ช้างศุภลักษณ์ “เมฆสมทรง” จากตำ� ราชา้ งฉบบั หลวง
199
ช้างศภุ ลักษณ์ “บษุ ปทันต”์ จากตำ� ราชา้ งฉบับหลวง
200
มาตังคกรเี ทพ เทวดา ๒๖ องค์ ท่ีรกั ษาร่างกายส่วนตา่ งๆ ของชา้ ง จากสมุดภาพต�ำราช้าง
201
ช้างครี ีเมขล์ไตรดายคุ จากสมดุ ภาพตำ� ราชา้ ง
202
พระอินทร์ทรงชา้ งเอราวณั จากสมดุ ภาพตำ� ราชา้ ง
203
ม้ามงคล “สแี สดขาวผา่ น” กายสแี สด ผม แปรงคอ หาง เทา้ และอก ขาว
204
ต�ำรามา้ หรือ ตำ� ราอัศวลกั ษณ์
มา้ เปน็ ยทุ ธพาหนะสำ� คญั อกี ประเภทหนงึ่ ของกองทพั โบราณและเปน็ พาหนะประกอบบารมขี องพระจกั รพรรดริ าชดงั นนั้ พระมหากษตั รยิ ์
และบุคคลช้ันสูงจึงต้องเสาะแสวงหาม้าที่มีลักษณะดีมาใช้ในกิจการต่างๆ หน่วยราชการของไทยสมัยโบราณมี “กรมม้าหลวง” หรือ
“กรมอัศวราช” ทั้งมีต�ำราส�ำหรับพิจารณาลักษณะม้าและต�ำรายารักษาม้าเม่ือมีอาการเจ็บป่วย คุณลักษณะของม้าท่ีกล่าวไว้ในต�ำรา
เช่น “หางฝัง หลังเด้ง” ตระกูลของม้า วลาหก สินธพ และอาชาไนย ซ่ึงประกอบด้วยสีกายและลักษณะอ่ืนๆ รูปทรงของม้าในต�ำราม้า
ฉบับหลวงมีลักษณะใกล้เคียงกนั ต่างกันเพียงสกี ายเชน่ เดยี วกบั ต�ำราชา้ ง
205
มา้ มงคล “สีผลมะพร้าวนาฬิเกออ่ น” จากสมุดภาพต�ำรามา้
206
ม้ามงคล “ม้าแดงสดแซมเทา”
207
ม้ามงคล “สดี ำ� ปลอด”
208
มา้ มงคล “สนี กกระเรียน”
209
สมดุ ภาพตำ� ราแมวสมยั รตั นโกสนิ ทร์
210
ต�ำราแมว
แมวเปน็ สตั วท์ คี่ นไทยนยิ มเลย้ี งมาชา้ นานและมตี ำ� ราสำ� หรบั พจิ ารณาลกั ษณะแมวทง้ั ดแี ละรา้ ย แมวลกั ษณะดที คี่ วรเลย้ี งมี ๑๗ ชนดิ
เชน่ วลิ าส ตวั สีดำ� หนา้ ผากแต้มดา่ งขาว หูและเท้าท้งั ๔ ขาว มแี นวสีขาวพาดกลางหลงั ยาวตลอดถึงปลายหาง และมีแนวสขี าวเปน็ เสน้ ตรง
จากคางยาวไปตามท้อง นิลรตั น์ สดี �ำปลอด ฟนั ด�ำ ตาด�ำ เล็บด�ำ ลน้ิ ดำ� ศภุ ลักษณ์หรือทองแดง ตัว เล็บ ล้นิ สที องแดง หนวดสขี าว ฯลฯ
สว่ นแมวที่มีลักษณะรา้ ย ไดแ้ ก่ ตวั ขาวปลอด ตาสีแดง ๑ ลายเสอื ๑ ขนหยาบ หางขอด หางคด ๑ กนิ ลูกตัวเอง ๑ หลบซอ่ นไมส่ หู้ น้าผคู้ น ๑
ต�ำราแมวหรือองค์ความรู้เก่ียวกับการดูลักษณะแมว น่าจะเป็นส่ิงที่รู้จักกว้างขวางในสังคมไทยโบราณ ซึ่งแม้จะพบต�ำราดังกล่าว
หลายเล่ม เชน่ ตำ� ราแมวฉบับของวัดอนงคาราม ตำ� ราแมวฉบับหอสมุดแหง่ ชาติ แต่เนอ้ื หาท่ีกลา่ วในต�ำราเหมอื นกนั
211
แมวศุภลกั ษณ์ หรอื แมวมงคล จากสมดุ ภาพต�ำราแมวสมยั รตั นโกสนิ ทร์
212
แมวศุภลักษณ์ หรือแมวมงคล จากสมุดภาพต�ำราแมวสมยั รตั นโกสนิ ทร์
213
พระอิศวรและพระอมุ าทรงจระเข้
214
ตำ� ราเทวรูป
นอกจากความศรัทธาเล่ือมใสในพระพุทธศาสนาแล้ว สังคมไทยยังมีคติความเชื่อท่ีได้รับอิทธิพลมาจากลัทธิพราหมณ์ จึงมีการ
สร้างเทวรูปปางต่างๆ ส�ำหรับบูชาในพิธีกรรม เช่น เทวรูปพระอิศวร พระนารายณ์ ส�ำหรับต้ังบูชาในพระราชพิธีตรียัมปวายและตรีปวาย
เทวรูปพระคเณศและพระเทวกรรมในพระราชพิธีคเชนทรัศวสนานหรือพิธีคชกรรม เทวรูปที่สร้างข้ึนแสดงอิริยาบถต่างๆ ตามที่ปรากฏใน
ตำ� นาน การสรา้ งเทวรปู นยิ มหลอ่ ดว้ ยโลหะหรอื จำ� หลกั ศลิ าใหเ้ ปน็ ถาวรวตั ถุ ชา่ งผสู้ รา้ งมอี งคค์ วามรเู้ ฉพาะดา้ นเกยี่ วกบั การหลอ่ และการจำ� หลกั
แตไ่ มเ่ ชีย่ วชาญในดา้ นประตมิ านวิทยา จึงตอ้ งมี “ตำ� ราเทวรปู ” เป็นแบบอยา่ งส�ำหรับน�ำไปสรา้ งเทวรปู
ตำ� ราเทวรูปเป็นองค์ความรเู้ ฉพาะด้าน พบเอกสารสมุดไทยฉบบั หลวงเพียงไม่กี่ฉบบั ซงึ่ เกบ็ รกั ษาไว้ท่หี อสมุดแห่งชาติ
215
พระนารายณแ์ ละพระลกั ษมีประทับโตนาคราช
216
พระนารายณบ์ รรทมสนิ ธ์ุ พระอนิ ทรเ์ ปา่ สงั ข์
217
พระลกั ษมี พระมเหศวรี และพระอมุ าภควดี
218
พระฤษีสุขวฒั น์ และพระฤษกี ไลยโกฏิ
219
พระอุมามเหศวร และพระนารายณ์
220
พระอศิ วร พระอมุ าภควดี พระมหาไชยทรงปลากราย พระหัตถ์ซา้ ยถอื รวงขา้ ว
221
พระนารายณท์ รงบาศปราบชา้ งเอกทนั ต์ และพระอมุ าปราบจระเข้
222
ต�ำรายันตแ์ บบตา่ งๆ
ต�ำราเลขยันต์
ความเชื่อเกี่ยวกับเวทมนตร์คาถาและอักขรเลขยันต์มีอยู่ท่ัวไปในชนทุกชาติทุกภาษา ชาวไทยมีต�ำราเก่ียวกับเวทมนตร์และ
อักขรเลขยันต์เป็นจ�ำนวนมาก ปรากฏต้นฉบับเอกสารสมุดไทยทั้งในพระนครและหัวเมือง ต�ำราดังกล่าวที่พบในชุมชนภาคกลางส่วนหนึ่ง
เป็นรูปยันต์แบบต่างๆ เขียนตัวอักขระด้วยอักษรขอม ข้อความที่บรรจุลงในยันต์เป็นบทมนตร์ท่ีเก่ียวกับพระพุทธศาสนาเป็นส่วนใหญ่
เช่น บทสรรเสริญพุทธคุณหรือนวหรคุณ อ สํ วิ สุ โล ปุ ส พุ ภ ซึ่งเป็นอักษรย่อของแต่ละวรรคในบทสรรเสริญพุทธคุณ บทอิติปิโส
และบทกรณียเมตตสูตร เปน็ ต้น
คตคิ วามเชอ่ื เกยี่ วกบั อกั ขรเลขยนั ตน์ อกจากจะแพรห่ ลายในหมรู่ าษฎรแลว้ ราชสำ� นกั สยามทงั้ สมยั กรงุ ศรอี ยธุ ยาและกรงุ รตั นโกสนิ ทร์
ยังให้ความส�ำคัญกับเรื่องดังกล่าวด้วย ดังจะเห็นได้จากเคร่ืองประกอบพระราชอิสริยยศ ฉัตรผ้าขาว พระเกาวพ่าห์ พระเสมาธิปัตย์
และพระฉัตรไชย สำ� หรับประกอบการพระราชพธิ ีสำ� คัญซ่ึงตอ้ งลงอักขรเลขยนั ต์ดว้ ยเส้นทอง สังคมไทยเชื่อวา่ อกั ขรเลขยันต์ต่างๆ นอกจาก
จะเป็นเครื่องปอ้ งกันอนั ตรายและท�ำใหป้ ระสบสัมฤทธผิ ลแลว้ บางชนิดยงั อ�ำนวยสวัสดมิ งคลแก่ผูเ้ ปน็ เจ้าของดว้ ย
223
ยนั ต์อคั คพี ินาศ จากต�ำรายนั ต์
224
ยันตอ์ คั คีพินาศ ยันตโ์ สฬสมหามงคล และยนั ตจ์ ตุโรตรีนสิ งิ เห
225
ยนั ตล์ งหนงั กระบอื หนา้ กลอง “ย่ำ� พระสรุ ิยศ์ ร”ี
226
ยันต์ส�ำหรับลงหนา้ กลองทขี่ ึ้นด้วยหนงั หมแี ละหนังเสอื
227
ตำ� ราพจิ ารณาโรค “ลำ� บองราห”ู ที่เกดิ ในทารกรวมอยู่ในตำ� ราแมซ่ ้อื
228
ตำ� ราพรหมชาตแิ ละต�ำราแมซ่ ้ือ
ตำ� ราพรหมชาตเิ ปน็ สว่ นหนงึ่ ของตำ� ราโหราศาสตร์ เนอื้ หาเปน็ การทำ� นายอนาคตของบคุ คลตามวนั เดอื นปเี กดิ และระบรุ ายละเอยี ด
คณุ ลกั ษณะของผทู้ เ่ี กดิ ในปี เดอื น และวนั ตา่ งๆ เชน่ คนเกดิ ปมี ะแม สตั วป์ ระจำ� ปเี กดิ คอื แพะ ธาตปุ ระจำ� ปเี กดิ คอื ธาตทุ อง มงิ่ ขวญั อยตู่ น้ กอไผป่ า่
ต�ำราพรหมชาติที่บันทึกลงในสมุดไทยโบราณมีอยู่หลายฉบับ บางเล่มมีภาพจิตรกรรมสวยงามซึ่งภาพเหล่าน้ีสะท้อนถึงวัฒนธรรมความเช่ือ
ของชนชาติไทยได้อย่างกระจ่างชัดเจน
ต�ำราแมซ่ อื้ ตามคตขิ องชาวไทยโบราณเช่อื วา่ แม่ซอ้ื คอื แม่ของเด็กทีม่ าเกดิ เปน็ มนษุ ย์ เม่อื เดก็ แรกเกิดมอี ายุครบ ๓ วันตอ้ งทำ� พธิ ี
ซ้ือเด็กจากแม่ที่เป็นผีให้มาเป็นลูกของคนโดยสมบูรณ์ แม่ซ้ือเป็นอมนุษย์ผู้หญิงมีท้ังหมด ๗ ตน มีหน้าตาเป็นสัตว์ตามพาหนะของเทวดา
ประจ�ำวนั ที่เด็กเกดิ คือ
แม่ซอ้ื ประจ�ำวันอาทติ ย์ หนา้ เปน็ ราชสีห์
แม่ซอ้ื ประจ�ำวันจันทร ์ หน้าเป็นมา้
แมซ่ ื้อประจ�ำวนั องั คาร หน้าเป็นควาย
แม่ซื้อประจำ� วันพุธ หนา้ เป็นชา้ ง
แม่ซ้อื ประจำ� วันพฤหสั บด ี หน้าเปน็ กวาง
แมซ่ ื้อประจำ� วนั ศกุ ร์ หนา้ เป็นวัว
แม่ซอ้ื ประจ�ำวนั เสาร ์ หนา้ เปน็ เสือ
ในสมัยโบราณต้องแขวนยันต์รูปแม่ซื้อไว้ที่เปลเด็ก เพ่ือเตือนให้แม่ซื้อรู้ว่ามนุษย์ได้ซ้ือขาดเด็กมาแล้ว แม่ซื้อจะได้ไม่มารบกวนอีก
ดงั นนั้ ในตำ� ราแม่ซ้ือจงึ มักเขยี นรปู แม่ซ้อื ไวเ้ ปน็ ตวั อย่างดว้ ย
229
ต�ำราแม่ซ้อื แสดงภาพแมซ่ ้อื เดก็ เกิดวนั อาทติ ย์
230
ตำ� ราแมซ่ อื้ แสดงภาพแม่ซ้ือเด็กเกดิ วนั อังคาร
231
ต�ำราแม่ซ้อื แสดงภาพแมซ่ ื้อเด็กเกดิ วันพธุ
232
ทา่ ร�ำ “พระรถโยนสาร” จากสมุดภาพตำ� รารำ� สมัยรัชกาลท่ี ๑
ต�ำราร�ำและต�ำราภาพจบั
ต�ำราร�ำ การฟ้อนร�ำขับร้องและบรรเลงดนตรีเป็นประณีตศิลป์ช้ันสูงอย่างหน่ึง ซ่ึงศิลปะแขนงดังกล่าวมีแบบแผนในการฝึกฝน
และการสืบทอด ท่าร�ำที่ครูบาอาจารย์ทางนาฏศิลป์สมัยโบราณประดิษฐ์ขึ้นมีท่วงท่าและช่ือเรียกต่างๆ กัน เช่น ท่าสอดสร้อยมาลา
ท่าพระรถโยนสาร ท่าพรหมสี่หน้า เป็นต้น ท่าร�ำและช่ือท่าร�ำเหล่าน้ีน่าจะมีมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา คร้ันกรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่า
ศิลปะด้านนาฏศิลป์ท่ีเคยเป็นมหรสพในราชส�ำนักพลัดพรายเส่ือมถอยลงเป็นอันมาก ครั้นถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์จึงมีการฟื้นฟูขนานใหญ่
มีการจดบันทึกเป็น “ต�ำราร�ำ” พร้อมทั้งวาดเส้นระบายสีท่ารำ� ต่างๆ ไว้เป็นแบบแผน สมุดภาพต�ำราร�ำฉบับหลวงท่ีน�ำมาเป็นตัวอย่างใน
หนงั สอื น้ี พิจารณาจากรปู แบบทางศลิ ปะแลว้ สันนษิ ฐานวา่ น่าจะเขยี นขึ้นในสมยั รัชกาลท่ี ๑
233
ตำ� ราภาพจับ “พระ-ยกั ษ”์
234
ต�ำราภาพจับ ภาพจับเป็นภาพแสดงการต่อสู้หรือการไล่จับกันในระยะประชิดตัว ซ่ึงแต่ละตอนมีท่วงท่าเป็นแบบแผนแตกต่าง
กันไป รูปแบบของภาพจับท่ีงดงามปรากฏอยู่ในหนังใหญ่ซึ่งเป็นมหรสพส�ำคัญของชาติท่ีเจริญรุ่งเรืองสูงสุดในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ทว่ งทา่ การจบั ในลกั ษณะของ “ภาพจบั ” มกี ารบนั ทกึ ไวเ้ ปน็ แบบแผนทง้ั ในรปู ของจติ รกรรมฝาผนงั และสมดุ ภาพ ไดแ้ ก่ จติ รกรรมตำ� ราภาพจบั
หอพระไตรปฎิ กพระตำ� หนักวาสกุ รี วัดพระเชตุพนวิมลมงั คลาราม ภาพจับเร่ืองรามเกยี รตใิ์ นกรอบเหนอื ประตหู น้าตา่ งพระอโุ บสถวดั สุทศั น
เทพวราราม และสมดุ ภาพต�ำราภาพจับซงึ่ เกบ็ รักษาไวท้ ี่หอสมุดแหง่ ชาติ ตำ� ราภาพจับฉบับนเี้ ป็น “ฉบบั หลวง” เขยี นขึน้ โดยจิตรกรฝีมือสูง
สมยั กรงุ รัตนโกสนิ ทร์ตอนตน้
235
ภาพจับ “พระ-ยกั ษ”์ ในทว่ งทา่ ตา่ งๆ
236
ภาพจับ “พระ-ยกั ษ”์ ในทว่ งท่าตา่ งๆ
237
หนังสอื สวดสมัยอยธุ ยา เขยี นภาพเร่อื งโสวตั
238
ภาพแสดงวฒั นธรรมด้านอน่ื ๆ และวถิ ธี รรมชาติ
นอกจากสมุดภาพท่ีอยู่ในลักษณะของ “ต�ำรา” และองค์ความรู้ต่างๆ แล้ว จิตรกรยังนิยมวาดภาพท่ีไม่เกี่ยวกับเนื้อหาท่ีปรากฏ
ในเล่มสมดุ ในลักษณะของ “ภาพคั่น” เชน่
- ภาพจากนิทานพื้นบ้าน เช่น นิทานเร่ืองโสวัต นิทานเร่ืองมโนห์รา ซึ่งเป็นเร่ืองท่ีสังคมไทยสมัยอยุธยาตอนปลายรู้จักอย่าง
แพร่หลาย ดังตวั อย่างสมดุ ภาพหนังสอื สวดของวดั สุวรรณภูมิ จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี
- ภาพภิกษุปลงอสุภกัมมัฏฐาน การปลงอสุภกัมมัฏฐานเป็นวิธีพิจารณาสภาวธรรมท่ีกล่าวไว้ในคัมภีร์วิสุทธิมรรค ในสมัยโบราณ
ถอื เป็นสมณกิจอยา่ งหน่งึ
- ภาพพระสงฆส์ วดพระอภธิ รรมเปน็ ภาพพระสงฆส์ วดธรรมในงานศพพบเปน็ จำ� นวนมากในหนงั สอื สวดรายละเอยี ดในภาพประเภทน้ี
ส่วนหน่ึงบันทึกวิถีวัฒนธรรมไทยในสมัยท่ีเขียนภาพดังกล่าวไว้ด้วย เช่น รูปทรงของตาลปัตรหรือพัชนีท่ีพระถือ สิ่งของส�ำหรับถวายพระ
ขณะท่สี วด
- ภาพเครื่องตัง้ หรือโตะ๊ บูชา แสดงถงึ วธิ กี ารจัดโตะ๊ บูชาทน่ี ิยมกนั ในสมัยนัน้
- ภาพธรรมชาติและพรรณพฤกษา ภาพคั่นลักษณะดังกล่าวมักเขียนเป็นป่าเขา มีสัตว์ต่างๆ อยู่ในภาพ บางแห่งเขียนเป็นภาพ
บุปผชาตแิ ละพรรณพฤกษาในลกั ษณะของการเขยี นภาพถวายเป็นพุทธบูชา
หนงั สอื สมดุ ไทยเปน็ บนั ทกึ องคค์ วามรภู้ มู ปิ ญั ญาของชาตหิ ลากหลายสาขา ปจั จบุ นั หนงั สอื ดงั กลา่ วอยใู่ นลกั ษณะของ “เอกสารโบราณ”
ซึ่งส่วนมากบันทึกด้วยอักษรและอักขรวิธีโบราณท�ำให้เข้าถึงและเข้าใจได้ยากและนับวันสิ่งเหล่านี้จะย่ิงเหินห่างจากชีวิตความเป็นอยู่
ของผคู้ นออกไปทกุ ขณะ
239
เร่อื งโสวตั ตอนทา้ วโสวตั ลอบเข้าเมอื งยกั ษ์
240
เร่ืองโสวตั ตอนนางประทุมถูกงูกัดหมดสติ
241
เรื่องพระสุธนมโนห์รา ตอนพรานบญุ ใชบ้ ว่ งจบั นางมโนหร์ า
242
เรือ่ งพระสธุ นมโนหร์ า ตอนพระสุธนตามนางมโนห์ราไปถงึ ป่าหมิ พานต์
243
ภาพแสดงการสวดพระมาลัยในงานศพ มชี าวบา้ นเลน่ หมากรกุ เปน็ เพ่อื นศพ
244
ชาวบา้ นเล่นการพนันเปน็ เพอ่ื นศพ
245
เคร่อื งโตะ๊ บชู า ประกอบดว้ ยฉากลบั แล แจกัน เชงิ เทยี น กระถางธปู ฯลฯ ลายครามและเขยี นสี
246
เครือ่ งโต๊ะบูชา เป็นทนี่ ยิ มของสงั คมชัน้ สูงตามพระราชนยิ มในรชั กาลท่ี ๕
247
248