โรงเรยี นบ้านเปูา
- เพราะเหตุใดจึงให้นักเรียนถือลูกบอลอยู่ตรงหน้าตลอดเวลา (แนวคําตอบ เพราะเรา
มองเหน็ ดวงจันทร์ดา้ นเดียวเท่าน้นั )
- ถ้าลกู บอลเป็นดวงจันทรท์ โี่ คจรรอบโลก ตําแหน่งใดท่ีเห็นดวงจันทร์มืดท้ังดวง และสว่างท้ัง
ดวง (แนวคําตอบ ตําแหน่งท่ี 0 องศา และ 360 องศา เห็นดวงจันทร์มืดทั้งดวงและท่ีตําแหน่งที่ 180 องศา
เหน็ ดวงจันทรส์ ว่างทง้ั ดวง)
- การหมุนรอบตัวเองของดวงจันทร์ 1 รอบ กินเวลาประมาณเท่าใด (แนวคําตอบ ประมาณ
29 - 30 วนั )
(3) นักเรียนและครูร่วมกันสรุปผลจากการปฏิบัติกิจกรรม โดยให้ได้ข้อสรุปว่า การท่ีคนบนโลก
มองเห็นดวงจันทร์ได้ เพราะดวงจันทร์สะท้อนแสงท่ีได้รับจากดวงอาทิตย์มายังโลก และการที่ดวงจันทร์โคจร
รอบโลก ทําให้คนบนโลกเหน็ ส่วนสวา่ งของดวงจันทรแ์ ตกตา่ งกนั
4) ขนั้ ขยายความรู้
(1) ครใู หค้ วามรู้เพิ่มเตมิ เร่ืองการเกดิ ขา้ งข้นึ - ขา้ งแรม และเวลาขนึ้ -เวลาตกของดวงจันทร์
โดยใช้แผนภาพการเกดิ ข้างข้ึน-ขา้ งแรม และแผนภาพการโคจรของดวงจันทร์รอบโลกประกอบการ
อธิบาย
(2) นักเรยี นคน้ ควา้ รายละเอยี ดและคําศัพท์ภาษาต่างประเทศเกย่ี วกับข้างข้ึน - ข้างแรม จากหนังสือ
เรยี นภาษาต่างประเทศหรืออินเทอรเ์ นต็
5) ข้ันประเมิน
(1) ครใู หน้ กั เรียนแต่ละคนพจิ ารณาว่าจากหัวขอ้ ที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจุดใดบ้างที่ยังไม่
เข้าใจหรือยังมีขอ้ สงสยั ถ้ามคี รูชว่ ยอธิบายเพิม่ เติมใหน้ ักเรยี นเขา้ ใจ
(2) นักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคใด และได้มีการแก้ไข
อยา่ งไรบา้ ง
(3) ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรมและ
การนาํ ความรูท้ ี่ไดไ้ ปใชป้ ระโยชน์
(4) ครูทดสอบความเขา้ ใจของนักเรยี นโดยการให้ตอบคําถาม เชน่
- ขา้ งขน้ึ – ข้างแรมเกิดขน้ึ ได้อย่างไร
- ถา้ นักเรียนอยบู่ นดวงจนั ทร์แลว้ มองมายังโลก นักเรยี นจะมองเหน็ ปรากฏการณ์ขา้ งข้นึ -
ข้างแรมหรือไม่ เพราะเหตุใด
- เดือนเต็มและเดือนดับคืออะไร
- นกั เรยี นคดิ วา่ 1 ปีมีข้างขึน้ กคี่ รั้ง ข้างแรมก่ีครั้ง
ขัน้ สรปุ
(1) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับข้างข้ึน - ข้างแรม โดยร่วมกันเขียนเป็นแผนท่ีความคิดหรือ
ผังมโนทศั น์
โรงเรียนบา้ นเปาู
(2) ครูมอบหมายให้นักเรียนไปศึกษาค้นคว้าเนื้อหาของบทเรียนชั่วโมงหน้า เพื่อจัดการเรียนรู้ครั้ง
ตอ่ ไป โดยให้นกั เรียนศกึ ษาค้นควา้ ล่วงหน้าในหัวข้อฤดูกาล โดยใช้ใบงาน สํารวจก่อนเรียน 15 ที่ครูจัดเตรียม
ไว้ให้ประกอบการศกึ ษาคน้ คว้า (ในสอ่ื การเรียนรู้ PowerPoint วทิ ยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 6 )
(3) ครูอธบิ ายข้นั ตอนการปฏบิ ตั กิ ิจกรรมและมอบหมายใหน้ ักเรียนไปปฏิบัติกจิ กรรมท่ีบ้าน พร้อมทั้ง
ให้นักเรยี นเตรยี มประเดน็ คาํ ถามทสี่ งสัยมาอยา่ งนอ้ ยคนละ 1 คําถาม เพอ่ื นํามาอภิปรายร่วมกันในชั้นเรียนครั้ง
ต่อไป
8. กจิ กรรมเสนอแนะ
1. ให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลเรื่องข้างขึ้น-ข้างแรมจากหนังสือ วารสาร สารานุกรมวิทยาศาสตร์
สารานุกรมสําหรับเยาวชน และอินเทอร์เน็ต รวมทั้งนําข้อมูลท่ีค้นคว้าได้มาจัดทําเป็นรายงาน หรือจัดปูาย
นเิ ทศใหเ้ พอื่ นๆ ได้ทราบเพ่อื แลกเปลย่ี นเรียนรกู้ นั
2. นักเรียนร่วมกันแสดงบทบาทสมมุติเก่ียวกับประเพณีวัฒนธรรมในท้องถิ่นที่เก่ียวกับข้างขึ้น -
ขา้ งแรม
9. สอ่ื /แหลง่ การเรียนรู้
1. แบบทดสอบก่อนเรยี น
2. ใบกิจกรรมท่ี 33 สงั เกตการเปลยี่ นแปลงรูปรา่ งของดวงจนั ทร์
3. ใบงานสํารวจก่อนเรียน 15
4. คู่มอื การสอน วทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
5. สอ่ื การเรียนรู้ PowerPoint รายวชิ าพืน้ ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
6. แบบฝกึ ทกั ษะ รายวิชาพนื้ ฐาน วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
7. หนงั สือเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน วิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 6
โรงเรยี นบ้านเปาู
10. บันทกึ หลงั การจดั การเรยี นรู้
ความคิดเหน็ /ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
(ลงชอื่ )..............................................
(นายธนติ ย์ พระสนุ ิน)
ผู้อาํ นวยการโรงเรียนเค็งใหญห่ นองงูเหลือม
รกั ษาการในตําแหน่ง ผู้อาํ นวยการโรงเรียนบา้ นเปาู
บันทกึ หลงั การสอน
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................................................................................................... ..........
ปัญหา/อปุ สรรค
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
ขอ้ เสนอแนะ
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
(ลงชอ่ื )..............................................
(นางสาววมิ ลรตั น์ ประทปี ะเสน)
ครผู ู้ชว่ ย
โรงเรียนบา้ นเปาู
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 44
รายวิชาวิทยาศาสตร์ (ว16101) ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6
หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 6 ปรากฏการณ์โลกและเทคโนโลยอี วกาศ เวลาเรียน 9 ชว่ั โมง
เร่อื ง ฤดูกาล เวลาจาํ นวน 1 ชว่ั โมง
**********************************************************************************
1. สาระสาคัญ
โลกมสี ณั ฐานกลมและโคจรรอบดวงอาทติ ยใ์ นลักษณะที่แกนของโลกเอียง 23.5 องศากับแนวต้ังฉาก
ของระนาบทางโคจร ลักษณะดังกล่าวทาํ ให้เกิดฤดูกาลขน้ึ บนโลก
2. ตัวชีว้ ัดช้ันปี
สรา้ งแบบจาํ ลองและอธิบายการเกดิ ฤดู ขา้ งขนึ้ -ขา้ งแรม สุริยุปราคา จนั ทรุปราคา และ นําความรู้ไป
ใช้ประโยชน์ (ว 7.1 ป. 6/1)
3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
1. ทดลองและอธบิ ายเกีย่ วกับสาเหตุของการเกิดฤดูกาลได้ (K)
2. มีความสนใจใฝรุ ้หู รอื อยากรอู้ ยากเหน็ (A)
3. พอใจในประสบการณก์ ารเรยี นรูท้ ่ีเกีย่ วกับวิทยาศาสตร์ (A)
4. ทาํ งานร่วมกบั ผู้อ่ืนอยา่ งสร้างสรรค์ (A)
5. สอื่ สารและนาํ ความรู้เรื่องฤดกู าลไปใชใ้ นชีวิตประจาํ วันได้ (P)
4. การวดั และการประเมนิ ผลการเรียนรู้
ด้านความรู้ (K) ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และ ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P)
จิตวิทยาศาสตร์ (A)
1. ประเมนิ ทักษะ/กระบวนการ
1. ซกั ถามความร้เู รื่องฤดูกาล 1. ประเมนิ เจตคตทิ าง ทางวทิ ยาศาสตร์
2. ประเมนิ กิจกรรมฝกึ ทักษะ วิทยาศาสตร์เป็นรายบคุ คล 2. ประเมินทักษะการคิด
3. ประเมนิ ทักษะการแกป้ ัญหา
ระหว่างเรียน 2. ประเมนิ เจตคติต่อวทิ ยาศาสตร์ 4. ประเมินพฤติกรรมในการปฏบิ ัติ
เป็นรายบุคคล กิจกรรมเป็นรายบุคคลหรอื ราย
กล่มุ
โรงเรยี นบ้านเปาู
5. สาระการเรยี นรู้
ฤดกู าล
6. แนวทางการบูรณาการ
ภาษาไทย สนทนา พดู คยุ หรือเล่าประสบการณ์เกี่ยวกับฤดูกาลจากประสบการณ์ของ
นักเรยี น
ศิลปะ ตกแตง่ และระบายสีภาพวาดทเี่ ก่ียวกบั การเปลยี่ นแปลงของฤดกู าลตา่ งๆ ท่ี
นักเรียนสนใจใหส้ วยงาม จดั ปูายนิเทศแสดงผลงานเกีย่ วกับฤดูกาลตา่ งๆ
จากการศึกษาค้นควา้ จากเอกสารท่ีเกี่ยวข้องและอนิ เทอรเ์ น็ต
สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
สนทนา พูดคุยเก่ยี วกบั ฤดูกาลต่าง ๆ ของประเทศสมาชิกอาเซียน
ภาษาต่างประเทศ ฟงั พูด อ่าน และเขียนคําศัพท์ภาษาตา่ งประเทศเก่ียวกับฤดกู าลทีไ่ ดเ้ รยี นรู้
หรอื ทนี่ กั เรียนสนใจ
7. กระบวนการจดั การเรียนรู้
ข้นั นาเขา้ สูบ่ ทเรียน
1) ครสู นทนากบั นกั เรยี นเกยี่ วกบั การเกดิ ฤดูกาลบนโลก โดยครูใชค้ าํ ถามกระตุ้นดังนี้
- สาเหตุทที่ ําใหส้ ภาพภมู อิ ากาศในแตล่ ะช่วงเดือนมคี วามแตกต่างกนั คืออะไร
- ผลของการไดร้ ับแสงจากดวงอาทิตย์ของโลกในลักษณะต่างๆ กันนั้น นักเรียนคิดว่ามีผลต่อ
บรรยากาศโลกในลกั ษณะใด
2) นักเรียนร่วมกันตอบคําถามและแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับคําตอบของคําถามเพื่อเช่ือมโยงไปสู่
การเรยี นรู้เรื่อง ฤดูกาล
ขนั้ จดั กจิ กรรมการเรียนรู้
จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับแบบกลับด้านชั้นเรียน ซึ่งมี
ข้นั ตอนดังนี้
1) ขน้ั สร้างความสนใจ
(1) ครูให้นักเรียนนําใบงาน สํารวจก่อนเรียน 15 ท่ีครูมอบหมายให้ไปเรียนรู้ล่วงหน้าที่บ้านมา
อภิปรายร่วมกันในช้ันเรียน
(2) ครตู รวจสอบว่านักเรียนทํากิจกรรมที่ได้รับมอบหมายไปหรือไม่ โดยตรวจสอบจากการจดบันทึก
ของนักเรียน และถามคําถามเกย่ี วกบั กจิ กรรม ดังนี้
- นักเรียนคิดว่าพ้ืนท่ีต่างๆ บนโลก มีสภาพภูมิอากาศเหมือนกันหรือไม่ เพราะอะไร (แนว
คาํ ตอบ ไม่เหมอื นกัน เพราะส่วนต่างๆ ของโลกได้รบั ความรอ้ นและแสงสว่างจากดวงอาทิตยไ์ ม่เท่ากัน)
โรงเรยี นบ้านเปูา
- การหมุนรอบตวั เองและการโคจรรอบดวงอาทิตย์ของโลก ทําให้โลกได้รับแสงสว่างจากดวง
อาทิตย์ในลักษณะใด (แนวคําตอบ ได้รับแสงสว่างไม่เท่ากัน เน่ืองจากมุมท่ีแสงอาทิตย์ตกกระทบกับผิวโลก
แตกตา่ งกัน)
(3) ครูเปิดโอกาสใหน้ ักเรยี นต้ังประเด็นคําถามท่ีนักเรียนสงสัยจากการทํากิจกรรมอย่างน้อยคนละ 1
คาํ ถาม ซึ่งครใู หน้ ักเรียนเตรยี มมาล่วงหนา้ และให้นกั เรียนช่วยกนั ตอบและแสดงความคิดเห็น
(4) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเก่ียวกับกิจกรรม สํารวจก่อนเรียน 15 โดยครูช่วยอธิบายให้นักเรียน
เข้าใจว่า ฤดูกาลเกิดจากการท่โี ลกโคจรรอบดวงอาทิตยจ์ ากซ้ายไปขวา และขณะท่ีโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์นั้น
แกนของโลกเอียงทํามุม 23.5 องศา ทําให้ส่วนต่างๆ บนโลกได้รับความร้อนและแสงสว่างจากดวงอาทิตย์ไม่
เท่ากัน
2) ข้ันสารวจและคน้ หา
(1) ให้นักเรียนศึกษาฤดูกาลจากใบความร้หู รอื ในหนังสอื เรียน โดยครูช่วยอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า
การทส่ี ว่ นต่าง ๆ บนโลกได้รับความร้อนจากดวงอาทิตย์ไม่เทา่ กนั ทาํ ให้เกดิ ฤดูกาล ตา่ งๆ ข้ึน
(2) แบ่งนกั เรียนกลมุ่ ละ 5 - 6 คน ปฏบิ ตั ิกจิ กรรม ทดลองสาเหตกุ ารเกดิ ฤดกู าล ตามขน้ั ตอน
ทางวทิ ยาศาสตร์ดงั นี้
ข้นั ที่ 1 กาํ หนดปญั หา
- กระดาษดําบนกระดาษลูกฟูกท่ีวางราบกับพื้นกับที่วางทํามุม 90 องศาได้รับความร้อนจาก
โคมไฟเท่ากันหรอื ไม่
ขั้นที่ 2 สมมุติฐาน
- กระดาษดําบนกระดาษลกู ฟกู ทว่ี างราบกับพน้ื กบั ทว่ี างทาํ มุม 90 องศา จะได้รบั ความรอ้ น
ไมเ่ ท่ากนั
ขัน้ ที่ 3 ทดลอง
- เตรยี มกระดาษ 2 แผ่น โดยใช้กระดาษดําวางบนกระดาษลูกฟูก นําแผ่นที่ 1 วางราบกับพื้น
แผ่นที่ 2 วางทาํ มุม 90 องศากับพ้ืน เปดิ ไฟจากโคมไฟแทนแสงจากดวงอาทิตย์
- ปดิ ไฟแลว้ เปรียบเทียบความรอ้ นของกระดาษ โดยใชค้ วามรสู้ กึ ของนักเรยี นจากการสัมผัส
- วัดอุณหภูมิโดยเสียบเทอร์มอมิเตอร์ใต้กระดาษดํา วัดความร้อนที่เวลา 2, 4, 6, 8, 10 นาที
บันทกึ ผล
- อภปิ ราย วิเคราะห์ และสรุปผลการทดลอง
ขัน้ ที่ 4 วิเคราะห์ผลการทดลอง
- แปลความหมายข้อมูลทีไ่ ด้จากตารางบันทกึ ผลการทดลอง
- นาํ ขอ้ มูลท่ีได้มาพิจารณา เพอ่ื อธบิ ายวา่ เปน็ ไปตามทน่ี กั เรยี นคาดคะเนไวห้ รือไม่
ข้ันท่ี 5 สรปุ ผลการทดลอง
- นักเรยี นรว่ มกันสรุปผลการทดลอง แลว้ เขียนเปน็ รายงานสรปุ ผลการทดลองส่งครู
โรงเรียนบ้านเปาู
(3) ครูคอยแนะนําช่วยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบๆ ห้องเรียนและเปิด
โอกาสใหน้ ักเรียนทุกคนซกั ถามเมอื่ มปี ัญหา
3) ขั้นอธบิ ายและลงข้อสรปุ
(1) นักเรียนแต่ละกล่มุ สง่ ตัวแทนกล่มุ นาํ เสนอข้อมูลจากการปฏิบตั ิกจิ กรรมหนา้ ชัน้ เรียน
(2) นักเรยี นและครูร่วมกันอภปิ รายและหาข้อสรปุ จากการปฏิบตั ิกิจกรรม โดยใชแ้ นวคําถามต่อไปน้ี
- อากาศร้อนและอากาศหนาวบริเวณขั้วโลกเหนือและข้ัวโลกใต้มีการเปลี่ยนแปลงมากกว่า
บริเวณเส้นศูนย์สูตร เพราะเหตุใด (แนวคําตอบ เนื่องจากแกนโลกเอียงทํามุม 23.5 องศา กับระนาบวงโคจร
ของโลกทําให้รับแสงจากดวงอาทิตย์ในแนวเฉียง จึงมีการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิมากกว่าบริเวณเส้นศูนย์
สูตร)
- นักเรียนทราบหรือไม่ว่า ประเทศไทยมีก่ีฤดูกาล ได้แก่ฤดูใดบ้าง (แนวคําตอบ มี 3 ฤดูกาล
ได้แก่ ฤดรู อ้ น ฤดูฝน และฤดหู นาว)
(3) นักเรียนและครูรว่ มกันสรุปผลจากการปฏิบัติกิจกรรม โดยให้ได้ข้อสรุปว่า อุณหภูมิของกระดาษ
ดาํ บนกระดาษลกู ฟูกท่วี างราบกบั พน้ื จะสงู กว่าอณุ หภูมิของกระดาษดําบนกระดาษลูกฟูกท่ีวางทํามุม 90 องศา
กับพ้ืน เปรียบได้กับบริเวณของโลกท่ีได้รับแสงตั้งฉากกับแสงอาทิตย์ จะได้รับพลังงานความร้อนจากดวง
อาทติ ยม์ ากกว่าบรเิ วณของโลกทรี่ บั จากแสงอาทิตย์ในแนวเฉยี ง
4) ขัน้ ขยายความรู้
(1) ครูให้ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับการเกิดฤดูกาลบนโลกและประเทศไทย จากนั้นให้นักเรียนสืบค้น
ข้อมูลเก่ียวกับฤดูกาลจากหนังสือ วารสาร สารานุกรมวิทยาศาสตร์ สารานุกรมไทยสําหรับเยาวชน และ
อินเทอร์เน็ต รวมทั้งนําข้อมูลที่ค้นคว้าได้มาจัดทําเป็นรายงาน หรือจัดปูายนิเทศให้เพื่อน ๆ ได้ทราบเพ่ือ
แลกเปลย่ี นเรียนรูก้ ัน
(2) ครูเช่ือมโยงความรู้สู่อาเซียน โดยครูให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับฤดูกาลของประเทศ ต่างๆ
ในประชาคมอาเซียน และให้ความรูเ้ พิม่ เตมิ ดังน้ี
อนิ โดนีเซีย มีอากาศรอ้ นชื้นแถบศูนย์สูตร จงึ มี 2 ฤดูกาล ได้แก่ ฤดรู ้อน (เดือนพฤษภาคมถึงตุลาคม)
และฤดูฝน (เดอื นพฤศจกิ ายนถงึ เดอื นเมษายน) อุณหภมู ิเฉลีย่ ประมาณ 20-30 องศาเซลเซยี ส
เวียดนาม อยู่ในเขตมรสุมตะวันออกเฉียงใต้ ลักษณะภูมิศาสตร์ของประเทศแตกต่างกัน ส่งผลให้
ภาคเหนือมีฤดูกาลถึง 4 ฤดู ได้แก่ ฤดูใบไม้ผลิ ฤดูร้อน ฤดูใบไม้ร่วง และฤดูหนาว ส่วนภาคกลางและภาคใต้มี
สภาพภมู ิอากาศท่คี ่อนข้างรอ้ นตลอดทง้ั ปี จงึ มีเพยี ง 2 ฤดู ได้แก่ ฤดูฝนและฤดูแล้ง อุณหภูมิเฉล่ียประมาณ 22
องศาเซลเซียส
มาเลเซีย อยู่ในเขตร้อนบริเวณเส้นศูนย์สูตร จึงมีภูมิอากาศแบบร้อนช้ืน อากาศร้อนอบอุ่นและช้ืน
ตลอดทั้งปี ลักษณะอากาศคลา้ ยทางภาคใต้ของไทย อณุ หภมู ิเฉลยี่ ประมาณ 28 องศาเซลเซยี ส
โรงเรยี นบา้ นเปูา
บรูไนดารุสซาลาม มีลักษณะอากาศร้อนชื้น ฝนตกชุกตลอดทั้งปี ฝนตกชุกมากเป็นพิเศษช่วงเดือน
กันยายน - มกราคม ส่วนช่วงเดือนมีนาคม- เมษายน จะเป็นช่วงที่อากาศเย็นสบายท่ีสุด อุณหภูมิเฉล่ียอยู่ที่
28-32 องศาเซลเซยี ส
ลาว อยู่ในเขตร้อนช้ืน ทางตอนเหนืออากาศหนาวเย็น ทางตอนกลางและตอนใต้คล้ายคลึงกับ
ประเทศไทย คือ มีภูมิอากาศแบบปุาฝนเมืองร้อน ฝนตกเกือบตลอดปี ประกอบกับได้รับอิทธิพลจากลมมรสุม
ในทะเลจีนใต้ จึงทําให้แบ่งสภาพภูมิอากาศได้เป็น 3 ฤดู ได้แก่ ฤดูร้อน เร่ิมต้นตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือน
เมษายน ฤดูฝน เริ่มต้งั แต่เดอื นพฤษภาคมถงึ เดือนตลุ าคม และฤดหู นาว เร่ิมต้นตั้งแต่เดือนพฤศจิกายนถึงเดือน
มกราคม
(3) นักเรียนค้นคว้ารายละเอียดและคําศัพท์ภาษาต่างประเทศเก่ียวกับฤดูกาลจากหนังสือเรียน
ภาษาต่างประเทศหรืออนิ เทอร์เน็ต
5) ขน้ั ประเมนิ
(1) ครใู หน้ กั เรยี นแตล่ ะคนพจิ ารณาว่าจากหวั ข้อท่เี รียนมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจุดใดบ้างท่ียังไม่
เข้าใจหรือยังมีขอ้ สงสัย ถา้ มคี รชู ่วยอธิบายเพิ่มเตมิ ให้นักเรียนเขา้ ใจ
(2) นักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคใด และได้มีการแก้ไข
อยา่ งไรบา้ ง
(3) ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับประโยชน์ท่ีได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรมและ
การนาํ ความรู้ทไ่ี ด้ไปใช้ประโยชน์
(4) ครทู ดสอบความเขา้ ใจของนกั เรียนโดยการให้ตอบคําถาม เช่น
- บรเิ วณใดของโลกทไี่ ดร้ ับแสงตรงและแสงเฉียงจากดวงอาทิตย์ทั้ง 2 บริเวณ ได้รับความร้อน
จากดวงอาทติ ย์เหมอื นหรอื แตกต่างกนั เพราะอะไร
- บริเวณซีกโลกทางเหนือและซีกโลกทางใต้จะเข้าสู่ฤดูกาลท่ีเหมือนหรือแตกต่างกัน เพราะ
อะไร
- อากาศร้อนและอากาศหนาวบริเวณข้ัวโลกเหนือและข้ัวโลกใต้มีการเปลี่ยนแปลงมากกว่า
บรเิ วณเสน้ ศนู ยส์ ูตร เพราะเหตุใด
- ถา้ แกนของโลกตัง้ ตรงไมเ่ อียงทํามุม 23.5 องศาแล้ว นักเรียนคิดว่าจะเกิดฤดูกาลข้ึนบนโลก
หรือไม่ เพราะอะไร
ขนั้ สรปุ
(1) ครูและนักเรยี นร่วมกันสรุปเกีย่ วกบั ฤดูกาล โดยร่วมกันเขยี นเปน็ แผนที่ความคดิ หรอื ผงั มโนทัศน์
(2) ครูมอบหมายให้นักเรียนไปศึกษาค้นคว้าเนื้อหาของบทเรียนช่ัวโมงหน้า เพื่อจัดการเรียนรู้คร้ัง
ตอ่ ไป โดยใหน้ ักเรยี นศกึ ษาคน้ ควา้ ล่วงหนา้ ในหวั ขอ้ จนั ทรปุ ราคาและสรุ ิยปุ ราคา
(3) ครูให้นักเรียนเตรียมประเด็นคําถามที่สงสัยมาอย่างน้อยคนละ 1 คําถาม เพ่ือนํามาอภิปราย
ร่วมกันในชั้นเรยี นคร้งั ต่อไป
โรงเรยี นบ้านเปาู
8. กจิ กรรมเสนอแนะ
นกั เรยี นฝกึ สงั เกตการเกิดฤดูกาลบนโลก โดยทําการทดลองคลา้ ยกบั กิจกรรมทีเ่ รียนร้ไู ปแล้ว
แตใ่ ช้ลกู โลกจําลองเพ่อื ให้ไดข้ ้อมลู ที่ชดั เจนมากข้ึน บันทกึ ข้อมลู ทไ่ี ดแ้ ลว้ นําเสนอหน้าชั้นเรยี น
9. สอ่ื /แหลง่ การเรียนรู้
1. ใบงานสาํ รวจกอ่ นเรยี น 15
2. ใบกจิ กรรมที่ 34 ทดลองสาเหตุการเกดิ ฤดกู าล
3. คูม่ ือการสอน วิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 6
4. ส่ือการเรยี นรู้ PowerPoint รายวชิ าพ้นื ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6
5. แบบฝึกทักษะ รายวิชาพ้นื ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 6
6. หนงั สอื เรียน รายวิชาพืน้ ฐาน วิทยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6
โรงเรยี นบ้านเปูา
10. บนั ทึกหลังการจดั การเรียนรู้
ความคิดเหน็ /ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
(ลงช่ือ)..............................................
(นายธนิตย์ พระสุนิน)
ผู้อํานวยการโรงเรยี นเค็งใหญ่หนองงเู หลือม
รักษาการในตําแหนง่ ผ้อู าํ นวยการโรงเรียนบ้านเปาู
บันทึกหลังการสอน
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
ปัญหา/อปุ สรรค
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
ขอ้ เสนอแนะ
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
(ลงชอ่ื )..............................................
(นางสาววิมลรตั น์ ประทปี ะเสน)
ครูผู้ชว่ ย
โรงเรียนบา้ นเปาู
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 45
รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ (ว16101) ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 6
หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 6 ปรากฏการณโ์ ลกและเทคโนโลยอี วกาศ เวลาเรยี น 9 ชวั่ โมง
เร่ือง จันทรปุ ราคาและสุริยุปราคา เวลาจาํ นวน 2 ช่วั โมง
**********************************************************************************
1. สาระสาคญั
เมือ่ โลกโคจรมาอยรู่ ะหว่างดวงอาทติ ยก์ ับดวงจันทรเ์ งาของโลกจะพาดไปบังดวงจันทร์ ปรากฏการณ์
น้เี รียกว่า การเกดิ จนั ทรุปราคา และเมื่อดวงจันทร์โคจรเข้ามาอยู่ระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์ คนบนโลกจะมอง
เห็นดวงอาทิตย์ถูกบัง ปรากฏการณ์นเ้ี รยี กว่า การเกดิ สุริยปุ ราคา
2. ตัวช้ีวดั ช้ันปี
สร้างแบบจําลองและอธิบายการเกิดฤดู ข้างข้ึน - ข้างแรม สุริยุปราคา จันทรุปราคา และนําความรู้
ไปใชป้ ระโยชน์ (ว 7.1 ป. 6/1)
3. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายการเกิดเงามืดและเงามวั ได้ (K)
2. อธิบายการเกดิ จันทรุปราคาและสุริยุปราคาได้ (K)
3. มคี วามสนใจใฝุรหู้ รอื อยากรอู้ ยากเหน็ (A)
4. พอใจในประสบการณก์ ารเรยี นรทู้ ่ีเก่ยี วกบั วทิ ยาศาสตร์ (A)
5. ทาํ งานรว่ มกบั ผ้อู น่ื อย่างสร้างสรรค์ (A)
6. สื่อสารและนําความรเู้ ร่ืองจนั ทรุปราคาและสรุ ิยุปราคาไปใชใ้ นชีวิตประจําวันได้ (P)
4. การวัดและการประเมนิ ผลการเรียนรู้
ด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริยธรรม และ ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P)
จิตวทิ ยาศาสตร์ (A)
1. ประเมนิ ทักษะ/กระบวนการ
1. ซกั ถามความรเู้ รื่อง 1. ประเมินเจตคติทาง ทางวทิ ยาศาสตร์
จันทรุปราคาและสุริยปุ ราคา วทิ ยาศาสตรเ์ ปน็ รายบุคคล 2. ประเมินทักษะการคดิ
3. ประเมินทักษะการแก้ปัญหา
2. ประเมนิ กจิ กรรมฝกึ ทกั ษะ 2. ประเมินเจตคตติ ่อวิทยาศาสตร์ 4. ประเมินพฤติกรรมในการปฏบิ ตั ิ
ระหวา่ งเรียน เป็นรายบคุ คล กิจกรรมเป็นรายบุคคลหรือราย
กลุ่ม
โรงเรยี นบ้านเปาู
5. สาระการเรยี นรู้
1. จนั ทรุปราคา
2. สรุ ยิ ปุ ราคา
- พระบิดาแห่งวิทยาศาสตรไ์ ทย
6. แนวทางการบรู ณาการ สนทนา พดู คยุ หรือเล่าประสบการณ์เก่ยี วกบั ประเพณีวฒั นธรรมในทอ้ งถ่ิน
ภาษาไทย ท่เี กยี่ วกับการเกิดจันทรุปราคาและการเกดิ สรุ ยิ ปุ ราคาจากประสบการณ์
ของนักเรียน
ภาษาตา่ งประเทศ ฟงั พดู อา่ น และเขียนคาํ ศพั ท์ภาษาตา่ งประเทศเก่ยี วกับการเกดิ
สรุ ยิ ปุ ราคาและการเกดิ จันทรุปราคาที่ไดเ้ รียนรู้หรอื ทน่ี ักเรียนสนใจ
7. กระบวนการจัดการเรยี นรู้
ขนั้ นาเข้าสบู่ ทเรียน
1) ครูถามคาํ ถามนกั เรียน เพือ่ กระตนุ้ ความสนใจ เช่น
- ปรากฏการณ์จันทรุปราคาท่ีเกิดขึ้นน้ัน เน่ืองจากการโคจรของโลก ดวงจันทร์ และดวง
อาทติ ย์มีลักษณะใด
2) นักเรียนรว่ มกนั ตอบคาํ ถามและแสดงความคิดเห็นเกีย่ วกบั คาํ ตอบของคําถาม เพื่อเช่ือมโยง
ไปสกู่ ารเรียนรู้เร่อื ง จันทรปุ ราคาและสรุ ิยปุ ราคา
ขน้ั จัดกจิ กรรมการเรียนรู้
จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับแบบกลับด้านช้ันเรียน ซึ่งมี
ขน้ั ตอนดงั นี้
1) ขนั้ สร้างความสนใจ
(1) ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนแล้วเปิดโอกาสให้นักเรียนในกลุ่มนําเสนอข้อมูลเกี่ยวกับจันทรุปราคาและ
สุรยิ ปุ ราคา ท่ีครูมอบหมายใหไ้ ปเรยี นร้ลู ว่ งหนา้ ให้เพ่ือนๆ ในกลมุ่ ฟงั จากนนั้ ให้แตล่ ะกลุ่มส่งตัวแทนมานําเสนอ
ข้อมลู หน้าห้องเรยี น
(2) ครูตรวจสอบว่านักเรียนทําภาระงานทีไ่ ด้รับมอบหมายไปหรือไม่ โดยตรวจสอบจากการจดบันทึก
ของนักเรยี น และถามคําถามเกีย่ วกบั ภาระงาน ดงั น้ี
- จันทรุปราคาเกิดข้ึนเม่ือใด และเกิดขึ้นได้อย่างไร (แนวคําตอบ เกิดขึ้นในตอนกลางคืนของ
วนั ขน้ึ 15 ค่ํา หรือวันแรม 15 ค่ํา เกิดข้นึ จากการทีด่ วงอาทติ ย์ โลก และดวงจนั ทร์โคจรมาอยู่ในแนวเดียวกนั )
- การเกิดสุริยุปราคาจะมีผลกระทบต่อพฤติกรรมของส่ิงมีชีวิตหรือไม่ ในลักษณะใด (แนว
คาํ ตอบ มีผลกระทบตอ่ สัตวบ์ างชนิด เช่น นกรีบบนิ กลบั รัง เพราะเขา้ ใจว่าเป็นเวลาคาํ่ แลว้ )
โรงเรียนบา้ นเปูา
(3) ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนต้ังประเด็นคําถามท่ีนักเรียนสงสัยจากการทําภาระงานอย่างน้อยคนละ
1 คาํ ถาม ซง่ึ ครูให้นักเรียนเตรียมมาล่วงหนา้ และใหน้ กั เรียนช่วยกันตอบและแสดงความคิดเหน็
(4) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับภาระงาน โดยครูช่วยอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่ า
จันทรุปราคาเป็นปรากฏการณ์ท่ีเกิดขึ้นในเวลากลางคืน เกิดจากการท่ีดวงอาทิตย์ โลก และดวงจันทร์โคจรมา
อยู่ในแนวเดียวกัน โดยโลกอยู่ระหว่างดวงอาทิตย์กับดวงจันทร์ สุริยุปราคาเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในเวลา
กลางวัน เกิดจากการทดี่ วงอาทิตย์ โลก และดวงจันทร์โคจรมาอยู่ในแนวเดียวกัน โดยดวงจันทร์อยู่ระหว่างดวง
อาทิตย์กบั โลก
2) ขน้ั สารวจและคน้ หา
(1) ให้นักเรียนศึกษาจันทรุปราคาและสุริยุปราคาจากใบความรู้หรือในหนังสือเรียน โดยครูช่วย
อธบิ ายใหน้ ักเรยี นเขา้ ใจว่า จันทรุปราคาเกดิ ขนึ้ ในตอนกลางคืน ส่วนสุริยปุ ราคาเกดิ ขน้ึ ในตอนกลางวัน
(2) แบ่งนกั เรียนกลุ่มละ 5 - 6 คนปฏิบตั กิ ิจกรรม สร้างแบบจําลองการเกิดจันทรุปราคาตามขั้นตอน
ทางวิทยาศาสตร์ โดยใชท้ กั ษะ/กระบวนการสังเกตดงั น้ี
- เจาะรูเล็กๆ ที่ลูกปิงปองและลูกบอลพลาสติก แล้วใช้ไม้เสียบเสียบไว้สําหรับถือ ใช้เทปกาว
ติดใหแ้ น่นกนั ไมใ่ ห้หลุด
- สร้างแบบจําลองการเกิดจันทรุปราคา โดยทําการสังเกตในห้องมืด วางไฟฉายไว้บนโต๊ะ ส่ง
ตวั แทนให้ถือลูกบอลพลาสติกระหว่างไฟฉายและลูกปิงปอง เปิดไฟฉายให้ส่องผ่านลูกบอลพลาสติก โดยให้เงา
จากลูกบอลพลาสติกทอดไปยังลกู ปิงปอง สังเกตและบนั ทึกผล
(3) แบ่งนกั เรยี นกล่มุ ละ 5 - 6 คน ปฏิบตั กิ ิจกรรม สร้างแบบจาํ ลองการเกดิ สรุ ิยุปราคา
ตามขนั้ ตอนทางวิทยาศาสตร์ โดยใช้ทกั ษะ/กระบวนการสงั เกตดังนี้
- ทาํ การสงั เกตในหอ้ งมดื เชน่ เดยี วกับการศกึ ษาการเกดิ จนั ทรุปราคา
- สร้างแบบจําลองการเกิดสุริยุปราคา โดยนําไฟฉายวางบนโต๊ะ วัดขนาดของลูกปิงปองกับ
กระจกไฟฉาย ปิดตาข้างเดียวแล้วปรับระยะใกล้-ไกล เพื่อให้ลูกปิงปองมีขนาดใกล้เคียงกับกระจกไฟฉาย เมื่อ
ได้ระยะแล้วเปิดไฟให้ส่องผ่านลูกปิงปอง ค่อย ๆ เล่ือนลูกปิงปองผ่านหน้าไฟฉาย ให้นักเรียนเป็นผู้สังเกตบน
โลก บันทึกผลการสงั เกต
(4) นักเรียนและครูร่วมกนั ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลทไ่ี ด้จากใบกจิ กรรม
(5) ครูคอยแนะนําช่วยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบๆ ห้องเรียนและเปิด
โอกาสให้นกั เรียนทุกคนซกั ถามเมอื่ มีปัญหา
3) ขน้ั อธิบายและลงขอ้ สรปุ
(1) นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มสง่ ตวั แทนกลมุ่ นําเสนอขอ้ มูลจากการปฏบิ ัติกจิ กรรมหน้าชัน้ เรยี น
(2) นักเรียนและครรู ว่ มกันอภปิ รายและหาข้อสรุปจากการปฏิบัติกิจกรรม โดยใชแ้ นวคาํ ถามตอ่ ไปน้ี
โรงเรียนบ้านเปาู
กิจกรรมสรา้ งแบบจําลองการเกดิ จันทรุปราคา
- ถ้าใหเ้ ปรยี บเทียบแสงจากไฟฉาย ลูกบอลพลาสติก และลูกปิงปอง กับดวงอาทิตย์ โลก และดวง
จันทร์ ของแต่ละอย่างเทียบได้กับอะไร (แนวคําตอบ ไฟฉายเทียบได้กับดวงอาทิตย์ ลูกบอลพลาสติกเทียบได้
กบั โลก ลกู ปงิ ปองเทียบได้กับดวงจนั ทร์)
- เม่ือเงาของลูกบอลพลาสติกตกไปบนลูกปิงปอง เรียกว่าเกิดปรากฏการณ์ใด (แนวคําตอบ
ปรากฏการณ์จันทรุปราคา)
กจิ กรรมสร้างแบบจําลองการเกดิ สรุ ิยปุ ราคา
- นักเรยี นมองเหน็ ดวงอาทิตยม์ รี ูปร่างอย่างไร เม่ือลูกปิงปองบังหน้ากระจกไฟฉาย (แนวคําตอบ มี
รปู ร่างเปล่ยี นไป และค่อย ๆ บงั จนหมดดวง)
- นักเรียนคิดว่าการเกิดปรากฏการณ์สุริยุปราคามีประโยชน์หรือไม่ ลักษณะใด (แนวคําตอบ มี
ประโยชนใ์ นการศกึ ษาเกีย่ วกับดวงอาทติ ย์ โดยเฉพาะบรรยากาศรอบนอกท่เี รียกวา่ แสงคอโรนา)
(3) นักเรยี นและครรู ่วมกนั สรปุ ผลจากการปฏิบตั กิ ิจกรรมแตล่ ะกจิ กรรม
4) ขั้นขยายความรู้
(1) ครูให้ความรู้เพิ่มเติมเรื่องพระบิดาแห่งวิทยาศาสตร์ไทย จากน้ันให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับ
ปรากฏการณจ์ นั ทรุปราคาและสรุ ิยปุ ราคาจากหนังสอื วารสาร สารานกุ รมวิทยาศาสตร์ สารานุกรมไทยสําหรับ
เยาวชน และอินเทอร์เน็ต รวมท้ังนําข้อมูลท่ีค้นคว้าได้มาจัดทําเป็นรายงาน หรือจัดปูายนิเทศให้เพ่ือนๆ ได้
ทราบเพอ่ื แลกเปล่ียนเรียนร้กู ัน
(2) นักเรียนค้นคว้ารายละเอียดและคําศัพท์ภาษาต่างประเทศเกี่ยวกับจันทรุปราคาและสุริยุปราคา
จากหนังสอื เรยี นภาษาต่างประเทศหรอื อนิ เทอร์เน็ต
5) ขัน้ ประเมิน
(1) ครใู หน้ ักเรยี นแต่ละคนพจิ ารณาว่าจากหัวขอ้ ทเ่ี รยี นมาและการปฏิบัติกิจกรรมมี จุดใดบ้างที่ยังไม่
เข้าใจหรือยังมขี อ้ สงสยั ถ้ามคี รูช่วยอธบิ ายเพิม่ เตมิ ใหน้ ักเรยี นเข้าใจ
(2) นักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคใด และได้มีการแก้ไข
อย่างไรบา้ ง
(3) ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรมและ
การนําความรู้ท่ีไดไ้ ปใช้ประโยชน์
(4) ครทู ดสอบความเขา้ ใจของนักเรยี นโดยการให้ตอบคําถาม เช่น
- ปรากฏการณ์สรุ ยิ ปุ ราคาท่เี กิดขึน้ นน้ั เน่ืองจากการโคจรของโลก ดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์
มลี กั ษณะใด
- ความรทู้ ี่ไดจ้ ากการเรยี นรู้เรื่องจันทรุปราคาและสรุ ิยปุ ราคาคอื อะไร เกีย่ วข้องกบั การดําเนนิ
ชวี ิตของนกั เรยี นอยา่ งไร
โรงเรียนบ้านเปาู
ขน้ั สรปุ
(1) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเก่ียวกับจันทรุปราคาและสุริยุปราคา โดยร่วมกันเขียนเป็นแผนท่ี
ความคิดหรอื ผังมโนทัศน์
(2) ครูมอบหมายให้นักเรียนไปศึกษาค้นคว้าเนื้อหาของบทเรียนช่ัวโมงหน้า เพื่อจัดการเรียนรู้ครั้ง
ตอ่ ไป โดยให้นักเรียนศึกษาค้นควา้ ลว่ งหนา้ ในหวั ข้อการเดนิ ทางไปอวกาศ
(3) ครูให้นักเรียนเตรียมประเด็นคําถามที่สงสัยมาอย่างน้อยคนละ 1 คําถาม เพ่ือนํามาอภิปราย
ร่วมกนั ในชนั้ เรียนครง้ั ตอ่ ไป
8. กจิ กรรมเสนอแนะ
ใหน้ ักเรียนปฏิบัติกิจกรรมเสรมิ การเรียนรู้ สังเกตเงามืด เงามัว โดยนําปลายแหลมเสียบลูกบอลแล้ว
ใช้กระดาษกาวติดให้แน่น นํากําแพงหรือแผ่นกระดาษมาก้ันเป็นฉากรับแสง ทําการสังเกตในห้องมืด โดยฉาย
ไฟฉายเข้ากับฉาก แล้วนําลูกบอลไปอยู่กลางระหว่างฉากกับไฟฉาย สังเกตลักษณะเงาบนฉาก แล้วเล่ือนลูก
บอลออกจากไฟฉายไปทางฉาก สังเกตลักษณะเงา บันทึกผลการสังเกต แล้วส่งตัวแทนออกมานําเสนอผลการ
ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมหนา้ ชนั้ เรยี น
9. สอ่ื /แหลง่ การเรยี นรู้
1. ใบกิจกรรมที่ 35 สรา้ งแบบจําลองการเกิดจันทรปุ ราคา
2. ใบกิจกรรมท่ี 36 สรา้ งแบบจําลองการเกดิ สุริยุปราคา
3. ใบกจิ กรรมเสริมการเรียนรู้ 1 สังเกตเงามืด เงามัว
4. คู่มอื การสอน วทิ ยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6
5. ส่ือการเรยี นรู้ PowerPoint รายวชิ าพน้ื ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6
6. แบบฝึกทักษะ รายวชิ าพื้นฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 6
7. หนงั สอื เรียน รายวชิ าพนื้ ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6
โรงเรียนบ้านเปาู
10. บนั ทึกหลังการจดั การเรียนรู้
ความคดิ เหน็ /ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
(ลงชอ่ื )..............................................
(นายธนิตย์ พระสนุ นิ )
ผูอ้ ํานวยการโรงเรยี นเค็งใหญห่ นองงเู หลือม
รักษาการในตําแหน่ง ผู้อํานวยการโรงเรียนบา้ นเปูา
บนั ทกึ หลงั การสอน
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
ปญั หา/อปุ สรรค
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
ขอ้ เสนอแนะ
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................................................................................. ............................
..................................................................................................... .........................................................................
(ลงชอ่ื )..............................................
(นางสาววมิ ลรัตน์ ประทปี ะเสน)
ครูผู้ช่วย
โรงเรียนบ้านเปูา
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 46
รายวชิ าวิทยาศาสตร์ (ว16101) ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 6
หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 6 ปรากฏการณโ์ ลกและเทคโนโลยีอวกาศ เวลาเรยี น 9 ชว่ั โมง
เรื่อง การเดินทางไปอวกาศ เวลาจํานวน 2 ชัว่ โมง
**********************************************************************************
1. สาระสาคัญ
การศึกษาด้านอวกาศมีความเจริญก้าวหน้ามาเป็นลําดับ ต้ังแต่สมัยกรีก โรมัน จนกระทั่งปัจจุบัน
มนุษย์ให้ความสนใจศึกษาดวงดาวต่างๆ บนท้องฟูา โดยมนุษย์ได้ประดิษฐ์เคร่ืองมือท่ีช่วยในการศึกษา ได้แก่
กล้องโทรทรรศน์ จากน้ันได้มีการพัฒนามากข้ึน มีการประดิษฐ์จรวด ดาวเทียม ยานอวกาศ ยานขนส่งอวกาศ
และสถานีอวกาศสําหรับใช้ในการศึกษาด้านอวกาศ เพ่ือช่วยให้มนุษย์ได้รับความรู้เก่ียวกับโลกและดวงดาว
ตา่ งๆ มากขน้ึ
2. ตัวช้ีวดั ช้นั ปี
สืบค้น อภปิ รายความก้าวหนา้ และประโยชน์ของเทคโนโลยอี วกาศ (ว 7.2 ป. 6/1)
3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
1. อธบิ ายการเดินทางไปอวกาศซ่ึงทําใหม้ นุษย์เรยี นร้เู ก่ียวกบั วตั ถุท้องฟูาได้ (K)
2. มคี วามสนใจใฝรุ หู้ รืออยากรู้อยากเหน็ (A)
3. พอใจในประสบการณก์ ารเรียนร้ทู ่ีเกยี่ วกบั วทิ ยาศาสตร์ (A)
4. ทํางานร่วมกับผู้อ่นื อย่างสร้างสรรค์ (A)
5. สอ่ื สารและนําความรเู้ ร่ืองการเดนิ ทางไปอวกาศไปใชใ้ นชีวติ ประจําวันได้ (P)
4. การวัดและการประเมนิ ผลการเรียนรู้
ดา้ นความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม และ ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P)
จิตวิทยาศาสตร์ (A)
1. ประเมนิ ทักษะ/กระบวนการ
1. ซักถามความรเู้ รื่องการเดินทาง 1. ประเมนิ เจตคติทาง ทางวิทยาศาสตร์
ไปอวกาศ วิทยาศาสตร์เปน็ รายบุคคล 2. ประเมินทักษะการคิด
3. ประเมินทักษะการแกป้ ญั หา
2. ประเมินกิจกรรมฝกึ ทักษะ 2. ประเมนิ เจตคตติ อ่ วทิ ยาศาสตร์ 4. ประเมนิ พฤติกรรมในการ
ระหวา่ งเรียน เปน็ รายบคุ คล ปฏิบตั กิ จิ กรรมเปน็ รายบุคคล
หรือรายกลุ่ม
โรงเรยี นบ้านเปูา
5. สาระการเรียนรู้
การเดินทางไปอวกาศ
- จรวด
- ดาวเทยี ม
- ยานอวกาศ
- ยานขนส่งอวกาศหรือกระสวยอวกาศ
- สถานีอวกาศ
6. แนวทางการบรู ณาการ
ภาษาไทย สนทนา พดู คุย หรือเล่าประสบการณ์เกี่ยวกบั ความรู้เรื่องการเดนิ ทางไป
อวกาศจากประสบการณ์ของนักเรียน
ศลิ ปะ ตกแต่งและระบายสภี าพวาดท่เี กี่ยวกับกล้องโทรทรรศนจ์ รวด ยานอวกาศ
ดาวเทยี ม หรอื อื่นๆ ทีเ่ กย่ี วกับการศึกษาด้านอวกาศตามจินตนาการของ
นักเรียนใหส้ วยงาม
จัดปูายนิเทศแสดงผลงานเกี่ยวกบั การศึกษาด้านอวกาศจากการศึกษา
คน้ คว้าจากเอกสารทีเ่ ก่ียวข้องและอินเทอร์เนต็
สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
สนทนา พดู คุยเกยี่ วกับการสง่ ดาวเทียมขึ้นสอู่ วกาศของประเทศเพ่ือนบา้ น
เชน่ สงิ คโปรแ์ ละเวยี ดนาม
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ประดิษฐก์ ล้องดูดาว ดาวเทยี ม จรวด ยานอวกาศ ยานขนส่งอวกาศท่ี
นักเรยี นสนใจตามจนิ ตนาการของนักเรียน
ภาษาตา่ งประเทศ ฟัง พดู อา่ น และเขยี นคําศพั ทภ์ าษาตา่ งประเทศเกี่ยวกับการเดินทางไป
อวกาศท่ไี ดเ้ รียนร้หู รือที่นักเรียนสนใจ
7. กระบวนการจัดการเรยี นรู้
ขัน้ นาเขา้ สบู่ ทเรยี น
1) ครูนําภาพท้องฟูาท่ีมีดวงดาวมากมาย ภาพอวกาศท่ีถ่ายโดยนักบินอวกาศ ภาพดาวเทียมและ
อื่นๆ ที่เกี่ยวกับอวกาศมาให้นักเรียนดู และร่วมกันอภิปรายเก่ียวกับการเดินทางไปอวกาศ โดยครูใช้คําถาม
กระตุ้นดงั น้ี
- นักเรียนคิดว่ามนษุ ยเ์ ริม่ สนใจศึกษาวัตถุทอ้ งฟูาตัง้ แต่เม่ือใด เพราะเหตใุ ด
2) นักเรยี นร่วมกนั ตอบคําถามและแสดงความคิดเหน็ เกยี่ วกับคําตอบของคําถาม เพือ่ เชอ่ื มโยง
ไปสู่การเรียนรเู้ รอ่ื ง การเดินทางไปอวกาศ
โรงเรยี นบ้านเปาู
ขัน้ จัดกจิ กรรมการเรยี นรู้
จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับแบบกลับด้านช้ันเรียน ซึ่งมี
ข้นั ตอนดังนี้
1) ขน้ั สร้างความสนใจ
(1) ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนแล้วเปิดโอกาสให้นักเรียนในกลุ่มนําเสนอข้อมูลเก่ียวกับการเดินทางไป
อวกาศ ที่ครูมอบหมายให้ไปเรียนรู้ล่วงหน้าให้เพ่ือนๆ ในกลุ่มฟัง จากนั้นให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนมานําเสนอ
ข้อมลู หนา้ หอ้ งเรยี น
(2) ครตู รวจสอบว่านกั เรยี นทําภาระงานท่ไี ดร้ ับมอบหมายไปหรือไม่ โดยตรวจสอบจากการจดบันทึก
ของนักเรยี น และถามคาํ ถามเก่ยี วกับภาระงาน ดังน้ี
- เครื่องมือที่มนุษย์ใช้ช่วยในการศึกษาความรู้เกี่ยวกับอวกาศคืออะไร (แนวคําตอบ กล้อง
โทรทรรศน์)
- กิจกรรมของนกั บินอวกาศแตกตา่ งจากบนโลกหรือไม่ เพราะอะไร (แนวคําตอบ แตกต่างกัน
เพราะอวกาศปราศจากแรงโนม้ ถ่วง)
(3) ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนต้ังประเด็นคําถามที่นักเรียนสงสัยจากการทําภาระงานอย่างน้อยคนละ
1 คําถาม ซึ่งครูให้นักเรยี นเตรียมมาลว่ งหนา้ และให้นกั เรียนช่วยกนั ตอบและแสดงความคิดเหน็
(4) ครแู ละนกั เรียนรว่ มกันสรปุ เก่ียวกับภาระงาน โดยครชู ว่ ยอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า การเดินทาง
ออกสอู่ วกาศตอ้ งใชย้ านพาหนะพเิ ศษทเ่ี รยี กว่า ยานอวกาศ ยานอวกาศจะถกู สง่ จากโลกโดยจรวด
2) ข้นั สารวจและคน้ หา
(1) ให้นักเรียนศึกษาการเดินทางไปอวกาศจากใบความรู้หรือในหนังสือเรียน โดยครูช่วยอธิบายให้
นักเรียนเข้าใจว่า การเดินทางไปอวกาศต้องอาศัยยานพาหนะพิเศษเพื่อปูองกันอันตรายอันเนื่องมาจากสภาพ
ความดันอากาศที่ต่ํามาก
(2) แบ่งนักเรียนกลุ่มละ 5 - 6 คน ปฏิบัติกิจกรรม สังเกตการเคล่ือนที่ของจรวด ตามขั้นตอนทาง
วทิ ยาศาสตร์ โดยใชท้ กั ษะ/กระบวนการสังเกตดงั น้ี
- เปาุ ลกู โปุงจนมีขนาดใหญ่ ใชม้ อื ปิดปากลูกโปุงไว้
- ปล่อยลกู โปงุ ให้เคลอื่ นท่อี อกไปอย่างอสิ ระ สังเกตการเคล่อื นที่ของลกู โปุงขณะปล่อยออกไป
บนั ทกึ ผลการสงั เกต
(3) นักเรยี นและครูร่วมกนั ตรวจสอบความถูกตอ้ งของข้อมลู ทไ่ี ด้จากใบกิจกรรม
(4) ครูคอยแนะนําช่วยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบ ๆ ห้องเรียนและเปิด
โอกาสใหน้ ักเรียนทกุ คนซกั ถามเมอื่ มปี ัญหา
3) ขน้ั อธิบายและลงข้อสรุป
(1) นักเรียนแตล่ ะกลุม่ ส่งตัวแทนกลุ่มนําเสนอข้อมูลจากการปฏบิ ัติกิจกรรมหนา้ ชนั้ เรยี น
(2) นักเรียนและครรู ่วมกนั อภิปรายและหาข้อสรุปจากการปฏิบัติกิจกรรม โดยใชแ้ นวคาํ ถามต่อไปนี้
โรงเรียนบ้านเปาู
- สงิ่ ใดพงุ่ ออกจากปากลกู โปงุ และมีผลตอ่ การเคลื่อนที่ของลูกโปุงในลักษณะใด (แนวคําตอบ
อากาศทําให้ลกู โปุงเคล่ือนท่ีไปขา้ งหนา้ )
- ถ้าต้องการให้ลูกโปุงเคล่ือนท่ีไปได้ไกล ๆ นักเรียนจะออกแบบลูกโปุงอย่างไร (แนวคําตอบ
ออกแบบใหม้ ีลกั ษณะใหญแ่ ละยาวขน้ึ )
(3) นักเรียนและครรู ว่ มกนั สรุปผลจากการปฏบิ ัติกจิ กรรม โดยให้ได้ขอ้ สรปุ วา่ เม่ือเปดิ ปาก
ลกู โปงุ อากาศจะดนั ลูกโปุงไปในทศิ ทางตรงขา้ มกับทิศการเคลื่อนทีข่ องอวกาศ
4) ขนั้ ขยายความรู้
(1) ครูใหค้ วามรู้เพ่ิมเติมเร่ืองดาวเทียม ยานอวกาศ ยานขนส่งอวกาศหรือกระสวยอวกาศและสถานี
อวกาศ โดยอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่ายานพาหนะแตล่ ะชนดิ มภี ารกจิ อะไรบ้าง จากนั้นให้นักเรียนสืบค้นข้อมูล
เกี่ยวกับการเดินทางไปอวกาศจากหนังสือ วารสาร สารานุกรมวิทยาศาสตร์สารานุกรมไทยสําหรับเยาวชน
และอินเทอร์เน็ต รวมทั้งนําข้อมูลท่ีค้นคว้าได้มาจัดทําเป็นรายงาน หรือจัดปูายนิเทศให้เพื่อนๆ ได้ทราบเพื่อ
แลกเปลีย่ นเรียนร้กู นั
(2) ครูเช่ือมโยงความรู้สู่อาเซียน ครูให้ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับการส่งดาวเทียมขึ้นสู่อวกาศของ
ประเทศเพ่อื นบา้ นในกลมุ่ ประเทศสมาชิกอาเซียน ดงั น้ี
สิงคโปร์ ได้ส่งดาวเทียมเอ็กซ์-แซท ซ่ึงเป็นดาวเทียมดวงแรกท่ีผลิตในสิงคโปร์ร้อยเปอร์เซ็นต์ ข้ึนสู่
อวกาศ เม่ือปี พ.ศ. 2554 ดาวเทียมดวงนี้ได้ถูกออกแบบและสร้างโดยทีมนักวิทยาศาสตร์จากมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีนันยางและทีมวิจัยด้านการปูองกันประเทศของรัฐบาล ดาวเทียมเอ็กซ์-แซท นํ้าหนัก 105 กิโลกรัม
ไดถ้ ูกส่งขน้ึ สอู่ วกาศด้วยจรวดนําส่งขององค์การวิจัยแห่งชาติของอินเดียหรือ ไอเอสอาร์โอ โดยดาวเทียมดวงนี้
มีหน้าที่ถ่ายภาพเพ่ือบันทึกความเปล่ียนแปลงของสภาพแวดล้อม โดยเฉพาะการตรวจสอบปัญหาการกัดเซาะ
หน้าดินทั่วโลก ซึ่งถือเป็นความสําเร็จที่รัฐบาลสิงคโปร์รอคอย หลังแผนการปล่อยดาวเทียมคร้ังน้ีต้องล่าช้ามา
นานกว่า 4 ปี
เวียดนาม ได้ส่งดาวเทียม F - 1 ซึ่งเป็นดาวเทียมดวงแรกที่ผลิตเองสู่อวกาศ เม่ือปี พ.ศ. 2555
ดาวเทียมดวงน้ีมีขนาดเล็กเพียง 10 × 10 × 10 เซนติเมตร มีนํ้าหนักรวม 1 กิโลกรัม ซ่ึงถูกส่งไปพร้อมๆ กับ
ดาวเทียมขนาดเล็กอีก 4 ดวงของประเทศญ่ีปุนและสหรัฐอเมริกา โดยการส่งดาวเทียมขนาดเล็ก F - 1 ของ
เวยี ดนามขน้ึ สู่วงโคจรในครัง้ นี้นบั เป็นความสาํ เรจ็ อีกครงั้ หน่งึ ของสายวทิ ยาศาสตร์และอุตสาหกรรมอวกาศของ
ประเทศเวียดนามในการประยุกต์ใช้ผลสําเร็จทางด้านเทคโนโลยีอวกาศเพื่อมาสนับสนุนกระบวนการพัฒนา
เศรษฐกจิ สงั คม รักษาความมน่ั คงและการปูองกนั ประเทศ
(3) นักเรียนค้นคว้ารายละเอียดและคําศัพท์ภาษาต่างประเทศเกี่ยวกับการเดินทางไปอวกาศจาก
หนังสือเรียนภาษาต่างประเทศหรืออนิ เทอร์เนต็
5) ขน้ั ประเมิน
(1) ครใู ห้นักเรียนแตล่ ะคนพิจารณาวา่ จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจุดใดบ้างท่ียังไม่
เขา้ ใจหรอื ยงั มขี ้อสงสัย ถ้ามีครูชว่ ยอธิบายเพิ่มเตมิ ใหน้ กั เรียนเขา้ ใจ
โรงเรยี นบ้านเปาู
(2) นักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคใด และได้มีการแก้ไข
อยา่ งไรบ้าง
(3) ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรมและ
การนําความรูท้ ่ีได้ไปใชป้ ระโยชน์
(4) ครูทดสอบความเข้าใจของนักเรยี นโดยการใหต้ อบคาํ ถาม เชน่
- การเคลือ่ นท่ขี องลูกโปุงและจรวดใช้หลักการเคล่ือนทเ่ี หมือนหรือแตกตา่ งกัน เพราะเหตุใด
- กิจกรรมต่างๆ ของการสํารวจอวกาศสามารถปฏิบัติได้เหมือนอยู่บนพ้ืนโลกหรือไม่ เพราะ
อะไร
ขั้นสรุป
(1) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับการเดินทางไปอวกาศ โดยร่วมกันเขียนเป็นแผนท่ีความคิด
หรอื ผงั มโนทศั น์
(2) ครูมอบหมายให้นักเรียนไปศึกษาค้นคว้าเนื้อหาของบทเรียนชั่วโมงหน้า เพื่อจัดการเรียนรู้ครั้ง
ตอ่ ไป โดยให้นกั เรียนศึกษาค้นคว้าลว่ งหนา้ ในหวั ข้อประโยชน์ของการสํารวจอวกาศ โดยใช้ใบงาน สํารวจก่อน
เรียน 16 ที่ครูจัดเตรียมไว้ให้ประกอบการศึกษาค้นคว้า (ในสื่อการเรียนรู้ PowerPoint วิทยาศาสตร์ ชั้น
ประถมศกึ ษาปีที่ 6 )
(3) ครูอธิบายขนั้ ตอนการปฏิบัตกิ จิ กรรมและมอบหมายใหน้ กั เรียนไปปฏิบตั ิกิจกรรมท่ีบ้าน พร้อมทั้ง
ให้นักเรยี นเตรียมประเดน็ คําถามทสี่ งสัยมาอย่างน้อยคนละ 1 คําถาม เพ่อื นํามาอภิปรายร่วมกันในชั้นเรียนครั้ง
ตอ่ ไป
8. กิจกรรมเสนอแนะ
ให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมเสริมการเรียนรู้ ประดิษฐ์ยานพาหนะจําลองสํารวจดาวอังคาร โดยวาด
ภาพและออกแบบยานพาหนะบนแผ่นกระดาษ แล้วใช้เศษวัสดุที่หาง่ายในท้องถิ่นมาประดิษฐ์ เช่น เศษ
กระปอ๋ ง เศษโลหะ ลวด จากนนั้ สง่ ตัวแทนออกมานาํ เสนอผลการปฏิบัตกิ จิ กรรมหน้าชั้นเรยี น
9. สอ่ื /แหลง่ การเรียนรู้
1. ภาพทอ้ งฟูาที่มดี วงดาว ภาพอวกาศที่ถ่ายโดยนกั บินอวกาศ ภาพดาวเทยี ม
2. ใบกจิ กรรมท่ี 37 สังเกตการเคล่อื นท่ีของจรวด
3. ใบงานสํารวจก่อนเรยี น 16
4. ใบกจิ กรรมเสริมการเรียนรู้ 2 ประดษิ ฐ์ยานพาหนะจาํ ลองสํารวจดาวอังคาร
5. คมู่ ือการสอน วทิ ยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 6
6. ส่ือการเรียนรู้ PowerPoint รายวิชาพืน้ ฐาน วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
7. แบบฝกึ ทักษะ รายวชิ าพ้ืนฐาน วิทยาศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6
8. หนงั สอื เรยี น รายวิชาพ้ืนฐาน วทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 6
โรงเรียนบา้ นเปูา
10. บันทึกหลงั การจดั การเรยี นรู้
ความคดิ เหน็ /ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
(ลงช่อื )..............................................
(นายธนิตย์ พระสุนิน)
ผอู้ ํานวยการโรงเรียนเค็งใหญ่หนองงเู หลอื ม
รกั ษาการในตาํ แหนง่ ผ้อู าํ นวยการโรงเรียนบ้านเปูา
บนั ทกึ หลังการสอน
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
ปญั หา/อุปสรรค
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
ข้อเสนอแนะ
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
(ลงช่ือ)..............................................
(นางสาววิมลรัตน์ ประทีปะเสน)
ครผู ู้ช่วย
โรงเรยี นบ้านเปูา
แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ 47
รายวชิ าวิทยาศาสตร์ (ว16101) ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 6
หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 6 ปรากฏการณ์โลกและเทคโนโลยีอวกาศ เวลาเรียน 9 ชว่ั โมง
เรอ่ื ง ประโยชนข์ องเทคโนโลยอี วกาศ เวลาจํานวน 2 ช่ัวโมง
**********************************************************************************
1. สาระสาคัญ
การศึกษาด้านอวกาศทําให้มนุษย์มีความรู้เก่ียวกับวัตถุท้องฟูาในระบบสุริยะมากขึ้น นอกจากน้ี
มนษุ ย์ยังได้ประโยชน์โดยตรงจากการสํารวจอวกาศโดยผ่านดาวเทียม 3 ระบบ คือ ดาวเทียมส่ือสารดาวเทียม
สํารวจทรพั ยากรธรรมชาติ และดาวเทยี มอุตุนยิ มวิทยา
2. ตวั ช้ีวดั ช้นั ปี
สืบค้น อภปิ รายความก้าวหนา้ และประโยชนข์ องเทคโนโลยีอวกาศ (ว 7.2 ป. 6/1)
3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. อธิบายเกย่ี วกบั เทคโนโลยอี วกาศทมี่ นษุ ย์ใช้ประโยชนใ์ นด้านต่าง ๆ ได้ (K)
2. มคี วามสนใจใฝุรู้หรอื อยากรอู้ ยากเห็น (A)
3. พอใจในประสบการณ์การเรยี นร้ทู เี่ ก่ียวกบั วทิ ยาศาสตร์ (A)
4. ทํางานร่วมกบั ผอู้ ่นื อยา่ งสร้างสรรค์ (A)
5. สือ่ สารและนาํ ความรู้เร่ืองประโยชน์ของการสาํ รวจอวกาศไปใชใ้ นชวี ิตประจําวนั ได้ (P)
4. การวัดและการประเมินผลการเรยี นรู้
ด้านความรู้ (K) ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และ ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P)
จติ วิทยาศาสตร์ (A)
1. ประเมนิ ทักษะ/กระบวนการ
1. ซกั ถามความรเู้ ร่ือง 1. ประเมนิ เจตคติทาง ทางวิทยาศาสตร์
ประโยชนข์ องการสาํ รวจ วทิ ยาศาสตร์เปน็ รายบคุ คล 2. ประเมินทักษะการคิด
3. ประเมินทักษะการแกป้ ญั หา
อวกาศ 2. ประเมินเจตคตติ อ่ วทิ ยาศาสตร์ 4. ประเมินพฤติกรรมในการปฏิบัติ
2. ประเมนิ กิจกรรมฝึกทักษะ เป็นรายบคุ คล กิจกรรมเป็นรายบุคคลหรอื ราย
กลุ่ม
ระหว่างเรยี น
3. ทดสอบหลงั เรยี น
โรงเรยี นบ้านเปูา
5. สาระการเรียนรู้
ประโยชน์ของการสาํ รวจอวกาศ
- ดาวเทยี มสอื่ สาร
- ดาวเทียมสํารวจทรพั ยากรธรรมชาติ
- ดาวเทยี มอตุ นุ ยิ มวิทยา
6. แนวทางการบูรณาการ สนทนา พูดคยุ หรือเลา่ ประสบการณเ์ กีย่ วกับประโยชนข์ องการสาํ รวจ
ภาษาไทย อวกาศจากประสบการณ์ของนักเรียน
ศลิ ปะ ตกแต่งและระบายสีภาพการสํารวจอวกาศตามจนิ ตนาการของนักเรยี นให้
สวยงาม จัดปาู ยนเิ ทศแสดงผลงานเกย่ี วกบั การสํารวจอวกาศจากการศกึ ษา
ภาษาต่างประเทศ คน้ ควา้ จากเอกสารทเี่ กีย่ วข้องและอินเทอรเ์ น็ต
ฟงั พดู อ่าน และเขยี นคําศพั ท์ภาษาต่างประเทศเกี่ยวกบั ประโยชนข์ องการ
สํารวจอวกาศที่ได้เรียนรหู้ รือท่ีนักเรยี นสนใจ
7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขน้ั นาเขา้ สบู่ ทเรียน
1) ครูถามคําถามนกั เรยี น เพ่ือกระตนุ้ ความสนใจ เช่น
- การเดินทางไปอวกาศมีประโยชน์ต่อมนษุ ย์ในดา้ นใด
2) นักเรียนร่วมกันตอบคําถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคําตอบของคําถาม เพ่ือเช่ือมโยงไปสู่
การเรยี นรู้เร่อื ง ประโยชนข์ องการสํารวจอวกาศ
ขั้นจัดกิจกรรมการเรยี นรู้
จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับแบบกลับด้านช้ันเรียน ซ่ึงมี
ขั้นตอนดังนี้
1) ขั้นสร้างความสนใจ
(1) ครูให้นักเรียนนําใบงาน สํารวจก่อนเรียน 16 ท่ีครูมอบหมายให้ไปเรียนรู้ล่วงหน้าท่ีบ้านมา
อภปิ รายร่วมกันในช้ันเรียน
(2) ครูตรวจสอบว่านักเรียนทํากิจกรรมที่ได้รับมอบหมายไปหรือไม่ โดยตรวจสอบจากการจดบันทึก
ของนักเรียน และถามคําถามเก่ียวกับกจิ กรรม ดงั น้ี
- นักเรียนคิดว่าตนเองเคยได้รับประโยชน์จากการศึกษาและสํารวจด้านอวกาศหรือไม่ เพราะ
อะไร (แนวคาํ ตอบ เคย เพราะได้ทราบข่าวการก่อตวั และเคลื่อนตัวของพายุ)
- เทคโนโลยีอวกาศมีประโยชน์ต่อการสํารวจอวกาศอย่างไร (แนวคําตอบ ทําให้เราได้เรียนรู้
เกีย่ วกบั ระบบสุริยะเพม่ิ ขน้ึ )
โรงเรียนบา้ นเปาู
(3) ครเู ปดิ โอกาสใหน้ ักเรยี นตัง้ ประเด็นคําถามที่นักเรียนสงสัยจากการทํากิจกรรมอย่างน้อยคนละ 1
คาํ ถาม ซึ่งครูใหน้ ักเรยี นเตรียมมาลว่ งหนา้ และให้นกั เรยี นชว่ ยกันตอบและแสดงความคดิ เหน็
(4) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับกิจกรรม สํารวจก่อนเรียน 16 โดยครูช่วยอธิบายให้นักเรียน
เข้าใจว่า มนุษย์ยังได้ประโยชน์โดยตรงจากการสํารวจอวกาศโดยผ่านดาวเทียม 3 ระบบ คือ ดาวเทียมสื่อสาร
ดาวเทียมสาํ รวจทรพั ยากรธรรมชาติ และดาวเทียมอุตุนยิ มวทิ ยา
2) ขั้นสารวจและค้นหา
(1) ให้นักเรียนศึกษาประโยชน์ของการสํารวจอวกาศจากใบความรู้หรือในหนังสือเรียน โดยครูช่วย
อธบิ ายให้นักเรยี นเขา้ ใจว่า การสํารวจอวกาศมีประโยชน์ต่อการดํารงชีวิตของมนษุ ยม์ ากมาย
(2) แบ่งนกั เรยี นกลมุ่ ละ 5 - 6 คน สืบค้นข้อมลู เกี่ยวกบั ประโยชน์ของการสาํ รวจอวกาศ
โดยดาํ เนินการตามขั้นตอนดังนี้
- แต่ละกลุ่มวางแผนการสืบค้นข้อมูล โดยแบ่งหัวข้อประโยชน์ของการสํารวจอวกาศเป็น
หวั ข้อย่อย เชน่ ดาวเทียมส่ือสาร ดาวเทยี มสํารวจทรัพยากรธรรมชาติ ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา ให้สมาชิกแต่ละ
กลมุ่ ชว่ ยกันสืบคน้ ตามหวั ขอ้ ทก่ี ําหนด
- สมาชิกแต่ละกลุ่มช่วยกันสืบค้นข้อมูลตามหัวข้อที่กลุ่มของตนเองรับผิดชอบโดยการสืบค้น
จากหนังสอื วารสาร สารานกุ รมวิทยาศาสตร์ สารานุกรมไทยสําหรบั เยาวชน และอินเทอร์เนต็
- สมาชิกกลุ่มนําข้อมูลที่สืบค้นได้มารายงานให้เพ่ือน ๆ สมาชิกในกลุ่มฟัง รวมท้ังร่วมกัน
อภปิ รายซักถามจนคาดวา่ สมาชิกทุกคนมีความรคู้ วามเขา้ ใจท่ีตรงกนั
- สมาชกิ กลมุ่ ชว่ ยกันสรปุ ความร้ทู ไ่ี ด้ทั้งหมดเปน็ ผลงานของกลมุ่
(3) ครูคอยแนะนําช่วยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบๆ ห้องเรียนและเปิด
โอกาสให้นักเรยี นทุกคนซักถามเมอื่ มปี ัญหา
3) ขนั้ อธบิ ายและลงข้อสรปุ
(1) นักเรียนแต่ละกล่มุ สง่ ตวั แทนกลุม่ นําเสนอข้อมูลจากการปฏบิ ัติกจิ กรรมหน้าชนั้ เรยี น
(2) นักเรียนและครรู ว่ มกนั อภปิ รายและหาขอ้ สรปุ จากการปฏิบัติกิจกรรม โดยใชแ้ นวคาํ ถามต่อไปน้ี
- ประเทศไทยได้รับประโยชน์จากการสํารวจอวกาศหรือไม่ เพราะอะไร (แนวคําตอบ ได้รับ
ประโยชน์ เพราะประเทศไทยได้ประโยชน์โดยตรงจากการสํารวจอวกาศผ่านดาวเทียม โดยใช้บริการผ่าน
ดาวเทียม 3 ระบบ คือ ดาวเทียมสื่อสาร ดาวเทยี มสาํ รวจทรพั ยากรธรรมชาติ และดาวเทียมอตุ นุ ิยมวทิ ยา)
(3) นักเรียนและครูร่วมกันสรุปผลจากการปฏิบัติกิจกรรม โดยให้ได้ข้อสรุปว่า ดาวเทียม แต่ละ
ประเภทให้ประโยชน์ต่อการดาํ รงชีวิตของมนษุ ย์แตกต่างกัน
4) ขั้นขยายความรู้
นักเรียนสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับประโยชน์ของการสํารวจอวกาศจากหนังสือ วารสาร สารานุกรม
วทิ ยาศาสตร์ สารานกุ รมไทยสําหรับเยาวชน และอนิ เทอร์เน็ต รวมทั้งนําขอ้ มลู ที่คน้ ควา้ ไดม้ าจัดทําเป็นรายงาน
หรือจัดปาู ยนเิ ทศให้เพ่อื นๆ ไดท้ ราบเพือ่ แลกเปลยี่ นเรยี นรกู้ นั
โรงเรยี นบ้านเปาู
5) ขัน้ ประเมิน
(1) ครูให้นกั เรียนแตล่ ะคนพิจารณาวา่ จากหวั ข้อทเ่ี รียนมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจุดใดบ้างท่ียังไม่
เขา้ ใจหรือยังมีข้อสงสัย ถ้ามคี รูช่วยอธิบายเพิ่มเติมให้นกั เรยี นเขา้ ใจ
(2) นักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคใด และได้มีการแก้ไข
อยา่ งไรบ้าง
(3) ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ท่ีได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรมและ
การนาํ ความรทู้ ไี่ ดไ้ ปใชป้ ระโยชน์
(4) ครูทดสอบความเข้าใจของนักเรียนโดยการใหต้ อบคําถาม เชน่
- ประโยชนข์ องการสํารวจอวกาศมีข้อดี ขอ้ เสยี อะไรบ้าง
- นักเรยี นไดร้ บั ประโยชน์จากดาวเทียมตา่ ง ๆ ทง้ั ทางตรงและทางออ้ มเรื่องใดบา้ ง
- นักเรียนเห็นดว้ ยหรอื ไม่ถ้าประเทศไทยจะให้ความสนใจเร่ืองการสํารวจอวกาศในด้านต่างๆ
เพราะเหตใุ ด
ขั้นสรุป
(1) ครแู ละนกั เรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับประโยชน์ของการสํารวจอวกาศ โดยร่วมกันเขียนเป็นแผนที่
ความคดิ หรือผังมโนทัศน์
(2) ครูดําเนินการทดสอบหลังเรียน โดยให้นักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียนเพ่ือวัดความก้าวหน้า/
ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 6 ของนกั เรยี น
8. กิจกรรมเสนอแนะ
ครูประเมินด้านความรู้ของนักเรียนตามตัวชี้วัดชั้นปี โดยให้นักเรียนทําแบบทดสอบปลายปี เพื่อวัด
ความกา้ วหน้า/ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 4 - 6 ของนกั เรียน
9.สอ่ื /แหล่งการเรยี นรู้
1. ใบงานสํารวจก่อนเรยี น 16
2. แบบทดสอบหลังเรียน
3. ค่มู ือการสอน วทิ ยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 6
4. สอ่ื การเรยี นรู้ PowerPoint รายวชิ าพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6
5. แบบฝึกทกั ษะ รายวิชาพ้ืนฐาน วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6
6. หนังสอื เรยี น รายวิชาพน้ื ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 6
โรงเรียนบา้ นเปาู
10. บันทกึ หลังการจัดการเรยี นรู้
ความคดิ เห็น/ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
(ลงชื่อ)..............................................
(นายธนติ ย์ พระสุนนิ )
ผู้อาํ นวยการโรงเรียนเค็งใหญ่หนองงเู หลือม
รกั ษาการในตําแหน่ง ผอู้ ํานวยการโรงเรียนบา้ นเปูา
บันทึกหลงั การสอน
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................................................................................................... ..........
ปัญหา/อุปสรรค
........................................................................................................ ......................................................................
............................................................................................................................. .................................................
..................................................................................................................................... .........................................
ข้อเสนอแนะ
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
(ลงชอ่ื )..............................................
(นางสาววิมลรัตน์ ประทีปะเสน)
ครูผู้ชว่ ย