The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แฟ้มประเมิน นางสาวจุฑามาศ สีโลน แผนกช่างยนต์ ปีการศึกษา 2561

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by juthamat19911991, 2019-03-25 02:06:02

แฟ้มประเมิน นางสาวจุฑามาศ สีโลน แผนกช่างยนต์ ปีการศึกษา 2561

แฟ้มประเมิน นางสาวจุฑามาศ สีโลน แผนกช่างยนต์ ปีการศึกษา 2561

สมรรถนะอำชีพประจำ้ หนว่ ย

5. เพือ่ ให้เกิดความรู้ความเขา้ ใจในการตรวจดหู ัวเทียนเครอื่ งยนต์
6. เพอ่ื ใหเ้ กดิ ทักษะในการใช้เครอื่ งมอื วัดละเอยี ด

คำ้ ศัพท์สำ้ คญั

1. ECU รถยนต์ หมายถึง กล่องควบคุมการทางานหรือุปกรณต์ ่างๆ ของรถยนต์โดยจะประมวลผลและสั่ง
การให้อุปกรณ์ตา่ งๆทางานไดอ้ ยา่ งสมบรู ณ์

2. อุบัตเิ หตุ (Incidence) หมายถงึ เหตกุ ารณ์ซ่ึงเกิด (อุบัต)ิ ข้ึน อาจจะเป็นเหตกุ ารณด์ ี หรือเหตกุ ารณ์รา้ ย
กไ็ ด้

จุดประสงค์กำรสอน/กำรเรยี นรู้

 จุดประสงค์ท่ัวไป / บรู ณำกำรเศรษฐกิจพอเพียง

4. เพ่อื ใหม้ ีความรูเ้ บ้ืองต้นเกี่ยวกับการตรวจเช็คหัวเทียน(ด้านความรู)้
5. เพ่ือใหม้ ที ักษะในการดูการทางานเครอื่ งยนตจ์ ากหัวเทียน (ดา้ นทักษะ)
6. เพ่ือให้มีเจตคติท่ีดีต่อการเตรียมความพร้อมด้าน วัสดุ อุปกรณ์ และการปฏิบัติงานอย่างถูกต้อง

สาเร็จภายในเวลาที่กาหนด มีเหตุและผลตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ด้านคุณธรรม
จริยธรรม)

 จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม / บรู ณำกำรเศรษฐกจิ พอเพียง

6. อธิบายวฏั จกั รการทางานเคร่ืองยนต์แก๊สโซลนี (ด้านความร้)ู
7. เข้าใจการปฏบิ ัติ 5ส และความปลอดภยั ในงานช่างยนต์ (ด้านความรู้)
8. ใชเ้ ครอื่ งมอื ในการถอดเครื่องยนตไ์ ด้ (ด้านทักษะ)

เนอื หำสำระกำรสอน/กำรเรยี นรู้

• ด้ำนควำมรู้(ทฤษฎี)

1. ควำมปลอดภัยในงำนช่ำงยนต์

1.1วธิ สี อนในโรงฝึกงำน
การปฏบิ ตั งิ านในโรงฝกึ ชา่ งยนต์ จงระลกึ ไวเ้ สมอวา่ ให้มีความตง้ั ใจกบั งานทปี่ ฏิบัตอิ ย่ไู ม่ล้อเล่น

หรือหยอกลอ้ กนั เล่น ซ่ึงการกระทาเชน่ น้ีอาจกอ่ ให้เกดิ อนั ตรายกับผูร้ ่วมงานได้ การเกบ็ เคร่อื งมอื และอุปกรณ์ต่างๆ
1.2 หลักกำรปฏบิ ตั กิ ำรใช้เครือ่ งมือช่ำงยนตไ์ ด้ปลอดภยั
1) เลือกใช้เคร่ืองมอื ให้เหมาะสมกับงานและสภาพเครอ่ื งมือดี
2) เคร่ืองมอื ทกุ ประเภทต้องใชก้ ารรักษาด้วยความระมัดระวัง เช่น วางบนผา้ หรือแผ่นยาง
3) เลอื กประแจให้ถูกขนาดพอดีกบั หวั นอตหวั สกรู
4) เลอื กไขควงใหพ้ อดีกับร่องหวั สกรูป้องกนั อันตรายท่ีปลายไขควงจะพลาดจากร่องหัวสกูรและปอ้ งกนั
รอ่ งชารดุ
5) อยา่ เอาเคร่อื งมือใส่ไวใ้ นกระเป๋าชุดทางานจะทาใหเ้ กิดความเมอื่ ยล้าจากน้าหนักเคร่อื งมอื
1.3 อบุ ตั ิเหตุกับกำรทำ้ งำน

อุบัติเหตุ (Incidence) คือ เหตุการณ์ซ่ึงเกิด (อุบัติ) ขึ้น อาจจะเป็นเหตุการณ์ดี หรือเหตุการณ์ร้ายก็ได้
ส่วนอุบัติภัย (Accident) คือเหตุการณ์ซึ่งเกิดขึ้น โดยไม่คาดฝันมาก่อน โดยไม่เจตนา เป็นผลให้เกิดความเสียหาย
แก่ทรัพย์สิน เป็นอันตรายแก่ร่างกายและจิตใจ และอาจทาให้สูญเสียชีวิตได้ด้วย การใช้คา “อุบัติเหตุ” ตรงกับ
ภาษาอังกฤษว่า Accidents ที่แลว้ ๆ มาจึงไม่ตรงกบั ศัพท์ท่ีถูกตอ้ ง แต่ก็ได้ใช้กันมานาน จนเป็นท่ียอมรับกันทัว่ ไป
แล้ว

1.4 กำรทำ้ 5 ส. เกี่ยวกับควำมปลอดภยั
เพื่อความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน ควรยดึ หลกั การท่เี รยี กว่า 5 ส ไดแ้ ก่ สะสาง สะดวก สะอาด
สุขลกั ษณะและสรา้ งนิสยั ซึง่ เป็นกระบวนการท่เี ป็นระบบ มีแนวปฏบิ ัตทิ ีช่ ัดเจนเหมาะสมกบั สภาพทาใหก้ าร
ปฏิบัตงิ านดาเนนิ ไปดว้ ยดีมคี วามปลอดภยั และมผี ลเป็นท่ีพงึ พอใจ

2. หลกั กำรท้ำงำนของเคร่ืองยนตแ์ ก๊สโซลนี 4 จงั หวะ

2.1 กำรเผำไหม้ในเคร่อื งยนตแ์ กส๊ โซลีน

การทางานของเคร่ืองยนต์เป็นลาดับขั้นตอนของการเผาไหม้ ซึ่งกระทาซ้าๆกัน ลาดับแรกส่วนผสมไอดี
(Fuel-air Mixture) จะถูกดูดไปในกระบอกสูบ (Cylinder) หลงั จากนน้ั ส่วนผสมไอดีจะถูกอัดตัว (Compression)
และจะเกดิ การเผาไหม้ (Combustion) ทาใหแ้ รงกระทาข้ึนผลักดนั ลูกสูบใหเ้ คลื่อนทีล่ ง

2.2 ระบบระบำยควำมรอ้ นแบบหม้อน้ำ

ระบบระบายความร้อนแบบหมอ้ นา้ ส่วนมากมักนยิ มใช้กับเครอื่ งยนต์ดเี ซลระบบจะมีส่วนประกอบที่สาคัญ
ดงั ต่อไปนี้ เช่น หม้อนา้ เป็นตวั เกบ็ รวบรวมนา้ ไว้เพื่อระบายความร้อนซึง่ ถกู ออกแบบคล้ายกบั รงั ผงึ้ เพื่อให้น้าระบาย
ความร้อนออกมาไดม้ ากท่ีสุดขณะพดั ลมเป่าทางาน พัดลมระบายความรอ้ นเป็นตัวผลติ กระแสลมเพื่อเป่าไปยงั หม้อ
น้าของเคร่ืองยนต์พัดลมจะหมุนไปพร้อมกับการหมุนของเคร่ืองยนต์โดยใช้สายพานเป็นตัวขับลากขณะทางาน
ระบบระบายความร้อนแบบนี้เม่ือเราเติมน้าลงไปในหม้อน้าน้าจะไหลไปรวมตัวที่เปราะสูบของเครื่องยนต์ขณะที่
เครอื่ งยนตท์ างานนานไปก็จะเกิดความรอ้ นและระบายออกกบั น้าทอี่ ยู่บรเิ วณเปราะสบู จนเดือนกลายเป็นไอนา้ ลอย
ขึ้นไปยังส่วนบนของหม้อน้าพัดจะเป่าไปยังหม้อน้าก็เป็นการระบายความร้อนออกไปได้ทันทีทาให้น้าท่ีร้อนมี
อุณหภมู ลิ ดลงแล้วไหลกลบั ลงสู่บริเวณเปราะสูบของเครอื่ งยนต์หมนุ เวยี นอยู่แบบนี้ตลอดไปจนหยดุ ใช้เครื่องยนต์

2.3 ระบบปั้มน้ำมันหล่อล่ืน
ระบบนจี้ ะป๊มั นา้ มันหล่อลน่ื เข้าไปในชิ้นส่วนทุกชนิ้ ของเครอื่ งยนต์ท่ีมีการเคล่อื นไหว อปุ กรณ์หลกั สองสว่ น
ท่ีต้องใช้น้ามันหล่อล่ืน คือ 1. ลูกสูบ ที่ต้องเคลื่อนที่ขึ้นลงอย่างรวดเร็วภายในกระบอกสูบ 2. ลูกปืนของเพลาข้อ
เหวย่ี ง และเพลาลูกเบย้ี วเป็นต้น ป๊มั จะดูดนา้ มันเครอ่ื งผ่านไสก้ รองเพือ่ กรองเศษโลหะกอ่ น และจึงอดั น้ามันหลอ่ ลื่น
ไปตามช่องวา่ งต่างๆของลูกปนื และไหลเวยี นกลบั เข้าสู่อ่างนา้ มนั
2.4 แบตเตอรขี่ องรถยนต์
ให้กระแสไฟฟ้าท่ีความต่างศักย์ต่าสาหรับระบบจุดระเบิด ดังนั้นจึงต้องให้กระแสไหลเข้าสู่ขดลวดหรือ
คอยล์(coil) ซ่ึงทาหน้าท่ีเหมือนหม้อแปลง โดยจะเพิ่มความต่างศักย์ข้ึนเป็นหลายพันโวลต์ จากน้ันจานจ่าย
(Distributor)
2.5 หัวเทยี น (Spark Plugs)

หัวเทียนเป็นอุปกรณ์ทส่ี าคญั ชนิ้ หนง่ึ ในเครื่องยนตท์ ี่ใช้น้ามันเบนซินเปน็ เช้ือเพลงิ หัวเทยี นจะทาหน้าทีจ่ ุด
ส่วนผสมทอ่ี ยู่ในกระบอกสบู ใหเ้ กิดการเผาไหมโ้ ดยทาใหเ้ กิดประกายไฟทเ่ี ข้ียวของหัวเทยี น

2.6ระบบระบำยควำมรอ้ นแบบหม้อนำ้

ระบบระบายความร้อนแบบหม้อน้าส่วนมากมักนิยมใช้กับเครื่องยนต์ดีเซลระบบจะมี ส่วนประกอบท่ี
สาคญั ดังต่อไปน้ี เช่น หม้อนา้ เป็นตัวเก็บรวบรวมนา้ ไวเ้ พอ่ื ระบายความร้อนซ่ึงถกู ออกแบบคล้ายกับรังผึ้งเพอ่ื ให้น้า
ระบายความร้อนออกมาได้มากท่ีสดุ ขณะพดั ลมเป่าทางาน พดั ลมระบายความร้อนเป็นตวั ผลิตกระแสลมเพ่ือเปา่ ไป
ยังหม้อน้าของเคร่ืองยนต์พัดลมจะหมุนไปพร้อมกับการหมุนของเครื่องยนต์โดยใช้สายพานเป็นตัวขับลากขณะ
ทางาน ระบบระบายความร้อนแบบนี้เม่ือเราเติมน้าลงไปในหม้อน้านา้ จะไหลไปรวมตัวท่ีเปราะสูบของเคร่ืองยนต์
ขณะทเี่ คร่ืองยนตท์ างานนานไปกจ็ ะเกดิ ความร้อนและระบายออกกบั น้า

• ดำ้ นทกั ษะ(ปฏบิ ัติ) (จุดประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรมข้อท่ี 3)

1. กิจกรรมที่ 2 ความปลอดภยั ในงานช่างยนตแ์ ละทฤษฏีเครื่องยนตแ์ ก๊สโซลนี

• ดำ้ นคณุ ธรรม/จรยิ ธรรม/จรรยำบรรณ/บรู ณำกำรเศรษฐกจิ พอเพยี ง

3. การเตรียมความพร้อมด้านการเตรียม วัสดุ อุปกรณ์นักเรียนจะต้องกระจายงานได้ทั่วถึง และตรงตาม
ความสามารถของสมาชิกทกุ คน มกี ารจดั เตรียมสถานท่ี สอื่ วัสดุ อุปกรณไ์ ว้อยา่ งพรอ้ มเพรียง

4. ความมีเหตมุ ผี ลในการปฏิบัติงาน ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง นกั เรียนจะตอ้ งมีการใช้
วสั ดุอปุ กรณ์อย่างประหยดั ค้มุ คา่ และเทคนิคในการถอดประกอบได้

กจิ กรรมกำรเรยี นกำรสอนหรือกำรเรยี นรู้

ขนั ตอนกำรสอนหรอื กจิ กรรมของครู ขนั ตอนกำรเรยี นรู้หรือกจิ กรรมของนกั เรยี น

1. ขนั นำ้ เข้ำส่บู ทเรียน ( 15 นำที ) 1. ขนั นำ้ เข้ำสู่บทเรยี น ( 15 นำที )

4. ผสู้ อนให้ผเู้ รียนอา่ นเอกสารประกอบการสอน 4. ผูเ้ รียนศึกษาเอกสารประกอบการสอนวชิ า งาน
วชิ า งานถอดประกอบเครอื่ งกลเบอ้ื งตน้ หนว่ ยท่ี 2 ถอดประกอบเครอ่ื งกลเบ้อื งตน้ หนว่ ยที่ 2 เรื่อง ความ
เร่ือง ความปลอดภยั ในงานชา่ งยนตแ์ ละทฤษฏี ปลอดภยั ในงานชา่ งยนต์และทฤษฏีเครอ่ื งยนตแ์ กส๊ โซลนี
เคร่อื งยนต์แกส๊ โซลนี เบ้อื งตน้

สาระสาคัญ สาระสาคญั

5. ผูส้ อนแจง้ จดุ ประสงค์การเรยี นของหนว่ ยท่ี 2 5. ผสู้ อนทาความเขา้ ใจเก่ยี วกับจุดประสงค์การ
เร่อื ง ความปลอดภยั ในงานชา่ งยนตแ์ ละทฤษฏี เรียนรทู้ าความเขา้ ใจเก่ียวกับจุดประสงคก์ ารเรียนของ
เคร่ืองยนต์เครอื่ งยนตแ์ ก๊สโซลนี หน่วยการเรียน

6. ผูส้ อนให้ผูเ้ รยี นทาการศึกษาการทางานเคร่ือง 6. ผเู้ รยี นศกึ ษาการทางานเคร่อื งยนต์แก๊สโซลนี
ยนต์แกส๊ โซลีนและขนั้ ตอนการตรวจสอบหัวเทยี น และการตรวจสอบหัวเทียน

2. ขันให้ควำมรู้ ( 120 นำที )

1. ผูส้ อนแนะนาทฤษฎีเครื่องยนตแ์ ก๊สโซลีน 2.ขนั ให้ควำมรู้ ( 120 นำที )

และความปลอดภัยในการทางานเครือ่ งยนต์ตามเนื้อหา 3. ผู้เรยี นศึกษาทฤษฎีเครื่องยนตแ์ กส๊ โซลนี และ
(หน้า 29-40)
ความปลอดภัยในการทางานเคร่ืองยนต์ตามเน้ือหาหน่วย

2. ผ้สู อนเปิดโอกาส ให้ผู้เรียนถามปัญหา และข้อ ที่ 2

สงสัยจากเนื้อหา โดยครูเตรียมหัวเทียนมาให้นักเรียน 4. ผเู้ รียนซักถามครูผู้สอนในเนอื้ หาท่ียงั ไมเ่ ขา้ ใจ
ศึกษา

3. ขันประยุกต์ใช้ ( 75 นำที )

3. ผสู้ อนให้ผเู้ รยี นทากจิ กรรมที่ 2 เรื่อง ความ 3. ขนั ประยกุ ต์ใช้ ( 75 นำที )
ปลอดภัยในงานช่างยนตแ์ ละทฤษฏีเครอื่ งยนตแ์ ก๊สโซ
5. ผู้เรียนศึกษากจิ กรรมที่ 2 เรือ่ ง ความปลอดภยั
ลีน (หน้า 43-48) โดยแบ่งกล่มุ และนาเสนอผลงาน ในงานช่างยนตแ์ ละทฤษฎเี คร่อื งยนตแ์ กส๊ โซลีนโดย
แบง่ เปน็ กลุม่ และนาเสนอผลงาน(หนา้ 43-48)

6. ผูเ้ รียนสบื ค้นข้อมูลจากอินเทอรเ์ น็ต

กจิ กรรมกำรเรียนกำรสอนหรอื กำรเรียนรู้

ขนั ตอนกำรสอนหรือกิจกรรมของครู ขนั ตอนกำรเรยี นรหู้ รอื กจิ กรรมของนกั เรยี น

4. ขันสรปุ และประเมนิ ผล ( 30 นำที ) 4. ขนั สรุปและประเมินผล( 30 นำที )

2. ผู้สอนและผเู้ รียนรว่ มกนั สรุปเนือ้ หาที่ได้เรยี น 5. ผู้สอนและผเู้ รียนรว่ มกันสรุปเนอื้ หาทไี่ ดเ้ รียนให้
มีความเข้าใจในทิศทางเดยี วกนั
ใหม้ คี วามเขา้ ใจในทิศทางเดยี วกนั
6. ผเู้ รียนสลับกนั ตรวจกจิ กรรมท่ี 2 เรอื่ ง ความ
3. ผ้สู อนให้ผ้เู รยี นสลบั กนั ตรวจกิจกรรมท่ี 2 ปลอดภยั ในงานช่างยนตแ์ ละทฤษฏีเครอื่ งยนต์แก๊สโซลีน
เร่ือง ความปลอดภยั ในงานชา่ งยนต์และทฤษฏี
เครอ่ื งยนตแ์ ก๊สโซลีน (หน้า 43-48) นาคะแนนท่ีได้ (หนา้ 43-48) นาคะแนนท่ไี ด้บันทกึ ลงในแบบบนั ทกึ

บนั ทึกลงในแบบบนั ทึกคะแนนการปฏบิ ัตกิ ิจกรรม คะแนนการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมระหวา่ งเรยี น

ระหวา่ งเรียน 7. บันทกึ ลงในแบบ บันทกึ คะแนนการปฏิบตั ิ

4. ผู้สอนให้ผู้เรียนศึกษาเพ่ิมเติมนอกห้องเรียน กจิ กรรมระหว่างเรียน
8. ผ้สู อนให้ผู้เรยี นศกึ ษาเพ่ิมเตมิ นอกหอ้ งเรยี น
ดว้ ยบทเรยี นคอมพวิ เตอร์ช่วยสอนทีจ่ ดั ทาข้นึ
ด้วยบทเรยี นคอมพวิ เตอรช์ ่วยสอนที่จัดทาขน้ึ

(บรรลจุ ุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อที่ 1-3) (บรรลจุ ดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อที่ 1-3)

(รวม 240 นำที หรอื 4 คำบเรียน)

ส่ือกำรเรยี นกำรสอน/กำรเรยี นรู้

สือ่ สิง่ พิมพ์

4. เอกสารประกอบการสอนวชิ า ความปลอดภยั ในงานช่างยนต์และทฤษฏีเคร่อื งยนตแ์ ก๊สโซลีน (ใช้
ประกอบการเรยี นการสอนจดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรมข้อท่ี 1-3)

5. กจิ กรรมร้ทู ี่ 2 เรื่อง ความปลอดภยั ในงานชา่ งยนต์และทฤษฏีเคร่ืองยนตแ์ กส๊ โซลีน(ใชป้ ระกอบการ
เรียนการสอนขน้ั ให้ความรู้ เพือ่ ให้บรรลุจดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรมขอ้ ที่ 1-3)

6. แบบประเมนิ ผู้เรยี นในช้ันเรยี น ใชป้ ระกอบการสอนข้นั ประยุกต์ใช้ ข้อ 1
ส่อื โสตทศั น์ (ถำ้ ม)ี

2. บทเรยี นคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน เรอ่ื ง ความปลอดภัยในงานชา่ งยนต์และทฤษฏเี ครือ่ งยนตแ์ กส๊ โซลีน
สอ่ื ของจริง

2. ช้นิ สว่ นอปุ กรณ์เครื่องมอื (ใช้ประกอบการเรยี นการสอนจดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรมข้อที่ 1-3)

แหลง่ กำรเรียนรู้

ในสถำนศึกษำ
1. หอ้ งสมดุ วทิ ยาลยั เทคนคิ สมุทรสาคร
2. ห้องปฏบิ ัติการคอมพิวเตอร์ ศึกษาหาขอ้ มลู ทางอนิ เทอรเ์ น็ต

นอกสถำนศึกษำ
ผปู้ ระกอบการ สถานประกอบการ ในทอ้ งถน่ิ จังหวดั สมทุ รสาคร

กำรบรู ณำกำร/ควำมสมั พนั ธ์กบั วิชำอื่น

5. บูรณาการกบั วชิ าเคร่อื งจักรกล เครื่องมือ เครือ่ งจกั ร ทีใ่ ชเ้ คร่ืองกลึง
6. บูรณาการกับวิชากฬี าเพอ่ื พัฒนาสุขภาพและบุคลิกภาพ ด้านบคุ ลิกภาพในการนาเสนอหนา้ ชั้นเรยี น
7. บรู ณาการกบั วิชาหลักเศรษฐศาสตร์ ด้านการเลอื กใช้ทรัพยากรอยา่ งประหยดั

กำรประเมินผลกำรเรียนรู้
 หลักกำรประเมินผลกำรเรียนรู้

ก่อนเรียน
-

ขณะเรียน
3. ตรวจผลงานตามกิจกรรมท่ี 2
4. สงั เกตการทางาน

หลงั เรยี น

-
ผลงำน/ชินงำน/ผลสำ้ เรจ็ ของผู้เรยี น

กิจกรรมท่ี 2 เร่อื ง ความปลอดภัยในงานชา่ งยนตแ์ ละทฤษฏเี ครื่องยนตแ์ กส๊ โซลนี

แผนกำรสอน/แผนกำรเรียนรูภ้ ำคทฤษฎแี ละปฏิบัติ

แผนการสอน/การเรียนรภู้ าคทฤษฎี หน่วยท่ี 3

ชื่อวิชา งานถอดประกอบเคร่ืองกลเบ้อื งตน้ สอนสัปดาหท์ ี่ 3-
PRELIMINARY Basic Mechanical Assembly 4

ชือ่ หนว่ ย กลไกควบคุมลินเครอื่ งยนต์ 4 จังหวะ คาบรวม 8

ชอ่ื เร่อื ง กลไกควบคุมลนิ เคร่ืองยนต์ 4 จังหวะ จานวนคาบ 8

หวั ขอ้ เรื่อง

ดำ้ นควำมรู้

23. ศกึ ษาความร้เู ก่ยี วกับสายพานชนิดตา่ งๆ
24. มีความรดู้ า้ นการถอดประกอบสายพาน

ดำ้ นทกั ษะ

25. ใชไ้ ทม่งิ แบบตา่ งๆได้
26. ถอดประกอบสายพานได้
27. ใชเ้ ครอื่ งมือวดั ละเอียดระยะรุนเฟืองได้
28. สามารถตรวจสอบสายพานได้
ด้ำนคุณธรรม จริยธรรม

7. ความรบั ผดิ ชอบ

8. ความสนใจใฝ่ความรู้

9. รคู้ ุณคา่ ของเคร่ืองมืออุปกรณใ์ นการทางานกับสิง่ แวดล้อม

สำระส้ำคญั

กลไกควบคมุ ลน้ิ (Engine Timing) มหี น้าที่ควบคมุ การเปิด-ปดิ ล้นิ ไอดแี ละล้ินไอเสีย ใหเ้ ครอื่ งยนตด์ ูดไอดี
เข้าไปในกระบอกสบู จานวนจากัด เผาไหมใ้ ห้เป็นพลังงานแล้วขบั ไล่ไอเสยี ทิ้งการบรรจไุ อดี และขับไลไ่ อเสยี ใน
เครอื่ งยนต์ เปน็ การเปลีย่ นไอดแี ละไอเสียดว้ ยกลไกควบคมุ ลนิ้

การเปดิ -ปิดรูไอดแี ละไอเสยี เกดิ จากชุดควบคุมลิน้ รปู ดอกเห็ด ชว่ งเวลาการเปิดและการปดิ ของล้ิน มี
กาหนดได้ตามไดอะแกรมลน้ิ สัมพนั ธก์ บั มมุ เพลาข้อเหว่ียงท่ีหมุน

สมรรถนะอำชีพประจำ้ หนว่ ย

นาความรเู้ กยี่ วกับกลไกควบคมุ ลิน้ เคร่ืองยนต์ 4 จงั หวะไปประยกุ ต์ใชใ้ นการทางานในชีวิตประจาวัน

คำ้ ศัพทส์ ำ้ คญั

1. VARIABLE VALVE TIMING-INTELLIGENCE VVT-i คือหนง่ึ ในระบบแปรผันการเปดิ -ปิดวาล์ว เพอ่ื ให้
เกิดกาลังสงู อยา่ งต่อเนือ่ งในชว่ งกวา้ ง และมีการตอบสนองดที กุ ความเรว็ รอบของเครือ่ งยนต์เครอื่ งยนต์
4 จังหวะทีใ่ ชก้ ันทว่ั ไป มีการทางานแบง่ เป็น 4 จงั หวะ ดดู -อัด-ระเบดิ -คาย โดยการหายใจเขา้ ในจังหวะ
ดดู และการหายใจออกในจังหวะคายของเครอื่ งยนต์ ทาโดยผา่ นตวั วาลว์ ไอดแี ละไอเสยี ซ่ึงมีการ
ควบคมุ การเปิด-เปิดด้วยลูกเบี้ยวบนแคมชาฟต์ (เพลาราวลิ้น) ทาหนา้ ท่ีกาหนดใหม้ ีชว่ งระยะเวลา
ความนาน และระยะยกของการเปิดวาล์วตามที่ออกแบบไว้

2. VARIABLE VALVE TIMING AND LIFT-INTELLIGENCE VVTL-I คอื แทง่ แคมชาฟต์จะมีลูกเบ้ยี ว
เพ่ิมขึน้ และมีระบบกระเด่ืองกดวาลว์ แบบพเิ ศษเพมิ่ ขน้ึ มา คอยสลับชดุ ลกู เบย้ี วใชง้ านในแตล่ ะรอบ
ในชว่ งเคร่ืองยนต์หมนุ รอบตา่ ถงึ ปานกลางใช้ลกู เบ้ียวชดุ หน่ึง พอเขา้ ส่ชู ่วงรอบสูงกส็ ลบั กระเด่ืองไปใช้
ลูกเบย้ี วอกี ชุดหนึง่ ในการเปดิ

จุดประสงค์กำรสอน/กำรเรียนรู้

 จดุ ประสงคท์ ั่วไป / บูรณำกำรเศรษฐกจิ พอเพียง

7. เพ่ือใหม้ คี วามรคู้ วามเข้าใจเกี่ยวกับสายพานชนิดต่างๆได้ (ด้านความรู้)
8. เพ่ือใหม้ ีความรู้ความเข้าใจเกย่ี วกับการถอดประกอบสายพานได้ (ดา้ นความร้)ู
9. เพือ่ ให้เกดิ ทกั ษะในการใช้เครื่องมือวัดละเอียด (ดา้ นทกั ษะ)
10. เพ่ือให้มีเจตคติท่ีดีต่อการเตรียมพร้อมด้าน วัสดุ อุปกรณ์ และการปฏิบัติงานอย่างถูกต้องสาเร็จภายใน

เวลาที่กาหนด มีเหตุและผลตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (ด้านคุณธรรมจริยธรรม)

 จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม / บูรณำกำรเศรษฐกิจพอเพียง

9. อธิบายการใช้ไทมิง่ แบบต่างๆได้ (ด้านความร)ู้
10. ตรวจสอบและถอดประกอบสายพานไทมงิ่ ได้ (ด้านทกั ษะ)
11. อธบิ ายการใช้เครือ่ งมอื วดั ละเอยี ดระยะรุนเฟืองได้ (ด้านความร้)ู
12. ใช้เคร่ืองมือวัดเส้นผ่านศูนยก์ ลางได้ (ดา้ นทกั ษะ)
13. นาวชิ าความรทู้ ี่ได้มาประยุกตใ์ ช้ในการดาเนนิ ชีวติ ได้ (ด้านทักษะ)
14. การเตรยี มความพร้อมด้านกาเตรยี ม วัสดุ อุปกรณน์ ักเรียนจะต้องกระจายงานได้ทัว่ ถึง และตรงตาม

ความสามารถของสมาชกิ ทุกคน มีการจัดเตรยี มสถานที่ สอ่ื วัสดุ อุปกรณไ์ วอ้ ย่างพร้อมเพยี ง (ดา้ น
คณุ ธรรมจริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกิจพอเพยี ง)
15. ความมเี หตุมีผลในการปฏิบัติงาน ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง นักเรยี นจะต้องมกี ารใชเ้ ทคนิคที่
แปลกใหม่ใช้ส่ือและเทคโนโลยีประกอบการนาเสนอทีน่ ่าสนใจนาวัสดุในทอ้ งถ่นิ มาประยุกตใ์ ช้ อยา่ ง
คุม้ ค่าและประหยดั (ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม/ บรู ณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง)

เนอื หำสำระกำรสอน/กำรเรยี นรู้

• ดำ้ นควำมรู้(ทฤษฎี)

ไทมิ่งแบบตำ่ งๆ (จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรมขอ้ ที่ 1)

กลไกขับลินแบบเฟืองไทมิ่ง ใช้กับเครื่องยนต์ท่ีมีกลไกล้ินอยู่เหนือฝาสูบซึ่งเพลาลูกเบ้ียวอยู่ในเสื้อสูบ
อยา่ งไรกต็ ามการใชเ้ ฟืองไทมงิ่ การทางานจะเกดิ เสียงดังมากกว่าแบบโซ่ไทม่ิง ด้วยเหตนุ ี้ วิธกี ารขบั ลนิ้ แบบนี้ไม่เป็น
ที่นยิ มใชใ้ นเครอื่ งยนต์เบนซนิ สมัยใหม่

1. เคร่อื งหมายตั้งเฟืองไทมิง่ โดยกอ่ นถอดแยกตอ้ งตรวจเครือ่ งหมายตั้งเฟอื งไทม่งิ เพ่ือจะไดป้ ระกอบได้
2. การประกอบเฟอื งไทมง่ิ ให้สูบที่ 1 ของเคร่ืองยนต์ข้ึนศูนยต์ ายบน แลว้ ติดต้ังเฟืองไทมง่ิ ให้เคร่อื งหมาย

ตงั้ เฟืองตรงกัน
3. การตรวจระยะฟรีฟนั เฟอื งไทม่ิงเมอ่ื ติดต้งั เฟอื งไทม่ิงเสร็จแลว้ ใหต้ รวจระยะฟรีฟนั เฟอื งไทมิง่ ให้ได้ตาม

กาหนดเพราะระยะฟรีฟันเฟืองมากจะทาใหเ้ สยี งยงิ่ ดงั

กลไกควบคุมลินแบบโซ่ไทมิ่ง ใช้ในเครื่องยนต์ท่ีใช้เพลาลูกเบ้ียวอยู่เหนือฝาสูบและเพลาลูกเบี้ยวคู่อยู่
เหนือฝาสบู เพลาลูกเบย้ี วจะถูกขับโดยโซ่ไทมิ่ง และจะถูกหลอ่ ล่นื ดว้ ยนา้ มันเครื่อง ความตงึ ของโซจ่ ะถกู ปรับตวั โดย
ตัวตั้งโซ่และมี ตัวดันโซ่คอยช่วยลดการสะเทือนของโซ่ เพลาลูกเบ้ียวที่ใช้โซ่เป็นตัวขับนี้จะทางานเงียบกว่าแบบ
เฟอื งไทม่ิง จึงทาใหเ้ ปน็ ท่ีนยิ มใชเ้ ม่ือ ไม่นานมาน้ี

กลไกควบคุมลินแบบสำยพำนไทม่ิง เพลาลูกเบี้ยวถูกขับด้วยสายพานแบบมีฟันแทนท่ีการใช้โซ่ไทม์ม่ิง
สายพานน้ันจะทางานไดเ้ งยี บกว่าโซ่ และไมต่ ้องการการหลอ่ ล่นื หรอื การปรับตง้ั ความตงึ อีกทั้งสายพานยงั มนี ้าหนัก
น้อยกว่า วิธีการขับลนิ้ แบบอ่นื ด้วยเหตุน้ี ปจั จุบนั นยิ มใชใ้ นเครื่องยนตเ์ ป็นสว่ นมาก

ระบบ VVT-i (Variable Valve Timing-intelligent)ระบบ VVT-i ใช้คอมพิวเตอร์ควบคุมการเปิดและปิด
วาลว์ ไอดีให้เหมาะสมกบั สภาวะเคร่อื งยนต์ระบบนใี้ ช้แรงดนั ไฮดรอลิคเปลี่ยนแปลงเวลาในการเปิดและปดิ ของวาล์ว
ไอดี เป็นผลให้การประจุไอดีมีประสิทธิภาพ, ซ่ึงสามารถเพ่ิมแรงบิดของ เครื่องยนต์ได้ทุก ๆ ช่วงความเร็วรอบ
ประหยัดน้ามันเชื้อเพลิงและลดปริมาณของแก๊สพิษในไอเสียนอกจากระบบ VVT- i แล้วยังมีระบบ VVTL- i
(Variable Valve Timing and Lift- Intelligent) อกี ดว้ ย ซงึ่ ระบบนจ้ี ะเพ่มิ ระยะการยกของวาลว์ (จงั หวะการเปิด)
ทาให้เพ่มิ ปรมิ าณการประจไุ อดขี ณะความเร็วรอบสงู

• ดำ้ นทักษะ(ปฏบิ ัติ)

1. กำรตรวจสอบสภำพและกำรเปล่ียนสำยพำนไทม่ิง (จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อท่ี 2-5)
หากเปลยี่ นสายพานไทมิง่ กอ่ นไฟเตือนจะติด (ไฟเตอื นจะติดเมื่อใชร้ ถได้ 100,000 กม.) เมื่อเปล่ยี น
สายพานไทมง่ิ แล้วควรปรบั ตัวเลขของสวติ ซ์ไฟเตอื นสายพานไทม่ิง (อยหู่ ลังเรอื นไมล)์ ให้เปน็ ศูนย์ด้วย
2.1 ถอดสายพานขับปม้ั น้า
2.2 ถอดพลู เลย์ขับปม้ั น้า

2.3 ถอดพูลเลยเ์ พลาข้อเหวี่ยงดว้ ยเครื่องมอื พเิ ศษ(SST)
2.4 ถอดฝาครอบสายพานไทมง่ิ ถอดสกรู 12 ตัว และฝาครอบสายพานไทม่งิ

2.5 ถอดแผน่ บงั คับสายพานไทมง่ิ
2.6 ตัง้ สูบ1 ให้อยูท่ ี่ศูนยต์ ายบนในจงั หวะอดั หมุนเพลาข้อเหวย่ี ง จดั ตาแหน่งของเครอื่ งหมายศูนย์ตายบน เฟอื ง
และมลู่ เลย์เพลาลูกเบยี้ วให้ตรงกบั ขอบบนของฝาสบู พอดี

2.7 ถอดสายพานไทมิ่ง ถา้ จะนาสายพานเกา่ มาใช้ ให้เขยี นรูปลูกศรบนสายพานในทิศทางที่เครื่องยนตห์ มุนและทา
เคร่อื งหมายบนเฟอื งไทมง่ิ ทุกตัวกับสายพานใหต้ รงกัน

แสดงสายพานและปั้มนา้ เสีย

• ด้ำนคณุ ธรรม/จริยธรรม/จรรยำบรรณ/บูรณำกำรเศรษฐกิจพอเพียง

(จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อท่ี 6-7 )

5. การเตรียมความพร้อมด้านการเตรียม วัสดุ อุปกรณ์นักศึกษาจะต้องกระจายงานได้ท่ัวถึง และตรงตาม
ความสามารถของสมาชิกทุกคน มกี ารจัดเตรยี มสถานที่ สอ่ื วัสดุ อปุ กรณ์ไวอ้ ย่างพรอ้ มเพรยี ง

2. ความมีเหตุมีผลในการปฏิบตั งิ าน ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง นกั ศกึ ษาจะตอ้ งมีการใช้
เทคนิคท่ีแปลกใหม่ใช้สื่อและเทคโนโลยีประกอบการนาเสนอที่น่าสนใจนาวัสดุในท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้
อยา่ งคุ้มค่าและประหยดั

กจิ กรรมกำรเรยี นกำรสอนหรอื กำรเรยี นรู้

ขนั ตอนกำรสอนหรือกิจกรรมของครู ขันตอนกำรเรยี นรู้หรอื กจิ กรรมของนกั เรยี น

1. ขันนำ้ เข้ำสู่บทเรียน (15 นำที ) 1. ขนั นำ้ เข้ำสู่บทเรยี น (15 นำที )

จัดให้นักเรียนศึกษาความรู้ในบทเรียน นกั เรยี นศึกษาคาศัพท์ในบทเรียน

1. ผู้สอนจัดเตรียมเอกสาร พร้อมกับแนะนา 1. ผู้เรียนเตรียมอุปกรณ์และ ฟังครูผู้สอนแนะนา

รายวชิ า วิธกี ารให้คะแนนและวิธกี ารเรียนเรือ่ ง กลไก รายวิชา วิธีการให้คะแนนและวิธีการเรียนเรื่อง กลไก

ควบคมุ ลนิ้ เคร่ืองยนต์ 4 จังหวะ ควบคมุ ลนิ้ เคร่อื งยนต์ 4 จงั หวะ

2. ผู้สอนแจ้งจุดประสงค์การเรียนของหน่วย 2. ผู้เรียนทาความเข้าใจเกี่ยวกับจุดประสงค์การ

เรียนท่ี 3 และขอให้ผู้เรียนร่วมกันทากิจกรรมการ เรียนของหนว่ ยเรียนท่ี 3 และการให้ความรว่ มมอื ในการ

เรยี นการสอน ทากิจกรรม

3. ผู้สอนให้ผู้เรียนแสดงความรู้เก่ียวกับกลไก 3. ผเู้ รียนแสดงความรู้ความรู้เกย่ี วกับกลไกควบคุม

ควบคมุ ลิ้นเครือ่ งยนต์ 4 จงั หวะ ลนิ้ เคร่อื งยนต์ 4 จังหวะ

2. ขนั ใหค้ วำมรู้ (105 นำที) 2. ขันให้ควำมรู้ (105 นำที )

1. ผู้สอนแนะนาวิธีการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ 1. ผู้เรียนศึกษาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
ช่วยสอน หน่วยท่ี 3 กลไกควบคุมล้ินเครื่องยนต์ 4 หนว่ ยท่ี 3 เร่ือง กลไกควบคุมลน้ิ เครื่องยนต์ 4 จังหวะ
จงั หวะ และให้ผูเ้ รียนศึกษาเอกสารประกอบการสอน และให้ผู้เรียนศึกษาเอกสารประกอบการสอน กลไก
กลไกควบคุมล้ินเคร่ืองยนต์ 4 จังหวะ หน่วยท่ี 3 ควบคุมล้ินเครื่องยนต์ 4 จังหวะ หน่วยที่ 3 หนา้ ที่ 53-
58 ประกอบกบั บทเรียนคอมพิวเตอรช์ ่วยสอน
หนา้ ที่ 53-58
2. ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันอธิบายเกี่ยวกับ 2. ผู้เรียนร่วมมือกับผู้สอนอธิบายเก่ียวกับ กลไก
กลไกการควบคุมลน้ิ ดว้ ยเฟืองไทม่ิง, กลไกการควบคุม การควบคุมล้ินด้วยเฟืองไทมิง่ , กลไกการควบคมุ ลิ้นด้วย
ล้ินด้วยโซ่ไทมิ่ง, กลไกควบคุมล้ินแบบสายพานไทมิ่ง โซ่ไทม่ิง, กลไกควบคุมลิ้นแบบสายพานไทม่ิงตามท่ีได้
ตามที่ไดศ้ กึ ษาจากบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ศกึ ษาจากบทเรียนคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน

กจิ กรรมกำรเรียนกำรสอนหรือกำรเรียนรู้

ขนั ตอนกำรสอนหรือกจิ กรรมของครู ขนั ตอนกำรเรยี นรหู้ รือกจิ กรรมของนกั เรยี น

3. ขันประยกุ ตใ์ ช้ ( 300 นำที ) 3. ขันประยุกต์ใช้ ( 300 นำที )

1. ผู้สอนใหผ้ เู้ รียนทากจิ กรรมใบงานท่ี 3 หน้าที่ 1. ผู้เรียนทากิจกรรมใบงานท่ี 3 หน้าท่ี 30
30 เร่ือง การติดต้ังลิ้นเคร่ืองยนต์และการตรวจสอบ เร่ือง การติดต้ังลิ้นเคร่ืองยนต์และการตรวจสอบสภาพ
สายพาน
สภาพสายพาน
2. ผ้เู รียนสบื คน้ ข้อมลู จากอินเทอรเ์ น็ต
2. ผู้สอนให้ผู้เรียนสืบค้นข้อมูลจากอนิ เทอร์เน็ต

4. ขนั สรุปและประเมินผล ( 60 นำที ) 4. ขนั สรุปและประเมนิ ผล ( 60 นำที )

1. ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันสรุปเนื้อหาที่ได้เรียน 1. ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันสรุปเน้ือหาที่ได้เรียน
เพ่อื ให้มีความเขา้ ใจในทิศทางเดียวกนั
ใหม้ ีความเข้าใจในทศิ ทางเดยี วกัน
2. ผู้สอนให้ผู้เรียนศึกษาเพ่ิมเติมนอกห้องเรียน 2. ผู้เรียนศึกษาเพิ่มเติมนอกห้องเรียน ด้วย

ดว้ ยบทเรียนคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนที่จดั ทาขน้ึ บทเรียนคอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอนทจี่ ัดทาขึ้น

(บรรลจุ ดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรมข้อที่ 1-5) (บรรลุจุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรมข้อท่ี 1-5)

(รวม 480 นำที หรือ 8 คำบเรยี น)

งำนทมี่ อบหมำยหรอื กจิ กรรมกำรวดั ผลและประเมนิ ผล

ก่อนเรยี น

1. จดั เตรยี มเอกสาร สือ่ การเรยี นการสอนหนว่ ยที่ 3

2. ศกึ ษาคาศัพทใ์ นหนว่ ยที่ 3
3. ทาความเข้าใจเกย่ี วกับจุดประสงคก์ ารเรียนของหน่วยท่ี 3 และใหค้ วามร่วมมอื ในการทากจิ กรรมใน

หน่วยที่ 3

ขณะเรยี น

1. ปฏิบตั ติ ามกิจกรรมที่ 3 เรอ่ื งการติดตั้งลิน้ เครอื่ งยนต์และการตรวจสอบสภาพสายพาน
2. ปฏิบัตติ ามแผนฝึกปฏบิ ัตงิ านโครงการ การติดต้ังล้ินเคร่ืองยนตแ์ ละตรวจสอบสภาพสายพานไทมง่ิ
3. รว่ มกันสรปุ “กลไกควบคุมลิ้นเครอื่ งยนต์ 4 จังหวะ”

หลังเรียน

1. ทาแบบประเมนิ การเรียนรู้

ค้ำถำม

1. กลไกควบคุมล้ินแบบเฟอื งไทมง่ิ มีลักษณะอย่างไร
2. เพราะเหตใุ ดจึงต้องตรวจสอบสภาพและการเปล่ียนสายพานไทมงิ่
3. ระบบ VVT-I และ ระบบ VVTL-I มีการทางานอยา่ งไร

ผลงำน/ชินงำน/ควำมส้ำเรจ็ ของผู้เรียน

กิจกรรมท่ี 3 เรื่อง การตดิ ตั้งลนิ้ เครื่องยนตแ์ ละการตรวจสอบสภาพสายพาน

สมรรถนะท่พี ึงประสงค์

ผ้เู รียนสรา้ งความเขา้ ใจเก่ยี วกับ กลไกควบคมุ ล้นิ เคร่ืองยนต์ 4 จงั หวะ

1. วเิ คราะหแ์ ละตคี วามหมาย
2. ตัง้ คาถาม
3. อภปิ รายแสดงความคิดเห็นระดมสมอง
4. การประยกุ ตค์ วามรู้ส่งู านอาชีพ

สมรรถนะกำรปฏบิ ตั ิงำนอำชพี

1. การตรวจสอบสภาพสายพานไทมงิ่
2. การเปล่ียนสายพานไทมงิ่
3. การตดิ ตงั้ ลน้ิ เครื่องยนต์

สมรรถนะกำรขยำยผล

ควำมสอดคลอ้ ง
กลไกควบคุมลิ้นเครื่องยนต์ 4 จังหวะ ทาให้ผเู้ รียนมคี วามร้คู วามเข้าใจมามากก็น้อย เมือ่ ผูเ้ รียนไปทางาน
ทาให้นายจ้างยอมรับความสามารถหรือไมผ่ ู้เรียนนารายได้ที่ได้จากอาชีพนี้มาช่วยในคา่ ใช้จา่ ยอุปกรณ์การเรยี นของ
ผูป้ กครอง

สอ่ื กำรเรยี นกำรสอน/กำรเรยี นรู้

สื่อส่ิงพมิ พ์
7. เอกสารประกอบการสอนวิชา งานถอดประกอบเครอ่ื งกลเบ้อื งตน้ (ใชป้ ระกอบการเรยี นการสอน

จุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรมข้อท่ี 1-5)
8. กิจกรรมรูท้ ่ี 3 เรอ่ื ง การติดตั้งล้ินเคร่อื งยนต์และการตรวจสอบสภาพสายพาน (ใชป้ ระกอบการเรียน

การสอนขนั้ ใหค้ วามรู้ เพอ่ื ให้บรรลจุ ุดประสงค์เชงิ พฤติกรรมข้อที่ 1-5)
9. แบบประเมินผู้เรียนในชน้ั เรยี น ใชป้ ระกอบการสอนข้ันประยกุ ต์ใช้ ขอ้ 1

ส่ือโสตทัศน์ (ถำ้ ม)ี
1. บทเรียนคอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอน เรื่อง กลไกควบคุมลิน้ เครื่องยนต์ 4 จงั หวะ

ส่อื ของจริง
3. กลไกควบคุมลนิ้ เครือ่ งยนต์ 4 จงั หวะ (ใช้ประกอบการเรยี นการสอนจุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรมข้อที่ 1-
5)

แหลง่ กำรเรียนรู้

ในสถำนศึกษำ
1. ห้องสมุดวทิ ยาลยั เทคนิคสมุทรสาคร
2. หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารคอมพิวเตอร์ ศกึ ษาหาขอ้ มูลทางอนิ เทอรเ์ น็ต

นอกสถำนศกึ ษำ
ผู้ประกอบการ สถานประกอบการ ในท้องถิ่นจงั หวัดสมทุ รสาคร

กำรบรู ณำกำร/ควำมสมั พนั ธ์กบั วชิ ำอ่นื

8. บูรณาการกับวชิ าชวี ิตและวฒั นธรรมไทย ดา้ นการพดู การอ่าน การเขียน และการฝึกปฏิบตั ิตนทาง
สงั คมดา้ นการเตรียมความพรอ้ ม ความรบั ผิดชอบ และความสนใจใฝ่รู้

9. บูรณาการกับวิชาการบริหารการจดั ซื้อ ด้านการซอื้ การแสวงหาผลิตภณั ฑ์
10. บูรณาการกบั วิชากฬี าเพอื่ พัฒนาสุขภาพและบุคลิกภาพ ดา้ นบคุ ลกิ ภาพในการนาเสนอหนา้ ชัน้ เรียน
11. บรู ณาการกับวชิ าหลักเศรษฐศาสตร์ ด้านการเลือกใช้ทรพั ยากรอยา่ งประหยดั

กำรประเมินผลกำรเรยี นรู้
 หลักกำรประเมนิ ผลกำรเรียนรู้

ก่อนเรียน
ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรียน

ขณะเรียน
5. ตรวจผลงานตามกิจกรรมท่ี 1
6. สงั เกตการทางาน

หลงั เรียน

ผลงำน/ชนิ งำน/ผลสำ้ เรจ็ ของผู้เรยี น

กจิ กรรมท่ี 3 เรือ่ ง การตรวจสอบสภาพและการเปล่ยี นสายพาน

แบบประเมินผลการนาเสนอผลงาน ขอ้ คิดเห็น
ชื่อกลมุ่ ……………………………………………ชัน้ ………………………ห้อง...........................
รายชื่อสมาชิก

1……………………………………เลขที่……. 2……………………………………เลขท…่ี ….
3……………………………………เลขที่……. 4……………………………………เลขท…ี่ ….

คะแนน
ที่ รายการประเมนิ

32 1

1 เนือ้ หาสาระครอบคลมุ ชดั เจน (ความรเู้ กี่ยวกับเน้ือหา ความถกู ต้อง ปฏิภาณในการตอบ

และการแกไ้ ขปญั หาเฉพาะหนา้ )

2 รปู แบบการนาเสนอ

3 การมีสว่ นรว่ มของสมาชิกในกลมุ่

4 บุคลกิ ลกั ษณะ กิริยา ท่าทางในการพดู นา้ เสียง ซึ่งทาให้ผู้ฟังมีความสนใจ

รวม

ผปู้ ระเมิน…………………………………………………

เกณฑ์กำรใหค้ ะแนน
1. เน้ือหาสาระครอบคลมุ ชดั เจนถูกตอ้ ง

3 คะแนน = มีสาระสาคญั ครบถว้ นถูกต้อง ตรงตามจุดประสงค์
2 คะแนน = สาระสาคญั ไมค่ รบถ้วน แต่ตรงตามจุดประสงค์
1 คะแนน = สาระสาคญั ไม่ถูกตอ้ ง ไมต่ รงตามจดุ ประสงค์
2. รปู แบบการนาเสนอ
3 คะแนน = มรี ูปแบบการนาเสนอท่เี หมาะสม มกี ารใชเ้ ทคนคิ ท่แี ปลกใหม่ ใชส้ อื่ และเทคโนโลยี

ประกอบการ นาเสนอทีน่ า่ สนใจ นาวสั ดใุ นทอ้ งถิ่นมาประยุกต์ใช้อยา่ งคมุ้ คา่ และประหยดั
คะแนน = มีเทคนคิ การนาเสนอท่แี ปลกใหม่ ใชส้ ื่อและเทคโนโลยีประกอบการนาเสนอท่นี ่าสน ใจ แตข่ าดการ

ประยกุ ต์ใช้ วสั ดุในท้องถนิ่
1 คะแนน = เทคนคิ การนาเสนอไมเ่ หมาะสม และไมน่ ่าสนใจ
3. การมีสว่ นรว่ มของสมาชกิ ในกลุม่
3 คะแนน = สมาชิกทุกคนมีบทบาทและมสี ว่ นรว่ มกจิ กรรมกลมุ่
2 คะแนน = สมาชิกสว่ นใหญ่มบี ทบาทและมสี ่วนรว่ มกจิ กรรมกลมุ่

รายละเอยี ดการประเมนิ ผลการเรยี นรู้

 จุดประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม ขอ้ ท่ี 1 ตรวจสอบสภาพสายพานไทม่ิงได้

4. วิธกี ารประเมิน : ทดสอบ

5. เคร่ืองมอื : แบบทดสอบ

6. เกณฑก์ ารให้คะแนน : ตรวจสอบสภาพสายพานไทม่งิ

จะได้ 1 คะแนน

 จุดประสงค์เชงิ พฤติกรรม ข้อท่ี 2 เปลย่ี นสายพานไทมง่ิ ได้

4. วิธกี ารประเมนิ : ทดสอบ

5. เครอื่ งมือ : แบบทดสอบ

6. เกณฑก์ ารให้คะแนน : เปล่ียนสายพานไทม่ิง จะได้ 1 คะแนน

 จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม ข้อท่ี 3 ตดิ ตง้ั ลน้ิ เครื่องยนต์ได้

4. วิธกี ารประเมิน : ทดสอบ

5. เคร่ืองมือ : แบบทดสอบ

6. เกณฑก์ ารให้คะแนน : ติดต้ังลิ้นเครอ่ื งยนต์จะได้ 4 คะแนน

 จุดประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม ขอ้ ท่ี 4 การเตรียมความพรอ้ มด้านการเตรยี ม วสั ดุ อปุ กรณ์นกั ศกึ ษาจะตอ้ ง

กระจายงานไดท้ ัว่ ถงึ และตรงตามความสามารถของสมาชกิ ทุกคนมีการจัดเตรียมสถานท่ี สอื่ วัสดุ อุปกรณ์

ไว้อยา่ งพร้อมเพรยี ง

1. วิธกี ารประเมนิ : ตรวจผลงาน

2. เคร่ืองมอื : แบบประเมนิ กระบวนการทางานกลุม่

3. เกณฑก์ ารให้คะแนน : การเตรียมความพรอ้ มด้านการเตรียม วสั ดุ อปุ กรณ์นักศกึ ษา

จะตอ้ งกระจายงานไดท้ ่วั ถงึ และตรงตามความสามารถของ

สมาชิก

ทกุ คน มกี ารจัดเตรียมสถานที่ สือ่ วัสดุ อุปกรณไ์ วอ้ ยา่ ง
พร้อม

เพรียง จะได้ 2 คะแนน

1 คะแนน = สมาชิกสว่ นน้อยมบี ทบาทและมสี ว่ นรว่ มกจิ กรรมกลมุ่

 จุดประสงค์เชงิ พฤติกรรม ข้อที่ 5 ความมเี หตุมีผลในการปฏบิ ัตงิ าน ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง

นักศึกษาจะตอ้ งมกี ารใช้ เทคนิคที่แปลกใหมใ่ ช้สอ่ื และเทคโนโลยีประกอบการนาเสนอทน่ี ่าสนใจนาวสั ดใุ น

ทอ้ งถิ่นมาประยุกต์ใช้ อย่างคุ้มค่าและประหยัด

1. วธิ กี ารประเมนิ : ตรวจผลงาน

2. เครอ่ื งมือ : แบบประเมนิ กระบวนการทางานกลุม่

3. เกณฑก์ ารให้คะแนน : ความมีเหตุมีผลในการปฏบิ ัตงิ าน ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ

พอเพยี งนักศกึ ษาจะต้องมีการใช้ เทคนคิ ที่แปลกใหมใ่ ชส้ ือ่ และเทคโนโลยี
ประกอบการนาเสนอทน่ี า่ สนใจนา วัสดุในทอ้ งถนิ่ มาประยกุ ต์ใชอ้ ยา่ ง
ค้มุ ค่าและประหยัด จะได้ 2 คะแนน

4. ความสนใจของผูฟ้ งั
3 คะแนน = ผฟู้ งั มากกวา่ รอ้ ยละ 90 สนใจ และใหค้ วามร่วมมือ

กจิ กรรมที่ 1
ประกอบแผนกำรสอนหนว่ ยท่ี 3
เรือ่ ง กลไกควบคมุ ลินเครือ่ งยนต์ 4 จงั หวะ
แผนฝกึ ปฏิบตั งิ ำนโครงกำร กำรติดตงั ลนิ เครื่องยนต์และตรวจสอบสภำพสำยพำนไทมิง่

คำ้ ส่ัง ให้ผู้เรยี นศึกษาทาความเขา้ ใจเก่ยี วกับบทเรียน พร้อมติดตัง้ ลน้ิ เครอ่ื งยนต์และตรวจสอบสภาพ
สายพานไทม่ิง โดยปฏบิ ตั ิตามคาสง่ั ดงั ตอ่ ไปนใ้ี นหอ้ งปฏิบัตกิ ารชา่ ง
1. การติดต้ังลน้ิ เครื่องยนต์

รูปภาพผ้เู รียนติดตงั้ ลนิ ้ เครื่องยนต์

ขน้ั ตอนการตดิ ตง้ั ลิ้นเครื่องยนต์

2. การตรวจสอบสภาพสายพานไทมิง่
รูปภาพผ้เู รียนตรวจสอบสภาพสายพานไทม่ิง

ข้นั ตอนการตรวจสอบสภาพสายพานไทม่ิง

เฉลยแบบฝกึ หดั ที่ 3
เร่ือง กลไกควบคุมลนิ เคร่ืองยนต์ 4 จังหวะ

1.จงบอกผลกระทบจำกสำยพำนไทมิง่ ขำดมำอยำ่ งนอ้ ย 5 ข้อ

วาลว์ คต

ลกู สบู แตก ปะเก็นรั่ว
เครื่องยนต์สตาร์ทไมต่ ดิ แคมเป็ นรอยสกึ

1. ใหน้ ้ำข้อควำมท่ถี กู ตอ้ งเติมใสใ่ นชอ่ งวำ่ งใหส้ ัมพนั ธ์กัน

แบบเฟอื งไทมิง่ แบบโซไ่ ทม่ิง แบบสายพานไทมงิ่

1.1 การทางานเครื่องยนต์ส่งเสยี งดังมากทส่ี ดุ แบบเฟอื งไทมง่ิ
1.2 เพลาลกู เบ้ยี วถกู ขับดว้ ยสายพานแบบมีฟันแทนที่ แบบสายพานไทมง่ิ

1.3 สายพานทไี่ ม่ตอ้ งการการหลอ่ ลื่น แบบสายพานไทมง่ิ
1.4 มีอายกุ ารใช้งาน 100000 กโิ ลเมตรเปลี่ยนใหม่ แบบสายพานไทม่ิง
1.5 ตอ้ งใชไ้ ดอลั เกจวดั ระยะ
แบบเฟอื งไทมงิ่
1.6 ตั้งตั้ง mark ให้ตรงกอ่ นถอดทุกครัง้
1.7 มนี ้าหนักเบาทสี ุด แบบเฟอื งไทมง่ิ
แบบเฟืองไทม่ิง

2.8 อายุการใช้งานยาวนานทีส่ ดุ แบบเฟืองไทมงิ่

ตอนที่ 3 จงท้ำเครอ่ื งหมำย (X) หน้ำขอ้ ย่อยทีถ่ ูกทีส่ ุดเพยี งข้อเดยี ว

1. กลไกควบคมุ ลิ้นมกี ี่แบบ

ก. แบบเฟืองไทม่ิง ค. แบบโซไ่ ทม่งิ

ข. แบบสายพานไทม่ิง ง. ถกู ทกุ ข้อ

2. ข้อใดต่อไปนเี้ ป็นเคร่อื งมือวดั ละเอยี ดความรุนฟนั เฟือง

ก. ไขควง ค. เวอร์เนยี คาลิเปอร์

ข. ไดอลั เกจ ง. ถกู ทกุ ขอ้

3. มาตรฐานการเปลย่ี นสายพานไทมิง่ ท่วั ไปควรจะเปลย่ี นทุกๆกกี่ ิโลเมตร

ก. 1,000 กม. ค. 100 กม.

ข. 10,000 กม. ง. 100,000 กม.

4. การถอดเปล่ียนสายพานไทมิ่งกอ่ นถอดสายตอ้ งตัวลกู สบู 1 ไวต้ าแหน่งใด

ก. ดูด ค. ระเบิด

ข. อดั สุด ง. คาย

5. การถอดเปล่ยี นสายพานไทมงิ่ กอ่ นถอดสายตอ้ งตัวลูกสูบ 1 ไวต้ าแหนง่ ใด

ก. ดูด ค. ระเบิด

ข. อัดสุด ง. คาย

6. แบบใดมอี ายุการใช้นอ้ ยที่สุด

ก. แบบเฟอื งไทมงิ่ ค. แบบโซ่ไทมงิ่

ข. แบบสายพานไทมิง่ ง. ถกู ทกุ ขอ้

7. แบบใดมีอายกุ ารใชง้ านนานทสี่ ุด

ก. ลกู สูบแตก ค. วาล์วรวั่

ก. แหวนนา้ มันรัว่ ง. ยางตนี วาลว์

8. สายพานไทมิ่งขาดมผี ลทาใหเ้ คร่อื งยนต์มปี ัญหาไรบา้ ง

ก. วาล์วคต ค. หัวลูกสูบแตกชนกับวาลว์

ข. แหวนน้ามันร่วั ง. ถูกท้ัง ก.และ ข.

9. การตั้ง matk ไทมิง่ ไมต่ รงตาแหน่งทาให้เกดิ ปัญหา

ก. ลูกสบู แตก ค. คนั เร่งค้าง

ค. แหวนน้ามนั รวั่ ง. ยางตนี วาล์ว

10. สายพานไทม่ิงแบบใดท่ีเร่มิ หมดอายุการใชง้ าน

ก. สายพานเป็นรอยแตก ค. สายพานฉกี

ง. สายพานไหม้ ง. ถูกทกุ ข้อ

กจิ กรรมน้ำสู่อำเซียนหนว่ ยท่ี 3 ตอบ
ตอนท่ี 1 จับค่ขู ้อควำมที่ใหส้ ัมพันธ์กัน A
H
1. อาเซียน (ASEAN) I
2. อาเซยี น บวก 3 มีตัวยอ่ ว่าอยา่ งไร F
3. ASEAN + 3 C
4. เพลงประจาอาเซยี น E
5. How many countries are involved in ASEAN now? G
6. เพลาลูกเบยี้ วคู่ I
7. กลไกควบคมุ ลิ้น D
8. ลน้ิ ไอดี B
9. หัวก้านสูบ
10. แบริ่งข้อออก

A. Association for South East Asian Nations

B. Main Bearing

C. There are 10 countries.

D. Small End

E. Double Overhead Camshaft (DOHC)

F. The ASEAN Way

G. Valve Timing Mechanism

H. APT

I. ASEAN + ญ่ีป่ นุ – เกาหลใี ต้ – จีน

J. Inlet Valve

บนั ทึกหลังกำรสอน

หน่วยที่ 3 กลไกควบคมุ ลินเคร่ืองยนต์ 4 จงั หวะ

ผลกำรใชแ้ ผนกำรเรยี นรู้

1. เน้อื หาสอดคล้องกับจุดประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม
2. สามารถนาไปใช้ปฏิบัตกิ ารสอนไดค้ รบตามกระบวนการเรยี นการสอน
3. สอื่ การสอนเหมาะสมดี

ผลกำรเรียนของนกั เรียน

1. นกั ศกึ ษาส่วนใหญ่มคี วามสนใจใฝ่รู้ เข้าใจในบทเรียน อภปิ รายตอบคาถามในกลุ่ม และร่วมกนั
ปฏบิ ัตใิ บงานที่ได้รบั มอบหมาย

2. นักศึกษากระตอื รือรน้ และรบั ผดิ ชอบในการทางานกลมุ่ เพอ่ื ใหง้ านสาเร็จทนั เวลาทีก่ าหนด
3. นักศึกษา สามารถตรวจสอบสภาพสายพานและเปลย่ี นสายพานไทมิง่ ได้

ผลกำรสอนของครู

1. สอนเน้ือหาได้ครบตามหลกั สูตร
2. แผนการสอนและวิธกี ารสอนครอบคลุมเนื้อหาการสอนทาให้ผู้สอนสอนได้อยา่ งมั่นใจ
3. สอนไดท้ นั ตามเวลาทกี่ าหนด

แผนกำรสอน/แผนกำรเรยี นรู้ภำคทฤษฎีและปฏบิ ตั ิ

แผนการสอน/การเรียนรู้ภาคทฤษฎีและปฏิบตั ิ หน่วยท่ี 4

ชื่อวชิ า งานถอดประกอบเครอื่ งกลเบอ้ื งต้น สอนสัปดาหท์ ่ี 5-
PRELIMINARY Basic Mechanical Assembly 6

ช่อื หนว่ ย เศรษฐกจิ พอเพยี ง และกำรบริกำรฝำสบู เสอื สูบ คาบรวม 8
เครื่องยนต์แก๊สโซลนี

ชือ่ เรอื่ ง เศรษฐกิจพอเพียง และกำรบรกิ ำรฝำสูบ เสือสบู เครื่องยนตแ์ ก๊สโซลีน จานวนคาบ 8

หวั ขอ้ เร่ือง

ดำ้ นควำมรู้

29. เศรษฐกิจพอเพยี งกับการทางาน
30. ศกึ ษาความร้เู กี่ยวกบั ชนิ้ ส่วนอุปกรณ์ทมี่ คี วามสาคัญของเครอ่ื งยนต์

ด้ำนทกั ษะ

31. ถอดประกอบเสื้อสูบเครอื่ งยนตแ์ กส๊ โซลีนได้
32. ใช้เครอื่ งมือวัดละเอยี ดฝาสูบได้
33. ใช้เคร่ืองมือปฏิบัตงิ านเคร่อื งยนต์ได้อย่างถกู วิธี
34. การบรกิ ารวาลว์ ไอดไี อเสยี ได้
ดำ้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม

7. ความรบั ผดิ ชอบ

8. ความสนใจใฝค่ วามรู้

9. ร้คู ุณคา่ ของเคร่ืองมืออุปกรณ์ในการทางานกบั สงิ่ แวดล้อม

สำระสำ้ คญั

1. เศรษฐกิจพอเพียงกับการทางาน
2. การถอดวาลว์ ไอดไี อเสียและวดั ละเอียด
3. การถอดประกอบฝาสูบและการบริการฝาสบู เครื่องยนต์
4. การใชเ้ คร่ืองมอื วดั ช้ินสว่ นฝาสบู และเส้อื สูลบ

สมรรถนะอำชีพประจำ้ หน่วย

เพอ่ื ให้มเี จตคติทีด่ ีในการนาปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งและการนาความรู้เก่ียวเครื่องมอื และอปุ กรณ์ไป
ประยกุ ต์ใช้ในการทางานในชวี ติ ประจาวนั

คำ้ ศัพท์ส้ำคัญ

3. ฝาสบู เคร่อื งยนต์ (Cylinder Head) เปน็ ช้ินสว่ นทตี่ ิดตง้ั อยูบ่ นเสอ้ื สบู ทาหน้าทเ่ี ปน็ สว่ นประกอบ

ของหอ้ งเผาไหม้ และมอี ปุ กรณ์ลนิ้ ปดิ -เปิดบนฝาสูบ และยังมชี ่องหวั เทยี น ดงั น้ันฝาสบู จงึ ต้องมีความแข็งแรง และ

ทนตอ่ อณุ หภมู จิ ากการทางานของเคร่อื งยนตไ์ ด้ ด้วยเหตนุ ้ีฝาสูบจึงทามาจากเหล็กหล่อหรือโลหะผสม

อลมู เิ นียม แต่ระยะหลงั ไดห้ นั มาใช้อลมู เิ นียมมากขนึ้ เน่ืองจากมนี า้ หนักเบาและยงั ระบายความรอ้ นได้ดีอีกด้วย

4. เสอ้ื สบู ( CYLINDER BLOCK ) เสอ้ื สบู เปน็ ชิ้นส่วนท่ีใหญ่และมนี า้ หนักมากทีส่ ดุ เป็นท่ตี ิดตง้ั

ชน้ิ สว่ นต่างๆ ช้นิ สว่ นท่ีตดิ กบั เสอ้ื สบู ไดแ้ กก่ ระบอกสูบหลาย ๆ ชุด ซึ่งมีลกู สูบเคลอื่ นท่ีขึ้นและลงอยภู่ ายใน เพลาข้อ

เหวย่ี ง เพลาลกู เบี้ยว วาลว์ จานจ่าย เป็นตน้ ลกั ษณะของเสื้อสบู ที่เรามักพบเหน็ กันบ่อยก็จะมที ั้งแบบตวั วีหรอื

แบบแถวเรียง

5. เพลาลกู เบี้ยว ( CAM SHAFT ) ส่วนปลายสุดของแคมชาฟทน์ ้นั จะมเี ฟืองเพลาลูกเบี้ยว ซ่งึ จะถกู

ขบั ให้หมุนโดยเพลาข้อเหวีย่ ง เฟืองของเพลาลกู เบย้ี วจะใหญ่กวา่ เฟอื งข้อเหวีย่ งสองเทา่ จึงทาใหเ้ พลาลูกเบ้ียวน้ัน

มีการหมนุ 1รอบ แตเ่ พลาข้อเหว่ียงหมนุ 2รอบ หน้าที่ของแคมชาฟทน์ ้ันคือบงั คับการปดิ -เปิด ของลน้ิ ให้เป็นไป

ตามจงั หวะของเครอื่ งยนต์

6. ประเกน็ ( GASKET ) เป็นตัวค่นั กลางระหว่างหนา้ สมั ผัสของโลหะเพอื่ ปอ้ งกันการรว่ั ซ่ึงสว่ นใหญ่

ที่รู้จักกนั ก็จะมีประเกน็ ฝาสบู ,ประเก็นอ่างน้ามันเครอ่ื ง

7. ลูกกระทุ้ง(Cam follower) เปน็ ตวั กลาง ถา่ ยทอดแรงกระทาจากเพลาลกู เบี้ยว (Camshaft) ที่อยู่

ภายในหอ้ งเส้อื สูบ ไปยังกา้ นกระทุ้ง เพ่ือกระตุน้ ใหว้ าลว์ ไอดี หรือไอเสยี ด้านบนเสอ้ื สบู ทาการเปิด หรือ ปดิ

8. กระเดื่องวาลว์ (Rocker arm) ตดิ ตง้ั เกาะตดิ อยู่กบั ด้านบนของฝาสูบ (Cylinder head) ปลายขา้ ง

หนง่ึ ของกระเดอ่ื งวาลว์ (Rocker arm) เกาะติดอย่กู ับปลายวาลว์ ส่วนปลายอกี ดา้ นหน่งึ ยึดกับ กา้ นกระทงุ้

(Pushrod) เมือ่ เพลาลูกเบยี้ ว (Camshaft) หมนุ ก็จะสง่ แรงกระทาไปกับ ลูกกระทุ้ง (Cam follower) สง่ ตอ่ ไป

ใหก้ ับกา้ นกระท้งุ ไปดันให้ กระเด่อื งวาลว์ เกดิ การกระดกข้ึน เมือ่ ปลายขา้ งหนงึ่ ของกระเดอื่ งวาล์วกระดกขึน้ กจ็ ะ

ทาให้ปลายอีกข้างหน่ึง ทยี่ ดึ ติดกบั ปลาย วาลว์ ถูกกดลงไป เม่ือวาลว์ ถกู กดลงไป นน่ั ก็คือการเปิดวาล์วใหอ้ ากาศไหล

ผา่ นเข้า หรอื ออกในหอ้ งเผาไหม้ได้

จดุ ประสงค์กำรสอน/กำรเรยี นรู้

 จดุ ประสงค์ท่ัวไป / บูรณำกำรเศรษฐกิจพอเพยี ง

11. เพ่ือใหม้ ีความรคู้ วามเข้าใจเก่ยี วกบั เครื่องมือช่างพน้ื ฐาน (ดา้ นความรู)้
12. เพ่อื ให้เกิดทักษะในการใช้เคร่ืองมือวัดละเอียดและสามารถนาไปใช้ในชวี ติ ประจาวัน (ดา้ นทักษะ)
13. เพื่อให้มเี จตคติท่ีดีในการนาปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งไปใช้ในชวี ิตประจาวัน (ดา้ นทักษะ)
14. เพ่ือให้มีเจตคติที่ดีต่อการเตรียมพร้อมด้าน วัสดุ อุปกรณ์ และการปฏิบัติงานอย่างถูกต้องสาเร็จภายใน

เวลาทก่ี าหนด มเี หตแุ ละผลตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ด้านคุณธรรมจริยธรรม)

 จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม / บรู ณำกำรเศรษฐกจิ พอเพียง

16. ถอดประกอบชิ้นส่วนฝาสูบเสอื้ สบู ได้ (ด้านทักษะ)
17. ใช้เครอื่ งมอื วัดละเอยี ดฝาสูบเสื้อสบู ได้ (ดา้ นทกั ษะ)
18. ใช้เครอื่ งมือปฏบิ ตั งิ านเครอื่ งยนตไ์ ดอ้ ย่างถูกวธิ ี (ด้านทักษะ)
19. การบรกิ ารวาลว์ ไอดไี อเสียได้ (ด้านทกั ษะ)
20. นาหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งไปปรบั ใช้ในชีวิตประจาวันได้ (ดา้ นทักษะ)
21. นาวชิ าความรู้ทไี่ ด้มาประยุกต์ใช้ในการดาเนินชวี ติ ได้ (ดา้ นทักษะ)
22. การเตรียมความพรอ้ มด้านกาเตรยี ม วัสดุ อปุ กรณน์ ักเรยี นจะต้องกระจายงานไดท้ ว่ั ถงึ และตรงตาม

ความสามารถของสมาชิกทุกคน มกี ารจดั เตรยี มสถานที่ สื่อ วัสดุ อุปกรณ์ไวอ้ ย่างพรอ้ มเพยี ง (ดา้ น
คณุ ธรรมจริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพียง)
23. ความมีเหตุมีผลในการปฏิบตั งิ าน ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง นักเรยี นจะต้องมกี ารใชเ้ ทคนิคท่ี
แปลกใหม่ใช้สอ่ื และเทคโนโลยีประกอบการนาเสนอทน่ี า่ สนใจนาวัสดใุ นท้องถน่ิ มาประยุกต์ใช้ อยา่ ง
คุม้ ค่าและประหยดั (ด้านคุณธรรม จริยธรรม/ บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง

เนอื หำสำระกำรสอน/กำรเรยี นรู้

• ดำ้ นควำมรู้(ทฤษฎี)

“เศรษฐกิจพอเพียง” เปน็ ปรัชญาทีพ่ ระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู วั ทรงมพี ระราชดารสั ชี้แนะแนวทางการ
ดาเนนิ ชีวิตแก่พสกนกิ รชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า ๒๕ ปี ต้ังแตก่ ่อนวกิ ฤตกิ ารณท์ างเศรษฐกจิ และเมอื่ ภายหลังได้
ทรงเนน้ ย้าแนวทางการแก้ไขเพื่อให้รอดพ้นและสามารถดารงอย่ไู ดอ้ ยา่ งมั่นคงและยงั่ ยนื ภายใตก้ ระแสโลกาภิวัตน์
และความเปล่ียนแปลงตา่ งๆ

ปรชั ญำของเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพยี ง เปน็ ปรัชญาชถ้ี ึงแนวการดารงอยู่และปฏิบัตติ นของประชาชนในทกุ ระดับต้งั แต่ระดับ

ครอบครวั ระดบั ชมุ ชนจนถึงระดับรัฐ ท้ังในการพฒั นาและบริหารประเทศใหด้ าเนนิ ไปใน ทางสายกลางโดยเฉพาะ
การพัฒนาเศรษฐกิจเพอ่ื ให้กา้ วทนั ตอ่ โลกยุคโลกาภิวตั น์ความพอเพียงหมายถงึ ความพอประมาณ ความมเี หตุผล
รวมถงึ ความจาเปน็ ทจ่ี ะตอ้ งมีระบบภมู คิ ุ้มกันในตัวทด่ี พี อสมควรตอ่ การมีผลกระทบใดๆ อนั เกิดจากการ
เปลี่ยนแปลงทัง้ ภายนอกและภายใน ทง้ั น้จี ะต้องอาศยั ความรอบรูค้ วามรอบคอบ และความระมดั ระวังอย่างยง่ิ ใน
การนาวชิ าการตา่ ง ๆมาใช้ในการวางแผนและการดาเนินการทุกขัน้ ตอนและขณะเดียวกนั จะตอ้ งเสริมสร้างพ้ืนฐาน
จติ ใจของคนในชาติโดยเฉพาะเจ้าหน้าทข่ี องรฐั นกั ทฤษฎแี ละนกั ธรุ กิจในทกุ ระดบั ใหม้ ีสานกึ ในคณุ ธรรม ความ
ซ่อื สัตย์สุจรติ และใหม้ ีความรอบรู้ท่ีเหมาะสม ดาเนนิ ชวี ิตดว้ ยความอดทน ความเพียร มีสติ ปญั ญาและความ
รอบคอบเพื่อให้สมดลุ และพรอ้ มตอ่ การรองรบั การเปลย่ี นแปลงประมวลและกล่ันกรองจากพระราชดารัสของ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเรื่องเศรษฐกจิ พอเพียง ซงึ่ พระราชทานในวโรกาสต่าง ๆ รวมทัง้ พระราชดารัสอ่ืน ๆที่
เกย่ี วข้อง โดยได้รับพระราชทานพระบรมราชานญุ าติใหน้ าไปเผยแพร่ เมื่อวนั ที่ ๒๑พฤศจกิ ายน ๒๕๔๒ เพ่ือเปน็
แนวทางปฏบิ ตั ขิ องทกุ ฝ่ายและประชาชนโดยทั่วไป

ชนิ ส่วนส้ำคญั ของเครอ่ื งยนต์
ฝาสบู เครอ่ื งยนต์ (Cylinder Head) เปน็ ช้ินสว่ นทป่ี ดิ อย่สู ว่ นบนของเสือ้ สูบโดยมีปะเก็นฝาสบู (Gasket)

ผนกึ กันร่วั ฝาสูบหลอ่ เป็นชิ้นเดียวกันตลอด ภายในเป็นโพรงช่องนา้ หล่อเย็น ด้านล่างจะต้องเรยี บเนอื่ วจากฝาสบู
จะตอ้ งรบั ความร้อนสูงและความร้อนเหลา่ นจี้ ะต้องถูกถ่ายเทออกไปโดยเรว็ เพอ่ื ปอ้ งกนั ไมใ่ หเ้ กิด จุดร้อนส่งผลให้
เครื่องนอ็ กได้

๐ฟ ฌซ ฿”

ปะเก็นฝาสูบเครื่องยนต์ ระหวา่ งฝาสูบท่ีสมั ผสั กับเส้ือสบู ต้องใช้ปะเกน็ ฝาสูบประกอบด้วยแอสเบสทอสเปน็
ด้ายหรอื เชือกใชท้ อเป็นแผ่นหรืออดั เปน็ แผน่ ออ่ นตัวไดด้ ีแนบกบั ผิวท่ีแข็งไดโลหะสว่ นใหญ่เปน็ แผ่นทองแดง
อะลมู เิ นยี มหรือเหลก็ ออ่ นจงึ มคี วามแข็งแรงและนาความร้อนได้ดี

ลกู กระทงุ้ (Cam follower) เป็นตัวกลาง ถา่ ยทอดแรงกระทาจากเพลาลกู เบยี้ ว ที่อยภู่ ายในห้องเส้อื สูบ ไป
ยังก้านกระทุ้ง เพ่ือกระตนุ้ ใหว้ าล์วไอดหี รอื ไอเสีย ดา้ นบนเสื้อสบู เปดิ หรอื ปิดการวดั ขนาดเส้นผา่ นศูนย์กลาง
ภายนอกลูกกระทุ้งลกู กระท้งุ วาลว์ มชี อื่ เรียกเป็นภาษาองั กฤษไดห้ ลายอย่าง ไดแ้ ก่ valve lifter, valve tappet
และ cam follower โดยทวั่ ไปลูกกระทุ้งมี 2 แบบคือ ลกู กระทุ้งธรรมดาและลกู กระทุง้ ไฮดรอลกิ ลกู กระทุ้ง
ธรรมดามีลักษณะเป็นทรงกระบอก วางอยรู่ ะหว่างลกู เบยี้ วของเพลาลกู เบ้ียว กับก้านกระทงุ้ ลูกกระท้งุ สามารถหมุน
ได้ด้วยวธิ ีคลา้ ยกับการหมนุ ของวาลว์ โดยกระเดอื่ งวาล์วคือ ลูกกระทงุ้ อยู่ในตาแหนง่ เยอ้ื งศูนย์ของลกู เบี้ยวเลก็ นอ้ ย
การหมุนของลูกกระทุ้ง ช่วยให้การสกึ หรอกระจายไปท่ัวผวิ หนา้ อย่างสม่าสมอมากขน้ึ สว่ นมากมกั ออกแบบให้
ผิวหนา้ ของลกู กระทุ้งนูนออกมาเล็กนอ้ ยการหมุนของลกู กระทงุ้ ยงั ชว่ ยปอ้ งกนั การเกดิ เมอื ก(sludge) สะสม

กระเด่อื งวาลว์ (Rocker arm) ตดิ ต้งั เกาะตดิ อยู่กับดา้ นบนของฝาสบู (Cylinder head) ปลายข้างหน่ึง
ของกระเด่อื งวาล์ว (Rocker arm) เกาะติดอย่กู ับปลายวาลว์ ส่วนปลายอีกดา้ นหน่ึง ยึดกบั กา้ นกระท้งุ (Pushrod)
เม่ือเพลาลกู เบย้ี ว (Camshaft) หมุน กจ็ ะส่งแรงกระทาไปกบั ลูกกระทงุ้ (Cam follower) ส่งตอ่ ไปให้กับก้าน
กระทุ้ง ไปดันให้ กระเด่อื งวาล์ว เกิดการกระดกขึน้ เม่ือปลายข้างหนงึ่ ของกระเดอ่ื งวาล์วกระดกขน้ึ ก็จะทาให้
ปลายอีกข้างหนงึ่ ทยี่ ดึ ติดกับปลาย วาล์วถูกกดลงไป เมือ่ วาลว์ ถกู กดลงไป นัน่ ก็คอื การเปิดวาล์วให้อากาศไหลผ่าน
เข้หรอื ออกในห้องเผาไหม้ได้

วาลว์ ไอดไี อเสียติดตัง้ เกาะติดอยูก่ บั ด้านบนของฝาสบู (Cylinder head) ล้ินท่ผี ลติ ทนความรอนได้ดีเปน็
พเิ ศษ ตอ้ งมีสภาพไม่เปลีย่ นแปลง เม่อื ทางานท่ีอุณหภูมแิ ละความดันสงู ผวิ หน้าของล้นิ ไอดี ชบุ แข็งด้วยวธิ ีการ
ความถ่ีสงู สว่ นผิวหนา้ ล้นิ ไอเสยี จะถูกผ่านการเคลือบแขง็ แบบสเตลไลทเ์ ฟซซ่ิง

ตีนลนิ ้
ก้ ำนลนิ ้
หวั ลนิ้
หน้ ำลนิ ้

สปริงลนิ้ (valve spring) ทาหน้าท่ีดันลิน้ ใหป้ ิดและทาใหห้ น้าลิ้นสนทิ กบั บ่าลน้ิ อยู่ตลอดเวลาเพื่อไม่ใหเ้ กิด
การร่วั ไหลของไอดีและไอเสียได้

เพลาลูกเบ้ียว(Camshaft) ทาหนา้ ที่หมนุ เพอ่ื เปดิ ปิดล้นิ ไอดแี ละลน้ิ ไอเสยี ให้ได้ตามจงั หวะการทางานของเครื่องยนต์เพลาลูกเบ้ียวทาจากเหล็กหล่อขน้ึ รปู ท่ที นทานตอ่ แรงบิดแรงเสยี ดสีไดด้ ีส่วนโค้งของยอดลูก

เบ้ยี วจะออกแบบให้หมุนเปดิ ลนิ้ ได้รวดเร็วและเม่ือยอดลกู เบีย้ วหมนุ เลยไปกจ็ ะใหม้ ีสว่ นลาดโคง้ มากขึน้ เพอ่ื ใหล้ ิ้นคอ่ ย ๆเล่อื นลงปิดที่บา่ ลิ้นเพลาลกู เบย้ี วจะหมนุ ไดเรว็ หรอื ช้าขึน้ อยูก่ ับความเรว็ ของเพลาข้อเหวี่ยงเนื่องจากเพลาลกู เบีย้ วรบั กาลงั ขบั โดยตรงจากเพลา
ขอ้ เหวยี่ ง

• ดำ้ นทักษะ(ปฏบิ ตั ิ)

2. กำรถอดวำล์วไอดีไอเสยี และวัดละเอียด
3. กำรถอดฝำสูบกำรบรกิ ำรฝำสบู
4. กำรใช้เครอ่ื งมอื วัดชินส่วนฝำสบู และเสอื สูบ
5. ใบงำนที่ 4 กำรบรกิ ำรฝำสบู เครอ่ื งยนต์แก๊สโซลีน

• ด้ำนคุณธรรม/จริยธรรม/จรรยำบรรณ/บูรณำกำรเศรษฐกจิ พอเพยี ง

(จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมขอ้ ท่ี 4-5)

6. การเตรียมความพร้อมด้านการเตรียม วัสดุ อุปกรณน์ ักศึกษาจะต้องกระจายงานได้ทั่วถึง และตรงตาม
ความสามารถของสมาชิกทุกคน มีการจัดเตรียมสถานท่ี สือ่ วัสดุ อุปกรณ์ไวอ้ ย่างพรอ้ มเพรียง

3. ความมีเหตมุ ีผลในการปฏิบตั งิ าน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง นักศึกษาจะตอ้ งมีการใช้
เทคนิคท่ีแปลกใหม่ใช้สื่อและเทคโนโลยีประกอบการนาเสนอท่ีน่าสนใจนาวัสดุในท้องถ่ินมาประยุกต์ใช้
อย่างค้มุ คา่ และประหยดั

กจิ กรรมกำรเรียนกำรสอนหรือกำรเรยี นรู้

ขันตอนกำรสอนหรอื กิจกรรมของครู ขนั ตอนกำรเรยี นรู้หรือกิจกรรมของนักเรยี น

1. ขันน้ำเข้ำสบู่ ทเรียน (15 นำที ) 1. ขนั นำ้ เข้ำสู่บทเรยี น (15 นำที )

จัดให้นักเรยี นศึกษาความรู้ในบทเรยี น นกั เรียนศกึ ษาคาศพั ท์ในบทเรียน

4. ผู้สอนจัดเตรียมเอกสาร พร้อมกับแนะนา 4. ผู้เรียนเตรียมอุปกรณ์และ ฟังครูผู้สอนแนะนา

รายวิชา วิธีการให้คะแนนและวิธีการเรียนเรื่อง รายวิชา วิธีการให้คะแนนและวิธีการเรียนเรื่อง

เศรษฐกิจพอเพียงและการบริการฝาสูบเคร่ืองยนต์ เศรษฐกิจพอเพียงและการบริการฝาสูบเคร่ืองยนต์แก๊ส

แก๊สโซลีน โซลนี

5. ผู้สอนแจ้งจุดประสงค์การเรียนของหน่วย 5. ผู้เรียนทาความเข้าใจเกี่ยวกับจุดประสงค์การ

เรียนท่ี 3 และขอให้ผู้เรียนร่วมกันทากิจกรรมการ เรยี นของหน่วยเรียนท่ี 3 และการให้ความรว่ มมอื ในการ

เรยี นการสอน ทากจิ กรรม

6. ผู้สอน ให้ผู้เรียน แสดง ความรู้เกี่ ยว กั บ 6. ผู้เรียนแสดงความรู้ความรู้เกี่ยวกับเศรษฐกิจ

เศรษฐกิจพอเพียงและการบริการฝาสูบเครื่องยนต์ พอเพยี งและการบรกิ ารฝาสบู เครื่องยนตแ์ กส๊ โซลนี

แก๊สโซลนี

2. ขนั ให้ควำมรู้ (105 นำที )

2. ขันให้ควำมรู้ (105 นำที) 3. ผู้เรียนศึกษาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

3. ผู้สอนแนะนาวิธีการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ หน่วยท่ี 4 เศรษฐกิจพอเพียงและการบริการฝาสูบ
ช่วยสอน หน่วยที่ 4 เศรษฐกิจพอเพียงและการ เคร่ืองยนต์แก๊สโซลีน และให้ผู้เรียนศึกษาเอกสาร
บริการฝาสูบเครื่องยนต์แก๊สโซลีน และให้ผู้เรียน ประกอบการสอน เศรษฐกิจพอเพียงและการบริการฝา
ศึกษาเอกสารประกอบการสอน เศรษฐกิจพอเพียง สูบเคร่ืองยนต์แก๊สโซลีน หน่วยท่ี 4 หน้าท่ี 69-82
และการบริการฝาสูบเครื่องยนต์แก๊สโซลีน หน่วยท่ี 4 ประกอบกบั บทเรยี นคอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอน
4. ผู้เรียนร่วมมือกับผู้สอนอธิบายเกี่ยวกับ หลัก
หน้าท่ี 69-82
4. ผู้สอนและผเู้ รยี นร่วมกนั อธบิ ายเกยี่ วกับ หลัก ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง , ชน้ิ ส่วนสาคัญของเครอ่ื งยนต์
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง , ชิ้นส่วนสาคัญของ , การถอดวาล์วไอดีไอเสียและวัดละเอียด, การถอดฝา
เคร่ืองยนต์, การถอดวาล์วไอดีไอเสียและวัดละเอียด, สูบและการบริการฝาสูบ, การใช้เครื่องมือวัดชิ้นส่วนฝา
การถอดฝาสูบและการบริการฝาสูบ, การใช้เครื่องมือ สบู และเสื้อสูบ ตามท่ีได้ศึกษาจากบทเรียนคอมพิวเตอร์
วัดช้ินส่วนฝาสูบและเสื้อสูบ ตามที่ได้ศึกษาจาก ช่วยสอน

บทเรียนคอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอน

กิจกรรมกำรเรียนกำรสอนหรอื กำรเรียนรู้

ขนั ตอนกำรสอนหรอื กิจกรรมของครู ขันตอนกำรเรยี นรูห้ รอื กิจกรรมของนกั เรยี น

3. ขนั ประยกุ ต์ใช้ ( 300 นำที ) 3. ขันประยุกตใ์ ช้ ( 300 นำที )

3. ผูส้ อนใหผ้ ู้เรียนทากิจกรรมใบงานท่ี 4 หน้าที่ 3. ผู้เรียนทากิจกรรมใบงานท่ี 3 หน้าท่ี 30
84 เรอ่ื ง การบริการฝาสบู เส้อื สบู เคร่ืองยนต์แก๊สโซลีน เร่ือง การติดต้ังลิ้นเคร่ืองยนต์และการตรวจสอบสภาพ
4. ผสู้ อนใหผ้ ูเ้ รียนสืบคน้ ข้อมูลจากอนิ เทอรเ์ นต็ สายพาน
4. ผเู้ รยี นสบื คน้ ข้อมูลจากอินเทอร์เนต็

4. ขนั สรปุ และประเมนิ ผล ( 60 นำที )
3. ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันสรุปเน้ือหาท่ีได้เรียน 4. ขันสรปุ และประเมินผล ( 60 นำที )
3. ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันสรุปเน้ือหาที่ได้เรียน
ให้มคี วามเข้าใจในทศิ ทางเดียวกัน
4. ผู้สอนให้ผู้เรียนศึกษาเพิ่มเติมนอกห้องเรียน เพ่ือใหม้ ีความเขา้ ใจในทศิ ทางเดยี วกนั
4. ผู้เรียนศึกษาเพิ่มเติมนอกห้องเรียน ด้วย
ดว้ ยบทเรยี นคอมพวิ เตอรช์ ่วยสอนที่จัดทาขึ้น

บทเรยี นคอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอนท่ีจัดทาขน้ึ

(บรรลุจุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรมข้อที่ 1-5) (บรรลุจดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรมข้อท่ี 1-5)

(รวม 480 นำที หรอื 8 คำบเรียน)

งำนท่มี อบหมำยหรือกิจกรรมกำรวดั ผลและประเมนิ ผล

ก่อนเรียน

1. จัดเตรียมเอกสาร ส่ือการเรยี นการสอนหน่วยที่ 4
2. ศึกษาคาศพั ท์ในหนว่ ยที่ 4
3. ทาความเข้าใจเกยี่ วกับจดุ ประสงคก์ ารเรียนของหนว่ ยท่ี 4 และให้ความรว่ มมอื ในการทากิจกรรมใน

หนว่ ยที่ 4

ขณะเรยี น

4. ปฏบิ ตั ติ ามกิจกรรมที่ 4 เรอื่ งเศรษฐกจิ พอเพียง และการบรกิ ารฝาสูบเครอื่ งยนต์แกส๊ โซลีน
5. ปฏิบตั ิตามแผนฝึกปฏิบัติงานโครงการ ทารายงานเกย่ี วกับการตรวจซอ่ มและประกอบชดุ เสือ้ สูบ

เคร่ืองยนต์แกส๊ โซลีน
6. รว่ มกันสรุป “เศรษฐกิจพอเพียง และการบรกิ ารฝาสูบเครอ่ื งยนต์แก๊สโซลนี ”

หลงั เรยี น

2. ทาแบบประเมินการเรยี นรู้

คำ้ ถำม

4. หลกั เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนามาประยุกตใ์ ชก้ บั การทางานไดอ้ ย่างไร
5. เพราะเหตใุ ดเราจึงต้องยึดหลกั เศรษฐกิจพอเพียง
6. การบรกิ ารฝาสบู จะทาเม่ือใด

ผลงำน/ชนิ งำน/ควำมสำ้ เร็จของผู้เรียน

กิจกรรมท่ี 4 เร่ือง การบริการฝาสูบเสอ้ื สูบเครอื่ งยนต์แก๊สโซลีน

สมรรถนะที่พึงประสงค์

ผูเ้ รยี นสร้างความเขา้ ใจเกีย่ วกบั หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง และการบรกิ ารฝาสูบเสือ้ สบู เครอ่ื งยนตแ์ ก๊ส
โซลีน
5. วิเคราะห์และตีความหมาย

6. ตัง้ คาถาม
7. อภิปรายแสดงความคิดเห็นระดมสมอง
8. การประยกุ ตค์ วามรสู้ ่งู านอาชีพ

สมรรถนะกำรปฏิบตั ิงำนอำชพี

4. ถอดประกอบชดุ ฝาสูบเสอ้ื สูบเคร่ืองยนตแ์ ก๊สโซลีนได้
5. ถอดวาล์วไอดไี อเสียและวดั ละเอยี ดได้

สมรรถนะกำรขยำยผล

ควำมสอดคลอ้ ง
หลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง และการบริการฝาสูบเส้ือสูบเคร่ืองยนตแ์ กส๊ โซลีนทาใหผ้ ู้เรยี นมคี วามรู้ความ
เขา้ ใจมามากก็น้อย เม่ือผเู้ รียนไปทางานทาใหน้ ายจ้างยอมรบั ความสามารถหรือไม่ผ้เู รียนนารายไดท้ ไี่ ดจ้ ากอาชีพน้ี
มาชว่ ยในค่าใชจ้ ่ายอปุ กรณ์การเรียนของผู้ปกครอง

ส่ือกำรเรยี นกำรสอน/กำรเรยี นรู้

สอ่ื ส่งิ พิมพ์
10. เอกสารประกอบการสอนวิชา งานถอดประกอบเครอ่ื งกลเบอื้ งตน้ (ใช้ประกอบการเรยี นการสอน

จดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรมขอ้ ท่ี 1-5)
11. กจิ กรรมรูท้ ่ี 4 เรือ่ ง การบรกิ ารฝาสบู เสอื้ สูบเครื่องยนต์แกส๊ โซลีน (ใช้ประกอบการเรียนการสอนขนั้

ให้ความรู้ เพื่อใหบ้ รรลจุ ุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรมข้อที่ 1-5)
12. แบบประเมนิ ผู้เรียนในช้นั เรียน ใช้ประกอบการสอนขน้ั ประยุกตใ์ ช้ ขอ้ 1

สื่อโสตทศั น์ (ถำ้ ม)ี
บทเรียนคอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอน เรอ่ื ง หลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และการบริการฝาสบู เสอ้ื สบู เครื่องยนต์
แกส๊ โซลีน

สอ่ื ของจริง
หลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง และการบริการฝาสบู เสื้อสูบเครือ่ งยนตแ์ กส๊ โซลนี (ใชป้ ระกอบการเรียนการ
สอนจดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรมขอ้ ท่ี 1-5)

แหล่งกำรเรียนรู้

ในสถำนศกึ ษำ
1. ห้องสมุดวิทยาลัยเทคนิคสมุทรสาคร
2. ห้องปฏิบตั ิการคอมพวิ เตอร์ ศกึ ษาหาขอ้ มลู ทางอนิ เทอรเ์ น็ต

นอกสถำนศึกษำ
ผู้ประกอบการ สถานประกอบการ ในทอ้ งถิ่นจงั หวัดสมุทรสาคร

กำรบรู ณำกำร/ควำมสมั พนั ธก์ ับวชิ ำอ่นื

12. บูรณาการกบั วชิ าชีวติ และวฒั นธรรมไทย ดา้ นการพดู การอ่าน การเขียน และการฝึกปฏิบตั ิตนทาง
สังคมดา้ นการเตรียมความพรอ้ ม ความรับผิดชอบ และความสนใจใฝ่รู้

13. บูรณาการกับวิชาการบรหิ ารการจดั ซื้อ ด้านการซื้อ การแสวงหาผลิตภัณฑ์
14. บูรณาการกับวิชากีฬาเพื่อพัฒนาสุขภาพและบุคลิกภาพ ดา้ นบคุ ลกิ ภาพในการนาเสนอหนา้ ชัน้ เรียน
15. บรู ณาการกับวชิ าหลกั เศรษฐศาสตร์ ด้านการเลือกใชท้ รพั ยากรอยา่ งประหยดั

กำรประเมินผลกำรเรียนรู้
 หลกั กำรประเมินผลกำรเรียนรู้

กอ่ นเรียน
ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน

ขณะเรยี น
7. ตรวจผลงานตามกจิ กรรมท่ี 1
8. สังเกตการทางาน

หลังเรยี น

-

ผลงำน/ชินงำน/ผลสำ้ เร็จของผเู้ รยี น

กิจกรรมที่ 4 เรือ่ ง การตรวจซ่อมและประกอบชดุ เสื้อสูบเคร่อื งยนตแ์ ก๊สโซลนี

รายละเอยี ดการประเมินผลการเรยี นรู้

 จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม ขอ้ ท่ี 1-3 ถอดประกอบฝาสูบเสอ้ื สบู เคร่อื งยนต์แก๊สโซลนี ได้

7. วิธกี ารประเมนิ : ทดสอบ

8. เครือ่ งมือ : แบบทดสอบ

9. เกณฑ์การให้คะแนน : ถอดประกอบฝาสูบเส้ือสบู เครอ่ื งยนต์แกส๊ โซลีนได้ จะได้ 1 คะแนน

 จุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม ขอ้ ท่ี 2 -4 การบริการวาลว์ ไอดีไอเสียและวดั ละเอยี ด

7. วิธีการประเมิน : ทดสอบ

8. เครอื่ งมอื : แบบทดสอบ

9. เกณฑก์ ารให้คะแนน : การบริการวาล์วไอดีไอเสยี และวัด

ละเอยี ด จะได้ 1 คะแนน

 จุดประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม ขอ้ ที่ 4 การเตรยี มความพร้อมดา้ นการเตรยี ม วัสดุ อุปกรณน์ ักศกึ ษาจะตอ้ ง

กระจายงานได้ทั่วถึง และตรงตามความสามารถของสมาชกิ ทกุ คนมกี ารจัดเตรียมสถานที่ สือ่ วสั ดุ อปุ กรณ์

ไวอ้ ยา่ งพร้อมเพรยี ง

4. วธิ กี ารประเมนิ : ตรวจผลงาน

5. เครือ่ งมือ : แบบประเมนิ กระบวนการทางานกลมุ่

6. เกณฑก์ ารให้คะแนน : การเตรยี มความพร้อมด้านการเตรียม วัสดุ อุปกรณ์นกั ศกึ ษา

จะต้องกระจายงานไดท้ ว่ั ถงึ และตรงตามความสามารถของ

สมาชิก

ทุกคน มีการจัดเตรียมสถานที่ สื่อ วสั ดุ อุปกรณไ์ วอ้ ยา่ ง
พรอ้ ม

เพรยี ง จะได้ 2 คะแนน

 จุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม ขอ้ ที่ 5 ความมเี หตุมีผลในการปฏิบัติงาน ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพียง

นักศึกษาจะต้องมีการใช้ เทคนิคท่แี ปลกใหม่ใช้ส่อื และเทคโนโลยีประกอบการนาเสนอทน่ี ่าสนใจนาวสั ดุใน

ท้องถนิ่ มาประยุกต์ใช้ อย่างคุ้มค่าและประหยดั

1. วธิ ีการประเมนิ : ตรวจผลงาน

2. เครอ่ื งมอื : แบบประเมนิ กระบวนการทางานกลุม่

3. เกณฑก์ ารให้คะแนน : ความมเี หตุมีผลในการปฏบิ ัติงาน ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ

พอเพยี งนกั ศึกษาจะตอ้ งมีการใช้ เทคนคิ ที่แปลกใหม่ใชส้ ือ่ และเทคโนโลยี

ประกอบการนาเสนอท่นี ่าสนใจนา วสั ดุในทอ้ งถน่ิ มาประยกุ ต์ใชอ้ ย่าง
คมุ้ คา่ และประหยัด จะได้ 2 คะแนน

แบบประเมนิ ผลการนาเสนอผลงาน ขอ้ คดิ เหน็
ชอ่ื กลมุ่ ……………………………………………ช้ัน………………………หอ้ ง...........................
รายช่ือสมาชิก

1……………………………………เลขท่ี……. 2……………………………………เลขท…่ี ….
3……………………………………เลขท่ี……. 4……………………………………เลขท…ี่ ….

คะแนน
ท่ี รายการประเมนิ

32 1

1 เนื้อหาสาระครอบคลุมชดั เจน (ความรเู้ กีย่ วกับเน้ือหา ความถูกต้อง ปฏิภาณในการตอบ

และการแก้ไขปัญหาเฉพาะหนา้ )

2 รปู แบบการนาเสนอ

3 การมสี ว่ นรว่ มของสมาชกิ ในกลุ่ม

4 บคุ ลกิ ลักษณะ กริ ิยา ท่าทางในการพูด น้าเสียง ซ่งึ ทาให้ผู้ฟังมคี วามสนใจ

รวม

ผปู้ ระเมิน…………………………………………………

เกณฑ์กำรให้คะแนน
1. เนือ้ หาสาระครอบคลมุ ชดั เจนถูกต้อง

3 คะแนน = มีสาระสาคญั ครบถว้ นถกู ตอ้ ง ตรงตามจดุ ประสงค์
2 คะแนน = สาระสาคญั ไมค่ รบถ้วน แต่ตรงตามจุดประสงค์
1 คะแนน = สาระสาคญั ไมถ่ ูกต้อง ไมต่ รงตามจุดประสงค์
2. รูปแบบการนาเสนอ
3 คะแนน = มีรูปแบบการนาเสนอทเ่ี หมาะสม มีการใชเ้ ทคนคิ ทีแ่ ปลกใหม่ ใชส้ อื่ และเทคโนโลยี

ประกอบการ นาเสนอท่นี า่ สนใจ นาวัสดใุ นทอ้ งถิ่นมาประยุกต์ใช้อยา่ งคมุ้ คา่ และประหยัด
คะแนน = มีเทคนคิ การนาเสนอทแ่ี ปลกใหม่ ใช้สื่อและเทคโนโลยปี ระกอบการนาเสนอที่นา่ สน ใจ แตข่ าดการ

ประยุกต์ใช้ วสั ดุในท้องถ่ิน
1 คะแนน = เทคนคิ การนาเสนอไม่เหมาะสม และไมน่ า่ สนใจ
3. การมสี ว่ นรว่ มของสมาชิกในกลมุ่
3 คะแนน = สมาชิกทกุ คนมบี ทบาทและมสี ว่ นรว่ มกจิ กรรมกล่มุ
2 คะแนน = สมาชกิ สว่ นใหญ่มบี ทบาทและมสี ว่ นรว่ มกจิ กรรมกลมุ่

กิจกรรมท่ี 1
ประกอบแผนกำรสอนหนว่ ยท่ี 4
เร่อื ง เศรษฐกิจพอเพียง และกำรบริกำรฝำสูบ เสือสูบเครอื่ งยนตแ์ ก๊สโซลีน

ท้ำรำยงำนเก่ยี วกบั กำรตรวจซ่อมและประกอบชุดเสอื สูบเคร่ืองยนตแ์ ก๊สโซลนี
ค้ำสง่ั ให้ผเู้ รยี นแบง่ กล่มุ ๆ ละ 3-4 คน โดยปฏิบัติตามคาสง่ั ดังตอ่ ไปนี้ ในห้องปฏิบตั ิการช่าง

2. การถอดฝาสูบออกจากเส้อื สูบ
ขั้นตอนการถอดฝาสูบออกจากเส้อื สบู

รูปภาพถอดฝาสบู ออกจากเสอื ้ สบู

3. การถอดแยกชุดลิ้นออกจากฝาสบู
ขน้ั ตอนการถอดแยกชุดลิ้นออกจากฝาสูบ

รูปภาพถอดแยกชดุ ลนิ ้ ออกจากฝาสบู

4. การตรวจสอบสภาพฝาสูบและชุดล้ิน
ปญั หาท่ีพบในการตรวจสอบสภาพฝาสูบและชุดลิ้น

รูปภาพตรวจสอบสภาพฝาสบู และชุดลนิ ้

5. การติดตั้งฝาสูบเข้ากับเสื้อสบู

1 คะแนน = สมาชกิ สว่ นน้อยมีบทบาทและมสี ว่ นร่วมกจิ กรรมกลมุ่

4. ความสนใจของผฟู้ งั

ขน้ั ตอนการตดิ ตั้งฝาสบู เข้ากับเสอ้ื สูบ

รูปภาพติดตงั้ ฝาสบู เข้ากบั เสอื ้ สบู

6. อปุ สรรคปญั หาที่เกิดขึ้นระหว่างทากจิ กรรมในหอ้ งเรียน

เฉลยแบบฝึกหดั ท่ี 4
เรือ่ ง กำรบริกำรฝำสบู เสือสบู เครอ่ื งยนต์แก๊สโซลีน

ตอนท่ี 1 ใหน้ ักศกึ ษำตอบค้ำถำมตอ่ ไปนี
1. จงอธิบายการทางานของลกู กระทงุ้ (Cam follower)

ถา่ ยทอดแรงกระทาจากเพลาลูกเบี้ยว ท่อี ยภู่ ายในห้องเส้ือสูบ ไปยงั ก้านกระทุ้ง เพอื่ กระตนุ้ ให้วาลว์
ไอดีหรือไอเสีย ด้านบนเสือ้ สูบ เปิดหรอื ปิด

2. จงอธิบายหนา้ ท่กี ารทางานของสปรงิ ลิน้ (valve spring)
ดันลิ้นใหป้ ิดและทาให้หน้าลิน้ น่งั สนทิ กบั บ่าลนิ้ อยู่ตลอดเวลาเพือ่ ไมใ่ หเ้ กดิ การร่วั ไหลของไอดีและไอ

เสียได้

3. ชิ้นส่วนเพลาลกู เบย้ี วทาหน้าท่ีใดบ้าง
หมุนเพอ่ื เปิดปิดล้นิ ไอดีและล้ินไอเสยี ให้ไดต้ ามจังหวะการทางานของเคร่อื งยนตเ์ พลาลูกเบีย้ ว

4.อธิบายการบดล้นิ ไอดแี ละล้นิ ไอเสยี
1) การตรวจสอบและทาความสะอาดบา่ ล้นิ ปาดบ่าลิ้นด้วยคัตเตอร์ปาดบา่ ชนิด 45๐ทาความสะอาดคราบตะกรนั
2) การตรวจสอบตาแหนง่ สัมผัสลน้ิ ทาสีเสน้ บางๆ บรเิ วณบ่าล้ิน เม่ือประกอบลน้ิ แลว้ หมุนลน้ิ ไปรอบๆ ออกแรงกด
เบาๆไปพรอ้ มๆกนั การบดวาลว์ โดยใชก้ ากเพชรบดด้วยมอื
3)การตรวจหนา้ สัมผัสลิ้นและบ่าลนิ้ ถ้ามองเห็นหน้าสัมผสั ของลน้ิ สมา่ เสมอกับบ่าลิ้น แสดงวา่ แนวของปลอก ล้นิ
และบา่ ลิ้นถูกต้อง ถ้าไมด่ ีต้องแตง่ บา่ ล้นิ Standard 1.2-1.6 มม. (0.047-0.063น้ิว)

ตอนที่ 2 จงท้ำเครือ่ งหมำย (X) หน้ำข้อยอ่ ยที่ถกู ทส่ี ุดเพยี งขอ้ เดียว

11. ปะเกน็ ฝาสูบเครือ่ งยนต์ทาหน้าใดในเครอ่ื งยนต์ ค. ไขควงแบน
ก. เวอร์เนียคาลิปเปอร์ ง. ไมโครมเิ ตอร์
ข. ไดอัลเกจ

12. ขอ้ ใดเป็นส่วนประกอบของเพลาลกู เบ้ียว ค. Cam ลกู เบ้ียว
ค. เฟืองเพลาลกู เบ้ยี ว ง. ไมม่ ีขอ้ ใดถูกตอ้ ง

ง. Journal

13. สปรงิ กดวาลว์ ทาหนา้ ใด ค. ทาหนา้ ทดี่ นั กระเด่อื งวาล์ว
ค. ทาหน้าลิ้นปดิ สนิทกบั บ่าลิน้ อยตู่ ลอด ง. ทาหนา้ ท่ีเปิดกระเด่อื งกดวาล์ว
ง. ทาหน้าท่ดี ันวาล์วให้กา้ นกระทุ้งเปิด

14. การวัดค่าความโกง่ ฝาสูบใชเ้ ครื่องมือใด

ก. ไดอลั เกจ
ข. ไม้บรรทดั และฟลิ เลอร์เกจ
ค. เวอร์เนยี รค์ าลิเปอร์
ง. ประแจปอนด์

15. ฝาวาลว์ มีสว่ นประกอบใดบา้ ง
ก. ปะกับ

ข. สปริงวาลว์
ค. กระเด่อื งกดวาล์ว
ง. ถูกทง้ั ข้อ ก. ข. และ ค.

16. ข้อใดเปน็ ส่วนประกอบของวาลว์ ค. ตีนลิ้น
ข. ก้านลน้ิ ง. ถกู ทุกขอ้

ค. หัวล้ิน

17. ขอ้ ใดตอ่ ไปนไ้ี มใ่ ชอ่ ปุ กรณว์ ดั ละเอยี ด

ก. ไขควง
ข. เวอร์เนยี คาลปิ เปอร์
ค. ไมโครมิเตอร์

ง. ไดอลั เกจ
18. การวัดความโกง่ หน้าแปลนทอ่ รว่ มไอดแี ละไอเสียทาอยา่ งไร

ก. ไมบ้ รรทดั กบั ฟลิ เลอรเ์ กจ
ข. ไมโครมเิ ตอร์
ค. เวอรเ์ นยี รค์ าลิเปอร์

ง. ไดอัลเกจ
19. ฝาสบู ทาหนา้ ทใี่ ด


Click to View FlipBook Version