The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

๑๐๑ สุริยาส่องฟ้า จันทร์ศรีส่องธรรม หลวงปู่จันทร์ศรี จนฺททีโป

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ทีมงานกรุธรรม, 2022-07-10 00:29:27

๑๐๑ สุริยาส่องฟ้า จันทร์ศรีส่องธรรม หลวงปู่จันทร์ศรี จนฺททีโป

๑๐๑ สุริยาส่องฟ้า จันทร์ศรีส่องธรรม หลวงปู่จันทร์ศรี จนฺททีโป

Keywords: ๑๐๑ สุริยาส่องฟ้า จันทร์ศรีส่องธรรม หลวงปู่จันทร์ศรี จนฺททีโป

สุรยิ าสองฟา จันทรศรสี อ งธรรม

ฉลองมงคลอายุกาล ๑๐๑ ป พระอุดมญาณโมลี (หลวงปจู ันทรศ รี จนฺททโี ป)
วดั โพธสิ มภรณ อำเภอเมอื ง จังหวดั อุดรธานี
๑๐ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๕

Dhammaintrend รว่ มเผยแพรแ่ ละแบง่ ปันเป็ นธรรมทาน

สุรยิ าสองฟา จนั ทรศรีสองธรรม

ISBN : 978-616-305-647-4
วัตถปุ ระสงค : เพ่อื แจกเปน ธรรมทาน เน่อื งในงานฉลองมงคลอายุกาล ๑๐๑ ป
พระอุดมญาณโมลี (หลวงปจู ันทรศรี จนทฺ ทโี ป)
พมิ พค รงั้ ที่ ๑ : ๑๐ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๕
จำนวนพมิ พ : ๑๐,๑๐๑ เลม
ผจู ดั พิมพ : คณะศษิ ยานุศิษย
วัดโพธสิ มภรณ เลขท่ี ๒๒ ตำบลหมากแขง อำเภอเมอื ง
พมิ พท ่ี : จงั หวดั อดุ รธานี

บริษทั ศิลปสยามบรรจภุ ัณฑแ ละการพิมพ จำกดั
๖๑ ถนนเลยี บคลองภาษเี จรญิ ฝง เหนอื (เพชรเกษม ๖๙)
แขวง/เขตหนองแขม กรงุ เทพฯ ๑๐๑๖๐ โทรศัพท ๐๒-๔๔๔-๓๓๕๑-๙
e-mail: [email protected]

สงวนลิขสทิ ธิ:์ หามคดั ลอก ดดั แปลง แกไ ข ทำซ้ํา ดว ยวธิ กี ารใดๆ
เพ่อื นำไปจำหนายเปน สินคา หากผูใดประสงคพิมพเ พือ่ แจกเปนธรรมทาน
อนญุ าตใหดำเนินการได โดยคงรักษาตน ฉบับเดิมทีถ่ กู ตอ ง และขออนุโมทนาอำนวยพร

"ธรรมทานเลิศกวา ทรัพยท้ังปวง ไมส มควรจำหนาย"

Free Download E-BOOK ไดท่ี www.dmgbooks.com

สุรยิ าสอ งฟา จันทรศ รีสองธรรม

สรุ ิยา เจา สองฟา จนั ทรศรี น้ันสอ งธรรม
ชีวิต ไมม ืดดำ เพราะมีธรรม คอยสอ งใจ (สรอ ย)

อายุรอย กบั หนึ่งป กายวจี ดูผอ งใส
เมตตา แผจากใจ ใครอยใู กล ไดรม เยน็
หลวงปู บำเพญ็ ธรรม ทกุ เชาคำ่ ไมวางเวน
ธรรมงาน ใหเ ราเห็น เปนแบบอยาง ทงี่ ดงาม

(สรอ ย)
ทางธรรม ทา นทำแลว ใจผองแผว ดง่ั แกว ใส

มรรคแปด ชำระใจ สะอาดใส ไมมืดมวั
ทางโลก ทา นเมตตา สตั วถ วนหนา ใหสุขท่วั
สองธรรม ใหด ตู ัว ละเวน ชัว่ สรา งความดี

(สรอย)
หลวงปู ทำใหดู แลวเราสู ทำอะไร
โลภโกรธหลง ไปทำไม ควา ฟน ไฟ มาใสตน
หลวงปู สอนใหรู แลวเราสู รบู างไหม
สรางโลก ไดอ ะไร นำตดิ ไป เมอ่ื วนั ลา

(สรอย)
เกิดแก และเจ็บตาย ดำเนนิ ไป ไมจ รี ัง
อยา ประมาท จะพลาดพล้ัง เพลนิ ในสขุ จนลืมตาย

เรง รบี ชำระตน ทุกเวลา ไมเวนวาย
แดนนพิ พาน คือท่ีหมาย พน เกดิ ตาย ตราบนิรันดร

(สรอย)

คำรอ ง-ทำนอง โดยคณะศิษย
๑๐ ตุลาคม ๒๕๕๕

ทา นพระอาจารยม่นั ภรู ิทตโฺ ต

“ “ ใหเอาสติควบคมุ จติ ดึงเขา มาอยทู ่ีหวั ใจ
ใหวา พทุ โธๆ จนจติ สงบ แลวใช
ปญญาพจิ ารณากายของตนตงั้ แตห นังท่หี ุมหอรา งกายอยนู ี้
ใหจ ิตเห็นเปน อสภุ กรรมฐานเปนของสกปรกนา เกลียด
เมอื่ ตายแลว ไมมีใครตองการ สงั ขารท้งั ปวงตกอยูในไตรลักษณ

คือ อนิจจงั ทุกขงั อนตั ตา ดว ยกันทง้ั นั้น

โอวาทธรรมของหลวงปมู ั่น ภรู ิทตโฺ ต
ทน่ี ำกำไรแหง ชีวติ พรหมจรรยม าสูหลวงปจู ันทรศรี

สมเดจ็ พระญาณสงั วร สมเดจ็ พระสงั ฆราช สกลมหาสงั ฆปรณิ ายก



แจกันดอกไมพระราชทานจาก พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวั ฯ

คำปรารภ

ในวาระอันเปนอุดมมงคลที่พระอุดมญาณโมลี หรือหลวงปูจันทรศรี จนฺททีโป
เจรญิ อายวุ ัฒนะครบ ๑๐๑ ป ในวันท่ี ๑๐ ตลุ าคม พุทธศักราช ๒๕๕๕ บรรดาศษิ ยานศุ ษิ ย
และศรทั ธาสาธชุ นผเู คารพนับถือ ตางรสู กึ โสมนสั ยินดี เปน อยา งยงิ่ เนื่องจากกวาจะผา นพน
ศตวรรษ ครานี้ หลวงปู ไดเ ผชญิ ทุกขเวทนาจากอาพาธหนกั ครั้งสำคัญ ถงึ ๒ ครง้ั ในชว ง
๑ ปทผ่ี านมา และผานพนมาไดโ ดยสวัสดี ซง่ึ ทา นใชคำวา “หลวงปูรอดตายมา ๒ ครง้ั แลว ”
นับเปนบุญญาภิสมภาร ที่ไดส่ังสมอบรมมาดวยดีแลว จึงไดปกปกรักษาประคับประคอง
ธาตุขันธ ใหสามารถรักษาเยียวยาโรคาพาธ จนทุเลาเบาบาง และเส่ือมสูญสิ้นไป กลับมา
ทรงธาตุขันธ ไดบ ำเพญ็ ประโยชนเกอื้ กูลและความสุขแกม หาชนทง้ั หลายอกี วาระหนึ่ง

ดวยสำนกึ ในพระคณุ เปน เอนกประการท่ี หลวงปไู ดใหค วามเมตตาอนุเคราะห คณะ
ศษิ ยานุศษิ ย ทง้ั บรรพชติ และคฤหัสถ ประดุจลูกๆ หลานๆ เสมอมา ในวาระอนั เปน มงคล
น้ี จึงไดพรอมกันจัดงานบำเพ็ญกุศลถวาย และจัดพิมพหนังสืออนุสรณ ๑๐๑ ป ใหนามวา
“สุริยาสองฟา จันทรศรีสองธรรม” อันบงความหมายโดยนัยอยางเปนรูปธรรม ซ่ึงหลวงปูได
สบื สานตามเย่ียงอยางพระบรู พาจารยพ าดำเนนิ มา เจริญรอยตามพทุ ธโอวาท อันมพี ระธรรม
วนิ ยั เปน เครือ่ งนำทาง ความละเอยี ดปรากฏสมบรู ณในหนังสือเลม น้ี

คณะศิษยานุศิษย ตางรูสึกซาบซึ้ง เล่ือมใสในคุณธรรมบารมี ที่หลวงปูแสดง
ใหประจักษ เห็นเปนแบบอยางของพระผูซึ่งเปยมลนดวยเมตตาธรรม และผูครองสมณเพศ
ดวยความบรสิ ทุ ธ์ิ อยา งเสมอตนเสมอปลาย จนกลายเปนพระอุปช ฌาย ผรู ตั ตัญู มีพรรษา
กาลยาวนานกวา ๘๐ ป อีกทั้งเจริญดวยวรรณะ สุขะ พละ ซ่ึงนับเปนเร่ืองที่หาไดยาก
ในปจจุบัน เหลาศิษยานุศิษยจึงขอนอมนำสานความดีงามน้ี ดวยการครองตนอยูในศีลธรรม
มีความกตัญูตอบุพการี ครูบาอาจารย ตลอดจนบำเพ็ญประโยชนตนและผูอ่ืน เพื่อใหเกิด
ผลดตี อประเทศชาติ พระพทุ ธศาสนา และสถาบนั พระมหากษัตริย สบื ไป

คณะผูจัดทำฯ ขอขอบพระคุณผูใหความอุปถัมภทุกๆ ทานที่มีจิตศรัทธาเล่ือมใส
เสียสละกำลังกาย กำลังใจและปจจัยตางๆ ในการสนับสนุนการจัดพิมพหนังสือ เพื่อนอม
ถวายบูชาพระคุณหลวงปู แจกเปนธรรมบรรณาการแกผูมารวมงานในครั้งนี้ ไวใหเปน

อนุสรณมรดกธรรมแกอนุชนรุนหลงั ไดศ กึ ษาประวัตแิ ละพระธรรมทีห่ ลวงปแู ละครูบาอาจารย
ไดถายทอดไว เพ่ือนำไปพัฒนาตนเองใหเกิดความกระจางแจงถึงแกนธรรม ความบกพรอง
ใดๆ ที่อาจเกิดขึ้นดวยความประมาทพลาดพลั้งหรือการกระทำอันมิควร คณะผูจัดทำฯ
ขอนอมรับและกราบขอขมาแดพระรัตนตรัยและหลวงปูจันทรศรี จนฺททีโป ท่ีเคารพอยางสูง
รวมถึงขออภัยจากทานผูอานทุกๆ ทาน และยินดีรับคำแนะนำเพ่ือความสำรวมระวังในกาล
ตอไป

ขออาราธนาคุณพระศรีรัตนตรัยและสิ่งศักดิ์สิทธ์ิท้ังหลาย ตลอดถึงกุศลผลบุญที่ได
รวมกันจัดพิมพหนังสือถวายเปนธรรมทานในครั้งน้ี จงอำนวยผลให พระอุปชฌายอาจารย
หลวงปูจันทรศรี จนฺททีโป มีสุขภาพพลานามัยท่ีสมบูรณแข็งแรง สืบธาตุขันธยืนยาวนาน
เจริญพรรษายกุ าลยงิ่ ๆ ขึ้นไป สถิตเปน มง่ิ ขวัญแกปวงพทุ ธบรษิ ัทสบื ไป ตราบนานเทานาน



หลวงปูฝากไว
ขอใหลูกหลานทุกคน จงรบี สรา งความดใี สตน

อยา พากันประมาท
เพราะสกั วันหนึ่งเราตอ งจากโลกน้ไี ป...

หลวงปจู ันทรศ รี จนฺททีโป
๑๐ ตลุ าคม ๒๕๕๕

สารบญั ๑
๑๐๓
พระวรธรรมคติ ๑๕๙
คำปรารภ ๑๙๓
หลวงปูฝากไว ๒๒๑
ประวตั แิ ละปฏปิ ทา พระอุดมญาณโมลี (หลวงปูจนั ทรศรี จนทฺ ทโี ป) ๒๙๑

ภาคประวตั แิ ละปฏิปทา
ธรรมบารมีของหลวงปูจนั ทรศรี จนฺททีโป
ตามรอยพระบรมศาสดาและพระอสตี ิมหาสาวก
ภาคบำเพ็ญศาสนกิจ
ภาคธรรมเทศนา
หอเมตตาธรรมบำบดั วิกฤต (ผปู ว ยหนัก)
COMPASSION INTENSIVE CARE UNIT (CICU)





๑๐๑ ป พระอดุ มญาณโมลี
(หลวงปจู นั ทรศรี จนฺททโี ป)

๑หลวงปจู นั ทรศรี จนทฺ ทโี ป

ประวัตแิ ละปฏปิ ทา

พระอุดมญาณโมลี (หลวงปจู ันทรศรี จนฺททโี ป)

พระอุดมญาณโมลี (หลวงปูจันทรศรี จนฺททีโป) หรืออีกนามหน่ึงที่สาธุชนทั่วไป
กลาวขานดวยความเคารพอยางสูงวา หลวงปูใหญ ทานเปนพระมหาเถระผูรัตตัญู
เปยมดวยเมตตาธรรม เจริญดวยวัสสายุกาล สมบูรณดวยอายุ วรรณะ สุขะ พละ เปนที่
นาเคารพเลื่อมใสแกบรรดาพุทธศาสนิกชนท้ังใกลและไกล เปรียบเสมือนรมโพธิ์รมไทร
แหงคณะสงฆไทยทั้งฝายปริยัติและปฏิบัติที่สำคัญรูปหนึ่ง คำสอนและปฎิปทาของหลวงปู
ลวนเจริญรอยตามพระธรรมคำสอนขององคสัมมาสัมพุทธเจา ท่ีพุทธศาสนิกชนผูใฝหา
สันติสุขอันแทจริงทุกทานควรสนใจศึกษาและนอมนำไปประพฤติปฏิบัติเพ่ือความผาสุก
รมเย็นสบื ไป

ชาติกำเนดิ ชวี ติ ในปฐมวยั

หลวงปูจันทรศรี จนฺททีโป ไดถือกำเนิดในสกุลแสนมงคล เมื่อวันอังคารท่ี ๑๐
ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๕๔ เวลา ๐๕.๓๐ น. ตรงกบั วนั แรม ๓ ค่าํ เดือน ๑๑ ปก ุน ณ บา น
โนนทัน ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวดั ขอนแกน เปนบุตรชายคนเดียว ของพอบุญสาร
แสนมงคล และแมหลนุ แสนมงคล

ผูบงั เกิดเกลา ชีวติ ในเพศฆราวาส

หลวงปจู นั ทรศ รีถือกำเนิดมาในครอบครวั ที่มีอาชพี คา ขาย มีจติ ใจเอ้อื เฟอ โอบออมอารี
และศรัทธาเลื่อมใสในพระพุทธศาสนา โยมบิดาเคยบวชเรียนและจำพรรษาอยูท่ีวัดหนองแวง
อำเภอเมือง จังหวัดขอนแกน หลังจากลาสิกขามาชวยงานครอบครัวอยู ๑ ป จึงไดพบ
กับโยมมารดาซ่ึงเปนมายมีบุตร ๓ คน หลังแตงงานกันตามประเพณีจึงไดใหกำเนิดหลวงปู
หรือเด็กชายจนั ทรศ รี ณ ขณะน้ัน หลวงปไู ดเมตตายอนความหลังเลาถงึ ประวตั คิ วามเปน มา
ของผบู งั เกิดเกลา ไวดังน้ี

๒ สุรยิ าสองฟา จันทรศ รีสองธรรม

“ปชู ่อื แสนเมือง ยาชอ่ื บุญเรอื ง แสนมงคล ต้งั ถน่ิ ฐาน ณ บา นโนนทนั ตำบลโนนทัน
อำเภอเมือง จังหวดั ขอนแกน ประกอบอาชพี เกษตรกรรม มีบตุ รชื่อบุญสาร แสนมงคล (บดิ า
ของหลวงปู) เม่ืออายุเยาววัยมีนิสัยนอมไปในทางบวชเปนเณร เปนพระ เม่ืออายุได ๑๕ ป
ปูไดนำไปฝากไวกับพระญาครูบุสบง ปุฺกาโม เจาอาวาสวัดหนองแวง ตำบลเมืองเกา
อำเภอเมือง จังหวัดขอนแกน อยู ๑ ป เพื่อศึกษาขนบธรรมเนียมภายในวัดเสียกอนจึงจะ
บวชให เม่ืออายุ ๑๖ ป มคี วามรูค วามเขาใจในกฎระเบยี บ กตกิ า ของวัดดแี ลว ทา นพระญา
ครูบุสบง จึงจัดบริขารใหนายบุญสาร แสนมงคล บรรพชา โดยทานเปนพระอุปชฌายเอง
บวชแลวใหอยูกุฏิของทาน เพ่ือใหเปนผูปฏิบัติใกลชิด เพราะเปนผูมีกิริยา ออนนอมถอมตน
วานอนสอนงาย เชอื่ ถอ ยฟงคำ ทำอะไรก็เปน ท่ีพอใจของทา น ตอ จากน้ันทา นสอนทำวตั รเชา
คาํ่ ดวยคำตอคำทกุ วนั จนจำไดแ มนยำ แลว กส็ อนเจ็ดตำนาน สบิ สองตำนาน และพระสูตร
ไดคลองแคลว พรอมท้ังใหเรียนอักษรธรรมอักษรขอม จนอานออกเขียนไดถูกตอง แลวก็ให
ฝกหัดเทศนมหาชาติชาดกทำนองพ้ืนเมือง (เทศนสำเนียงภาคอีสาน) ไดไพเราะเหมาะสม
ตามความนิยมสมัยนั้น

เม่ือสามเณรบุญสาร แสนมงคล อายุครบ ๒๐ ปบริบูรณ พระญาครูบุสบง พรอม
ดวยทายกทายิกาไดจัดบริขารครบเรียบรอยแลว จึงแจงใหนายแสนเมืองและนางบุญเรือง
ผูเ ปน บิดามารดาของสามเณรบุญสาร แสนมงคล ทราบวา วนั ขึ้น ๑ ค่ํา เดือน ๖ จะทำการ
อุปสมบทสามเณรบุญสาร แสนมงคล ลกู ของเธอ นายแสนเมืองและนางบญุ เรือง กอ็ นุญาต
ใหอุปสมบทไดโดยความยินดีดวยจิตอันเปนกุศลตามท่ีปรารถนาไว เวลา ๐๙.๐๐ น.
นายแสนเมอื งจบั เอาบาตรมาถอื นางบญุ เรืองถือผา ไตร สว นญาตพิ น่ี อ งและเพือ่ นท่สี นิทสนม
กันก็ถือดอกไมธูปเทียนและบริขารอ่ืนๆ ติดตามกันไปถึงอุโบสถเวียน ๓ รอบแลวเขาไปใน
อโุ บสถ โดยมี

พระญาครบู สุ บง เปน พระอปุ ช ฌาย
พระอาจารยสที า สีลสมปฺ นฺโน เปน พระกรรมวาจาจารย
พระอาจารยป ญ ญา ปฺ าคโม เปนพระอนสุ าวนาจารย
เมื่อบวชเปนพระแลวก็อยูกุฏิพระอุปชฌายไปตลอด ไดปฏิบัติทานประจำทุกวัน
ตอแตน้ันเม่ือวางจากกิจธุระแลว ก็ตั้งใจทองพระปาฏิโมกขอยู ๓ เดือนก็จบ จึงไปฝกซอม
ใหถูกตองตามอักขรฐานกรณไดคลองแคลวแลว พระอุปชฌายก็ใหสวดพระปาฏิโมกขประจำ
บางวันอุโบสถก็เปล่ยี นวาระกนั บา ง

๓หลวงปูจนั ทรศรี จนทฺ ทโี ป

พระบุญสาร ปุ ฺ สาโร จำพรรษาอยวู ดั หนองแวงจนถึงพรรษาท่ี ๑๐ พระอุปชฌาย
ก็ใหเปนพระอนุสาวนาจารย เมื่อพรรษา ๑๔ จึงไดลาสิกขาเพื่อศึกษาทางโลกบางหลังบวช
มานาน เมื่อลาสิกขามาแลว ก็ไดช วยบิดามารดาทำนาคา ขาย ชว ยครอบครัวอยู ๑ ป ก็ไดพ บ
กับนางหลุนแมมายลูก ๓ คน ซึ่งเปนที่พอใจของนายบุญสาร แสนมงคล จึงบอกกับพอแม
ใหทราบเพื่อติดตอขอแตงงานกับนางหลุน ซึ่งสามีเกาของนางคือนายบุญมี รังนามวาส
ไดถ ึงแกก รรมไปแลว ๑ ป มีลูกดว ยกนั ๓ คน (พี่นอ งรวมมารดาเดยี วกนั ) คือ

๑. นางสาวปาน รงั นามวาส
๒. นายขาน รังนามวาส
๓. เด็กหญงิ ทองมี รังนามวาส
นางหลุน (มารดา) เปนคน
ขยันประกอบอาชีพคาขาย สวนนา
จางคนในหมูบานเดียวกันทำ เม่ือได
มาเทาไหรแบงกันคนละคร่ึง พยายาม
เล้ียงลูกจนโตเปนหนุมเปนสาว กาล
เวลาผานไป นางสาวปานก็แตงงานกับ
นายเคนแลวออกไปตั้งบานตางหาก
สวนนายขานไปเปนทหารเกณฑ คงอยู
แตนางสาวทองมีชวยแมขายของชำอยู
บาน ในเวลาตอมานายบุญสาร แสน
มงคลจึงไดแตงงานกับนางหลุนตาม
ประเพณ”ี

ความฝนของมารดา

กอนที่มารดาของทานจะต้ัง
ครรภนั้น ในคืนวันข้ึน ๑๔ คํ่า เดือน
๓ มารดาเลาวา “ไดฝนเห็นพระ ๙ รูป มายืนอยูที่ประตูหนาบาน คร้ันวันรุงขึ้น ตรงกับ
วันขึ้น ๑๕ คํา่ เพ็ญเดือน ๓ เปน วันมาฆบูชา ไดเห็นพระกัมมัฏฐาน ๙ รูป มาบิณฑบาต

๔ สรุ ิยาสอ งฟา จนั ทรศรสี อ งธรรม

ยืนอยู หนาบา น ดวยอาการสำรวมอินทรีย มีกริ ยิ ากายอันงาม แมม องเห็นพระเถระเหลานั้น
กเ็ กดิ ความเล่ือมใสศรัทธาเปนอยา งยงิ่ ดูเหมอื นทานจะมาโปรด จึงรบี จัดภัตตาหารใสภ าชนะไป
นัง่ คกุ เขาประนมมอื ตรงหนาพระเถระผูเ ปนหวั หนา ยกมอื ไหว แลว ใสบ าตรจนครบทง้ั ๙ รปู
จึงน่ังพับเพียบประนมมือพรอมกลาวขอพรวา “ดิฉันอยากไดลูกชายสัก ๑ คน จะใหบวช
เหมือนพระคณุ เจาคะ ” พระเถระกก็ ลาวอนโุ มทนาวา “เอวํ โหตุ เอวํ โหตุ เอวํ โหต”ุ คุณแม
กร็ บั วา “สาธุ สาธุ สาธ”ุ แลว พระเถระเหลานั้นก็เดินจากไป”

อยูตอมาได ๑ เดือน ก็ตั้งครรภตามท่ีปรารถนาไว ครั้นถึงวันอังคาร แรม ๓ คํ่า
เดือน ๑๑ ปกุน ตรงกับวนั ท่ี ๑๐ เดือนตุลาคม พุทธศกั ราช ๒๔๕๔ เวลายาํ่ รงุ ก็คลอดลกู
เปนชาย จึงเรียกบิดาใหมาดู แลวจัดแจงแตงท่ีใหมารดานอนผิงไฟตามประเพณี (อยูกรรม)
เปนเวลา ๑๐ วัน ๑๐ คนื

ผกู พันดวยนำ้ นมแม

ในชวงวัยทารก บิดามารดาไดทะนุถนอมกลอมเกล้ียงเลี้ยงดูทานเปนอยางดี
เมื่ออายุได ๑ เดือน บิดาก็ตั้งชื่อใหวา เด็กชายจนั ทรศรี พออายุได ๓ เดือน มารดาน้ำนม

โยมอาบตุ รดี และคุณแมป ททมุ มา

๕หลวงปูจันทรศ รี จนฺททโี ป

นอยลงไมพอแกความตองการของลูก จึงไปขอรองคุณแมปททุมมาซึ่งเปนเพื่อนสนิทสนมกัน
พอดกี ับคุณแมปท ทมุ มา ก็เพง่ิ คลอดลูกเปน ผูหญงิ ได ๗ วนั คุณพอไดต้งั ช่ือใหวา เดก็ หญงิ
สุภาณี คุณแมปททุมมาไดมีความเมตตาปรานียินดี ใหเด็กชายจันทรศรีด่ืมน้ำนมดวยกัน
กบั เดก็ หญงิ สุภาณฉี นั ทพ่ีนองทอ งเดียวกัน หลวงปูเ ลาวา “ดมื่ นำ้ นมแม อยู ๓ ป ไมไ ดดม่ื
นมวัว นมควาย เด็กสมัยใหมเลี้ยงยาก ด้ือ เพราะไมไดด่ืมน้ำนมแม ด่ืมนมวัว นมควาย
จึงไมคอยมคี วามรัก ผูกพนั กบั พอ แม”

สนใจพุทธศาสนาแตเยาวว ยั

ตงั้ แตเยาวว ัยทานมอี ปุ นิสยั สุภาพเรยี บรอ ย วา นอนสอนงา ย ซื่อสตั ยส จุ ริต มเี มตตา
ปรานี ไมชอบเบียดเบียนรังแกสัตว ไมอิจฉาริษยา ไมผูกโกรธจองเวร แถมยังฝกใฝสนใจ
ในพระพุทธศาสนา ประกอบกับครอบครัวก็มีศรัทธาเล่ือมใส บำเพ็ญบุญกุศลอยูเปนประจำ
มาแตเดิม จึงเปนสิ่งสนับสนุนใหทานไดกาวเขาสูรมเงาแหงพระพุทธศาสนาไดอยางราบร่ืน
ดังท่ีทานเลาวา “ตอนอายุ ๒ ขวบ คุณแมจะเปนผูอุมเด็กชายจันทรศรี สวนคุณพอจะถือ
ขันขาวไปใสบาตรพระทุกวัน จนทำใหเด็กชายจันทรศรีน้ันมีนิสัยสนใจในพระเปนอยางย่ิง
เม่อื เหน็ พระผา นไปกย็ กมอื ไหว พอเร่ิมอายุ ๔-๕ ขวบ ก็ชอบนำเด็กๆ รนุ ราวคราวเดียวกัน
ทงั้ ชายและหญงิ ๗-๘ คนออกไปเลน หนาบาน กวาดทรายมารวมกันเปน กองใหญพอสมควร
กอใหเปนเจดียทราย กองที่ ๒ กอใหเล็กลงสมมติใหเปนธรรมาสน เด็กชายจันทรศรีน่ังบน
กองทรายนัน้ แลวขึ้นเทศน โดยกลาววา นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมพฺ ทุ ฺธสสฺ ๓ จบ
แลวก็เอวังดวยประการฉะน้ี เด็กชายหญิงทั้ง ๗ คนตางนั่งพับเพียบประนมมือฟงดวยความ
เรยี บรอย พอจบแลวกร็ ับวา สาธพุ รอ มกัน ๓ จบ แลวจึงแยกยา ยกันกลบั เรอื นของตน”

ไมท านอาหารดบิ ๆ สกุ ๆ

ตามปกติแลว คนในชนบทท่วั ไปในภาคอีสานกม็ กั ชอบรบั ประทานอาหารดิบๆ สกุ ๆ
เปนครั้งคราว เม่ือบรรดาญาติพี่นองชักชวนใหเด็กชายจันทรศรีรวมวงรับประทานดวย ก็จะ
ปฏิเสธและหลกี ไปที่อนื่ เพราะรูสกึ วา อาหารดบิ ๆ สุกๆ น้ัน ไมน า ทาน และผูท ีร่ บั ประทาน
กด็ ปู ระหนงึ่ เหมือนยกั ษท่กี ินเนอื้ ดบิ จึงเกิดความรูสึกหวาดกลัว ไมน า รวมรบั ประทานดว ย

๖ สรุ ยิ าสองฟา จันทรศรสี อ งธรรม

ประสบความวิปโยคแตยังเล็ก

ในปพ.ศ. ๒๔๖๒ ทานตองประสบกับความทุกขอันใหญหลวง ที่ตองเปนเด็กกำพรา
พอตง้ั แตว ัยพงึ่ รูเ ดยี งสา ซ่ึงขณะน้นั ทานอายเุ พียง ๘ ป ทานเลา ใหฟงถงึ ความรสู กึ ทจี่ ำตอง
พลัดพรากจากคนท่ีตนรักดวยความอาลัยอาวรณ แมเหตุการณนั้นจะผานเลยไปกวา ๙๐ ป
แตค วามทรงจำของทานยงั แจม ชดั

ในขณะที่ทานบรรยายเหตุการณในครั้งน้ัน น้ำตาก็เร่ิมปริ่มลนท่ีขอบตาทั้ง ๒ ขาง
น้ำเสียงที่เลาฟงดูสลดใจ “เมื่ออายุได ๘ ป คุณพอก็ปวยเปนโรคฝกรามชางที่ฟน
ทานอาหารอะไรก็ไมไ ด สมัยนนั้ ไมมีหมอ มแี ตย ารากไม สมนุ ไพรกไ็ มหาย ปว ยอยูป ระมาณ
๕-๖ เดือน ก็เสียชีวิตในขณะท่ีอายุไดประมาณ ๖๐ ป เวลาเขา เอาศพไปปาชา ก็ขอตาม
เขาไป เวลาเขาจะเอาศพลงหลุม ก็เปด โลงศพเอาน้ำมะพรา วไปลา งหนาศพ กข็ อเขาทำดวย
พอเห็นหนา พอก็รองไห จากนัน้ เขากเ็ อาฝาปดโลงแลวลงหลุม เอาดินถม ไมไดเผา สมัยนั้น
มแี ตข ดุ หลมุ ฝงในปา ชา ทุกคนในครอบครัวไดร บั ความเศราโศกเสียใจเปน อยา งยง่ิ ”

จากน้ันทานก็ไดอาศัยมารดาและพี่สาวคนเล็กเปนผูเลี้ยงดูดวยเมตตาจิต ทานเริ่ม
เห็นความทุกขยากลำบากในการใชชีวิตทางโลก โดยเฉพาะเม่ือขาดผูนำครอบครัว ตอง
เหน็ดเหนื่อยตรากตรำ ด้ินรนเล้ียงปากเลี้ยงทอง อาศัยเพิงหนาบานประกอบอาชีพคาขาย
อาหารเล็กๆ นอยๆ สวนนาก็ใหเขาเชาทำกิน พอไดขาวมาก็แบงกันคนละคร่ึงเพื่อมาเลี้ยง
ครอบครวั

ทานยังเลาถึงตอนมารดาปวยหนักวา “ตอนน้ันเปนเณรอยูวัดปาวิเวกธรรม จังหวัด
ขอนแกน เขามาบอกวา แมปว ยหนกั ก็ลาพระอาจารยส งิ ห ขนฺตยาคโม ไปดแู มขณะทที่ าน
ยังพอพดู ไดอยู ตอมาทา นกม็ าเสียชวี ิตดว ยโรคชรา อายปุ ระมาณ ๘๐ กวา ป จงึ ใหค นเขาเอา
ไมฝ ง ทหี่ ลมุ ศพทำเปน เครอื่ งหมายไว จนกระท่งั เปนเปรยี ญ พรรษา ๖ พอรับพดั ฯ กลับขน้ึ มา
ก็ใหเขาขดุ ขนึ้ มาเผาโดยท่ฟี น ยังไมถ อนเลย”

เด็กวัดโพธ์ิศรี

ในปพ.ศ. ๒๔๖๔ เม่ือทานอายุได ๑๐ ป พอดี *มารดาก็นำทานไปฝากท่วี ัดโพธ์ิศรี
ซ่งึ ก็ตรงกบั ความประสงคของทานอยูพอดี ทา นเลาใหฟงวา “สาเหตุท่ีชอบไปอยวู ดั เพราะเหน็
พระแลวเลอ่ื มใส” ในขณะน้นั เจา อธกิ ารเปะ ธมมฺ เมตตฺ โิ ก เปน เจาอาวาสวัดโพธิศ์ รี บา นโนนทัน

๗หลวงปจู นั ทรศรี จนทฺ ทโี ป

อำเภอเมอื ง จงั หวดั ขอนแกน มตี ำแหนง เปนเจาคณะตำบลโนนทัน และเปนครูสอนภาษาไทย
นักเรียนโรงเรียนประชาบาลซึ่งต้ังอยูในวัด เจาอาวาสเปนพระใจดี มีเมตตา รับทานไวเปน
ลูกศิษยใกลชิดเหมือนลูกบุญธรรม ทำใหทานไดรับความอบอุนเหมือนกับพอผูบังเกิดเกลา
หลวงพอเปะไดเมตตาทานเปนพิเศษ เนื่องจากเห็นวาทานเปนผูมีความประพฤติเรียบรอย
วา นอนสอนงา ย เช่ือถอ ยฟง คำแนะนำพราํ่ สอนมากกวา เด็กคนอ่ืนๆ ทีอ่ ยูดว ยกนั ๕ คน

ไมเ บียดเบยี นสัตว

ในวัยเยาว เมื่อเพ่ือนชวนใหไปเท่ียวเลนยิงกบ ตกปลาตามประสาเด็ก เด็กชาย
จนั ทรศ รี กไ็ ปเลน กบั เพอื่ นดวย ทา นเลา ใหฟ งอยา งนาขบขันวา “ตอนเปน เดก็ นักเรยี น ยังไม
ไดบวช ฝนตกน้ำเต็มทุงเต็มทาก็เอาเบ็ดมาแจกกัน หลวงปูก็เอา แตไมเอาไสเดือนใสเบ็ด
เอาแตเบด็ ลงน้ำ ทำทาซิดๆ ขึ้น กไ็ มไดป ลา เพือ่ น กม็ าเขกหวั เลน หลวงปกู ็รองบอกไปวา
ก็ปลามันไมกิน กูก็ไมไดซิวะ” หรือตอนที่เพ่ือนพาไปยิงกบเพ่ือนำมาเปนอาหาร เด็กชาย
จนั ทรศ รีกจ็ ะตง้ั ใจยิงขา มเพ่ือไมใหถ กู ตวั กบ เพอ่ื นๆ ตา งไดกบกันไปคนละหลายตัว แตเ ด็กชาย
จันทรศรีกลบั ไมไ ดเลยซกั ตวั ดงั ที่ทานเลาวา “สมยั กอนใชไมซาง เปาพุ (ยงิ ลกู ดอก) ไปยงิ
กบที่หวย พอกบมันกระโดดข้ึนมาก็ยิง แตยิงใหขามหัวกบ เพ่ือนเขาไดคนละพวงสองพวง

๘ สรุ ิยาสอ งฟา จันทรศ รสี องธรรม

หลวงปูไ มไ ดซ กั ตวั เพราะไมไดต ้งั ใจยิงใหมนั ถูก ในชวี ติ หลวงปู ตง้ั แตเกดิ มาเรือ่ งการฆาสัตว
น่ีนอยท่ีสุด จนกระท่ังบวชเปนเณร อายุ ๑๔ ป ก็รักษาศีล ๑๐ และบวชเปนพระก็รักษา
ธรรมวนิ ัยอยูมาตลอดจนถึงปจจุบัน”

นำสตั วไปปลอย

ชวี ติ ของเด็กวัด กต็ อ งรับโอวาทและปฏบิ ตั ริ ับใชต ามความประสงคของครูบาอาจารย
มีอยูคราวหนึ่ง พระไดสั่งใหเด็กชายจันทรศรีนำกบที่อยูในถังใตถุนศาลาไปปลอย (เปน
กัปปยโวหารของพระ ตามพระธรรมวินัย ในความประสงคจริงๆ คือใหนำไปปลอยลงหมอ
ตมน้ำเพื่อประกอบเปนอาหารเพล) แตเด็กชายจันทรศรีกลับนำไปปลอยในปาไผ ดวยความ
ปติ ดีใจที่ไดชวยชีวิตสัตว คร้ันกลับมาพระก็ถามหากบในขณะท่ีจะฉันอาหารเพล เด็กชาย
จันทรศรีก็กราบเรียนไปตามตรงท่ีไดนำกบไปปลอยจึงโดนดุและจะถูกลงโทษ ทานเลา
เหตกุ ารณร ะทกึ ขวัญใน ขณะน้นั วา

“พอฝนตกก็ไปจับกบมาขังไว หลวงปูยังเปนเด็กอยู ยังไมไดบวชเณร พระก็สั่งวา
บักนอ ย มึง เอากบไปปลอ ย หลวงปกู ็เขาใจวา หมายถึงใหเ อาไปฆา แตก็ไมย อมฆา กลบั เอา
ไปปลอยในปาไผ พอกลับมาพระก็ถาม หลวงปูก็ตอบวา ก็บอกใหผมไปปลอย ผมก็เอาไป
ปลอยซิ พระก็ถือไมเรียวจะทำโทษ หลวงปูก็ว่ิงไปหาเจาอาวาสอาจารยเปะ เลาใหทานฟง
ทานก็เลยเรียกพระมาดุ”

เขาสวู ยั เรียน

เม่ือเด็กชายจันทรศรี แสนมงคล อยูรับใชได ๑ เดือน หลวงพอเปะก็นำเขาเรียน
ภาษาไทยในโรงเรียนตอไป ทานเลาถึงการเรียนในสมัยน้ันวา “สมัยกอนโรงเรียนจะมีแต
เฉพาะในวดั เรยี กวา โรงเรยี นประชาบาล การสอนภาษาไทย เร่มิ เรยี นแตช้นั ประถม ก กา
เปน ตน ไป สอนตัวอักษรเสยี กอ น แลว ถึงสอนสระ พอจำไดห มดก็ผสม เขาเรียกวา เตรียม ๑
อายุ ๑๑ ขวบ เรียน ป.๑ อา นหนงั สือออกหมด พออายุ ๑๒ ขวบ ขึ้น ป.๒ ก็สอนเลขคณิต
พออายุ ๑๓ ขวบ จบชั้นประถม ๓ ก็หมดชั้นเรียน ผลการสอบก็ผา นปกติ อายุ ๑๔ ป กใ็ ห
เปน ครูสำรอง ชวยสอน ใชกระดานชนวน ไมมีกระดาษเหมือนสมัยนี้ พอถึงเดือน
พฤษภาคมจะเปดเทอม หลวงปกู ็ขอบวชเปน เณร”

๙หลวงปจู ันทรศรี จนฺททีโป
ชวี ติ ในเพศบรรพชิต

กอ นสูรม ผากาสาวพัสตร

หลวงปูจันทรศรี จนฺททีโป ทานไดเลาเหตุการณตอนที่ทานอายุ ๑๔ ป ชวงที่จะ
ไดเขาสูรมผากาสาวพัสตรเปนครั้งแรก และครองตนอยูในสมณเพศเรื่อยมาจนถึงปจจุบัน
เปนไปดวยความสะดวกราบรื่น สมดังที่มารดาไดอธิษฐานไวกอนท่ีจะต้ังครรภ ดังนี้ “ในป
พ.ศ. ๒๔๖๘ หลวงพอเปะ ไดพิจารณาเห็นวามีความสนใจในทางสมณเพศ จึงเรียกเขา
ไปหาแลวถามวา เธอจะบวชไหม หลวงปูก็ตอบทานวา บวชครับผม นับแตวันน้ันมา
ทานหลวงพอเปะก็สั่งทองคำขานนาค พอหลวงปูทองคำขานนาคไดคลองแคลวแลว ก็เขา
กราบเรยี นทา นหลวงพอ วา กระผมทองเพียง ๗ วนั ก็จำไดหมด พอวาใหท านฟง ทานพูดวา
บวชไดแลว หลวงปูไปขออนุญาตจากคุณแมวา หลวงพอเปะจะบวชเณรใหผม เม่ือคุณแม
ไดยินคำพูดวา บวชเณรเทา นั้น ก็อนุญาตทันที มีความปติยนิ ดี เปนอยางย่ิง สมจริงตามที่
ตง้ั ใจไว”

บรรพชาเปนสามเณร พระจันทรศ รี แสนมงคล

หลวงปูเลาตอวา “ตื่นเชาวันขึ้น
๑ คํา่ เดอื น ๖ พุทธศกั ราช ๒๔๖๘ เวลา
๐๖.๓๐ น. คุณแมไดจัดภัตตาหารกับ
ดอกไม ธูปเทียนถือออกไปวัดเพ่ือถวาย
หลวงพอเปะผูเปนท่ีพึ่งของตน และให
ค ว า ม อุ ป ถั ม ภ แ ก เ ด็ ก ช า ย จั น ท ร ศ รี
เปนอยางดี เวลาสองโมงเชา พรอมดวย
พระ ๘ รปู รวมเปน ๙ รูปกบั หลวงพอ
เปะ ไดนำเด็กชายจันทรศรี แสนมงคล
กับแมและญาติโยมผูคุนเคยกันจำนวน
๒๙ คนไปเวยี นโบสถ ๓ รอบ แลว เขา ไป

๑๐ สรุ ิยาสองฟา จนั ทรศรสี องธรรม

ในโบสถ พอไดเวลาสามโมงเชา ทานหลวง พอเปะ ธมมฺ เมตฺติโก นัง่ เปน อปุ ชฌาย บรรพชา
ใหเ ดก็ ชายจนั ทรศ รี ทา นหลวงพอ เปะใหส รณะและศีลเอง เสร็จการบรรพชาตอ จากน้ัน คุณแม
และผูที่มารวมงานบวชเณรก็ถวายเครื่องไทยทาน พระสงฆท้ัง ๙ รูปก็ใหพรอนุโมทนาทาน
เปน การเสรจ็ พิธี

เมือ่ บวชแลว ทา นหลวงพอใหท อ งทำวตั รเชา ทำวตั รคา่ํ สวดมนตเ จด็ ตำนาน สิบสอง
ตำนาน และพระสูตรตางๆ ไดค ลอ งแคลวแลว ใหเ รียนอกั ษรธรรม เชน (นะ โม พุท ธา ยะ)
อักษรธรรมประจำภาคอีสาน อักษรขอม (อิ สวา สุ) อักษรขอม ภาษาเขมร จนอานออก
เขียนไดคลองแคลว ตอจากน้ันก็ฝกหัดเทศนมหาชาติชาดก ประจำภาษาพ้ืนเมืองของ
ภาคอีสาน (เทศนเสียงทำนองภาคอีสาน) ไดตามนิยมพอสมควร อยูปฏิบัติพระอุปชฌาย
ตั้งแต พ.ศ. ๒๔๖๘ - ๒๔๗๐ รวม ๓ ป”

ผดี อนเจา ปู

เมอื่ หลวงปจู นั ทรศ รีอายุได ๑๗ ป ในวันที่ ๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๗๑ อาจารย
บุตรดี แสนมงคล (โยมอา) ไดไปขออนุญาตจากทานหลวงพอเปะ ธมฺเมตฺติโก เจาอาวาส
วดั โพธศ์ิ รี บา นโนนทัน ผูเ ปน พระอปุ ชฌาย ใหสามเณรจันทรศ รี ไปอยวู ัดสมศรี บานพระคอื
ตำบลพระลับ อำเภอเมือง จงั หวดั ขอนแกน มพี ระอาจารยล ี สิรินฺธโร เปนเจาอาวาส ตอมา
โยมอาบุตรดี แสนมงคล ไดนำเด็กชายจูม แสนมงคล มาบรรพชา โดยพระอาจารยลี
สิรินฺธโร เปนพระอุปชฌาย ใหอยูเปนเพ่ือนกัน ก็ไดเลนสนุกไปตามประสาเณรนอย จนได
ประสบเหตกุ ารณแ ปลกๆ อยางไมคาดฝน ทานเลาใหฟ ง ดงั น้ี

“ขณะอยูในวดั สมศรี วันที่ ๕ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๔๗๑ เวลาบา ยโมง สามเณร
จันทรศรี แสนมงคล กับสามเณรจูม แสนมงคล เปนเณรท่ีไมกลัวผี จึงชวนกันไปตัดไมไผ
ในดอนเจาปูคนละ ๑ ลำ เพื่อนำมาฝกหัดสานตะกรา แตไมกลาถือเขามาในวัดในเวลา
กลางวันเพราะกลัวเจาอาวาสจะลงโทษ จึงนำไปซอนไวในพุมไมอีกแหงหน่ึง เวลาค่ํา
ประมาณ ๑ ทุมจึงจะพากันไปเอาไมไผ ในคืนวันน้ันเวลาหัวคํ่า ผีเจาปูไดเขาสิงนางสุณี
ซึ่งมีบานอยูใกลวัด มีอาการ ดุดา ทำทากิริยา กายวาจา ดุดาคนโนนคนนี้ ซ่ึงพากันไปดู
นายบุญมี ผูเปนสามี จึงนิมนตพระอาจารยลี สิรินฺธโร เจาอาวาสวัดสมศรี มาทำน้ำ
พระพุทธมนตใหนางสุณีดื่ม พอด่ืมน้ำพระพุทธมนต ไปไดสัก ๒-๔ นาที ก็พูดออกมาวา

๑๑หลวงปจู ันทรศรี จนฺททีโป

กูจะฆาเณรนอ ยท้ัง ๒ รปู ซงึ่ ไปตดั ไมไผก ูใหตาย สว นสามเณรจนั ทรศ รกี บั สามเณรจูม ก็ดูอยู
ท่ีนั้นเช่ือบาง ไมเช่ือบาง จึงพากันกลับวัด พอมาถึงกุฏิแลวก็พากันสวดกรณียเมตตาสูตร
พรอมท้ังแผเมตตาจิตใหเจาปูหายโกรธ เวลาเท่ียงคืน ผีเจาปูออกจากการเขาสิงรางนางสุณี
นางสุณีก็ลุกขึ้นน่ังพูดตามปกติ เหมือนไมมีอะไรเขาสิงมากอน คนทั้งหลายก็พากันกลับไป
เรอื นของตน

เวลาเชาพระอาจารยลี สิรินฺธโร เจาอาวาสเรียกสามเณรจันทรศรีและสามเณรจูม
ไปถามวาเณรท้ัง ๒ รูป ไดพากันไปตัดไมไผในดอนเจาปูหรือไม สามเณรจันทรศรีและ
สามเณรจูมก็ ตอบทานวา กระผมท้ัง ๒ รูปไดไปตัดไมไผดังท่ีนางสุณีพูดตอนผีเขาสิงจริง
ทานพระอาจารยลไี ดฟ งแลวก็ไมว า อะไร

ในสถานที่นั้น ที่ต้ังศาลเจาปูไวบนจอมปลวก มีตนหวาใหญอยูที่น่ัน ซึ่งชาวบาน
ถือกันวาศักดิ์สิทธิ์และมีฤทธิ์เดชมาก มีปาไมไผ และปลูกตนไมนานาชนิดอยูในดอนน้ัน
เปนจำนวนมาก ชาวบานเรียกดอนปูต า เมือ่ เดือน ๖ ขน้ึ ๑๕ ค่าํ ชาวบา นพรอ มกันจดั เครือ่ ง
สงั เวยมี หัวหมู ๑ หวั เปด ๙ ตวั ไก ๙ ตัว เหลา ๑ ไห และดอกไม ธูปเทยี นไปทำพธิ ี
บวงสรวง กราบไหวเปนประจำทุกปเพื่อความสุขสวัสดิ์พิพัฒนมงคลแกตน ทุกคนในหมูบาน
พระคือ ตำบลพระลับ อำเภอเมอื ง จงั หวดั ขอนแกน สถานท่ีน้ีมีลำหว ยใหญ มนี ้ำใสสะอาด
ปราศจากมลพษิ ท้ังปวง และเปน ทส่ี งบ สงดั วิเวก วงั เวง รมรื่น ไมม ใี ครรบกวน อกี ท้ังไมม ี
ใครไปตัดตนไมในดอนนั้นเพราะกลัวเจาปูจะโกรธ ถามีผูใดผูหน่ึงไปตัดตนไมในดอนน้ัน
เอามาใชประโยชนสวนตัว พอถึงเวลากลางคืนประมาณ ๔-๕ ทุม เจาปูก็จะแสดงตน
เปนเสือ เปนงูใหญ เขาไปในกลางหมูบานใหเห็น เมื่อชาวบานเห็นเสือก็ดี เห็นงูใหญก็ดี
จงึ ไปบอกแกผูเฒา ท่ีเปนคนดแู ลศาลเจาปู (ชาวบานเรียกวา พอ จ้ำ) คือ ผรู ับใชเจาปนู ั่นเอง
เมอื่ ผูรกั ษาศาลเจา ปทู ราบแลว คิดวาเหตกุ ารณท ไ่ี มเปนมงคลจกั เกิดแกคนในหมบู า นแนน อน
จึงบอกใหผูใหญบานเรียกประชุมลูกบาน เม่ือลูกบานมาประชุมพรอมกัน ผูเฒาก็จะบอกให
ผทู ำผิดน้นั น่ังคกุ เขา ประนมมือ กลา วคำขอขมา พรอมดวยของเซน ไหวตางๆ”

เรื่องการนบั ถือผสี างนางไม พระภูมเิ จาที่ บนบานศาลกลา วดวยเคร่อื งเซน บวงสรวง
ไดเปนความเชื่อที่ฝงลึกอยูในชีวิตของชาวบานโดยทั่วไป ในสมัยกอนคนจะตกอยูในความ
หวาดกลัวอำนาจลี้ลับท่ีไมมีใครจะกลาไปทาทาย ตองยอมตนอยูภายใตความเช่ือดังกลาว
เพื่อใหรอดพนอันตรายจากสิ่งล้ีลับ จนกระท่ังพระอาจารยมั่น ภูริทตฺโต ไดฝกหัดปฏิบัติตน

“๑๒ สุรยิ าสอ งฟา จนั ทรศรสี อ งธรรม

จนคนพบธรรมอันเปนท่ีพึ่งอยางแทจริง นำมาเผยแผสั่งสอนบรรดาพระเณรและศรัทธา
ญาติโยม ใหเลิกนับถือภูตผีปศาจ หันมานับถือไตรสรณคมนเปนท่ีพ่ึง เกิดความศรัทธา
เล่ือมใสในปฏิปทาคำสอน นอมรับเอาไปปฏิบัติตาม จนบังเกิดผลเปนความสุขอยางแทจริง
ความเช่ือที่ผดิ ๆ ก็ไดลดนอ ยลงไป ดงั คำเทศนาของทา นพระอาจารยม ั่น ภูริทตฺโต ตอนหนง่ึ
วา

“การใหทานและการรักษาศลี ภาวนาน้ัน ถา จะใหเ กดิ ผลานสิ งสม าก
จะตอ งละจากความเห็นทีผ่ ิดใหเ ปน ถกู เสยี กอ น
เชน การนับถอื ภูตผปี ศ าจ ตลอดจนเทวดาและนางไมเปน สรณะ
เปนเรอื่ งท่ีเหลวไหลไรเหตผุ ล

๑๓หลวงปูจ ันทรศรี จนฺททโี ป

ใบประกาศนกั ธรรมช้นั ตรี มอบให สามเณรจนั ทรศ รี แสนมงคล เมือ่ วนั ที่ ๑๘ พฤษภาคม ๒๔๗๕

๑๔ สรุ ยิ าสอ งฟา จันทรศ รสี องธรรม

รกั ษาพระธรรมวนิ ยั

การบวชเปนพระเปนเณร หากต้ังใจประพฤติปฏิบัติตามพระธรรมวินัย ยอมเกิด
อานิสงส ผลบุญเปนอันมาก ตรงกันขาม หากยอหยอน ละเลย ไมรักษาศีลใหบริสุทธ์ิ
ยอมเกิดผล อันเปนทุกขในภายหลัง ดังท่ีหลวงปูเลาวา “บวชเปนเณรมหานิกายอยู ๔ ป
ต้ังแต พ.ศ. ๒๔๖๘-๒๔๗๑ เพื่อนเขาชวนใหไปกินขาวเย็นก็ว่ิงหนีเลย ไมเอา บอกวามัน
ผิดศีล หิวก็ตองอด สวนเพื่อนไอคนท่ีมันกิน ข้ีกลากกินหัวบาง หิดบาง แตหลวงปูไมเปน
อะไรเลย เพราะรกั ษาศีล รกั ษาความสะอาด พออายุ ๑๗ ป กข็ อญัตติเปนธรรมยุต”

กองทพั ธรรม

ยอนกลับไปชวงที่กองทัพธรรมพระกัมมัฏฐานออกธุดงคเพื่อเผยแผธรรมใน
ภาคอีสาน หลังจากออกพรรษา ป พ.ศ. ๒๔๖๙ แลว ทา นพระอาจารยม่นั ภูริทตฺโต และ
ศิษยานุศิษยประกอบดวยพระภิกษุสามเณรประมาณ ๗๐ รูป เดินทางมาท่ีบานโนนแดง
อำเภอทาอุเทน (ปจจุบันอยูในกิ่งอำเภอนาหวา) จังหวัดนครพนม และท่ีน้ันไดมีการประชุม
หารือกันในเรื่องที่จะไปเผยแผธรรมและไปโปรดเทศนาญาติโยมท่ีเมืองอุบลฯ รวมทั้งไดวาง
ระเบียบการปฏิบัติเก่ียวกับการอยูปา การต้ังสำนักปฏิบัติ และแนวทางแนะนำสั่งสอน

ภาพประวตั ิ พระธดุ งคกมั มัฏฐาน สายหลวงปมู ั่น ภูริทตฺโต จติ รกรรมผนื ผา ใบ ประดิษฐาน ณ ชั้น ๒
พระบรมธาตุธรรมเจดยี  วัดโพธสิ มภรณ

๑๕หลวงปูจันทรศรี จนทฺ ทีโป

ภาพพระบรู พาจารย พระธุดงคกัมมัฏฐาน สายหลวงปูมนั่ ภูริทตโฺ ต

การปฏิบัติธุดงคกรรมฐาน เพื่อใหคณะศิษยนำไปปฏิบัติใหเปนระเบียบเดียวกัน การเดิน
ธดุ งคแบบนที้ า นบอกวา เปนการโปรดสตั ว เพ่อื ใหเปน ประโยชนแ กพุทธบริษทั ท้งั หลาย

ในป พ.ศ. ๒๔๗๐ ขณะทท่ี า นพระอาจารยมั่นทำสมาธิภาวนา ก็ไดปรารภขนึ้ ในใจวา
“จะออกจากหมูคณะไปแสวงหาสถานท่ีวิเวก เพื่อจะไดมีโอกาสพิจารณาคนควาในปฏิปทา
สัมมาปฏบิ ตั ิ ใหไดรบั ความเขา ใจชดั เจนและแจมแจง เขาไปอกี แลว จะไดเ อาปฏิปทาอนั ถูกตอง
นั้นฝากไวแกเหลาสานุศิษยในอนาคตตอไป เพราะพระธรรมวินัยของพระสัมมาสัมพุทธเจา
ท่ีพระองคทรงตรัสไวดีแลวน้ันยอมมีนัยอันสุขุมลุมลึกมาก ยากที่จะทำความเขาใจใหถูกตอง
ตามพุทธประสงคได

ผูปฏิบัติตามรอยพระบาทพระพุทธองคและตามปฏิปทาที่พระอริยเจาไดดำเนิน
มากอนแลวนั้น เมื่อไมเขาใจแจมแจงแลว ยอมจะเขวไปจากปฏิปทาที่ถูกตองก็เปนไดหรือ
อาจดำเนนิ ไปโดยผิดๆ ถกู ๆ เม่อื เปน เชน นนั้ แลว ผปู ฏบิ ตั ิดีทั้งหลายกจ็ ะเขา ไมถ งึ ศีลถงึ ธรรม
หรืออาจถึงกบั ปว ยการไมเ ปน ประโยชนแกตนของตน การปฏบิ ัตพิ ระธรรมวินยั ในพระพุทธศาสนา

๑๖ สรุ ยิ าสอ งฟา จนั ทรศ รสี อ งธรรม

กจ็ ะมแี ตความพอกพูนกเิ ลสใหเ จริญงอกงามข้นึ ในตนของตนเทานน้ั ซ่ึงไมสมกับวา พระธรรม
วินยั เปน ของชำระกิเลสที่มอี ยูใ หส ิ้นไปจากสนั ดานแหงเวไนยสัตวทงั้ หลาย

อน่ึง การอยูกับหมูคณะจะตองมีภาระการปกครอง ตลอดถึงการแนะนำพร่ําสอน
ฝกฝนทรมานตางๆ ซึ่งทำใหโอกาสและเวลาท่ีจะคนควาในพระธรรมวินัยไมเพียงพอ ถาแล
เราปลีกตัวออกไปอยูในสถานท่ีวิเวก ซึ่งไมมีภาระแลว ก็จะไดมีโอกาสเวลาในการคนควา
มากขึน้ ผลประโยชนในอนาคตก็จะบังเกิดข้ึนมาใหเ ปนทนี่ าพึงใจ”

ครน้ั ทา นปรารภในใจอยางนน้ั แลว ทานจงึ ไดเรยี กศิษยท ั้งหลายมาประชุมกัน ทา นได
แนะนำใหมีความม่ันคงดำรงอยูในขอวัตรปฏิบัติอยางที่ไดเคยแนะนำสั่งสอนมาแลวน้ัน
แลวจึงไดมอบหมายใหอำนาจแกพระอาจารยสิงหและพระอาจารยมหาปนเปนผูบริหาร
ปกครองแนะนำพรา่ํ สอนตามแนวทางที่ทา นไดแนะนำมาแลว ตอไป

ในป พ.ศ. ๒๔๗๑ พระอาจารยสิงห และพระอาจารยม หาปน พรอมดว ยพระภกิ ษุ
สามเณรรวมกันถึง ๘๐ รูป ไดเดินธุดงควัตรจากจังหวัดอุบลฯ มาถึงเมืองขอนแกน โดยมี
จุดมุงหมายจะมาชวยเผยแผพระธรรมคำส่ังสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจา หลังจากนั้นก็ได
แยกกันจำพรรษาตามสำนกั สงฆตางๆ

การญัตตพิ ระเณร เปน ธรรมยุต

ในป พ.ศ. ๒๔๗๒ พระอาจารยม หาปน ปฺาพโล และพระอาจารยออน าณสริ ิ
อยจู ำพรรษาที่สำนกั สงฆว ดั ปา บานพระคอื ตำบลพระลบั อำเภอเมือง จังหวัดขอนแกน ในการ
เพ่ือเผยแผธรรมท่ีหมูบานน้ี ถือวาไดผลดีเปนอยางย่ิง เพราะทานเจาอาวาสวัดสมศรี
พระอาจารยลี สิรินฺธโร ทานฟงเทศนแลวเกิดความศรัทธาเล่ือมใส จึงมาขอญัตติเปนพระ
เปนเณร ธรรมยุต หมดทัง้ วัด มีพระ ๕ รูปสามเณร ๑ รูป ประกอบดวย

๑. พระอาจารยล ี สริ นิ ฺธโร
๒. พระสอน สสุ าสโก
๓. พระวนั สวุ ณโฺ ณ
๔. พระทองคำ คมภฺ ีรปโฺ 
๕. พระคำไพ อุปควณฺโณ
๖. สามเณรจนั ทรศ รี แสนมงคล

๑๗หลวงปจู นั ทรศรี จนฺททีโป

จากซาย หลวงปฝู น อาจาโร, พระอาจารยมหาปน ปฺ าพโล พระญาณวศิ ิษฏ (หลวงปูส ิงห ขนฺตยาคโม)

ทานพระอาจารยมหาปน ปฺาพโล รับวา “ญัตติได” แตใหมาฝกคำขานนาค
ดวยสำเนียงภาษามคธ จนคลองแคลวเสียกอน ตอจากน้ัน ไดมาฝกคำขานนาคกับทาน
พระอาจารยออน าณสิริ เพยี ง ๗ วัน เทาน้นั กว็ าไดถ กู ตอ งตามอกั ขรฐานกรณของภาษา
มคธ แลวพระอาจารยมหาปน ปฺาพโล จงึ ไปเรยี นให ทา นพระอาจารยสิงห ขนตฺ ยาคโม
ทราบความประสงค ทานพระอาจารยสิงหเห็นชอบดวย จึงไปกราบเรียน พระครูพิศาล
อรัญญเขตร เจาอาวาส วัดศรีจนั ทร มาเปนพระอปุ ช ฌาย ทานพระครูพศิ าลฯ สั่งวา ใหจัดแพ
กลางลำหวยพระคือ (สีมาน้ำ) เรียบรอยแลว กำหนดวันบวช ขึ้น ๑ คํ่า เดือน ๕ พ.ศ.
๒๔๗๒ กอนท่ีจะทำพิธี ญัตติน้ันทานพระอาจารยมหาปน ปฺ าพโล ใหลาสิกขากอนแลว
ใหนงุ ผา ขาวหมผา ขาว เวลาบา ยโมงทำพิธีญัตติกรรมในสีมานำ้

พระครพู ิศาลอรญั ญเขตร เปนพระอปุ ช ฌาย
พระอาจารยสงิ ห ขนตฺ ยาคโม เปน พระกรรมวาจาจารย
พระอาจารยมหาปน ปฺ าพโล เปนพระอนุสาวนาจารย

พระน่ังอันดับ ๒๖ รูป ลวนเปนพระกัมมัฏฐานท้ังนั้น รวมกันเปน ๒๙ รูป
สวนสามเณรจันทรศรี แสนมงคล พระอาจารยมหาปน ปฺาพโล เปนผูใหสรณะและศีล
เม่อื บรรพชาอุปสมบทแลว กอ็ ยวู ัดปา ดอนเจาปเู พอื่ อบรมกมั มฏั ฐานและธดุ งควัตรตอไป

๑๘ สุริยาสอ งฟา จนั ทรศ รสี องธรรม

นับแตน ้ันมาพระธรรมยตุ เกดิ ขึน้ ทีบ่ า นพระคอื ตำบลพระลบั อำเภอเมือง จังหวดั
ขอนแกน โดยพระ ๕ รูป สามเณร ๑ รูป เมื่อญัตติแลวอยูรับการอบรมจิตภาวนาและ
ขอ วตั รปฏิบัตใิ นธดุ งควตั ร ๑๓ ขอ ถือเปนผลงานของพระอาจารยม หาปน ปฺาพโล และ
พระอาจารยอ อ น าณสริ ิ

เดินธุดงควัตรปฏบิ ตั ิกัมมัฏฐาน

ห ล ว ง ปู จั น ท ร ศ รี ไ ด เ ล า ถึ ง
ประสบการณท่ีไดเคยออกเท่ียวธุดงค
กัมมัฏฐานในขณะ เปนสามเณรดังนี้
“ออกพรรษาแลวตนเดือนพฤศจิกายน
พ.ศ. ๒๔๗๒-๒๔๗๓ พระอาจารยออน
าณสิริ พรอมดวย พระลี พระสอน
พระทองคำ พระวัน สามเณรจันทรศรี
สามเณรพรหม และสามเณรกลม คฤหัสห
๑ คน กราบลา พระอาจารยส ิงห ขนฺ
ตยาคโม ไปวเิ วก ตำบลสาวถี พักที่ปา ชา
บานโนนรังได ๑ เดือน กำนันไดนำ
ราษฎรในบานสาวถี บานง้ิว จำนวนมาก
มาฟงการอบรมศีลธรรมเปนประจำทุกวัน
จากนน้ั พระลี สริ นิ ธฺ โร ผูเปนหัวหนา คณะพระ ๔ รูป สามเณร ๑ รูป กราบลาพระอาจารย
ออน าณสิริ เพ่ือไปวิเวกตอบนภูเกา อำเภอโนนสัง จังหวัดหนองบัวลำภู อันเปนสถานท่ี
สงบสงัดเปน เวลา ๑ เดือน เดนิ ทางไปวเิ วกท่ี ถำ้ ผาปู จงั หวัดเลย และพกั ๑ เดอื น จากนน้ั
เดินทางมา พักบานนาสีดา พักท่ีพระพุทธบาทบัวบก ชวยพระอาจารยสีทัตถ พระอาจารย
บุญ ปฺญาวโุ ธ สรางเจดยี อ ยู ๑ เดอื น ตอนนัน้ หลวงปเู ปนสามเณรอายุ ๑๗-๑๘ ป ไปพกั
อยูคอกมาบารส ก็ไปชวยยกหิน ขนวัสดุ ทำเจดียครอบรอยพระพุทธบาท สมัยน้ันไมมี
ปูนซีเมนต ใชปูนขาว เผาทางฝงไทยบาง ฝงลาวบาง กอข้ึนไปเรื่อยๆ พระอาจารยสีทัตถ
เปนพระฝายมหานิกาย พระอาจารยบุญ เปนพระฝายธรรมยุต ก็มาชวยกัน พระอาจารย

๑๙หลวงปูจนั ทรศรี จนทฺ ทีโป

สีทัตถเปนคนทาอุเทน มีญาติโยม จากฝงไทยบาง ฝงลาวบาง มาชวยงาน กอสรางเปน
จำนวนมาก”

ภาวนาสูค วามกลัวเสือ

หลวงปูเลาตอวา “จากนั้นก็ลงมาพักปาชาบานคอ วัดปาอรัญญิกาวาส อำเภอ
บานผือ จังหวัดอุดรธานี แลวเดินทางไปพักที่หินหมากเปงเปนเวลา ๗ วัน แลวเดินทาง
ตอจนมาพักที่พระพุทธบาทเวินกุม ตอนนั้นยังไมมีมณฑปครอบรอยพระพุทธบาท
รอยพระพุทธบาทมีขนาดใหญ ขางๆ มีโพรงหินเปนรใู หญ มนี ้ำใสสะอาดอยูเต็มไมเคยหมด
ไดอาศัยดื่มกิน เช่ือกันวาเปนรูพญานาค ตอมามีคนเอาปูนไปเท ทำเปนรอยพระพุทธบาท
จำลองครอบของจริง ตอนพลบค่ํา พระอาทิตยจะอัสดงตกดิน ปาไมอันเปนทิวทัศน
ทส่ี วยงามเปนทป่ี ระทบั ใจ หลวงปูจุดเทยี น เดนิ จงกรม มีกระตายปามาเลน แสงเทียน หลวงปู
กจ็ บั ใบหูกระตาย ยกเลน มนั ไมก ลวั พระเณรเลย ประมาณ ๑ ทมุ ไดย นิ เสียงเสอื รองดงั กอง
ปาเขามา ในบริเวณใกลท่ีพัก หลวงปูไปพักอยูกับเณรสอน ไกลประมาณ ๑ กม. หางจาก
พระอาจารยลี เณรสอนกลัวเสือมากจนปสสาวะราดโดยไมรูตัว ชวนหลวงปูใหกลับไปพักกับ
พระอาจารยลี หลวงปูก็กลัวเหมือนกัน แตก ็ไมไ ปกับเณรสอน พกั อยอู งคเดียว ต้ังใจภาวนา
พุทโธๆ สูกับความกลัว พระอาจารยลี จึงเตือนวา อันตรายใกลเขามา ใหพากันต้ังใจ
เดินจงกรมภาวนา มรณสติ แผเ มตตาจิตใหสรรพสตั วท่ีเกิด แก เจ็บ ตาย ดว ยกนั ทง้ั หมด
ท้ังส้ิน ไมนานเทาไร เสียงน้ันก็เงียบไป ในคืนนั้นต้ังจิตประกอบความเพียร ท้ังเดินจงกรม
นั่งสมาธิสลับกันไปไมนอนตลอดคืนเพราะกลัวเสือ จิตของสามเณรจันทรศรีในขณะนั้นก็
สงบเยือกเย็นพอสมควร ความกลัวก็หายไป ไดพักอยู ๑ เดือน จากนั้นเดินทางไปพัก
วัดอรัญญวาสี อำเภอทาบอ จังหวัดหนองคาย เพื่อศึกษาขอวัตรปฏิบัติจากพระอาจารย
สุวรรณ สจุ ณิ โฺ ณ”

โอวาทธรรมจากพระอาจารยส วุ รรณ สจุ ณิ โฺ ณ

พระอาจารยสุวรรณ สุจิณฺโณ ทานใหโอวาทวา กรรมฐาน กรรมถอก กรรมหลอก
เอาของ ทานอธิบายวากัมมะ ไดแกการกระทำ ฐานะแปลวา เปนท่ีต้ังแหงการเจริญจิต
ภาวนา ต้ังสติสัมปชัญญะ พิจารณาวา จงรีบเรงทำความเพียรภาวนา จนใหเขาใจในธรรม

๒๐ สรุ ยิ าสองฟา จันทรศ รีสอ งธรรม

คำสอน ของพระพุทธเจาอยามัวเมาวา เรายังเปนหนุม รางกายยังแข็งแรง กรรมหลอก
เอาของ หมายความวา หลอกลวงเอาขาวเอาของมเี งนิ มีทอง เปน ตน ทำตนเปน ผูเครง ครดั
ในการปฏิบัติ ความจริงไมเปนเชนน้ัน กินแลวก็นอนมีหมอนเปนที่พึ่ง ไมคำนึงถึงตัววา
บวชมา เพื่อหลอกลวงประชาชนใหเขานับถือตนวา เปนผูวิเศษ เม่ือไดเงินไดทองมากๆ
แลว ก็ลาสกิ ขาไปโดยไมเ หน็ ธรรมคำส่ังสอนของพระพทุ ธเจาแมแ ตนิดหนอย ฯลฯ

หลวงปูไดพักอบรมภาวนาอยูกับทานพระอาจารยสุวรรณ วัดปาอรัญญวาสี อำเภอ
ทา บอ จงั หวัดหนองคาย เปนเวลา ๑๕ วนั กก็ ราบลาทา นขามแมน ำ้ โขงไป นครเวียงจันทน
พักที่หนาโบสถวัดจันทนเปนเวลา ๗ วัน มีคุณยายแจงและญาติพ่ีนองเปนคนนครราชสีมา
มาทำคาขายอยู ณ ท่ีนนั้ ไดถ วายความอุปถมั ภดวยจติ อันเปนกุศลใหเ ปนทีพ่ ง่ึ ของตน พกั อยู
วัดจันทนเพียง ๗ วัน ก็ลาคุณโยมแจงและญาติโยมชาวเวียงจันทน ประเทศสาธารณรัฐ
ประชาธิปไตยประชาชนลาว กลบั ประเทศไทยโดยนง่ั เรอื ขามแมน ้ำโขงมาฝง ไทย ไดไปขอพัก
วัดศรีเมือง ทานใหพักในโบสถ ใหความสงเคราะหเปนอยางดี เมื่อฉันภัตตาหารเชาแลว
กราบลาทานกลับจังหวัดอุดรธานี แลวมาพักที่วัดโนนนิเวศนเปนเวลา ๓ คืน ก็เดินรุกขมูล
ไปอำเภอกุมภวาป ๓ วนั ถงึ วดั จอมศรี เขากราบนมสั การทานพระครูพทิ กั ษ คณานกุ าร (สี)
เจาคณะอำเภอกมุ ภวาป แลวขออนุญาตทานไปพักทด่ี อนปูตา บา นหนองหลม ซ่งึ เปน สถานที่
ชาวบานเขานับถือ ทั้งเขาหามไมใหพักกลัวเจาปูจะทำอันตราย แตพระอาจารยลี สิรินฺธโร
ผเู ปนหวั หนา คณะจงึ พดู กบั ญาตโิ ยมวาไมก ลวั ตาย จนประชาชนทง้ั หลายกอ็ นุญาตใหพ ักได

โปรดญาตโิ ยมใหถอื พระรัตนตรัย เปนสรณะ

ตอนเชา ออกบิณฑบาตในหมูบ า นหนองหลม ไดมาแตขา วเปลา เมอ่ื กลบั ถงึ ท่ีพักแลว
มีโยมผูหญิง ๓ คนถือปนโตใสอาหารมาถวายสามเณรจันทรศรี เอาปนโตมาเปดดูมีปลารา
ดิบกับผักบุงจึงหาฟนมากอไฟขึ้น แลวบอกใหโยมผูหญิง ๓ คน อายุประมาณ ๕๐ ปเศษ
ไปหาใบไมมาหอ ปลารา เอาหมกไฟใหสกุ ดี แลว เอาใสบาตรถวายพระ สวนสามเณรจนั ทรศ รี
เอาไวพอฉัน คร้ันรุงข้ึนมีชาวบานประมาณ ๑๐ คนเปนผูหญิงนำอาหารมาถวาย มีน้ำพริก
ปลาราดบิ เปน สว นมาก สามเณรจันทรศรีไดบ อกใหโยมเหลาน้นั ทราบวา พระกัมมฏั ฐานทาน
ไมฉ ันของดิบ วันตอ มาญาตโิ ยมเหลา น้ันกเ็ ขา ใจ มคี วามเล่อื มใสศรทั ธา ชักชวนชาวบา นมา
ฟงเทศนา แนะนำใหเลิกจากการถือผีเสียแลว ใหมาถือพระรัตนตรัย การถือผีเปนมิจฉาทิฐิ

๒๑หลวงปูจ นั ทรศ รี จนทฺ ทโี ป

(มีความเห็นผิด) ไมไ ดบ ุญ ถอื เอาคณุ พระรตั นตรัยและศลี ๕ เปนสรณะที่พ่งึ ทีเ่ คารพ นับถือ
ตลอดชีวิต จิตจึงเปนบุญเปนกุศล ทำตนใหอยูเปนสุขตลอดชีวิต สวนผีน้ันไมมีตัวตน
ใหคนเหน็ ท้ังไมเ คยสอนใหค นนับถอื ละบาปบำเพญ็ บุญและรกั ษาศลี ใหทานเลย มีแตจะบอก
ใหเซนบวงสรวงบูชาดวยหัวหมู เปด ไก เหลาไห เทานั้น ผีมันไมไดกิน คนเปนผูฆาสัตว
มาเซนผี เม่ือผีไมกนิ คนเอามากนิ เอง ผีไมต อ งรบั บาป คนผฆู าสตั วน ่นั แหละเปนผรู บั บาปเอง
ผีก็ชวยไมไ ด พระพุทธเจาทรงสอนใหช าวโลกท้ังปวง ละช่ัว ประพฤตดิ ี มีจติ ใจผองใส

ยงิ ปน ขูพระกรรมฐาน

ในคนื วันที่ ๓ กม็ เี หตกุ ารณไ มป กตเิ กดิ ข้นึ เวลาประมาณ ๒ ทมุ เศษ ไดย นิ เสยี งปน
ดังขึ้น ๒๐ นัดแตไมมีใครถูกลูกปน พระอาจารยลี สิรินฺธโร จึงเรียกพระเณรมารวมกันแลว
เตือนวา วันนี้ภัยอันตรายคือความตาย จะมาถึงพวกเราแลว ขอใหพระเณรทุกรูปจงต้ังใจ
สละชีวิตเพ่ืออุทิศตอพระรัตนตรัย ต้ังใจประกอบความเพียร เชน เดินจงกรมบาง นั่งสมาธิ
บาง แผเมตตาใหแกผ มู งุ รา ยตอพวกเรา วันนัน้ พวกเราไมนอนตลอดทัง้ คนื

ตอ มาอกี ๓ วนั มีโยมผชู ายอายปุ ระมาณ ๔๐ ปเศษ นิมนตพระอาจารยล ี สิรนิ ธฺ โร
ผูเปนหัวหนาคณะวา เวลา ๑๓.๐๐ น. ขอนิมนตทานพระอาจารยเทศน ๒ ธรรมาสน กับ
พระอาจารยส รอย เจา อาวาสวัดบานหนองหลม พระอาจารยต อบวาได

เมื่อถึงเวลาที่ทั้ง ๒ ขึ้นบนธรรมาสน พระอาจารยสรอยถามวา ทานมาอยูท่ีนี่เพ่ือ
ประสงคอะไร พระอาจารยลี ตอบวาเพื่อเจริญสมถวิปสสนากัมมัฏฐาน เพ่ือประหารกิเลส
คือ ทิฐิ มานะ ใหลดนอยถอยลงไป ทำจิตใจใหโปรงใส ฯลฯ พระอาจารยลี ถามบางวา
พระกรรมฐานมีเทาไร พระอาจารยสรอย ตอบวา โดยยอมี ๕ อยาง มีเกสา โลมา นขา
ทนฺตา ตโจ ดังน้ี พระอาจารยลีถามอีกวา กรรมฐานท้ัง ๕ อยางน้ี ขอใหทานอธิบายให
กระจา งดว ย พระอาจารยสรอ ยอธบิ ายวา เกสา ผม โลมาขน นขาเลบ็ ทนตฺ าฟน ตโจหนัง
พระอาจารยล ถี ามวาการพิจารณาผม อยางไรจงึ จะเปนกรรมฐานได พระอาจารยส รอ ยตอบ
ไมได ญาติโยมผูน่ังฟงเทศนประมาณ ๑,๐๐๐ คนเห็นวาพระอาจารยสรอยนิ่งอยูพักหน่ึง
เพราะไมเคยเจริญภาวนากรรมฐาน ๕ เลย เปนแตเพียงจำได ตอนั้นไปพระอาจารยสรอย
ก็ลงจากธรรมาสน ไมยอมรบั กัณฑเทศนเ ลย เพราะอายญาติโยม

๒๒ สุรยิ าสองฟา จนั ทรศ รีสอ งธรรม

อีก ๓ วนั ญาตโิ ยมบา นเหลา ใหญ บา นเมอื งพฤกษ ขอนิมนตพ ระคุณเจา ทง้ั ๔ รปู
กับสามเณรจันทรศรี แสนมงคล และสามเณรสอนไปพกั ท่ีปา ชา บานเหลาใหญ พระอาจารยล ี
สริ นิ ฺธโร พรอมพระ ๔ รูป เณร ๒ รูป กอ็ อกจากดอนปูตา บานหนองหลม ไปพกั ทป่ี าชา
บานเหลาใหญและบานเมอื งพฤกษ ตามคำนมิ นตของญาติโยม เมอ่ื วันท่ี ๑ เดอื นกุมภาพันธ
พ.ศ. ๒๔๗๓ จนถึงวันที่ ๑ เดือนมนี าคม พ.ศ. ๒๔๗๓ พระอาจารยล ี สิรินธฺ โร ไดเ ทศนา
สอนญาติโยม ใหเกิดเลื่อมใสในคุณพระรัตนตรัยมากขึ้นตามลำดับ นับแตน้ันมาปาชา
บา นเหลาใหญ บา นเมอื งพฤกษ จึงต้งั เปนวัดข้ึนมา ชื่อวา วัดปามัชฌิมวงศจ นถึงปจจบุ นั

วธิ รี ักษาพระไตรสรณคมน

วนั ท่ี ๓๑ เดือนมนี าคม พ.ศ. ๒๔๗๓ พระอาจารยลี สิรนิ ฺธโร ไดนำคณะเดนิ รุกขมลู
จากบานเหลา ใหญ อำเภอกุมภวาป จงั หวัดอดุ รธานี กลบั จำพรรษาวดั ปาดอนปูตา บา นพระ
คือ โดยมีอาจารยออน าณสิริ เปนหัวหนา ออกพรรษาแลวไดติดตามพระอาจารยเทสก
เทสรสํ ี นำคณะเดนิ รุกขมลู ไปเผยแผธรรมะตำบลโคกสี อำเภอเมือง อำเภอน้ำพอง จงั หวดั
ขอนแกน ถึงเดือนกรกฎาคม สามเณรจันทรศรี กราบลาทานพระอาจารยเทสก เทสรํสี
มาจำพรรษา ณ วดั ปาดอนปตู า บา นพระคอื และท่จี งั หวดั ขอนแกน น้เี อง ทา นพระอาจารย
สิงห ขนฺตยาคโม และพระอาจารยมหาปน ปฺาพโล ไดชวยกันเรียบเรียงหนังสือ
พระไตรสรณคมน เปนหลักสำคัญในการปฏิบตั ิตนใหถ ูกตองดงั น้ี

หลวงปฝู น อาจาโร และ เทสรํสี

๒๓หลวงปูจันทรศ รี จนทฺ ทโี ป

ผูท ไ่ี ดปฏิญาณตนนับถอื พระพทุ ธเจา พระธรรม พระสงฆ วา เปนทพี่ ึง่ แลว ชอ่ื วา เปน
พุทธบริษัท ชายเปนอุบาสก หญิงเปนอุบาสิกาในพระพุทธศาสนา มีหนาที่จะตองปฏิบัติ
พระพุทธศาสนาสบื ตอ ไป

วิธรี กั ษาพระไตรสรณคมนไมใหขาดและไมใ หเศรา หมอง ดังนค้ี อื :-
๑. เปน ผตู งั้ อยใู นความเคารพ ๖ ประการ คือ เคารพในพระพุทธเจา ๑ เคารพใน
พระธรรม ๑ เคารพในพระอริยสงฆสาวก ๑ เคารพในความไมประมาท ๑ เคารพใน
ไตรสิกขา ๓ คือ ศีล สมาธิ ปญญา ๑ เคารพในปฏิสันถารการตอนรับ ๑ ตองเปนผูมี
ความเชอ่ื ความเล่ือมใสนับถอื พระรัตนตรัยเปนสรณะท่ีพึง่ ทรี่ ะลกึ ของตนจริงๆ ถา ประมาท
เมือ่ ไรก็ขาดจากคุณพระรตั นตรัยเม่ือนน้ั
๒. เวน จากการนบั ถอื พระภูมิตา งๆ คอื ไมน บั ถอื ภูตผีปศ าจ พระภมู ิเจาที่ เทวบตุ ร
เทวดา มนต คาถา วชิ าตางๆ ตอ ไป ถา นบั ถือเมอื่ ไรกข็ าดจากคณุ พระรตั นตรัยเม่ือนั้น
๓. ไมเขา รตี เดียรถยี  นคิ รณฐ คอื ไมนบั ถอื ลทั ธิ วธิ ี ศาสนาอื่น ภายนอกพระพทุ ธ
ศาสนามาเปนสรณะท่ีพ่ึงที่ระลีกของตนสืบตอไป ถานับถือเขารีตเดียรถียเมื่อไรก็ขาดจาก
คณุ พระรัตนตรยั เมื่อนนั้
๔. ไมนับถือลัทธิศาสนาพราหมณคือไมดูหมอ แตงแกแตงบูชา เสียเคราะห
เสยี ขวญั เปนตน ถานบั ถือเมอื่ ไรกเ็ ศราหมองในคุณพระรตั นตรัยเมือ่ นัน้
๕. เปนผูเช่ือกรรม เชื่อผลของกรรม เชน เช่ือวา ทำช่ัวไดช่ัว ทำดีไดดีเปนตน
ตลอดจน เช่ือความตรัสรูของพระสัมมาสัมพุทธเจาเปนที่สุด ไมเชื่อมงคลต่ืนขาว ขอน้ี
ตองเปนผูมีสมาธิเสมอ ถาขาดสมาธิเม่ือไรก็ขาดศรัทธาความเชื่อม่ันนั้น ถาขาดศรัทธา
ความเชอ่ื เมอื่ ไรกเ็ ศราหมองในคุณพระรัตนตรยั เมอ่ื นัน้

อปุ ฏฐากครบู าอาจารย

หลวงปูทานเลาวา “เม่ือญัตติเปนสามเณรธรรมยุตแลว ตองฝกหัดระเบียบ ขอวัตร
ของพระธดุ งคกมั มฏั ฐาน ตางองคต า งเอาใจใสในขอวตั ร ขยันขนั แขง็ โดยเฉพาะการอุปฏฐาก
รบั ใชครบู าอาจารย เชน ลางบาตร ซักยอมสบงจวี ร ตม นำ้ รอน สรงน้ำ ในตอนคา่ํ เขา ถวาย
การบีบนวด บางวันกวาจะไดจำวัด ก็ราวเที่ยงคืน ต่ืนตีสี่ ถวายน้ำบวนปากและไมสีฟน

๒๔ สรุ ิยาสอ งฟา จนั ทรศรสี องธรรม

ถาเปนฤดูหนาวก็ตองตมน้ำอุนถวายทานลางหนา เปนตน เวลาไปเท่ียวรุกขมูล ก็ตอง
แบกกลดสะพายบริขารของพระอาจารยดวย โดยทานพระอาจารยสิงหและทานพระอาจารย
มหาปนไดวางระเบียบ ขอสัมมาปฏิบัติ เพ่ือใหสานุศิษยถือปฏิบัติเปนแนวทางอันเดียวกัน
ซึ่งหลวงปูตอ งตั้งใจศกึ ษาและปฏบิ ตั ิตามใหไดครบถวน ดว ยความเคารพเทดิ ทูน”

การอปุ สมบท

เมื่ออายุครบ ๒๐ ป (นับรวม
อายุครรภ ๑o เดือน) ทานไดเขาพิธี
อุปสมบท ณ พัทธสีมา วัดศรีจันทร
อำเภอเมอื ง จังหวัดขอนแกน วนั ท่ี ๑๓
มกราคม พ.ศ. ๒๔๗๔ เวลา ๑๕.๓๐ น.

พระครูพิศาลอรัญญเขตร (จันทร
เขมโิ ย ป.ธ.๓ น.ธ.โท) เปนพระอุปช ฌาย

พระอาจารยสิงห ขนฺตยาคโม
เปน พระกรรมวาจาจารย

พระอาจารยมหาปน ปฺาพโล
(ป.ธ.๕ น.ธ.เอก) เปน พระอนสุ าวนาจารย

มีพระอาจารยกัมมัฏฐาน ๒๕ รูป
นง่ั ลำดับ
พระครูพิศาลอรัญญเขตร พระอุปชฌาย เจาคณะจังหวัดขอนแกน ไดต้ังฉายาแก
พระภกิ ษจุ นั ทรศ รวี า “จนทฺ ทโี ป” อนั มคี วามหมายเปน มงคลวา “ผมู แี สงสวา ง เจดิ จา ดงั่ จนั ทรเ พญ็ ”

พระอปุ ช ฌาย

หลวงปูเลาใหฟ งถึงพระอุปช ฌายวา “พระครูพิศาลอรญั ญเขตร (จนั ทร เขมิโย) อายุ
ขณะน้ันประมาณ ๔๙ ป จากน้ันไมน านทานก็มรณภาพ ตอนประชุมเพลงิ หลวงปเู รียนอยู
วดั บวรนเิ วศฯ กไ็ ดขน้ึ มาชว ยงานศพ ทานบวชใหห ลวงปูส ิม พทุ ธฺ าจาโรดว ย

๒๕หลวงปจู นั ทรศรี จนฺททโี ป

กอนหลวงปูจะบวช อายุ ๒๐ ป ก็กลับไปบานที่ ขอนแกน ญาติโยมก็มานิมนต
ใหไปลาพระอาจารยถาจะสึก หลวงปู ก็ไปบอกพระอาจารยวากอนบวชพระ ขอสึกซัก
๑๕ วันไดไหม พระอาจารยก ็ไมย อม ผูเ ปนเจาภาพทีบ่ วชให ก็ไมยอม ลากไ็ มไ ด ประเพณี
โบราณ เขาถือกัน ตอนบวชเณร ผูหญิงก็ไมใหเขามาใกล เพื่อนวัยเด็กชวนไปเท่ียวกัน
ก็ไมไป มโี ยมผชู ายมาอยูค อยรับใช เดก็ หญงิ อายุ ๑๖-๑๗ ป มาใกลไมไ ด ไลห นี”

วัดศรจี ันทร

วัดศรีจันทร เปนพระอารามหลวงช้ันตรี
ชนิดสามัญ มีเน้ือที่ ๒๕ ไร ๑ งาน ตั้งอยู
ในเขตเทศบาลนครขอนแกน ถนนเทศบาล
ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแกน
โดย ทานญาคูหลักคำ (พิมพ) ซึ่งเปนผูดำรง
ตำแหนง เจา อาวาสองคแรก ไดรวบรวมศรทั ธา
ประชาชน ต้ังวัดศรีจนั ทรข ้ึนมาเม่อื พ.ศ. ๒๓๖๘

พระอุโบสถวัดศรีจันทร อำเภอเมือง
จงั วัดขอนแกน

ในป พ.ศ. ๒๓๙๘ ทานไดออกมาบูรณะ
วัดศรีจันทรอีกครั้งในชวงตนฤดูหนาว ซึ่งตรง พระอุโบสถวดั ศรจี นั ทร อำเภอเมือง จงั หวัดขอนแกน
กับสมัยของหลวงศรีวรวงศ (ทา วอ)ู เปนเจาเมืองท่ีบา นโนนทัน

ในปจจุบันโบราณสถานและสิ่งกอสรางตางๆ ถูกร้ือถอนและเปลี่ยนแปลงตามกาลเวลา
ท่ีเหลือไวเปนอนุสรณ คือ กลองเพลใหญ ๑ ใบ และยังใชอยูบนหอกลอง หอระฆัง ดานทิศ
ตะวันตกเฉยี งเหนอื ของพระอุโบสถ

เจาอาวาสรปู ที่ ๑๓ (พ.ศ. ๒๕๕๑-ปจ จบุ นั ) พระเทพพุทธมิ ุนี (สนั ติ์ ชตุ นิ ธโร) ใหความ
สนใจในดานการจัดการศึกษา ศูนยอบรมเด็กกอนเกณฑ โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนก
ธรรม บาลี โรงเรยี นพระปริยตั ิธรรมแผนกสามัญ (ระดับมธั ยมศกึ ษา)

วัดศรีจันทร นอกจากจะทำหนาที่สำคัญในการเผยแผพระพุทธศาสนาปลูกฝงความ
ศรัทธากับพุทธศาสนิกชนแลว ยังทำหนาที่ในการศึกษาใหแกพระภิกษุสามเณร เพื่อใหเปน
ศาสนทายาทที่มีคุณภาพของพระพุทธศาสนา สมควรที่พุทธศาสนิกชนทุกคนจะไดชวย
ทำนุบำรุงวัดศรีจนั ทรใหมีความเจรญิ รุง เรืองสืบไป

๒๖ สุรยิ าสองฟา จันทรศรสี องธรรม

ประวตั พิ ระครพู ศิ าลอรัญญเขตร
(จันทร เขมโิ ย)

พระครูพิศาลอรัญญเขตร ทานเปน
เจาอาวาสรูปที่ ๗ ของวัดศรีจันทร ตรงกับ
สมัยพระยาพิศาลสารเกษตร (พร พิมพสุต)
พระยาบริหารราชอาณาเขต (ย้ิม นิลโยธิน)
และพระณรงคฤทธิ์ (ชาย สุมนดิษฐ) เปน
ผูวาราชการจังหวัด ทานเปนคนจังหวัด
อุบลราชธานี เกิดที่บานหนองขอน ตำบล
ขวั สะพาน อำเภอบงุ จังหวัดอบุ ลราชธานี

ป ๒๔๖๖ คณะสงฆไดสงทานใหมา
ปฏบิ ตั ศิ าสนกจิ ท่ีวัดศรจี ันทร จงั หวดั ขอนแกน พระครพู ิศาลอรญั ญเขตร ศรศี ารเกตษร (จนั ทร เขมิโย)
โดยไดรับตำแหนงเปนเจาคณะจังหวัดขอนแกน เจา คณะจังหวัดขอนแกน ณ วัดศรจี นั ทร
และในปตอ มาทานไดรับแตง ตั้งใหเปน เจาอาวาสวดั ศรจี นั ทร

หลังจากไดรับตำแหนงเจาอาวาส ทานไดปรับปรุงเปลี่ยนแปลงการปกครองภายในวัด
ใหดียิ่งข้ึน โดยการนำขนบธรรมเนียมประเพณีของคณะธรรมยุตมาปกครองสงฆภายในวัด
ใหเปนไปตามพระธรรมวินัยเนนการปฏิบัติในดานสมถกัมมัฏฐานและวิปสสนากัมมัฏฐานนับได
วาเปนสมัยแรกท่ีมีการบุกเบิกพระกัมมัฏฐานใหเกิดข้ึนในจังหวัดขอนแกน ที่เปนสานุศิษย
ของทานพระอาจารยเสาร กนฺตสีโล ทานพระอาจารยมั่น ภูริทตฺโต นำโดยพระอาจารยสิงห
ขนฺตยาคโม พระอาจารยมหาปน ปฺาพโล ซ่ึงทานไดเดินทางมาจากจังหวัดอุบลราชธานี
จึงทำใหสำนักปฏิบัติธุดงคกรรมฐานเกิดขึ้นเปนจำนวนมาก ถือไดวาเปนยุคของพระกรรมฐาน
ในจงั หวัดขอนแกน

นอกจากนี้ทานไดจัดใหมีการศึกษาท้ังภาษาบาลีและนักธรรมภายในวัด เพ่ือใหพระภิกษุ
สามเณรไดมีความรูและเขาใจในพระธรรมวินัยใหมากย่ิงข้ึน จนเปนท่ีเลื่อมใสศรัทธาของ
ประชาชนท่ัวไป และทานเปนผูใหกำเนิดคณะธรรมยุตในจังหวัดขอนแกนเปนรูปแรก ในป
พ.ศ. ๒๔๗๓ ทานไดเลื่อนสมณศักด์ิเปนพระครูพิศาลอรัญญเขตร (จันทร เขมิโย ป.ธ.๓)
ถือวาทานเปนพระเถระท่ีมีขอปฏิบัติอันงดงาม ที่มีผูเลื่อมใสศรัทธาเปนจำนวนมาก ทานเปน
ท้งั นกั ปฏบิ ตั ิ นักพัฒนา ซ่ึงดูไดจ ากศาสนวตั ถุ กฎ ระเบียบ และขนบธรรมเนียมตางๆ ทไี่ ดใ ห
ศษิ ยานุศิษยร นุ ตอ มานำมาประพฤติปฏิบตั ิอยู จนถงึ ทุกวนั น้ี

ป พ.ศ. ๒๔๗๕ ทานอาพาธดวยโรคลำไสอกั เสบ และไดม รณภาพในเวลาตอ มา รวมเวลา
ทีท่ านดำรงตำแหนงเจา อาวาสวดั ศรจี ันทร ทั้งสนิ้ ๙ ป

๒๗หลวงปูจ นั ทรศรี จนฺททีโป

ประวตั ิพระอาจารยสิงห ขนฺตยาคโม

พระอาจารยสิงห ขนฺตยาคโม
อดีตเจาอาวาส วัดปาสาลวัน จังหวัด
นครราชสีมา ศิษยชั้นผูใหญของทาน
พระอาจารยม ั่น ภรู ิทตโฺ ต ทไี่ ดรบั การฝก
หดั อบรมสมาธภิ าวนาจากทา นพระอาจารย
ม่ัน จนมีกำลังใจอันมั่นคงดีแลว จึงได
ใหไดแยกยายไปชวยกันอบรมส่ังสอน
พระภิกษสุ ามเณร และประชาชน

ทานมีนิสัยเด็ดเด่ียว อาจหาญ
ฉลาดในอุบายสั่งสอนธรรมแกบรรดา
ศิษย หากผูใดขัดของในปญหาธรรมแลว
ทานสามารถแนะนำอุบายอันถูกตอง
แมนยำ ใหนอมนำไปพิจารณาและฝก
ปฎิบัติ จนการบำเพ็ญภาวนาบังเกิดผล อยางนาอัศจรรย ดังเชนทานจะสอนศิษยทั้งหลาย
ใหเจริญอสุภกรรมฐานโดยการไปพักภาวนาตามปาชา เพื่อพิจารณาซากศพท่ีชาวบานนำมาฝง
หรือเผา แลวนอมเขามาเทียบเคยี งกบั รางกายตนใหเหน็ เปนของปฎิกูลโสโครก ไมสวย ไมงาม
นารังเกียจขยะแขยง ขึ้นอืดข้ึนพอง หมูหนอนแรงกา จิกกินทำลาย เนาเปอยผุพังสลายกลาย
เปนธาตุทั้งส่ี ไมใชตัวตนเรา เขา สัตว บุคคลใดๆ พิจารณาทบทวนไปมา จนจิตเกิดความ
เบอ่ื หนา ยสงั เวช เพราะเห็นตามความเปน จรงิ แลว จติ รวมตัว สงบลงโดยลำพังกม็ ี ดงั นเ้ี ปนตน

ตอมา หลวงชาญนิคม ซ่ึงมีความเล่ือมใสในพระธุดงคกัมมัฏฐาน มีความประสงค
จะถวายที่ดินของตน แกพระอาจารยสิงห เพ่ือจัดสรางวัดปากรรมฐานข้ึนที่จังหวัดนครราชสีมา
จึงไดกราบอาราธนานิมนตพระอาจารยสิงห เดินทางไปจังหวัดนครราชสีมา ทานรับคำนิมนต
และไดจ ดั สรางวดั ปาจนเปน ท่ีเรียบรอ ย ต้งั ช่ือวา วดั ปาสาลวัน

พระอาจารยสิงห ขนฺตยาคโม ไดพาคณะพระธุดงคกัมมัฏฐานเที่ยววิเวกไปตามถ่ินตางๆ
และแสดงธรรมเทศนาอบรมญาติโยมจนบังเกิดความเล่ือมใสศรัทธาอันประกอบดวยสัมมาทิฐิ
ทำใหประชาชนเลกิ นับถอื ภูตผปี ศาจและความเชื่อทง่ี มงาย เชน ดูฤกษงามยามดี สะเดาะเคราะห
เข็ญเลวราย หันมานับถือพระรัตนตรัย เชื่อในกรรมและผลของกรรม มีความละอายและ
เกรงกลัวตอบาป นับวาพระอาจารยสิงหเปนศิษยสำคัญองคหนึ่ง ผูรักษาและสืบทอดปฏิปทา
พระธดุ งคกรรมฐานสายทา นพระอาจารยมนั่ ภรู ทิ ตฺโต ไดอยา งงดงาม ดวยความเคารพเทิดทูน
อยา งสูง

๒๘ สุริยาสอ งฟา จนั ทรศรสี องธรรม

วันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๐๐ ทา นพระอาจารยสงิ ห ขนฺตยาคโม ไดรบั พระราชทานสมณศักดิ์
เปน พระราชาคณะชน้ั สามญั ฝา ยวปิ สสนาธรุ ะ มีนามวา พระญาณวศิ ษิ ฎส มทิ ธวิ รี าจารย

วันท่ี ๘ กันยายน พ.ศ. ๒๕๐๗ เวลา ๑๐.๒๐ น. ทานไดละสังขาร ณ วัดปาสาลวัน
ดว ยโรคมะเรง็ ในกระเพาะอาหาร รวมสริ อิ ายไุ ด ๗๓ ป พรรษา ๕๑

ประวัตพิ ระอาจารยม หาปน ปฺาพโล

พระอาจารยมหาปน ปฺาพโล อดีตเจา
อาวาส วัดปาแสนสำราญ อำเภอวารินชำราบ
จังหวัดอุบลราชธานี เดิมช่ือ ปน บุญโท เปนนอง
ชายของ พระอาจารยส งิ ห ขนตฺ ยาคโม อายหุ างกัน
๓ ป พระอาจารยมหาปน ปฺาพโล เปนศิษย
รุนแรกๆ ของทานพระอาจารยม่ัน ภูริทตฺโต ท่ีได
ไปศึกษาพระปริยัติธรรมจนเปนพระมหาเปรียญ
แ ล ว หั น ม า ส น ใ จ ป ฏิ บั ติ ธ ร ร ม อ อ ก เ ที่ ย ว วิ เ ว ก
เพื่อแสวงหาความหลุดพน ไปยังถิ่นตางๆ และ
รวมในกองทัพธรรม จาริกเผยแพธรรมพรอมกับ
พระอาจารยสิงห ขนฺตยาคโม และคณะพระธุดงค
กรรมฐานอยางไมสนใจใยดีตอลาภ ยศ สักการะ ย่ิงไปกวาการประพฤติพรหมจรรยใหบริสุทธ์ิ
บริบูรณ มุงสูแดนหลดุ พน อันเปน เปาหมายสูงสดุ ของพระพุทธศาสนา

พระอาจารยมหาปน ปฺาพโล อาพาธดวยวัณโรคปอดเปนเวลา ๒ ป และไดถึงแก
มรณภาพเมือ่ วนั ที่ ๒ กมุ ภาพันธ พ.ศ. ๒๔๘๙ สิริรวมอายไุ ด ๕๔ ป พรรษา ๓๑

เทยี่ ววเิ วกกบั พระบรู พาจารย

เม่อื หลวงปูจันทรศรี อปุ สมบทไดเพียง ๗ วัน ทานก็ไดติดตาม พระอาจารยเ ทสก
เทสรสํ ี พระธุดงคกรรมฐานผมู ีวัตรปฏิบัติอันบรสิ ทุ ธ์งิ ดงาม แหงวัดหินหมากเปง จ.หนองคาย
และ ทา นพระอาจารยอ อ น าณสิริ อดีตเจาอาวาสวดั ปา นิโครธาราม จ.อุดรธานี ศิษยช้นั
ผใู หญของทานพระอาจารยม ั่น ภรู ทิ ตโฺ ต ออกเดินรกุ ขมลู เพอ่ื แสวงหาความสงบวิเวกบำเพญ็
เพียรภาวนาตามเยี่ยงอยางอริยประเพณี โดยอาศัยกรรมฐาน ๕ ธุดงควัตร ๑๓ เปนหลัก
ในการบำเพญ็

๒๙หลวงปจู ันทรศ รี จนฺททโี ป

หลวงปูม่ันถายรปู รว มกบั คณะศิษยข องทา น (จากซายไปขวา)
๑. ไมท ราบชือ่ และฉายา ๒. พระอาจารยกู ธมมฺ ทินโน ๓. พระอาจารยกวา สุมโน

๔. หลวงปมู ั่น ภรู ิทตตฺ มหาเถร ๕. พระอาจารยบ ญุ ธรรม
หลวงปจู ันทรศ รี จนฺททโี ป เขา กราบนมัสการ เทสรํสี ณ วัดหินหมากเปง

๓๐ สุรยิ าสองฟา จนั ทรศรีสองธรรม

ธดุ งควัตร ๑๓ ขอ

๑. การนงุ หมเฉพาะผา บงั สุกลุ เปน วัตร
๒. การนุงหมเฉพาะผาสามผนื เปนวัตร
๓. การบิณฑบาตเปนวัตร
๔. การบิณฑบาตไปโดยลำดบั แถวเปนวตั ร
๕. การฉนั หนเดียวในวนั หนึ่งๆเปนวตั ร
๖. การฉันในบาตรเปนวตั ร
๗. การหามภตั ตาหารที่เขานำมาถวายภายหลงั เปนวัตร
๘. การอยูป า เปนวัตร
๙. การอยรู กุ ขมลู คือรมไมเ ปนวตั ร
๑๐. การอยทู แ่ี จง ปราศจากทม่ี งุ ท่ีบงั เปนวัตร
๑๑. การอยูปาชาเปนวตั ร
๑๒. การอยใู นเสนาสนะทท่ี า นจดั ใหอ ยางไรเปนวัตร
๑๓. การไมน อนเปนคืนๆ ไปเปน วัตร

ธุดงควัตร เปนธรรมสำคัญในพระพุทธศาสนามาแตด้ังเดิม พระพุทธเจา
และสาวกท้ังหลายบรรดาที่เลิศแลว ลวนแตทานรักษาธุดงควัตรกันทั้งน้ัน ธุดงควัตร
เปนธรรมเคร่ืองแกกิเลสไดทุกประเภท พระอริยเจาทุกประเภทไปจากธุดงควัตรน้ี
ธุดงควัตรเปนธรรมข้ันสูงมาก ผูที่จะรักษาไดตองเปนผูมีจิตใจสูง ธุดงควัตรเสื่อมก็
เทากับศาสนาเสื่อม คนไมมีธุดงควัตรคือคนวัตรราง ยอมเสื่อมถอยจากคุณงาม
ความดี ใครประมาทวาธุดงคไมสำคัญ ยอมหมดความสำคัญในตนเองลงไปเปนลำดับ
ถา ยังมผี รู ักษาธุดงควัตรอยูตราบใด ศาสนาก็ยงั ทรงดอกทรงผลอยตู ราบนน้ั

๓๑หลวงปจู นั ทรศ รี จนทฺ ทโี ป
พรรษาที่ ๑ (พ.ศ. ๒๔๗๔)

จำพรรษา ณ วัดปาดอนปูตา บา นพระคอื ตำบลพระลับ
อำเภอเมอื ง จังหวดั ขอนแกน

เมษายน พ.ศ. ๒๔๗๔ พระอาจารยลี สิรินธโร และคณะ ไดกราบลาทาน
พระอาจารยอ อ น าณสริ ิ ออกเทีย่ ววเิ วก แลวกลับมาจำพรรษาท่วี ดั ปาดอนปตู า บานพระคอื
ตำบลพระลับ อำเภอเมือง จังหวัดขอนแกน

พระอาจารยออ น าณสริ ิ วดั ปานิโครธาราม อำเภอหนองววั ซอ จงั หวัดอุดรธานี

๓๒ สุรยิ าสองฟา จนั ทรศ รสี องธรรม
พรรษาท่ี ๒-๔ (พ.ศ. ๒๔๗๕-๒๔๗๗)

จำพรรษา ณ วดั บวรมงคล ตำบลบางพลัด อำเภอบางพลดั
จงั หวัดกรงุ เทพฯ

กราบลาเพอ่ื ศกึ ษาพระปรยิ ตั ิ

ทานไดติดตามทานพระอาจารยเทสก เทสรํสี และ ทานพระอาจารยออน าณสิริ
ออกเทยี่ ววิเวกตั้งแตเดอื นมกราคม จนถงึ เดือนมนี าคม พ.ศ. ๒๔๗๕

คร้ันถึงเดือน เมษายน พ.ศ. ๒๔๗๕ ทานจึงไดกราบลาทานพระอาจารยเทสก
เทสรํสี เพื่อขอไปศึกษาพระปริยัติตอที่กรุงเทพฯ โดยไดนับโอวาทวา “ผูจะปฏิบัติธุดงควัตร
นั้น ความจริงตองเรียนรูแผนท่ีจะเดินทางเสียกอน จึงปฏิบัติไดถูกตอง คือ ปริยัติ ปฏิบัติ
ปฏิเวธ เม่อื เรยี นได เปนมหาเปรยี ญแลว ใหกลับมาปฏบิ ัตอิ ีก”

พระราชนโิ รธรงั สคี มั ภีรป ญ ญาวศิ ิษฏ ( เทสรสํ )ี วดั หนิ หมากเปง อ.ศรเี ชยี งใหม จ.หนองคาย

จากน้ันเดินทางโดยรถไฟแลวไปพักวัดปาสาลวัน ตอนเชาไดไปกราบเรียนทาน
พระอาจารยสิงห ขนฺตยาคโม วา จะไปศึกษาพระปริยัติธรรมท่ีกรุงเทพฯ ทานเตือนวา
จงเรียนใหไดเปน มหาเปรียญแลว กลับมาปฏบิ ัตอิ ีก

๓๓หลวงปูจันทรศรี จนทฺ ทีโป“

“ไดปาฏิโมกขหรือเปลา” หลวงปูตอบทานวา “ไดครับผม” ทานเรียกพระอาจารย
มหาปน ปฺาพโล วา “คุณจันทรศรี จนฺททีโป จะไปเรียนพระปริยัติธรรมที่กรุงเทพฯ
เอาเธอไปซอมพระปาฏิโมกขใหเธอบาง” พระอาจารยมหาปน ปฺาพโล จึงนำหลวงปู
ไปซอ มพระปาฏโิ มกขอยู ๗ วัน ทา นรบั รองวาใชไ ดและทา นใหโ อวาทวา

“กยริ า เจ กยิรา เถนํ

ถาจะทำการใด ใหทำการน้ันจริงๆ
ทุกส่งิ ทุกอยางถามคี วามขยันหมั่นเพยี รแลว

ส่งิ นัน้ ตองสำเร็จตามความตงั้ ใจจริงๆ

หลังจากกราบลาครูบาอาจารย หลวงปูจันทรศรี จนฺททีโป ก็ไดเขาไปศึกษา
พระปริยัติตอท่ีกรุงเทพฯ โดยเบ้ืองตนทานพักจำพรรษาและศึกษาพระปริยัติอยูท่ี วัด
บวรมงคล ตำบลบางพลัด อำเภอบางพลัด จังหวัดกรุงเทพฯ ในชว งป พ.ศ. ๒๔๗๕

จากซา ย : หลวงปูฝ น อาจาโร, หลวงปูสิงห ขนฺตยาคโม พระอาจารยมหาปน ปฺ าพโล
และหลวงปกู งมา จริ ปุ โฺ 


Click to View FlipBook Version