The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

๑๐๑ สุริยาส่องฟ้า จันทร์ศรีส่องธรรม หลวงปู่จันทร์ศรี จนฺททีโป

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ทีมงานกรุธรรม, 2022-07-10 00:29:27

๑๐๑ สุริยาส่องฟ้า จันทร์ศรีส่องธรรม หลวงปู่จันทร์ศรี จนฺททีโป

๑๐๑ สุริยาส่องฟ้า จันทร์ศรีส่องธรรม หลวงปู่จันทร์ศรี จนฺททีโป

Keywords: ๑๐๑ สุริยาส่องฟ้า จันทร์ศรีส่องธรรม หลวงปู่จันทร์ศรี จนฺททีโป

๑๓๔ สรุ ยิ าสอ งฟา จนั ทรศ รีสอ งธรรม

๑๓๕หลวงปจู นั ทรศรี จนทฺ ทโี ป

๑๓๖ สรุ ยิ าสอ งฟา จนั ทรศ รีสอ งธรรม

๑๓๗หลวงปจู นั ทรศรี จนทฺ ทโี ป

๑๓๘ สรุ ยิ าสอ งฟา จนั ทรศ รีสอ งธรรม

๑๓๙หลวงปจู นั ทรศรี จนทฺ ทโี ป

๑๔๐ สรุ ยิ าสอ งฟา จันทรศ รสี อ งธรรม

องคมนตรี เชญิ ผา ไตร นำ้ สรง และดอกไม ธปู เทียนแพพระราชทานถวายแด
พระอดุ มญาณโมลี (หลวงปจู นั ทรศรี จนทฺ ทโี ป)

๑๔๑หลวงปจู นั ทรศรี จนทฺ ทโี ป

๑๔๒ สรุ ิยาสอ งฟา จนั ทรศรสี องธรรม

พระเจา หลานเธอ พระองคเ จา พัชรกติ ิยาภา ทรงถวายสักการะและน้ำสรงแด
พระอดุ มญาณโมลี (หลวงปูจันทรศ รี จนทฺ ทโี ป)

๑๔๓หลวงปจู นั ทรศรี จนทฺ ทโี ป

๑๔๔ สรุ ยิ าสอ งฟา จันทรศรสี องธรรม

คณะสงฆ และตวั แทนศษิ ยานุศิษยถวายสกั การะและน้ำสรง

๑๔๕หลวงปูจ ันทรศรี จนทฺ ทีโป

อาพาธหนกั ครัง้ ที่ ๒

ในตอนกลางดึก ของวันท่ี ๕ ส.ค. ๒๕๕๕ หลวงปู มีอาการเปนลม หมดสติ ชวั่ ครู
ประมาณ ๑๕-๓๐ วินาที แลวกลับมาเปนปกติ แตจำไมไดวาขณะมีอาการน้ันเปนอยางไร
พระอุปฏฐาก จึงกราบนิมนตไปตรวจรักษาท่ี ร.พ.วัฒนา เขาพักท่ีหองไอซียู ๑ วัน ไมพบ
อาการผดิ ปกติ แพทยจงึ อนุญาตใหกลับวดั

วันที่ ๗ ส.ค. ๒๕๕๕ หลวงปู มีอาการเปนลม หมดสติ ๒ ครั้ง ขณะกำลังเดิน
๑ ครั้ง และขณะพักจำวัด ๑ คร้ัง ไดแจงใหแพทยผูถวายการรักษาหลวงปู ท่ี รพ.
จุฬาลงกรณ กรุงเทพฯ ไดรับทราบ และเห็นควรกราบนิมนตหลวงปู ไปตรวจรักษาให
ละเอยี ดที่ ร.พ.จุฬาลงกรณ หลวงปู ตอบรบั นมิ นต

วันที่ ๘ ส.ค. ๒๕๕๕ หลวงปู เดินทางไปกรุงเทพ โดยเคร่ืองบินสายการบินไทย
เขาพกั ที่ ชัน้ ๑๙ ตกึ ส.ก. รพ.จฬุ าลงกรณ แผนกโรคศลั ยกรรมทรวงอก โดยไดรบั การถวาย
ความสะดวกและดูแลรักษาเปนอยางดีจากคณะแพทยพยาบาลผูเชี่ยวชาญ และเครื่องมือ
ที่ทันสมัย ขณะพำนักที่ รพ.จุฬาฯ หลวงปู มีอาการเปนลม หมดสติ ชั่วครู ๔-๕ คร้ัง
หางกันประมาณ ๑-๒ ชม./ครั้ง ไดตรวจพบและบันทึก ดวยเครื่องติดตามการทำงานของ
หัวใจ ๒๔ ชม. แพทยไดวินิจฉัยวา หลวงปู มีภาวะหัวใจเตนชาเกินกวาความตองการของ
รางกายและไมสม่ำเสมอ โดยหยุดทำงานช่ัวครูเปนบางครั้ง จึงเกิดอาการเปนลม หมดสติ
เน่ืองจากภาวะเส่ือมสภาพตามวัยของจุดกำเนิดไฟฟาบนผนังหัวใจ และจะเปนบอยคร้ังมาก
ขึน้ เรื่อยๆ หากไมไ ดรบั การรักษา แพทย จึงไดก ราบนมิ นตห ลวงปู เขา รับการผาตัดใสเ ครอ่ื ง
กระตนุ หัวใจ หลวงปู ตอบรับนมิ นต

วันท่ี ๙ ส.ค. ๒๕๕๕ หลวงปู เขารับการผาตัดใสเคร่ืองกระตุนหัวใจ ใชยาชา
เฉพาะที่ไมตองดมยาสลบ โดยคณะแพทยผูเช่ียวชาญ ดานโรคศัลยกรรมทรวงอก,
ดานอายุรแพทยโรคหัวใจ, ดานวิสัญญีแพทย ใชเวลาผาตัดนาน ๑ ชั่วโมงครึ่ง ฝงเครื่อง
กระตุนหัวใจชนิดกระตุนหัวใจสองหองตอเนื่องกัน (Dual Chamber) โดยใชสายนำไฟฟา
สองสาย วางท่ีหัวใจหองบนขวาและหัวใจหองลางขวา จะกระตุนหัวใจท้ังสองหองใหทำงาน
ตอเน่ืองกัน ซึ่งเปนการทำงานท่ีใกลเคียงกับหัวใจตามธรรมชาติมากท่ีสุด ผลการผาตัด
เรยี บรอ ยดี ไมมภี าวะแทรกซอ น เปน ทพ่ี อใจของคณะแพทย

๑๔๖ สุริยาสอ งฟา จนั ทรศ รีสองธรรม

วันท่ี ๑๑ ส.ค. ๒๕๕๕ หลวงปู มกี ารเตนหัวใจ เรยี บรอยดี แผลผา ตัดดี สขุ ภาพ
แขง็ แรงข้ึน แพทยจ ึงอนญุ าตใหหลวงปู เดนิ ทางกลบั วดั ได

หลวงปู ไดเมตตาเลายอนหลงั ถงึ อาการอาพาธคร้ังนว้ี า
“ขณะที่เปนลม หมดสตนิ ้นั ไมร ูเรอ่ื งวาเกดิ อะไรข้ึน ตอนทีจ่ ะเขาหอ งผา ตัด หลวงปู
ไดเตือนตนเองวา รางกายปลอยใหเปนหนาท่ีของแพทยดูแลรักษา สวนเรื่องจิตใจเปนหนาท่ี
ของเรา ตองเตรียมตัว ชีวิตเปนของไมแนนอน ความตายใกลเขามาทุกที หลวงปู ต้ังสติ
กำหนดไวที่ผูรู ไมใหสงใจไปคิดส่ิงใดๆ ปลอยวางท้ังหมด รวมท้ังสังขารรางกายนี้ดวย
แพทยจะไดทำการผาตัดรักษาโดยงาย ถาหากไมเคยฝกหัดมากอน คงจะทำเชนน้ีไมได
หลวงปู รอดตายคราวน้ีเปน คร้ังท่ี ๒”
แพทย รพ.จุฬาฯ ผูถวายการผาตัดกอนเน้ืองอก ไดมีจิตศรัทธา เดินทางมากราบ
เยี่ยมหลวงปู เดือนละ ๑ คร้ังเปนประจำทุกเดือน ติดตอกันนาน ๑ ป ตรวจไมพบรอย
โรคใหม แผลผา ตดั เรยี บรอยดีมาก ผลเอก็ ซเรยคอมพวิ เตอรบ รเิ วณชองปาก ปกติดี
จึงขออนุโมทนาในความดีงามของคุณหมอและพยาบาล ตลอดถึงศิษยานุศิษยทุกๆ
ทานท่ีมีสวนรวม เอาใจใสในการดูแลรักษาหลวงปู ในทุกๆ ดาน ไว ณ โอกาสนี้ ซ่ึงมี

๑๔๗หลวงปจู นั ทรศรี จนทฺ ทีโป

จำนวนมากตอมาก ไมสามารถระบุนามไดหมด ถึงแมไมปรากฏช่ือลือนาม แตคุณงาม
ความดีท่ีไดกระทำลงไป ดวยจิตศรัทธาเล่ือมใสในพระคุณของพระรัตนตรัยและครูบา
อาจารย ยอมเต็มบริบูรณ มิไดบกพรองไปตามแตอยางใด จักติดตามผูน้ันไปอำนวยวิบาก
อนั นำความผาสุกรม เย็น ตลอดกาลนาน

หลวงปู กลับมาพักฟนสุขภาพท่ีวัด โดยมีคณะแพทยพยาบาล รพ.อุดรธานีและ
รพ.วัฒนา รวมกันเปนทีมดูแลรักษาเบ้ืองตนพรอมกับมีคณะแพทยพยาบาล รพ.จุฬาลงกรณ
เปน ทีป่ รึกษา อาการอาพาธดขี น้ึ เปนลำดับจนเขา สูภาวะปกติ

ปจจุบันกิจวัตรประจำวัน บางประการก็ ผอนผันไปตามธาตุขันธ ท่ีเส่ือมไปตาม
กาลเวลา อาทเิ ชน

- การบณิ ฑบาต กเ็ ปล่ียนเปน ต้งั บาตรใหญาติโยมใสบ าตรท่กี ฏุ ิ
- กิจนิมนตท ี่ตอ งเดินทางไกลๆ และไมจ ำเปน ก็งดเวน หรือมอบใหผ อู น่ื ไปแทน
- การเดินจงกรม ภายในกุฏิ ก็ลดลงเหลือประมาณ ๒-๓ ครงั้ /วัน ครง้ั ละ ๑๐-๑๕
นาที หากไปตรวจความเรียบรอยรอบบรเิ วณวดั ก็จะนัง่ รถเข็น
- การลงฟง สวดพระปาฎโิ มกข กเ็ ปล่ยี นเปน การบอกปรสิ ุทธิ ทกี่ ุฏิ
- การบรรพชาอุปสมบท ในฐานะพระอุปชฌาย ก็มอบหมายใหผูอื่นทำแทนโดย
สวนมาก
- หองพักจำวัด ในกุฏิหลวงปู ทำเปนเขตควบคุมการแพรเช้ือ เน่ืองจากหลวงปู
อายุกวา ๑๐๑ ป ภูมิตา นทานรา งกายลดลงไปมาก คณะแพทยจงึ แนะนำใหศ รัทธาญาติโยม
กราบนมัสการอยูภายนอกหอง ซ่ึงสามารถมองเห็นหลวงปู ไดทางกระจกใส หากมี
ความจำเปนท่ีจะตองเขาไปภายในหอง ควรสวมหนากากปดปากและจมูก ลางมือดวย
แอลกอฮอลเ จล ถา เปนไข ไมสบาย ไมค วรเขา ไปภายในหองจำวัดหลวงปู เปน ตน
- เวลาในการรับศรัทธาญาติโยม ก็กำหนดชวงเวลา ใหส้ันลงเพื่อไมใหเปนภาระ
กับธาตุขันธมากนัก ไมควรนานติดตอกันเกินกวา คร่ึงชม. หากมีอาการเหนื่อย ก็นิมนต
หลวงปูพกั ผอ น เรว็ ขน้ึ ได โดยพระอปุ ฏฐาก จะคอยดแู ลปฏสิ นั ถารกับศรทั ธาญาติโยม ทมี่ า
กราบนมัสการ เพื่อแบงเบาภาระของหลวงปู

๑๔๘ สุริยาสองฟา จันทรศ รสี องธรรม

- ระเบยี บการเขา กราบนมัสการดังนี้

เวลาเขา กราบนมัสการ

เชา ๗.๓๐ น. - ๘.๐๐ น.
กลางวนั ๑๒.๐๐ น. - ๑๒.๓๐ น.
เย็น ๑๗.๐๐ น. - ๑๗.๓๐ น.

ขอ พงึ ปฏบิ ัตโิ ดยเคารพ ในการเขา กราบนมสั การ

๑. แตง กายสภุ าพ เรียบรอ ย นุง หม ปกปดกายดวยดี
๒. เพ่ือรกั ษาธาตขุ นั ธหลวงปูใหย ืนนาน แพทย จงึ ขอใหทุกทานปฏิบตั ิ ดงั นี้

- งดการขอใหหลวงปู เปา กระหมอม เคาะศรี ษะ และงดการขอชานหมาก
- ญาตโิ ยมทเ่ี ปน ไข ไมสบาย ไมควรเขาใกลชดิ หลวงปู
- เวลาไอ จาม ควรปด ปากและจมกู
- ไมอาราธนานิมนต ไปในกิจทไ่ี มจำเปน และเดนิ ทางไกล
๓. เขากราบตามเวลาที่กำหนด อยูภายนอกหองพักจำวัด บริเวณโถงพักคอยและ
ไมใ ชเวลานานเกนิ ควร
๔. งดการถายภาพหรอื สนทนา ในเวลาท่ไี มส มควร เชน ฉันภตั ตาหาร
๕. ไมควรนำสง่ิ ทห่ี ลวงปู มอบใหไ ปสักการบูชา นำไปขายเปนสนิ คา
แตขอวัตร ภายนอกบางอยาง หลวงปู ก็ยังพยายาม รักษาไวดวยความเคารพ
เทดิ ทนู ไดแก
- การตรวจตราสอดสองความประพฤติ ของบรรดาพระเณร อุบาสกอุบาสิกาท่ีอยู
อาศัยในอาวาส
- การไมแสวงหารายไดในเชิงพุทธพาณิชย เชน การเชาบูชาวัตถุมงคล, การซื้อ-
ขาย สิ่งของในบรเิ วณวัด, การเก็บคา จอดรถยนต ภายในวดั เปน ตน
ตามปกติหลวงปูจะตื่นจำวัดประมาณ ตี ๔ จากนั้นก็จะไหวพระทำวัตรสวดมนต
ภายในกุฏิ แลวน่ังภาวนาตอจนกระท่ังสวาง เมื่อไดเวลาประมาณ ๗.๐๐ น. ก็ใหญาติโยม
ใสบ าตร ทกี่ ุฏิ หลังฉนั ภัตตาหารเชา กจ็ ะพักจำวัด ๑๑ .๐๐ น. ฉันภตั ตาหารเพล หลงั ฉนั

๑๔๙หลวงปจู นั ทรศรี จนฺททโี ป

เสร็จ รับแขกเล็กนอย ชวงบาย พักผอนจำวัด ตอนเย็น เวลา ๑๗.๐๐น. ถามีแขกมาพบ
กส็ นทนากันเล็กนอย หากสขุ ภาพดี หลวงปู จะนั่งรถเข็นตรวจความเรยี บรอยรอบบริเวณวัด
เวลา ประมาณ ๒๒.๐๐ น. กจ็ ะไหวพระทำวัตรสวดมนตเ ยน็ ภายในกุฏิ แลวนงั่ ภาวนาตอ
ประมาณ ๒๓.๐๐ น. กพ็ กั จำวัด ทานยังรักษาวตั รปฏบิ ตั ิแบบกรรมฐานอยู

คำอวยพรหลวงปู

“ขอใหลูกหลานทุกคนมีความสุขกายสบายใจ ปรารถนาสิ่งใดก็ขอใหไดส่ิงนั้น
สมความมุงมาดปรารถนา ใหปราศจากโรคาพยาธิ ใหมีอายุมั่นขวัญยืน ใหเปนผูอุปถัมภ
บำรงุ พระพทุ ธศาสนาใหว ัฒนาถาวรสืบไป ประกอบดวยพรชยั ทัง้ ๔ ประการ มีอายุ วรรณะ
สขุ ะ พละ ตลอดการนานทุกๆ คนเทอญ”

เนื้อความเสียงอวยพรหลวงปู ที่บรรดาศิษย จะไดรับพรกันเปนประจำ เพ่ือความ
เปน สิรมิ งคล เปน แบบเฉพาะของหลวงปู ซ่งึ ปจ จุบัน แมจะไมไดย ินเสียงดงั ชัดเจน เนือ่ งจาก
ผลของการผาตัด แตก็ยังจับใจความไดดี โดยเฉพาะศิษยผูอยูใกลชิด ทุกคนก็ยังรับรูไดวา
หลวงปู มีสุขภาพที่แข็งแรงดีกวาวัยท่ีเปนอยูของทานอยางมาก รวมถึงบรรดาญาติโยม
ทั้งหลายทไี่ ดเขามากราบนมัสการ ตา งรสู ึกไดถึงเรื่องดังกลา วขา งตน อาทิเชน

- ความทรงจำยงั ดี สามารถเลา เหตุการณท่ี ผานมาไดอยางดี
- สายตายังดี มองเห็นระยะไกลไดช ดั มองใกลใชแวนขยาย ก็ชัดเจนดี
- การฉนั อาหาร ไดด ี มรี สชาติ ไมเ บอ่ื อาหาร
- การเดินเคลื่อนไหว ไมปวดเขา ไมปวดตามขอ ยังเดินไดเองในระยะไมไกลนัก
โดยมพี ระอุปฏฐากประคองระวงั ไมใ หลม
ขออาราธนาคุณพระศรีรัตนตรัย และกุศลผลบญุ ท่ีบรรดาศิษยานศุ ิษย ทัง้ บรรพชิต
และคฤหัสถ ไดพ รอ มเพรยี งกันบำเพญ็ ถวาย ดว ยจิตศรทั ธาเลอ่ื มใส เน่ืองในงานบำเพ็ญกศุ ล
อายุวัฒนะมงคล ๑๐๑ ป วนั ที่ ๑๐ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๕ น้ี เปน เอนกประการ จงบังเกดิ
เปนผลานิสงส โดยพลัน เชนเดียวกับ คำอวยพรท่ีหลวงปู ไดใหไวดังกลาวขางตน
ทุกประการเทอญ.

๑๕๐ สรุ ยิ าสอ งฟา จันทรศรีสอ งธรรม
ประมวลภาพปจฉิมสมัย

๑๕๑หลวงปจู นั ทรศรี จนทฺ ทโี ป

๑๕๒ สรุ ยิ าสอ งฟา จนั ทรศ รีสอ งธรรม

๑๕๓หลวงปจู นั ทรศรี จนทฺ ทโี ป

๑๕๔ สรุ ยิ าสอ งฟา จนั ทรศ รีสอ งธรรม

๑๕๕หลวงปจู ันทรศรี จนฺททโี ป
ประมวลลำดบั เหตุการณประวตั ิ

ลำดบั การจำพรรษา

สามเณรจันทรศรี แสนมงคล

พ.ศ. ๒๔๖๘-๒๔๗๐ จำพรรษาวัดโพธ์ิศรี บานโนนทันตำบลพระลับ อำเภอเมือง
จงั หวัดขอนแกน

พ.ศ. ๒๔๗๑ จำพรรษาวัดสมศรี บานพระคือ ตำบลพระลับ อำเภอเมือง
จังหวัดขอนแกน

พ.ศ. ๒๔๗๒-๒๔๗๓ จำพรรษาวัดปาดอนปูตา บานพระคือ ตำบลพระลับ อำเภอ
เมอื ง จังหวดั ขอนแกน

พระภกิ ษุจนั ทรศ รี จนทฺ ทโี ป

พ.ศ. ๒๔๗๔ จำพรรษาวัดปาดอนปูตา บานพระคือ ตำบลพระลับ อำเภอ
เมอื ง จงั หวัดขอนแกน

พ.ศ. ๒๔๗๕-๒๔๗๗ จำพรรษาวัดบวรมงคล ตำบลบางพลัด อำเภอบางพลัด
จงั หวดั ธนบรุ ี

พ.ศ. ๒๔๗๘-๒๔๘๐ จำพรรษาวัดบวรนิเวศวิหาร ตำบลบวรนิเวศ อำเภอพระนคร
กรงุ เทพฯ

พ.ศ. ๒๔๘๑ จำพรรษาวัดรมั ภาราม อำเภอทา วงุ จ.ลพบรุ ี

พ.ศ. ๒๔๘๒-๒๔๘๓ จำพรรษาวัดหนองดู ตำบลบานเรือน อำเภอปาซาง จังหวัด
ลำพูน

พ.ศ. ๒๔๘๔ จำพรรษาวัดปาสุทธาวาส ตำบลธาตุเชิงชุม อำเภอเมือง
จงั หวดั สกลนคร

พ.ศ. ๒๔๘๕ จำพรรษาวัดบวรนิเวศวิหาร ตำบลบวรนิเวศ อำเภอพระนคร
กรุงเทพฯ

๑๕๖ สรุ ิยาสอ งฟา จนั ทรศรสี องธรรม

พ.ศ. ๒๔๘๖-๒๔๙๖ จำพรรษาทว่ี ัดธรรมนมิ ติ ตำบลบางแกว อำเภอเมอื ง จังหวัด
สมทุ รสงคราม

พ.ศ. ๒๔๙๗-ปจ จุบนั จำพรรษาที่วัดโพธิสมภรณ ตำบลหมากแขง อำเภอเมือง
จงั หวดั อดุ รธานี

ลำดบั การศกึ ษา

พ.ศ. ๒๔๖๘ จบชน้ั ประถม ๓ บรบิ ูรณโ รงเรียนประชาบาลวดั โพธ์ิศรี บา นโนนทัน
ตำบลพระลับ อำเภอเมอื ง จงั หวัดขอนแกน

พ.ศ. ๒๔๗๔ สอบน.ธ.ตรี ไดในสนามหลวง คณะจังหวดั ขอนแกน
พ.ศ. ๒๔๗๕ สอบน.ธ.โท ไดในสนามหลวง คณะจงั หวัดขอนแกน
พ.ศ. ๒๔๗๗ สอบน.ธ.เอก ไดใ นสนามหลวง สำนกั เรียนวดั บวรนิเวศวิหาร กรงุ เทพฯ
พ.ศ. ๒๔๘๐ สอบ ป.ธ. ๓ ไดในสนามหลวง สำนกั เรยี นวดั บวรนเิ วศวิหาร กรงุ เทพฯ
พ.ศ. ๒๔๘๕ สอบ ป.ธ. ๔ ไดใ นสนามหลวงสำนกั เรียนวัดบวรนิเวศวหิ าร กรงุ เทพฯ

ลำดบั ตำแหนงการปกครอง

วันท่ี ๑๕ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๘๖ เปนผูชวยองคก ารศกึ ษาจังหวัดสมทุ รสงคราม จังหวดั
สมุทรสาคร และเปนผูชวยเจาอาวาส วัดธรรมนิมิตร ตำบลบางแกว อำเภอเมือง จังหวัด
สมทุ รสงคราม

วันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๔๙๕ เปนเลขานุการเจาคณะจังหวัดสมุทรสงคราม-จังหวัด
สมทุ รสาคร (ธ)

วันท่ี ๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๙๗ เปนรองเจาอาวาสวัดโพธิสมภรณ อำเภอเมือง
จังหวดั อดุ รธานี

วันที่ ๑ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๔๙๗ เปน ผชู ว ยเจาคณะจงั หวัดอดุ รธานี (ธรรมยุต)
วนั ท่ี ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๙๘ เปนเจา คณะจงั หวดั อดุ รธานี (ธรรมยุต)
วันที่ ๑๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๐๕ เปนผรู ักษาการณเ จา อาวาสวดั โพธสิ มภรณ วัดราษฏร

๑๕๗หลวงปูจ นั ทรศรี จนฺททโี ป

วันที่ ๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๐๗ ทรงโปรดพระราชทานพระบรมราชานุญาตให
วดั โพธสิ มภรณเ ปนพระอารามหลวง ช้ันตรี ชนิดสามัญ

วนั ท่ี ๒๖ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๐๗ เปน เจาอาวาสวดั โพธสิ มภรณ พระอารามหลวงชัน้ ตรี
วนั ที่ ๑๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๑๙ เปนรองเจาคณะภาค ๘ (ธรรมยุต) และรักษาการ
เจาคณะจังหวดั อดุ รธานี
วันท่ี ๑๕ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๒๒ เปนผูรักษาการเจาคณะจังหวัดหนองคาย และ
จงั หวดั สกลนคร
วันท่ี ๓ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๓๑ เปน ผูร ักษาการเจาคณะภาค ๙ (ธรรมยตุ )
วนั ที่ ๓๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๑ เปน เจา คณะภาค ๙ (ธรรมยตุ )
วนั ท่ี ๒ กรกฏาคม พ.ศ. ๒๕๔๔ เปนท่ปี รึกษาเจา คณะภาค ๙ (ธรรมยุต)

ลำดับสมณศักดิ์

๕ ธนั วาคม๒๔๙๕ เปน พระครูสัญญาบตั รชัน้ เอก ที่ พระครูสิรสิ ารสุธี
๕ ธนั วาคม๒๔๙๘ เปน พระราชาคณะชน้ั สามญั ที่ พระสิรสิ ารสธุ ี
๕ ธันวาคม ๒๕๐๕ เปนพระราชาคณะชนั้ ราช ท่ี พระราชเมธาจารย
๕ ธันวาคม ๒๕๑๗ เปนพระราชาคณะช้ันเทพ ที่ พระเทพเมธาจารย
๕ ธันวาคม ๒๕๓๓ เปนพระราชาคณะชั้นธรรม ท่ี พระธรรมบณั ฑติ
๕ ธนั วาคม ๒๕๔๔ เปนพระราชาคณะเจาคณะรองชน้ั หิรัญบฏั ที่ พระอดุ มญาณโมลี

๑๕๘ สรุ ิยาสอ งฟา จนั ทรศรีสองธรรม

๑๐๑ ป พระอดุ มญาณโมลี (หลวงปูจันทรศรี จนฺททโี ป)
๑๐ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๕

๑๕๙หลวงปูจ ันทรศรี จนฺททีโป

ธรรมบารมีของหลวงปูจันทรศ รี จนฺททโี ป

ตามรอยพระบรมศาสดา
และพระอสีตมิ หาสาวกทเ่ี ปน เอตทคั คะ

พระพกั กุลเถระ : ผูเ ปนเลศิ ดานอาพาธนอย
พระอานนทเ ถระ : ผูเปนเลิศดานอปุ ฐาก
พระราธเถระ : ผเู ปนแบบอยางของภกิ ษผุ วู า นอนสอนงา ย
พระราหุลเถระ : ผูเปนเลิศดา นใครต อการศกึ ษา

“๑๖๐ สุรยิ าสอ งฟา จันทรศรีสองธรรม

จากภาคประวัติและปฏิปทาของหลวงปูจันทรศรี จนฺททีโป ไดสะทอนใหเห็นถึง
ความงดงามในดานจริยวัตรและคุณธรรมท่ีบำเพ็ญส่ังสมมา ตลอดระยะเวลาอันยาวนาน
ในสมณเพศ หลวงปูไดวางองคเปนแบบอยาง ทั้งตอหมูพระภิกษุสามเณรและเหลา
ศิษยานุศิษยที่เปนฆราวาสดังเชนที่องคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา รวมถึงพระอริยสงฆ
สาวกทง้ั หลายไดป ฏิบตั สิ ืบทอดกนั มาตั้งแตคร้งั พุทธกาล

ในโอกาสอันเปนมงคลย่ิงที่หลวงปูจันทรศรีเจริญอายุวัฒนะครบ ๑๐๑ ป ทางคณะ
ศิษยฯ จึงขอนอมนำเร่ืองราวท่ีเก่ียวกับพระอสีติมหาสาวก หมายถึง สาวกผูใหญหรือสาวก
ชั้นหัวหนา ซ่ึงพระอรรถกถาจารยจัดไว ๘๐ รูป ในท่ีนี้จะขอหยิบยกเฉพาะผูที่พระพุทธเจา
ทรงยกยองวาเปนเอตทัคคะ หรือผูเปนเลิศในดานตางๆ เพ่ือเชิดชูคุณงามความดี มิใหลบ
เลอื นหายไปตามกาลเวลา และสะทอ นใหเ หน็ ถึงการบำเพ็ญธรรมบารมขี องหลวงปู ตามรอย
พระอริยสงฆสาวก ซ่ึงลวนมีสวนในการชวยจรรโลงพระพุทธศาสนาใหอยูมาจนถึงทุกวันนี้
สมดังท่ีพระพุทธเจาไดตรัสไวกอนดับขันธปรินิพพานกับสุภัททะปริพาชก พระสาวกองค
สุดทา ย วา

“ดกู อนสุภทั ทะ! อริยมรรคประกอบดวยองค ๘ เปนทางประเสริฐ
สามารถใหบคุ คลผเู ดินไปตามทางน้ีถงึ ซงึ่ ความสขุ สงบเย็นเตม็ ที่
เปนทางเดินไปสอู มตะ
ดูกอนสภุ ทั ทะ! ถา ภกิ ษหุ รอื ใครก็ตามจะพึงอยูโดยชอบ
ปฏบิ ตั ดิ ำเนนิ ตามมรรคอันประเสริฐ ประกอบดว ยองค ๘ น้อี ยู
โลกก็จะไมพึงวางจากพระอรหันต

๑๖๑หลวงปจู ันทรศ รี จนฺททโี ป

๑. พระพักกุลเถระ : ผเู ปนเลศิ ดานอาพาธนอ ย

พระพุทธเจาทรงตรัสวา รางกายนี้เปนรังของโรค ไมมีผูท่ีไมเคยปวย แมความหิวก็
เปนโรคชนิดหนึ่ง ซึ่งเปนความทุกขที่รางกายทนไมได ดังน้ัน การท่ีมนุษยคนหน่ึงจะไมเคย
เจ็บปวยเลย และมีอายุยืนยาวถึง ๑๒๐ ป หรือ ๑๖๐ ป ในบางคัมภีร จึงถือเปนความ

๑๖๒ สุรยิ าสอ งฟา จันทรศ รีสองธรรม

นาอัศจรรยอยางย่ิง ดังเชนประวัติของพระพักกุลเถระในพระไตรปฎก (คัมภีรขุททกนิกาย
อปทาน) ผูท่ีพระพุทธเจาทรงยกยองวา เปนเลิศกวาภิกษุสาวกอ่ืนดานมีอาพาธนอย อันมี
ผลสืบเน่ืองมาจากการส่ังสมบารมีของทานมาหลายภพชาติ รวมท้ังการท่ีมีโอกาสถวายยา
รักษาโรคแดพระพทุ ธเจาหลายพระองคด ว ยกนั

บพุ กรรมในอดีตชาติ

เมอื่ ครงั้ เกิดเปน ดาบส ทานไดถวายยาแดพ ระพทุ ธเจา อโนมทัสสี และตั้งจิตอธิษฐาน
ขอใหเ ปน ผูป ราศจากโรค ตอ มา ในสมัยของพระพุทธเจาปทมุ ุตตระ ทานไดเ หน็ พระองคทรง
ยกยองภิกษุรูปหนึ่งวา เปนผูเลิศดานมีอาพาธนอย ทานจึงตั้งความปรารถนาเชนนั้น และ
ส่งั สมกศุ ลกรรมเรอ่ื ยมา จนมาถงึ ยคุ สมัยของพระพุทธเจาวปิ สสี ทานกไ็ ดถวายยาใหพระองค
เชนกัน และในสมัยพระพุทธเจากัสสปะ ทานไดซอมแซมวัด อีกทั้งสรางโรงครัว ที่จงกรม
ท่พี ัก สว ม และจัดยาถวายพระภิกษทุ วี่ ดั น้ันเปน ประจำ

บุพกรรมในสมัยพทุ ธกาล

พอมาถึงชาติสุดทายของทานในสมัยพระพุทธเจาโคตมะ อานิสงสจากการถวายยา
จึงสงผลใหทานปราศจากโรคและเวรภัย นับต้ังแตแรกเกิดเลยทีเดียว ในคร้ังนั้น ทานเกิด
เปนบุตรเศรษฐี กรุงโกสัมพี ขณะท่ียังเปนทารก พี่เล้ียงนำทานไปอาบน้ำท่ีแมน้ำยมุนา
เพราะเชื่อวาเม่ือเติบใหญจะเปนผูไมมีโรค ก็มีปลาตัวใหญฮุบตัวทาน แลวกลืนลงทอง
จากนนั้ ก็วายน้ำหนี จนไปติดอวนของชาวประมงแหง เมอื งพาราณสี ซึ่งตงั้ อยหู างไกลออกไป

ธรรมดาปลาใหญติดอวนแลวตองตาย แตดวยบุญบารมีของทาน ปลาตัวนี้ถูกนำ
ออกจากอวนแลวจึงตาย ชาวประมงจึงชวยกันยกปลาใสคานหาม แลวออกตระเวณขาย
ทั่วกรุงในราคาหน่ึงพันกหาปณะ แตก็ไมมีใครซ้ือ จนมาถึงบานเศรษฐี พวกเขาจึงบอกขาย
ในราคาเพยี งหนึ่งกหาปณะ

หลังจากซ้ือปลาในราคาแสนถูกแลว ภรรยาเศรษฐีก็เริ่มชำแหละปลา แตนางตอง
ตกใจอยางยิ่ง เม่ือพบทารกผิวพรรณดั่งทองนอนอยูในทองปลา เศรษฐีผูเปนสามีจึงให
ประกาศหาบิดามารดาของเด็ก แตก็ไมมีใครแสดงตัว เศรษฐีจึงพาเด็กไปกราบทูลพระราชา
พระองคเหน็ วา เดก็ นอ ยนีม้ ีบุญ จงึ รบั สั่งใหเ ศรษฐีเล้ยี งดูเปน บตุ ร

๑๖๓หลวงปจู นั ทรศ รี จนฺททีโป

ตอมา บดิ ามารดาแทจริงของทารกไดข า ววา เศรษฐีกรงุ พาราณสีพบเด็กในทอ งปลา
จึงพากันไปหาและทวงบุตรคืน ท้ังสองฝายตางตกลงกันไมได จึงพากันไปกราบทูลให
พระราชาทรงวินจิ ฉยั พระองคท รงตัดสินใหเดก็ เปน ทายาทของทง้ั สองสกลุ จากนน้ั มา จึงพา
กันเรียกเด็กนอยนั้นวา “พักกลุ กุมาร” แปลวา คนสองเมอื ง

เม่ือพักกุลกุมารโตข้ึน ทั้งสองสกุลไดสรางปราสาทให ๓ หลังในพระนครท้ังสอง
ในปราสาทมีเหลานางฟอนรำไวทุกหลัง พักกุละพักอยูในแตละเมืองนาน ๔ เดือน พอครบ
กำหนด ทา นกจ็ ะขึ้นเรือไปยังอีกเมอื ง โดยใชเ วลาเดินทางอกี ๔ เดือน จนผูคนเรยี กทา นวา
“อุภยเศรษฐี” แปลวา เศรษฐี ๒ เมือง ทานไดใชชีวิตพรั่งพรอมอยูในโลกียสุข อันเกิดจาก
อานิสงสผลบุญทีไ่ ดบำเพญ็ มาเชน นีเ้ ปนเวลานานถงึ ๘๐ ป

หลังจากท่ีพระพุทธเจาโคตมะทรงตรัสรูและเสด็จมาที่กรุงโกสัมพี เพื่อเผยแผ
พระธรรม พกั กุละมีโอกาสฟงธรรมจนเกดิ ความศรทั ธาเลยกราบทลู ขอบวช และ ๘ วนั ตอ มา
กบ็ รรลอุ รหตั ผล

พระพักกุละเปนฆราวาสอยู ๘๐ ป ไมเคยเกิดความเจ็บปวยเลย แมแตจะจับกอน
ของหอมสูดดมใหรูสึกโลงก็ไมเคย (ซ่ึงอรรถกถาอธิบายวา ผูไมมีอาพาธ คือ ที่สุดแมจะใช
เพยี ง ๒ นว้ิ จบั ของหอมเพ่อื สดู ดมก็ไมเคย)

แมจะบวชเม่ืออายุมากแลว ทานก็ไมเคยอาพาธและไมเคยฉันยาหรือสมอซักช้ิน
ดว ยอำนาจแหง บุญกศุ ลที่ไดก ระทำมา พระพุทธเจาทรงตรัสยกยองทานวา

“ภกิ ษุท้ังหลาย พระพกั กลุ ะเลศิ กวา พวกภกิ ษุของเราผูมอี าพาธนอย”
นอกจากน้ี ทานไมเคยขาดแคลนปจจัยส่ีใดๆ เน่ืองจากคนในครอบครัวของทาน
จากสองเมอื ง ไดพากันมาถวายจีวรและอาหารรสเลิศแกท านเปน ประจำ
หลังจากพระพักกุละบวชได ๘๐ พรรษา เพื่อนของทานเมื่อคร้ังเปนฆราวาส
ช่ือ อเจลกัสสปะแวะมาเยี่ยม เมื่อไดสนทนาแลวทราบวา พระพักกุละมีขอวัตรที่เครงครัด
นาเลื่อมใส เชนไมยินดีในกิจนิมนต, ถือธุดงควัตร ในขอเนสัชชิกธุดงค คือ ถือการนั่ง
เปน วัตร ไมเคยนอนบนเตียงหรือเอนหลังพิงพนกั , ถืออรัญญกิ ธดุ งค คือ การอยปู า เปนตน
ตลอดระยะเวลา ๘๐ ปท่ีทานบวช ทำใหอเจลกัสสปะเกิดความศรัทธาในความอัศจรรยของ
ธรรมท่ีไมนาเปนไปไดเหลาน้ีของพระพักกุลเถระ จึงขอบวชตามในเวลาตอมา พระกัสสปะ
กไ็ ดเ ปนพระอรหนั ตอ งคห นงึ่ เชน กนั

๑๖๔ สุริยาสอ งฟา จันทรศ รสี องธรรม

นอกจากนี้ เนอ่ื งจากตลอดชวี ิตของทาน ทา นไมเคยตองเปน ภาระแกใครๆ แมอายุ
ขัยถึง ๑๖๐ ป ดังน้นั ในวนั ท่ีทา นจะนิพพาน ทานไดนมิ นตภิกษทุ กุ รูปในวิหารใหมาประชุม
กนั แลวเขาเตโชธาตุนพิ พาน เพ่อื ไมใหเปน ภาระแกภ ิกษุอนื่ ทำใหไฟไหมทว มสรรี ะของทาน
จนหมดสิ้น เหลือเพียงอัฐธิ าตทุ ่ีมสี ัณฐานด่ังดอกมะลติ ูม

๑๐๑ ป จันทรศรีผองใส

ภาพจำทีป่ ระทบั ใจของผทู ี่มโี อกาสไดพบหลวงปจู นั ทรศรี จนทฺ ทโี ป แมเ พียงครูเดียว
คือ รอยยิ้มและแววตาท่ีเต็มไปดวยความอบอุนเมตตาสุดประมาณ ผิวพรรณที่ผองใส
และธาตุขันธที่ดูสดชื่นแข็งแรงของทาน แมอายุของทานผานพนกาลเวลาถึงหน่ึงศตวรรษแลว
ซึ่งนบั วา หาไดย ากยิ่ง

ทกุ วนั นี้ หลวงปจู นั ทรศ รยี งั ฉันอาหารไดมากและรูสกึ ถงึ รสชาตอิ าหารไดดี เดินไดเอง
โดยใชพ ระชวยประคอง วันละ ๒-๓ รอบ ประมาณ ๑๐-๑๕ นาที/รอบ อา นหนังสือโดยไมใ ส
แวนตา แตจะใชเพียงแวนขยายชวย และตอนเย็นๆ จะนั่งรถเข็น ตรวจตราความเรียบรอย
ภายในวัดโพธิสมภรณ ตามท่ีเคยปฏิบัติมาตลอดระยะเวลา ๔๘ ปที่ทานดำรงตำแหนง
เจา อาวาส

๑๖๕หลวงปูจันทรศ รี จนฺททโี ป

นอกเหนอื ไปจากการทห่ี ลวงปูทา นพิจารณาฉันแตอาหารทีม่ ีประโยชน เชน ปลาเน้ือ
ออน ไขข าว กลว ยน้ำวา กบั นำ้ ผงึ้ (ซ่ึงหลวงปูจะฉันชว งเชา ๑-๒ ลูก ชวงเพลอีก ๑-๒ ลูก)
เวนอาหารรสชาตจิ ดั เชน หวาน เค็ม เผด็ เวนของแสลงโรค เชน อาหารมนั ๆ การเคล่อื นไหว
เปลีย่ นอิรยิ าบถอยางสม่ำเสมอ โดยเฉพาะการเดนิ ทุกวัน เวนแตมีกจิ สำคัญจำเปน หรอื การที่
ทานปฏิบัติตามคำแนะนำของแพทยอยางเครงครัดแลว ธาตุขันธท่ีแข็งแรงและอายุวัฒนะ
ท่ียืนยาวของหลวงปู นาจะเปนผลมาจากการที่ทานมีอุปนิสัยเมตตากรุณา ไมเบียดเบียน
อาฆาตจองเวรพยาบาท ต้ังแตคร้ังยังเปนฆราวาสเร่ือยมา ตราบจนปจจุบันดังเชนท่ีทานเลา
วา “ในชีวิตของหลวงปู เร่ืองการเบยี ดเบยี นทำรา ยสัตว มีนอยท่สี ดุ ”

ซึ่งอานิสงสของการรักษาศีลขอปาณาติบาตนั้นมีอยูหลายประการ ยกตัวอยางท่ี
ปรากฎอยใู นชาดกเรือ่ งพระวนาวนั พระพทุ ธเจา ในอดีตชาติ เมือ่ คร้งั เกิดเปนพระโพธสิ ตั ว

อานสิ งสของศีลหา ขอ ปาณาตบิ าต

กอนแสดงธรรม พระมหาวันไดใหพวกพญากนิ นรสมาทานศลี หากอ น แตพ ญากนิ นร
ไมรจู กั ศีลหา พระมหาวันเลยอธบิ ายแตล ะขอ และแสดงอานสิ งสของการรักษาศลี นัน้ โดยใน
ขอปาณาติบาตซ่ึงเปนขอแรก หมายถึง เจตนาที่เวนจากการฆาและเบียดเบียนสัตวส่ิงมีชีวิต
ท้งั หลาย มดี งั นี้

๑๖๖ สุริยาสอ งฟา จันทรศ รสี องธรรม “

“ดกู อนมหาราช บคุ คลท่งี ดเวนจากปาณาตบิ าต ยอ มเปนผูไมม โี รค
ไมม ีความปว ยไข ไมมผี ใู ดจะเบยี ดเบยี นพยาบาทจองเวร
เปน ผปู ราศจากทกุ ข ปราศจากอุปท ทวันตราย
ท้งั จะเปนท่รี ักของเทวดาและมนษุ ยท ั้งหลายมากไมม ปี ระมาณ
จะมอี ายุยนื ยาวนาน ไมใครจ ะแกชรา จะไมพ ลัดพรากจากสตั ว
และสงั ขารอันเปนทร่ี กั ที่เจริญใจ จะมวี รรณกายอันงามผองใส
บริบูรณไ ปดว ยรปู ทรงสณั ฐานอนั ดี ทง้ั มิไดมีความครน่ั ครา มและ
ความกลวั ในทา มกลางบรษิ ทั แมเมือ่ จะทำกาลกริ ิยา* ก็ไมมสี ติ
หลงไหลฟน เฟอน ครน้ั ทำกาลกริ ิยาแลว ก็ไมไปเกิดในอบาย
อนั เปนอานสิ งสข องการท่งี ดเวนจากปาณาติบาต
* ทำกาลกรยิ า หมายถึง ตาย

อทิ ธบิ าท ๔ ธรรมที่ทำใหอ ายยุ นื

ในคร้ังพุทธกาล พระพุทธเจาไดเคยตรัสกับพระอานนทถึงอานิสงสของการเจริญ
อทิ ธิบาท ๔ วา เปนธรรมทที่ ำใหมอี ายยุ ืนยาว ดงั นี้

“อานนท ผอู บรมอิทธบิ าท ๔ มาอยา งดี
และทำจนแคลวคลองแลว อยา งเรานี้
หากปรารถนาจะมีชีวติ อยูถึง ๑ กัลป (คอื ๑๒๐ ปม นุษย)
กส็ ามารถจะมชี ีวติ อยไู ด

อิทธิบาท หมายถึง ท่ีต้ังของความสำเร็จ ในที่น้ีหมายถึงการทำกุศลใหถึงพรอม
อันเปนเหตุประคับประคองธาตุขันธใหดำรงอยูไดตราบส้ินอายุขัย และกุศลนั้นมีกำลังเหนือ
วิบากของอกุศลที่มาตัดรอนชีวิต ยอมใหผลอนุเคราะหเกื้อกูลรักษาธาตุขันธ หากไมเหลือ
วิสัยยอ มประสบความสำเรจ็ โดยอาศยั ฉนั ทะ - ความพอใจ, วิรยิ ะ - ความขยันหม่นั เพียร,

“ ๑๖๗หลวงปจู ันทรศรี จนทฺ ทีโป

จติ ตะ - ความต้ังใจ และวิมงั สา - การพจิ ารณาไตรตรองหาอุบายอนั เปนกศุ ล เพ่อื นำไปสู
ความสำเรจ็ ทีจ่ ะดำรงชีวิตอยู

ทตุ ยิ อนายุสสสูตร วา ดวยธรรมเปนเหตใุ หอายยุ นื
ดกู อ นภิกษุท้งั หลาย

ธรรม ๕ ประการน้ี เปน เหตใุ หอ ายยุ ืน ๕ ประการเปนไฉน คือ
บุคคลยอมเปนผูทำความสบายแกตนเอง ๑
รจู กั ประมาณในส่ิงทีส่ บาย ๑
บรโิ ภคสงิ่ ท่ยี อยงาย ๑
เปน ผมู ศี ีล ๑
มีมติ รดีงาม ๑

(พระสตุ ตันตปฎก อังคุตรนกิ าย ปญ จกนบิ าต เลมท่ี ๓๖ หนาที่ ๒๖๗)
จากประวัติของพระพักกุลเถระท่ีแสดงใหเห็นถึงอานิสงสที่ทำใหไมเคยอาพาธ
และมีอายุยืนยาว และผลแหงบุพกรรมท่ีหลวงปูไดบำเพ็ญธรรมบารมีดังที่กลาวมาขางตนนี้
เปนพระผูปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ ทานไดเจริญรอยตามแนวทางขององคสมเด็จพระสัมมา
สัมพุทธเจา และพระอสีตมิ หาสาวก บำเพ็ญคณุ งามความดีสงั่ สมมาแตอ ดีตชาติ และปฏิบตั ิ
สบื เนื่องตอ มาตราบชาติปจจบุ นั ยงั ผลใหดำรงธาตุขนั ธก า วพนศตวรรษ (ซ่งึ นบั วา เกนิ อายขุ ยั
เฉลย่ี ๗๕ ปข องคนสมัยน้)ี ไดพ ิสูจนใ หเปน ทีป่ ระจักษแกคนท่พี บเหน็ ทา นแลว วา มอี านิสงส
ทำใหเจริญอายุวัฒนะยืนยาว มีธาตุขันธแข็งแรง ผิวพรรณผองใส มีความสงบสุขชุมเย็น
เปนท่ีเคารพรักเทิดทูนของเหลาศิษยานุศิษย สมควรนอมนำคุณธรรมจากเรื่องน้ีมาเปน
แบบอยางในการดำเนนิ ชีวิตตอไป

“คนท่ีมสี ติอยตู ลอดเวลา รจู กั ประมาณในการบรโิ ภค
ยอ มมเี วทนาเบาบาง
แกชา ครองอายุอยูไ ดน าน

๑๖๘ สุริยาสองฟา จันทรศ รีสองธรรม

๒. พระอานนทเถระ : ผูเ ปน เลิศดานอุปฐากพระพทุ ธเจา

ในบรรดาพระมหาสาวกท้ังหลาย พระอานนทเถระนับวามีคุณูปการอยางย่ิงตอการ
สืบทอดอายุพระพุทธศาสนา เนอื่ งมาจากการทที่ านไดด ูแลรบั ใชพระพุทธเจาอยา งใกลช ดิ เปน
เวลานานถึง ๒๕ ป ทำใหมีโอกาสรับฟงพระพุทธดำรัสมากกวาผูใด และหลังจากท่ี

“ ๑๖๙หลวงปจู ันทรศ รี จนทฺ ทโี ป

พระพุทธเจาเสด็จปรินิพพานแลว ทานไดมีสวนสำคัญในการสังคายนาพระธรรมคำสอน
จนไดร ับการเผยแผม าจนถึงทกุ วันนี้

พระอานนทไดทำหนาที่พุทธอุปฐาก และคอยติดตามพระพุทธเจาเหมือนเงาตามตัว
ดวยความเสียสละ อดทน และพากเพียร จนพระพุทธองคตรัสสรรเสริญพระอานนท
หลายครั้ง นอกจากน้ี ทานยังไดรับการสรรเสริญ แมแตจากพระภิกษุสาวกดวยกันหรือ
จากฆราวาส จึงเปนการสมควรท่ีอนุชนรุนหลังจะนอมนำประวัติและหลักคุณธรรมของทาน
มาศึกษา เพือ่ เปนแบบอยางในการดำเนนิ ชีวติ ดังเร่อื งราวทีป่ รากฎตอไปนี้

“ ดูกอ นอานนท บางทีพวกเธอจะพงึ มคี วามคดิ อยางน้ีวา

ปาพจน (คำสอน) มีพระศาสดาลวงแลว พระศาสดาของพวกเราไมมี
ขอน้ีพวกเธอไมพ งึ เห็นอยา งน้นั

ธรรมกด็ ี วนิ ัยกด็ ี อนั ใดท่ีเราแสดงแลว ไดบญั ญตั ิไวแ ลว แกพ วกเธอ
ธรรมและวินัยอนั น้นั จกั เปนศาสดาของพวกเธอ
โดยกาลลวงไปแหงเรา

บุพกรรมในอดตี ชาติ

ในอดีตชาติ พระอานนทเคยเกิดเปนพระอนุชาของพระพุทธเจามาแลวเชนกัน ซึ่งมี
พระนามวา พระพุทธเจาปทุมุตตระ (บางอรรถกถากลาววา เปนพี่ชาย) สวนพระอานนท
มชี ่อื วา เจาชายสุมน

หลังจากไดรับชัยชนะในการปราบกบฏชายแดนตามคำส่ังของพระราชบิดา แทนที่
จะขอรางวัลเปนแกวแหวนเงินทอง เจาชายสุมนกลับขอสรางบุญดวยการบำรุงพระพุทธเจา
ปทุมุตตระเปนเวลา ๓ เดือนแทน ทำใหทานมีโอกาสพบพระสุมนะผูเปนพระอุปฐาก
คอยดูแลพระพุทธเจาปทุมุตตระอยางดีเย่ียม จนทรงตรัสสรรเสริญวา เปนภิกษุผูเลิศในดาน
พุทธอุปฐาก เจาชายสุมนจึงเกิดศรัทธาและตั้งความปรารถนาท่ีจะเปนพุทธอุปฐากของ
พระพุทธเจาพระองคหน่ึงในอนาคตเชนเดียวกับพระสุมนะ และทานก็ไดรับการพยากรณ
จากพระพุทธเจาปทมุ ุตตระวาจะสมปรารถนานั้น

๑๗๐ สรุ ยิ าสอ งฟา จนั ทรศรสี องธรรม

พระอานนทไดสั่งสมบุญบารมีตอเน่ืองมาอีกหลายภพชาติ โดยในยุคพระพุทธเจา
กัสสปะ ทานไดถวายจีวรและอาหารแกพระท่ีกำลังบิณฑบาต และในชาติท่ีทานเกิดเปน
พระเจากรุงพาราณสี ไดสรางบรรณศาลาและอื่นๆ ถวายแดพระปจเจกพุทธเจาถึง ๘
พระองค นอกจากน้ี ทานยังคอยอุปฐากดูแลพระปจเจกพุทธเจากลุมน้ีเปนเวลานานถึง
หนึ่งหมื่นป

บุพกรรมในสมัยพุทธกาล

ในศาสนาของพระพุทธเจาโคตมะองคปจ จุบันนี้ ทา นเกิดเปน เจา ชายนามวา อานนท
แปลวา ความยินดี มีศักด์ิเปนลูกพ่ีลูกนองของพระพุทธเจาและเปนหน่ึงในสหชาติท้ังเจ็ด
อันหมายถึง ส่ิงที่เกิดพรอมกับการประสูติของพระโพธิสัตว ผูซ่ึงจะมาเปนพระพุทธเจา
ไดแก พระนางพิมพา - พระชายาของพระพุทธเจาและเปนพระมารดาของพระราหุล,
พระอานนท - พระอุปฐากของพระพุทธเจา, นายฉันนะ - มหาดเลก็ คนสนิทของพระพุทธเจา
ชวยพาพระองคหลบหนีจากพระราชวัง ในวันที่เสด็จออกบรรพชา, กาฬุทายีอำมาตย -
ผูท่ีสามารถนิมนตพระพุทธเจาใหเสด็จมาที่กรุงกบิลพัสดุหลังจากตรัสรูเปนผลสำเร็จ,
มากัณฐกะ - มาพระที่นั่งในวันที่พระพุทธเจาเสด็จออกบรรพชา, ตนพระศรีมหาโพธิ์ -
พระพุทธเจาประทับน่ังท่ีใตตนไมน้ีในวันที่ตรัสรู ตั้งอยูในปาสาละ ใกลแมน้ำเนรัญชลา
ตำบลอรุ เุ วลาเสนานคิ ม แควนมคธ, หมอขุมทรพั ยทง้ั ๔ ขมุ ไดแ ก ขุมทองสงั ขนธิ ี, ขุมทอง
เอลนิธ,ี ขมุ ทองอบุ ลนธิ ี, ขุมทองปุณฑริกนธิ ี

ในพรรษาท่ี ๒ หลังจากทรงตรัสรูเปนพระพุทธเจาแลว พระองคไดเสด็จมาแสดง
ธรรมโปรดพระประยูรญาติ ทำใหมีคนออกบวชตามดวยศรัทธามากมาย แตเจาชายอานนท
ยังไมบวช จนกระท่ังถูกตำหนิจากพระประยูรญาติ ทานจึงตามเสด็จพระพุทธองคไปท่ี
แควนมัลละ และทลู ขอบวชทีน่ ่นั ระหวางพรรษาแรกที่บวช ทานกบ็ รรลธุ รรมเปน พระโสดาบัน

ในชวงแรก พระพุทธเจาไมทรงมีอุปฐากประจำพระองค จนกระทั่งในพรรษาที่ ๒๐
เม่ือพระองคเร่ิมเขาสูวัยชราแลว ทรงขอใหคณะสงฆสาวกคัดเลือกพระอุปฐากประจำให
พระสาวกทุกรูปตางทูลขอเปนพุทธอุปฐาก ยกเวนพระอานนท ซ่ึงพระองคไดปฏิเสธทุกรูป
เมื่อคณะสงฆรูวาพระองคทรงประสงคใหพระอานนทเปนพุทธอุปฐาก จึงตักเตือนใหทานทูล
ขอตำแหนงนน้ั โดยกอ นที่จะยอมรับหนาท่ี พระอานนทก็กราบทลู ขอพร ๘ ประการ ซง่ึ แบง

๑๗๑หลวงปจู นั ทรศ รี จนฺททโี ป

เปน ๒ สวน กลาวคอื
พรสว นที่ขอใหพ ระพทุ ธองคไ มทรงปฏบิ ัติ ไดแก
๑. ไมพ ระราชทานจีวรอนั ประณตี ที่พระองคทรงไดมาแลวแกพระอานนท
๒. ไมพระราชทานบิณฑบาตอันประณตี ทพ่ี ระองคทรงไดมาแลวแกพระอานนท
๓. ไมพระราชทานใหพระอานนทอยใู นพระคนั ธกฎุ ีเดียวกันกับพระพทุ ธองค
๔. ไมทรงพาพระอานนทไ ปในทน่ี ิมนต
เหตุผลท่ีขอพรสวนน้ี เพื่อปองกันการครหาวา เพราะพระอานนทไดลาภ (หรือสิทธิ

พิเศษ) เหลา น้ี ทา นจึงรบั หนา ท่เี ปน อปุ ฐาก หากไมไ ดค งไมร บั ตำแหนง อุปฐาก

พรสว นทขี่ อใหพ ระพุทธองคท รงปฏิบัติ มีดังนี้
๕. ตอ งเสด็จไปสทู นี่ มิ นตท่ีพระอานนทร ับไว
๖. ตอ งเปดโอกาสใหคนทพี่ ระอานนทพามาไดเขาเฝา
๗. ตอ งเปดโอกาสใหพ ระอานนทไดเขาเฝา ทลู ถามยามเกิดความสงสัยในขอ ธรรมใด
๘. ตองตรสั ธรรมท่ีพระองคทรงแสดงลบั หลังใหพ ระอานนทฟงอกี ครง้ั
เหตุผลท่ีขอพรสวนน้ี เพื่อใหเห็นถึงอานิสงสของการไดเปนพุทธอุปฐาก ปองกัน
การครหาวา เปนอุปฐากใกลชดิ แตไ มไดร บั ประโยชนอ นั สมควรเหลานไ้ี ด
พระพุทธองคทรงประทานพรทั้ง ๘ ประการแกพระอานนท ทานจึงรับหนาท่ี
อปุ ฐากรบั ใชพ ระพุทธเจา นับแตนั้นมา

กจิ วัตรของพระอานนทใ นการอปุ ฐากพระพุทธองค ตลอด ๒๕ ป มดี งั น้ี
๑. ถวายนำ้ สรง ๒ คร้งั (เชา -เย็น)
๒. ถวายไมสฟี น ๓ ขนาด
๓. นวดพระหัตถและพระบาท
๔. นวดพระปฤษฎางค (แผนหลงั )
๕. ปด กวาดพระคนั ธกุฏีและบริเวณโดยรอบ

๑๗๒ สุริยาสอ งฟา จนั ทรศรีสองธรรม

๖. ไปไหนก็ไมไกลพระศาสดา คิดอยูเสมอวา เวลานี้ควรจะไดส่ิงนั้นสิ่งน้ี เราควร
ทำสงิ่ น้ี

๗. ยามกลางคืน ทานก็จะถือโคมไฟใหญ เดินตรวจรอบพระคันธกุฎี ๙ ครั้ง
โดยไมยอมวาง เพราะกลวั จะเผลอหลบั ไปไมรูต วั เมอ่ื พระศาสดาเรียกหา

ความท่ีพระอานนทเปนคนฉลาดชางสังเกตและละเอียดรอบคอบ จึงเรียนรูและ
เขาใจสิ่งท่ีพระองคทรงมีพระประสงคไดเร็ว เชนเมื่อตอนท่ีพระพุทธเจาตรัสใหทานออกแบบ
จีวรใหมีลักษณะเหมือนคันนา จะไดไมดูสวยงามหรือเปนท่ีตองการของคนอ่ืน ทานจึงนำผา
มาตัดเปนชิ้นเล็กชิ้นนอย แลวนำมาเย็บแลวยอมตามท่ีทรงดำริทุกประการ จนพระพุทธองค
ตรสั ชมในความเฉลยี วฉลาดของทา น

ดังท่ีเคยกลาวไปแลววาพระอานนทเปนผูท่ีมีคุณูปการตอพระพุทธศาสนาเปน
อยา งมาก อาทิเชน

- ทานมีความกตัญูและภักดีตอพระพุทธเจาอยางยิ่ง ยอมสละไดแมกระท่ังชีวิต
เชน คร้ังท่ีพระเทวทัตวางแผนจะปลงพระชนมพระพุทธเจา ดวยการปลอยชางนาฬาคิรี
ใหมาทำราย แตพระอานนทกลับยืนขวางไวเพ่ือปกปองพระพุทธเจา ซึ่งพระพุทธเจาทรง
ตรัสหามและใหพระอานนทห ลบไป

- เม่ือครั้งพระนางมหาปชาบดีโคตมีปรารถนาจะบวช แตพระพุทธเจาไมทรง
อนุญาต พระนางฯ รองไหเสียพระทัย เมื่อพระอานนททราบเร่ืองราว จึงชวยกราบทูล
ขออนญุ าตใหส ตรีไดบ วชในพระพทุ ธศาสนา แตพระพุทธเจา ทรงตรสั หา มถึง ๓ ครงั้ ทา นก็
ไมละความพยายามหาเหตุผลอ่ืนๆ มากราบทูลวา สตรีออกจากเรือนบวชเปนบรรพชิตแลว
สามารถบรรลมุ รรคผลไดหรอื ไม ทรงตรัสตอบวา ได ดังนัน้ พระนางมหาปชาบดโี คตมีผูเปน
พระมารดาเล้ียงของพระองคแทนพระชนนีที่สวรรคต ทรงมีอุปการะมาก ทรงเล้ียงดูและ
ถวายขีรธารา (น้ำนม) แกพระองค ขอใหพระนางฯ ไดบวชเถิด พระองคจึงทรงยินยอมให
พระนางฯไดบวชเปน ภิกษณุ ี ดวยการรบั ครุธรรม ๘ ประการ

- ทานทูลถามพระพุทธองคเกี่ยวกับสถานท่ีในการระลึกถึงพระองค หลังจากท่ี
ทรงเสดจ็ ปรินพิ พานไปแลว ทรงตรัสวา

“ดูกอนอานนท สังเวชนียสถาน (สถานท่ีเห็นแลวกระตุนใหปรารภความเพียร)

“ ๑๗๓หลวงปจู นั ทรศ รี จนฺททีโป

๔ แหง เหลา นี้ เปนทีค่ วรเหน็ ของกลุ บุตรผูมีศรัทธา สังเวชนยี สถาน ๔ เปน ไฉน ?
๑ ...สังเวชนียสถานเปนที่ควรเห็นของกุลบุตรผูมีศรัทธา ดวยระลึกวาพระตถาคต

ประสตู ิ ณ ท่ีนี้
๒ ...ดว ยระลึกวา พระตถาคตตรสั รอู นตุ ตรสัมมาสัมโพธญิ าณ ณ ท่นี ้ี
๓ ...ดวยระลกึ วาพระตถาคตยังธรรมจกั รอันประเสรฐิ ใหเ ปน ไปแลว ณ ท่ีนี้
๔ ...ดวยระลกึ วา พระตถาคตเสดจ็ ปรินิพพานดวยอนุปาทเิ สสนพิ พานธาตุ ณ ทน่ี ้ี

“ดกู อนอานนท ชนเหลาใดเทยี่ วจารกิ ไปยงั เจดยี 

(เรียกทง้ั ๔ แหงวา เจดยี  หมายถึง สถานท่คี วรเคารพ)
มีจิตเล่ือมใสแลวทำกาละ ชนเหลา นั้นเบื้องหนาแตกกายตายไป

ก็จะ เขาถงึ สุคตโิ ลกสวรรค

*กาละ แปลวา ตาย

จากความสามารถท่ีหลากหลายของพระอานนท พระพุทธเจาจึงทรงยกยอง
พระอานนทวา เปน เลศิ ถึง ๕ ดาน กลาวคือ

๑. ดานพหูสูต เพราะใสใจตอการไดยินไดฟงและสนใจศึกษาไตถาม ขออรรถ
ขอธรรมตางๆ จากพระพุทธเจา ทำใหร อบรใู นพระธรรมคำสอน มากกวา ภิกษรุ ปู อน่ื ๆ

๒. ดานมีสติ คือ ความระลึกรู เพราะตองเอาใจใส คอยจดจำพระพุทธวจนะ
ทำใหท านมกี ำลงั สตมิ ากกวาภิกษุรปู อ่นื ๆ

๓. ดานมีคติ หมายถึง ความเปนไป คือ ศึกษาเลาเรียนเน้ือความเพียงบทเดียว
แตสามารถเชื่อมโยงขอธรรมตา งๆ ไดถงึ ๖๐,๐๐๐ บท จำทุกบทไดต ามทต่ี รสั ไว

๔. ดานมีธิติ คือ มีความอดทนลำบากตรากตำ ในการอุปฐากอยางท่ีพระสาวก
รปู อื่นทำไมไ ด และในการศกึ ษาจดจำพระพทุ ธวจนะ

๕. ดานอุปฐาก เพราะอยูดูแลปรนนิบัติพระพุทธองคมาดวยเคารพบูชาเล่ือมใส
อยางยิ่ง ดวยกาย วาจา ใจ อันประกอบดวยเมตตาตลอดเวลานานถึง ๒๕ ปมากกวา
ภกิ ษรุ ูปอื่นๆ

“๑๗๔ สรุ ิยาสอ งฟา จันทรศรีสอ งธรรม

ดวยเหตุน้ี พระพุทธเจาจึงสรรเสริญวา พระอานนทเปนสุดยอดพทุ ธอุปฐาก บรรดา
พระพุทธเจาที่ไดเสด็จอุบัติมาแลวในอดีตและที่จะมาตรัสรูในอนาคต ภิกษุผูอุปฐาก
พระพทุ ธเจาอยางย่ิง กเ็ สมอดว ยพระอานนทน ้ี

ในวันท่ีพระพุทธเจาจะเสด็จปรินิพพาน ทานไดหลบไปรองไหวา ทานยังเปนเสข
บคุ คลอยู แตพ ระศาสดาผูอนุเคราะหเ ราจะปรนิ พิ พานเสยี แลว พระพทุ ธเจาจึงทรงปลอบโยน

“และใหก ำลังใจ ดว ยการแสดงอานิสงสใ นการอปุ ฐากพระองคไวด ังนี้
อานนท เธอไดเ ปนอปุ ฐากตถาคต ดว ยกายกรรม วจีกรรม มโนกรรม
อนั ประกอบดว ยเมตตา เปนประโยชนเกอื้ กูล เปนความสุขไมมีสอง
หาประมาณมิไดม าชา นาน เธอไดก ระทำบุญไวแ ลว
อานนท เธอจงประกอบความเพยี รเถดิ
เธอจักเปนผูไ มมีอาสวะโดยฉบั พลัน
หลังจากที่พระพุทธเจาเสด็จปรินิพพานไดไมนาน มีภิกษุบางพวกกลาวจาบจวง

ติเตียนพระพุทธเจา พระมหากัสสปเถระรูสึกสลดสังเวชใจ จึงชักชวนภิกษุสาวกรวม
สังคายนาพระธรรมวนิ ยั โดยคดั เลอื กเฉพาะพระอรหันตผเู ช่ียวชาญแตกฉานในพระธรรมวินัย
ทรงเอตทัคคะ ทรงปฏิสัมภิทา ทรงอภิญญา ในคร้ังนั้น พระมหากัสสปะคัดเลือกไดภิกษุ
๔๙๙ รูป ยังเวนไว ๑ รูป ตามมติคณะสงฆสาวกที่เสนอพระอานนทใหเขารวม แตใน
ขณะนนั้ ยงั เปน พระโสดาบัน ในเวลาตอ มาพระอานนทไดเ รง ความเพียรอยา งแรงกลา เพอ่ื ให
สามารถบรรลุอรหัตผลไดทันเวลา แตก็ยังไมสำเร็จ จนกระท่ังในเวลาใกลรุงเชาของวันเร่ิม
ทำสังคายนา ขณะจิตทอดอาลัยในความมุงหวังใหสำเร็จเปนพระอรหันต เอนกายลงจะพัก
ศีรษะยังไมทันถึงหมอน จิตปลอยวางความยึดมั่นถือม่ันท้ังปวง ก็หลุดพนจากอาสวะ
เปน พระขีณาสพ ทรงปฏิสมั ภทิ า จึงไดไปเขา รว มประชมุ สงฆค รบ ๕๐๐ รูป

พระมหาเถระ ๓ รูปที่มีสวนสำคัญในการสงั คายนา ไดแก พระมหากัสสปะ ผูเ ปน
เลิศดานธุดงควัตรและเปนประธานการทำสังคายนา, พระอุบาลี ผูเปนเอตทัคคะดาน
พระวินัย และพระอานนท ผูเปนพหูสูตสามารถจดจำพระพุทธวจนะไดมากกวาใคร จึงรับ
หนาที่ตอบคำถามเก่ียวกับพระธรรม ดังบทสวดคาถาตางๆ ท่ีมักข้ึนตนดวย “เอวัมเม
สุตงั เอกงั สะมะยัง ภะคะวา” อันหมายถึง “ขาพเจา (คอื พระอานนทเ ถระ) ไดสดับมาแลว
อยา งนี้ สมยั หนง่ึ พระผมู ีพระภาคเจา ตรสั วา…”

๑๗๕หลวงปูจันทรศรี จนฺททีโป

พระอานนทไดทำหนาที่เผยแผพระธรรมคำสอนตอมาอีกนาน จวบจนอายุ ๑๒๐ ป
จึงนิพพานกลางอากาศเหนือแมน้ำโรหิณี เพื่อความเสมอภาคตอพระประยูรญาติท้ัง ๒
ฝงแมน้ำ ซ่ึงตางเรียกรองใหทานไปนิพพานที่ดินแดนของตน ดวยการเขาเตโชสมาบัติ
เกดิ เปลวไฟลุกทว มรา งกายแลวแตกออก ทำใหพระธาตตุ กลงสดู ินแดนของท้ังสองฝง แมน ้ำ

คณุ ธรรมของพระอานนทและหลวงปจู ันทรศรี

นอกจากการปรนนิบัติรับใชครูบาอาจารย ดวยความกตัญูและเคารพเทิดทูน
ที่เหมือนกันแลว คุณธรรมของหลวงปูจันทรศรียังมีความคลายคลึงกับคุณธรรมของ
พระอานนทหลายประการ เชนความเปนผูรอบรู จากการใฝศึกษาเลาเรียนและจดจำโอวาท
ของครูบาอาจารยไดอยางแมนยำ แมกาลเวลาจะลวงเลยมาหลายทศวรรษแลว การเปน
ผูมีสติ ชางสังเกต มีปฏิภาณไหวพริบ ทำใหหลวงปูสามารถดูแลปรนนิบัติครูบาอาจารยได
อยา งถกู ใจ หรือการท่ีหลวงปูมีความอดทนพากเพยี ร ในการปฏบิ ตั ติ ามพระบัญชาของสมเด็จ
พระสังฆราชเจาฯ หรือทำงานที่ไดรับมอบหมายจากพระธรรมเจดียจนสำเรจ็ ลุลวงดวยดี

ฝก อปุ ฐากตงั้ แตย งั เปน สามเณร

หลวงปูจันทรศรีไดเคยกลาวถึง การท่ีไดมีโอกาสอุปฐากครูบาอาจารยหลายรูป
ตั้งแตครั้งยังเปนสามเณร และออกเดินธุดงควัตรตามคณะของพระกัมมัฏฐานสายหลวงปูม่ัน
เชน พระอาจารยเ ทสก เทสรสํ ี และพระอาจารยออ น าณสริ ิ ซึ่งทานไดบ อกเลา ถงึ เร่อื งน้ีวา

“เม่ือญัตติเปนสามเณรธรรมยุตแลว ตองฝกหัดระเบียบ ขอวัตรของพระธุดงค
กัมมัฏฐาน ตางองคตางเอาใจใสในขอวัตร ขยันขันแข็ง โดยเฉพาะการอุปฐากรับใชครูบา
อาจารย เชนลา งบาตร ซักยอมสบงจีวร ตม น้ำรอ น สรงนำ้ ในตอนคำ่ เชา ถวายการบบี นวด
บางวันกวาจะไดจำวัดก็ราวเที่ยงคืน ตื่นตีสี่ ถวายน้ำบวนปากและไมสีฟน ถาเปนฤดูหนาว
ก็ตองตมน้ำอนุ ถวายทา นลา งหนา เปนตน เวลาไปเท่ยี วรกุ ขมูล กต็ อ งแบกกลดสะพายบริขาร
ของพระอาจารยดวย โดยทานพระอาจารยสิงห และทานพระอาจารยมหาปนไดวางระเบียบ
ขอ สมั มาปฏบิ ตั ิ เพ่ือใหสานุศิษยถ อื ปฏิบตั ิเปนแนวทางอนั เดยี วกัน ซง่ึ หลวงปูต องตง้ั ใจศกึ ษา
และปฏิบัติตามใหไดค รบถวน ดวยความเคารพเทดิ ทูน“

๑๗๖ สุริยาสอ งฟา จันทรศ รีสอ งธรรม

ไดอ ุปฐากสมเด็จพระสงั ฆราชเจา กรมหลวงวชิรญาณวงศ

ชว งทห่ี ลวงปจู ันทรศ รีเลา เรยี นพระปรยิ ตั ธิ รรม ณ วัดบวรนเิ วศวิหาร ไดม บี ญุ วาสนา
ในการปรนนิบัติดูแลสมเด็จพระสังฆราชเจา กรมหลวงวชิรญาณวงศ (ม.ร.ว.ชื่น สุจิตฺโต)
ซึง่ เปนเจา อาวาสวัดบวรนเิ วศฯในสมยั นั้น สมเดจ็ พระสังฆราชเจาฯ ไดช อื่ วา เปนผเู ครงครัด
ตอพระธรรมวินัย อุปนิสัยเปนคนเด็ดขาด พูดจริง ทำจริง เวลาพูดเสียงจะดังคลายกับดุ
แตหลวงปูจันทรศรีก็รับใชไดถูกพระทัย เพราะรูนิสัยของทาน นอกจากนี้ ยังทรงโปรดให
หลวงปูเขียนหนังสือราชการดวยลายมือ กอนที่จะลงพระนามเสมอ แมวาหลวงปูจะพิมพดีด
เปนก็ตาม

หลวงปูจะเขาอยูเวรกลางคืนตลอด ซ่ึงตองนอนบนพ้ืนขางเตียงของสมเด็จ
พระสังฆราชเจาฯ ในคืนหนึ่ง สมเด็จฯ ทานนอนไมหลับ จึงขอยานอนหลับจำนวนมากถึง
๑๐ เม็ด แตหลวงปูไมกลาให เพราะหมอหามไมใหฉันเกินคร้ังละ ๒ เม็ด หลวงปูจึงใช
กุศโลบาย โดยใหท านหลบั ตาแลว ฉนั ยารวดเดียว พอเขานอนไดเพียง ๕ นาที ทา นก็บรรทม
หลับทันที คร้ันรุงเชา ทานไดถามถึงจำนวนเม็ดยานอนหลับที่ให แตหลวงปูมีไหวพริบดี
จึงตอบวา ใหเ ทา ทีต่ อ งการ

ในชว งเวลา ๑๐ คืนที่สมเดจ็ พระสังฆราชเจา ฯ ทรงประชวรหนกั กอนจะสิน้ พระชนม
หลวงปูไดรวมเปนหน่ึงในพระคิลานุปฏฐากคอยชวยดูแลอุปฐาก ณ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ
จวบจนสิ้นพระชนม นับเปนวาสนาของหลวงปูท่ีมีโอกาสตอบแทนความเมตตาของครูบา
อาจารยผมู พี ระคุณ

๑๕ วันสำคญั ตอ การครองเพศสมณะ

หลวงปูจันทรศรีไดกลาวถึงชวงเวลา ๑๕ วันที่ไดอุปฐากรับใชทานพระอาจารยม่ัน
ภูริทตฺโต วาเปนกำไรแหงชีวิตสมณเพศ ซ่ึงขณะนั้น หลวงปูไดรับพระบัญชาจากสมเด็จ
พระสังฆราชเจาฯ ใหไปสอนพระปริยัติธรรมที่วัดปาสุทธาวาส จังหวัดสกลนคร และไดรับ
มอบหมายจากเจาคณะจังหวัดใหปรนนิบัติหลวงปูมั่น ชวงท่ีทานรับนิมนตมาโปรดญาติโยม
ทสี่ กลนคร และพำนกั ชว่ั คราวอยูท่ีวัดปาสทุ ธาวาส

๑๗๗หลวงปูจนั ทรศรี จนทฺ ทีโป

ทานไดดูแลรับใชหลวงปูม่ันอยางใกลชิด ต้ังแตตอนบิณฑบาต จนกระท่ังจัดอาหาร
ลงบาตรถวายไดอยางเรียบรอย โดยไมโดนหลวงปูมั่นดุ สรางความประหลาดใจใหกับ
พระเถระผูใหญทั้งหลายเปนอยางมาก นอกจากนี้ ทานยังไดรับความเมตตาอยางสูง เม่ือ
หลวงปูม่ันครองผาจีวรที่ทานตัดถวายอีกดวย

ตอนกลางคืน ทานจะนวดถวายหลวงปูมั่น ซึ่งถือเปนชวงเวลาที่สำคัญ เพราะได
โอกาสเรียนถามปญหาธรรมะและฝกอบรมกัมมัฏฐาน จนไดหลักในการปฏิบัติจิตภาวนา
ซ่ึงสงผลใหจิตใจของทานหนักแนนม่ันคง ในการดำรงเพศสมณะมาจนถึงปจจุบัน เพราะ
ในขณะนัน้ ทา นมีอายุประมาณ ๒๙ ป และคิดจะลาสิกขาอยูพ อดี

๑๗๘ สรุ ิยาสอ งฟา จนั ทรศรีสองธรรม

แมจะเปนชวงเวลาสั้นๆ ท่ีทานมีโอกาสปรนนิบัติรับใชหลวงปูมั่นอยางใกลชิด
แตดวยความกตัญูรูคุณที่มีตอครูบาอาจารย ทานไดกอสรางพระบรมธาตุธรรมเจดีย
เพื่อบรรจุอัฐิธาตุของหลวงปูม่ัน และใหชางแกะสลักบานประตูท่ีบอกเลาเรื่องราวตอนฝก
กัมมัฏฐานกับหลวงปูมั่น ติดต้ังไวท่ีพระบรมธาตุธรรมเจดีย ภายในบริเวณวัดโพธิสมภรณ
จังหวัดอุดรธานี ทั้งน้ี เพ่ือเปนเครื่องระลึกถึงและเปดใหสาธุชนรุนหลังไดกราบไหวเสาหลัก
สำคัญ ทช่ี วยค้ำจนุ พระพทุ ธศาสนาใหม คี วามมัน่ คงตราบจนถึงทกุ วนั น้ี

ปฏิบัตริ บั ใชพ ระธรรมเจดยี  (จมู พนฺธุโล) และอปุ ฐากหลวงปูดีเนาะ

สมเด็จพระสังฆราชเจาฯ ทรงมีพระบัญชาใหหลวงปูจันทรศรีมาอยูที่วัดโพธิสมภรณ
เพื่อชวยแบงเบาภาระพระธรรมเจดียที่เริ่มชราภาพแลว และขณะน้ันคณะธรรมยุตเพิ่งเร่ิม
เกิดข้ึนในจังหวัดอุดรธานี หลวงปูจึงมาชวยประสานความปรองดองระหวางคณะสงฆ
มหานิกายกับธรรมยุต ตามที่พระธรรมเจดียไดวางรากฐานไว ซึ่งหลวงปูก็ทำหนาที่ได
อยางเหมาะสม เพราะเคยสรา งความเขา ใจอันดีระหวาง ๒ นิกายมากอ นแลว

ตามประวัติของหลวงปูจันทรศรี ไดกลาวถึงการอุปฐากพระธรรมเจดียไวเพียงส้ันๆ
เชน การท่ีหลวงปูไดตำหมากถวายใหทานฉัน สวนมากมักกลาวถึงการที่หลวงปูปฏิบัติรับใช
พระธรรมเจดียในฐานะพระเลขา ชวยเขียนหนังสือราชการถวายใหทาน และควบคุมการ
บูรณะพระอโุ บสถ ฯลฯ

ในการอปุ ฐากดแู ลหลวงปดู เี นาะ ซง่ึ เปนเจา อาวาสวัดมชั ฌิมาวาส และเปน เจาคณะ
จังหวัดอุดรธานี หลวงปูจันทรศรีไดเลาวา เคยปรนนิบัติดูแลหลวงปูดีเนาะ เม่ือครั้งท่ี
ทานอาพาธเปนโรคไขหวัดใหญ และไปกราบเย่ียมสักการะเปนประจำ เพราะทานเปนผูมี
อปุ การคุณอยา งยิ่ง ทำใหหลวงปูเขาศึกษาเลาเรยี นท่ีวดั บวรนิเวศฯ ได

อานิสงสในการอุปฐาก

“ผูใดปรารถนาจะอปุ ฐากเราตถาคต ผูน นั้ พึงพยาบาลภกิ ษปุ วยไขเ ถิด”
โรงพยาบาลสงฆเปนสถานท่ีที่ใหการรักษาพยาบาลพระภิกษุสามเณรที่เจ็บไขไดปวย
โดยไมคิดมูลคา หากใครมีโอกาสไดไปเยือนที่น่ี คงจะเห็นพระพุทธพจนน้ีปรากฎอยู ซึ่งมี

๑๗๙หลวงปูจ ันทรศรี จนทฺ ทโี ป

ท่ีมาต้ังแตคร้ังพุทธกาล ตอนท่ีพระพุทธเจากับพระอานนทเดินตรวจเสนาสนะ จนไปถึงที่อยู
ของพระภิกษุรูปหน่ึง กำลังอาพาธดวยโรคทองเสีย นอนจมอุจจาระและปสสาวะของตนเอง
อยู โดยไมมีใครชว ยพยาบาล เพราะเหตุวา ไมไดทำประโยชนใ ดๆ ใหห มสู งฆ

พระพุทธเจาจึงตรัสเรียกพระอานนทมาส่ังวา “ดูกอนอานนท เธอจงไปนำน้ำมา
เราจะอาบน้ำใหภิกษุนี"้

พระอานนทรับพระพทุ ธดำรสั แลว จงึ ไปนำนำ้ มา
พระพุทธเจาทรงรดน้ำ พระอานนททำความสะอาด พระพุทธเจาทรงจับทางศีรษะ
พระอานนทยกทางเทาใหภิกษุนน้ั นอนบนเตียง
ครนั้ แลว พระพุทธเจาทรงเรียกประชุมภกิ ษุทั้งหลาย เพราะเหตุการณน้ัน ทรงตรสั วา
“ดูกอนภิกษุท้ังหลาย มารดาบิดาผูจะพึงพยาบาลพวกเธอก็ไมมี ถาเธอไมพยาบาล
กันเอง ใครเลาจักพยาบาล ดูกอนภิกษุท้ังหลาย ผูใดจะพยาบาลเรา ก็พึงพยาบาลภิกษุไข
เถิด ถามีอุปชฌายะ อุปชฌายะพึงพยาบาลเธอตลอดชีวิตจนกวาจะหาย ถามีอาจารย
อาจารยพึงพยาบาลเธอตลอดชีวิตจนกวาจะหาย ถามีสัทธิวิหาริก สัทธิวิหาริกพึงพยาบาล
เธอตลอดชีวิตจนกวาจะหาย ถามีอันเตวาสิก อันเตวาสิกพึงพยาบาลเธอตลอดชีวิตจนกวา
จะหาย ถามีภิกษุผูรวมอุปชฌายะ ภิกษุผูรวมอุปชฌายะพึงพยาบาลเธอตลอดชีวิตจนกวา
จะหาย ถามีภิกษุผูรวมอาจารย ภิกษุผูรวมอาจารยพึงพยาบาลเธอตลอดชีวิตจนกวาจะหาย
ถาไมมีอุปชฌายะ อาจารย สัทธิวิหาริก อันเตวาสิก ผูรวมอุปชฌายะ หรือผูรวมอาจารย
สงฆพงึ พยาบาลเธอ ถาไมพ ยาบาลตอ งอาบัติทุกกฎ”
พระพุทธเจาทรงเปรียบเทียบการดูแลภิกษุอาพาธ มีอานิสงสมากเหมือนกับการได
อปุ ฐากพระองคทาน ในฐานะฆราวาสกส็ ามารถนอ มนำคณุ ธรรมจากเรือ่ งราวของพระอานนท
และประวัติของหลวงปูมาปรับใชในการดำเนินชีวิต เชนบุตรธิดาพึงปรนนิบัติดูแลพอแม
และผูมีพระคุณทั้งหลาย ประดุจดังหมูสงฆพึงพยาบาลภิกษุไข ยอมนำมาซ่ึงความสุข
ความเจรญิ แกต นเองและครอบครัวตลอดกาลนาน

๑๘๐ สรุ ยิ าสอ งฟา จันทรศรีสอ งธรรม

๓. พระราธเถระ :
ผูเปน แบบอยางของภกิ ษผุ ูวานอนสอนงา ย

แมพระพุทธเจาโคตมะจะทรงยกยองพระราธเถระวา ผูเปนเลิศดานมีปฏิภาณก็ตาม
แตพระองคกต็ รัสชมเชยทา นในดา นท่ีเปน ผวู า นอนสอนงา ยดวย ตามประวัติอันมรี ายละเอยี ด
ดงั นี้

บพุ กรรมในอดีตชาติ

ในสมัยพระพุทธเจาปทุมุตตระ พระราธะเกิดในสกุลพราหมณ เปนชาวกรุงหงสวดี
ไดมีโอกาสกราบสักการะแดพระพุทธองคและภิกษุสงฆ ทำใหไดเห็นภิกษุรูปหน่ึงไดรับ
การสถาปนาเปนเอตทัคคะดานมีปฏิภาณ ทานจึงตั้งความปรารถนาในตำแหนงน้ันบาง
ซึง่ พระพุทธองคกท็ รงพยากรณวา จะสำเรจ็ ตามความปรารถนาในสมยั ของพระพทุ ธเจา โคตมะ

ตอมาในสมัยพระพุทธเจาวิปสสี พระราธะไดสรางสมบุญกุศลใหญอีกครั้ง เมื่อ
วันหนึ่ง ทานไดเห็นพระพุทธเจากำลังเสด็จเท่ียวบิณฑบาต ก็เกิดความเล่ือมใส ไดถวาย
ผลมะมวงแดพ ระพุทธเจา ผมู ีพระฉววี รรณดุจทองคำ ผสู มควรรบั เครอ่ื งสกั การะบชู า

บุพกรรมสมยั พทุ ธกาล

ในยุคน้ัน พระราธะเกิดเปนพราหมณตกยาก เกิดความลำบากในการเลี้ยงชีพ
จึงไดไปขออาศัยอยูกับพระสงฆในวัดพระเชตวันมหาวิหาร ซึ่งทานเหลาน้ันก็อนุญาต
ราธพราหมณไดชวยทำกิจธุระตางๆ เชนดายหญา กวาดบริเวณ ทำความสะอาด ตอมา
ทานอยากจะบวช แตไมมีพระภิกษุรูปใดใหความอนุเคราะหทานเลย เพราะเห็นวา
อายุมากแลว บวชไปก็จะไมสามารถบำเพ็ญเพียรภาวนาได จึงทำใหราธพราหมณเสียใจ
อยา งยิ่ง ถึงกบั รา งกายซบู ผอมลง หนา ตาผิวพรรณเศราหมอง

เมื่อพระพุทธเจาทอดพระเนตรเห็นจึงตรัสถาม ทำใหทรงทราบวาราธพราหมณ
มีความประสงคอยากจะบวช แตไมมีใครบวชให จึงรับส่ังถามภิกษุทั้งหลายวา ใครระลึกถึง
อุปการคุณของพราหมณน้ีไดบาง พระสารีบุตรระลึกไดจึงกราบทูลพระองควา ราธพราหมณ
เคยตักบาตรถวายทานดวยขาว ๑ ทัพพี พระพุทธองคจึงทรงตรัสชมเชยพระสารีบุตรวา

“ ๑๘๑หลวงปูจ ันทรศ รี จนทฺ ทโี ป

เปนคนกตัญู และตรัสส่ังใหพระสารีบุตรเปนพระอุปชฌายบวชใหราธพราหมณ ทรงให
ยกเลิกการอุปสมบทดวยวิธีรับไตรสรณคมนต้ังแตวันนั้นเปนตนมา (ในสมัยปจจุบัน ใชวิธีน้ี
ในการบวชสามเณร) และใหใชว ิธญี ัตตจิ ตตุ ถกรรมวาจา คอื การอุปสมบทดวยการเห็นชอบ
ของพระสงฆ จึงนับวาพระราธะเปนผูไดรับการอุปสมบทดวยวิธีน้ีรูปแรก และไดรับการ
ปฏิบัตสิ ืบทอดมาจนถึงปจจุบัน

พระสารีบุตรคิดวาพระศาสดาทรงใหพราหมณผูน้ีบวชดวยความเอื้อเฟอ เราจึงควร
จะดูแลทานดวยความเอื้อเฟอ ทานจึงพาพระราธะไปอยูในเสนาสนะใกลหมูบาน เพ่ือความ
สะดวกในปจ จัยสี่ แตความทีเ่ ปนพระบวชใหม ทำใหม ลี าภคอ นขา งนอย ทานจงึ ยกเสนาสนะ
ของทานใหพระราธะอยู เวลามีผูถวายอาหารอยางดี พระสารีบุตรก็ยกใหพระราธะ สวนตัว
ทานก็ออกไปบิณฑบาตเอง

หลังจากไดเสนาสนะสัปปายะ อาหารสัปปายะ ความลำบากทางรางกายของ
พระราธะกเ็ บาบาง ประกอบกับพระสารบี ุตรคอยแนะนำพรำ่ สอนอยูเนืองๆ ซง่ึ ทานมอี ปุ นสิ ัย
เปนคนวางายอยูแลว จึงเชื่อฟงและปฏิบัติตามคำสั่งสอนของพระสารีบุตรโดยเคารพทุก
ประการ ในเวลาไมนานนกั ทา นก็บรรลุพระอรหัตผล

เร่ืองน้ีทำใหพระพุทธเจาและบรรดาภิกษุดวยกัน ตางยกยองชมเชยความเปนผู
กตัญกู ตเวทีของทาน

ตอมาวันหนึ่งพระสารีบุตรเขาไปเฝาพระพุทธเจา ทรงตรัสถามถึงพระราธะ
พระสารีบุตรไดกราบทูลวา พระราธะเปนคนวานอนสอนงายเหลือเกิน ไมเคยโกรธเวลาที่
โดนกลาวโทษหรือพร่ำสอน พระพุทธเจาจึงตรัสยกยองพระราธเถระวาเปนผูวางาย และตรัส
สอนใหภิกษุท้งั หลายถอื เอาเปน ตัวอยาง ดงั นี้

“ภกิ ษุทงั้ หลาย ธรรมดาภกิ ษคุ วรเปนผวู า งายเหมือนราธะ
แมอาจารยช้โี ทษกลาวสอนอยู ก็ไมค วรโกรธ
ควรเห็นบุคคลผูใ หโอวาทวา
เปน เหมอื นคนผบู อกขมุ ทรพั ยใ ห ฉะนั้น

๑๘๒ สรุ ิยาสองฟา จันทรศรสี องธรรม “

“และทรงตรสั ในพระคาถาวา
พงึ เห็นบัณฑติ ผกู ลาวสอน
ช้โี ทษ พดู ขมไว มปี ญ ญากวา งขวาง เหมือนชบี้ อกขุมทรพั ยให
พึงคบบัณฑิตเชน นัน้ เมอื่ คบบณั ฑติ เชน น้นั ก็มีแตด ี ไมเ สียหายเลย

หลังบรรลุพระอรหัตแลว พระราธะไดทูลถามขอธรรมจำนวนมากจากพระพุทธเจา
ซึ่งพระองคไดตรัสตอบอธิบายทั้งหมด เมื่อพระราธะฟงแลวก็สามารถเขาใจและจดจำไวได

“นอกจากน้ี ยังสามารถแสดงธรรมเหลา น้ันได ตอ มา พระพทุ ธเจา ไดทรงยกยองพระราธะวา
ภิกษทุ ง้ั หลาย พระราธะเลิศกวา พระภกิ ษสุ าวกของเรา
ผูมปี ฏิภาณแจมแจง
เพราะมีญาณแจมแจงในพระธรรมเทศนาของพระองค และสามารถแสดงพระธรรม

เทศนาทีพ่ ระพุทธเจาทรงแสดงแลวไดท ันที

ความเปน ผูวา งายของหลวงปจู นั ทรศรี

หลักธรรมท่ีเกี่ยวของกับความเปนผูวางายสอนงาย ท่ีปรากฏในคัมภีรพระพุทธ
ศาสนาเถรวาท คอื มงคลสูตร เปนแนวทางการดำเนินชีวติ ไปสูความเจรญิ อนั นำประโยชน
สุขแกตนและผูอื่น หรอื ทีเ่ รียกวา มงคลชวี ิต ๓๘ ประการ ซ่งึ โสวจสสฺ ตา ความเปน ผูวา งา ย
จัดเปนมงคลลำดับที่ ๒๘ และนาถกรณธรรม ๑๐ ซ่ึงเปนหลักการสำคัญในการเปนท่ีพึ่ง
ของตนเอง ในขอ ท่ี ๔ ไดแก โสวจสสฺ ตา กลาวถงึ ความเปน คนมอี ัธยาศยั ออ นโยน พรอ มท่ี
จะยอมรับนับถือและเช่ือฟงคนอ่ืน จนกลายเปนคนมีลักษณะวางายสอนงาย ทำความเขาใจ
อะไรกันไดโดยงายชวยใหคนอ่ืนพรอมที่จะใหการสงเสริม จัดเปนคุณลักษณะนิสัยท่ีดึง
สงิ่ ดีงามมาสูตน

ความเปน ผวู างา ยในทีน่ ี้ คือ คนทีอ่ ดทนตอคำสั่งสอนได เมอ่ื มีผูรูแ นะนำพรำ่ สอนให
ตักเตือนใหโดยชอบธรรมแลว ยอมปฏิบัติตามคำสอนนั้น ดวยความเคารพออนนอม
ไมคัดคาน ไมโตตอบ ไมแกตัวโดยประการใดๆ ท้ังส้ิน และวางายเพราะเห็นแกความดี
โดยยึดถือธรรมะเปนใหญ ตองการปรับปรุงแกไขตนเองใหดีขึ้น เม่ือมีผูวากลาวตักเตือนช้ี

๑๘๓หลวงปจู นั ทรศรี จนทฺ ทโี ป

ขอบกพรองให จึงพรอมรับฟงดวยดี ไมวาผูน้ันจะเปนผูใหญกวา หรือเด็กกวาก็ตาม จึงจัด
เปน ผวู างายท่แี ทจ รงิ

พระพุทธองคทรงใหความสำคัญกับการเปนผูวางาย ดังเชนกอนท่ีจะปรินิพพาน
ทรงรับสั่งใหพระอานนทใชกุศโลบายกำราบพระฉันนะท่ีหัวดื้อมาก ใครจะสอนจะเตือน
อยางไรก็ไมฟง เพราะถือตัววาเปนสหชาติกับพระพุทธเจา มีความสนิทสนมในฐานะ
มหาดเล็กคนสนิทและเคยรับใชใกลชิดพระองคมากอน โดยใชวิธีลงพรหมทัณฑ ซ่ึงเปน
การใหพระภิกษุทุกรูปเลิกยุงเก่ียวหรือพูดคุยดวย ไมใหความชวยเหลือ และไมรับรูอะไร
ทง้ั สนิ้ พระฉันนะอยากจะทำอะไรก็ปลอ ยใหทำ หลังจากทป่ี ระชมุ สงฆประกาศลงพรหมทัณฑ
แกพระฉันนะ ไมนานนัก ทานก็รูสึกสำนึกตัว สารภาพผิดตอหมูสงฆและเลิกด้ืออีกตอไป
ตอมาไมนาน ทา นกไ็ ดบรรลุธรรมสงู สดุ

อานสิ งสของการเปน คนวา งา ยมีดว ยกันหลายขอ ดังนี้
๑. ทำใหเ ปนทีเ่ มตตาอยากแนะนำพร่ำสอนของคนทัง้ หลาย
๒. ทำใหไ ดร บั โอวาท
๓. ทำใหไ ดธรรมะอนั เปน ทพ่ี ึ่งแกตน
๔. ทำใหล ะโทษทั้งปวงได
๕. ทำใหบ รรลุคุณธรรมเบือ้ งสูงไดโ ดยงา ย
จากภาคประวัติและปฏิปทาของหลวงปูจันทรศรี จะเห็นวาหลวงปูไดกาวยางตาม
คุณธรรมท่ีพระราธเถระไดกระทำเปนแบบอยาง โดยเปนผูวานอนสอนงาย ตอคำสอนของ
ครูบาอาจารย เชน หลวงปูมั่น ภูริทตฺโต, สมเด็จพระสังฆราชเจา กรมหลวงวชิรญาณวงศ
(ม.ร.ว.ชื่น สุจิตฺโต), พระอาจารยสิงห ขนฺตยาคโม, พระอาจารยมหาปน ปฺาพโล,
หลวงปเู ทสก เทสรสํ ี, พระอาจารยฝ น อาจาโร, พระอาจารยออน าณสริ ิ เปนตน
ไมวาครูบาอาจารยจะแนะนำส่ังสอนอะไร หลวงปูก็เช่ือฟงโดยเคารพ และยินดี
ปฏิบัติตามดวยความเต็มใจยิ่ง เพราะตระหนักถึงความมีเมตตาและความเสียสละ
ของครูบาอาจารยเปนอยางดี นอกจากน้ี หากหลวงปูไดรับมอบหมายใหปฏิบัติกิจใด ทานก็
จะนอมรับหนาท่ีน้ันโดยดี ไมโตแยงหรือปริปากบน เชน เม่ือครั้งที่สมเด็จพระสังฆราชเจา
กรมหลวงวชิรญาณวงศ มีพระบัญชาใหไปสอนพระปริยัติธรรม ท่ีวัดธรรมนิมิต


Click to View FlipBook Version