นารทชาดก พระโพธสิ ตั วพ์ รหมนารทหาบทองลงมาส่เู มอื งมนษุ ย์
149
นารทชาดก พระโพธิสตั ว์หาบทองลงมายังแดนมนุษยเ์ ป็นท่ปี ระจกั ษ์แกพ่ ระเจา้ อังคตริ าชและพระราชธิดารจุ า
150
151
นารทชาดก พระโพธิสตั วพ์ รหมนารทหาบทองมายงั แดนมนษุ ย์
152
153
วธิ รุ ชาดก ปณุ ณกยกั ษใ์ ห้พระโพธสิ ัตวว์ ธิ รุ บณั ฑติ เกาะหางมา้ พาเหาะไป
154
155
วธิ ุรชาดก พระเจา้ ธนัญชยั โกรพราชทรงสกาเดมิ พันกบั ปณุ ณกยกั ษ์
156
157
วธิ ุรชาดก นางอริ นั ทดใี ชป้ ุณณกยกั ษ์หาหวั ใจบณั ฑติ มาใหน้ าง
158
159
วธิ รุ ชาดก นางอริ นั ทดฟี อ้ นรำ� ในปา่ หมิ พานต์
160
ปณุ ณกยักษบ์ งั คบั พระโพธิสัตวเ์ กาะหางม้าไปกับตน
161
มหาเวสสนั ดรชาดก พระเวสสันดรพระราชทานชา้ งปจั จยั นาคแกพ่ ราหมณท์ ้งั ๘
162
163
มหาเวสสนั ดรชาดก พระเวสสันดรพระราชทานชา้ งปัจจยั นาคแก่พราหมณช์ าวกลงึ ครฐั
164
165
จิตรกรไทยนิยมน�ำมหานิบาตชาดกทั้ง ๑๐ เรื่อง ท่ีเรียกว่า ทศชาติ หรือพระเจ้าสิบชาติมาเขียนเป็นจิตรกรรมท้ังบนฝาผนังและ
บนสมุดภาพ และในชาดกเร่ืองเดียวกันยังนิยมเขียนภาพตอนเดียวกันแม้ว่าจะต่างยุคต่างสมัยและต่างฝีมือช่าง กล่าวคือ เตมียชาดก
นิยมภาพตอนพระโพธิสัตว์ประทับน่ังสมาธิไม่หว่ันไหวต่อส่ิงยั่วยุรอบกาย และตอนพระโพธิสัตว์ทรงยกราชรถทดสอบพละก�ำลังขณะถูกน�ำ
ไปฝังท้ังเป็น มหาชนกชาดก นิยมเขียนภาพตอนพระโพธิสัตว์ก�ำลังว่ายน�้ำในมหาสมุทร มีนางเทพธิดามณีเมขลาเหาะลอยอยู่ใกล้ๆ และ
ตอนพระโพธิสัตว์สละราชสมบตั อิ อกผนวช สวุ รรณสามชาดก นิยมเขยี นภาพตอนพระเจ้าปิลยกั ขแ์ ผลงศรไปยงั พระโพธิสัตวซ์ ึง่ กำ� ลงั ตักนำ�้
อยู่ท่ามกลางเนื้อทราย เนมิราชชาดก นิยมเขียนภาพตอนพระมาตลีเทพสารถีน�ำพระโพธิสัตว์ไปชมนรกภูมิ และตอนพระโพธิสัตว์ประทับ
แสดงธรรมท่ามกลางเหล่าทวยเทพ มโหสถชาดก นิยมเขียนภาพตอนพระโพธิสัตว์ถามตอบปริศนากับนางเภรีปริพาชิกาและตอนแสดง
ธรรมยุทธกับเกวฏั อมาตย์ ภรู ทิ ตั ชาดก นิยมเขียนภาพตอนพราหมณอ์ าลมั พายน์ใช้มนตร์จับนาคพระโพธสิ ตั ว์ที่จอมปลวก จนั ทกุมารชาดก
นยิ มเขยี นภาพพระโพธสิ ตั วใ์ นพธิ บี ชู ายญั และภาพตอนพระอนิ ทรถ์ อื คอ้ นเหลก็ หกั ฉตั รทำ� ลายพธิ ี นารทชาดก นยิ มเขยี นภาพตอนพระโพธสิ ตั ว์
พรหมนารทหาบทองลงมายังเมืองมนุษย์ วิธุรชาดก นิยมเขียนภาพตอนปุณณกยักษ์จับพระโพธิสัตว์ผูกหางม้าเหาะไปและภาพตอน
พระโพธสิ ตั วแ์ สดงธรรมโปรดปณุ ณกยกั ษ์ เวสสนั ดรชาดก เนอื่ งจากเรอ่ื งนมี้ คี วามยาวประกอบดว้ ยคาถาถงึ ๑ พนั คาถา และแบง่ เปน็ ๑๓ กณั ฑ์
พุทธศาสนิกชนให้ความส�ำคัญกับเร่ืองนี้มาก น�ำมาเขียนเป็นภาพตามล�ำดับกัณฑ์ต่างๆ ถึง ๑๓ ตอน เช่น ทานกัณฑ์นิยมเขียนภาพตอน
พระโพธิสัตว์บริจาคช้างปัจจัยนาคแก่พราหมณ์ท้ัง ๘ กัณฑ์กุมารเขียนภาพตอนชูชกเฆี่ยนตีสองกุมาร และกัณฑ์มัทรีนิยมเขียนภาพ
ตอนสามสตั ว์ขวางทางทีน่ างมัทรีจะกลับมายังอาศรม
166
มหาเวสสนั ดรชาดก พระเวสสนั ดรพระราชทานมา้ และรถแก่พราหมณท์ ่ีมาขอ
167
มหาเวสสนั ดรชาดก พระเวสสันดรและพระนางมัทรอี ุ้ม ๒ กมุ าร เดนิ ทางไปสู่เขาวงกต
168
มหาเวสสนั ดรชาดก ชชู กทอ่ งเทย่ี วขอทาน
169
มหาเวสสนั ดรชาดก ชชู กพบพรานเจตบตุ ร
170
มหาเวสสันดรชาดก ชูชกพบอัจจตุ ฤษี
171
มหาเวสสันดรชาดก พระเวสสนั ดรพระราชทาน ๒ กมุ าร แกช่ ชู ก
172
มหาเวสสันดรชาดก ชูชกพา ๒ กุมาร ออกเดินทาง
173
มหาเวสสนั ดรชาดก พระนางมทั รีออกจากอาศรมเที่ยวแสวงหาผลไม้
174
มหาเวสสนั ดรชาดก พระนางมทั รพี บ ๓ สตั ว์ขวางทางดำ� เนนิ กลบั อาศรม
175
มหาเวสสนั ดรชาดก พระอินทรจ์ �ำแลงเปน็ พราหมณ์ขอพระราชทานพระนางมทั รีจากพระเวสสนั ดร
176
มหาเวสสันดรชาดก ชูชกพา ๒ กุมาร เดนิ ทางไปในปา่ เทพยดาจำ� แลงมาอภิบาล ๒ กมุ าร
177
มหาเวสสันดรชาดก พระเจ้ากรงุ สญชยั พระนางผุสดี และ ๒ กมุ าร ไปรบั พระเวสสนั ดรกับพระนางมทั รียงั เขาวงกต
178
มหาเวสสนั ดรชาดก พระเวสสนั ดรและพระประยูรญาติเสดจ็ กลบั พระนคร
179
พทุ ธประวัติ พระพทุ ธเจา้ ผจญมารกอ่ นตรสั รู้ ใช้สญั ลักษณด์ อกบวั แทนพระพทุ ธเจา้
180
พทุ ธประวตั ิ คัมภรี ท์ ี่แสดงเร่ืองพทุ ธประวัติหรือประวัตขิ องพระพทุ ธเจา้ คือ “คมั ภรี ป์ ฐมสมโพธิ” หรอื “ปฐมสมโพธิกถา” ซง่ึ แสดง
เรอ่ื งราวของพระพทุ ธเจา้ ตง้ั แตป่ ระสตู จิ นถงึ ปรนิ พิ พานและตอนทา้ ยของคมั ภรี ด์ งั กลา่ วยงั อธบิ ายตอ่ เนอ่ื งไปถงึ เหตกุ ารณห์ ลงั พทุ ธปรนิ พิ พาน
ซง่ึ เนอื้ หาท้งั หมดรวบรวมและเรยี บเรียงมาจากขอ้ มูลที่ปรากฏในพระไตรปิฎก
เรือ่ งพทุ ธประวัตติ ามคมั ภรี ป์ ฐมสมโพธทิ ่ปี รากฏในสมุดภาพจิตรกรรมไทยอาจจ�ำแนกเนื้อหาไดเ้ ปน็ ๒ ภาค คอื
๑. ภาคก่อนการตรัสรู้ตั้งแต่ประสูติจนถึงตรัสรู้ ตอนที่นิยมน�ำมาเขียนภาพได้แก่ ตอนเสด็จออกมหาภิเนษกรมณ์ ตอนมารผจญ
และตอนเสวยวิมุติสุข
พทุ ธประวัติ ตอนพระนางสิรมิ หามายาประสูตพิ ระราชกมุ าร
181
พุทธประวัติ ตอนเจา้ ชายสทิ ธัตถะพบเทวทตู ท้งั ๔
182
พทุ ธประวตั ิ ตอนเสด็จออกมหาภเิ นษกรมณ์
183
พุทธประวตั ิ ตอนพระอินทรด์ ดี พิณ ๓ สาย และนางสชุ าดาถวายขา้ วมธปุ ายาส
184
๒. ภาคหลังการตรัสรู้จนถึงปรินิพพาน ตอนท่ีนิยมน�ำมาเขียนเป็นภาพจิตรกรรมได้แก่ ตอนแสดงธัมมจักกัปปวัตตนสูตร
ตอนยมกปาฏิหาริย์ ตอนโปรดพุทธมารดาและตอนเสด็จดับขันธปรนิ พิ พาน
พุทธประวัติ ตอนพระอานนท์ถวายนำ้� สรงพระพทุ ธเจา้
185
พทุ ธประวตั ิ ตอนพระอานนทต์ กั น�้ำไปถวายพระพุทธเจา้
186
187
พระสงฆส์ าวกพากนั ไปเฝา้ พระพุทธเจา้ ตอนพระพทุ ธเจา้ ปรินพิ พาน
188
พทุ ธประวตั ิ ตอนพระพทุ ธเจา้ ปรินพิ พาน
189
พทุ ธประวัติ ตอนพระมหากสั สปะและพระอรหนั ตสาวกเดนิ ทางไปถวายพระเพลงิ พทุ ธสรรี ะ
190
พระเถระเดนิ ทางไปถวายพระเพลงิ พทุ ธสรรี ะ
191
192 ชา้ งเอราวณั พาหนะของพระอนิ ทร์
๔ ตำ� ราองคค์ วามรูภ้ มู ปิ ญั ญาไทย
สมุดไทยท่ีบันทึกองค์ความรู้ต่างๆ ในวิถีชีวิตและวัฒนธรรมไทยมีอยู่เป็นจ�ำนวน
มาก ครอบคลมุ เนอื้ หาสรรพวทิ ยาการดา้ นตา่ งๆ อยา่ งกวา้ งขวาง ไดแ้ ก่ พงศาวดาร จดหมายเหตุ
ประวัติศาสตร์ วรรณคดี ตัวบทกฎหมาย อันแสดงถึงชีวิตความเป็นอยู่ ความเชื่อ และ
วถิ สี งั คมไทยในอดตี สมดุ ไทยประเภทตำ� ราองคค์ วามรสู้ ว่ นมากไมม่ ภี าพประกอบ เชน่ ตำ� รายา
ตำ� ราเวทมนตรค์ าถา ตำ� ราพรหมชาติ และตำ� ราโหราศาสตร์ เปน็ ตน้ ตำ� ราดงั กลา่ วมกั เกบ็ รกั ษา
และสืบทอดองค์ความรกู้ นั อยใู่ นวงศ์ตระกลู ซง่ึ ผู้ทีจ่ ะศึกษาหรืออ่านต�ำราเหลา่ น้ี ตอ้ งอาศยั
พ้ืนฐานองค์ความรู้ด้านอื่นๆ ประกอบด้วยจึงจะเข้าใจรายละเอียดและข้อจ�ำกัดของ
องคค์ วามร้แู ต่ละด้าน ครัน้ เวลาลว่ งเลยไปบรบิ ททางสังคมเปล่ยี นแปลง องค์ความรู้แบบไทย
ก็ค่อยเลือนหาย เหินห่างจากวิถีความเป็นอยู่ของผู้คน จนไม่สามารถเข้าใจองค์ความรู้ท่ี
บนั ทกึ ไว้ในต�ำราเหลา่ นั้นได้
สมุดไทยประเภทต�ำราส่วนหน่ึงมีภาพประกอบท่ีงดงาม อธิบายเนื้อหาท่ีเป็น
ลายลกั ษณอ์ กั ษรในลกั ษณะทเี่ รยี กวา่ “สมดุ ภาพ” ตำ� รบั ตำ� ราประเภทนม้ี กี ารรวบรวมเกบ็ รกั ษา
ไวท้ ห่ี อสมดุ แหง่ ชาตเิ ปน็ จำ� นวนมาก มที งั้ “ฉบบั หลวง” ซงึ่ เปน็ องคค์ วามรขู้ องราชสำ� นกั และ
“ฉบบั ราษฎร”์ ซงึ่ เปน็ ของวดั วาอารามและของราษฎร
193
ชา้ งครี ีเมขลไ์ ตรดายุค พาหนะของทา้ วไพจติ ราสรู
194
ต�ำราชา้ ง หรือ ตำ� ราคชลักษณ์
ชา้ งเปน็ ยทุ ธพาหนะสำ� คญั ของกองทพั สมยั โบราณ และชา้ งทมี่ ลี กั ษณะเปน็ ชา้ งเผอื กหรอื ชา้ งสำ� คญั ถอื วา่ เปน็ มงคลของพระมหากษตั รยิ ์
และแผน่ ดิน ดังนน้ั การจะตัดสนิ วา่ ช้างใดประกอบดว้ ยศภุ ลกั ษณ์หรือเปน็ ช้างเผอื กจงึ ต้องมตี ำ� ราทเี่ รยี กวา่ “ตำ� ราคชลกั ษณ์” เป็นองคค์ วามรู้
ส�ำหรับประกอบการพจิ ารณา ต�ำราชา้ งหรือตำ� ราคชลกั ษณข์ องไทยมีอยหู่ ลายฉบับ เช่น ตำ� ราชา้ งในรชั กาลที่ ๑ สมุดภาพตำ� ราชา้ งในรัชกาล
ที่ ๒ ต�ำราชา้ งค�ำฉนั ท์ และต�ำราชา้ งคำ� โคลง สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนตน้ ซงึ่ ตำ� ราทกุ ฉบับอธบิ ายลักษณะดี ลักษณะรา้ ย และกำ� หนดชอ่ื ไว้
ตามลักษณะทกี่ ลา่ ว และทกุ ฉบบั ระบุถงึ คติความเชื่อตรงกนั ว่า ช้างมกี �ำเนิดจากพระผเู้ ปน็ เจ้า ๔ องค์ คือ พระนารายณ์ พระอศิ วร พระพรหม
และพระเพลงิ และจำ� แนกช้างออกเป็น ๔ ตระกูลตามก�ำเนดิ ทีพ่ ระผู้เปน็ เจ้าประทาน ไดแ้ ก่ วษิ ณุพงศ์ อิศวรพงศ์ พรหมพงศ์ และอัคนพี งศ์
ตำ� ราชา้ งฉบับที่มคี วามสำ� คญั ยง่ิ คอื สมดุ ภาพตำ� ราชา้ ง ฉบับรชั กาลท่ี ๒ ซง่ึ ในรัชกาลนี้ได้ช้างเผอื กมาสพู่ ระบารมถี ึง ๓ ชา้ ง ท�ำให้
ราชสำ� นกั ในคร้ังนน้ั ศกึ ษาและตรวจสอบแบบแผนและตำ� ราต่างๆ ทเี่ ก่ยี วกับช้างและบนั ทกึ ไว้เป็นหลกั ฐานของราชการแผน่ ดนิ
195
ช้างศภุ ลักษณ์ “อลุ มาล”ี จากตำ� ราช้างฉบับหลวง
196
ชา้ งศุภลักษณ์ “ดามพหตั ถ”ี จากตำ� ราชา้ งฉบบั หลวง
197
ช้างศภุ ลักษณ์ “พทนั ธร” จากต�ำราช้างฉบับหลวง
198