The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แฟ้มประเมิน นางสาวจุฑามาศ สีโลน แผนกช่างยนต์ ปีการศึกษา 2561

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by juthamat19911991, 2019-03-25 02:06:02

แฟ้มประเมิน นางสาวจุฑามาศ สีโลน แผนกช่างยนต์ ปีการศึกษา 2561

แฟ้มประเมิน นางสาวจุฑามาศ สีโลน แผนกช่างยนต์ ปีการศึกษา 2561

• ดำ้ นทกั ษะ(ปฏบิ ัติ)

1. กำรเตมิ น้ำมันเครอื่ ง

1.1 ใชน้ ้ำมันเครือ่ งสำ้ หรบั รถยนต์แก๊สโซลีนเบอร์ 40
1.2 เตมิ ประมำณ 4 ลติ ร แล้วตรวจระดบั และเตมิ จนอยรู่ ะดับ L และ F

2. การตรวจเติมนา้ มนั หลอ่ เย็น

2.1 ระดับนำ้ หล่อเยน็ ท่หี ม้อน้ำพักน้ำควรอยู่ในระดับขีด FULL และ LOW ถำ้ ต่ำ้ กว่ำให้ตรวจกำรรวั่ และเตมิ น้ำให้ถึงระดับขดี FULL
2.2 กำรตรวจคุณภำพของน้ำหล่อเยน็
2.3 ไม่ควรมีครำบสนิม และสงิ่ สกปรกบริเวณคอหม้อน้ำและฝำหมำ้ นำ้
2.4 ไมค่ วรมคี รำบน้ำมนั ปะปนอยู่กับนำ้ หล่อเยน็
2.5 เปลยี่ นนำ้ หล่อเย็นใหม่ ถ้ำสกปรกมำก

3. กำรตรวจสำยพำนพดั ลม
4. กำรตรวจสภำพไฟฟำ้ ของแบตเตอรร์ ่ี

4.1 กำรตรวจระดบั น้ำกรด
4.1.1 เปลอื กแบตเตอรี่มีขีดกำ้ หนดระดับบนและระดบั ลำ่ ง
4.1.2 เตมิ ดว้ ยน้ำกล่นั เตมิ แบตเตอรีเ่ ท่ำนันเพรำะได้กลัน่ สำรทเ่ี ป็นอนั ตรำยกบั แบตเตอร่ีออก

แลว้

5. การตรวจปรบั เครอ่ื งยนต์เดินเบา
สว่ นประกอบท่ีต้องตรวจสอบก่อนปรับเครือ่ งยนต์

5.1 การตรวจปรับคารบ์ ูเรเตอร์

1. กำรตรวจคำร์บูเรเตอร์
2. ตรวจกำรหลวมของสกรูซึ่งยดึ กับท่อร่วมไอดี
3. ตรวจกำรสึกหรอของก้ำนตอ่ แหวนลอ๊ กหำย หรือแกนลินเรง่ หลวม
4. ตรวจปรบั รอบเดินเบำและสว่ นผสมไอดี
5. กำรตดิ ตังหมอ้ กรองอำกำศ
6. อณุ หภูมทิ ้ำงำนของเคร่อื งยนต์
7. ระดับน้ำมันเบนซินหอ้ งลกู ลอยถูกต้อง
8. สตำรท์ เครื่องยนต์แล้วปรับควำมเรว็ รอบเดินเบำดว้ ยสกรปู รบั เดนิ เบำ

เกียรธ์ รรมดำ 650± 50 รอบ/นำที
เกยี รอ์ ัตโนมตั ิ 750± 50 รอบ/นำที
5.2 กำรตรวจปรับไฟจดุ ระเบดิ
1. กำรปรับตังไฟจุดระเบดิ ด้วยหลอดตรวจไฟ
2. หำทิศทำงกำรหมุนของเพลำจำนจำ่ ย
3. หมนุ ดว้ ยเคร่ืองยนตใ์ หส้ ูบที่ 1 อยู่ก่อนศูนยต์ ำยบนจังหวะอดั ประมำณ 40๐– 50 ๐ ตำม
เครอ่ื งหมำยล้อสำยพำนหวั เพลำข้อเหวีย่ ง
4. ตอ่ หลอดตรวจไฟระหวำ่ งขัว 1 ของคอลยก์ ลบั ลงดนิ
5. หมุนเคร่อื งยนตต์ ่อจนเครอื่ งหมำยตรงกัน
หลอดไฟตดิ ก่อนเครือ่ งหมำยตรงกัน = ไฟแก่
หลอดไฟตดิ หลังเคร่อื งหมำยตรงกัน = ไฟอ่อน
6. ให้ตงั ไฟจดุ ระเบิดตำมคู่มือซ่อมก้ำหนด

• ด้ำนคณุ ธรรม/จรยิ ธรรม/จรรยำบรรณ/บรู ณำกำรเศรษฐกิจพอเพียง

(จดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรมขอ้ ที่ 4-5)

11. การเตรียมความพร้อมด้านการเตรียม วัสดุ อุปกรณ์นักศึกษาจะต้องกระจายงานได้ทั่วถึง และตรงตาม
ความสามารถของสมาชิกทกุ คน มกี ารจดั เตรียมสถานท่ี สือ่ วัสดุ อุปกรณไ์ วอ้ ยา่ งพร้อมเพรยี ง

4. ความมีเหตมุ ีผลในการปฏิบัตงิ าน ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นกั ศึกษาจะตอ้ งมกี ารใช้
เทคนิคที่แปลกใหม่ใช้ส่ือและเทคโนโลยีประกอบการนาเสนอท่ีน่าสนใจนาวัสดุในท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้

อย่างคุ้มคา่ และประหยัด

กิจกรรมกำรเรยี นกำรสอนหรอื กำรเรยี นรู้

ขันตอนกำรสอนหรือกิจกรรมของครู ขนั ตอนกำรเรียนรูห้ รือกจิ กรรมของนักเรยี น

1. ขนั น้ำเข้ำส่บู ทเรยี น (15 นำที ) 1. ขันน้ำเข้ำสู่บทเรยี น (15 นำที )

จดั ใหน้ กั เรียนศึกษาความรู้ในบทเรยี น นกั เรียนศกึ ษาคาศัพทใ์ นบทเรียน

7. ผู้สอนจัดเตรียมเอกสาร พร้อมกับแนะนา 7. ผู้เรียนเตรียมอุปกรณ์และ ฟังครูผู้สอนแนะนา

รายวชิ า วิธีการให้คะแนนและวธิ ีการเรียนเรอ่ื ง การ รายวิชา วิธีการให้คะแนนและวิธีการเรียนเรื่องการ

ติดต้ังและปรบั แต่งเครื่องยนตแ์ กส๊ โซลนี ติดตง้ั และปรบั แต่งเครือ่ งยนตแ์ ก๊สโซลีน

8. ผู้สอนแจ้งจุดประสงค์การเรียนของหน่วย 8. ผู้เรียนทาความเข้าใจเกี่ยวกับจุดประสงค์การ

เรียนท่ี 3 และขอให้ผู้เรียนร่วมกันทากิจกรรมการ เรียนของหน่วยเรียนท่ี 3 และการใหค้ วามรว่ มมอื ในการ

เรียนการสอน ทากิจกรรม

9. ผู้สอนให้ผู้เรียนแสดงความรู้เกี่ยวกับการ 9. ผู้เรียนแสดงความรู้ความรู้เก่ียวกับการติดต้ัง

ตดิ ตั้งและปรบั แตง่ เครอ่ื งยนต์แก๊สโซลีน และปรบั แตง่ เครื่องยนตแ์ ก๊สโซลนี

2. ขันให้ควำมรู้ (75 นำท)ี 2. ขนั ใหค้ วำมรู้ (75 นำที )

5. ผูส้ อนแนะนาวิธีการใชบ้ ทเรียนคอมพิวเตอร์ 5. ผู้เรียนศึกษาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
ช่วยสอน หน่วยที่ 7 การติดตั้งและปรับแต่ง หน่วยท่ี 7 การติดตั้งและปรับแต่งเครื่องยนต์แก๊สโซลีน
เครื่องยนต์แก๊สโซลีน และให้ผู้เรียนศึกษาเอกสาร และให้ผ้เู รยี นศึกษาเอกสารประกอบการสอน การตดิ ตั้ง
ประกอบการสอน การติดต้ังและปรับแต่งเคร่ืองยนต์ และปรับแต่งเคร่ืองยนต์แก๊สโซลีน หน่วยที่ 7 หน้าท่ี
129-134 ประกอบกบั บทเรยี นคอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอน
แกส๊ โซลีน หนว่ ยที่ 7 หน้าที่ 129-134
6. ผสู้ อนและผู้เรียนรว่ มกันอธิบายเก่ียวกับ การ 6. ผู้เรียนร่วมมือกับผู้สอนอธิบายเกี่ยวกับ การ
ตรวจเติมนา้ มันเบนซนิ การตรวจเตมิ น้ามนั เคร่ือง การ ตรวจเติมน้ามันเบนซิน การตรวจเติมน้ามันเครื่อง การ
ตรวจเติมน้าหล่อเย็น การตรวจสภาพไฟของ ตรวจเตมิ น้าหล่อเย็น การตรวจสภาพไฟของแบตเตอร์ร่ี
แบตเตอร์ร่ี การตรวจปรับเครื่องยนต์เดินเบา ตามที่ การตรวจปรับเครื่องยนต์เดินเบา ตามที่ได้ศึกษาจาก
บทเรียนคอมพวิ เตอรช์ ่วยสอน
ได้ศกึ ษาจากบทเรยี นคอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอน

กจิ กรรมกำรเรียนกำรสอนหรอื กำรเรียนรู้

ขันตอนกำรสอนหรอื กิจกรรมของครู ขนั ตอนกำรเรียนรู้หรือกิจกรรมของนกั เรยี น

3. ขนั ประยกุ ตใ์ ช้ (105 นำที ) 3. ขนั ประยุกต์ใช้ ( 105 นำที )

5. ผสู้ อนให้ผูเ้ รยี นทากจิ กรรมใบงานท่ี 7 หน้าที่ 5. ผู้เรียนทากิจกรรมใบงานที่ 7 หน้าท่ี 136
136 เรื่อง การติดเครื่องและปรับแต่งเคร่ืองยนต์แก๊ส เรอ่ื ง การตดิ เครื่องและปรบั แต่งเครื่องยนตแ์ ก๊สโซลีน
โซลีน 6. ผู้เรียนสบื ค้นข้อมลู จากอนิ เทอร์เน็ต

6. ผ้สู อนใหผ้ ู้เรยี นสืบค้นข้อมูลจากอนิ เทอรเ์ นต็
4. ขนั สรุปและประเมินผล ( 30 นำที )

4. ขนั สรปุ และประเมนิ ผล ( 30 นำที ) 5. ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันสรุปเนื้อหาท่ีได้เรียน

5. ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันสรุปเน้ือหาท่ีได้เรียน เพอ่ื ให้มีความเขา้ ใจในทศิ ทางเดียวกนั
6. ผู้เรียนศึกษาเพ่ิมเติมนอกห้องเรียน ด้วย
ใหม้ คี วามเขา้ ใจในทิศทางเดียวกนั

6. ผู้สอนให้ผู้เรียนศึกษาเพ่ิมเติมนอกห้องเรียน บทเรียนคอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอนที่จดั ทาขึน้

ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนที่จัดทาขนึ้

(บรรลจุ ดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรมขอ้ ที่ 1-5)

(บรรลจุ ุดประสงค์เชิงพฤติกรรมขอ้ ที่ 1-5)

(รวม 240 นำที หรือ 4 คำบเรียน)

งำนทม่ี อบหมำยหรือกิจกรรมกำรวดั ผลและประเมินผล

ก่อนเรยี น

1. จัดเตรยี มเอกสาร ส่อื การเรยี นการสอนหน่วยที่ 7
2. ทาความเขา้ ใจเกี่ยวกบั จุดประสงคก์ ารเรียนของหนว่ ยท่ี 7 และใหค้ วามร่วมมอื ในการทากจิ กรรมใน

หนว่ ยท่ี 7

ขณะเรียน

7. ปฏบิ ตั ติ ามกิจกรรมที่ 7 เรอื่ งการติดเคร่ืองและปรับแต่งเครื่องยนตแ์ ก๊สโซลีน
8. ปฏบิ ัติตามแผนฝึกปฏบิ ัติงานโครงการ ทารายงานเกีย่ วกบั การตดิ เคร่อื งและปรบั แต่งเครือ่ งยนต์แก๊สโซ

ลนี
9. ร่วมกันสรุป “การตดิ เครอ่ื งและปรับแตง่ เคร่อื งยนตแ์ ก๊สโซลีน”

หลงั เรียน

3. ทาแบบประเมินการเรยี นรู้

ค้ำถำม

7. หลกั เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนามาประยุกตใ์ ชก้ ับการทางานไดอ้ ย่างไร
8. เพราะเหตใุ ดเราจึงต้องยึดหลกั เศรษฐกิจพอเพยี ง
9. การบริการฝาสูบจะทาเมอื่ ใด

ผลงำน/ชินงำน/ควำมสำ้ เร็จของผเู้ รียน

กจิ กรรมท่ี 7 เร่อื ง การตดิ เครอ่ื งและปรบั แตง่ เคร่ืองยนต์แก๊สโซลีน

สมรรถนะที่พึงประสงค์

ผเู้ รียนสร้างความเข้าใจเกีย่ วกบั การตดิ เครอื่ งและปรบั แต่งเคร่ืองยนตแ์ ก๊สโซลนี
9. วเิ คราะหแ์ ละตีความหมาย
10. ตั้งคาถาม
11. อภปิ รายแสดงความคิดเหน็ ระดมสมอง

12. การประยุกต์ความรสู้ งู่ านอาชพี

สมรรถนะกำรปฏบิ ตั ิงำนอำชีพ

6. สามารถตรวจวัดระดับนา้ มนั เชื้อเพลงิ ได้
7. สามารถถอดประกอบระบบน้ามันหลอ่ เยน็ ได้
8. สามารถถอดประกอบระบบนา้ มันหล่อล่ืนได้
9. สามารถตรวจปรบั เครอื่ งยนตว์ งจรเดินเบาได้
10. สามารถตรวจสภาพไฟแบตเตอรีไ่ ด้

สมรรถนะกำรขยำยผล

ควำมสอดคล้อง
การติดเคร่ืองและปรับแตง่ เครื่องยนตแ์ ก๊สโซลีนทาให้ผู้เรียนมคี วามร้คู วามเข้าใจมามากก็นอ้ ย เม่อื ผ้เู รียนไป
ทางานทาใหน้ ายจา้ งยอมรบั ความสามารถหรอื ไม่ผเู้ รียนนารายได้ทีไ่ ด้จากอาชีพนม้ี าช่วยในค่าใช้จา่ ยอปุ กรณก์ าร
เรยี นของผปู้ กครอง

สอื่ กำรเรียนกำรสอน/กำรเรยี นรู้

สอื่ ส่งิ พิมพ์
19. เอกสารประกอบการสอนวิชา งานถอดประกอบเครื่องกลเบือ้ งตน้ (ใช้ประกอบการเรยี นการสอน

จุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรมขอ้ ที่ 1-5)
20. กิจกรรมร้ทู ่ี 4 เร่อื ง การบรกิ ารฝาสูบเส้ือสูบเครื่องยนต์แก๊สโซลนี (ใช้ประกอบการเรียนการสอนข้นั

ให้ความรู้ เพอ่ื ใหบ้ รรลจุ ุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรมขอ้ ที่ 1-5)
21. แบบประเมินผ้เู รยี นในชน้ั เรยี น ใช้ประกอบการสอนขน้ั ประยกุ ตใ์ ช้ ข้อ 1

ส่อื โสตทัศน์ (ถำ้ มี)
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรอื่ ง การตดิ เครื่องและปรบั แตง่ เครอื่ งยนต์แก๊สโซลีน

สอ่ื ของจรงิ
การติดเครอื่ งและปรับแต่งเครื่องยนตแ์ กส๊ โซลีน(ใชป้ ระกอบการเรียนการสอนจดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรมขอ้
ท่ี 1-5)

แหลง่ กำรเรยี นรู้

ในสถำนศึกษำ
1. ห้องสมดุ วิทยาลัยเทคนิคสมุทรสาคร
2. หอ้ งปฏิบตั ิการคอมพวิ เตอร์ ศกึ ษาหาข้อมลู ทางอนิ เทอร์เนต็

นอกสถำนศกึ ษำ
ผูป้ ระกอบการ สถานประกอบการ ในท้องถิ่นจงั หวดั สมุทรสาคร

กำรบรู ณำกำร/ควำมสมั พนั ธ์กับวิชำอนื่

24. บรู ณาการกบั วชิ าชีวิตและวฒั นธรรมไทย ด้านการพูด การอา่ น การเขียน และการฝึกปฏิบตั ิตนทาง
สงั คมดา้ นการเตรยี มความพรอ้ ม ความรับผิดชอบ และความสนใจใฝ่รู้

25. บูรณาการกับวิชาการบริหารการจัดซื้อ ด้านการซ้อื การแสวงหาผลิตภณั ฑ์
26. บรู ณาการกับวชิ ากฬี าเพ่อื พฒั นาสขุ ภาพและบุคลิกภาพ ด้านบคุ ลกิ ภาพในการนาเสนอหน้าชั้นเรียน
27. บูรณาการกับวิชาหลกั เศรษฐศาสตร์ ด้านการเลือกใช้ทรัพยากรอยา่ งประหยดั

กำรประเมินผลกำรเรยี นรู้
 หลักกำรประเมินผลกำรเรียนรู้

กอ่ นเรียน
ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรยี น

ขณะเรยี น
13. ตรวจผลงานตามกิจกรรมท่ี 1
14. สงั เกตการทางาน

หลังเรียน

-

ผลงำน/ชินงำน/ผลสำ้ เร็จของผู้เรยี น

กจิ กรรมที่ 7 การติดเคร่อื งและปรบั แตง่ เครื่องยนตแ์ ก๊สโซลนี

รายละเอียดการประเมนิ ผลการเรยี นรู้

 จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม ข้อท่ี 1 ตรวจสอบน้ามันเชือ้ เพลิงได้

16. วธิ ีการประเมนิ : ทดสอบ

17. เครอื่ งมอื : แบบทดสอบ

18. เกณฑก์ ารให้คะแนน : ตรวจสอบน้ามันเชอ้ื เพลิงได้ จะได้ 1 คะแนน

 จดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม ข้อท่ี 2 ถอดประกอบระบบน้าหลอ่ เย็นได้

16. วธิ ีการประเมิน : ทดสอบ

17. เครื่องมือ : แบบทดสอบ

18. เกณฑ์การให้คะแนน : ถอดประกอบระบบน้าหล่อเยน็ ได้ จะได้

1 คะแนน

 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ขอ้ ท่ี 3 ปรบั ตัง้ วงจรเดนิ เบาเครอื่ งยนตไ์ ด้

19. วิธีการประเมิน : ทดสอบ

20. เครื่องมือ : แบบทดสอบ

21. เกณฑก์ ารให้คะแนน : ปรบั ตง้ั วงจรเดนิ เบาเคร่อื งยนต์ได้ จะได้

1 คะแนน

 จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม ขอ้ ที่ 4 การเตรยี มความพรอ้ มดา้ นการเตรยี ม วสั ดุ อปุ กรณ์นักศกึ ษาจะต้อง

กระจายงานไดท้ ั่วถงึ และตรงตามความสามารถของสมาชิกทกุ คนมกี ารจัดเตรยี มสถานที่ สอื่ วสั ดุ อปุ กรณ์

ไวอ้ ยา่ งพร้อมเพรียง

13. วิธกี ารประเมิน : ตรวจผลงาน

14. เครอ่ื งมือ : แบบประเมินกระบวนการทางานกลุม่

15. เกณฑ์การให้คะแนน : การเตรียมความพรอ้ มด้านการเตรียม วัสดุ อุปกรณน์ ักศกึ ษา

จะตอ้ งกระจายงานไดท้ ่ัวถงึ และตรงตามความสามารถของ

สมาชกิ

ทุกคน มกี ารจัดเตรียมสถานท่ี สอ่ื วัสดุ อุปกรณไ์ ว้อย่าง
พรอ้ ม

เพรียง จะได้ 2 คะแนน

 จดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม ข้อท่ี 5 ความมีเหตุมีผลในการปฏบิ ัตงิ าน ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง

นักศกึ ษาจะต้องมกี ารใช้ เทคนคิ ทีแ่ ปลกใหม่ใช้ส่ือและเทคโนโลยีประกอบการนาเสนอทีน่ ่าสนใจนาวสั ดใุ น

ทอ้ งถิน่ มาประยุกตใ์ ช้ อย่างคุม้ ค่าและประหยัด

1. วธิ ีการประเมนิ : ตรวจผลงาน

2. เคร่ืองมอื : แบบประเมินกระบวนการทางานกลุม่

3. เกณฑ์การให้คะแนน : ความมีเหตุมผี ลในการปฏิบัตงิ าน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ

พอเพยี งนกั ศึกษาจะต้องมีการใช้ เทคนคิ ท่ีแปลกใหม่ใชส้ ่อื และเทคโนโลยี
ประกอบการนาเสนอทีน่ ่าสนใจนา วสั ดใุ นทอ้ งถนิ่ มาประยกุ ตใ์ ชอ้ ยา่ ง
คมุ้ คา่ และประหยัด จะได้ 2 คะแนน

กิจกรรมท่ี 1
ประกอบแผนกำรสอนหนว่ ยที่ 7

เรือ่ ง กำรตดิ เคร่ืองและปรบั แต่งเคร่อื งยนตแ์ ก๊สโซลนี

ค้ำสั่ง ให้ผเู้ รียนไปสอบถามขอ้ มูลเพมิ่ เตมิ จากร้านเคร่ืองยนตต์ า่ งๆ เก่ยี วกบั ข้ันตอนตรวจสอบไฟของ
แบตเตอรี่และตรวจปรับเคร่ืองยนตเ์ ดินเบา พรอ้ มตอบคาถามดังต่อไปนี้
1. ชื่อร้าน
2. เทคนคิ การตรวจสอบไฟของแบตเตอร่ี

รูปภาพการตรวจสอบไฟของแบตเตอร่ี

3. เทคนคิ การปรบั เคร่อื งยนตเ์ ดนิ เบา
รูปภาพการปรับเคร่ืองยนต์เดนิ เบา

เฉลยแบบฝกึ หดั ท่ี 7
เร่ือง กำรตดิ เครอ่ื งและปรบั แตง่ เครือ่ งยนต์แกส๊ โซลนี

ตอนท่ี 1 จงอธบิ ำยควำมหมำยในแตล่ ะข้อตอ่ ไปนี

1. จงอธิบายการตรวจเช็คนา้ มนั เครอ่ื งอย่างไร.
ตอบ การตรวจระบบน้ามันเบนซนิ นา้ มนั เคร่อื งไมเ่ พยี งพอแตจ่ ะช่วยลดการสกึ หรอและความฝดื
ของลูกสบู แบรง่ิ และช้ินสว่ นต่างๆทเี่ คล่ือนไหวเท่านั้น ยงั ชว่ ยป้องกนั การร่วั ของแก๊สซงึ่ มีความมคี วามดันสงู
และอณุ หภูมิภายในหอ้ งเผาไหม้

2. จงอธบิ ายการการตรวจระบบน้ามนั เบนซินอย่างไรบ้าง
ตอบ 1. การตรวจระดับน้ามนั เบนซินห้องลูกลอย
ตรวจรอยรั่วซึมนา้ มนั เบนซนิ
ตรวจระดบั น้ามันเบนซนิ ที่หอ้ งกระจกข้างลกู ลอย
2. การตรวจน้ามันเบนซนิ ท่หี ม้อกรองนา้ มันเบนซนิ
ตรวจความสกปรกไสก้ รอง

ตรวจน้ามนั เบนซนิ ไหลผ่าน

ตรวจการรั่วแตกร้าวกลางทอ่

3. จงอธบิ ายการตรวจวดั ความถ่วงจาเพาะแบตเตอร์รี่
ตอบ ตรวจค่าความถ่วงจาเพาะของน้ากรดแต่ละชอ่ งด้วยไฮโดรมิเตอร์

1) สีเขยี ว = ไฟเต็ม
2) สขี าว = ไฟปานกลาง
3) สีแดง = ไม่มไี ฟ

4. จงอธิบายวิธีการเตมิ นา้ หลอ่ เย็น
ตอบ ระดบั น้าหล่อเยน็ ท่หี ม้อนา้ พักนา้ ควรอยู่ในระดับขดี Full และ Low ถ้าตา่ กว่าใหต้ รวจการร่ัวและ
เติมนา้ ให้ถึงระดบั ขดี Full

ตอนท่ี 2 จงทำ้ เคร่อื งหมำย (X) หนำ้ ข้อย่อยที่ถกู ทีส่ ุดเพียงข้อเดยี ว

25. การตรวจเช็คนา้ มนั เครือ่ งต้องอยู่ในระดับใด
ฐ. ระดบั L หรอื H
ฑ. ระดบั ต่ากวา่ L
ฒ. ระตา่ กวา่ เหลก็ วดั
ณ. ถกู ทกุ ข้อ

26. ข้อใดเปน็ การตรวจน้ามนั เบนซนิ ทหี่ มอ้ กรอง
ฐ. ตรวจความสกปรกของไสก้ รอง

ฑ. ตรวจนา้ มันเบนซนิ ไหลผา่ น
ฒ. ตรวจการรวั่ แตกร้อาง
ณ. ถูกทงั้ ขอ้ ก.และข.และ ค.

27. คุณภาพน้ายาหล่อเย็นเปน็ อยา่ งไร
ฐ. ไม่ควรมคี ราบสนมิ

ฑ. ไมม่ คี ราบน้ามนั
ฒ. มตี ระกรนั
ณ. ถกู ทุกข้อ

28. การตรวจความถ่วงจาเพาะแบตเตอรใี่ ช้เครือ่ งมือใดในกรตรวจสอบ
ฐ. ไดอัลเกจ

ฑ. ไฮไดรมเิ ตอร์
ฒ. มเิ ตอรว์ ัดไฟฟา้
ณ. เวอรเ์ นยี รค์ าลเิ ปอร์

29. สกรูปรบั ต้งั เดินเบามหี นา้ ที่
ฐ. ปรบั ล้นิ โชก้

ฑ. ปรบั ล้นิ เร่ง
ฒ. ปรบั ล้ินอากาศ
ณ. ปรับลน้ิ เดนิ เบา

30. ทาไมตอ้ งมีหมอ้ พักน้าไวข้ ้างหมอ้ นา้
ฐ. ตรวจระดับน้าง่าย

ฑ. ป้องกนั การสญู เสยี นา้
ฒ. เติมน้าเองโดยอัตโนมตั ิ
ณ. ถกู ทุกข้อ

31. ทาไมตอ้ งตรวจระดบั น้าหล่อเย็นกอ่ นติดเครือ่ ง
ฐ. เพอื่ ให้เครอ่ื งติดงา่ ย

ฑ. เพ่ือใหเ้ ครื่องไมร่ ้อนจดั
ฒ. เพ่ือใหเ้ ครอื่ งทางานปลอดภยั
ณ. เพอ่ื ใหเ้ ครื่องเดินเรยี บ

32. เครอื่ งมอื ที่ใช้วัดระยะหา่ งระหว่างปากแหวน
ฑ. ฟิลเลอร์เกจ

ฒ. ประแจเลอื่ น
ณ. ไดอัลเกจ
ด. ไมโครมเิ ตอร์

15. มาตรฐานวดั ระยะหา่ งระหวา่ งปากแหวนต้องไม่เกนิ เทา่ ไร
ฐ. 0.26-0.36 มม

ฑ. 0.30-045 มม.
ฒ. 0.10-056 มม.
ณ. ถูกท้ังขอ้ ก.และ ค.

16. ล้นิ โชก้ ในคาร์บเู รตอรม์ หี น้าที่ใด
ฐ. ช่วยใหเ้ ครือ่ งตดิ งา่ ย
ฑ. เพื่อประหยดั น้ามนั เช่ือเพลงิ
ฒ. เพ่อื เพิม่ อัตราเร่ง
ณ. เพอื่ ดบั เคร่ืองยนต์

กจิ กรรมน้ำสู่อำเซยี นหน่วยท่ี 7

จำกรปู ใหน้ ้ำข้อควำมดำ้ นบนใส่ในชอ่ งวำ่ งท่สี มั พนั ธ์กันเป็นภำษำองั กฤษ

Oil Fuel Filter Cooling Fan

Corrugated Radiator Type Injection Pump Rediater

Oil Cooling Fan Fuel Filter

Corrugated Radiator Injection Pump Rediater
Type

แบบประเมินผลการนาเสนอผลงาน ขอ้ คิดเหน็
ชื่อกล่มุ ……………………………………………ชั้น………………………หอ้ ง...........................
รายชอื่ สมาชิก

1……………………………………เลขที่……. 2……………………………………เลขท…่ี ….
3……………………………………เลขที่……. 4……………………………………เลขท…ี่ ….

คะแนน
ที่ รายการประเมนิ

32 1

1 เน้ือหาสาระครอบคลมุ ชดั เจน (ความรู้เกย่ี วกบั เนอื้ หา ความถูกต้อง ปฏิภาณในการตอบ

และการแก้ไขปญั หาเฉพาะหน้า)

2 รปู แบบการนาเสนอ

3 การมีสว่ นรว่ มของสมาชกิ ในกลมุ่
4 บคุ ลกิ ลักษณะ กริ ิยา ทา่ ทางในการพูด น้าเสยี ง ซึ่งทาให้ผฟู้ ังมีความสนใจ

รวม

ผปู้ ระเมนิ …………………………………………………

เกณฑก์ ำรให้คะแนน
1. เนื้อหาสาระครอบคลุมชดั เจนถูกต้อง

3 คะแนน = มสี าระสาคญั ครบถ้วนถูกตอ้ ง ตรงตามจุดประสงค์
2 คะแนน = สาระสาคญั ไมค่ รบถ้วน แต่ตรงตามจดุ ประสงค์
1 คะแนน = สาระสาคญั ไมถ่ กู ต้อง ไมต่ รงตามจุดประสงค์
2. รปู แบบการนาเสนอ
3 คะแนน = มีรปู แบบการนาเสนอทเี่ หมาะสม มีการใชเ้ ทคนคิ ทแี่ ปลกใหม่ ใชส้ ื่อและเทคโนโลยี

ประกอบการ นาเสนอทีน่ า่ สนใจ นาวสั ดุในทอ้ งถิ่นมาประยกุ ต์ใช้อย่างค้มุ ค่าและประหยัด
คะแนน = มเี ทคนคิ การนาเสนอทีแ่ ปลกใหม่ ใชส้ อื่ และเทคโนโลยปี ระกอบการนาเสนอทีน่ า่ สน ใจ แตข่ าดการ

ประยุกตใ์ ช้ วสั ดุในท้องถน่ิ
1 คะแนน = เทคนคิ การนาเสนอไม่เหมาะสม และไมน่ ่าสนใจ
3. การมีส่วนร่วมของสมาชิกในกลมุ่
3 คะแนน = สมาชกิ ทกุ คนมีบทบาทและมสี ่วนร่วมกจิ กรรมกลุม่
2 คะแนน = สมาชิกสว่ นใหญ่มบี ทบาทและมสี ่วนรว่ มกจิ กรรมกล่มุ
1 คะแนน = สมาชิกส่วนนอ้ ยมบี ทบาทและมสี ว่ นรว่ มกจิ กรรมกลุ่ม
4. ความสนใจของผูฟ้ งั

3 คะแนน = ผูฟ้ ังมากกวา่ ร้อยละ 90 สนใจ และใหค้ วามร่วมมอื
2 คะแนน = ผฟู้ ังร้อยละ 70-90 สนใจ และใหค้ วามรว่ มมือ
1 คะแนน = ผู้ฟงั นอ้ ยกว่าร้อยละ 70 สนใจ และใหค้ วามร่วมมือ

แบบประเมินกระบวนการทางานกลุ่ม

ชื่อกลมุ่ ……………………………………………ชั้น………………………หอ้ ง...........................

รายช่อื สมาชกิ
1……………………………………เลขท…่ี …. 2……………………………………เลขที่…….
3……………………………………เลขท…ี่ …. 4……………………………………เลขที่…….

ที่ รายการประเมิน คะแนน ขอ้ คิดเห็น
321
1 การกาหนดเปา้ หมายร่วมกัน
2 การแบง่ หน้าท่ีรับผดิ ชอบและการเตรยี มความพร้อม
3 การปฏบิ ัติหน้าที่ทไี่ ด้รับมอบหมาย
4 การประเมินผลและปรบั ปรงุ งาน

รวม

ผปู้ ระเมิน…………………………………………………
วนั ที่…………เดอื น……………………..พ.ศ…………...

เกณฑก์ ำรให้คะแนน

1. การกาหนดเป้าหมายรว่ มกนั
3 คะแนน = สมาชิกทกุ คนมีส่วนรว่ มในการกาหนดเป้าหมายการทางานอย่างชัดเจน
2 คะแนน = สมาชิกสว่ นใหญ่มีสว่ นรว่ มในการกาหนดเป้าหมายในการทางาน
1 คะแนน = สมาชิกสว่ นน้อยมสี ่วนรว่ มในการกาหนดเปา้ หมายในการทางาน

2. การมอบหมายหนา้ ทีร่ ับผิดชอบและการเตรยี มความพร้อม
3 คะแนน = กระจายงานไดท้ วั่ ถึง และตรงตามความสามารถของสมาชกิ ทกุ คน มีการจดั เตรียมสถานที่ ส่ือ /
อุปกรณไ์ วอ้ ยา่ งพร้อมเพรยี ง
2 คะแนน = กระจายงานไดท้ ว่ั ถงึ แตไ่ มต่ รงตามความสามารถ และมีส่อื / อปุ กรณ์ไว้อยา่ งพรอ้ มเพรยี ง แต่ขาด

การจดั เตรียมสถานท่ี
1 คะแนน = กระจายงานไมท่ ั่วถงึ และมีสื่อ / อุปกรณ์ไม่เพยี งพอ
3. การปฏบิ ตั หิ นา้ ที่ทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย
3 คะแนน = ทางานไดส้ าเรจ็ ตามเป้าหมาย และตามเวลาทีก่ าหนด
2 คะแนน = ทางานได้สาเร็จตามเป้าหมาย แตช่ า้ กวา่ เวลาทก่ี าหนด
1 คะแนน = ทางานไมส่ าเร็จตามเปา้ หมาย
4. การประเมนิ ผลและปรบั ปรุงงาน
3 คะแนน = สมาชิกทุกคนร่วมปรกึ ษาหารือ ติดตาม ตรวจสอบ และปรบั ปรุงงานเป็นระยะ
2 คะแนน = สมาชกิ บางส่วนมีส่วนรว่ มปรึกษาหารือ แต่ไม่ปรับปรงุ งาน
1 คะแนน = สมาชกิ บางส่วนไมม่ สี ว่ นร่วมปรกึ ษาหารอื และปรบั ปรุงงาน

บนั ทึกหลังกำรสอน

หน่วยที่ 7 กำรตดิ เครื่องและปรบั แตง่ เครอื่ งยนต์แก๊สโซลีน

ผลกำรใช้แผนกำรเรยี นรู้

1. เน้ือหาสอดคลอ้ งกบั จุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม
2. สามารถนาไปใชป้ ฏบิ ัตกิ ารสอนไดค้ รบตามกระบวนการเรียนการสอน
3. ส่ือการสอนเหมาะสมดี

ผลกำรเรยี นของนกั เรยี น

1. นักศึกษาสว่ นใหญม่ ีความสนใจใฝร่ ู้ เข้าใจในบทเรียน อภิปรายตอบคาถามในกลมุ่ และรว่ มกนั
ปฏบิ ัติใบงานท่ีไดร้ ับมอบหมาย

2. นักศึกษากระตือรือรน้ และรบั ผิดชอบในการทางานกลุ่มเพอื่ ใหง้ านสาเร็จทันเวลาทก่ี าหนด

3. นกั ศึกษา สามารถตรวจสอบสภาพสายพานและเปลีย่ นสายพานไทมงิ่ ได้

ผลกำรสอนของครู

1. สอนเนือ้ หาไดค้ รบตามหลกั สูตร
2. แผนการสอนและวธิ กี ารสอนครอบคลมุ เน้อื หาการสอนทาให้ผูส้ อนสอนไดอ้ ยา่ งมั่นใจ
3. สอนได้ทันตามเวลาทีก่ าหนด

แผนกำรสอน/แผนกำรเรียนร้ภู ำคทฤษฎีและปฏิบัติ

แผนการสอน/การเรียนรู้ภาคทฤษฎแี ละปฏิบัติ หน่วยท่ี 8

ชือ่ วชิ า งานถอดประกอบเครอ่ื งกลเบ้ืองตน้ สอนสปั ดาหท์ ี่
PRELIMINARY Basic Mechanical Assembly 12

ช่อื หนว่ ย ทฤษฏีเครอ่ื งยนต์ดเี ซล คาบรวม 4

ชือ่ เรื่อง ทฤษฏเี ครือ่ งยนต์ดเี ซล จานวนคาบ 4

หัวข้อเรอื่ ง

ด้ำนควำมรู้

59. เพือ่ ให้มีความรู้ความเขา้ ใจเก่ียวกบั เครอ่ื งยนตด์ ีเซลพนื้ ฐาน
60. ศกึ ษาความรเู้ กี่ยวกบั เคร่อื งมือชา่ งพน้ื ฐาน

ด้ำนทกั ษะ

61. มีทักษะในการใชเ้ ครอ่ื งมือชา่ งพืน้ ฐาน
62. มที ักษะในการใชเ้ ครอ่ื งมือวัดละเอียด
63. ใชเ้ ครอื่ งมอื ปฏบิ ตั ิงานเครื่องยนต์ได้อยา่ งถกู วิธี
ดำ้ นคุณธรรม จริยธรรม

7. ความรับผดิ ชอบ

8. ความสนใจใฝ่ความรู้

9. รูค้ ุณค่าของเครื่องมอื อปุ กรณ์ในการทางานกบั ส่งิ แวดลอ้ ม

สำระส้ำคัญ

เครือ่ งยนต์ดเี ซลมกี ารใช้งานอยา่ งแพรห่ ลายซึง่ ส่วนใหญจ่ ะใชก้ ับรถบรรทุกมีทง้ั ขนาดเลก็ และขนาดใหญ่
ข้นึ อยกู่ บั ความตอ้ งการใชง้ านและในบทนจี้ ะศกึ ษาเกี่ยวกับเครื่องยนตด์ เี ซลและการทางานต่างๆ

สมรรถนะอำชพี ประจำ้ หนว่ ย

1. เพือ่ ให้มคี วามรูค้ วามเข้าใจเกี่ยวกบั เครือ่ งยนต์ดีเซลพืน้ ฐาน

2. เครอ่ื งมอื วดั เปน็ เคร่อื งมือที่ช่วยในการทางานให้สะดวกยิ่งข้ึนและมบี ทบาทสาคัญในการทางาน

3. เพอ่ื ให้มีความรู้ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั ส่วนประกอบของเครือ่ งยนต์

คำ้ ศัพทส์ ำ้ คัญ

-

จดุ ประสงค์กำรสอน/กำรเรียนรู้

 จุดประสงค์ทว่ั ไป / บรู ณำกำรเศรษฐกิจพอเพยี ง

25. เพอื่ ให้เกดิ ความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับเครื่องยนต์ดเี ซลพน้ื ฐาน (ด้านความร)ู้
26. เพ่อื ให้เกิดทักษะในการใช้เครอื่ งมือวดั ละเอียดและสามารถนาไปปรบั ใช้ในชวี ิตประจาวัน(ด้านทกั ษะ)
27. เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจเกย่ี วกบั การใช้เครือ่ งมือช่างพื้นฐาน (ด้านความรู)้
28. เพ่ือให้มีเจตคติที่ดีต่อการเตรียมพร้อมด้าน วัสดุ อุปกรณ์ และการปฏิบัติงานอย่างถูกต้องสาเร็จภายใน

เวลาท่กี าหนด มีเหตุและผลตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (ดา้ นคณุ ธรรมจริยธรรม)

 จดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรม / บูรณำกำรเศรษฐกจิ พอเพยี ง

41. ใชง้ านเครอื่ งมอื ช่างพื้นฐานได้ (ดา้ นทักษะ)
42. อธบิ ายการใช้เคร่อื งมอื วัดละเอยี ดเคร่อื งยนตด์ ีเซลได้ (ด้านทกั ษะ)
43. ปรบั ตง้ั วงจรเดินเบาเคร่อื งยนต์ได้ (ดา้ นทกั ษะ)
44. ใชเ้ ครื่องมือปฏิบัติงานเคร่อื งยนตไ์ ด้อย่างถกู วธิ ี (ด้านทกั ษะ)
45. นาวิชาความรูท้ ไ่ี ดม้ าประยกุ ต์ใชใ้ นการดาเนนิ ชวี ติ ได้ (ด้านทักษะ)
46. การเตรยี มความพร้อมด้านกาเตรียม วสั ดุ อุปกรณ์นกั เรยี นจะตอ้ งกระจายงานไดท้ ัว่ ถึง และตรงตาม

ความสามารถของสมาชกิ ทกุ คน มีการจดั เตรียมสถานท่ี สื่อ วสั ดุ อุปกรณไ์ ว้อย่างพร้อมเพียง (ด้าน
คุณธรรมจริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง)
47. ความมเี หตมุ ีผลในการปฏิบัติงาน ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง นักเรียนจะต้องมกี ารใช้เทคนิคท่ี
แปลกใหม่ใช้สอ่ื และเทคโนโลยปี ระกอบการนาเสนอท่ีนา่ สนใจนาวัสดใุ นทอ้ งถนิ่ มาประยุกต์ใช้ อยา่ ง
คมุ้ คา่ และประหยัด (ด้านคุณธรรม จริยธรรม/ บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง)

เนอื หำสำระกำรสอน/กำรเรยี นรู้

• ด้ำนควำมรู้(ทฤษฎี)

1.ทฤษฏีเครอ่ื งยนตด์ ีเซล

เครื่องยนตด์ เี ซล (อังกฤษ: diesel engine) เป็นเครอื่ งยนตป์ ระเภทหนงึ่ คิดค้นโดย นายรดู อลฟ์ ดีเซล
(Rudolf Diesel) วิศวกรชาวเยอรมัน ในปี ค.ศ. 1897 อาศยั การทางานของกลจักร คารโ์ นต์ (Carnot's cycle) ซึ่ง
คิดขน้ึ โดยชาวฝรั่งเศสชอื่ ซารด์ ิ คาร์โน ( Sardi carnot) ตงั้ แตป่ ี ค.ศ. 1824 เคร่ืองยนต์ชนดิ น้ี ไมม่ ีหวั เทยี น การจุด
ระเบดิ อาศยั หลกั การอดั อากาศและเช้อื เพลิง ให้มีความดันสงู จนเชื้อเพลงิ สามารถติดไฟได้

หลักการทางานของเคร่อื งยนตด์ เี ซล คือ อากาศเมือ่ ถกู อัดตัวจะมีความรอ้ นสงู ขนึ้ แต่ถ้าอากาศถูกอัด
ตวั อยา่ งรวดเร็วโดยไมม่ กี ารสญู เสียความร้อน ทง้ั แรงดนั และความร้อนจะสงู ขน้ึ อยา่ งรวดเรว็ เมอื่ ฉดี ละอองนา้ มนั
เชอ้ื เพลงิ เข้าไปในอากาศท่รี อ้ นจัดจากการอัดตัว กจ็ ะเกิดการเผาไหมข้ ้ึนอย่างทนั ทีทนั ใด ทาให้เกิดกาลังงานข้ึน
กาลังงานที่เกดิ ข้นึ จะนาไปใชป้ ระโยชนใ์ นรปู ของแรงขบั หรือแรงผลักดนั ผ่านลกู สูบและก้านสูบทาให้เพลาข้อเหว่ยี ง
หมนุ ณ กาลังอดั เดียวกนั อากาศทีอ่ ุณหภมู เิ ร่มิ ต้นสูงกวา่ เม่ือถูกอดั ยอ่ มมีอุณหภมู สิ ูงกวา่ หรอื ร้อนกว่า

เคร่ืองยนต์ดเี ซลแบง่ ออกเป็นแบบใหญๆ่ ได้เปน็ 2 แบบคือ

1. เครื่องยนต์ 4 ช่วงชัก (The 4-cycle Engine)
2. เครอ่ื งยนต์ 2 ชว่ งชกั (The 2-cycle Engine)

2. หลักกำรทำ้ งำนของเครอ่ื งยนตด์ เี ซล 4 จังหวะ

2.1 จงั หวะดูดอากาศอากาศจะถูกดดู เข้าทางทอ่ ไอดี ผ่านลิน้ ไอดี โดยลกู สูบจะเคลือ่ นท่ีลงจากตาแหนง่
บนสุดจนถงึ ล่างสดุ จังหวะนี้เราเรยี กว่าจงั หวะดูด (intake stroke 1.1 อากาศจะถกู ดูดเขา้ ทางทอ่ ไอดี ผา่ นล้ินไอดี
โดยลกู สบู จะเคลอ่ื นท่ีลงจากตาแหน่งบนสุดจนถงึ ลา่ งสดุ จงั หวะน้เี ราเรียกว่าจังหวะดดู (intake stroke)

2.2 จงั หวะอัดอากาศจะถูกอดั โดยลูกสบู ซงึ่ จะเคล่อื นที่จากตาแหนง่ ล่างสดุ จนถึงตาแหน่งบนสุด ใน
ระหว่างนีล้ น้ิ ไอดีและลิ้นไอเสียจะเปิด จังหวะนเี้ ราเรยี กว่าจังหวะอัด (compression stroke) ในจังหวะนีเ้ มอื่
อากาศถูกอัดจนลูกสูบเกือบจะถึงตาแหน่งบนสุด เชื้อเพลงิ กจ็ ะถูกฉดี ผา่ นหัวฉีด เข้าสู่ห้องเผาไหม้ แล้วก็จะเกดิ การ
ลุกไหมร้ ะหวา่ งเช้ือเพลงิ กบั อากาศ

2.3 จงั หวะระเบดิ เมอ่ื เกิดการเผาไหม้ ก๊าซภายในหอ้ งเผาไหม้ซึ่งจะมีความดนั และอุณหภูมิสูงขึน้ กจ็ ะดนั
ให้ลกู สูบเคล่ือนท่ีลงจากตาแหนง่ บนสุดจนถึงตาแหนง่ ล่างสุด จังหวะนี้เราเรึยกว่าจงั หวะ ขยายตัวหรือจังหวะกาลัง
(expansion or power stroke)

2.4 จงั หวะคายเม่อื ก๊าชที่เกิดจากการเผาไหมข้ ยายตัวดนั ลกู สบู จนถงึ ตาแหน่งล่างสดุ แลว้ ลูกสบู กจ็ ะเร่มิ
เคลอ่ื นท่ีข้ึนพร้อมกับลิน้ ไอเสียเปิด แล้วลูกสบู ก็จะดันเอาไอเสยี หรือกา๊ ชท่ีเกิดจากการเผาไหมอ้ อกไปโดยผา่ นทาง
ลิ้นไอเสียจงั หวะน้เี ราเรยี กว่า(exhaust stroke)

3. ควำมสำ้ คัญและประเภทห้องเผำไหม้เคร่อื งยนต์
ความสาคัญของหอ้ งเผาไหมเ้ ครื่องยนต์ดเี ซล
วิธกี ารผสมไอดีภายในห้องเผาไหมเ้ คร่อื งยนต์ดีเซล ต้องดดู อากาศเปลา่ เขา้ แลว้ อัดให้มีความดนั สูง น้ามนั

ดีเซลท่ีฉีดเขา้ ไปในห้องเผาไหม้จะเปน็ ละอองนา้ มันดเี ซลจะระเหยเป็นไอดีแตกตวั ทาปฏิกิรยิ ากับออกซิเจนใหห้ อ้ ง
เผาไหมต้ ามเวลาถว่ งจดุ ระเบดิ ประมาณ 1 ใน 100 ถงึ 1 ใน 1,000 วนิ าที แลว้ แต่ความเรว็ รอบเคร่ืองยนต์ ถา้ คดิ
ตามเวลาขน้ั ตอนแล้ว การเผาไหม้ในหอ้ งเผาไหมข้ องเครอ่ื งยนตด์ เี ซลมมี าก

ประเภทของหอ้ งเผำไหม้

ห้องเผำไหม้แบบเปิด หอ้ งเผาไหมแ้ บบเปิด (Open Combustion Chamber) หรือเรียกว่าแบบฉดี ตรง
(Direct Injection) = DI ในรถปกิ อพั หลายร่นุ หัวฉดี นมหนแู บบรู 1-12 รู ฉีดนา้ มนั ดีเซลเขา้ ไปในห้องเผาไหม้
โดยตรง ด้วยความดันฉดี สงู 175-300 บาร์ เพ่ือใหล้ ะอองน้ามนั ขนาดเลก็ ๆ เขา้ ไปในอากาศความดันสงู ได้ วธิ ชี ว่ ย
การหมนุ เวยี นของอากาศให้ดีขึน้

ห้องเผำไหม้แบบพำวน หอ้ งเผาไหม้แบบนีเ้ ป็นแบบทม่ี หี อ้ งเผาไหม้ชว่ ยโดยจะมีหอ้ งเผาไหมช้ ่วยอยใู่ นฝา
สูบ ห้องเผาไหม้แบบน้เี กดิ ขนึ้ หลงั จากที่เครื่องยนตด์ ีเซลไดร้ ับความนิยมมากขึน้ เรอื่ ย ๆ และเร่ิมมีความจุน้อยกวา่
3000 ซีซี. เส้นผา่ ศูนยก์ ลางลูกสูบน้อยกวา่ 4 นวิ้ ความเร็วรอบหมุนสงู สุดเกนิ กวา่ 3,500 รอบ/นาทีหอ้ งเผาไหม้
ชว่ ยแบบพาวน หรอื แบบสเวิรล์ มาใช้แทน ลักษณะจะเป็นหอ้ งเผาไหมช้ ่วยรูปทรงกลมอย่ใู นฝาสูบ ซงึ่ จะมปี ริมาตร
60 - 90 เปอรเ์ ซนต์ของปรมิ าตรหอ้ งเผาไหม้ทั้งหมด ส่วนช่องอากาศเข้าจะมชี ่องเดียวอยู่ในแนวสัมผัสเสน้ รอบวง
พอดี ฉะน้ัน เมอ่ื อากาศถกู อัดเข้ามากจ็ ะหมนุ วนไปรอบ ๆ ห้องเผาไหมช้ ว่ ยตามชอื่ ของมัน ( พาวน )

4. กำรเปรียบเทยี บเครื่องยนต์ดีเซลกับเครือ่ งยนต์แกส๊ โซลนี
1. ข้อดขี องเคร่ืองยนตด์ ีเซล

1) ประหยัดนามันเชอื้ เพลิงกว่าเครื่องยนตเ์ บนซนิ เมอ่ื ใชง้ านเท่ากัน ดงั น้นั แม้วา่ ราคาน้ามันจะเทา่ กนั
กย็ ังคงประหยัดประมาณ 20-30%

2) บารุงรกั ษาง่ายเพราะไม่มอี ปุ กรณ์สกึ หรองา่ ย อุปกรณ์ในระบบนา้ มันเชื้อเพลงิ มอี ายุการใชง้ าน
ยาวนานกว่า เช่น ปมั๊ และหัวฉีด

3) ไมม่ รี ะบบจดุ ระเบิด ซงึ่ ยุ่งยาก และมีเหตขุ ดั ขอ้ งเสมอ
4) มีแรงบิด (Torque) สูงทุกความเร็ว
5) มคี วามแนน่ อนมากกว่าในเรื่องสว่ นผสมนา้ มนั ดเี ซลกับอากาศเพราะมีหวั ฉดี ประจาแต่ละสูบ
2. ขอ้ เสยี ของเคร่ืองยนตด์ ีเซล
1) มนี า้ หนกั ต่อแรงม้ามากกว่า เพราะมอี ัตราสว่ นการอัดสูง
2) ราคาแพงกว่า เพราะตอ้ งใชว้ ัสดุดีและละเอียด
3) เครอื่ งยนต์ส่ัน และเสยี งดงั มากกวา่ เคร่อื งยนตเ์ บนซนิ
4) ตดิ เคร่อื งยนต์ยากกวา่ เม่อื อากาศเย็นหรอื กาลงั อัดตา่
5) ในการอัดเครอ่ื งยนตเ์ ท่ากนั เครอื่ งยนต์เบนซนิ จะมอี ตั ราเร่งดีกวา่ กัน

5. ระบบหล่อลนื่ เคร่อื งยนต์ดีเซล

จุดประสงคข์ องการหล่อลนื่ ชน้ิ ส่วนตา่ งๆ ในเครอื่ งยนตท์ ี่เคลือ่ นที่ เชน่ ลกู สบู เพลาขอ้ เหว่ยี ง เพลา
ลูกเบยี้ วอุปกรณ์ภายในเครือ่ งยนต์ ผลิตจากโลหะท่ีมคี ุณภาพสงู แข็งแรงทนทาน แตเ่ ม่ืออุปกรณ์เหลา่ นัน้ ทางาน
รว่ มประสานกนั เชน่ เพลาลูกเบยี้ วกบั วาลว์ , บรเิ วณเพลาขอ้ เหว่ยี ง หรือตามจุดขอ้ ต่อตา่ งๆ ที่มีการเคลื่อนท่ี เสยี ดสี
กัน ยอ่ มทาให้เกดิ การสกึ หรอ และความรอ้ นขน้ึ ตรงนี้เอง ที่จาเปน็ ตอ้ งมีระบบหลอ่ ลน่ื ท่ดี ี เพ่อื ลดการสึกหรอ และ
ยดื อายุการใช้งานของเครอื่ งยนต์ ให้ยาวนานขึ้นตัวเคร่อื งยนต์ ได้รบั การออกแบบให้ ผนังเครื่องยนต์ มรี ่อง มรี ู
เพอื่ ให้อากาศ และของเหลว ไหลเวยี นไดเ้ ชน่ รอ่ งอากาศทเ่ี ปน็ ทางเขา้ ของไอดี (Intake) หรือทางออกของไอเสยี
(Exhaust) หรือบริเวณผนังของกระบอกสบู ทีม่ คี วามรอ้ นสูงจากการเสยี ดสีกนั ระหวา่ งลกู สูบและกระบอกสูบ
แม้แตร่ อ่ งรู และทอ่ ทางผา่ นของน้ามันเครือ่ ง เพื่อชว่ ยหลอ่ ล่ืนชิน้ สว่ น ของอุปกรณใ์ นเครอื่ งยนต์

6. ระบบระบายความรอ้ นเครอื่ งยนตด์ ีเซล
1.ระบบระบำยควำมรอ้ นดว้ ยอำกำศ ระบบระบายความรอ้ นดว้ ยอากาศแบบนม้ี ักจะใชก้ บั เคร่อื งยนต์เบนซนิ

ซึง่ ตวั ของเครอื่ งยนต์จะออกแบบเปน็ ครีบระบายความรอ้ นเพ่ือใหอ้ ากาศเกิดการหมนุ วนภายในครบี ระบายความร้อน
และพดั พาความร้อนออกไปไดม้ ากท่ีสุดฉะน้ันระบบนจ้ี ะตอ้ งประกอบด้วยอุปกรณ์เช่น พดั ลมเป็นตวั ผลติ กระแสลมให้
เกดิ ข้ึน กระบงั ลมเป็นตัวทรี่ วบรวมกระแสลมไม่ให้กระจายไปทศิ ทางอน่ื ซ่งึ ตอ้ งบงั คบั ให้ไหลไปยังครบี ระบายความ
รอ้ นใหม้ ากทส่ี ดุ ครีบระบายความร้อนเปน็ ตวั ทถ่ี ูกออกแบบเป็นครีบรอบๆเพ่อื ใหก้ ระแสลมเกดิ การหมนุ วนและพดั พา
ความร้อนออกไปให้มากทีส่ ดุ

2.ระบำยควำมรอ้ นแบบหม้อน้ำ ระบบระบายความรอ้ นแบบหมอ้ นา้ สว่ นมากมกั นิยมใช้กับเครื่องยนต์ดีเซล
ระบบจะมสี ่วนประกอบทสี่ าคญั ดังต่อไปนี้ เชน่ หมอ้ น้าเป็นตัวเกบ็ รวบรวมน้าไวเ้ พ่อื ระบายความรอ้ นซง่ึ ถูกออกแบบ
คลา้ ยกับรังผึ้งเพ่อื ให้นา้ ระบายความร้อนออกมาได้มากที่สุดขณะพัดลมเปา่ ทางานพดั ลมระบายความรอ้ นเปน็ ตวั ผลิต
กระแสลมเพือ่ เปา่ ไปยงั หม้อนา้ ของเครอ่ื งยนตพ์ ดั ลมจะหมุนไปพรอ้ มกับการหมุนของเครอ่ื งยนตโ์ ดยใชส้ ายพานเป็น
ตัวขับลากขณะทางานระบบระบายความร้อนแบบนเ้ี ม่อื เราเติมน้าลงไปในหมอ้ น้านา้ จะไหลไปรวมตัวท่เี ปราะสูบของ
เครอื่ งยนตข์ ณะท่ีเคร่อื งยนต์ทางานนานไปกจ็ ะเกดิ ความรอ้ นและระบายออกกบั น้าทอี่ ยู่บริเวณเปราะสูบจนเดือน
กลายเป็นไอน้าลอยข้ึนไปยังสว่ นบนของหมอ้ น้าพดั จะเป่าไปยังหม้อน้าก็เปน็ การระบายความร้อนออกไปไดท้ นั ทีทา
ใหน้ ้าทรี่ ้อนมีอณุ หภมู ลิ ดลงแล้วให้ไหลกลับลงสบู่ รเิ วณเปราะสบู ของเคร่ืองยนต์หมุนเวยี นอยแู่ บบน้ตี ลอดไปจนหยดุ
ใช้เครื่องยนต์

3.ระบบระบำยควำมร้อนแบบอำ่ งน้ำ ระบบระบายความร้อนแบบอา่ งนา้ ส่วนมากมักนิยมใช้กับเครื่องยนต์
ดีเซลระบบจะมีส่วนประกอบเช่น อา่ งนา้ ซ่งึ เปน็ สิ่งสาคัญถูกออกแบบมาใหม้ ีความแขง็ แรงสามารถเก็บนา้ เพื่อระบาย
ความรอ้ นของเคร่อื งยนตไ์ ดซ้ ง่ึ เมอื่ เปรยี บเทียบกับแบบหม้อนา้ จะมชี น้ิ ส่วนนอ้ ยและมคี วามคงทนตอ่ การใชง้ านระบบ
ระบายความร้อนแบบนเ้ี ม่ือเราเติมน้าลงไปในหม้อน้าน้าจะไหลไปรวมตวั ที่เปราะสูบของเครือ่ งยนตข์ ณะทเ่ี คร่ืองยนต์
ทางานนานไปกจ็ ะเกิดความร้อนและระบายออกกบั นา้ ท่อี ยูบ่ ริเวณเปราะสบู จนเดือนกลายเปน็ ไอน้าลอยขน้ึ ไป เราก็
เอาน้าเย็นเตมิ ลงไปในอา่ งนา้ ของเครื่องยนต์ก็เป็นการระบายความร้อนของเครอ่ื งยนต์ออกไปทาแบบนตี้ ลอด

7. ระบบนำ้ มนั ดีเซลปมั๊ แบบเรียงสูบและแบบจำนจำ่ ย

หนา้ ทีร่ ะบบน้ามันดีเซล ระบบนา้ มนั ดเี ซลนบั เป็นส่วนสาคัญสว่ นหนง่ึ ของเครอ่ื งยนต์ดีเซลซ่งึ มีหน้าทแี่ ละ
ความสาคญั ดังน้ี

1) จ่ายปรมิ าณน้ามันดเี ซลใหพ้ อเหมาะทุกความเรว็ รอบและภารกิจของเคร่ืองยนต์
2) จงั หวะการฉดี นา้ มนั ดีเซล (Fuel Injection Timing) สัมพนั ธก์ บั เคร่อื งยนต์
3) ปริมาณการฉดี น้ามันดีเซลเหมาะสมและประหยัด
4) การเปน็ ละอองน้ามนั ดีเซล (Atomization) เหมาะกบั ความต้องการของหอ้ งเผาไหม้ได้ง่ายและรวดเรว็

สว่ นประกอบวงจรน้ามนั ดเี ซลของปม๊ั ดีเซลแบบเรียงสูบการทางานวงจรนา้ มันดีเซลตวั เรง่ ฉดี น้ามันดเี ซล
รบั แรงขับจากเครอื่ งยนต์ ส่งกาลังขับป๊ัมป้อนน้ามนั ดีเซล ปม๊ั ป้อนนา้ มันดเี ซล ดูดน้ามันดเี ซลจากถังน้ามันดีเซล

ผา่ นหม้อดกั น้ามันดีเซล ผ่านปม๊ั ป้อนน้ามันดีเซลไปยงั หม้อกรองนา้ มนั ดเี ซล เข้าปัม๊ ดีเซลแบบเรียงสูบ สง่ น้ามัน
ดีเซลความดันสูงออกหวั ฉดี เข้าไปในห้องเผาไหมเ้ ครื่องยนต์ น้ามนั ดีเซลส่วนเกนิ ไหลกลบั ถงั น้ามันดเี ซล

8. หมอ้ ดกั นำ้ และหม้อกรองนำ้ มันดีเซล

1. หม้อดักน้ำ (Water Sedimenter) หม้อดักน้าอยู่ระหว่างถังน้ามันกับหม้อกรองน้ามัน ทาหน้าท่ี
กกั กันน้าที่มากับน้ามนั ดีเซลไม่ให้เลยไปถึงหม้อน้ากรองน้ามันดเี ซล มีปมั๊ ไล่ลมอยู่ทีฝ่ าหม้อดักนา้ เพื่อใช้สาหรับไล่
ลมในระบบน้ามันดีเซล ภายในหมอ้ ดักน้ามีลูกลอยและกลไกสวติ ซไ์ ฟเตอื นให้หลอดไฟเตอื นตดิ เตอื นให้ระบายนา้ ท้ิง
ดว้ ยกอ๊ กกน้ หม้อดกั นา้ การใช้หมอ้ นา้ มัน ปมั๊ ดีเซล 10 ครง้ั ไลน่ า้ ออก ปลอ่ ยน้าไหบออกจนหมอ้ ดกั นา้ จนไมม่ นี า้ ปน
กับนา้ มันดเี ซล จึงหมุนกอ๊ กถ่ายนา้ มันปดิ ตามเคย

2. หม้อกรองน้ำมันดเี ซล (Fuel Filter) หม้อกรองน้ามนั ดเี ซลมหี นา้ ท่กี ักกันสง่ิ สกปรกนา้ และ
ฟองอากาศที่ปะปนอยูก่ ับน้ามนั ดีเซลไม่ใหเ้ ลยเข้าไปถึงชุดลูกปมั๊ และชุดนมหนูหัวฉีดเพื่อให้เครอ่ื งยนต์ใช้งานไดด้ ว้ ย
ความปลอดภัยและมีอายุการใช้งานนาน ไสก้ รองสว่ นใหญ่ทาจากกระดาษ เพราะมรี พู รนุ มากแบะสม่าเสมอตลอด
ทั้งแผ่น ขนาดรูประมาณ 0.015 มม. ทาใหม้ ีพื้นท่กี รองได้มากได้ดว้ ยการพบั ซกิ แซกเหมือนรูปดาวหลายแฉก

9. วงจรนำ้ มันดเี ซลปัม๊ ดเี ซลแบบจำนจำ่ ย

ปมั๊ โรตำรี หรือ ปม้ั แบบจำนจ่ำย ปั๊มน้ถี ้าเปรยี บเทียบก็จะคล้ายกับจานจ่ายของเคร่อื งยนต์แก๊สโซลีน แต่
ทาหนา้ ท่ีปอ้ นนา้ มันเชอ้ื เพลงิ ไปยังหวั ฉดี ของแตล่ ะกระบอกสูบในขณะทโี่ รเตอร์ภายในปัม๊ หมนุ

กำรควบคุมป๊ัมโรตำรี ป๊มั โรตารีมกี ลไก 2 ชุดสาหรับควบคุมไทมง่ิ และปรมิ าณน้ามันเช้อื เพลงิ ทฉ่ี ดี ออกมา
กลไกไทม่งิ ต่อกับแหวนลูกเบ้ียว ในขณะทรี่ อบเคร่ืองยนต์เพ่มิ ข้ึน แหวนลูกเบย้ี วจะเล่อื นไปข้างหน้า สิ่งน้ีทาให้ตัว
กระทุ้งทง้ั สองเคลื่อนท่อี อกและเขา้ กอ่ นเวลาปกติ ทาให้การฉดี น้ามนั เกดิ ขึ้นล่วงหน้า ในเวลาเดยี วกันกฟั เวอรเ์ นอร์
จะปรบั น้ามนั เชื้อเพลงิ ท่ีจะฉีดเข้ากระบอกสบู กัฟเวอร์เนอรแ์ ละแป้นคนั เรง่ ในหอ้ งคนขับตอ่ ถึงวาล์วนมหนดู ว้ ย
กลไก การเคลอ่ื นทีข่ องวาล์วปีกผเี ส้ือจะมีผลการทางานของวาล์วนมหนู

คุณลักษณะของปั้ม

ป๊ัมฉีดนา้ มันเช้อื เพลิงแบบจานจ่าย (Distributor Pump) เปน็ ปัม๊ ท่ีมีชุดสร้างแรงดนั น้ามันเชอ้ื เพลิงแรงดนั
สงู เพื่อจ่ายให้แตล่ ะกระบอกสบู ผ่านท่อแรงดนั สูงเพยี งชดุ เดยี วตามจงั หวะการจดุ ระเบดิ ของเครื่องยนต์ ประกอบ
ด้วยกฟั เวอร์เนอร์ ไทเมอร์ และปม๊ั ดูดนา้ มัน โดยมีลักษณะของปม๊ั ดังน้ี
- ตวั ปั๊มมีขนาดเลก็ น้าหนกั เบา
- สามารถทางานท่ีความเรว็ สงู ได้ดี อัตราเร่งไว
- ง่ายในการปรับปริมาณการฉีดน้ามันเพราะมีลกู ป๊ัมชุดเดยี ว
- หลอ่ ล่ืนตนเองดว้ ยนา้ มันดีเซล จงึ ไม่ตอ้ งบารุงรกั ษา
- มกั ใชก้ ับ รถกระบะ รถโฟรคล์ ฟิ รถไถ เปน็ ตน้

กำรท้ำงำนปั๊ม VE
การทางานของลกู ป๊มั กับแผ่นลกู ฟูก (Plunger and Camplate)เมอื่ เพลาปั๊มหมนุ ขับป๊มั ป้อนน้ามนั พรอ้ ม
กนั นั้นจะหมนุ ขับเฟืองขับกาวานาแผ่นลกู ฟกู และลูกปมั๊ ด้วย แผ่นลูกฟกู เปน็ จานกลม ดา้ นล่างเปน็ ลูกฟกู เท่ากบั
จานวนสบู ของเครอื่ งยนต์สัมผัสกับลกู กล้งิ ลูกกลิ้งมีเพลายดึ ให้หมุนอยู่กับที่ เมอื่ แผน่ ลูกฟกู หมุนไปกบั เพลาปม๊ั แผ่น

ลูกฟูกจะเล่ือนขน้ึ ลงได้ ส่งแรงขบั ใหล้ กู ป๊มั เลือ่ นบนได้ เพราะฐานลูกปัม๊ สัมผัสอยกู่ บั ส่วนบนแผน่ ลกู ฟกู โดยมีสปริง
ลูกป๊ัมดนั ให้ลกู ป๊ัมลงได้ด้วยแรงสปริง ลกู ป๊มั จึงส่งน้ามนั ความดนั สูงออกไปได้ขณะท่ลี ูกปัม๊ เคล่ือนท่ีข้ึนลง ลกู ป๊ัมก็
หมนุ ไปกบั เพลาปัม๊ ด้วย ปัม๊ VE

หัวฉีดนำ้ มันดเี ซลใช้นมหนูแบบรแู ละแบบเดือย
1. หนา้ ทห่ี วั ฉดี นา้ มันดีเซลที่ป๊ัมดเี ซลส่งเข้าไปในห้องเผาไหมต้ ้องให้หวั ฉีดฉีดน้ามันเขา้ ไป นมหนูหัวฉดี มี
เข็มนมหนแู ละเส้อื นมหนูประกอบอยู่ในหวั ฉดี เข็มนมหนแู ละเสือ้ นมหนูผลติ จากเหลก็ กล้าคุณภาพสงู สวมกนั อยู่
ดว้ ยผิวบดละเอียดเปน็ ชุดเดียวกนั หากชารดุ ตอ้ งเปลี่ยนท้งั ชุด
2. หลักการทางานของหวั ฉีดหวั ฉีดหลกั ประจำ้ สูบในระบบ TCCSหวั ฉดี ประจาสูบท่ใี ช้ในระบบ TCCS (โต
โยตา้ ) มีหลายรปู แบบ เช่น แบบใช้นมหนู แบบเดือยหรอื แบบรู
ใช้ความต้านทานต่าประมำณ 2-3 โอหม์ หรือแบบใชค้ วามต้านทานสูงประมำณ 13.8 โอหม์

หลกั กำรท้ำงำน เน่อื งจากแกนแมเ่ หลก็ และเขม็ นมหนตู ิดกนั เม่อื ขดลวดหัวฉดี ไดร้ บั สัญญาณจากกล่อง
ECU แกนแม่เหล็กจะยกเขม็ นมหนขู ึ้นให้เบนซนิ ฉีดออก ปริมาตรการฉดี เบนซนิ ควบคุมโดยระยะเวลาของสัญญาณ
เพราะวา่ ระยะเคลอ่ื นทต่ี วั ของเขม็ นมหนคู งท่ี การฉีดจะมอี่ ยตู่ ลอดเวลาไปตราบเทา่ ท่ีเขม็ นมหนูเปิดขนึ้

• ดำ้ นทักษะ(ปฏบิ ตั ิ)

1. ใบงำนท่ี 8 ทฤษฏีเคร่อื งยนตด์ ีเซล

• ด้ำนคุณธรรม/จริยธรรม/จรรยำบรรณ/บรู ณำกำรเศรษฐกิจพอเพียง

(จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมขอ้ ที่ 4-5)

12. การเตรียมความพร้อมด้านการเตรียม วัสดุ อุปกรณ์นักศึกษาจะต้องกระจายงานได้ทั่วถึง และตรงตาม
ความสามารถของสมาชิกทกุ คน มีการจดั เตรียมสถานที่ สอ่ื วัสดุ อุปกรณไ์ วอ้ ยา่ งพร้อมเพรยี ง

5. ความมเี หตมุ ีผลในการปฏิบัตงิ าน ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง นักศึกษาจะตอ้ งมกี ารใช้
เทคนิคท่ีแปลกใหม่ใช้ส่ือและเทคโนโลยีประกอบการนาเสนอท่ีน่าสนใจนาวัสดุในท้องถ่ินมาประยุกต์ใช้
อย่างคมุ้ คา่ และประหยัด

กจิ กรรมกำรเรยี นกำรสอนหรอื กำรเรียนรู้

ขนั ตอนกำรสอนหรือกิจกรรมของครู ขนั ตอนกำรเรียนรหู้ รือกจิ กรรมของนักเรยี น

1. ขันน้ำเขำ้ สู่บทเรยี น (15 นำที ) 1. ขนั น้ำเขำ้ สู่บทเรยี น (15 นำที )

จัดให้นักเรยี นศึกษาความรู้ในบทเรยี น นักเรยี นศึกษาคาศพั ท์ในบทเรียน

10. ผู้สอนจัดเตรียมเอกสาร พร้อมกับแนะนา 10. ผู้เรียนเตรียมอุปกรณ์และ ฟังครูผู้สอนแนะนา

รายวิชา วธิ กี ารให้คะแนนและวิธีการเรียนเรื่องทฤษฎี รายวิชา วิธีการให้คะแนนและวิธีการเรียนเร่ืองทฤษฎี

เครือ่ งยนต์ดีเซล เครื่องยนต์ดีเซล

11. ผู้สอนแจ้งจุดประสงค์การเรียนของหน่วย 11. ผู้เรียนทาความเข้าใจเกี่ยวกับจุดประสงค์การ

เรียนท่ี 3 และขอให้ผู้เรียนร่วมกันทากิจกรรมการ เรียนของหน่วยเรียนที่ 3 และการใหค้ วามร่วมมือในการ

เรียนการสอน ทากิจกรรม

12. ผู้สอนให้ผู้เรียนแสดงความรู้เกี่ยวกับทฤษฎี 12. ผู้เรียนแสดงความรู้ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎี

เครอ่ื งยนต์ดเี ซล เครอื่ งยนตด์ ีเซล

2. ขนั ใหค้ วำมรู้ (75 นำท)ี 2. ขันใหค้ วำมรู้ (75 นำที )

7. ผสู้ อนแนะนาวิธีการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ 7. ผู้เรียนศึกษาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
ชว่ ยสอน หน่วยที่ 8 ทฤษฎเี คร่อื งยนต์ดเี ซล และให้ หน่วยท่ี 8 ทฤษฎีเครื่องยนต์ดีเซลและให้ผู้เรียนศึกษา
ผู้เรียนศึกษาเอกสารประกอบการสอน ทฤษฎี เอกสารประกอบการสอน ทฤษฎีเคร่ืองยนต์ดเี ซล หน่วย
ที่ 8 หนา้ ท่ี 145-155 ประกอบกับบทเรียนคอมพวิ เตอร์
เครื่องยนต์ดีเซล หนว่ ยที่ 8 หนา้ ที่ 145-155
8. ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันอธิบายเกี่ยวกับ ชว่ ยสอน
หลักการทางานเคร่ืองยนต์ดีเซล 4 จังหวะ ประเภท 8. ผู้เรียนร่วมมือกับผู้สอ นอธิ บายเก่ียวกั บ
ของห้องเผาไหม้เคร่ืองยนต์ดีเซล เปรียบเทียบ หลักการทางานเครื่องยนต์ดีเซล 4 จังหวะ ประเภทของ
เครื่องยนต์ดีเซลกับเครื่องยนต์แก๊สโซลีน ระบบหล่อ ห้องเผาไหม้เครื่องยนต์ดีเซล เปรียบเทียบเครื่องยนต์
ลน่ื และระบบระบายความร้อนเครอ่ื งยนต์ ระบบน้ามัน ดีเซลกับเคร่ืองยนต์แก๊สโซลีน ระบบหล่อลื่นและระบบ
ดีเซลป้ัมแบบสูบเรียงและแบบจานจ่าย และหัวฉีด ระบายความร้อนเคร่ืองยนต์ ระบบน้ามันดีเซลปั้มแบบ
น้ามันดีเซลใช้นมหนูแบบรูและแบบเดือย ตามท่ีได้ สูบเรียงและแบบจานจ่าย และหัวฉีดน้ามันดีเซลใช้นม
หนูแบบรูและแบบเดือย ตามท่ีได้ศึกษาจากบทเรียน
ศกึ ษาจากบทเรียนคอมพวิ เตอรช์ ่วยสอน
คอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอน

กจิ กรรมกำรเรยี นกำรสอนหรือกำรเรยี นรู้

ขันตอนกำรสอนหรอื กจิ กรรมของครู ขนั ตอนกำรเรยี นรู้หรือกิจกรรมของนักเรยี น

3. ขนั ประยกุ ต์ใช้ ( 105 นำที ) 3. ขนั ประยุกต์ใช้ ( 105 นำที )

7. ผสู้ อนให้ผ้เู รยี นทากิจกรรมใบงานที่ 8 หนา้ ที่ 7. ผู้เรียนทากิจกรรมใบงานท่ี 7 หน้าท่ี 136
เร่ือง ทฤษฎีเครื่องยนต์ดเี ซล
158 เรื่อง ทฤษฎีเคร่อื งยนตด์ เี ซล
8. ผูเ้ รยี นสืบค้นขอ้ มลู จากอินเทอร์เน็ต
8. ผู้สอนให้ผูเ้ รียนสืบคน้ ข้อมูลจากอนิ เทอรเ์ น็ต

4. ขนั สรุปและประเมนิ ผล ( 30 นำที ) 4. ขนั สรุปและประเมินผล (30 นำที )

7. ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันสรุปเน้ือหาท่ีได้เรียน 7. ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันสรุปเน้ือหาที่ได้เรียน
เพ่อื ใหม้ คี วามเข้าใจในทศิ ทางเดยี วกนั
ให้มคี วามเขา้ ใจในทิศทางเดยี วกนั
8. ผู้สอนให้ผู้เรียนศึกษาเพ่ิมเติมนอกห้องเรียน 8. ผู้เรียนศึกษาเพ่ิมเติมนอกห้องเรียน ด้วย

ดว้ ยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนทจ่ี ัดทาขึ้น บทเรียนคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนท่ีจดั ทาขน้ึ

(บรรลุจุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรมขอ้ ที่ 1-5) (บรรลุจุดประสงค์เชงิ พฤติกรรมข้อท่ี 1-5)

(รวม 240 นำที หรือ 4 คำบเรยี น)

งำนทีม่ อบหมำยหรือกจิ กรรมกำรวดั ผลและประเมินผล

ก่อนเรียน

1. จัดเตรยี มเอกสาร สื่อการเรยี นการสอนหน่วยที่ 8
2. ทาความเขา้ ใจเกี่ยวกับจุดประสงคก์ ารเรยี นของหนว่ ยที่ 8 และใหค้ วามร่วมมือในการทากิจกรรมใน

หนว่ ยที่ 8

ขณะเรียน

10. ปฏิบัตติ ามกิจกรรมใบงานท่ี 8 เร่อื งทฤษฎีเครอื่ งยนตด์ เี ซล
11. ปฏิบตั ติ ามแผนฝึกปฏบิ ัติงานโครงการ ทารายงานเกย่ี วกับทฤษฎเี ครื่องยนตด์ ีเซล
12. ร่วมกันสรปุ “ทฤษฎเี ครอ่ื งยนตด์ ีเซล”

หลังเรยี น

4. ทาแบบประเมนิ การเรียนรู้

ค้ำถำม

10. เคร่อื งยนตด์ เี ซลมหี ลกั การทางานอย่างไร
11. เคร่อื งยนตด์ ีเซลกบั เคร่ืองยนตแ์ ก๊สโซลีนแตกต่างกันอยา่ งไร
12. หัวฉีดมหี น้าที่อะไร มหี ลกั การทางานอยา่ งไร

ผลงำน/ชินงำน/ควำมสำ้ เร็จของผเู้ รียน

กจิ กรรมท่ี 8 เรอ่ื ง ทฤษฎเี ครือ่ งยนตด์ ีเซล

สมรรถนะที่พึงประสงค์

ผู้เรียนสรา้ งความเขา้ ใจเกย่ี วกบั ทฤษฎีเครื่องยนตด์ เี ซล
13. วิเคราะหแ์ ละตีความหมาย
14. ตัง้ คาถาม
15. อภิปรายแสดงความคิดเห็นระดมสมอง
16. การประยุกตค์ วามรูส้ งู่ านอาชพี

สมรรถนะกำรปฏิบตั งิ ำนอำชพี

11. มคี วามเขา้ ใจเกย่ี วกับหลักการทางานของเครอ่ื งยนตด์ ีเซล 4 จังหวะ
12. มีความเข้าใจเกี่ยวกบั วงจรการทางานของระบบหล่อล่ืน
13. มคี วามเข้าใจเกีย่ วกบั ระบบระบายความรอ้ นของเครอ่ื งยนตด์ เี ซล
14. มีความเข้าใจเก่ียวกับหลกั การทางานของ VE

สมรรถนะกำรขยำยผล

ควำมสอดคลอ้ ง
ทฤษฎีเครื่องยนตด์ ีเซลทาใหผ้ ู้เรียนมีความรคู้ วามเข้าใจมามากกน็ ้อย เมือ่ ผเู้ รยี นไปทางานทาใหน้ ายจา้ ง
ยอมรบั ความสามารถหรอื ไม่ผ้เู รียนนารายไดท้ ไี่ ด้จากอาชพี น้มี าช่วยในค่าใชจ้ ่ายอปุ กรณก์ ารเรยี นของผูป้ กครอง

สื่อกำรเรียนกำรสอน/กำรเรยี นรู้

สื่อสง่ิ พมิ พ์
22. เอกสารประกอบการสอนวิชา งานถอดประกอบเคร่ืองกลเบอื้ งต้น (ใชป้ ระกอบการเรียนการสอน

จดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรมข้อท่ี 1-5)
23. กิจกรรมรูท้ ่ี 8 เร่อื ง ทฤษฎีเครื่องยนต์ดีเซล (ใช้ประกอบการเรียนการสอนขัน้ ให้ความรู้ เพ่อื ให้บรรลุ

จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อที่ 1-5)
24. แบบประเมนิ ผ้เู รียนในช้นั เรยี น ใช้ประกอบการสอนขั้นประยกุ ตใ์ ช้ ข้อ 1

สื่อโสตทศั น์ (ถ้ำม)ี
บทเรยี นคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน เร่อื ง ทฤษฎีเคร่อื งยนต์ดีเซล

ส่ือของจริง
ทฤษฎเี คร่อื งยนตด์ ีเซล (ใชป้ ระกอบการเรียนการสอนจุดประสงค์เชงิ พฤติกรรมขอ้ ที่ 1-5

แหล่งกำรเรียนรู้

ในสถำนศกึ ษำ
1. ห้องสมุดวิทยาลัยเทคนิคสมุทรสาคร
2. ห้องปฏิบตั ิการคอมพิวเตอร์ ศกึ ษาหาขอ้ มลู ทางอนิ เทอรเ์ น็ต

นอกสถำนศึกษำ
ผู้ประกอบการ สถานประกอบการ ในทอ้ งถิ่นจงั หวัดสมทุ รสาคร

กำรบรู ณำกำร/ควำมสมั พนั ธก์ ับวชิ ำอ่นื

28. บูรณาการกบั วชิ าชีวติ และวฒั นธรรมไทย ดา้ นการพดู การอ่าน การเขียน และการฝึกปฏิบัติตนทาง
สังคมดา้ นการเตรียมความพร้อม ความรับผิดชอบ และความสนใจใฝ่รู้

29. บูรณาการกับวิชาการบรหิ ารการจดั ซื้อ ด้านการซื้อ การแสวงหาผลิตภณั ฑ์
30. บูรณาการกับวิชากีฬาเพื่อพัฒนาสุขภาพและบุคลิกภาพ ดา้ นบคุ ลกิ ภาพในการนาเสนอหนา้ ชัน้ เรียน
31. บรู ณาการกับวชิ าหลกั เศรษฐศาสตร์ ด้านการเลือกใชท้ รพั ยากรอยา่ งประหยดั

กำรประเมนิ ผลกำรเรียนรู้
 หลกั กำรประเมนิ ผลกำรเรียนรู้

ก่อนเรียน
ตรวจแบบทดสอบก่อนเรยี น

ขณะเรยี น
15. ตรวจผลงานตามกิจกรรมที่ 1
16. สงั เกตการทางาน

หลงั เรียน

-

ผลงำน/ชนิ งำน/ผลสำ้ เรจ็ ของผเู้ รยี น

กิจกรรมท่ี 8 ทฤษฎีเครื่องยนตด์ ีเซล

รายละเอียดการประเมินผลการเรยี นรู้

 จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม ข้อที่ 1 มีความเขา้ ใจเกี่ยวกบั หลกั การทางานของเครอ่ื งยนตด์ ีเซล 4 จังหวะ

19. วธิ ีการประเมนิ : ทดสอบ

20. เครือ่ งมอื : แบบทดสอบ

21. เกณฑก์ ารให้คะแนน : อธิบายหลกั การทางานของเครื่องยนต์ดเี ซลได้ จะได้ 1 คะแนน

 จดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรม ขอ้ ที่ 2 วงจรการทางานของระบบหล่อลนื่

22. วิธีการประเมนิ : ทดสอบ

23. เครอ่ื งมือ : แบบทดสอบ

24. เกณฑ์การให้คะแนน : อธิบายหลกั การทางานของวงจรระบบ

หล่อลื่นได้ จะได้ 1 คะแนน

 จุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม ข้อที่ 3 มีความเขา้ ใจเกีย่ วกับระบบระบายความรอ้ นเคร่อื งยนต์ดีเซล

25. วธิ กี ารประเมิน : ทดสอบ

26. เครอ่ื งมือ : แบบทดสอบ

27. เกณฑก์ ารให้คะแนน : อธิบายการทางานของระบบระบายความ

รอ้ นได้ จะได้ 1 คะแนน

 จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม ขอ้ ที่ 4 การเตรียมความพรอ้ มดา้ นการเตรยี ม วสั ดุ อุปกรณน์ กั ศึกษาจะตอ้ ง

กระจายงานได้ทัว่ ถงึ และตรงตามความสามารถของสมาชิกทกุ คนมีการจัดเตรียมสถานท่ี ส่อื วัสดุ อปุ กรณ์

ไวอ้ ยา่ งพรอ้ มเพรียง

16. วธิ ีการประเมนิ : ตรวจผลงาน

17. เครอ่ื งมือ : แบบประเมินกระบวนการทางานกลมุ่

18. เกณฑก์ ารให้คะแนน : การเตรียมความพร้อมดา้ นการเตรยี ม วสั ดุ อปุ กรณ์นกั ศึกษา

จะตอ้ งกระจายงานได้ท่ัวถึง และตรงตามความสามารถของ

สมาชกิ

ทุกคน มีการจัดเตรียมสถานท่ี สื่อ วสั ดุ อุปกรณ์ไวอ้ ยา่ ง
พรอ้ ม

เพรยี ง จะได้ 2 คะแนน

 จดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม ข้อท่ี 5 ความมีเหตุมีผลในการปฏบิ ัตงิ าน ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง

นักศกึ ษาจะต้องมกี ารใช้ เทคนคิ ทีแ่ ปลกใหม่ใช้ส่ือและเทคโนโลยีประกอบการนาเสนอที่น่าสนใจนาวสั ดใุ น

ทอ้ งถิน่ มาประยุกตใ์ ช้ อย่างคุม้ ค่าและประหยัด

1. วธิ ีการประเมนิ : ตรวจผลงาน

2. เคร่ืองมอื : แบบประเมินกระบวนการทางานกลุม่

3. เกณฑ์การให้คะแนน : ความมีเหตุมผี ลในการปฏิบัตงิ าน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ

พอเพยี งนกั ศึกษาจะต้องมีการใช้ เทคนคิ ท่ีแปลกใหม่ใชส้ ่อื และเทคโนโลยี
ประกอบการนาเสนอทีน่ ่าสนใจนา วสั ดใุ นทอ้ งถนิ่ มาประยกุ ตใ์ ชอ้ ยา่ ง
คมุ้ คา่ และประหยดั จะได้ 2 คะแนน

กิจกรรมท่ี 1
ประกอบแผนกำรสอนหน่วยท่ี 8

เรื่อง ทฤษฎีเคร่ืองยนต์ดเี ซล
เครอื่ งยนต์ดีเซล

คำ้ สั่ง ให้ผ้เู รยี นศกึ ษาคน้ ควา้ เพ่ิมเตมิ ทฤษฏเี ครอื่ งยนตด์ ีเซล โดยปฏบิ ัติตามคาส่ังดังตอ่ ไปน้ี

รูปภาพเครื่องยนต์ดเี ซล 4 จงั หวะ

เปรียบเทียบเคร่อื งยนตด์ ีเซลกับแก๊สโซลนี

เฉลยแบบฝกึ หัดที่ 8
เรอ่ื ง ทฤษฎเี ครอ่ื งยนต์ดีเซล

ตอนท่ี 1 จงอธิบำยควำมหมำยในแต่ละข้อตอ่ ไปนี

1. ความสาคัญและประเภทหอ้ งเผาไหมเ้ คร่ืองยนตเ์ ปน็ อย่างไร.
ตอบ วธิ กี ารผสมไอดภี ายในห้องเผาไหมเ้ ครอ่ื งยนตด์ ีเซล ต้องดดู อากาศเปลา่ เข้าแล้วอัดให้มีความดนั สูง

น้ามนั ดเี ซลทฉ่ี ีดเข้าไปในหอ้ งเผาไหม้จะเปน็ ละอองนา้ มนั ดเี ซลจะระเหยเป็นไอดีแตกตัวทาปฏกิ ิรยิ ากับออกซิเจนให้
ห้องเผาไหมต้ ามเวลาถว่ งจดุ ระเบิดประมาณ 1 ใน 100 ถงึ 1 ใน 1,000 วนิ าที แล้วแต่ความเรว็ รอบเครอ่ื งยนต์

2. จงอธิบายห้องเผาไหม้แบบเปิดอยา่ งไรบ้าง
ตอบ ห้องเผาไหมแ้ บบเปิด (Open Combustion Chamber) หรือเรยี กว่าแบบฉีดตรง (Direct Injection)

= DI ในรถปกิ อัพ หลายรุ่น หัวฉีดนมหนูแบบรู 1-12 รู ฉีดนา้ มนั ดีเซลเข้าไปในห้องเผาไหมโ้ ดยตรง

3. จงอธิบายห้องเผาไหมแ้ บบพาวนเป็นอย่างไรบา้ ง
ตอบ หอ้ งเผาไหมแ้ บบน้ีเปน็ แบบทีม่ ีหอ้ งเผาไหมช้ ว่ ยโดยจะมีหอ้ งเผาไหมช้ ว่ ยอย่ใู นฝาสบู ห้องเผาไหมแ้ บบ

นี้เกดิ ข้ึนหลังจากทเ่ี ครอ่ื งยนตด์ เี ซลได้รบั ความนยิ มมากขน้ึ เรือ่ ย ๆ

4. จงอธบิ ายระบบหลอ่ ล่นื เครอื่ งยนต์ดีเซลหมายถงึ อะไร
ตอบ จดุ ประสงคข์ องการหลอ่ ล่นื ชน้ิ สว่ นต่างๆ ในเคร่อื งยนตท์ ี่เคลือ่ นที่ เช่น ลูกสบู เพลาขอ้ เหวี่ยง เพลา

ลูกเบีย้ วอปุ กรณภ์ ายในเครื่องยนต์ ผลติ จากโลหะทีม่ ีคุณภาพสูง แขง็ แรงทนทาน แตเ่ มอ่ื อุปกรณ์เหล่าน้นั ทางาน
ร่วมประสานกัน เชน่ เพลาลูกเบี้ยวกับวาลว์ , บริเวณเพลาข้อเหว่ียง หรอื ตามจุดข้อตอ่ ต่างๆ ทมี่ ีการเคล่อื นท่ี เสยี ดสี
กนั ย่อมทาใหเ้ กดิ การสึกหรอ และความร้อนขึน้ ตรงนี้เอง ทจี่ าเปน็ ต้องมีระบบหล่อลน่ื ทดี่ ี เพ่ือลดการสึกหรอ

5. จงอธบิ ายการเปรยี บเทียบเคร่ืองยนต์ดเี ซลกับเคร่อื งยนตแ์ ก๊สโซลนี บอกอย่างนอ้ ย 3 ข้ออยา่ งไร
ตอบ 1.ประหยดั นามนั เช้ือเพลิงกวา่ เครื่องยนตเ์ บนซินเมื่อใชง้ านเทา่ กัน
2.ดเี ซลบารงุ รักษาง่ายเพราะไม่มอี ปุ กรณส์ ึกหรอง่าย
3.ไม่มรี ะบบจุดระเบิด ซึ่งย่งุ ยาก และมีเหตุขัดข้องเสมอ

ตอนท่ี 2 จงท้ำเครอื่ งหมำย (X) หน้ำขอ้ ย่อยท่ีถูกทีส่ ุดเพียงข้อเดียว

33. นมหนูแบบเดือยจะสงั เกตไดจ้ ากอะไร
ก. เดือยนมหนูโผล่ออกนอก
ข. เดือนนมหนอู ยู่ศูนย์กลางรู
ค. เส้อื นมหนมู ีบา่
ง. เส้อื นมหนเู ปน็ ทรงกระบอก

34. นมหนแู บบรไู วต่อสิง่ สกปรกอย่างไร
ก. นอ้ ยรูฉีดน้ามนั ไม่ทัน
ข. รนู มหนเู ลก็ ตดิ ตันงา่ ย
ค. เขม่าแก๊สเผาไหม้เข้าไปในหัวฉีดได้
ง. ทาให้รูสกึ หรอง่าย

35. คุณภาพน้ายาหล่อเย็นเปน็ อย่างไร
ด. ไมค่ วรมคี ราบสนิม

ต. ไมม่ คี ราบนา้ มัน
ถ. มตี ระกรนั

ท. ถูกทกุ ขอ้
36. การตรวจความถ่วงจาเพาะแบตเตอรี่ใช้เคร่ืองมอื ใดในกรตรวจสอบ

ด. ไดอลั เกจ

ต. ไฮไดรมเิ ตอร์
ถ. มิเตอร์วัดไฟฟ้า

ท. เวอร์เนยี ร์คาลเิ ปอร์
ธ. ขอ้ ดขี องนมหนูแบบเดอื ยคอื อะไร

ก. อายุการใช้งานนานรูไมอ่ ุดตนั

ข. ละอองนา้ มันเผาไหมง้ ่าย
ค. ใช้ในหอ้ งเผาไหมแ้ บบเปดิ

ง. ใชใ้ นหอ้ งเผาไหมแ้ บบใดกไ็ ด้
6. เคร่ืองยนต์ทมี่ ีห้องเผาไหมช้ ่วยท่ีฝาสูบเปน็ แบบใด

ด. ห้องเผาไหมแ้ บบพาวน

ต. หอ้ งเผาไหม้แบบเปิด
ถ. ห้องเผาไหมแ้ บบปดิ

ท. ถูกทกุ ขอ้
7. ทาไมต้องตรวจระดับนา้ หล่อเย็นกอ่ นตดิ เครอ่ื ง

ด. เพ่ือให้เครอ่ื งตดิ งา่ ย

ต. เพือ่ ให้เครื่องไม่รอ้ นจดั
ถ. เพือ่ ให้เครอ่ื งทางานปลอดภัย

ท. เพอ่ื ใหเ้ ครอ่ื งเดินเรยี บ
8. เคร่อื งมือท่ใี ชว้ ดั ระยะห่างระหวา่ งปากแหวน

ต. ฟิลเลอร์เกจ

ถ. ประแจเล่ือน
ท. ไดอลั เกจ

ธ. ไมโครมเิ ตอร์
17. มาตรฐานวดั ระยะหา่ งระหวา่ งปากแหวนต้องไมเ่ กนิ เทา่ ไร

ด. 0.26-0.36 มม

ต. 0.30-045 มม.

ถ. 0.10-056 มม.
ท. ถูกทั้งข้อ ก.และ ค.
18. การระบายความรอ้ นดว้ ยนา้ มสี ว่ นประกอบใดบ้าง

ด. หม้อน้า
ต. หม้อพักนา้
ถ. ปั๊มนา้
ท. ถกู ทุกขอ้

กจิ กรรมนำ้ สู่อำเซียนหนว่ ยที่ 8

1.ประเทศไทยซือถ่ำนหนิ มำจำกที่ประเทศใดในอำเซยี น
ชอ่ื ภำษำไทย : สหภำพพมำ่
ภำษำองั กฤษ : Union of Myanmar

2.ประเทศไทยซือก๊ำซธรรมชำตมิ ำจำกท่ปี ระเทศใดในอำเซยี น

ชื่อภำษำไทย : มำเลเซีย
ภำษำองั กฤษ : (Malaysia)

3.ประเทศไทยซือไฟฟำ้ พลังน้ำจำกธรรมชำติมำจำกทป่ี ระเทศใดในอำเซยี น

ช่ือภำษำไทย : ประเทศลำว
ภำษำอังกฤษ : Republic of Lao PDR

แบบประเมินผลการนาเสนอผลงาน ขอ้ คิดเหน็
ชื่อกล่มุ ……………………………………………ชน้ั ………………………หอ้ ง...........................
รายชอื่ สมาชิก

1……………………………………เลขที่……. 2……………………………………เลขท…่ี ….
3……………………………………เลขที่……. 4……………………………………เลขท…ี่ ….

คะแนน
ที่ รายการประเมนิ

32 1

1 เน้ือหาสาระครอบคลมุ ชดั เจน (ความรู้เกย่ี วกับเนื้อหา ความถูกต้อง ปฏิภาณในการตอบ

และการแก้ไขปญั หาเฉพาะหนา้ )

2 รปู แบบการนาเสนอ

3 การมีสว่ นรว่ มของสมาชิกในกลุ่ม
4 บคุ ลกิ ลักษณะ กิริยา ทา่ ทางในการพูด นา้ เสยี ง ซึง่ ทาให้ผฟู้ ังมีความสนใจ

รวม

ผปู้ ระเมนิ …………………………………………………

เกณฑก์ ำรให้คะแนน
1. เนื้อหาสาระครอบคลุมชดั เจนถกู ต้อง

3 คะแนน = มีสาระสาคญั ครบถว้ นถูกตอ้ ง ตรงตามจดุ ประสงค์
2 คะแนน = สาระสาคญั ไมค่ รบถว้ น แต่ตรงตามจดุ ประสงค์
1 คะแนน = สาระสาคญั ไมถ่ กู ต้อง ไมต่ รงตามจุดประสงค์
2. รปู แบบการนาเสนอ
3 คะแนน = มรี ูปแบบการนาเสนอทเี่ หมาะสม มีการใชเ้ ทคนคิ ทแี่ ปลกใหม่ ใชส้ ื่อและเทคโนโลยี

ประกอบการ นาเสนอท่นี า่ สนใจ นาวสั ดุในทอ้ งถิ่นมาประยกุ ต์ใช้อย่างค้มุ ค่าและประหยัด
คะแนน = มีเทคนิคการนาเสนอทแี่ ปลกใหม่ ใชส้ ือ่ และเทคโนโลยปี ระกอบการนาเสนอทนี่ า่ สน ใจ แตข่ าดการ

ประยกุ ต์ใช้ วสั ดใุ นทอ้ งถิน่
1 คะแนน = เทคนคิ การนาเสนอไมเ่ หมาะสม และไมน่ ่าสนใจ
3. การมีส่วนร่วมของสมาชกิ ในกลมุ่
3 คะแนน = สมาชกิ ทกุ คนมบี ทบาทและมสี ่วนรว่ มกจิ กรรมกลุม่
2 คะแนน = สมาชิกสว่ นใหญ่มบี ทบาทและมสี ่วนรว่ มกจิ กรรมกล่มุ
1 คะแนน = สมาชกิ ส่วนนอ้ ยมบี ทบาทและมสี ว่ นรว่ มกจิ กรรมกลุ่ม
4. ความสนใจของผูฟ้ งั

3 คะแนน = ผฟู้ งั มากกว่ารอ้ ยละ 90 สนใจ และใหค้ วามร่วมมือ
2 คะแนน = ผ้ฟู งั รอ้ ยละ 70-90 สนใจ และใหค้ วามรว่ มมือ
1 คะแนน = ผ้ฟู งั น้อยกวา่ รอ้ ยละ 70 สนใจ และใหค้ วามร่วมมือ

แบบประเมนิ กระบวนการทางานกลมุ่

ชือ่ กลมุ่ ……………………………………………ช้ัน………………………หอ้ ง...........................

รายชื่อสมาชิก
1……………………………………เลขท…ี่ …. 2……………………………………เลขท่ี…….
3……………………………………เลขท…่ี …. 4……………………………………เลขท่ี…….

ที่ รายการประเมนิ คะแนน ขอ้ คิดเหน็
321
1 การกาหนดเป้าหมายรว่ มกนั
2 การแบง่ หน้าทีร่ ับผิดชอบและการเตรยี มความพร้อม
3 การปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ีทไ่ี ด้รับมอบหมาย
4 การประเมินผลและปรบั ปรุงงาน

รวม

ผปู้ ระเมนิ …………………………………………………
วันที่…………เดือน……………………..พ.ศ…………...

เกณฑ์กำรให้คะแนน

1. การกาหนดเปา้ หมายรว่ มกัน
3 คะแนน = สมาชิกทุกคนมสี ว่ นร่วมในการกาหนดเปา้ หมายการทางานอย่างชดั เจน
2 คะแนน = สมาชิกสว่ นใหญ่มสี ว่ นร่วมในการกาหนดเปา้ หมายในการทางาน
1 คะแนน = สมาชกิ สว่ นนอ้ ยมีสว่ นร่วมในการกาหนดเป้าหมายในการทางาน

2. การมอบหมายหนา้ ทีร่ บั ผดิ ชอบและการเตรียมความพร้อม
3 คะแนน = กระจายงานไดท้ ว่ั ถึง และตรงตามความสามารถของสมาชกิ ทกุ คน มีการจัดเตรียมสถานที่ สื่อ /
อุปกรณไ์ ว้อย่างพร้อมเพรียง
2 คะแนน = กระจายงานไดท้ ว่ั ถงึ แตไ่ มต่ รงตามความสามารถ และมสี ื่อ / อุปกรณ์ไว้อยา่ งพร้อมเพรยี ง แต่ขาด
การจัดเตรียมสถานท่ี

1 คะแนน = กระจายงานไม่ทั่วถงึ และมสี ือ่ / อปุ กรณไ์ ม่เพยี งพอ
3. การปฏิบตั หิ นา้ ทีท่ ไี่ ด้รับมอบหมาย

3 คะแนน = ทางานไดส้ าเร็จตามเป้าหมาย และตามเวลาทก่ี าหนด
2 คะแนน = ทางานไดส้ าเรจ็ ตามเปา้ หมาย แต่ช้ากว่าเวลาท่ีกาหนด
1 คะแนน = ทางานไมส่ าเรจ็ ตามเป้าหมาย
4. การประเมินผลและปรับปรงุ งาน
3 คะแนน = สมาชกิ ทกุ คนรว่ มปรึกษาหารอื ตดิ ตาม ตรวจสอบ และปรบั ปรุงงานเป็นระยะ
2 คะแนน = สมาชกิ บางส่วนมสี ว่ นรว่ มปรึกษาหารอื แตไ่ ม่ปรบั ปรงุ งาน
1 คะแนน = สมาชกิ บางส่วนไม่มสี ว่ นร่วมปรกึ ษาหารือ และปรับปรุงงาน

บนั ทกึ หลงั กำรสอน

หนว่ ยท่ี 8 ทฤษฎีเครือ่ งยนตด์ ีเซล

ผลกำรใช้แผนกำรเรียนรู้

1. เนอ้ื หาสอดคล้องกับจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
2. สามารถนาไปใช้ปฏบิ ัติการสอนไดค้ รบตามกระบวนการเรียนการสอน
3. สื่อการสอนเหมาะสมดี

ผลกำรเรยี นของนักเรยี น

1. นักศกึ ษาสว่ นใหญ่มคี วามสนใจใฝร่ ู้ เข้าใจในบทเรยี น อภปิ รายตอบคาถามในกล่มุ และรว่ มกนั
ปฏบิ ตั ิใบงานท่ไี ด้รบั มอบหมาย

2. นักศกึ ษากระตอื รือร้นและรบั ผิดชอบในการทางานกลุ่มเพอื่ ใหง้ านสาเรจ็ ทนั เวลาทีก่ าหนด
3. นกั ศกึ ษา สามารถตรวจสอบสภาพสายพานและเปล่ยี นสายพานไทม่ิงได้

ผลกำรสอนของครู

1. สอนเนือ้ หาไดค้ รบตามหลกั สูตร
2. แผนการสอนและวธิ กี ารสอนครอบคลมุ เน้อื หาการสอนทาให้ผู้สอนสอนไดอ้ ย่างม่นั ใจ
3. สอนได้ทนั ตามเวลาท่ีกาหนด

แผนกำรสอน/แผนกำรเรียนร้ภู ำคทฤษฎี/ปฏบิ ัติ

แผนการสอน/การเรียนรู้ภาคทฤษฎี/ปฏิบัติ หนว่ ยท่ี 9

ชอ่ื วิชา งานถอดประกอบเครือ่ งกลเบือ้ งต้น สอนสัปดาห์ที่

PRELIMINARY BASIC MECHANICAL ASSEMBLY 13-14

ชอ่ื หน่วย การบริการฝาสูบเคร่ืองยนตด์ เี ซล คาบรวม 8

ชือ่ เรื่อง การบริการฝาสบู เคร่อื งยนต์ดีเซล จานวนคาบ 8

หวั ข้อเร่อื ง

ดำ้ นควำมรู้

64. ส่วนประกอบชุดฝาสูบเครื่องยนตด์ เี ซล
65. การถอดประกอบเพลาลกู เบ้ียวออกจากฝาสบู
66. การทาความสะอาดชุดฝาสบู และบนลิ้น
67. การประกอบชดุ ลิ้นและฝาสบู

ด้ำนทกั ษะ

68. การถอดฝาสูบออกจากเสื้อสบู และถอดแยกชดุ ล้นิ
69. การถอดปัม๊ ดเี ซลแบบจานจ่ายออกจากเครอ่ื งยนต์
70. การใช้เครื่องมอื วัดละเอียดฝาสูบชดุ ล้ินได้
ดำ้ นคุณธรรม จริยธรรม

71. ความรบั ผดิ ชอบ
72. ความสนใจใฝ่รู้

สำระสำ้ คัญ

การบรกิ ารฝาสูบเปน็ การถอดชดุ ฝาสบู เคร่ืองยนตด์ ีเซลและการถอดป๊มั แบบจานจา่ ยออกการทาความ
สะอาดชดุ ฝาสูบซ่ึงเครอ่ื งยนตก์ าลังตกและเรง่ ไมข่ ้ึนทาให้ตอ้ งมกี ารบารงุ รักษาหรอื ตรวจเชค็ อุปกรณ์ให้อยใู่ น
มาตรฐานการใชง้ าน

สมรรถนะอำชพี ประจำ้ หน่วย

11. เพอ่ื ใหเ้ กิดความรู้ความเข้าใจการถอดฝาสบู เครอื่ งยนต์ดเี ซล
12. เพอ่ื ให้เกิดทกั ษะในการใช้เครอื่ งมอื วดั ละเอียด

จุดประสงคก์ ำรสอน/กำรเรียนรู้

 จดุ ประสงค์ทวั่ ไป / บูรณำกำรเศรษฐกจิ พอเพียง

29. เพือ่ ใหม้ คี วามรคู้ วามเข้าใจเครื่องชา่ งพื้นฐาน(ดา้ นความร)ู้
30. เพื่อให้มที ักษะในการใช้เคร่ืองมอื วดั ละเอียด (ด้านทักษะ)
31. เพ่ือให้มีเจตคติที่ดีต่อการเตรียมความพร้อมด้าน วัสดุ อุปกรณ์ และการปฏิบัติงานอย่างถูกต้อง

สาเร็จภายในเวลาท่ีกาหนด มีเหตุและผลตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ด้านคุณธรรม
จริยธรรม)

 จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม / บูรณำกำรเศรษฐกิจพอเพยี ง

48. อธบิ ายเครอ่ื งมือวัดละเอียดฝาสบู เครอ่ื งยนตด์ ีเซล (ดา้ นความรู้)
49. อธบิ ายการปฏิบัติงานเคร่ืองยนตไ์ ด้ (ดา้ นความรู้)
50. บรกิ ารฝาสูบการถอดประกอบได้(ด้านทักษะ)
51. นาหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงไปใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั (ดา้ นจริยธรรม)

เนอื หำสำระกำรสอน/กำรเรยี นรู้

• ด้ำนควำมรู้(ทฤษฎี)

1. ส่วนประกอบชุดฝำสบู เครื่องยนต์ดเี ซล

2. หอ้ งเผำไหมแ้ ละลินเคร่ืองยนต์ดเี ซล

a. ห้องเผาไหมเ้ คร่อื งยนตด์ เี ซล แบบนีเ้ รยี กวา่ แบบพาวน
b. ลิน้ เคร่ืองยนตด์ เี ซล
3.กำรถอดและประกอบเพลำลกู เบียวบนฝำสบู

3.1 การถอดเพลาลูกเบีย้ ว
a. การตรวจระยะรุนเพลาลูกเบี้ยว วัดระยะรนุ เพลาลูกเบย้ี ว
3.3 การถอดชุดกระเด่อื งกดลน้ิ เพลาลกู เบยี้ วและแบริ่ง

รูป 9.4 การถอดชุดกระเดอื่ งกดลิน้
4. กำรตรวจระห่ำงหล่อลน่ื เพลำลูกเบยี ว

a. การประกอบพลาสติกเกจ
b. การวัดระยะหลอ่ ลนื่
5. กำรตรวจเพลำลูกเบยี วและหนำ้ สมั ผสั ทอ่ ร่วม
5.2 วางเพลาลูกเบ้ียวลงบนแทน่ v ตรวจความเบ้ยี ว แกนเพลาลูกเบี้ยวดว้ ยนาฬิกาวัด

5.2 ส่วนการวดั แกนเส้นผ่านศนู ยก์ ลางให้ใช้ไมโครมเิ ตอร์วัดเพลาลูกเบย้ี ว
5.3 การตรวจสอบวดั ท่อร่วมไอดแี ละไอเสยี ใช้ไม้บรรทัดเสน้ ตรงและฟลิ เลอรเ์ กจ วัดความโก่งงอ
ของหน้าสัมผสั งอของหนา้ สัมผัสท่อรว่ มด้านติดฝาสบู


Click to View FlipBook Version