The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

มรดกศิลป์แผ่นดิน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

มรดกศิลป์แผ่นดิน

มรดกศิลป์แผ่นดิน

มรดกศิลปแ์ ผ่นดนิ ไทย

The Artistic Heritage of Thailand



มรดกศลิ ป์

แผน่ ดินไทย

The Artistic Heritage of Thailand

กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม

พิมพ์เผยแพร่ พุทธศกั ราช ๒๕๖๒



ค�ำน�ำ / Preface The Fine Arts Department has its key mission to
conserve and promote Thailand’s art and culture as the
กรมศลิ ปากร เปน็ หนว่ ยงานทม่ี หี นา้ ทอ่ี นรุ กั ษ์ สง่ เสรมิ งานศลิ ป nation’s precious heritage in various areas such as
วัฒนธรรมอันเป็นมรดกที่ทรงคุณค่าของชาติหลากหลายสาขา อาทิ archaeological sites, art objects, paintings, sculptures,
ด้านโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ จิตรกรรม ประติมากรรม architecture, ancient manuscripts, fine arts, and exquisite
สถาปตั ยกรรม เอกสารโบราณ วจิ ิตรศิลป์ ประณตี ศิลป์ เปน็ ตน้ อธิบดี arts. Therefore, the Department’s former Director-General
กรมศลิ ปากรขณะนนั้ (นายอนนั ต์ ชโู ชต)ิ จงึ ดำ� รจิ ดั พมิ พห์ นงั สอื “มรดก Mr. Anandha Chuchoti initiated the production of this
ศิลป์แผ่นดินไทย” เผยแพร่เป็นองค์ความรู้ทางด้านศิลปวัฒนธรรม book entitled “The Artistic Heritage of Thailand” to widely
อย่างกว้างขวาง เพื่อให้ประชาชนตระหนักรู้และร่วมกันหวงแหนและ disseminate the knowledge of art and culture to Thai people
ภาคภูมิใจในมรดกศิลป์ของชาติไทย โดยน�ำศิลปะโบราณวัตถุที่ส�ำคัญ in order to create their awareness and pride of the nation’s
ในแต่ละยุคสมัยมาน�ำเสนอ เร่ิมแต่ยุคปัจจุบันย้อนอดีตไปจนถึงสมัย artistic heritage. From the prehistory period to the present
กอ่ นประวตั ศิ าสตร์ อนั ไดแ้ ก่ พระพทุ ธรปู ปางตา่ งๆ เครอื่ งทอง โลหะสำ� รดิ times, the book presents key artifacts of each period, such
ลูกปัดหินสี ภาชนะดินเผา และอ่ืนๆ ซึ่งล้วนเป็นสิ่งมีค่าและส�ำคัญย่ิง as Buddha statues in multiple postures, gold ornaments,
ของชาติ เพือ่ แสดงพัฒนาการทางความคดิ และภมู ปิ ญั ญาของบรรพชน bronze tools, gemstone beads, pottery and others which
ในแต่ละยุคสมัย are precious and important to the nation. They also reflect
ดังนั้น เพ่ือสืบสอดเจตนารมณ์และสานต่อภารกิจส�ำคัญของ on Thai ancestors’ development of creative ideas and local
กรมศิลปากร จึงด�ำเนินการจัดพิมพ์หนังสือดังกล่าวให้แล้วเสร็จตาม wisdom in each period.
วัตถุประสงค์ต่อไป และหวังว่าหนังสือเล่มน้ีจะอ�ำนวยประโยชน์แก่ To fulfill the objective and the important mission,
ประชาชน ผสู้ นใจและผทู้ ีเ่ ห็นความส�ำคัญของมรดกศลิ ปวฒั นธรรมโดย the Fine Arts Department has completed the production of
ทวั่ กนั รวมทงั้ รว่ มมอื กบั กรมศลิ ปากรในการธำ� รงรกั ษา ดแู ลและสอดสอ่ ง the book entitled “The Artistic Heritage of Thailand”, in the
ให้มรดกศิลป์อยู่คู่แผ่นดินไทยสืบไปช่ัวกาลนาน เป็นท่ีเชิดชูและสร้าง hope that it will be beneficial to people who are interested
เกยี รติภมู แิ กช่ าติอยา่ งม่นั คงและย่งั ยืน in Thailand’s artistic and cultural heritage and aware of the
importance. This will lead to the cooperation between the
people and the Fine Arts Department in the preservation
and sustainability of Thai artistic heritage across generations
to enhance national pride with strength and honor.

(นายประทปี เพง็ ตะโก) (Mr.Prateep Phengtako)
อธิบดีกรมศิลปากร Director-General of the Fine Arts Department

สารบัญ Content 7

57 มองย้อนไปในอดีต
Looking Through The Past
รัตนโกสินทร์
Rattanakosin 89

119 อยธุ ยา
Ayutthaya
ล้านนาและหรภิ ุญชยั
Lanna and Hariphunchai

133 149

สุโขทัย ลพบรุ ี
Sukhothai และศลิ ปะเขมรในประเทศไทย
Lopburi and Khmer Art in Thailand
171
181
ศรวี ชิ ยั
และศลิ ปกรรมบนคาบสมทุ รภาคใต้ ทวารวดี
Srivijaya and Peninsular Art Davaravati

195

ก่อนประวัติศาสตร์
Prehistory



7

มองยอ้ นไปในอดีต
Looking Through The Past

บนผืนแผน่ ดินไทย มอี ารยธรรมท่รี งุ่ เรอื งสืบทอดยาวนานจากอดตี จวบจนปจั จบุ นั ปรากฏหลัก
ฐานมาตง้ั แตค่ รงั้ ยคุ กอ่ นประวตั ศิ าสตร์ อาจยอ้ นไปไกลไดห้ ลายหมน่ื หลานแสนปี ครง้ั ทมี่ นษุ ยอ์ าศยั รว่ มกนั
เปน็ ครอบครวั เลก็ ๆ ยงั ใชช้ วี ติ แบบลา่ สตั วห์ าของปา่ และบรรดาสงิ่ ทม่ี อี ยตู่ ามธรรมชาตมิ าบรโิ ภค เคลอ่ื น
ย้ายไปตามแหล่งอาหารที่อุดมสมบูรณ์ตามฤดูกาล อาศัยตามถ�้ำหรือเพิงผาเป็นการชั่วคราวบ้าง หรือ
บริเวณป่าโปร่งใกล้แหล่งน้�ำบ้าง ไม่ต้ังหลักแหล่งถาวร เร่ิมน�ำหินมาท�ำเป็นเคร่ืองมือในการขุด สับ ตัด
โดยการกะเทาะให้แตกเป็นคมอย่างหยาบๆ ต่อมารู้จักกะเทาะหน้าเดียวให้มีขอบคมมากข้ึนและมี
ขนาดเล็กลง กระทั่งในราว ๕,๐๐๐ - ๗,๐๐๐ ปี จากหลักฐานโบราณคดีพบว่าคนท่ีอาศัยอยู่ตามถ�้ำ
และเชิงเขาในจังหวัดแม่ฮ่องสอน ใช้เคร่ืองมือหินท่ีเร่ิมขัดฝนขอบคมและอาจรู้จักใช้ภาชนะดินเผา
แตเ่ น่ืองจากเปน็ เพียงเศษชิน้ ส่วนเลก็ นอ้ ย จงึ น่าจะเปน็ ของท่รี บั มาจากชุมชนอ่ืน
The civilization of Thailand has flourished since the prehistoric times. It could be
traced back to several thousand million years ago when people lived together as small
families relying on hunting wild animal and gathering natural products for consumption.
Without permanent settlements, prehistoric people tended to make seasonal migrations
dependent on abundant food sources and temporarily resided on cliffs, in caves or
sparse forest areas near water sources. Later, they began to make tools by cracking stone
one-sided to resize it and sharpen the edge. About 5,000 - 7,000 years ago, according
to archaeological evidences, some groups of people living in caves or foothills in Mae
Hong Son Province knew how to use stone tools to scrub sharp edges and use pottery,
but only in a small fraction, probably taken from other communities.

8

9

เม่อื ราว ๔,๐๐๐ - ๕,๐๐๐ ปี ผ้คู นในหลายพ้ืนท่ีของแผน่ ดนิ ไทยอาศยั รวมเป็นชมุ ชนที่มีขนาดใหญ่ข้ึน อยู่บนทีด่ อนใกล้แหล่งนำ้�
มีการเพาะปลูกและเล้ียงสัตว์ ซึ่งน่าจะเป็นความรู้ใหม่ท่ีมาพร้อมกับผู้คนที่เคลื่อนย้ายลงมาจากทางตอนใต้ของจีน ท�ำให้ต้องตั้งบ้านเรือน
เปน็ หลกั แหลง่ เพอื่ คอยดแู ลเกบ็ เกย่ี วพชื ผลและผลผลติ จากสตั วเ์ ลยี้ ง ดงั พบหลกั ฐานการปลกู ขา้ วแบบนาหวา่ น เลย้ี งสตั วเ์ ชน่ ววั ควาย สนุ ขั
ไก่ อย่างไรก็ตาม ยังต้องเข้าป่าล่าสัตว์และหาของป่า บางพ้ืนท่ีจับสัตว์น้�ำในแม่น้�ำล�ำคลองและบางชุมชนที่ต้ังบ้านเรือนใกล้ทะเล ได้อาศัย
จับสัตว์ทะเลเป็นอาหาร ใช้เคร่ืองมือหินแบบใหม่ท่ีมีขอบคมและผิวเรียบที่เรียกว่าขวานหินขัด สวมเคร่ืองประดับท�ำจากหิน เปลือกหอย
กระดกู ปลา กระดูกสัตว์ เขาสตั ว์ เขีย้ วสตั ว์ เชน่ หลกั ฐานการฝงั ศพท่ีแหลง่ โบราณคดีโคกพนมดี จงั หวดั ชลบุรี ซ่ึงตกแตง่ ประดับรา่ งกาย
ด้วยกระดกู ปลาและเปลือกหอยจำ� นวนนับแสนเม็ด ทำ� ภาชนะดนิ เผา ทีม่ ีท้งั ที่ใชใ้ นชวี ติ ประจำ� วันและมลี ักษณะเฉพาะท่ใี ช้ในพิธกี รรม เชน่
ภาชนะแบบมขี า ๓ ขา ในวัฒนธรรมบา้ นเก่า พบทจ่ี งั หวดั กาญจนบุรี และมีประเพณกี ารฝังศพทมี่ ีการตกแต่งรา่ งกายและฝงั สิง่ ของเครอื่ งใช้
เป็นการอุทิศให้แก่ผู้ตายในหลุมศพด้วย ในขณะเดียวกันพบว่าผู้คนในช่วงเวลาน้ี เริ่มรู้จักท�ำเครื่องนุ่งห่ม และรู้จักการเขียนภาพบนผนังถ้�ำ
และเพงิ ผา โดยเปน็ งานศลิ ปะทม่ี จี ดุ ประสงคเ์ พอื่ พธิ กี รรมและการบอกเลา่ เรอื่ งราว และยงั คงทำ� ตอ่ เนอ่ื งไปจนถงึ ปลายยคุ กอ่ นประวตั ศิ าสตร์
Around 4,000 - 5,000 years ago, people lived together in a larger community on dunes close to water sources.
They had plantations and livestock which were possibly a new knowledge derived from migrants who moved down
from the south of China. It was necessary for them to build houses to take care of harvested crops and products from
raised animal, as evident in the rice cultivation and livestock such as cattle, dogs, and chickens. However, they still
had to go to the forests for hunting and gathering food from nature. People in some areas captured aquatic animals
in rivers and canals, while those in some communities near seashores relied on catching sea animals for food and
using stone tools with sharp edges and smooth surfaces, so-called polished stone axes. They wore ornaments made
of stone, shells, fish bones, animal bones, animal horns and fangs. Evidences at Khok Phanom Di archaeological sites
in Chonburi Province show bodies ornamented with hundred thousand of fish bones and shells, the production of
potteries that were used in daily life and in rituals such as 3-legged containers. Ban Kao culture found in Kanchanaburi
Province shows a burial tradition in which the dead body was decorated and buried in the grave with essential utensils,
as a dedication to the dead. At the same time, it is found that people in this period knew how to make clothes and
paint on caves and cliff walls. Such a work of art served ritual purposes and told stories. The activities continued until
the late prehistoric period.

ภาชนะดินเผาสามขา วฒั นธรรมบ้านเก่า ประมาณ ๓,๗๐๐ - ๔,๐๐๐ ปีมาแล้ว จัดแสดงในพิพธิ ภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร
Tripot, Ban Kao Culture, ca 3,700 - 4,000 year. National Museum Bangkok

10

11

กระท่ังเม่อื ราว ๒,๓๐๐ - ๔,๐๐๐ ปมี าแลว้ ชมุ ชนหรอื หมู่บา้ นของผคู้ นยคุ ก่อนประวตั ศิ าสตร์
ทตี่ ้งั หลกั แหล่งถาวรในบางพ้นื ท่ี เช่น ในภาคอีสานท่ีเคยใชเ้ ครอื่ งมอื หินขดั มากอ่ น เกดิ ความร้ใู หมด่ ้าน
โลหะกรรม ซงึ่ อาจไดม้ าจากการเดนิ ทางคา้ ขายแบบแลกเปลยี่ นกบั ชมุ ชนภายนอก รจู้ กั นำ� เอาแรท่ องแดง
และดบี กุ มาหลอมดว้ ยไฟความรอ้ นสงู ถงึ ๑,๒๐๐ องศาเซลเซยี ส จนแรท่ งั้ ๒ ชนดิ รวมกนั เปน็ โลหะสำ� รดิ
ท�ำเปน็ เคร่ืองมอื เครอื่ งใชแ้ ละเครอ่ื งประดับจนเป็นท่ีนิยม เชน่ หวั ขวาน ใบหอก กำ� ไล แหวน ผลิตขน้ึ ใช้
เองและเปน็ สนิ คา้ ซง่ึ แสดงใหเ้ หน็ ถงึ การขยายตวั ของเศรษฐกจิ ชมุ ชนและการตดิ ตอ่ กบั ผคู้ นทอ่ี ยหู่ า่ งไกล
นอกจากนนั้ ยงั พบวา่ มรี ะเบยี บแบบแผนในประเพณกี ารฝงั ศพทซี่ บั ซอ้ นมากขน้ึ ทเ่ี หน็ ไดช้ ดั คอื การผลติ
ภาชนะดินเผาลายเขียนสีแดงแบบวัฒนธรรมบ้านเชียง พบท่ีจังหวัดอุดรธานีและใกล้เคียง ท่ีมีลวดลาย
และรปู แบบหลากหลายฝังอุทิศใหก้ ับผูต้ าย
Around 2,300 - 4,000 years ago, there were permanent settlements of
prehistoric communities or villages. For example, in the northeast Thailand, prehistoric
people used polished stone tools. The new knowledge of metal works could be
transferred from trade exchanges with external communities. They also knew how to
mix copper and tin ore to become bronze by heating the two metals at up to 1,200
degrees Celsius. They used bronze to make tools, equipment, and ornaments that be-
came popular, such as ax heads, spears, bracelets and rings. These were made for self
uses and as products which indicated the expansion of the community’s economy and
contacts with people far away. In addition, the patterns of the burial tradition became
more sophisticated. Obviously, there were the productions of red painted pottery in Ban
Chiang culture, found in Udon Thani Province and nearby. Many designs and patterns
were dedicated to the dead.

ภาชนะดนิ เผาลายเขยี นสีวฒั นธรรมบ้านเชยี ง ประมาณ ๑,๘๐๐ - ๒,๓๐๐ ปีมาแลว้ จัดแสดงในพพิ ธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาติ บ้านเชยี ง
Painted Pot, Ban Chiang Culture, ca 1,800 – 2,300 year. Ban Chiang National Museum

12

13

หลงั จากน้นั ราว ๑,๘๐๐ - ๒,๓๐๐ ปีมาแลว้ ชุมชนเริม่ มีการขยายตัว ตง้ั เป็นชมุ ชนใหม่ ๆ แตไ่ มห่ ่างไกลกนั มากนัก บางชุมชน
เปน็ หมบู่ า้ นขนาดใหญ่ บางชมุ ชนมขี นาดเลก็ และอยบู่ นทดี่ อนนำ�้ ทว่ มไมถ่ งึ ใกลแ้ หลง่ นำ้� บางหมบู่ า้ นเรม่ิ การขดุ คเู พอื่ กกั เกบ็ นำ้� ในภาคอสี าน
และภาคเหนือมปี ระเพณีการฝงั ศพในภาชนะดนิ เผา โดยเฉพาะในวฒั นธรรมทงุ่ กุลาพืน้ ทจี่ งั หวัดร้อยเอด็ จังหวดั สรุ นิ ทร์ และมคี วามรู้ใหม่ ๆ
ในการใช้แร่เหล็ก การถลุงเหล็กด้วยความร้อนสูง รู้จักกรรมวิธีการตีเหล็กข้ึนรูปท่ีซับซ้อน จนได้เครื่องมือประเภทหัวขวาน ใบหอก
มีด ส่ิว ประเภทจอบ เสียม ท่ีมีความแข็งกว่าส�ำริด มาประดิษฐ์เป็นเคร่ืองมือที่มีประสิทธิภาพในการหักล้างถางพง เพื่อท�ำการเพาะปลูก
เลย้ี งสัตว์และเพือ่ การลา่ สัตว์ แต่การทำ� เครือ่ งประดบั ยงั คงทำ� จากส�ำริดที่มดี ีบุกผสมอยใู่ นปริมาณสงู ยงั คงทำ� เคร่ืองประดบั จากเปลือกหอย
ทะเล และเร่ิมรู้จักและท�ำเคร่ืองประดับจากแก้วเพ่ิมมากขึ้น ในช่วงเวลาประมาณพุทธศตวรรษที่ ๖ - ๘ การค้าขายแลกเปล่ียนกับชุมชน
ทหี่ า่ งไกล ขยายตวั ไปถงึ สนิ คา้ ทม่ี าจากเปอรเ์ ซยี โรมนั โดยผา่ นดนิ แดนอนิ เดยี และสนิ คา้ จากจนี ดงั หลกั ฐานประเภทลกู ปดั หนิ และลกู ปดั แกว้
และวัตถุสำ� รดิ รุน่ เก่า และเรมิ่ รบั อารยธรรมในรูปแบบสังคมเมอื งจากดินแดนเหลา่ นั้น โดยเฉพาะดา้ นศาสนา การปกครองระบบผนู้ �ำ การใช้
อกั ษรในการบนั ทกึ การประดบั และตกแตง่ รา่ งกาย สง่ิ เหลา่ นม้ี าพรอ้ มกบั การคา้ ขายทางเรอื ขา้ มทวปี ของโลกในยคุ ประวตั ศิ าสตร์ โดยเฉพาะ
การคา้ ทอ่ี าศยั เสน้ ทางลมมรสมุ ทางทะเล ชมุ ชนทตี่ งั้ ขนึ้ รมิ ฝง่ั ทะเลหรอื ปากแมน่ ำ้� จงึ กลายเปน็ เมอื งทา่ สำ� คญั แตม่ กั จะไมร่ งุ่ เรอื งมน่ั คงเทา่ กบั
เมอื งหลายเมอื งท่ีตงั้ อยู่ในแผน่ ดิน ทตี่ ่อมาบางส่วนได้กลายเปน็ รัฐแรกเร่ิมบนแผ่นดินไทย
About 1,800 - 2,300 years ago, communities began to expand with establishment of new communities, not
far away from the old communities. Some of them were large villages while some communities were small, located
on highlands to avoid floods and near some water sources. Some villages dug canels to store some water. In the
northeastern and northern regions of Thailand, there was a Jar burial tradition. Especially in Thung Kula culture in Roi
Et Province and Surin Province, people gained new knowledge by discovering the use of iron ore. They smelt iron
with high heat and knew the process of casting complicated iron tools such as axe heads, spearheads, knives and
chisels which are stronger than bronze tools. Iron tools were effective in clearing the forest, cultivations, farming and
hunting.However, ornaments were still made of bronze, mixed with a large amount of tin. They continued to make
accessories from seashells and began to utilize glass. Trades were expanded to remote communities to exchange
Romans and Persian products through India as well as Chinese products such as stone and glass beads and old
bronze objects. They began to adopt urban civilizations from those lands, especially in aspects of religion, governance,
leadership systems, inscriptions, body accessories and ornaments. These cultures came along with the commerce
across the world’s continents in the historical era, in particular the trades that relied on the monsoon route by sea.
Communities situated along seashores or river mounts, therefore, became important ports. But they seemed not to
flourish as much as some cities located inland which later became part of the first Thai state.

ต่างหู แหวน และลกู ปดั แก้ว เครอ่ื งประดบั ของรัฐแรกเริม่
Earring, ring and glass beads of the early sate

14

15

ผ่านยุคก่อนประวัติศาสตร์เข้าสู่ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ พบหลักฐานการเร่ิมเผยแพร่เข้ามา
ของพุทธศาสนาโดยเฉพาะในบริเวณภาคกลางของประเทศไทย ที่รู้จักกันในชื่อ รัฐทวารวดี ซึ่งปรากฏ
ในบันทึกการเดินทางของหลวงจีนที่ไปศึกษาพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย เมื่อปลายพุทธศตวรรษ
ที่ ๑๒ และพบจารกึ ภาษาสันสกฤตบนเหรียญเงนิ อ่านไดว้ า่ ศรฺ ที วฺ ารวตี ศฺวรปณุ ยฺ ะ แปลได้วา่ บญุ กศุ ล
ของพระราชาแหง่ ทวารวดี สนั นฐิ านวา่ สพุ รรณบรุ ี หรอื นครปฐม นา่ จะเปน็ เมอื งสำ� คญั หรอื เปน็ ศนู ยก์ ลาง
ของรัฐ เนือ่ งจากพบซากเมืองโบราณขนาดใหญ่
The prehistoric times passed through the historical eras. The arrival of Buddhism
and Brahminism or Hinduism was evident in the central and eastern regions of Thailand,
known as the Dvaravati state, according to the travel journal written by Chinese Buddhist
monks who pilgrimed to study Buddhism in India around late 7th century. Silver coins with
inscriptions were found and read as Sri Dvaravati Savarapunya, which means the merit
of King Dvaravati. Suphanburi or Nakhon Pathom was believed to be an important city
or the center of the kingdom at the time as large ancient city ruins were found there.

พระพทุ ธรูปประทับยืนเหนือพนัสบดี พทุ ธศตวรรษที่ ๑๔ - ๑๕ จดั แสดงใน พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ นครปฐม
Buddha Standing on a Mythical Creature, 9th - 10th century, Nation Museum Phra Pathomchedi

16

17

ศลิ ปะทวารวดี มอี ายอุ ยู่ในชว่ งพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๒ - ๑๖ สว่ นใหญ่สร้างขึ้นเนื่องในพทุ ธศาสนา
นิกายเถรวาท มีศูนย์กลางและเจริญข้ึนในภาคกลาง ในบางพ้ืนท่ีเช่นในภาคตะวันออกพบรูปเคารพใน
ศาสนาพราหมณ์ด้วย แสดงถึงคติความเช่ือของผู้คนในสมัยนั้น จากนั้นเผยแพร่ไปสู่ภาคอีสานมีการ
ผสมผสานกับศิลปะในวัฒนธรรมเขมร และภาคใต้ โดยเฉพาะในเขตจังหวัดสุราษฎร์ธานี ศิลปกรรม
ทโี่ ดดเดน่ ไดแ้ ก่ ธรรมจกั รสลกั จากศลิ าสว่ นใหญพ่ บในภาคกลาง เปน็ สญั ลกั ษณข์ องการประกาศพทุ ธศาสนา
เปน็ ครงั้ แรก คอื ปฐมเทศนา พระพทุ ธรปู ประทบั หอ้ ยพระบาทขนาดใหญ่ ใบเสมาหนิ สลกั ภาพพทุ ธประวตั ิ
ทม่ี ลี กั ษณะผสมผสานระหวา่ งศลิ ปะทวารวดจี ากภาคกลางกบั ศลิ ปะพนื้ เมอื ง พบมากใหแ้ ถบภาคตะวนั ออก
เฉียงเหนือ เช่น ที่เมืองฟ้าแดดสงยาง จังหวัดกาฬสินธุ์ นอกจากน้ันอิทธิพลทางศิลปะทวารวดีจาก
ภาคกลาง ยงั พบในบางพนื้ ท่ขี องภาคเหนือและภาคใตใ้ นช่วงระยะเวลาเดียวกนั ดว้ ย
Dvaravati art had flourished from the 6th to the 11th century, mostly in light of
Theravada Buddhism. It was centered and widely distributed in central Thailand and
further to the northeast region of Thailand, where it blended with Khmer art. It was also
expanded to the south, especially in Surat Thani Province. Outstanding artistic works
include stone carved Dhammacakka (Wheel of Law) mostly found in the central region.
The wheel is the symbol of the first Buddhist teaching announcement by the first
sermon. The seated Buddha in the posture of hanging down feet and large stone Bai
Sema carved with Buddha image were a blend of Dvaravati art from the central region
with local art. The mixed artistic works were mostly found in the northeastern region,
such as at Muang Fa Daet Song Yang, Karasin Province. The influence of Dvaravati art
from the central region was evident in some areas in the north and south of Thailand
during the same period as well.

ธรรมจักรและกวางหมอบ พทุ ธศตวรรษที่ ๑๒ - ๑๓ จัดแสดงในพพิ ธิ ภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร
The Wheel of the Law and a Crouching Deer, 7th - 8th century, National Museum Bangkok

18

19

รัฐท่ีมีความเจริญรุ่งเรืองอยู่ในช่วงเวลาใกล้เคียงกันกับทวารวดี ได้แก่ รัฐศรีวิชัยที่รุ่งเรืองใน
พนื้ ทภี่ าคใต้ของไทย มีอายอุ ยู่ในชว่ งพุทธศตวรรษที่ ๑๓ - ๑๘ ส่วนใหญ่นบั ถือพทุ ธศาสนาฝ่ายมหายาน
มกี ารสร้างศลิ ปกรรม เรยี กวา่ ศลิ ปะศรวี ชิ ยั หรือมนี กั วิชาการบางทา่ นเสนอแนวคดิ เรียกว่าศลิ ปะภาคใต้
หรือ ศิลปกรรมบนคาบสมุทรภาคใต้ มคี วามเกย่ี วข้องกับศิลปะอินเดยี แบบคปุ ตะ หลงั คุปตะ และปาละ
รวมทั้งศิลปะแบบชวา ภาคกลางของประเทศอินโดนีเซีย อาทิ พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร พบท่ีวัด
พระบรมธาตุไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี ถือเป็นประติมากรรมท่ีมีความงดงามมากท่ีสุดช้ินหน่ึงของ
ประเทศไทย ส่วนสถาปตั ยกรรมก็ไดร้ ับรูปแบบมาจากจนั ทหิ รือเจดยี ์ในศิลปะชวา ดังเช่น พระบรมธาตุ
ไชยา เปน็ เจดยี ท์ รงปราสาทขนาดยอ่ มบนฐานสเี่ หลย่ี ม ตอ่ ดว้ ยชนั้ ซอ้ นทจ่ี ำ� ลองจากเรอื นธาตซุ อ้ นลดหลน่ั
กันขึน้ ไป โดยมเี จดยี ์จ�ำลองหรือสถปู กิ ะต้งั ประดับตามมมุ ต่างๆ อายุสมัยราวพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๔ - ๑๕
นอกจากศลิ ปกรรมทเ่ี นอ่ื งดว้ ยพทุ ธศาสนาแลว้ ในบรเิ วณคาบสมทุ รภาคใต้ ยงั พบประตมิ ากรรม
และศาสนสถานในศาสนาฮินดอู กี จำ� นวนไม่น้อย
A prosperous state in a similar period was the Srivijaya stste that had flourished
in the southern region of Thailand from the 8th to 12th century. Most citizens in the
kingdom worshiped Mahayana Buddhism. There was an artistic creation called Srivichai art
or Peninsular Art, which was strongly connected with Indian art’s Kupta, post-Kupta and
Pala, as well as Javanese art in the central region of Indonesia. One of the artistic works
was Phra Bodhisattva Avalokitesvara, found at Wat Phra Borommathat, Chaiya District,
Surat Thani Province, considered one of the most beautiful sculptures in Thailand. The
architecture in this period was also influenced by a Javanese Chanti or stupa, such as
Phra Borommathat Chaiya, ca. 9th - 10th century, which is a small prasat-style stupa on
a square base, in connection with stacking layers of Ruanthat and replicated stupas or
Stupika at various corners.

พระบรมธาตุไชยา จังหวัดสรุ าษฎรธ์ านี
Phra Boramathat Chaiya, Surat Thani

20

21

ย้อนกลับไปเม่ือราวพุทธศตวรรษที่ ๑๒ - ๑๔ ในดินแดนภาคตะวันออกเฉียงเหนือและ
ภาคตะวันออก โดยเฉพาะบริเวณปากแม่น�้ำมูล พบหลักศิลาจารึกท่ีบ่งบอกถึงอิทธิพลทางการเมือง
การปกครองและวัฒนธรรมของเขมรโบราณ ท่ีรู้จักในนามรัฐเจนละและรัฐศรีจนาศะ เช่นการค้นพบ
รปู พระโพธิสตั วส์ �ำรดิ ในพทุ ธศาสนานกิ ายมหายานบรเิ วณบา้ นโตนด อำ� เภอโนนสูง จังหวัดนครราชสมี า
และซากศาสนสถานทบ่ี า้ นดงเมอื งเตย จงั หวดั ยโสธร ปราสาทเขานอ้ ย อำ� เภออรญั ประเทศ จงั หวดั สระแกว้
จดั วา่ เปน็ ศิลปกรรมเขมรในประเทศไทยสมยั กอ่ นเมืองพระนคร
Back to the 7th - 9th century in the northeast Thailand, especially at the mouth of
the Mun River, a stone inscription was found and indicated the political, administrative
and cultural influences of the ancient Khmer known as the state of Chenla and
Sri Canasa. Bronze Bodhisattva in Mahayana Buddhism was found at Ban Tanode, Non
Sung District, Nakhon Ratchasima Province. Ruins of religious monuments were also
discovered at Ban Dong Mueang Toei, Yasothon Province.

ปราสาทพนมรงุ้ จังหวัดบรุ ีรัมย์
Prasat Phnom Rung, Buri Ram

22

23

ต่อมาในช่วงพุทธศตวรรษที่ ๑๖ - ๑๘ เขมรได้ขยายอิทธิพลเข้ามาในดินแดนประเทศไทย
มากขนึ้ ไดส้ รา้ งงานศลิ ปกรรมเรยี กโดยรวมวา่ ศลิ ปกรรมเขมรในประเทศไทย (สมยั เมอื งพระนคร) ภายใต้
อิทธิพลวัฒนธรรมเขมรมีท้ังในศาสนาฮินดูและพุทธศาสนานิกายมหายาน พบหลักฐานบริเวณ
ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ เช่น ปราสาทพมิ าย จงั หวัดนครราชสีมา ปราสาทพนมรงุ้ จงั หวัดบุรรี มั ย์ และ
ภาคตะวันตก เชน่ ปราสาทเมืองสงิ ห์ จงั หวดั กาญจนบรุ ี ภาคกลาง เช่น ปราสาท (ปรางค์) สามยอด
จังหวัดลพบุรี ส่วนประติมากรรมพบพระพุทธรูปทั้งหล่อจากส�ำริดและศิลา มีลักษณะใกล้เคียงกับ
ศิลปะเขมรในประเทศกัมพูชา เช่น สมัยนครวัดมีลักษณะเด่นคือ มีพระพักตร์ส้ันออกเป็นรูปส่ีเหลี่ยม
มพี ระเนตรโปน พระโอษฐ์แบะกวา้ ง พระขนงตอ่ กนั เป็นรปู ปีกกา พระกรรณยาวย้อยลงมามีกระบงั หน้า
และมีกุณฑลประดบั ด้วยเสมอ
Later, during the 11th -14th century, Khmer people expanded their influence into
the state and created artistic works of Khmer culture from both Hinduism and Mahaya-
na Buddhism. Several evidences can be seen in the northeast Thailand, such as Prasat
Phimai in Nakhon Ratchasima Province, Prasat Phanom Rung in Buriram Province, and in
the eastern region of Thailand, such as Prasat Muang Sing in Kanchanaburi Province and
Prasat (Prang) Sam Yod in Lopburi Province. As for sculptures, Buddha images molded
from bronze and stone were found similar to Khmer Art. Distinctive features in Angkor
Wat style were short and rectangular shape face, prominent eyes, wide mouth, connected
eyebrows like crow’s wings, long arms and earrings ornament.

ปราสาทพิมาย จงั หวดั นครราชสมี า
Prasat Phimai, Nakhon Ratchasima

24

25

ส่วนทางภาคเหนอื เมอื งหรภิ ญุ ชัย เป็นเมืองสำ� คญั ตามต�ำนานอาจเกา่ ไปถึงพุทธศตวรรษที่ ๑๓
ตามตำ� นานจามเทวีวงศ์ พงศาวดารเมอื งหริภญุ ชัย ไดก้ ล่าวถงึ ฤาษวี าสเุ ทพสร้างเมอื งหริภุญชัย (ลำ� พูน)
แล้วอญั เชญิ พระนางจามเทวจี ากลวปุระ (ละโว้หรือลพบรุ )ี ข้นึ มาครอง งานศลิ ปกรรมทีโ่ ดดเดน่ ได้แก่
เจดยี ก์ ู่กดุ วดั จามเทวี จงั หวดั ลำ� พูน มฐี านสี่เหล่ียมจตั ุรัสขนาดใหญ่รองรับเรือนธาตทุ ีซ่ อ้ นชน้ั ลดหลั่นข้ึน
ไป ๕ ชน้ั แตล่ ะชน้ั มพี ระพทุ ธรปู ยนื ประดษิ ฐานในจระนำ� ลกั ษณะพระพทุ ธรปู ศลิ ปะหรภิ ญุ ชยั มลี กั ษณะ
ทอ้ งถนิ่ ทรี่ บั อทิ ธพิ ลทางศลิ ปะจากศลิ ปะทวารวดภี าคกลาง อทิ ธพิ ลศลิ ปะเขมรและศลิ ปะพกุ ามของพมา่
โดยรวมแล้วพระเศียรมีขนาดค่อนข้างใหญ่ พระโอษฐ์และริมพระโอษฐ์หนา พระเนตรโปน พระพักตร์
ถมึงทึงและมีพระมัสสุ ส่วนใหญ่โกลนด้วยศิลาแลงแล้วปั้นแต่งด้วยปูน แสดงถึงความช�ำนาญในเชิงช่าง
ชนั้ สงู และชว่ งปลายของศิลปะหริภุญไชยก�ำหนดอายจุ นถงึ พุทธศตวรรษท่ี ๑๗ - ๑๘
In the north of Thailand, Hariphunchai was an important city during the 8th - 12th
century, according to the Chronicle of the Lineage of Camadevivamsa, a hermit named
Vasudeva built the city of Hariphunchai (Lamphun) and invited Queen Camadevi from
Devapura (Lavo or Lopburi) to rule over Hariphunchai. Excellent artistic works include
Chedi Kukut of Wat Chama Thewi in Lamphun Province. There is a large square base
supporting five square tiers of diminishing size. Each tier enshrines Buddha images standing
in arches with characteristics of Hariphunchai art, influenced by Davaravati and Burma’s
Bagan art. Head of the Buddha image is quite large with thick mouth and lips, prominent
eyes, serious face and mustache. Most of them were casted by laterite and sculpted with
cement exhibiting an excellent level of expertise, and dating back to 12th - 13th century.

พระเจดีย์กู่กดุ วดั จามเทวี จังหวัดลำ� พนู
Stupa at Wat Chammadevi, Lamphum

26

27

หลงั จากนน้ั ตง้ั แตเ่ รม่ิ พทุ ธศตวรรษท่ี ๑๙ เปน็ ชว่ งทม่ี ขี อ้ มลู ลายลกั ษณอ์ กั ษรไทยบนั ทกึ ประวตั ศิ าสตร์
กล่าวถึง เมืองสุโขทัยเป็นศูนย์กลางของคนไทยบริเวณลุ่มแม่น้�ำยมตอนล่าง ราชธานีสุโขทัยได้รับการ
สถาปนาข้นึ ราวต้นพทุ ธศตวรรษที่ ๑๙ เรมิ่ ด้วยรชั กาลพ่อขุนศรีอินทราทิตยพ์ ระราชบิดาของพ่อขุนราม
ค�ำแหง ผู้คิดประดิษฐ์อักษรไทย มีกษัตริย์ปกครองสืบต่อมาประมาณ ๒๐๐ ปี ข้อความจากศิลาจารึก
หลักที่ ๑ กล่าวถึงผู้คนในเมืองสุโขทัยเล่ือมใสศรัทธาในพระพุทธศาสนา ผู้คนมีส่วนร่วมในการสร้าง
บญุ กศุ ล งานศลิ ปะในสมยั สโุ ขทยั ทโ่ี ดดเดน่ ไดแ้ ก่ สถาปตั ยกรรม ทว่ี ดั พระศรมี หาธาตเุ จดยี ท์ รงดอกบวั ตมู
หรอื ทเี่ รยี กวา่ เจดยี ท์ รงพมุ่ ขา้ วบณิ ฑ์ มลี กั ษณะสว่ นเรอื นธาตสุ งู ขนึ้ ไปคลา้ ยปราสาทแบบสถาปตั ยกรรมเขมร
ผสมผสานกับเจดีย์ทรงระฆังท่ีไม่มีบัลลังก์คล้ายศิลปะพุกาม มีลวดลายกลีบบัวที่องค์ระฆังโดยรอบ
ส่วนพระพุทธรูปท่ีเป็นเอกลักษณ์เฉพาะหรือหมวดใหญ่ คือ พระพักตร์รูปไข่ พระรัศมีรูปเปลว
ทรงห่มจีวรเฉียง ชายจีวรยาวลงมาถึงพระนาภีปลายคล้ายเข้ียวตะขาบมีความงดงามมากในเชิง
ประตมิ ากรรม อยา่ งไรกต็ ามเทวรปู ในศาสนาพราหมณ์ สมยั สโุ ขทยั ลว้ นแตม่ คี วามงดงามในแนวเดยี วกนั
Afterwards, from the beginning of the 14th century, it was the period of clear
historical records about Thai nation’s capital city, Sukhothai, established around the
14th century. Sukhothai started in the reign of King Khun Si Indrathit, father of King
Ramkhamhaeng, who created the Thai alphabet. Sukhothai had a twin city, Si Satchanalai,
while Kamphaeng Phet was a fortress city and Phitsanulok was an important city. Texts
from the stone Inscription No. 1 described Sukhothai residents as people who had faith
in Buddhism and involved in making merit. Outstanding artistic works in the Sukhothai
period include the architecture of the lotus-bud shaped stupa at Wat Phra Sri Mahathat
Temple. The stupa has a high body (Ruanthat) like Khmer art, blended with the Bagan
art’s bell-shaped pagoda without a throne, but a lotus leaf pattern around the bell body.
The Buddha image in this period is unique by the oval face, flame-shaped radius, long
monk’s robe with the edge like centipede fang shaped pliers, considered very beautiful
in terms of sculptures. Nevertheless, Brahmanism’s sculptures in the Sukhothai period
are all in the same beauty.

เจดียพ์ ุ่มข้าวบณิ ฑ์ วัดตระพงั เงนิ ศิลปะสโุ ขทยั พุทธศตวรรษท่ี ๑๙
Lotus - Bud shape stupa at Wat Traphang Ngoen, Sukhothai, 14th century

28

29

บรเิ วณภาคเหนอื ตอนบน ราชธานเี ชยี งใหมเ่ ปน็ ราชธานที สี่ รา้ งขนึ้ โดยพญามงั ราย พระองคเ์ สดจ็
จากเมืองเชยี งรายลงมายึดเมอื งหรภิ ญุ ชยั ในราวพุทธศกั ราช ๑๘๓๕ หลงั จากน้นั เม่อื พุทธศกั ราช ๑๘๓๗
จงึ เสดจ็ ไปประทบั ทเี่ วยี งกมุ กาม อกี สองปตี อ่ มาพระองคจ์ งึ เสดจ็ ไปสรา้ งราชธานเี ชยี งใหม่ ราชธานแี หง่ นม้ี ี
การเชอ่ื มไมตรกี บั ราชธานสี โุ ขทยั ดว้ ยพทุ ธศาสนา ในสมยั พระพญากอื นา กษตั รยิ ล์ ำ� ดบั ท่ี ๖ ในพทุ ธศกั ราช
๑๙๑๒ พระองคท์ รง ขอพระยาศรธี รรมราช (พญาลิไท) แหง่ กรงุ สุโขทยั ใหพ้ ระสมุ นเถระ ซงึ่ กลบั จาก
เมืองพันทาง ตอนใต้ของเมืองพุกาม ข้ึนไปสอนพุทธศาสนาแบบลังกาวงศ์ในล้านนา อันเป็นจุดเริ่มต้น
ของการน�ำความเจริญรุ่งเรืองของพุทธศาสนาในเมืองเชียงใหม่ในระยะต่อมา ศิลปกรรมท่ีสร้างขึ้นใน
ระยะแรกจึงเกี่ยวเน่ืองกับพุทธศาสนาเช่นกัน เรียกว่าศิลปะล้านนาหรือแต่เดิมเรียกศิลปะเชียงแสน
มีพื้นฐานเชื่อมโยงกับศิลปะพม่าสมัยราชธานีพุกาม ซึ่งมีอิทธิพลของศิลปะอินเดียแบบปาละ - เสนะ
พระพทุ ธรปู ลา้ นนามพี ฒั นาการแตกตา่ งกนั ตามระยะเวลาและพนื้ ทท่ี ส่ี รา้ ง แตก่ ลมุ่ ทม่ี ลี กั ษณะทโ่ี ดดเดน่ คอื
พระวรกายอวบอ้วน มักประทบั ขัดสมาธเิ พชรเหนือปทั มาสน์ รัศมีเปน็ รูปดอกบวั ตูม ตอ่ มาพระพทุ ธรูป
ล้านนาหรือเชียงแสนรุ่นหลังได้รับเอาลักษณะของพระพุทธรูปสุโขทัยเข้ามาผสม คือ พระวรกาย
อวบอว้ นน้อยลง เคา้ พระพักตรร์ ปู ไข่ พระรัศมีรปู เปลว และชายจีวรยาวลงมาจรดพระนาภี นิยมท�ำฐาน
เจาะชอ่ งโปรง่ หรือมขี าที่เกดิ จากสายชนวน
Chiang Mai was the northern capital built by Phaya Mangrai, who came from
Chiang Rai to seize Hariphunchai in 1292 and 1294. He resided at Wiang Kum Kam
before building Chiang Mai as a capital two years later. This capital city stayed in a good
relationship with Sukhothai. In the period of Phaya Kue Na, the sixth king of Sukhothai,
in 1369, he requested Phraya Sri Thammarat (Phaya Lithai) of Sukhothai to allow Phra
Sumon Thera, who just returned from studying Lankawong Theravada Sect of Buddhism
in Phanthang city, south of Bagan, to teach Buddhism in Lanna. It was the beginning of
the Buddhism introduction in Chiang Mai and brought the prosperity to the city in later
periods.The artistic works created in the earlier times also related to Buddhism, called
Lanna Art or Chiang Saen Art, which based on and linked to Burmese art in the Bagan
period which were related to Indian art. The outstanding elements of Chiang Saen Buddha
image in later times were less plump body, oval face, long robes down to the bowels.

เจดีย์วดั พระธาตุหริภุญชยั จังหวดั ล�ำพนู
Wat Phrathat Haripunchai, Lamphum

30

31

สถาปัตยกรรมล้านนาส่วนใหญ่จะก่ออิฐ ฉาบปูน บางองค์หุ้มจังโกแล้วลงยางรัก เพื่อ
ปดิ ทองคำ� เปลว รปู แบบหลกั แบบออกเป็น ๓ ประเภท คอื แบบทเ่ี รียกว่า เจดยี ท์ รงปราสาทยอด ได้แก่
เจดยี ว์ ดั ปา่ สกั เจดยี ท์ รงปราสาททม่ี หี า้ ยอด มฐี านซอ้ นลดหลน่ั รองรบั เรอื นธาตสุ เี่ หลย่ี ม มจี ระนำ� ประจำ�
ด้านทง้ั สี่ของเรอื นธาตปุ ระดษิ ฐานพระพทุ ธรูปยนื และแบบที่เรยี กว่า เจดียท์ รงระฆัง ดังเชน่ พระธาตุ
หรภิ ญุ ชยั จงั หวดั ลำ� พนู อนั เปน็ เอกลกั ษณข์ องศลิ ปะลา้ นนา และไดแ้ พรห่ ลายลงไปสรา้ งในกรงุ ศรอี ยธุ ยา
ดว้ ย นอกจากนย้ี งั มเี จดยี แ์ บบอน่ื ๆ เชน่ เจดยี ก์ เู่ ตา้ ทว่ี ดั กเู่ ตา้ จงั หวดั เชยี งใหม่ ซง่ึ ไดร้ บั แรงบนั ดาลใจมาจาก
เจดีย์ทรงระฆัง แต่ก่อให้เป็นช้ันลูกกลมซ้อนลดหล่ันกันข้ึนไป ประดับด้วยกระเบ้ืองสี ส่วนจิตรกรรม
หลงเหลืออยู่น้อยมาก เป็นเพราะส่วนใหญ่เขียนประดับอยู่ตามผนังวิหาร ผนังไม้ เมื่อช�ำรุดต้องมีการ
ปฏสิ งั ขรณห์ รอื รอื้ สรา้ งใหม่ จงึ เหลอื หลกั ฐานเฉพาะงานรนุ่ หลงั ตวั อยา่ งเชน่ จติ รกรรมฝาผนงั ทว่ี หิ ารลายคำ�
วดั พระสงิ ห์ จงั หวดั เชยี งใหม่ และทผ่ี นงั วหิ ารจตั รุ มขุ ของวดั ภมู นิ ทร์ จงั หวดั นา่ น ซงึ่ เขยี นขน้ึ ในราวครง่ึ แรก
ของพทุ ธศตวรรษท่ี ๒๕ แม้ว่าลา้ นนาจะผนวกเขา้ กับกรุงรัตนโกสนิ ทรอ์ ย่างสมบรู ณใ์ นสมยั รชั กาลที่ ๕
แตร่ อ่ งรอยของงานศลิ ปกรรมลา้ นนา ยงั คงแสดงใหเ้ หน็ ถงึ เอกลกั ษณท์ ส่ี รา้ งสรรคส์ บื ตอ่ มาจวบจนปจั จบุ นั
Most of the architectures in the Lanna period were made of brick, covered in
cement. Some of them were covered by brass and then coated with lacquer and gold
leaves. There are 3 types of chedi (stupas): chedi topped with prasat, such as Chedi Wat
Pa Sak, featuring five tops and cascading bases that support the square relics body with
arches enshrining standing Buddha images; and bell-snapped chedi such as Phra That
Hariphunchai, Lamphun Province, regarded as the identity of Lanna art and became
widespread in Ayutthaya. There are also other chedi, such as Chedi Ku Tao at Wat Ku
Tao in Chiangmai Province, which was inspired by the bell-shaped chedi but spherical
tiers were molded and decorated with colored tiles. The paintings remain very few as
most of them were adorned on the walls of temples. Wooden walls needed renovations
when damaged. Therefore, evidences are left only paintings in later generations, such
as the murals at Wihan Lai Kham, Wat Phra Singh Temple in Chiang Mai Province and
murals on the wall of the tetrahedron Wihan of Wat Phumin in Nan Province, which was
painted in the first half of the 20th century. Although Lanna was completely integrated
with Rattanakosin during the reign of King Rama V, Lanna art still shows the trace of
creative identity that has continued until now.

จิตรกรรมทผี่ นงั วิหารวัดภมู นิ ทร์ จังหวดั นา่ น
Mural painting of Wat Phumin, Nan

32

33

ในดินแดนภาคกลาง ท่ีราบลุ่มแม่น้�ำเจ้าพระยา ชุมชนคนไทยก่อก�ำเนิดกรุงศรีอยุธยาเป็น
ราชธานีอนั ย่ิงใหญ่มอี ายยุ าวนานถงึ ๔๑๗ ปี สถาปนาโดยสมเดจ็ พระรามาธิบดีท่ี ๑ (พระเจ้าอทู่ อง) ใน
พุทธศักราช ๑๘๙๓ มีลักษณะเป็นเกาะซ่ึงมีแม่น้�ำล้อมรอบ และมีแม่น้�ำเจ้าพระยาเชื่อมต่อไปถึงทะเล
อา่ วไทย ทำ� ใหอ้ ยธุ ยากลายเปน็ เมอื งทา่ ศนู ยก์ ลางการคา้ ขายกบั ชาวตา่ งชาติ ศลิ ปกรรมพระพทุ ธรปู อยธุ ยา
นิยมแบ่งได้เป็น ๓ ระยะ คือ ระยะต้นยังมีเค้าของศิลปะทวารวดีและศิลปะเขมรในประเทศไทย โดย
รวมศลิ ปะทเ่ี รยี กวา่ อทู่ องไวด้ ว้ ย ระยะกลางเปน็ แบบอยธุ ยาแทจ้ รงิ และปรากฏพระพทุ ธรปู ทรงเครอื่ งนอ้ ย
ส่วนระยะปลายมีการสร้างพระพุทธรูปนิยมสร้างแบบทรงเครื่องมีทั้งทรงเคร่ืองน้อยและทรงเครื่องใหญ่
คอื มีเครอ่ื งประดับแบบเครือ่ งทรงกษตั ริย์ ประกอบดว้ ยมงกุฎทรงสูง (พระมหามงกุฎ) ประดับกรรเจยี ก
กุณฑล กรองศอ สังวาล พาหุรัด ทองพระกร และทรงพระบาท บางคร้ังมีการฝังกระจกสีหรืออัญมณี
ทง่ี ดงาม เชน่ พระประธานวดั หน้าพระเมรุ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
In the central region on the Chao Phraya River basin, Ayutthaya, the great capital
of the region, had lasted for 417 years. The capital was founded by King Ramathibodi 1
(King U-thong) in 1350. As an island surrounded by rivers, Ayutthaya became a trading
center with foreigners and completely integrated with Sukhothai and its satellite states
in the beginning of the 16th century. The outstanding artistic works include the creation
of Crowned Buddha as well as Crowned and Bejeweled Buddha. The latter is a Buddha
image ornamented with king regalia, consisting of a high crown (Phra Maha Mongkut), ear
cuffs (Kanchiek), earrings (Kunton), necklaces (Krongsoe), breast chains (Sangwal), bracelets
(Phahurat), bangles, shoes, often decorated with colored mirror glass and gemstone, such
as the principal Buddha at Wat Na Phra Men, in Phra Nakhon Si Ayutthaya Province.

พระพทุ ธรูปทรงเคร่อื ง ปางมารวิชัย ศลิ ปะอยธุ ยาตอนปลาย พุทธศตวรรษท่ี ๒๓ - ๓๔ จัดแสดงในพิพธิ ภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร
Crowned Buddha Subduing Mara, Late Ayutthaya 18th - 19th century, National Museum Bangkok

34

35

สถาปัตยกรรมรูปแบบปรางค์ ถือเป็นส่ิงก่อสร้างท่ีส�ำคัญ ปรางค์จะเป็นเจดีย์ประธานของวัด
หลายแห่งในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น สืบทอดรูปทรงและแผนผังมาจากปรางค์รุ่นปลายพุทธศตวรรษ
ท่ี ๑๘ ท่ีวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ จังหวัดลพบุรี ท่ีเป็นพ้ืนที่ส�ำคัญของรัฐละโว้หรือลวะปุระ ตัวอย่าง
พระปรางคศ์ ลิ ปะอยธุ ยาตอนตน้ เชน่ ปรางคป์ ระธานวดั ราชบรู ณะ ภายในกรปุ รางคพ์ บโบราณวตั ถลุ ำ�้ คา่
มที ง้ั พระบรมสารรี กิ ธาตุ เครอื่ งทอง เครอื่ งราชปู โภค พบว่าเคร่ืองทองบางชน้ิ มีลวดลายของศิลปะมสุ ลิม
พระพิมพ์บางองค์มีอักษรจีน และพบเหรียญเงินท่ีมีอักษรภาษาอาหรับร่วมอยู่ด้วย ส่วนเจดีย์ทรงระฆัง
แบบมเี สาหานเหนือบลั ลังก์ เป็นลักษณะเฉพาะทีแ่ ตกต่างจากคร้งั สโุ ขทยั
Prang is considered an important architectural style, as principle stupas of many
temples in the early Ayutthaya period. They were inherited from the early pagoda of Wat
Phra Sri Rattana Mahathat, Lopburi Province, which was an important area of ​L​ avo state
or Lawapura. The layout map was also borrowed from the temple. For instance, inside
the principle pagoda of Wat Ratchaburana, precious artifacts such as golden wares and
royalties were found. Some gold pieces with Muslim art patterns and silver coins with
Arabic letters were also found.

พระปรางคว์ ดั ราชบูรณะ สรา้ งในสมัยสมเดจ็ พระบรมราชาธิราชท่ี ๒ (เจ้าสามพระยา) พ.ศ. ๑๙๖๗
Wat Ratchaburana (1424), Ayutthaya

36

แผน่ ดุนทองค�ำรูปพระพทุ ธรูป ศลิ ปะอยธุ ยา พุทธศตวรรษท่ี ๒๐ จัดแสดงในพิพธิ ภณั ฑสถานแห่งชาติ เจา้ สามพระยา
Golden Votive tablet Buddha lmage, 15th Century, Chao Sam Phraya National Museum, Ayutthaya

37

พระบรมสารรี ิกธาตุ
พบในกรุพระเจดยี ์ศรสี รุ โิ ยทัย จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา
จัดแสดงใน พพิ ธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาติ เจ้าสามพระยา
The relic of the Lord Buddha was found
at Phra Chedi Sri Suriyothai
Chao Sam Phraya National Museum,
Ayutthaya

38

39

นอกจากนีย้ งั มีเจดียท์ รงระฆังสเี่ หลีย่ ม (ยอ่ มมุ ) เป็นการแตกมมุ ใหญแ่ ตล่ ะมมุ ใหเ้ ปน็ มุมยอ่ ย ๆ
มุมที่แตกออกให้มีขนาดเท่า ๆ กัน อันเป็นเอกลักษณ์ของสถาปัตยกรรมสมัยกรุงศรีอยุธยา เช่น เจดีย์
ศรีสุริโยทัย ที่สร้างในสมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ และเจดีย์ท่ีวัดไชยวัฒนาราม ส่วนอาคารหลังคา
คลุม เช่น อุโบสถ วิหาร มักจะมีการเจาะช่องแสงคล้ายช่องลูกกรง ต่อมาในสมัยปลายจึงมีการเจาะ
ช่องหน้าต่างเป็นรูปส่ีเหล่ียมผืนผ้า โดยมีบานหน้าต่างส�ำหรับเปิด - ปิด เน่ืองจากกรุงศรีอยุธยาเป็น
เมืองท่า มีการติดต่อค้าขายกับชาวต่างชาติ ท้ังชาติตะวันออกและตะวันตก จึงรับวัฒนธรรมของ
ชาวยุโรปและเปอร์เซียเข้ามาผสมผสานด้วย โดยเฉพาะทางด้านสถาปัตยกรรมที่สร้างข้ึนในสมัย
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ดงั เชน่ พระนารายณ์ราชนิเวศน์ จงั หวดั ลพบรุ ี
In addition, there is a square bell-shaped pagoda (recesses), which divides each
of big corners to be a sub-angle in the same size. This unique architectural style in the
Ayutthaya period can be seen at Chedi Srisuriyothai, built in the reign of King Maha
Chakkraphat, and the chedi of Wat Chaiwatthanaram. As for roofs, those of temple halls
and chapels were usually pierced for making light channels similar to grilles. In late
Ayutthaya, rectangular windows were built for opening and closing. As Ayutthaya was a
port city and contacted with foreigners from the eastern and western parts of the world,
the capital adopted some European and Persian culture, especially for the architectures
built during the reign of King Narai the Great, such as Phra Nara Ratchaniwet in Lopburi
Province.

วดั ไชยวัฒนาราม จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา
Wat Chai Watthanaram, Ayutthaya

40

41

ส�ำหรับจิตรกรรมที่เขียนประดับอยู่ที่ผนังอุโบสถและวิหาร นิยมเขียนเร่ืองราวในพุทธศาสนา เช่น ชาดก พุทธประวัติ ไตรภูมิ
เขียนภาพในลักษณะอุดมคติ ใช้สีขาว ด�ำ แดง เป็นหลัก ตัดเส้นขอบนอกและรายละเอียดภายใน นิยมปิดทองท่ีภาพสถาปัตยกรรมและ
ภาพตัวเอก เหลือหลกั ฐานในสมยั ปลายอยบู่ า้ งทีต่ �ำหนักพระพทุ ธโฆษาจารย์ วัดพทุ ไธสวรรย์ และบริเวณหัวเมอื งต่าง ๆ เช่น วัดช่องนนทรี
จังหวัดนนทบุรี วัดเกาะแก้วสุทธาราม จังหวัดเพชรบุรี นอกจากน้ียังพบการเขียนภาพบนสมุดข่อยหรือท่ีเรียกว่า สมุดไทย เหลืออยู่ตาม
วัดดว้ ย สว่ นงานประณตี ศลิ ปใ์ นสมยั อยธุ ยานั้นมีความงดงามและประณีตมาก แสดงให้เห็นถงึ ฝีมือช่างชน้ั สงู ดังเช่น เครื่องทองตู้ลายรดนำ้�
ฝีมือครวู ดั เชงิ หวาย ท่ีมีการเขียนผกู ลายไทยสอดผสานกบั ภาพธรรมชาตไิ ด้อย่างงดงาม และอีกสิ่งหนง่ึ ทีน่ ่าสนใจ คือ เครือ่ งถ้วยเบญจรงค์
หรือเคร่ืองห้าสี อายุช่วงพุทธศตวรรษท่ี ๒๒ - ๒๓ ท่ีเขียนข้ึนโดยช่างไทยแต่ส่งไปผลิตที่จีน มีท้ังที่ส่ังท�ำท่ีเมืองจิงเต๋อเจิ้น มณฑลเจียงซี
เป็นศูนย์กลางของเครื่องปั้นดินเผาที่เก่าแก่มากท่ีสุดแห่งหนึ่งของจีน รวมถึงมณฑลฝูเจี้ยน และกวางตุ้ง ผลงานศิลปกรรมในสมัยอยุธยา
ยงั เปน็ แมแ่ บบใหก้ ับช่างฝีมือในสมยั ต่อ ๆ มา
For mural paintings on temple walls, Buddhist stories were popularly painted, such as stories of allegory,
Buddhist history and triphum. Murals were painted in an ideal way, mainly using white, black, while colors to bold
the lines of outer edges and interior details. Some architectures and stellar murals were covered with gold leaves,
according to late Ayutthaya evidences. Examples include Phra Buddha Kosa Palace, Wat Phutthai Sawan, and those in
various districts such as Wat Chong Nonsi in Nonthaburi Province and Wat Ko Kaew Suttharam in Phetchaburi Province.
In addition, paintings on Samut Khoi or Samut Thai (folding-book manuscript) were also found in several temples. The
artistic works in the Ayutthaya period are very beautiful and exquisite, demonstrating the high level of craftsmanship,
such as gold ornaments watering-pattern cabinets created by masters of Wat Choeng Wai. The cabinets showcase
Thai patterns in excellent combinations with natural images. Another interesting craftwork is the Benjarong cup or
five colored ceramics porcelain during the 17th - 18th century. Benjarong was designed and painted by Thai masters,
but sent to China for production. Jingdezhen in Jiangxi Province was the oldest pottery center in China, while Fujian
and Kwangdong Provinces were also pottery centers. Works of art in the Ayutthaya period remain as models of
craftsmanship in later periods.

เครื่องถว้ ยเบญจรงค์ ศลิ ปะอยธุ ยา ถึงศิลปะรัตนโกสินทร์ตอนต้น พทุ ธศตวรรษท่ี ๒๓ - ๒๔
Bencharong ware, Ayutthaya to early Rattanakosin, 18th - 19th century

42

43

สบื เนอ่ื งมาในสมยั กรงุ ธนบุรี หลังจากเสียกรงุ ศรอี ยุธยาครัง้ ที่ ๒ สมเดจ็ พระเจ้าตากสนิ มหาราช
ทรงน�ำผู้คนอพยพลงมาทางใต้ มาต้ังบ้านเมืองอยู่ท่ีใกล้ปากแม่น้�ำเจ้าพระยา สถาปนากรุงธนบุรี เป็น
ราชธานรี ะยะเวลา ๑๕ ปี ดว้ ยระยะเวลานนั้ ยงั อยรู่ ะหวา่ งการศกึ สงคราม งานศลิ ปกรรมจงึ มเี พยี งสว่ นนอ้ ย
แต่สืบเนื่องมาจากฝีมือช่างอยุธยา เช่น การเขียนสมุดภาพถ่ายทอดวรรณกรรมเรื่องไตรภูมิ มีรูปแบบ
สืบทอดมาจากจติ รกรรมสมัยอยธุ ยา รวมถึงการบรู ณปฏิสังขรณว์ ัดบางแหง่ ด้วย
Next, in the Thonburi period after the second fall of Ayutthaya kingdom, King
Taksin the Great led people to the south near the mouth of the Chao Phraya River and
established Thonburi as a temporary capital for 15 years. Outstanding Thonburi’s fine
arts include books of paintings which conveyed Triphum (Three Worlds) literature, using
patterns inherited from paintings in the Ayutthaya period.

สมดุ ไตรภูมิ สมยั กรุงธนบุรี
A Thai Manuscript “Traibhumikatha”, Thonburi Period, 18th century

44

45

ต่อมาพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลท่ี ๑ ทรงปราบดาภิเษกเป็น
พระปฐมบรมราชวงศ์จักรี ได้สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์หรือกรุงเทพฯเป็นราชธานี เม่ือพุทธศักราช
๒๓๒๕ โดยย้ายพระนครมาฝั่งตะวันออกของแม่น้�ำเจ้าพระยา เน่ืองจากทรงเห็นว่าจะป้องกันข้าศึก
ได้ง่าย พระองค์มีพระราชด�ำริท่ีจะสร้างพระราชนิเวศน์มณเฑียรสถานข้ึนเป็นท่ีประทับข้ึนใหม่ โดยได้
แบบอย่างมาจากพระนครศรีอยุธยาราชธานีเก่า โปรดให้สร้างวัดพระศรีรัตนศาสดารามในพระบรม
มหาราชวัง และอัญเชิญพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร (พระแก้วมรกต) จากพระราชวังเดิมกรุงธนบุรี
มาประดิษฐาน ยงั พระอารามที่สรา้ งใหม่
After the end of Thonburi, Phra Bat Somdet Phra Phutthayotfa Chulalok the
Great, known as King Rama I, ascended to the throne as the first King of the Chakri
Dynasty and established Rattanakosin or Bangkok as the capital in 1782 by moving to the
east bank of the Chao Phraya River. His Majesty oversaw it as a better strategic location
to protect the capital from enemies. The King Rama I also had the royal order to build
the Monthien Palace, modelled after the Ayutthaya palace. The King also commanded
to build the Temple of the Emerald Buddha in the Grand Palace and installed Phra Putta
Maha Mani Ratana Patimakorn (Emerald Buddha) from the former palace of Thonburi to
enshrine in the newly constructed monastery.

พระพทุ ธมหาณีรัตนปฏิมากร
The Emerald Buddha

46

47

กรุงรัตนโกสินทร์เมื่อแรกสร้างนั้น มีก�ำแพงและคูเมืองล้อมรอบ มีการสร้างป้อมปืนตามแนว
ก�ำแพง พระนคร ดังเชน่ ป้อมพระสเุ มรุ ป้อมมหากาฬ ป้อมมหาไชย มกี ารขดุ คลองขนึ้ ท้งั ในและรอบกรุง
การคมนาคมในสมยั นน้ั สว่ นใหญอ่ าศยั แมน่ ำ�้ ลำ� คลองเปน็ หลกั ประชาชนตง้ั บา้ นเรอื นอยตู่ ามรมิ ฝง่ั แมน่ ำ�้
เจ้าพระยา ส่วนการคมนาคมทางบก มีการตัดถนนที่มีลักษณะเป็นถนนดินหรือปูด้วยอิฐ จนกระท่ัง
ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีการเปลี่ยนแปลงด้านนโยบายด้านการต่างประเทศ
คร้ังใหญ่ โดยเปดิ ประเทศให้ชาวต่างชาติ เขา้ มารบั ราชการ อยูอ่ าศยั และค้าขาย ในสมยั พระบาทสมเดจ็
พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั ทรงปฏิรปู ประเทศดา้ นต่าง ๆ ท้งั การบรหิ ารราชการแผน่ ดิน สาธารณูปโภค
และสาธารณปู การตา่ ง ๆ มกี ารก่อสรา้ งสถานท่ีราชการ อาคาร บ้านเรอื นแบบตะวนั ตก มยี า่ นการคา้
ของชมุ ชนต่าง ๆ เพิม่ ขนึ้ มาทั้งชุมชนชาวจีน ชาวยุโรป ชาวอนิ เดีย เป็นตน้ จากนน้ั กรงุ รตั นโกสินทรม์ ี
การพัฒนาบา้ นเมืองอยา่ งต่อเนื่องมาจนถงึ ปจั จุบัน ได้กลายเปน็ เมือง “มหานคร” ทเ่ี ป็นศูนย์กลางความ
เจรญิ ของประเทศในทกุ ๆ ดา้ น ทง้ั ยงั เป็นเมอื งแห่งจดุ หมายปลายทางของคนทวั่ โลก
In the early period of building Rattanakosin capital, there were walls, surrounding
ditches and turrets built along the city wall, such as Phra Sumen Fort, Mahakan Fort,
Mahachai Fort. Canals were also excavated throughout the city. Transportation in those
old days was mainly based on rivers and canals as people clustered along the banks
of the Chao Phraya River. Land transportation were facilitated by soil and brick roads.
Until a great change in the foreign policy was introduced in the reign of King Mongkut,
the country was open to welcome foreigners to trade, live and serve as government
officers. Modernization of Thailand began in the reign of King Chulalongkorn, through
many development projects such as the railway construction, telephone and utilities
development throughout the country. There were more construction of government
buildings, western-style houses and architectures, also a greater number of commercial
areas of v​​ arious communities from China, Europe, India and others. Since then, Rattana-
kosin has continuously developed and become a “metropolis”, which is the center of
the country’s prosperity in all aspects and the world’s destination.

วัดพระศรีรตั นศาสดาราม
The Temple of the Emeral Buddha

48


Click to View FlipBook Version