The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

มรดกศิลป์แผ่นดิน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

มรดกศิลป์แผ่นดิน

มรดกศิลป์แผ่นดิน

49

ศิลปกรรมใ น สมัยรัตนโกสินทร์ในยุคต้น ได้สืบทอดรูปแบบมาจากศิลปะในสมัยอยุธยา
ท้ังพระราช วัง วัดวาอาราม พระพุทธรูป จิตรกรรมและงานประณีตศิลป์ประเภทต่างๆ สมัย
พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั โปรดใหเ้ รม่ิ สรา้ งพระปรางคข์ นึ้ ทวี่ ดั อรณุ ราชวราราม แตม่ าแลว้
เสร็จในสมั ย พระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัวมีการบูรณะครั้งใหญ่ในสมัยรัชกาลพระบาท
สมเด็จพระจุ ลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงมีลักษณะงดงามดังท่ีเห็นในปัจจุบัน สมัยพระบาทสมเด็จ
พระน่ังเกล้ าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๓ เป็นยุคที่มีความสัมพันธ์ทางด้านการค้าอันแนบแน่นกับจีน ส่งผล
ให้งานศิลป ก รรมไทยได้รับอิทธิพลจากจีนอย่างมาก ดังเช่น พระอุโบสถวัดราชโอรส พระองค์โปรดให้
ออกแบบเป็น เ สาสี่เหล่ียมเรียบง่าย ไม่มีบัวหัวเสา จ่ัวไม่มีช่อฟ้า ใบระกา หางหงส์ ประดับตกแต่ง
ด้วยกระเบอ้ื งเคลอื บหลากสสี นั แต่การปน้ั หล่อพระพุทธรูปยังคงเปน็ แบบไทย มพี ระพกั ตรท์ ี่แสดงความ
สงบนง่ิ เรียกว่า “พระพกั ตรอ์ ยา่ งหุ่น”
Fine arts in the early Rattanakosin period inherited the forms from the Ayutthaya
art, inclu d ing palaces, temples, Buddha images, paintings and artistic works of vari-
ous types in the reign of King Rama III. It was an era that Thailand had a strong trade
relationship with China, which greatly influenced Thai art. For example, Wat Ratcha-
orasaram Ratchaworawihan was designed with simple square-shaped pillars without
Garuda-lik e cornices, gables, toothlike ridges, and swans’ tails, but decorated with
colorful glazed tiles. However, the way of casting Buddha images is still Thai, with a face
of calmness, so-called “a mannequin-like face”.

พระปรางค์วดั อรณุ ราชวรราม
Phra Prang Wat Arun

50

51

จนกระทั่ง มีการเปิดประเทศให้ชาติตะวันตกเข้ามา ความคิดในเชิงช่างตามแบบอุดมคติ
กเ็ ปลย่ี นแปลงไปเป็นแบบสจั นิยม อิงกับหลกั เหตุผลความเป็นจรงิ ดังเช่น พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้
เจา้ อยู่หัว รัชกาลที่ ๔ โปรดให้สรา้ งพระพทุ ธรปู นริ นั ตราย ที่มีลักษณะแตกตา่ งไปจากของโบราณ คอื
ไมโ่ ปรดใหม้ อี ษุ ณษี ะ ซง่ึ เปน็ ลกั ษณะทางอดุ มคตทิ แี่ ตกตา่ งไปจากมนษุ ย์ โปรดใหท้ กุ สว่ นของพระพทุ ธสรรี ะ
เหมือนอย่างมนษุ ย์ธรรมดา รวมทง้ั ลกั ษณะของจีวรก็มรี อยจบี สมจริง
Until the country was opened to the West, the ideal craftmanship has changed
to be more realistic. For example, King Rama IV had the royal command to create Phra
Puttha Niran Tarai, which has a different style from ancient sculptures. His Majesty was
not pleased to have Ushnisha, a large cranial bump, on the head of Buddha as this ideal
characteristic was different from humans. All parts of the Buddha image were suggested
to look like normal human-beings, which included realistic creases on robes.

พระพุทธรูปนิรันตราย (จำ� ลอง) ประดษิ ฐานบนพระนครครี ี (เขาวงั ) จังหวัดเพชรบุรี
Nirantarai Buddha lmage (rephica) at King Rama IV Palace, Petchaburi

52

53

ในสมยั พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจา้ อยหู่ วั รัชกาลท่ี ๕ การกอ่ สรา้ งอาคารส�ำคัญตา่ ง ๆ
มีสถาปนิกช า วตะวันตกเข้ามารับจ้างออกแบบก่อสร้าง  เช่น  พระท่ีนั่งจักรีมหาปราสาท  ตัวตึกเป็น
แบบตะวันตก แ ต่มีการปรับหลังคาให้เป็นพระมหาปราสาทท่ีมียอดแหลมตามแบบแผนไทย พระที่น่ัง
อนนั ตสมาคม เปน็ อาคารทรงยุโรปที่สรา้ งดว้ ยหินอ่อนจากเมืองคาร์รารา ประเทศอิตาลี ออกแบบโดย
มาริโอ ตามานโญ โดยมแี รงบันดาลใจมาจาก โดม มหาวหิ ารเซนต์ปเี ตอร์ แห่งนครรัฐวาติกนั ในกรงุ โรม
สาธารณรฐั อติ าลี และโบสถ์เซนต์ปอล แหง่ กรงุ ลอนดอน สหราชอาณาจักร
ในทางเศรษฐกิจ สยามหรอื ไทยเริม่ มกี ารใชเ้ หรียญกษาปณ์แทนเงินพดด้วง เพอื่ ให้เปน็ ไปตาม
การค้าขายแบบสากลดว้ ย ซงึ่ ต่อมาไดจ้ ัดตั้งโรงกษาปณ์ขึน้ ในพระบรมมหาราชวัง
In the reign of King Chulalongkorn, known as King Rama V, the designs and con-
structions of various important buildings were commissioned to western architects. For
example, the Chakri Throne Hall features western-style building with modified Thai-style
canopies. The Ananta Samakhom Throne Hall is a European-style building made of marble
that was imported from the city of Carrara, Italy, and designed by Mario Tamagno. The
throne hall was inspired by the dome of St. Peter’s Basilica in the Vatican City, Rome,
in the Republic of Italy and St. Paul’s Church in London, the United Kingdom.

พระทน่ี ่ังจักรีมหาปราสาท
The Chakri Throne Hall

54

55

สว่ นงานจิตรกรรมทมี่ คี วามงดงามในชว่ งตน้ กรุงรัตนโกสินทร์ มตี วั อยา่ งเชน่ จติ รกรรมฝาผนัง
พระที่น่ัง พุทไธสวรรย์ แต่เม่ือเวลาผ่านไปมีการปรับเปลี่ยนเทคนิคการเขียนให้มีความสมจริงและใช้
เรื่องราวที่เกิดข้นึ จรงิ ดังเช่น จติ รกรรมฝาผนังในพระอโุ บสถวัดราชประดษิ ฐ์สถติ มหาสมี าราม เป็นภาพ
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ ัว รชั กาลที่ ๔ ประทบั ยืนท่ีมุขหนา้ พระทน่ี ั่งดุสิดาลยั ในพระบรม
มหาราชวัง ท รงส่องกล้องดูสุริยุปราคา ช่างเขียนวาดให้มีสมจริงท้ังภาพบุคคลและสถานที่ นอกจาก
นี้ยังพบจิ ต รกรรมท่ีใช้เร่ืองราวแบบอุดมคติไทยโบราณแต่รูปแบบและวิธีการเขียนเป็นแบบตะวันตก
เรียกว่าเป็ นแนวไทยประยุกต์ เช่น จิตรกรรมฝาผนัง เร่ืองเวสสันดรชาดก ที่วัดราชาธิวาส จากน้ันมี
การเรียนกา ร สอนตามทฤษฏีและปฏิบัติอย่างเป็นระบบตามแบบสถาบันการศึกษาในประเทศตะวันตก
โดยศาสตราจ า รย์ศิลป์ พีระศรี (คอโรโด เฟโรจี) เป็นผู้วางรากฐานการสร้างสรรค์ศิลปะสมัยใหม่ใน
ประเทศไทย จ ากน้ันงานศิลปกรรมในประเทศไทยก็มีการแตกแขนงออกหลากหลายสาขา ซ่ึงมีทั้งที่
สืบทอดตามแบบช่างโบราณและทค่ี ดิ สรา้ งสรรค์ขึ้นใหม่ให้ร่วมสมยั กับยคุ ปจั จบุ ัน
ในรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร งาน
ศลิ ปในหลายสาขาทเี่ ปน็ งานพระราชนยิ มดงั เชน่ งานจติ รกรรมภายในหอพระพทุ ธรตั นสถานในพระบรม
มหาราชวงั งานสถาปตั ยกรรมทอี่ โุ บสถวดั พระรามเกา้ งานประตมิ ากรรมรปู พระพทุ ธนวราชบพติ ร จดั เปน็
ศิลปกรรมสมยั รัชกาลท่ี ๙ นอกจากน้นั งานศิลปะหลายช้ินของมลู นธิ ิสง่ เสรมิ ศลิ ปาชพี ในสมเด็จพระนาง
เจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชนิ ีนาถ พระบรมราชชนนพี ันปีหลวง ถอื เปน็ งานศลิ ปกรรมทม่ี คี ุณค่าสูงยิ่งในยคุ นี้
ด้วย
As for painting, the techniques were modified to be realistic and reflect on real
stories, such as murals in the hall of Wat Ratchapradit Maha Si Maharam. The image of
King Rama VI, standing in front of the Dusidalai Throne in the Grand Palace and watching
the solar eclipse through telescope, was painted by the master to be realistic in both
personality and place. In addition, murals conveying ancient Thai ideals with the western
forms and painting methods were found and called as an applied Thai style, such as
the mural paintings which tell the story of Vessantara Jataka (Great Birth Sermon) at
Wat Rajathiwas Rajaworavihara. After that, teaching on theories and practices in western
education systems emerged and Professor Silpa Bhirasri (Corrado Feroci) laid the
foundation of modern art creation in Thailand. Since then, fine arts in Thailand has
branched out into many areas. Some of them have inherited the ancient masters, while
some prefer creating new contemporary artistic works for the present day.

จิตรกรรมฝาผนัง พระทน่ี ่ังพทุ ไธสวรรย์
Mural Painting in Bhutthaisawan Chapel

56

รตั นโกสินทร์

Rattanakosin

58

1

59

2

๑ - ๖ พระพทุ ธรปู ปางมารวิชยั
ศิลปะรัตนโกสินทร์ อายุราวพุทธศตวรรษที่ ๒๔ เป็นพระพุทธรูป กลุ่มท่ีสร้างจากรัตนชาติ ซ่ึงเก็บรักษาอยู่ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติมาแต่เดิม กรมศิลปากร โดย
พิพิธภณั ฑสถานแห่งชาติ พระนคร ไดอ้ ัญเชิญมาใหป้ ระชาชนสกั การะและขอพรพระพทุ ธรปู วงั หนา้ พระปฏิมาแห่งแผน่ ดนิ ในชอ่ื “นพปฏมิ ารัตนมารวชิ ยั ” เนอื่ งในโอกาส
เทศกาลวนั ขึน้ ปีใหม่ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒ ณ พระทน่ี ั่งพุทไธสวรรย์
1 - 6 Buddha Subduing Mara,
Rattanakosin, 19th century, a Buddha statue group made of precious gemstones and has been kept in the Bangkok National Museum. The Fine
Arts Department represented by the Bangkok National Museum invited the Buddha to the Phutthaisawan Throne Hall for Thai audiences to
worship and wish for blessings in front of the Buddha of the land under the name of “Noppatima Ratana Maravijaya” (Nine sacred gemstone
Buddha images in the posture of Subduing Mara) on the occasion of the New Year 2019 celebration.

60

3

61

4

62

5

63

6

64

ซา้ ย : พระพุทธรูปทรงเครื่องตน้ อย่างพระมหาจักรพรรด์ิ ขวา : พระมหาพิชยั มงกฎุ
ศลิ ปะรตั นโกสินทร์ ตน้ พุทธศตวรรษท่ี ๒๔ ศิลปะรัตนโกสนิ ทร์ พทุ ธศตวรรษท่ี ๒๔
Left : Crowned Buddha, Right : The great Crown of Victory or “Phra Mara Phichai Mongkut”
Rattaonkosin, 19th century
Rattanakosin, 19th century

65

66

67

ซ้าย : พานพระศรที องคำ� ลงยาพรอ้ มเครอ่ื ง และ พระเตา้ ทกั ษโิ ณทกทองคำ� ลงยา ขวา : พระเต้าทกั ษิโณทกทองค�ำลงยา
ศลิ ปะรตั นโกสนิ ทร์ พุทธศตวรรษท่ี ๒๕ ศลิ ปะรัตนโกสินทร์ พทุ ธศตวรรษท่ี ๒๕
Right : Royal water container Gold enameled,
Left : Royal betel nut tray and water container Gold enameled, Rattanakosin, 20th century
Rattanakosin, 20th century

68

ซา้ ย : ขันน�้ำพานรองพรอ้ มจอกทองคำ� ขวา : พานพระศรที องค�ำลงยาพรอ้ มเครื่อง
ศลิ ปะรัตนโกสนิ ทร์ พุทธศตวรรษท่ี ๒๕ ศิลปะรตั นโกสินทร์ พทุ ธศตวรรษที่ ๒๕
Left : Royal Gold bowl and tray, Left : Royal gold enamel betel nut tray,
Rattanakosin, 20th century Rattanakosin, 20th century

69

70

71

ซ้าย : ฉากไมป้ ระดับมกุ รูปพระพุทธรูป และรูปอคั รสาวก ขวา : หวั หนมุ านประดับมกุ
ศิลปะรัตนโกสินทร์ พุทธศตวรรษท่ี ๒๔ ศิลปะรตั นโกสนิ ทร์ พทุ ธศตวรรษที่ ๒๔
Left : Screen depicting Buddha and his disciples Right : Hanuman Mask
Rattakosin, 19th century Rattanakosin, 19th century

72

ซ้าย : ลวดลายไมแ้ กะสลกั บนธรรมาสน์กลม วัดคา้ งคาว จังหวดั นนทบรุ ี ขวา : บานประตูไม้ แกะสลักรูปเซ้ียวกาง
ศิลปะอยธุ ยาตอนปลาย - ต้นกรุงรัตนโกสนิ ทร์ พุทธศตวรรษท่ี ๒๓ - ๒๔ ศิลปะรัตนโกสินทร์ พทุ ธศตวรรษท่ี ๒๓ - ๒๔
Left : Word Carving panel around the circular based Late Right : Carved Door panel,
Ayutthaya or Early Rattanakosin, 18th - 19th century Rattanakosin, 18th - 19th century

73

74

75

ซ้าย : ตะลมุ่ เงนิ (เตียบ) ขวา : หมอ้ น้ำ� เงิน ทรงกลีบฟักทอง
ศลิ ปะรัตนโกสินทร์ พุทธศตวรรษที่ ๒๔ ศลิ ปะรตั นโกสนิ ทร์ พทุ ธศตวรรษที่ ๒๔
Left : Talum (a receptacle), Right : Silver Water Container,
Rattanakosin, 19th century Rattanakosin, 19th century

76

ซา้ ย : จิตรกรรมฝาผนงั ตอนพระพุทธเจ้าเสดจ็ ลงจากดาวดึงส์ ขวา : จติ รกรรมฝาผนงั ตอนผจญมาร ในพระอโุ บสถวดั มชั ฌมิ าวาส (วดั กลาง)
ในพระท่นี ง่ั พทุ ไธสวรรย์ ศลิ ปะรตั นโกสินทร์ พทุ ธศตวรรษที่ ๒๓ ศลิ ปะรตั นโกสนิ ทร์ พทุ ธศตวรรษท่ี ๒๓ - ๒๔
Left : The Buddha descending from Tavatimsa Heaven, a scean from Right : Mural Painting in Ubosot of Matchimavas temple, Songkhla,

the life of the Buddha in the Buddhaisawan Chapel, Rattanasosin, 18th -19th century
Rattanakosin, 18th century

77

78

79

ซ้าย : ลวดลายปูนปั้น รูปราหอู มจนั ทร์ และรูปฤษเี คลา้ ลายก้านขด ขวา : หนังใหญ่ พระรามง่าศร
ภายในพระอโุ บสถวดั มชั ฌิมาวาส อ.เมอื ง จ.สงขลา ศิลปะรัตนโกสนิ ทร์
ศลิ ปะรตั นโกสินทร์ พทุ ธศตวรรษท่ี ๒๔ รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกล้าเจา้ อยู่หวั รัชกาลท่ี ๖
Left : Decorative Stucco at Ubosot of Wat Matchimavas Right : Shadow play,
Rattanakosin, 19th century Rattanakosin, 24th century

80

ซา้ ย : โถฝากลบี บัว ขวา : งาชา้ งแกะสลักรปู พระพุทธรูปปางสมาธิ ประทบั ในซุม้ เรอื นแกว้
ศลิ ปะรตั นโกสนิ ทร์ พุทธศตวรรษท่ี ๒๕ ศลิ ปะรตั นโกสนิ ทร์ พุทธศตวรรษที่ ๒๕
Left : Lotus Petal Jar Right : Elephant tusks depicting Buddha image in meditation
Rattanakosin, 20th century Rattanakosin, 20th century

81

82

83

ซา้ ย : โถเบญจรงค์ ขวา : โถเบญจรงค์
ศลิ ปะรตั นโกสนิ ทร์ พุทธศตวรรษที่ ๒๓ - ๒๔ ศลิ ปะรตั นโกสินทร์ พุทธศตวรรษท่ี ๒๓ - ๒๔
Left : Bencharong Covered Jar Right : Bencharong Covered Jar
Rattanakosin, 18th - 19th century Rattanakosin, 18th - 19th century

84

ซ้าย : หนุ่ วังหนา้ หรือหุน่ เลก็ “มจั ฉาน”ุ ขวา : หุ่นวงั หนา้ หรือหุ่นเลก็ “วายพุ กั ตร์”
ศิลปะรัตนโกสนิ ทร์ พุทธศตวรรษท่ี ๒๔ ศิลปะรตั นโกสนิ ทร์ พทุ ธศตวรรษท่ี ๒๔
Left : Small Royal puppet Hoon Wang Na or Hoon Lek Right : Small Royal puppet Hoon Wang Na or Hoon Lek
Rattanakosin. 19th century Rattanakosin. 19th century

85

86

87

ซ้าย : ประตมิ ากรรมรปู พระแมธ่ รณบี ีบมวยผม ขวา : เหรยี ญกษาปณ์ (เหรยี ญทองทศ) ทองคำ�
ศิลปะรัตนโกสนิ ทร์ พทุ ธศตวรรษท่ี ๒๕ สมยั รชั กาลท่ี ๔ (พ.ศ. ๒๔๐๓)
Left : The Earth Goddess, Righ : Golden Coins,
Rattanakosin, 20th century King Rama IV 1853

88

อยุธยา

Ayutthaya

90

ซา้ ย : จิตรกรรมฝาผนังรปู พระสาวก กรพุ ระปรางค์วัดราชบูรณะ ขวา : ภาพเทวดาทรารบาลบนบานประตูพระอุโบสถวดั ใหญส่ ุวรรณาราม
จงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา จงั หวดั เพชรบรุ ี
ศิลปะอยธุ ยา สร้างเมอ่ื พ.ศ. ๑๙๖๗ ศิลปะอยธุ ยา ประมาณพุทธศตวรรษที่ ๒๑ - ๒๒
Left : Mural Painting, Right : Painting on the Door Panel,
Early Ayutthaya, 1424 BE Ayutthaya, 16th - 17th century

91

92

93

ซา้ ย : แผ่นทองค�ำดนุ รูปพระพุทธรปู ปางมารวิชยั ขวา : พระพทุ ธรปู ปางมารวิชัย พบในกรุพระปรางค์ วดั มหาธาตุ
พบในกรุพระปรางคว์ ดั ราชบูรณะ ศิลปะอยธุ ยาตอนตน้ (แบบอทู่ อง ๒) พุทธศตวรรษท่ี ๑๘ - ๑๙)
ศลิ ปะอยุธยาตอนตน้ (พ.ศ. ๑๙๖๗) Right : Buddha Subduing Mara,
Left : Buddha Subuing Mara, Early Ayutthaya, 13th - 14th century
Early Ayutthaya, 1424 CE

94

ซา้ ย : พระเจดยี ์บรรจพุ ระบรมสารรี ิกธาตุ จากกรพุ ระปรางคว์ ัดราชบรู ณะ ขวา : พระพทุ ธรปู ปางมารวชิ ัย
ศลิ ปะอยุธยาตอนต้น (พ.ศ. ๑๙๖๗) ศิลปะอยธุ ยา, พทุ ธศตวรรษท่ี ๒๑ - ๒๒
Left : Golden Stupa contained the relic of Lord Buddha Right : Buddha Subduing Mara
Early Ayutthaya, 1424 CE Ayutthaya, 16th - 17th Century

95

96

97

ซ้าย : พระคชาธารทองคำ� ประดับอญั มณี ขวา : หงสท์ องคำ�
พบในกรุพระปรางค์วดั ราชบูรณะ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พบในกรพุ ระปรางค์วดั ราชบรู ณะ จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา
ศลิ ปะอยธุ ยาตอนตน้ (พ.ศ. ๑๙๖๗) ศิลปะอยธุ ยาตอนตน้ (พ.ศ. ๑๙๖๗)
Left : Miniature Golden Crowned Elephant Right : Miniature Golden Swan
Early Ayutthaya, 1424 CE Early Ayutthaya, 1424 CE

98

ซ้าย : พระพุทธรูปปางมารวชิ ยั ขวา : พระพทุ ธรปู ปางมารวชิ ยั
ศิลปะอยธุ ยาตอนตน้ (แบบอู่ทอง ๒) พทุ ธศตวรรษท่ี ๒๐ ศิลปะอยุธยาตอนตน้ (แบบอทู่ อง ๓) พทุ ธศตวรรษท่ี ๒๐
Left : Buddha Subduing Mara Right : Buddha Subduing Mara
Early Ayutthaya, 15th century Early Ayutthaya, 15th century


Click to View FlipBook Version