขา้ สูบ่ ทเรียน

1) ครนู ําภาพป้นั จั่นท่มี ีเครื่องดดู เศษเหล็กตดิ บนกระดานใหน้ ักเรยี นดู แล้วใชค้ าํ ถามกระตุ้นดังนี้
- เพราะเหตใุ ดเครื่องมือนี้จึงดดู เศษเหล็กได้
- เมือ่ ต้องการปล่อยเศษเหล็กลงพื้นจะต้องทาํ อยา่ งไร

2) นักเรียนร่วมกันตอบคําถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคําตอบของคําถาม เพื่อเช่ือมโยงไปสู่
การเรยี นรเู้ รื่อง แมเ่ หลก็ ไฟฟาู
ขนั้ จัดกิจกรรมการเรยี นรู้

จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับแบบกลับด้านช้ันเรียน ซ่ึงมี
ขนั้ ตอนดังน้ี
1) ขน้ั สร้างความสนใจ

(1) ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนแล้วเปิดโอกาสให้นักเรียนในกลุ่มนําเสนอข้อมูลเกี่ยวกับแม่เหล็กไฟฟูา ที่ครู
มอบหมายให้ไปเรียนรู้ล่วงหน้าให้เพ่ือนๆ ในกลุ่มฟัง จากนั้นให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนมานําเสนอข้อมูลหน้า
หอ้ งเรียน

(2) ครตู รวจสอบวา่ นกั เรยี นทําภาระงานทีไ่ ด้รบั มอบหมายไปหรือไม่ โดยตรวจสอบจากการจดบันทึก
ของนกั เรยี น และถามคาํ ถามเก่ยี วกบั ภาระงาน ดงั น้ี

- แม่เหลก็ ไฟฟาู คืออะไร (แนวคําตอบ แมเ่ หล็กไฟฟูาคือการทําให้แท่งโลหะกลายเป็นแม่เหล็ก
ดว้ ยไฟฟาู )

- กระแสไฟฟูากับแรงแม่เหล็กไฟฟูามีความสัมพันธ์กันหรือไม่ อย่างไร (แนวคําตอบ มี
ความสัมพนั ธก์ นั คือ ถ้ากระแสไฟฟูามีคา่ มาก แรงแมเ่ หลก็ ไฟฟูากจ็ ะมีคา่ มากและถ้ากระแสไฟฟูามีค่าน้อย แรง
แม่เหล็กไฟฟูาก็จะมีคา่ นอ้ ย)

(3) ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนต้ังประเด็นคําถามท่ีนักเรียนสงสัยจากการทําภาระงานอย่างน้อยคนละ
1 คําถาม ซงึ่ ครูใหน้ ักเรยี นเตรยี มมาล่วงหนา้ และใหน้ ักเรยี นชว่ ยกนั ตอบและแสดงความคดิ เห็น


โรงเรียนบ้านเปาู

(4) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับภาระงาน โดยครูช่วยอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า ความแรง
ของแมเ่ หล็กไฟฟูาขึ้นอยกู่ ับจาํ นวนรอบของขดลวดและขนาดของกระแสไฟฟูา
2) ข้ันสารวจและคน้ หา

(1) ให้นักเรียนศึกษาแม่เหล็กไฟฟูาจากใบความรู้หรือในหนังสือเรียน โดยครูช่วยอธิบายให้นักเรียน
ได้เห็นวา่ ความรู้เรื่องทน่ี กั เรยี นศึกษาน้ี เปน็ สง่ิ ทนี่ ักเรียนไดเ้ รียนรมู้ าบา้ งแล้ว

(2) แบง่ กล่มุ นักเรยี นกลมุ่ ละ 5 - 6 คนปฏิบัติกิจกรรม สงั เกตการประดษิ ฐแ์ ม่เหล็กไฟฟูาตามขั้นตอน
ทางวทิ ยาศาสตร์ โดยใช้ทกั ษะ/กระบวนการสงั เกตดังนี้

- พนั สายไฟฟูารอบตะปูเกลยี ว โดยเรม่ิ ใช้สายไฟฟูาห่างจากหัวตะปูเกลียวพอสมควร และพัน
รอบตะปเู กลียวให้แน่นจากหวั ตะปูไปยงั ปลายแหลม

- วางเข็มทิศและลวดเสียบกระดาษบนโต๊ะให้ห่างกันพอสมควร จากนั้นจับตะปูเกลียวยื่นเข้า
ใกล้เข็มทิศ สังเกตผลท่ีเกดิ ขึน้ และบนั ทกึ ลงในตารางบนั ทกึ ผล

- จับตะปเู กลียวย่นื เขา้ ใกล้ลวดเสยี บกระดาษสงั เกตผลที่เกดิ ขน้ึ และบนั ทึกลงในตารางบันทึกผล
- ประกอบสายไฟฟาู ท้ัง 2 ข้างเข้ากบั กลอ่ งถา่ นไฟฉาย
- ดําเนินการเช่นเดียวกับขั้นตอนที่ 2 และ 3 บันทึกผลการสังเกต จากน้ันจึงปลดสายไฟฟูา
ออกจากกล่องถ่านไฟฉาย
(3) แบง่ นกั เรียนกลมุ่ ละ 5 - 6 คนปฏิบัติกจิ กรรม ทดลองแรงแมเ่ หลก็ ไฟฟูากบั จาํ นวนรอบ
ของขดลวด ตามข้นั ตอนทางวิทยาศาสตร์ดงั น้ี
ข้นั ที่ 1 กาํ หนดปัญหา
- จํานวนรอบของขดลวดสายไฟฟูาในแม่เหล็กไฟฟูามีผลต่อแรงแม่เหล็กของแม่เหล็กไฟฟูา
หรือไม่ เพราะอะไร
ข้ันที่ 2 สมมุติฐาน
- ถา้ เราเพมิ่ จาํ นวนรอบของขดสายไฟฟาู จะทาํ ใหแ้ รงของแม่เหล็กไฟฟาู มคี ่าเพมิ่ ขน้ึ
ข้ันที่ 3 ทดลอง
- จดั เตรยี มสายไฟฟูาเสน้ เล็กยาวประมาณ 50 เซนติเมตร ตะปูเกลยี วธรรมดา ถ่านไฟฉาย
และลวดเสยี บกระดาษท่ีเป็นเหล็ก
- พนั สายไฟฟาู รอบตะปูเกลยี วจํานวน 10 รอบ นําปลายทัง้ สองต่อเข้ากบั ถ่านไฟฉาย
- นําลวดเสียบกระดาษมาดัดเปน็ รปู ตะขอ ดังรูป


โรงเรยี นบา้ นเปาู

- ยกลวดเสียบกระดาษรูปตะขอให้ลอยสูงข้ึนด้วยหัวตะปูเกลียว นําลวดเสียบกระดาษใส่เข้า
ไปในตะขอทีละตัว จนกระท่ังลวดเสียบกระดาษรูปตะขอร่วงลงสู่พื้น นับจํานวนลวดเสียบกระดาษที่ใส่แล้ว
แม่เหลก็ ไฟฟาู สามารถดูดลวดเสียบกระดาษรูปตะขอลอยอยไู่ ด้ บันทกึ ผลท่ีเกดิ ข้นึ ลงในตารางบันทึกผล

- ปลดสายไฟฟูาออกจากถา่ นไฟฉายและเพิ่มจํานวนรอบของขดสายไฟฟูาเปน็ 20 รอบ
และ 30 รอบ ดาํ เนนิ การเชน่ เดียวกับข้อ 4 บันทึกผล

ข้ันท่ี 4 วิเคราะหผ์ ลการทดลอง
- แปลความหมายขอ้ มลู ทไี่ ดจ้ ากตารางบนั ทึกผลการทดลอง
- นําข้อมูลท่ีไดม้ าพจิ ารณา เพือ่ อธิบายว่าเป็นไปตามที่นักเรียนคาดคะเนไว้หรือไม่

ข้นั ที่ 5 สรุปผลการทดลอง
-นกั เรียนร่วมกันสรุปผลการทดลอง แล้วเขียนเปน็ รายงานสรุปผลการทดลองสง่ ครู

(4) ครูคอยแนะนําช่วยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบ ๆ ห้องเรียนและเปิด
โอกาสให้นกั เรียนทุกคนซกั ถามเมอ่ื มีปัญหา
3) ขน้ั อธิบายและลงข้อสรุป

(1) นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มสง่ ตัวแทนกลมุ่ นาํ เสนอขอ้ มลู จากการปฏิบัติกจิ กรรมหนา้ ชนั้ เรยี น
(2) นกั เรยี นและครูร่วมกันอภปิ รายและหาข้อสรุปจากการปฏบิ ตั ิกจิ กรรม โดยใชแ้ นวคาํ ถามตอ่ ไปนี้
กิจกรรม สังเกตการประดิษฐ์แมเ่ หล็กไฟฟาู
- แมเ่ หลก็ ไฟฟูาหมายถงึ อะไร (แนวคาํ ตอบ แมเ่ หล็กไฟฟูา คือ ขดสายไฟฟูาที่พันรอบตะปูเกลียว ซ่ึง
ต่อเป็นวงจรไฟฟูากับถ่านไฟฉาย ตะปูเกลียวจะกลายเป็นแม่เหล็กไฟฟูาได้เมื่อมีกระแสไฟฟูาไหลผ่านขดลวด
เทา่ นัน้ )
- เมื่อนําตะปูเกลียวท่ีพันด้วยสายไฟฟูาท่ีต่อกับถ่านไฟฉายเป็นวงจรไฟฟูาไปวางไว้ใกล้ๆ กับเข็มทิศ
แลว้ เขม็ ทศิ กระดิกไปมาได้ เน่ืองจากสาเหตุใด (แนวคําตอบ เขม็ ทศิ มีสภาพเป็นแมเ่ หล็กเชน่ เดยี วกนั

กิจกรรม ทดลองแรงแม่เหล็กไฟฟาู กบั จาํ นวนรอบของขดลวด
- สงิ่ ใดส่งผลต่อแรงของแม่เหล็กไฟฟูา (แนวคําตอบ จาํ นวนรอบของขดสายไฟฟูา)
- ผลสรุปของการทดลองน้ีคืออะไร (แนวคําตอบ แรงของแม่เหล็กไฟฟูาจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ

จาํ นวนรอบของขดสายไฟฟูา)
(3) นักเรยี นและครรู ว่ มกันสรปุ ผลจากการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมแต่ละกจิ กรรม

4) ขั้นขยายความรู้
(1) นักเรียนสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับแม่เหล็กไฟฟูาจากหนังสือ วารสารเก่ียวกับไฟฟูา สารานุกรม

วิทยาศาสตร์ สารานุกรมสําหรับเยาวชน และอินเทอร์เน็ต รวมทั้งนําข้อมูลท่ีค้นคว้าได้มาจัดทําเป็นรายงาน
หรอื จัดปาู ยนเิ ทศใหเ้ พื่อนๆ ไดท้ ราบเพ่ือแลกเปลี่ยนเรยี นรู้กัน


โรงเรียนบ้านเปาู

(2) นักเรียนค้นคว้ารายละเอียดและคําศัพท์ภาษาต่างประเทศเกี่ยวกับแม่เหล็กไฟฟูา จากหนังสือ
เรียนภาษาต่างประเทศหรอื อนิ เทอรเ์ น็ต
5) ขัน้ ประเมนิ

(1) ครใู หน้ กั เรยี นแต่ละคนพิจารณาว่าจากหัวข้อทีเ่ รยี นมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจุดใดบ้างที่ยังไม่
เข้าใจหรือยงั มขี อ้ สงสยั ถา้ มีครูช่วยอธบิ ายเพมิ่ เติมให้นักเรยี นเข้าใจ

(2) นักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคใด และได้มีการแก้ไข
อยา่ งไรบา้ ง

(3) ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับประโยชน์ท่ีได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรมและ
การนําความรู้ท่ไี ด้ไปใช้ประโยชน์

(4) ครูทดสอบความเข้าใจของนักเรยี นโดยการใหต้ อบคาํ ถาม เช่น
- แม่เหล็กไฟฟูาเกดิ จากสง่ิ ใด
- ความแรงของแม่เหล็กไฟฟูาขนึ้ อยู่กับสง่ิ ใด
- แรงของแม่เหล็กไฟฟูากับค่าของกระแสไฟฟาู มคี วามสัมพันธก์ นั หรือไม่ เพราะเหตุใด
- ความหนาของฉนวนสายไฟฟูามีผลต่อจํานวนรอบของสายไฟฟูาหรือไม่ เพราะอะไร
- เมือ่ เพิ่มจํานวนถา่ นไฟฉาย ปรากฏวา่ สิ่งใดเพ่ิมขึน้ บ้าง
- ถา้ นักเรยี นใช้ดินสอแทนตะปู ผลทเี่ กิดขนึ้ จะเปน็ เช่นเดียวกันหรือไม่ เพราะอะไร

ข้ันสรปุ
(1) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเก่ียวกับแม่เหล็กไฟฟูา โดยร่วมกันเขียนเป็นแผนท่ีความคิดหรือผัง

มโนทัศน์
(2) ครูมอบหมายให้นักเรียนไปศึกษาค้นคว้าเนื้อหาของบทเรียนชั่วโมงหน้า เพ่ือจัดการเรียนรู้ครั้ง

ต่อไป โดยให้นักเรยี นศกึ ษาค้นคว้าล่วงหนา้ ในหัวขอ้ การใช้แม่เหล็กไฟฟาู
(3) ครูให้นักเรียนเตรียมประเด็นคําถามท่ีสงสัยมาอย่างน้อยคนละ 1 คําถาม เพ่ือนํามาอภิปราย

รว่ มกนั ในช้นั เรียนคร้ังตอ่ ไป

8. กจิ กรรมเสนอแนะ
นักเรียนสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับแม่เหล็กไฟฟูาไฟฟูาจากหนังสือ วารสารเก่ียวกับไฟฟูา สารานุกรม

วิทยาศาสตร์ สารานกุ รมไทยสําหรับเยาวชน และอนิ เทอรเ์ น็ตรวม ท้ังนาํ ขอ้ มูลทค่ี น้ คว้าได้มาจัดทําเป็นรายงาน
จัดปูายนเิ ทศใหเ้ พ่อื นๆ ไดท้ ราบเพ่อื แลกเปลี่ยนเรยี นรกู้ นั

9. สอ่ื /แหลง่ การเรยี นรู้
1. ภาพปัน้ จ่นั ทีม่ เี ครื่องดูดเศษเหล็ก
2. ใบกจิ กรรมที่ 24 สงั เกตการประดิษฐ์แม่เหล็กไฟฟูา
3. ใบกจิ กรรมท่ี 25 ทดลองแรงแมเ่ หลก็ ไฟฟูากับจํานวนรอบของขดลวด


โรงเรยี นบา้ นเปาู

4. คมู่ ือการสอน วิทยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 6
5. สื่อการเรยี นรู้ PowerPoint รายวชิ าพ้ืนฐาน วิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6
6. แบบฝึกทกั ษะ รายวิชาพ้นื ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 6

10. บนั ทกึ หลังการจัดการเรยี นรู้
ความคดิ เห็น/ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

(ลงชอื่ )..............................................
(นายธนติ ย์ พระสนุ นิ )

ผ้อู าํ นวยการโรงเรยี นเค็งใหญ่หนองงเู หลือม
รกั ษาการในตาํ แหน่ง ผูอ้ าํ นวยการโรงเรียนบ้านเปูา

บันทึกหลังการสอน
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

ปัญหา/อปุ สรรค
..................................................................................................................................................... .........................
........................................................................................................ ......................................................................

ขอ้ เสนอแนะ
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

(ลงช่อื )..............................................
(นางสาววิมลรตั น์ ประทปี ะเสน)
ครผู ู้ช่วย


โรงเรียนบา้ นเปาู

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 34

รายวชิ าวิทยาศาสตร์ (ว16101) ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 6

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 4 ไฟฟูา เวลาเรียน 14 ชวั่ โมง

เรอ่ื ง การใชแ้ ม่เหล็กไฟฟูา เวลาจํานวน 2 ชั่วโมง

**********************************************************************************

1. สาระสาคัญ

สง่ิ ประดิษฐท์ ่ีใชห้ ลักการของแม่เหล็กไฟฟาู เชน่ กระด่ิงไฟฟูา หรอื ออดไฟฟูา ปัน้ จนั่ ยกของ

2. ตัวชี้วดั ชนั้ ปี
ทดลองและอธิบายการเกิดสนามแม่เหล็กรอบสายไฟที่มีกระแสไฟฟูาผ่าน และนําความรู้ไปใช้

ประโยชน์ (ว 5.1 ป. 6/5)

3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. ยกตวั อย่างการใช้ประโยชนจ์ ากแมเ่ หล็กไฟฟูาได้ (K)
2. มีความสนใจใฝุรู้หรอื อยากรอู้ ยากเห็น (A)
3. พอใจในประสบการณก์ ารเรยี นรูท้ ี่เก่ยี วกับวิทยาศาสตร์ (A)
4. ทาํ งานรว่ มกบั ผู้อ่ืนอยา่ งสร้างสรรค์ (A)
5. ส่อื สารและนาํ ความรเู้ รื่องการใช้แมเ่ หลก็ ไฟฟูาไปใชใ้ นชีวิตประจําวันได้ (P)

4. การวัดและการประเมนิ ผลการเรยี นรู้

ด้านความรู้ (K) ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม และ ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P)
จติ วทิ ยาศาสตร์ (A)
1. ประเมนิ ทักษะ/กระบวนการ
1. ซักถามความรู้เรื่องการใช้ 1. ประเมินเจตคติทาง ทางวทิ ยาศาสตร์

แม่เหล็กไฟฟาู วิทยาศาสตร์เป็นรายบคุ คล 2. ประเมนิ ทักษะการคิด
3. ประเมินทักษะการแกป้ ญั หา
2. ประเมนิ กิจกรรมฝึกทกั ษะ 2. ประเมินเจตคติต่อ 4. ประเมนิ พฤติกรรมในการ

ระหวา่ งเรยี น วทิ ยาศาสตรเ์ ปน็ รายบุคคล ปฏิบัตกิ ิจกรรมเปน็ รายบุคคล
หรอื รายกลุ่ม
3. ทดสอบหลังเรยี น

5. สาระการเรยี นรู้
การใช้แม่เหลก็ ไฟฟูา


โรงเรียนบ้านเปูา

6. แนวทางการบูรณาการ เขยี นรายงานเรื่องการใชป้ ระโยชนแ์ ม่เหลก็ ไฟฟาู จากการศกึ ษาค้นควา้ จาก
ภาษาไทย เอกสารที่เกีย่ วข้องและอนิ เทอร์เน็ต
ฟัง พูด อา่ น และเขียนคําศัพท์ภาษาต่างประเทศเก่ยี วกบั การใช้
ภาษาตา่ งประเทศ แมเ่ หล็กไฟฟูาที่ได้เรยี นรหู้ รือทนี่ กั เรยี นสนใจ

7. กระบวนการจดั การเรยี นรู้
ขนั้ นาเข้าสบู่ ทเรยี น

1) ครูถามคาํ ถามนักเรยี นเพ่ือกระตุน้ ความสนใจ เชน่
- แม่เหลก็ ไฟฟาู ถกู นํามาใช้ประโยชน์อะไรบา้ ง

2) นักเรียนร่วมกันตอบคําถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคําตอบของคําถาม เพ่ือเชื่อมโยงไปสู่
การเรยี นรู้เรอ่ื ง การใช้แมเ่ หล็กไฟฟาู
ข้นั จัดกิจกรรมการเรียนรู้

จัดกจิ กรรมการเรียนรโู้ ดยใชก้ ระบวนการสบื เสาะหาความรู้ร่วมกับแบบกลับด้านช้ันเรียน ซ่ึงมีขั้นตอน
ดงั น้ี
1) ข้ันสรา้ งความสนใจ

(1) ครูแบ่งกลุม่ นักเรยี นแล้วเปดิ โอกาสใหน้ ักเรียนในกลุ่มนําเสนอข้อมูลเกี่ยวกับการใช้แม่เหล็กไฟฟูา
ท่ีครมู อบหมายใหไ้ ปเรยี นรู้ลว่ งหนา้ ใหเ้ พื่อน ๆ ในกลุ่มฟัง จากนั้นให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนมานําเสนอข้อมูลหน้า
ห้องเรยี น

(2) ครตู รวจสอบว่านักเรียนทาํ ภาระงานทไี่ ด้รับมอบหมายไปหรือไม่ โดยตรวจสอบจากการจดบันทึก
ของนักเรยี น และถามคาํ ถามเกยี่ วกบั ภาระงาน ดงั น้ี

- อุปกรณ์ที่ใช้ประโยชน์จากแม่เหล็กไฟฟูามีอะไรบ้าง (แนวคําตอบ กระด่ิงไฟฟูาและเคร่ือง
แยกเศษเหลก็ )

- ยกตัวอย่างเคร่ืองใช้ไฟฟูาที่ใช้ประโยชน์จากแม่เหล็กไฟฟูา (แนวคําตอบ พัดลมและเครื่อง
ซักผ้า)

(3) ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนตั้งประเด็นคําถามท่ีนักเรียนสงสัยจากการทําภาระงานอย่างน้อยคนละ
1 คําถาม ซึ่งครใู หน้ กั เรยี นเตรียมมาล่วงหนา้ และให้นกั เรยี นชว่ ยกนั ตอบและแสดงความคดิ เหน็

(4) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับภาระงาน โดยครูช่วยอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า หลักการ
ของแมเ่ หลก็ ไฟฟูาสามารถนํามาประดิษฐ์สง่ิ ของเพ่ือใช้ในชวี ิตประจําวันได้
2) ขั้นสารวจและคน้ หา

(1) ให้นักเรียนศึกษาการใช้แม่เหล็กไฟฟูาจากใบความรู้และในหนังสือเรียน โดยครูช่วยอธิบายให้
นกั เรยี นไดเ้ หน็ ว่าความรูเ้ ร่ืองวงจรไฟฟูาอย่างงา่ ยทีน่ ักเรียนศึกษานี้ เป็นสิง่ ที่นกั เรยี นไดเ้ รยี นร้มู าบ้างแล้ว

(2) แบ่งนักเรยี นกลุม่ ละ 5 - 6 คน สบื ค้นข้อมลู เก่ยี วกบั การใช้แมเ่ หล็กไฟฟูา โดยดาํ เนินการ


โรงเรียนบา้ นเปูา

ตามขัน้ ตอนดังน้ี
- แตล่ ะกลมุ่ วางแผนการสืบค้นข้อมูล โดยแบ่งหัวข้อการใช้แม่เหล็กไฟฟูาเป็นหัวข้อย่อย เช่น

สง่ิ ประดษิ ฐ์ทีใ่ ช้หลักการของแมเ่ หลก็ ไฟฟาู การนาํ แม่เหล็กไฟฟูาไปใช้ในชีวิตประจําวัน ให้สมาชิก แต่ละกลุ่ม
ชว่ ยกนั สืบคน้ ตามหวั ข้อทีก่ าํ หนด

- สมาชิกแต่ละกลมุ่ ช่วยนักสบื ค้นข้อมูลตามหัวข้อที่กลุ่มของตนเองรับผิดชอบ โดยการสืบค้น
จากหนงั สือ วารสาร สารานกุ รมวทิ ยาศาสตร์ สารานุกรมไทยสาํ หรบั เยาวชน และอนิ เทอรเ์ นต็

- สมาชิกกลุ่มนําข้อมูลท่ีสืบค้นได้มารายงานให้เพื่อน ๆ สมาชิกในกลุ่มฟัง รวมท้ังร่วมกัน
อภิปรายซกั ถามจนคาดวา่ สมาชกิ ทุกคนมีความร้คู วามเขา้ ใจทีต่ รงกนั

- สมาชิกกลุ่มช่วยกันสรุปความร้ทู ่ไี ด้ทง้ั หมดเป็นผลงานของกลุ่ม
(3) ครูคอยแนะนําช่วยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบ ๆ ห้องเรียนและเปิด
โอกาสใหน้ ักเรยี นทุกคนซกั ถามเม่อื มีปัญหา
3) ขน้ั อธบิ ายและลงขอ้ สรปุ
(1) นกั เรียนแต่ละกลมุ่ ส่งตัวแทนกลุม่ นาํ เสนอขอ้ มูลจากการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมหน้าช้ันเรียน
(2) นกั เรยี นและครูร่วมกนั อภิปรายและหาข้อสรุปจากการปฏบิ ัติกิจกรรม โดยใช้แนวคาํ ถามต่อไปนี้

- ส่ิงประดษิ ฐท์ ม่ี ีสว่ นประกอบของแมเ่ หล็กไฟฟาู มีอะไรบ้าง (แนวคาํ ตอบ กระด่ิงไฟฟูา)
- การใชแ้ ม่เหล็กไฟฟูามีผลดีอะไรบา้ ง (แนวคําตอบ สามารถนําหลักการของแม่เหล็กไฟฟูามา
ประดิษฐ์ส่งิ ของตา่ งๆ ได)้
(3) นกั เรียนและครรู ่วมกนั สรปุ ผลจากการปฏบิ ตั ิกิจกรรม โดยให้ได้ขอ้ สรปุ วา่ หลักการ
ของแมเ่ หลก็ ไฟฟาู สามารถนาํ มาประดิษฐ์สิง่ ของเพื่อใชใ้ นชีวติ ประจําวันได้
4) ขนั้ ขยายความรู้
นักเรียนสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับการใช้แม่เหล็กไฟฟูาจากหนังสือ วารสารเก่ียวกับไฟฟูา สารานุกรม
วทิ ยาศาสตร์ สารานกุ รมไทยสําหรับเยาวชน และอินเทอรเ์ นต็ รวมทัง้ นําข้อมูลที่ค้นควา้ ได้มาจัดทําเป็นรายงาน
หรอื จัดปูายนิเทศใหเ้ พื่อนๆ ไดท้ ราบเพ่ือแลกเปล่ยี นเรยี นรูก้ ัน
5) ข้นั ประเมิน
(1) ครูให้นกั เรยี นแต่ละคนพจิ ารณาว่าจากหัวข้อทเ่ี รียนมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจุดใดบ้างท่ียังไม่
เข้าใจหรือยังมขี อ้ สงสยั ถา้ มคี รูช่วยอธบิ ายเพ่มิ เติมใหน้ กั เรยี นเขา้ ใจ
(2) นักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคใด และได้มีการแก้ไข
อยา่ งไรบ้าง
(3) ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับประโยชน์ท่ีได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรมและ
การนําความรู้ท่ีไดไ้ ปใช้ประโยชน์
(4) ครูทดสอบความเข้าใจของนกั เรียนโดยการใหต้ อบคาํ ถาม เชน่
- การสร้างสง่ิ ประดษิ ฐต์ ่างๆ ท่มี ีแมเ่ หล็กไฟฟาู เป็นส่วนประกอบจะใช้หลักการใด


โรงเรียนบ้านเปาู

- กระแสไฟฟาู กบั จํานวนรอบของขดลวดมคี วามสัมพนั ธ์กันในลกั ษณะใด
ข้ันสรุป

(1) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเก่ียวกับการใช้แม่เหล็กไฟฟูา โดยร่วมกันเขียนเป็นแผนที่ความคิด
หรือผงั มโนทศั น์

(2) ครูดําเนินการทดสอบหลังเรียน โดยให้นักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียนเพื่อวัดความก้าวหน้า/
ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 4 ของนักเรียน

(3) ครเู ชื่อมโยงเน้ือหาจากบทเรียนนก้ี ับบทเรียนชว่ั โมงหนา้ เพอื่ ให้นกั เรียนเตรียมความพร้อมในการ
เรยี นชั่วโมงตอ่ ไป โดยการใช้คําถามกระตนุ้ ดงั น้ี

- สิ่งประดิษฐ์ในบา้ นของนกั เรยี นชนดิ ใดบ้างที่ทํามาจากหิน (แนวคําตอบ สร้อยคอ โต๊ะ เก้าอ้ี
และครก)

(4) ครูมอบหมายให้นักเรียนไปศึกษาค้นคว้าเนื้อหาของบทเรียนชั่วโมงหน้า เพื่อจัดการเรียนรู้ครั้ง
ต่อไป โดยให้นกั เรยี นศกึ ษาคน้ ควา้ ล่วงหน้าในหวั ข้อความหมายและประเภทของหนิ

(5) ครูให้นักเรียนเตรียมประเด็นคําถามที่สงสัยมาอย่างน้อยคนละ 1 คําถาม เพื่อนํามาอภิปราย
รว่ มกนั ในชั้นเรยี นครง้ั ตอ่ ไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
นกั เรยี นสืบค้นขอ้ มูลเกย่ี วกบั แหลง่ กําเนดิ ไฟฟาู ทใ่ี ชป้ ระโยชน์จากแม่เหล็กไฟฟูา จากหนังสือวารสาร

เก่ียวกับไฟฟูา สารานุกรมวิทยาศาสตร์ สารานุกรมไทยสําหรับเยาวชน และอินเทอร์เน็ต รวมท้ังนําข้อมูลที่
คน้ ควา้ ไดม้ าจดั ทําเป็นรายงาน หรอื จดั ปูายนิเทศใหเ้ พื่อนๆ ได้ทราบเพ่ือแลกเปลย่ี นเรยี นร้กู ัน

9. สอ่ื /แหลง่ การเรียนรู้
1. แบบทดสอบหลงั เรียน
2. คู่มือการสอน วทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
3. สอ่ื การเรยี นรู้ PowerPoint รายวชิ าพ้ืนฐาน วิทยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 6
4. แบบฝกึ ทกั ษะ รายวชิ าพ้ืนฐาน วิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6
5. หนังสือเรยี น รายวิชาพื้นฐาน วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6


โรงเรยี นบา้ นเปูา

10. บนั ทึกหลังการจดั การเรียนรู้
ความคดิ เหน็ /ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

(ลงช่ือ)..............................................
(นายธนติ ย์ พระสุนนิ )

ผ้อู ํานวยการโรงเรยี นเค็งใหญ่หนองงเู หลือม
รกั ษาการในตาํ แหนง่ ผ้อู ํานวยการโรงเรียนบา้ นเปาู

บันทกึ หลังการสอน
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................................................................................................... ..........

ปญั หา/อปุ สรรค
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

ขอ้ เสนอแนะ
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

(ลงช่ือ)..............................................
(นางสาววมิ ลรัตน์ ประทปี ะเสน)
ครูผู้ช่วย


โรงเรยี นบา้ นเปาู

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 35

รายวิชาวิทยาศาสตร์ (ว16101) ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 6

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 5 หินบนผิวโลกและภายในโลก เวลาเรยี น 15 ช่ัวโมง

เร่อื ง ความหมายและประเภทของหนิ เวลาจํานวน 2 ชว่ั โมง

**********************************************************************************

1. สาระสาคัญ

หินเป็นสารแข็งที่รวมตัวกันอยู่เป็นเปลือกโลก อาจประกอบด้วยแร่ชนิดเดียวหรือหลายชนิด หิน

แบ่งเปน็ 3 ประเภท คอื หนิ อคั นี หินชน้ั หรือหนิ ตะกอน และหินแปร

2. ตัวชี้วัดชั้นปี
อธิบาย จําแนกประเภทของหิน โดยใช้ลักษณะของหิน สมบัติของหินเป็นเกณฑ์ และนําความรู้ไปใช้

ประโยชน์ (ว 6.1 ป. 6/1)

3. จุดประสงค์การเรยี นรู้
1. อธบิ ายความหมายของหินได้ (K)
2. จําแนกและจดั ประเภทของหนิ โดยระบุเกณฑ์ท่ีใช้จําแนกและยกตวั อย่างของหนิ ได้ (K)
3. มคี วามสนใจใฝุรู้หรอื อยากร้อู ยากเหน็ (A)
4. พอใจในประสบการณก์ ารเรียนร้ทู ี่เก่ยี วกบั วิทยาศาสตร์ (A)
5. ทาํ งานรว่ มกบั ผ้อู ่ืนอย่างสร้างสรรค์ (A)
6. สอื่ สารและนําความร้เู รื่องความหมายและประเภทของหินไปใชใ้ นชีวิตประจําวนั ได้ (P)

4. การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้

ด้านความรู้ (K) ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม และ ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P)
จติ วิทยาศาสตร์ (A)
1. ประเมนิ ทักษะ/กระบวนการ
1. ซกั ถามความรู้เร่ืองความหมาย 1. ประเมนิ เจตคตทิ าง ทางวิทยาศาสตร์

และประเภทของหนิ วิทยาศาสตร์เป็นรายบคุ คล 2. ประเมนิ ทักษะการคิด
3. ประเมนิ ทักษะการแกป้ ญั หา
2. ประเมนิ กิจกรรมฝึกทกั ษะ 2. ประเมินเจตคตติ อ่ วทิ ยาศาสตร์ 4. ประเมินพฤติกรรมในการปฏบิ ัติ

ระหว่างเรยี น เป็นรายบคุ คล กิจกรรมเปน็ รายบุคคลหรือราย
กลมุ่
3. ทดสอบก่อนเรียน


โรงเรียนบ้านเปูา

5. สาระการเรียนรู้
ความหมายและประเภทของหนิ

6. แนวทางการบรู ณาการ สนทนา พูดคยุ หรือเลา่ ประสบการณ์ และเขียนรายงานเรื่องความหมาย
ภาษาไทย และประเภทของหิน จากการศึกษาค้นควา้ จากเอกสารที่เก่ียวข้องและ
อินเทอรเ์ นต็
ศลิ ปะ ตกแตง่ และระบายสภี าพวาดกระบวนการเกิดหินตามจินตนาการของ
นักเรียนให้สวยงาม จดั ปูายนิเทศแสดงผลงานเกย่ี วกบั กระบวนการเกิดหนิ
ภาษาตา่ งประเทศ จากการศึกษาคน้ ควา้ จากเอกสารที่เก่ียวขอ้ งและอนิ เทอร์เน็ต
ฟงั พดู อ่าน และเขียนคําศพั ทภ์ าษาตา่ งประเทศเกี่ยวกับความหมายและ
ประเภทของหินที่เรยี นร้หู รือท่นี กั เรยี นสนใจ

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ครดู ําเนินการทดสอบกอ่ นเรยี น โดยใหน้ กั เรยี นทาํ แบบทดสอบก่อนเรียน เพ่ือตรวจสอบความพร้อม

และพื้นฐานของนักเรยี น
ข้ันนาเขา้ สู่บทเรียน

1) ครถู ามคาํ ถามนักเรยี นเพ่ือกระตุน้ ความสนใจ เชน่
- โลกประกอบดว้ ยอะไรบ้าง สว่ นประกอบใดมีปริมาณมากทส่ี ดุ
- เปลอื กโลกมสี ง่ิ ใดเป็นสว่ นประกอบมากที่สดุ

2) นักเรียนร่วมกันอภิปรายหาคําตอบของคําถาม เพื่อเช่ือมโยงไปสู่การเรียนรู้เรื่อง ความหมายและ
ประเภทของหนิ
ขน้ั จัดกจิ กรรมการเรยี นรู้

จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับแบบกลับด้านชั้นเรียน ซ่ึงมี
ขน้ั ตอนดงั นี้
1) ขนั้ สรา้ งความสนใจ

(1) ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนแล้วเปิดโอกาสให้นักเรียนในกลุ่มนําเสนอข้อมูลเกี่ยวกับความหมายและ
ประเภทของหิน ท่ีครูมอบหมายให้ไปเรียนรู้ล่วงหน้าให้เพื่อน ๆ ในกลุ่มฟัง จากน้ันให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนมา
นําเสนอข้อมลู หน้าหอ้ งเรยี น

(2) ครตู รวจสอบว่านักเรยี นทาํ ภาระงานท่ีไดร้ บั มอบหมายไปหรือไม่ โดยตรวจสอบจากการจดบันทึก
ของนกั เรียน และถามคําถามเกย่ี วกบั ภาระงาน ดงั นี้

- นักธรณีวิทยาจําแนกหินเป็นก่ีประเภท อะไรบ้าง (แนวคําตอบ 3 ประเภท ได้แก่ หินอัคนี
หินตะกอน และหนิ แปร)


โรงเรียนบา้ นเปาู

- เมือ่ หนิ หลอมเหลวเย็นตวั ลงจะเกิดเป็นหนิ ประเภทใด (แนวคาํ ตอบ หนิ อคั นี)

(3) ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนตั้งประเด็นคําถามท่ีนักเรียนสงสัยจากการทําภาระงานอย่างน้อยคนละ

1 คาํ ถาม ซ่งึ ครูใหน้ กั เรียนเตรียมมาลว่ งหน้า และใหน้ กั เรียนช่วยกนั ตอบและแสดงความคดิ เหน็

(4) ครแู ละนกั เรียนร่วมกนั สรุปเกี่ยวกับภาระงาน โดยครูช่วยอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า หินเป็นสาร

แข็งท่ีรวมตัวกันเป็นเปลือกโลก อาจประกอบด้วยแร่ชนิดเดียวหรือหลายชนิด หินแบ่งเป็น 3 ประเภท คือ หิน

อคั นี หินตะกอน และหินแปร

2) ขนั้ สารวจและค้นหา

(1) นักเรียนศึกษาความหมายและประเภทของหินจากใบความรู้หรือในหนังสือเรียนโดยครูช่วย

เชื่อมโยงความร้ใู หม่จากบทเรียนกับความรู้เดิมท่ีเรียนร้มู าแล้ว ดว้ ยการใช้คําถามนํากระตุ้นให้นักเรียนตอบจาก

ความร้แู ละประสบการณข์ องนกั เรยี น

(2) แบง่ นกั เรียนกลุม่ ละ 4 - 5 คน ปฏบิ ัตกิ ิจกรรม สํารวจลกั ษณะของหิน ตามขั้นตอน

ทางวิทยาศาสตร์ โดยใช้ทักษะ/กระบวนการสังเกตดงั น้ี

- แต่ละกลุ่มวางแผนเก็บหินท่ีมีขนาดใกล้เคียงกันในบริเวณโรงเรียน 4 - 5 ก้อน หรือใช้หินที่

นกั เรยี นเตรยี มมา

- ช่วยกันสังเกตหินอย่างละเอียดด้วยสายตา และชั่งมวลหิน จากนั้นคิดวิธีท่ีจะจัดหินเป็น

กล่มุ ๆ จดั ประเภทหนิ ตามเกณฑก์ ารจดั กลุ่มของนักเรียน บนั ทกึ ลักษณะตา่ งๆ ของหิน

- เลือกหิน 1 ก้อน แล้วสังเกตอย่างละเอียดด้วยแว่นขยาย หินที่เลือกนี้มีสิ่งใดบ้างท่ีเหมือน

หรือแตกต่างจากก้อนอื่น ๆ ในกลุ่ม แล้วนําไปเปรียบเทียบกับหินตัวอย่างของครูว่ามีลักษณะใดที่เหมือนหรือ

แตกตา่ งบา้ ง บนั ทกึ การสังเกตลงในตารางบนั ทกึ ผล

- อธบิ ายสือ่ ความหมายโดยการแลกเปล่ียนข้อมูลในตารางบันทึกผลกับเพื่อนๆ ในกลุ่มอื่น ให้

เพอ่ื นหยบิ หินออกมาตามท่ีนักเรียนได้อธิบายให้ฟัง จากน้ันนักเรียนเลือกหยิบหินออกมาตามที่เพื่อนได้อธิบาย

ใหฟ้ งั

(3) แบ่งนักเรียนกลุ่มละ 5 - 6 คน ปฏิบัติกิจกรรม สังเกตแยกประเภทของหิน ตามข้ันตอนทาง

วิทยาศาสตร์ โดยใชท้ ักษะ/กระบวนการสงั เกตดงั นี้

- สรา้ งตารางเพอื่ ใช้บันทกึ ขอ้ มลู การสังเกตของนกั เรียน ดงั น้ี

คณุ สมบตั ิ หินลําดบั ที่

สอี อ่ น

สแี ก่

ผลึกมองเหน็ ได้

ไม่เปน็ ผลึก

ไมม่ แี ร่ต่างชนดิ กนั ตามท่ีเห็น

มแี รต่ ่างชนดิ กนั ตามทีเ่ ห็น


Click to View FlipBook Version