The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

๑๐๑ สุริยาส่องฟ้า จันทร์ศรีส่องธรรม หลวงปู่จันทร์ศรี จนฺททีโป

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ทีมงานกรุธรรม, 2022-07-10 00:29:27

๑๐๑ สุริยาส่องฟ้า จันทร์ศรีส่องธรรม หลวงปู่จันทร์ศรี จนฺททีโป

๑๐๑ สุริยาส่องฟ้า จันทร์ศรีส่องธรรม หลวงปู่จันทร์ศรี จนฺททีโป

Keywords: ๑๐๑ สุริยาส่องฟ้า จันทร์ศรีส่องธรรม หลวงปู่จันทร์ศรี จนฺททีโป

๓๔ สรุ ยิ าสองฟา จันทรศ รีสองธรรม
พรรษาท่ี ๕-๗ (พ.ศ. ๒๔๗๘-๒๔๘๐)

จำพรรษา ณ วดั บวรนเิ วศวหิ าร กรงุ เทพฯ
สอบไดเปน มหาเปรียญ

ฝากเขา สำนักเรียนวดั บวรฯ

หลวงปูจันทรศรีมีความตั้งใจอยางย่ิง ที่จะเขาเรียนยังสำนักเรียนวัดบวรนิเวศวิหาร
ใหได ทานไดเตรียมตัวทองปาฏิโมกข และบทสวดมนตตามระเบียบของวัดบวรนิเวศวิหาร
พรอมกับเรียนนักธรรม จนสอบไดนักธรรมเอก อยูมาวันหน่ึง ทราบขาววาหลวงปูพระเทพ
วิสุทธาจารย (บุญ ปุฺสิริ) หรือที่ศรัทธาสาธุชนเรียกขานกันวา หลวงปูดีเนาะ อดีตเจา
อาวาสวัดมัชฌิมาวาส อำเภอเมือง เจาคณะจังหวัดอุดรธานี (ม.) เดินทางมากรุงเทพฯ
พักอยูที่วัดปรินายก ทานจึงเดินทางไปกราบนมัสการและกราบเรียนปรึกษาวา มีความ
ประสงคจะเขาเรยี นยงั สำนกั เรียนวดั บวรนเิ วศวิหาร

พระเทพวสิ ุทธาจารย (หลวงปดู ีเนาะ) สมเดจ็ พระวชริ ญาณวงศ (ม.ร.ว.ชืน่ สจุ ิตฺโต)

๓๕หลวงปูจนั ทรศ รี จนทฺ ทีโป

ทานเลาเหตกุ ารณย อนหลังใหฟงวา “หลวงปบู อกหลวงปดู เี นาะ วาอยากเขาวัดบวรฯ
ทานกถ็ ามวนั เดือนปเ กดิ แลวกค็ ำนวณเลข ๗ ตัว ตามหลกั โหราศาสตร เสรจ็ แลวก็บอกวา
เออได นัดพบกนั วนั ที่ ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๔๗๘ เวลา ๑ ทมุ ทห่ี นา บนั ไดกุฏิสมเดจ็ ฯ เพ่อื นำ
เขาฝากสมเด็จพระวชิรญาณวงศ (ม.ร.ว.ช่ืน สุจิตฺโต) เจาอาวาสวัดบวรนิเวศวิหาร หลวงปู
ดเี นาะ ทา นมาตรงเวลา เบื้องแรกพบกนั ท่บี ันได

สมเดจ็ พระวชริ ญาณวงศ ทรงทักทายวา “มาอหิ ยัง”
หลวงปูดเี นาะ ตอบวา “ดีเนาะหลวง สำคญั เนาะหลวง” แลว ขึน้ กุฏนิ ่งั เรยี บรอ ย
สมเดจ็ พระวชริ ญาณวงศ ถามหลวงปูดเี นาะวา “บวชเดอื นไหน”
หลวงปูดีเนาะ ตอบวา “บวชข้ึน ๖ คำ่ เดอื น ๖”
สมเดจ็ ฯ ทรงตรัสวา “บวชกอ นเรา” ทา นบอกใหหลวงปูดเี นาะกราบพระแลว
สมเดจ็ ฯ กก็ ราบหลวงปดู ีเนาะ แลวจึงถามหลวงปดู เี นาะวา “มาธุระอะไร”
หลวงปูดีเนาะ ตอบวา “ดเี นาะหลวง สำคญั เนาะหลวง นำพระจนั ทรศ รี จนฺททีโป
มาฝาก ใหศึกษาเลาเรียนภาษาบาล”ี
สมเดจ็ ฯ ถามวา “พระอยไู หน”
หลวงปูดีเนาะบอกวา “ทน่ี ั่งอยนู ่”ี
สมเด็จฯ ถามวา “พระองคเลก็ ๆ นีห่ รือ”
หลวงปูดเี นาะตอบวา “ดีเนาะหลวง สำคญั เนาะหลวง”
สมเด็จฯ ถามวา “พระพรรษาเทาไหร”
หลวงปูด ีเนาะตอบวา “พรรษา ๕”
สมเด็จฯ ถามวา “ไดนักธรรมช้ันไหน”
หลวงปูดเี นาะตอบวา “สอบได น.ธ.เอก ไดพระปาฏิโมกข ทอ งสวดมนตไดจ บตาม
ระเบียบวัดบวรนเิ วศวหิ ารเรียบรอยแลว จึงนำมาฝาก”
สมเดจ็ ฯ จึงตอบวา “เออ อยางน้ันก็รบั ใหอ ยูใ นวัดบวรนเิ วศวิหารได”
สมเด็จฯ ใหพระเวรไปเรียกพระมหาสอน นำพระจันทรศรี ไปพักอยูกับพระครู
วินยั ธร (เปลยี่ น) กรรมการสอบสวดมนต ซ่ึงอยศู าลาขางพระอโุ บสถ สมเด็จฯ บัญชาวาให
เอาพระน้ีไปซอม (สวดมนต) นะ ถาไมไดใหสงกลับ หลวงปูดีเนาะ ก็บอกวา “อาว ทำไง
หลวง ถา ไมไ ดกส็ อนซิ ไมใหส งกลับ”

๓๖ สรุ ิยาสองฟา จันทรศ รสี อ งธรรม

ตอนเย็นวนั ที่ ๓ เมษายน พ.ศ. ๒๔๗๘ ทา นเรม่ิ ใหวาทำวัตรเชา-ทำวัตรคํา่ เปน ตน
จนกระทั่งสวดมนตในฉบับหลวง ๙๕ สูตร สอบเด่ียวอยู ๑๕ วัน พรอมท้ังพระปาฏิโมกข
ไดเรียบรอยแลว ทานพระครูวินัยธร (เปล่ียน) เขียนรายงานมอบใหพระจันทรศรีนำไปถวาย
พระสุพจนมนุ ี (ผิน สุวโจ) ประธานกรรมการวดั นำขึน้ ถวายสมเดจ็ ฯ

สมเด็จฯ บันทึกวา “ใหบรรจุคุณจันทรศรี จนฺททีโป เขาบัญชีแผนกนักเรียนครู
มีกำหนดอยูได ๒ ป ตั้งนติ ยภตั ใหเ ดอื นละ ๕ บาท ถา สอบซำ้ ช้นั ป.ธ.๓ ตก ๒ ปใหสง กลบั
สำนกั เดมิ ”

ทรงมพี ระเมตตาแกพ ระมหาจันทรศรเี ปน พิเศษ

“หลังจากบรรจุเปนนักเรียนครูและมี กำหนดอยูได ๒ ป บังเอิญก็สอบประโยค ๓
ตก ๒ ป พระสุพจนมุนี (ผิน สุวโจ) รายงานเสนอถวายสมเดจ็ ฯ สมเดจ็ ฯ บันทึกวายงั ไมสงกลบั
สำนักเดิม ใหบ รรจเุ ปนนักเรียนวัดอกี ครั้ง ตง้ั นิตยภตั ใหเดอื นละ ๘ บาท เม่ือพระจันทรศ รี
เปนนกั เรยี นแลว พ.ศ. ๒๔๘๐ สอบ ป.ธ.๓ ได สมเด็จฯ มีบัญชาใหพระสุพจนมนุ ี (ผนิ สุวโจ)
โอนเขา เปนนักเรียนครอู กี ครั้ง ต้ังนติ ยภัต ใหเดือนละ ๒๐ บาท (ยส่ี บิ บาทถวน) นบั วาทา น
มเี มตตาแกพ ระมหาจนั ทรศ รเี ปนพเิ ศษ เมอ่ื ป.ธ.๓ ไดแลว ทานใหส วดพระปาฏิโมกขแขงกัน
กับพระมหาจบั อคุ คฺ เสโน สิ้นเวลา ๕๐ นาที ไมไ ดร างวัล สวนพระมหาจนั ทรศรสี วดไดเวลา
๔๕ นาทีไดร บั รางวัลท่ี ๒ สมเด็จฯ ใหหมาก ๒ คำ ไตรจวี รมิสลินอยางดี ๑ ไตร พอพรรษา ๖
ก็ปลดนิสัย ออกนอกวัดในเวลาวิกาล ไมตองลาสมเด็จฯ และเจาหนาท่ีบัญชีไมตองเรียกช่ือ
เวลาลงทำวัตรสวดมนตประจำวันในพระอุโบสถตามระเบียบของวัด เพราะพระจันทรศรี
มพี รรษาพน ๕ พรรษาแลว ทั้งเปน ผขู ยันลงทำวัตรเชา-เยน็ ไมข าดตลอดเดอื น ไปโรงเรยี น
ทุกวัน เวนไวแตวันหยุดเรียน เชนวัน ๗-๘, ๑๔-๑๕ คํ่าของเดือนขางข้ึน ขางแรม ท้ังเปน
ผูส นใจปฏบิ ัติเราประจำวัน ฯลฯ”

๓๗หลวงปูจันทรศรี จนทฺ ทโี ป

(แถวหนา ท่ี ๒ จาก ขวา) พระมหาจันทรศรี จนทฺ ทีโป ถา ยภาพหมู
หนาพระอโุ บสถ วัดบวรนเิ วศวหิ าร

๓๘ สุริยาสองฟา จันทรศรสี อ งธรรม

ประวตั ิวดั บวรนเิ วศวหิ าร เขตพระนคร จงั หวดั กรงุ เทพฯ

วัดบวรนิเวศวหิ าร เปน พระอารามหลวงช้นั เอก ชนิดราชวรวหิ าร ฝา ยธรรมยุต ตงั้ อยูรมิ
ถนนบวรนิเวศ และถนนพระสุเมรุ ในทองที่แขวงวัดบวรนิเวศ เขตพระนครกรุงเทพมหานคร
สมเด็จพระบวรราชเจามหาศักดิพลเสพ กรมพระราชวังบวรสถานมงคล ในรัชกาลท่ี ๓ ทรง
สรางใหมในรัชกาลน้นั ที่ทำการปลงศพเจาจอมมารดา (นอ ย) ซ่ึงเปนเจาจอมของพระองคเจา ดา
ราวดี พระราชชายา ระหวาง พ.ศ. ๒๓๖๗ และ พ.ศ. ๒๓๗๕ (ประหวางอุปราชาภิเษกและ
สวรรคตของสมเด็จพระบวรราชเจาพระองคน้ัน) ใกลกับวัดรังษีสุทธาวาส ท่ีสมเด็จเจาฟา
กรมขุนอิศรานุรักษ ทรงสถาปนาข้ึนเม่ือ พ.ศ. ๒๓๖๖ ซ่ึงตอมาภายหลังพระบาทสมเด็จ
พระมงกุฏเกลาเจาอยูหัวทรงเห็นวารวงโรยมาก จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหรวมกับวัด
บวรนเิ วศวิหารเสีย เมอ่ื พ.ศ. ๒๔๕๘ ซงึ่ ในปจ จุบันยงั คงเรียกสวนที่เปน วัดรงั ษีสทุ ธาวาสมาเดมิ
วา “คณะรังษี”

วัดนี้ เดิมเรียก “วัดใหม” นาจะไดรับพระราชทานชื่อวัดบวรนิเวศวิหาร เมื่อพระบาท
สมเด็จพระน่ังเกลาฯ ทรงอาราธนาสมเด็จพระอนุราชาธิราส เจาฟามงกุฏฯ ซ่ึงทรงผนวชเปน
พระภิกษปุ ระทบั อยวู ดั สมอราย (คือวดั ราชาธิวาสในปจ จุบนั ) เสดจ็ มาอยคู รองเมื่อ พ.ศ. ๒๓๗๙

ในระหวางที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวทรงผนวชอยู ทรงไดปรับปรุงวาง
หลักเกณฑความประพฤติ ปฏิบัติของพระสงฆใหเปนไปโดยถูกตองตามพระธรรมวินัย โดยมี

๓๙หลวงปจู นั ทรศรี จนทฺ ทโี ป

พระสงฆประพฤติปฏิบัติตามอยางพระองคเปนอันมาก ในคราวท่ีพระองคเสด็จมาครองวัดก็ได
นำเอาการประพฤติ ปฏิบัตินั้นมาใชในการปกครองพระสงฆ ณ วัดนี้ดวย ซ่ึงในครั้งเดิมเรียก
พระสงฆคณะนี้วา “บวรนิเวศาทิคณะ” อันเปนช่ือสำนักวัดบวรนิเวศวิหาร ตอมาจึงไดชื่อวา
“คณะธรรมยุติกนิกาย” ซึ่งแปลวาคณะสงฆผูซึ่งปฏิบัติตามพระธรรมวินัย จึงถือวาวัดบวรนิเวศ
วิหาร เปนสำนกั เอกเทศแหง คณะสงฆธ รรมยุตกิ นิกายเปน วัดแรก

วัดบวรนิเวศวิหาร นับเปนพระอารามที่มีความสำคัญท้ังในทางคณะสงฆและในทาง
บา นเมอื ง กลา วคือ

ในทางคณะสงฆ วัดบวรนิเวศวิหาร เปนจุดกำเนิดของคณะสงฆธรรมยุติกนิกาย เพราะ
เปนท่ีเสด็จสถิตของพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว ขณะยังทรงผนวชอยูและทรงดำริ
ริเริ่มปรับปรุงวัตรปฏิบัติของพระสงฆอันเปนเหตุใหเกิดเปนพระสงฆคณะธรรมยุตขึ้นในเวลา
ตอมา วัดบวรนิเวศวิหารจึงนับวาเปนวัดแรกและวัดตนแบบของคณะธรรมยุต ธรรมเนียม
ประเพณีและแบบแผนตางๆ ของคณะธรรมยตุ ไดเ กดิ ขึน้ ณ วัดน้ี

วัดบวรนิเวศวิหารเปนท่ีเสด็จสถิตของสมเด็จพระสังฆราช องคประมุขของคณะสงฆไทย
ถึง ๔ พระองคคือ สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ สมเด็จพระมหา
สมณเจา กรมพระยาวชิรญาณวโรรส สมเด็จพระสังฆราชเจา กรมหลวงวชิรญาณวงศ สมเด็จ
พระญาณสงั วรสมเดจ็ พระสังฆราช

วัดบวรนิเวศวิหาร เปนแหลงกำเนิดการศึกษาของคณะสงฆคือ เปนท่ีกำเนิด มหามกุฏ
ราชวิทยาลยั สถานศกึ ษาสำหรับพระภกิ ษสุ ามเณร ซ่งึ ไดพฒั นามาเปน มหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ
ราชวิทยาลัย มหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนาแหงแรกของไทยในปจจุบัน เปนที่กำเนิดการศึกษา
พระปริยัติธรรมแผนกธรรม ที่เรียกกันสั้นๆ วา “นักธรรม” อันเปนการศึกษาข้ันพ้ืนฐานของ
คณะสงฆไ ทย

วัดบวรนิเวศวิหาร เปนที่ประดิษฐานพระพุทธรูปสำคัญของไทย ซึ่งคนท่ัวไปไมคอยรูจัก
คือพระพุทธชินสีห และพระศรีศาสดา ซ่ึงสรางโดยพระมหาธรรมราชาลิไทย สมัยกรุงสุโขทัย
สมัยเดียวกับพระพุทธชินราช และท้ัง ๓ องคเคยประดิษฐานอยูดวยกัน ณ วัดพระศรีรัตน
มหาธาตุ จังหวัดพิษณุโลก นอกจากน้ี ยังเปนท่ีประดิษฐานพระพุทธบาทคูบนศิลาแผนใหญ
สมัยสุโขทยั และพระไสยา (คอื พระนอน) ท่ีงดงามสมัยสโุ ขทัยดว ย

๔๐ สุรยิ าสองฟา จันทรศรีสอ งธรรม

สมเดจ็ พระสงั ฆราชเจา กรมหลวงวชิรญาณวงศ (ม.ร.ว. ชน่ื สุจิตโฺ ต)
วดั บวรนเิ วศวหิ าร

สมเด็จพระสงั ฆราชเจา กรมหลวงวชิรญาณวงศ พระนาม เดมิ หมอมราชวงศช่นื ทรงเปน
โอรสหมอมเจาถนอม และหมอมเอม ประสูติเมื่อ วันศุกรที่ ๒๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๑๕
ตรงกับวันแรม ๗ ค่ำ เดือน ๑๒ ปวอก จัตวาศก จุลศักราช ๑๒๓๔ เวลา ๑๗.๐๐ นาฬกา
เมื่อมพี ระชนมายเุ จรญิ ขน้ึ แลว ไดทรงออกจากวงั และไดบรรพชา เปนสามเณร ณ วดั บวรนิเวศ
วิหาร พระพรหมมุนี (สุมิตฺตตฺเถร เหมือน) วัดบรมนิวาส เปนพระอุปชฌายในขณะท่ีทรง
บรรพชาเปนสามเณรน้ัน สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ ยังทรง
พระชนมอยู แตปรากฏในหนังสือตำนานวัดบวรนิเวศวิหารวา ในระยะหลังจากพระบาทสมเด็จ
พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงอุปสมบทเปนพระภิกษุ ไมคอยไดทรงเปนพระอุปชฌาย แมใน
วัดนี้ก็ไมทรงรับเปนพระอุปชฌาย แตโปรดใหบวชอยูในวัดได ตองถือพระอุปชฌายอ่ืน

๔๑หลวงปจู นั ทรศรี จนฺททโี ป

ในระหวา งทท่ี รงเปนสามเณร ไดตามเสด็จสมเดจ็ พระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณวโรรส
ไปประทับอยูท่ีวัดมกุฏกษัตริยาราม ซ่ึงในขณะนั้น ม.ร.ว.ชุบ (พระยานครภักดีฯ) ผูเปนพี่ได
อุปสมบทอยทู ่วี ดั มกุฏกษัตริยาราม และตอ มาไดต ามเสดจ็ สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยา
วชิรญาณวโรรส กลับมาวัดบวรนิเวศวิหาร ในปลายสมัยสมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยา
ปวเรศวริยาลงกรณ เมื่อทรงบรรพชาแลว ไดทรงศึกษาพระปริยัติธรรม กับสมเด็จพระมหา
สมณเจา กรมพระยาวชิรญาณวโรรส และทรงศึกษาจากพระอาจารยอื่นบาง เชน หมอมเจา
พระปภากร, พระสุทธสีลสังวร (สาย) ไดทรงเขาสอบไลครั้งแรกท่ีวัดพระศรีรัตนศาสดาราม
เมอ่ื พ.ศ. ๒๔๓๓ สอบไลไ ดเ ปรียญ ๕ ประโยค เมือ่ ยังทรงเปนสามเณร

อปุ สมบท

ไดทรงอุปสมบทเปนพระภิกษุ ณ วัดบวร
นิเวศวิหาร มีพระพรหมมุนี (กิตฺติสารตฺเถร
แฟง) วัดมกุฏกษัตริยาราม เปนพระอุปชฌาย
สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณ
วโรรส เม่ือทรงดำรงพระยศเปน กรมหมื่น
วชิรญาณวโรรส เปนพระกรรมวาจาจารย เมื่อ
วนั ที่ ๒๗ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๔๓๕

สมเด็จพระสังฆราชเจา ไดเคยรับสั่งเลา
วา มีพระประสงคจะสอบไลเพียง ๕ ประโยค
เทา นนั้ จะไมท รงสอบตอ ทรงตามอยา งสมเด็จ
พระมหาสมณเจาฯ ซ่ึงทรงสอบเพียงเทานั้น
เพื่อมิใหเกินสมเด็จพระบรมชนกนาถ แต
สมเด็จพระมหาสมณเจาฯ โปรดใหสอบตอไป พระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูหวั รัชกาลปจ จุบัน
ทรงบาตรสมเดจ็ พระสงั ฆราชเจา
และทรงคัดเลือกสงเขาสอบสนามหลวง กรมหลวงวชิรญาณวงศ (ม.ร.ว.ชนื่ สุจิตฺโต)

หลงั จากที่ทรงอปุ สมบทแลว จงึ ทรงสอบตอ ไดเปน เปรียญ ๗ ประโยค เม่ือ พ.ศ. ๒๔๓๗

สมณศกั ดใิ์ นรัชกาลที่ ๕

พ.ศ. ๒๔๓๙ เปนพระสุคุณคณาภรณ ที่พระราชาคณะ
พ.ศ. ๒๔๔๖ เปน สมณศกั ดเิ์ สมอพระราชาคณะชัน้ เทพ ที่พระญาณวราภรณ

๔๒ สุรยิ าสองฟา จนั ทรศรีสอ งธรรม

สมณศักดใิ์ นรัชกาลที่ ๖

พ.ศ. ๒๔๕๕ เปน พระราชาคณะชน้ั ธรรมในราชทนิ นามเดมิ
พ.ศ. ๒๔๖๔ เปน พระราชาคณะชั้นธรรมพิเศษในราชทินนามเดิม

สมณศกั ด์ิในรชั กาลท่ี ๗

พ.ศ. ๒๔๗๑ ทรงพระกรุณาโปรดสถาปนาใหเปนสมเด็จพระราชาคณะ มีพระราช
ทินนามพเิ ศษวา สมเด็จวชริ ญาณวงศฯ เจาคณะใหญคณะธรรมยุต

สมณศักดิ์ในรชั กาลท่ี ๘

พ.ศ. ๒๔๘๘ ประกาศสถาปนาเปนสมเด็จพระสังฆราช (องคที่ ๑๓) ในราชทินนาม
เดิม เม่อื วันท่ี ๓๑ มกราคม ๒๔๘๘

สมณศักดใ์ิ นรชั กาลท่ี ๙

พ.ศ. ๒๔๙๓ ทรงพระกรุณาโปรดสถาปนาเฉลิมพระนามใหเต็มพระเกียรติยศ
ตามราชประเพณี เนื่องในพระราชพิธบี รมราชาภเิ ษก เมอ่ื วันที่ ๗ พฤษภาคม ๒๔๙๓

ปจ ฉมิ กาล

ครั้นเวลาหลังเท่ียงคืนของวันท่ี ๑๐ นับเปนวันที่ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๐๑ พระบาท
สมเด็จพระเจาอยูหัว เสด็จฯ ประทับหนาพระแทนบรรทม ในหองประชวร ณ โรงพยาบาล
จฬุ าลงกรณ กรุงเทพฯ สมเดจ็ พระสงั ฆราชเจา กรมหลวงวชริ ญาณวงศ ไดสนิ้ พระชนม เมอ่ื เวลา
๐๑.๐๘ น. มีพระชนมายุ ๘๕ พรรษา ๑๑ เดอื น และ ๑๙ วัน

สมเด็จพระสงั ฆราชเจา กรมหลวงวชริ ญาณวงศ ถวายอนศุ าสน เมอื่ พระภิกษพุ ระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู ัว
เสด็จข้นึ ทรงทำอุปชฌายวตั ร ณ พระตำหนกั บญั จบเบญจมา เม่ือวันที่ ๓ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๙๙

๔๓หลวงปูจนั ทรศรี จนทฺ ทีโป

พระเทพวสิ ทุ ธาจารย (หลวงปดู เี นาะ)
วัดมชั ฌิมาวาส อ.เมือง จ.อดุ รธานี

ทานพระเทพวิสุทธาจารย หรือหลวงปูดีเนาะ นามเดิมวา นายบุ ปลัดกอง เกิดท่ีบานดู
ต.บานดอน อ.ปกธงชัย จ.นครราชสีมา พ.ศ. ๒๔๑๕ บิดาช่ือ นายทา ปลัดกอง มารดาช่ือ
นางปาน ปลัดกอง เม่ือมีอายุได ๑๙ ป ครอบครัวของทานไดอพยพยายถิ่นฐานอาศัยจาก
จังหวดั นครราชสีมา มาอยทู ีบ่ า นทงุ แร ต.หมูมน อ.เมอื ง จ.อดุ รธานี ในปจ จุบนั นี้

เม่ืออายุได ๒๒ ป ทานไดบวชเปนสามเณรที่วัดบานโนนสวาง บางทุงแร และตอมา
อีกหน่ึงป ทานก็ไดรับการอุปสมบทเปนพระภิกษุ ท่ีวัดบานบอนอย ต.เชียงยืน อ.เมือง

๔๔ สุริยาสองฟา จันทรศรสี อ งธรรม

จ.อุดรธานี มีพระอธิการกัน วัดสระบัว บานสรางแปน เปนพระอุปชฌาย ไดรับฉายาวา
“ปุญญสิริ” เมื่ออุปสมบทเปน พระภิกษุแลวน้ัน ไดไปจำพรรษา อยูที่วัดบานโนนสวาง
บานทงุ แร อยู ๓ พรรษาจงึ ไดย า ยสำนกั ไปจำพรรษาอยูทว่ี ดั มชั ฌิมาวาส

ทา นพระเทพวิสุทธาจารย มีฉายาอกี หน่งึ ฉายาวา “หลวงปูด ีเนาะ” ความเปนมาของฉายา
ดังกลาวนั้น เปนท่ีกลาวขานกันในหมูศิษยและประชาชนท่ัวไป ท่ีเคยใกลชิดกับทานกลาววา
ตามปกติวิสัยของทานหลวงปูดีเนาะนั้น ทานชอบอุทานหรือกลาวคำวา “ดีเนาะ” และคำวา
“สำคญั เนาะ” และทา นจะเรียกคนทว่ั ไปรวมทง้ั พระภิกษุและสามเณร หรอื คฤหัสถ วา “หลวง”
เวลาทานหลวงปูดีเนาะจะพูดคุยกับใครก็ตาม ทานก็จะออกปากเรียกคนท่ีทานคุยดวยวา
“หลวง” และเมอื่ ทา นจะตองกลายเปน ผูรับฟงน้นั ทา นก็จะมคี ำอทุ านวาจาวา “ดเี นาะ” อยูเปน
อาจินต ไมวาเรื่องท่ีทานไดรับฟงนั้นจะเปนดี หรือเรื่องรายเพียงใดก็ตาม ทานหลวงปูดีเนาะ
ก็จะเอยปากอุทานวา ดีเนาะ หรือ สำคัญเนาะ จากคำอุทาน หรือคำพูดที่ทานหลวงปูติดปาก
นเ้ี อง ประชาชนและลกู ศิษยของทานหลวงปู จึงตัง้ ฉายา หรอื สมานาม ทานหลวงปวู า “หลวงปู
ดีเนาะ” แมกระทั่งในการไดรับ พระราชทานเลื่อนสมณศักด์ิของทานน้ันเปนราชาคณะชั้นเทพ
ราชทินนามของทานก็ยังมีคำวา “สาธอุ ุทานธรรมวาที” ซึง่ แปลวา “ดีเนาะ” อยใู นราชทินนาม
ของทา นดว ย

ซึ่งกอนหนาน้ันทานไดรับการแตงต้ังใหดำรงตำแหนงเจาอาวาสวัดมัชฌิมาวาส เม่ือยัง
คงเปนพระบุ (ปสุ ริ ิ) เมือ่ พ.ศ. ๒๔๕๑ นับวา เปน เจา อาวาสองคท ี่ ๓ ของวัดมชั ฌมิ าวาส

ในขณะนั้นท่ีทานหลวงปูดีเนาะดำรงตำแหนงเจาอาวาสวัดมัชฌิมาวาสนั้น ทานไดทำการ
บรู ณะวัดมชั ฌมิ าวาสในดา นตา งๆ ใหเกดิ ความเจรญิ รุงเรอื ง ไมวา จะเปนถาวรวัตถแุ ละเสนาสนะ
เชน พระอโุ บสถ ศาลาการเปรียญ โรงเรียนปรยิ ตั ิธรรมและกุฏขิ องพระลกู วัดจำนวนมาก ทีเ่ หน็
ในปจจุบันน้ีน้ันลวนแตไดรับ การบูรณปฏิสังขรณข้ึนในสมัยของทานหลวงปูดีเนาะทั้งส้ิน
นอกจากในดา นถาวรวัตถุของวดั แลว หลวงปูด เี นาะ ทา นก็ยงั หนั มาพัฒนาในดา นของการศกึ ษา
ของพระภิกษุสามเณรที่อยูในวัดแหงนี้ โดยการจัดต้ังโรงเรียนปริยัติธรรมข้ึนมา สอนนักธรรม
บาลีตามหลักสูตรของราชการคณะสงฆ ตั้งแตช้ัน นักธรรมตรี จนถึงชั้น ป.ธ.๖ นอกจากน้ี
หลวงปดู ีเนาะยังไดร บั การเคารพสักการะในฐานะพระเกจิอาจารย และมีลกู ศษิ ยมากองคห นงึ่

หลวงปูดีเนาะ หรือ พระเทพวิสุทธาจารย ทานเปนเจาอาวาสวัดมัชฌิมาวาส ต้ังแต
พ.ศ. ๒๔๕๑ และไดมรณภาพลง ตรงกับวันท่ี ๑๐ มีนาคม ๒๕๑๓ ข้นึ ๔ ค่ำ เดอื น ๔ ปร ะกา
เวลา ๐๙:๑๐ น. ดว ยโรคชรา รวมอายุได ๙๘ ป เปนเจาอาวาสวดั มชั ฌมิ าวาส เปน เวลา ๖๓ ป
พรรษา ๗๖

๔๕หลวงปจู ันทรศ รี จนทฺ ทโี ป
พรรษาท่ี ๘ (พ.ศ. ๒๔๘๑)

จำพรรษา ณ วดั รมั ภาราม อำเภอทา วงุ จังหวัดลพบรุ ี
สนองพระบญั ชา

เปน ผวู า งาย

ในป พ.ศ. ๒๔๘๑ เจาพระคุณสมเด็จฯ พระวชิรญาณวงศ (ม.ร.ว.ช่ืน สุจิตฺโต)
เจาอาวาสวัดบวรนิเวศวิหาร เจาคณะใหญคณะธรรมยุต มีบัญชาใหหลวงปูจันทรศรี
จนฺททีโป ไปรักษาการแทนเจาอาวาส ณ วัดรัมภาราม (บานกลวย) อำเภอทาวุง จังหวัด
ลพบุรี เปนเวลา ๑ ป ทง้ั ที่ความตั้งใจเดมิ อยากอยูศกึ ษาพระปรยิ ัตธิ รรมตอ ไปอกี แตเม่ือมี
พระบัญชาใหไ ปตา งจังหวัด ทา นกไ็ มข ัดของ ยินดีเดนิ ทางไปเพ่ือสนองพระบญั ชา

หลวงปจู ันทรศรี จนฺททีโป เมื่ออายุ ๒๖ ป

๔๖ สรุ ิยาสอ งฟา จนั ทรศรีสอ งธรรม
พรรษาท่ี ๙-๑๐ (พ.ศ. ๒๔๘๒-๒๔๘๓)

จำพรรษา ณ วดั หนองดู อำเภอปากบอ ง จงั หวดั ลำพูน
พบกลั ยาณมิตรสำคัญ

สอนพระปรยิ ัตธิ รรม

สมเด็จพระมหาวีรวงศ (พิมพ ธมฺมธโร ป.ธ.๖น.ธ.โท) ขณะน้ันมีสมณศักด์ิ
เปน พระราชาคณะชน้ั เทพ ที่พระเทพโมลีฯ ขอพระเปรยี ญจากวัดบวรนเิ วศวิหาร ๔ รปู และ
วดั นรนาถสนุ ทรกิ าราม ๒ รูป ไปชวยเปน ครูสอนปรยิ ตั ิธรรม และกิจพระศาสนาอน่ื ๆ ดว ย
ทัง้ ๖ รปู นี้ไปพักรวมกันท่ีวดั เจดยี หลวง อำเภอเมือง จงั หวดั เชียงใหม

เม่ือพักอยูวัดเจดียหลวง พอสมควรแลวสมเด็จพระมหาวีรวงศ ไดจัดพระเปรียญ
ที่ไปจากกรุงเทพฯ แยกยายกันไป ใหพระมหาจันทรศรี จนฺททีโป ป.ธ.๓ น.ธ.เอก ไปเปน
ครูสอน พระปริยตั ธิ รรม แผนกธรรมและบาลไี วยากรณ วัดหนองดู ตำบลบานเรอื น อำเภอ
ปากบอ ง (ปจ จุบนั อำเภอปา ซาง) จังหวัดลำพนู อยู ๘ เดอื น

เจาพระคณุ สมเดจ็ มหาวีรวงศ (พิมพ ธมมฺ ธโร)
ฉายเมือ่ ครั้งดำรงสมณศกั ดิเ์ ปน ท่ี “พระญาณดลิ ก” พ.ศ. ๒๔๗๘

๔๗หลวงปจู นั ทรศ รี จนฺททโี ป

พบหลวงตาพระมหาบวั ครั้งแรก

ในขณะทีห่ ลวงปูพ ัก ณ วัดเจดียห ลวง ตำบลพระสงิ ห อำเภอเมือง จงั หวดั เชียงใหม
ขณะนั้น พระธรรมวิสุทธิมงคล ยังเปนพระบัว าณสมฺปนฺโน กำลังเรียน ป.ธ.๓ น.ธ.เอก
อยู ปฏิบัตใิ กลช ดิ พระเทพโมลี (พมิ พ ธมมฺ ธโร) เวลานอน ไมมมี งุ นอนใหย งุ กดั ตลอดคนื
ทา นเลา วา “หลวงปู ไดถวายมุงทาน ๑ หลงั ทานกเ็ ปนพระธรรมดาเปน พระหนุม หลวงปู
เปนมหา ๓ ประโยค แลวไปพักอยูท่ีน่ัน เมื่อไปเห็นทานนอนไมมีมุง บังเอิญหลวงปู ไดมุง
ไป ๒ หลัง หลงั หนึง่ ก็ใชเ อง เหลอื อกี หลังหนึง่ กเ็ ลยเอาไปถวายทานหลวงตาบัว แลว ก็ไมได
นึกไดฝนวาจะไดบุญไดกุศลมาก พอถวายแลวทานก็ใชจนมันขาดโนนแหละ จนกระท่ัง
ออกปฏิบัติกัมมัฏฐานในกาลตอมา ตั้งแตนั้นมาก็นับถือกันฉันทพ่ีนองเสมือนหนึ่งเกิดทอง
มารดาเดียวกัน ตางคนตางก็ไปตามแนวทางปฏิบัติตามครูบาอาจารย ยึดหลวงปูมั่น
ภูรทิ ตฺโต เปน หลกั สว นหลวงปูก็ไปในทางดานปริยตั แิ ละปฏบิ ัตไิ ปดวย”

หลวงตาพระมหาบัวก็ไดเคยเทศนไววา “ทานกับเรามีความสนิทสนมกันมาต้ังแต
เปนมหาเปรียญ ทานเปนมหาเราก็เปนมหา จากนั้นทานก็เล่ือนเปนเจาคณะจังหวัด ทีแรก
ทานไปอยูวัดบวรฯ จากน้ันก็ไปทางสมุทรสงคราม จากสมุทรสงครามก็มาอยูที่วัดโพธิฯ
เปนเจาคณะจังหวัดตั้งแตนั้นมาจนกระทั่งปานน้ี สนิทสนมกันมาก ทานเก่ียวของกับวัดนี้
มาต้ังแตเริ่มสรางวัด ตอนน้ันทานเจาคุณอุปชฌายเรายังมีชีวิตอยู เราเขาออกวัดโพธิฯ
นี้เหมือนไปจายตลาด”

(เมื่อวันท่ี ๑๘ กรกฎาคม พุทธศกั ราช ๒๕๔๙)

นิมนตหลวงปูมนั่ ภูริทตโฺ ต กลบั อสี าน

ทา นเจาคณุ พระธรรมเจดยี  (จมู พนธฺ โุ ล) วัดโพธสิ มภรณ อุดรธานี ซงึ่ เปน ลกู ศษิ ย
ทานมาต้ังแตคร้ังยังเปนสามเณร ไดสงจดหมายไปกราบอาราธนานิมนตทานหลายฉบับ
ทา นไมเคยตอบ จนกระทงั่ ป พ.ศ. ๒๔๘๓ ทา นเจา คุณฯ ไปกราบอาราธนานิมนตดว ยตนเอง
ถึงจังหวัดเชียงใหม หลวงปูมั่นจึงพูดวา“จดหมายของทานเจาคุณสงมาผมไดรับทุกฉบับ
แตมันเปนเพียงจดหมายเล็กๆ เห็นวาไมสำคัญจึงไมไดตอบ แตคราวน้ีจดหมายใหญมา
คอื ทานเจา คุณมาเอง ผมจึงตอบ”

๔๘ สรุ ยิ าสอ งฟา จนั ทรศ รสี อ งธรรม

พระธรรมวสิ ุทธมิ งคล (หลวงตาพระมหาบวั าณสมฺปนโฺ น)

๔๙หลวงปูจนั ทรศรี จนทฺ ทีโป

แถวหนา จากซาย : หลวงปขู าว อนาลโย, พระธรรมเจดีย (หลวงปจู มู พนธฺ โฺ ล), หลวงปบู ุญมา ติ เปโม,
หลวงปูอ อน าณสิริ แถวหลงั จากซา ย : หลวงปมู หาทองสุก สุจติ ฺโต (พระครอู ุดมธรรมคณุ ),

พระธรรมไตรโลกาจารย (หลวงปรู ักษ เรวโต), ไมท ราบนามฉายา, หลวงตาพระมหาบวั าณสมฺปนโฺ น,
หลวงปูก งมา จริ ปุ ฺโ, หลวงปบู วั สิรปิ ุณโฺ ณ

ครบู าอาจารยพ ระปากรรมฐาน สานุศิษยท านพระอาจารยม ่นั ภูรทิ ตโฺ ต
จากซา ย : ๑. หลวงปูศรีจนั ทร วณฺณาโภ วดั ศรสี ุทธาวาส ๒. หลวงปูออน าณสิริ วัดปา นโิ ครธาราม

๓. หลวงปชู อบ านสโม วัดปา สมั มานุสรณ ๔. หลวงปหู ลยุ จนทฺ สาโร วดั ถำ้ ผาบง้ิ
๕. หลวงปซู ามา อาจุตฺโต วัดปา อัมพวัน

๕๐ สรุ ิยาสอ งฟา จันทรศรีสอ งธรรม

แถวหนา จากซาย : เทสรสํ ,ี พระธรรมเจดีย (หลวงปูจ ูม พนธฺ โุ ล),
หลวงปูบ ุญมา ติ เปโม, หลวงปูอ อน าณสิริ

แถวหลงั จากซา ย : หลวงปูขาว อนาลโย, หลวงปูอ อ นสี สุเมโธ,
หลวงตาพระมหาบวั าณสมฺปนฺโน, พระอาจารยจ ันทร เขมปตโฺ ต

๕๑หลวงปจู ันทรศรี จนฺททีโป

หลวงปูจ ูม พนฺธุโล

พอไดโอกาสเหมาะสม ทานเจาคุณธรรมเจดียจึงกราบอาราธนานิมนต วา
“ขอโอกาสครูบาอาจารย บรรดาศิษยทางภาคอีสาน คิดถึงทานมาก ใหเกลาฯ เปนตัวแทน
มากราบอาราธนานิมนต ใหกลับไปโปรดเมตตาสงเคราะหแกบรรดาศิษย เพราะครูบา
อาจารยจากมาอยูทางภาคเหนือนานถึง ๑๑ ปแลว สุดแทแตครูบาอาจารยจะเห็นสมควร
ประการใด” หลวงปมู ่นั ตอบรบั อาราธนานมิ นตเดนิ ทางกลบั ภาคอีสาน

ภัยอนั ตรายแหงพรหมจรรย

ขณะที่หลวงปูจันทรศรี จนฺททีโป จำพรรษาอยู ท่ีวัดหนองดู ทานไดประสบกับ
ภัยอันตรายแหง พรหมจรรย แตก ็หาทางหลบหลีกจนพน ภัยมาไดด วยดี ดังที่ทา นเลา วา

“มหี ญิงมา ยผวั ตาย ๑ ป แลว อายุ ๓๖ ป มีลูกสาวคนเดียวอายุ ๑๖ ป มฐี านะดี
มีบา น ๓ หลงั มนี า ๓ แปลง ต้งั บานเรอื นอยูหนองสลดิ หา งจากวัดหนองดคู รึ่งกโิ ลเมตร
หลวงปูบิณฑบาตผานหนาบานทุกวัน เธอใสบาตรทุกวัน อยูมา ๓ วัน เธอกับลูกสาวนำ
ภัตตาหารมาถวายเพลทุกวัน กาลเวลาลวงไปความเคารพนับถือก็เพ่ิมข้ึนทุกวันจนกลายเปน
ความรกั

“๕๒ สุรยิ าสองฟา จนั ทรศ รีสอ งธรรม

หลวงปูมองเห็นกิริยาอาการผิดปกติ คิดในใจวาแมมายคนน้ีจะมาหลอกใหเรา
ตายจากเพศพรหมจรรยแนนอน จึงพยายามทำความเพียรใหมากข้ึน บางวันเดินจงกรม
นั่งภาวนาแกจิตใจของตนวา เรามาทำกิจพระศาสนาโดยพระบัญชาของเจาพระคุณสมเด็จฯ
เจาคณะใหญคณะธรรมยตุ เชนน้ี จะมาสิกขาลาเพศ ณ ท่นี ้เี ปน การไมส มควร จึงหวนระลึก
ถึงพุทธสภุ าษิตบทหน่ึงวา

“อติ ฺถี มลํ พรฺหมฺ จริย

ผหู ญิงเปน อนั ตรายตอ พรหมจรรย

แถวหนา จากซาย : พระธรรมวิสุทธมิ งคล (หลวงตาพระมหาบัว าณสมปฺ นโฺ น),
พระอุดมญาณโมลี (หลวงปูจนั ทรศ รี จนทฺ ทีโป), พระธรรมไตรโลกาจารย (หลวงปูร ักษ เรวโต),

สมเด็จพระญาณสงั วร สมเดจ็ พระสงั ฆราช สกลมหาสังฆปรณิ ายก

๕๓หลวงปจู ันทรศ รี จนทฺ ทีโป

เมื่อเหตกุ ารณเกิดขึน้ เชนน้เี ราควรจะหนใี หหางไกล ไปใหพนจากเขตอนั ตราย อยูม า
วันหน่ึง ก็เปนจริงอยางท่ีคาดไว เธอมาชวนหลวงปูลาสิกขา นำเงินมาดวย ๓๐,๐๐๐ บาท
พอสอบธรรมสนามหลวงเสร็จแลว หลวงปูก็ไปกราบลา พระเทพโมลีฯ ท่ีวัดเจดียหลวง
กลับกรุงเทพฯ เลาความจริงทุกประการใหทราบ ทานก็อนุโมทนาเห็นดวยคิดถูกตองแลว
พระเทพโมลีฯ บอกวาผมเองก็มีผูหญิงเปนลูกสาวเจาเมืองเชียงใหม สวย อายุไลเล่ียกัน
กับผมประมาณ ๔๐ ตนๆ มาถวายเมี่ยงทุกวนั ผมกอ็ ยากกลับกรุงเทพฯ เหมือนกนั แตกลบั
ไมไดเพราะติดศาสนกิจที่สมเด็จฯ ทานมอบหมายมาใหยังทำไมสำเร็จ หลวงปูก็ลากลับ
มากอ น ดว ยความมชี ัยชนะไดด ว ยจิตอนั ผอ งใส”

๕๔ สุรยิ าสอ งฟา จนั ทรศ รีสอ งธรรม
พรรษาที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๔๘๔)

จำพรรษา ณ วัดปา สทุ ธาวาส อำเภอเมอื ง จงั หวัดสกลนคร
กำไรแหง ชีวิตพรหมจรรย

ฟงเทศนหลวงปูม่ันครง้ั แรก

หลวงปู ทานไดเลายอนถึงเหตุการณ ท่ีทานไดกราบนมัสการ หลวงปูมั่น ภูริทตฺโต
เปน คร้ังแรก ณ บา นหนองน้ำเค็ม จังหวดั อดุ รธานี ภายหลังจากทเี่ จาคุณพระธรรมเจดยี  (จูม
พนธฺ ุโล) ไดกราบอาราธนานิมนต หลวงปูม่ัน ภูรทิ ตฺโต กลบั มาสูภาคอสี าน หลังจากไปวเิ วก
ทางภาคเหนอื นานถึง ๑๑ ป

“หลวงปูม่ัน ภรู ทิ ตโฺ ต ไดมาพักทบี่ า นหนองนำ้ เค็ม จำไดว า เปน พ.ศ. ๒๔๘๔ กอน
ท่ีหลวงปูจะไปจังหวัดสกลนคร ไดพบทานพระอาจารยมั่นเปนครั้งแรก ไปฟงทานเทศนเรื่อง
ธัมมจกั กปั ปวัตนสตู ร ทานเทศนอยูที่บา นหนองนำ้ เค็ม ไปกับพระอริยคุณาธาร (เส็ง ปุสโฺ ส)
ตอนนั้นทานยังเปนมหา ๖ ประโยค ยังไมไดเปนเจาคุณ ทานก็เปนพระปฏิบัติเหมือนกัน
ขณะท่ีฟงหลวงปูม่ัน ภูริทตฺโต เทศนไปๆ จิตมันก็นึกไปวา ทานแปลภาษาไมถูกตาม
ไวยากรณท ี่เราเรียน ทานเลยพดู ข้นึ มาวา “เออ เรา แปลหนงั สือปาๆ เถอื่ นๆ ไมมีคนฟง ”
แลวทานก็เลยหยุด ไมเทศนตอ ทีนี้หลวงปูเลยนึกไปนึกมาวา เอ เรา คิดอยางน้ีเปนการ
คานการเทศนของทา นละมัง เลยนึกในใจวาขอนมิ นต ใหหลวงปมู ่นั เทศนต อ ทา นกห็ วั เราะขน้ึ
เลยเทศนตอเปนช่ัวโมง เทศนจนจบธัมมจักกัปปวัตนสูตรน้ันแหละ ขยายความ กามสุขัลลิ
กานุโยค อตั ตกลิ มถานุโยค ทางสายกลาง คือ มัชฌมิ าปฏิปทา อริยมรรคมีองค ๘ ปดทา ย
ลง อรยิ สจั ๔ มีทกุ ข สมทุ ัย นิโรธ มรรค พอทานเทศนจ บก็พูดวา “มหา ฟง เทศนเปน ยังไง
คนปาคนดงเทศน มนั แปลหนังสอื ไมถกู ตามภาษาบาล”ี ทา นรูในจติ ของเรา ทแี รกเคยไดย ิน
เขาลอื กนั วา ทานมีญาณรจู ักวา ใครคดิ ยังไง หลวงปไู มเชอื่ คอื เราเรยี นภาษาบาลี เราไมเชอื่
งา ยๆ”

ตรวจการคณะสงฆ

หลวงปูจันทรศรี เมตตาเลาถึงการตรวจการคณะสงฆวา “วันท่ี ๑๐ พฤษภาคม
พ.ศ. ๒๔๘๔ หลวงปูไปเปนเลขาฯ ชั่วคราวของพระธรรมเจดีย (จูม พนฺธุโล) เจาอาวาส

๕๕หลวงปจู ันทรศรี จนฺททโี ป

วัดโพธิสมภรณ เจาคณะมณฑลอุดรธานี ไปตรวจการคณะสงฆ ต้ังแตจังหวัดขอนแกน
จังหวัดเลย และอำเภอแกนทาว เขตประเทศลาว พักอยูวัดเจาคณะอำเภอแกนทาว (ม.)
๒๐ วันจงึ เดินทางกลบั มาถึงอำเภอเชยี งคาน ๗ วัน ลอ งเรือชะลา ตามลำแมน ้ำโขง ๑ เดอื น
จงึ ถงึ วดั ศรีเมอื ง อำเภอเมอื ง จงั หวดั หนองคาย สิน้ เวลา ๕๐ วัน จากน้ันเดนิ ทางโดยรถยนต
ถึงวัดโพธิสมภรณ จงั หวดั อุดรธานี พกั ทวี่ ดั โพธิสมภรณ ๗ วัน ทำรายงานการไปตรวจการ
คณะสงฆถ วายพระธรรมเจดีย (จูม พนฺธุโล) เจา คณะมณฑลอุดรธานเี รยี บรอ ยแลว กไ็ ดเดิน
ทางไปเปนครูสอนพระปริยัติธรรม ท่ีวัดปาสุทธาวาส ตำบลพระธาตุเชิงชุม อำเภอเมือง
จังหวัดสกลนคร”

พระธรรมเจดยี  (หลวงปูจูม พนธฺ ุโล)

๕๖ สรุ ิยาสองฟา จันทรศ รีสอ งธรรม

ใตรม ธรรมของหลวงปูม ัน่

หลวงปู เลาใหลูกศิษยฟง อยูเสมอวา ทอี่ ยใู นพระพุทธศาสนาจนตลอดรอดฝง และได
รับความผาสกุ รม เยน็ มาเปน ลำดับ ก็เพราะชว งหนงึ่ ในชีวติ ของทานไดอุปฏฐากรับใช หลวงปู
ม่ัน ภูริทตฺโต ไดรับการฝกหัดทรมานจนไดหลักในการปฏิบัติเร่ือยมา ซ่ึงทานใชคำวาเปน
กำไรแหงชีวิตพรหมจรรย ทานเลาถึงความหลัง ดวยความปติและระลึกถึงพระคุณของ
หลวงปูม ่นั อันลึกซ้งึ ถึงจิตใจ ไวด งั นี้

“ป พ.ศ. ๒๔๘๔ เจาพระคุณสมเด็จฯ มีพระบัญชาใหไปสอนพระปริยัติธรรม
แผนกธรรมและบาลีไวยากรณ-ป.ธ.๓ ณ วัดปาสุทธาวาส ตำบลธาตุเชิงชุม อำเภอเมือง
จังหวัดสกลนคร โดยพระอริยคุณาธาร (เส็ง ปุสฺโส) ขณะน้ันทานยังเปนเปรียญอยู เปนเจา
คณะจงั หวัดสกลนคร (ธ)

พอออกพรรษาแลว คณะศรัทธาญาติโยม ชาวจังหวัดสกลนคร ไดพรอมกันจัดรถ
ไปกราบอาราธนานิมนตใหหลวงปูม่ัน ภูริทตฺโต ไปโปรดชาวสกลนครบาง ตนเดือน
พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๘๔ หลวงปมู ่ัน ภูริทตโฺ ต จงึ ไดเดินทางไปสกลนคร พกั วดั ปา สุทธาวาส
๑๕ วัน มีพระเณรมากราบนมัสการและรับฟงโอวาทมิไดขาด จากน้ันทานก็ออกเดินทางไป
พักท่เี สนาสนะปาบา นนามน พอสมควรแลว ก็เดินทางมาพกั ทบ่ี านโคก (บานเกิดพระอาจารย
กงมา จิรปุฺโ) และจำพรรษาทนี่ ั้น ในป พ.ศ. ๒๔๘๕

ณ วดั ปา สุทธาวาส พระมหาเส็ง ปุสฺโส ไดม อบใหห ลวงปูเ ปน ผอู ุปฏ ฐากดูแลประจำ
ทุกวัน หลวงปูม่ัน ภูริทตฺโต มปี ฏิปทาฝา ยวปิ สสนาธรุ ะอันเย่ยี มยอดหาที่เปรยี บมิได สามารถ
กำหนดรูเหตุการณท จ่ี ะเกดิ ขนึ้ ในปจ จุบนั และอนาคตได”

หลวงปมู ั่น ภรู ิทตฺโต
วดั ปา สทุ ธาวาส อ.เมือง จ.สกลนคร
ประวตั แิ ละปฏปิ ทา

หลวงปูม่ัน กำเนิดในสกุลแกนแกว โยมบิดาชื่อนายคำดวง โยมมารดาชื่อนางจันทร
เกดิ วนั พฤหสั บดเี ดอื นย่ี ปมะแม ตรงกบั วันที่ ๒๐ เดอื นมกราคม พ.ศ. ๒๔๑๓ ณ บา นคำบง
ตำบลโขงเจยี ม อำเภอโขงเจยี ม จงั หวัดอุบลราชธานี มพี น่ี องรว มทองเดียวกัน ๙ คน ทา นเปน
บุตรคนหัวป รางเล็ก ผิวขาวแดง เข็มแข็ง วองไว สติปญญาดีมาต้ังแตเยาววัย ฉลาด เปนผู

๕๗หลวงปจู นั ทรศรี จนทฺ ทีโป

วานอนสอนงาย เรียนรูไดรวดเร็ว
มีความทรงจำดี เปนคนขยันหม่ัน
เพยี ร ชอบการเลาเรยี นศึกษา

เมื่อทานอายุได ๑๕ ป ได
บรรพชาเปนสามเณรในสำนัก
วัดบานคำบง แลวต้ังใจศึกษา
หาความรูทางพระพุทธศาสนามี
สวดมนตและสูตรตางๆ ในสำนัก
จดจำไดรวดเร็ว ครูบาอาจารยให
ความเมตตาอนุเคราะหเพราะทาน
เอาใจใสในการเลาเรียนดี ความ
ประพฤติเรียบรอยเปนที่ไวเนื้อ
เชือ่ ใจได

เมอื่ อายุทานได ๑๗ ป บิดา
ขอรองใหลาสิกขาเพ่ือชวยการงาน
ทางบาน ทานจำตองสึกออกไปดวยความอาลัยเพราะมีความชอบในเพศนักบวช และยังคิดที่จะ
กลับมาบวชอีกอยูเสมอไมลืมเลย คงเปนเพราะมีอุปนิสัยวาสนาในทางบวชสั่งสมอบรมมามาก
ในกาลกอน

ครั้นอายุทานได ๒๒ ป มีความศรัทธาอยากบวชเปนกำลัง จึงขออนุญาตบิดามารดา
เพ่ือออกบวชทานท้ังสองก็อนุญาตตามประสงค ทานไดเขารับการอุปสมบทกรรมเปนภิกษุ
ในพระพุทธศาสนา ณ วัดเลียบ อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี มีพระอริยกวี (ออน) เปน
พระอปุ ชฌาย พระครสู ที า ชยเสโนเปน พระกรรมวาจาจารย พระครปู ระจกั ษอบุ ลคุณ (สยุ ) เปน
พระอนสุ าวนาจารย เมือ่ วันท่ี ๑๒ มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๔๓๖ พระอุปชฌายะขนานนามมคธ ใหวา
ภูริทตฺโต เสร็จอุปสมบทกรรมแลวไดกลับมาอยูในสำนักศึกษาวิปสสนาธุระกับพระอาจารยเสาร
กนฺตสีลเถร ณ วดั เลยี บตอ ไป

ในระหวางน้ันไดศึกษาขอปฏิบัติเบ้ืองตน อันเปนสวนแหงพระวินัยคือพระปาติโมกข
และอภิสมาจาร คือมารยาท ความประพฤติ อันควรแกสมณเพศปฏิบัติไดเรียบรอยดี และได
ศกึ ษาขอ ปฏิบตั อิ บรมจติ ใจ คือการเดนิ จงกรมนัง่ สมาธติ ลอดถึงการบำเพ็ญธดุ งควตั รตา งๆ

๕๘ สรุ ยิ าสองฟา จันทรศรสี อ งธรรม

พระอาจารยเสาร กนตฺ สีลเถร พระอุบาลีคุณูปมาจารย (จนั ทร สริ ิจนฺโท)

ทานพระอาจารยเสารไดพาทานไปแสวงหาวิเวกบำเพ็ญสมณธรรมในที่สงบสงัดตางๆ
เชน ปาชา ถ้ำ เง้ือมผา ทางฝงซายแมน้ำโขงบาง ทางฝงขวาแมน้ำโขงบาง ภายหลังทานได
ออกไปบำเพญ็ เพยี รตามลำพัง อาศัยหลกั ธรรมวินัย และธุดงควตั ร เปน เครือ่ งดำเนนิ บางครง้ั
มีโอกาสไปกรุงเทพฯ ก็หมั่นไปสดับพระธรรมเทศนาของเจาพระคุณพระอุบาลี (สิริจันทเถระ
จันทร) วดั บรมนวิ าส แลว ออกแสวงหาวิเวกในถน่ิ ภาคกลาง คือ ถำ้ สาริกา เขาใหญ นครนายก
ถ้ำไผขวาง เขาพระงาม และถ้ำสิงหโตลพบุรี จนไดหลักใจอันม่ันคง ไมเส่ือมถอยในพระธรรม
วินัย จึงมาระลึกถึงหมูคณะสหธรรมิก และไดเดินทางกลับมาภาคอีสาน เพ่ือทำการอบรม
ส่ังสอนตอไป มีผูเล่ือมใสปฏิบัติตามมากข้ึนโดยลำดับ มีศิษยานุศิษยแพรหลายกระจายทั่ว
ภาคอีสาน

ในกาลตอมาไดเดินทางไปจังหวัดเชียงใหมกับเจาพระคุณอุบาลี (สิริจันทเถระ จันทร)
แลวออกไปพักตามที่วิเวกตางๆ ในเขตภาคเหนือหลายแหง เพื่อเรงความเพียรเฉพาะตน
กระทำที่สุดแหงทุกขใหแจง แลวเท่ียวสงเคราะหสาธุชนในท่ีน้ันๆ นานถึง ๑๑ ป จึงไดกลับมา
จังหวดั อดุ รธานี แลว มาอยูใ นเขตจงั หวัดสกลนคร พักจำพรรษา ณ วัดปาหนองผือ ตำบลนาใน
อำเภอพรรณานิคม ๕ พรรษา ตราบวาระสุดทาย มีผูสนใจในธรรมปฏิบัติไดติดตามศึกษา
อบรมมากมาย ศษิ ยานศุ ิษยข องทา นไดแพรกระจายไปทว่ั ทกุ ภาคของประเทศไทย ยังเกยี รตคิ ณุ
ของทา นใหฟงุ เฟองเล่อื งลือไป

๕๙หลวงปูจ ันทรศรี จนฺททีโป

ธุดงควตั รที่ทา นถือปฏบิ ตั ิเปน ประจำมี ๔ ประการ

๑. บังสุกุลิกังคธุดงค ถือนุงหมผาบังสุกุล นับตั้งแตวันอุปสมบทมาตราบจนกระทั่ง
ถึงวยั ชรา จึงไดผ อ นผนั ใชค หบดจี ีวรบา งเพอ่ื อนุเคราะหแ กผมู จี ติ ศรทั ธานำมาถวาย

๒. บิณฑบาติกังคธุดงค ถือภิกขาจารวัตรเท่ียวบิณฑบาตมาฉันเปนนิตย แมอาพาธไป
ในละแวก บานไมไดก็บิณฑบาตในเขตวัด บนโรงฉันจนกระท่ังอาพาธ ลุกไมไดในปจฉิมสมัยจึง
งดบณิ ฑบาต

๓. เอกปตติกังคธุดงค ถือฉันในบาตรใชภาชนะใบเดียวเปนนิตย จนกระทั่งถึงสมัย
อาพาธหนักจึงงด

๔. เอกาสนิกังคธุดงค ถือฉันหนเดียวเปนนิตยตลอดมา แมถึงอาพาธหนักในปจฉิม
สมัยก็มิไดเลิกละ สวนธุดงควัตรนอกน้ีไดถือปฏิบัติเปนคร้ังคราวท่ีนับวาปฏิบัติไดมาก ก็คือ
อรัญญิกกังคธุดงค ถืออยู เสนาสนะปาหางบานประมาณ ๒๕ เสน หลีกเรนอยูในที่สงัดตาม
สมณวิสัยเมื่อถึงวัยชราจึงอยูในเสนาสนะ ปาหางจากบานพอสมควร ซ่ึงพอเหมาะกับกำลังที่จะ
ภิกขาจารเปนท่ีปราศจากเสียงอ้ืออึง ประชาชนยำเกรงไมรบกวน ในสมัยท่ีทานยังแข็งแรง
ไดออกจาริกโดดเดี่ยวแสวงวิเวกไปในปาดงพงลึกจนสุดวิสัยท่ีศิษยานุศิษย จะติดตามไปถึงได
กม็ ี เชนในคราวไปอยูทางภาคเหนือเปน ตน ทานไปวิเวกบนเขาสูง อันเปน ท่อี ยูของพวกมเู ซอร
ยังชาวมูเซอรซงึ่ พดู ไมร เู รื่องกนั ใหบ งั เกดิ ศรัทธาในพระศาสนาได

คร้ัน พ.ศ. ๒๔๘๘ ทานไดไปพำนักอยูเสนาสนะปาบานหนองผือ ตำบลนาใน อำเภอ
พรรณานิคม จังหวัดสกลนคร จนถึงปส ุดทายแหง ชีวิตทา นไดเอาใจใสอบรมส่ังสอนศิษยานุศษิ ย
ทางสมถวิปส สนาเปน อันมาก ไดม ีการเทศนาอบรมจติ ใจแกศ ิษยานศุ ิษยเปน ประจำ ศิษยผ ใู กลช ิด
ไดบ ันทึกประวตั แิ ละธรรมเทศนาของทานไว รวบรวมพิมพข ้ึนเผยแผเ ปน หนงั สอื เชน มุตโตทยั ,
ประวตั ทิ า นพระอาจารยม นั่ ภรู ทิ ตโฺ ต, ประวตั ิ ปฎิปทาพระธุดงคกรรมฐานสายทา นพระอาจารย
มั่น ภูรทิ ตฺโต เปนตน

ครั้นมาถึงป พ.ศ. ๒๔๙๒ ทานมีอายุยางข้ึน ๘๐ ป ก็เริ่มอาพาธคร้ังสุดทายศิษยผูอยู
ใกลชิดก็ไดเอาธุระรักษาพยาบาลไปตามกำลังความสามารถ อาพาธก็สงบไปบางเปนคร้ังคราว
แตแลวก็กำเริบข้ึนอีก เปนเชนน้ีเรื่อยมาจนจวนออกพรรษา อาพาธก็กำเริบมากข้ึน ขาวนี้ได
กระจายไปโดยรวดเร็ว พอออกพรรษา ศิษยานศุ ิษยผ อู ยูไกลตางกท็ ยอยกันเขา มาปฏิบตั อิ ปุ ฏ ฐาก
ทานบอกแกบรรดาศิษยวา “การปวยคราวนี้ไมหายแนนอน หากผมมรณภาพลง ณ วัดปา
บานหนองผือ ผคู นหล่ังไหลมามาก ตลาดท่ีจะจบั จายซ้ืออาหาร ไมเพยี งพอ สตั วท ้งั หลายจะถกู
ฆาและลม ตายลงตามเปน จำนวนมาก ผมสงสารสตั วเ หลา นน้ั จึงควรนำผมไปยงั วัดปาสุทธาวาส
สกลนครจะเหมาะสมกวา ” คณะศิษยจ งึ ไดนำทานเดนิ ทางไปสกลนคร ตามความประสงค

๖๐ สุริยาสองฟา จันทรศรีสอ งธรรม

ครัน้ เมือ่ วนั ท่ี ๑๐ พฤศจกิ ายน ๒๔๙๒ ไดนำทา นมาถึงวัดปาสทุ ธาวาสเมืองสกลนคร ทาน
ก็ไดม รณภาพดวยอาการสงบ ในเวลา ๒.๒๓ น. ของวนั ท่ี ๑๑ พฤศจิกายน ทามกลางศิษยานุศิษย
ทัง้ หลาย มพี ระธรรมเจดีย เปน ตน รวมอายไุ ด ๗๙ ป ๙ เดือน ๒๑ วัน พรรษา ๕๖

อปุ นิสัยของทานพระอาจารยมน่ั

สำหรับลักษณะอุปนิสัยของทานพระอาจารยมั่นนั้น หลวงปูหลุย จนฺทสาโร ศิษยผูใหญ
ของทานไดบ ันทกึ ไวด งั นี้

“ทานภาวนาสถานที่เปนมงคล มีเทวดามานมัสการ ต้ังหม่ืน ทานรูไดดวยภาวนา
ขน้ั ละเอยี ดฯ อมนุษยท า นกร็ ไู ด”

“ทานอาจารยมั่น ทานเปนคนเด็ดเด่ียวสละชีวิตถึงตาย สลบไป ๓ คราว และทาน
ตอ งการคนใจเดด็ เปนสานุศษิ ย”

“ทา นทำตัวของทานใหใ หมอยใู นตระกูลทง้ั หลาย ไมทำตวั ของทานใหคนุ เคยในตระกูลเลย
การไปมาของทาน---ไปโดยสะดวก---มาโดยสะดวกไมขัดขอ งในตระกลู ”

“เปน คนมักนอ ย ชอบใชบริขารของเกา ๆ ถงึ ไดใหม บรจิ าคทานใหค นอนื่ ขอ วัตรหมดจด
ดี สติต้ังอยูในสติปฏฐานเสมอ เปนผูไมละกาล วาจาพูดก็ดีเทศนก็ดี ไมอิงอามิส ลาภ
สรรเสรญิ วาจาตรงตามอรยิ สัจ ตามความรูความเหน็ อา งอรยิ สจั เปนหลักฐานเสมอ กาย วาจา
ใจ เปนอาชาไนยลวน”

“ทานประพฤติตนเปนคนขวนขวายนอยในอามิส หมดจดในขอวัตร และหมดจดในธรรม
พนวิสัยเทวดา และมนุษยที่จะติเตียนได ไมเปนขอลอแหลมในศาสนา ทานไดวัตถุสิ่งใดมา
ทา นสละทนั ที สงเคราะหหมพู รหมจรรย”

“ส่งิ ของอันใดทา นอยูท่ีไหน เขาถวาย ทา นก็เอาไวใ หพ ระเณรใช ณ ทีน่ ั้น ทา นไมไดเ อา
ไปดว ย”

“มีคนไปหาทานอาจารยม่ัน ทานไมดูคน ทานดูจิตของทานเสียกอน จึงแสดงออกไป
ตอนรับแขกผูม าถงึ ถิน่ อนึ่ง ทานหนั ขา งและหนั หลงั ใสแขกทานพจิ ารณาจติ ของทานกอ น แลว
พิจารณานิสัยของผูอ่ืน น้ีเปนขอล้ีลับมาก ตอน้ันถาจะเอาจริงจังตองประชันตอหนากันจึงเห็น
ความจรงิ ”

“จิตของทานฝาอันตรายลงไปถงึ ฐานของธรรมนมี้ รี าคามาก บงความเห็นวา เปนอาชาไนย
โดยแท”

๖๑หลวงปจู นั ทรศ รี จนทฺ ทีโป

“ปฏิบัติธรรมทานพูดทรมานใครแลวยอมไดดีทุกๆ คน ถาหม่ินประมาทแลวยอมเกิด
วิบัตใิ หญโ ต”

“ทานมีนิสัยปลอบโยนเพ่ือคัดเลือกคนดีหรือไมดี ในขณะทานพูดเชนนั้น ทานหันกลับ
เอาความจรงิ เพราะกลวั ศิษยจะเพลนิ ”

“นิสัยทานเปนคนใจเดียว ไมเห็นแกหนาบุคคล ในเวลาถึงคราวเด็ดเด่ียวตอธรรมวินัย
จรงิ ๆ”

“ทานเปน คนไมอ วดรู แตธรรมของทา นบอกเหตุผล ไปตา งหากนเ้ี ปนขอ พงึ วนิ จิ ฉยั ”
“หาบุคคลที่จะดูจริตของทานรูไดยาก เพราะทานเปนคนนิสัยลึกลับ จะรูนิสัยไดตอ
เมื่อบคุ คลท่ีมภี ูมจิ ิตสว นเดยี ว”
“ทานผูมีอำนาจในทางธรรม ทำอะไรไดไมครั่นคราม ชี้เด็ดขาดลงไป ไมมีใครคัดคาน
นี่เปนอัศจรรยมาก”
“ทานถอื ขา งใน ปฏิปทาความรคู วามเหน็ ของทานเกิดจากสันตุฏฐี ความสันโดษของทาน
ทานนิสัยไมเ ปน คนเกยี จครา น ขยันตามสมณกจิ วสิ ยั หวงั ประโยชนใหญใ นศาสนา”
“ทานอาจารยม ั่นเปนผทู ่ีสะอาด ไตรจีวร และ เคร่ืองอุปโภคของทานไมใหม กี ลน่ิ เลย ถู
ยอมบอยๆ”
“ทา นบวชในสำนักพระอรหนั ต ๓ องค แตเมอ่ื ชาติกอ นๆ โนน ”
“ทา นไมใ ครพยากรณใ ครๆ เหมือนแตก อ น ทา นพดู แตป จจุบนั อยา งเดยี ว นิสัยทา นชอบ
เกบ็ เอาเครอื่ งบริขารของเกา ไวใช เพราะมนั ภาวนาดี เชนจวี รเกา เปน ตน ”
“ทานไมต ิดอามิส ไมติดบคุ คล ไมต ิดลาภ ยศ สรรเสรญิ ทา นถือธรรมเปน ใหญ ไปตาม
ธรรม อยตู ามธรรม”
“ทา นพูดธรรมไมเ กรงใจใคร ทานกลา หาญ ทา นรบั รองความรขู องทาน ฉะนน้ั ทานจึงพูด
ถึงพริกถึงขิง ตรงอริยสัจ พูดดังดวย พูดมีปาฏิหาริยดวย เปนวาจาที่บุคคลจะใหสิ้นทุกขได
จริงๆ เปนวาจาที่สมถะวิปสสนาพอ ไมบกพรอง กำหนดรูตามในขณะกาย วาจา จิตวิกาลตรง
กับไตรทวาร สามคั คีเปนวาจาทเี่ ด็ดเด่ยี วขลังดีเขมแข็งดี เปน อาชาไนยลว น วาจาไมม ีโลกธรรม
ติดเปนธรรมชาติท่ีบริสุทธ์ิ พระเณรอยูในโอวาท ทานไดสติมาก เพราะบารมีของทาน ถาขืน
ประมาททานเกิดวิบัติ”
“ทานอาจารยม่ัน เทวดาและอมนษุ ยไ ปนมสั การทา น เทา ไรพันหรอื หม่นื ทานกำหนดได”
“ทา นรกั ษาระวังเทวดามนษุ ยป ระมาททาน เชน เย่ยี มทา นกม็ ีระเบยี บ แมกิจเลก็ ๆ นอยๆ
เปนระเบียบหมด”

๖๒ สรุ ิยาสอ งฟา จันทรศ รสี องธรรม

“ทานอาจารยทานพูดโนน คำนี้อยูเสมอ เพ่ือจะใหสานุศิษยหลง เพ่ือละอุปาทานถือใน
ส่ิงน้ันๆ ทานทำส่ิงที่บุคคลไมดำริไว สิ่งใดดำริไวทานไมทำ น้ีสอใหเห็นทานไมทำตามตัณหา
ของบคุ คลท่ดี ำริไว”

“จิตของทานอาจารยมั่นฝาอันตรายลงไปต้ังอยูดวยอมตธรรม บริบูรณดวยมหาสติ
มหาปญญา มีไตรทวารรูรอบ มิไดกระทำความช่ัวในท่ีลับและที่แจง และมีญาณแจมแจง รูท้ัง
เหตุผลพรอมกัน เพราะฉะนนั้ แสดงธรรมมนี ้ำหนกั มาก พน วสิ ัยคนทีจ่ ะรูต าม เหน็ ตาม เวน แต
บุคคลบริบูรณดวยศีลและสมาธิมาแลว อาจท่ีฟงเทศนาทานเขาใจแจมแจงดี และบุคคลนั้น
ทำปญญาสบื สมาธิตอ”

“จิตทานอาจารยม ่ันตื่นเตนอยดู วยความรู ไมหยดุ นง่ิ มีสติรอบเสมอ ไมเ ผลอท้งั กายและ
วาจา เปนผูมีอริยธรรมฝงม่ัน อยูในสันดาน ไมหว่ันไหว ตอนนี้ไมมีใครท่ีจะคานธรรมเทศนา
ของทา นได เพราะวาจาเปนอาชาไนย และมีไหวพริบแกปริศนาธรรมได”

“ธาตุของทานอาจารยเปนธาตุนักรู เปนธาตุท่ีตื่นเตนในทางธรรม เปนผูที่รูยิ่ง เห็นจริง
ในอริยสัจธรรม ทานดัดแปลงนิสัยใหเปนบรรพชิต ไมใหมีนิสัยหินเพศติดสันดาน ทานประพฤติ
ตนของทา นใหเ ทวดาและ มนษุ ยเ คารพ และทา นไมประมาทในขอวตั รนอ ยใหญ”

“ทานไมใ หจ ิตของทา นนอนนงิ่ อยอู ารมณอ ันเดยี ว ทา นกระตุกจติ ของทา น คนควา หาเหตุ
หาผลของธรรมอยูเ สมอ ทา นหดั สติใหรอบรใู นอารมณและสงั ขารทงั้ ปวงฯ”

“ทานอาจารยม่ันทานเกงทางวิปสสนา ทานเทศนใหบริษัทฟง สัญญา มานะ เขาลด
เจตสิก เขาไมเกาะ เมื่อไมเกาะเชนนั้น ยิ่งทำความรูเทาเฉพาะในจิต ตรวจตราในดวงจิตขณะที่
นั่งฟง ตอ นั้นจะเหน็ อานสิ งสท ีเดียว ไมทำเชน นัน้ หาอานสิ งสก ารฟงธรรมมไิ ด ถา ประมาทแลว
จะเกดิ วิบตั ิเพราะมานะทิฐขิ องตน วินิจฉยั ธรรมมิได”

“ทานเทศนอางอิงตำราและแกไขตำราดุจของจริงทีเดียว เพราะทานบริบูรณวิปสสนาและ
สมถะพอ และทา นยกบาลเี ปนตัวเหตผุ ลแจม แจง ”

“ทานอาจารยม่ัน อุบายจิตของทานพอทุกอยาง ไมบกพรอง คือพอท้ังสมถะ พอทั้ง
วิปสสนาทุกอยา ง เพราะฉะนั้น ทา นเทศนาจติ ของผฟู ง หดและสงบ และกลวั อำนาจ เพราะนิสัย
คนอื่นไมมีปญญาที่จะชอนเข็มโตถามได ตรงกับคำวาพอทั้งปญญา พอทั้งสติ ทุกอยาง
เปนอาชาไนยลวน รวบรดั จติ เจตสกิ ของคนอ่นื ๆ มอิ าจจะโตแยงได”

“ทานวา แตกอนทานเปนคน “โกง” คน “ซน” คน “มานะกลา” แตทานมีธุดงค
ขอวัตรทุกอยางเปนยอด ทำความรูเทาทันกิเลสเหลาน้ัน เด๋ียวนี้นิสัยกอนน้ันกลายเปน
ธรรมลวน เชน “โกงสต”ิ “ซนสติ” “มานะสต”ิ เปน คณุ สมบัตสิ ำหรบั ตวั ของทา น” “ความรู

๖๓หลวงปูจันทรศรี จนทฺ ทีโป

ความฉลาดของทาน ไปตามธรรมคืออริยสจั ใชไ หวพรบิ ทกุ อยา ง ตรงตามอริยสจั ตรงกบั คำวา
ใชธ รรมเปน อำนาจ คณาจารยบ างองคถ อื อรยิ สัจก็จริง แตม ีโกงนอกอรยิ สจั เปน อำนาจบา งแฝง
อรยิ สจั ตรงกับคำทว่ี า ใชอ ำนาจเปน ธรรมแฝงกับความจรงิ ”

“ทานอาจารยเปนนักปราชญแปดเหล่ียมคม คมย่ิงนัก ธรรมชาติจิตของทานที่บริสุทธิ์
นั้น กล้ิงไปไดทุกอยางและไมติดในส่ิงน้ันดวย ดุจน้ำอยูในใบบัว กลิ้งไปไมติดกับส่ิงอื่นๆ
เพราะฉะน้ันจิตของทานถึงผลที่สุดแลว มิอาจจะกระทำความชั่วในที่ลับและที่แจง เพราะสติกับ
ปญญารัดจิตบริสุทธใ์ิ หม ่นั คง ใชไหวพรบิ เปนอาชาไนยอยเู นอื งนิตย”

หลวงปหู ลยุ จนฺทสาโร ศษิ ยผูใหญของหลวงปมู น่ั ภูริทตโฺ ต

๖๔ สุรยิ าสอ งฟา จันทรศรสี องธรรม

อุปฏ ฐากหลวงปมู ัน่

หลวงปู เลาถึงประวัติตอนที่ไดอ ุปฏ ฐากหลวงปูม ัน่ วา
“หลวงปูเปนคนปฏิบัติหลวงปูมั่นจนกระท่ังวาการบิณฑบาต ตอนเวลาเย็นขนาดนี้
ทานก็เดินจงกรม เม่ือทานเดินจงกรมเสร็จก็ขึ้นไปบนศาลา ฉันน้ำรอนน้ำชาเสร็จ ทานก็ให
โอวาทแกพ ระภิกษุสามเณร ซึง่ อยใู นสำนักนน้ั ประมาณ ๔๐ หรือ ๕๐ รปู สวนครบู าอาจารย
ชนั้ ผใู หญก็มี ทา นพระอาจารยเ ทสก เทสฺรํสี ทานพระอาจารยฝ น อาจาโร ทา นพระอาจารย
ออ น และทานพระอาจารยกงมา พอกลางคนื ก็ไปนวดใหทาน

วันหนึ่งก็มีญาติโยม เขามาอาราธนาทานวา การบิณฑบาตนั้น ไมตองเขาไปถึง
ในเมือง ใหอยูนอกวัดประมาณสัก ๑๐ เสน แลวผูที่จะมาใสบาตรนั้น ก็มีพวกคุณแมนุม
แมน ิล คุณวิศิษฏ คณุ วิเศษ และกลมุ ลูกหลานทเ่ี ขาสรางวัดน้ันมาใสบ าตร หลวงปกู ส็ ะพาย
บาตรให พอไปรบั บาตรถึงจะเอาใสมือทา น และกไ็ มไกลจากที่รบั บาตร ขนาดนอกวัด เพราะ
ตอนน้นั อายทุ านประมาณ ๗๐ แลว แตย งั แขง็ แรง”

๖๕หลวงปูจนั ทรศ รี จนทฺ ทโี ป

รเู หตุการณล ว งหนา

“มีแปลกอยูวันหนึ่ง หลวงปูม่ัน ภูริทตฺโต ทานเดินจงกรมต้ังแตประมาณตี ๕ จน
กระทั่งถึงหน่ึงโมง หลวงปูก็ไปอาราธนาทาน เตรียมบาตรเตรียมอะไรเสร็จแลวไปอาราธนา
ทานใหออกบิณฑบาต ทานก็บอกวา “เขายังไมมา เม่ือคืนน้ีเขาไปดูหนังแลวมันก็นอน
ตื่นสาย มันนึ่งขาวยังไมสุก” พอประมาณสักโมงคร่ึงทานก็บอกวา “อาวไปหละ” หลวงปูก็
สะพายบาตรเดินตามหลังไป พอไปถึงทๆ่ี เคยรบั บาตร เขามกั จะนง่ั รถสามลอสีแดงมา ทีนี้
พอเขามาถึง เขาก็นั่ง รถสามลอคันสีแดงน้ันมา มาแลวเขาแถวแลวก็เอาบาตรถวายทาน
ทานก็รับบาตร เมื่อรับบาตรเสร็จ หลวงปูก็รับเอาบาตรจากหลวงปูมั่นมาสะพาย ทั้งบาตร
ตนเองดวย ทีน้ีพอกลบั มา กม็ ีโยมผทู ี่มศี รัทธาไมทราบวาใครเอาผา ไหมชนดิ อยางดี เรียกวา
หกู หน่งึ คือยาวตดั จวี รไดส กั ๒ ตัวโนน แหละ พอทา นชกั บงั สุกลุ เสรจ็ แลว เราก็รบั จากทาน
เอาไปเกบ็ ไวกอ น”

พระพุทธรูปท่ที านพระอาจารยม่ัน ภูรทิ ตโฺ ต บูชาอยเู ปน ประจำทีว่ ัดหนองผอื

๖๖ สรุ ยิ าสองฟา จันทรศ รสี องธรรม

จดั อาหารใสบาตรใหห ลวงปมู ่นั

“จากน้ันก็ข้ึนบนศาลาหอฉัน แลวก็จัดอาหารลงบาตร ในขณะนั้นหลวงปูไดสังเกต
วาทานเอาอาหารอะไรบางลงไปในบาตร เอามากเอานอยเทาไหร แลวทีนี้ก็นั่งดูอยู ๓ วันก็
จำได พอวนั ท่ี ๔ กจ็ ดั อาหารลงบาตรทานได เม่ือทานฉันเสรจ็ แลว กเ็ หลอื นดิ หนอ ย เรากเ็ อา
บาตรทานไปลาง ไปเช็ดไปผึ่งใหดี ตามปกติท่ีทานเคยทำเอง ทีน้ีสวนครูบาอาจารยผูหลัก
ผูใหญ เชน ทา นพระอาจารยฝ น ทา นพระอาจารยเ ทสก เปนตน พอฉนั เสร็จแลวทา นกบ็ อก
วา “เอ! มหาน้ี มีคาถาดีอยา งไรหลวงปทู านถึงไมดุ พวกผมไปรบั บาตรทานไมไ ด มแี ตทา น
จะดุ แลวก็มีมหาองคเดียวนี้แหละที่จัดบาตรทานได เราก็เกิดปติคือความดีใจวา เราได
ปฏบิ ตั ิพระผูเฒา ผูป ฏบิ ัตดิ ีปฏบิ ัตชิ อบ ในขณะนนั้ อายทุ า นกป็ ระมาณ ๗๐ ป เศษแลว ”

รูว าระจิต

“เมื่อเสร็จจากน้ันก็ไปคุยกัน มีพระมหานอย พระมหาปน ซึ่งไปเปนครูดวยกัน
ชวนกันวาไปขอผาไหมของทา นไปตดั เส้อื กางเกงซะวา งั้น พวกเรากอ็ ยูใ นพรรษา ๘ พรรษา ๙
คิดอยากจะสึกกัน ทีนี้พอประมาณซักเที่ยง ทานก็เรียกครูบาอาจารยผูหลักผูใหญท่ีอยูในวัด
น้ันไป แลวก็เอาผานั้นไปตัดเปนผาสบงหมดแลว ก็ไปยอมกรัก เสร็จเรียบรอยเอาไปถวาย
เณรหมด พระไมให เพราะเก่ียวกับวาเราคงมาคุยกันวาเราจะไปขอผามาตัดเสื้อกางเกง
ทา นคงจะรู นี้เปนการนกึ เดากัน

ทีน้ีคร้ันตอมา ๒ วัน ก็มีโยมเอาผามิสลินอยางดีมาถวายอีกแตกอน เรียกวาไม
หนึ่งก็ตัดจีวรไดผืนหรือสองผืนนี้แหละ ทีน้ีหลวงปูก็เอาผานั้นไปวัดจีวรครองของทานเสียกอน
ทานไมยอมเปลี่ยน หลวงปูใชไมบรรทัดวัดดูสิวา กวางเทาไหร อนุวาต (แผนผาทาบริม
โดยรอบ) กวางเทาไหร วัดเอาตัวเทาจีวรทานมาตัด ทานใชขันธ ๙ วัดทุกชิ้นทุกสวน
เสร็จเรียบรอยแลว ก็มีสามเณร มาชวยตัด หลวงปูเปนคนตัดเอง พอตัดเสร็จเรียบรอยแลว
ก็เอาไปใหพ วกลกู หลานแมน ุม แมนิลนัน้ เดินจกั รใหเสียกอ น แลว ก็มาสอยมอื ประมาณ ๗ วนั
ก็เสร็จ แลวก็ยอมแกนขนุน จนกระทั่งสีไดท่ีเหมือนสีสังฆาฏิ พอเสร็จแลว ก็ใหเณรทองคำ
ไปหากิ่งไมแหงมาให มาปกไว ท่ีบันไดทาน แลวก็เอาเทียนไขมาจุดไวแลวเอาผาพาดไว
หลวงปูก็ไปเดินจงกรมคอยดูทาน วาจะชักผาบังสุกุลใหหรือไม พอทานเดินจงกรมเสร็จ
ประมาณ ๒ ทุม ทานก็ขึ้น ทานชักเอาผาแลวทานก็ไปถอนจีวรครองของทานออกตาม

๖๗หลวงปจู นั ทรศรี จนทฺ ทีโป

พระธรรมวินัย แลวก็พินทุอธิษฐานจีวรท่ีเราตัดเอาไปถวายทานน้ัน ทานเอาเปนจีวรครอง
พอตื่นเชามาจวี รเกาของทา นนัน้ มนั ขาด ทานปะโนนปะนี่ เรากเ็ อาไปซกั ใหด แี ลว กม็ าเย็บเปน
ผาปูนอนหรือเปนทน่ี อนของทาน อนั นี้ก็เรียกวา ไดปฏิบัตทิ านอยางใกลช ดิ

คณะศิษยข องทา นพระอาจารยมั่น ภรู ิทตฺตเถร

มีอยูวันหน่ึง ทานสั่งวา มหา วันน้ีใหไปปูเส่ือ จัดอาสนะ ดูความสะอาดเรียบรอย
ศาลาจะมคี นมา แตท านก็ไมไดบ อกวาใคร เราก็ไปจดั การ พอสายๆ พ.ต.อ.ขนุ ศุภกิจ วิเลขการ
ขาหลวงประจำจงั หวดั สกลนคร มาหาหลวงปมู ่นั พอไปถึง ทานทักขนึ้ ทแี รกเลยวา “เมาหรอื
เปลา” พ.ต.อ.ขุนศุภกิจฯ ตอบวา “นิดหนอยครับ” แลวก็ไปกราบหลวงปูมั่น ทานก็ถามวา
“อยากอยนู าน หรืออยากตายเร็ว” พ.ต.อ.ขนุ ศุภกิจฯ ตอบวา “อยากอยูครบั ” “ถา อยา งนั้น
ใหเ ลิกกนิ เหลา เลกิ สูบบหุ รี่ ไมอ ยา งนนั้ อายุ ๕๐ ปก็ตาย” พ.ต.อ.ขนุ ศภุ กิจฯ ก็เลยเลกิ หมด
อยมู าไดจ นอายุ ๙๐ กวา ป มาตอนหลงั ยา ยมาเปน ขาหลวงประจำ จงั หวัดอุดรธาน”ี

๖๘ สุรยิ าสองฟา จนั ทรศรสี อ งธรรม

สอบได ป.ธ ๔

ในปน ี้ (พ.ศ. ๒๔๘๔) หลวงปจู นั ทรศรี สอบได ป.ธ. ๔ ซึ่งทานเลาถึงตอนทีไ่ ปกราบ
เรยี นถามหลวงปูมัน่ วา

“หลวงปูๆ ผมสอบประโยค ๔ ตก มาตั้ง ๓ ปแลว เขาจะออกอะไร”
ทา นหัวเราะ ทา นบอกวา “เขาดาโกรธไหม เขายกยองดใี จไหม”
เรยี นทานวา “เขาดา ก็โกรธ ถาเขาสรรเสริญก็ยินดี”
ทา นกลา ววา “มันมีไหมละ ในหลกั สตู ร”
เรยี นทา นวา “มีกระผม”
ทา นกลา ววา “อะไรละ ”
เรียนทานวา “โลกธรรม ๘ มันอยใู นมงคลภาค ๒ กระผม”
อีกสามวัน ท่ีไปนวดใหทานทุกวันๆ วันที่ ๓ ทานก็เลยถามวา “มหาๆ ตัดจีวร
เปน ไหม”
เรยี นทา นวา “ทห่ี ลวงปอู ธษิ ฐานเปน ผา ครองนน้ั กระผมก็ดีใจมาก”
ทนี เ้ี วลามาสอบคร้งั แรก แมก องธรรมสมัยนน้ั คือสมเด็จพระวนั รัต (ปลด กิตติโสภโณ)
วดั เบญจมบพิตร เปน แมก องฯ พอสอบแลว บอกวาประโยค ๓ ประโยค ๔ ปญหาร่ัวยกเลกิ
ไมตรวจ เสียใจมากตอนนั้น ทีนี้พอประกาศยกเลิกไมตรวจแลว ก็ขึ้นไปเท่ียวขอนแกน
เท่ียวขอนแกนอยูประมาณ ๗ เดือน และก็สั่งเพ่ือนไววา ถาแมกองฯ ประกาศสอบใหมให
โทรเลขไปทีว่ ดั ศรจี นั ทร ตอนหลวงปูออกไปบา นนอก โทรเลขไปวาใหป ระโยค ๓ ประโยค ๔
สอบใหม ขึน้ ๒ คํา่ เดอื น ๗ ก็เตรยี มตวั ลงกรุงเทพฯ มาวันหนึง่ ก็เอาหนังสอื มาดู ดูไปดูมา
จิตมันไมจำ ก็เลยเอาหนังสือมากองรวมไวบนโตะ แลวก็กราบ แลวน่ังสมาธิ พอจิตมันรวม
แลวปรากฏวาหลวงปมู นั่ ถามวา “มหาๆ ตัดจวี รเปนไหม” ดงั ขนึ้ ท่หี ู ๓ ครัง้ กเ็ ลยมากราบ
หนังสือ แลว ก็เปด หาประโยคตัดจีวร เปนภาค ๑ ของมงคลทีปน้ี กด็ ูอยปู ระมาณ ๔-๕ วนั
ดูแตอันเดียวนั่นแหละ ไดแปลตามเผด็จสำนวนแปลของสมเด็จพระสังฆราชองคปจจุบัน
น้ีบาง ของทานเจาคุณพระอริยเวที (เขียน) บาง ทานกำลังสอบประโยค ๙ อยู แปลให
คลอ งเลย เวลาออกมาตรงเปะ จงึ สอบไดประโยค ๔ ปนั้น ทานพูดอีกคำหนง่ึ วา เอาประโยค
๔ พอ ถามากประโยค กิเลสมนั มาก วาอยางน้ัน พยายามสอบประโยค ๕ อยูเจด็ ปก ็ไมไ ด”

๖๙หลวงปูจนั ทรศรี จนทฺ ทโี ป

๗๐ สรุ ิยาสองฟา จนั ทรศ รสี อ งธรรม

หลกั การภาวนาจากหลวงปูม่ัน

“ในวันหนึ่ง พอกลางคืนหลวงปูก็ไปนวดใหหลวงปูมั่น นวดไปๆ ก็เรียนถามทานวา
“หลวงปูๆ จิตเปนโสดา สกิทาคา อนาคา มันเปนอยางไร” ทานไมตอบแตไลลงไป
เดินจงกรม ไปเดินจงกรมได ๒ ชั่วโมง จิตมันไมรวม จึงข้ึนมาบนกุฏิ กราบเรียนทานวา
จติ มันฟุงซา น มองเห็นแตห นาสตรี ทานกไ็ ลล งใหไปเดินอยูอ ยางน้ันแหละ พอเดนิ ไปเดนิ มา
ข้นึ มาอกี พอวันท่ี ๗ ทา นทรมาน ประมาณตง้ั แต ๔ ทุม ใหห ลวงปูนง่ั สมาธิ ทา นก็นอนอยู
บนเตียงน่ีแหละ ทีน้ีทานคุมจิตเรา เวลาทานคุมจิต จิตเรามันคิดไปไหนๆ ทานก็ทักเร่ือยๆ
จนกระทั่งเราเกิดความรูสึกกลัวทาน เพราะทานรูจักวาระจิตเราจริงๆ ไมกลาคิดไปไหน
ทานบอกวาใหเอาสติควบคุมจิต ดึงเขามาอยูที่หัวใจ ใหวา พุทโธๆ จนจิตสงบ แลวใช
ปญญาพิจารณากายของตนต้ังแตหนังที่หุมหอรางกายอยูนี้ ใหจิตเห็นเปนอสุภกรรมฐาน
เปนของสกปรกนาเกลียด เม่ือตายแลวไมมีใครตองการ สังขารท้ังปวงตกอยูในไตรลักษณ
คือ อนิจจงั ทกุ ขัง อนตั ตา ดว ยกนั ทัง้ นัน้ เวลา ๐๒.๐๐ น. จิตของหลวงปู สงบจากอารมณ
ภายนอกที่จะมาสัมผัส เกิดความสวางข้ึนกับจิต พอจิตรวมได รูสึกวากายมันเบา นั่งอยู
ตลอดจนกระท่ังถึงตี ๕ ทานกบ็ อกวา

“เอา มหา กอนทีจ่ ะถอนจติ นนั้ ใหต งั้ สติสัมปชญั ญะ ทวน กระแสจิตดูซวิ า
กอ นจติ จะสงบไดน้นั มัน ยึดอารมณอ ะไร”
หลวงปกู ็ทวนกระแสจติ ๑๐ ครั้ง วาเราทำอยา งไร จิตถึงไดรบั ผลอยา งน้ี ทา นบอก
ใหกราบ ๓ ครง้ั แลวทานพูดวา

“วันน้มี หาภาวนาไดด พี อสมควร จำวิธพี ิจารณาจิตไวนะ

อยาปลอ ย ใหทำภาวนาอยางน้ที กุ วนั ”

แลวก็กราบพระ เตรียมไปบิณฑบาต หลวงปูก็ไดหลักการภาวนาจากหลวงปูม่ัน
จนตั้งแตบัดนั้นมา กระท่ังอยูมาจนกระท่ังบัดนี้ เรียกวา เปนโชคดี ตอนนั้นอายุ ๒๙ ป
เตรยี มจะลาสกิ ขาอยแู ลว ในตอนนนั้ กม็ ลี ูกสาวทนาย มาใสบาตรอยเู รอื่ ย สวย บางทีก็มาขอ
สบงจีวรของเราไปซัก แตห ลวงปูก็ไมใ ห”

๗๑หลวงปูจันทรศรี จนฺททโี ป

๑๕ วันแหงกำไรชีวติ พรหมจรรย

หลวงปูจันทรศรี เลาถึงประวตั ิทา นตอ วา
“หลวงปูไดหลักการ
ปฏิบัติสมถวิปสสนากัมมัฏฐาน
จากหลวงปูม่ัน ภูริทตฺต
มหาเถร ผูทรงคุณวุฒิดาน
วิปสสนาธุระ เปนพระบูรพา
จารยของพระธดุ งคกมั มัฏฐาน
เปนจำนวนมาก โดยเฉพาะ
ในภาคอีสาน การท่ีไดรับการ
ศึกษาอบรมจิตภาวนากับทาน
๑๕ วัน สามารถทำจิตของ
ตนใหม่ันคงในการดำรงเพศ
สมณะ ต้ังแตน้ันมาพยายาม
ภาวนาตามแบบท่ีทานสอน
คือ เอาพุทโธ คำเดียวน่ันละ
และก็พิจารณาอสุภกรรมฐาน
ไปดวย ผลที่ไดรับคือจิตสงบ เยือกเย็น จากส่ิงแวดลอมภายนอกท่ีจะมากระทบทางตา หู
จมกู ลน้ิ กายและใจ ไดร ับแสงสวา ง อันเกดิ จากภาวนาตามสมควรแกฐ านะ นบั วาเปนลาภ
อนั ประเสรฐิ ซึ่งเกิดจากดวงจติ ของเรา ซึง่ เปนส่งิ ทนี่ าอัศจรรยย ิง่ นัก ถงึ กบั ทา นพูดกับหลวงปู
วา “มหาภาวนาเปน ควรเลิกเรยี นปริยตั ิ ออกปฏบิ ัติกมั มฏั ฐานอกี จะไดพน ทกุ ข ประสบแต
ความสขุ กาย สุขใจ ไมตอ ง เวียนวา ยตายเกิดในวัฏสงสารอีก ดงั น้ี เปน ตน ”
เปนอันวาไดอุปฏฐากใกลชิดกับหลวงปูม่ัน ภูริทตฺตมหาเถร ช่ัวระยะหน่ึงเปนเวลา
๑๕ วัน ทานจึงจากไป ในปน้ันหลวงปูไดกำไรแหงชีวิต ทำศาสนกิจอยูในเพศพรหมจรรย
จนถึงปจจบุ นั ”

๗๒ สรุ ยิ าสอ งฟา จันทรศ รีสองธรรม

สมเด็จพระสังฆราช (วาสน) วดั ราชบพิธฯ เสด็จ งานบำเพญ็ กุศลศพครบรอ ยวนั
พระอาจารยฝ น อาจาโร ณ วดั ปาอุดมสมพร โดยมีหลวงปจู ันทรศ รี ติดตามมาดว ย

๗๓หลวงปูจ นั ทรศ รี จนฺททีโป

หลวงปูจนั ทรศ รี จนฺททีโป (ที่ ๔ จากซา ย)
พระเถรานเุ ถระศษิ ยานศุ ิษยทานพระอาจารยม่ัน ภรู ทิ ตตฺ เถร

ทีม่ ารวมในงานพระราชทานเพลิงศพหลวงปูฝน อาจาโร
ณ วดั ปาอดุ มสมพร ต.พรรณา อ.พรรณานคิ ม จ.สกลนคร

เม่อื วันท่ี ๒๑ มกราคม พทุ ธศักราช ๒๕๒๑

๗๔ สรุ ิยาสอ งฟา จนั ทรศ รสี อ งธรรม

พรรษาท่ี ๑๒ (พ.ศ. ๒๔๘๕)

จำพรรษา ณ วดั บวรนิเวศวิหาร กรุงเทพฯ
กลับคืนสำนกั เรียน

ศกึ ษา ป.ธ.๕ ตอ

ในพรรษาน้ี (พ.ศ. ๒๔๘๕) หลวงปูจนั ทรศรี จำพรรษาทีว่ ดั บวรนเิ วศวหิ ารเพ่อื ศึกษา
ป.ธ.๕ ตอ และเปนปท่ีน้ำทวมใหญท่ีกรุงเทพฯ เลยไมไดถูกสงไปตางจังหวัด ไดอยูเรียน
หนังสือตอ ระหวางที่จำพรรษาอยูน้ันก็ไดฝกหัดภาวนา ตามแบบอยางที่ไดศึกษาอบรมมา
กับหลวงปมู ั่น

งานถวายเพลงิ ศพหลวงปเู สาร

หลวงปูจันทรศรี ไดเปนพระอนุจรติดตาม สมเด็จพระมหาวีรวงศ (อวน ติสฺโส)
วัดบรมนวิ าสฯ กรุงเทพฯ ไปปลกู ตนพระศรีมหาโพธ์ิ ทวี่ ดั ธาตุพนม อำเภอธาตพุ นม จงั หวดั
นครพนม เสร็จแลวไปในงานถวายเพลิงศพ หลวงปูเสาร กนฺตสีโล พระบูรพาจารยฝาย
วิปสสนาธุระ ซึ่งกำหนดจัดงาน ระหวางวันท่ี ๑๐-๑๖ เมษายน ๒๔๘๖ ไปถึงงานตอนค่ํา
คนเยอะมาก เพราะนอกจากถวายเพลิงศพของหลวงปูเสารแลว ยังมีพระเถระผูใหญอีก
๓ รปู ที่มีการถวายเพลงิ ศพในวันเดยี วกันคือ ๑. ทา นเจาคุณพระศาสนดลิ ก (เสน ชิตโสโน)
๒. พระมหารัฐ รฏฐปาโล ๓. พระครูวโิ รจนร ตั โนบล (บญุ รอด นนฺตโร) จงึ เปนวันแหงความ
เศราสลดใจที่มีการสูญเสียพระมหาเถระช้ันผูใหญคราวเดียวกันถึง ๔ รูป ซึ่งเปนที่เคารพ
นับถือของชาวจังหวัดอุบลราชธานี และในงานถวายเพลิงศพหลวงปูเสาร กนฺตสีโล นี้เอง
สมเด็จพระมหาวีรวงศ (อวน ติสฺโส) ไดกลาวขอโทษทานพระอาจารยม่ัน และยอมรับวงศ
พระกัมมัฏฐาน

“สมเด็จพระมหาวีรวงศ ติสฺโส (อวน) วัดบรมนิวาสฯ ทานรูเน้ือรูตัวตอนไปเผาศพ
หลวงปเู สาร พอไปเผาศพหลวงปูเสารเสร็จแลว ตอนนั้นไปพบกับหลวงปูมั่น เราเขาไปกราบ
ทาน เออ ทา นมั่น ผมตองขอโทษวงกมั มัฏฐานเรามากๆ นะ ตอนนัน้ ผมกำลังเปน บา ยศ นก่ี ็
ดีอยางหน่ึง เปนบายศไลพระกัมมัฏฐานออกจากปา ก็เทากับไลพระพุทธเจาออกจากปา
ตวั เทาอ่งึ ไปไลราชสหี อ อกจากปา ทานวา อยา งนนั้ ... พอเจา คณุ อปุ ช ฌายเ รานีล่ ะ ทานเจาคณุ
ธรรมเจดยี ไปฟง อยดู ว ยกนั ซี ทา นรสู ึกวา ทา นดีใจจนน้ำตาทานรว งนะ ...

(หลวงตาพระมหาบวั าณสมปฺ นฺโน วันที่ ๓๐ มนี าคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑)

๗๕หลวงปูจ นั ทรศรี จนทฺ ทโี ป

ประวัตหิ ลวงปูเสาร กนตฺ สโี ล

ทานเกดิ เมื่อวนั ที่ ๒ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๔๐๒ ณ บานขา โคม ตำบลหนองขอน อำเภอ
เมือง จังหวัดอุบลราชธานี อุปสมบทเปนพระมหานิกาย ณ วัดใต ตำบลในเมือง อำเภอเมือง
จังหวัดอุบลราชธานี ตอมาไดญัตติเปนพระธรรมยุตที่วัดศรีทอง อำเภอเมือง จังหวัด
อบุ ลราชธานี โดยพระครทู า โชตปิ าโล เปนพระอุปช ฌาย

หลวงปูเสาร กนฺตสีโล เปนผูมีความสงบเสงี่ยม พูดนอย อัธยาศัยเยือกเย็น หนักแนน
ในพรหมวิหาร เจริญเมตตาเปนสาธารณะ เมื่อครั้งทานพำนักที่บานกุดเม็ก อุบลราชธานี
ทานพระอาจารยม ั่น ภรู ทิ ตโฺ ต ครงั้ ยงั เปนฆราวาส ไดเ ขา มาอุปฏ ฐากรับใช และไดฝก หัดอบรม
สมาธภิ าวนา ตอมาทา นไดช กั ชวนใหออกบวช และไดต ิดตามหลวงปเู สาร ออกธุดงคตามสถาน
ทว่ี เิ วกตางๆ

หลวงปเู สาร ทานปรารถนาเปน พระปจเจกพุทธเจา ตอ มาไดละความปรารถนาเดิมเปลย่ี น
มาเพ่ือเปนพระอรหันตสาวกในศาสนาของพระสมณโคดมน้ี ทานพระอาจารยมั่น ทานเคารพ
เทดิ ทูนหลวงปเู สาร มากเพราะเคยเปน สามเณร ของทานมาแตก อน

ทา นมรณภาพ ในอิรยิ าบถน่งั ขณะกม กราบพระประธานในพระอโุ บสถ วดั มหาอำมาตยาราม
นครจำปาศกั ด์ิ เม่ือวนั ท่ี ๓ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๔๘๔ สริ อิ ายุรวม ๘๒ ป ๓ เดือน

๗๖ สุรยิ าสองฟา จันทรศ รสี อ งธรรม

สมเดจ็ พระมหาวีรวงศ (อวน ติสโฺ ส) วดั บรมนิวาสฯ
ไปปลูกตน พระศรีมหาโพธ์ิ ณ วดั พระธาตุพนม ในป พ.ศ. ๒๔๘๖

โดยมีหลวงปจู ันทรศ รี ตดิ ตามมาดว ย

๗๗หลวงปจู นั ทรศรี จนทฺ ทีโป

ทา นพระอาจารยเสาร กนฺตสีโล และสานุศิษยบ รรพชิต
บนั ทกึ ภาพรว มกนั ณ สำนกั วดั ปา ขาโคม หรือวัดปาหนองออ

บานขาโคม ต.หนองขอน อ.เมอื ง จ.อบุ ลราชธานี
๑. พระอาจารยอยุ บานหนองดินดำ อ.วารชิ ภมู ิ จ.สกลนคร ๒. พระอาจารยบวั พา ปฺาภาโส

๓. สามเณรหงสทอง ธนกญั ญา ๔. สามเณรผาย ๕. สามเณรคำดี
๖. พระอาจารยทองรัตน กนฺตสโี ล ๗. พระอาจารยทอง อโสโก
๘. พระอาจารยด ี ฉนฺโน ๙. พระอาจารยส งิ ห ขนฺตยาคโม
๑๐. พระอาจารยม หาปน ปฺ าพโล

๗๘ สุรยิ าสอ งฟา จันทรศ รสี องธรรม
พรรษาที่ ๑๓-๒๒ (พ.ศ. ๒๔๘๖-๒๔๙๖)

จำพรรษา ณ วัดธรรมนมิ ิต อำเภอเมือง จงั หวดั สมุทรสงคราม
เปนผูออนนอมเชอื่ ฟง ผใู หญ

ชวยประสานความเขาใจ ทงั้ ธรรมยุตและมหานิกาย

สมเดจ็ พระสงั ฆราชเจา วชริ ญาณวงศ (ม.ร.ว.ชืน่ สุจิตโฺ ต) ทรงมพี ระบญั ชาใหห ลวงปู
จันทรศรี ไปเปนครูสอนพระปรยิ ัตธิ รรม แผนกธรรม แผนกบาลี ไวยากรณ ป.ธ.๓-๔ สำนกั
เรยี นวดั ธรรมนมิ ติ ตำบลบางแกว อำเภอเมือง จงั หวัดสมุทรสงคราม ๑๐ ป

อโุ บสถ วดั ธรรมนิมิต พ.ศ. ๒๔๗๑ โรงเรียนสอนพระปรยิ ัติธรรม สมัยแรก

หลวงปูจันทรศรี เลาเหตุการณตอนนี้ใหฟงวา “ป พ.ศ. ๒๔๘๖ ตองการจะเรียน
หนังสือตอพอดี กอนจะเขาพรรษา ได ๓ วัน เจาคุณพระราชสุทธิโมลี (มหาปน สุภฺโร)
เจาอาวาสวัดธรรมนิมิต จังหวัดสมุทรสงครามมากราบทูลสมเด็จฯ วา อยากไดพระมหา
เปรียญไปชวยสอนพระใหม สมเด็จฯ ทานก็เรียกเขาไปถามวา “จะไปไหม” ก็กราบทูลวา
“หลวงปู ใหไป... ก็ไป...” ทานบอกวาตองอดทนจำใจอยู ทั้งท่ีอยากกลับมาวัดบวรฯ
เพราะพระเถระผใู หญ วดั บวรฯ ตองการใหอยทู นี่ ั้นเพอ่ื ชว ยประสานความเขา ใจ ท้ังคณะสงฆ
ธรรมยุตและมหานิกายใหอยูดวยกันอยางผาสุกรมเย็น” โดยหลวงปูจันทรศรี ไดรับแตงตั้ง
ใหเปนผูชว ยเจาอาวาสวัดธรรมนมิ ิตร ต.บางแกว อ.เมอื ง จ.สมุทรสงคราม

๗๙หลวงปูจันทรศรี จนฺททีโป

ในชวงเวลา ๑๐ พรรษา ที่หลวงปูจันทรศรี ชวยประสานความเขาใจ ท้ังธรรมยุต
และมหานิกายตามพระบัญชาสมเด็จพระสังฆราชเจาวชิรญาณวงศ ทานทำหนาที่ได
เปน อยางดมี าก แมจ ะมอี ุปสรรคมากมายเขามาในชีวิตทาน ทานกใ็ ชข นั ติ และความเมตตา
โดยไมย อ ทอแตอ ยา งใด จนทานสามารถทำให คณะสงฆธรรมยุต และ มหานิกาย อยดู วย
กนั อยา งผาสุกรม เยน็

วิหารหลวง สถานท่ีประดิษฐาน พระพทุ ธไสยาสน วดั ธรรมนิมิต

ประวตั ิวัดธรรมนมิ ิต
เทศบาลเมอื ง จ.สมทุ รสงคราม

วัดธรรมนิมิต เปนวัดโบราณ สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย ไมปรากฏวาใครเปนผูสราง
เพราะไดร กรางมาตลอด จนกระท่งั มชี าวจีนอพยพลีภ้ ยั จากผูกอการรายองั้ ย่ี ในสมยั รชั กาลท่ี ๓
จากจังหวัดฉะเชิงเทราและชลบุรี มาตั้งรกรากทำมาหากินขึ้นท่ีบริเวณนี้ มีอาชีพทำการประมง
และเล้ียงเปด ไดชวยกันบูรณะวัดรางนี้ข้ึน เรียกวา “วัดคอกเปด” คงจะนำเปดมาเลี้ยงกัน
ที่บริเวณวัดน้ี สวนชื่อ “วัดธรรมนิมิต” คงจะต้ังข้ึนภายหลังจากการต้ังคณะธรรมยุตในสมัย
รัชกาลที่ ๔ เพราะมีหลักฐานวา วัดน้ีเขาอยูในสังกัดของคณะสงฆ เมื่อ พ.ศ. ๒๓๗๓ สมเด็จ
พระมหาสมณเจากรมพระยาวชิรญาณวโรรส เคยเสด็จมาทอดพระเนตรวัดนี้ เม่ือวันท่ี ๒๖
พฤศจิกายน พ.ศ.๒๔๘๕ วัดธรรมนิมิตไดรับการบูรณะปฏิสังขรณตลอดมาจากกตระกูลคหบดี
ชาวแมก ลอง หลายตระกลู จนมาถึงทกุ วันน้ี

๘๐ สรุ ยิ าสอ งฟา จันทรศรสี องธรรม

หลวงปมู ่ัน อาพาธคร้ังสุดทาย ลาวฏั สงสาร

ปพ.ศ. ๒๔๙๒ ซ่งึ เปน ปทีห่ ลวงปูมั่น ภูริทตฺโตมอี ายุยางขนึ้ ๘๐ ป ทานเร่ิมอาพาธ
เปนไข ศิษยผูอยูใกลชิดก็ไดเอาธุระรักษาพยาบาลไปตามกำลังความสามารถ อาพาธก็สงบ
ไปบางเปน ครั้งคราว แตแ ลวกก็ ำเรบิ ขึ้นอีกอาการอาพาธของทา นเร่ิมหนักข้นึ เปน ลำดบั จนผทู ่ี
เกี่ยวของไมพากันนิ่งนอนใจได จึงไดกราบขออนุญาต ขอถวายความปลอดภัยใหทาน
โดยจัดเวรคอยดูแลบนกุฏขิ องทาน ๒ รูป และใตถนุ กฏุ ิ ๒ รูป ทานกอ็ นุญาต จึงจดั เวรถวาย
เปน เชนนี้เร่ือยมาตั้งแตยังไมเขา พรรษา

พอออกพรรษาแลว ศิษยานุศิษยผูอยูไกลตางก็ทยอยกันมากราบเยี่ยมและเขามา
ปฏิบัติทานมากขึ้นเปนลำดับอาการทานรูสึกหนักเขาทุกวัน ทานจึงไดประชุมเตือนบรรดา
ศิษยท้ังหลายใหทราบวา “การปวยครั้งน้ีไมหาย ตองตายแนนอน แตผมไมอยากตายอยูท่ี
บานหนองผือน้ีเพราะสัตวที่จะตองตายเพราะผมเปนเหตุน้ันมีจำนวนมากมาย เพราะคน
จะมามาก ท่ีน่ีไมมีตลาดแลกเปล่ียนซ้ือขายกัน ผมมีแตความเมตตาสงสารไมเคยคิดใหสัตว
ทั้งหลายตองเดือดรอนขอใหนำผมไปตายท่ีสกลนครเพราะท่ีนั้นเขามีตลาดอยูแลว” ท่ีประชุม
ตกลงตามความประสงคของทาน เดมิ ทีเดยี วบรรดาญาติโยมบา นหนองผอื มีความประสงคว า
ขอใหทานมรณภาพท่ีน่ี พวกเขาจะเปนผูจัดการศพเอง ถึงแมวาพวกเขาจะยากจนเพียงไร
ก็ตาม แตพอไดยินเหตุผลอันเปนธรรมของทาน จำตองยอมทั้งท่ีมีความเลื่อมใสและอาลัย
เสียดายทาน ทั้งพระและญาติโยมก็ไดชวยกันเตรียมแครเพ่ือหามหลวงปูม่ัน จากวัดปาบาน
หนองผอื ไปสกลนคร โดยไดแวะพกั ทว่ี ดั บา นภู เปนเวลา ๑๐ วัน จากน้นั คุณแมน มุ ชุวานนท
เดินทางมาจากสกลนครกราบอาราธนานิมนตทานเดินทางโดยรถยนตตอไปยังวัดปา
สทุ ธาวาส อ.เมอื ง จ.สกลนคร กอนข้นึ รถไดฉีดยานอนหลบั ถวายทา นเพอ่ื กนั ความกระเทอื น
เวลารถวิ่ง ออกเดินทางหลังฉนั เชาเสรจ็ ไปถงึ สกลนคร เท่ยี งวนั พอดี

เขา สอู นปุ าทเิ สสนิพพาน

เมอื่ ถงึ วดั ปา สทุ ธาวาส จงั หวัดสกลนคร แลว จึงอาราธนาทานข้ึนไปพกั บนกุฏิรบั รอง
ท่เี ตรียมไวแลวโดยท่ีทา นกำลังหลับอยู ประมาณเท่ียงคนื ทา นจึงตนื่ ข้ึน ราวตี ๑ น. อาการ
ขององคทา นกเ็ รม่ิ ผิดปกตเิ ปน ไปในทางทีไ่ มนา ไวใจ พระเถระผใู หญ ตางกร็ บี มาทีก่ ฏุ ิ พรอม
กันนั่งดวยความสงบย่ิง สายตาตางจดจองไปดูอาการทาน ซึ่งเบ้ืองตนทานนอนสีหไสยาสน

๘๑หลวงปูจันทรศรี จนฺททีโป

ตอมานอนอยูในทากึ่งหงายก่ึงตะแคงขวาเพราะออนกำลังมาก โดยพระเถระผูใหญชวยขยับ
หมอนรองหลัง แตไ มไดถ ึงกับตะแคงขวา เพราะดูอาการทา นเหน่อื ยมากจงึ ตอ งหยุด เกรงจะ
กระเทือนทานมาก ลมหายใจก็แผวเบามากและเบาลงๆ ตามลำดับ ลมคอยออนลงและ
ชาลงทุกทีและละเอียดไปตามกันจนแทบไมปรากฏ และคอยหายเงียบไปอยางละเอียดสุขุม
จนไมส ามารถทราบไดวาทา นสน้ิ ไปเม่อื ใด เพราะอวัยวะทุกสว นไมไดแ สดงอาการผิดปกติใดๆ
ทานเจาคุณพระธรรมเจดีย เห็นผิดสังเกต จึงพูดขึ้นวาไมใชทานสิ้นไปแลวหรือ พรอมกับดู
นาฬกา ตรงกับเวลา ๐๒:๒๓ น. วันที่ ๑๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๙๒ ในทามกลาง
ศิษยานุศิษยท้ังหลาย มีทานเจาคุณพระธรรมเจดียเปนตน รวมอายุได ๗๙ ป ๙ เดือน
๒๑ วนั พรรษา ๕๖

งานถวายเพลิงศพหลวงปมู ั่น ภรู ิทตฺโต ในวนั ที่ ๓๐ มกราคม พ.ศ.๒๔๙๓ หลวงปู
จนั ทรศรี ตดิ การคมุ สอบนกั ธรรม ก็เลยไมไ ดข ้นึ มารวมงาน รสู ึกเสียดายเปน อนั มาก

ครูบาอาจารยพระปา กรรมฐาน สานศุ ิษยห ลวงปมู ่ัน ภรู ิทตโฺ ต
จากซาย : หลวงปสู วุ ัจน สวุ โจ, พระอาจารยสิงหทอง ธมั มวโร, พระอาจารยกวา สุมโน,

หลวงตาพระมหาบวั าณสมปฺ นฺโน, เทสรํสี, หลวงปอู อ น าณสิริ,
พระอาจารยช ม (ไมท ราบฉายา) หลวงปกู งมา จริ ปุฺโ, หลวงปูออ นศรี สุเมโธ, หลวงปูเ หรียญ วรลาโภ

๘๒ สุรยิ าสองฟา จันทรศ รีสอ งธรรม

ศิษยานุศษิ ยห ามแครหลวงปมู ่ัน ขณะอาพาธจากจากวดั หนองผอื นาใน
เพือ่ ไปยังวดั ปา สุทธาวาส จ.สกลนคร

๘๓หลวงปจู นั ทรศ รี จนทฺ ทีโป

ศษิ ยานศุ ิษยข องหลวงปมู ัน่ ภรู ทิ ตตฺ เถร ในวันถวายเพลิงศพ หลวงปูมนั่

๑. สมเดจ็ พระมหาวรี วงศ (พมิ พ ธมมฺ ธโร) ๒๐. หลวงพอ ขนุ ศกั ด์ิ
๒. พระพรหมมนุ ี (ผิน สุวโจ ) ๒๑. หลวงพอทองสขุ
๓. พระธรรมเจดีย (จมู พนธฺ ุโล) ๒๒. ไมท ราบชอ่ื
๔. พระเทพวรคุณ (อ่ำ) ๒๓. ไมทราบชื่อ
๕. ไมทราบชื่อ ๒๔. พระครูอุดมธรรมคณุ (ทองสขุ สจุ ิตโฺ ต)
๖. พระเทพญาณวิศิษฐ (เติม) ๒๕. เจา คณุ พระราชฯ (วดั ศรีโพนเมอื ง สกลนคร)
๗. พระอริยคุณาธาร (ปสฺโส เสง็ ) ๒๖. พระอาจารยบุญมา ฐิตเปโม
๘. พระธรรมบัณฑติ ๒๗. พระอาจารยก งมา จิรปุฺโ
๙. พระญาณวิศิษฐ (สิงห ขนฺตยาคโม) ๒๘. พระอาจารยอ วน
๑๐. พระพศิ าลสุธี (ทองอนิ ทร) ๓๐. พระราชวฒุ าจารย (หลวงปดู ูลย อตโุ ล)
๑๑. ไมท ราบชอ่ื ๓๑. ไมท ราบชื่อ
๑๒. หลวงปขู าว อนาลโย ๓๒. ไมท ราบช่ือ
๑๓. ไมท ราบชอ่ื ๓๓. พระเกตุ วณฺณโก
๑๔. เจา คณุ พระราชฯ ๓๔. พระราชสังวรญาณ (หลวงพอ พุธ ฐานิโย)
๓๕. พระสุธรรมคณาจารย (แดง)
(เจา คุณเจาคณะจงั หวัดนครพนม) ๓๖. พระครปู ญ ญาวราภรณ
๑๕. พระราชนิโรธรงั สี คัมภรี ปญญาวิศษิ ฐ ๓๗. พระวนิ ัยสนุ ทรเมธี (เจาคณะจ.ขอนแกน)
๓๘. พระอาจารยก ู ธมมฺ ทนิ โน
( เทสรสํ ี) ๓๙. พระครวู ฒุ ิวราคม (พุฒ)
๑๖. ไมทราบชื่อ ๔๐. พระอาจารยอ อนสา
๑๗. หลวงปูฝน อาจาโร
๑๘. พระอาจารยกวา สมุ โน
๑๙. พระธรรมวสิ ุทธมิ งคล

(หลวงตาพระมหาบวั าณสมปฺ นโฺ น)


Click to View FlipBook Version