The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ ป.6

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by PP, 2022-12-13 12:20:35

แผนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ ป.6

แผนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ ป.6

โรงเรียนบา้ นเปูา

- ตดั กระดาษเปน็ ชนิ้ เล็ก ๆ และเขยี นตวั เลข 1 ถึง 7 ติดตัวเลขแปะกับหนิ แต่ละก้อน
- วางหินท้ังหมดบนโต๊ะ สังเกตหินแต่ละก้อนแล้วแยกประเภทหินเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มท่ีมีสีอ่อน
และกลมุ่ ทม่ี สี แี ก่ ดังรูป บันทกึ หมายเลขของหินแตล่ ะกลุ่มลงในตารางขอ้ มลู
- นําหินท้ังหมดมากองรวมกัน สังเกตหินแต่ละก้อนโดยใช้แว่นขยาย ดังรูป แยกหินที่มีผลึกแร่
มองเห็นได้ หรือพ้ืนผิวแบน ส่องประกายไว้กลุ่มหนึ่ง และท่ีไม่มีผลึกแร่ไปไว้อีกกลุ่มหนึ่ง บันทึกว่าหินก้อนใดมี
ผลึกมองเหน็ ไดแ้ ละกอ้ นใดไม่มี
- นาํ หินท้งั หมดมากองรวมกนั อกี ครั้ง สังเกตหินแตล่ ะก้อนด้วยแว่นขยาย แยกหนิ เปน็ 2 กลุ่ม คอื
กลุ่มท่ีมีแร่ตา่ งชนิดกนั ตามท่ีมองเหน็ มากกวา่ 1 อย่าง (สีมากกวา่ 1 ส)ี และกลุ่มท่ีไมม่ ีแร่ต่างชนิดกนั ตามที่
มองเหน็ (มีสเี ดียวเท่าน้นั ) บนั ทกึ ข้อมลู ท่ีสังเกตได้
- นํากลุ่มของหินท่ีไม่มีแร่ต่างชนิดกันตามท่ีมองเห็นมาแยกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่มีผลึกมองเห็น
ได้และกลุม่ ที่ไม่มีผลกึ บันทึกขอ้ มลู ท่สี งั เกตได้
(4) นกั เรียนและครูร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลท่ีไดจ้ ากใบกิจกรรม
(5) ครูคอยแนะนําช่วยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบ ๆ ห้องเรียนและเปิด
โอกาสใหน้ กั เรยี นทุกคนซักถามเมื่อมีปัญหา
3) ขน้ั อธบิ ายและลงข้อสรปุ
(1) นกั เรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนกลุ่มนําเสนอข้อมลู จากการปฏิบัติกจิ กรรม
(2) นกั เรยี นและครูร่วมกนั อภิปรายและหาข้อสรปุ จากการปฏิบัติกิจกรรม โดยใชแ้ นวคาํ ถามต่อไปน้ี

กิจกรรมสํารวจลักษณะของหิน
- นกั เรียนสามารถแบ่งกลมุ่ หินเปน็ กก่ี ลุ่ม อะไรบา้ ง (แนวคําตอบ แบง่ หินเปน็ 6 กล่มุ คือ หินทม่ี ีสี

เข้ม หินทมี่ ีสีอ่อน หินท่ีมเี นื้อหยาบ หินท่ีมีเนือ้ ละเอียด หินทมี่ ีมวลมาก และหินที่มมี วลน้อย)
- เกณฑท์ ่ีนักเรียนใช้แบ่งกล่มุ หินคืออะไร เพราะเหตใุ ดจึงใช้เกณฑ์ดังกลา่ วนี้ (แนวคําตอบ นกั เรยี น

อาจแบ่งกลุ่มหินโดยใช้เกณฑ์จากลักษณะของหินทีส่ งั เกตได้ เชน่ แบง่ กล่มุ ตามสี เนื้อหนิ และมวล)
- ตัวอย่างหนิ ท้งั หมดเหมอื นหรอื แตกตา่ งจากตวั อย่างหินที่ครูนํามาให้ดูอยา่ งไร (แนวคําตอบ

แตกตา่ งกนั มีสแี ละเนื้อหินที่แตกตา่ งกัน)

กิจกรรมสังเกตแยกประเภทของหิน
- ตัวอย่างหนิ ทง้ั หมดเป็นหนิ ชนดิ เดยี วกันหรือไม่ เพราะอะไร (แนวคําตอบ ไม่ เพราะมีส่วนประกอบ

ท่ีแตกต่างกัน จัดเป็น 5 กลุ่ม ตามสี ลักษณะของผลึก แร่ท่ีเป็นส่วนประกอบ ผลึกของแร่ที่เป็นส่วนประกอบ
และเน้อื หนิ เปน็ ชน้ั )

- ข้อมูลในตารางให้ความรู้อะไรเกี่ยวกับหินบ้าง (แนวคําตอบ ข้อมูลในตารางใช้เป็นเกณฑ์ในการ
แบง่ กลมุ่ หรอื จาํ แนกประเภทของหนิ ได)้

(3) นกั เรยี นและครรู ว่ มกนั สรุปผลการปฏบิ ตั ิกิจกรรม โดยเนน้ ให้นกั เรียนเข้าใจว่า หินแต่ละ


โรงเรยี นบ้านเปาู

ประเภทมีลักษณะท่แี ตกตา่ งกนั ในเรื่องใดบ้าง หนิ แตล่ ะประเภทมสี ิ่งใดเปน็ องค์ประกอบบ้าง รวมทั้งให้
ความรู้เร่อื งวัฏจักรของหนิ จากการดแู ผนภาพวฏั จักรของหิน

(4) นักเรยี นร่วมกันเขยี นแผนทค่ี วามคิดเก่ียวกบั ประเภทของหิน
4) ข้นั ขยายความรู้

(1) นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับการจําแนกหินของนักธรณีวิทยา และ วัฏจักร
ของหินจากใบความรู้ท่ีครูจัดเตรียมไว้หรือจากหนังสือ วารสารทางธรณีวิทยา สารานุกรมวิทยาศาสตร์
สารานุกรมไทยสาํ หรับเยาวชน และอินเทอร์เน็ต รวมทั้งนําข้อมูลท่ีค้นคว้าได้มาจัดทําเป็นรายงาน หรือจัดปูาย
นิเทศใหเ้ พ่อื น ๆ ไดท้ ราบเพอื่ แลกเปล่ยี นเรียนรู้กนั

(2) นักเรียนค้นคว้ารายละเอียดและคําศัพท์ภาษาต่างประเทศเก่ียวกับความหมายและประเภทของ
หนิ จากหนงั สอื เรียนภาษาต่างประเทศหรอื อินเทอรเ์ นต็
5) ขนั้ ประเมนิ

(1) ครใู ห้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่าจากหัวข้อท่เี รียนมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจุดใดบ้างที่ยังไม่
เขา้ ใจหรอื ยงั มขี ้อสงสยั ถ้ามีครชู ว่ ยอธบิ ายเพิ่มเติมให้นักเรียนเข้าใจ

(2) นักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคใด และได้มีการแก้ไข
อยา่ งไรบ้าง

(3) ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรมและ
การนําความร้ทู ไี่ ด้ไปใช้ประโยชน์

(4) ครทู ดสอบความเขา้ ใจของนกั เรยี นโดยการให้ตอบคําถาม เชน่
- นกั ธรณีวิทยาแบง่ หินเป็นก่ีประเภท
- หนิ อคั นี หนิ ตะกอนหรือหินชนั้ และหนิ แปรแตกต่างกนั ในเร่ืองใดบ้าง
- วัฏจักรของหนิ เปน็ อยา่ งไร

ขั้นสรุป
(1) ครูและนกั เรียนร่วมกันสรุปเก่ียวกับความหมายและประเภทของหิน โดยร่วมกันเขียนเป็นแผนที่

ความคิดหรอื ผงั มโนทศั น์
(2) ครูมอบหมายให้นักเรียนไปศึกษาค้นคว้าเน้ือหาของบทเรียนชั่วโมงหน้า เพ่ือจัดการเรียนรู้ครั้ง

ต่อไป โดยใหน้ กั เรยี นศึกษาค้นคว้าล่วงหน้าในหัวข้อประโยชน์ของหิน โดยใช้ใบงาน สํารวจก่อนเรียน 12 ที่ครู
จดั เตรยี มไว้ใหป้ ระกอบการศึกษาค้นควา้ (ในสื่อการเรียนรู้ PowerPoint วทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 6 )

(3) ครอู ธิบายข้นั ตอนการปฏบิ ตั ิกิจกรรมและมอบหมายให้นกั เรยี นไปปฏิบัติกจิ กรรมท่ีบ้าน พร้อมท้ัง
ให้นกั เรียนเตรยี มประเด็นคาํ ถามทีส่ งสยั มาอย่างนอ้ ยคนละ 1 คําถาม เพอื่ นํามาอภปิ รายร่วมกันในชั้นเรียนคร้ัง
ต่อไป


โรงเรียนบา้ นเปูา

8. กิจกรรมเสนอแนะ
เม่ือนักเรียนได้เดินทางไปยังสถานที่ต่างๆ ได้พบเห็นหินต่างๆ ก็ให้ลองสังเกตหินท่ีพบว่า จัดอยู่ใน

ประเภทใด บรเิ วณทีพ่ บมีลักษณะภูมิประเทศเป็นอยา่ งไร

9. สอ่ื /แหล่งการเรยี นรู้
1. แบบทดสอบก่อนเรยี น
2. ใบกิจกรรมท่ี 26 สาํ รวจลกั ษณะของหนิ
3. ใบกจิ กรรมท่ี 27 สงั เกตแยกประเภทของหิน
4. ใบงานสํารวจก่อนเรียน 12
5. คมู่ อื การสอน วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 6
6. สือ่ การเรยี นรู้ PowerPoint รายวชิ าพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6
7. แบบฝกึ ทักษะ รายวชิ าพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 6
8. หนงั สอื เรียน รายวชิ าพ้นื ฐาน วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6


โรงเรียนบา้ นเปาู

10. บันทกึ หลงั การจัดการเรยี นรู้
ความคดิ เหน็ /ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

(ลงชื่อ)..............................................
(นายธนิตย์ พระสุนนิ )

ผ้อู ํานวยการโรงเรยี นเค็งใหญห่ นองงูเหลือม
รกั ษาการในตาํ แหน่ง ผอู้ ํานวยการโรงเรียนบ้านเปาู

บันทึกหลังการสอน
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

ปญั หา/อุปสรรค
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................

ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................

(ลงชอ่ื )..............................................
(นางสาววมิ ลรตั น์ ประทปี ะเสน)
ครูผู้ช่วย


โรงเรียนบา้ นเปูา

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 36

รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ (ว16101) ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 6

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 5 หินบนผวิ โลกและภายในโลก เวลาเรยี น 15 ช่วั โมง

เร่อื ง ประโยชนข์ องหนิ เวลาจํานวน 2 ชวั่ โมง

**********************************************************************************

1. สาระสาคญั

หินทุกประเภทมีประโยชน์ต่อการดํารงชีวิตของมนุษย์ การเลือกหินไปใช้ประโยชน์จึงต้องเลือกให้

เหมาะสมกับการใช้งาน เช่น หินท่ีมีความแข็งแรงทนทานนําไปใช้ในการก่อสร้างต่างๆ รวมท้ังทําเป็นเคร่ืองใช้

หนิ ท่ีมสี ีสวยนยิ มนําไปใชเ้ ป็นเครื่องประดับ

2. ตวั ช้ีวดั ชนั้ ปี
อธิบาย จําแนกประเภทของหิน โดยใชล้ ักษณะของหิน สมบัตขิ องหินเปน็ เกณฑ์ และนําความรู้

ไปใช้ประโยชน์ (ว 6.1 ป. 6/1)

3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. อธิบายประโยชนข์ องหินได้ (K)
2. มีความสนใจใฝุร้หู รืออยากรู้อยากเห็น (A)
3. พอใจในประสบการณก์ ารเรียนรทู้ เี่ กีย่ วกบั วิทยาศาสตร์ (A)
4. ทาํ งานรว่ มกับผูอ้ ่นื อยา่ งสร้างสรรค์ (A)
5. สอ่ื สารและนําความรูเ้ รื่องประโยชนข์ องหินไปใช้ในชวี ิตประจําวันได้ (P)

4. การวัดและการประเมินผลการเรยี นรู้

ด้านความรู้ (K) ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม และ ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P)
จิตวิทยาศาสตร์ (A)
1. ประเมินทักษะ/กระบวนการ
1. ซักถามความรู้เร่ืองประโยชน์ 1. ประเมนิ เจตคติทาง ทางวิทยาศาสตร์

ของหิน วิทยาศาสตรเ์ ปน็ รายบุคคล 2. ประเมนิ ทักษะการคิด
3. ประเมินทักษะการแก้ปัญหา
2. ประเมนิ กิจกรรมฝกึ ทกั ษะ 2. ประเมินเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ 4. ประเมนิ พฤติกรรมในการ

ระหวา่ งเรยี น เป็นรายบคุ คล ปฏบิ ัติกจิ กรรมเปน็ รายบุคคล
หรอื รายกลุ่ม


โรงเรยี นบา้ นเปูา

5. สาระการเรยี นรู้
ประโยชน์ของหิน

6. แนวทางการบูรณาการ

ภาษาไทย สนทนา พูดคยุ หรือเลา่ ประสบการณแ์ ละเขยี นรายงานเรื่องประโยชน์

ของหินจากการศกึ ษาค้นควา้ จากเอกสารท่ีเกี่ยวข้องและอินเทอร์เน็ต

ศิลปะ ตกแตง่ และระบายสีภาพวาดประโยชนข์ องหนิ ตามจนิ ตนาการ

ประสบการณ์ของนกั เรียนให้สวยงามจัดปูายนเิ ทศแสดงผลงานเกี่ยวกับ

ประโยชน์ของหินจากการศึกษาค้นคว้าจากเอกสารทีเ่ กย่ี วข้องและ

อนิ เทอรเ์ นต็

สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

สนทนา พูดคยุ เกย่ี วกบั ปราสาทนครวัดในประเทศกมั พชู าท่ีสรา้ งจากหิน

ทรายและศลิ าแลง ซงึ่ จดั อยู่ในกล่มุ ของหนิ ตะกอน

ภาษาต่างประเทศ ฟัง พูด อา่ น และเขียนคาํ ศพั ท์ภาษาตา่ งประเทศเก่ยี วกบั ประโยชนข์ องหนิ

ทเ่ี รียนรูห้ รอื ทีน่ ักเรียนสนใจ

7. กระบวนการจดั การเรยี นรู้
ขัน้ นาเข้าส่บู ทเรียน

1) ครูถามคําถามนักเรยี น เพื่อกระตนุ้ ความสนใจ เชน่
- หนิ เกิดขน้ึ ได้อยา่ งไร
- หินแบ่งเปน็ ก่ีประเภท
- หนิ แต่ละประเภทมีลักษณะเดน่ อะไรบ้าง
- วัฏจกั รของหินหมายถงึ อะไร เกิดขน้ึ ได้อยา่ งไร

2) ครูร่วมสนทนากับนักเรียนเก่ียวกับคําตอบที่นักเรียนตอบ เพื่อเช่ือมโยงไปสู่การเรียนรู้เรื่อง
ประโยชน์ของหิน
ขนั้ จดั กจิ กรรมการเรียนรู้

จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับแบบกลับด้านช้ันเรียน ซึ่งมี
ขน้ั ตอนดงั น้ี
1) ขน้ั สร้างความสนใจ

(1) ครูให้นักเรียนนําใบงาน สํารวจก่อนเรียน 12 ที่ครูมอบหมายให้ไปเรียนรู้ล่วงหน้าที่บ้านมา
อภิปรายรว่ มกันในชน้ั เรยี น

(2) ครูตรวจสอบว่านักเรียนทํากิจกรรมท่ีได้รับมอบหมายไปหรือไม่ โดยตรวจสอบจากการจดบันทึก
ของนกั เรียน และถามคําถามเก่ียวกบั กจิ กรรม ดงั นี้


โรงเรยี นบ้านเปาู

- การเลอื กใช้งานหนิ ประเภทตา่ งๆ พิจารณาจากเกณฑใ์ ด (แนวคาํ ตอบ ลกั ษณะของหิน)
- หินตะกอนใชท้ ําอะไรได้บา้ ง (แนวคาํ ตอบ ใชท้ าํ ถนนและทลี่ ับมดี )
(3) ครเู ปิดโอกาสให้นักเรียนตั้งประเด็นคําถามท่ีนักเรียนสงสัยจากการทํากิจกรรมอย่างน้อยคนละ 1
คาํ ถาม ซึ่งครใู ห้นกั เรียนเตรียมมาล่วงหนา้ และใหน้ กั เรียนช่วยกนั ตอบและแสดงความคดิ เหน็
(4) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับกิจกรรม สํารวจก่อนเรียน 12 โดยครูช่วยอธิบายให้นักเรียน
เข้าใจวา่ หนิ แต่ละประเภทมีลักษณะแตกต่างกันการเลือกหินไปใช้ประโยชน์จึงต้องเลือกให้เหมาะสมกับการใช้
งาน
2) ขนั้ สารวจและค้นหา
(1) ให้นกั เรียนศกึ ษาประโยชน์ของหินจากใบความรู้หรือในหนังสือเรียน โดยครูช่วยเชื่อมโยงความรู้
ใหม่จากบทเรียนกับความรู้เดิมที่เรียนรู้มาแล้ว ด้วยการใช้คําถามนํากระตุ้นให้นักเรียนตอบจากความรู้และ
ประสบการณข์ องนักเรียน
(2) แบ่งนกั เรยี นเปน็ กลุม่ สืบค้นข้อมลู เกยี่ วกับประโยชนข์ องหิน โดยดําเนนิ การตามข้นั ตอนดงั น้ี
- แต่ละกลุ่มวางแผนการสืบค้นข้อมูล โดยแบ่งหัวข้อย่อยให้เพ่ือนสมาชิกช่วยกันสืบค้นตามท่ี
สมาชิกกลุม่ ช่วยกนั กําหนดหวั ข้อยอ่ ย เชน่ การก่อสร้าง เครื่องใช้ และอาวุธ
- สมาชิกกลุ่มแต่ละคนหรือกลุ่มย่อยช่วยกันสืบค้นข้อมูลตามหัวข้อย่อยท่ีตนเองรับผิดชอบ
โดยการสืบคน้ จากใบความรู้ท่ีครูเตรียมมาให้ หรือจากหนังสือ วารสารทางธรณีวิทยา สารานุกรมวิทยาศาสตร์
สารานุกรมไทยสําหรบั เยาวชน และอนิ เทอร์เนต็
- สมาชิกกลุ่มนําข้อมูลที่สืบค้นได้มารายงานให้เพื่อน ๆ สมาชิกในกลุ่มฟัง รวมทั้งร่วมกัน
อภปิ รายซักถามจนคาดว่าสมาชกิ ทกุ คนมีความรู้ความเขา้ ใจที่ตรงกนั
- สมาชิกกลุ่มช่วยกันสรุปความรู้ที่ได้ท้ังหมดเป็นผลงานของกลุ่ม และช่วยกันจัดทํารายงาน
การศกึ ษาค้นคว้าเก่ียวกับประโยชน์ของหิน
(3) ครูคอยแนะนําช่วยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบ ๆ ห้องเรียนและเปิด
โอกาสให้นักเรียนทุกคนซักถามเม่ือมปี ัญหา
3) ข้นั อธบิ ายและลงข้อสรุป
(1) นักเรียนแต่ละกลมุ่ ส่งตัวแทนกลมุ่ นาํ เสนอข้อมลู จากการปฏบิ ัติกจิ กรรมหน้าชน้ั เรียน
(2) นักเรยี นและครรู ว่ มกนั อภปิ รายและหาขอ้ สรุปจากการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม โดยใช้แนวคาํ ถามต่อไปนี้
- หินชนิดใดใช้ทําเคร่ืองปั้นดินเผา เซรามิก ใช้เป็นส่วนประกอบทําปูนซีเมนต์ (แนวคําตอบ
หินดนิ ดาน)
- ในท้องถ่ินของนักเรียนมีการใช้ประโยชน์จากหินในด้านใดบ้าง (แนวคําตอบ หินอ่อนใช้
ตกแต่งประดบั อาคาร)
(3) นกั เรยี นและครรู ่วมกนั สรุปผลจากการปฏิบัติกิจกรรม
(4) นกั เรยี นร่วมกันเขยี นแผนท่คี วามคดิ เกย่ี วกบั ประโยชน์ของหนิ


โรงเรยี นบ้านเปาู

4) ขั้นขยายความรู้
(1) นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับประโยชน์ของหินจากใบความรู้หรือหนังสือ

วารสารทางธรณีวิทยา สารานุกรมวิทยาศาสตร์ สารานุกรมไทยสําหรับเยาวชน และอินเทอร์เน็ต รวมทั้งนํา
ขอ้ มลู ทค่ี น้ คว้าไดม้ าจัดทําเปน็ รายงาน หรอื จดั ปาู ยนเิ ทศใหเ้ พอ่ื น ๆ ได้ทราบเพอ่ื แลกเปลี่ยนเรยี นรู้กัน

(2) ครเู ชื่อมโยงความรู้สอู่ าเซียน โดยถามนกั เรยี นว่า รหู้ รอื ไมว่ า่ ปราสาทนครวัดอยู่ที่ประเทศใด และ
สร้างขึน้ จากหนิ ชนิดใด

ปราสาทนครวัด เป็นสัญลักษณ์ของกัมพูชา เป็น
มรดกโลกทางวัฒนธรรม ตง้ั อยู่ท่ีจังหวัดเสยี มราฐ ก่อสร้างใน
รัชสมัยของพระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 เม่ือ ค.ศ. 1113 เพื่อเป็น
เทวสถานถวายแดพ่ ระวิษณุ ต่อมาเปลี่ยนหน้าท่ีมาเป็นวัดใน
พระพุทธศาสนา ปราสาทนครวัดสร้างจากหินทรายและศิลา
แลง ซึ่งจัดอยู่ในกลุ่มของหินตะกอน (ศิลาแลงเป็นหิน
ตะกอนชนดิ หน่งึ ลักษณะโดยท่วั ไปจะมรี ูพรนุ ทั้งก้อน มสี ีแดง
และสีนํ้าตาลแดง แข็งจับตัวเป็นก้อน เกิดจากการชะล้างแร่เหล็กและอะลูมิเนียมออกไซด์ลงไปสะสมในน้ําใต้
ดินและมกี ารเปลี่ยนระดบั นํา้ ใตด้ นิ ขึ้น-ลงตามฤดกู าล ทําใหแ้ รเ่ หลก็ และอะลูมเิ นียมออกไซดจ์ บั ตวั เป็นก้อน)
(3) นักเรยี นคน้ ควา้ คาํ ศพั ท์ภาษาตา่ งประเทศเกี่ยวกับประโยชน์ของหิน จากหนงั สือเรยี น
ภาษาตา่ งประเทศหรืออนิ เทอรเ์ น็ต
5) ขน้ั ประเมิน
(1) ครใู ห้นักเรยี นแต่ละคนพจิ ารณาวา่ จากหัวขอ้ ทเ่ี รยี นมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจุดใดบ้างที่ยังไม่
เข้าใจหรือยงั มขี อ้ สงสัย ถ้ามคี รชู ่วยอธิบายเพมิ่ เติมใหน้ ักเรียนเขา้ ใจ
(2) นักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคใด และได้มีการแก้ไข
อยา่ งไรบา้ ง
(3) ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรมและ
การนาํ ความรทู้ ี่ไดไ้ ปใชป้ ระโยชน์
(4) ครูทดสอบความเขา้ ใจของนักเรยี นโดยการให้ตอบคําถาม เช่น
- มนุษย์เรม่ิ นําหินมาใช้ประโยชนต์ ้ังแต่เมอ่ื ใด และนํามาใชท้ าํ สง่ิ ใด
- หนิ ประเภทใดทนี่ ิยมนํามาใชป้ ระโยชน์มากทสี่ ดุ เพราะอะไร
- มนุษยน์ ิยมใชห้ นิ อคั นี หินตะกอน และหนิ แปรทาํ สงิ่ ใดบ้าง
ขนั้ สรปุ
(1) ครแู ละนกั เรียนร่วมกันสรปุ เกี่ยวกบั ประโยชน์ของหนิ โดยรว่ มกันเขียนเป็นแผนท่ีความคิดหรือผัง
มโนทศั น์


โรงเรียนบา้ นเปูา

(2) ครูมอบหมายให้นักเรียนไปศึกษาค้นคว้าเนื้อหาของบทเรียนช่ัวโมงหน้า เพื่อจัดการเรียนรู้ครั้ง
ต่อไป โดยให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าล่วงหน้าในหัวข้อแหล่งหินชนิดต่างๆ ในประเทศไทย จากหนังสือเรียนและ
แหล่งการเรยี นรู้ตา่ งๆ

(3) ครูให้นักเรียนเตรียมประเด็นคําถามที่สงสัยมาอย่างน้อยคนละ 1 คําถาม เพื่อนํามาอภิปราย
รว่ มกนั ในช้นั เรียนคร้ังต่อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
เม่ือนักเรียนได้เดินทางไปยังสถานที่ต่างๆ ได้พบเห็นส่ิงก่อสร้างเคร่ืองมือเคร่ืองใช้ต่างๆ ท่ีทํามาจาก

หิน ก็ใหล้ องสงั เกตว่าสงิ่ เหลา่ นั้นทาํ มาจากหินประเภทใด

9. สอ่ื /แหลง่ การเรียนรู้
1. ใบงานสํารวจกอ่ นเรียน 12
2. คู่มือการสอน วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6
3. สอื่ การเรียนรู้ PowerPoint รายวิชาพื้นฐาน วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 6
4. แบบฝึกทกั ษะ รายวิชาพ้ืนฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 6
5. หนังสอื เรยี น รายวชิ าพ้นื ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6


โรงเรียนบา้ นเปาู

10. บันทกึ หลงั การจัดการเรยี นรู้
ความคดิ เหน็ /ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

(ลงชื่อ)..............................................
(นายธนิตย์ พระสุนนิ )

ผ้อู ํานวยการโรงเรยี นเค็งใหญห่ นองงูเหลือม
รกั ษาการในตาํ แหน่ง ผอู้ ํานวยการโรงเรียนบ้านเปาู

บันทึกหลังการสอน
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

ปญั หา/อุปสรรค
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................

ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................

(ลงชอ่ื )..............................................
(นางสาววมิ ลรตั น์ ประทปี ะเสน)
ครูผู้ช่วย


โรงเรียนบา้ นเปูา

แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 37

รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ (ว16101) ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 6

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 5 หนิ บนผวิ โลกและภายในโลก เวลาเรียน 15 ช่ัวโมง

เรือ่ ง แหล่งหินชนดิ ตา่ ง ๆ ในประเทศไทย เวลาจํานวน 2 ช่ัวโมง

**********************************************************************************

1. สาระสาคัญ

ประเทศไทยมีแหล่งหินประเภทต่างๆ มากมาย หินอัคนีพบมากในภูมิประเทศท่ีเป็นภูเขาและตาม

ชายทะเล หินตะกอนมีอยู่ทั่วไปทุกลักษณะภูมิประเทศ หรือบริเวณท่ีเป็นลําธาร นํ้าตก ชายทะเลบริเวณดิน

ดอนสามเหลี่ยมปากแมน่ า้ํ สว่ นหินแปรพบมากในภมู ปิ ระเทศท่เี ป็นภูเขา

2. ตัวช้ีวัดช้นั ปี
อธบิ าย จาํ แนกประเภทของหิน โดยใชล้ ักษณะของหนิ สมบัตขิ องหินเป็นเกณฑ์ และนําความรู้ไปใช้

ประโยชน์ (ว 6.1 ป. 6/1)

3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
1.ระบแุ หลง่ หินประเภทต่างๆ ในประเทศไทยได้ (K)
2. มคี วามสนใจใฝุรหู้ รืออยากรอู้ ยากเหน็ (A)
3. พอใจในประสบการณก์ ารเรยี นรทู้ เ่ี ก่ยี วกับวทิ ยาศาสตร์ (A)
4. ทํางานรว่ มกบั ผูอ้ ่ืนอยา่ งสร้างสรรค์ (A)
5. สอื่ สารและนาํ ความรู้เร่ืองแหล่งหนิ ชนิดตา่ ง ๆ ในประเทศไทยไปใช้ในชีวิตประจาํ วันได้ (P)

4. การวดั และการประเมนิ ผลการเรยี นรู้

ดา้ นความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม และ ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
จติ วทิ ยาศาสตร์ (A)
1. ประเมินทักษะ/กระบวนการ
1. ซกั ถามความรูเ้ รื่องแหลง่ หิน 1. ประเมนิ เจตคติทาง ทางวิทยาศาสตร์

ชนดิ ต่าง ๆในประเทศไทย วทิ ยาศาสตรเ์ ปน็ รายบุคคล 2. ประเมินทักษะการคิด
3. ประเมนิ ทักษะการแก้ปัญหา
2. ประเมินกจิ กรรมฝกึ ทกั ษะ 2. ประเมนิ เจตคตติ ่อวิทยาศาสตร์ 4. ประเมินพฤติกรรมในการ

ระหวา่ งเรยี น เปน็ รายบคุ คล ปฏิบัตกิ ิจกรรมเป็นรายบุคคล
หรอื รายกลมุ่


โรงเรยี นบา้ นเปูา

5. สาระการเรียนรู้
แหล่งหนิ ชนดิ ต่าง ๆ ในประเทศไทย

6. แนวทางการบรู ณาการ สนทนา พูดคุย หรือเลา่ ประสบการณแ์ ละเขยี นรายงานเรอ่ื งแหลง่ หินชนดิ
ภาษาไทย ตา่ งๆ ในประเทศไทยจากการศกึ ษาค้นคว้าจากเอกสารทเ่ี กี่ยวขอ้ งและ
อินเทอรเ์ นต็
ภาษาตา่ งประเทศ ฟัง พดู อา่ น และเขยี นคาํ ศัพท์ภาษาตา่ งประเทศเก่ียวกับแหล่งหนิ ชนดิ
ตา่ งๆ ในประเทศไทยทเ่ี รยี นรู้หรือทน่ี กั เรยี นสนใจ

7. กระบวนการจัดการเรยี นรู้
ขน้ั นาเขา้ สู่บทเรยี น

1) ครถู ามคําถามนกั เรยี นเพื่อกระตุน้ ความสนใจ เช่น
- ลกั ษณะภูมปิ ระเทศของประเทศไทยสว่ นใหญ่เป็นแบบใด
- ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศของประเทศไทยนา่ จะประกอบด้วยหนิ ประเภทใดมาก เพราะอะไร
- เหตผุ ลทสี่ นับสนุนวา่ ประเทศไทยมแี หล่งหนิ ประเภทต่างๆ คอื อะไร

2) ครรู ่วมสนทนากับนกั เรียนเก่ยี วกับคําตอบทีน่ ักเรียนตอบ เพื่อเช่ือมโยงไปสู่การเรยี นรเู้ รื่อง
แหล่งหินชนดิ ต่างๆ ในประเทศไทย
ข้ันจัดกจิ กรรมการเรียนรู้

จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับแบบกลับด้านช้ันเรียน ซึ่งมี
ข้ันตอนดงั นี้
1) ขั้นสร้างความสนใจ

(1) ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนแล้วเปิดโอกาสให้นักเรียนในกลุ่มนําเสนอข้อมูลเก่ียวกับแหล่งหินชนิดต่างๆ
ในประเทศไทย ที่ครูมอบหมายให้ไปเรียนรู้ล่วงหน้าให้เพื่อน ๆ ในกลุ่มฟัง จากนั้นให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนมา
นําเสนอขอ้ มลู หน้าห้องเรียน

(2) ครูตรวจสอบว่านักเรียนทาํ ภาระงานทไ่ี ดร้ บั มอบหมายไปหรือไม่ โดยตรวจสอบจากการจดบันทึก
ของนักเรียน และถามคําถามเกย่ี วกบั ภาระงาน ดงั นี้

- แหล่งหินประเภทต่าง ๆ มีความสัมพันธ์กับลักษณะภูมิประเทศในลักษณะใด (แนวคําตอบ
หินอัคนีพบมากในภูมิประเทศท่ีเป็นภูเขาเนื่องจากหินอัคนีเกิดจากการหลอมเหลวภายในโลกและไหลออกมา
ตามรอยแยกของเปลือกโลกเมื่อเกิดภูเขาไฟปะทุ ส่วนหินตะกอนมักพบบริเวณท่ีเป็นลําธาร นํ้าตก ชายทะเล
และบริเวณดนิ ดอนสามเหลย่ี มปากแมน่ ้ํา เนอ่ื งจากเปน็ หนิ ทเี่ กดิ จากการสะสมของตะกอน ส่วนหินแปรพบมาก
ในภมู ิประเทศท่ีเป็นภูเขา เน่ืองจากเป็นหินที่เกิดจากการเปล่ียนแปลงของเปลือกโลกภายใต้อุณหภูมิและความ
ดันสงู )


โรงเรยี นบา้ นเปูา

(3) ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนตั้งประเด็นคําถามท่ีนักเรียนสงสัยจากการทําภาระงานอย่างน้อยคนละ
1 คําถาม ซงึ่ ครใู หน้ ักเรียนเตรียมมาลว่ งหนา้ และใหน้ กั เรียนชว่ ยกันตอบและแสดงความคดิ เห็น

(4) ครแู ละนกั เรียนร่วมกันสรุปเก่ียวกบั ภาระงาน โดยครูช่วยอธิบายใหน้ ักเรยี นเข้าใจว่า ประเทศไทย
มแี หล่งหนิ ประเภทตา่ งๆ มากมาย หนิ อคั นพี บมากในภมู ิประเทศทเี่ ปน็ ภเู ขาและตามชายทะเล หินตะกอนมีอยู่
ทว่ั ไปทกุ ลกั ษณะภูมิประเทศ สว่ นหินแปรพบมากในภูมิประเทศทเ่ี ป็นภเู ขา
2) ขั้นสารวจและค้นหา

(1) ใหน้ กั เรยี นศึกษาแหล่งหนิ ชนดิ ตา่ งๆ ในประเทศไทยจากใบความรูห้ รือในหนังสือเรียนโดยครูช่วย
เช่ือมโยงความรู้ใหม่จากบทเรียนกับความรู้เดมิ ทเ่ี รยี นรูม้ าแล้ว ด้วยการใชค้ ําถามนํากระตุ้นให้นักเรียนตอบจาก
ความรู้และประสบการณข์ องนักเรยี น

(2) แบง่ นกั เรยี นเปน็ กลุ่มปฏิบัติกิจกรรม สืบค้นข้อมูลประโยชน์ของหินและแหล่งหินในประเทศไทย
ตามข้ันตอนทางวิทยาศาสตร์ โดยใช้ทักษะ/กระบวนการสังเกตดังนี้

- แต่ละกลุ่มวางแผนการสืบค้นข้อมูล โดยแบ่งหัวข้อย่อยให้เพ่ือนสมาชิกช่วยกันสืบค้นตามท่ี
สมาชิกกลุ่มช่วยกันกําหนดหัวข้อย่อย เช่น แหล่งหินมีความสัมพันธ์กับลักษณะภูมิประเทศในลักษณะใด
ลักษณะภูมิประเทศที่มีหินประเภทต่างๆ แหล่งหินของประเทศไทย หินอัคนี หินช้ันหรือหินตะกอน และหิน
แปรมีมากท่สี ดุ ท่จี งั หวัดใด

- สมาชิกกลุ่มแต่ละคนหรือกลุ่มย่อยช่วยกันสืบค้นข้อมูลตามหัวข้อย่อยที่ตนเองรับผิดชอบ
โดยการสืบค้นจากใบความรู้ที่ครูเตรียมมาให้หรือจากหนังสือ วารสารทางธรณีวิทยา สารานุกรมวิทยาศาสตร์
สารานกุ รมไทยสําหรบั เยาวชน และอินเทอรเ์ นต็

- สมาชิกกลุ่มนําข้อมูลท่ีสืบค้นได้มารายงานให้เพื่อนๆ สมาชิกในกลุ่มฟัง รวมทั้งร่วมกัน
อภิปรายซักถามจนคาดวา่ สมาชกิ ทุกคนมีความรูค้ วามเข้าใจท่ีตรงกัน

- สมาชิกกลุ่มช่วยกันสรุปความรู้ที่ได้ท้ังหมดเป็นผลงานของกลุ่ม และช่วยกันจัดทํารายงาน
การศึกษาค้นควา้ เกย่ี วกบั แหล่งหนิ ชนิดตา่ งๆ ในประเทศไทย

(3) ครูคอยแนะนําช่วยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบๆ ห้องเรียนและเปิด
โอกาสใหน้ กั เรียนทกุ คนซักถามเมือ่ มีปัญหา
3) ขนั้ อธิบายและลงข้อสรุป

(1) นักเรียนแต่ละกลุ่มสง่ ตวั แทนกลุ่มนาํ เสนอขอ้ มลู จากการปฏิบัติกิจกรรมหน้าชั้นเรยี น
(2) นกั เรยี นและครรู ่วมกนั อภปิ รายและหาข้อสรปุ จากการปฏิบตั กิ จิ กรรม โดยใช้แนวคําถามต่อไปนี้

- ผลกระทบที่เกิดข้ึนจากการนําหินมาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจําวันคืออะไร ควรแก้ไข
อยา่ งไร (แนวคาํ ตอบ อาจจะมีการระเบิดภูเขาเพื่อนําหินมาใช้ประโยชน์ ซึ่งจะทําลายทรัพยากรปุาไม้และหน้า
ดินถูกทําลาย ดังน้ันการนําหินมาใช้ต้องพิจารณาถึงความคุ้มค่าและให้เกิดประโยชน์สูงสุด ทําลายส่ิงแวดล้อม
น้อยทสี่ ุด)


โรงเรียนบ้านเปูา

- ลักษณะภูมิประเทศที่พบหินแต่ละประเภทมีความเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร อธิบาย
พรอ้ มยกตัวอย่าง (แนวคําตอบ แตกต่างกัน เช่น หินแกรนิตและหินบะซอลต์พบมากในภูมิประเทศท่ีเป็นภูเขา
ส่วนหินตะกอนพบมากบริเวณทเ่ี ปน็ ลาํ ธาร นาํ้ ตก ชายทะเล และบรเิ วณดนิ ดอนสามเหลี่ยมปากแมน่ ํ้า)

(3) ครแู ละนักเรยี นร่วมกันสรปุ ผลจากการปฏิบัติกจิ กรรม
(4) นักเรยี นรว่ มกันเขยี นแผนที่ความคิดเกยี่ วกบั แหลง่ หนิ ชนดิ ต่างๆ ในประเทศไทย
4) ขั้นขยายความรู้
(1) นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มช่วยกนั สบื คน้ ข้อมูลเก่ียวกับแหล่งหินชนิดต่างๆ ในประเทศไทยจากใบความรู้
หรือจากหนังสือและวารสารทางธรณีวิทยา สารานุกรมวิทยาศาสตร์ สารานุกรมไทยสําหรับเยาวชน และ
อนิ เทอรเ์ นต็
(2) นักเรียนค้นคว้าคําศัพท์ภาษาต่างประเทศเกี่ยวกับแหล่งหินชนิดต่างๆ ในประเทศไทย จาก
หนังสือเรียนภาษาต่างประเทศหรืออินเทอร์เนต็
5) ขัน้ ประเมนิ
(1) ครูให้นกั เรยี นแตล่ ะคนพิจารณาวา่ จากหวั ขอ้ ทเ่ี รียนมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจุดใดบ้างที่ยังไม่
เขา้ ใจหรอื ยงั มขี อ้ สงสัย ถ้ามีครชู ว่ ยอธิบายเพิ่มเตมิ ให้นักเรียนเข้าใจ
(2) นักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคใด และได้มีการแก้ไข
อย่างไรบ้าง
(3) ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรมและ
การนาํ ความรทู้ ่ไี ด้ไปใช้ประโยชน์
(4) ครทู ดสอบความเข้าใจของนักเรียนโดยการให้ตอบคาํ ถาม เชน่

- หินอคั นี หินช้นั หรอื หินตะกอน และหนิ แปรพบมากบรเิ วณใดของประเทศไทย
- ถ้าพบหินอัคนีมากในบริเวณใดแล้ว นักเรียนอาจสันนิษฐานได้ว่าในอดีตบริเวณนั้นเคยเป็น
ที่ต้งั ของภูเขาไฟมากอ่ นใช่หรอื ไม่ เพราะเหตใุ ด
- ถ้าหากพบซากดึกดําบรรพ์มากในบริเวณใดแล้ว แสดงว่าบริเวณนั้นเป็นแหล่งของหิน
ประเภทใด หนิ เหลา่ น้นั บอกความเป็นมาเก่ียวกับสิ่งมชี ีวิตในอดีตได้หรอื ไม่ เพราะอะไร
ข้นั สรุป
(1) ครูและนกั เรียนร่วมกันสรุปเก่ียวกับแหล่งหนิ ชนิดตา่ งๆ ในประเทศไทย โดยร่วมกนั เขียนเป็นแผน
ทค่ี วามคิดหรือผังมโนทศั น์
(2) ครูมอบหมายให้นักเรียนไปศึกษาค้นคว้าเนื้อหาของบทเรียนช่ัวโมงหน้า เพื่อจัดการเรียนรู้คร้ัง
ตอ่ ไป โดยให้นักเรยี นศกึ ษาค้นคว้าล่วงหน้าในหัวข้อการผุพังอยู่กับที่ โดยใช้ใบงาน สืบค้นข้อมูลก่อนเรียน 13
ท่คี รูจดั เตรยี มไวใ้ ห้ประกอบการศึกษาค้นคว้า (ในส่ือการเรียนรู้ PowerPoint วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปี
ที่ 6)


โรงเรยี นบ้านเปาู

(3) ครอู ธบิ ายขั้นตอนการปฏิบัตกิ จิ กรรมและมอบหมายให้นกั เรียนไปปฏิบัตกิ ิจกรรมที่บ้าน พร้อมทั้ง
ใหน้ ักเรยี นเตรียมประเดน็ คําถามทสี่ งสยั มาอยา่ งนอ้ ยคนละ 1 คาํ ถาม เพ่อื นํามาอภปิ รายร่วมกันในชั้นเรียนครั้ง
ตอ่ ไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
เมอ่ื นกั เรยี นไดเ้ ดินทางไปยงั สถานทีต่ า่ งๆ ได้พบเหน็ หินประเภทตา่ งๆ กใ็ ห้ลองสงั เกตว่าบริเวณทพ่ี บ

หนิ ประเภทนน้ั มีลักษณะใด

9. สอ่ื /แหล่งการเรียนรู้
1. ใบกจิ กรรมท่ี 28 สืบค้นข้อมลู ประโยชน์ของหนิ และแหล่งหินในประเทศไทย
2. ใบงานสืบค้นข้อมูลก่อนเรียน 13
3. คู่มอื การสอน วทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
4. สือ่ การเรยี นรู้ PowerPoint รายวชิ าพน้ื ฐาน วิทยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 6
5. แบบฝึกทกั ษะ รายวชิ าพนื้ ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6
6. หนังสอื เรยี น รายวชิ าพ้ืนฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 6


โรงเรยี นบ้านเปาู

10. บันทกึ หลังการจดั การเรยี นรู้
ความคิดเหน็ /ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................

(ลงชอื่ )..............................................
(นายธนติ ย์ พระสุนิน)

ผอู้ าํ นวยการโรงเรยี นเค็งใหญ่หนองงูเหลือม
รกั ษาการในตาํ แหน่ง ผอู้ าํ นวยการโรงเรียนบา้ นเปูา

บนั ทึกหลังการสอน
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................................................................................................... ..........

ปัญหา/อุปสรรค
........................................................................................................ ......................................................................
............................................................................................................................. .................................................
..................................................................................................................................... .........................................

ขอ้ เสนอแนะ
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

(ลงชอ่ื )..............................................
(นางสาววมิ ลรัตน์ ประทีปะเสน)
ครูผู้ชว่ ย


โรงเรยี นบ้านเปูา

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 38

รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ (ว16101) ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6

หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 5 หินบนผวิ โลกและภายในโลก เวลาเรียน 15 ชว่ั โมง

เร่ือง การผุพังอยกู่ ับที่ เวลาจาํ นวน 2 ช่วั โมง

**********************************************************************************

1. สาระสาคัญ

การผุพังอยู่กับท่ีเป็นการเปลี่ยนแปลงสภาพของหินที่เกิดได้ 2 แบบ คือ การเปล่ียนแปลงทาง

กายภาพและการเปล่ียนแปลงทางเคมี การผุพังอยู่กับท่ีซึ่งเกิดจากการเปล่ียนแปลงทางกายภาพ เช่น การ

เปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ การขยายตัวของน้ําแข็ง ลมฟูาอากาศ และนํ้าฝน รวมท้ังการกระทําของต้นไม้กับ

ส่ิงมีชีวิตขนาดเล็ก สว่ นการเปลี่ยนแปลงทางเคมี เป็นการสลายตัวของหินท่ีเกิดจากปฏิกิริยาทางเคมี เช่น การ

ถกู ฝนกรด และการเกิดสนมิ ในเนอื้ หนิ ทม่ี ีแรข่ องธาตุเหลก็ ปนอยู่

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
สํารวจและอธิบายการเปลี่ยนแปลงของหนิ (ว 6.1 ป. 6/2)

3. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายการผุพงั อย่กู บั ทซ่ี ง่ึ เกิดจากการเปล่ยี นแปลงทางกายภาพได้ (K)
2. อธบิ ายการผุพังอยกู่ ับท่ีซงึ่ เกดิ จากการเปล่ยี นแปลงทางเคมีได้ (K)
3. ระบุผลกระทบท่เี กดิ จากการผุพงั อยู่กบั ที่ของหนิ ท่มี ีต่อสิ่งตา่ ง ๆ ได้ (K)
4. มคี วามสนใจใฝุรหู้ รืออยากร้อู ยากเหน็ (A)
5. พอใจในประสบการณ์การเรียนร้ทู เ่ี กยี่ วกบั วทิ ยาศาสตร์ (A)
6. ทํางานร่วมกับผ้อู ่ืนอยา่ งสร้างสรรค์ (A)
7. สื่อสารและนาํ ความร้เู รื่องการผุพังอยูก่ ับท่ีไปใช้ในชีวติ ประจําวันได้ (P)

4. การวัดและการประเมนิ ผลการเรยี นรู้

ดา้ นความรู้ (K) ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม และ ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P)
จิตวิทยาศาสตร์ (A)
1. ประเมินทกั ษะ/กระบวนการทาง
1. ซกั ถามความรเู้ ร่ืองการผุพังอยู่ 1. ประเมินเจตคติทางวิทยาศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์

กบั ที่ เปน็ รายบคุ คล 2. ประเมนิ ทักษะการคิด
3. ประเมินทักษะการแก้ปัญหา
2. ประเมนิ กจิ กรรมฝกึ ทักษะ 2. ประเมินเจตคตติ ่อวทิ ยาศาสตร์ 4. ประเมนิ พฤติกรรมในการปฏิบตั ิ

ระหวา่ งเรยี น เป็นรายบคุ คล กิจกรรมเปน็ รายบคุ คล


โรงเรียนบ้านเปาู

5. สาระการเรียนรู้
การผุพังอย่กู ับท่ี

6. แนวทางการบูรณาการ สนทนา พูดคุย หรือเลา่ ประสบการณ์ และเขียนรายงานเร่ืองการผุพงั อยกู่ ับ
ภาษาไทย ทจี่ ากการศึกษาคน้ คว้าจากเอกสารทเี่ กีย่ วข้องและอนิ เทอร์เนต็
ศิลปะ ตกแต่งและระบายสภี าพวาดการผุพงั อยกู่ ับทตี่ ามจินตนาการหรือ
ประสบการณ์ของนักเรียนให้สวยงาม จดั ปาู ยนิเทศแสดงผลงานเกีย่ วกบั
ภาษาต่างประเทศ การผุพงั อยกู่ บั ท่ี จากการศกึ ษาค้นคว้าจากเอกสารท่เี ก่ียวข้องและ
อนิ เทอรเ์ น็ต
ฟงั พดู อ่าน และเขยี นคาํ ศัพทภ์ าษาต่างประเทศเกย่ี วกับการผุพังอยู่กับท่ีท่ี
เรียนรู้หรือทนี่ กั เรยี นสนใจ

7. กระบวนการจดั การเรียนรู้
ขน้ั นาเข้าสูบ่ ทเรียน

1) ครถู ามคําถามนักเรยี น เพื่อกระต้นุ ความสนใจ เชน่
- หนิ ตามแหล่งตา่ งๆ เกิดการเปลย่ี นแปลงได้เพราะสาเหตุใด
- ถ้าหินท่อี ยู่ในธรรมชาติเกิดการเปล่ียนแปลง นักเรียนคดิ ว่าเกิดจากสาเหตุใด

2) ครูร่วมสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับคําตอบท่ีนักเรียนตอบ เพื่อนําไปสู่การเรียนรู้เรื่องการผุพังอยู่
กับที่
ขน้ั จดั กจิ กรรมการเรียนรู้

จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับแบบกลับด้านช้ันเรียน ซ่ึงมี
ขนั้ ตอนดงั นี้
1) ขน้ั สร้างความสนใจ

(1) ครูให้นักเรียนนําใบงาน สืบค้นข้อมูลก่อนเรียน 13 ท่ีครูมอบหมายให้ไปเรียนรู้ล่วงหน้าที่บ้านมา
อภปิ รายร่วมกนั ในชัน้ เรียน

(2) ครูตรวจสอบว่านักเรียนทํากิจกรรมท่ีได้รับมอบหมายไปหรือไม่ โดยตรวจสอบจากการจดบันทึก
ของนักเรยี น และถามคาํ ถามเกี่ยวกบั กจิ กรรม ดงั นี้

- นกั เรยี นคดิ ว่าการผพุ ังอยู่กบั ทซ่ี ง่ึ เกดิ จากการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพและการเปลี่ยนแปลง
ทางเคมี ลักษณะใดมีผลกระทบต่อหินและสิ่งต่าง ๆ มากท่ีสุด เพราะอะไร (แนวคําตอบ การเปล่ียนแปลงทาง
เคมี เพราะทาํ ใหส้ ว่ นประกอบที่เปน็ โครงสรา้ งของหนิ เปลย่ี นแปลงไป เป็นสาเหตุให้หินผุพังหรือเกิดสนิมในเนื้อ
หนิ ท่มี ีแร่จําพวกเหล็กเปน็ สว่ นประกอบ)


โรงเรียนบ้านเปูา

(3) ครเู ปิดโอกาสให้นกั เรยี นต้งั ประเด็นคําถามท่ีนักเรียนสงสัยจากการทํากิจกรรมอย่างน้อยคนละ 1
คาํ ถาม ซึ่งครใู หน้ ักเรียนเตรียมมาล่วงหนา้ และให้นกั เรยี นช่วยกนั ตอบและแสดงความคิดเห็น

(4) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับกิจกรรม สืบค้นข้อมูลก่อนเรียน 13 โดยครูช่วยอธิบายให้
นักเรียนเขา้ ใจว่า การผุพงั อยกู่ ับที่เป็นการเปล่ยี นแปลงสภาพของหินท่ีเกิดได้ 2 แบบ คือ การเปลี่ยนแปลงทาง
กายภาพและการเปลี่ยนแปลงทางเคมี
2) ขั้นสารวจและคน้ หา

(1) ให้นักเรียนศึกษาเรื่องการผุพังอยู่กับที่จากใบความรู้หรือในหนังสือเรียน โดยครูช่วยเชื่อมโยง
ความรใู้ หม่จากบทเรยี นกบั ความรูเ้ ดมิ ท่เี รยี นรูม้ า แล้วด้วยการใช้คําถามนาํ กระต้นุ ใหน้ กั เรยี น
ตอบจากความรแู้ ละประสบการณ์ของนักเรยี น

(2) แบ่งนกั เรียนเป็นกลุ่มปฏบิ ัติกิจกรรม ทดลองการเกดิ สนมิ ในฝอยเหล็ก ตามข้นั ตอน
ทางวทิ ยาศาสตร์ดังน้ี

ข้นั ท่ี 1 กาํ หนดปัญหา
- เมื่อฝอยเหลก็ ชนื้ จะเกดิ ปฏกิ ิริยาเคมี แลว้ ทาํ ให้ฝอยเหลก็ เกิดการเปลยี่ นแปลงหรอื ไม่

ขน้ั ที่ 2 สมมุติฐาน
- เม่ือฝอยเหล็กชนื้ นา่ จะเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมี แลว้ ทําให้ฝอยเหล็กเปล่ยี นแปลงไป

ขนั้ ที่ 3 ทดลอง
- แบ่งนักเรยี นกลุ่มละ 4-5 คน ทํางานเปน็ กลุม่ ลว่ งหนา้ อย่างน้อย 1 - 2 วนั
- นําฝอยเหล็กมา 4 ก้อนในปริมาณที่เท่ากัน ฝอยเหล็กนี้ควรล้างด้วยนํ้าส้มสายชูให้สาร

เคลือบกนั สนมิ ออกกอ่ น
- นําฝอยเหลก็ ทั้ง 4 ก้อนมาทํากิจกรรมโดยเตรียม ดังนี้
กอ้ นท่ี 1 ฝอยเหล็กแห้ง
ก้อนที่ 2 ฝอยเหลก็ ชุบน้าํ
กอ้ นท่ี 3 ฝอยเหลก็ แช่อยู่ในน้ํา
กอ้ นท่ี 4 ฝอยเหลก็ อยู่ในดินที่ช่มุ น้ํา
-วางชุดการทดลองไว้ 1-2 วัน สังเกตและบันทกึ ผลท่เี กิดขึน้

ขัน้ ท่ี 4 วเิ คราะห์ผลการทดลอง
- แปลความหมายข้อมลู ที่ได้จากตารางบันทึกผลการทดลอง
- นําข้อมลู ท่ไี ดม้ าพจิ ารณา เพือ่ อธบิ ายว่าเป็นไปตามท่นี ักเรียนตั้งสมมตุ ิฐานไว้หรือไม่

ขัน้ ที่ 5 สรุปผลการทดลอง
- นกั เรยี นรว่ มกันสรปุ ผลการทดลอง แลว้ เขยี นเปน็ รายงานสรุปผลการทดลองสง่ ครู

(3) ครูคอยแนะนาํ ชว่ ย


โรงเรยี นบา้ นเปูา

เหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบๆ ห้องเรียนและเปิดโอกาสให้นักเรียนทุกคนซักถามเม่ือมี
ปญั หา
3) ขน้ั อธิบายและลงขอ้ สรุป

(1) นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตวั แทนกลมุ่ นาํ เสนอข้อมูลจากการปฏบิ ัติกิจกรรมหนา้ ชน้ั เรยี น
(2) นักเรียนและครูรว่ มกนั อภิปรายและหาข้อสรปุ จากการปฏิบตั ิกิจกรรม โดยใช้แนวคําถามตอ่ ไปน้ี

- นอกจากฝอยเหล็กแล้ว นักเรียนสามารถใช้วัสดุใดแทนได้ (แนวคําตอบ ผงตะไบเหล็ก เส้น
ลวดขนาดเลก็ )

- เหตุผลที่เราใช้นํ้าส้มสายชูล้างฝอยเหล็กคืออะไร (แนวคําตอบ เพื่อล้างสารเคลือบกันสนิม
ออก)

- สาเหตุทที่ าํ ให้ฝอยเหลก็ เกดิ การเปลีย่ นแปลงคอื อะไร (แนวคาํ ตอบ ความช้ืนและอากาศ (สิ่ง
ท่อี ยู่ในอากาศซึง่ ทาํ ปฏกิ ิริยากบั เหล็กที่ช้ืนจนเหล็กกลายเป็นสนิม คอื แกส๊ ออกซเิ จน))

- นักเรียนคิดว่าฝอยเหล็กช้ินใดมีการเปลี่ยนแปลงมากที่สุด เพราะอะไร (แนวคําตอบ ฝอย
เหล็กชุบน้ําจะเกิดการเปล่ยี นแปลงมากทส่ี ดุ เพราะฝอยเหลก็ สัมผสั อากาศและความช้ืนมากทีส่ ุด)

- ผลสรุปของการทดลองนคี้ ืออะไร (แนวคําตอบ ความช้ืนและอากาศทําให้ฝอยเหล็กเกิดการ
เปลี่ยนแปลง บางส่วนกลายเป็นสนิม (มสี นี ้ําตาลและบางสว่ นหลดุ ออกมา))

(3) นักเรียนและครูร่วมกันสรุปผลจากการปฏิบัติกิจกรรม โดยให้ได้ข้อสรุปว่า เมื่อฝอยเหล็กช้ืนจะ
เกดิ ปฏิกริ ิยาเคมีกับอากาศ แล้วทาํ ให้ฝอยเหลก็ เปล่ียนแปลงไป
4) ขนั้ ขยายความรู้

(1) นักเรียนแต่ละกลุ่มชว่ ยกนั สบื ค้นข้อมูลเกยี่ วกับการผุพังอยู่กับท่ี จากหนังสือและวารสารเก่ียวกับ
วิทยาศาสตร์และธรณีวิทยา สารานุกรมวิทยาศาสตร์ สารานุกรมไทยสําหรับเยาวชน และอินเทอร์เน็ต รวมทั้ง
นาํ ขอ้ มลู ทคี่ ้นคว้าไดม้ าจดั ทําเปน็ รายงาน หรอื จัดปาู ยนเิ ทศให้เพ่ือนๆ ไดท้ ราบเพือ่ แลกเปลี่ยนเรียนรูก้ ัน

(2) นักเรียนค้นคว้าคําศัพท์ภาษาต่างประเทศเกี่ยวกับการผุพังอยู่กับที่ จากหนังสือเรียน
ภาษาต่างประเทศหรอื อนิ เทอร์เน็ต
5) ขั้นประเมนิ

(1) ครใู ห้นกั เรียนแตล่ ะคนพจิ ารณาว่าจากหวั ขอ้ ท่เี รยี นมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจุดใดบ้างท่ียังไม่
เขา้ ใจหรอื ยงั มขี อ้ สงสัย ถ้ามีครูชว่ ยอธิบายเพิม่ เตมิ ใหน้ กั เรียนเข้าใจ

(2) นักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคใด และได้มีการแก้ไข
อย่างไรบ้าง

(3) ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ท่ีได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรมและ
การนาํ ความรทู้ ี่ไดไ้ ปใชป้ ระโยชน์

(4) ครูทดสอบความเข้าใจของนักเรียนโดยการให้ตอบคาํ ถาม เช่น


โรงเรียนบา้ นเปาู

- การผุพังอยู่กับท่ีซึ่งเกิดจากการเปล่ียนแปลงทางกายภาพและการเปล่ียนแปลงทางเคมีมี
ความสัมพนั ธ์กนั ในลักษณะใด

- นักเรยี นคิดวา่ ปรากฏการณ์ท่ีเกิดขน้ึ กับหนิ หรือส่ิงก่อสร้างต่าง ๆ ทเ่ี ปน็ ปูนเกดิ จากสาเหตุใด
- ผลกระทบเน่ืองจากการผพุ งั ของหินจะสง่ ผลในเรื่องใดบา้ ง เพราะอะไร

ขัน้ สรปุ
(1) ครแู ละนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับการผุพังอยู่กับท่ี โดยร่วมกันเขียนเป็นแผนท่ีความคิดหรือผัง

มโนทัศน์
(2) ครูมอบหมายให้นักเรียนไปศึกษาค้นคว้าเน้ือหาของบทเรียนช่ัวโมงหน้า เพ่ือจัดการเรียนรู้ครั้ง

ต่อไป โดยให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าล่วงหน้าในหัวข้อการกร่อน โดยใช้ใบงาน สืบค้นข้อมูลก่อนเรียน 14 ท่ีครู
จัดเตรียมไวใ้ หป้ ระกอบการศึกษาคน้ ควา้ (ในส่อื การเรยี นรู้ PowerPoint วทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 6)

(3) ครอู ธบิ ายข้นั ตอนการปฏิบัตกิ จิ กรรมและมอบหมายให้นกั เรยี นไปปฏบิ ตั ิกจิ กรรมท่ีบ้าน พร้อมท้ัง
ใหน้ กั เรยี นเตรยี มประเด็นคาํ ถามท่ีสงสยั มาอยา่ งน้อยคนละ 1 คาํ ถาม เพื่อนาํ มาอภปิ รายร่วมกันในช้ันเรียนครั้ง
ตอ่ ไป

8. กจิ กรรมเสนอแนะ
นักเรียนฝึกสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับการผุพังอยู่กับท่ีจากหนังสือและวารสารเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์และ

ธรณีวิทยา สารานุกรมวิทยาศาสตร์ สารานุกรมไทยสําหรับเยาวชน และอนิ เทอร์เน็ต

9. สอ่ื /แหล่งการเรียนรู้
1. ใบงานสืบคน้ ข้อมูลก่อนเรียน 13
2. ใบกิจกรรมท่ี 29 ทดลองการเกดิ สนมิ ในฝอยเหลก็
3. ใบงานสบื คน้ ข้อมูลก่อนเรียน 14
4. คู่มอื การสอน วทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6
5. ส่อื การเรียนรู้ PowerPoint รายวชิ าพนื้ ฐาน วิทยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 6
6. แบบฝึกทกั ษะ รายวชิ าพ้นื ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 6
7. หนงั สือเรยี น รายวชิ าพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 6


โรงเรียนบ้านเปาู

10. บันทกึ หลงั การจดั การเรียนรู้
ความคิดเหน็ /ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

(ลงชอื่ )..............................................
(นายธนิตย์ พระสุนนิ )

ผูอ้ ํานวยการโรงเรียนเค็งใหญ่หนองงเู หลอื ม
รักษาการในตาํ แหน่ง ผ้อู ํานวยการโรงเรียนบา้ นเปูา

บันทกึ หลงั การสอน
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

ปัญหา/อุปสรรค
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

ขอ้ เสนอแนะ
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................................................................................. ............................
..................................................................................................... .........................................................................

(ลงชื่อ)..............................................
(นางสาววมิ ลรตั น์ ประทีปะเสน)
ครูผู้ช่วย


โรงเรยี นบ้านเปูา

แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 39

รายวชิ าวิทยาศาสตร์ (ว16101) ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 6

หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 5 หินบนผวิ โลกและภายในโลก เวลาเรียน 15 ชัว่ โมง

เรอื่ ง การกร่อน เวลาจาํ นวน 2 ชัว่ โมง

**********************************************************************************

1. สาระสาคัญ

การกรอ่ นเปน็ การเปลีย่ นแปลงสภาพของหินที่เกิดได้ 2 แบบ คือ การเปล่ียนแปลงทางกายภาพและ

การเปลยี่ นแปลงทางเคมี การกรอ่ นท่ีเกดิ จากการเปล่ยี นแปลงทางกายภาพ มีตัวการที่ทําให้เกิดการกร่อน เช่น

น้ํา น้าํ แข็ง และลมพัดพากองเศษหินไป ขณะท่ีพัดพาไปน้ัน เศษหินจะบดหรือเสียดสีกับ หินก้อนอื่นๆ ทําให้

หินผุกร่อนและมีขนาดเล็กลง ส่วนการกร่อนท่ีเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางเคมีเป็นการกร่อนที่เปลี่ยนแปลง

องค์ประกอบของหิน สาเหตุเกิดจากความชื้นหรือน้ําทําปฏิกิริยากับองค์ประกอบที่เป็นโครงสร้างของหิน เช่น

ทําให้เหล็กเกิดการเปล่ียนแปลงไปเป็นวัตถุท่ีมีความอ่อนกว่า เช่น เหล็กออกไซด์หรือสนิม หรือการ ท่ี

คาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศทําปฏิกิริยากับน้ําเกิดเป็นกรด คาร์บอนิก เมื่อกรดคาร์บอนิกละลายปะปนกับ

นํ้าฝนท่ีตกกระทบกอ้ นหิน เช่น หินปูน จะทําให้หินปูนเกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมีทําให้เนื้อหินแตกและหลุด

ได้

2. ตวั ช้ีวดั ชั้นปี
สํารวจและอธิบายการเปลี่ยนแปลงของหนิ (ว 6.1 ป. 6/2)

3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. อธิบายการกร่อนซ่งึ เกิดจากการเปล่ียนแปลงทางกายภาพได้ (K)
2. อธบิ ายการกร่อนซึง่ เกิดจากการเปลย่ี นแปลงทางเคมไี ด้ (K)
3. ระบุผลกระทบที่เกดิ จากการกรอ่ นของหนิ ทมี่ ตี ่อสิง่ ต่าง ๆ ได้ (K)
4. มคี วามสนใจใฝุรหู้ รอื อยากรู้อยากเหน็ (A)
5. พอใจในประสบการณ์การเรยี นรู้ที่เก่ียวกบั วิทยาศาสตร์ (A)
6. ทาํ งานร่วมกบั ผูอ้ น่ื อยา่ งสร้างสรรค์ (A)
7. สื่อสารและนาํ ความรเู้ ร่ืองการกร่อนไปใช้ในชวี ิตประจําวนั ได้ (P)


โรงเรียนบา้ นเปาู

4. การวัดและการประเมนิ ผลการเรียนรู้

ดา้ นความรู้ (K) ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และ ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P)
จิตวทิ ยาศาสตร์ (A)
1. ประเมนิ ทักษะ/กระบวนการ
1. ซักถามความรเู้ ร่ืองการกร่อน 1. ประเมนิ เจตคตทิ าง ทางวทิ ยาศาสตร์

2. ประเมินกจิ กรรมฝึกทักษะ วทิ ยาศาสตร์เปน็ รายบคุ คล 2. ประเมนิ ทักษะการคดิ
3. ประเมนิ ทักษะการแก้ปัญหา
ระหวา่ งเรยี น 2. ประเมินเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ 4. ประเมินพฤติกรรมในการ

เป็นรายบคุ คล ปฏิบตั กิ จิ กรรมเปน็ รายบุคคล
หรอื รายกลมุ่

5. สาระการเรียนรู้
การกร่อนของหิน

6. แนวทางการบรู ณาการ

ภาษาไทย สนทนา พูดคยุ หรือเลา่ ประสบการณ์และเขยี นรายงานเรอื่ งการกร่อน

ของหนิ จากการศึกษาคน้ ควา้ จากเอกสารทีเ่ กี่ยวข้องและอินเทอร์เนต็

ศิลปะ ตกแตง่ และระบายสีภาพวาดการกร่อนของหนิ ตามจินตนาการหรอื

ประสบการณ์ของนักเรียนให้สวยงามจดั ปาู ยนเิ ทศแสดงผลงานเกยี่ วกับการ

กร่อนของหนิ จากการศกึ ษาค้นคว้าจากเอกสารทีเ่ ก่ียวข้องและอินเทอรเ์ นต็

สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

สนทนา พดู คยุ เกี่ยวกบั การเปลี่ยนแปลงของหนิ ทเ่ี กดิ จากการกร่อนและการ

ผพุ งั อยู่กบั ท่ี เชน่ หนิ บริเวณอุทยานแห่งชาตกิ นุ ุงมลู ู บนเกาะบอรเ์ นียว

ประเทศมาเลเซีย

ภาษาต่างประเทศ ฟงั พูด อา่ น และเขียนคําศัพท์ภาษาต่างประเทศเก่ยี วกับการกรอ่ นของหิน

ทเี่ รียนรู้หรือท่ีนักเรียนสนใจ

7. กระบวนการจัดการเรยี นรู้
ข้ันนาเข้าสูบ่ ทเรียน

1) ครถู ามคาํ ถามนักเรียน เพื่อกระตุน้ ความสนใจ เชน่
- หินทีอ่ ยู่ตามธรรมชาติมีขนาดเลก็ ลงได้หรือไม่ เพราะอะไร

2) ครูร่วมสนทนากับนักเรียนเก่ียวกับคําตอบท่ีนักเรียนตอบ เพื่อเช่ือมโยงไปสู่การเรียนรู้เร่ืองการ
กร่อนของหนิ


โรงเรียนบ้านเปาู

ขนั้ จดั กิจกรรมการเรียนรู้

จดั กจิ กรรมการเรยี นร้โู ดยใชก้ ระบวนการสบื เสาะหาความรู้ร่วมกับแบบกลับด้านช้ันเรียน ซึ่งมีขั้นตอน

ดงั นี้

1) ขัน้ สรา้ งความสนใจ

(1) ครูให้นักเรียนนําใบงาน สืบค้นข้อมูลก่อนเรียน 14 ท่ีครูมอบหมายให้ไปเรียนรู้ล่วงหน้าที่บ้านมา

อภิปรายร่วมกนั ในชัน้ เรยี น

(2) ครูตรวจสอบว่านักเรียนทํากิจกรรมที่ได้รับมอบหมายไปหรือไม่ โดยตรวจสอบจากการจดบันทึก

ของนักเรยี น และถามคําถามเกี่ยวกับกิจกรรม ดงั น้ี

- การกร่อนที่เกิดข้ึนในประเทศไทยเกิดจากตัวการใดมากท่ีสุด (แนวคําตอบ กระแสนํ้า

เพราะว่าประเทศไทยมแี มน่ าํ้ อยู่เปน็ จาํ นวนมาก)

- ผลกระทบเนื่องจากการกัดกร่อนของหินส่งผลในเร่ืองใดบ้าง เพราะอะไร (แนวคําตอบ ทํา

ให้พื้นผิวโลกเปลี่ยนแปลงไป เช่น ส่วนท่ีเคยเป็นที่สูงอาจพังทลายลง บริเวณที่เป็นท่ีตํ่ามีการทับถมขึ้น มีการ

ตกตะกอนในท้องนํ้า ทําใหท้ ้องนาํ้ ตนื้ เขินได)้

(3) ครูเปดิ โอกาสใหน้ กั เรียนตง้ั ประเด็นคําถามท่ีนักเรียนสงสัยจากการทํากิจกรรมอย่างน้อยคนละ 1

คาํ ถาม ซง่ึ ครูให้นกั เรียนเตรียมมาลว่ งหน้า และใหน้ กั เรยี นชว่ ยกันตอบและแสดงความคดิ เหน็

(4) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเก่ียวกับกิจกรรม สืบค้นข้อมูลก่อนเรียน 14 โดยครูช่วยอธิบายให้

นักเรียนเข้าใจว่า การกร่อนเป็นการเปล่ียนแปลงสภาพของหินท่ีเกิดได้ 2 แบบ คือ การเปล่ียนแปลงทาง

กายภาพและการเปล่ียนแปลงทางเคมี

2) ขน้ั สารวจและคน้ หา

(1) ให้นักเรียนศึกษาการกร่อนของหินจากใบความรู้หรือในหนังสือเรียน หนังสืออื่นๆ จากห้องสมุด

หรืออินเทอร์เนต็

(2) นกั เรยี นแบง่ กลมุ่ และปฏบิ ตั ิกิจกรรม สงั เกตการกร่อน ตามข้นั ตอนทางวิทยาศาสตร์

โดยใช้ทกั ษะ/กระบวนการสงั เกตดงั น้ี

- แต่ละกลุ่มนําชอล์ก 3 แท่ง มาแบ่งเป็นแท่งละ 3 ส่วน ใช้แว่นขยายสังเกตส่วนปลายของชอล์ก

บริเวณรอยหักทีละอัน บันทึกรายละเอียดเกี่ยวกับชอล์กลงในตาราง แล้วแยกชอล์ก 3 ชิ้นไว้ เพ่ือใช้เป็น

ตัวอย่างเปรียบเทียบในการสังเกต

- สร้างแบบจําลองของการกร่อนและผุพัง โดยใส่หินก้อนเล็ก ๆ ลงในถ้วย ก 4-5 ก้อน จากน้ัน

เติมนํา้ ปรมิ าณ 3 ของถ้วย
4
- ใส่ชอล์ก 3 ช้ิน ลงไปในถ้วย ก ปิดฝาให้แน่น ใช้

กระดาษกาวปิดทับ ดังรูป จับบริเวณส่วนบนของฝาปิดแล้ว

เขย่าถ้วยแรง ๆ ใช้นาฬิกาจับเวลาประมาณ 4 นาที แล้วจึง

เปดิ ฝาออก


โรงเรียนบา้ นเปาู

- ใช้ช้อนตักชอล์กออก แล้ววางลงบนกระดาษชําระ ใช้แว่นขยายสังเกตชอล์ก เพ่ือหาร่องรอย

ของการกรอ่ นและผพุ ัง เปรียบเทียบชอล์ก 3 ช้นิ นีก้ บั ชอลก์ อีก 3 ชนิ้ ทแี่ ยกไว้กอ่ นหนา้ น้ี บนั ทกึ ผลการสังเกต

- สร้างแบบจําลองของการกร่อนและผุพังแบบ

อื่นๆ โดยนาํ น้ําส้มสายชูใส่ในถ้วย ข ประมาณ 3 ของถ้วย ใส่
4
ชอล์กท่ีเหลือ 3 ชิ้นลงไปในถ้วย ดังรูป สังเกตชอล์กใน

นํา้ สม้ สายชปู ระมาณ 4 นาที บนั ทกึ ผลการสงั เกต

- ดาํ เนินการซ้าํ ข้ันตอนท่ี 4

(3) นกั เรยี นและครรู ่วมกนั ตรวจสอบความถูกตอ้ งของขอ้ มลู ท่ีไดจ้ ากใบกิจกรรม
4) ครคู อยแนะนําชว่ ยเหลอื นักเรียนขณะปฏิบตั กิ ิจกรรม โดยครูเดินดูรอบๆ ห้องเรียนและเปิดโอกาส
ให้นกั เรยี นทุกคนซักถามเมอ่ื มีปัญหา
3) ขนั้ อธิบายและลงขอ้ สรปุ
(1) นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มสง่ ตวั แทนกลมุ่ นําเสนอข้อมูลจากการปฏิบตั ิกจิ กรรม
(2) นกั เรยี นและครรู ่วมกันอภปิ รายและหาข้อสรปุ จากการปฏิบัตกิ จิ กรรม โดยใชแ้ นวคาํ ถามต่อไปน้ี

- แท่งชอล์กในถ้วยใดเป็นการเปล่ียนแปลงทางกายภาพ และแท่งชอล์กในถ้วยใดเป็นการ
เปล่ียนแปลงทางเคมี (แนวคําตอบ ถ้วยท่ีมีนํ้า ก้อนหินขนาดเล็ก และชอล์กแสดงถึงการเปล่ียนแปลงทาง
กายภาพ ถ้วยที่มีนา้ํ สม้ สายชแู ละชอล์กแสดงถงึ การเปล่ยี นแปลงทางเคม)ี

- การกร่อนท่ีเกิดขึ้นในถ้วย ก ชัดเจนกว่าท่ีเกิดขึ้นในถ้วย ข หรือไม่ เพราะอะไร (แนวคําตอบ
ถ้วย ก (ท่ีมีนํ้า ก้อนหินขนาดเล็ก และชอล์ก) เกิดการเปล่ียนแปลงชัดเจนกว่าถ้วย ข (ที่มีนํ้าส้มสายชูและ
ชอล์ก) เนื่องจากถ้วย ก เปรียบได้กับการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ถ้วย ข เปรียบได้กับการเปล่ียนแปลงทาง
เคมี)

- ผลสรุปของการปฏิบัติกิจกรรมนี้คืออะไร (แนวคําตอบ การกร่อนของหินเกิดได้ 2 ลักษณะ คือ
การกร่อนทางกายภาพและการกรอ่ นทางเคม)ี

(3) นักเรียนและครูร่วมกนั สรปุ ผลการปฏิบตั กิ จิ กรรม โดยเนน้ ให้นกั เรยี นเข้าใจว่า การกร่อนเป็นการ
เปลี่ยนแปลงของหินท่ีมี 2 ลักษณะ คือ การกร่อนทางกายภาพและการกร่อนทางเคมี ซ่ึงทั้ง 2 ลักษณะมีความ
แตกต่างกัน

(4) เขยี นรายงานการศึกษาค้นควา้ เร่อื งการกร่อนของหนิ จากการสงั เกตและสบื ค้นข้อมูลจาก
เอกสารทเ่ี กี่ยวข้อง
4) ข้ันขยายความรู้

(1) นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับการกร่อนของหินในพื้นที่ต่างๆ จากใบความรู้
หรือหนงั สอื วารสาร สารานุกรมวิทยาศาสตร์ สารานกุ รมไทยสาํ หรบั เยาวชน และอินเทอร์เน็ตรวมท้ังนําข้อมูล
ท่คี น้ คว้าได้มาจดั ทาํ เป็นรายงาน หรือจัดปาู ยนิเทศใหเ้ พอื่ น ๆ ไดท้ ราบเพือ่ แลกเปลยี่ นเรียนรู้กัน


โรงเรยี นบา้ นเปูา

(2) ครูเชื่อมโยงความรู้สู่อาเซียน โดยครูยกตัวอย่างและนํารูปการเปล่ียนแปลงของหินที่เกิดจากการ
กร่อนและการผุพังอยู่กับที่มาให้นักเรียนดู เช่น หินบริเวณอุทยานแห่งชาติกุนุงมูลู (Gunung Mulu National
Park) บนเกาะบอร์เนยี ว รฐั ซาราวัก ประเทศมาเลเซีย ซงึ่ อยูต่ ิดกับชายแดนประเทศบรูไนดารุสซาลาม อุทยาน
แห่งนี้มีภูมิประเทศแบบหินปูน การผุพังอยู่กับท่ีและการกร่อนของหินปูน ทําให้พ้ืนท่ีบริเวณน้ีมีลักษณะสูงๆ
ต่าํ ๆ มหี นา้ ผาสูงชนั และยอดแหลม มักพบรอยแตกกวา้ งและลกึ จนกลายเป็นถํ้า ถํ้าทีม่ ีขนาดใหญ่ที่สุดในโลกอยู่
ในอุทยานแห่งนี้ คือ ถ้ําซาราวัค แซมเบอร์ (Sarawak Chamber) ถ้ําแห่งน้ีมีความยาว 700 เมตร กว้าง 396
เมตร สูง 80 เมตร เม่ือคํานวณพ้ืนท่ีแล้วสามารถบรรจุเครื่องบิน Boeing 747 ได้จํานวนหลาย อุทยาน
แห่งชาติกนุ ุงมูลูได้รบั การขนึ้ ทะเบยี นเปน็ มรดกโลกเม่ือปี พ.ศ. 2543

(3) นักเรียนค้นคว้าคําศัพท์ภาษาต่างประเทศเกี่ยวกับการกร่อนของหิน จากหนังสือเรียน
ภาษาต่างประเทศหรอื อินเทอรเ์ นต็
5) ข้ันประเมิน

(1) ครใู ห้นกั เรียนแตล่ ะคนพิจารณาว่าจากหัวข้อท่ีเรยี นมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจุดใดบ้างที่ยังไม่
เข้าใจหรอื ยังมีข้อสงสัย ถ้ามีครชู ่วยอธิบายเพมิ่ เตมิ ใหน้ กั เรยี นเข้าใจ

(2) นักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคใด และได้มีการแก้ไข
อย่างไรบา้ ง

(3) ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรมและ
การนาํ ความรู้ท่ไี ด้ไปใชป้ ระโยชน์

(4) ครทู ดสอบความเขา้ ใจของนกั เรียนโดยการใหต้ อบคาํ ถาม เชน่
- นักเรียนจะนําความรเู้ รอื่ ง การกร่อนไปใช้ประโยชนใ์ นชวี ิตประจําวันในเรอื่ งใดบ้าง เพราะอะไร
- ผลกระทบเนื่องจากการกร่อนของหนิ จะสง่ ผลในเรื่องใดบา้ ง เพราะอะไร

ขั้นสรุป
(1) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเก่ียวกับการกร่อน โดยร่วมกันเขียนเป็นแผนที่ความคิดหรือผังมโน

ทศั น์
(2) ครูมอบหมายให้นักเรียนไปศึกษาค้นคว้าเน้ือหาของบทเรียนชั่วโมงหน้า เพ่ือจัดการเรียนรู้ครั้ง

ต่อไป โดยใหน้ กั เรยี นศกึ ษาค้นคว้าลว่ งหนา้ ในหัวข้อแผน่ ดนิ ไหว
(3) ครูให้นักเรียนเตรียมประเด็นคําถามที่สงสัยมาอย่างน้อยคนละ 1 คําถาม เพื่อนํามาอภิปราย

รว่ มกันในชน้ั เรียนครง้ั ต่อไป

8. กจิ กรรมเสนอแนะ
นักเรียนสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับการกร่อนของหินในบริเวณต่างๆ ของประเทศไทย โดยนําข้อมูลที่

คน้ คว้าไดม้ าจัดทาํ เป็นรายงาน หรอื จดั ปูายนเิ ทศให้เพ่ือนๆ ได้ทราบเพ่อื แลกเปลี่ยนเรยี นรูก้ นั


โรงเรยี นบา้ นเปาู

9. สอ่ื /แหลง่ การเรียนรู้
1. ใบงานสืบค้นข้อมลู ก่อนเรียน 14
2. ใบกิจกรรมที่ 30 สงั เกตการกรอ่ น
3. คูม่ ือการสอน วทิ ยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 6
4. สือ่ การเรยี นรู้ PowerPoint รายวชิ าพนื้ ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 6
5. แบบฝึกทกั ษะ รายวชิ าพนื้ ฐาน วิทยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 6
6. หนงั สอื เรยี น รายวิชาพน้ื ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6


โรงเรียนบา้ นเปาู

10. บันทกึ หลังการจัดการเรยี นรู้
ความคดิ เหน็ /ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

(ลงชอื่ )..............................................
(นายธนิตย์ พระสนุ นิ )

ผอู้ าํ นวยการโรงเรียนเค็งใหญห่ นองงูเหลือม
รกั ษาการในตาํ แหนง่ ผูอ้ าํ นวยการโรงเรียนบ้านเปูา

บันทกึ หลังการสอน
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................

ปัญหา/อปุ สรรค
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

ข้อเสนอแนะ
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

(ลงชื่อ)..............................................
(นางสาววมิ ลรัตน์ ประทปี ะเสน)
ครูผู้ชว่ ย


โรงเรียนบ้านเปูา

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 40

รายวชิ าวิทยาศาสตร์ (ว16101) ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 6

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 5 หนิ บนผิวโลกและภายในโลก เวลาเรียน 15 ชวั่ โมง

เรือ่ ง แผน่ ดนิ ไหว เวลาจํานวน 2 ชวั่ โมง

**********************************************************************************

1. สาระสาคญั

แผ่นดินไหวเป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติท่ีเกิดจากการเคล่ือนตัวอย่างกะทันหันของเปลือกโลก

และเกิดขึ้นบริเวณใกลก้ บั แนวขอบแผ่นผวิ โลก ส่วนใหญจ่ ะเกิดบรเิ วณรอยแยกท่อี ยใู่ กลก้ ับแนวขอบแผ่นผิวโลก

นักวิทยาศาสตร์สร้างเคร่ืองมือวัดความไหวสะเทือนของแผ่นดินและกําหนดมาตราริกเตอร์เป็นมาตรวัดเทียบ

ขนาดของการเกดิ แผ่นดินไหว

2. ตวั ช้ีวดั ชน้ั ปี
สืบค้นและอธิบายธรณพี ิบัติภัยท่มี ีผลต่อมนุษยแ์ ละสภาพแวดล้อมในท้องถนิ่ (ว 6.1 ป. 6/3)

3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
1. อธิบายการเกดิ แผ่นดนิ ไหวได้ (K)
2. อธิบายผลกระทบท่เี กดิ จากแผ่นดนิ ไหวต่อการดาํ เนินชีวิตประจําวันได้ (K)
3. ระบุวธิ ีการปอู งกนั ตนเองขณะเกิดแผ่นดนิ ไหวได้ (K)
4. มคี วามสนใจใฝรุ ู้หรืออยากรู้อยากเห็น (A)
5. พอใจในประสบการณก์ ารเรยี นรู้ทเ่ี ก่ยี วกบั วทิ ยาศาสตร์ (A)
6. ทาํ งานร่วมกับผู้อ่นื อยา่ งสร้างสรรค์ (A)
7. สื่อสารและนาํ ความรเู้ รื่องแผน่ ดนิ ไหวไปใช้ในชีวติ ประจําวนั ได้ (P)

4. การวดั และการประเมนิ ผลการเรยี นรู้

ด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริยธรรม และ ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P)
จติ วิทยาศาสตร์ (A)
1. ประเมนิ ทักษะ/กระบวนการทาง
1. ซกั ถามความรเู้ ร่ือง 1. ประเมนิ เจตคติทาง วทิ ยาศาสตร์

แผน่ ดนิ ไหว วิทยาศาสตรเ์ ป็นรายบุคคล 2. ประเมนิ ทกั ษะการคิด
3. ประเมนิ ทักษะการแก้ปญั หา
2. ประเมนิ กจิ กรรมฝกึ ทักษะ 2. ประเมนิ เจตคตติ อ่ 4. ประเมนิ พฤติกรรมในการปฏบิ ัติ

ระหว่างเรียน วทิ ยาศาสตรเ์ ปน็ รายบุคคล กจิ กรรมเปน็ รายบุคคลหรือรายกลุ่ม


โรงเรยี นบ้านเปาู

5. สาระการเรียนรู้
แผ่นดนิ ไหว

6. แนวทางการบูรณาการ

ภาษาไทย สนทนา พดู คุย หรือเลา่ ประสบการณ์และเขยี นรายงานเร่ืองแผ่นดนิ ไหว

จากการศึกษาคน้ ควา้ จากเอกสารทเ่ี กี่ยวขอ้ งและอินเทอร์เน็ต

สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

สนทนา พดู คยุ เกย่ี วกบั สาเหตุการเกิดแผน่ ดนิ ไหวในประเทศไทย และ

แผน่ ดินไหวที่เกดิ ขน้ึ ในประเทศสมาชิกอาเซยี น เชน่ อินโดนีเซยี

ศลิ ปะ ตกแตง่ และระบายสีภาพวาดแผ่นดนิ ไหวตามจินตนาการหรอื ประสบการณ์

ของนักเรียนใหส้ วยงาม จดั ปาู ยนิเทศแสดงผลงานเก่ยี วกบั แผ่นดินไหวและ

การปูองกนั ตนจากแผน่ ดินไหว จากการศกึ ษาคน้ คว้าจากเอกสารท่ี

เกย่ี วข้องและอินเทอร์เน็ต

ภาษาตา่ งประเทศ ฟงั พดู อ่าน และเขยี นคําศัพท์ภาษาต่างประเทศเก่ยี วกับแผน่ ดนิ ไหว

ทเ่ี รยี นร้หู รอื ทนี่ ักเรียนสนใจ

7. กระบวนการจดั การเรยี นรู้
ขั้นนาเข้าสูบ่ ทเรียน

1) ครูนําเสนอภาพข่าวหรือเหตุการณ์เกี่ยวกับการเกิดแผ่นดินไหวมาให้นักเรียนดูประกอบ แล้วให้
นักเรียนแสดงความคดิ เหน็ ทีม่ ีตอ่ ภาพหรอื เหตุการณด์ ังกล่าว โดยใช้คาํ ถามดงั น้ี

- นักเรียนคิดว่าการเกิดแผ่นดินไหวมีความเกี่ยวข้องกับลักษณะภูมิประเทศและท่ีต้ังของประเทศ
นนั้ ๆ หรอื ไม่ เพราะเหตใุ ด

- นักเรยี นคิดว่าสาเหตุของการเกดิ แผ่นดินไหวน่าจะเกิดจากอะไร
2) ครูร่วมสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับคําตอบที่นักเรียนตอบ เพ่ือเชื่อมโยงไปสู่การเรียนรู้เร่ือง
แผน่ ดินไหว
ข้นั จัดกจิ กรรมการเรยี นรู้
จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับแบบกลับด้านชั้นเรียน ซึ่งมี
ข้นั ตอนดงั นี้
1) ข้ันสร้างความสนใจ
(1) ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนแล้วเปิดโอกาสให้นักเรียนในกลุ่มนําเสนอข้อมูลเก่ียวกับแผ่นดินไหว ท่ีครู
มอบหมายให้ไปเรียนรู้ล่วงหน้าให้เพื่อนๆ ในกลุ่มฟัง จากนั้นให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนมานําเสนอข้อมูลหน้า
ห้องเรียน


โรงเรียนบา้ นเปาู

(2) ครตู รวจสอบวา่ นกั เรยี นทําภาระงานท่ีไดร้ ับมอบหมายไปหรือไม่ โดยตรวจสอบจากการจดบันทึก
ของนกั เรียน และถามคําถามเกยี่ วกับภาระงาน ดงั นี้

- เปลือกโลกเป็นแผ่นเดียวกันหมดหรือไม่ เปลือกโลกที่นักเรียนสังเกตได้มีลักษณะใด (แนว
คําตอบ ไม่ มีลักษณะแยกเป็นส่วนๆ เรียกว่า แผ่นผิวโลก ซึ่งจะประกอบกันเหมือนช้ินส่วนจิกซอว์รวมกันเป็น
เปลือกโลก)

- นักเรยี นคดิ วา่ เปลือกโลกมกี ารเคลอ่ื นตัวไดห้ รอื ไม่ และมีสาเหตุมาจากอะไร (แนวคําตอบ ได้
สาเหตมุ าจากแผน่ เปลือกโลกลอยอยูบ่ นชน้ั หินหลอมเหลวทอ่ี ยูภ่ ายในโลก ซึง่ มกี ารเคลอ่ื นทอี่ ยู่ตลอดเวลา)

(3) ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนต้ังประเด็นคําถามท่ีนักเรียนสงสัยจากการทําภาระงานอย่างน้อยคนละ
1 คําถาม ซึง่ ครใู ห้นกั เรียนเตรยี มมาล่วงหน้า และใหน้ กั เรยี นช่วยกันตอบและแสดงความคิดเห็น

(4) ครแู ละนักเรียนร่วมกันสรุปเก่ยี วกับภาระงาน โดยครูช่วยอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า แผ่นดินไหว
เปน็ ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดจากการเคลอ่ื นตวั อย่างกะทันหันของเปลือกโลกและเกิดขึ้นบริเวณใกล้กับ
แนวขอบแผน่ ผิวโลก
2) ข้นั สารวจและค้นหา

(1) ให้นักเรียนศึกษาแผ่นดินไหวจากใบความรู้หรือในหนังสือเรียน หนังสืออ่ืนๆ จากห้องสมุด หรือ
อนิ เทอร์เนต็

(2) แบ่งนกั เรยี นเปน็ กลมุ่ สืบค้นข้อมลู เกย่ี วกับแผน่ ดินไหว โดยดําเนินการตามขั้นตอนดังนี้
- แต่ละกลุ่มวางแผนการสืบค้นข้อมูลแผ่นดินไหว โดยแบ่งหัวข้อย่อยให้เพื่อนสมาชิกช่วยกัน

สืบค้นตามที่สมาชิกกลุ่มช่วยกันกําหนดหัวข้อย่อย เช่น สาเหตุของการเกิดแผ่นดินไหว ผลกระทบที่เกิดจาก
แผ่นดินไหวทมี่ ีต่อส่งิ มีชีวิตและสิง่ แวดล้อม และการปฏบิ ัตติ นเม่อื เกดิ แผน่ ดินไหว

- สมาชิกกลุ่มแต่ละคนหรือกลุ่มย่อยช่วยกันสืบค้นข้อมูลตามหัวข้อย่อยที่ตนเองรับผิดชอบ
โดยการสืบคน้ จากใบความรู้ที่ครูเตรยี มมาให้ หรอื หนังสือ วารสารวิทยาศาสตร์ สารานุกรม และอนิ เทอร์เนต็

- สมาชิกกลุ่มนําข้อมูลท่ีสืบค้นได้มารายงานให้เพ่ือนๆ สมาชิกในกลุ่มฟัง รวมท้ังร่วมกัน
อภิปรายซกั ถามจนคาดว่าสมาชกิ ทุกคนมคี วามรคู้ วามเข้าใจทตี่ รงกัน

- สมาชิกกลุ่มช่วยกันสรุปความรู้ที่ได้ท้ังหมดเป็นผลงานของกลุ่ม และช่วยกันจัดทํารายงาน
การศึกษาค้นควา้ เกย่ี วกับการเกดิ แผ่นดินไหว

(3) ครูคอยแนะนําช่วยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบๆ ห้องเรียนและเปิด
โอกาสใหน้ กั เรยี นทกุ คนซักถามเม่ือมปี ัญหา
3) ขัน้ อธิบายและลงข้อสรปุ

(1) นกั เรยี นแต่ละกลมุ่ ส่งตัวแทนกลุ่มนาํ เสนอขอ้ มูลจากการปฏบิ ตั ิกิจกรรม
(2) นักเรียนและครรู ว่ มกันอภิปรายและหาข้อสรุปจากการปฏบิ ัติกิจกรรม โดยใช้แนวคาํ ถามตอ่ ไปนี้


โรงเรยี นบ้านเปูา

- ประเทศที่ต้ังอยู่ในลักษณะภูมิประเทศแบบใดมีโอกาสเกิดแผ่นดินไหวได้มากที่สุด (แนว
คําตอบ ประเทศท่ีอยู่ใกล้บริเวณรอยแยกที่อยู่ใกล้กับแนวขอบแผ่นผิวโลกท่ีเรียกว่า วงแหวนไฟ คือ บริเวณ
แนวลอ้ มรอบมหาสมุทรแปซฟิ กิ เช่น ประเทศชลิ ี เปรู อินโดนเี ซยี ฟลิ ิปปินส์ และญป่ี ุน)

- ขนาดของแผ่นดินไหวใชม้ าตรวดั ใด (แนวคาํ ตอบ มาตรารกิ เตอร์)
(3) นักเรียนและครูร่วมกันสรุปผลการปฏิบัติกิจกรรม โดยให้ได้ข้อสรุปว่า แผ่นดินไหวเกิดจากหินที่
หลอมเหลวอยู่ใต้พื้นโลก ซ่ึงเป็นของเหลวท่ีมีการเคล่ือนท่ีอยู่ตลอดเวลา ระหว่างท่ีเคลื่อนท่ีนั้นมีแรงและ
พลงั งานมหาศาลที่จะดันหรือทําใหห้ ินหลอมเหลวทะลักออกมายังพื้นผิวโลกได้ รวมท้ังอธิบายให้นักเรียนเข้าใจ
วา่ แผน่ เปลอื กโลกทเี่ ราอาศยั อยลู่ อยอยู่บนหินหลอมเหลวดังกล่าวนี้
(4) จัดทําปูายนิเทศแสดงกระบวนการเกิดแผ่นดินไหว และการปูองกันตนจากแผ่นดินไหวจาก
การศกึ ษาคน้ คว้าจากเอกสารทเ่ี ก่ยี วข้องและอินเทอร์เน็ต
4) ขัน้ ขยายความรู้
(1) ครูอธบิ ายความร้เู ก่ยี วกับการเกดิ แผ่นดินไหว การทาํ งานของเคร่อื งวดั ความไหวสะเทือนขณะเกิด
แผ่นดนิ ไหว และมาตรารกิ เตอรท์ ีน่ กั วิทยาศาสตร์ใช้เป็นมาตรวัดขนาดของแผ่นดินไหวให้นักเรียนได้เรียนรู้และ
แสดงความคดิ เห็น
(2) ครูเชื่อมโยงความรู้สู่อาเซียน โดยครูนําอภิปรายว่า ประเทศไทยของเราอยู่นอกรอยต่อของแผ่น
เปลอื กโลก จึงมีโอกาสเกดิ แผ่นดินไหวไม่มากนัก การเกิดแผ่นดินไหวในประเทศไทยอาจจะมีสาเหตุมาจากการ
เกดิ แผ่นดนิ ไหวขนาดใหญภ่ ายนอกประเทศซึ่งอยู่ใกลเ้ คียง เช่น มแี หลง่ กําเนดิ จากตอนใตข้ องประเทศจีน เมียน
มา ลาว ทะเลอันดามัน และตอนเหนือของเกาะสุมาตรา แล้วส่งแรงสั่นสะเทือนมายังประเทศไทย มีผลให้
บริเวณภาคเหนือ ภาคใต้ ภาคตะวันตก และภาคกลาง รู้สึกได้ถึงแรงส่ันสะเทือน ประเทศในกลุ่มสมาชิก
อาเซียนท่ีต้องเผชิญกับภัยธรรมชาติ เช่น ภูเขาไฟปะทุ แผ่นดินไหว และสึนามิมากท่ีสุด คือ อินโดนีเซีย
เนือ่ งจากเกอื บท้งั ประเทศตงั้ อย่ใู นแนว “วงแหวนไฟ” หรือรอยต่อของแผ่นเปลือกโลกที่มีการเคล่ือนตัว ทําให้
เกิดแรงส่นั สะเทือนมหาศาล
(3) นักเรยี นคน้ ควา้ คําศพั ทภ์ าษาต่างประเทศเก่ียวกบั แผน่ ดินไหว จากหนังสือเรยี น
ภาษาต่างประเทศ หรืออนิ เทอรเ์ นต็
5) ขน้ั ประเมนิ
(1) ครใู หน้ กั เรียนแต่ละคนพิจารณาว่าจากหัวขอ้ ท่ีเรยี นมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจุดใดบ้างที่ยังไม่
เข้าใจหรอื ยงั มีขอ้ สงสัย ถา้ มคี รชู ว่ ยอธิบายเพม่ิ เตมิ ให้นกั เรียนเข้าใจ
(2) นักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคใด และได้มีการแก้ไข
อย่างไรบ้าง
(3) ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับประโยชน์ท่ีได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรมและ
การนาํ ความรูท้ ไ่ี ด้ไปใชป้ ระโยชน์
(4) ครูทดสอบความเขา้ ใจของนักเรยี นโดยการใหต้ อบคําถาม เชน่


โรงเรยี นบา้ นเปาู

- แผน่ ดินไหวเกิดจากสาเหตุใด
- แผน่ ดินไหวเกดิ ข้นึ บรเิ วณใดของโลก และลักษณะภมู ิประเทศแบบใดที่มักจะเกิด
แผน่ ดินไหวอยบู่ ่อยๆ
- นกั วิทยาศาสตร์คดิ หาวิธีปอู งกนั การเกดิ แผน่ ดนิ ไหวไดห้ รือไม่ เพราะเหตใุ ด
- เครื่องมือวัดความรุนแรงของการเกิดแผ่นดินไหวเรียกว่าอะไร และขนาดของแผ่นดินไหวมี
หน่วยการวดั ทชี่ ื่อว่าอะไร
ขน้ั สรุป
(1) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเก่ียวกับแผ่นดินไหว โดยร่วมกันเขียนเป็นแผนท่ีความคิดหรือผังมโน
ทศั น์
(2) ครูมอบหมายให้นักเรียนไปศึกษาค้นคว้าเนื้อหาของบทเรียนช่ัวโมงหน้า เพื่อจัดการเรียนรู้คร้ัง
ตอ่ ไป โดยให้นักเรียนศึกษาคน้ ควา้ ล่วงหนา้ ในหัวข้อภเู ขาไฟ
(3) ครูให้นักเรียนเตรียมประเด็นคําถามที่สงสัยมาอย่างน้อยคนละ 1 คําถาม เพ่ือนํามาอภิปราย
ร่วมกันในช้ันเรียนครงั้ ต่อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
นักเรียนสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับประวัติของการเกิดแผ่นดินไหวบนโลกและของประเทศไทยโดยนํา

ข้อมลู ท่คี ้นควา้ ไดม้ าจัดทําเปน็ รายงาน หรือจดั ปาู ยนเิ ทศใหเ้ พื่อนๆ ไดท้ ราบเพ่อื แลกเปลย่ี นเรียนร้กู นั

9. สอ่ื /แหล่งการเรยี นรู้
1. ภาพขา่ วเหตกุ ารณเ์ ก่ียวกับการเกิดแผ่นดนิ ไหว
2. คู่มอื การสอน วทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6
3. ส่ือการเรยี นรู้ PowerPoint รายวิชาพ้นื ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 6
4. แบบฝกึ ทักษะ รายวชิ าพนื้ ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 6
5. หนังสอื เรยี น รายวชิ าพืน้ ฐาน วิทยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 6


โรงเรยี นบา้ นเปูา

10. บนั ทึกหลังการจัดการเรยี นรู้
ความคดิ เหน็ /ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

(ลงชือ่ )..............................................
(นายธนติ ย์ พระสนุ นิ )

ผอู้ ํานวยการโรงเรยี นเค็งใหญ่หนองงูเหลือม
รักษาการในตําแหนง่ ผ้อู ํานวยการโรงเรียนบ้านเปูา

บนั ทึกหลงั การสอน
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................................................................................................... ..........

ปญั หา/อปุ สรรค
........................................................................................................ ......................................................................
............................................................................................................................. .................................................
..................................................................................................................................... .........................................

ขอ้ เสนอแนะ
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

(ลงช่ือ)..............................................
(นางสาววมิ ลรัตน์ ประทปี ะเสน)
ครผู ู้ชว่ ย


โรงเรียนบา้ นเปูา

แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ 41

รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ (ว16101) ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6

หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 5 หินบนผิวโลกและภายในโลก เวลาเรียน 15 ชั่วโมง

เรื่อง ภูเขาไฟปะทุ เวลาจํานวน 2 ช่ัวโมง

**********************************************************************************

1. สาระสาคญั

ภูเขาไฟปะทุเกิดจากหินหนืดที่อยู่ภายในโลกถูกแรงที่มีพลังมหาศาลดันออกมาตามรอยแยกของ

เปลือกโลก แลว้ แตกออกอยา่ งรนุ แรงเปน็ ลาวาพุ่งและไหลไปรอบบรเิ วณภเู ขาไฟ

2. ตัวชี้วดั ชน้ั ปี
สืบคน้ และอธิบายธรณพี ิบัติภัยทมี่ ผี ลตอ่ มนุษยแ์ ละสภาพแวดลอ้ มในท้องถิน่ (ว 6.1 ป. 6/3)

3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
1. อธิบายการเกดิ ภเู ขาไฟปะทุได้ (K)
2. อธบิ ายผลกระทบทเ่ี กิดจากภูเขาไฟปะทตุ ่อการดาํ เนนิ ชีวติ ประจาํ วันได้ (K)
3. ระบุวธิ ีการปูองกนั ตนเองขณะเกดิ ภูเขาไฟปะทุได้ (K)
4. มีความสนใจใฝรุ หู้ รอื อยากรอู้ ยากเหน็ (A)
5. พอใจในประสบการณก์ ารเรยี นร้ทู ีเ่ กย่ี วกับวิทยาศาสตร์ (A)
6. ทาํ งานร่วมกับผูอ้ ื่นอยา่ งสร้างสรรค์ (A)
7. ส่ือสารและนาํ ความร้เู รื่องภูเขาไฟปะทุไปใชใ้ นชีวิตประจําวันได้ (P)

4. การวัดและการประเมนิ ผลการเรยี นรู้

ด้านความรู้ (K) ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม และ ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P)
จิตวทิ ยาศาสตร์ (A)
1. ประเมินทักษะ/กระบวนการ
1. ซกั ถามความรู้เร่ืองภเู ขาไฟ 1. ประเมินเจตคติทาง ทางวิทยาศาสตร์

ปะทุ วิทยาศาสตร์เปน็ รายบคุ คล 2. ประเมนิ ทักษะการคิด
3. ประเมินทักษะการแก้ปัญหา
2. ประเมนิ กิจกรรมฝึกทักษะ 2. ประเมินเจตคตติ อ่ วิทยาศาสตร์ 4. ประเมนิ พฤติกรรมในการ

ระหวา่ งเรียน เปน็ รายบคุ คล ปฏบิ ตั ิกิจกรรมเป็นรายบุคคล
หรอื รายกลุ่ม


โรงเรยี นบ้านเปาู

5. สาระการเรียนรู้
ภเู ขาไฟปะทุ

6. แนวทางการบูรณาการ

ภาษาไทย สนทนา พดู คุย หรือเลา่ ประสบการณ์ และเขียนรายงานเรื่องภูเขาไฟปะทุ

จากการศึกษาคน้ คว้าจากเอกสารท่ีเกย่ี วข้องและอนิ เทอร์เน็ต

ศิลปะ ตกแตง่ และระบายสีภาพวาดภเู ขาไฟตามจนิ ตนาการของนักเรยี นให้

สวยงาม จดั ปาู ยนเิ ทศแสดงผลงานเก่ยี วกบั ภูเขาไฟและการปอู งกนั ตนจาก

ภเู ขาไฟปะทุ จากการศกึ ษาค้นควา้ จากเอกสารท่ีเกย่ี วขอ้ งและอนิ เทอรเ์ นต็

สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม

สนทนา พูดคุยเกี่ยวกับประเทศสมาชิกอาเซียนที่มีภเู ขาไฟอย่เู ป็นจาํ นวน

มาก เช่น อินโดนีเซยี และฟิลิปปนิ ส์

ภาษาตา่ งประเทศ ฟงั พูด อา่ น และเขียนคาํ ศัพท์ภาษาต่างประเทศเก่ียวกับภูเขาไฟปะทุท่ี

เรียนรู้หรอื ที่นกั เรียนสนใจ

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขนั้ นาเขา้ สบู่ ทเรยี น

1) ครูนําเสนอภาพข่าวหรือเหตุการณ์เก่ียวกับการเกิดภูเขาไฟปะทุในประเทศต่างๆ มาให้นักเรียนดู
แลว้ ใหน้ ักเรยี นแสดงความคิดเห็นทมี่ ตี ่อภาพหรือเหตุการณด์ งั กล่าว โดยใชค้ ําถามดังนี้

- นักเรียนคิดว่าสาเหตุของการเกดิ ภูเขาไฟปะทุนา่ จะเกิดจากอะไร
- นักเรียนคิดว่าการที่ภูเขาไฟปะทุมีความเกี่ยวข้องกับลักษณะภูมิประเทศและที่ตั้งของ
ประเทศนนั้ ๆ หรือไม่ เพราะเหตุใด
2) ครูร่วมสนทนากบั นักเรยี นเกย่ี วกบั คาํ ตอบท่ีนักเรียนตอบ เพ่ือเช่ือมโยงไปสกู่ ารเรยี นร้เู รื่อง
ภูเขาไฟปะทุ
ขน้ั จัดกจิ กรรมการเรียนรู้
จดั กิจกรรมการเรยี นรู้โดยใชก้ ระบวนการสืบเสาะหาความรู้รว่ มกับแบบกลบั ด้านชัน้ เรียน ซึง่ มี
ขัน้ ตอนดงั น้ี
1) ขนั้ สรา้ งความสนใจ
(1) ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนแล้วเปิดโอกาสให้นักเรียนในกลุ่มนําเสนอข้อมูลเก่ียวกับภูเขาไฟ ท่ีครู
มอบหมายให้ไปเรียนรู้ล่วงหน้าให้เพ่ือนๆ ในกลุ่มฟัง จากนั้นให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนมานําเสนอข้อมูลหน้า
หอ้ งเรยี น
(2) ครตู รวจสอบว่านักเรียนทาํ ภาระงานทไ่ี ดร้ บั มอบหมายไปหรือไม่ โดยตรวจสอบจากการจดบันทึก
ของนกั เรยี น และถามคาํ ถามเก่ียวกบั ภาระงาน ดงั น้ี


โรงเรียนบ้านเปาู

- ภูเขาไฟท่ีมีอยู่บนโลกมีก่ีลักษณะ อะไรบ้าง (แนวคําตอบ 3 ลักษณะ ได้แก่ ภูเขาไฟท่ีมีพลัง
ภูเขาไฟทีม่ กี ารปะทอุ ย่างรนุ แรง และภเู ขาไฟที่สงบ)

- ภูเขาไฟแตกต่างจากภูเขาท่ัวไปอย่างไร (แนวคําตอบ ภูเขาไฟสามารถเกิดแรงปะทุหรือเกิด
แรงระเบดิ ข้ึนได้ สามารถสร้างความเสียหายใหก้ ับสงิ่ มีชวี ิตและส่ิงแวดล้อมทบี่ รเิ วณโดยรอบไดอ้ ยา่ งมหาศาล)

(3) ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนต้ังประเด็นคําถามท่ีนักเรียนสงสัยจากการทําภาระงานอย่างน้อยคนละ
1 คาํ ถาม ซง่ึ ครใู หน้ ักเรยี นเตรียมมาลว่ งหน้า และใหน้ ักเรยี นช่วยกนั ตอบและแสดงความคดิ เหน็

(4) ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกันสรปุ เก่ยี วกับภาระงาน โดยครชู ว่ ยอธิบายใหน้ ักเรียนเขา้ ใจว่า ภูเขาไฟปะทุ
เกิดจากหินหนืดท่ีอยู่ภายในโลกถูกแรงที่มีพลังมหาศาลดันออกมาตามรอยแยกของเปลือกโลก แล้วแตกออก
อย่างรนุ แรงเปน็ ลาวาพุ่งและไหลไปรอบบรเิ วณภูเขาไฟ
2) ขัน้ สารวจและคน้ หา

(1) ให้นักเรียนศึกษาภูเขาไฟปะทุจากใบความรู้หรือในหนังสือเรียน โดยครูช่วยเช่ือมโยงความรู้ใหม่
จากบทเรียนกับความรู้เดิมที่เรียนรู้มาแล้ว ด้วยการใช้คําถามนํากระตุ้นให้นักเรียนตอบจากความรู้และ
ประสบการณข์ องนักเรยี น

(2) นกั เรียนแบง่ กลมุ่ และปฏบิ ัติกจิ กรรม สืบคน้ ข้อมลู ประเภทและแหล่งกาํ เนิดภูเขาไฟ
ตามข้ันตอนทางวทิ ยาศาสตร์ โดยใช้ทักษะ/กระบวนการสังเกตดังน้ี

- แต่ละกลุ่มวางแผนการสืบค้นข้อมูล โดยแบ่งหัวข้อย่อยให้เพ่ือนสมาชิกช่วยกันสืบค้นตามที่
สมาชิกกลุ่มช่วยกันกําหนดหัวข้อย่อย เช่น ประเภทของภูเขาไฟ ลักษณะของภูเขาไฟที่จะเกิดการปะทุหรือไม่
เกดิ การปะทุ บริเวณต่าง ๆ ของโลกทม่ี ภี เู ขาไฟ และรายช่ือภูเขาไฟที่มชี ่ือเสียงของโลก

- สมาชิกกลุ่มแต่ละคนหรือกลุ่มย่อยช่วยกันสืบค้นข้อมูลตามหัวข้อย่อยท่ีตนเองรับผิดชอบ
โดยการสืบค้นจากใบความรู้ท่ีครูเตรียมมาให้ หรือหนังสือ วารสารทางธรณีวิทยา สารานุกรมวิทยาศาสตร์
สารานกุ รมไทยสําหรับเยาวชน และอนิ เทอรเ์ น็ต

- สมาชิกกลุ่มนําข้อมูลที่สืบค้นได้มารายงานให้เพ่ือน ๆ สมาชิกในกลุ่มฟัง รวมท้ังร่วมกัน
อภปิ รายซักถามจนคาดวา่ สมาชิกทกุ คนมคี วามรคู้ วามเข้าใจทตี่ รงกัน

- สมาชิกกลุ่มช่วยกันสรุปความรู้ท่ีได้ทั้งหมดเป็นผลงานของกลุ่ม และช่วยกันจัดทํารายงาน
การศึกษาค้นควา้ เก่ยี วกับประเภทและแหลง่ กําเนิดภูเขาไฟ

(3) ครูคอยแนะนําช่วยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบๆ ห้องเรียนและเปิด
โอกาสใหน้ กั เรยี นทุกคนซกั ถามเมือ่ มปี ัญหา
3) ขัน้ อธิบายและลงข้อสรปุ

(1) นกั เรยี นแต่ละกลมุ่ ส่งแทนกลุม่ นาํ เสนอขอ้ มลู จากการปฏิบตั กิ ิจกรรมหน้าชัน้ เรียน
(2) นักเรียนและครรู ่วมกันอภิปรายและหาขอ้ สรปุ จากการปฏิบตั ิกิจกรรม โดยใชแ้ นวคาํ ถามต่อไปนี้

- ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการปะทุของภูเขาไฟมีผลต่อการดํารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตในเร่ือง
ใดบ้าง อธิบายพร้อมยกตัวอย่าง (แนวคําตอบ ลาวาร้อนจากการปะทุของภูเขาไฟจะสร้างความเสียหายให้กับ


โรงเรยี นบา้ นเปูา

ชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนที่ตั้งบ้านเรือนอยู่ใกล้เคียง ฝุนละอองจากภูเขาไฟจะก่อให้เกิดมลพิษทาง
อากาศ และมีผลเสียตอ่ การคมนาคมทางอากาศ)

- ลักษณะภูมิประเทศโดยรอบภูเขาไฟมีลักษณะเป็นแบบใด อธิบายพร้อมยกตัวอย่าง (แนว
คําตอบ มีลกั ษณะภมู ิประเทศทเ่ี ปน็ เกาะ เนื่องจากภเู ขาไฟมกั เกดิ บริเวณรอยตอ่ ระหว่างทวีปกับมหาสมุทร เม่ือ
ขอบของแผ่นเปลอื กโลกใตม้ หาสมทุ รมดุ ตวั ลงใต้แผน่ เปลอื กโลกสว่ นท่ีเปน็ ทวีป แผน่ เปลอื กโลกที่มุดตัวลงไปจะ
ถูกหลอมเหลวกลายเป็นหินหนืดท่ีมีอุณหภูมิและแรงดันสูงมาก กลายเป็นภูเขาไฟ ตัวอย่างเช่น ภูเขาไฟในหมู่
เกาะฮาวาย)

(3) นกั เรยี นและครูร่วมกนั สรปุ ผลจากการปฏิบตั กิ ิจกรรม
(4) นักเรียนรว่ มกันเขยี นแผนทีค่ วามคิดเก่ยี วกบั ภเู ขาไฟปะทุ
4) ขน้ั ขยายความรู้
(1) นกั เรียนแต่ละกล่มุ ช่วยกนั สืบค้นขอ้ มูลเกย่ี วกบั ภเู ขาไฟจากใบความรูห้ รือหนงั สือและวารสารทาง
ธรณีวิทยา สารานุกรมวิทยาศาสตร์ สารานุกรมสําหรับเยาวชน และอินเทอร์เน็ต รวมท้ังนําข้อมูลท่ีค้นคว้า
ไดม้ าจัดทําเป็นรายงาน หรือจดั ปูายนิเทศให้เพ่ือน ๆ ไดท้ ราบเพ่อื แลกเปลยี่ นเรียนรู้กัน
(2) ครูเช่ือมโยงความรู้สู่อาเซียน โดยถามนักเรียนว่า รู้หรือไม่ว่าประเทศใดในอาเซียนที่มีภูเขาไฟ
มากที่สดุ (อินโดนเี ซยี ) จากน้ันครูให้ความรู้เพ่ิมเตมิ ดงั นี้
อินโดนีเซีย เป็นประเทศท่ีมีภูเขาไฟมากที่สุดในอาเซียนและมากท่ีสุดในโลก คือ ประมาณ 150 ลูก
ในจํานวนนไ้ี มต่ ํ่ากว่า 127 ลูก เป็นภูเขาไฟที่ยังไม่สงบ เน่ืองจากอินโดนีเซียต้ังอยู่ในแนววงแหวนไฟ ภูเขาไฟที่
สงู ทีส่ ุดในอนิ โดนีเซีย คอื ภเู ขาไฟเซเมรู อยู่ฝ่งั ตะวันออกของเกาะชวา สงู ถึง 3,676 เมตร
ส่วนประเทศฟิลิปปินส์ มีภูเขาไฟท่ีสวยท่ีสุดในโลก คือ ภูเขาไฟมายอน (mayon) อยู่ทางทิศ
ตะวันออกเฉยี งใตข้ องฟิลิปปนิ ส์ ภูเขาไฟลกู น้มี ีความสูงถงึ 2,462 เมตร มีรปู รา่ งเปน็ สามเหลี่ยมเกอื บสมมาตร
(3) นักเรียนค้นคว้าคําศัพท์ภาษาต่างประเทศเกี่ ยวกับภูเขาไฟปะทุ จากหนังสือเรียน
ภาษาตา่ งประเทศ หรืออินเทอรเ์ นต็
5) ข้ันประเมนิ
(1) ครูใหน้ กั เรยี นแต่ละคนพจิ ารณาว่าจากหัวขอ้ ที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจุดใดบ้างท่ียังไม่
เข้าใจหรอื ยงั มขี อ้ สงสยั ถ้ามคี รชู ว่ ยอธบิ ายเพิ่มเตมิ ใหน้ ักเรียนเข้าใจ
(2) นักเรียนรว่ มกันประเมินการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมกลมุ่ วา่ มีปัญหาหรอื อปุ สรรคใด และไดม้ ีการแก้ไข
อย่างไรบ้าง
(3) ครูและนกั เรียนรว่ มกนั แสดงความคดิ เหน็ เกยี่ วกบั ประโยชนท์ ไี่ ด้รับจากการปฏิบัตกิ จิ กรรมและ
การนําความรทู้ ี่ได้ไปใช้ประโยชน์
(4) ครูทดสอบความเขา้ ใจของนกั เรยี นโดยการใหต้ อบคําถาม เชน่

- สงิ่ ท่เี ป็นสาเหตทุ ําใหเ้ กิดภูเขาไฟปะทคุ ืออะไร
- สิง่ ท่เี ป็นผลทเ่ี กดิ จากภเู ขาไฟปะทุมีอะไรบา้ ง


โรงเรียนบ้านเปูา

- ผลกระทบท่เี กิดจากภูเขาไฟปะทคุ ืออะไร
ขั้นสรุป

(1) ครแู ละนกั เรียนร่วมกันสรุปเกย่ี วกบั ภูเขาไฟปะทุ โดยร่วมกันเขียนเป็นแผนที่ความคิดหรือผังมโน
ทศั น์

(2) ครูมอบหมายให้นักเรียนไปศึกษาค้นคว้าเน้ือหาของบทเรียนช่ัวโมงหน้า เพ่ือจัดการเรียนรู้ครั้ง
ตอ่ ไป โดยให้นกั เรยี นศกึ ษาค้นคว้าลว่ งหน้าในหัวขอ้ สนึ ามิ

(3) ครูให้นักเรียนเตรียมประเด็นคําถามที่สงสัยมาอย่างน้อยคนละ 1 คําถาม เพื่อนํามาอภิปราย
ร่วมกนั ในชนั้ เรยี นครั้งตอ่ ไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
นักเรียนสืบค้นข้อมูลความรู้เกี่ยวกับภูเขาไฟ แหล่งกําเนิด บริเวณท่ีเกิดบนทวีปต่างๆ และบริเวณ

ประเทศไทย โดยนําข้อมูลที่ค้นคว้าได้มาจัดทําเป็นรายงาน หรือจัดปูายนิเทศให้เพ่ือนๆ ได้ทราบเพ่ือ
แลกเปลี่ยนเรยี นรกู้ นั

9. สอ่ื /แหล่งการเรยี นรู้
1. ภาพขา่ วหรือเหตุการณ์เกี่ยวกับภเู ขาไฟปะทุ
2. ใบกิจกรรมท่ี 31 สืบค้นข้อมูลประเภทและแหล่งกาํ เนิดภูเขาไฟ
3. คมู่ ือการสอน วทิ ยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 6
4. สื่อการเรียนรู้ PowerPoint รายวชิ าพ้นื ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6
5. แบบฝึกทกั ษะ รายวิชาพ้นื ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6
6. หนงั สอื เรียน รายวิชาพนื้ ฐาน วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 6


โรงเรยี นบา้ นเปูา

10. บนั ทึกหลังการจดั การเรียนรู้
ความคดิ เหน็ /ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

(ลงช่ือ)..............................................
(นายธนติ ย์ พระสุนนิ )

ผ้อู ํานวยการโรงเรยี นเค็งใหญ่หนองงเู หลือม
รกั ษาการในตาํ แหนง่ ผ้อู ํานวยการโรงเรียนบา้ นเปาู

บันทกึ หลังการสอน
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................................................................................................... ..........

ปญั หา/อปุ สรรค
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

ขอ้ เสนอแนะ
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

(ลงช่ือ)..............................................
(นางสาววมิ ลรัตน์ ประทปี ะเสน)
ครูผู้ช่วย


โรงเรยี นบา้ นเปาู

แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 42

รายวิชาวิทยาศาสตร์ (ว16101) ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 6

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 5 หนิ บนผิวโลกและภายในโลก เวลาเรียน 15 ชวั่ โมง

เรอื่ ง สนึ ามิ เวลาจํานวน 1 ช่ัวโมง

**********************************************************************************

1. สาระสาคัญ

สึนามิเป็นคล่ืนนํ้าท่ีเกิดขึ้นหลังจากการเกิดแผ่นดินไหวในมหาสมุทร ซ่ึงโดยส่วนใหญ่สึนามิเกิดจาก

แผ่นดินไหวใต้นาํ้ ท่มี ีขนาดต้งั แต่ 7.5 ตามมาตรารกิ เตอรข์ น้ึ ไป

2. ตัวช้ีวดั ชั้นปี
สืบคน้ และอธิบายธรณีพิบตั ภิ ัยที่มผี ลตอ่ มนุษยแ์ ละสภาพแวดล้อมในท้องถนิ่ (ว 6.1 ป. 6/3)

3. จุดประสงค์การเรยี นรู้
1. อธบิ ายการเกิดสนึ ามไิ ด้ (K)
2. อธิบายผลกระทบท่ีเกิดจากสึนามติ อ่ การดําเนนิ ชีวติ ประจาํ วันได้ (K)
3. ระบวุ ิธีการปูองกันตนขณะเกดิ สึนามิได้ (K)
4. มคี วามสนใจใฝุรู้หรอื อยากรูอ้ ยากเหน็ (A)
5. พอใจในประสบการณก์ ารเรยี นร้ทู ่ีเกี่ยวกบั วิทยาศาสตร์ (A)
6. ทาํ งานร่วมกับผู้อื่นอยา่ งสร้างสรรค์ (A)
7. สอ่ื สารและนําความรเู้ ร่ืองสึนามิไปใชใ้ นชวี ติ ประจําวนั ได้ (P)

4. การวดั และการประเมินผลการเรียนรู้

ด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม และ ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P)
จิตวิทยาศาสตร์ (A)
1. ประเมินทักษะ/กระบวนการ
1. ซักถามความรเู้ ร่ืองสนึ ามิ 1. ประเมนิ เจตคตทิ าง ทางวทิ ยาศาสตร์

2. ประเมินกิจกรรมฝกึ ทักษะ วิทยาศาสตรเ์ ปน็ รายบคุ คล 2. ประเมินทักษะการคดิ
3. ประเมินทักษะการแก้ปญั หา
ระหวา่ งเรียน 2. ประเมนิ เจตคติตอ่ วิทยาศาสตร์ 4. ประเมนิ พฤติกรรมในการ

3. แบบทดสอบหลงั เรยี น เป็นรายบุคคล ปฏิบัตกิ จิ กรรมเป็นรายบุคคล
หรือรายกลุ่ม


โรงเรยี นบา้ นเปูา

5. สาระการเรียนรู้
สึนามิ

6. แนวทางการบูรณาการ สนทนา พดู คุย หรือเล่าประสบการณ์ และเขยี นรายงานเร่ืองสนึ ามิ
ภาษาไทย จากเอกสารทเ่ี กี่ยวข้องและอินเทอร์เน็ต
ศิลปะ ตกแตง่ และระบายสีภาพวาดสนึ ามิตามจนิ ตนาการของนักเรยี นใหส้ วยงาม
จดั ปูายนิเทศแสดงผลงานเกี่ยวกับสนึ ามแิ ละการปอู งกนั ตนจากสนึ ามิ
ภาษาตา่ งประเทศ จากการศึกษาค้นคว้าจากเอกสารท่เี กีย่ วข้องและอินเทอรเ์ นต็
ฟัง พูด อ่าน และเขยี นคาํ ศพั ท์ภาษาต่างประเทศเกยี่ วกับสึนามิท่ีเรยี นรู้หรือ
ทีน่ ักเรยี นสนใจ

7. กระบวนการจัดการเรยี นรู้
ขั้นนาเขา้ สู่บทเรียน

1) ครูนําเสนอภาพข่าวหรือเหตุการณ์เก่ียวกับการเกิดสึนามิในประเทศไทยและประเทศแถบเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้และเอเชียใต้ เม่ือวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2547 มาให้นักเรียนดู แล้วให้นักเรียนแสดงความ
คิดเหน็ ทม่ี ีตอ่ ภาพหรอื เหตุการณด์ งั กล่าว โดยใช้คาํ ถามนาํ ดังนี้

- นักเรียนตดิ ตามขา่ วการเกดิ สึนามิในประเทศไทยหรือไม่
- สนึ ามใิ นครัง้ นัน้ เกิดจากสาเหตใุ ด
- เหตุการณท์ ีเ่ กิดขึ้นเกยี่ วขอ้ งกับการเกิดแผน่ ดินไหวหรอื ภเู ขาไฟปะทุหรือไม่ เพราะอะไร
- นกั เรียนสามารถทาํ นายการเกดิ สึนามไิ ดห้ รือไม่ เพราะอะไร
2) ครรู ่วมสนทนากบั นักเรยี นเกีย่ วกบั คําตอบทนี่ กั เรียนตอบ เพอื่ เชื่อมโยงไปสู่การเรียนรเู้ รอื่ งสึนามิ
ขนั้ จัดกจิ กรรมการเรยี นรู้
จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับแบบกลับด้านชั้นเรียน ซึ่งมี
ขั้นตอนดงั น้ี
1) ข้นั สรา้ งความสนใจ
(1) ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนแล้วเปิดโอกาสให้นักเรียนในกลุ่มนําเสนอข้อมูลเกี่ยวกับสึนามิ ท่ีครู
มอบหมายให้ไปเรียนรู้ล่วงหน้าให้เพื่อนๆ ในกลุ่มฟัง จากน้ันให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนมานําเสนอข้อมูลหน้า
ห้องเรยี น
(2) ครูตรวจสอบวา่ นักเรยี นทาํ ภาระงานท่ไี ด้รับมอบหมายไปหรือไม่ โดยตรวจสอบจากการจดบันทึก
ของนักเรียน และถามคาํ ถามเกี่ยวกับภาระงาน ดงั น้ี
- คล่ืนสึนามิมีลักษณะการเคล่ือนท่ีอย่างไร (แนวคําตอบ คลื่นจะเคลื่อนที่ด้วยความเร็วจาก
บริเวณนํา้ ลกึ เข้าสชู่ ายฝั่ง ซึ่งบริเวณชายฝงั่ จะมรี ะดับนํา้ ตน้ื คลื่นจะเคลื่อนท่ชี า้ ลง แต่จะมีการยกตวั สูงขึน้ มาก)


โรงเรียนบา้ นเปาู

- การเกิดแผ่นดินไหวในมหาสมุทรเก่ียวข้องกับสึนามิอย่างไร (แนวคําตอบ สึนามิจะเกิดขึ้น
หลงั จากการเกดิ แผ่นดินไหวในมหาสมุทรทม่ี ีขนาดตงั้ แต่ 7.5 ตามมาตราริกเตอร์ขน้ึ ไป)

(3) ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนตั้งประเด็นคําถามท่ีนักเรียนสงสัยจากการทําภาระงานอย่างน้อยคนละ
1 คําถาม ซง่ึ ครใู หน้ ักเรียนเตรยี มมาลว่ งหน้า และให้นักเรียนช่วยกนั ตอบและแสดงความคดิ เหน็

(4) ครูและนกั เรียนรว่ มกันสรปุ เกยี่ วกับภาระงาน โดยครูช่วยอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า สึนามิเป็น
คล่ืนน้ําที่เกิดขึ้นหลังจากการเกิดแผ่นดินไหวในมหาสมุทร ซึ่งโดยส่วนใหญ่สึนามิเกิดขึ้นจากแผ่นดินไหวใต้นํ้า
ต้งั แต่ 7.5 ตามมาตราริกเตอร์ขน้ึ ไป
2) ข้นั สารวจและค้นหา

(1) ให้นักเรียนศกึ ษาเก่ยี วกับสนึ ามิจากใบความรูห้ รอื ในหนงั สอื เรียน โดยครูช่วยเชื่อมโยงความรู้ใหม่
จากบทเรียนกับความรู้เดิมที่เรียนรู้มาแล้ว ด้วยการใช้คําถามนํากระตุ้นให้นักเรียนตอบจากความรู้และ
ประสบการณ์ของนักเรียน

(2) นักเรียนแบ่งกลุ่มและปฏิบัติกิจกรรม สืบค้นข้อมูลการเกิดสึนามิ ตามขั้นตอนทางวิทยาศาสตร์
โดยใชท้ ักษะ/กระบวนการสงั เกตดงั นี้

- นักเรยี นแบง่ กลมุ่ กลมุ่ ละ 4 - 5 คน แล้วรว่ มกันสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับการเกิดสึนามิและการ
ปอู งกนั ภยั จากสึนามิ

- สมาชิกกลุ่มแต่ละคนช่วยกันสืบค้นข้อมูลตามหัวข้อท่ีตนเองรับผิดชอบ โดยการสืบค้นจาก
ใบความรู้ที่ครูเตรียมมาให้ หรือจากหนังสือ วารสารทางธรณีวิทยา สารานุกรมวิทยาศาสตร์ สารานุกรมไทย
สําหรบั เยาวชน และอินเทอรเ์ นต็

- สมาชิกกลุ่มนําข้อมูลท่ีสืบค้นได้มารายงานให้เพ่ือนๆ สมาชิกในกลุ่มฟัง รวมทั้งร่วมกัน
อภปิ รายซกั ถามจนคาดว่าสมาชิกทุกคนมคี วามรู้ความเขา้ ใจที่ตรงกนั

- สมาชิกกลุ่มช่วยกันสรุปความรู้ที่ได้ทั้งหมดเป็นผลงานของกลุ่ม และช่วยกันทํารายงาน
การศกึ ษาคน้ คว้าเก่ยี วกับการเกดิ สนึ ามิ

(3) ครูคอยแนะนําช่วยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบ ๆ ห้องเรียนและเปิด
โอกาสใหน้ กั เรียนทกุ คนซกั ถามเม่ือมปี ัญหา
3) ข้นั อธิบายและลงข้อสรปุ

(1) นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตวั แทนกลุม่ นาํ เสนอข้อมูลจากการปฏิบตั ิกิจกรรมหนา้ ชนั้ เรียน
(2) นกั เรยี นและครูร่วมกันอภิปรายและหาขอ้ สรปุ จากการปฏิบัตกิ จิ กรรม โดยใชแ้ นวคาํ ถามต่อไปน้ี

- สึนามิเกิดขึ้นได้อย่างไร อธิบาย (แนวคําตอบ สึนามิเกิดจากการเกิดแผ่นดินไหวใน
มหาสมุทรที่มีขนาดตั้งแต่ 7.5 ตามมาตราริกเตอร์ข้ึนไป เม่ือเกิดแผ่นดินไหวอันเป็นผลมาจากการเคลื่อนตัว
อย่างกะทันหันในแนวดิ่งของแผ่นเปลือกโลกเป็นบริเวณกว้าง จะทําให้นํ้าในมหาสมุทรเกิดการกระเพื่อมอย่าง
รุนแรง เกดิ เป็นคล่นื ยักษ์ข้นึ )


โรงเรยี นบ้านเปาู

- ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการเกิดสึนามิคืออะไร ควรแก้ไขอย่างไร (แนวคําตอบ ผลของคล่ืน
สนึ ามิที่มีผลตอ่ สงิ่ มีชวี ติ และสิ่งแวดล้อม มดี ังน้ี

1) ทาํ ให้สภาพพ้นื ที่ชายฝ่งั เปลย่ี นไปได้ในชว่ งเวลาอันสัน้
2) สภาพทอี่ ยูอ่ าศยั ของสัตว์นํา้ บางประเภทเปลีย่ นแปลงไป
3) ประชาชนไร้ท่ีอยู่อาศัยและมีผลกระทบต่อสภาพจิตซ่ึงอาจปุวยเป็นโรคจิตเวชคล้ายกับเหยื่อของ
ภัยพบิ ตั ิทกุ ชนิด เชน่ พายุ ไฟไหม้ นํา้ ทว่ ม ตึกถลม่ รถชน และเคร่ืองบนิ ตก
4) ทําให้ส่ิงก่อสร้างและสาธารณูปโภคเสียหาย เช่น สายไฟถูกทําลาย บ้าน ท่ีอยู่อาศัย โรงพยาบาล
และโรงเรียนถกู นา้ํ ท่วม
5) กระทบต่ออาชพี ต่างๆ เชน่ ชาวประมง ธรุ กจิ รายยอ่ ย มคั คุเทศก์ และโรงแรม
วธิ กี ารแกป้ ญั หา
(1) ประชาสัมพันธ์และให้ความรู้แก่ประชาชนเรื่องการปูองกันและบรรเทาภัยจากสึนามิและ
แผน่ ดินไหว
(2) ตดิ ต้ังระบบเตือนภัยสนึ ามิทส่ี มบรู ณเ์ ชน่ เดยี วกับประเทศในแถบมหาสมุทรแปซิฟิก)
(3) นกั เรยี นและครรู ่วมกนั สรุปผลจากการปฏิบัติกิจกรรม
(4) นกั เรียนร่วมกันเขยี นแผนท่ีความคดิ เก่ยี วกบั สนึ ามิ
4) ขนั้ ขยายความรู้
(1) นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับประวัติการเกิดสึนามิจากใบความรู้หรือหนังสือ
และวารสารทางธรณีวทิ ยา สารานุกรมวิทยาศาสตร์ สารานกุ รมไทยสาํ หรับเยาวชน และอินเทอร์เน็ตรวมทั้งนํา
ขอ้ มูลท่ีค้นคว้าได้มาจัดทาํ เปน็ รายงาน หรือจัดปูายนิเทศให้เพือ่ น ๆ ไดท้ ราบเพื่อแลกเปลยี่ นเรยี นรู้กนั
(2) นักเรียนค้นคว้าคําศัพท์ภาษาต่างประเทศเก่ียวกับสึนามิจากหนังสือเรียนภาษาต่างประเทศหรือ
อนิ เทอรเ์ นต็
5) ขั้นประเมนิ
(1) ครูให้นักเรยี นแตล่ ะคนพิจารณาว่าจากหวั ข้อทีเ่ รียนมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจุดใดบ้างที่ยังไม่
เขา้ ใจหรอื ยังมขี ้อสงสัย ถ้ามคี รูช่วยอธบิ ายเพม่ิ เติมให้นกั เรยี นเข้าใจ
(2) นักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคใด และได้มีการแก้ไข
อยา่ งไรบา้ ง
(3) ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรมและ
การนาํ ความรู้ท่ีได้ไปใช้ประโยชน์
(4) ครูทดสอบความเข้าใจของนักเรยี นโดยการให้ตอบคําถาม เช่น

- สนึ ามกิ ับการเกิดแผน่ ดินไหวและภูเขาไฟปะทมุ ีความสัมพนั ธ์กนั ในลกั ษณะใด
- ประเทศต่าง ๆ มีระบบเตือนภยั สึนามิหรือไม่ ทําอยา่ งไร
- ผลกระทบที่เกิดจากสนึ ามิส่งผลต่อมนษุ ย์ สิ่งมีชีวติ และสภาพแวดลอ้ มในลักษณะใด


โรงเรยี นบา้ นเปูา

ขั้นสรปุ
(1) ครูและนักเรยี นรว่ มกันสรุปเกี่ยวกับสึนามิ โดยรว่ มกนั เขยี นเป็นแผนท่คี วามคดิ หรอื ผงั มโนทัศน์
(2) ครูดําเนินการทดสอบหลังเรียน โดยให้นักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียนเพ่ือวัดความก้าวหน้า/

ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 5 ของนักเรยี น
(3) ครูเช่ือมโยงเนื้อหาจากบทเรียนน้กี บั บทเรยี นชวั่ โมงหน้า เพ่ือใหน้ ักเรียนเตรียมความพร้อมในการ

เรยี นช่ัวโมงตอ่ ไป โดยการใช้คาํ ถามกระตุน้ ดังน้ี
- ถ้านักเรียนต้องการข้อมูลเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก นักเรียนสามารถใช้

บรกิ ารผ่านดาวเทยี มประเภทใด (แนวคําตอบ ดาวเทยี มสํารวจทรพั ยากรธรรมชาติ)
(4) ครูมอบหมายให้นักเรียนไปศึกษาค้นคว้าเน้ือหาของบทเรียนช่ัวโมงหน้า เพ่ือจัดการเรียนรู้คร้ัง

ต่อไป โดยใหน้ ักเรยี นศึกษาค้นควา้ ลว่ งหนา้ ในหัวขอ้ ข้างขน้ึ -ข้างแรม
(5) ครูให้นักเรียนเตรียมประเด็นคําถามที่สงสัยมาอย่างน้อยคนละ 1 คําถาม เพื่อนํามาอภิปราย

ร่วมกนั ในชน้ั เรยี นคร้ังตอ่ ไป

8. กจิ กรรมเสนอแนะ
1) นักเรียนสืบค้นข้อมูลความรู้เก่ียวกับการเกิดสึนามิ การสร้างระบบเตือนภัยปูองกันก่อนและขณะ

เกิดสึนามิ โดยนําข้อมูลที่ค้นคว้าได้มาจัดทําเป็นรายงาน หรือจัดปูายนิเทศให้เพ่ือนๆได้ทราบเพื่อแลกเปล่ียน
เรียนรกู้ ัน

2) ครูให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา (STEM Education) จาก
สถานการณเ์ รือ่ ง ปูายเตือนสึนามิ โดยใชแ้ นวการสอนในคู่มือการสอน วิทยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6

9. สอ่ื /แหลง่ การเรียนรู้
1. ภาพข่าวหรือเหตุการณเ์ กยี่ วกับการเกดิ สนึ ามิ
2. ใบกิจกรรมท่ี 32 สบื ค้นขอ้ มูลการเกดิ สึนามิ
3. แบบทดสอบหลงั เรยี น
4. คูม่ อื การสอน วิทยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 6
5. ส่อื การเรียนรู้ PowerPoint รายวิชาพืน้ ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 6
6. แบบฝึกทักษะ รายวชิ าพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 6
7. หนังสอื เรยี น รายวชิ าพน้ื ฐาน วิทยาศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 6


โรงเรียนบ้านเปาู

10. บนั ทกึ หลังการจดั การเรียนรู้
ความคดิ เห็น/ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

(ลงช่อื )..............................................
(นายธนิตย์ พระสนุ ิน)

ผ้อู ํานวยการโรงเรียนเค็งใหญ่หนองงเู หลอื ม
รกั ษาการในตําแหน่ง ผอู้ ํานวยการโรงเรียนบ้านเปาู

บันทกึ หลังการสอน
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

ปญั หา/อปุ สรรค
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................

ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................

(ลงช่ือ)..............................................
(นางสาววมิ ลรัตน์ ประทีปะเสน)
ครผู ู้สอน


โรงเรียนบ้านเปาู

แผนการจัดการเรยี นรูท้ ่ี 43

รายวชิ าวิทยาศาสตร์ (ว16101) ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 6

หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 6 ปรากฏการณ์โลกและเทคโนโลยอี วกาศ เวลาเรียน 9 ชวั่ โมง

เรอื่ ง ขา้ งข้ึน - ขา้ งแรม เวลาจํานวน 2 ช่วั โมง

**********************************************************************************

1. สาระสาคัญ

เมือ่ ดวงจนั ทร์โคจรรอบโลกในขณะที่โลกกโ็ คจรรอบดวงอาทติ ย์ทําใหเ้ กิดข้างขนึ้ -ข้างแรม และขณะที่

ดวงจันทร์หมุนรอบตัวเองก็โคจรรอบโลก 1 รอบโดยใช้เวลาเท่ากัน จึงทําให้ผู้ท่ีอยู่บนโลกมองเห็นดวงจันทร์

ด้านเดียวเสมอ

2. ตวั ช้ีวดั ชัน้ ปี
สร้างแบบจาํ ลองและอธิบายการเกิดฤดู ข้างขึ้น-ข้างแรม สุริยุปราคา จันทรุปราคา และนําความรู้ไป

ใชป้ ระโยชน์ (ว 7.1 ป. 6/1)

3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. อธิบายเกย่ี วกับการเกดิ ขา้ งขึน้ -ขา้ งแรมได้ (K)
2. มคี วามสนใจใฝรุ ู้หรืออยากรอู้ ยากเห็น (A)
3. พอใจในประสบการณ์การเรียนรทู้ ่ีเก่ียวกบั วทิ ยาศาสตร์ (A)
4. ทํางานรว่ มกบั ผูอ้ น่ื อย่างสร้างสรรค์ (A)
5. สอื่ สารและนําความรู้เรื่องขา้ งขนึ้ -ขา้ งแรมไปใช้ในชีวิตประจาํ วนั ได้ (P)

4. การวัดและการประเมนิ ผลการเรยี นรู้

ดา้ นความรู้ (K) ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม และ ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P)
จิตวิทยาศาสตร์ (A)
1. ประเมนิ ทักษะ/กระบวนการ
1. ซักถามความรู้เรื่องขา้ งขนึ้ - 1. ประเมนิ เจตคตทิ าง ทางวทิ ยาศาสตร์

ข้างแรม วทิ ยาศาสตร์เปน็ รายบุคคล 2. ประเมนิ ทักษะการคิด
3. ประเมินทักษะการแก้ปัญหา
2. ประเมินกจิ กรรมฝกึ ทกั ษะ 2. ประเมนิ เจตคติตอ่ วทิ ยาศาสตร์ 4. ประเมินพฤติกรรมในการปฏบิ ตั ิ

ระหวา่ งเรียน เปน็ รายบุคคล กจิ กรรมเปน็ รายบุคคลหรอื ราย
กลุ่ม
3. ทดสอบก่อนเรียน


โรงเรียนบ้านเปาู

5. สาระการเรียนรู้
ขา้ งขนึ้ - ข้างแรม
- เวลาขนึ้ - เวลาตกของดวงจันทร์

6. แนวทางการบูรณาการ

ภาษาไทย สนทนา พูดคุย หรือเลา่ ประสบการณเ์ ก่ยี วกบั ประเพณีวฒั นธรรมในทอ้ งถิ่น

ทเ่ี ก่ียวกบั ข้างขนึ้ -ข้างแรมจากประสบการณข์ องนักเรยี น

ศิลปะ ตกแต่งและระบายสภี าพวาดทีเ่ ก่ยี วกบั ข้างขน้ึ -ข้างแรมตามประสบการณ์

หรอื จินตนาการของนักเรยี นใหส้ วยงามจัดปูายนิเทศแสดงผลงานเกยี่ วกับ

ขา้ งขน้ึ -ข้างแรมจากการศึกษาคน้ คว้าจากเอกสารทเ่ี ก่ยี วข้องและ

อินเทอร์เน็ต

สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

แสดงบทบาทสมมตุ เิ กยี่ วกบั ประเพณวี ฒั นธรรมในท้องถิ่นที่เก่ียวกับ

ข้างขน้ึ -ข้างแรม

ภาษาต่างประเทศ ฟัง พดู อ่าน และเขียนคําศัพท์ภาษาต่างประเทศเกี่ยวกับข้างขนึ้ -ข้างแรม

และประเพณีวฒั นธรรมในท้องถิ่นทเ่ี กี่ยวกบั ขา้ งข้นึ -ข้างแรมท่ไี ด้เรียนรหู้ รือ

ทน่ี กั เรยี นสนใจ

7. กระบวนการจดั การเรียนรู้
ครูดําเนินการทดสอบก่อนเรียนโดยให้นักเรียนทําแบบทดสอบก่อนเรียน เพื่อตรวจสอบความพร้อม

และพน้ื ฐานของนกั เรยี น
ขนั้ นาเข้าสบู่ ทเรยี น

1) ครูสนทนากับนักเรียนเก่ียวกับเรื่องราวประเพณีและวัฒนธรรมท่ีเกี่ยวกับดวงจันทร์ โดยครูต้ัง
ประเด็นคําถามดังนี้

- ทุกคืนท่ีเราเห็นดวงจันทร์เต็มดวงน้ัน เรามองเห็นภาพในดวงจันทร์เหมือนเดิมหรือไม่
นกั เรยี นคิดวา่ เปน็ เพราะเหตใุ ด

- ทุกคนื เราเหน็ ดวงจนั ทรเ์ ปล่ียนแปลงไปจากเดิมเพราะอะไร
- เราใชด้ วงจันทรเ์ ป็นเกณฑใ์ นการกําหนดวันท่ีเกี่ยวกบั ประเพณีหรือวฒั นธรรมใดบา้ ง
2) นักเรียนร่วมกันตอบคําถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคําตอบของคําถาม เพ่ือเช่ือมโยงไปสู่
การเรยี นรเู้ รือ่ ง ข้างข้ึน - ขา้ งแรม
ขนั้ จัดกจิ กรรมการเรียนรู้
จดั กจิ กรรมการเรยี นรู้โดยใชก้ ระบวนการสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับแบบกลับด้านช้ันเรียน ซึ่งมีขั้นตอน
ดังนี้


โรงเรียนบ้านเปาู

1) ขั้นสร้างความสนใจ
(1) ครแู บ่งกลุ่มนักเรียนแลว้ เปิดโอกาสให้นกั เรียนในกลมุ่ นาํ เสนอข้อมลู เกี่ยวกับข้างข้ึน - ข้างแรม ที่

ครูมอบหมายให้ไปเรียนรู้ล่วงหน้าให้เพื่อนๆ ในกลุ่มฟัง จากนั้นให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนมานําเสนอข้อมูลหน้า
หอ้ งเรยี น

(2) ครตู รวจสอบวา่ นักเรยี นทําภาระงานทไี่ ดร้ ับมอบหมายไปหรือไม่ โดยตรวจสอบจากการจดบันทึก
ของนกั เรยี น และถามคาํ ถามเกีย่ วกับภาระงาน ดงั น้ี

- ประเพณีหรอื วฒั นธรรมใดของไทยทตี่ รงกับวนั ดวงจันทรเ์ ตม็ ดวง (แนวคําตอบ ประเพณีลอย
กระทง)

- คนื ที่มองไมเ่ หน็ ดวงจันทร์สอ่ งสวา่ งบนทอ้ งฟูาตรงกับวนั ใด (แนวคาํ ตอบ แรม 15 ค่าํ )
(3) ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนต้ังประเด็นคําถามที่นักเรียนสงสัยจากการทําภาระงานอย่างน้อยคนละ
1 คําถาม ซึง่ ครใู หน้ กั เรียนเตรยี มมาล่วงหน้า และให้นักเรยี นช่วยกันตอบและแสดงความคิดเหน็
(4) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับภาระงาน โดยครูช่วยอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า เมื่อดวง
จนั ทรโ์ คจรรอบโลกในขณะทโี่ ลกกโ็ คจรรอบดวงอาทิตย์ทาํ ให้เกิดขา้ งขึ้น-ขา้ งแรม
2) ขนั้ สารวจและค้นหา
(1) ให้นักเรียนศึกษาข้างขึ้น - ข้างแรมจากใบความรู้หรือในหนังสือเรียน โดยครูช่วยอธิบายให้
นกั เรียนเขา้ ใจว่า การทด่ี วงจันทรโ์ คจรรอบโลกทาํ ให้ดวงจนั ทร์เปล่ยี นแปลงตําแหน่งไปทกุ วนั
(2) แบง่ นักเรียนกลุม่ ละ 5 - 6 คนปฏิบัติกิจกรรม สังเกตการเปล่ียนแปลงรูปร่างของดวงจันทร์ ตาม
ขน้ั ตอนทางวทิ ยาศาสตร์ โดยใช้ทกั ษะ/กระบวนการสังเกตดงั นี้

- ทําการสังเกตในห้องมืด เปิดโคมไฟแล้วชูลูกบอลไปข้างหน้าให้สูงเหนือศีรษะเล็กน้อย และ
สูงในระดับเดียวกับแสงไฟจากโคมไฟ หันหน้าไปทางโคมไฟ (กําหนดให้นักเรียนเป็นผู้ที่มองดวงจันทร์อยู่บน
โลก โคมไฟเปน็ เหมอื นดวงอาทติ ย์ให้แสงสวา่ ง ลกู บอลเปน็ เหมอื นดวงจนั ทร์)

- หมุนรอบตวั เองชา้ ๆ จากซ้ายมือไปขวามือคร้ังละ 90 องศา ขณะหมุนรอบตัวเองถือลูกบอล
อยู่ตรงหน้าตลอดเวลา สังเกตส่วนสว่างและส่วนมืดของลูกบอลขณะหมุนตัว จนกระทั่งกลับมาที่ตําแหน่ง
เรม่ิ ตน้ บันทกึ ผลพรอ้ มวาดภาพประกอบ

- อภปิ รายและรว่ มกนั สรปุ ผลการสงั เกต
(3) นักเรียนและครูรว่ มกันตรวจสอบความถกู ต้องของขอ้ มลู ทไ่ี ด้จากใบกจิ กรรม
(4) ครูคอยแนะนําช่วยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบๆ ห้องเรียนและเปิด
โอกาสให้นักเรยี นทกุ คนซักถามเมื่อมปี ัญหา
3) ขน้ั อธิบายและลงข้อสรปุ
(1) นักเรยี นแต่ละกลมุ่ สง่ ตัวแทนกล่มุ นาํ เสนอขอ้ มลู จากการปฏิบตั ิกจิ กรรมหนา้ ชั้นเรยี น
(2) นักเรยี นและครูร่วมกันอภปิ รายและหาข้อสรุปจากการปฏบิ ัติกจิ กรรม โดยใช้แนวคาํ ถามตอ่ ไปน้ี


Click to View FlipBook Version