The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

๑๐๑ สุริยาส่องฟ้า จันทร์ศรีส่องธรรม หลวงปู่จันทร์ศรี จนฺททีโป

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ทีมงานกรุธรรม, 2022-07-10 00:29:27

๑๐๑ สุริยาส่องฟ้า จันทร์ศรีส่องธรรม หลวงปู่จันทร์ศรี จนฺททีโป

๑๐๑ สุริยาส่องฟ้า จันทร์ศรีส่องธรรม หลวงปู่จันทร์ศรี จนฺททีโป

Keywords: ๑๐๑ สุริยาส่องฟ้า จันทร์ศรีส่องธรรม หลวงปู่จันทร์ศรี จนฺททีโป

๒๘๔ สรุ ยิ าสอ งฟา จนั ทรศรสี องธรรม

เพราะบรรดาสัตวท้ังปวงน้ันยอมเวียนวายตายเกิดอยูในวัฏสงสารไมมีท่ีสิ้นสุด เกิดแลวก็ตาย
ตายแลวก็เกิด แตวาการเกิดน้ันท่ีเราเกิดมาเปนมนุษยพบพระพุทธศาสนาน้ีนับวา เปนลาภ
อันประเสริฐ เม่ือเกิดขึ้นมาแลวเราก็ไดมาพบคำสอนของพระพุทธเจาซึ่งหาไดโดยยาก
เม่ือเรามาพบเชนนี้แลวเราก็ไดพากันต้ังใจมาฝกฝนอบรมจิตใจของตนวันละเล็กละนอยเทาที่
เราจะทำได

ตกน้ำไมไ หล ตกไฟไมไ หม

แมวาจะมีเงินทองขาวของมากๆ คนละเทาน้ันลานเทาน้ีลานรอยลานพันลาน
หม่นื ลา นอะไรกต็ ามที ส่ิงเหลา นั้นเปน เคร่ืองทที่ ำใหใจของเรานั้นไมสงบ คอื มนั กลัวแตเ ขาจะ
มาแยง ชงิ เอาไป

ถาทรัพยภายใน คือศรัทธาและศีลธรรมท่ีมีในใจของเราน้ี ตกน้ำไมไหล ตกไฟ
ไมไหม โจรผูรายก็แยงชิงเอาไปไมไดเพราะมันอยูในดวงจิตของเรา เม่ือเราจะจากโลกนี้ไป
คอื หมายความวา เราตาย กอนทจ่ี ะตายนั้น ภาคปฏบิ ัติคอื การรักษาศลี ท่เี ราไดร กั ษาศลี ๕
ก็ดี ศีล ๘ ก็ดี เปนครั้งเปนคราวหรือรักษาเปนนิจศีล เวลาจะตายจิตน้ันจะตองคำนึง
ถึงวาเราเคยไดใหทาน เคยรักษาศีล เคยฟงพระธรรมเทศนา เคยภาวนาอบรมจิตใจของตน
ใหปราศจากมลทินโทษทัง้ หลายนัน้ ยอ มมาปรากฏในดวงจติ ของเรานกึ อยู

ถาในขณะนั้นจิตออกจากรางของเราในเวลาท่ีจิตนึกถึงสวนบุญ สวนกุศล ท่ีทุกๆ
คนไดบำเพ็ญไวจะนอยหรือมากก็ตามที จิตจะตองไปยึดอยูในอารมณอันนั้น เม่ือไปกอภพ
กอชาติ ในชาติหนานน้ั บางทีถา จติ คิดแตใ นบญุ กุศล ก็ไดก ลับมาเกดิ เปนคน คอื เปน มนษุ ย
อีกแตเปนมนุษยท่ีบริสุทธ์ิ และมีทรัพยสมบัติมาก ในฐานะที่ดีดวยบุญกุศลอันนั้นท่ีได
ตามสนับสนุน

ดังน้นั ทา นทงั้ หลายไดหาทรัพยภ ายในไวเชนนี้ ก็เรยี กวา เปนกำไรของชวี ิตท่ีเราเกดิ
มาในชาติหนึ่งๆ เทากับวาเรามาคาขาย เราไดตนทุนมาจากมารดา บิดา ครบบริบูรณแลว
จากน้ันเราก็มาสรางสมอบรมเพิ่มเติมตอไปอีก บุญน้ันก็ยิ่งเพ่ิมมากข้ึนและตัวของเราจะเปน
ผูที่ยึดถือบุญน้ันไว ทำใหจิตใจเบิกบานหรรษา มีความสงบเยือกเย็นไมคิดไปในทางที่ชั่ว
และตง้ั ใจจะทำแตความดเี รื่อยไป

๒๘๕หลวงปจู นั ทรศ รี จนทฺ ทโี ป

ตายชนดิ ปกปด

ทรัพยภายในน้ีหาไดยาก สาเหตุเปนเพราะคนโดยสวนมากติดทรัพยภายนอก
ซึ่งเปนอามิส แมจะมีเงินทองขาวของจนนับไมถวนเปนเศรษฐีมหาเศรษฐีก็ตามที ถาเรา
ใชปญญาพิจารณาใหดีพรอมทั้งลองต้ังสติและสัมปชัญญะ นั่งกำหนดอยูเปนปจจุบันทวน
กระแสจิตของเรากลับไปต้ังแตเราเกิดหรือคลอดออกมาจากทองมารดาของเราน้ันเปนอยางไร
บาง เทาท่จี ะระลึกไดพบวา เราเกิดมาแตต วั เปลา ๆ ไมไ ดมเี ส้อื ผาอาภรณ เงนิ ทองขา วของ
ติดตัวมาดวย ติดมาแตอวัยวะรางกายซึ่งเรียกวาเบญจขันธ มีรูป เวทนา สัญญา สังขาร
ซึ่งตดิ มา แลวกม็ ีวิญญาณ คือ จติ ใจเปนผูบงั คบั บญั ชา ตอมารางกายของเรานน้ั ก็แปรปรวน
ไปตามธรรมชาติเพราะจะใหมันอยคู งที่ไมได ซึง่ ตกอยูในลกั ษณะทง้ั ๓ ประการ คอื อนจิ จตา
เปนของไมเท่ียง ทุกขตาความเปนทุกข อนัตตตาความไมใชตัวตน ก็เปนทุกขก็ตามมา
เร่ือยๆ แตเราท้ังหลายไมไดหวนระลึกดูวารางกายของเราน้ันเปนอยางไร มีแตดีใจวาเจริญ
เติบโตขึ้นตามลำดับ จากวัยเด็กสูวัยหนุมสาวจนกระท่ังเขาสูวัยชรา รางกายของเรานั้นตาย
ไปชนิดที่วาเรามองไมเห็นเรียกวาตายชนิดปกปด เมื่อคิดไดเชนน้ีเราจึงตองการคนหา
ความจริง คือ สัจธรรมของพระสัมมาสัมพุทธเจาอันเปนของจริง มีอยูจริง แตพวกเรา
ไมเขา ใจ ไมฉลาดและไมสามารถทจี่ ะคนคดิ แสวงหาขน้ึ มาได

๒๘๖ สรุ ิยาสอ งฟา จันทรศ รีสอ งธรรม

เนกขมั มะบารมี

ความดอี ันขาวบรสิ ทุ ธิ์

ใจเปนใหญ

ดังนั้นทานท้ังหลาย ขอใหมีความสุขกายสบายใจ ไดปฏิบัติตามธรรมะคำสอนของ
พระสัมมาสัมพุทธเจา ซึ่งจะยกขึ้นในเบื้องตนวา “ธมฺโม หเว รกฺขติ ธมฺมจารึ” ธรรมเปน
ท่ีรักษาบุคคลทุกคนใหอยูเย็นเปนสุข มีความสุขกายสบายใจ ไดตั้งใจทำชีวิตของตนใหเปน
ผล คอื มีความสขุ ทางกาย ทางวาจา และทางใจ ขอสำคญั ใจของเรา ใจเปน ใหญ ใจเปน
หัวหนา ใจเปน ผบู ังคบั บัญชา ใหก าย วาจา ทำอยา งนั้น บัดนีเ้ ราไดบ วชเปน ชีพราหมณแลว
ใหต้ังใจภาวนา เอาสติกำหนดจิตใจวา ในวันหนึ่งๆ นับต้ังแตต่ืนข้ึนมา ใจไดคิดอะไรบาง
วาจาไดพูดอะไรบา ง กายไดทำอะไรบา ง ใหเ ราระลึกนึกถึงอยูเ สมอวา “พุทโธ คือ เปน ผเู บกิ
บาน” ไดแกพระสัมมาสัมพุทธเจา ซ่ึงเปนพระบรมครูของเราทั้งหลาย ถึงแมวาพระองคจะ
เสด็จดับขันธปรินิพพานไปนานแลวก็จริงอยู แตคุณงามความดี คือ ธรรมะคำสอนของ
พระองคยังประทับอยูในจิตใจของพวกเราจะทำอะไรซ่ึงมันเปนสิ่งท่ีไมดีไมงาม ก็ละเวนตาม
ที่โอวาทพระพุทธเจาไดสอนไววา “สพฺพปาปสฺส อกรณํ” การไมกระทำบาปนี้ประการหนึ่ง
“กุสลสฺสูปสมฺปทา” การยังกุศล คือ ความเฉลียวฉลาดใหถึงพรอม “สจิตฺตปริโยทปนํ”
การยังจิตของตนใหผองใส น้ีเปนคำสอนของพระพุทธเจาอยางยอๆ เราก็นำเอามาประพฤติ
ปฏบิ ตั ิตามแลว ก็ไดร ับความสขุ มีความสุขกายสบายใจ

ใหตั้งใจปฏิบตั ใิ นปจจบุ นั

ดังน้ันในวันน้ีหลวงปูไดอุตสาหพยายามมาเยี่ยมญาติโยมในงานนี้ เมื่อมาเห็น
ญาติโยมนุงขาวหมขาว ก็มีความปล้ืมปติยินดีเปนอยางย่ิงทุกส่ิงทุกอยางที่ผานไปก็ใหไปตาม
อากาศ ใหต้ังใจปฏิบัติในปจจุบัน ในปจจุบันเราทำดี ในอนาคตก็ตองเปนคนดี มีศีลธรรม
ประจำใจ ถาตั้งใจรักษาใหดี เม่ือเราละจากโลกน้ีไป เราก็ไดมีดวงวิญญาณน้ันไปต้ังอยู
หรือไปประดิษฐานอยูในโลกสวรรค อันเปนท่ีปรารถนาของคนท่ัวไป จัดวาเปนทรัพยภายใน
สวนทรัพยภายนอก คือ เงินทองขาวของ ไรนาสาโทอะไร เราก็เวลาหมดลมหายใจก็เอาไป
ไมไ ด สวนท่ีจะเอาไปได ก็คอื บญุ กศุ ลท่เี ราทำอยู ณ บัดนี้ เปนเครอ่ื งทจี่ ะติดตามดวงใจของ
เราไปทกุ หนทกุ แหง

หลวงปูจนั ทรศรี จนทฺ ทีโป ๒๘๗

ความไมประมาท

การใชช วี ิตทคี่ ุม คา

เราจะเอาอะไรไป

อยางครูบาอาจารยทานสำเร็จมาหลายทาน หลายองคแลว ก็เพราะปฏิบัติธรรมะ
คำส่ังสอน ของพระสัมมาสัมพุทธเจา ทั้ง ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธรวมลงอยูที่เบญจขันธ
คอื รูป เวทนา สญั ญา สงั ขาร วญิ ญาณ พระไตรปฎกกอ็ ยใู นใจ เพราะฉะน้ันใหเรารกั ษาใจ
ของเราใหมั่นคงตอไป แลวจะไดรับผลคือความสุข ความเจริญในใจของเราน้ันแล ถาใจมัน
สงบระงับแลว มันละจาก ความอยากได คือไดทรัพยสินเงินทองมามาก เทาไรกี่ลานๆ
เวลาหมดลมหายใจ ก็เอาไปดวยไมไ ดท้ิงไวก บั ลกู กับหลาน ลกู หลานกผ็ ลาญหมด เพราะฉะน้นั
ขอใหญาติโยมทุกคน นำไปพินิจคิดพิจารณาวา เราจะเอาอะไรไป คือสิ่งเราจะเอาไปคือ
คุณงามความดี ที่เราไดใหทาน รักษาศีล เจริญเมตตาภาวนา ทำจิตใจของตนใหผองใส
ตั้งใจปฏิบัติทุกวันทุกเวลา สนฺทิฏฐิโก เปนผูเห็นเอง ไมตองมีคนอ่ืนบอก อยางที่เราสวด
สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโมนน่ั เอง เพราะฉะนัน้ จงึ ขอใหญาติโยม ตง้ั ใจพจิ ารณาปฏบิ ตั ิ
ตนใหพนจากความทุกขยากลำบาก โดยประการทั้งปวง ใหทำจิตใจใหเล่ือมใส ใหสุขกาย
สบายใจ

ส่ิงท่เี ราจะเอาไปได

เราทวนกระแสไปถึงเราเม่ือเกิดมาเบื้องตน ผาสักช้ินหน่ึงก็ไมมีมาแตตัวเปลา ทีนี้
เม่ือเราจะจากโลกน้ีไปก็ไปตัวเปลา ขาวของเงินทองบานชองเรือกสวนไรนา อะไรท่ีเราหาไว
สำหรับใชประจำชีวิตประจำวัน เมื่อหมดลมหายใจ คือ ตายน้ัน ส่ิงเหลานั้นเอาไปไมได
ทุกๆ คนไมว าจะเปน เศรษฐี มหาเศรษฐี มีเงนิ จนลนฟา ลนแผนดนิ เมื่อหมดลมหายใจ คือ
ตายแลว กท็ ิ้งไวก ับโลก ซงึ่ ทา นทง้ั หลายก็ทราบอยูในใจดีแลว วา เงินทองขาวของนั้นก็ชว่ั ชีวติ
หน่งึ ที่เราจะบำรงุ ชีวิตเทานน้ั

เม่ือตายไปแลวคนอื่นเขาก็เอาไปใช เราไมไดอะไรสักอยาง สิ่งที่เราจะเอาไปไดนั้น
ก็คือ บุญกุศล ผลที่เราไดมาปฏิบัติอยู ณ บัดนี้ ถาใจสงบระงับดับกิเลสได เราก็จะไดผล
แหง การปฏิบัตินั้น ถาพดู เปน ภาษาชดั ๆ คือ สามารถขจดั ความเศราหมองในจติ ใจได ถาจติ

๒๘๘ สุรยิ าสอ งฟา จันทรศรสี อ งธรรม

เราไมเศราหมอง จิตผองแผว น่ันเรียกวาจิตไดฝกฝนอบรมแลว “จิตตํทนฺตํ สุขาวหํ จิตที่
ฝก ฝนอบรมแลว ยอ มไดร ับความสขุ ”

สติปฏฐาน ๔

ทำอยางไรจิตของเราจึงจะเปนกลางได ไมใหมันยึดสูงยึดต่ำ ใหมันอยูตรงก็ไดแก
สติ คือ ความระลึกได สัมปชัญญะ ความรูตัว ๒ อยางนี้ เปนจุดสำคัญ เราจะทำอะไร
จะเปนงานหยาบก็ตาม งานละเอียดก็ตาม ถาขาดสติแลวก็จัดวาเปนผูประมาท ทำอะไรก็
พลง้ั เผลอ บางทเี ดินไปกส็ ะดดุ ทำงานกพ็ ลาด นี่เพราะขาดสติ

ดังน้ัน พระพุทธเจาจึงสอนใหบรรดาพุทธสาวกและพุทธศาสนิกชนทั้งหลายใหพากัน
เจริญสติปฏ ฐานท้งั ๔ เปน หลัก คอื กาย เวทนา จิต ธรรม สติระลึกอยใู นกาย ระลกึ อยู
ในเวทนา ระลึกอยใู นจติ ระลึกอยูในธรรม เปน ขอๆ ไป ๔ อยางนเ้ี ปนพนื้ ฐานแหงการท่ีจะ
ทำจิตใจของเราใหละจากกิเลสอาสวะ ซ่ึงมันดองอยูในกมลสันดานของเรา ทำจิตใจของเรา
ใหเศราหมองเปนระยะเวลานาน เมื่อการใดเรามาพิจารณาได เราจึงจะรูสึกวาเรานี้ยังมี
กเิ ลสหนา ปญ ญาหยาบ ยังไมรวู า จิตใจของเรานน้ั มันเปนอยา งไร ถาพจิ ารณาใหละเอยี ดลง
ไปไดเม่ือไหร เราจะไดเห็นความสดใส แจมแจงของจิตเรานั้นวาเปนจิตท่ีสะอาดปราศจาก
กเิ ลสอาสวะทัง้ หลาย เปน จติ ท่ผี องใสอยางแทจ รงิ

เมื่อทำไดเชนนี้ เรียกวาเปนผลแหงการปฏิบัติธรรม ซึ่งเกิดข้ึนในใจของแตละบุคคล
ไมสามารถบอกใหผอู นื่ เชื่อไดวา จติ เปนเชนไร เมือ่ ยงั ไมเปน ก็ไมเ ชือ่ เพราะฉะนน้ั ตอ งรูเฉพาะ
ตัวของตัวเอง

อปุ าทานขนั ธ

กอนท่ีเราจะเกิดมาเปนมนุษยไดน้ัน เราจะตองไปเกิดเปนสัตวเดรัจฉานหลาย
ชาติภพ เมื่อชาติสุดทายท่ีเราไดมาเปนมนุษย เราตองต้ังสติ คือความระลึก สัมปชัญญะ
ความรอบรูหรือความรูตัว ระลึกนึกพิจารณาตนเองอยูเสมอวา บัดน้ีเรามีคุณงามความดี
เพียงพอหรือไม ถาไมก็ใหพยายามสรางวิริยะบารมีขึ้น คือ มีความพากความเพียร มีการ
ไหวพระสวดมนต นั่งกำหนดจติ ใจของตนวา ขณะนีจ้ ติ ของเราคิดถึงอารมณอ ะไร ซง่ึ จะผา น
เขา มาทางตา ทางหู ทางจมกู ทางลิน้ และใจเปนผยู ึดถอื พระพทุ ธเจา จงึ ใหช ือ่ วา อปุ าทาน

๒๘๙หลวงปูจนั ทรศรี จนทฺ ทโี ป

ขนั ธ คอื ใจเปนผถู ือมนั่ เชน ถอื ม่นั รา งกายของเราวา ขณะน้ีรา งกายของเรายังเขม เขง็ จะเดนิ
ไปแหงใดก็ไดสะดวกสบาย เรามาพิจารณาดูกายของเราใหเห็นวา เปนเพียงรูปรางหรือ
กองขนั ธ ๕ อันหนงึ่ เชน อยางรูป ซ่ึงเราไดร า งกายมาน้ี เมอ่ื พจิ ารณาถึงเวทนา เรานง่ั นานๆ
ก็มกี ารปวดแขง ปวดขา สัญญา คือ ความจำไดห มายรู ดงั น้เี ปนตน

ทุกคนถามาพิจารณาใหชัด ใชปญญาวินิจฉัยลงไปวา เราเกิดมาชาติหน่ึงนั้น
ชีวิตของเราจะเปนอยูไดนานเทาไร เราก็ทราบไมได เทาที่ชีวิตลวงไปๆ ถึงขณะน้ี เราลอง
นึกต้ังสติ หวนระลึก นึกถึงต้ังแตเราคลอดออกมาจากทองของแม มาจนกระท่ังถึงบัดน้ี
อายุบางทานก็อยูในระหวางกลางคน บางทานก็อยูในปจฉิมวัย คือ ๔๐, ๕๐ ขึ้นไป
สังขารรางกายน้ัน เวลาจะเดินจะเหินนั้น แข็งแรงเหมือนอยางท่ีเปนหนุมเปนสาวหรือไม
ความแข็งแรงนั้นมันลดไปๆ เรามาพิจารณาไดอยางน้ี จะไดช่ือวาเปนผูไมประมาท เปนผู
สามารถท่ีจะทำตนของตน ใหเขาถึงคำสอนของพระพุทธเจาทานสอนในหลายแงหลายมุม
เม่ือเรายอใหส้ันมาพิจารณาถึงตัวของเราเองวา เราจะมีชีวิตจิตใจอยูไปไดเพียงแคไหน
ถามองในอนาคตวา รางกายของเรา คือ ชีวิตความเปนอยูนี้ สั้นเขาทุกวันๆ เม่ือถึงวันท่ี
หมดลมหายใจนั้นก็เรียกวา ตาย ในขณะน้ีเราก็ตายอยูทุกเวลานาที หายใจออกก็ตาย
หายใจเขาก็ตาย แตวาตายชนิดนี้ เรียกวาตายชนิดท่ีปกปด ถาเราไมคิดใหดีก็ไมรูวาตาย
คือ ความแกช รา มันนำไปอยูทกุ ขณะ ไมม เี วน วา ง

เรากำลังทำอะไรอยู

เวลาเรามาปฏบิ ตั ิธรรม ความโลภ ความโกรธ ความหลง นนั้ กเ็ บาบางไปทกุ วันๆ
เราก็จำเอาไว เมื่อกลับไปถึงบานถึงชองแลวก็ใหฝกและปฏิบัติอยูอยางน้ี ในขณะที่จะหลับ
จะนอนก็ไหวพระสวดมนตเทาท่ีเราจำได แลวก็ตั้งใจระลึกนึกถึงพระพุทธ พระธรรม
พระสงฆ น่ังกำหนดดทู ล่ี มหายใจเขาออก วามนษุ ยหรอื สตั วทม่ี ลี มหายใจ ถา หมดลมหายใจ
เม่ือไหร รางกายนี้มันก็แตกสลาย คือตายนั้นเอง มนุษยเราโดยสวนมากอายุไมถึง ๑๐๐ ป
อยางมากก็ ๗๐ ๘๐ ๙๐ ป เศษๆ ก็จะตองจากโลกนี้ไปแลว เราถามตัวของเราดูวา
คุณงามความดีนั้นมีพอแลวหรือยัง ใจมันจะตอบวายัง ถายังแลวทำอยางไรถึงจะไดเพ่ิม
ขึน้ มา กค็ อื ทีป่ ฏบิ ตั ิอยปู จจุบนั น้ี

๒๙๐ สรุ ยิ าสอ งฟา จนั ทรศ รีสองธรรม

ดังน้ันพระองคจึงสอนวา ปจฺจุปนฺนฺจ โย ธมฺมํตตฺถตตฺถวิปสฺสติ น่ีเปนภาษาบาลี
เม่ือแปลเปนภาษาไทยแลวก็วา ใหมองเห็นในปจจุบัน วาเรากำลังทำอะไรอยูเราก็รูในตัว
ของเรานนั้ เอง วา บดั น้ีเรากำลังฟงพระธรรมคำสัง่ สอนของพระสัมมาสมั พทุ ธเจา

รบี ทำเอา

ความเปนจริงแลวรางกายของเราน้ีเปนสิ่งท่ีสำคัญ ที่จะสรางคุณงามความดีใหมัน
มีข้ึนในรา งกายและสำคัญท่ีสุดก็คอื ใจเปนผูร บั เอาไว เม่อื เรามาพิจารณาไดอยา งนกี้ ็ทำใหเกิด
ศรัทธา คือ ความเช่ือมั่นในตัวเองขึ้นมาวาเราจะตองจากโลกน้ีไปในวันใดวันหนึ่งก็คือ
ตาย ไดแกการหมดลมหายใจ ถาเราไมสรางความดีไวแตยังมีชีวิตอยูเดี๋ยวน้ีเมื่อเจ็บไข
ไดป วยจวนจะหมดลมหายใจไมไ ดสตแิ ลว จงึ ไปนมิ นตพระ มาสวดมนต ทำบุญ ตัวเองก็ไมร ู
วาลูกหลานทำใหท้ังน้ัน ดังน้ันพระพุทธเจาจึงสอนใหพวกเรารีบทำเอาตั้งแตยังมีรางกาย
แข็งแรงมีจติ ใจเขม แข็งอยเู ชน น้ี

หลวงปูจันทรศ รี จนฺททโี ป ๒๙๑

หอเมตตาธรรมบำบัดวกิ ฤต (ผปู ว ยหนัก)

COMPASSION INTENSIVE CARE UNIT (CICU)

ภาพจำลอง งานออกแบบ CICU

ทม่ี า หลักการ และ เหตผุ ล

โรงพยาบาลศูนยอุดรธานี ไดเริ่มกอต้ังขึ้นเมื่อป พ.ศ. ๒๔๙๔ ตลอดระยะเวลา
ท่ีใหบริการแกผูปวยกวา ๖๐ ป ท่ีผานมา ถึงแมจะไดมีการปรับปรุงพัฒนา กอสรางอาคาร
เพิ่มเติมมาโดยตลอด แตก็ยังไมพอเพียง ในการรองรับปริมาณผูมารับการรักษาพยาบาล
ที่มีแนวโนม เพิม่ ขน้ึ ทกุ ๆ ป

๒๙๒ สุรยิ าสอ งฟา จนั ทรศ รสี อ งธรรม

ภาพโรงพยาบาลศูนยอ ุดรธานี ในอดีต

ในป พ.ศ. ๒๕๕๓ โรงพยาบาลฯ ไดรองรับผูปว ยจำนวนมาก ทั้งผูปว ยใน จงั หวัด
อุดรธานี และผูปวยที่สงมารักษาจากเขตพื้นท่ีจังหวัดใกลเคียง แยกเปนจำนวน ผูปวยนอก
๗๖๐,๒๓๘ (ครัง้ ) ผูป วยใน ๗๑,๑๑๕ ราย และเน่ืองจากหอผปู ว ยหนักทางอายรุ กรรม ท่มี ีอยู
เดิมน้นั ถกู ใชงานมายาวนานเกือบ ๓๐ ป มจี ำนวนเตียงเพยี งแค ๑๐ เตยี ง จงึ ตอ งกระจาย
ผูปวย ไปพักรักษายังหอผูปวยตางๆ อีกท้ังยังขาดอุปกรณที่จำเปน จึงทำใหการดูแลรักษา
ผูปวยหนักโดยเฉพาะในภาวะวิกฤตน้ัน ไมมีประสิทธิภาพ จำตองนอนพักรักษาในหอ
ผูปวยสามญั จนทำใหผปู วยบางรายถงึ ขนั้ สูญเสยี ชีวิต หรือ ทพุ พลภาพ

ดวยเหตุน้ี แผนกอายุรกรรม โรงพยาบาลศูนยอุดรธานี จึงไดจัดทำโครงการจัดตั้ง
ศูนยบำบัดวิกฤตผูปวยหนักทางอายุรกรรมขึ้น โดยจะทำการปรับปรุง หอผูปวยอายุรกรรม
หญิง ๑ (ตึก ตา หู คอ จมูก ช้ัน ๔) ซึ่งจะยายไปอยูใน “อาคาร ๙๖ ป หลวงตา
พระมหาบัว าณสมฺปนฺโน” เพ่ือรองรับผูปวยที่มาใชบริการ เพื่อแกไขปญหาในดานตางๆ
ดงั น้ี

๒๙๓หลวงปูจนั ทรศรี จนฺททโี ป

๑. จำนวนหอ งไอซยี ู มีไมเ พยี งพอ รวมถงึ ไมม หี อ งแยกผปู ว ยตดิ เชื้อเพยี งพอ และ
ไมพ รอมท่ีจะรองรับผปู วยบางประเภท เชน ไขหวดั นก, วัณโรค เปน ตน

๒. เคร่ืองมืออุปกรณการแพทย มีไมเพียงพอ และบางสวนมีสภาพเกา ยากตอ
การซอมบำรงุ และไมส ามารถรองรบั เทคโนโลยี ที่กาวหนา ทนั สมัยได

๓. เพื่อรองรับผูปวยในแผนกอายุรกรรม ที่จะยายเขามาอยูท่ีอาคาร ๙๖ ป
หลวงตาพระมหาบัว าณสมฺปนฺโน ซ่ึงยังไมมีหองไอซียูสำหรับประชาชนท่ัวไป (มีเฉพาะ
ไอซียสู ำหรับพระภิกษสุ งฆ สามเณร) และอยูหางไกลจากไอซียเู ดมิ

๔. เพื่อพัฒนาสูความเปนเลิศทางวิชาการ การวิจัย การบริการ รองรับการเปน
ศนู ยแพทยศ าสตรศกึ ษาช้นั คลีนคิ ท่ีไดมาตรฐาน

๒๙๔ สุรยิ าสองฟา จนั ทรศ รสี อ งธรรม

คณะกรรมการจดั งานบำเพญ็ กุศล อายวุ ฒั นะครบ ๑๐๐ ป ไดประชมุ ปรึกษาหารือ
เมื่อวันที่ ๗ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ ซ่ึง โรงพยาบาลศูนยอุดรธานี ไดนำเสนอโครงการ
จัดตั้งหอผูปวยภาวะวิกฤต และขอความอนุเคราะห สนับสนุนงบประมาณ คณะกรรมการฯ
จึงมีดำริวาเนื่องในโอกาสอันเปนมงคลย่ิงท่ีพระอุดมญาณโมลี (หลวงปูจันทรศรี จนฺททีโป)
เจริญอายุครบ ๑๐๐ ป ในวนั ที่ ๑๐ ตลุ าคม ๒๕๕๔

จึงเห็นควรจัดสรางสาธารณะประโยชน เก่ียวกับคนไขโดยเฉพาะอยางย่ิงในจังหวัด
อุดรธานี ที่ประชุมฯ เห็นชอบ และไดมีมติสนับสนุนโครงการจัดตั้งหอผูปวยภาวะวิกฤต
(ICU) โรงพยาบาลศูนยอุดร ไวเปนอนุสรณแหงเมตตาที่เปนรูปธรรม ซึ่งหลวงปูจันทรศรี
จนฺททีโป ไดใหความอนุเคราะห อุปถัมภโครงการเพ่ือบำบัดความทุกข นำความสุข มาสู
ผเู จบ็ ปว ย และญาติมติ ร

เพื่อใหการจัดต้ังหอผูปวยภาวะวิกฤติแหงใหม เปนศูนยบำบัดวิกฤตผูปวยหนัก
ทางอายุรกรรม ที่มีประสิทธิภาพ และเกิดประโยชนสุขอยางแทจริง จึงเห็นควรจัดวางระบบ
ICU ใหเปนไปตามมาตรฐานสากล จัดหาอุปกรณการแพทย และระบบสารสนเทศที่จำเปน
และทันสมัย จัดเตรียมบุคลากรทางการแพทยใหเพียงพอ และมีประสิทธิภาพสูงในการดูแล
รักษาพยาบาลผูปวยหนัก โดยยึดหลักเมตตาธรรม ใหการดูแลรักษาผูปวยดุจญาติมิตร
อนั เปน ทีร่ กั จงึ ใหน ามหอผูปวยภาวะวกิ ฤตแหงใหมนว้ี า

หลวงปูจ นั ทรศรี จนฺททีโป ๒๙๕

หอเมตตาธรรมบำบัดวิกฤต (ผูปวยหนกั )

COMPASSION INTENSIVE CARE UNIT (CICU)

มาตรฐานหอเมตตาธรรมบำบดั วิกฤต (CICU)
ศนู ยบ ำบัดวกิ ฤติ ผปู วยหนกั ทางอายุรกรรม โรงพยาบาลศูนยอ ุดรธานี
งานสถาปต ยกรรม และวศิ วกรรม ระบบทางการแพทย

คณะกรรมการดำเนินงานฯ และ คณาจารยคณะแพทยศาสตรจุฬาลงกรณ
มหาวิทยาลัย ไดคัดเลือกบริษัทผูออกแบบตกแตงภายใน และวิศวกรรมระบบทางการแพทย
ท่ีมีความเชี่ยวชาญ และมีประสบการณในการออกแบบไอซียู ท่ีเปนมาตรฐานในคณะแพทย
ศาสตรสำคัญๆ ของประเทศไทยใหเปนผูรับผิดชอบ โดยคำนึงถึงการจัดวางระบบ ICU
ใหเปนไปตามมาตรฐานสากล ณ ปจจุบัน และยืดหยุน เพ่ือรองรับการเปลี่ยนแปลง
เทคโนโลยกี ารรกั ษาพยาบาล ทเี่ ปนมาตรฐานในอนาคต

๒๙๖ สุรยิ าสอ งฟา จันทรศรีสอ งธรรม

การจัดวางระบบโครงสราง ซีไอซยี ู ตามมาตรฐานสากล

๑. ทต่ี ั้ง

๑) สถานท่ตี ้ังแยกจากหนวยงานอน่ื เปนสัดสว น สะดวกตอการเขา ถงึ บริการ
๒) มคี วามสะดวกในการเคลอื่ นยายผูปวย ไปยงั หองผาตัด หนว ยรงั สี หนว ย

อบุ ัตเิ หตุ และหนวยงานอืน่ ๆ ทีเ่ กี่ยวขอ ง

๒๙๗หลวงปจู ันทรศรี จนทฺ ทโี ป

ภาพจำลอง โถงเคานเ ตอรพ ยาบาล

๒. พ้ืนที่ใชสอย

๑) มสี ัดสวนเตียงผูปวยวกิ ฤต ตอเตียงโรงพยาบาลอยางนอ ย ๑ : ๕๐ โดยมี
จำนวนเตียง ไมนอยกวา ๔ เตียง และไมเกิน ๑๒ เตียงตอหอผูปวย
วกิ ฤต

๒) เตียงนอนไฟฟา มาตรฐาน ปรับระดบั ศีรษะ และ ปลายเทาสูงตำ่ ได
๓) มีระยะหางระหวางเตียง ไมนอยกวา ๒ เมตร วางเตียงชิดผนังไมเกิน

๑ ดาน ระบบอุปกรณเครื่องชวยชีวิต ติดตั้งกับโครงสรางเพดาน
สามารถทำหัตถการ และเขาชวยชีวิตผูปวยไดสะดวก เม่ือเกิดภาวะ
วกิ ฤต
๔) ทางเดนิ ปลายเตียงมคี วามกวา งไมนอ ยกวา ๒ เมตร สามารถนำเปลนอน
เคล่อื นยายเครือ่ งมอื และอปุ กรณการแพทยไ ดสะดวก
๕) เตยี งแตล ะเตยี ง อยูในหองแตล ะหอง ขนาดพนื้ ท่ี พอเพียงตามมาตรฐาน
(๑๖-๒๐ ตรม.) มีความเปนสวนตัวสงบเงียบ และลดการแพรกระจาย
เชอื้ โรคจากผปู ว ย สผู ปู วยคนอืน่ และบคุ ลากรทางการแพทย

๒๙๘ สุรยิ าสองฟา จันทรศ รสี อ งธรรม

ภาพจำลองโถงพักคอยญาติ
ภาพจำลองหนา โถงหนาลิฟท

๒๙๙หลวงปูจนั ทรศ รี จนทฺ ทโี ป

ภาพจำลองหองผปู วย
ภาพจำลอง หอ ง VIP

๓๐๐ สุริยาสองฟา จันทรศ รสี องธรรม

๓. การจัดโครงสรา ง

๑) มีระบบปองกันการปนเปอนจากภายนอก และเลือกใชวัสดุที่มีคุณภาพสูง
คงทน ดแู ลรกั ษา ทำความสะอาดงา ย ไมส ะสมเช้ือโรค

๒) มีการจัดแบงเขตรับผูปวยติดเช้ือ และไมติดเชื้อ โดยจัดเตรียมหองท่ีเปน
แรงดันลบและมี Ante-Room พรอมระบบควบคุมการแพรกระจายของ
เช้อื โรค ออกจากหองสำหรับผปู ว ยตดิ เชือ้ โรคทางเดนิ หายใจ เชน ไขห วัด
ใหญ ๒๐๐๙, วัณโรค, ไขห วดั นก และเตรียมชองทางเขา -ออก ของผปู วย
ติดเช้ือโรคทางเดินหายใจโดยเฉพาะไมใหปะปนกับผูปวยอ่ืน มีหองแยก
สำหรับผูป ว ยท่ตี ิดเชอ้ื อยา งนอ ย ๒ หอง

๓) มีหนวยปฏิบัติการพยาบาลอยูในตำแหนงท่ีมองเห็นสภาพผูปวยไดทุกเตียง
และใชร ะบบกลองวงจรปด เพ่ือชวยในการติดตามอาการผปู ว ยโดยสะดวก

๔) มรี ะบบเรยี กพยาบาลประจำเตียงผปู วย
๕) สถานท่ตี รวจ / รักษา / ใหคำปรึกษา มคี วามมดิ ชิด พนจากการมองเหน็

และไดยนิ ของบคุ คลอนื่
๖) มีพ้ืนท่ีเพียงพอ และเปนสัดสวนสำหรับเก็บเครื่องมือ เครื่องใช ผา ยา

สารน้ำ เปนหมวดหมู
๗) มีพ้ืนท่ีเพยี งพอ และเปนสดั สวนสำหรบั ลางเครอ่ื งมือ เตรยี มเคร่อื งมอื และ

เตรียมยา
๘) มีพื้นที่ และภาชนะเก็บผาเปอ นเปน สัดสวน
๙) มีระบบสื่อสารติดตอแพทยเวร แพทยเจาของไข หองชันสูตร หองยา

คลงั เลอื ด หองผาตดั และหนว ยงานอ่นื ท่ีเกี่ยวของไดส ะดวก
๑๐) มสี ถานทีพ่ ักรอสำหรบั ญาติเยีย่ มและจุดใหญาติติดตอ สอบถาม
๑๑) มีสถานทอ่ี ำนวยความสะดวก สำหรับเจาหนาที่
๑๒) มีการควบคุม คุณภาพอากาศใหสะอาดปลอดภัยเหมาะสมกับ บุคลากร

และคนไข ใชการเจอื จางเชือ้ ในอากาศ โดยระบบหมนุ เวยี นอากาศกลับมา

๓๐๑หลวงปูจ นั ทรศ รี จนทฺ ทโี ป

ใช ผา นมาตรฐานการกรอง
๑๓) ประตปู ด-เปด เปนกระจกสามารถมองเหน็ ผปู วยตลอดเวลาจากนอกหอง
๑๔) มีหองสวมสำหรับผูปวย ทำใหสะดวกในการท้ิง สิ่งตางๆ ที่ขับออกจาก

ตวั ผูป ว ย ไมนำออกมานอกหอง เพ่อื ลดการแพรกระจายเชอ้ื โรค
๑๕) มีอางลางมือภายในหองเพื่อใหบุคลากร และญาติลางมือกอน และหลัง

สัมผัสผูปวย และมีแอลกอฮอลเจล สำหรับทำความสะอาดมือ ในกรณี
เรง ดว น ทำใหล ดการแพรกระจายเชื้อโรค
๑๖) ทุกหองมีหนาตาง เพ่ือรับแสงแดด และมองเห็นทัศนียภาพภายนอกหอง
ทำใหไ มร ูส กึ อึดอัด ลดความเครียดจากการตองอยูภายในหอ งตลอดเวลา
๑๗) แยกชองทางสัญจรสำหรับผูปวย และเจาหนาท่ี, การขนยายสิ่งของ
ปนเปอ น และของปลอดเชอ้ื
๑๘) มีพ้ืนที่ในหองสำหรับใหญาติ ไดเขาเยี่ยมอาการอยางใกลชิด และมีหอง
ใหค ำปรกึ ษาแกญาติ ถึงอาการ และ ผลการรักษา
๑๙) มีพื้นท่ีทางพุทธศาสนา ใหผ ูป วย และญาติไดเปน ท่พี ึ่งยึดเหน่ยี วจติ ใจ
๒๐) มพี นื้ ทส่ี ำหรับสำนกั งานกองทุน หอเมตตาธรรมบำบดั วิกฤติ เพื่อทำนบุ ำรงุ
และพัฒนาปรบั ปรงุ CICU ตอ ไปในอนาคต

๓๐๒ สุรยิ าสองฟา จันทรศรีสองธรรม

ระบบปรับอากาศ และระบายอากาศ สำหรับหอผปู วยวิกฤต

ระบบปรับอากาศ และระบายอากาศ สำหรบั หอผูปว ยวกิ ฤตมาตรฐานของวิศวกรรม
สถานแหงประเทศไทย สมาคมวิศวกรรมปรับอากาศแหงประเทศไทย ซ่ึงอางอิงมาตรฐาน
ของสมาคมสถาปนิกแหงประเทศสหรัฐอเมริกา และสมาคมวิศวกรรมปรับอากาศแหง
ประเทศสหรัฐอเมริกา รวมทั้งขอแนะนำในการปองกันการแพรกระจายเชื้อจากส่ิงแวดลอม
ของ CDC สหรฐั อเมรกิ าเปน ดงั นี้

๑. ระบบทอลมของระบบปรับอากาศ และ ระบบระบายอากาศสำหรับหอผูปวย
วิกฤตตองแยกเปนอิสระจากระบบทอลมสำหรับพ้ืนท่ีอื่นของอาคารทั้งนี้เพ่ือลดการปนเปอน
ระหวา งอากาศในหอผูปวยวิกฤตกบั อากาศในพ้ืนท่ีอืน่

๒. เปนระบบปรับอากาศ ที่มีความสามารถในการกรองสิ่งปนเปอนในอากาศได
โดยการตดิ ตั้งแผงกรองอากาศอยางนอย ๒ ช้ัน

๓๐๓หลวงปจู ันทรศ รี จนฺททีโป

๓. มีการเจือจาง ส่ิงปนเปอนในอากาศภายในหอผูปวย โดยมีการเติมอากาศจาก
ภายนอกเขามา ในอัตราไมนอ ยกวา ๒ เทาของปริมาตรหอ งตอ ชวั่ โมง (๑ ACH) และ อตั รา
การหมุนเวียนอากาศภายในหอผูปวยตอง ไมนอยกวา ๖ เทาของปริมาตรหองตอช่ัวโมง
(๖ ACH) จุดทีน่ ำอากาศเขาควรอยูหา งใหม ากที่สดุ เทาท่ีเปนได (อยา งนอย ๒๕ ฟตุ ) จากทอ
ไอเสียของอุปกรณท่ีมีการเผาไหม จุดปลอยอากาศเสียของโรงพยาบาล และอาคารขางเคียง
ระบบดดู ของเสียทางการแพทย (medical-surgical vacuum system) หอระบายความรอ น
จดุ ทม่ี คี วันไอเสียรถยนต จดุ นำอากาศเขา ควรอยูส งู จากพน้ื ดนิ อยางนอย ๖ ฟตุ หากอยูบน
หลังคา ควรอยสู ูงกวาหลังคาอยา งนอ ย ๓ ฟตุ

๔. อากาศระบายทิ้งจากหอผูปวย ควรผานการกรองดวยแผงกรองอากาศข้ันตน
กอนท้ิงออกสูบรรยากาศภายนอก ยกเวนหากตำแหนงที่ระบายอากาศทิ้งไมเสี่ยงตอการ
ยอนกลับเขาสูอาคาร หรือเขาสูอาคารอื่น หรือไมใชบริเวณที่มีคนอยู และจุดระบายอากาศ
ตอ งอยูหา งจากจุดนำอากาศเขามากกวา ๒๕ ฟุต

๕. ทิศทางการไหลของอากาศ ในหอผูปวยเปนไปในลักษณะจากบริเวณสะอาด
ไปยังบริเวณปนเปอน กลาวคือจากบุคลากรสูผูปวยซ่ึงกระทำไดโดยติดต้ังหัวจายลมใหอยู
ใกลบุคลากร และติดตง้ั ชอ งลมกลบั หรอื ชอ งระบายลมทงิ้ ใหอ ยูใกลผูป วย

๖. อณุ หภมู ิ และความช้นื หอผปู วยวกิ ฤติ ควรมอี ุณหภมู ิ อยูระหวาง ๒๔-๒๗ Cํ
และ มคี วามชนื้ สมั พทั ธอ ยรู ะหวาง ๓๐-๖๐ %

๗. ตองจัดใหมีวิธีตรวจวัดความดันแตกตางครอมแผงกรองอากาศ และตอง
เปล่ยี นแผงกรองอากาศ เม่ือความดนั แตกตางครอมแผงกรองอากาศสูงเกนิ กวา ทีบ่ ริษทั ผูผลิต
กำหนด

๓๐๔ สุรยิ าสองฟา จนั ทรศรสี อ งธรรม

การจัดเตรยี มเคร่อื งมอื และอุปกรณก ารแพทย

เครือ่ งมอื และอปุ กรณการแพทยท ่ที ันสมยั จำนวนเพยี งพอพรอมใชต ลอดเวลา มกี าร
ตรวจสอบทุกเครื่องมือกอนใช และมีการบำรุงรักษาเคร่ืองมือเปนอยางดีทั้งจากบุคลากรของ
CICU คอื เจา หนาที่เครอื่ งมือ และมกี ารตรวจสอบจากองคก รภายนอก รวมทง้ั บริษทั ผผู ลิต
อยางสม่ำเสมอ นอกจากนี้บุคลากรพยาบาล และพนักงานผูชวยเหลือการพยาบาล จะได
ผานการอบรมงาน, อบรมการใชเครื่องมือ จากบริษัทผูขาย และหัวหนางาน และมีการ
ทดสอบการใชเคร่ืองมือ เปนประจำทุกป ทั้งนี้เพ่ือใหผูปวยไดรับประโยชนสูงสุด และ
ปลอดภัย

ตัวอยา งเครือ่ งมือแพทยท่ีสำคัญ และใชบ อยในไอซยี ูซึ่งยังไมเ พยี งพอ และตองจดั หา
เพิ่มเติมดงั น้ี

๑. เตยี งไฟฟา จำนวน ๑๐ เตียง
๒. เครอื่ งตดิ ตามการทำงานของหวั ใจขนาดจอ ๑๐ นวิ้ จำนวน ๑๐ เครื่อง
๓. เครอ่ื งชว ยหายใจสำหรับเคลื่อนยายผปู วย จำนวน ๑ เครอ่ื ง
๔. เครอื่ งปรับอณุ หภูมิรางกาย จำนวน ๑ เครื่อง

๓๐๕หลวงปูจันทรศรี จนฺททีโป

๕. Thoracic Suction จำนวน ๔ เคร่อื ง
๖. เครื่องควบคมุ การใหส ารน้ำ (Infusion Pump) จำนวน ๒๔ เครอ่ื ง
๗. Syringe Pump จำนวน ๑ เครื่อง
๘. เคร่ือง Echocardiography (เฉพาะหัว Probe) จำนวน ๑ เคร่ือง
๙. เครือ่ งตรวจ Arterial Blood Gas จำนวน ๑ เคร่ือง
๑๐. เครื่องควบคุมการใหสารน้ำแบบเคล่อื นท่ี จำนวน ๑ เครื่อง

(Infusion Pump Mobile )
๑๑. ชดุ อปุ กรณ Suction Pipe Line จำนวน ๑๐ เครื่อง
๑๒. เครื่องตรวจวดั ออกซิเจน (O2 sat) ชนดิ มอื ถอื จำนวน ๑ เคร่อื ง
๑๓. เคร่ืองปน Hct. จำนวน ๑ เครื่อง
๑๔. Pressure bag (Mediquic plus) จำนวน ๔ เคร่ือง
๑๕. ตเู ก็บยาฉุกเฉินแบบเคลอ่ื นที่ จำนวน ๕ ตู
๑๖. ตูเก็บวสั ดอุ ปุ กรณก ารแพทยแ บบเคล่ือนที่ จำนวน ๑๐ ตู

๓๐๖ สุรยิ าสองฟา จันทรศ รสี อ งธรรม

การจัดเตรยี มบคุ ลากรทางการแพทยใหเพยี งพอ
และมปี ระสทิ ธิภาพสงู

บคุ ลากรนบั เปนปจ จัยหนงึ่ ท่สี ำคัญในการดแู ลรกั ษาผูปว ยหนกั ซง่ึ ซไี อซียูมบี ุคลากร
ท่ที ำงานกันเปน ทีม ดังตอไปน้ี

แพทย

- แพทยห ัวหนา แผนกอายรุ กรรม คอื นายแพทยส รุ พงษ นเรนทพ ิทักษ
- เปนแพทยผูเชี่ยวชาญ ดานอายุรกรรมโรคไต ทำหนาที่เปนผูบริหาร และให
คำปรึกษากบั บคุ ลากรภายในซีไอซยี ู
- แพทยป ระจำซไี อซียู ๒ ทาน ซึง่ เปน แพทยผ ูเ ชี่ยวชาญดานตางๆ หมนุ เวยี น
มาใหก ารดแู ลรกั ษาผปู ว ย
- แพทยเวรประจำซีไอซยี ู ซง่ึ ปฏิบัติงานต้งั แต ๑๘.๐๐-๐๖.๐๐ น. วนั รุงข้นึ และ
ในวันหยุดมีแพทยปฏิบัติงานตลอด ๒๔ ช.ม. สามารถใหการรักษาผูปวย เม่ือเกิดปญหา
หรอื เกิดการเปล่ยี นแปลงข้ึน กบั ผูปว ยไดท นั ที โดยประสานงานกบั แพทยเ จา ของไข

๓๐๗หลวงปูจนั ทรศ รี จนทฺ ทโี ป

พยาบาล

หัวหนา หอผูปวยซีไอซยี ู คือคุณรตั นาภรณ เดล และทีมพยาบาล ทที่ ำงานในซไี อซยี ู
จำนวน ๑๒ คน เปนพยาบาลวิชาชีพไดรับการอบรม, ฝกฝนเกี่ยวกับการดูแลผูปวยหนัก
ผานการอบรมดานการชวยฟนคืนชีพขั้นพื้นฐาน, ข้ันสูง และการใชเคร่ืองมือ อุปกรณ
ทางการแพทยตางๆ เปนอยางดี นอกจากนี้ ซีไอซียูยังไดรับการสนับสนุนจากผูบริหาร
โรงพยาบาล และ ภาคเอกชนในการจัดสรรอัตรากำลังเพิ่มเติมใหพอเพียง และสนับสนุน
ใหพยาบาลไปศึกษาอบรมตอเฉพาะทางผูปวยวิกฤต เพ่ือนำความรูมาพัฒนาการปฏิบัติงาน
ใหเ กดิ ประโยชนส งู สุดตอ ผูปว ยและ องคกรอยางตอ เน่อื ง

การบริการพยาบาลของซีไอซียู พยาบาลทุกคนทำงานโดยยึดผูปวยเปนศูนยกลาง
ใหการดูแลท้ังดานรางกาย และจิตใจรวมท้ังญาติผูปวย ดวยจิตใจเปยมเมตตา และเต็ม
ความรคู วามสามารถ อัตรากำลงั พยาบาลตอ ผปู ว ยเทากบั ๑ : ๒ ในรายทม่ี อี าการหนักมาก
และ ๑ : ๓ ในรายทม่ี ีอาการหนกั ปานกลาง

๓๐๘ สรุ ยิ าสองฟา จันทรศ รสี องธรรม

เจา หนา ท่ีศนู ยเครอื่ งมอื แพทย

ทำหนาที่ดูแลจัดการเกี่ยวกับ การซอมบำรุงรักษาอุปกรณเคร่ืองมือแพทย, เตรียม
เครื่องมอื ใหพรอมใช และ ตรวจสอบเครอ่ื งมอื

พนักงานผชู วยเหลือการพยาบาล

ทำหนาที่ชวยเหลือ พยาบาลในการดูแลผูปวย ภายใตการกำกับ ดูแลของพยาบาล
ในทีมนั้นๆ อัตรากำลังจำนวน ๕ คน นอกจากบุคลากรในซีไอซียูที่กลาวแลว ซีไอซียู
ยังตองทำงานเปนทีมรวมกับบุคลากรแผนกอื่น เชน หองผาตัด, แผนกเวชศาสตรฟนฟู,
หองปฏบิ ัตกิ าร, หอผูป วย, หอ งไตเทียม, หอ งยา, หอ งฉุกเฉนิ เปนตน

ความรว มมอื จากผูปวยและญาติ

การดแู ลรกั ษา ผูปว ยในซไี อซยี ู นอกจากตองอาศยั สว นประกอบตา งๆ ทไ่ี ดกลาว
ไปแลว คือลกั ษณะโครงสรางท่ีถูกตองไดมาตรฐาน เครอื่ งมือ และอปุ กรณก ารแพทยท ่ีทนั สมัย
และบุคลากรทางการแพทยที่มีความสามารถแลว ความรวมมือจากผูปวย และญาติก็เปน
ปจจัยสำคัญ เชน การใหประวตั ิทถ่ี กู ตอ ง, การเขา ใจระบบงานของซไี อซียู รวมถึงการเย่ียม
ในเวลา และปฏบิ ตั ิตามระเบียบการเขาเย่ียม

๓๐๙หลวงปจู ันทรศรี จนฺททีโป

ความเมตตาจากคณะสงฆ และพุทธศาสนิกชน

ความเมตตาจากคณะสงฆ และพุทธศาสนิกชน รวมท้ังภาครัฐ และเอกชนที่ให
ความอุปถัมภ สนับสนุนการดำเนินงานอยางตอเน่ือง และเปนรูปธรรม เพ่ือจัดตั้งซีไอซียูให
ประสบความสำเร็จ และพัฒนาปรับปรุงใหซีไอซียู มีประสิทธิภาพ และทันตอการ
เปล่ียนแปลงของมาตรฐานการรักษาในอนาคต โดยคงหลักการสำคัญ ที่ไมเปลี่ยนแปลงไป
ตามกาลเวลา คอื ความเมตตาตอผูป วยดุจญาตมิ ิตรอนั เปนทรี่ ัก

หอเมตตาธรรมบำบัดวิกฤติ (CICU) ท่ีจะจัดตั้งข้ึนใหมของโรงพยาบาลอุดรธานี
จะเตรียมความพรอมในทุกๆ ดาน ที่จะรองรับการใหบริการแกผูปวยหนักทุกประเภท
ดวยความเมตตาและความมุงมั่นของผูบริหาร และผูปฏิบัติงานทุกภาคสวน เพ่ือใหบรรลุ
ถึงปณิธานของการใหการรักษาพยาบาล ตามพระดำรัสของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร
อดลุ ยเดชวิกรม พระบรมราชชนก พระบิดาแหง การแพทยแผนปจ จบุ ันของไทยวา

“ขอใหนึกถงึ ประโยชนของเพอื่ นมนษุ ยเปน กจิ ทห่ี นึ่ง ประโยชนสว นตนเปนกจิ ท่สี อง
ลาภ ทรัพย เกียรตยิ ศ จะตกแกทานเอง ถา ทา นทรงคุณธรรมแหงวิชาชพี ไวใหบริสุทธ์”ิ

๓๑๐ สุรยิ าสอ งฟา จนั ทรศ รสี องธรรม

- เพื่อพลกิ ฟน วิกฤตผูป ว ยหนักใหเ ปน โอกาสแหง การเรม่ิ ตนชีวติ ใหม
- เพ่ือเปนศูนยบำบัดวิกฤตผูปวยหนัก ท่ีมีประสิทธิภาพ และคุณภาพตาม
มาตรฐาน ใกลเ คยี งกบั ศูนยบำบัดวกิ ฤต ชั้นนำของประเทศ
- เพื่อใหเปนอนุสรณท่ีเปนรูปธรรม เนื่องในโอกาสอันเปนมงคลยิ่งท่ีพระอุดม
ญาณโมลี (หลวงปูจ นั ทรศ รี จนทฺ ทโี ป) เจริญอายคุ รบ ๑๐๐ ป ในวันท่ี ๑๐ ตลุ าคม ๒๕๕๔
- เพื่อนอมถวายกุศลบูชารักษาธาตุขันธ ของพระอุดมญาณโมลี (หลวงปูจันทรศรี
จนฺททีโป) ใหยืนยาวนานเปน รม โพธริ์ มไทร แกคณะสงฆ และพุทธศาสนิกชนสบื ไป

- เพอ่ื นอ มเกลานอมกระหมอม ถวายเปนพระราชกศุ ล แดพระบาทสมเดจ็ พระเจา
อยูหัว ภูมิพลอดุลยเดช พระมหาบพิตรสมภารเจา ใหทรงมีพระพลานามัยสมบูรณแข็งแรง
เปน ม่ิงขวัญของปวงพสกนกิ รชาวไทยย่ิงยนื นาน

หลวงปจู นั ทรศ รี จนทฺ ทโี ป ๓๑๑

รายละเอียดโครงการ
๑. สถานที่ตง้ั

ตกึ ตา หู คอ จมูกช้นั ๔ โรงพยาบาลศูนยอ ดุ รธานี
พ้ืนที่ใชส อย รวมประมาณ ๘๐๐ ตารางเมตร

๒. รายละเอยี ดการดำเนนิ งาน

- งานกำหนดนโยบายและกรอบการดำเนนิ งาน ๑ พ.ย. ๒๕๕๔ - ๓๑ ธ.ค. ๒๕๕๔
- งานออกแบบโครงสรางตามมาตรฐานสากล ๑ ม.ค. ๒๕๕๕ - ๓๐ ก.ย. ๒๕๕๕
- งานปรับปรุงอาคารและระบบทางการแพทย ๑ พ.ย. ๒๕๕๕ - ๒๘ ก.พ. ๒๕๕๖
- งานจัดหาและติดต้งั อุปกรณทางการแพทย ๑ ม.ิ ย. ๒๕๕๕ - ๒๘ ก.พ. ๒๕๕๖

๓. รายละเอยี ดการใชง าน

พนื้ ทสี่ ำหรบั ผปู ว ย

- หองแยกติดเชอ้ื ๒ หอ ง
- หองแยกผูปว ยหนัก ๖ หอง
- หองแยกผปู วยหนักวีไอพี ๑ หอ ง

๓๑๒ สุรยิ าสองฟา จนั ทรศ รีสอ งธรรม

พื้นท่สี ำหรับบุคลากรทางการแพทย
- เคานเตอรพ ยาบาล
- หองอเนกประสงค
- หอ งเก็บเวชภณั ฑป ลอดเชื้อ
- หอ งชำระลางและเกบ็ ของปนเปอ น
- หอ งลางเคร่ืองมือแพทย
- หอ งตรวจชนั สูตร
- หองเก็บเครื่องมอื แพทย
- หองเตรยี มยาและเวชภณั ฑผูป วย
- หอ งพกั แพทย, หอ งพกั พยาบาล, หอ งหัวหนาพยาบาล
พนื้ ที่สำหรับญาติ
- โถงพักคอยญาติ
- หอ งเมตตาธรรม (พื้นท่ที างศาสนา)
- หองนำ้ ญาติ
พื้นที่สำหรับสญั จร
- แยกชอ งทางระหวา งเจาหนาที่ และญาตผิ ปู ว ย
- แยกชองทางสิง่ ของสะอาด และของปนเปอ น
- แยกชอ งทางระหวา งผปู ว ยติดเช้อื และไมตดิ เชอ้ื

๔. ประมาณการคากอสราง : ๕๐ ลา นบาท

- งบประมาณปรบั ปรงุ อาคาร และตดิ ตง้ั ระบบมาตรฐานไอซยี ู ๓๐ ลานบาท
- งบประมาณจัดหาเครอ่ื งมือ และอปุ กรณทางการแพทย ๒๐ ลานบาท

๓๑๓หลวงปูจ ันทรศรี จนทฺ ทีโป

๕. แผนการดำเนินงาน

คาดวา จะแลวเสรจ็ ในเดือนกมุ ภาพนั ธ ๒๕๕๖
หลักเกณฑ และวิธีการรับบริจาคปจจัยเพื่อสรางหอผูปวยภาวะวิกฤต โรงพยาบาล
ศูนยอดุ รธานี
เพื่อใหการรับบริจาคปจจัยสมทบ สรางหอผูปวยภาวะวิกฤต โรงพยาบาลศูนย
อุดรธานี เกิดอานิสงสสูงสุดตามกำลังศรัทธาของผูบริจาค จึงไดกำหนดหลักเกณฑ และวิธี
การปฎิบตั ิเกยี่ วกับการรับบริจาคตามโครงการ CICU ดังนี้
๑. การต้ังตูรับบริจาคหนวยงาน / สวนราชการเปนผูจัดหาเองหรือประสงค จะให
ทางวัดจัดหาใหก็ไดตามความสะดวก โดยตองจัดหาบุคลากรในการดูแล และรักษาความ
ปลอดภยั ของตรู บั บรจิ าคตามสมควร
๒. การเปด ตรู บั บรจิ าค เม่ือจำนวนเงินตรู บั บริจาค มีจำนวนพอสมควรหนวยงาน /
สว นราชการควร แตงตัง้ เจาหนา ทอ่ี ยางนอย ๒ คน เพื่อดำเนนิ การตรวจนับเงินตูรบั บริจาค
๓. การนำสงเงินรับบริจาค เมื่อตรวจนับเงินเรียบรอยแลวใหเจาหนาที่ ท่ีไดรับ
มอบหมาย จัดทำรายงานยอดเงินรับบริจาค ตามแบบรายงาน และ ใหดำเนินการนำเงิน
บริจาคฝากบญั ชี

“หลวงปจู ันทรศ รี เพื่อหอผปู ว ยภาวะวกิ ฤต โรงพยาบาลศูนยอ ุดรธาน”ี

ธนาคารกรงุ ไทย จำกดั สาขาอุดรธานี เลขท่บี ญั ชี ๔๐๑-๓-๑๗๕๗๓-๘

ธนาคารกสิกรไทย จำกัด สาขาอดุ รธานี เลขทีบ่ ญั ชี ๑๑๐-๒-๓๘๘๘๗-๗

๔. รายงานการรับบริจาค ใหเจาหนาที่สงแบบรายงานการรับบริจาคโดยสงโทรสาร
หมายเลข ๐๔๒-๒๑๑๕๕๘ เพื่อบันทึกยอดปจจัยที่ไดรับบริจาค และรายงานใหสาธุชน
ไดทราบตอ ไป

๕. การรับบริจาคเงิน ใหเปนไปตามกำลังศรัทธา ไมมีการแผขอเรี่ยไร และไม
เกยี่ วขอ งกับการดำเนนิ กจิ กรรมทางการเมือง

๓๑๔ สรุ ิยาสอ งฟา จนั ทรศรีสองธรรม

๖. การจดั กจิ กรรมเพ่อื หารายไดสมทบทุน ไมใหมกี ารซ้ือขาย / แลกเปลีย่ น / เชา
บูชา รูปเหรียญวัตถมุ งคล

๗. การเบิกถอนเงินบริจาคในบัญชี ใชรูปแบบคณะกรรมการ มีพระอุดมญาณโมลี
(หลวงปจู นั ทรศรี จนฺททีโป) เปน ผมู อี ำนาจหลักในการเซน็ ชอื่ ถอนแตเ พียงผเู ดียว

๘. การบริจาคเงนิ เปน ไปดวยเจตนาอันบริสุทธิ์ เพ่อื นอมบูชาคณุ พระรัตนตรยั และ
เพื่อประโยชนสุข แกผูเจ็บปวย มิไดมุงหวังชื่อเสียง ลาภสักการะใดๆ จึงจะเกิดอานิสงส
สงู สดุ

วันที่ ๓ ต.ค. ๒๕๕๔ คณะแพทย พยาบาลและ เจาหนา ที่ รพ.จุฬาลงกรณ สภากาชาดไทย
พรอ มดว ยคณะศิษย ไดรว มกันทำวัตรขอขมาและนอ มถวายผาปาสมทบทนุ สรา ง
หอเมตตาธรรมบำบัดวกิ ฤต รพ.ศนู ยอ ดุ รธานี (CICU) เปน ปฐมฤกษ

๓๑๕หลวงปจู ันทรศรี จนฺททโี ป

ประมวลภาพ

พระอุดมญาณโมลี (หลวงปูจนั ทรศ รี จนฺททโี ป)

วัดโพธิสมภรณ อำเภอเมอื ง จงั หวดั อดุ รธานี

๓๑๖ สรุ ยิ าสอ งฟา จนั ทรศ รีสอ งธรรม

๓๑๗หลวงปจู นั ทรศรี จนทฺ ทโี ป

๓๑๘ สรุ ยิ าสอ งฟา จนั ทรศ รีสอ งธรรม

๓๑๙หลวงปจู นั ทรศรี จนทฺ ทโี ป

๓๒๐ สุรยิ าสองฟา จนั ทรศ รีสองธรรม

บรขิ ารของหลวงปูจันทรศ รี จนฺททีโป

Dhammaintrend รว่ มเผยแพรแ่ ละแบง่ ปันเป็ นธรรมทาน


Click to View FlipBook Version