The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สมุดไทยบันทึกภูมิปัญญาและวัฒนธรรมสยาม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

สมุดไทยบันทึกภูมิปัญญาและวัฒนธรรมสยาม

สมุดไทยบันทึกภูมิปัญญาและวัฒนธรรมสยาม

Keywords: สมุดไทย,สมุดไทยบันทึกภูมิปัญญาและวัฒนธรรมสยาม,ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมสยาม

สมิ พลีนรก บาปลว่ งกาเมสุมจิ ฉาจาร

99

เช้าวันหน่ึงขณะที่พระมาลัยออกบณิ ฑบาต มีบุรุษเขญ็ ใจผ้กู ตัญญูเลย้ี งดูมารดานำ� ดอกบวั ๘ ดอกมาถวาย พระมาลัยใคร่จะใหบ้ ุรษุ
ผนู้ น้ั ไดก้ ุศลอันแรงกล้า จงึ น�ำดอกบวั ทัง้ ๘ ดอกขน้ึ ไปบชู าพระเจดยี จ์ ฬุ ามณีบนสวรรค์ชนั้ ดาวดึงส์ วันน้ันเป็นวันพระข้ึน ๑๕ ค�่ำ พระอินทร์
และเทพยดาทั้งหลายต่างน�ำบริวารของตนมาบูชาพระเจดีย์จุฬามณีด้วย พระมาลัยได้สนทนากับพระอินทร์ถึงอานิสงส์ของกุศลกรรม
ที่เทวดา ๑๓ องคไ์ ดก้ ระท�ำไวแ้ ต่ชาตปิ างก่อน เทวดาเหลา่ นัน้ ตา่ งมเี ครอื่ งประกอบยศและบรวิ ารแตกตา่ งกนั ไป ซึ่งพระอินทร์ไดอ้ ธิบายชแี้ จง
แก่พระมาลยั โดยละเอยี ด

บุรษุ เขญ็ ใจเกบ็ ดอกบวั จะน�ำไปถวายพระมาลยั

100

บุรษุ เข็ญใจเกบ็ ดอกบวั จะน�ำไปถวายพระมาลัย

101

บรุ ุษเขญ็ ใจถวายดอกบวั แก่พระมาลยั

102

บรุ ุษเขญ็ ใจถวายดอกบัวแกพ่ ระมาลัย

103

พระมาลัยนำ� ดอกบวั ไปบชู าพระเจดยี จ์ ุฬามณี และสนทนากับพระอนิ ทร์บนสวรรคช์ ั้นดาวดงึ ส์

104

พระมาลยั สนทนากับพระอนิ ทร์

105

สมดุ มาลยั แสดงภาพตอนพระมาลยั สนทนากบั พระศรีอารยิ เทพบตุ รและพระอนิ ทร์

106

107

พระมาลยั สนทนากบั พระอนิ ทร์

108

เทพยดาประชมุ นมสั การพระเจดยี ์จุฬามณี

109

110

เทพบตุ ร เทพธดิ า เหาะไปนมสั การพระเจดยี จ์ ฬุ ามณี

111

เทพธิดานมสั การพระเจดียจ์ ุฬามณี

112

คร้งั นั้นพระศรอี าริยโพธสิ ตั วอ์ บุ ัตเิ ปน็ ท้าวสันดุสติ เทวราช ไดน้ ำ� เทพบริวารจำ� นวนแสนโกฏจิ ากสวรรคช์ ั้นดุสติ มานมัสการพระเจดยี ์
จุฬามณี ได้ตรัสสนทนากับพระมาลัยถึงศาสนาของพระองค์ที่จะมีมาในอนาคตและหากผู้ใดปรารถนาจะเกิดในยุคศาสนาของพระศรีอาริย์
ต้องท�ำทานรักษาศีล ฟังเทศน์มหาชาติให้จบในวันเดียวและบูชากัณฑ์เทศน์มหาชาติด้วยเคร่ืองบูชาสิ่งละพัน ท้ังพระโพธิสัตว์พระศรีอาริย์
ยงั พยากรณถ์ งึ เหตุการณ์เมื่อศาสนาของพระพุทธเจา้ องคป์ จั จุบันมอี ายคุ รบ ๕,๐๐๐ ปี วา่ จะเกดิ ยุคเขญ็ ผู้คนไรศ้ ลี ธรรม ผ้มู ีธรรม มีปัญญา
จะปลีกตนไปอยู่ตามป่าตามถ้�ำ จนถึงกาลที่พระศรีอาริยเมตไตรยจะมาตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าองค์ที่ ๕ แห่งภัทรกัลป์ มนุษย์จะปราศจาก
การเบียดเบียนต่อกัน มีอายุยืนถึง ๑๐,๐๐๐ ปี ต้องการสิ่งใดก็ได้จากต้นก�ำมพฤกษ์ มีแต่ความอุดมสมบูรณ์ เมื่อพระมาลัยกลับมายัง
โลกมนุษย์ก็นำ� เรอ่ื งราวทีท่ ่านได้ประสบมาเทศนาสั่งสอนประชาชน

เทพบรวิ ารขับร้องฟ้อนรำ� บชู าพระเจดยี จ์ ุฬามณี

113

เทพบริวารขบั ร้องฟ้อนรำ� บูชาพระเจดีย์จุฬามณี

114

อบุ าสกผู้ศรทั ธาสดับพระธรรมเทศนา

115

อบุ าสกอบุ าสกิ านำ� อาหารไปตกั บาตร

116

อบุ าสกอบุ าสกิ าเตรยี มขา้ วของใสบ่ าตร

117

ฝา่ ยบรุ ษุ เขญ็ ใจผถู้ วายดอกบวั ๘ ดอกแกพ่ ระมาลยั
เม่ือส้ินอายุขัยแล้วได้บังเกิดเป็นอุบลเทวบุตรในสวรรค์ช้ัน
ดาวดงึ ส์ มดี อกอุบลรองรบั และมีนางฟ้านับพนั เป็นบรวิ าร
เร่ืองพระมาลัยมีอิทธิพลต่อวัฒนธรรมความศรัทธา
ในพระพุทธศาสนาของพุทธศาสนิกชนไทยเป็นอย่างมาก
เช่นคติความเช่ือเร่ืองการฟังเทศน์มหาชาติทั้ง ๑๓ กัณฑ์
ให้จบภายในวันเดียวและถวายเคร่ืองบูชากัณฑ์เทศน์ส่ิงละ
๑ พนั เท่าจำ� นวนคาถาในมหาเวสสนั ดรชาดก
ภาพจากสมุดมาลัยที่เป็นตัวอย่างอยู่ในหนังสือน้ี
นำ� มาจากหนงั สอื สวดสมดุ มาลยั วดั หวั กระบอื เขตบางขนุ เทยี น
กรงุ เทพมหานคร วดั ทา่ ไชยศริ ิ อำ� เภอบา้ นลาด จงั หวดั เพชรบรุ ี

ห่าฝนบันดาลโภคทรพั ยใ์ นยคุ พระศรอี ารยิ ์

118

ชาดกและพทุ ธประวัติ

เร่ืองชาดกและเรื่องพุทธประวัติท่ีปรากฏในสมุดไทยมักเป็นภาพค่ันท่ีแทรกอยู่ในสมุดสวดพระอภิธรรมย่อ หรือบทสวดอื่นๆ
ท่ีเขยี นด้วยอักษรขอม ภาษาบาลี เป็นภาพท่ไี มเ่ กี่ยวกับเนือ้ หาของบทสวด

ชาดก หมายถึง เร่อื งของพระโพธิสัตว์หรือเรื่องราวในอดีตชาตกิ อ่ นท่พี ระโพธสิ ตั ว์จะตรัสรูเ้ ปน็ พระพุทธเจ้า ชาดกหรือเรือ่ งราวของ
พระโพธิสัตว์ท่ีปรากฏในพระไตรปิฏก เรียกว่า “นิบาตชาดก” มีท้ังหมด ๕๔๗ เร่ือง แบ่งเป็นหมวดๆ ตามจ�ำนวนคาถาหรือบทประพันธ์
ท่มี อี ยใู่ นแตล่ ะเร่อื ง ชาดกทมี่ จี ำ� นวนคาถาเกินกว่า ๘๐ คาถาข้นึ ไป เรียกว่า มหานบิ าตชาดก มีท้ังหมด ๑๐ เร่อื ง แตล่ ะเรื่องแสดงถงึ การ
บ�ำเพญ็ บารมขี นั้ อกุ ฤษฏข์ องพระโพธิสัตว์ ที่เรียกวา่ บารมี ๑๐ ทัศ หรอื ทศบารมี ไดแ้ ก่

พระพุทธเจา้ เสด็จโปรดพุทธมารดาบนสวรรคช์ นั้ ดาวดึงส์

119

มหาชนกชาดก นางมณีเมขลาชว่ ยพระมหาชนกกลางมหาสมทุ ร

120

เตมยี ชาดก เจ้าพนักงานเตรียมงูพษิ ไปขู่พระโพธิสัตว์

๑. เตมียชาดก เนกขมั มบารมี (การออกบวช)
๒. มหาชนกชาดก วริ ิยบารมี (ความเพยี ร)
๓. สวุ รรณสามชาดก เมตตาบารมี (ความปรารถนาให้ผอู้ น่ื มีสขุ )
๔. เนมิราชชาดก อธิษฐานบารมี (ความตั้งใจม่นั )
๕. มโหสถชาดก ปัญญาบารมี (ความฉลาดรอบร้)ู
๖. ภรู ิทัตชาดก ศีลบารมี (ความสำ� รวมกาย วาจา ใจ)
๗. จนั ทกุมารชาดก ขันตบิ ารมี (ความอดกลนั้ )
๘. นารทชาดก อเุ บกขาบารมี (ความวางเฉย)
๙. วิธุรชาดก สัจจบารมี (ความรกั ษาวาจาจรงิ )
๑๐. เวสสนั ดรชาดก ทานบารมี (การบริจาค)

121

เตมยี ชาดก เจา้ พนกั งานนำ� งพู ิษขม่ ข่จู ะใหพ้ ระเตมยี กมุ ารหวาดกลวั

122

เตมยี ชาดก ดรณุ ีรปู งามเลา้ โลมพระเตมยี กมุ าร

123

เตมยี ชาดก พระเจา้ กาสกิ ราชพิพากษาคดนี ักโทษ และพระเตมยี กมุ ารยกราชรถประลองกำ� ลงั

124

มหาชนกชาดก นางมณีเมขลาชว่ ยพระมหาชนกไปไว้ยงั อุทยานกรงุ มถิ ลิ า

125

126

มหาชนกชาดก พระมหาชนกออกบวช พระนางสีวลโี ศกเศร้าทูลออ้ นวอนใหล้ าผนวช

127

มหาชนกชาดก นางมณเี มขลาชว่ ยพระมหาชนก

128

สวุ รรณสามชาดก พระเจา้ ปิลยักขราชแจง้ ข่าวสวุ รรณสามสิน้ ชีวติ กับบดิ ามารดา

129

130

สวุ รรณสามชาดก พระเจา้ ปลิ ยักขราชแผลงศรต้องสวุ รรณสามท่ามกลางฝงู เนอ้ื ทราย

131

สุวรรณสามชาดก พระเจา้ ปิลยกั ขราชแผลงศร

132

เนมริ าชชาดก พระมาตลเี ทพสารถีทลู พระเจ้าเนมริ าช

133

เนมริ าชชาดก พระมาตลเี ทพสารถนี ำ� พระเจา้ เนมริ าชผา่ นนรกภมู ิขมุ ตา่ งๆ

134

135

มโหสถชาดก (บน) และเนมริ าชชาดก (ลา่ ง)

136

มโหสถชาดก พระมโหสถลองปัญญากับนางปรพิ าชิกา

137

มโหสถชาดก พระโพธสิ ัตวก์ ดหลังเกวัฏอมาตย์ (ซา้ ย)
ภรู ิทตั ชาดก พราหมณ์อาลมั พายน์จับพระภูริทตั (ขวา)

138

ภรู ทิ ัตชาดก พราหมณอ์ าลมั พายนจ์ ับพระภรู ิทตั ไปแสดงยังท่ตี า่ งๆ

139

ภรู ิทตั ชาดก นางนาคบรวิ ารรับใชพ้ ระโพธิสัตว์

140

พราหมณผ์ ู้หน่งึ ทราบสถานที่จำ� ศลี ของพระภูรทิ ตั นำ� ความไปบอกแก่นายอาลมั พายน์

141

ภูรทิ ตั ชาดก นายอาลัมพายน์จบั นาคภรู ทิ ตั

142

พราหมณบ์ อกทีจ่ �ำศลี ของพระโพธสิ ตั ว์แกน่ ายอาลมั พายน์

143

จันทกมุ ารชาดก พระอนิ ทรท์ ำ� ลายพธิ บี ชู ายญั พระโพธสิ ตั วจ์ ันทกมุ าร

144

145

146

จันทกมุ ารชาดก พระอนิ ทรท์ �ำลายพธิ บี ชู ายญั พระโพธสิ ตั ว์

147

จนั ทกุมารชาดก พระอนิ ทร์ทำ� ลายพธิ บี ูชายญั

148


Click to View FlipBook Version