โรงเรียนบ้านเปาู
3) ข้ันอธบิ ายและลงข้อสรปุ
(1) นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ ส่งตวั แทนกล่มุ นาํ เสนอข้อมลู จากการปฏิบัตกิ จิ กรรมหนา้ ชัน้ เรียน
(2) นกั เรยี นและครรู ่วมกนั อภปิ รายและหาข้อสรุปจากการปฏิบตั กิ จิ กรรม โดยใช้แนวคําถามตอ่ ไปนี้
- เหตใุ ดจึงเลือกศกึ ษาปัญหาสิ่งแวดล้อมเรื่องนี้ (แนวคําตอบ เพราะขยะส่งกล่ินเหม็นรบกวน
นกั เรยี นขณะเรียน)
- นักเรียนมีแนวทางในการแก้ปัญหาน้ีโดยวิธีใด (แนวคําตอบ ใช้วิธีการคัดแยกขยะ เพื่อลด
ปญั หาการหมักหมมของขยะท่ยี อ่ ยสลายไดต้ ามธรรมชาติกบั ขยะท่ีย่อยสลายได้ยาก)
- โรงเรยี นของนกั เรยี นมีแผนการจดั การรักษาสงิ่ แวดลอ้ มหรอื ไม่ เพราะอะไร (แนวคําตอบ มี
เพราะการรักษาสงิ่ แวดลอ้ มภายในโรงเรยี น จะทําใหโ้ รงเรยี นนา่ อย่)ู
(3) นักเรียนและครูร่วมกันสรุปผลจากการปฏิบัติกิจกรรม โดยให้ได้ข้อสรุปว่า ขยะมีหลายประเภท
เช่น ขยะท่ีย่อยสลายได้ตามธรรมชาตแิ ละขยะทย่ี ่อยสลายได้ยาก ซึ่งขยะท่ีพบนั้นสามารถนําไปผลิตใช้ใหม่หรือ
ใช้ซํ้าได้ ดังน้ันถ้าเราร่วมมือร่วมใจกันอย่างจริงจังและมีจิตสํานึกในการช่วยกันดูแลรักษาสภาพแวดล้อมไม่ให้
ถกู ทาํ ลาย กจ็ ะสามารถชว่ ยให้โลกของเรานา่ อยูข่ ้ึน
4) ขน้ั ขยายความรู้
(1) ครูให้ความรู้เพ่ิมเติมเรื่องแหล่งกําเนิดของขยะมูลฝอย ผลเสียท่ีเกิดจากขยะมูลฝอย และการ
ปูองกันและลดมลพิษจากขยะมูลฝอย จากนั้นให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับมลพิษของขยะมูลฝอยจากข่าว
หนังสือพิมพ์ สารานุกรมสําหรับเยาวชน และอินเทอร์เน็ต รวมท้ังนําข้อมูลที่ค้นคว้าได้มาจัดทําเป็นรายงาน
หรอื จัดปาู ยนเิ ทศให้เพื่อน ๆ ไดท้ ราบเพอ่ื แลกเปล่ียนเรียนรู้กนั
(2) นักเรียนคน้ ควา้ รายละเอียดและคําศพั ทภ์ าษาต่างประเทศเก่ยี วกบั มลพิษจากขยะมลู ฝอย
จากหนงั สือเรียนภาษาตา่ งประเทศหรอื อนิ เทอร์เน็ต
5) ขัน้ ประเมนิ
(1) ครูให้นกั เรียนแต่ละคนพิจารณาว่าจากหวั ข้อทเี่ รียนมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจุดใดบ้างท่ียังไม่
เข้าใจหรอื ยงั มีข้อสงสัย ถ้ามีครูช่วยอธิบายเพมิ่ เติมใหน้ กั เรียนเข้าใจ
(2) นักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคใด และได้มีการแก้ไข
อย่างไรบา้ ง
(3) ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรมและ
การนําความรทู้ ี่ได้ไปใชป้ ระโยชน์
(4) ครูทดสอบความเขา้ ใจของนักเรียนโดยการให้ตอบคําถาม เชน่
- การลดปริมาณขยะโดยการผลติ ใชใ้ หม่ทําได้โดยวิธใี ด
- นกั เรยี นมีแนวทางในการอนุรักษท์ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ มทกี่ ําลังเป็นปัญหาอย่าง
กวา้ งขวางน้ไี ดโ้ ดยวิธีใด
- ผลเสยี ท่สี าํ คญั ท่ีสุดเม่ือเกดิ มลพิษจากขยะมลู ฝอยคืออะไร
โรงเรยี นบ้านเปาู
ขัน้ สรปุ
(1) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับมลพิษจากขยะมูลฝอย โดยร่วมกันเขียนเป็นแผนท่ีความคิด
หรือผังมโนทศั น์
(2) ครูดําเนินการทดสอบหลังเรียน โดยให้นักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียนเพื่อวัดความก้าวหน้า/
ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 2 ของนกั เรยี น
(3) ครูเชอื่ มโยงเนือ้ หาจากบทเรยี นนี้กับบทเรียนชวั่ โมงหนา้ เพ่ือให้นักเรียนเตรียมความพร้อมในการ
เรยี นชวั่ โมงตอ่ ไป โดยการใช้คาํ ถามกระตนุ้ ดงั นี้
- นักเรียนคิดว่าการเปล่ียนแปลงของสารมีผลต่อส่ิงมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมหรือไม่ ลักษณะใด
(แนวคําตอบ มี เช่น การเปล่ียนแปลงทางกายภาพของนํ้าแข็งในบริเวณขั้วโลกเหนือ ที่มีการเปล่ียนแปลง
สถานะจากน้าํ แข็งไปเป็นน้ํา ทําให้นํ้าในมหาสมุทรมีปริมาณเพ่ิมข้ึน ส่งผลให้หมีขาวมีก้อนน้ําแข็งซึ่งท่ีอยู่อาศัย
นอ้ ยลง)
(4) ครูมอบหมายให้นักเรียนไปศึกษาค้นคว้าเน้ือหาของบทเรียนช่ัวโมงหน้า เพื่อจัดการเรียนรู้คร้ัง
ต่อไป โดยให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าล่วงหน้าในหัวข้อสมบัติของสาร โดยใช้ใบงาน สังเกตก่อนเรียน 6 ท่ีครู
จดั เตรยี มไวใ้ ห้ประกอบการศึกษาค้นคว้า (ในสอ่ื การเรียนรู้ PowerPoint วทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 6 )
(5) ครอู ธบิ ายข้ันตอนการปฏบิ ัติกจิ กรรมและมอบหมายใหน้ กั เรียนไปปฏบิ ัตกิ จิ กรรมท่ีบ้าน พร้อมทั้ง
ใหน้ ักเรียนเตรียมประเด็นคาํ ถามท่สี งสัยมาอยา่ งน้อยคนละ 1 คาํ ถาม เพ่ือนํามาอภิปรายร่วมกันในชั้นเรียนคร้ัง
ตอ่ ไป
8. กิจกรรมเสนอแนะ
1. ให้นักเรียนประดิษฐ์ส่ิงของใช้ซ้ํา โดยนําขยะที่ไม่ใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่ เช่น ขวดแชมพู กระดาษ
กล่องกระดาษ แล้วนําผลงานทไ่ี ด้มานําเสนอหนา้ ชน้ั เรยี น
2. ครูเช่ือมโยงความรู้กับหลักเศรษฐกิจพอเพียง โดยครูให้ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับการมีส่วนร่วม
อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ดังน้ี การเพ่ิมขึ้นของประชากรอย่างรวดเร็ว ทําให้มีการใช้
ทรพั ยากรธรรมชาตเิ พ่มิ มากขน้ึ ซ่ึงเป็นการใช้ที่ไม่ประหยัดและไม่เกิดประโยชน์สูงสุด ตลอดจนขาดจิตสํานึกท่ี
ดีในการใช้ ทําให้เกิดปัญหาความเส่ือมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม จนส่งผลกระทบต่อ
คุณภาพชีวิตของประชาชน การท่ีจะให้รัฐบาลเป็นผู้ดําเนินการปูองกันและแก้ไขเพียงฝุายเดียวคงไม่สามารถ
กระทําได้ ทุกฝุายท้ังภาคเอกชน ชุมชน และประชาชนจะต้องร่วมมือกันแก้ไข ทรัพยากรธรรมชาติและ
สง่ิ แวดล้อมจึงจะฟ้ืนคนื สูส่ ภาพทด่ี ี และมีใหใ้ ชไ้ ด้ยาวนานทีส่ ุด ซ่งึ อาจทําได้ 3 ลักษณะ คอื
1) การเป็นผู้ดู เช่น การให้ความสนใจต่อข่าวสารและการเปล่ียนแปลง การพยายามชักชวน
ให้ผู้อ่ืนเห็นด้วยเก่ียวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม การร่วมประชาสัมพันธ์ในเร่ืองการ
อนุรกั ษท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม
2) การมีส่วนร่วม เช่น การติดต่อประสานงานกับองค์กรหรือหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องกับ
ส่ิงแวดล้อม การเข้าร่วมชุมนุมฟังการอภิปรายหรือเข้าร่วมในเวทีสาธารณะในเรื่องการอนุรักษ์
โรงเรียนบ้านเปาู
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม การเป็นสมาชิกกลุ่มท่ีเกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ
สง่ิ แวดล้อม
3) การทํากิจกรรม เช่น การเป็นผู้นํากลุ่มผลประโยชน์เพ่ือการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
และสง่ิ แวดลอ้ ม การมตี าํ แหน่งและทาํ งานเกี่ยวกับการอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม
3. ให้นกั เรียนเขยี นคาํ ขวัญเพื่อรณรงค์ให้ช่วยกันอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม คนละ 1
คําขวัญ จากน้ันร่วมกนั คัดเลอื กคําขวญั ที่ดที สี่ ดุ 3 อนั ดับมาจดั ปูายนิเทศ
9. สอ่ื /แหล่งการเรยี นรู้
1. ขยะ เชน่ โฟม พลาสตกิ แก้ว หลอดไฟฟูา
2. ใบกจิ กรรมที่ 13 สาํ รวจสภาพแวดล้อมในท้องถ่ิน
3. แบบทดสอบหลงั เรียน
4. ใบงานสังเกตก่อนเรียน 6
5. คมู่ ือการสอน วิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 6
6. ส่ือการเรยี นรู้ PowerPoint รายวชิ าพ้นื ฐาน วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6
7. แบบฝึกทกั ษะ รายวิชาพน้ื ฐาน วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 6
8. หนงั สอื เรียน รายวชิ าพืน้ ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 6
โรงเรียนบ้านเปาู
10. บนั ทึกหลงั การจัดการเรียนรู้
ความคิดเหน็ /ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................. .................................................
.......................................................................................................................................................... ....................
............................................................................................................. .................................................................
(ลงชื่อ)..............................................
(นายธนิตย์ พระสุนนิ )
ผอู้ ํานวยการโรงเรียนเค็งใหญ่หนองงูเหลอื ม
รักษาการในตาํ แหนง่ ผู้อาํ นวยการโรงเรียนบ้านเปูา
บนั ทึกหลังการสอน
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................................................................................................... ..........
ปัญหา/อปุ สรรค
........................................................................................................ ......................................................................
............................................................................................................................. .................................................
..................................................................................................................................... .........................................
ขอ้ เสนอแนะ
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
(ลงชือ่ )..............................................
(นางสาววมิ ลรัตน์ ประทปี ะเสน)
ครูผู้ชว่ ย
โรงเรยี นบา้ นเปาู
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 19
รายวิชาวิทยาศาสตร์ (ว16101) ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 3 สารในชวี ิตประจําวนั เวลาเรยี น 12 ชัว่ โมง
เรอ่ื ง สมบัตขิ องของแขง็ และของเหลว เวลาจํานวน 2 ชั่วโมง
**********************************************************************************
1. สาระสาคัญ
สารทมี่ ีสถานะเป็นของแขง็ จะมีอนุภาคของสารอยชู่ ิดกนั มาก มีแรงยดึ เหน่ยี วระหวา่ งอนุภาคมากจึงมี
ปริมาตรคงท่ีและมรี ูปร่างที่แน่นอนเฉพาะตวั สว่ นของเหลวจะมีปรมิ าตรคงท่ี อนุภาคภายในอยหู่ ่างกนั รปู ร่าง
ของของเหลวจงึ เปลี่ยนไปตามภาชนะทบ่ี รรจไุ ด้
2. ตัวช้ีวัดชน้ั ปี
ทดลองและอธิบายสมบัติของของแข็ง ของเหลว และแก๊ส (ว 3.1 ป. 6/1)
3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. ทดลองและอธิบายสมบัติของสารในสถานะของแข็งและของเหลวได้ (K)
2. มีความสนใจใฝุรู้หรอื อยากรอู้ ยากเห็น (A)
3. พอใจในประสบการณ์การเรยี นรทู้ เ่ี ก่ยี วกับวิทยาศาสตร์ (A)
4. ทาํ งานรว่ มกับผู้อ่นื อยา่ งสร้างสรรค์ (A)
5. ส่อื สารและนําความรู้เรื่องสมบัตขิ องของแข็งและของเหลวไปใช้ในชีวิตประจาํ วันได้ (P)
4. การวัดและการประเมินผลการเรยี นรู้
ด้านความรู้ (K) ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และ ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P)
จิตวิทยาศาสตร์ (A)
1. ประเมินทักษะ/กระบวนการ
1. ซกั ถามความรู้เรื่องสมบัติของ 1. ประเมนิ เจตคตทิ าง ทางวิทยาศาสตร์
ของแข็งและของเหลว วทิ ยาศาสตร์เปน็ รายบุคคล 2. ประเมนิ ทักษะการคิด
3. ประเมนิ ทักษะการแกป้ ัญหา
2. ประเมนิ กจิ กรรมฝึกทกั ษะ 2. ประเมินเจตคตติ อ่ วิทยาศาสตร์ 4. ประเมินพฤติกรรมในการ
ระหวา่ งเรยี น เป็นรายบคุ คล ปฏิบัติกจิ กรรมเป็นรายบุคคล
หรือรายกลุ่ม
3. ทดสอบก่อนเรยี น
โรงเรยี นบา้ นเปาู
5. สาระการเรยี นรู้
1. สมบัติของของแขง็
2. สมบตั ขิ องของเหลว
6. แนวทางการบรู ณาการ สนทนา พูดคุย หรือเลา่ ประสบการณ์เกี่ยวกบั สมบัติของ
ภาษาไทย ของแขง็ และของเหลว
จําแนก จัดประเภทสมบตั ขิ องสารกับสารที่เป็นของแข็งหรือของเหลว
คณิตศาสตร์ ฟงั พูด อ่าน และเขียนคาํ ศพั ทภ์ าษาต่างประเทศเกย่ี วกับสมบัตขิ องของแขง็
ภาษาตา่ งประเทศ และของเหลวทเ่ี รยี นรหู้ รือท่ีนักเรยี นสนใจ
7. กระบวนการจดั การเรยี นรู้
ครดู าํ เนนิ การทดสอบก่อนเรยี น โดยให้นักเรียนทําแบบทดสอบก่อนเรียน เพื่อตรวจสอบความพร้อม
และพื้นฐานของนักเรียน
ขน้ั นาเข้าสู่บทเรยี น
1) ครูถามคาํ ถามนักเรียนเพ่ือกระตนุ้ ความสนใจ เชน่
- น้ําเปล่ียนรูปรา่ งเปน็ แบบต่างๆ ได้ เพราะอะไร
2) นักเรียนร่วมกันตอบคําถามตามความคิดเห็นของแต่ละคน แล้วครูและนักเรียนร่วมกันอภิปราย
คาํ ตอบ เพื่อเชอ่ื มโยงไปสกู่ ารเรียนรเู้ ร่ือง สมบตั ิของสาร
ขั้นจัดกิจกรรมการเรยี นรู้
จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับแบบกลับด้านช้ันเรียน ซึ่งมี
ขัน้ ตอนดงั นี้
1) ข้ันสรา้ งความสนใจ
(1) ครูใหน้ ักเรียนนําใบงาน สงั เกตกอ่ นเรียน 6 ทค่ี รมู อบหมายให้ไปเรยี นรูล้ ่วงหน้าท่ีบ้านมาอภิปราย
ร่วมกันในช้ันเรยี น
(2) ครูตรวจสอบว่านักเรียนทํากิจกรรมที่ได้รับมอบหมายไปหรือไม่ โดยตรวจสอบจากการจดบันทึก
ของนักเรียน และถามคาํ ถามเก่ยี วกบั กจิ กรรม ดงั นี้
- ยางลบมกี ารเปลย่ี นแปลงหรอื ไม่ ลักษณะใด (แนวคําตอบ ไม่เปลยี่ นแปลง)
- นํา้ มีการเปล่ียนแปลงหรอื ไม่ ลักษณะใด (แนวคําตอบ มี โดยรปู ร่างเปลย่ี นไปตาม
ภาชนะ)
(3) ครเู ปิดโอกาสให้นกั เรียนตัง้ ประเด็นคําถามที่นักเรียนสงสัยจากการทํากิจกรรมอย่างน้อยคนละ 1
คาํ ถาม ซึง่ ครใู ห้นักเรียนเตรยี มมาลว่ งหนา้ และให้นักเรียนช่วยกนั ตอบและแสดงความคดิ เห็น
โรงเรยี นบา้ นเปูา
(4) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเก่ียวกับกิจกรรม สังเกตก่อนเรียน 6 โดยครูช่วยอธิบายให้นักเรียน
เขา้ ใจว่า ของแขง็ มีรูปร่างและปริมาตรคงที่ของเหลวมีรปู ร่างเปลี่ยนไปตามภาชนะและปริมาตรคงท่ี
2) ข้นั สารวจและค้นหา
(1) ให้นักเรียนศึกษาสมบัติของของแข็งและของเหลวจากใบความรู้หรือในหนังสือเรียนโดยครูต้ัง
คําถามนาํ ให้นักเรียนตอบประกอบการค้นคว้าดังน้ี
- ของแขง็ และของเหลวมีสมบัตแิ ตกตา่ งกันในเรอ่ื งใด
- สารทม่ี สี ถานะเป็นของแขง็ มอี ะไรบ้าง
- สารทม่ี สี ถานะเป็นของเหลวมีอะไรบ้าง
- สารใดบ้างทม่ี สี ถานะเป็นของแขง็ และสารใดบ้างท่มี สี ถานะเป็นของเหลว
(2) นักเรียนแบ่งกลุ่ม ปฏบิ ัติกิจกรรม ทดลองสมบตั ิของของเหลว ตามข้นั ตอนทางวทิ ยาศาสตรด์ ังน้ี
ขนั้ ท่ี 1 กําหนดปัญหา
- นํ้าในภาชนะท่แี ตกตา่ งกันจะมรี ปู รา่ งและปริมาตรต่างกนั หรือไม่
ขน้ั ท่ี 2 สมมุติฐาน
- รปู รา่ งของนา้ํ จะเปล่ียนไปตามรูปรา่ งของภาชนะทีบ่ รรจุ แตย่ ังคงมีปริมาตรเทา่ เดมิ
ขนั้ ท่ี 3 ทดลอง
- แต่ละกลุ่มเทน้ําใสก่ ระบอกตวง สังเกตรปู รา่ งของนํา้ และอ่านปรมิ าตร บนั ทกึ ผล
- เทน้าํ จากกระบอกตวงใสล่ งในภาชนะใบท่ี 1 สังเกตรูปร่างของน้ํา แล้วเทนํ้าลงกระบอกตวง
เพือ่ หาปริมาตร บันทึกผล
- ทํากจิ กรรมขน้ั ที่ 2 ซํ้า โดยใชภ้ าชนะรปู ทรงตา่ ง ๆ แลว้ สรปุ ผลการสังเกต
ขั้นท่ี 4 วิเคราะหผ์ ลการทดลอง
- แปลความหมายข้อมูลทีไ่ ดจ้ ากตารางบนั ทึกผลการทดลอง
- นาํ ขอ้ มลู ที่ได้มาพจิ ารณา เพอื่ อธิบายวา่ เป็นไปตามท่นี ักเรยี นต้งั สมมุตฐิ านหรอื ไม่
ข้นั ท่ี 5 สรุปผลการทดลอง
- นกั เรียนร่วมกนั สรุปผลการทดลอง แล้วเขียนรายงานสรปุ ผลการทดลองส่งครู
(3) ครูคอยแนะนําช่วยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบๆ ห้องเรียนและเปิด
โอกาสใหน้ ักเรยี นทุกคนซักถามเม่อื มีปัญหา
3) ข้นั อธิบายและลงข้อสรุป
(1) นกั เรยี นแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนกลมุ่ นําเสนอข้อมูลจากการปฏบิ ัติกจิ กรรมหน้าช้ันเรียน
(2) นกั เรียนและครูร่วมกันอภิปรายและหาขอ้ สรุปจากการปฏิบตั กิ จิ กรรม โดยใชแ้ นวคําถามตอ่ ไปน้ี
- นาํ้ มีปริมาตรเปลยี่ นแปลงไปตามภาชนะทบ่ี รรจุหรอื ไม่ (แนวคาํ ตอบ ไม่เปลีย่ นแปลง)
- น้ํามีรูปร่างเปล่ียนแปลงไปตามภาชนะที่บรรจุหรือไม่ (แนวคําตอบ เปลี่ยนแปลงไปตาม
ภาชนะทบี่ รรจ)ุ
โรงเรียนบ้านเปาู
- น้าํ มีสมบัตใิ ดจึงถูกสง่ ผา่ นไปตามทอ่ ได้ (แนวคาํ ตอบ นา้ํ มีรปู รา่ งไม่คงที่ เปลี่ยนแปลงไปตาม
ภาชนะท่ีรองรับ และมีลกั ษณะไหลได้)
(3) นักเรยี นและครรู ่วมกนั สรปุ ผลจากการปฏิบัติแต่ละกิจกรรม โดยอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า การ
หาปริมาตรของก้อนหินทําได้โดยการแทนที่นํ้า ซ่ึงปริมาตรของน้ําที่ล้นออกมาจะเท่ากับปริมาตรของก้อนหินที่
หยอ่ นลงในนํ้า แลว้ รว่ มกนั สรปุ จนได้ความเข้าใจท่ตี รงกันว่า ของแขง็ มปี ริมาตรและรูปร่างคงท่ี ส่วนของเหลวมี
ปรมิ าตรคงที่ แต่รูปร่างไมค่ งท่ี คอื เปลยี่ นไปตามภาชนะทบ่ี รรจุ
4) ขัน้ ขยายความรู้
(1) นักเรยี นชว่ ยกนั ยกตัวอย่างสงิ่ ต่างๆ รอบตัวทีม่ ีสถานะของแข็ง และมีสถานะของเหลวโดยครูและ
นกั เรยี นรว่ มกันอภปิ รายแสดงความคดิ เห็นตามประเดน็ ตอ่ ไปนี้
- สิง่ ทีเ่ ปน็ ของแขง็ และของเหลวทน่ี กั เรียนยกตวั อย่างมีสมบัติใด
- ถา้ ตอ้ งการเปรยี บเทยี บมวลของกอ้ นหนิ 2 ก้อน สามารถทาํ ไดด้ ้วยวธิ กี ารใด
- การบอกมวลและปริมาตรของสารท่เี ป็นของแขง็ และของเหลว ใชว้ ิธกี ารหรอื เครอ่ื งมือใด
- นกั เรยี นคดิ วา่ สง่ิ ทีท่ ําให้สารมีสถานะเปน็ ของแขง็ หรือของเหลวคืออะไร
หมายเหตุ ครูควรคอยช้ีแนะหรือถามนักเรียน เพ่ือให้นักเรียนได้ตอบคําถามและนําความรู้ที่ได้สร้างเป็นองค์
ความรู้ดว้ ยตนเอง
(2) นักเรียนค้นคว้าคําศัพท์ภาษาต่างประเทศท่ีเกี่ยวกับสมบัติของของแข็งและสมบัติของของเหลว
จากหนังสือเรียนภาษาตา่ งประเทศหรืออินเทอร์เน็ต
5) ขั้นประเมิน
(1) ครใู หน้ กั เรยี นแต่ละคนพจิ ารณาว่าจากหัวข้อทเี่ รยี นมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจุดใดบ้างท่ียังไม่
เข้าใจหรอื ยงั มขี ้อสงสยั ถ้ามคี รูช่วยอธบิ ายเพ่มิ เติมใหน้ ักเรียนเข้าใจ
(2) นักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคใด และได้มีการแก้ไข
อย่างไรบ้าง
(3) ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับประโยชน์ท่ีได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรมและการนํา
ความรูท้ ่ไี ด้ไปใชป้ ระโยชน์
(4) ครูทดสอบความเข้าใจของนักเรยี นโดยการใหต้ อบคําถาม เชน่
- ของแขง็ มสี มบตั ิต่างจากของเหลวเพราะอะไร
- เราสามารถทาํ ไอศกรีมจากนํา้ หวานไดห้ ลายรปู ทรงเพราะอะไร
ข้นั สรุป
(1) ครูและนักเรยี นรว่ มกันสรปุ เก่ยี วกับสมบัติของของแข็งและของเหลว โดยร่วมกันเขียนเป็นแผนท่ี
ความคิดหรือผงั มโนทศั น์
(2) ครูมอบหมายให้นักเรียนไปศึกษาค้นคว้าเนื้อหาของบทเรียนชั่วโมงหน้า เพ่ือจัดการเรียนรู้ครั้ง
ต่อไป โดยใหน้ ักเรยี นศึกษาค้นคว้าลว่ งหนา้ ในหวั ขอ้ สมบัตขิ องแกส๊
โรงเรียนบา้ นเปูา
(3) ครูให้นักเรียนเตรียมประเด็นคําถามท่ีสงสัยมาอย่างน้อยคนละ 1 คําถาม เพ่ือนํามาอภิปราย
รว่ มกันในชัน้ เรียนครง้ั ตอ่ ไป
8. กิจกรรมเสนอแนะ
1. นกั เรียนฝกึ สงั เกตสงิ่ ตา่ งๆ ทอ่ี ยูร่ อบตวั วา่ มีสมบตั ใิ ดบา้ ง และมลี กั ษณะเฉพาะตวั ทจ่ี ัดเป็น
ของแข็งหรือของเหลว
2. นกั เรียนสืบค้นข้อมูลที่เก่ียวข้องกับสมบัติของของแข็งและของเหลวเพิ่มเติมจากแหล่งความรู้ต่างๆ
เช่น หนงั สือ วารสารวทิ ยาศาสตร์ และอนิ เทอร์เนต็ แล้วนาํ ขอ้ มลู ทไ่ี ด้มาจดั ทาํ เป็นรายงานส่งครู
9. สอ่ื /แหล่งการเรียนรู้
1. แบบทดสอบกอ่ นเรียน
2. ใบงานสังเกตก่อนเรยี น 6
3. ใบกจิ กรรมที่ 14 ทดลองสมบัติของของเหลว
4. คู่มอื การสอน วทิ ยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 6
5. ส่ือการเรียนรู้ PowerPoint รายวิชาพืน้ ฐาน วิทยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 6
6. แบบฝึกทักษะ รายวชิ าพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 6
7. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 6
โรงเรยี นบ้านเปูา
10. บนั ทึกหลังการจดั การเรยี นรู้
ความคดิ เห็น/ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
(ลงชอ่ื )..............................................
(นายธนิตย์ พระสนุ ิน)
ผอู้ าํ นวยการโรงเรยี นเค็งใหญ่หนองงเู หลอื ม
รักษาการในตําแหนง่ ผอู้ าํ นวยการโรงเรียนบ้านเปูา
บนั ทึกหลังการสอน
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
ปญั หา/อุปสรรค
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
ขอ้ เสนอแนะ
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
(ลงชื่อ)..............................................
(นางสาววมิ ลรตั น์ ประทปี ะเสน)
ครูผู้ชว่ ย
โรงเรียนบ้านเปูา
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 20
รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ (ว16101) ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 6
หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 3 สารในชีวิตประจาํ วัน เวลาเรียน 12 ช่วั โมง
เร่ือง สมบัติของแก๊ส เวลาจาํ นวน 1 ชั่วโมง
**********************************************************************************
1. สาระสาคัญ
แก๊สเป็นสสารท่ีมีอนุภาคภายในอยู่ห่างกันมาก อนุภาคจะเคล่ือนท่ีอยู่ตลอดเวลา จึงทําให้มีปริมาตร
และรปู รา่ งไม่คงที่ สามารถฟูุงกระจายได้
2. ตวั ช้ีวดั ชนั้ ปี
ทดลองและอธิบายสมบัตขิ องของแข็ง ของเหลว และแกส๊ (ว 3.1 ป. 6/1)
3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
1. อธิบายสมบัตขิ องสารในสถานะแก๊สได้ (K)
2. มคี วามสนใจใฝุรู้หรืออยากรูอ้ ยากเห็น (A)
3. พอใจในประสบการณก์ ารเรียนรทู้ ่เี กีย่ วกับวทิ ยาศาสตร์ (A)
4. ทาํ งานร่วมกับผอู้ ่นื อยา่ งสร้างสรรค์ (A)
5. สอ่ื สารและนาํ ความรเู้ ร่ืองสมบตั ิของแกส๊ ไปใชใ้ นชีวติ ประจาํ วันได้ (P)
4. การวดั และการประเมนิ ผลการเรียนรู้
ดา้ นความรู้ (K) ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และ ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P)
จติ วิทยาศาสตร์ (A)
1. ประเมินทักษะ/กระบวนการ
1. ซักถามความรเู้ รื่องสมบัติของ 1. ประเมนิ เจตคติทาง ทางวิทยาศาสตร์
แกส๊ วทิ ยาศาสตรเ์ ปน็ รายบุคคล 2. ประเมินทักษะการคิด
3. ประเมนิ ทักษะการแกป้ ญั หา
2. ประเมินกิจกรรมฝกึ ทกั ษะ 2. ประเมินเจตคตติ อ่ วิทยาศาสตร์ 4. ประเมินพฤติกรรมในการ
ระหวา่ งเรยี น เปน็ รายบคุ คล ปฏิบัตกิ จิ กรรมเป็นรายบุคคล
หรอื รายกลุ่ม
โรงเรียนบ้านเปาู
5. สาระการเรียนรู้
สมบตั ขิ องแก๊ส
6. แนวทางการบรู ณาการ สนทนา พดู คยุ หรอื เลา่ ประสบการณเ์ ก่ยี วกับสมบตั ิของแก๊ส
ภาษาไทย วาดภาพการจัดเรยี งตัวอนุภาคของของแข็ง ของเหลว และแกส๊
ศลิ ปะ ฟงั พูด อา่ น และเขียนคาํ ศัพทภ์ าษาตา่ งประเทศเกย่ี วกับสมบตั ิของ
ภาษาตา่ งประเทศ แกส๊ ที่เรียนรหู้ รอื ท่ีนกั เรียนสนใจ
7. กระบวนการจดั การเรียนรู้
ข้ันนาเข้าสูบ่ ทเรียน
1) ครูถามคําถามเพอื่ ทบทวนความรูเ้ ดิมของนักเรียน เชน่
- นกั เรยี นเคยเปุาลูกโปงุ จนแตกหรอื ไม่ (แนวคาํ ตอบ เคย)
- เมื่อลูกโปุงแตกลมในลูกโปุงหายไปไหน (แนวคําตอบ ลมฟูุงกระจายไปในอากาศรอบๆ
ตวั เรา)
2) นักเรียนช่วยกันอภิปรายและแสดงความคิดเห็นของคําตอบจากคําถามข้างต้นเพื่อเชื่อมโยงไปสู่
การเรยี นรูเ้ รอ่ื ง สมบตั ิของแกส๊
ขั้นจดั กิจกรรมการเรียนรู้
จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับแบบกลับด้านช้ันเรียน ซึ่งมี
ขั้นตอนดังน้ี
1) ขัน้ สรา้ งความสนใจ
(1) ครูแบ่งกลุ่มนกั เรียนแล้วเปิดโอกาสให้นักเรียนในกลุ่มนําเสนอข้อมูลเก่ียวกับสมบัติของแก๊ส ที่ครู
มอบหมายให้ไปเรียนรู้ล่วงหน้าให้เพ่ือนๆ ในกลุ่มฟัง จากนั้นให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนมานําเสนอข้อมูลหน้า
หอ้ งเรยี น
(2) ครูตรวจสอบวา่ นกั เรียนทําภาระงานที่ไดร้ บั มอบหมายไปหรือไม่ โดยตรวจสอบจากการจดบันทึก
ของนักเรยี น และถามคําถามเกย่ี วกับภาระงาน ดังนี้
- แก๊สมีรูปร่างลักษณะใดเม่ือเปลี่ยนรูปร่างของภาชนะ (แนวคําตอบ แก๊สมีรูปร่าง
เปลย่ี นไปตามภาชนะทใ่ี ส)่
- แก๊สมีปริมาตรลักษณะใดเม่ือเปล่ียนปริมาตรของภาชนะ (แนวคําตอบ แก๊สมีปริมาตร
เปล่ยี นไปตามภาชนะทใ่ี ส)่
(3) ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนตั้งประเด็นคําถามท่ีนักเรียนสงสัยจากการทําภาระงานอย่างน้อยคนละ
1 คําถาม ซง่ึ ครูให้นกั เรียนเตรยี มมาล่วงหน้า และให้นกั เรยี นชว่ ยกนั ตอบและแสดงความคิดเห็น
โรงเรยี นบา้ นเปาู
(4) ครแู ละนักเรยี นร่วมกนั สรุปเก่ยี วกบั ภาระงาน โดยครูช่วยอธิบายให้นักเรยี นเขา้ ใจวา่ แก๊สมีรูปร่าง
และปริมาตรไมค่ งที่
2) ขั้นสารวจและค้นหา
(1) ให้นักเรียนศึกษาสมบัติของแก๊สจากใบความรู้หรือในหนังสือเรียน โดยครูตั้งคําถามกระตุ้นให้
นักเรยี นตอบดงั นี้
- แก๊สมสี มบตั อิ ะไรบา้ ง
- เพราะอะไรแกส๊ จึงฟงุู กระจายในภาชนะทีบ่ รรจุได้
(2) นกั เรียนร่วมกันตอบคําถามตามความคดิ เห็นของแตล่ ะคน
(3) นกั เรียนแบ่งกลุม่ และปฏิบตั ิกจิ กรรม สังเกตสมบัติของแก๊ส ตามข้ันตอนทางวิทยาศาสตร์ โดยใช้
ทักษะ/กระบวนการสงั เกตดงั นี้
- จุดไม้ขีดไฟ 1 ก้าน ใส่ลงในขวด ใช้น้ิวมือปิดปากขวด แล้วสังเกตควันท่ีเกิดจากไม้ขีดไฟท่ีดับ
บนั ทึกผล
- นาํ ขวดทมี่ ขี นาดเท่ากันมาควํา่ ประกบกับขวดใบแรก ใหป้ ากขวดสนทิ กันพอดี สังเกตควันในขวด
บนั ทกึ ผล แล้วสรปุ ผลการสงั เกต
(4) นกั เรยี นและครูรว่ มกนั ตรวจสอบความถกู ตอ้ งของขอ้ มลู ที่ได้จากใบกิจกรรม
(5) ครูคอยแนะนําช่วยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบๆ ห้องเรียนและเปิด
โอกาสใหน้ ักเรียนทุกคนซักถามเม่ือมีปัญหา
3) ขั้นอธบิ ายและลงข้อสรปุ
(1) นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ ส่งตวั แทนกลุ่มนาํ เสนอข้อมูลจากการปฏบิ ัติกิจกรรมหน้าชั้นเรยี น
(2) นักเรียนและครูร่วมกนั อภปิ รายและหาขอ้ สรปุ จากการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม โดยใชแ้ นวคําถามตอ่ ไปน้ี
- ควันมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร (แนวคําตอบ มีการแพร่กระจายจากขวดใบล่างขึ้นไปยังขวดใบ
บน)
- แก๊สมีสมบัติแตกต่างจากของเหลวและของแข็งอย่างไร (แนวคําตอบ แก๊สจะมีรูปร่างและ
ปรมิ าตรไมค่ งท่ี ฟุูงกระจายไปในภาชนะท่บี รรจุ)
- ยกตัวอย่างการฟุูงกระจายของแก๊สท่ีนักเรียนพบเห็นได้ในชีวิตประจําวัน (แนวคําตอบ การฟุูง
กระจายของนาํ้ หอมทฉ่ี ดี การฟูุงกระจายของสเปรย์ฉดี กนั ยงุ )
(3) นักเรียนและครูร่วมกันสรุปผลจากการปฏิบัติกิจกรรม โดยครูอธิบายให้นักเรียนฟังว่าภายใน
หลอดฉีดยาจะมีแก๊สอยู่ โดยปริมาตรของแก๊สท่ีอยู่ภายในจะเท่ากับปริมาตรของหลอดฉีดยา แล้วร่วมกันสรุป
ให้ไดค้ วามเข้าใจตรงกันวา่ แก๊สมรี ูปรา่ งและปริมาตรไม่คงที่ จะฟูุงกระจายเตม็ ภาชนะท่ีบรรจุ
4) ขัน้ ขยายความรู้
(1) แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มแต่ละกลุ่มวาดภาพการเรียงตัวอนุภาคของของแข็ง ของเหลว และแก๊ส
แล้วส่งตวั แทนกลมุ่ ออกมานําเสนอผลงานหน้าชัน้ เรยี น
โรงเรยี นบา้ นเปูา
(2) นักเรยี นและครรู ่วมกนั เปรียบเทยี บการเรียงตัวของอนุภาคของของแข็ง ของเหลว และแก๊ส แล้ว
ครูสรุปให้นักเรียนฟังว่า การเรียงตัวของอนุภาคแตกต่างกันทําให้สมบัติของของแข็ง ของเหลว และแก๊ส
แตกตา่ งกัน
(3) นกั เรียนค้นควา้ คําศพั ท์ภาษาตา่ งประเทศทเ่ี กยี่ วกบั สมบัติของแก๊สจากหนังสอื เรยี นภาษา
ตา่ งประเทศหรืออินเทอรเ์ นต็
5) ขนั้ ประเมิน
(1) ครูให้นักเรียนแตล่ ะคนพิจารณาวา่ จากหัวขอ้ ท่ีเรยี นมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจุดใดบ้างท่ียังไม่
เขา้ ใจหรอื ยังมีขอ้ สงสยั ถา้ มคี รูช่วยอธิบายเพิม่ เตมิ ให้นักเรยี นเข้าใจ
(2) นักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคใด และได้มีการแก้ไข
อย่างไรบ้าง
(3) ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับประโยชน์ท่ีได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรม และการนํา
ความร้ทู ่ีไดไ้ ปใช้ประโยชน์
(4) ครทู ดสอบความเข้าใจของนักเรียนโดยการให้ตอบคาํ ถาม เชน่
- แกส๊ มปี ริมาตรไม่คงทเี่ พราะอะไร
- เราไดก้ ล่ินอาหารที่อยหู่ า่ งไกลจากเราเพราะอะไร
ขนั้ สรปุ
(1) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเก่ียวกับสมบัติของแก๊ส โดยร่วมกันเขียนเป็นแผนที่ความคิดหรือผัง
มโนทศั น์
(2) ครูมอบหมายให้นักเรียนไปศึกษาค้นคว้าเน้ือหาของบทเรียนช่ัวโมงหน้า เพื่อจัดการเรียนรู้คร้ัง
ตอ่ ไป โดยใหน้ ักเรยี นศึกษาคน้ ควา้ ลว่ งหนา้ ในหวั ข้อการจําแนกประเภทของสาร
(3) ครูให้นักเรียนเตรียมประเด็นคําถามที่สงสัยมาอย่างน้อยคนละ 1 คําถาม เพ่ือนํามาอภิปราย
รว่ มกันในชั้นเรียนครั้งตอ่ ไป
8. กจิ กรรมเสนอแนะ
1. นกั เรียนฝกึ สังเกตและวิเคราะหส์ ิ่งตา่ งๆ ที่อยู่รอบตวั ว่าเกย่ี วขอ้ งกับแก๊ส และสมบัติของแก๊สในด้าน
ใด
2. นักเรียนสืบค้นข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับสมบัติของแก๊สเพิ่มเติมจากแหล่งความรู้ต่างๆ เช่นหนังสือ
วารสารวทิ ยาศาสตร์ และอินเทอรเ์ น็ต แลว้ นําขอ้ มลู ทไี่ ดม้ าจัดทําเป็นรายงานสง่ ครู
9. สอ่ื /แหลง่ การเรียนรู้
1. ใบกิจกรรมที่ 15 สงั เกตสมบัตขิ องแกส๊
2. คู่มอื การสอน วทิ ยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 6
3. สอื่ การเรยี นรู้ PowerPoint รายวิชาพ้นื ฐาน วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6
โรงเรยี นบ้านเปูา
4. แบบฝึกทกั ษะ รายวชิ าพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 6
5. หนังสอื เรียน รายวชิ าพ้ืนฐาน วิทยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 6
10. บนั ทึกหลังการจัดการเรยี นรู้
ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
(ลงช่ือ)..............................................
(นายธนิตย์ พระสุนนิ )
ผู้อํานวยการโรงเรียนเค็งใหญห่ นองงเู หลือม
รักษาการในตําแหน่ง ผอู้ าํ นวยการโรงเรียนบ้านเปูา
บนั ทกึ หลงั การสอน
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
ปญั หา/อปุ สรรค
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
ขอ้ เสนอแนะ
.................................................................................................................................................................. ............
..................................................................................................................... .........................................................
(ลงชอ่ื )..............................................
(นางสาววมิ ลรัตน์ ประทปี ะเสน)
ครผู ู้ชว่ ย
โรงเรยี นบ้านเปูา
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 21
รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ (ว16101) ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 3 สารในชีวิตประจาํ วนั เวลาเรยี น 12 ชว่ั โมง
เรื่อง การจาํ แนกประเภทของสาร เวลาจํานวน 1 ชว่ั โมง
**********************************************************************************
1. สาระสาคญั
การจําแนกสารเปน็ การจดั กลมุ่ สารต่างๆ โดยใช้เกณฑ์ 3 เกณฑ์ คือ สถานะ เน้ือสาร และความสามารถ
ในการนาํ ความรอ้ นและการนําไฟฟาู
2. ตวั ช้ีวดั ช้นั ปี
จาํ แนกสารเป็นกลุม่ โดยใชส้ ถานะหรือเกณฑอ์ น่ื ที่กําหนดเอง (ว 3.1 ป. 6/2)
3. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. บอกและจําแนกประเภทของสารโดยใชเ้ กณฑ์อ่ืนได้ (K)
2. มคี วามสนใจใฝุรหู้ รืออยากรูอ้ ยากเห็น (A)
3. พอใจในประสบการณ์การเรียนรทู้ ่ีเกย่ี วกบั วิทยาศาสตร์ (A)
4. ทาํ งานรว่ มกับผู้อนื่ อยา่ งสร้างสรรค์ (A)
5. สอื่ สารและนําความรเู้ ร่ืองการจําแนกประเภทของสารไปใชใ้ นชวี ติ ประจําวนั ได้ (P)
4. การวดั และการประเมินผลการเรยี นรู้
ด้านความรู้ (K) ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และ ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
จิตวิทยาศาสตร์ (A)
1. ซักถามความรู้เรื่องการจําแนก 1. ประเมินเจตคตทิ าง 1. ประเมนิ ทักษะ/กระบวนการ
ประเภทของสาร วิทยาศาสตร์เปน็ รายบคุ คล ทางวทิ ยาศาสตร์
2. ประเมนิ กจิ กรรมฝกึ ทักษะ 2. ประเมินเจตคติต่อวทิ ยาศาสตร์ 2. ประเมินทักษะการคดิ
ระหวา่ งเรยี น เป็นรายบคุ คล 3. ประเมนิ ทักษะการแก้ปญั หา
4. ประเมนิ พฤติกรรมในการ
ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมเปน็ รายบุคคล
หรอื รายกลุ่ม
5. สาระการเรยี นรู้
การจาํ แนกประเภทของสาร
โรงเรยี นบา้ นเปูา
6. แนวทางการบูรณาการ สนทนา พูดคุย หรือเล่าประสบการณเ์ กย่ี วกับการจาํ แนกประเภทของสาร
ภาษาไทย จาํ แนก จดั ประเภทสารตา่ ง ๆ เป็นหมวดหมู่ตามเกณฑ์ท่ไี ด้เรียนรู้
คณิตศาสตร์ ฟัง พูด อา่ น และเขยี นคาํ ศพั ทภ์ าษาต่างประเทศเกยี่ วกบั การจําแนก
ภาษาตา่ งประเทศ ประเภทของสารที่เรียนรหู้ รือที่นกั เรยี นสนใจ
7. กระบวนการจดั การเรียนรู้
ข้นั นาเข้าสูบ่ ทเรียน
1) ให้นักเรียนนําของเล่นของใช้มากองรวมกัน แล้วแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม แต่ละกลุ่มช่วยกันแยก
สง่ิ ของออกเป็นกองๆ โดยครตู ้งั คําถามกระตุ้นดงั น้ี
- ถ้านักเรียนต้องการรู้ว่าของเล่นของใช้ที่กองรวมกันอยู่นี้ มีก่ีประเภทหรือกี่พวก นักเรียนจะ
ทําอย่างไร
- นกั เรียนสามารถแบ่งกลมุ่ สิ่งเหล่าน้โี ดยใชส้ ถานะเป็นเกณฑ์ไดห้ รือไม่ ลักษณะใด
2) นักเรียนร่วมกันตอบคําถามตามความคิดเห็นของแต่ละคน ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปราย
คาํ ตอบ เพ่อื เช่ือมโยงไปสู่การเรยี นรูเ้ รือ่ ง การจําแนกประเภทของสาร
ข้นั จดั กจิ กรรมการเรียนรู้
จดั กิจกรรมการเรียนรโู้ ดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับแบบกลับด้านชั้นเรียน ซึ่งมีขั้นตอน
ดงั นี้
1) ขั้นสรา้ งความสนใจ
(1) ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนแล้วเปิดโอกาสให้นักเรียนในกลุ่มนําเสนอข้อมูลเก่ียวกับการจําแนกประเภท
ของสาร ท่ีครูมอบหมายให้ไปเรียนรู้ล่วงหน้าให้เพ่ือนๆ ในกลุ่มฟัง จากนั้นให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนมานําเสนอ
ขอ้ มูลหน้าห้องเรียน
(2) ครตู รวจสอบวา่ นกั เรยี นทําภาระงานท่ีไดร้ ับมอบหมายไปหรือไม่ โดยตรวจสอบจากการจดบันทึก
ของนกั เรยี น และถามคาํ ถามเก่ียวกับภาระงาน ดงั น้ี
- ถา้ ตอ้ งการแบง่ กลุม่ เราต้องกาํ หนดสิง่ ใดก่อน (แนวคาํ ตอบ เกณฑใ์ นการแบ่งกลมุ่ )
- การใช้เน้ือสารเป็นเกณฑ์แบ่งกลุ่มสารได้กี่กลุ่ม อะไรบ้าง (แนวคําตอบ 2 กลุ่ม คือ สาร
เน้อื เดียว และสารเนื้อผสม)
(3) ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนตั้งประเด็นคําถามท่ีนักเรียนสงสัยจากการทําภาระงานอย่างน้อยคนละ
1 คําถาม ซึ่งครใู ห้นกั เรยี นเตรยี มมาลว่ งหน้า และใหน้ กั เรยี นช่วยกันตอบและแสดงความคดิ เหน็
(4) ครแู ละนักเรียนรว่ มกนั สรุปเกีย่ วกับภาระงาน โดยครชู ว่ ยอธิบายใหน้ ักเรียนเข้าใจว่า สารสามารถ
แบ่งกลุ่มไดโ้ ดยใชส้ มบัติต่างๆ ของสารเปน็ เกณฑ์
โรงเรียนบา้ นเปาู
2) ขน้ั สารวจและคน้ หา
(1) ให้นักเรียนศึกษาการจําแนกประเภทของสารจากใบความรู้หรือในหนังสือเรียน โดยครูช่วย
เช่ือมโยงความรู้ใหม่จากบทเรียนกับความรู้เดิมท่ีเรียนรู้มาแล้ว ด้วยการใช้คําถามกระตุ้นให้นักเรียนตอบจาก
ความรู้และประสบการณ์ของนกั เรยี น
(2) แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับการจําแนกประเภทของสาร โดยดําเนินการตาม
ข้นั ตอนดังนี้
- แต่ละกลุ่มวางแผนการสืบค้นข้อมูล โดยแบ่งหัวข้อย่อยให้เพ่ือนสมาชิกช่วยกันสืบค้น
ตามที่สมาชิกกลมุ่ ชว่ ยกันกําหนดหัวข้อย่อย เช่น การกําหนดเกณฑ์ที่ใช้จําแนกสาร เกณฑ์ที่ใช้จําแนกสาร เช่น
สถานะ เนอ้ื สาร และความสามารถในการนําความร้อน และการนําไฟฟาู
- สมาชิกลุ่มแต่ละคนหรือกลุ่มย่อยช่วยกันสืบค้นข้อมูลตามหัวข้อย่อยที่ตนรับผิดชอบโดย
การสบื ค้นจากใบความรทู้ คี่ รเู ตรยี มมาให้ หรอื หนังสือ วารสาร สารานุกรม และอนิ เทอรเ์ นต็
- สมาชิกกลุ่มนําข้อมูลที่สืบค้นได้มารายงานให้เพื่อนๆ สมาชิกในกลุ่มฟัง รวมทั้งร่วมกัน
อภิปรายซักถามจนคาดวา่ สมาชกิ ทุกคนมีความรู้ความเข้าใจตรงกนั
- สมาชิกกลุ่มช่วยกันสรุปความรู้ท่ีได้ท้ังหมดเป็นผลงานของกลุ่มและช่วยกัน จัดทํา
รายงานการศึกษาค้นคว้าเกย่ี วกบั การจาํ แนกประเภทของสาร
(3) ครูคอยแนะนําช่วยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบๆ ห้องเรียนและเปิด
โอกาสให้นกั เรียนทกุ คนซกั ถามเมื่อมปี ัญหา
3) ข้นั อธบิ ายและลงข้อสรุป
(1) นกั เรยี นและครูร่วมกันสรุปเกณฑ์ที่ใช้จําแนกสาร โดยครูเน้นให้นักเรียนเข้าใจถึงการจําแนกโดย
ใช้สถานะ เนอ้ื สาร และความสามารถในการนาํ ความร้อนและการนาํ ไฟฟูาเป็นเกณฑ์
(2) นกั เรียนและครรู ่วมกนั อภปิ รายและหาขอ้ สรปุ จากการปฏบิ ัติกิจกรรม โดยใช้แนวคําถามต่อไปนี้
- การใช้เน้ือสารเป็นเกณฑ์ต้องสังเกตด้วยวิธีใด (แนวคําตอบ สังเกตโดยใช้ตาดูว่าสารมีเนื้อ
เดยี วกันหรอื เนือ้ ผสม)
- เม่ือใช้การนําไฟฟูาเป็นเกณฑ์แบ่งกลุ่มสารได้ลักษณะใด (แนวคําตอบ แบ่งได้เป็น โลหะกับ
อโลหะ)
(3) ครอู ธิบายเพ่มิ เตมิ เร่ือง การจาํ แนกสาร โดยยกตวั อยา่ งสารเนื้อเดียว สารเนื้อผสม หรือสารที่เป็น
โลหะ อโลหะ แลว้ ใหน้ ักเรยี นจําแนกสารเป็นประเภทตา่ งๆ ตามเกณฑ์ท่ีใช้ นักเรยี นตรวจสอบความถูกต้องของ
การทาํ กิจกรรม
4) ขั้นขยายความรู้
(1) แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มแต่ละกลุ่มสืบค้นข้อมูลท่ีเก่ียวข้องกับการจําแนกประเภทของสาร โดยใช้
เกณฑ์ต่าง ๆ นอกเหนือจากท่ีได้เรียนรู้ จากแหล่งข้อมูลต่างๆ เช่น หนังสือ วารสารวิทยาศาสตร์ และ
อนิ เทอรเ์ น็ต แลว้ นําข้อมูลทไ่ี ด้มาจดั ทําเป็นรายงานสง่ ครู
โรงเรยี นบ้านเปาู
(2) นักเรียนค้นคว้าคําศัพท์ภาษาต่างประเทศท่ีเก่ียวกับการจําแนกประเภทของสาร จากหนังสือ
เรียนภาษาตา่ งประเทศหรอื อนิ เทอร์เนต็
5) ข้ันประเมนิ
(1) ครูใหน้ ักเรยี นแต่ละคนพจิ ารณาวา่ จากหวั ข้อทเี่ รยี นมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจุดใดบ้างที่ยังไม่
เขา้ ใจหรือยังมขี ้อสงสัย ถา้ มคี รูชว่ ยอธบิ ายเพ่ิมเติมใหน้ ักเรียนเข้าใจ
(2) นักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคใด และได้มีการแก้ไข
อย่างไรบ้าง
(3) ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับประโยชน์ท่ีได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรม และการนํา
ความรทู้ ไี่ ด้ไปใชป้ ระโยชน์
(4) ครทู ดสอบความเขา้ ใจของนักเรียนโดยการใหต้ อบคําถาม เชน่
- สารเนอ้ื เดียวแตกตา่ งจากสารเนื้อผสมในเร่ืองใด
- โลหะกับอโลหะจําแนกออกจากกันได้โดยใช้เกณฑใ์ ด
ข้ันสรปุ
(1) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับการจําแนกประเภทของสาร โดยร่วมกันเขียนเป็นแผนที่
ความคดิ หรอื ผงั มโนทศั น์
(2) ครูมอบหมายให้นักเรียนไปศึกษาค้นคว้าเน้ือหาของบทเรียนช่ัวโมงหน้า เพื่อจัดการเรียนรู้ครั้ง
ต่อไป โดยให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าล่วงหน้าในหัวข้อการแยกสาร โดยใช้ใบงาน สํารวจก่อนเรียน 7 ที่ครู
จดั เตรียมไวใ้ หป้ ระกอบการศกึ ษาค้นควา้ (ในสอ่ื การเรียนรู้ PowerPoint วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 6 )
(3) ครอู ธิบายข้นั ตอนการปฏิบัตกิ ิจกรรมและมอบหมายใหน้ กั เรียนไปปฏิบตั กิ ิจกรรมท่ีบ้าน พร้อมทั้ง
ให้นักเรียนเตรียมประเด็นคําถามท่สี งสยั มาอย่างนอ้ ยคนละ 1 คาํ ถาม เพือ่ นํามาอภปิ รายร่วมกันในชั้นเรียนคร้ัง
ต่อไป
8. กิจกรรมเสนอแนะ
ให้นักเรียนฝึกสังเกตและวิเคราะห์ส่ิงต่างๆ ที่อยู่รอบตัวแล้วแบ่งเป็นกลุ่ม โดยใช้เกณฑ์ ต่างๆ ที่
นอกเหนอื จากในบทเรียน
9. ส่อื /แหลง่ การเรยี นรู้
1. ของเลน่ ของใชช้ นดิ ตา่ งๆ
2. ใบงานสาํ รวจก่อนเรยี น 7
3. คู่มอื การสอน วทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6
4. ส่ือการเรยี นรู้ PowerPoint รายวชิ าพืน้ ฐาน วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6
5. แบบฝึกทกั ษะ รายวชิ าพน้ื ฐาน วิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 6
6. หนงั สือเรยี น รายวิชาพื้นฐาน วทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 6
โรงเรยี นบ้านเปูา
10. บนั ทกึ หลงั การจดั การเรยี นรู้
ความคดิ เหน็ /ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
(ลงชอ่ื )..............................................
(นายธนติ ย์ พระสนุ นิ )
ผอู้ ํานวยการโรงเรียนเค็งใหญ่หนองงเู หลอื ม
รกั ษาการในตําแหน่ง ผอู้ าํ นวยการโรงเรียนบ้านเปูา
บนั ทึกหลงั การสอน
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
ปญั หา/อุปสรรค
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
ข้อเสนอแนะ
.................................................................................................................................................................. ............
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
(ลงช่อื )..............................................
(นางสาววิมลรตั น์ ประทีปะเสน)
ครูผู้ชว่ ย
โรงเรยี นบ้านเปาู
แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ 22
รายวิชาวิทยาศาสตร์ (ว16101) ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6
หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 3 สารในชวี ติ ประจาํ วัน เวลาเรยี น 12 ช่วั โมง
เรอื่ ง การแยกสารโดยการร่อน การกรอง เวลาจาํ นวน 2 ช่วั โมง
**********************************************************************************
1. สาระสาคัญ
การร่อนเป็นการแยกของผสมท่ีเป็นของแข็ง มีขนาดแตกต่างกัน โดยใช้เครื่องแยกแกว่งสายไปมาสาร
ทีล่ ะเอียดกวา่ จะหลดุ ลงมาด้านลา่ ง ส่วนสารทหี่ ยาบกว่าจะคา้ งอยู่ดา้ นบน
การกรองเป็นการแยกของผสมทเี่ ปน็ ของแข็งที่ไมล่ ะลายออกจากของเหลว
2. ตัวชี้วดั ช้นั ปี
ทดลองและอธบิ ายวธิ กี ารแยกสารบางชนิดท่ีผสมกนั โดยการรอ่ น การตกตะกอน การกรอง การ
ระเหดิ การระเหยแห้ง (ว 3.1 ป. 6/3)
3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
1. อธิบายวธิ กี ารแยกสารโดยการร่อนได้ (K)
2. ทดลองแยกสารด้วยวธิ ีการกรองได้ (K)
3. มีความสนใจใฝรุ ู้หรอื อยากรู้อยากเห็น (A)
4. พอใจในประสบการณ์การเรียนรูท้ เ่ี กี่ยวกบั วิทยาศาสตร์ (A)
5. ทํางานร่วมกบั ผู้อ่นื อย่างสร้างสรรค์ (A)
6. สอ่ื สารและนาํ ความรเู้ รื่องการแยกสารโดยการรอ่ น การกรองไปใชใ้ นชีวิตประจําวนั ได้ (P)
4. การวดั และการประเมนิ ผลการเรียนรู้
ดา้ นความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริยธรรม และ ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
จิตวิทยาศาสตร์ (A)
1. ประเมนิ ทักษะ/กระบวนการ
1. ซักถามความรเู้ ร่ืองการแยกสาร 1. ประเมินเจตคตทิ าง ทางวิทยาศาสตร์
โดยการรอ่ น การกรอง วิทยาศาสตร์เปน็ รายบคุ คล 2. ประเมนิ ทักษะการคิด
3. ประเมินทักษะการแกป้ ญั หา
2. ประเมนิ กิจกรรมฝึกทักษะ 2. ประเมนิ เจตคติต่อวิทยาศาสตร์ 4. ประเมนิ พฤติกรรมในการปฏิบัติ
ระหว่างเรยี น เป็นรายบุคคล กิจกรรมเปน็ รายบุคคลหรอื ราย
กลุ่ม
โรงเรยี นบ้านเปาู
5. สาระการเรยี นรู้
1. การรอ่ น
2. การกรอง
6. แนวทางการบรู ณาการ สนทนา พูดคยุ หรอื เลา่ ประสบการณ์เกี่ยวกับการแยกสารโดยการรอ่ น
ภาษาไทย การกรอง
จาํ แนก จดั ประเภทวิธีการแยกสารท่เี หมาะสมกบั สมบัติของสาร
คณิตศาสตร์ ฟัง พดู อา่ น และเขียนคําศพั ทภ์ าษาตา่ งประเทศเกีย่ วกบั การแยกสารโดย
ภาษาต่างประเทศ การร่อน การกรองทเ่ี รยี นรหู้ รือทนี่ ักเรียนสนใจ
7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นนาเข้าสบู่ ทเรยี น
1) ครูกระตุ้นความสนใจของนกั เรยี น โดยถามคําถามกบั นักเรยี นว่า
- เราควรพจิ ารณาส่งิ ใดเพื่อหาวธิ ีการแยกสาร
2) นักเรียนร่วมกันตอบคําถามตามความคิดเห็นของแต่ละคน แล้วครูและนักเรียนร่วมกันอภิปราย
คาํ ตอบ เพือ่ เช่อื มโยงไปสกู่ ารเรียนรูเ้ รื่อง การแยกสาร
ขัน้ จดั กจิ กรรมการเรียนรู้
จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับแบบกลับด้านชั้นเรียน ซ่ึงมี
ข้ันตอนดงั นี้
1) ขน้ั สร้างความสนใจ
(1) ครูใหน้ ักเรยี นนําใบงาน สาํ รวจก่อนเรยี น 7 ที่ครูมอบหมายให้ไปเรียนรูล้ ว่ งหนา้ ทบี่ ้านมาอภิปราย
รว่ มกันในชั้นเรียน
(2) ครตู รวจสอบว่านักเรียนทํากิจกรรมท่ีได้รับมอบหมายไปหรือไม่ โดยตรวจสอบจากการจดบันทึก
ของนักเรยี น และถามคาํ ถามเกยี่ วกับกจิ กรรม ดงั น้ี
- การแยกสารด้วยการร่อนใช้แยกสารลักษณะใด (แนวคําตอบ แยกของแข็งออกจาก
ของแขง็ )
- การแยกสารด้วยการกรองใช้แยกสารลักษณะใด (แนวคําตอบ แยกของแข็งออกจาก
ของเหลว)
(3) ครูเปดิ โอกาสให้นักเรยี นตงั้ ประเด็นคําถามที่นักเรียนสงสัยจากการทํากิจกรรมอย่างน้อยคนละ 1
คําถาม ซึง่ ครูให้นักเรยี นเตรยี มมาล่วงหน้า และให้นกั เรียนชว่ ยกันตอบและแสดงความคิดเหน็
(4) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเก่ียวกับกิจกรรม สํารวจก่อนเรียน 7 โดยครูช่วยอธิบายให้นักเรียน
เขา้ ใจว่า วิธีแยกสารทีต่ ่างกันเหมาะกับการแยกสารลกั ษณะต่างกัน
โรงเรียนบ้านเปาู
2) ขั้นสารวจและคน้ หา
(1) ใหน้ กั เรียนศกึ ษาการแยกสารโดยการร่อน การกรอง จากใบความรู้หรือในหนังสือเรียนโดยครูตั้ง
คําถามนาํ ใหน้ กั เรียนประกอบการคน้ คว้าดงั น้ี
- การรอ่ นใชแ้ ยกสารทีม่ ลี ักษณะใด
- วสั ดทุ ี่ใชส้ ําหรบั กรองมอี ะไรบา้ ง
(2) ครูสาธิตวิธีการร่อนทรายให้นักเรียนดู จากนั้นให้นักเรียนอาสาสมัคร 2-3 คน ออกมาแสดง
วิธีการรอ่ นทรายใหเ้ พอื่ นๆ ดู
(3) ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายจนได้ข้อสรุปว่า ทรายท่ีมีเศษวัสดุต่าง ๆ ปนอยู่จัดเป็นสารเน้ือ
ผสมท่สี ามารถแยกออกจากกนั ไดด้ ว้ ยวธิ กี ารร่อนโดยใช้ตะแกรงร่อนทราย
(4) นักเรยี นแบ่งกล่มุ และปฏิบตั กิ จิ กรรม สงั เกตการกรองน้ํา ตามขั้นตอนทางวิทยาศาสตร์
โดยใช้ทกั ษะ/กระบวนการสงั เกตดงั น้ี
- แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 3 - 5 คน แต่ละกลุ่มพับกระดาษกรอง แล้ววางลงบน
กรวยกรองจัดอปุ กรณก์ ารกรอง
- ใส่นํ้าลงในบีกเกอร์ ปริมาณ 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร แล้วตักทราย 1 ช้อนชา ใส่ลงใน
บีกเกอร์คนให้ท่ัว
- เทส่วนผสมในบีกเกอร์กรองผ่านกระดาษกรอง สังเกตสารท่ีกรองได้ และสารที่อยู่บน
กระดาษกรอง บนั ทึกผลการสงั เกต แลว้ สรุปผล
(5) นักเรยี นและครูร่วมกนั ตรวจสอบความถกู ต้องของข้อมลู ทไ่ี ด้จากใบกจิ กรรม
(6) ครูคอยแนะนําช่วยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบๆ ห้องเรียนและเปิด
โอกาสใหน้ ักเรยี นทกุ คนซักถามเมอื่ มีปัญหา
3) ขัน้ อธิบายและลงข้อสรปุ
(1) นักเรยี นแตล่ ะกลุม่ ส่งตัวแทนกลุ่มนาํ เสนอขอ้ มลู จากการปฏบิ ตั ิกิจกรรมหนา้ ชั้นเรียน
(2) นักเรียนและครูร่วมกนั อภิปรายและหาข้อสรุปจากการปฏิบตั กิ ิจกรรม โดยใช้แนวคาํ ถามต่อไปนี้
- สารทต่ี ดิ คา้ งอยู่บนกระดาษกรองคืออะไร เพราะอะไรจึงเป็นเช่นน้ัน (แนวคําตอบ ทราย
และก้อนกรวดขนาดเล็ก เพราะมีขนาดอนุภาคใหญ่กว่ารูของกระดาษกรอง จึงไม่สามารถกรองกระดาษกรอง
ได)้
- ถ้านํานํ้าเช่ือมไปกรองผ่านกระดาษกรองเพ่ือแยกน้ําตาลทรายออกมาจะได้ผลอย่างไร
เพราะอะไร (แนวคําตอบ ไม่สามารถแยกน้ําตาลทรายออกจากนํ้าได้ เพราะนํ้าตาลทรายละลายเป็นเนื้อ
เดียวกบั น้ํา ทําใหผ้ ่านรูของกระดาษกรองได้)
- หลักการในการแยกสารโดยใช้วิธีการกรองคืออะไร (แนวคําตอบ การแยกสารท่ีผสมกัน
ระหว่างของแข็งทไ่ี มล่ ะลายออกจากของเหลว โดยการให้ของผสมผ่านวัสดุกรอง อนุภาคของของแข็งท่ีมีขนาด
ใหญก่ วา่ รขู องวัสดกุ รองจะไมส่ ามารถผา่ นไปได้ แตอ่ นุภาคของของเหลวจะผ่านไปได)้
โรงเรยี นบา้ นเปาู
(3) นกั เรยี นและครูรว่ มกันสรปุ ผลจากการปฏิบัตกิ จิ กรรมโดยใหไ้ ดข้ ้อสรุปว่า การแยกสารด้วยวิธีการ
ร่อน เป็นการแยกสารเน้ือผสมที่เป็นของแข็งปนอยู่กับของแข็ง ส่วนวิธีการแยกสารโดยการกรองเป็นการแยก
สารเนื้อผสมท่ีเป็นของแข็งปนอยู่กับของเหลว เช่น การแยกสารเนื้อผสมของทรายท่ีปนอยู่กับนํ้า ทรายจะติด
อยู่บนกระดาษกรอง สารที่กรองไดจ้ ะใส
(4) ครูชแ้ี นะและให้ความรู้เพิ่มเติมกับนักเรียนว่า การกรองสารเนื้อเดียวบางชนิด เช่น น้ําผสมเกลือ
แกง ซ่งึ เป็นสารเนือ้ เดียวทเี่ กิดจากสาร 2 ชนดิ ผสมกนั อยู่ในรูปของสารละลาย จะไม่สามารถแยกสารออกจาก
กันได้ด้วยวิธีการกรอง โดยวิธีการแยกสารเนอื้ เดยี วน้นั นกั เรียนจะไดเ้ รยี นรู้ในครง้ั ตอ่ ไป
4) ข้นั ขยายความรู้
(1) นักเรียนคน้ ควา้ รายละเอียดเพม่ิ เติมเก่ียวกับสารเนื้อผสมและสารเน้ือเดียว แล้วนําความรู้ท่ีได้มา
สรปุ เขยี นเปน็ รายงานส่งครู
(2) นักเรียนค้นคว้ารายละเอียดและคําศัพท์ภาษาต่างประเทศเกี่ยวกับการแยกสารโดยการร่อนการ
กรอง จากหนังสือเรยี นภาษาตา่ งประเทศหรืออินเทอรเ์ น็ต
5) ขั้นประเมิน
(1) ครูใหน้ กั เรียนแตล่ ะคนพิจารณาวา่ จากหัวข้อท่เี รยี นมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจุดใดบ้างที่ยังไม่
เขา้ ใจหรือยงั มีขอ้ สงสัย ถ้ามคี รูช่วยอธิบายเพ่ิมเตมิ ให้นักเรยี นเข้าใจ
(2) นักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคใด และได้มีการแก้ไข
อยา่ งไรบ้าง
(3) ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรม และการนํา
ความร้ทู ี่ไดไ้ ปใช้ประโยชน์
(4) ครทู ดสอบความเข้าในของนักเรียนโดยการให้ตอบคาํ ถาม เช่น
- สารที่ไม่สามารถแยกออกจากกันดว้ ยวิธีการกรองคือสารทม่ี ีลักษณะใด
ข้ันสรุป
(1) ครแู ละนกั เรยี นร่วมกนั สรปุ เก่ยี วกบั การแยกสารโดยการรอ่ น การกรอง โดยร่วมกนั เขียนเป็นแผน
ทีค่ วามคิดหรอื ผงั มโนทัศน์
(2) ครูมอบหมายให้นักเรียนไปศึกษาค้นคว้าเน้ือหาของบทเรียนช่ัวโมงหน้า เพื่อจัดการเรียนรู้คร้ัง
ต่อไป โดยให้นักเรียนศึกษาคน้ คว้าล่วงหน้าในหัวขอ้ การแยกสารโดยการกลั่น การตกตะกอน การระเหยแหง้
(3) ครูให้นักเรียนเตรียมประเด็นคําถามที่สงสัยมาอย่างน้อยคนละ 1 คําถาม เพื่อนํามาอภิปราย
รว่ มกนั ในช้นั เรียนครั้งต่อไป
8. กิจกรรมเสนอแนะ
1) นักเรียนสังเกตวิธีการแยกสารโดยการร่อน การกรอง ท่ีอยู่รอบตัว เช่น การร่อนแปูง การกรอง
นํา้ แล้วจัดจาํ แนกว่าเป็นการแยกสารดว้ ยวธิ กี ารใด
โรงเรียนบา้ นเปาู
2) ครูให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา (STEM Education) จาก
สถานการณเ์ ร่อื ง เครื่องรอ่ นแปูง โดยใชแ้ นวการสอนในคูม่ ือการสอน วิทยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 6
9. สอ่ื /แหล่งการเรียนรู้
1. ภาพหรือของจริงของขนมหวานต่าง ๆ เชน่ แตงไทยนํ้ากะทิ ข้าวเหนยี วถัว่ ดํา ลอดชอ่ งนํา้ กะทิ
2. ใบงานสาํ รวจก่อนเรยี น 7
3. ใบกจิ กรรมที่ 16 สงั เกตการกรองน้ํา
4. คมู่ ือการสอน วิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 6
5. สอื่ การเรียนรู้ PowerPoint รายวชิ าพื้นฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 6
6. แบบฝกึ ทักษะ รายวิชาพ้นื ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
7. หนงั สอื เรียน รายวชิ าพน้ื ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
โรงเรียนบ้านเปาู
10. บนั ทึกหลังการจดั การเรียนรู้
ความคิดเหน็ /ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
(ลงชอ่ื )..............................................
(นายธนิตย์ พระสนุ นิ )
ผอู้ ํานวยการโรงเรียนเค็งใหญห่ นองงเู หลือม
รกั ษาการในตาํ แหน่ง ผอู้ ํานวยการโรงเรียนบา้ นเปาู
บนั ทกึ หลงั การสอน
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
ปัญหา/อปุ สรรค
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
ขอ้ เสนอแนะ
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................................................................................. ............................
..................................................................................................... .........................................................................
(ลงชอ่ื )..............................................
(นางสาววิมลรัตน์ ประทีปะเสน)
ครูผู้ช่วย
โรงเรยี นบา้ นเปูา
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 23
รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ (ว16101) ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 6
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 3 สารในชวี ติ ประจําวัน เวลาเรยี น 12 ชัว่ โมง
เร่อื ง การแยกสารโดยการกลัน่ การตกตะกอน การระเหยแหง้ เวลาจาํ นวน 2 ชวั่ โมง
**********************************************************************************
1. สาระสาคญั
การกลั่น เป็นการแยกของเหลวหรือของแข็งออกจากสารละลายท่ีเป็นของเหลว โดยอาศัยความ
แตกตา่ งระหวา่ งอุณหภมู ิของจุดเดือด
การตกตะกอน เป็นการแยกของผสมท่ีเป็นของแข็งออกจากของเหลว โดยทําให้ของแข็งที่ปนอยู่ตก
ลงก้นภาชนะ
การะเหยแห้ง เป็นการแยกของผสมที่เป็นของแข็งออกจากของเหลว โดยการให้ความร้อนจนเหลือ
แตข่ องแข็งติดอยูท่ ี่ภาชนะ
2. ตัวช้ีวัดชั้นปี
ทดลองและอธิบายวิธีการแยกสารบางชนดิ ท่ีผสมกนั โดยการรอ่ น การตกตะกอน การกรอง
การระเหิด การระเหยแห้ง (ว 3.1 ป. 6/3)
3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. อธบิ ายวธิ ีการแยกสารโดยการกลน่ั ได้ (K)
2. อธบิ ายวิธีการแยกสารโดยการตกตะกอนได้ (K)
3. ทดลองแยกสารดว้ ยวธิ ีการระเหยแหง้ ได้ (K)
4. มคี วามสนใจใฝรุ ูห้ รอื อยากรู้อยากเหน็ (A)
5. พอใจในประสบการณ์การเรียนรทู้ ่เี ก่ยี วกับวทิ ยาศาสตร์ (A)
6. ทาํ งานรว่ มกับผอู้ ืน่ อยา่ งสร้างสรรค์ (A)
7. สอ่ื สารและนําความรเู้ รื่องการแยกสารโดยการกลน่ั การตกตะกอน และการระเหยแห้งไปใชใ้ น
ชีวิตประจาํ วนั ได้ (P)
โรงเรียนบ้านเปาู
4. การวดั และการประเมนิ ผลการเรียนรู้
ดา้ นความรู้ (K) ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม และ ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P)
จติ วิทยาศาสตร์ (A)
1. ประเมนิ ทักษะ/กระบวนการ
1. ซักถามความรู้เร่ืองการแยกสาร 1. ประเมนิ เจตคตทิ าง ทางวิทยาศาสตร์
โดยการกลนั่ การตกตะกอน วิทยาศาสตรเ์ ปน็ รายบคุ คล 2. ประเมินทักษะการคิด
3. ประเมนิ ทักษะการแกป้ ัญหา
การระเหยแห้ง 2. ประเมินเจตคตติ ่อวทิ ยาศาสตร์ 4. ประเมนิ พฤติกรรมในการ
2. ประเมนิ กจิ กรรมฝึกทักษะ เปน็ รายบคุ คล ปฏิบัติกิจกรรมเปน็ รายบุคคล
หรือรายกล่มุ
ระหว่างเรยี น
5. สาระการเรียนรู้
- การกล่นั
- การตกตะกอน
- การระเหยแหง้
6. แนวทางการบูรณาการ สนทนา พูดคยุ หรอื เลา่ ประสบการณ์เกย่ี วกับการแยกสารโดยการกลนั่
ภาษาไทย การตกตะกอน การระเหยแห้ง
จําแนก จัดประเภทวธิ ีการแยกสารทีเ่ หมาะสมกบั สมบตั ิของสาร
คณิตศาสตร์ ฟงั พดู อา่ น และเขียนคําศัพทภ์ าษาต่างประเทศเกย่ี วกบั การกลั่น
ภาษาตา่ งประเทศ การตกตะกอน การระเหยแห้งที่เรียนรหู้ รอื ท่นี ักเรยี นสนใจ
7. กระบวนการจัดการเรยี นรู้
ขั้นนาเขา้ สบู่ ทเรียน
1) ครูทบทวนความรู้เรื่องสารเนื้อผสมกับสารเน้ือเดียวที่นักเรียนได้เรียนรู้มาแล้ว โดยอธิบายให้
นักเรยี นเขา้ ใจว่า สารเน้ือผสม เป็นสารผสมท่ีเนื้อสารไม่ผสมกลมกลืนกันทุกส่วน ยังคงมองเห็นส่วนท่ีแตกต่าง
กันอยู่ ส่วนสารเนื้อเดียว เป็นสารท่ีมีเนื้อสารและมีสมบัติเหมือนกันโดยตลอด ซ่ึงอาจจะเป็นสารละลายหรือ
สารบริสุทธิก์ ไ็ ด้
2) ครสู นทนากบั นักเรยี นเร่อื ง การแยกสารเนื้อเดยี ว โดยใชค้ ําถามกระตุ้นใหน้ กั เรยี นตอบดงั นี้
- นกั เรียนเคยเหน็ นาเกลือหรือไม่
- เกลอื ถกู แยกออกจากนํ้าทะเลไดด้ ว้ ยวธิ ีใด
- ถา้ ต้องการทําใหน้ ้ํามีความบรสิ ุทธิม์ ากควรใชว้ ธิ กี ารใด
โรงเรียนบ้านเปาู
3) นักเรียนร่วมกันตอบคําถามตามความคิดเห็นของแต่ละคน แล้วครูและนักเรียนร่วมกันอภิปราย
คําตอบ เพอ่ื เชอื่ มโยงไปสูก่ ารเรยี นรู้เรอ่ื ง การแยกสารโดยการกลน่ั การตกตะกอน และการระเหยแห้ง
ขั้นจัดกิจกรรมการเรียนรู้
จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับแบบกลับด้านช้ันเรียน ซึ่งมี
ข้ันตอนดงั นี้
1) ขัน้ สร้างความสนใจ
(1) ครแู บ่งกล่มุ นกั เรยี นแลว้ เปดิ โอกาสให้นักเรียนในกลุ่มนําเสนอข้อมูลเกี่ยวกับการแยกสารโดยการ
กล่นั การตกตะกอน การระเหยแห้ง ที่ครูมอบหมายให้ไปเรียนรู้ล่วงหน้าให้เพ่ือนๆ ในกลุ่มฟัง จากน้ันให้แต่ละ
กลมุ่ สง่ ตวั แทนมานําเสนอข้อมูลหน้าห้องเรยี น
(2) ครตู รวจสอบวา่ นักเรียนทําภาระงานท่ีไดร้ บั มอบหมายไปหรือไม่ โดยตรวจสอบจากการจดบันทึก
ของนักเรยี น และถามคาํ ถามเก่ียวกบั ภาระงาน ดงั น้ี
- การกลน่ั ใช้แยกสารเน้ือเดียวหรอื เนอื้ ผสม (แนวคาํ ตอบ สารเน้อื เดยี ว)
- การตกตะกอนใชแ้ ยกสารเนือ้ เดียวหรอื เนือ้ ผสม (แนวคาํ ตอบ สารเนือ้ เดียว)
- การระเหยแหง้ ใช้แยกสารเนื้อเดียวหรือเนื้อผสม (แนวคําตอบ สารเนือ้ เดยี ว)
(3) ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนตั้งประเด็นคําถามที่นักเรียนสงสัยจากการทําภาระงานอย่างน้อยคนละ
1 คาํ ถาม ซง่ึ ครูใหน้ ักเรยี นเตรยี มมาลว่ งหน้า และให้นักเรยี นชว่ ยกันตอบและแสดงความคิดเหน็
(4) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเก่ียวกับภาระงาน โดยครูช่วยอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า สารท่ี
แตกตา่ งกนั เหมาะกับการใชว้ ธิ ีแยกสารท่ีต่างกัน
2) ขน้ั สารวจและค้นหา
(1) ให้นักเรียนศึกษาการแยกสารโดยการกล่ัน การตกตะกอน การระเหยแห้ง จากใบความรู้หรือใน
หนงั สือเรยี น โดยครูต้ังคาํ ถามนาํ ใหน้ กั เรียนตอบประกอบการคน้ ควา้ ดงั นี้
- หลักการทใ่ี ช้ในการกลั่นแยกสารคอื อะไร
- ปัจจยั สําคญั ทใ่ี ชใ้ นการระเหยแห้งสารคืออะไร
- การตกตะกอนนิยมใชแ้ ยกสารประเภทใด
(2) นกั เรียนรว่ มกนั สรุปความหมายและวธิ ีการกล่ันและการตกตะกอนจากขอ้ มูลท่ีคน้ คว้า
(3) นกั เรยี นแบง่ กลมุ่ และปฏบิ ตั ิกิจกรรม ทดลองการระเหยแหง้ ตามข้นั ตอนทางวิทยาศาสตร์ ดังน้ี
ขั้นท่ี 1 กาํ หนดปัญหา
- การระเหยแหง้ จะสามารถแยกสารทีเ่ ปน็ สารละลายได้หรอื ไม่
ขน้ั ที่ 2 สมมตุ ฐิ าน
- เมือ่ ใหค้ วามร้อนกับน้ําปลา นํ้าน่าจะระเหยไปหมดเหลือแต่เกลือติดอยู่ท่ีภาชนะ แต่เมื่อ
ให้ความร้อนกับนํา้ น่าจะไมม่ ีสารเหลือติดที่ภาชนะเลย
ข้นั ท่ี 3 ทดลอง
โรงเรียนบ้านเปูา
- ใส่น้าํ และนา้ํ ปลาลงในจานหลุมอยา่ งละหลมุ
- นําจานหลมุ ไปวางให้ความร้อนด้วยตะเกียงแอลกอฮอล์ สังเกตการเปล่ียนแปลงของสาร
แต่ละชนดิ ในจานหลมุ
ขน้ั ที่ 4 วิเคราะหผ์ ลการทดลอง
- แปลความหมายข้อมูลทีไ่ ด้จากตารางบันทึกผลการทดลอง
- นําขอ้ มลู ที่ได้มาพิจารณา เพอื่ อธบิ ายวา่ เปน็ ไปตามที่นักเรยี นตัง้ สมมตุ ิฐานไว้ หรอื ไม่
ขัน้ ท่ี 5 สรุปผลการทดลอง
- นักเรยี นร่วมกันสรปุ ผลการทดลอง แลว้ เขียนรายงานสรุปผลการทดลองส่งครู
(4) ครูคอยแนะนําช่วยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบๆ ห้องเรียนและเปิด
โอกาสใหน้ กั เรยี นทุกคนซกั ถามเมอ่ื มปี ัญหา
3) ขั้นอธิบายและลงข้อสรปุ
(1) นกั เรียนแตล่ ะกล่มุ ส่งตวั แทนกลมุ่ นําเสนอข้อมลู จากการปฏิบตั ิกจิ กรรมหน้าช้นั เรยี น
(2) นักเรยี นและครรู ว่ มกันอธบิ ายและหาขอ้ สรุปจากการปฏบิ ัติกิจกรรม โดยใช้แนวคําถามต่อไปน้ี
- การระเหยแห้งเป็นการแยกของผสมที่อยู่ในลักษณะใด (แนวคําตอบ ของผสมที่อยู่ในรูป
ของสารละลาย โดยมีของแขง็ ละลายอยใู่ นของเหลว)
- ยกตวั อย่างการนาํ วิธีการระเหยแห้งไปใชป้ ระโยชน์ (แนวคาํ ตอบ การทาํ นาเกลือ)
(3) นักเรียนและครูร่วมกันสรปุ ผลการปฏิบัติกิจกรรม โดยให้ได้ข้อสรุปว่า การระเหยแห้งสามารถใช้
แยกของผสมท่ีเป็นสารละลายท่ีเกิดจากของแข็งละลายอยู่ในของเหลวได้ เช่น ในการระเหยแห้งน้ําปลา นํ้าจะ
ระเหยออกไปหมดเหลอื แตผ่ ลกึ ของเกลอื ตดิ อยทู่ กี่ ้นภาชนะ ส่วนการกลัน่ เป็นวิธีการแยกของเหลวหรือของแข็ง
ออกจากสารละลาย โดยการให้ความร้อนกับสารละลายจนของเหลวท่ีมีจุดเดือดตํ่ากลายเป็นไอออกมาก่อน
แล้วจึงทําให้ควบแน่นกลับมาเป็นของเหลวที่บริสุทธิ์ได้ และการตกตะกอนเป็นการแยกของผสมท่ีเกิดจาก
ของแข็งปนอยกู่ บั ของเหลว โดยการทาํ ให้ของแขง็ ตกลงกน้ ภาชนะ
(4) ครูชี้แนะให้ความรู้เพ่ิมเติมกับนักเรียนว่า การระเหยแห้งเหมาะสําหรับการแยกสารละลายที่
เป็นของแข็งปนอยู่ในของเหลว โดยของแข็งท่ีปนอยู่นั้นจะมีขนาดเล็กมาก จนไม่สามารถแยกได้โดยใช้วิธีการ
กรองหรือการตกตะกอนได้
4) ข้นั ขยายความรู้
(1) นักเรยี นคน้ ควา้ รายละเอียดเพ่ิมเติมเกีย่ วกับการแยกสารโดยการกลั่น การตกตะกอน การระเหย
แห้ง จากแหล่งความรตู้ ่างๆ เช่น หนังสือ วารสารวิทยาศาสตร์ และอินเทอร์เน็ต แล้วนําข้อมูลท่ีได้มาอภิปราย
รว่ มกนั ในช้ันเรยี น
(2) นักเรียนค้นควา้ รายละเอยี ดและคําศัพท์ภาษาตา่ งประเทศเกี่ยวกับการแยกสารโดยการกลั่น การ
ตกตะกอน การระเหยแหง้ จากหนงั สือภาษาต่างประเทศหรืออินเทอรเ์ นต็
โรงเรยี นบา้ นเปูา
5) ขั้นประเมิน
(1) ครูให้นักเรยี นแตล่ ะคนพิจารณาวา่ จากหัวข้อท่ีเรยี นมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจุดใดบ้างที่ยังไม่
เขา้ ใจหรอื ยงั มขี อ้ สงสยั ถา้ มคี รชู ว่ ยอธิบายเพ่มิ เตมิ ให้นักเรยี นเข้าใจ
(2) นักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคใด และได้มีการแก้ไข
อยา่ งไรบ้าง
(3) ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรม และการนํา
ความรทู้ ไี่ ดไ้ ปใชป้ ระโยชน์
(4) ครูทดสอบความเข้าใจของนักเรยี นโดยการใหต้ อบคําถาม เชน่
- หลักการของการระเหยแห้งคืออะไร
- สารทใ่ี ช้การตกตะกอนในการแยกสารควรมีลกั ษณะใด
ขน้ั สรปุ
(1) ครูและนกั เรยี นรว่ มกนั สรปุ เกยี่ วกับการแยกสารโดยการกลน่ั การตกตะกอน การระเหยแห้ง โดย
ร่วมกนั เขยี นเป็นแผนที่ความคิดหรอื ผังมโนทัศน์
(2) ครูมอบหมายให้นักเรียนไปศึกษาค้นคว้าเนื้อหาของบทเรียนชั่วโมงหน้า เพื่อจัดการเรียนรู้ครั้ง
ตอ่ ไป โดยใหน้ กั เรียนศกึ ษาคน้ คว้าลว่ งหนา้ ในหวั ขอ้ การตกผลึก การระเหดิ การสกดั สาร
(3) ครูให้นักเรียนเตรียมประเด็นคําถามที่สงสัยมาอย่างน้อยคนละ 1 คําถาม เพ่ือนํามาอภิปราย
รว่ มกันในช้นั เรียนครั้งตอ่ ไป
8. กจิ กรรมเสนอแนะ
1. นักเรียนยกตัวอย่างสารที่พบในชีวิตประจําวัน แล้วร่วมกันอภิปรายว่าสามารถแยกสารท่ีผสมอยู่
ได้โดยใชว้ ิธีการกล่ัน การตกตะกอน หรอื การระเหยแหง้ แล้วนาํ เสนอผลการอภิปรายหนา้ ชน้ั เรียน
2. แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม แต่ละกลุ่มช่วยกันสํารวจว่าในชีวิตประจําวันมีการนําหลักการกลั่น การ
ตกตะกอน และการระเหยแห้งไปใช้ประโยชน์อะไรบ้าง นําข้อมูลที่ได้มาสรุปเป็นแผนที่ความคิดหรือผังมโน
ทศั น์ส่งครู
9. สอ่ื /แหล่งการเรียนรู้
1. ใบกจิ กรรมท่ี 17 ทดลองการระเหยแหง้
2. คมู่ ือการสอน วทิ ยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 6
3. สอ่ื การเรียนรู้ PowerPoint รายวิชาพืน้ ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 6
4. แบบฝกึ ทกั ษะ รายวชิ าพ้ืนฐาน วิทยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 6
5. หนงั สือเรียน รายวิชาพ้นื ฐาน วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 6
โรงเรียนบ้านเปูา
10. บันทกึ หลงั การจัดการเรียนรู้
ความคิดเหน็ /ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
(ลงชอื่ )..............................................
(นายธนติ ย์ พระสนุ ิน)
ผ้อู ํานวยการโรงเรยี นเค็งใหญห่ นองงเู หลอื ม
รักษาการในตําแหนง่ ผอู้ ํานวยการโรงเรียนบ้านเปาู
บันทกึ หลงั การสอน
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................................................................................................... ..........
ปัญหา/อปุ สรรค
........................................................................................................ ......................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
ขอ้ เสนอแนะ
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
(ลงช่ือ)..............................................
(นางสาววิมลรตั น์ ประทปี ะเสน)
ครูผู้ชว่ ย
โรงเรยี นบ้านเปาู
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 24
รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ (ว16101) ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 6
หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 3 สารในชีวิตประจาํ วัน เวลาเรียน 12 ช่ัวโมง
เร่ือง การแยกสารโดยการตกผลกึ การระเหิด การสกัดสาร เวลาจาํ นวน 2 ช่ัวโมง
**********************************************************************************
1. สาระสาคัญ
การตกผลึกเป็นการแยกสารต่างชนิดท่ีมีความสามารถละลายได้เม่ืออุณหภูมิต่างกันออกจากกันการ
ระเหิดเป็นการแยกของผสมที่เป็นของแข็ง ซ่ึงมีสารท่ีมีสมบัติระเหิดได้ผสมอยู่ และการสกัดสารเป็นการแยก
สารโดยใช้ตัวทําละลายท่เี หมาะสมแยกสารท่ผี สมกนั อย่อู อกจากกัน
2. ตวั ช้ีวัดชั้นปี
ทดลองและอธิบายวิธีการแยกสารบางชนิดที่ผสมกัน โดยการร่อน การตกตะกอน การกรอง การ
ระเหิด การระเหยแห้ง (ว 3.1 ป. 6/3)
3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
1. อธบิ ายวธิ ีการแยกสารโดยการตกผลึกได้ (K)
2. อธิบายวธิ กี ารแยกสารโดยการระเหดิ ได้ (K)
3. อธิบายวธิ กี ารแยกสารโดยการสกดั สารได้ (K)
4. มีความสนใจใฝรุ หู้ รืออยากรอู้ ยากเหน็ (A)
5. พอใจในประสบการณ์การเรยี นรูท้ ่เี ก่ยี วกบั วิทยาศาสตร์ (A)
6. ทํางานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ (A)
7. สอ่ื สารและนําความรู้เรื่องการแยกสารโดยการตกผลกึ การระเหดิ การสกดั สารไปใช้ใน
ชวี ติ ประจาํ วนั ได้ (P)
4. การวดั และการประเมินผลการเรยี นรู้
ดา้ นความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม และ ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P)
จิตวิทยาศาสตร์ (A)
1. ประเมินทักษะ/กระบวนการทาง
1. ซกั ถามความร้เู รื่องการตกผลึก 1. ประเมนิ เจตคตทิ างวทิ ยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์
การระเหดิ การสกัดสาร เปน็ รายบุคคล 2. ประเมินทกั ษะการคิด
3. ประเมินทกั ษะการแกป้ ญั หา
2. ประเมินกิจกรรมฝกึ ทักษะ 2. ประเมนิ เจตคติต่อ 4. ประเมินพฤติกรรมในการปฏิบัติ
ระหว่างเรยี น 3. วิทยาศาสตรเ์ ปน็ รายบุคคล กจิ กรรมเปน็ รายบุคคล
โรงเรียนบ้านเปูา
5. สาระการเรยี นรู้
- การตกผลึก
- การระเหิด
- การสกัดสาร
6. แนวทางการบูรณาการ
ภาษาไทย สนทนา พูดคยุ หรอื เลา่ ประสบการณ์เก่ียวกับการแยกสารโดยการตกผลึก
การระเหิด การสกดั สาร
คณติ ศาสตร์ จําแนก จดั ประเภทวิธกี ารแยกสารท่ีเหมาะสมกับสมบัติของสาร
สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
สนทนา พูดคุยเก่ียวกบั ภมู ิปญั ญาชาวบ้านในการสกดั นํา้ มันหอมระเหย
จากพืชสมนุ ไพร และการนําไปใช้ประโยชน์
ภาษาต่างประเทศ ฟงั พูด อ่าน และเขียนคาํ ศัพทภ์ าษาต่างประเทศเกยี่ วกบั การตกผลกึ
การระเหดิ การสกัดสาร ทีเ่ รียนรหู้ รือท่นี ักเรียนสนใจ
7. กระบวนการจดั การเรียนรู้
ขัน้ นาเข้าสู่บทเรยี น
1) ครถู ามคาํ ถามเกีย่ วกับประสบการณเ์ ดิมของนักเรียน เชน่
- นกั เรียนเคยใช้ลูกเหมน็ หรอื ไม่ (แนวคําตอบ เคย)
- ถ้าวางลูกเหม็นท้ิงไวจ้ ะเกดิ การเปล่ยี นแปลงอะไร (แนวคําตอบ ลกู เหมน็ มขี นาดเลก็ ลง)
2) นักเรียนร่วมกันตอบคําถามตามความคิดเห็นของแต่ละคน แล้วครูและนักเรียนร่วมกันอภิปราย
คาํ ตอบ เพอ่ื เชือ่ มโยงไปสกู่ ารเรยี นรู้เรอ่ื ง การแยกสารโดยการตกผลึก การระเหิด การสกัดสาร
ขน้ั จดั กิจกรรมการเรียนรู้
จดั กจิ กรรมการเรียนรโู้ ดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้รว่ มกบั แบบกลับด้านชนั้ เรียน ซ่งึ มี
ขนั้ ตอนดงั นี้
1) ขนั้ สร้างความสนใจ
(1) ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนแล้วเปิดโอกาสให้นักเรียนในกลุ่มนําเสนอข้อมูลเกี่ยวกับการตกผลึก การ
ระเหดิ การสกดั สาร ที่ครูมอบหมายให้ไปเรียนรู้ล่วงหน้าให้เพ่ือน ๆ ในกลุ่มฟัง จากน้ันให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทน
มานาํ เสนอขอ้ มลู หน้าหอ้ งเรียน
(2) ครูตรวจสอบวา่ นกั เรยี นทําภาระงานทไี่ ดร้ ับมอบหมายไปหรือไม่ โดยตรวจสอบจากการจดบันทึก
ของนกั เรยี น และถามคาํ ถามเกี่ยวกบั ภาระงาน ดงั นี้
- การตกผลึกต้องทําให้สารละลายมีลักษณะใด (แนวคําตอบ ทําให้เป็นสารละลายอิ่มตัวท่ี
อณุ หภูมสิ งู )
โรงเรียนบา้ นเปูา
- การระเหิดคอื อะไร (แนวคาํ ตอบ การท่ีของแขง็ เปลี่ยนเปน็ ไอท่ีอุณหภมู หิ ้อง)
- การสกดั สารตอ้ งใช้สารใดช่วยในการแยกสาร (แนวคาํ ตอบ ตวั ทําละลายทเี่ หมาะสม)
(3) ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนตั้งประเด็นคําถามท่ีนักเรียนสงสัยจากการทําภาระงานอย่างน้อยคนละ
1 คําถาม ซึง่ ครูให้นกั เรยี นเตรยี มมาลว่ งหนา้ และใหน้ กั เรียนช่วยกนั ตอบและแสดงความคิดเหน็
(4) ครแู ละนกั เรียนร่วมกันสรุปเก่ยี วกับภาระงาน โดยครูช่วยอธบิ ายให้นกั เรียนเข้าใจว่า การแยกสาร
แตล่ ะวธิ ีมหี ลกั การท่ีแตกต่างกัน
2) ข้นั สารวจและค้นหา
(1) ให้นักเรียนศึกษาการแยกสารโดยการตกผลึก การระเหิด การสกัดสารจากใบความรู้หรือใน
หนังสือเรยี น โดยครตู ง้ั คําถามนาํ ใหน้ กั เรียนตอบเพอื่ ประกอบการค้นควา้ ดงั นี้
- การตกผลึกใชแ้ ยกสารประเภทใด
- หลักการแยกสารโดยวธิ ีการสกดั สารคืออะไร
- การระเหดิ ใช้แยกสารประเภทใด
- เราใชป้ ระโยชน์จากการตกผลึก การระเหิด และการสกดั สารในเรือ่ งใด
(2) ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปข้อมูลท่ีได้รับจากการศึกษา โดยสรุปความหมายและ
วธิ กี ารแยกสารโดยการตกผลึก การระเหิด และการสกัดสาร จากน้ันปฏิบัติกิจกรรมเพ่ือให้ได้ข้อมูลของวิธีการ
แยกสารท้งั 3 วธิ ดี งั น้ี
การตกผลึกสาร
(1) แบ่งนกั เรยี นเป็นกลุ่ม สบื ค้นขอ้ มูลเกย่ี วกับการตกผลึกสาร โดยดาํ เนินการตามข้ันตอนดังนี้
- แต่ละกลุ่มวางแผนการสืบค้นข้อมูลโดยแบ่งหัวข้อย่อยให้เพ่ือนสมาชิกช่วยกันสืบค้นตามท่ี
สมาชิกกลุม่ ช่วยกนั กําหนดหัวข้อยอ่ ย เชน่ ลักษณะของสารท่ีนาํ มาตกผลกึ วธิ กี ารตกผลึก
- สมาชิกกลุ่มแต่ละคนหรือกลุ่มย่อยช่วยกันสืบค้นข้อมูลตามหัวข้อย่อยที่ตนรับผิดชอบโดย
สบื คน้ จากใบความรู้ที่ครเู ตรยี มมาให้ หรอื หนงั สือ วารสารวิทยาศาสตร์ สารานกุ รม และอนิ เทอรเ์ นต็
- สมาชิกกลุ่มนําข้อมูลที่สืบค้นได้มารายงานให้เพื่อน ๆ สมาชิกในกลุ่มฟัง รวมทั้งร่วมกัน
อภปิ รายซกั ถามจนกว่าสมาชิกทุกคนมคี วามรูค้ วามเข้าใจท่ีตรงกัน
(2) สมาชิกกลุ่มช่วยกันสรุปความรู้ที่ได้ท้ังหมดเป็นผลงานกลุ่มและช่วยกันจัดทํารายงานการศึกษา
ค้นควา้ เกย่ี วกบั การตกผลกึ สาร
(3) ครูคอยแนะนําช่วยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบๆ ห้องเรียนและเปิด
โอกาสใหน้ ักเรียนทุกคนซักถามเมอ่ื มปี ัญหา
การระเหดิ
(1) นักเรียนแบ่งกลุ่มและปฏิบัติกิจกรรม สังเกตการระเหิด ตามข้ันตอนทางวิทยาศาสตร์โดยใช้
ทักษะ/กระบวนการสงั เกตดงั นี้
- ปั้นดินน้ํามันให้มีรูปร่างเปน็ รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า
โรงเรยี นบ้านเปูา
- วดั ขนาดเสน้ ผา่ นศนู ย์กลางของลกู เหม็น บนั ทกึ ผล
- กดลกู เหม็นลงบนกอ้ นดินนาํ้ มัน ใหล้ ูกเหม็นจมลงไปในดินน้าํ มนั ประมาณครึ่งลูก สังเกตรอย
กดบนดนิ นาํ้ มนั และบนั ทกึ ผล
- นําลูกเหม็นไปวางบนกระดาษนาน 2 สัปดาห์ นํามาวัดขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง แล้ววางลง
ในช่องดินนํา้ มันเดิม สังเกตการเปล่ียนแปลงทีเ่ กิดข้ึน บนั ทึกผลและสรุปผลการสงั เกต
(2) นกั เรยี นและครูร่วมกนั ตรวจสอบความถูกตอ้ งของขอ้ มูลทีไ่ ดจ้ ากใบกจิ กรรม
(3) ครูคอยแนะนําช่วยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบ ๆ ห้องเรียนและเปิด
โอกาสใหน้ กั เรียนทกุ คนซักถามเมือ่ มีปัญหา
การสกัดสาร
(1) ครูนําใบเตยและดอกอัญชัน มาให้นักเรียนดู แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม แต่ละกลุ่มอภิปรายวิธีการ
แยกสจี ากพชื ทคี่ รูนาํ มา แลว้ ส่งตวั แทนกล่มุ นําเสนอผลการอภปิ รายหนา้ ชั้นเรยี น
(2) ครูแสดงวิธีการแยกสีจากใบเตยให้นักเรียนดู โดยห่ันใบเตยที่เตรียมมาให้เป็นช้ินเล็กๆ นําไปบด
ด้วยโกรง่ บด ใสน่ า้ํ แล้วกรองดว้ ยผา้ ขาวบางเอาแต่กากของใบเตยออกมา ใหน้ ักเรียนสงั เกตสขี องน้ําทกี่ รองได้
(3) ครูและนักเรยี นร่วมกันสรุปวธิ ีการแยกสารโดยการสกดั สารทไ่ี ดจ้ ากการปฏิบัติกิจกรรม
(4) ครูคอยแนะนําช่วยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบ ๆ ห้องเรียนและเปิด
โอกาสให้นักเรยี นทกุ คนซกั ถามเมือ่ มีปัญหา
3) ขัน้ อธิบายและลงข้อสรุป
(1) นักเรยี นแตล่ ะกลุม่ ส่งตวั แทนกลุ่มนําเสนอข้อมลู จากการปฏิบตั ิกิจกรรมหนา้ ชนั้ เรยี น
(2) นกั เรียนและครรู ่วมกันอภิปรายและหาข้อสรุปจากการปฏบิ ัตกิ จิ กรรม โดยใช้แนวคําถามตอ่ ไปนี้
- ขนาดของลกู เหม็นเปลยี่ นไปในลักษณะใด (แนวคําตอบ ขนาดของลกู เหม็นเล็กลง)
- นักเรียนคิดว่าลูกเหม็นเปล่ียนสถานะเป็นของเหลวได้หรือไม่ เพราะอะไร (แนวคําตอบ ลูก
เหมน็ เปลีย่ นสถานะเป็นของเหลวไม่ได้ เพราะจากการสงั เกตไมพ่ บของเหลวในบรเิ วณท่วี างลูกเหม็น)
(3) นักเรียนและครูร่วมกันสรุปผลจากการปฏิบัติกิจกรรม โดยให้ได้ข้อสรุปว่า การตกผลึกสารเป็น
การแยกสารท่ีมีความสามารถละลายได้เมื่ออุณหภูมิต่างกันออกจากกัน ทําให้ได้ของแข็งท่ีบริสุทธ์ิแยกออกมา
การระเหิดเป็นการแยกของผสมที่เป็นของแข็งซ่ึงมีส่วนผสมหน่ึงมีสมบัติระเหิดได้ เช่น ลูกเหม็น พิมเสน ส่วน
การสกดั สารเป็นการแยกสารโดยใชต้ ัวทําละลายท่ีเหมาะสม ทําให้ส่ิงที่ต้องการสกัดถูกแยกออกมาอยู่กับตัวทํา
ละลาย แล้วจึงนําสารที่ได้ไปทําใหก้ ลายเป็นสารบริสุทธิต์ ่อไปอกี ครง้ั หนงึ่
4) ขัน้ ขยายความรู้
(1) นักเรียนค้นคว้ารายละเอียดเพ่ิมเติมเก่ียวกับการตกผลึก การระเหิด และการสกัดสารจากแหล่ง
ความรู้ต่าง ๆ เชน่ หนังสือ วารสารวิทยาศาสตร์ และอนิ เทอร์เน็ต แลว้ สรุปเปน็ รายงานส่งครู
โรงเรยี นบา้ นเปูา
(2) ครูเชื่อมโยงความรู้กับหลักเศรษฐกิจพอเพียง เกี่ยวกับภูมิปัญญาชาวบ้าน โดยให้ความรู้เพิ่มเติม
เกี่ยวกับการสกัดนํ้ามันหอมระเหยจากพืชสมุนไพร และมีการนําน้ํามันหอมระเหยเหล่าน้ันไปใช้ประโยชน์ใน
ด้านต่าง ๆ ดังนี้
น้ํามันไพล สกัดได้จากเหง้าไพล โดยการกลั่นด้วยไอน้ํา มีลักษณะเป็นของเหลวใส ไม่มีสี แต่มีกล่ิน
เฉพาะตวั มีคุณสมบตั สิ ําคญั คือ ชว่ ยแก้อาการฟกชาํ้ เคลด็ ขัดยอก ขอ้ เทา้ แพลง
นาํ้ มนั ดอกกานพลู สกดั ได้จากดอกกานพลูท่ีตูมและทําให้แห้งแล้ว โดยการกล่ันด้วยไอน้ํา มีลักษณะ
เป็นของเหลวใส สีเหลอื งอ่อน มกี ลน่ิ เฉพาะตัว มคี ุณสมบัติสําคัญ คอื ชว่ ยบรรเทาอาการคัน ลดการอกั เสบ
นา้ํ มนั ตะไคร้ สกัดไดจ้ ากสว่ นเหนือดินของต้นตะไคร้ โดยการกล่ันด้วยไอนํ้า มีลักษณะเป็นของเหลว
ใส สีเหลอื งอ่อน มีกล่ินเฉพาะตัว มีคุณสมบัติสําคัญ คือ ช่วยในการขับลม แก้จุกเสียด ลดอาการตึงเครียดของ
ระบบประสาท ใช้เปน็ สารปรงุ แตก่ ลิน่ อาหารและเครื่องด่ืม
นํ้ามนั ผิวมะกรดู สกดั ไดจ้ ากผวิ มะกรดู โดยการกล่ันด้วยไอนํา้ มีลักษณะเป็นของเหลวใส สีเหลืองอม
เขยี ว มกี ลน่ิ เฉพาะตัว มคี ุณสมบัตสิ ําคญั คอื ช่วยในการแต่งกลิ่นรสอาหาร ช่วยผ่อนคลายความกังวล ทําให้สด
ชนื่
น้ํามันโหระพา สกัดจากใบโหระพาพันธ์ุไทย โดยการกลั่นด้วยไอนํ้า มีลักษณะเป็นของเหลวใส สี
เหลืองอ่อน หรือเหลืองอมนํ้าตาล มีกลิ่นเฉพาะตัว มีคุณสมบัติสําคัญ คือ ช่วยในการแต่งกล่ินรสใน
อุตสาหกรรมอาหาร
(3) นักเรียนค้นคว้ารายละเอียดและคําศัพท์ภาษาต่างประเทศเกี่ยวกับการแยกสารโดยการตกผลึก
การระเหดิ และการสกัดสาร จากหนงั สือเรยี นภาษาต่างประเทศหรอื อนิ เทอร์เน็ต
5) ขั้นประเมิน
(1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาวา่ จากหวั ข้อทเี่ รยี นมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจุดใดบ้างท่ียังไม่
เข้าใจหรือยังมีข้อสงสยั ถ้ามี ครูช่วยอธิบายเพม่ิ เตมิ ให้นักเรียนเขา้ ใจ
(2) นักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคใด และได้มีการแก้ไข
อยา่ งไรบา้ ง
(3) ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรม และการนํา
ความรู้ทีไ่ ดไ้ ปใชป้ ระโยชน์
(4) ครูทดสอบความเข้าในของนกั เรียนโดยการใหต้ อบคําถาม เชน่
- ถา้ ต้องการให้ลกู เหม็นระเหิดช้า ๆ ควรทาํ วธิ ีใด
- ถา้ ใชต้ ัวทาํ ละลายไม่เหมาะสมกับการสกัดสารจะเกิดอะไรข้ึน
ขน้ั สรปุ
(1) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเก่ียวกับการแยกสารโดยการตกผลึก การระเหิด การสกัดสาร โดย
รว่ มกนั เขยี นเป็นแผนที่ความคดิ หรอื ผงั มโนทศั น์
โรงเรยี นบา้ นเปูา
(2) ครูมอบหมายให้นักเรียนไปศึกษาค้นคว้าเนื้อหาของบทเรียนชั่วโมงหน้า เพื่อจัดการเรียนรู้ครั้ง
ตอ่ ไป โดยใหน้ ักเรยี นศึกษาคน้ คว้าลว่ งหน้าในหวั ขอ้ สารท่ใี ช้ในชวี ิตประจําวัน โดยใช้ใบงานสํารวจก่อนเรียน 8
ทค่ี รจู ดั เตรียมไว้ใหป้ ระกอบการศึกษาค้นคว้า (ในสื่อการเรียนรู้ PowerPoint วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปี
ที่ 6 )
(3) ครูอธบิ ายขัน้ ตอนการปฏิบัตกิ ิจกรรมและมอบหมายใหน้ กั เรียนไปปฏิบตั กิ ิจกรรมท่ีบ้าน พร้อมท้ัง
ใหน้ ักเรยี นเตรียมประเดน็ คําถามท่ีสงสัยมาอย่างน้อยคนละ 1 คาํ ถาม เพือ่ นาํ มาอภปิ รายร่วมกันในช้ันเรียนคร้ัง
ต่อไป
8. กิจกรรมเสนอแนะ
แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม แต่ละกลุ่มช่วยกันคิดหาวิธีแยกของผสมระหว่างพิมเสนกับเกลือ แล้วส่ง
ตัวแทนนําเสนอวิธีการแยกสารดังกล่าวหน้าช้ันเรียน ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายและหาข้อสรุปวิธีการที่
เหมาะสมในการแยกพมิ เสนออกจากเกลือ โดยให้ได้ข้อสรุปว่าอาจใช้วิธีการแยกโดยการทําให้พิมเสนระเหิดไป
เหลือแตเ่ กลอื หรือนาํ สารผสมไปละลายนา้ํ เกลือจะละลายน้ํา ส่วนพิมเสนจะไม่ละลายแล้วจึงแยกพิมเสนออก
ได้โดยการกรอง สว่ นนาํ้ ทก่ี รองได้จะนาํ ไปแยกเอาเกลอื ออกโดยใชว้ ิธีการระเหยแห้งตอ่ ไป
9. สอ่ื /แหล่งการเรียนรู้
1. ใบเตย
2. ดอกอัญชนั
3. มดี
4. ผา้ ขาวบาง
5. โกร่งบด
6. ใบกจิ กรรมท่ี 18 สงั เกตการระเหดิ
7. ใบงานสํารวจก่อนเรียน 8
8. คมู่ ือการสอน วทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
9. ส่ือการเรยี นรู้ PowerPoint รายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 6
10. แบบฝกึ ทักษะ รายวชิ าพน้ื ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 6
11. หนงั สือเรยี น รายวชิ าพืน้ ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 6
โรงเรยี นบ้านเปูา
10. บนั ทกึ หลังการจัดการเรยี นรู้
ความคดิ เหน็ /ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
(ลงช่อื )..............................................
(นายธนติ ย์ พระสนุ นิ )
ผอู้ ํานวยการโรงเรียนเค็งใหญห่ นองงูเหลือม
รักษาการในตําแหนง่ ผ้อู ํานวยการโรงเรียนบ้านเปาู
บันทึกหลงั การสอน
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
ปญั หา/อปุ สรรค
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
ขอ้ เสนอแนะ
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
(ลงช่อื )..............................................
(นางสาววิมลรัตน์ ประทปี ะเสน)
ครผู ู้ช่วย
โรงเรียนบา้ นเปูา
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 25
รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ (ว16101) ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 3 สารในชีวติ ประจาํ วนั เวลาเรียน 12 ชั่วโมง
เร่อื ง สารในชีวติ ประจาํ วัน เวลาจํานวน 2 ชวั่ โมง
**********************************************************************************
1. สาระสาคญั
สารทีใ่ ชใ้ นชีวิตประจําวันที่เป็นเครื่องอปุ โภคและบริโภค จะมีองค์ประกอบเป็นสารเคมีท่ีมีสมบัติเป็น
กรด เบส และเป็นกลาง ถ้าจําแนกสารท่ีใช้ในชีวิตประจําวันตามเกณฑ์การนําไปใช้ประโยชน์จะได้เป็นกลุ่มคือ
สารปรุงแต่งอาหาร สารทําความสะอาด และสารกําจัดแมลง
2. ตัวช้ีวัดชั้นปี
1. สาํ รวจและจาํ แนกประเภทของสารต่างๆ ท่ีใช้ในชีวิตประจําวัน โดยใช้สมบัติและการใช้ประโยชน์
ของสารเปน็ เกณฑ์ (ว 3.1 ป. 6/4)
2. อภิปรายการเลือกใชส้ ารแตล่ ะประเภทไดอ้ ย่างถูกต้องและปลอดภัย (ว 3.1 ป. 6/5)
3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
1. บอกประเภทของสารตา่ งๆ ในชวี ิตประจาํ วัน ตามเกณฑ์สมบตั แิ ละการนําไปใช้ประโยชน์
ได้ (K)
2. เลือกใช้สารแตล่ ะประเภทได้อยา่ งถูกต้องและปลอดภยั (K)
3. มคี วามสนใจใฝรุ ูห้ รืออยากรอู้ ยากเห็น (A)
4. พอใจในประสบการณก์ ารเรยี นรู้ท่ีเกีย่ วกบั วทิ ยาศาสตร์ (A)
5. ทาํ งานรว่ มกบั ผอู้ ืน่ อยา่ งสร้างสรรค์ (A)
6. ส่ือสารและนาํ ความรู้เร่ืองสารในชวี ติ ประจําวันไปใชใ้ นชีวิตประจาํ วนั ได้ (P)
4. การวัดและการประเมินผลการเรยี นรู้
ด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริยธรรม และ ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
จิตวทิ ยาศาสตร์ (A)
1. ซกั ถามความรเู้ ร่อื งสารใน 1. ประเมนิ เจตคตทิ างวทิ ยาศาสตร์ 1. ประเมนิ ทกั ษะ/กระบวนการทาง
ชวี ิตประจาํ วนั เปน็ รายบคุ คล วิทยาศาสตร์
2. ประเมนิ กิจกรรมฝกึ ทักษะ 2. ประเมนิ เจตคตติ อ่ วทิ ยาศาสตร์ 2. ประเมินทกั ษะการคิด
ระหว่างเรยี น เป็นรายบุคคล 3. ประเมินทกั ษะการแก้ปญั หา
4. ประเมนิ พฤตกิ รรมในการปฏิบัติ
กิจกรรมเป็นรายบุคคล
โรงเรยี นบา้ นเปาู
5. สาระการเรยี นรู้
- สารปรุงแต่งอาหาร
- สารทําความสะอาด
- สารกาํ จัดแมลง
6. แนวทางการบูรณาการ
ภาษาไทย สนทนา พูดคยุ หรือเล่าประสบการณ์เก่ยี วกบั สารในชวี ิตประจาํ วัน
สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา เลอื กใช้สารทําความสะอาดเพ่ือดแู ลสขุ ภาพร่างกายได้อยา่ งถูกต้อง
เหมาะสม
คณิตศาสตร์ จัดจําแนก แบ่งประเภทของสารท่ใี ช้ในชีวิตประจาํ วนั
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
สนทนา พูดคยุ เกย่ี วกบั ภูมิปัญญาทอ้ งถน่ิ ในการใช้สารกําจดั แมลงในบา้ น
โดยไมใ่ ช้สารเคมี และการทําสีผสมอาหารโดยสีจากธรรมชาติ
ภาษาตา่ งประเทศ ฟงั พูด อ่าน และเขยี นคาํ ศพั ทภ์ าษาต่างประเทศเกยี่ วกบั สารใน
ชีวิตประจาํ วันทเี่ รียนรู้หรือที่นักเรียนสนใจ
7. กระบวนการจัดการเรยี นรู้
ขนั้ นาเข้าส่บู ทเรยี น
1) ครูถามคําถามนักเรียนเพื่อกระตุน้ ความสนใจ เชน่
- กิจกรรมตา่ ง ๆ ทเี่ ราทาํ ตลอดทง้ั วนั เกีย่ วข้องกบั สารอะไรบา้ ง
- นักเรยี นรู้จกั และเคยใชส้ ารอะไรบ้าง และมวี ิธใี ช้อยา่ งไร
- หากเราจะจําแนกประเภทของสารทีเ่ ก่ียวขอ้ งกบั ชีวิตประจําวัน จะพิจารณาจากเกณฑ์อะไร
เพราะอะไร
2) นักเรียนร่วมกันตอบคําถามตามความคิดเห็นของแต่ละคนแล้วครูและนักเรียนร่วมกันอภิปราย
คาํ ตอบ เพือ่ เชอ่ื มโยงไปส่กู ารเรียนรู้เรือ่ ง สารในชีวติ ประจําวนั
ขน้ั จัดกจิ กรรมการเรียนรู้
จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับแบบกลับด้านชั้นเรียน ซ่ึงมี
ขัน้ ตอนดงั นี้
1) ข้ันสร้างความสนใจ
(1) ครูให้นักเรียนนําใบงาน สํารวจก่อนเรียน 8 ท่ีครูมอบหมายให้ไปเรียนรู้ล่วงหน้าท่ีบ้านมาอภิปราย
รว่ มกันในช้ันเรยี น
(2) ครูตรวจสอบว่านักเรียนทํากิจกรรมท่ีได้รับมอบหมายไปหรือไม่ โดยตรวจสอบจากการจดบันทึก
ของนักเรยี น และถามคําถามเกยี่ วกบั กิจกรรม ดังน้ี
โรงเรียนบา้ นเปาู
- เกณฑท์ ่ใี ช้ในการแบ่งกล่มุ เป็นสมบตั ปิ ระเภทใดของสาร (แนวคําตอบ สมบัติทางเคม)ี
- ถ้านกั เรียนเปลีย่ นเกณฑก์ ลมุ่ ของสารจะเหมือนเดิมหรอื ไม่ (แนวคาํ ตอบ ไมเ่ หมือนเดิม)
(3) ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนตั้งประเด็นคําถามท่ีนักเรียนสงสัยจากการทํากิจกรรมอย่างน้อยคนละ 1
คําถาม ซง่ึ ครใู ห้นกั เรียนเตรียมมาลว่ งหนา้ และใหน้ กั เรยี นชว่ ยกนั ตอบและแสดงความคดิ เหน็
(4) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับกิจกรรม สํารวจก่อนเรียน 8 โดยครูช่วยอธิบายให้นักเรียน
เขา้ ใจวา่ สารที่ใชใ้ นชีวติ ประจาํ วนั มีความเปน็ กรด-เบสแตกต่างกนั
2) ขั้นสารวจและค้นหา
(1) นักเรียนศึกษาเรื่องสารในชีวิตประจําวันจากใบความรู้หรือในหนังสือเรียน โดยครูช่วยเชื่อมโยง
ความรู้จากบทเรียนกับความรู้เดิมที่เรียนรู้มาแล้ว ด้วยการใช้คําถามนํากระตุ้นให้นักเรียนตอบจากความรู้และ
ประสบการณ์ของนกั เรียน เช่น
- การจาํ แนกสารตามสมบัตคิ วามเปน็ กรด-เบส จะแบง่ ได้ก่ีกลมุ่ อะไรบ้าง
- การจําแนกสารตามการนําไปใชป้ ระโยชน์ จะแบง่ สารได้กี่กลมุ่ อะไรบ้าง
(2) ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปข้อมูลที่ได้จากการศึกษา โดยสรุปการจําแนกประเภท
ของสารท่ีใช้ในชีวิตประจําวันจากการนําไปใช้ประโยชน์เป็นเกณฑ์ แล้วครูแสดงวิธีการทดสอบสมบัติของสาร
ดา้ นกรด-เบส ใหน้ ักเรยี นดตู ามข้นั ตอนดงั นี้
- ละลายนาํ้ ยาลา้ งจานให้เจือจางด้วยน้ํา
- ใชไ้ ม้ช้ินเล็กๆ แตะสารละลายนํ้ายาล้างจาน แล้วไปแตะที่กระดาษลิตมัสสีแดงและสีน้ําเงิน
ใหน้ กั เรยี นสงั เกตสีของกระดาษลติ มสั ท่เี ปลี่ยนไป
- แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม ทดสอบความเป็นกรด-เบสของนํ้าผงซักฟอก นํ้าข้ีเถ้า และ
นํ้าสม้ สายชู โดยเน้นย้าํ วา่ ไม้ 1 อนั ใชแ้ ตะสารได้ 1 ชนดิ เท่าน้ัน เพ่ือกันการผสมของสารซ่ึงจะทําให้การเปลี่ยน
สขี องกระดาษลิตมัสผดิ พลาดได้ แลว้ ใหน้ กั เรยี นสังเกตสขี องกระดาษลติ มสั ท่เี ปลยี่ นไป
(3) นักเรียนแบ่งกลุ่มและปฏิบัติกิจกรรม สํารวจสารต่างๆ ท่ีใช้ในชีวิตประจําวัน ตามขั้นตอนทาง
วทิ ยาศาสตรโ์ ดยใช้ทักษะ/กระบวนการสงั เกตดงั นี้
- แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม แต่ละกลุ่มสังเกตการใช้ประโยชน์และสมบัติของสารต่างๆ ท่ีใช้ใน
ชวี ติ ประจําวัน บันทกึ ผลการสังเกตลงในตาราง แลว้ สรุปผล
(4) นักเรยี นและครูรว่ มกนั ตรวจสอบความถกู ต้องของข้อมูลท่ีได้จากใบกิจกรรม
(5) ครูคอยแนะนําช่วยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบๆ ห้องเรียนและเปิด
โอกาสให้นักเรียนทกุ คนซกั ถามเมื่อมีปัญหา
3) ข้ันอธบิ ายและลงขอ้ สรุป
(1) นักเรยี นแต่ละกลมุ่ สง่ ตัวแทนกลมุ่ นาํ เสนอข้อมลู จากการปฏบิ ัติกิจกรรมหน้าชนั้ เรียน
(2) นกั เรียนและครูร่วมกนั อภปิ รายและหาข้อสรุปจากการปฏิบตั ิกจิ กรรม โดยใช้แนวคาํ ถามตอ่ ไปน้ี
- สารทีใ่ ช้ทาํ ความสะอาดรา่ งกายมีอะไรบ้าง (แนวคําตอบ สบู่เหลว นํา้ ส้มสายชู และเกลอื )
โรงเรียนบา้ นเปาู
- ถ้าจําแนกสารในบ้านตามการนําไปใช้ประโยชน์จะจําแนกสารได้กี่ประเภท อะไรบ้าง (แนว
คาํ ตอบ 3 ประเภท คอื สารปรุงแต่งอาหาร สารทาํ ความสะอาด และสารกําจัดแมลง)
(3) นักเรียนและครูร่วมกนั สรุปผลจากการปฏิบตั ิกจิ กรรม โดยใหไ้ ดข้ อ้ สรุปว่า สารท่ีนําไปทดสอบกับ
กระดาษลิตมัส ถ้าเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีแดงเป็นสีนํ้าเงินแสดงว่าสารท่ีนํามาทดสอบมีสมบัติเป็นเบส
เช่น น้ํายาล้างจาน ผงซักฟอก และนํ้าข้ีเถ้า ส่วนสารที่เปล่ียนสีกระดาษลิตมัสจากสีน้ําเงินเป็นสีแดง แสดงว่า
สารนน้ั มีสมบัตเิ ป็นกรด เช่น น้าํ ส้มสายชู
นอกจากจะใช้สมบตั ิของสารด้านกรด-เบสเปน็ เกณฑ์ในการแบง่ กล่มุ สารแลว้ ยงั สามารถใช้เกณฑ์การ
นาํ ไปใชป้ ระโยชน์จัดกล่มุ สารได้อีกด้วย โดยจะแบง่ สารได้ 3 กลมุ่ คือ สารปรุงแตง่ อาหาร
สารทาํ ความสะอาด และสารกําจดั แมลง
4) ขั้นขยายความรู้
(1) ครูอธิบายให้นักเรียนฟังว่า การจําแนกประเภทของสารอาจใช้เกณฑ์เดียวหรือใช้หลายเกณฑ์
ประกอบกันก็ได้ แล้วแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม แต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายตั้งเกณฑ์เพ่ือใช้จําแนกสารเป็นประเภท
ต่าง ๆ แล้วจัดจําแนกสารในชีวิตประจําวันเป็นกลุ่มๆ ตามเกณฑ์ที่สมาชิกในกลุ่มได้ ตกลงไว้ นําเสนอผลการ
จําแนกกลมุ่ สารหน้าชน้ั เรยี น โดยนกั เรียนแตล่ ะกลุ่มอาจใชเ้ กณฑท์ ่ีแตกต่างกันได้
(2) นักเรียนค้นคว้ารายละเอียดและคําศัพท์ภาษาต่างประเทศเกี่ยวกับสารในชีวิตประจําวัน จาก
หนงั สือเรียนภาษาตา่ งประเทศหรอื อินเทอร์เน็ต
5) ขัน้ ประเมนิ
(1) ครูให้นกั เรยี นแต่ละคนพจิ ารณาวา่ จากหัวข้อทีเ่ รียนมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจุดใดบ้างท่ียังไม่
เขา้ ใจหรือยังมีขอ้ สงสัย ถา้ มคี รชู ว่ ยอธิบายเพม่ิ เติมให้นักเรียนเขา้ ใจ
(2) นักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคใด และได้มีการแก้ไข
อยา่ งไรบา้ ง
(3) ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ท่ีได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรม และการนํา
ความรทู้ ่ีได้ไปใชป้ ระโยชน์
(4) ครทู ดสอบความเขา้ ใจของนกั เรียนโดยการให้ตอบคําถาม เชน่
- สารทําความสะอาดสามารถแบง่ ตามการนาํ ไปใช้ประโยชนไ์ ด้กี่กลุม่ อะไรบ้าง
- ขอ้ ควรระวงั ในการใช้สารกําจดั แมลงมีอะไรบ้าง
ขนั้ สรปุ
(1) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเก่ียวกับสารในชีวิตประจําวัน โดยร่วมกันเขียนเป็นแผนท่ีความคิด
หรอื ผงั มโนทศั น์
(2) ครูมอบหมายให้นักเรียนไปศึกษาค้นคว้าเนื้อหาของบทเรียนช่ัวโมงหน้า เพื่อจัดการเรียนรู้ครั้ง
ตอ่ ไป โดยให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าล่วงหน้าในหัวข้อการเปลี่ยนแปลงของสาร โดยใช้ใบงาน สํารวจก่อนเรียน
โรงเรียนบ้านเปาู
9 ท่ีครจู ัดเตรียมไว้ให้ประกอบการศึกษาคน้ คว้า (ในสื่อการเรียนรู้ PowerPoint วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษา
ปีท่ี 6 )
(3) ครอู ธบิ ายขัน้ ตอนการปฏิบตั ิกจิ กรรมและมอบหมายใหน้ กั เรยี นไปปฏิบตั กิ ิจกรรมท่ีบ้าน พร้อมท้ัง
ใหน้ กั เรยี นเตรยี มประเด็นคําถามที่สงสยั มาอย่างน้อยคนละ 1 คําถาม เพ่อื นาํ มาอภิปรายร่วมกันในช้ันเรียนคร้ัง
ต่อไป
8. กิจกรรมเสนอแนะ
1. แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม แต่ละกลุ่มช่วยกันสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับฉลากที่ข้างขวดหรือกล่องของสาร
ต่างๆ ทใ่ี ชใ้ นชวี ติ ประจาํ วนั และวิธีการเลอื กใช้สารได้ถกู ตอ้ งและปลอดภัย แล้วเขยี นสรปุ เปน็ รายงานสง่ ครู
2. ครูเช่ือมโยงความรู้กับหลักเศรษฐกิจพอเพียง ครูให้ความรู้เพิ่มเติมเก่ียวกับการใช้สารกําจัดแมลง
ในบ้าน โดยไม่ใช้สารเคมี แต่ใช้ภูมิปัญญาชาวบ้าน เช่น การกําจัดแมลงสาบ วิธีที่ได้ผลและทําได้ง่ายก็คือ นํา
พริกไทยเม็ดไปวางไวต้ ามจุดตา่ งๆ ทีแ่ มลงสาบชอบมาไตห่ รือแอบมากินอาหาร โดยวางไว้ท่ีละ 4 - 5 เม็ด แค่น้ี
แมลงสาบก็จะไม่มารบกวนอีก เพราะแมลงสาบไม่ถูกกับกลิ่นพริกไทยเม็ด พอกล่ินหมดก็เปล่ียนใหม่ เท่าน้ีก็
สามารถกําจดั แมลงสาบได้ โดยไม่ตอ้ งใช้สารเคมีทีเ่ ปน็ อนั ตราย
ครูใหค้ วามรูเ้ พมิ่ เติมเกีย่ วกบั ภมู ปิ ญั ญาท้องถ่นิ ในการทําสีผสมอาหาร ซ่ึงเปน็ สจี ากธรรมชาติ ดงั นี้
สีเหลือง
- ขมิน้ นําเหงา้ แก่ มาลา้ งใหส้ ะอาด ปอกเปลอื กแล้วนําไปบดให้ละเอียด เติมนํ้าลงไปแล้วค้ันและกรอง
จะได้นํา้ สีเหลอื งเขม้
- ลูกตาล นําผลตาลสุกมาปอกเปลือกออก เติมนํ้าลงไปเล็กน้อย นวดเอาเน้ือสีเหลืองออกจากใยให้
หมด เทลงถงุ ผ้าหนา ๆ มดั ปากถงุ แลว้ ตากให้แห้ง จะไดเ้ นอ้ื ลกู ตาลสเี หลอื ง
- ดอกกรรณิการ์ นําหลอดดอกในปริมาณ 1 ถ้วย ใส่ในผ้าขาวบาง หยดนํ้าใส่เล็กน้อยแล้วค้ันเอาแต่
นาํ้ ไปใช้
สแี ดง
- กระเจีย๊ บ นําดอกมาตม้ และเคี่ยวให้สีแดงออกมา กรองเอากากออก นําน้ําท่ีไดไ้ ปใชใ้ นการแต่งสี
- เมล็ดถว่ั แดง ลา้ งใหส้ ะอาดแล้วต้มเคยี่ วกับน้ํา แลว้ นาํ น้าํ สแี ดงทไ่ี ด้ไปผสมกับอาหาร
สีเขียว
- ใบเตย นํ้าใบเตยสด ล้างน้าํ ใหส้ ะอาด ห่นั เป็นทอ่ นตามขวาง ตําหรอื โขลก เตมิ น้ําลงไปเล็กน้อยแล้ว
คั้น กรองดว้ ยผา้ ขาวบางจะไดน้ ํ้าสเี ขียว
สีน้ําเงนิ
- ดอกอัญชัน นํากลีบดอกมาบด เติมนํ้าลงไปเล็กน้อย กรองด้วยผ้าขาวบาง ค้ันน้ําออกมาจะได้น้ําสี
นาํ้ เงิน
สีมว่ ง
โรงเรยี นบา้ นเปูา
- ดอกอัญชัน นํากลีบดอกมาบด เติมน้ําลงไปเล็กน้อย กรองด้วยผ้าขาวบาง ค้ันน้ําออกมาจะได้น้ําสี
นาํ้ เงิน เติมน้ํามะนาวลงไปเลก็ นอ้ ยจะได้สมี ่วง
- แก้วมังกร นําเนื้อแก้วมังกรท่ีมีข้างในสีม่วง มาคั้นแล้วกรองเอานํ้า นําน้ําท่ีได้ไปใช้แต่งสีม่วง ถ้า
ต้องการสชี มพกู ็นํานํ้าไปใชผ้ สมในปรมิ าณน้อยก็จะได้สชี มพู
9. สอ่ื /แหล่งการเรยี นรู้
1. ใบงานสาํ รวจกอ่ นเรยี น 8
2. นํา้ ยาลา้ งจาน
3. นาํ้ ผงซักฟอก
4. น้าํ ข้เี ถา้
5. นํา้ ส้มสายชู
6. ไมช้ ิน้ เลก็ ๆ
7. กระดาษลติ มสั สแี ดงและสีนาํ้ เงนิ
8. ใบกิจกรรมท่ี 19 สาํ รวจสารต่าง ๆ ที่ใชใ้ นชีวติ ประจําวนั
9. ใบงานสํารวจก่อนเรียน 8
10. คมู่ อื การสอน วทิ ยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6
11. ส่ือการเรียนรู้ PowerPoint รายวชิ าพืน้ ฐาน วิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6
12. แบบฝกึ ทักษะ รายวชิ าพ้ืนฐาน วิทยาศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 6
13. หนงั สอื เรียน รายวิชาพน้ื ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 6
โรงเรยี นบา้ นเปาู
10. บนั ทกึ หลงั การจดั การเรียนรู้
ความคดิ เหน็ /ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
(ลงชอื่ )..............................................
(นายธนิตย์ พระสนุ ิน)
ผ้อู ํานวยการโรงเรยี นเค็งใหญ่หนองงเู หลอื ม
รักษาการในตาํ แหน่ง ผอู้ าํ นวยการโรงเรียนบ้านเปาู
บันทกึ หลงั การสอน
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................................................................................................... ..........
ปัญหา/อุปสรรค
........................................................................................................ ......................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
ขอ้ เสนอแนะ
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
(ลงชอื่ )..............................................
(นางสาววมิ ลรัตน์ ประทีปะเสน)
ครูผู้ช่วย
โรงเรียนบ้านเปาู
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 26
รายวชิ าวิทยาศาสตร์ (ว16101) ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 3 สารในชีวติ ประจําวัน เวลาเรยี น 12 ช่ัวโมง
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพและทางเคมขี องสาร เวลาจาํ นวน 2 ชั่วโมง
**********************************************************************************
1. สาระสาคัญ
การเปลยี่ นแปลงของสารแบง่ ได้ 2 ประเภท คอื การเปล่ยี นแปลงทางกายภาพโดยสารที่เปลี่ยนแปลง
ไปสามารถย้อนกลับไปมีสมบัติเหมือนเดิมได้ และการเปลี่ยนแปลงทางเคมีที่เม่ือสารเกิดการเปล่ียนแปลงแล้ว
จะไมส่ ามารถกลับมามีสมบัติเหมอื นเดมิ ไดอ้ ีก
2. ตัวช้วี ัดชน้ั ปี
1. ทดลองและอธบิ ายสมบัตขิ องสาร เมื่อสารเกดิ การละลายและเปล่ยี นสถานะ (ว 3.2 ป. 6/1)
2. วิเคราะห์และอธิบายการเปล่ียนแปลงที่ให้เกิดสารใหม่และมีสมบัติของสารเปลี่ยนแปลงไป
(ว 3.2 ป. 6/2)
3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
1. ทดลองการเปล่ียนแปลงของสารเม่ือเกดิ สารละลายได้ (K)
2. อธิบายสมบัติของสารเม่ือสารเปลีย่ นสถานะได้ (K)
3. มคี วามสนใจใฝรุ ูห้ รอื อยากรอู้ ยากเหน็ (A)
4. พอใจในประสบการณ์การเรียนรู้ท่ีเกย่ี วกบั วทิ ยาศาสตร์ (A)
5. ทํางานรว่ มกบั ผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ (A)
6. สอ่ื สารและนาํ ความรเู้ ร่ืองการเปลย่ี นแปลงทางกายภาพและทางเคมีของสารไปใชใ้ น
ชีวติ ประจําวันได้ (P)
4. การวดั และการประเมินผลการเรยี นรู้
ดา้ นความรู้ (K) ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และ ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P)
จิตวิทยาศาสตร์ (A)
1. ประเมนิ ทักษะ/กระบวนการทาง
1. ซักถามความรเู้ ร่ืองการ 1. ประเมนิ เจตคตทิ างวิทยาศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์
เปลีย่ นแปลงทางกายภาพและ เป็นรายบคุ คล 2. ประเมินทกั ษะการคิด
3. ประเมินทกั ษะการแก้ปัญหา
ทางเคมขี องสาร 2. ประเมนิ เจตคติตอ่ วิทยาศาสตร์ 4. ประเมินพฤตกิ รรมในการปฏิบัติ
2. ประเมนิ กิจกรรมฝึกทกั ษะ เปน็ รายบุคคล กิจกรรมเปน็ รายบคุ คล
ระหว่างเรยี น
โรงเรยี นบา้ นเปาู
5. สาระการเรียนรู้
1. การเปล่ยี นแปลงทางกายภาพ
2. การเปลีย่ นแปลงทางเคมี
6. แนวทางการบรู ณาการ สนทนา พดู คุย หรือเลา่ ประสบการณเ์ ก่ยี วกับการเปลย่ี นแปลงทางกายภาพ
ภาษาไทย และทางเคมีของสาร
ปัน้ และตกแต่งดนิ นํา้ มันเป็นรูปสตั ว์ต่าง ๆ ตามจนิ ตนาการ
ศลิ ปะ จําแนก จดั ประเภทการเปลยี่ นแปลงของสาร เปน็ การเปลย่ี นแปลงทาง
คณิตศาสตร์ กายภาพและการเปล่ยี นแปลงทางเคมขี องสาร
ฟัง พดู อ่าน และเขยี นคาํ ศพั ทภ์ าษาตา่ งประเทศเกยี่ วกับการเปล่ยี นแปลง
ภาษาตา่ งประเทศ ทางกายภาพและเคมีของสารทเี่ รียนรหู้ รือที่นักเรียนสนใจ
7. กระบวนการจดั การเรยี นรู้
ขน้ั นาเข้าส่บู ทเรยี น
1) แบ่งนักเรยี นเปน็ กล่มุ แต่ละกลมุ่ ช่วยกนั ปน้ั ดินนํ้ามันเป็นรูปสัตว์ชนิดต่าง ๆ ตามจินตนาการ แล้ว
ครใู ชค้ าํ ถามกระตุน้ ใหน้ ักเรยี นตอบดงั นี้
- ดินนาํ้ มันมีสมบตั ิเปลย่ี นไปจากเดิมหรือไม่
- นักเรยี นสามารถทําใหด้ นิ น้ํามันกลบั ไปมีสมบัติเหมอื นเดิมได้หรือไม่ อยา่ งไร
2) นักเรียนร่วมกันตอบคําถามตามความคิดเห็นของแต่ละคน แล้วครูและนักเรียนร่วมกันอภิปราย
คาํ ตอบ เพอ่ื เช่ือมโยงไปสูก่ ารเรียนรเู้ รอ่ื ง การเปลยี่ นแปลงทางกายภาพและทางเคมีของสาร
ขนั้ จัดกจิ กรรมการเรียนรู้
จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับแบบกลับด้านช้ันเรียน ซึ่งมี
ขัน้ ตอนดงั นี้
1) ข้นั สรา้ งความสนใจ
(1) ครูใหน้ ักเรียนนําใบงาน สํารวจกอ่ นเรียน 9 ท่คี รูมอบหมายใหไ้ ปเรียนรู้ล่วงหน้าทบี่ า้ นมาอภิปราย
ร่วมกนั ในชัน้ เรยี น
(2) ครตู รวจสอบว่านักเรียนทํากิจกรรมท่ีได้รับมอบหมายไปหรือไม่ โดยตรวจสอบจากการจดบันทึก
ของนกั เรียน และถามคําถามเกย่ี วกับกจิ กรรม ดงั นี้
- กิจกรรมท่ีเกิดการเปล่ียนแปลงทางกายภาพ สารเกิดการเปล่ียนแปลงลักษณะใด (แนวคําตอบ
เปลยี่ นแปลงรปู รา่ งหรอื เกดิ การละลาย)
- กจิ กรรมที่เกดิ การเปลี่ยนแปลงทางเคมี สารเกิดการเปลี่ยนแปลงลักษณะใด (แนวคําตอบ เกิดการ
เผาไหม้และเกดิ ข้ีเถา้ ข้นึ เปน็ สารใหม)่
โรงเรียนบ้านเปาู
(3) ครูเปิดโอกาสใหน้ ักเรียนตัง้ ประเดน็ คําถามทน่ี กั เรียนสงสัยจากการทํากิจกรรมอย่างน้อยคนละ 1
คําถาม ซง่ึ ครูใหน้ ักเรยี นเตรียมมาล่วงหนา้ และให้นกั เรยี นชว่ ยกันตอบและแสดงความคิดเห็น
(4) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเก่ียวกับกิจกรรม สํารวจก่อนเรียน 9 โดยครูช่วยอธิบายให้นักเรียน
เขา้ ใจว่า น้ําเกิดการเปลย่ี นแปลงได้ 2 ลักษณะ คอื การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพและการเปลยี่ นแปลงทางเคมี
2) ขัน้ สารวจและค้นหา
(1) ใหน้ ักเรยี นศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพและทางเคมีของสารจากใบความรู้หรือในหนังสือ
เรียน โดยครตู ัง้ คาํ ถามใหน้ กั เรียนตอบประกอบการคน้ ควา้ ดงั นี้
- เมื่อสารเกิดการเปล่ยี นแปลง สารท่เี กดิ ขนึ้ จะเปลยี่ นไปจากเดิมในลักษณะใดบ้าง
- นกั เรียนจะทราบไดอ้ ย่างไรวา่ การเปล่ียนแปลงทีเ่ กิดขนึ้ เป็นการเกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมีหรือไม่
(2) นักเรียนแบ่งกลุม่ และปฏบิ ัตกิ จิ กรรม ทดลองการละลาย ตามขัน้ ตอนทางวทิ ยาศาสตรด์ ังน้ี
ข้ันที่ 1 กําหนดปัญหา
- นาํ้ ตาลทราย เกลอื ทราย และดนิ จะละลายน้าํ ได้เท่ากนั หรือไม่
ขั้นที่ 2 สมมุติฐาน
- เม่ือละลายน้ําตาลทราย เกลือ ทราย และดินลงในนํ้า สารแต่ละชนิดน่าจะละลายนํ้าได้
เทา่ กนั
ข้นั ท่ี 3 ทดลอง
- ใส่นา้ํ ลงในหลอดทดลอง หลอดละ 5 ลูกบาศกเ์ ซนติเมตร
- ใสน่ ้ําตาลทราย เกลอื ทราย และดินอย่างละ 2 ช้อนเบอร์ 2 ลงในหลอดทดลองหลอดที่
1, 2, 3 และ 4 ตามลาํ ดบั
- เขย่าหลอดทดลอง แล้วต้ังทิ้งไว้ 2 นาที สังเกตผลในแต่ละหลอดทดลอง บันทึกแล้ว
สรุปผล
ขั้นท่ี 4 วเิ คราะหผ์ ลการทดลอง
- แปลความหมายข้อมูลทไี่ ด้จากตารางบันทึกผลการทดลอง
- นาํ ข้อมลู ทไ่ี ดม้ าพจิ ารณา เพอ่ื อธบิ ายว่าเป็นไปตามทน่ี กั เรยี นตง้ั สมมุติฐานหรือไม่
ข้นั ท่ี 5 สรปุ ผลการทดลอง
- นกั เรยี นร่วมกนั สรุปผลการทดลอง แลว้ เขยี นรายงานสรปุ ผลการทดลองสง่ ครู
(3) แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับการเปล่ียนสถานะของสาร โดยดําเนินการตาม
ข้ันตอนดังน้ี
- แต่ละกลุ่มวางแผนการสืบค้นข้อมูล โดยแบ่งหัวข้อย่อยให้เพื่อนสมาชิกช่วยกันสืบค้นตามที่สมาชิก
กลุ่มช่วยกันกําหนดหัวข้อย่อย เช่น สมบัติของน้ําที่เปล่ียนไป เม่ือเปล่ียนสถานะ อุณหภูมิขณะท่ีน้ําเปล่ียน
สถานะ และสาเหตทุ ที่ ําให้นํ้าเปลี่ยนสถานะ
โรงเรยี นบ้านเปาู
- สมาชิกกลุ่มแต่ละคนหรือกลุ่มย่อยช่วยสืบค้นข้อมูลตามหัวข้อย่อยที่ตนรับผิดชอบ โดยสืบค้นจาก
ใบความร้ทู คี่ รเู ตรียมมาให้ หรือหนังสือ วารสาร สารานกุ รม และอนิ เทอรเ์ น็ต
- สมาชิกกลุ่มนําข้อมูลที่สืบค้นได้มารายงานให้เพื่อนๆ สมาชิกในกลุ่มฟัง รวมทั้งร่วมกันอภิปราย
ซักถามจนกว่าสมาชิกทกุ คนมีความรู้ความเขา้ ใจที่ตรงกัน
- สมาชิกกลุ่มช่วยกันสรปุ ความรทู้ ไ่ี ดท้ ง้ั หมดเป็นผลงานของกลุ่มและช่วยกันจัดทํารายงานการศึกษา
ค้นควา้ เก่ยี วกับการเปลีย่ นสถานะของสาร
(4) ครูคอยแนะนําช่วยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบๆ ห้องเรียนและเปิด
โอกาสใหน้ ักเรียนทุกคนซกั ถามเม่อื มีปัญหา
3) ขัน้ อธิบายและลงขอ้ สรปุ
(1) นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ ส่งตวั แทนกลมุ่ นําเสนอข้อมูลจากการปฏิบตั ิกิจกรรมหน้าช้ันเรยี น
(2) นักเรยี นและครรู ่วมกันอภปิ รายและหาขอ้ สรุปการปฏิบัตกิ ิจกรรม โดยใช้แนวคาํ ถามตอ่ ไปนี้
- สารใดละลายน้าํ ไดห้ มด และสารใดละลายนา้ํ ไดบ้ างส่วน (แนวคําตอบ น้ําตาลทรายและ
เกลอื ละลายนา้ํ ไดห้ มด ส่วนดนิ ละลายน้าํ ได้บางส่วน)
- สารใดเมอื่ ละลายนํา้ แล้วเกดิ เป็นสารเนื้อเดียว และสารใดเม่ือละลายน้ําแล้วเกิดเป็นสาร
เน้ือผสม (แนวคําตอบ นํ้าตาลทรายและเกลือเม่ือละลายน้ําแล้วเกิดเป็นสารเน้ือเดียว ส่วนทรายและดินเมื่อ
ละลายนํ้าแล้วเกดิ เป็นสารเนอ้ื ผสม)
(3) นักเรียนและครูร่วมกันสรุปผลจากการปฏิบัติกิจกรรม โดยให้ได้ข้อสรุปว่า สารแต่ละชนิดจะ
ละลายน้ําได้ไม่เท่ากัน ทําให้สารใหม่ที่ได้มีสมบัติแตกต่างกัน คือสารท่ีผสมกันแล้วรวมเข้าด้วยกันทุกส่วน ไม่
สามารถบอกไดว้ า่ ส่วนใดเป็นสารอะไร และแสดงสมบัติเหมือนกันทุกส่วน จะเรียกสารผสมนี้ว่าสารละลาย ซ่ึง
เป็นสารเนอื้ เดียว เช่น นา้ํ เกลอื นํ้าเชอื่ ม สว่ นสารที่ผสมกนั แลว้ ไมร่ วมเข้ากันทุกส่วนบางส่วนยังคงมองเห็นเป็น
สารเดมิ จะเรยี กสารน้วี ่า สารเนอ้ื ผสม เช่น เมื่อละลายดนิ และทรายในนํา้
การเปล่ียนสถานะของนํ้า นํ้าจะเปล่ียนสถานะได้ 3 สถานะ คือ ถ้าเป็นของแข็งเรียกว่า น้ําแข็ง ถ้า
เป็นของเหลวเรียกว่า น้ํา ถ้าเป็นแก๊สเรียกว่า ไอน้ํา การเปล่ียนสถานะของน้ําเกิดจากการเพิ่มหรือลดอุณหภูมิ
โดยสารใหม่ทีไ่ ดย้ งั คงเปน็ สารเดิม
4) ข้นั ขยายความรู้
(1) นักเรียนค้นคว้ารายละเอียดเพ่ิมเติมเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพและทางเคมีของสาร
จากแหล่งความรตู้ า่ ง ๆ หนงั สือ วารสารวิทยาศาสตร์ และอนิ เทอร์เน็ต แล้วนําข้อมูลที่ได้มาอภิปรายร่วมกันใน
ชน้ั เรยี น
(2) นักเรยี นค้นควา้ รายละเอียดและคําศพั ทภ์ าษาต่างประเทศเก่ียวกับการเปล่ียนแปลงทางกายภาพ
และทางเคมขี องสาร จากหนงั สือเรียนภาษาต่างประเทศหรืออนิ เทอร์เน็ต