The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แฟ้มประเมิน นางสาวจุฑามาศ สีโลน แผนกช่างยนต์ ปีการศึกษา 2561

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by juthamat19911991, 2019-03-25 02:06:02

แฟ้มประเมิน นางสาวจุฑามาศ สีโลน แผนกช่างยนต์ ปีการศึกษา 2561

แฟ้มประเมิน นางสาวจุฑามาศ สีโลน แผนกช่างยนต์ ปีการศึกษา 2561

ตำแหน่งครูอัตรำจ้ำง
แผนกช่ำงยนต์

แฟม้ สะสมผลงาน (Portfolio) เปน็ การแสดงให้เห็นถึงรอ่ งรอยการเรียนรู้และหน้าที่
ความรบั ผดิ ชอบ ขา้ พเจา้ มีความต้ังใจในการรวบรวมเอกสารข้อมลู ตา่ งๆ ท้ังที่เกีย่ วข้องกับ
ประวตั สิ ่วนตวั และหน้าที่ความรับผดิ ชอบที่ขา้ พเจ้าได้รับผดิ ชอบในขณะที่ทางานในตาแหนง่
ครอู ัตราจา้ ง แผนกช่างยนต์ วทิ ยาลยั เทคนิคระยอง โดยไดจ้ ัดเรียงเอกสารดังนี้

แนวคิดในการดาเนินชวี ติ
ประวตั ิ

- ประวตั ิสว่ นตัว
- ประวตั ิการศกึ ษา
เกณฑ์การประเมนิ ครอู ตั ราจ้าง วทิ ยาลัยเทคนิคระยอง
1 ด้านวินัย
2 ด้านการครองตน
3 ด้านการเรียนการสอน
4 ดา้ นการเขา้ ร่วมกจิ กรรม
5 หน้าที่พเิ ศษทไี่ ดร้ บั มอบหมาย
6 ผลงานดีเด่น
7 ด้านความคิดรเิ ริ่มสร้างสรรค์
ในการจดั ทาแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) ครง้ั นี้ จะมผี ลดแี ละเปน็ ประโยชน์ต่อ
การพัฒนาตนเองสืบตอ่ ไป

อย่ากลวั
กบั สิ่งทีย่ งั “มาไม่ถึง”
ให้คานึงในสิ่งที่ “กาลงั ทา”

- ประวตั สิ ว่ นตวั
- ประวตั ิการศกึ ษา

ประวตั ิส่วนตวั

ขอ้ มลู ท่วั ไป

ช่อื -สกลุ นางสาวจฑุ ามาศ สีโลน
ช่อื เลน่ กอ้ ย
เกดิ วนั ท่ี 17 มีนาคม 2535
ส่วนสูง 159 เซนติเมตร น้ำหนัก 50 กิโลกรัม หมู่โลหติ A
สัญชำติ ไทย เชือชำติ ไทย ศำสนำ พุทธ
ภมู ลิ ้ำเนำ บ้ำนเลขท่ี 60 หมทู่ ี่ 4 ตำ้ บล โนนทอ่ น อ้ำเภอ เมืองขอนแก่น

จังหวดั ขอนแกน่ รหสั ไปรษณีย์ 40000
ทอ่ี ยปู่ ัจจุบัน บ้ำนเลขท่ี 136/13 ต้ำบล เชงิ เนนิ อ้ำเภอ เมืองระยอง

จังหวดั ระยอง รหัสไปรษณีย์ 21000
บิดำ นายทองพลู สีโลน อำชพี เกษตรกรรม
มำรดำ นางละมูล สโี ลน อำชพี เกษตรกรรม

ข้อมลู กำรตดิ ตอ่

เบอรโ์ ทรศัพท์ 083-2831814
E-mail [email protected]
Line ID koi_juthamat
Facebook Juthamat Silon

ประวตั ิกำรศกึ ษำ

ระดบั ชันประถมศกึ ษำชันปที ี่ 1-6

โรงเรยี นบา้ นบงึ แก จงั หวัดขอนแกน่

ระดบั ชนั มธั ยมศกึ ษำตอนตน้

โรงเรียนขอนแก่นวทิ ยายน 3 จังหวัดขอนแก่น

ระดบั ชนั มัธยมศกึ ษำตอนปลำย

โรงเรยี นขอนแกน่ วิทยายน จังหวัดขอนแกน่

ระดับปริญญำตรี

มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน จงั หวดั ขอนแก่น
คณะวศิ วกรรมศาสตร์ สาขา วิศวกรรมเครื่องกล

ระดบั ประกำศนียบตั รบญั ฑิต

มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา
ประกาศนยี บัตรบัณฑิตวิชาชพี ครู

1.ดา้ นวินัย
1.1 การลา
1.2 การมาสาย

สรปุ วันลำครอู ตั รำจำ้ ง วทิ ยำลยั เทคนิคระยอง

2.ด้านการครองตน
- คณุ ธรรม จริยธรรม
- จรรยาบรรณและเจตคตติ ่อวชิ าชพี
- บุคลกิ ภาพและการวางตวั ที่

เหมาะสม

2.ด้านการครองตน

คุณธรรม จริยธรรม

ข้าพเจา้ นางสาวจุฑามาศ สีโลน ครอู ตั ราจ้างแผนกชา่ งยนต์ วิทยาลัยเทคนคิ
ระยอง ได้ปฏบิ ัตติ นเป็นผมู้ ีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม มาโดยตลอด ข้าพเจา้ มีนิสยั ชอบทาบญุ เมอื่
มโี อกาสข้าพเจ้าจะชอบไปทาบญุ ท่ีบ้านเด็กกาพร้าอยู่เสมอๆ เมอื่ วิทยาลัยมกี ิจกรรมทาบญุ
ตักบาตรในวันสาคญั ต่างๆข้าพเจ้ากจ็ ะเขา้ ร่วมกจิ กรรมเสมอมา และสิ่งทขี่ า้ พเจา้ ปฏิบัติมา
โดยตลอดคือความซอ่ื สัตยส์ จุ ริต

จรรยาบรรณและเจตคตติ อ่ วชิ าชพี

ในด้านจรรยาบรรณและเจตคตติ ่อวิชาชพี ข้าพเจา้ ได้ปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ีเป็นครูผู้สอนทีด่ ี
และปฏิบัติตนเป็นแบบอยา่ งท่ีใหแ้ ก่นกั เรยี นเสมอมา

บคุ ลิกภาพและการวางตวั ทเ่ี หมาะสม

ในด้านบุคลกิ ภาพและการวางตัว ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติตามกฎระเบียบของวทิ ยาลัย
ในเรือ่ งของการแต่งกายให้ถูกตอ้ งตามวนั ดงั นี้

วันจันทร์ แต่งกายชุดสกี ากี
วันอังคาร แต่งกายชุดเสอื้ สแี ดง สอศ.
วันพธุ แตง่ กายชุดสุภาพ
วนั พฤหัสบดี แต่งกายชุดเสือ้ Fix It
วันศกุ ร์ แตง่ กายชุดผ้าไทย
เนื่องจากข้าพเจา้ ทาหน้าทปี่ ฏบิ ตั กิ ารสอนในกลมุ่ วชิ าชา่ ง ข้าพเจ้าจึงไม่สะดวกทจี่ ะ
สวมใสก่ ระโปรง ด้วยเหตุน้ขี ้าพเจา้ จึงได้สวมใส่กางเกงมาปฏิบัตหิ นา้ ท่ีเป็นส่วนใหญ่

3.ดา้ นการเรียนการสอน
3.1 โครงการสอน
3.2 บนั ทกึ หลงั การสอน
3.3 ชุดการสอน
3.4 วจิ ัยในช้นั เรยี นทกุ ภาคเรยี น
3.5 การส่งผลการเรียน
3.6 สมุดบนั ทึกเวลาเรียน
3.7 การควบคุมชนั้ เรียน

3.1 โครงกำรสอน

Course Syllabus

วิชำ พลงั งำนและส่ิงแวดลอ้ ม Energy and Environment รหัสวชิ ำ 2001-1003

จำ้ นวนหนว่ ยกติ 2 หนว่ ยกิต ทฤษฏี 1 คำบ/ช่วั โมง ปฏิบัติ 2 คำบ/ชว่ั โมง

ครผู ้สู อนนำงสำวจุฑำมำศ สโี ลน แผนกวชิ ำ ช่ำงยนต์

จดุ ประสงค์รำยวชิ ำ

1. เข้าใจหลักและวิธีการอนุรกั ษพ์ ลงั งานและส่ิงแวดล้อม
2. สามารถประยกุ ต์ใช้หลักและวิธกี ารอนรุ กั ษ์พลังงานและสิ่งแวดลอ้ มในการดาเนนิ ชวี ติ ประจาวันและ

งานอาชีพ
3. มีเจตคตทิ ่ีดีตอ่ การอนรุ ักษพ์ ลังงานและสิ่งแวดลอ้ ม

สมรรถนะรำยวิชำ

1. แสดงความรเู้ กี่ยวกบั และวิธกี ารอนุรกั ษพ์ ลงั งานและสิ่งแวดลอ้ ม
2. วเิ คราะหค์ วามสัมพันธแ์ ละผลกระทบของการใช้พลงั งานตอ่ สิง่ แวดล้อม
3. วางแผนการอนุรักษพ์ ลงั งานและสง่ิ แวดล้อมตามข้อกฎหมายและนโยบายที่เก่ยี วข้อง
4. ประยกุ ต์ใช้หลกั และวธิ ีการอนุรักษ์พลงั งานและสิ่งแวดลอ้ มในการปอ้ งกันและแกไ้ ขปญั หาใน

ชุมชนและสงั คม
5. เลือกใช้พลังงานทดแทนในการดาเนินชวี ิต

คำ้ อภิบำยรำยวิชำ

ศกึ ษาและปฏบิ ัตเิ กย่ี วกับความหมายและประเภทของพลังงานและสง่ิ แวดล้อม ความสมั พันธข์ อง
พลงั งานและส่งิ แวดลอ้ มกบั การดารงชีวิต ปัญหาการใชพ้ ลงั งานทสี่ ่งผลกระทบตอ่ สงิ่ แวดล้อม หลกั และวธิ ีการ
อนรุ ักษ์พลังงานและส่งิ แวดล้อม การปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หา พลงั งานทดแทน กฎหมายและนโยบายที่
เกี่ยวขอ้ ง

หนว่ ยกำรเรียนรู้
วชิ า พลังงานและส่ิงแวดล้อม Energy and Environment รหสั วชิ า 2001-1003

จานวนหน่วยกิต 2 หนว่ ยกจิ ทฤษฏี 1 คาบ/ช่ัวโมง ปฏิบตั ิ 2 คาบ/ชว่ั โมง

หน่วยท่ี ช่อื หน่วยการสอน จานวน หมายเหตุ

ช่วั โมง

1 อาเซยี นกบั ความมน่ั คงด้านพลงั งาน 3

1.1 พลังงานกับอาเซียน

1.2 ความสมั พันธร์ ะหวา่ งพลังงานกบั ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

1.3 จดุ เดน่ และจดุ ด้อยด้านพลังงานของประเทศในภูมภิ าคอาเซยี น

1.4 การจัดการดา้ นพลังงานในภูมิภาคอาเซียน

1.5 ความรว่ มมอื ด้านพลังงานในอาเซยี น

2 พลงั งานเพ่อื ชวี ิต 3
2.1 ความหมายของพลังงาน

2.2 รูปแบบของพลงั งาน

2.3 แหลง่ ของพลังงาน

2.4 หน่วยพลงั งาน

3 พลงั งานมาจากไหน 3
3.1 พลงั งานแสงอาทิตย์ 6
3.2 พลังงานนา้
3.3 พลงั งานลม
3.4 พลังงานเช้ือเพลิงฟอสซิล
3.5 พลงั งานชีวมวล
3.6 พลงั งานความร้อนใตพ้ ภิ พ
3.7 พลงั งานนิวเคลยี ร์

4 ความสาคัญของพลังงานตอ่ ระบบนิเวศ
4.1 ธรรมชาตขิ องสิง่ มชี ีวติ
4.2 กฎของธรรมชาติ
4.2 ระบบนเิ วศ
4.4 กระบวนการพลังงานในชีวติ
4.3 การใชพ้ ลังงานในระบบนิเวศ
4.4 ความสาคญั ของพลังงานต่อระบบนิเวศ

หน่วยการเรยี นรู้
วิชา พลังงานและส่งิ แวดลอ้ ม Energy and Environment รหสั วิชา 2001-1003

จานวนหนว่ ยกิต 2 หนว่ ยกิจ ทฤษฏี 1 คาบ/ช่ัวโมง ปฏบิ ตั ิ 2 คาบ/ชว่ั โมง

หนว่ ยที่ ชื่อหนว่ ยการสอน จานวน หมายเหตุ
ชว่ั โมง
5 มนุษย์กบั การใชพ้ ลงั งาน
5.1 การใช้พลังงานในอดตี 3

5.2 วิวัฒนาการการใชพ้ ลงั งานของมนุษย์ 3

5.3 ความเปน็ มาของการใชพ้ ลังงานในประเทศไทย 3

5.4 การนาพลังงานมาใช้เพื่อพัฒนาประเทศ 3
6
6 ปัญหาส่งิ แวดลอ้ มจากการผลิตและการใช้พลงั งาน
6.1 ปัญหาสิง่ แวดล้อมจากภาคผลิตไฟฟา้

6.2 ปัญหาสิ่งแวดล้อมจากภาคอุตสาหกรรม
6.3 ปญั หาส่ิงแวดล้อมจากภาคคมนาคมขนส่ง

7 สภาวะโลกรอ้ น
7.1 ความหมายของสภาวะโลกรอ้ น
7.2 แก๊สเรือนกระจก
7.3 กลมุ่ กจิ กรรมที่ทาใหเ้ กดิ สภาวะโลกรอ้ นในประเทศไทย
7.4 ผลกระทบจากสภาวะโลกรอ้ น
7.5 การป้องกันแก้ไขผลกระทบจากสภาวะโลกร้อน

8 วิกฤตการณ์พลงั งาน
8.1 ปัญหาพลงั งานโลก
8.2 ปัญหาการใชพ้ ลงั งานในประเทศไทย
8.3 ผลกระทบตอ่ สิง่ แวดลอ้ มจากการใช้พลังงานในประเทศไทย

9 พลงั งานทดแทน
9.1 ความหมายของพลังงานทดแทน

9.2 พลังงานแสงอาทิตย์

9.3 พลงั งานน้า

9.4 พลังงานลม

9.5 พลังงานความรอ้ นใต้พภิ พ

9.6 พลังงานชีวมวล

หนว่ ยการเรียนรู้
วิชา พลงั งานและส่งิ แวดลอ้ ม Energy and Environment รหสั วิชา 2001-1003

จานวนหนว่ ยกิต 2 หน่วยกิจ ทฤษฏี 1 คาบ/ชั่วโมง ปฏิบตั ิ 2 คาบ/ชว่ั โมง

หน่วยที่ ช่ือหน่วยการสอน จานวนช่วั โมง หมายเหตุ
10 นโยบายพลงั งาน 3

10.1 สถานการณ์พลงั งานของประเทศไทย 3

10.2 นโยบายพลังงานของประเทศไทย 3
3
10.3 นโยบายประหยัดพลังงาน
6
10.4 แผนปฏิบตั ิการอนุรกั ษพ์ ลังงาน 20 ปี
3
11 กฎหมายการอนรุ ักษ์พลังงาน 54
11.1 ความเปน็ มาและกฎหมายอนุรักษ์พลงั งาน

11.2 ขอ้ กาหนดอาคารควบคมุ

11.3 หนา้ ท่ีและข้นั ตอนการอนรุ กั ษพ์ ลงั งานของอาคารควบคมุ

11.4 บทกาหนดโทษสาหรบั ผฝู้ ่าฝนื กฎหมายอนรุ ักษ์พลังงาน

12 การอนุรักษพ์ ลงั งาน
12.1 ความหมายและความสาคัญของการอนรุ ักษ์พลงั งาน
12.2 แนวทางการอนรุ ักษพ์ ลังงาน
12.3 วธิ ีการอนรุ ักษ์พลังงาน

13 การจัดการสิ่งแวดล้อม
13.1 การดาเนินการจดั การสิง่ แวดลอ้ ม
13.2 การจัดการสง่ิ แวดลอ้ ม
13.3 การวางแผนการจัดการสง่ิ แวดล้อม
13.4 แนวทางการจดั ทาแผนปฏิบัติการเพื่อจัดการคุณภาพ
สง่ิ แวดลอ้ ม

14 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพฒั นาพลงั งาน
14.1 ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

14.2 เศรษฐกิจพอเพยี งกบั การพฒั นาพลงั งาน

14.3 พลังงานแสงอาทิตย์

14.4 พลงั งานลม

14.5 เชื้อเพลงิ อัดแทง่ แกส๊ โซฮอล์ ไบโอดเี ซล

สอบปลายภาคเรียน
รวม

คะแนนเก็บระหวา่ งการเรยี น คะแนนกำรวัดผล
สอบปลายภาคเรยี น 60 %
จติ พสิ ยั
รวม 20 %
20 %
ใช้กำรประเมินแบบอิงเกณฑ์
ระดับคะแนน 100 %
80-100 เกณฑ์กำรประเมินผล
75-79
70-74 เกรด
65-69 4
60-64 3.5
55-59 3
50-54 2.5
0-49 2
1.5
1
0

3.2 ชดุ กำรสอน





แผนการสอน

ม่งุ เนน้ สมรรถนะอาชพี และบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
วิชา งานถอดประกอบเคร่ืองกลเบอ้ื งต้น

PRELIMINARY BASIC MECHANICAL ASSEMBLY
รหัสวชิ า 2100-1007

หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชพี (ปวช.) พทุ ธศักราช 2556
ประเภทวชิ าอุตสาหกรรม
สาขาวชิ าเครือ่ งกล

ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2556

จดั ทาโดย
นางสาวจุฑามาศ สีโลน

วทิ ยาลยั เทคนิคระยอง

คำ้ นำ้

เอกสารประกอบการสอนวิชา “งานถอดประกอบเคร่ืองกลเบื้องต้น” รหัสวิชา 2100 –
1007 เรียบเรียงขึ้นตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2556 ของ
สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เน้ือหาภายในแบ่งออกเป็น 12 บท ประกอบด้วย
เนื้อหาเก่ียวกับความปลอดภัยในโรงงาน เครื่องมือช่างยนต์ อุปกรณ์จับยึด เคร่ืองมือวัดละเอียด
ประวัติและโครงสร้างของเครื่องยนต์ การจัดแบ่งประเภทของเครื่องยนต์ หลักการทางานของ
เครื่องยนต์เบ้ืองต้น ระบบน้ามันเชื้อเพลิงเคร่ืองยนต์ ระบบจุดระเบิดเคร่ืองยนต์ ระบบหล่อล่ืน
เคร่ืองยนต์ ระบบระบายความร้อนเครื่องยนต์ ระบบไอดีและระบบไอเสียเคร่ืองยนต์และการ
บารงุ รกั ษาเคร่อื งยนตแ์ ละการแกไ้ ขขอ้ ขัดข้องเครื่องยนตเ์ ปน็ ตน้

เอกสารประกอบการสอนรายวิชานี้ผู้เรียบเรียงได้ทุ่มเทกาลังกาย กาลังใจและเวลาใน
การศกึ ษาคน้ คว้ารวบรวมปรับปรุงเนอื้ หาใหเ้ ป็นปัจจุบันเพ่ือใหท้ นั ตอ่ ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
ซึ่งมีรายละเอียดเร่ิมต้ังแต่ความรู้พื้นฐานจนถึงระดับมืออาชีพทางด้านงานเคร่ืองยนต์โดยมีความ
มุ่งหวังที่จะให้เกิดประสิทธิภาพต่อการเรียนการสอน และเป็นแนวทางสาหรับผู้ท่ีเร่ิมจะศึกษา
หรือผู้ที่ตอ้ งการข้อมลู เพ่ิมเตมิ เพ่อื การแกไ้ ขปญั หาทเ่ี กิดขึ้นระหวา่ งการใช้งานเครอ่ื งยนต์

ทา้ ยที่สุดนี้ ผู้เรียบเรียงขอขอบคณุ ผทู้ ี่สร้างแหลง่ ความรู้ และผทู้ ี่มสี ่วนเก่ียวข้องต่างๆ ซ่ึง
เป็นส่วนสาคัญที่ทาให้เอกสารรายวิชางานถอดประกอบเครื่องกลเบ้ืองต้นเสร็จสมบรูณ์เป็นที่
เรยี บร้อย และหากผู้ทศ่ี กึ ษาพบข้อบกพรอ่ งหรือมีข้อเสนอแนะประการใด ขอได้โปรดแจง้ ผู้เรยี บ
เรยี งทราบดว้ ย จักขอบคณุ ยง่ิ

แผนการสอน/แผนการเรยี นรู้รายวิชา

ช่อื รายวิชา งานถอดประกอบเครื่องกลเบอ้ื งตน้ รหัสวชิ า 2100-1007

ระดบั ชนั้ ปวช. สาขาวชิ า/กลมุ่ วิชา/แผนกวชิ า เครือ่ งกล

หน่วยกิต 3 จานวนคาบรวม 80 คาบ

ทฤษฏี 40 คาบ/สปั ดาห์ ปฏิบัติ 40 คาบ/สปั ดาห์

ภาคเรียนท่ี..........................1................................ปีการศึกษา........................2561.............................

จุดประสงค์รายวิชา

1. เพื่อให้มคี วามเข้าใจหลกั ความปลอดภัย การใช้เครอ่ื งมือ อุปกรณจ์ บั ยดึ หลักการเบือ้ งตน้ ของ
เครอ่ื งยนต์

2. เพ่ือใหม้ ีความสามารถใช้เครอื่ งมือชา่ งยนตถ์ อดประกอบเคร่ืองยนต์ไดถ้ กู ต้องตามข้ันตอน
3. เพื่อใหม้ ีกจิ นสิ ัย ความมีระเบยี บ ละเอยี ดรอบคอบ มวี ินยั ตรงตอ่ เวลา และมีเจตคตทิ ่ีดตี อ่ วชิ าชีพ

คาอธิบายรายวิชา

ศึกษาและปฏบิ ัติการใช้เครือ่ งมือในการถอดวดั ประกอบช้ินส่วนเคร่ืองยนต์และบารุงรกั ษาเคร่ืองยนต์

สมรรถนะของรายวิชา

1. ความรเู้ บือ้ งตน้ เกี่ยวกบั เครอ่ื งยนต์เบอ้ื งตน้
2. เขา้ ใจหลักการตรวจสอบ บารงุ รกั ษา ปรบั แตง่ ชิ้นส่วนเครื่องยนต์
3. ตรวจสภาพช้ินสว่ นของระบบต่าง ๆเครอ่ื งยนต์
4. ถอด ประกอบชนิ้ สว่ นของระบบตา่ ง ๆ
5. ปรับแตง่ เครื่องยนต์

รำยกำรหน่วย ชอ่ื หน่วย และสมรรถนะประจ้ำหนว่ ย

ชือ่ เรอ่ื ง สมรรถนะและจุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม

Unit 1 ประวัติเคร่ืองยนต์และเคร่ืองมือวัด สมรรถนะ :

ละเอียดเคร่อื งยนต์ 1. เพ่ือให้เกิดความรู้ความเขา้ ใจในเกี่ยวกบั เคร่ืองมอื ชา่ ง

ทว่ั ไป

จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม

ดำ้ นควำมรู้

1. เครอื่ งมือพน้ื ฐานทั่วไป
2. เคร่ืองมอื วดั ละเอยี ดเคร่อื งยนต์

ดำ้ นทกั ษะ

3. สามารถใชเ้ ครอื่ งมือวัดละเอยี ดเครอ่ื งยนตเ์ บื้องต้นได้
4. อ่านคา่ จากเครอื่ งมือเคร่อื งมือวัดได้

ด้ำนคุณธรรม จรยิ ธรรม/บรู ณำกำรเศรษฐกจิ พอเพียง

5. เตรียมความพร้อมด้าน วัสดุ อุปกรณ์สอดคล้องกับงาน
ได้อย่างถกู ตอ้ ง

6. ปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง และสาเร็จภายใน เวลาที่
กาหนดอย่างมีเหตุและผลตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียง

7. มคี วามรับผิดชอบตอ่ หน้าท่ี

ชอ่ื เรอ่ื ง สมรรถนะและจดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม

Unit 2 ความปลอดภัยในงานช่างยนต์และ สมรรถนะ:

ทฤษฏเี ครื่องยนต์แกส๊ โซลีน 1. เพือ่ ใหเ้ กิดความรวู้ ิธกี ารหวั เทียนเครื่องยนต์

2. เพอ่ื ให้เกิดทักษะในการใช้เคร่อื งมอื วัดละเอียด

จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม:

ด้ำนควำมรู้

1. ความปลอดภัยในงานช่างยนต์
2. ทฤษฎีเคร่ืองยนตแ์ ก๊สโซลีน
3. ระบบระบายความรอ้ นเครือ่ งยนต์
4. ระบบจดุ ระเบิดเครื่องยนต์
5. วธิ กี ารดูเข้ียวหวั เทยี นชนิดต่างๆ

ดำ้ นทกั ษะ

6. เชค็ เครือ่ งยนต์ขดั ข้องดว้ ยเขย้ี วหัวเทียน
7. สามารถตรวจเชค็ ระบบระบายความรอ้ นเครอ่ื งยนต์
8. ใช้หลัก 5ส จดั การพ้นื ทกี่ ารทางานได้

ปฏิบัตติ ามรปู แบบและขั้นตอนการจดั ทางบดุลได้

ด้ำนคุณธรรม จริยธรรม/บูรณำกำรเศรษฐกิจพอเพียง

9. เตรียมความพรอ้ มด้าน วัสดุ อุปกรณส์ อดคล้องกับงาน
ไดอ้ ยา่ งถูกต้อง

10. ปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง และสาเร็จภายในเวลาที่
กาหนดอย่างมีเหตุและผลตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพยี ง

11. ความรบั ผดิ ชอบและใฝ่ในการเรียนรู้

ชื่อเรอ่ื ง สมรรถนะและจุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม
Unit 3 กลไกลควบคุมลิ้นเครื่องยนต์ 4 จังหวะ
สมรรถนะ:

1. ความรเู้ ก่ยี วเคร่ืองมอื และอปุ กรณ์ไปประยุกตใ์ ช้ในการ
ทางานในชวี ติ ประจาวนั

จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม:

ดำ้ นควำมรู้

1. อธบิ ายกลไกการทางานของลิน้ ได้
2. ถอดประกอบชดุ การทางานกลไกล้ิน
ด้ำนทักษะ

1. ถอดสายพานไทมิง่ ได้
2. ตรวจสอบสายพานได้
3. ใชเ้ ครื่องมือวัดละเอยี ดเฟืองได้

ดำ้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บูรณำกำรเศรษฐกิจพอเพียง

4. เตรียมความพร้อมด้าน วัสดุ อุปกรณ์สอดคล้องกับงาน
ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง

5. ปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง และสาเร็จภายในเวลาที่
กาหนดอย่างมีเหตุและผลตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียง

6. รู้คุณคา่ อุปกรณใ์ นการทางาน

ชอ่ื เรือ่ ง สมรรถนะและจดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม

Unit 4 เศรษฐกจิ พอเพยี ง และการบรกิ ารฝา สมรรถนะ:
สบู เสื้อสูบเครือ่ งยนตแ์ ก๊สโซลนี
3. เพ่ือใหม้ ีเจตคติท่ีดใี นการนาปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
และการนาความรู้เก่ยี วเครื่องมือและอปุ กรณไ์ ป
ประยุกต์ใช้ในการทางานในชีวติ ประจาวัน

จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม:

ดำ้ นควำมรู้

1. อธิบายการบริการ ฝาสบู เคร่อื งยนต์ได้

ดำ้ นทักษะ

2. การบรกิ ารต้งั วาลว์ ไอดไี อเยได้

3. สามารถใช้เคร่ืองมอื วดั ฝาสูบได้

ด้ำนคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บูรณำกำรเศรษฐกิจพอเพยี ง

1. ฝึกความมีน้าใจกับเพ่ือนในห้องเรียนต้ังแต่เร่ิมเข้าเรียน
ตลอดจนการปฏบิ ตั ิกิจกรรมตา่ ง ๆ

2. ฝึกการตรงต่อเวลาต้ังแต่เร่ิมเรียนจนกระท่ังปฏิบัติ
กจิ กรรมจนเสร็จทกุ กิจกรรม

3. รู้คุณค่าขอ งเครื่อง มืออุปกร ณ์ในการ ทางานกั บ
ส่ิงแวดล้อม

ช่อื เร่ือง สมรรถนะและจุดประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม

Unit 5 ส่วนประกอบและถอดแยกชุดเสอ้ื สูบ สมรรถนะ :

เครื่องยนตแ์ ก๊สโซลนี 1. เพื่อใหเ้ กดิ ความรู้ความเขา้ ใจการถอดประกอบเสื้อสบู

จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม

ด้านความรู้

1. การวดั ระยะรนุ ของเพลาข้อเหวยี่ ง
2. การใชพ้ ลาสตกิ เกจ
3. ใชเ้ คร่อื งมืดวัดละเอียดได้

ด้านทักษะ

1. ถอดประกอบแยกชดุ ลูกสบู เครือ่ งยนต์
2. วัดระยะรนุ เพลาข้อเหวีย่ งได้

ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพียง

4. เตรยี มความพรอ้ มดา้ น วัสดุ อุปกรณ์สอดคลอ้ งกบั งาน
ได้อย่างถกู ตอ้ ง

5. ปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง และสาเร็จภายในเวลาที่
กาหนดอย่างมีเหตุและผลตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียง

ชอ่ื เร่อื ง สมรรถนะและจดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม

Unit 6 การตรวจซอ่ มและประกอบชดุ เสือ้ สบู สมรรถนะ:
เคร่ืองยนตแ์ กส๊ โซลีน
1. Be able to perform follow the steps of Trial
Balance Preparation.
ปฏิบตั ติ ามข้นั ตอนการจดั ทางบทดลอง

จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม:

ด้ำนควำมรู้
1. การถอดแยกชิน้ สว่ นลูกสบู
2. การใช้เคร่อื งมือวัดละเอียดลูกสบู ได้

ด้ำนทักษะ
1. วดั ละเอยี ดลกู สูบและตรวจสอบได้

ด้ำนคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บูรณำกำรเศรษฐกิจพอเพยี ง

2. กาหนดให้ทุกคนเข้าเรียน เลิกเรียนตรงเวลาและ
ปฏบิ ัติงานเสรจ็ ทนั ตามกาหนดเวลา

3. มีการนาภูมิปญั ญาท้องถ่ินมาให้ความรู้ และคาปรึกษา
เกย่ี วกับเร่อื ง การทางบทดลอง

ชื่อเรือ่ ง สมรรถนะและจุดประสงค์เชงิ พฤติกรรม

Unit 7 การตดิ เคร่อื งและปรับแตง่ เครือ่ งยนต์ สมรรถนะ

แกส๊ โซลีน 1. การใชเ้ คร่ืองมือวดั ได้ถกู ตอ้ ง

จุดประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม

ด้ำนควำมรู้

2. ตรวจสอบวงจรเดินเบาเครอื่ งยนต์
3. ปรับแต่งเครือ่ งยนต์

ดำ้ นทกั ษะ

1. สามารถปรบั แตง่ เครือ่ งยนต์
ดำ้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บรู ณำกำรเศรษฐกิจพอเพยี ง

1. เตรียมความพร้อมด้าน วัสดุ อุปกรณ์สอดคล้องกับงาน
ไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง

2. ปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง และสาเร็จภายในเวลาที่
กาหนดอย่างมีเหตุและผลตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียง

ชื่อเรือ่ ง สมรรถนะและจดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรม
Unit 8 ทฤษฏเี คร่ืองยนตด์ เี ซล
สมรรถนะ :

1. เพื่อใหม้ คี วามรคู้ วามเขา้ ใจเก่ียวกับเครือ่ งยนต์ดีเซล
พื้นฐาน

จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม

ด้ำนควำมรู้

1. อธิบายการทางานเครือ่ งยนต์ดี

ด้ำนทกั ษะ

2. อธิบายชิน้ สว่ นเคร่ืองยนตด์ ีเซล
ด้ำนคุณธรรม จริยธรรม/บูรณำกำรเศรษฐกจิ พอเพียง

2. เตรียมความพร้อมด้าน วัสดุ อุปกรณ์สอดคล้องกับงาน
ได้อยา่ งถูกตอ้ ง

3. ปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง และสาเร็จภายในเวลาที่
กาหนดอย่างมีเหตุและผลตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียง

ชื่อเรือ่ ง สมรรถนะและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
Unit 9 การบริการฝาสูบเครื่องยนต์ดเี ซล
สมรรถนะ :

1. เพ่ือให้เกิดความรู้ความเข้าใจการถอดฝาสูบเคร่ืองยนต์
ดีเซล

จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม

ด้ำนควำมรู้

1. การประกอบชุดลน้ิ และฝาสบู

ด้ำนทักษะ

2. การถอดฝาสบู ออกจากเสื้อสบู และถอดแยกชุดล้ิน
3. การใชเ้ คร่ืองมือวัดฝาสูบเครย่ื นดเี ซล
ดำ้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บรู ณำกำรเศรษฐกจิ พอเพียง

1. เตรียมความพร้อมด้าน วัสดุ อุปกรณส์ อดคลอ้ งกบั งาน
ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง

2. ปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง และสาเร็จภายในเวลาท่ี
กาหนดอย่างมีเหตุและผลตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียง

ชื่อเรอ่ื ง สมรรถนะและจดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม

Unit 10 สว่ นประกอบและถอดแยกชุดเสอ้ื สมรรถนะ :
สบู เครื่องยนต์ดเี ซล
1. การตรวจสอบระยะรุนและระยะห่างหล่อล่ืนแบร่ิงข้อ
ก้าน

2 .การตรวจสอบระยะรนุ และระยะหา่ งหลอ่ ลนื่ แบรงิ่ ขอ้ อก

ด้ำนทกั ษะ

1. สามารถตรวจสอบระยะรนุ และระยะหา่ งหล่อลืน่ แบร่ิ
งขอ้ อกได้

ด้ำนคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บูรณำกำรเศรษฐกจิ พอเพียง

1. ฝึกให้ผู้เรียนรับผิดชอบต่อตนเอง เพ่ือนร่วมงาน และ

รับผิดชอบต่อสว่ นรว่ มโดยครเู ปน็ ผูส้ ังเกตการณ์
2. ฝึกให้ผู้เรียนเป็นคนท่ีมีความสนใจใฝร่ ู้โดยให้ศกึ ษาดว้ ย

ตนเองจากบทเรียนคอมพิวเตอรช์ ่วยสอน และ

อนิ เทอรเ์ นต็ หรอื ความรตู้ า่ งๆ
สมรรถนะ :

Unit 11 การตรวจซ่อมและประกอบชุดเส้อื 1. เพ่อื ใหเ้ กดิ ความรู้ความเข้าใจในการตรวจชอ่ งวา่ งและ
สูบเครื่องยนต์ดีเซล ระยะห่างปากแหวนลูกสบู

2. เพอื่ ให้เกิดทักษะในการประกอบสลกั ลูกสบู และแหวนสูบ
จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม

ด้ำนควำมรู้

3. การตรวจชอ่ งว่างและระยะหา่ งปากแหวนลกู สูบ
4. สามารถเปลย่ี นซีลนา้ มนั หน้าเครอื่ งยนตไ์ ด้

ด้ำนทกั ษะ

1. สามารถตรวจชอ่ งว่างและระยะหา่ งปากแหวนลกู สูบได้
2. สามารถประกอบสลกั ลูกสูบและแหวนลกู สูบได้

ดำ้ นคณุ ธรรม จริยธรรม/บรู ณำกำรเศรษฐกจิ พอเพยี ง

3. ฝึกให้ผู้เรียนรับผิดชอบต่อตนเอง เพื่อนร่วมงาน และ
รับผิดชอบตอ่ ส่วนร่วมโดยครูเปน็ ผ้สู ังเกตการณ์

4. ฝกึ ใหผ้ ู้เรยี นเปน็ คนที่มีความสนใจใฝร่ โู้ ดยให้ศึกษาดว้ ย
ตนเองจากบทเรยี นคอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอน และ
อินเทอรเ์ นต็ หรอื ความรตู้ ่างๆ

Unit 12 การตดิ ตัง้ และปรับแตง่ เคร่ืองยนต์ สมรรถนะ :
ดีเซล
1. เพื่อใหเ้ กิดทักษะในการตรวจเช็ค ตรวจเติมน้ามนั เครือ่ ง
และนา้ มันดีเซล

2. เพือ่ ให้เกดิ ทักษะในการตรวจเตมิ น้ามนั หลอ่ เยน็ และ
แบตเตอรร์ ี่

จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม

ด้ำนควำมรู้

1. การไลล่ มวงจรน้ามันดเี ซลปั๊มเรยี งสบู
2. การไล่ลมวงจรนา้ มนั ดเี ซลปม๊ั แบบจานจ่าย
3. การตรวจวงจรไฟหวั เผาและรอบเดินเบา

ด้ำนทกั ษะ

1. สามารถไล่ลมวงจรน้ามนั ดเี ซลป๊มั เรยี งสูบ
2. สามารถตรวจเตมิ นา้ มนั หลอ่ เย็นและแบตเตอรี่

ด้ำนคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บูรณำกำรเศรษฐกจิ พอเพยี ง

5. ฝึกให้ผู้เรียนรับผิดชอบต่อตนเอง เพื่อนร่วมงาน และ
รบั ผดิ ชอบต่อส่วนร่วมโดยครเู ปน็ ผ้สู งั เกตการณ์

6. ฝกึ ให้ผู้เรยี นเปน็ คนทีม่ ีความสนใจใฝ่รโู้ ดยให้ศกึ ษาด้วย
ตนเองจากบทเรียนคอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอน และ
อนิ เทอรเ์ นต็ หรอื ความรู้ต่างๆ

รายช่ือหน่วยการสอน/การเรียนรู้

หน่วยการสอน/การเรียนรู้วิชา เคร่ืองกล

งานถอดประกอบเคร่ืองกลเบื้องต้น
PRELIMINARY BASIC MECHANICAL ASSEMBLY
รหสั ...2100-1007......คาบ/สัปดาห์.....4.-8......คาบ

รวม......80…… คาบ

หนว่ ย ช่อื หนว่ ย ทฤษฎี จานวนคาบ
ท่ี ทฤษฎี ปฏิบตั ิ

1 ประวัตเิ คร่อื งยนตแ์ ละเครอ่ื งมือวดั ละเอียดเครอ่ื งยนต์ความปลอดภัยใน 22
22
2 งานช่างยนต์และทฤษฏีเครื่องยนตแ์ กส๊ โซลีน 44
44
3 กลไกควบคมุ ลิน้ เครอ่ื งยนต์ 4 จงั หวะ 44
44
4 เศรษฐกจิ พอเพยี งและการบรกิ ารฝาเสอ้ื สูบเครื่องยนต์แก๊สโซลีน 22
22
5 ส่วนประกอบและถอดแยกชดุ เส้ือสูบเครอ่ื งยนต์แก๊สโซลีนหลกั การการ 44
ตรวจซ่อมและประกอบชดุ เสอ้ื สบู เคร่ืองยนตแ์ กส๊ โซลีน 44
6 การตดิ เครือ่ งและปรบั แต่งเครอ่ื งยนต์แก๊สโซลีน 44
7 ทฤษฏีเครอ่ื งยนตด์ ีเซล 44
8 การบรกิ ารฝาสบู เครอ่ื งยนตด์ เี ซล ระบบไอดแี ละระบบไอเสียเคร่ืองยนต์
9 ส่วนประกอบและถอดแยกชุดเสือ้ สูบเคร่อื งยนตด์ เี ซล
10 การตรวจซอ่ มและประกอบชดุ เสือ้ สูบเครอื่ งยนต์ดีเซล
11 การติดตง้ั และปรับแตง่ เครื่องยนต์ดเี ซล
12

รวม 80

แผนกำรสอน/แผนกำรเรยี นรู้ภำคทฤษฎี/ปฏบิ ัติ

แผนการสอน/การเรียนรู้ภาคทฤษฎี/ปฏิบตั ิ หนว่ ยท่ี 1

ชื่อวชิ า งานถอดประกอบเครื่องกลเบอ้ื งต้น สอนสัปดาห์ที่

PRELIMINARY BASIC MECHANICAL ASSEMBLY 1

ชือ่ หนว่ ย ประวตั ิเครื่องยนตแ์ ละเครือ่ งมอื คาบรวม 4

วัดละเอียดเครื่องยนต์

ช่อื เรอ่ื ง ประวัตเิ คร่อื งยนต์และเครือ่ งมอื วัดละเอยี ดเครอื่ งยนต์ จานวนคาบ 4

หวั ข้อเร่ือง

ดำ้ นควำมรู้

3. ความเปน็ มาเคร่ืองยนต์
4. ส่วนประกอบเคร่อื งยนต์
5. เครื่องมือชา่ งพ้ืนฐานและเคร่อื งมอื ทว่ั ไป
6. เครื่องมือวัดละเอียดเครือ่ งยนต์
7. มาตรฐานเกลยี วและอุปกรณ์จับยดึ

ดำ้ นทกั ษะ

8. ใช้เครอ่ื งมือปฏิบตั งิ านเครอ่ื งยนตถ์ ูกวธิ ไี ด้

9. การอา่ นค่าจากเครือ่ งมือวัดละเอียดได้
10. ตรวจสอบช้นิ ส่วนทีด่ ีกับไม่ดไี ดด้ ้วยเคร่ืองมือวดั
ดำ้ นคณุ ธรรม จริยธรรม

11. ความรับผดิ ชอบ
12. ความสนใจใฝ่รู้

สำระสำ้ คัญ

เครอ่ื งมอื วดั ละเอียดและเครือ่ งมอื ทัว่ ไปทางช่างก็ยงั มคี วามจาเป็นอยา่ งยิ่งสาหรับผู้ท่ีเตรยี มตัวเปน็ ชา่ งที่
ดีในอนาคตปจั จุบันเทคโนโลยไี ด้เข้ามามบี ทบาทสาคัญตอ่ การเปล่ยี นแปลงสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติและการ
ดารงชีวติ ของมนษุ ยม์ ากดงั กล่าว อีกประการจากสถิตขิ องนกั เรยี นที่จบระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น(ช่วงชัน้ ที่3)
นักเรยี นสว่ นมากเกือบร้อยละ70เลอื กทจ่ี ะศึกษาต่อสายอาชพี ชา่ งเทคนคิ ในสถาบันวชิ าชีพทัง้ ของรฐั และเอกชน

เชน่ วิทยาลัยเทคนคิ วิทยาลยั สารพดั ช่างวิทยาลยั การอาชพี การทีน่ กั เรียนจะได้ฝกึ ปฏบิ ตั หิ รือมคี วามรู้เกีย่ วกบั งาน
ช่างเปน็ พน้ื ฐานทด่ี ีในการทจี่ ะศึกษาต่อในระดับสูงข้ึนหรือ

สมรรถนะอำชีพประจำ้ หนว่ ย

3. เพือ่ ใหเ้ กิดความรู้ความเข้าใจในเกย่ี วกบั เคร่อื งมือช่างทัว่ ไป
4. เพ่อื ให้เกดิ ทกั ษะในการใช้เคร่ืองมอื วัดละเอยี ด

ค้ำศพั ทส์ ำ้ คัญ

1. โบลท์ (Bolt) หมายถึง สกรู ขนาดเลก็ ไมใ่ ชน้ อต แต่ใช้เกลยี วในชิน้ งานมีเสนผา่ นศนู ย์กลางนอกไม่
เกิน 8 มม.แบง่ ประเภทตามรูปรา่ งของหวั สกรู ได้แก่ สกรูหัวนนู สกรูหวั นูนมบี า่ สกรหู วั ฝงั นูน สกรู
หวั ครง่ึ วงกลมท่หี วั สกรูมีรอ่ งผ่าแบบหวั ผา่ และแบบหัวแฉกอย่างใดอยา่ งหนง่ึ

2. Crank Case หมายถึง อ่างน้ามนั เครื่องส่วนท่ีอยู่ตอนล่างของเครื่องปกตติ อนบนของอา่ งนา้ มนั เคร่ืองจะหลอ่

ตดิ กับเสอ้ื สูบสว่ นตอนล่างเรียกว่าอา่ งเก็บน้ามันเคร่อื ง (oil pan) ทาหน้าทเี่ กบ็ น้ามนั เครอื่ งเพ่อื สง่ ไปยังสว่ นต่างๆของ
เคร่อื งยนตท์ ต่ี อ้ งการการหลอ่ ลนื่

3. เครอื่ งมือชา่ งพน้ื ฐาน – เครื่องมือวัดละเอียด หมายถงึ เครอื่ งมอื ท่ีใชใ้ นงานช่างแต่ละสาขาวิชา
โดยจะมเี ครือ่ งมือพิเศษสาหรับถอดประกอบอปุ กรณเ์ ฉพาะเพ่ือไม่ใหเ้ สียหาย

จดุ ประสงคก์ ำรสอน/กำรเรียนรู้

 จุดประสงค์ทว่ั ไป / บูรณำกำรเศรษฐกิจพอเพยี ง

1. เพื่อใหม้ คี วามรู้ความเข้าใจเคร่ืองช่างพน้ื ฐาน(ด้านความร้)ู
2. เพือ่ ให้มที ักษะในการใชเ้ คร่ืองมอื วัดละเอียด (ด้านทกั ษะ)
3. เพ่ือให้มีเจตคติที่ดีต่อการเตรียมความพร้อมด้าน วัสดุ อุปกรณ์ และการปฏิบัติงานอย่างถูกต้อง

สาเร็จภายในเวลาท่ีกาหนด มีเหตุและผลตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ด้านคุณธรรม
จรยิ ธรรม)

 จดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม / บูรณำกำรเศรษฐกิจพอเพยี ง

1. อธิบายเครอื่ งมือชา่ งพนื้ ฐานได้ (ด้านความร)ู้
2. อธิบายการใช้เคร่ืองมอื วดั ละเอยี ดเคร่ืองยนตไ์ ด้ (ดา้ นความรู้)
3. อธิบายสว่ นประกอบเคร่ืองยนต์ได้(ด้านความรู้)
4. ใชเ้ ครื่องมือวดั ละเอียดเคร่อื งยนตไ์ ด้ถูกวิธี (ด้านทักษะ)
5. นาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชวี ติ ประจาวนั (ดา้ นจรยิ ธรรม)

เนือหำสำระกำรสอน/กำรเรยี นรู้

• ด้ำนควำมรู้(ทฤษฎี)

1. ประวัติควำมเป็นมำ

1.1ประวตั คิ วำมเปน็ มำ
2.สว่ นประกอบของเครื่องยนต์

2.1 ฝำสูบ (Cylinder Head)
2.2 เสอื สูบ (Cylinder Block)
2.3 กระบอกสูบ (Cylinder)
2.4 อ่ำงนำ้ มนั เคร่อื ง (Crank Case)
2.5 ลูกสูบ (Piston)
2.6 ก้ำนสูบ (Connecting Rod)
2.7 เพลาขอ้ เหวีย่ ง (Crankshaft)
2.8 เพลำลกู เบียว (Camshaft)
2.9 เพลำลูกเบยี ว (Camshaft)
2.10 ลนิ ไอดี (Intake Valve
2.11 ลนิ ไอเสยี (Exhaust Valve )
2.12 สปรงิ (Valve Spring)
2.13 หวั ฉดี (Injector)
2.14 หัวเทยี น (Spark Plug)
2.15 ล้อชว่ ยแรง (Fly wheel)

3. เครอื่ งมือช่ำงพนื ฐำน – เครื่องมือวดั ละเอยี ด

3.1 ประแจ (Wrength)

3.2 ประแจปำกตำย (Open End Wrength)

3.3 ประแจรวม (Combination Wrength)

3.4 ประแจกระบอก (Socket Wrength)

3.5 ประแจเลอ่ื น (Adjustable Wrength)

3.6 ไขควง (Screw Driver)
3.7 คมี (Plier)

4. เคร่อื งมอื วัดระเอียดเครื่องยนต์

4.1 ฟตุ เหล็ก หรือบรรทดั เหลก็ (Stainless Steel Ruler)
4.2 เวอร์เนยี คำลเิ ปอร์ (Vernier Caliper)
4.3 ไมโครมเิ ตอรค์ ำลเิ ปอร์ (Micrometer Caliper)
4.4 ฟลิ เลอรเ์ กจ (Feeler gauge)
4.5 ตลบั เมตร (Measurement tape)
4.6 ไดอัลเกจ ( Dial Gauge)
4.7 เครื่องทดสอบหวั ฉีด ( Injection nozzle tester )
4.8 เกจควำมลกึ ( Depth gage )
4.9 ไฮโดรมิเตอร์ (Hydrometer )
5. อุปกรณ์จบั ยดึ และตลับลูกปืน

5.1 ชนิดและสว่ นตำ่ งของเกลียว
5.2 สกรูนอตและสตัด
5.3 ชนดิ ของนำฬกิ ำวดั (Type of Dial Gauge)

• ดำ้ นทักษะ(ปฏิบตั ิ) (จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรมข้อท่ี 3)

1. กิจกรรมที่ 2 กำรถอดตลบั ลูกปืนออกเปล่ียนและประกอบตลับลูกปนื

• ด้ำนคณุ ธรรม/จรยิ ธรรม/จรรยำบรรณ/บูรณำกำรเศรษฐกิจพอเพยี ง

1. การเตรียมความพร้อมด้านการเตรียม วัสดุ อุปกรณ์นักเรียนจะต้องกระจายงานได้ท่ัวถึง และตรงตาม
ความสามารถของสมาชิกทกุ คน มกี ารจัดเตรียมสถานท่ี ส่อื วสั ดุ อปุ กรณ์ไว้อยา่ งพร้อมเพรียง

2. ความมีเหตมุ ีผลในการปฏิบัตงิ าน ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง นกั เรยี นจะต้องมีการใช้
วสั ดอุ ุปกรณ์อย่างประหยดั ค้มุ ค่าและเทคนคิ ในการถอดประกอบได้

กิจกรรมกำรเรียนกำรสอนหรอื กำรเรยี นรู้

ขันตอนกำรสอนหรอื กจิ กรรมของครู ขันตอนกำรเรยี นรู้หรอื กจิ กรรมของนักเรยี น

1. ขันน้ำเข้ำสบู่ ทเรยี น ( 15 นำที ) 1. ขนั น้ำเข้ำส่บู ทเรียน ( 15 นำที )

1. ผู้สอนให้ผู้เรียนอา่ นเอกสารประกอบการสอน 1. ผ้เู รยี นศึกษาเอกสารประกอบการสอนวชิ า งาน
วชิ า งานถอดประกอบเครือ่ งกลเบื้องตน้ หนว่ ยที่ 2 ถอดประกอบเครอ่ื งกลเบ้ืองต้นหน่วยท่ี 2 เรอ่ื ง ประวตั ิ

เรอ่ื ง ประวตั เิ ครือ่ งยนตแ์ ละเคร่ืองมือวดั ละเอียด เครื่องยนต์และเครอื่ งมือวัดละเอียดเครื่องยนต์

เครอ่ื งยนต์

สาระสาคัญ สาระสาคัญ

2. ผู้สอนแจ้งจุดประสงค์การเรยี นของหนว่ ยท่ี 2 2. ผู้เรียนทาความเข้าใจเกย่ี วกับจดุ ประสงค์การ
เรื่อง ประวัตเิ คร่อื งยนต์และเครอ่ื งมอื วัดละเอียด เรยี นรู้ทาความเขา้ ใจเกี่ยวกับจุดประสงค์การเรียนของ
เครอ่ื งยนต์ หนว่ ยการเรียน

3. ผูส้ อนให้ผ้เู รียนทาการศกึ ษาประวัติเคร่อื ง 3. ผู้เรยี นศึกษาประวัตเิ คร่อื งยนตแ์ ละเครอื่ งมอื วัด
ยนต์และเครือ่ งมือวัดละเอียดเครอ่ื งยนต์ ละเอยี ดเครื่องยนต์

2. ขันใหค้ วำมรู้ ( 120 นำที ) 2.ขนั ให้ควำมรู้ ( 120 นำที )

1. ผ้สู อนแนะนาทฤษฎีประวัติเคร่อื งยนตแ์ ละ 1. ผู้เรียนศึกษาทฤษฎีเครื่องยนตแ์ กส๊ โซลนี และ
เครื่องมือวัดละเอียดเคร่ืองยนต์ตามเนื้อหา(หนา้ 4-16) ความปลอดภัยในการทางานเคร่ืองยนต์ตามเน้ือหาหน่วย
ที่ 2
2. ผ้สู อนเปิดโอกาส ให้ผู้เรียนถามปัญหา และ
ขอ้ สงสยั จากเนอื้ หา โดยครเู ตรียมเคร่อื งมือมาให้ 2. ผู้เรยี นซักถามครผู สู้ อนในเนือ้ หาท่ียังไม่เขา้ ใจ
นกั เรยี นศกึ ษา

3. ขันประยกุ ตใ์ ช้ ( 75 นำที )
3. ผู้สอนให้ผเู้ รียนทากิจกรรมที่ 2 เร่ือง ประวัติ 3. ขนั ประยกุ ต์ใช้ ( 75 นำที )
3. ผเู้ รยี นศกึ ษากจิ กรรมท่ี 2 เรอ่ื ง ความปลอดภัย
เครื่องยนตแ์ ละเคร่ืองมอื วัดละเอยี ดเครอื่ งยนต์ (หนา้
ในงานช่างยนตแ์ ละทฤษฎีเครือ่ งยนต์แก๊สโซลนี โดย
19-26) โดยแบง่ กล่มุ และนาเสนอผลงาน
แบ่งเป็นกลุ่มและนาเสนอผลงาน(หนา้ 43-48)

4. ผูเ้ รียนสบื คน้ ขอ้ มูลจากอนิ เทอร์เนต็

กิจกรรมกำรเรยี นกำรสอนหรือกำรเรยี นรู้

ขนั ตอนกำรสอนหรอื กิจกรรมของครู ขันตอนกำรเรยี นรูห้ รอื กจิ กรรมของนกั เรยี น

4. ขันสรปุ และประเมินผล ( 30 นำที ) 4. ขนั สรุปและประเมนิ ผล( 30 นำที )

1. ผ้สู อนและผู้เรียนรว่ มกันสรุปเน้อื หาที่ไดเ้ รยี น 1. ผ้สู อนและผเู้ รยี นรว่ มกันสรปุ เนือ้ หาท่ไี ดเ้ รียนให้
ใหม้ ีความเขา้ ใจในทศิ ทางเดยี วกัน มีความเขา้ ใจในทิศทางเดียวกนั

2. ผู้สอนให้ผเู้ รียนสลบั กนั ตรวจกิจกรรมท่ี 2 2. ผู้เรยี นสลับกนั ตรวจกิจกรรมท่ี 2 เร่ือง
เรือ่ ง ประวัติเครือ่ งยนตแ์ ละเครอ่ื งมือวัดละเอยี ด ประวตั ิเคร่อื งยนตแ์ ละเคร่อื งมอื วดั ละเอยี ดเคร่อื งยนต์

เครือ่ งยนต์ (หนา้ 19-26) นาคะแนนที่ไดบ้ นั ทึกลงใน (หน้า 19-26) นาคะแนนทไ่ี ดบ้ นั ทึกลงในแบบบนั ทึก

แบบบนั ทกึ คะแนนการปฏบิ ตั ิกิจกรรมระหวา่ งเรียน คะแนนการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมระหว่างเรยี น

3. ผู้สอนให้ผู้เรียนศึกษาเพ่ิมเติมนอกห้องเรียน 3. บนั ทึกลงในแบบ บนั ทกึ คะแนนการปฏบิ ตั ิ
กจิ กรรมระหวา่ งเรยี น
ดว้ ยบทเรียนคอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอนที่จัดทาขนึ้
4. ผสู้ อนให้ผเู้ รียนศึกษาเพิ่มเติมนอกห้องเรียน

ดว้ ยบทเรยี นคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนที่จดั ทาข้นึ

(บรรลจุ ุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรมขอ้ ที่ 1-5)

(บรรลุจดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรมข้อที่ 1-5)

(รวม 240 นำที หรอื 4 คำบเรียน)

ส่อื กำรเรียนกำรสอน/กำรเรยี นรู้

ส่ือสง่ิ พมิ พ์

1. เอกสารประกอบการสอนวชิ า ประวัตเิ ครือ่ งยนต์และเครื่องมอื วดั ละเอยี ดเคร่อื งยนต์ (ใช้ประกอบการ
เรยี นการสอนจุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรมขอ้ ที่ 1-5)

2. กิจกรรมรู้ท่ี 2 เรอื่ ง ประวัตเิ ครอื่ งยนต์และเคร่อื งมือวัดละเอียดเครือ่ งยนต์ (ใชป้ ระกอบการเรยี น
การสอนขั้นใหค้ วามรู้ เพอื่ ให้บรรลุจดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรมขอ้ ท่ี 1-5)

3. แบบประเมนิ ผู้เรยี นในช้ันเรยี น ใช้ประกอบการสอนขนั้ ประยกุ ตใ์ ช้ ข้อ 1
สื่อโสตทศั น์ (ถ้ำม)ี

1. บทเรยี นคอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอน เร่ือง ประวัติเครอื่ งยนตแ์ ละเคร่อื งมือวัดละเอียดเครือ่ งยนต์
สอ่ื ของจรงิ

1. ชิ้นส่วนอปุ กรณเ์ ครอ่ื งมือ (ใชป้ ระกอบการเรยี นการสอนจุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรมขอ้ ที่ 1-5)

แหลง่ กำรเรยี นรู้

ในสถำนศึกษำ

1. หอ้ งสมดุ วิทยาลัยเทคนิคระยอง

2. หอ้ งปฏิบัตกิ ารคอมพวิ เตอร์ ศึกษาหาข้อมูลทางอินเทอรเ์ นต็

นอกสถำนศกึ ษำ

ผปู้ ระกอบการ สถานประกอบการ ในทอ้ งถน่ิ จังหวัดระยอง

กำรบรู ณำกำร/ควำมสมั พนั ธก์ บั วชิ ำอืน่

1. บรู ณาการกับวชิ าเครือ่ งจกั รกล เคร่ืองมือ เครือ่ งจักร ทใี่ ช้เคร่ืองกลงึ
2. บูรณาการกับวชิ ากีฬาเพื่อพัฒนาสขุ ภาพและบุคลิกภาพ ดา้ นบุคลิกภาพในการนาเสนอหนา้ ช้ันเรียน
3. บรู ณาการกับวชิ าหลกั เศรษฐศาสตร์ ด้านการเลือกใชท้ รัพยากรอยา่ งประหยดั
4. บรู ณาการกับวชิ าชีวติ และวฒั นธรรมไทย ดา้ นการพูด การอา่ น การเขยี น และการฝกึ ปฏบิ ตั ิตนทาง

สงั คมดา้ นการเตรยี มความพร้อม ความรับผิดชอบ และความสนใจใฝ่รู้

กำรประเมนิ ผลกำรเรียนรู้
 หลักกำรประเมินผลกำรเรยี นรู้

ก่อนเรียน
-

ขณะเรยี น
1. ตรวจผลงานตามกิจกรรมที่ 2
2. สงั เกตการทางาน

หลังเรยี น

-
ผลงำน/ชินงำน/ผลสำ้ เรจ็ ของผูเ้ รียน

1. กจิ กรรมท่ี 2 เรอื่ ง บรู ณาการกับวิชากีฬาเพื่อพัฒนาสขุ ภาพและบุคลกิ ภาพ ดา้ นบคุ ลิกภาพในการ
นาเสนอหนา้ ชน้ั เรียนนาไปใช้ในอาชพี การทางาน

รำยละเอียดกำรประเมินผลกำรเรยี นรู้

 จุดประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม ข้อที่ 1 อธิบายเคร่ืองมอื ช่างพนื้ ฐานได้

1. วธิ ีการประเมิน : ทดสอบ

2. เคร่อื งมือ : แบบทดสอบ

3. เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน : อธิบายเครอื่ งมอื ชา่ งพ้ืนฐานได้ จะได้ 1 คะแนน

 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ขอ้ ที่ 2 อธิบายการใชเ้ ครือ่ งมอื วดั ละเอยี ดเครอ่ื งยนต์ได้

1. วิธีการประเมนิ : ทดสอบ

2. เครือ่ งมือ : แบบทดสอบ

3. เกณฑ์การใหค้ ะแนน : อธิบายการใช้เครอ่ื งมือวัดละเอียดเครื่องยนต์

จะได้ 1 คะแนน

 จุดประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม ขอ้ ที่ 3 อธิบายส่วนประกอบเครอ่ื งยนต์ได้

1. วธิ กี ารประเมิน : ทดสอบ

2. เคร่อื งมอื : แบบทดสอบ

3. เกณฑ์การให้คะแนน : อธิบายส่วนประกอบเครอื่ งยนตไ์ ด้ จะ

ได้ 1 คะแนน

 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ข้อท่ี 4 ใช้เครอ่ื งมือวัดละเอียดเครอ่ื งยนตไ์ ด้

1. วธิ กี ารประเมิน : ทดสอบ

2. เครอ่ื งมอื : แบบทดสอบ

3. เกณฑ์การให้คะแนน : ใชเ้ ครอ่ื งมือวัดละเอยี ดเครื่องยนต์ จะได้ 1 คะแนน

 จดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรม ขอ้ ที่ 5 อธบิ ายการนาหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งเครือ่ งมอื ช่างพื้นฐานไปใช้ใน

ชีวิตประจาวนั

1. วธิ ีการประเมนิ : ทดสอบ

2. เครอ่ื งมือ : แบบทดสอบ

3. เกณฑ์การให้คะแนน : อธิบายการนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจาวัน จะได้ 1

คะแนน

กิจกรรมที่ 1
ประกอบแผนกำรสอนหน่วยท่ี 1

เร่อื ง ประวตั เิ คร่ืองยนตแ์ ละเครื่องมอื วัดละเอียดเคร่อื งยนต์

ใหน้ กั ศึกษาศกึ ษาหาความรูเ้ พ่มิ เตมิ เกย่ี วกบั ประวัติเคร่อื งยนตแ์ ละเครื่องมือวดั ละเอียดเครือ่ งยนต์พร้อมอธิบาย
ความคิดเหน็

1. ให้นกั เรียนแบง่ กลมุ่ จดั ทาประวัตเิ ครื่องยนต์และเครือ่ งมือวัดละเอยี ดเครอื่ งยนตโ์ ดยจดั ทาและนาเสนอ
ผลงาน

references (ที่มำ):

Comment (ควำมคดิ เหน็ ของตนเอง)

เฉลยแบบฝึกหัดท่ี 1

เรอ่ื ง ประวัติเครื่องยนต์และเคร่อื งมอื วัดละเอียดเคร่อื งยนต์

ตอนท่ี 1 ใหน้ กั ศกึ ษำตอบค้ำถำมต่อไปนี

1. จงอธิบายส่วนประกอบของเครอื่ งยนต์มอี ะไรบา้ ง
ตอบ 1.ฝาสบู 2.เสื้อสูบ 3 อา่ งน้ามนั เครือ่ ง 4.ลูกสูบ 5.วาล์วไอดไี อเสีย 6.สปริงวาลว์ 7.กา้ นสบู

8.เพลาลกู เบ้ียว 9.กระบอกสบู 10.หัวฉดี 11.หัวเทียน 12.ลอ้ ช่วยแรง 13.เพลาขอ้ เหว่ยี ง

2. เครือ่ งมอื ชนิดใดที่ใชว้ ัดเพลาลูกเบย้ี วโคง้ งอได้
ตอบ ไดอัลเกจ

3. ประแจปอนดท์ าหนา้ ท่ีอธิบาย
ตอบ ประแจปอนด์ (Torque Wrength) ใชว้ ดั แรงบดิ หรอื แรงตึงในการขันสลกั เกลียวในการอดั ประกบชิ้นสว่ น
เครอ่ื งยนต์ ถ้าแรงอดั น้อยเกินไปจะไม่แนน่ ขาดความแข็งแรงมีรอยรว่ั แต่ถา้ ขันอัดแน่นมากเกินไป นอตอาจขาด

4. เครอื่ งมือวดั ละเอียดชิน้ งานมีอะไรบา้ ง ให้บอกอยา่ งนอ้ ย 3 ตวั อย่าง
ตอบ ไดอลั เกจ เวอรเ์ นยี คาลิปเปอร์ ไมโครมิเตอร์

5. อ่างน้ามนั คืออะไร มีหนา้ ท่ีอยา่ งไร จงอธิบาย

ตอบ คือสว่ นที่อยตู่ อนล่างของเคร่ืองปกติตอนบนของอ่างน้ามนั เครือ่ งจะหลอ่ ตดิ กบั เสือ้ สบู ส่วนตอนลา่ งเรียกว่าอ่างเก็บน้ามนั เคร่ือง
(oil pan) ทาหน้าทีเ่ กบ็ น้ามันเคร่ืองเพอื่ สง่ ไปยังสว่ นตา่ งๆของเคร่อื งยนตท์ ่ตี ้องการการหล่อล่ืน

ตอนที่ 2 จงท้ำเคร่อื งหมำย (X) หน้ำขอ้ ย่อยทถ่ี กู ทสี่ ุดเพยี งขอ้ เดยี ว

1. ข้อใดเปน็ เครือ่ งมอื วัดความโก่งของเพลาลกู เบย้ี ว
ก. เวอรเ์ นียคาลิปเปอร์
ข. ไขควงแบน
ค. ไดอลั เกจ
ง. ไมโครมเิ ตอร์

2. ข้อใดตอ่ ไปน้ีไมใ่ ชอ่ ุปกรณว์ ัดละเอยี ด
ก. ไขควง
ข. เวอรเ์ นียคาลปิ เปอร์
ค. ไมโครมิเตอร์
ง. ไดอลั เกจ

3. คมี ทาหนา้ ทีใ่ ด
ก. ใชจ้ บั ช้ินงาน
ข. ใช้ทุบนอต

ค. ใช้วัดเสื้อสบู
ง. ใชเ้ ล่ือย

4. ฝาสบู ทาหนา้ ท่ีใด
ก. เพ่มิ กาลังอัด

ข. ปิดส่วนบนของเครื่องและเปน็ ทตี่ ั้งของ
หวั ฉดี ลน้ิ ไอดีลนิ้ ไอเสีย

ค. เปน็ ทเ่ี ก็บนา้ มันเครือ่ ง
ง. คายประจไุ ฟฟ้า

5. กา้ นสูบทาหน้าใดในเคร่ืองยนต์
ก. ดูดไอดีเข้าเครอื่ ง
ข. เปิดปิดวาลว์ ไอดีไอเสีย

ค. สว่ นทีท่ าหนา้ ท่ีถา่ ยทอดกาลังท่เี กดิ ขนึ้
เนือ่ งจากการจดุ ระเบดิ เผาไหม้

ง. ถกู ท้งั ขอ้ ก. ข. และ ค.

6. ประแจปากตายมีลกั ษณะอย่างไร
ก. ด้านหน่งึ เปน็ แหวนด้านหน่งึ เปน็ ปากตาย

ข. ท้ังสองด้านเปน็ แหวนท้งั คู่
ค. ด้านใดดา้ นหนงึ่ หรือสองด้านเป็นปากตาย
ง. ถกู ทกุ ข้อทก่ี ล่าวมา

7. เวอร์เนียสามารถวัดงานละเอียดไดเ้ ทา่ กบั เทา่ ไหร่
ก. 0.01 ม.ม. หรอื 0.001 น้วิ

ข. เทา่ ไรกไ็ ด้
ค. 1.00 mm
ง. 100 mm

8. ข้อใดคือเครอื่ งมอื ใชส้ าหรบั ข้ันฝาสบู
ก. ประแจปอนด์

ข. ประแจเล่ือน
ค. ประแจแหวน
ง. คีมปากแบน

9. ข้อใดตอ่ ไปนี้กลา่ วได้ถกู ต้อง
ก. การปรับตัง้ ระยะวาล์วตอ้ งใชฟ้ ิลเลอร์เกจเป็นเคร่อื งมือในการปรับต้งั ระยะความหา่ ง

ข. ใชเ้ วอรเ์ นียคาลปิ เปอร์วดั การโคง้ งอเพลาลกู เบ้ยี ว.
ค. การปรบั ตอ้ งฝาสบู ใหใ้ ช้ฟิลเลอร์เกจวดั
ง. ถกู ท้ังขอ้ ก. และ ค.

10. ขอ้ ใดต่อไปน้ีเปน็ เครื่องมือถอดประกอบฝาสูบ
ก. ประแจแหวน
ข. ประแจปอนด์
ค. ประแจกระบอก
ง. ถกู ทุกข้อ

3. นำ้ ข้อควำมท่กี ำ้ หนดใหเ้ ตมิ ลงในตำรำงใหส้ มั พนั ธก์ นั

ตลบั ลกู ปื น เกจวดั ความหนา ลนิ ้ ไอเสยี สกดั เกจความลกึ
ไฮโดรมิเตอร์ ก้านสบู
ไฮโดรมิเตอร์ เพลาข้อเหว่ยี ง หวั เทียน

ข้อ หนา้ ท่ี สัมพนั ธก์ บั
เส้อื สบู
1 ทาหนา้ ทีห่ ่อหมุ้ กระบอกสูบเพลาข้อเหว่ียงและสว่ นประกอบอืน่ ๆ กา้ นสูบ

ทาหน้าทถี่ า่ ยทอดกาลังท่เี กิดขนึ้ เนอ่ื งจากการจุดระเบดิ เผาไหม้ ตลบั ลกู ปนื

2 เช้ือเพลิงภายในกระบอกสบู ไปยงั ชนิ้ สว่ นตา่ งๆกา้ นสบู จะตดิ กับ เกจวดั ความหนา
ลกู สบู
ล้ินไอเสีย
3 เพ่ีอให้เพลารับภาระและหมุนไดเ้ ป็นไปอย่างราบรนื่
ปลอดภยั และมอี ายกุ ารใชง้ านทนนาน ไฮโดรมเิ ตอร์
เพลาข้อเหวีย่ ง
สาหรบั ตรวจสอบ หรือวดั ระยะหา่ งตีนลน้ิ และระยะรนุ เกจความลึก

4 ก้านสบู ทีเ่ พลาขอ้ เหวย่ี ง หรือใช้สาหรบั วดั ระยะห่าง หวั เทียน
สกดั
ระหว่างกระบอกสบู และลูกสูบ

5 หน้าทีป่ ิดและเปดิ ให้แก๊สที่เกิดจากากรเผาไหม้ออกจา
กระบอกสบู

6 วดั ความถว่ งจาเพาะของของเหลว เช่น ความถ่วงจาเพาะ
( ถ.พ. ) ของสารละลายในแบตเตอรี่

7 ทาหน้าที่ถา่ ยทอดกาลังจากา้ นสูบและเปลี่ยนการเคลอ่ื นทีจ่ ากการ
เคล่ือนขนั้ ลงเปน็ การหมนุ เปน็ วงกลม

8 ใชส้ าหรับวัดคา่ ความลึกของช้นิ สว่ น เช่น กระบอกสูบ

9 อปุ กรณ์ที่ทาให้เกดิ ประกายไฟเพ่อื จุดไอดขี องเครือ่ งยนต์
เบนซินใหล้ กุ ไหม้ เกิดการระเบิดข้ึนภายในกระบอกสบู

10 ใช้ตัดหมุดย้าแป้นเกลยี ว ใช้ในกรณีทปี่ ระแจขนั ไม่ได้

กิจกรรมนำ้ ส่อู ำเซยี นหน่วยท่ี 1

1. จงจบั ค่ลู ักษณะทำงเศรษฐกิจและทรัพยำกรใหส้ ัมพนั ธก์ นั ในประเทศอำเซียน

1. อตุ สาหกรรมยานยนต์ใหญ่ทสี่ ุดในอาเซยี น

2. มีความอดุ มสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาตเิ ชน่ น้ามนั ถ่านหนิ

ตอบ 3. ผ้ผู ลิตน้ามันรายใหญเ่ ปน็ อนั ดบั 3 ของอาเซยี นและผลติ กา๊ ชธรรมชาติเป็นอันดับ 4 ของโลก
4. ประเทศทเี่ ข้าร่วมเป็นอาเซียนใหม่สุด
B 5. อปุ กรณ์ไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนิกส์ น้ามันดบิ ก๊าซธรรมชาตเิ หลวปิโตรเลยี ม เฟอร์นิเจอร์ ยา น้ามนั

D ปาลม์
6. มที รพั ยากรธรรมชาตหิ ลากหลายและจานวนมาก โดยเฉพาะถา่ นหนิ น้ามัน กา๊ ซธรรมชาติ โลหะ

A ต่างๆ
7. มีแหล่งนาสามารถผลิตไฟฟา้ ส่งออกท่ีสร้างรายได้ให้ประเทศอยา่ งมาก
H 8. มีความอดุ มสมบูรณข์ องทรพั ยากรธรรมชาติ น้ามันก๊าซธรรมชาติ ทาการผลติ เกษตรโดยการปลกู

พืชแบบขั้นบันได
J

A. (Brunei Darussalam)

C B. (Kingdom of Thailand)
C. (Republic of Indonesia)

D. (The Lao People's Democratic Republic of Lao PDR)

F E. (Republic of the Philippines)
F. (The Republic of Singapore)
E G. (Kingdom of Cambodia)

H. (The Socialist Republic of Vietnam)

I. (Union of Myanmar)

J. (Malaysia)

แผนกำรสอน/แผนกำรเรยี นรู้ภำคทฤษฎี/ปฏิบัติ

แผนการสอน/การเรียนร้ภู าคทฤษฎี/ปฏบิ ตั ิ หนว่ ยที่ 2

ชือ่ วชิ า งานถอดประกอบเครือ่ งกลเบือ้ งต้น สอนสปั ดาห์ที่

PRELIMINARY BASIC MECHANICAL ASSEMBLY 2

ชือ่ หนว่ ย ความปลอดภยั ในงานช่างยนต์และ คาบรวม 4

ทฤษฏีเคร่ืองยนต์แกส๊ โซลนี

ช่อื เร่อื ง ความปลอดภัยในงานช่างยนตแ์ ละทฤษฏเี ครอ่ื งยนตแ์ ก๊สโซลีน จานวนคาบ 4

หวั ข้อเรอื่ ง

ด้ำนควำมรู้

13. ความปลอดภัยในงานชา่ งยนต์
14. ทฤษฎีเคร่ืองยนตแ์ กส๊ โซลนี เบื้องต้น
15. ระบบระบายความรอ้ นเคร่อื งยนต์

16. ระบบจุดระเบดิ
17. หวั เทยี นชนิดต่างๆ

ดำ้ นทักษะ

18. จดั ระเบียบสถานทโ่ี ดยใช้หลักการ 5ส
19. สามารถตรวจเชค็ ระบบระบายความร้อนได้
20. สามารถบอกความผิดปกตเิ คร่ืองยนตจ์ ากหัวเทยี นได้
ดำ้ นคณุ ธรรม จริยธรรม

21. ความรบั ผิดชอบ
22. ความสนใจใฝ่รู้

สำระส้ำคญั

ความปลอดภัย (Safety ) หมายความว่า การปราศจากหรือการพ้นจากอุบัติภัยที่อาจจะเกิดขั้นต่อชีวิต
และทรัพย์สนิ ฉะน้ันความปลอดภยั จึงเป็นส่ิงจาเป็นที่ทุกคนปรารถนา และในการปฏิบัติงานต้องคานึงถึงความ
ปลอดภัยเครอ่ื งยนต์แก๊สโซลนี มีระบบการทางานที่ไม่เหมือนกบั เครื่องยนต์ดีเซลและปจั จบุ ันได้มีการพฒั นาเคร่อื ง
เบนซนิ 3 สูบแตใ่ ห้กาลังม้าที่สงู ประหยดั นา้ มนั โดยเร่มิ มกี ารแพร่หลายซ่งึ เหมาะกับสภาวะการในโลก
เริม่ น้ามนั แพง


Click to View FlipBook Version