The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

sar ฉบับสมบูรณ์ ปี 66

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sayamon boosri, 2024-06-16 22:15:04

sar ฉบับสมบูรณ์ ปี 66

sar ฉบับสมบูรณ์ ปี 66

การศึกษาขั้นพื้นฐาน และมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน  โดยใช้กระบวนการบริหารแบบมีส่วนร่วม  ระหว่างบ้าน โรงเรียน ร่วมคิดร่วมทำ  มีคณะกรรมการบริหารโรงเรียน  ผู้ทรงคุณวุฒิ  เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาสถานศึกษา กำกับ  ติดตาม  ดูแล ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาฯ การบริหารงานเป็นระบบและมีคุณภาพได้ทัดเทียมตามมาตรฐานสากล   ผู้บริหารยึดหลัก ธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการโรงเรียน   การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่  21   พัฒนาทักษะการคิดและพัฒนาผู้เรียน ด้วยวิธีการที่หลากหลายให้ความสำคัญกับการพัฒนาองค์กร  บุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพการนิเทศการสอน  ตรวจสอบ  ติดตามงาน  แบบกัลยาณมิตร โดยการพัฒนาประสิทธิภาพของการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ใช้สารสนเทศในการบริหารจัดการ  ปรับเปลี่ยนหลักสูตรที่เอื้อต่อการพัฒนาศักยภาพผู้เรียนสร้างพื้นฐานให้กับผู้เรียนทุกด้าน สนับสนุนส่งเสริมให้ผู้เรียนได้มีความพร้อมด้านวิทยาศาสตร์  คณิตศาสตร์และภาษาอังกฤษ  เสริมด้วยภาษาจีน  จัดให้ทุกห้อง เรียนเน้นทักษะภาษาอังกฤษ  เน้นด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ในระดับมัธยมศึกษา โรงเรียนพัฒนาสภาพแวดล้อมให้ร่มรื่ นสวยงาม   สิ่งแวดล้อมที่ดี  การมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย  ร่วมรับผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพ  และ ได้มาตรฐานการศึกษา    โดยดำเนินงานพัฒนาดังนี้        1. โรงเรียนบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล  ระบบการทำงานแบบมีส่วนร่วมการทำงานเป็นทีมสายชั้น   โดยใช้ หลักการการทำงานแบบ  PDCA    โดยดำเนินงานตามรอยพ่อหลวง ( รัชกาลที่ 9 ) ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง    ได้รับโล่รางวัล ยกย่องเชิดชูเกียรติผู้บริหาร งานวันการศึกษาเอกชน ภาคตะวันออก ครั้งที่8  ประจำปี2567  “การศึกษา เอกชน  เพื่อคนรุ่นใหม่   มุ่งสู่นวัตกรรมสร้างสรรค์”  ณ  จังหวัดจันทบุรี    โดย...สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเ อกชน   และสมาคมคณะกรรมการประสานและส่งเสริมการศึกษาเอกชน (ปส.กช.) 2. โรงเรียนจัดระบบและการขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติกิจกรรม / โครงการต่างๆ / การกำกับ ติดตาม ผลการดำเนินงา นโครงการของโรงเรียน   เชื่อมโยงกับโครงการหลักและโครงการรอง   ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดปราจีนบุรี   ที่ส่งเสริมใ ห้ผู้เรียนมีคุณภาพ  3. โรงเรียนมารีวิทยา  MOU ระหว่างสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (สช.)  กับสถาบันส่งเสริมกา รสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) เรื่อง การพัฒนาผู้มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์และเทคโนโล ยีในรูปแบบห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์   ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในโรงเรียนเอกชน  และ MOU  ความร่วมมือทางวิชาการกั บ สถาบัน (สสวท.) / มหาวิทยาลัยราชมงคลธัญบุรี/ ลงนามความร่วมมือทางวิชาการ  กับ  มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพฯ  และ มหาวิทยาลัยของภาครัฐต่างๆ  อย่างต่อเนื่องประจำทุกปีการศึกษา          *  วันจันทร์ที่ 20 มีนาคม  2566  พิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ ( MOU )  ไทย - แคนาดา                       โครงการทุนนักเรียนแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมระหว่างประเทศ  ณ  โรงแรมอมารี  ดอนเมือง  แอร์พอร์ต  กรุงเทพฯ                4. โรงเรียนจัดกิจกรรมทักษะการสื่อสาร  ด้านภาษาต่างประเทศ                  4.1 ภาษาอังกฤษ  ออกเสียงด้วยสำเนียง  CNN  ของสถาบันTHambrit  โดย Mr.Paul  4.2 ภาษาจีน  โดยครูผู้สอนเป็นเจ้าของภาษา และ โรงเรียนมารีวิทยา MOU กับมหาวิทยาลัยบูรพา  จังหวัดชลบุรี  ในการสอบภาษาจีน  HSK  ของระดับชั้นมัธยมศึกษา   5. โรงเรียนมารีวิทยา  มีศูนย์เครือข่ายวิชาการของบริษัทต่างๆ  โดยการเรียนในรูปแบบออนไลน์   ( Smart  Class Room ) เช่น โปรแกรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์  Learn Education / ภาคภาษาอังกฤษ / ภาควิชาการ  English  For Tcas   6. ประสานความร่วมมือระหว่างครูผู้ปกครอง ชุมชนให้มีบทบาทและมีส่วนร่วมการเรียนรู้ของนักเรียนในการเรียน รู้แบบ  Active Learnning  โดยบูรณาการสะเต็มศึกษา  STEM  Education / ทักษะในศตวรรษที่ 21 7. โรงเรียนพัฒนาระบบเทคโนโลยี  สารสนเทศที่สนับสนุน  การบริหารจัดการและการเรียนรู้ครูและบุคลากรใช้  หน้า 101 จาก 114


ICT  นวัตกรรมเทคโนโลยีมาใช้ในการเรียนการสอนให้ทันต่อความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี  และใช้ประโยชน์เต็มศักยภาพ  8. โรงเรียนสนับสนุนให้ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงบูรณาการศึกษาหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ภายในและภายนอก  9. แนะแนวการศึกษาต่อระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย  สายสามัญและสายอาชีพ   แนะแนวการศึกษาต่อระดับ  ชั้น ม.1  และ ชั้น ม.4   โดยเชิญวิทยากรจากภายนอกและสถาบันต่างๆ 10. โรงเรียนสนับสนุนร่วมกิจกรรมเยาวชนจิตอาสาของจังหวัดปราจีนบุรี  และร่วมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม จัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้  และจัดการเรียนรู้แบบเศรษฐกิจพอเพียง   11. โรงเรียนประสานความร่วมมือในโครงการ / งาน / กิจกรรมต่างๆของโรงเรียนกับชุมชนในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้  ร่วมกันระหว่างบุคลากรภายในระหว่างโรงเรียนกับครอบครัวชุมชนและองค์กรที่เกี่ยวข้องเป็นอย่างดี หน้า 102 จาก 114


มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ จำนวนครูทั้งหมด : 81 การปฏิบัติงาน ประเด็นพิจารณา ปฏิบัติ ไม่ ปฏิบัติ เป้าหมาย ร้อยละ จำนวนครู ที่ผ่านเกณฑ์ ที่โรงเรียน กำหนด (คน) ผลการ ประเมิน (ร้อยละ) ผลการ ประเมิน คุณภาพ ที่ได้ 1. จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ ใช้ในชีวิตได้ 90.00 81 100.00 ยอดเยี่ยม 1.1 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด ของหลักสูตรสถานศึกษาที่เน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ โดยผ่าน กระบวนการคิดและปฏิบัติจริง √ - 81 1.2 มีแผนการจัดการเรียนรู้ที่สามารถนำไปจัดกิจกรรมได้จริง √ - 81 1.3 มีรูปแบบการจัดการเรียนรู้เฉพาะสำหรับผู้ที่มีความ จำเป็น และต้องการความช่วยเหลือพิเศษ √ - 81 1.4 ฝึกทักษะให้ผู้เรียนได้แสดงออก แสดงความคิดเห็น สรุป องค์ความรู้ และนำเสนอผลงาน √ - 81 1.5 สามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียนสามารถนำไปประ ยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ √ - 81 2. ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อ ต่อการเรียนรู้ 90.00 81 100.00 ยอดเยี่ยม 2.1 ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการเรียนรู้ √ - 81 2.2 ใช้แหล่งเรียนรู้ และภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการเรียนรู้ √ - 81 2.3 สร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้แสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากสื่อ ที่หลากหลาย √ - 81 3. มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก 90.00 81 100.00 ยอดเยี่ยม 3.1 ผู้สอนมีการบริหารจัดการชั้นเรียน โดยเน้นการมีปฏิ สัมพันธ์เชิงบวก √ - 81 3.2 ผู้สอนมีการบริหารจัดการชั้นเรียน ให้เด็กรักครู ครูรักเด็ก และเด็กรักเด็ก เด็กรักที่จะเรียนรู้ สามารถเรียนรู้ร่วมกันอย่าง มีความสุข √ - 81 4. ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และ นำผลมาพัฒนาผู้เรียน 90.00 81 100.00 ยอดเยี่ยม 4.1 มีการตรวจสอบและประเมินคุณภาพการจัดการเรียนรู้ อย่างเป็นระบบ √ - 81 4.2 มีขั้นตอนโดยใช้เครื่องมือและวิธีการวัดและประเมินผลที่ เหมาะสมกับเป้าหมายในการจัดการเรียนรู้ √ - 81 4.3 เปิดโอกาสให้ผู้เรียนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมีส่วนร่วมใน √ - 81 หน้า 103 จาก 114


การปฏิบัติงาน ประเด็นพิจารณา ปฏิบัติ ไม่ ปฏิบัติ เป้าหมาย ร้อยละ จำนวนครู ที่ผ่านเกณฑ์ ที่โรงเรียน กำหนด (คน) ผลการ ประเมิน (ร้อยละ) ผลการ ประเมิน คุณภาพ ที่ได้ การวัดและประเมินผล 4.4 ให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียนเพื่อนำไปใช้ในการพัฒนาการ เรียนรู้ √ - 81 5. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับ เพื่อพัฒนาปรับปรุงการจัด การเรียนรู้ 90.00 81 100.00 ยอดเยี่ยม 5.1 และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องร่วมกันแลกเปลี่ยนความรู้และประส บการณ์ในการจัดการเรียนรู้ √ - 81 5.2 นำข้อมูลป้อนกลับไปใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาการจัด การเรียนรู้ของตนเอง √ - 81 สรุปผลการประเมิน 100.00 ยอดเยี่ยม จุดเน้นและกระบวนการพัฒนาที่ส่งผลต่อระดับคุณภาพของมาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การพัฒนากระบวนการเรียนการสอนของครูและผู้เรียน โรงเรียนมารีวิทยาจัดเตรียมผู้เรียนให้พร้อมในการเป็นพลเมือง อาเซียนและพลโลก  การปรับเปลี่ยนหลักสูตรที่เอื้อต่อการพัฒนาศักยภาพผู้เรียน  สร้างพื้นฐานให้กับผู้เรียนทุกด้านให้ผู้เรียน มีความพร้อมด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และภาษาอังกฤษ เสริมด้วยภาษาจีน  และจัดให้มีห้องเรียนที่เน้นภาษาอังกฤษ ห้องเรียนที่เน้นด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ในระดับมัธยมศึกษา  การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญและ การเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21 พัฒนาทักษะการคิดจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่ส่งเสริม และตอบสนองความต้องการความ สามารถความถนัดและความสนใจของผู้เรียนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนมีการจัดกระบวนการเรียนรู้เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง    มีกระบวนการดำเนินงานที่ชัดเจนเป็นระบบตามกระบวนการ   PDCA  การเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง  มีแหล่งเรียนรู้ที่หลาก หลาย การค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเองจากการอ่านฟัง ดูพูด เขียน และใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้และนำเสนอผลงาน มีการทำ งานร่วมกันเป็นกลุ่ม  และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน   มีการจัดกระบวนการเรียนการสอนแบบกลุ่ม และการเรียนการสอนแบบโครงงานอย่างมีแบบแผน และต่อเนื่อง   ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแต่ละกลุ่มสาระเรียนรู้  เป็นไปตามเกณฑ์  มีวิธีการวัดผลและประเมินผลที่หลากหลาย  มีคุณภาพตามศักยภาพความรู้ความสามารถที่แท้จริงของผู้เรียน มีการพัฒนาศักยภาพครูและบุคลากรด้วยวิธีที่หลากหลายผู้เรียน   ได้มีกระบวนการเรียนรู้ที่ได้ลงมือปฏิบัติจริงจนสามารถสรุป ความรู้ได้ด้วยตนเอง   พัฒนาการนิเทศภายใน เครื่องมือ  กำกับติดตามตรวจสอบและนำผลไปปรับปรุงการเรียนการสอนอย่าง สม่ำเสมอ และจัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนให้มีประสิทธิภาพอย่างสม่ำเสมอ   ส่งผลให้สถานศึกษาบรรลุเป้าหมายการจัดทำ และพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาตามที่กำหนดไว้ในแผนปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล หน้า 104 จาก 114


2. สรุปผลการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับปฐมวัย 1. มาตรฐานการศึกษา มาตรฐานการศึกษา ระดับ คุณภาพ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก ยอดเยี่ยม 1. มีพัฒนาด้านร่างกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้ ยอดเยี่ยม 2. มีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณ์ได้ ยอดเยี่ยม 3. มีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเองและเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม ยอดเยี่ยม 4. มีพัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้ มีทักษะการคิดพื้นฐาน และแสวงหาความรู้ได้ ยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ยอดเยี่ยม 1. มีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการทั้งสี่ด้าน สอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่น ยอดเยี่ยม 2. จัดครูให้เพียงพอกับชั้นเรียน ยอดเยี่ยม 3. ส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์ ยอดเยี่ยม 4. จัดสภาพแวดล้อมและสื่อเพื่อการเรียนรู้อย่างปลอดภัยและเพียงพอ ยอดเยี่ยม 5. ให้บริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนรู้เพื่อสนับสนุน การจัดประสบการณ์ ยอดเยี่ยม 6. มีระบบบริหารคุณภาพที่เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม ยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ ยอดเยี่ยม 1. จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทุกด้าน อย่างสมดุลเต็มศักยภาพ ยอดเยี่ยม 2. สร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและปฏิบัติอย่างมีความสุข ยอดเยี่ยม 3. จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ใช้สื่อและเทคโนโลยี ที่เหมาะสมกับวัย ยอดเยี่ยม 4. ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและนำผลการประเมินพัฒนาการเด็กไปปรับปรุงการจัดประสบก ารณ์และพัฒนาเด็ก ยอดเยี่ยม สรุปผลการประเมินระดับปฐมวัย ยอดเยี่ยม หน้า 105 จาก 114


ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1. มาตรฐานการศึกษา มาตรฐานการศึกษา ระดับ คุณภาพ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน ยอดเยี่ยม 1. มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และ การคิดคำนวณ ยอดเยี่ยม 2. มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแก้ปั ญหา ยอดเยี่ยม 3. มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม ยอดเยี่ยม 4. มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร ยอดเยี่ยม 5. มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา ยอดเยี่ยม 6. มีความรู้ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ ยอดเยี่ยม 7. การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด ยอดเยี่ยม 8. ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย ยอดเยี่ยม 9. การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย ยอดเยี่ยม 10. สุขภาวะทางร่างกายและจิตสังคม ยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ยอดเยี่ยม 1. มีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน ยอดเยี่ยม 2. มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา ยอดเยี่ยม 3. ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย ยอดเยี่ยม 4. พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ ยอดเยี่ยม 5. จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ อย่างมีคุณภาพ ยอดเยี่ยม 6. จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและ การจัดการเรียนรู้ ยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ยอดเยี่ยม 1. จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ ยอดเยี่ยม 2. ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อ ต่อการเรียนรู้ ยอดเยี่ยม 3. มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก ยอดเยี่ยม 4. ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และ นำผลมาพัฒนาผู้เรียน ยอดเยี่ยม 5. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับ เพื่อพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ ยอดเยี่ยม สรุปผลการประเมินระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ยอดเยี่ยม หน้า 106 จาก 114


3. ความโดดเด่นของสถานศึกษา - มีผลการประเมินคุณภาพภายนอกครั้งล่าสุดระดับดีขึ้นไปทุกมาตรฐาน หรือเป็นสถานศึกษาที่ได้รับรางวัลพระราชทาน ภายในระยะเวลา 10 ปี - ผลการประเมินคุณภาพภายนอกครั้งล่าสุดระดับดีขึ้นไปทุกมาตรฐาน - มีเครือข่ายร่วมพัฒนาหรือการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ หรือเผยแพร่ผลงานทางการศึกษากับสถาบันอื่นในภาครัฐหรือเอกชน ภายในประเทศ/นอกประเทศ - 1. โรงเรียนมารีวิทยา MOU ระหว่างสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (สช.) กับสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) เรื่อง การพัฒนาผู้มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี ในรูปแบบห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในโรงเรียนเอกชน และ MOU ความร่วมมือทางวิชาการกับ สถาบัน (สสวท.) / มหาวิทยาลัยราชมงคลธัญบุรี / ลงนามความร่วมมือทางวิชาการ กับ มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพฯ และมหาวิทยาลัยของภาครัฐต่างๆ อย่างต่อเนื่องประจำทุกปีการศึกษา * วันจันทร์ที่ 20 มีนาคม 2566 พิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ ( MOU ) ไทย - แคนาดา โครงการทุนนักเรียนแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมระหว่างประเทศ ณ โรงแรมอมารี ดอนเมือง แอร์พอร์ต กรุงเทพฯ 2. กิจกรรมศาสนสัมพันธ์ ยอมรับความคิดภายใต้วัฒนธรรม การอยู่ร่วมกันบนความแตกต่าง หลากหลายและมีความรู้สึกที่ดีต่อชุมชน และครอบครัวรวมถึงสถาบันได้อย่างมีเหตุผล ทั้ง 3 ศาสนาสอนให้ดำเนินชีวิตตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ เพื่อความสันติวัฒนธรรมภายใต้ความปรองดอง - มีโครงการที่สนับสนุนให้ความช่วยเหลือสังคม หรือโครงการส่งเสริมการมีจิตสาธารณะ - 1.โครงการคุณธรรม นำทาง ศาสนธรรมนำใจ ใฝ่ประพฤติดี นำชีวีมีสุข จัดกิจกรรมจิตสาธารณะ จิตอาสา พัฒนาสังคม นักเรียนชั้น ป.1 – ม.6 จำนวน 1,545 คน ในการทำกิจกรรมปลูกจิตสำนึก ฝึกจิตอาสา ในสัปดาห์ส่งเสริม พระพุทธศาสนา และกิจกรรมวันสำคัญๆ 2. โครงการส่งเสริมคุณค่าของพระวรสารตามอัตลักษณ์โรงเรียนมารีวิทยา - นักเรียนได้รับรางวัลระดับประเทศ/นานาชาติ ภายในระยะเวลา 3 ปี - 1. รางวัล วัฒนคุณาธร ระดับชาติ ผู้ทำคุณประโยชน์ต่อกระทรวงวัฒนธรรม ประเภทเยาวชน ปี 2566 รับโล่รางวัล จากนายเสริมศักดิ์ พงษ์พานิช รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม ณ ตึกสันติไมตรี ทำเนียบรัฐบาล 2. รางวัล วัฒนธรรมวินิต ระดับชาติ ประจำปี 2567 โล่รางวัลจาก นายเสริมศักดิ์ พงษ์พานิช รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม ณ ตึกสันติไมตรี ทำเนียบรัฐบาล 3. รางวัลชนะเลิศ ถ้วยจากนายกรัฐมนตรี นายเศรษฐา ทวีสิน การประกวด คัลเลอร์การ์ด Band Competition of Thailand 2023 4. รางวัลเหรียญทอง รอบชิงชนะเลิศ การประกวดอินโฟกราฟิก และคลิปวีดีโอ ดิจิแฟมอัลวอร์ดปีที่ 3 ชิงถ้วยพระราชทาน สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระศรีสวางควัฒน์ วรขัติยราชนารี 5. ชนะเลิศการประกวด ทรูยังโปรดิวเซอร์ อัลวอร์ด 2023 ระดับมหาวิทยาลัย ชิงถ้วยพระราชทาน สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 6. รางวัลชนะเลิศ การประกวดบรรเลงเดี่ยวเครื่องดนตรี RWSC World wind soloist Competition 2023 7. รางวัลเหรียญทอง ชนะเลิศการแข่งขันมายากล ระดับชั้น ม.1-ม.6 งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนครั้งที่ 71 8. รางวัลชนะเลิศ เหรียญทองเกียรติยศ ถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว การแข่งขัน Bangkok Christian College Music Competition 2023 ประเภท บรรเลงเดี่ยวลมไม้ เครื่องลมทองเหลือง 9. เหรียญทอง การประกวดวงโยธวาทิตโลก ชิงถ้วยพระราชทาน สมเด็จเจ้าฟ้า พัชรกิติยาภาฯ แห่งประเทศไทย Thailand World Music Championships 2023 ประเภท Modern Concert Band Division 2 10. ชนะเลิศ ถ้วยจากนายก นายเศรษฐา ทวีสิน การประกวดวงโยธวาทิต แห่งประเทศไทย Band Competition of Thailand 2023 11. เหรียญทอง หน้า 107 จาก 114


การแข่งขัน The North Eastern Winds Festival 2023 12. เหรียญทองเกียรติยศ ถ้วยพระราชทานฯ รายการ BCC Music Competition 2023 บรรเลงเดี่ยวลมไม้ - เครื่องลมทองเหลือง 13. รางวัลชนะเลิศอันดับ ที่ 1 การแข่งขันกีฬาบริดจ์ระดับประเทศ The 3rd RBSC CHAYAWAT’S CUP 2023 - มีแผนการเรียนที่หลากหลายตอบสนองความต้องการของ นักเรียน และผู้ปกครอง - มีแผนพัฒนาครูและครูทุกคนได้รับการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง - มีระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน - มีมาตรการรักษาความปลอดภัยอย่างเป็นระบบ - ร้อยละของนักเรียนที่มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ร้อยละการศึกษาปฐมวัย 98.8 ร้อยละระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานะ 98.76 หน้า 108 จาก 114


4. จุดเด่น ระดับปฐมวัย 1. เด็กพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคม และสติปัญญาเป็นไปตามเกณฑ์ เหมาะสมตามวัย 2. เด็กสามารถปฏิบัติตามหลักธรรมคำสอนของศาสนาที่ตนเองนับถือ 3. เด็กเรียนรู้และยอบรับกฎระเบียบ การอยู่ร่วมกันในสังคม มีวินัย 4. เด็กมีความเมตตากรุณา เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ รู้จักการเสียสละ 5. เด็กมีทักษะทางการสื่อสารภาษาต่างประเทศ สื่อสารได้เหมาะสมตามวัย 6. เด็กมีความมั่นใจในตนเอง กล้าคิด กล้าแสดงออก 7. เด็กรู้จักการเป็นผู้นำและผู้ตาม ทำงานร่วมกับผู้อื่น 8. เด็กมีทักษะการใช้กล้ามเนื้อ ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ได้ดี เหมาะสมตามวัย 9. เด็กมีจินตนาการ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ รู้จักแสวงหาความรู้ 10. เด็กดูแลความปลอดภัยของตนเอง มีทักษะในการช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นได้ตามวัย 11. เด็กมีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ที่เหมาะสมกับวัย 12. เด็กมีความพร้อมในการศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น 13. เด็กมีมารยาท สัมมาคารวะตามแบบวัฒนธรรมไทย 14. เด็กมีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี ยอมรับและชื่นชมผู้อื่น 15. เด็กมีสุขนิสัยที่ดี สามารถเลือกรับประทานอาหารมีประโยชน์ 16. ผู้บริหารมีความสามารถในการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ มีระบบฐานข้อมูลสารสนเทศของสถานศึกษา 17. ผู้บริหารกำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจของสถานศึกษาไว้อย่างชัดเจนตามบริบทของสถานศึกษา 18. ผู้บริหารจัดการศึกษาครอบคลุมพัฒนาการของเด็กทุกด้าน สอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่น 19. ผู้บริหารส่งเสริมการทำงานเป็นทีม ความร่วมมือกันในสถานศึกษา ท้องถิ่น และผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย 20. ผู้บริหารจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ มีความปลอดภัย 21. ผู้บริหารจัดสิ่งอำนวยความสะดวก และบริการด้านสื่อเทคโนโลยีที่ครบถ้วนเพียงพอ 22. ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์และภาวะผู้นำ ทั้งด้านวิชาการ และการบริหาร 23. ผู้บริหารได้รับรางวัลทางด้านการบริหารดีเด่น มีผลงานเป็นที่ประจักษ์ 24. ผู้บริหารประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี มีมนุษยสัมพันธ์ดี มีคุณธรรม จริยธรรม 25. ผู้บริหารมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ พัฒนาตนเองให้มีความรู้ ทันสมัย ทันต่อสถานการณ์อยู่เสมอ หน้า 109 จาก 114


26. ผู้บริหารสร้างขวัญและกำลังใจให้กับบุคลากรในโรงเรียน 27. ผู้บริหารมีความเป็นประชาธิปไตย เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม 28. ผู้บริหารจัดการงานบุคคลและงบประมาณได้อย่างมีประสิทธิภาพ 29. ผู้บริหารส่งเสริม สนับสนุน การพัฒนาความสามารถของครูให้ความเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์ให้กับเด็ก 30. ผู้บริหารมีกระบวนการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน การนิเทศครูผู้สอน 31. ครูจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ เน้นการปฏิบัติจริงมีประสิทธิภาพส่งผลต่อพัฒนาการเด็กทุกด้าน 32. ครูปลูกฝังเด็กให้มีวินัย มีเหตุผล กล้าแสดงออกในสิ่งที่ถูกต้อง เป็นแบบอย่างที่ดีให้กับเด็ก 33. ครูมีความสามารถในการใช้สื่อ เทคโนโลยี และนำมาใช้ในการจัดประสบการณ์ได้อย่างเหมาะสม 34. ครูสามารถบูรณาการสื่อสำหรับการจัดประสบการณ์ได้เป็นอย่างดีและทันต่อสถานการณ์ปัจจุบัน 35. ครูมีการวิเคราะห์หลักสูตร รู้เป้าหมายการจัดการศึกษาของสถานศึกษา 36. ครูนำผลการประเมินเด็ก การจัดประสบการณ์ในชั้นเรียนมาปรับพัฒนาคุณภาพให้ดีขึ้น 37. ครูประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริง ประเมินเด็กเป็นรายบุคคล ใช้กระบวนการวัดและประเมินผลที่หลากหลาย 38. ครูจัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ บริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก 39. ครูจัดสภาพแวดล้อมในห้องเรียนสะอาด ปลอดภัย มีความใกล้ชิดดูแลเอาใจใส่เด็กอย่างทั่วถึง 40. ครูมีการทำวิจัยในชั้นเรียน และนำกระบวนการวิจัยในชั้นเรียนมาใช้ 41. ครูมีการทำงานร่วมกันเป็นทีม มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ปกครอง ชุมชน 42. ครูมีความรู้ ความสามารถตรงตามคุณสมบัติ ตรงกับงานที่รับผิดชอบ 43. ครูมีความตั้งใจและมุ่งมั่นในการปฏิบัติหน้าที่ ขยัน อดทน เสียสละ 44. ครูพัฒนาตนเองอย่างสม่ำเสมอด้วยการเข้าร่วมอบรม ศึกษาดูงาน ติดตามข่าวสาร ข้อมูล นวัตกรรมใหม่ๆ 45. ครูจัดทำนวัตกรรมหรือแบบอย่างที่ดี และเผยแพร่ต่อสาธารณชนหรือผู้ที่สนใจ 46. กิจกรรมประเภทให้ความรู้ด้านการเงิน การออม การลงทุน 47. กิจกรรมประเภทโครงการออมทรัพย์นักเรียน สหกรณ์โรงเรียน ธนาคารโรงเรียน 48. กิจกรรมประเภทให้ความรู้และปลูกสร้างจิตสำนึกด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม 49. กิจกรรมประเภทส่งเสริมการมีส่วนร่วมของบุคลากรและนักเรียนในการอนุรักษ์พลังงานหรือเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน เพิ่มเติมอื่นๆ (ระดับปฐมวัย) ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน หน้า 110 จาก 114


1. กิจกรรมประเภทให้ความรู้และปลูกสร้างจิตสำนึกด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม 2. กิจกรรมประเภทส่งเสริมการมีส่วนร่วมของบุคลากรและนักเรียนในการอนุรักษ์พลังงานหรือเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน 3. ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การคิดวิเคราะห์และการคิดคำนวณสูงกว่าเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด 4. ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด 5. ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สูงกว่าเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด 6. ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ปฏิบัติตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนเองนับถือ 7. ผู้เรียนมีสุขภาพกาย มีสุขภาพจิตที่ดี มีความสุข มีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์มาตรฐาน 8. ผู้เรียนสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสารได้อย่างเหมาะสม 9. ผู้เรียนยอมรับกฎระเบียบ การอยู่ร่วมกันในสังคม มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี ยอมรับและชื่นชมผู้อื่น 10. ผู้เรียนมีทักษะทางการสื่อสารภาษาต่างประเทศ การใช้ภาษาที่ 3 ในการสื่อสาร 11. ผู้เรียนได้รับรางวัล ความโดดเด่นทางด้านวิชาการ กีฬา ศิลปะ 12. ผู้เรียนมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีความมั่นใจในตนเอง กล้าคิด กล้าแสดงออก 13. ผู้เรียนรู้จักการเป็นผู้นำและผู้ตาม มีความรับผิดชอบ ทำงานเป็นทีม ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ 14. ผู้เรียนดูแลความปลอดภัยของตนเอง มีทักษะในการช่วยเหลือตนเองและผู้อื่น 15. ผู้เรียนมีมารยาท สัมมาคารวะตามแบบวัฒนธรรมไทย 16. ผู้เรียนรู้จักการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า ประหยัด อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม 17. ผู้เรียนเข้าใจพิษภัยและอยู่ห่างไกลจากสิ่งเสพติด สถานการณ์ที่เสี่ยงต่ออันตราย 18. ผู้บริหารมีความสามารถในการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ มีระบบฐานข้อมูลสารสนเทศของสถานศึกษา 19. ผู้บริหารกำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจของสถานศึกษาไว้อย่างชัดเจนตามบริบทของสถานศึกษา 20. ผู้บริหารจัดการศึกษาครอบคลุมพัฒนาการของเด็กทุกด้าน สอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่น 21. ผู้บริหารส่งเสริมการทำงานเป็นทีม ความร่วมมือกันในสถานศึกษา ท้องถิ่น และผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย 22. ผู้บริหารจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ มีความปลอดภัย มีทรัพยากรการเรียนรู้ที่เพียงพอ 23. ผู้บริหารจัดสิ่งอำนวยความสะดวก และบริการด้านสื่อเทคโนโลยีที่ครบถ้วนเพียงพอ 24. ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์และภาวะผู้นำ ทั้งด้านวิชาการ และการบริหาร 25. ผู้บริหารได้รับรางวัลทางด้านการบริหารดีเด่น มีผลงานเป็นที่ประจักษ์ 26. ผู้บริหารประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี มีมนุษย์สัมพันธ์ดี มีคุณธรรม จริยธรรม 27. ผู้บริหารมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ พัฒนาตนเองให้มีความรู้ ทันสมัย ทันต่อสถานการณ์อยู่เสมอ หน้า 111 จาก 114


28. ผู้บริหารสร้างขวัญและกำลังใจให้กับบุคลากรในโรงเรียน 29. ผู้บริหารบริหารงานอย่างมีคุณภาพ ความเป็นประชาธิปไตย เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม 30. ผู้บริหารบริหารงานบุคคลและงบประมาณได้อย่างมีประสิทธิภาพ 31. ผู้บริหารส่งเสริม สนับสนุน การพัฒนาความสามารถของครูให้ความเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์ให้กับเด็ก 32. ผู้บริหารมีกระบวนการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน การนิเทศครูผู้สอน 33. ครูจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เน้นการปฏิบัติจริง 34. ครูปลูกฝังผู้เรียนให้มีวินัย มีเหตุผล กล้าแสดงออกในสิ่งที่ถูกต้อง เป็นแบบอย่างที่ดีให้กับผู้เรียน 35. ครูมีความสามารถในการใช้สื่อ เทคโนโลยี และนำมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนได้อย่างเหมาะสม 36. ครูผลิตสื่อการเรียนการสอนที่หลากหลาย สามารถบูรณาการสื่อการเรียนการสอนได้เป็นอย่างดีและทันต่อสถานการณ์ปัจจุบัน 37. ครูมีการวิเคราะห์หลักสูตร รู้เป้าหมายการจัดการศึกษาของสถานศึกษา 38. ครูนำผลการประเมินการเรียนการสอนมาปรับพัฒนาคุณภาพให้ดีขึ้น 39. ครูประเมินผลผู้เรียนตามสภาพจริง ประเมินผู้เรียนเป็นรายบุคคล ใช้กระบวนการวัดและประเมินผลที่หลากหลาย 40. ครูจัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ บริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก 41. ครูจัดสภาพแวดล้อมในห้องเรียนสะอาด ปลอดภัย มีความใกล้ชิดดูแลเอาใจใส่ผู้เรียนอย่างทั่วถึง 42. ครูมีการทำวิจัยในชั้นเรียน และนำกระบวนการวิจัยในชั้นเรียนมาใช้ 43. ครูมีการทำงานร่วมกันเป็นทีม มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ปกครอง ชุมชน 44. ครูมีความรู้ ความสามารถตรงตามคุณสมบัติ ตรงกับงานที่รับผิดชอบ 45. ครูมีความตั้งใจและมุ่งมั่นในการปฏิบัติหน้าที่ ขยัน อดทน เสียสละ 46. ครูพัฒนาตนเองอย่างสม่ำเสมอด้วยการเข้าร่วมอบรม ศึกษาดูงาน ติดตามข่าวสาร ข้อมูล นวัตกรรมใหม่ๆ 47. ครูจัดทำนวัตกรรมหรือแบบอย่างที่ดี และเผยแพร่ต่อสาธารณชนหรือผู้ที่สนใจ 48. กิจกรรมประเภทให้ความรู้ด้านการเงิน การออม การลงทุน 49. กิจกรรมประเภทโครงการออมทรัพย์นักเรียน สหกรณ์โรงเรียน ธนาคารโรงเรียน เพิ่มเติมอื่นๆ (ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน) 5. จุดควรพัฒนา ระดับปฐมวัย 1. เด็กมีส่วนสูง น้ำหนัก ไม่เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน หน้า 112 จาก 114


2. ครูขาดทักษะในการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดประสบการณ์ให้กับเด็ก เพิ่มเติมอื่นๆ (ระดับปฐมวัย) ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1. ผู้เรียนขาดทักษะการคิดวิเคราะห์ การคิดรวบยอด การแก้ไขปัญหา 2. ผู้เรียนขาดการมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ความคิดรวบยอด คิดแก้ปัญหา ไม่สามารถวิเคราะห์เหตุและผล 3. ผู้เรียนขาดการคิดนอกกรอบ พัฒนาการสร้างนวัตกรรม ความคิดสร้างสรรค์ 4. ผู้บริหารขาดการส่งเสริมให้ครู บุคลากร ได้พัฒนาตนเองจนมีความเชี่ยวชาญในการจัดการเรียนการสอน 5. ผู้บริหารไม่มีกระบวนการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน การนิเทศครูผู้สอน 6. ครูขาดความรู้ ทักษะในกระบวนการจัดการเรียนการสอน จบไม่ตรงสาขาที่สอน 7. ครูขาดการวิจัยในชั้นเรียน ไม่นำงานวิจัยมาประยุกต์ใช้ในชั้นเรียน 8. ครูไม่มีการสร้าง การเผยแพร่นวัตกรรม แบบอย่างที่ดีทั้งในสถานศึกษาและต่อสาธารณชน เพิ่มเติมอื่นๆ (ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน) 6. แนวทางการพัฒนา 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการพัฒนาผู้เรียนเป็นรายบุคคลให้ชัดเจนขึ้น ให้มีทักษะของชีวิต  ประสบการณ์จริง / การดำรงชีวิต / การใช้ชีวิตประจำวัน  โดยใช้เทคนิควิธีและนวัตกรรมที่หลากหลาย           2. ส่งเสริมให้ครูเห็นความสำคัญของการจัดการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญการจัดทำการวิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนา ผู้เรียนให้สามารถเรียนรู้ได้เต็มศักยภาพ           3. พัฒนาบุคลากรโดยส่งเข้ารับการอบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในงานที่ได้รับมอบหมายติดตามผลการนำไปใช้และผลที่เกิด กับผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง           4. พัฒนาผู้เรียนมีความรู้สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และทบทวนบทเรียนบน  Learning   Space   ในวิชาต่าง ๆ   และด้านศิลปะ ดนตรีกีฬาร่วมกิจกรรมตามความถนัดสนใจ           5. ปลูกจิตสำนึกผู้เรียนโดยใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียง    ใส่ใจต่อสิ่งแวดล้อม  มีระเบียบ วินัย / รับผิดชอบต่อหน้าที่           6. พัฒนาพื้นที่ปฏิบัติงานเพิ่มขึ้น  สำหรับกลุ่มสาระที่เน้นการปฏิบัติให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ ของชุมชน  7. ความต้องการช่วยเหลือ           1. การพัฒนาครูผู้สอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับการพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที่  21           2. การสร้างข้อสอบที่สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ตามแนวทางของการประเมิน O-NET / PISA           3. การจัดสรรครูผู้สอนให้ตรงตามวิชาเอกที่โรงเรียนมีความต้องการและจำเป็น หน้า 113 จาก 114


ภาคผนวก หน้า 114 จาก 114


ประกาศโรงเรียน เรื่องการกำหนดมาตรฐานการศึกษา และค่าเป้าหมายความสำเร็จของโรงเรียน ระดับปฐมวัยและระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน


ประกาศโรงเรียนมารีวิทยา เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา --------------------------------------โดยประกาศในกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับการศึกษาปฐมวัย และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2561 และประกาศคณะกรรมการประกันคุณภาพภายในระดับการศึกษาปฐมวัย และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2561 ให้สถานศึกษากําหนดมาตรฐานการศึกษา เพื่อใช้เป็นทิศทางในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา โรงเรียนมารีวิทยา ได้ดําเนินการจัดทํามาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ทั้งระดับการศึกษาปฐมวัยและระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษา ดังเอกสารมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา แนบท้ายประกาศนี้จึงประกาศใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่19 เดือน มิถุนายน พ.ศ. 2566 ( นางสาวอัจฉรา สุขพิบูลย์) ผู้อํานวยการโรงเรียนมารีวิทยา


ประกาศโรงเรียนมารีวิทยา เรื่อง กําหนดค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาปฐมวัย และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา .....................................................................โดยที่มีประกาศใช้กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2561 นโยบายการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สองที่กําหนดเป้าหมายและยุทธศาสตร์ในการพัฒนาคุณภาพคนไทยและการศึกษาไทยในอนาคต นโยบายปฏิรูประบบการประเมินและการประกันคุณภาพการศึกษาทั้งภายในและภายนอกประกาศคณะกรรมการการประกันคุณภาพภายใน ระดับการศึกษาปฐมวัยและระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานเรื่อง กําหนดหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานประกอบกับประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษาปฐมวัยและการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ฉบับลงวันที่6 สิงหาคม 2561 โรงเรียนมารีวิทยา จึงปรับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาระดับการศึกษาปฐมวัยและระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและการมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้อง ทั้งบุคลากรทุกคนในโรงเรียนผู้ปกครอง และประชาชนในชุมชนให้เหมาะสมและสอดคล้องกัน เพื่อนําไปสู่การพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษา การประเมินคุณภาพภายในและรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก เพื่อให้การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนมารีวิทยา มีคุณภาพและมาตรฐานโรงเรียนมารีวิทยา จึงได้กําหนดค่าเป้าหมายการพัฒนาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาระดับการศึกษาปฐมวัยและระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามเอกสารแนบท้ายประกาศนี้เพื่อเป็นเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาปฐมวัยและระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานและการประเมินคุณภาพภายใน ประกาศ ณ วันที่19 เดือน มิถุนายน พ.ศ. 2566 ( นางสาวอัจฉรา สุขพิบูลย์) ผู้อํานวยการโรงเรียนมารีวิทยา


ประกาศโรงเรียนมารีวิทยา เรื่อง การกําหนดมาตรฐานการศึกษาและค่าเป้าหมายความสําเร็จของโรงเรียนระดับการศึกษาปฐมวัย .....................................................................ตามที่กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาปฐมวัยเมื่อวันที่6 สิงหาคม 2561 ดังนั้น เพื่อให้การดําเนินการประกันคุณภาพการศึกษาภายในของโรงเรียนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2561 โรงเรียนมารีวิทยาจึงได้กําหนดมาตรฐานการศึกษาและค่าเป้าหมายความสําเร็จของโรงเรียน ระดับการศึกษาปฐมวัยปีการศึกษา 2566 ไว้ดังรายละเอียดที่แนบท้ายประกาศ ต่อไปนี้มาตรฐาน ค่าเป้าหมายความสําเร็จมาตรฐานที่1 คุณภาพของเด็ก ดีเลิศ มาตรฐานที่2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ยอดเยี่ยมมาตรฐานที่3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสําคัญ ดีเลิศ มาตรฐานที่๔ การจัดการศึกษาของคาทอลิก ดีเลิศ ประกาศ ณ วันที่19 เดือน มิถุนายน พ.ศ. 2566 ( นางสาวอัจฉรา สุขพิบูลย์) ประธานคณะกรรมการบริหารโรงเรียนโรงเรียนมารีวิทยา


ระดับการศึกษาปฐมวัย ค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย โรงเรียนมารีวิทยา อําเภอเมืองปราจีนบุรีจังหวัดปราจีนบุรี เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา มาตรฐาน / ประเด็นการพิจารณา ค่าเป้าหมายมาตรฐานที่1 คุณภาพของเด็ก ดีเลิศ1.1 เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดีและดูแลความปลอดภัยของตนเองได้1.2 เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์จิตใจ ควบคุม และแสดงงอออกทางอารมณ์ได้1.3 เด็กมีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยแหลือตนเอง และเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม 1.4 เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้มีทักษะการคิดพื้นฐานและแสวงหาความรู้ได้มาตรฐานที่2 กระบวนการบริหารและจัดการ ยอดเยี่ยม2.1 มีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการทั้ง ๔ ด้าน สอดคล้องกับบริบทขอองท้องถิ่น 2.2 จัดครูให้เพียงพอกับชั้นเรียน 2.3 ส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญด้านกากรรจัดประสบการณ์2.4 จัดสภาพแวดล้อมและสื่อเพื่อการเรียนรู้อย่างปลอดภัย และเพียงพอ 2.5 ให้บริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนรู้เพื่อสนับสนุนการจัดประสบการณ์2.6 มีระบบบริหารคุณภาพที่เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม มาตรฐานที่3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสําคัญ ดีเลิศ3.1 จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีการพัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุลเต็มศักยภาพ 3.2 สร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและปฏิบัติอย่างมีความสุข 3.3 จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ใช้สื่อเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับวัย 3.4 ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและนําผลประเมินพัฒนาการเด็กไปปรับปรุง การจัดประสบการณ์และพัฒนาเด็ก มาตรฐานที่4 การจัดการศึกษาคาทอลิก ดีเลิศ4.1 เด็กสามารถดําเนินชีวิตตามอัตลักษณ์และเอกลักษณ์ของโรงเรียน และอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข 4.2 โรงเรียนจัดกิจกรรมแบบคาทอลิกเพื่อให้เด็กมีคุณลักษณะตามหลักคุณค่าพระวรสาร


การกําหนดค่าเป้าหมาย 1. ศึกษาข้อมูลเดิม ผลการประเมินต่างๆที่ผ่านมา เพื่อเป็นข้อมูลฐานในการกําหนดค่าเป้าหมาย2. การกําหนดค่าเป้าหมาย แต่ละมาตรฐาน ควรกําหนดเป็น ระดับคุณภาพ 5ระดับเพื่อให้สอดคล้องกับการประเมิน ดังนี้ระดับ 5 ยอดเยี่ยม ( 90 % ขึ้นไป ) ระดับ 4 ดีเลิศ ( 80 – 89 % ) ระดับ 3 ดี ( 70 – 79 % ) ระดับ 2 ปานกลาง ( 60 – 69 % ) ระดับ 1 กําลังพัฒนา ( 50 – 59 % ) 3.การกําหนดค่าเป้าหมาย ในแต่ละประเด็นพิจารณา จะกําหนดเป็นระดับคุณภาพ หรือเป็นร้อยละตามความเหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา ให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย วางแผนการดําเนินงานและปฏิบัติหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพเพื่อการพัฒนาการศึกษาของโรงเรียน ให้บรรลุเป้าหมายความสําเร็จของมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนมารีวิทยาต่อไป ประกาศ ณ วันที่19 เดือน มิถุนายน พ.ศ. 2566 ( นางสาวอัจฉรา สุขพิบูลย์) ผู้อํานวยการโรงเรียนมารีวิทยา


ประกาศโรงเรียนมารีวิทยา เรื่อง การกําหนดมาตรฐานการศึกษาและค่าเป้าหมายความสําเร็จของโรงเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน .....................................................................ตามที่กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานเมื่อวันที่6 สิงหาคม 2561 ดังนั้น เพื่อให้การดําเนินการประกันคุณภาพการศึกษาภายในของโรงเรียนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2561 โรงเรียนมารีวิทยาจึงได้กําหนดมาตรฐานการศึกษาและค่าเป้าหมายความสําเร็จของโรงเรียน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานปีการศึกษา 2566 ไว้ดังรายละเอียดที่แนบท้ายประกาศ ต่อไปนี้มาตรฐาน ค่าเป้าหมายความสําเร็จมาตรฐานที่1 คุณภาพของผู้เรียน ดีเลิศ มาตรฐานที่2 กระบวนการบริหารและการจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา ยอดเยี่ยมมาตรฐานที่3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ ดีเลิศ มาตรฐานที่4 การจัดการศึกษาของคาทอลิก ดีเลิศ ประกาศ ณ วันที่19 เดือน มิถุนายน พ.ศ. 2566 ( นางสาวอัจฉรา สุขพิบูลย์) ประธานคณะกรรมการบริหารโรงเรียนโรงเรียนมารีวิทยา


ค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน แนบท้ายประกาศ...โรงเรียนมารีวิทยา อําเภอเมืองปราจีนบุรีจังหวัดปราจีนบุรี เรื่อง กําหนดค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา มาตรฐาน / ประเด็นการพิจารณา ค่าเป้าหมายมาตรฐานที่1 คุณภาพของผู้เรียน ดีเลิศ1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน ดีเลิศ1) ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคํานวณ เป็นไปตามเป้าหมายที่สถานศึกษากําหนด 2) ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์คิดอย่างมีวิจารณญาณอภิปรายแลกเปลี่ยน ความคิดเห็น และแก้ปัญหา เป็นไปตามเป้าหมายที่สถานศึกษากําหนด 3) ผู้เรียนมีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม 4) ผู้เรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5) ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา เป็นไปตามเป้าหมายที่สถานศึกษากําหนด 6) ผู้เรียนมีความรู้ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ 1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน ดีเลิศ1) ผู้เรียนมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีเป็นไปตามเป้าหมายที่สถานศึกษากําหนด 2) ผู้เรียนมีความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย 3) ผู้เรียนยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย 4) ผู้เรียนมีสุขภาวะทางร่างกายและจิตสังคม มาตรฐานที่2 กระบวนการบริหารและการจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา ยอดเยี่ยม2.1 เป้าหมาย วิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษากําหนดไว้ชัดเจน สอดคล้องกับบริบทของ สถานศึกษา ความต้องการของชุมชน ทันต่อการเปลี่ยนแปลง และเป็นไปได้ในการปฏิบัติ2.2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาเป็นระบบและชัดเจน ส่งผลต่อคุณภาพตาม มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 2.3 ดําเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรของสถานศึกษา และทุกกลุ่มเป้าหมาย 2.4 พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ 2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ทั้งภายใน ภายนอก ห้องเรียน อย่างมีคุณภาพ และมีความปลอดภัย 2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับสภาพของสถานศึกษา


มาตรฐาน / ประเด็นการพิจารณา ค่าเป้าหมายมาตรฐานที่3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ ดีเลิศ3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิด และปฏิบัติจริง สามารถนําไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้3.2 ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ที่เอื้อต่อการเรียนรู้3.3 มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก ครูและนักเรียนเรียนรู้ร่วมกันอย่างมีความสุข 3.4 มีการตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบและนําผลมาพัฒนาผู้เรียน 3.5 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้มาตรฐานที่4 การจัดการศึกษาของคาทอลิก ดีเลิศ4.1 ผู้เรียนสามารถดําเนินชีวิตตามอัตลักษณ์และเอกลักษณ์ของโรงเรียนและอยู่ร่วมกับผู้อื่น อย่างมีความสุข 4.2 โรงเรียนจัดกิจกรรมแบบคาทอลิกเพื่อให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะตามหลักคุณค่าของพระวรสาร การกําหนดค่าเป้าหมาย 1. ศึกษาข้อมูลเดิม ผลการประเมินต่างๆที่ผ่านมา เพื่อเป็นข้อมูลฐานในการกําหนดค่าเป้าหมาย2. การกําหนดค่าเป้าหมาย แต่ละมาตรฐาน ควรกําหนดเป็น ระดับคุณภาพ 5ระดับเพื่อให้สอดคล้องกับการประเมิน ดังนี้ระดับ 5 ยอดเยี่ยม ( 90 % ขึ้นไป ) ระดับ 4 ดีเลิศ ( 80 – 89 % ) ระดับ 3 ดี ( 70 – 79 % ) ระดับ 2 ปานกลาง ( 60 – 69 % ) ระดับ 1 กําลังพัฒนา ( 50 – 59 % ) 3. การกําหนดค่าเป้าหมาย ในแต่ละประเด็นพิจารณา จะกําหนดเป็นระดับคุณภาพ หรือเป็นร้อยละตามความเหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา


ค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน แนบท้ายประกาศ...โรงเรียนมารีวิทยา อําเภอเมืองปราจีนบุรีจังหวัดปราจีนบุรี เรื่อง กําหนดค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา มาตรฐาน / ประเด็นการพิจารณา ค่าเป้าหมายมาตรฐานที่1 คุณภาพของผู้เรียน ดีเลิศ1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน ดีเลิศ1) มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคํานวณ 1.1 นักเรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน ภาษาไทย อยู่ในระดับดีเยี่ยม ตามเกณฑ์การประเมินของสถานศึกษา ร้อยละ851.2 นักเรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน ภาษาอังกฤษ อยู่ในระดับดีเยี่ยม ตามเกณฑ์ของสถานศึกษา ร้อยละ851.3 นักเรียนมีความสามารถในการสื่อสารภาษาอังกฤษ / ภาษาจีน อยู่ในระดับดีเยี่ยม ตามเกณฑ์ของสถานศึกษา ร้อยละ851.4 นักเรียนเรียนมีความสามารถในการคิดคํานวณ ในระดับดีมาก ตามเกณฑ์สถานศึกษา ร้อยละ832) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยน ความคิดเห็น และแก้ปัญหา 2.1 นักเรียนผ่านการประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์คิดอย่างมีวิจารณญาณอยู่ในระดับดีเยี่ยม ตามเกณฑ์การประเมินของสถานศึกษา ร้อยละ832.2 นักเรียนผ่านการประเมินสมรรถนะสําคัญของผู้เรียน ด้านความสามารถการคิด อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และมีการแก้ปัญหาอย่างมีเหตุผล ร้อยละ833) มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม 3.1 นักเรียนมีความรู้และทักษะพื้นฐานในการสร้างนวัตกรรม ขั้นตอนการทํางานและการ ทํางานเป็นทีม ในระดับดีขึ้นไป ตามเกณฑ์การประเมินของสถานศึกษา ร้อยละ833.2 นักเรียนมีผลงาน จากการทําโครงงาน / สิ่งประดิษฐ์ชิ้นงาน และสามารถอธิบาย หลักการแนวคิด ประสบการณ์มาใช้ในการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ และมีการเผยแพร่ร้อยละ834) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 4.1 นักเรียนผ่านการประเมินสมรรถนะสําคัญของผู้เรียน ด้านความสามารถในการใช้ เทคโนโลยีการสื่อสาร ในระดับดีเยี่ยม ตามเกณฑ์การประเมินของสถานศึกษา ร้อยละ834.2 นักเรียนมีความสามารถในการสืบค้นข้อมูล จากอินเตอร์เน็ต เทคโนโลยีสารสนเทศและ สรุปความรู้ได้ด้วยตนเอง และอ้างอิงแหล่งข้อมูลได้ระดับดีมากขึ้นไป ตามเกณฑ์ของสถานศึกษา ร้อยละ835) มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา 5.1 นักเรียนบรรลุการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ระดับ3ขึ้นไป ร้อยละ835.2 นักเรียนมีความก้าวหน้าในการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษาจากพื้นฐานเดิมทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ระดับ 3 ขึ้นไป ร้อยละ835.3 ร้อยละของผู้เรียนมีความก้าวหน้าในผลการทดสอบระดับชาติหรือผลการทดสอบอื่นๆทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ร้อยละ83


มาตรฐาน / ประเด็นการพิจารณา ค่าเป้าหมายมาตรฐานที่๑ คุณภาพของผู้เรียน ดีเลิศ1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน ดีเลิศ6) มีความรู้ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่อ งานอาชีพ 6.1 นักเรียนมีความรู้ทักษะพื้นฐานและเจตคติที่ดีในการศึกษาต่อ งานอาชีพระดับดีมากขึ้นไป ตามเกณฑ์ของสถานศึกษา ร้อยละ836.2 นักเรียนมีความรู้ทักษะพื้นฐานและเจตคติที่ดีในการจัดการ การทํางานหรืองานอาชีพร้อยละ836.3 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่3 และ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่6 มีID Pan Portfolio มีความพร้อมที่ศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น ในการทํางาน และประกอบอาชีพ ร้อยละ831.2 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ดีเลิศ1) มคีุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากําหนด 1.1 นักเรียนมีพฤติกรรมเป็นผู้ที่มีคุณธรรม จริยธรรม เคารพในกฎกติกา ผ่านการ ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับดีเยี่ยม ตามเกณฑ์ของสถานศึกษา ร้อยละ851.2 นักเรียนมีค่านิยมและจิตสํานึกตามที่สถานศึกษากําหนด โดยไม่ขัดกับกฎหมายและ วัฒนธรรมอันดีของสังคม ร้อยละ851.3 นักเรียนมีพฤติกรรมแสดงออกถึงความรักในสถาบันหลักของชาติในระดับดีมาก ตามเกณฑ์ของสถานศึกษา ร้อยละ851.4 นักเรียน ยึดมั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ในระดับดีมาก ตามเกณฑ์ของสถานศึกษา ร้อยละ852) ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย 2.1 นักเรียนมีพฤติกรรมที่แสดงออกถึงความรัก ภูมิใจในท้องถิ่นความเป็นไทยและภูมิใจ ประเพณีวัฒนธรรมไทย ในระดับดีมาก ตามเกณฑ์ของสถานศึกษา ร้อยละ852.2 นักเรียนมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและประเพณีไทยรวมทั้งภูมิปัญญาไทย มีภาวะผู้นําและมีจิตอาสา ตามเกณฑ์ของสถานศึกษา ร้อยละ853) การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย 3.1 นักเรียนอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขบนความแตกต่างทางวัฒนธรรม / ความคิดเห็นที่แตกต่าง ในระดับดีมาก ตามเกณฑ์ของสถานศึกษา ร้อยละ853.2 นักเรียนมีทัศนคติที่ดีต่อบ้านเมือง มีหลักคิดที่ถูกต้อง และเป็นพลเมืองที่ดีของชาติและ เป็นพลเมืองโลกที่ดีมีคุณธรรม จริยธรรม ในระดับดีมาก ตามเกณฑ์ของสถานศึกษา ร้อยละ854) สุขภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม 4.1 นักเรียนมีการรักษาสุขภาพกาย สุขภาพจิต อารมณ์และสังคม และแสดงออกอย่าง เหมาะสมในแต่ละช่วงวัย 4.1.1 นักเรียน มีน้ําหนัก ส่วนสูง และพัฒนาการทางร่างกาย เจริญเติบโต ตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัยกระทรวงสาธารณสุข ร้อยละ854.1.2 นักเรียน มีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมพลศึกษา หรือสํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ทุกข้อ ในระดับผ่าน ร้อยละ854.1.3 นักเรียน มีสุขภาพแข็งแรง แต่งกายสะอาดเรียบร้อย เครื่องใช้ส่วนตัวสะอาด การใช้ทักษะชีวิต และปฏิบัติตนตามสุขบัญญัติ10 ประการ ในระดับผ่านตามเกณฑ์ของสถานศึกษา ร้อยละ85


มาตรฐาน / ประเด็นการพิจารณา ค่าเป้าหมายมาตรฐานที่๑ คุณภาพของผู้เรียน ดีเลิศ1.2 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ดีเลิศ4) สุขภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม 4.2 นักเรียนสามารถอยู่ร่วมกับคนอื่นอย่างมีความสุข เข้าใจผู้อื่น ไม่มีความขัดแย้ง กับผู้อื่นร้อยละ854.2.1 นักเรียน หลีกเลี่ยงจากสิ่งมอมเมา ปัญหาทางเพศ การทะเลาะวิวาท และอบายมุข ทุกชนิดในระดับดีมาก ตามเกณฑ์ของสถานศึกษา ร้อยละ854.2.2 นักเรียน มีความรู้ทักษะในการป้องกันตนเองจากภัยคุกคาม รูปแบบใหม่ระดับดีมาก ตามเกณฑ์ของสถานศึกษา ร้อยละ854.2.3 นักเรียน มีพฤติกรรมที่แสดงออกในการดําเนินชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และ มีจิตสาธารณะ ในระดับดีมาก ตามเกณฑ์ของสถานศึกษา ร้อยละ85มาตรฐานที่2 กระบวนการบริหารและการจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา ยอดเยี่ยม2.1 มีเป้าหมาย วิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษากําหนดชัดเจน สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา ความต้องการชุมชน ทันต่อความเปลี่ยนแปลง สามารถปฏิบัติได้จริง ยอดเยี่ยม2.2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา ที่ส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ตามมาตรฐานของสถานศึกษาที่ได้กําหนด ค่าเป้าหมายความสําเร็จไว้ยอดเยี่ยม2.3 มีการดําเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนอย่างรอบด้าน ตามหลักสูตร สถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย ดีเลิศ2.4 มีการพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ ดีเลิศ2.5 มีการจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพ และสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่าง มีคุณภาพ และมีความปลอดภัย ยอดเยี่ยม2.6 มีการจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการ เรียนรู้ยอดเยี่ยมมาตรฐานที่3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญดีเลิศ3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนําไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้1. ครูทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้จัดการเรียนรู้เน้นกระบวนการคิด ให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติจริง ตามมาตรฐานการเรียนรู้ตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษาและสามารถนําไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ร้อยละ852.ครูมีนวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ร้อยละ853.2 ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้1. ครูทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ใช้สื่อการเรียนรู้ที่หลากหลาย ร้อยละ852.ครูทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการเรียนรู้มีapplication ร้อยละ853.ครูทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ใช้แหล่งเรียนรู้ทั้งภายใน และภายนอกโรงเรียน ภูมิปัญญา ท้องถิ่น บูรณาการในการจัดการเรียนการสอนเอื้อต่อการเรียนรู้ให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติจริง ร้อยละ853.3 มีการบริหารจัดการเชิงบวก 1.ครูมีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก มีปฏิสัมพันธ์เชิงบวก ส่งผลให้นักเรียนรักการเรียนร้อยละ853.4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบและนําผลมาพัฒนาผู้เรียน 1.ครูมีการตรวจสอบและประเมินผลผู้เรียนอย่างเป็นระบบและให้ข้อมูลย้อนกลับ นําผล มาพัฒนาผู้เรียน ร้อยละ852.ครูมีเครื่องมือวัดและวิธีการประเมินผลที่เหมาะสมกับเป้าหมายของการเรียนรู้ร้อยละ85


การกําหนดค่าเป้าหมาย 1. ศึกษาข้อมูลเดิม ผลการประเมินต่างๆที่ผ่านมา เพื่อเป็นข้อมูลฐานในการกําหนดค่าเป้าหมาย2. การกําหนดค่าเป้าหมาย แต่ละมาตรฐาน ควรกําหนดเป็น ระดับคุณภาพ 5ระดับเพื่อให้สอดคล้องกับการประเมิน ดังนี้ระดับ 5 ยอดเยี่ยม ( 90 % ขึ้นไป ) ระดับ 4 ดีเลิศ ( 80 – 89 % ) ระดับ 3 ดี ( 70 – 79 % ) ระดับ 2 ปานกลาง ( 60 – 69 % ) ระดับ 1 กําลังพัฒนา ( 50 – 59 % ) 3. การกําหนดค่าเป้าหมาย ในแต่ละประเด็นพิจารณา จะกําหนดเป็นระดับคุณภาพ หรือเป็นร้อยละตามความเหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา ให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย วางแผนการดําเนินงานและปฏิบัติหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพเพื่อการพัฒนาการศึกษาของโรงเรียน ให้บรรลุเป้าหมายความสําเร็จของมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนมารีวิทยาต่อไป ประกาศ ณ วันที่19 เดือน มิถุนายน พ.ศ. 2566 ( นางสาวอัจฉรา สุขพิบูลย์) ผู้อํานวยการโรงเรียนมารีวิทยา มาตรฐาน / ประเด็นการพิจารณา ค่าเป้าหมาย3.5 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับ เพื่อพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนรู้1.ครูและ ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนา และปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ร้อยละ85มาตรฐานที่4 การจัดการศึกษาคาทอลิก ดีเลิศ4.1 ผู้เรียนสามารถดําเนินชีวิตตามอัตลักษณ์และเอกลักษณ์ของโรงเรียนและอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข ร้อยละ854.2 โรงเรียนจัดกิจกรรมแบบคาทอลิกเพื่อให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะตามหลักคุณค่า ของพระวรสาร ร้อยละ85


รายงานการประชุมหรือการให้ความเห็นชอบ SAR ของคณะกรรมการบริหารโรงเรียน


การประชุมคณะกรรมการบริหารโรงเรียนมารีวิทยา ครั้งที่ 2 / 2567 วันพฤหัสบดีที่ 23 พฤษภาคม 2567 เวลา 09.30 น. ณ ห้องประชุม SAINT LOUIS อาคารเซนต์เมรี่ โรงเรียนมารีวิทยา อำเภอเมืองปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี ที่ ชื่อ - สกุล ลายเซ็น ตำแหน่ง หมายเหตุ 1 นางสาวอัจฉรา สุขพิบูลย์ ผู้ทำการแทนผู้รับใบอนุญาต ประธานกรรมการ 2 นางสาวปัทมา คชวงศ์ ผู้แทนครู กรรมการ 3 นายเชิดชัย นิติรัตนกุล ผู้แทนผู้ปกครอง กรรมการ 4 นางสาววันเพ็ญ ไชยเผือก ผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการ 5 นายชัยพร สุคันธี ผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการ 6 พ.ต.อ.หญิง กิตติยา โตพัฒนกุล ผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการ 7 นางนิรมล โพธิ์ชู ผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการ 8 นางสาวอัจฉรา สุขพิบูลย์ ผู้อำนวยการ กรรมการ และเลขานุการ 9 นางอรุณรัตน์ ศรีชมภู ผู้ช่วยเลขานุการ 10 นางสาววรนุช ประนอมมิตร รองผู้อำนวยการโรงเรียน เข้าร่วม ประชุม 11 นางสาวอารียา พุ่มเจริญ รองหัวหน้าวิชาการ ระดับประถมศึกษา เข้าร่วม ประชุม


รายงานการประชุมคณะกรรมการบริหารโรงเรียนมารีวิทยา ครั้งที่ 2 / 2567 วันพฤหัสบดีที่ 23 พฤษภาคม 2567 เวลา 10.00 น. ณ ห้องประชุม SAINT LOUIS อาคารเซนต์เมรี่ โรงเรียนมารีวิทยา รายชื่อกรรมการบริหารโรงเรียนผู้มาประชุม 1. นางสาวอัจฉรา สุขพิบูลย์ ผู้ทำการแทนผู้รับใบอนุญาต ผู้จัดการ/ผู้อำนวยการ 2. นางสาวปัทมา คชวงศ์ ผู้แทนครู 3. นายเชิดชัย นิติรัตนกุล ผู้แทนผู้ปกครอง 4. นางสาววันเพ็ญ ไชยเผือก ผู้ทรงคุณวุฒิ 5. นายชัยพร สุคันธี ผู้ทรงคุณวุฒิ 6. พ.ต.อ.หญิง กิตติยา โตพัฒนกุล ผู้ทรงคุณวุฒิ 7. นางนิรมล โพธิ์ชู ผู้ทรงคุณวุฒิ 8. นางอรุณรัตน์ ศรีชมภู ผู้ช่วยเลขานุการ ผู้เข้าร่วมประชุม 1. นางสาววรนุช ประนอมมิตร รองผู้อำนวยการโรงเรียน 2. นางสาวอารียา พุ่มเจริญ รองหัวหน้าวิชาการระดับประถมศึกษา เริ่มประชุมเวลา 10.00 น. นางสาวอัจฉรา สุขพิบูลย์ ผู้ทำการแทนผู้รับใบอนุญาต ผู้จัดการและผู้อำนวยการ ประธาน การประชุม กล่าวต้อนรับคณะกรรมการบริหารฯ และเปิดการประชุม ดำเนินตามวาระการประชุมดังนี้ ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องประธานแจ้งที่ประชุมทราบ 1.1 หนังสือที่ ศธ 0211.6 /9260 วันที่ 2 พฤษภาคม 2566 สำนักงานคณะกรรมการ ส่งเสริมการศึกษาเอกชน แจ้งกำหนดการประชุม ผู้บริหาร ครู และบุคลากรของโรงเรียนเอกชนประเภท สามัญศึกษา ที่รับผิดชอบงานประกันคุณภาพการศึกษา เข้าร่วมการประชุมเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจ การดำเนินงานระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ระหว่างวันที่ 25 - 26 พฤษภาคม 2566 โดยสามารถ เข้าร่วมการประชุมผ่านโปรแกรม Zoom Meeting 1.2 หนังสือที่ ศธ 0211.6 / 9768 ลงวันที่ 10 พฤษภาคม 2566 สำนักงาน คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน แจ้งให้โรงเรียนเตรียมความพร้อม การเปิดภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โดยเฉพาะความปลอดภัยในสถานศึกษา สวัสดิภาพของนักเรียนตั้งแต่เดินทางเข้าสู่รั้ว โรงเรียนจนออกจากโรงเรียนถึงบ้าน จะต้องมีความปลอดภัยให้แก่นักเรียนครบทุกมิติ รวมถึงการปฏิบัติ ตามมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดต่อ ของกระทรวงสาธารณสุขอย่างเคร่งครัด 1.3 โรงเรียนมารีวิทยา กำหนดเปิดเรียนภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2567 วันจันทร์ที่ 13 พฤษภาคม 2567 และประชุมคณะครูเตรียมความพร้อมความปลอดภัยให้แก่นักเรียน ครบทุกมิติ และความปลอดภัยในโรงเรียน 1.4 วันเสาร์ที่ 11 พฤษภาคม 2567 โรงเรียนมารีวิทยา เปิดจำหน่ายหนังสือเรียน ภาคเช้า เวลา 07.30 – 12.00 น. ให้ผู้ปกครองทุกระดับสายชั้นหมุนเวียน 1.5 วันเสาร์ที่ 15 มิถุนายน 2567 โรงเรียน จัดประชุมผู้ปกครอง ประจำปีการศึกษา 2567 โดยแบ่งเป็น ช่วงเช้า 08.30 – 12.00 น. ระดับชั้นอนุบาล 1 – ประถมศึกษาปีที่ 4 ช่วงบ่าย 13.00 – 15.00 น. ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 – มัธยมศึกษาปีที่ 6 มติที่ประชุม คณะกรรมการบริหารโรงเรียนรับทราบ


ระเบียบวาระที่ ๒ เรื่องรับรองรายงานการประชุม รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 1 / 2567 วันพฤหัสบดีที่ 23 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 10.00 น. ณ ห้องประชุม SAINT LOUIS อาคารเซนต์เมรี่ โรงเรียนมารีวิทยา ( เอกสารแนบ หน้า 1 – 6 ) ระเบียบวาระที่ ๓ เรื่องสืบเนื่องจากการประชุม - ระเบียบวาระที่ 4 เรื่องเสนอเพื่อพิจารณาและให้ความเห็นชอบ 4.1 การรับรองรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ( SAR ) ประจำปี 2566 ระดับปฐมวัย และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 3 มาตรฐาน และโรงเรียนมารีวิทยา เป็นโรงเรียน คาทอลิก จึงขอเพิ่มมาตรฐานที่ 4 การจัดการศึกษาคาทอลิก และปีการศึกษา 2566 สำนักงาน คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน แจ้งให้โรงเรียนจัดทำรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ( SAR ) ผ่านระบบออนไลน์( E - SAR ) โดยไม่ต้องทำเป็นรูปเล่มหรือไฟล์ ส่งสำนักงานศึกษาธิการจังหวัด ปราจีนบุรี ภายในวันที่ 31 พฤษภาคม 2567 มติที่ประชุม คณะกรรมการบริหารโรงเรียน พิจารณารายละเอียดและให้ความเห็นชอบ การรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ( SAR ) ปีการศึกษา 2566 ระดับปฐมวัยและระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ทุกมาตรฐาน ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม บทสรุปของผู้บริหาร ข้อมูลพื้นฐาน ผลสัมฤทธิ์ ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานและตัวบ่งชี้ ผลการพัฒนาและการนำผลไปใช้ จุดเด่นของโรงเรียน จุดควรพัฒนา แนวทางพัฒนาในอนาคต และความต้องการช่วยเหลือ และการรายงาน โดยนำข้อมูลเข้าระบบสารสนเทศด้านการประกันคุณภาพการศึกษา ( E - SAR ) ไม่ต้องทำเป็นรูปเล่มหรือไฟล์ ส่งสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดปราจีนบุรี ให้ทันตามเวลาที่กำหนด 4.2 การนำข้อมูลเอกสารการเผยแพร่ รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ( SAR ) ของโรงเรียนมารีวิทยา ปีการศึกษา 2566 ซึ่งมีบทสรุปของผู้บริหาร ข้อมูลพื้นฐาน ผลสัมฤทธิ์ ผลการ ประเมินคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานและตัวบ่งชี้ ผลการพัฒนาและการนำผลไปใช้ จุดเด่นของโรงเรียน จุดควรพัฒนา นำเผยแพร่ให้ผู้ปกครองนักเรียน ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องหรือสาธารณชนรับทราบ ทางเว็ปไซด์ โรงเรียน กลุ่มไลน์ของทุกชั้นเรียน ฯลฯ เป็นต้น มติที่ประชุม คณะกรรมการบริหารโรงเรียน พิจารณาการนำข้อมูลรายงานผลการ ประเมินตนเองของสถานศึกษา ( SAR ) ปีการศึกษา 2566 ของโรงเรียนมารีวิทยา และให้ความเห็นชอบ การนำข้อมูลเอกสารเผยแพร่ให้ผู้ปกครองนักเรียน ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องหรือสาธารณชนรับทราบ เลิกประชุมเวลา 11.15 น. ลงชื่อ .............................................. ลงชื่อ.................................................... ( นางอรุณรัตน์ ศรีชมภู ) ( นางสาวอัจฉรา สุขพิบูลย์ ) ผู้จดรายงานการประชุม ผู้ทำการแทนผู้รับใบอนุญาต ผู้จัดการและผู้อำนวยการโรงเรียน


คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานจัดทำ SAR


คําสั่งโรงเรียนมารีวิทยา ที่มว. 57 / 2566 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการดําเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับการศึกษาระดับปฐมวัยและระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประจําปีการศึกษา 2566 ********************************************************************************* เพื่อสนองนโยบายปฏิรูปการศึกษาเกี่ยวกับการนําระบบการประกันคุณภาพการศึกษามาเป็นกลไกสําคัญของการบริหารจัดการศึกษาให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานซึ่งต้องมีการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาและประกันคุณภาพภายนอกตามมาตรฐานการศึกษาชาติประกอบด้วยกระบวนการพัฒนา 3 ส่วนได้แก่(1) การควบคุมคุณภาพการศึกษา (2) การตรวจสอบทบทวนและปรับปรุงคุณภาพการศึกษา (3) การประเมินและรับรองคุณภาพการศึกษา โรงเรียนมารีวิทยาอําเภอเมืองปราจีนบุรีจังหวัดปราจีนบุรีดําเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา พ.ศ. 2566 ตามประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ ประกาศ ณ วันที่6 สิงหาคม2561จํานวน 3 มาตรฐานคือ มาตรฐานคุณภาพของเด็ก มาตรฐานกระบวนการบริหารและการจัดการและมาตรฐานกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ เพื่อให้การดําเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ จึงแต่งตั้งคณะกรรมการดําเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ประจําปีการศึกษา2566ดังต่อไปนี้1. คณะกรรมการที่ปรึกษา 1. ผศ.ดร. ไพยง มนิราช ผู้ทรงคุณวุฒิที่ปรึกษาพิเศษ2. นางสาวพนิดา สุขสําราญ ผู้ทรงคุณวุฒิที่ปรึกษา 3. ดร.วรนุช ประนอมมิตร ผู้ทรงคุณวุฒิที่ปรึกษา 4. นางสาววันเพ็ญ ไชยเผือก ผู้ทรงคุณวุฒิที่ปรึกษา มีหน้าที่ให้คําปรึกษาแนะนําแก้ปัญหา เสนอแนะแนวทางการดําเนินงานติดตามผลการดําเนินงานในการจัดทําระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาเพื่อให้การดําเนินงานทุกด้านมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล


2. คณะกรรมการดําเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 1. ดร.อัจฉรา สุขพิบูลย์ผู้อํานวยการโรงเรียน ประธานกรรมการ2. ดร.วรนุช ประนอมมิตร รองผู้อํานวยการโรงเรียน รองประธาน3. นางสาวภณิดา มัธยมชาติหัวหน้าฝ่ายธุรการ - การเงิน/บริการ กรรมการ4. นางสาวอุไร คงทอง หัวหน้าฝ่ายบริการและโภชนาการ กรรมการ5. นางสาวเรวดียิ้มสุข หัวหน้าฝ่ายวิชาการ กรรมการ6. ดร.วรนุช ประนอมมิตร หัวหน้าฝ่ายบุคลากร กรรมการ7. นางคํามอน พงษ์ประเสริฐ หัวหน้าฝ่ายส่งเสริมฯ กรรมการ8. นางเพ็ญศรีมูกขุนทด หัวหน้าฝ่ายกิจการนักเรียน กรรมการ9. นางเครือวัลย์ชัยเจริญ ฝ่ายธุรการ – การเงินและบริการ กรรมการ10. นางสาวปัทมา คชวงศ์หัวหน้าฝ่ายวิชาการมัธยมศึกษา กรรมการ11. นางอรุณรัตน์ศรีชมภูหัวหน้าฝ่ายบริหารงานทั่วไป กรรมการ/เลขานุการมีหน้าที่อํานวยความสะดวกในการจัดทําระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาให้คําปรึกษาแนะนําแก้ปัญหา เสนอแนะแนวทางการดําเนินงานติดตามผลการดําเนินงาน เพื่อให้การดําเนินงานทุกด้านมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยดําเนินการดังนี้1. จัดระบบองค์กรให้รองรับการจัดระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 2. กําหนดเกณฑ์การประเมินเป้าหมายความสําเร็จของสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาและตัวชี้วัดของกระทรวงศึกษาธิการเป้าหมายความสําเร็จของสํานักงานศึกษาธิการจังหวัดปราจีนบุรีหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินของสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพสถานศึกษา 3. วางแผนการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาตามระบบประกันคุณภาพการศึกษาให้บรรลุเป้าหมายความสําเร็จของสถานศึกษา 4. ดําเนินการพัฒนาตามแผนและติดตามตรวจสอบและประเมินคุณภาพภายในเพื่อปรับปรุงพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 5. ประสานความร่วมมือกับสถานศึกษาและหน่วยงานอื่นในการปรับปรุงและพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในและพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามระบบการประกันคุณภาพการศึกษา 6. ประสานงานกับสํานักงานศึกษาธิการจังหวัดปราจีนบุรีเพื่อการประเมินคุณภาพของสถานศึกษาตามระบบประคุณภาพการศึกษาภายใน


7. ประสานงานกับสํานักงานรับรองมาตรฐานการศึกษาและประเมินคุณภาพการศึกษาในการประเมินในการประเมินสถานศึกษาเพื่อฐานในการพัฒนาอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง 8. วางแผนการตรวจติดตามประเมินผลการดาเนินงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษา3. คณะกรรมการพัฒนาและประเมินคุณภาพสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษางานนโยบาย แผนงานและงานประกันคุณภาพ ระดับปฐมวัยและระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1. นางอรุณรัตน์ศรีชมภูหัวหน้า 2. คณะกรรมการมาตรฐาน กรรมการ 3. คณะกรรมการโรงเรียน กรรมการ 4. นางสาวปิยาภรณ์ถึงประเสริฐ กรรมการและเลขานุการระดับปฐมวัย5. นางสาวศยามล บู่ศรีกรรมการและเลขานุการระดับขั้นพื้นฐานมหีน้าที่จัดทําแผนพัฒนาการศึกษา และจัดทําแผนปฏิบัติการ คัดกรองโครงการ ออกแบบเครื่องมือเก็บข้อมูลติดตามการดําเนินงานตามแผนงาน โครงการ กิจกรรม การประเมินตนเองของสถานศึกษาประเมินและสรุปรายงานประเมินมาตรฐาน จํานวน 4 มาตรฐาน ระดับปฐมวัยและระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานจึงขอให้คณะกรรมการดําเนินงาน รวบรวมข้อมูลผลการดําเนินงาน โครงการ กิจกรรมของแต่ละมาตรฐานการศึกษา ให้สําเร็จลุล่วงด้วยดีและมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป ทั้งนี้ตั้งแต่วันที่19 กรกฎาคม พ.ศ. 2566 เป็นต้นไป สั่ง ณ วันที่19 กรกฎาคม 2566 ( นางสาวอัจฉรา สุขพิบูลย์) ผู้อํานวยการโรงเรียนมารีวิทยา


คณะกรรมการผู้จัดทํารายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา : ( SAR ) ปีการศึกษา 2566ที่ปรึกษา ผศ.ดร. ไพยง มนิราช ผู้ทรงคุณวุฒิที่ปรึกษาพิเศษ นางสาวพนิดา สุขสําราญ ผู้ทรงคุณวุฒิที่ปรึกษา ดร.วรนุช ประนอมมิตร ผู้ทรงคุณวุฒิที่ปรึกษา นางสาววันเพ็ญ ไชยเผือก ผู้ทรงคุณวุฒิที่ปรึกษา ผู้จัดทํา 1. ดร.อัจฉรา สุขพิบูลย์ผู้อํานวยการโรงเรียน ประธานกรรมการ2. ดร.วรนุช ประนอมมิตร รองผู้อํานวยการโรงเรียน รองประธาน3. นางสาวภณิดา มัธยมชาติหัวหน้าฝ่ายธุรการ - การเงิน/บริการ กรรมการ4. นางสาวอุไร คงทอง หัวหน้าฝ่ายบริการและโภชนาการ กรรมการ5. นางสาวเรวดียิ้มสุข หัวหน้าฝ่ายวิชาการ กรรมการ6. ดร.วรนุช ประนอมมิตร หัวหน้าฝ่ายบุคลากร กรรมการ7. นางคํามอน พงษ์ประเสริฐ หัวหน้าฝ่ายส่งเสริมฯ กรรมการ8. นางเพ็ญศรีมูกขุนทด หัวหน้าฝ่ายกิจการนักเรียน กรรมการ9. นางเครือวัลย์ชัยเจริญ ฝ่ายธุรการ – การเงินและบริการ กรรมการ10.นางอรุณรัตน์ศรีชมภูหัวหน้าฝ่ายบริหารงาน /ระดับปฐมวัย กรรมการ11. นางสาวสลิลรัตน์พารา ระดับปฐมวัย กรรมการ12. นางสุกัลยา บุญมาศ ระดับปฐมวัย กรรมการ13. นางสาวเพ็ญศิรินันสอางค์ระดับปฐมวัย กรรมการ14. นางผกา ดุลยสิทธิ์ระดับปฐมวัย กรรมการ15. นางมณีรัตน์สมฤทัยลักษณ์ระดับปฐมวัย กรรมการ16. นางเนตรนภา ทองไพจิตร์ระดับปฐมวัย กรรมการ17. นางสาวปิยาภรณ์ถึงประเสริฐ กรรมการและเลขานุการ18. นางสาวสาคร แขกพงษ์ระดับประถมศึกษา กรรมการ19. นางสาวศุภรา คํามีระดับประถมศึกษา กรรมการ20. นางสาวจุฑามาศ กุลรอด ระดับประถมศึกษา กรรมการ21. นางสาวปวีณา พงศ์ขจร ระดับประถมศึกษา กรรมการ


22. นางสาวปัทมา คชวงศ์ระดับมัธยมศึกษา กรรมการ23. นายกวิน อินทะ ระดับมัธยมศึกษา กรรมการ24. นายธนูศักดิ์มูลตองคะ ระดับมัธยมศึกษา กรรมการ25. นางธิดารัตน์ทวีญาติระดับมัธยมศึกษา กรรมการ26. นางสาวแจ่มศรี ไชยฮาด ระดับมัธยมศึกษา กรรมการ27. นายบุญธรรม ทัดแก้ว ระดับมัธยมศึกษา กรรมการ28. นางสาวจิตรลดา วาโยวิเศษ ระดับมัธยมศึกษา กรรมการ29. นางสาวปรางค์เพ็ญ สืบศรีระดับมัธยมศึกษา กรรมการ30. นางสาวศยามล บู่ศรีกรรมการและเลขานุการ


หลักฐานการเผยแพร่ SAR ให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องหรือสาธารณชนรับทราบ


หลักฐานการเผยแพร่ SAR ปี 2565 ผ่านทางเว็บไซต์ ข่าวประชาสัมพันธ์ของโรงเรียนมารีวิทยา


ข่าวประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับ งาน กิจกรรม ของโรงเรียนที่จัดขึ้น


แผนผังอาคารสถานที่


นครนายก-กรุงเทพ สะพาน สี่แยกไฟแดง ตลาดผลไม้หนองชะอม ๑.๓ แผนที่แสดงที่ตั้งโรงเรียนมารีวิทยา อ าเภอเมืองปราจีนบุรีจังหวัดปราจีนบุรี Honda ทางรถไฟไฟแดง ไปฉะเชิงเทรา TOYOTA สถานีต ารวจ ไปเขาใหญ่ ธ.กสิกรไปสระแก้ว โรงแรม คิงส์โบสถ์คาทอลิก แม่น า S W E โNรงเรียนมารีวิทยา


อาคารเซนต์โยเซฟ แผนผังโรงเรียนมารีวิทยา อ าเภอเมืองปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี โบสถ์คาทอลิก อาคาร 25 ปี ประตู 1 แม่น า อาคารเซนต์โยเซฟ โดม 50 ปี ประตู 2 ลานเอนกประสงค์ ประตู 3 ที่จอดรถ สุสาน ร ต ร


แผนผังห้องเรียน โรงเรียนมารีวิทยา ปีการศึกษา 2566 อาคารเซนต์แมรี่ อาคาร 25 ปี 6 ชั้น ชั้น 6 บ้านพัก บั น ไ ด บ้านพัก บั น ไ ด บ้านพัก ชั้น 5 ห้องเก็บ สื่อ วัสดุ Smart Class room Computer ประถม พิพิธภัณฑ์ เฉลิมพระเกียรติ ห้องวิทยาศาสตร์ ห้องเก็บของ ชั้น 4 ห้องดนตรี สากล ป.2/5 ป.3/5 ป.3/4 ป.3/3 ป.3/2 ป.3/1 ห้อง พิพิธภัณฑ์จีน ห้อง เฉลิมพระเกียรติฯ ร.9 ชั้น 3 ป. 2/4 ป. 2/3 ป.2/2 ป.2/1 ป.1/5 ป.1/4 ป. 1/3 ป.1/2 ป.1/1 ชั้น 2 Computer อนุบาล ห้องสุมด อนุบาล อ.2/3 อ.2/4 อ.2/5 อ.3/3 อ.3/4 อ.3/5 ห้องดนตรี-นาฎศิลป์ อนุบาล ชั้น 1 ห้องเตรียมอนุบาล อ.1/1 อ.1/2 อ.1/3 อ.1/4 อ.1/5 ห้องวิชาการ ปชส. ห้องส่งเสริม คุณธรรมฯ อาคารเซนต์โยเซฟ 6 ชั้น ชั้น 3 ห้องประชุมเล็ก ห้องคริสต์ บ้านพักซิสเตอร์ ชั้น 2 ห้องศูนย์วิทย์ฯ Coding อนุบาล อนุบาล 2/1 อนุบาล 2/2 อนุบาล 3/1 อนุบาล 3/2 ชั้น 1 ลานรับแขก ธุรการ ห้อง ผอ. ห้องประชุม ห้องพักซิสเตอร์ ชั้น 6 บ ั น ไ ด ม.4/1 ม.4/2 ม.4/3 วิทย์ ป.5-6 ห้อง ศิลปะ บ ั น ไ ด ห้องน้ำ ดนตรี นาฏศิลป์1 ห้อง การงาน ดนตรี ไทย ห้อง วงโยฯ ชั้น 5 ห้อง ครัว ห้อง สื่อ มวลชน ห้อง Learn Computer มัธยม ห้องน้ำ ห้อง ศูนย์ มวลชน ห้อง วิทย์มัธยม ห้อง นวัตกรรม ม.3/3 ม.3/2 ม.3/1 ชั้น 4 ป.6/5 ป.6/4 ป.6/3 ป.6/2 ป.6/1 ห้องน้ำ พยาบาล ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ชั้น 3 ป.5/5 ป.5/4 ป.5/3 ป.5/2 ป.5/1 ห้องน้ำ พยาบาล ห้อง เรียน ม.6/2 ม.6/1 ม.5/3 ม.5/2 ม.5/1 ห้อง IPST ห้องสภา นักเรียน แนะ แนว ห้อง ติววิชา ชั้น 2 ป.4/5 ป.4/4 ป.4/3 ป.4/2 ป.4/1 ห้องน้ำ ห้อง รองผอ. ครูต่าง ชาติ ห้อง วิชา การ ห้องสมุด ห้องประชุม Savier Hall ชั้น 1 สหการ ห้องพักครู โรงอาหาร ห้องน้ำ ห้องน้ำ พัสดุ โรงครัว ห้องจอห์นปอล (ห้องประกันคุณภาพ)


โครงสร้างการบริหารงานโรงเรียน


๑. ฝ่ายนโยบาย / แผนงานประกัน คุณภาพการศึกษา ๒. ฝ่ายวิจัยและพัฒนา ๓. งานประชาสัมพันธ์ พิธีกร / ชุมชนสัมพันธ์ ๔. งานสารสนเทศ ๑. งานวิชาการทุกระดับชั้น ๒. งานบริหาร / พัฒนาหลักสูตร ๓. งานนิเทศ / งานวิจัยชั้นเรียน ๔. งานวัดผลประเมินผล ๕. งานทะเบียนนักเรียน ๖.งานส่งเสริมนวัตกรรมและ เทคโนโลยี ( ICT ) ๗. งานกลุ่มสาระการเรียนรู้ ๘. งานหลักสูตร / การสอน โดยใช้ภาษาอังกฤษเป็นสื่อ ๙. งานสอนภาษาจีน ศูนย์สอบ YCT / HSK ๑๐. งานห้องสมุด ๑๑. งานแหล่งเรียนรูในโรงเรียน ๑๒. งานแนะแนว / ทุนการศึกษา ๑. งานบัญชี – การเงินและ งานธนาคารโรงเรียน ๒. งานธุรการ – สารบรรณ ๓. งานอาคารสถานที่ 4. งานบริการ – ต้อนรับ 5. งานการจัดสวัสดิการ ร้านค้าโรงเรียนมารีวิทยา คณะกรรมการโรงเรียน ผู้รับใบอนุญาต ผู้จัดกดร.อัจฉรา สหัวหน้าฝ่ายบริหารงานทั่วไป นางอรุณรัตน์ ศรีชมภู โครงสร้างการบริหารงาน โรงเรียนมารีปีกาหัวหน้าฝ่ายวิชาการ นางสาวเรวดี ยิ้มสุข หัวหน้าฝ่ายธุรการ – การเงิน / บริกานางสาวภณิดา มัธยมชาติ มหาธิการิณี รองผู้อำดร.วรนุช ป


Click to View FlipBook Version