The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

๑๐๑ สุริยาส่องฟ้า จันทร์ศรีส่องธรรม หลวงปู่จันทร์ศรี จนฺททีโป

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ทีมงานกรุธรรม, 2022-07-10 00:29:27

๑๐๑ สุริยาส่องฟ้า จันทร์ศรีส่องธรรม หลวงปู่จันทร์ศรี จนฺททีโป

๑๐๑ สุริยาส่องฟ้า จันทร์ศรีส่องธรรม หลวงปู่จันทร์ศรี จนฺททีโป

Keywords: ๑๐๑ สุริยาส่องฟ้า จันทร์ศรีส่องธรรม หลวงปู่จันทร์ศรี จนฺททีโป

๘๔ สุริยาสองฟา จันทรศรสี อ งธรรม

น่ังหนาสุด : พระเทพสิทธาจารย (หลวงปูจันทร เขมิโย)
นั่งแถวกลาง จากซา ย : พระสุธรรมคณาจารย (หลวงปเู หรียญ วรลาโภ),
พระธรรมไตรโลกาจารย (หลวงปูร ักษ เรวโต), พระจนั โทปมาจารย (หลวงปจู นั โท กตปุฺโ),
พระอุดมญาณโมลี (หลวงปจู ันทรศ รี จนฺททโี ป), หลวงปูบ ุญมา ติ เปโม,

เทสรสํ ี, หลวงปูขาว อนาลโย, หลวงปอู อ น าณสิริ
น่ังแถวหลงั : หลวงปบู วั พา ปฺ าภาโส, หลวงปูหลอด ปโมทโิ ต,
หลวงปูออ นสี สุเมโธ, พระครบู รหิ ารคณานุกจิ , พระครูสุนทรนวกจิ

บนั ทกึ ภาพเม่อื วนั ท่ี ๒๓ เมษายน พุทธศกั ราช ๒๕๐๖
ในงานฉลองหอระฆังวัดศรีเมอื ง วัดศรเี มือง จ.หนองคาย

๘๕หลวงปจู ันทรศ รี จนทฺ ทีโป

จากซา ย หลวงปูข าว อนาลโย, หลวงปจู ันทรศรี จนทฺ ทีโป, พระธรรมไตรโลกาจารย,
พระธรรมบัณฑติ

หลวงปูจันทรศ รี จนทฺ ทโี ป ไปกราบเย่ยี ม หลวงปขู าว อนาลโย ณ วัดถำ้ กลองเพล จังหวัดอุดรธานี

๘๖ สรุ ยิ าสองฟา จันทรศรีสอ งธรรม

หลวงปูจันทรศรี จนทฺ ทโี ป กราบเย่ยี ม และสรงน้ำ หลวงปผู วิ (พระราชเมธาจารย) วัดบวรมงคล
หลวงปจู ันทรศรี จนฺททีโป ถวายเครื่องสกั การะแด เทสรสํ ี

๘๗หลวงปูจันทรศรี จนทฺ ทโี ป

หลวงปจู ันทรศรี เขา เฝาเยยี่ มอาการประชวร สมเดจ็ พระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช
สกลมหาสังฆปรณิ ายก ณ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ กรงุ เทพฯ

หลวงปจู ันทรศ รี จนทฺ ทโี ป แสดงมุทติ าจติ แดห ลวงตาพระมหาบวั าณสมปฺ นโฺ น
เมอ่ื ครัง้ ท่หี ลวงตาไดร บั พระราชทานสมณศกั ด์ิ เปน พระราชญาณวิสทุ ธิโสภณ

๘๘ สุรยิ าสอ งฟา จนั ทรศ รสี องธรรม

ทา นเจา ประคุณสมเดจ็ พระมหาวรี วงศ วัดสมั พนั ธวงศ และ หลวงปจู นั ทรศ รี จนฺททโี ป
ในพธิ ีพระราชทานเพลิงสรีระสังขาร หลวงปศู รี มหาวีโร ณ วัดประชาคมวนาราม

ทานเจาประคณุ สมเด็จพระมหามุนวี งศ วัดราชบพธิ กราบนมสั การหลวงปจู ันทรศรี จนทฺ ทโี ป

๘๙หลวงปูจนั ทรศ รี จนฺททีโป

หลวงปบู ุญมี ปรปิ ุณโณ, หลวงปูจนั ทรศ รี จนฺททีโป, หลวงปูล ี กสุ ลธโร
สมเด็จพระญาณสงั วร สมเดจ็ พระสังฆราชฯ ทรงประทานพระบรมสารีริกธาตุ

แกห ลวงปูจนั ทรศรี เพ่อื ประดิษฐาน ณ พระบรมธาตุธรรมเจดีย

๙๐ สุรยิ าสอ งฟา จันทรศรสี อ งธรรม
พรรษาที่ ๒๓-๘๑ (พ.ศ. ๒๔๙๗-๒๕๕๕)

จำพรรษา ณ วัดโพธสิ มภรณ อำเภอเมอื ง จังหวดั อดุ รธานี
รม โพธิธ์ รรม รม เย็นใจ

ใตร ม ธรรม พระธรรมเจดีย (จูม พนฺธุโล)

พ.ศ. ๒๔๙๗ สมเด็จพระสังฆราชเจา กรมหลวงวชิรญาณวงศ (ม.ร.ว.ชื่น สุจิตฺโต)
ทรงมีพระบญั ชาใหหลวงปู มาอยทู ่วี ดั โพธสิ มภรณ ต.หมากแขง อ.เมอื ง จ.อุดรธานี เพื่อชวย
แบงเบาภาระกิจการคณะสงฆ เน่ืองดวยพระธรรมเจดีย (จูม พนฺธุโล) มีอายุเขาวัยชรา ซ่ึง
พระธรรมเจดยี  (จมู พนฺธุโล) ไดใหความอปุ ถมั ภบำรุงดแู ลทา น ในระยะท่ีอยดู วย ตราบจน
กระทั่งมรณภาพ เปนเวลาถึง ๘ ป เหมือนลูกคนหนึ่ง เพราะพระธรรมเจดีย เปนผูมีคุณ
ธรรมสงู ประกอบดวยพรหมวิหารธรรมแกบรรดาผูอยใู นความปกครองของทานโดยความเสมอ
ภาค เปน ผูป กครองโดยธรรมสมกบั ชือ่ สมณศักดว์ิ าพระธรรมเจดียจ ริงๆ

พระธรรมเจดีย (หลวงปจู มู พนฺธโุ ล) หลวงปจู นั ทรศรี จนทฺ ทีโป วยั ๕๐ ป
เมื่อคร้ังยังเปน พระมหาจมู

๙๑หลวงปูจันทรศรี จนทฺ ทีโป

ทานเจาคุณพระธรรมเจดีย (จูม พนฺธุโล) มีปฏิปทาอันนาเลื่อมใส และควรยึดถือ
เปนแบบอยาง เปนเอนกประการ ทานไดอุทิศตน เพ่ือทำงานเผยแผหลักธรรมคำสอน
ขององคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา โดยมิไดเห็นแกความเหน็ดเหนื่อย ภาระหนาท่ีหลัก
ทีท่ า นถือเปนธรุ ะสำคญั มี ๔ อยา ง ดวยกัน คอื

(๑) การปกครอง
(๒) การศกึ ษา
(๓) การเผยแผ และ
(๔) การสาธารณปู การ
ดา นการปกครองน้นั ทา นถอื วาเปน องคป ระกอบท่ีสำคญั ของการเปน ผนู ำ จะเห็นได
จากทที่ าน เปนเจาอาวาสวดั โพธสิ มภรณ เปนเวลา ๓๙ ป เปนพระอุปชฌาย ๓๙ ป เปนผู
รักษาการเจาคณะมณฑลอุดรธานี ๓ ป เปนเจาคณะมณฑลอุดรธานี ๑๔ ป เปนสมาชิก
สังฆสภา ๑๗ ป เปนเจา คณะธรรมยตุ ผูชว ยภาค ๓, ๔ และ ๕ รวม ๑๒ ป ทา นปกครอง
พระภกิ ษสุ ามเณร และอุบาสก อบุ าสกิ า ดวยหลักพรหมวิหารธรรม เปน พระเถระท่ีเครงครัด
ในระเบียบแบบแผนและพระธรรมวินัย
สวนทางดา นการศึกษา ทา นกเ็ อาใจใสและใหการสนบั สนนุ ดวยดตี ลอดมา ท้งั นี้อาจ
เปนเพราะวา ทานไดรับการฝกอบรมส่ังสอน มาจากสำนักเรียนวัดเทพศิรินทราวาส อันเปน
ศูนยกลางการศึกษาวิชาการทางพระพุทธศาสนา ทานไดสงเสริมการศึกษาพระปริยัติธรรม
ท้งั แผนกนักธรรมและแผนกบาลี และทานเปน ครูสอนปริยัตดิ ว ยตนเอง นับตั้งแต สมยั ท่ที า น
มาเปนเจาอาวาสวัดโพธิสมภรณใหมๆ จนทำใหวัดของทานมีช่ือเสียงเล่ืองลือ มีพระภิกษุ
สามเณรสอบไดท้งั นกั ธรรม และเปรยี ญธรรมปละมากๆ
นอกจากการเอาใจใสในงานสวนรวมแลว ทานยังมีปฏิปทา ทางดานวัตรปฏิบัติ
กรรมฐาน อันมั่นคงดวยดตี ลอดมา เนือ่ งจากเคยฝก หัดอบรมกับทานพระอาจารยม น่ั ต้งั แต
ครง้ั ยังเปน สามเณร นนั่ คอื
(๑) ฉนั ภตั ตาหารมอ้ื เดยี ว
(๒) ถือไตรจวี ร คอื ใชผ า เพียง ๓ ผืน
(๓) ปฏบิ ัติสมถกรรมฐาน กำหนดภาวนา “พุทโธ” เปน อารมณ
(๔) ปรารภความเพียร ขยนั เจรญิ สมาธภิ าวนา

๙๒ สุรยิ าสอ งฟา จนั ทรศ รีสอ งธรรม

(๕) เมื่อออกพรรษาปวารณาแลว ทานก็ออกตรวจการเดินทางไปเยี่ยมเยือน
พระภกิ ษสุ ามเณร ซึ่งอยูในเขตปกครองเปนลกั ษณะการไปธดุ งคตลอดหนาแลง

คุณงามความดีที่พระเดชพระคุณ ทานเจาคุณพระธรรมเจดีย ไดบำเพ็ญมาดวย
วิริยะอุตสาหะ ทำใหพระเถระผูใหญ มองเห็นความสำคัญ และความสามารถของทาน
จึงไดยกยองเทิดทูนทาน ไวในตำแหนงทางสมณศักด์ิ เปนพระราชาคณะชั้นธรรมท่ี
“พระธรรมเจดีย”

แถวกลางนง่ั เกา อ้ี องคกลาง : พระธรรมเจดยี  (หลวงปูจูม พนฺธุโล)
องคซาย : พระอดุ มญาณโมลี (หลวงปูจ ันทรศรี จนฺททโี ป) และ ฯลฯ
บันทึกภาพรว มกบั คณะพระเถระครอู าจารยผ ูสอนพระปรยิ ัตธิ รรม

ในสำนักเรยี นวัดโพธสิ มภรณ ต.หมากแขง อ.เมอื ง จ.อุดรธานี

๙๓หลวงปูจ ันทรศรี จนฺททีโป

พระธรรมเจดีย (จูม พนธฺ ุโล)
วัดโพธสิ มภรณ จ.อดุ รธานี

พระธรรมเจดยี  มนี ามเดิมวา จมู จนั ทรวงศ เกดิ เมอ่ื วันพฤหัสบดี ๒๔ เมษายน ๒๔๓๑
ชาติภูมิอยูบานทาอุเทน อ.ทาอุเทน จ.นครพนม โยมบิดา-มารดา ช่ือ นายคำสิงห และนาง
เขียว จันทรวงศ ครอบครัวประกอบอาชีพทำนาทำไร เขาเรียนหนังสือที่โรงเรียนวัดศรีเทพ
ประดษิ ฐาราม อ.เมือง จ.นครพนม จนจบหลกั สูตรประถมศึกษาบรบิ รู ณ

๙๔ สุริยาสอ งฟา จนั ทรศรสี องธรรม

เม่ืออายุได ๑๒ ป บิดามารดาประสงคจะใหลูกชายไดบวชเรียน จึงไดจัดการให ด.ช.จูม
ไดบรรพชาเปนสามเณร เม่ือวันท่ี ๑๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๔๒ โดยมีพระครูขันธ ขันติโก
วัดโพนแกว อ.ทาอุเทน จ.นครพนม เปนพระอุปชฌาย เมื่อบวชเปนสามเณรแลว ทานได
อยู จำพรรษา ณ วดั โพนแกว ไดศ ึกษาเลาเรียนพระปรยิ ัติธรรม อกั ษรขอม อกั ษรธรรม และ
ภาษาไทย มีความสนใจในการศึกษา สามารถเขียนอานไดอยางคลองแคลว มีสติปญญา
เฉียบแหลม จนเปนที่รักใครของครูบาอาจารย นอกจากน้ี ทานยังไดฝกหัดเทศนมหาชาติ
(เวสสันดรชาดก) เปนทำนองภาคอีสาน ปรากฏวา เปนทน่ี ยิ มชมชอบของบรรดาญาตโิ ยม

ตอมาในป พ.ศ ๒๔๔๕ สามเณรจูมไดยายไปอยูวัดอินทรแปลง ต.ในเมือง อ.เมือง
จ.นครพนม เพื่อศึกษาเลาเรียนพระธรรมวินัย แตทานก็อยูจำพรรษาท่ีวัดอินทรแปลงไดเพียง
ปเ ดียว

พ.ศ. ๒๔๔๖ พระอาจารยจ ันทร เขมโิ ย ซง่ึ เปนพระอาจารยของสามเณรจูม มคี วามสนใจ
การปฏิบัติกัมมัฏฐานเปนพิเศษ พระอาจารยจันทรไดปรารภจะเดินทางไปกราบขออุบายธรรม
จากพระอาจารยใหญฝายกัมมัฏฐาน คือ พระอาจารยเสาร กนฺตสีโล และพระอาจารยม่ัน
ภรู ิทตฺโต ดงั น้ันสามเณรจูมและหมูคณะ จงึ ไดตดิ ตามพระอาจารยจนั ทร มุงสจู งั หวัดอบุ ลราชธานี

คณะพระอาจารยจนั ทรและลูกศิษย ไดเ ขากราบนมสั การพระอาจารยเสาร และพระอาจารย
มัน่ ณ สำนักวดั เลียบ อ.เมอื ง จ.อบุ ลราชธานี และไดฝ ากถวายตัวเปน ศษิ ย เพอ่ื ศกึ ษาขอ วัตร
ปฏิบัติ

ตลอดเวลา ๓ ป สามเณรจมู ไดรับการอบรมสง่ั สอนจากพระอาจารยใ หญเปน อยางดี จนมี
ความรูความเขาใจในเรื่องวัตรปฏิบัติ ทำใหสามเณรจูมประพฤติดีปฏิบัติชอบ สรางสมบารมี
เร่ือยมา จนไดเปนพระมหาเถระผูมีชื่อเสียงโดงดังและเปนปูชนียบุคคลของชาวอีสานในกาล
ตอมา

เม่ือวันท่ี ๙ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๕๐ สามเณรจูมไดเขาทำการอุปสมบท ณ พัทธสีมา
วดั มหาชยั อ.หนองบวั ลำภู จ.อดุ รธานี โดยมพี ระครูแสง ธัมมธโร วดั มหาชยั เปนพระอปุ ชฌาย,
พระครูสีมา สีลสัมปนโน วัดจันทราราม อ.ภูเวียง จ.ขอนแกน เปนพระกรรมวาจาจารย และ
พระอาจารยจ นั ทร เปน พระอนุสาวนาจารย

หลังอุปสมบท พระภิกษุจูมไดศึกษาเลาเรียนพระปริยัติธรรม ท้ังแผนกนักธรรมและบาลี
ณ สำนักวัดเทพศิรินทราวาส เปนเวลานานถึง ๑๕ ป สามารถสอบไลไดนักธรรมชั้นตรี-โท
ตอ มา สอบไลไ ดเปรยี ญธรรม ๓ ประโยค

๙๕หลวงปจู ันทรศรี จนทฺ ทีโป

แถวหนา สดุ จากซา ย : พระเทพสทิ ธาจารย (หลวงปจู ันทร เขมโิ ย), พระธรรมเจดีย (หลวงปจู มู พนฺธุโล),
พระอรยิ คุณาธาร (เสง็ ปสุ โฺ ส) แถวกลาง จากซา ย : หลวงปูข าว อนาลโย, หลวงปูฝน อาจาโร,
หลวงปูกวา สมุ โน, หลวงปมู หาทองสกุ สุจิตโฺ ต, หลวงปกู งมา จริ ปุ ฺโ

แถวหลงั จากซา ย : หลวงพอ วริ ยิ ังค สริ ินฺธโร, หลวงปูบวั สิรปิ ุณโฺ ณ, หลวงตาพระมหาบวั าณสมปฺ นโฺ น

ป พ.ศ. ๒๔๖๖ เจาพระยามุขมนตรี (อวบ เปาโรหิตย) สมุหเทศาภิบาลมณฑลอุดรธานี
ไดอ าราธนา พระมหาจูม ไปเปนเจาอาวาสวัดโพธสิ มภรณ จงั หวัดอดุ รธานี เมอื่ ไดรบั อนุญาต
จากสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย (เจริญ าณวรมหาเถร) เจาอาวาสวัดเทพศิรินทราวาส
จงึ เดนิ ทางมาอยูว ดั โพธิสมภรณ ต้งั แตน ัน้ เปน ตนมา

เมื่อดำรงตำแหนงเปนเจาอาวาส ทานไดเรงพัฒนาวัดโพธิสมภรณ ใหเจริญรุงเรือง
ในทกุ ๆ ดา น

ลำดบั สมณศักดิ์

พ.ศ. ๒๔๗๓ ไดร ับพระราชทานเล่ือนสมณศกั ด์เิ ปน พระราชาคณะชนั้ ราช ท่ี พระราชเวที
พ.ศ. ๒๔๗๘ ไดรับพระราชทานเลือ่ นสมณศักดเิ์ ปนพระราชาคณะชน้ั เทพ ที่ พระเทพกวี
พ.ศ. ๒๔๘๘ ไดรบั พระราชทานเล่อื นสมณศกั ดเิ์ ปนพระราชาคณะช้ันธรรม ท่ี พระธรรมเจดีย

๙๖ สรุ ยิ าสองฟา จันทรศรสี องธรรม

แถวหนา จากซาย : หลวงปูก าน ติ ธมฺโม, หลวงปฉู ลวย สุธมฺโม, พระธรรมเจดีย (หลวงปูจูม พนฺธโุ ล)
และหลวงปูขาว อนาลโย

แถวหนา จากซา ย : หลวงปูขาว อนาลโย, พระธรรมเจดยี  (หลวงปจู ูม พนฺธุโล)
หลวงปูบุญมา ติ เปโม, หลวงปูอ อน าณสิริ

แถวหลัง จากซา ย : หลวงปมู หาทองสกุ สจุ ิตโฺ ต (พระครอู ุดมธรรมคณุ ),
พระธรรมไตรโลกาจารย (หลวงปูรกั ษ เรวโต), พระครศู รภี มู านุรักษ (คำมี สวุ ณฺณสริ ิ),
หลวงตาพระมหาบัว าณสมปฺ นฺโน, หลวงปกู งมา จริ ปุฺโ, หลวงปูบ วั สริ ปิ ณุ ฺโณ

๙๗หลวงปจู ันทรศรี จนฺททโี ป

ทานเจาคุณพระธรรมเจดียเปนพระมหาเถระผูมีบุญบารมีมากรูปหน่ึง มีคุณธรรมสูง
มีวัตรปฏปิ ทาอนั งดงามซ่งึ พอทีจ่ ะนำมากลาวไดดังน้ี

๑. ธโี ร เปนนักปราชญ
๒. ปโฺ  มปี ญญาเฉยี บแหลม
๓. พหุสฺสุโต เปนผคู งแกเ รยี น
๔. โธรยโฺ ห เปน ผูเอาจริงเอาจังกับธุระทางพุทธศาสนา คอื คันถธรุ ะและวปิ สสนาธรุ ะ
๕. สีลวา เปน ผูมีศลี วัตรอนั ดีงาม
๖. วตวนฺโต เปนผูท รงไวซ ่งึ ธุดงควัตร
๗. อรโิ ย เปนผหู างไกลจากความชวั่
๘. สุเมโธ เปนผูมปี ญ ญาดี
๙. ตาทโิ ส เปนผมู นั่ คงในพระธรรมวนิ ยั ของพระสมั มาสัมพทุ ธเจา
๑๐. สปปฺ ุริโส เปน ผมู ีกาย วาจา และใจ อนั สงบเยือกเยน็ เปน สตั บุรษุ พุทธสาวก ผคู วร
แกก ารกราบไหวบ ชู าโดยแท
ทา นเจา คณุ พระธรรมเจดยี  (จูม พนธฺ ุโล) เริ่มอาพาธมาต้งั แตป พ.ศ. ๒๕๐๔ จนถึงเดอื น
มีนาคม พ.ศ. ๒๕๐๕ คณะแพทยโรงพยาบาลศิริราชไดถวายการรักษาโดยการผาตัดกอน
น่ิวออก รักษาจนหายเปนปกติแลวเดินทางกลับวัดโพธิสมภรณอุดรธานี ตอมาปลายเดือน
พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๐๕ ทา นเร่ิมอาพาธอกี คณะแพทยซงึ่ มีศาสตราจารย นพ.อวย เกตุสิงห
เปนประธานไดนิมนตทานเขารับการรักษาท่ีโรงพยาบาลศิริราช ทานเดินทางเขากรุงเทพฯ
เมอ่ื วันท่ี ๑๑ มถิ นุ ายน ๒๕๐๕ โดยมพี ระอาจารยม หาบวั าณสมปฺ นฺโน รวมเดนิ ทางไปดว ย
ศาสตราจารย นพ.อวย เกตุสิงห ไดถวายการรักษาดวยการผาตัดถุงน้ำดี มีกอนนิ่ว
๑๑ เม็ด อาการดีขึ้นเพียง ๓ วนั ตอจากนัน้ อาการกท็ รุดลงตองใหออกซเิ จนและนำ้ เกลือ วนั ที่
๙ กรกฎาคม ๒๕๐๕ ทานเจาคุณพระธรรมเจดียก็ถูกเวทนาอันแรงกลาครอบงำ แตทานมิได
แสดงอาการใดๆ ใหป รากฏ จนกระท่งั วันท่ี ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๐๕ พระธรรมเจดียก ถ็ ึงแกก รรม
มรณภาพดว ยอาการสงบ เมอ่ื เวลา ๑๕.๒๗ นาฬกา ณ โรงพยาบาลศิรริ าช สริ ิรวมอายุได ๗๔
ป ๒ เดอื น ๑๕ วัน พรรษา ๕๔

๙๘ สรุ ยิ าสองฟา จนั ทรศรีสอ งธรรม

น่ังบนพนื้ : พระตน๋ั รวุ รรณศร แถวนั่งเกา อี้ จากซาย : หลวงปเู ทสก เทสรสํ ี, หลวงปขู าว อนาลโย,
พระธรรมเจดยี  (หลวงปูจมู พนฺธุโล), หลวงปูบ ุญมา ติ เปโม, หลวงปูออน าณสริ ิ
แถวยนื หลังสดุ จากซาย : หลวงปูออนสี สเุ มโธ, พระศรรี ัตนวมิ ล,
พระธรรมไตรโลกาจารย (หลวงปูรักษ เรวโต), พระครูบรหิ ารคณานกุ จิ ,
หลวงตาพระมหาบัว าณสมปฺ นโฺ น, พระอาจารยจันทร เขมปตฺโต
บันทกึ ภาพเมือ่ วันที่ ๒๗ มีนาคม พทุ ธศักราช ๒๕๐๓

๙๙หลวงปจู นั ทรศ รี จนฺททีโป

วัดโพธิ์สมภรณ ในป ๒๔๙๗

หลวงปจู นั ทรศรี เลาถงึ ประวัติวัดโพธ์ิสมภรณ ในครั้งกระน้นั วา “พื้นทีใ่ นบรเิ วณวัด
ยังเปนหลุมเปนบอคลายทุงนา มีหญาข้ึนเต็มบริเวณวัดในหนาฝน ถึงหนาแลงหญาตายลง
เกลอื ขน้ึ ตามลานวดั ตนไมม เี พียง ๓-๔ ตน ถนนยงั ไมมี มีทางเดนิ ของพระเณรไปโรงเรยี น
พระปริยัติธรรม โบสถ ศาลาการเปรียญ เทานั้นมีกุฏิไม ๕-๖ หลัง กุฏิถาวรมีกุฏิหลวงปู
พระธรรมเจดีย โรงเรียนพระปริยัติธรรมกอดวยอิฐถือปูน ๒ ชั้น พ้ืนปูดวยกระดานไม
ตะเคียนทอง หลังคามุงกระเบ้ืองดินเผาจากหนองคาย ศาลาการเปรียญมุงกระเบ้ืองดินเผา
จากหนองคาย กุฏเิ ทศบาลชำรดุ ทรุดโทรม ฝาผนังกอ อิฐถือปูนพื้น ๒ ชั้น ปูดวยกระดานไม
ตะเคียนทอง หลงั คามงุ กระเบ้อื งดินเผาจากหนองคาย เวลาฝนตกรั่วแทบทกุ หอ ง หลวงปูอยู
หอ งหนามขุ กบั ศิษย ๑ คน ขณะน้นั มพี ระ ๑๐ รูป พระอดุ รคณาจารยยังเปน สมหุ  (สวัสด)์ิ
ฐานานกุ รมของหลวงปูพระธรรมเจดีย อยกู ุฏิตึกสเี่ หลยี่ ม ทิศตะวันตกหลงั วัด อุโบสถหลังคา
มุงกระเบ้ืองดินเผาจากหนองคาย ไมมีชอฟาใบระกา กุฏิเปนไมสวนมาก การบิณฑบาตไม
พอฉัน เวลา ๑๐.๐๐ น. เณร-เด็ก ตอ งหุงขาวทำกบั ขา วเอง ฟนกห็ ายาก อาหารเพลหลวงปู
แจกปลาทู กุฏิละ ๒-๓ ตัว ความเปนอยูของพระ-เณร-เด็ก คอนขางลำบากพอสมควร
ขณะน้ัน วัดโพธิสมภรณยังเปนวัดราษฎร ต้ังอยูทิศตะวันตกของหนองประจักษมีเน้ือที่ดิน
๔๐ ไร บานเรือนประชาชนมีนอย ไฟฟายังไมมี ในวัดใชเทียน ตะเกียงโคมใสน้ำมันกาด
จุดดหู นังสือ”

บรู ณะพระอโุ บสถ

หลวงปูจันทรศรี ทานเลาวา ต้ังแตมาอยูวัดโพธิสมภรณ เม่ือครั้ง พระธรรมเจดีย
(จูม พนฺธุโล) ยังมีชีวิตอยู ทานไดเสียสละความสุขสวนตัว ชวยทำศาสนกิจทุกอยางซ่ึงเกิด
ข้ึนภายในวัดและนอกวดั ดวยยินดี เทาท่ที า นจะใชใ หทำ ก็ทำตามความสามารถท่ีจะทำได

ในชว งป พ.ศ. ๒๕๐๑ - ๒๕๐๕ พระธรรมเจดยี  (จมู พนธฺ โุ ล) มอบหนาทีใ่ หหลวงปู
เปนผูควบคุมการบูรณะพระอุโบสถ มีการเปลี่ยนแปลงหลังคาของเกาใหมีมุขหนา-มุขหลัง
สรางโครงหลังคาตามแบบแปลนของกรมศิลปากรใหมีชอฟา ใบระกา คันทวย บัวหัวเสา
ซมุ ประตู หนาตา ง หนา บนั เปนตน

๑๐๐ สุริยาสองฟา จนั ทรศรีสองธรรม

ในเร่อื งซอมโบสถ หลวงปูเลา วา “พ.ศ. ๒๕๐๑ โบสถมนั รวั่ มาก ทา นกส็ ั่งใหพระให
เณรในวดั เอาหลงั คาโบสถออก ตอนนั้นอายุ ๔๐ กวายงั แข็งแรง ขนึ้ หลงั คาโบสถไดอ ยู ข้ึนไป
คมุ ทานใหข นึ้ ไปร้ือกระเบ้อื งหลงั คาโบสถ ตอนน้นั หลวงปไู ดเ ปน เจาคณะจังหวดั แลวและเปน
พระราชาคณะท่ี พระครูสริ ิสารสุธี เปนคนชว ยทานคุมโบสถ ตอนนัน้ หลวงปยู งั ไมค อยรเู ร่ือง
อะไร ก็เลยถูกทานดุเอาบา ง บางวนั ตอ งข้นึ หลังคาโบสถต ั้งแตเชาจนถงึ เพล ฉนั เพลเสรจ็ แลว
ก็พักช่ัวโมงหนึ่ง พักเสร็จกลับขึ้นไปใหม พอร้ือเสร็จ ก็ใหชางไปติดกระเบ้ืองหลังคาโบสถ
สวนผนังโบสถไมร้ือ เพียงกระเทาะปูนออกแลวก็ฉาบใหม แตงซุมประตูหนาตางใหม เอาไม
เกา บาง ไมพอก็หาไมม าเพม่ิ คาจา งสมยั น้นั ๑๕๐,๐๐๐ บาท

ป ๒๕๐๕ เวลาทานอาพาธมาอยูโรงพยาบาลศิริราช ผลัดกันกับหลวงตาบัว
สวนหลวงปูนั้นไปๆ มาๆ เพราะโบสถยังไมเสร็จ ตองกลับไปดูแลชางเขากำลังซอมโบสถ
ก็มอบใหหลวงตาบัวใหทานอยูประจำหมออวย เกตุสิงห ซึ่งเปนผูอำนวยการโรงพยาบาล
ศิรริ าชเขายกหองใหหลวงตาบัวหอ งหนึ่งสำหรบั พักผอน ไปมาปฏบิ ัติหลวงปูธรรมเจดีย”

ขบวนอญั เชิญโกศบรรจุศพ พระธรรมเจดยี  จากกรุงเทพฯ มายงั วัดโพธิสมภรณ อุดรธานี

๑๐๑หลวงปูจันทรศรี จนฺททโี ป

พุทธศาสนิกชนเฝารอรับขบวนอัญเชิญโกศบรรจศุ พ พระธรรมเจดยี  หนา พระอโุ บสถ วัดโพธสิ มภรณ

รบั สนองพระบญั ชา

แตเดิมน้ัน หลวงปูไมไดคิดวาจะอยูที่วัดโพธิสมภรณเปนเวลานานถึงเปนเจาอาวาส
แตมาตามพระบัญชาของสมเด็จพระสังฆราชเจา กรมหลวงวชิรญาณวงศฯ และเมื่อมีโอกาส
เขาเฝา ก็กราบทูลขอกลับมาอยูวดั บวรนเิ วศฯ เพือ่ ศกึ ษาตอ แตท รงมีรบั สงั่ วา “ยังหาตวั แทน
ไมได” ตองจำใจอยูตอไป จนกระทั่งสมเด็จพระสังฆราชเจา กรมหลวงวชิรญาณวงศฯ
ส้ินพระชนม ก็ยังไมละความต้ังใจเดิม พยายามจะกลับคืนวัดบวรนิเวศฯ คร้ันตอมา
พระธรรมเจดยี  (จมู พนธฺ โุ ล) ก็มาถงึ แกมรณภาพอีกในป ๒๕๐๕

เม่ือไดยอนระลึกถึงพระคุณท่ีไดรับความอุปถัมภบำรุงดวยเมตตาธรรมตลอดมา
ทั้งจากสมเด็จพระสังฆราชเจา กรมหลวงวชิรญาณวงศฯ และพระธรรมเจดีย (จูม พนฺธุโล)
ตลอดบรรดาบูรพาจารย ทุกทานทุกองค หลวงปูจึงไดต้ังใจเสียสละรับเอาภารธุระในกิจการ
พระศาสนา เพื่อสนองพระเดชพระคุณดวยความยินดีเต็มความสามารถที่จะทำได โดยได
รับแตงต้ังใหเปนรักษาการเจาอาวาสวัดโพธิสมภรณ วัดราษฏร ตั้งแตวันท่ี ๑๑ ก.ค.
พ.ศ. ๒๕๐๕

๑๐๒ สุริยาสอ งฟา จนั ทรศ รีสองธรรม

จนถึง พ.ศ. ๒๕๐๗ พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั โปรดเกลา ฯ พระราชทานพระบรม
ราชานุญาตใหวัดโพธิสมภรณ เปนพระอารามหลวงช้ันตรี ชนิดสามัญ และในปเดียวกัน
หลวงปูก ็ไดร บั แตงตัง้ ใหเปนเจาอาวาสวัดโพธสิ มภรณ นบั วา เปน เจาอาวาส รูปท่ี ๓

รปู ที่ ๑ พระครูธรรมวินยานยุ ตุ (หนู) พ.ศ. ๒๔๕๐-๒๔๖๕
รปู ท่ี ๒ พระธรรมเจดยี  (จูม พนธฺ โุ ล) พ.ศ. ๒๔๖๖-๒๕๐๕
รปู ท่ี ๓ พระอดุ มญาณโมลี (จนั ทรศรี จนทฺ ทโี ป) พ.ศ. ๒๕๐๕-ปจจบุ นั

หลวงปูจนั ทรศ รี จนฺททโี ป

๑๐๓หลวงปูจ ันทรศรี จนทฺ ทโี ป

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ภมู พิ ลอดลุ ยเดช ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา ฯ พระราชทาน
พระบรมสารรี กิ ธาตุ แกพระอุดมญาณโมลี (จันทรศ รี จนฺททโี ป) เพอ่ื บรรจุ ณ พระบรมธาตธุ รรมเจดยี 

สรา งพระบรมธาตุธรรมเจดยี 

หลวงปจู ันทรศรี ไดเลา ใหฟ งถึงแรงบนั ดาลใจในการรเิ รมิ่ สรา งพระเจดยี  ดังน้ี
“เมอื่ พ.ศ. ๒๕๓๘ อาตมภาพไดไปเขาเฝา สมเดจ็ พระญาณสังวร สมเดจ็ พระสังฆราช
องคปจ จบุ ันนี้ ทานไดม อบพระบรมสารรี กิ ธาตใุ หข า พเจาเอามาเกบ็ ไวสักการบชู า ครนั้ ตอมา
อายุสังขารเขาสูวัยชรา เหมือนไมใกลฝงคิดถึงคุณพระพุทธศาสนาและครูบาอาจารย ดังนั้น
จึงปรารภสรางเจดียใหชื่อวา “พระบรมธาตุธรรมเจดีย” ไวเปนท่ีเก็บรักษาพระบรมสารี
ริกธาตุและพระธาตุของหลวงปูมั่น ซึ่งเจาคุณธรรมเจดียไดมารักษาไว พอทานมรณภาพ
ไปแลว อาตมภาพกเ็ กบ็ เอามารักษาไวให
ครัน้ เม่ือหลวงปูตกลงใจทีจ่ ะสรางพระเจดยี  ก็นำดอกไม ธปู เทียน ไปกราบสกั การะ
พระพุทธรัศมี พระประธานภายในพระอุโบสถ อธิษฐานบอกกลาวขอใหการกอสรางสำเร็จ
เรียบรอยดี และกลับไปที่กุฏิ ตอนคํ่าเม่ือไหวพระสวดมนตเสร็จแลว ก็นั่งภาวนา ตั้งจิต
อธิษฐานบอกกลาว พระธรรมเจดีย (หลวงปูจูม พนฺธุโล) วาจะสรางพระเจดียถวายหลวงปู
ขอใหห ลวงปชู ว ยใหก ารกอสรา งสำเร็จ ก็ไดย นิ เสียงพระธรรมเจดีย (หลวงปจู ูม พนธฺ ุโล) ดงั ที่
หู บอกวา “เออ จะมคี นมาชว ยหรอก”

๑๐๔ สุรยิ าสอ งฟา จันทรศ รสี องธรรม

๑๐๕หลวงปจู นั ทรศรี จนทฺ ทโี ป

กศุ ลเจตนาของหลวงปู

หลวงปูจันทรศรี จึงเปนผูนำ คณะสงฆ ศิษยานุศิษยและพุทธสาสนิกชน ในการ
กอสราง “พระบรมธาตธุ รรมเจดีย” โดยมีวัตถุประสงคดงั น้ี

๑. เพื่อบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ที่สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช
สกลมหาสังฆปริณายก ทรงพระเมตตาประทานใหกับวัดโพธิสมภรณและ ที่ไดรับ
พระราชทานมาจากพระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั ภมู ิพลอดุลยเดช

๒. เพ่อื บรรจพุ ระธรรมคำสอนของพระพทุ ธเจา ไวเ ปนแนวทางแกอนุชนรนุ หลัง
๓. เพอื่ บรรจุพระธาตอุ รหันตสาวก โดยเฉพาะบูรพาจารยแหง พระธุดงคกรรมฐาน
อาทิ หลวงปเู สาร กนฺตสีโล หลวงปูม่ัน ภูรทิ ตฺโต และศษิ ยานุศิษยอ งคส ำคญั ๆ ที่เปน เพชร
น้ำหนึง่ ในวงศพ ระกรรมฐาน
๔. เพ่ือประดิษฐานรูปเหมือน ชีวประวัติ และคติธรรม บูรพาจารย พระธุดงค
กรรมฐาน องคสำคัญๆ ไดแก หลวงปูเสาร กนฺตสีโล, หลวงปูมั่น ภูริทตฺโต, หลวงปูสิงห
ขนตฺ ยาคโม,หลวงปูเ ทสก เทสรสํ ,ี หลวงปูอ อ น าณสริ ,ิ หลวงปหู ลยุ จนฺทสาโร, หลวงปขู าว
อนาลโย, หลวงปฝู น อาจาโร, หลวงตาพระมหาบัว าณสมปฺ นโฺ น เปนตน
๕. เพ่ือประดิษฐาน อัฐบรขิ าร รูปเหมอื น ชีวประวตั ิและคตธิ รรมไวเปนอนสุ รณแ ด
พระธรรมเจดยี  (จูม พนธฺ ุโล) อดีตเจา อาวาสวดั โพธสิ มภรณและพระอดุ มญาณโมลี (จันทรศ รี
จนฺททีโป) เจาอาวาสวัดโพธสิ มภรณองคปจจบุ นั
๖. เพื่อนอมเกลาฯ ถวายเปนพระราชกุศลเนื่องในวโรกาสท่ีพระบาทสมเด็จ
พระเจา อยหู ัวฯ ทรงเจริญพระชนมายคุ รบ ๘๐ พรรษา ในป พ.ศ. ๒๕๕๐
๗. เพือ่ นอ มเกลา ฯถวายเปนพระกศุ ลเนอ่ื งในวาระอันเปนมงคลที่พระเจาหลานเธอ
พระองคเจา พชั รกติ ยิ าภา ไดเ สด็จมาทรงงาน ณ สำนักงานอยั การจังหวดั อดุ รธานี
๘. เพ่ือเปนปูชนียสถานศูนยรวมจิตใจ คูแผน ดนิ ไทย ควรแกก ารกราบไหวสกั การ
บชู าของบรรดาพทุ ธศาสนกิ ชนทั่วทกุ สารทศิ ตราบนานเทานาน
“พระบรมธาตุธรรมเจดยี ” ประกอบดวย ๔ สวน หลกั คอื
๑. พระเจดยี พิพิธภณั ฑ
๒. พระระเบียงพระเจดยี 

๑๐๖ สุรยิ าสอ งฟา จนั ทรศรสี อ งธรรม

๓. ศาลามงคลธรรม
๔. สำนักงานทำนุบำรงุ
พระเจดยี พพิ ธิ ภณั ฑ มลี กั ษณะเปนอาคารรูปทรงแปดเหลย่ี ม มีหอ งโถง ๓ ช้ัน ฐาน
กวาง ๑๒ เมตร ความสูง ๓๘ เมตร มลี ักษณะผสมผสานสัญลักษณข องอีสานตอนบนและ
อารยธรรมลมุ แมน ำ้ โขง
หอ งโถงชั้นที่ ๑
ภายนอก จารึกคติธรรมพระธรรมเจดีย (จูม พนฺธุโล) และพระอุดมญาณโมลี
(หลวงปจู ันทรศ รี จนทฺ ทโี ป) พระบรมธาตุธรรมเจดีย และคำอุทิศมหากศุ ล
ภายใน เปนที่ประดิษฐานพระพุทธเมตตาธรรมเจดีย รูปเหมือน อัฐบริขาร ของ
พระธรรมเจดีย (จูม พนฺธุโล) และพระอุดมญาณโมลี (หลวงปูจันทรศรี จนฺททีโป) และรูป
เหมือน อัฐิธาตขุ อง พระธรรมวิสทุ ธมิ งคล (หลวงตาพระมหาบัว าณสมปฺ นฺโน)
หองโถงชั้นที่ ๒
ภายนอก จารึกพุทธโอวาทและ คตธิ รรมหลวงปเู สาร กนฺตสีโล หลวงปูม่นั ภรู ิทตโฺ ต
ภายใน เปนที่ประดิษฐานพระพุทธมหามณีศรีรัตนอุดมญาณโมลี (พระแกวมรกต
จำลอง) พระพุทธโคดม และพระพุทธเมตไตรย ภายในพระเกศประดิษฐานพระบรมสารี
ริกธาตรุ ูปเหมือน อฐั ิธาตุ ของหลวงปเู สาร กนฺตสีโล และ หลวงปมู นั่ ภูรทิ ัตโฺ ต
ภาพจิตรกรรมฝาผนังในหัวขอเรื่องปฏิปทาพระธุดงคกัมมัฏฐานโดยมี วัตถุประสงค
ของการวาดภาพ ดงั นี้
๑. เพ่ือสื่อใหเห็นถึงเรื่องราว การดำเนินปฏิปทา ในการใชชีวิตเย่ียงพระธุดงค
กรรมฐาน ผูมงุ ปฏบิ ตั เิ พือ่ ความพน ทุกข ตามแบบอยางพระบูรพาจารยหลวงปเู สาร กนฺตสีโล
หลวงปูมน่ั ภรู ิทตฺโต โดยมีพระธรรมวนิ ัย เปน หลักพนื้ ฐานในเบื้องตน อาศยั ธุดงควตั ร ๑๓
ขนั ธวัตร ๑๔ และกรรมฐาน ๕ เปนหลกั ในการบำเพ็ญ
๒. เพ่ือสื่อใหเห็นถึงความเกี่ยวโยง ระหวางตนกำเนิดวงศธรรมยุต และวงศ
พระธุดงคกรรมฐาน
๓. เพ่ือสื่อใหเห็นถึงความเปนมาในการกอสรางพระบรมธาตุธรรมเจดีย โดยมี
พระอุดมญาณโมลี (จันทรศรี จนฺททีโป) เปนผูนำ พรอมดวยคณะศิษยฝายบรรพชิตและ

๑๐๗หลวงปจู นั ทรศรี จนฺททีโป

คฤหสั ถ และพระเจาหลานเธอฯพระองคเจาพชั รกิตยิ าภา ทรงมีจิตศรัทธาใหความสนพระทยั
อุปถัมภบำรุง การกอ สรา งพระบรมธาตธุ รรมเจดยี  จนสำเรจ็ ลุลวงไปดวยดี

๔. เพื่อส่ือใหเห็นถึงสิ่งศักด์ิสิทธิ์ อันเปนปูชนียสถานท่ีสำคัญในแถบอีสานและลุม
แมน ำ้ โขง ไดแ ก พระธาตุหลวง พระธาตพุ นม และพระบรมธาตธุ รรมเจดีย

๕. เพอื่ ส่ือใหเ หน็ ถงึ เรื่องราวในสบุ ินนิมติ ของทานพระอาจารยม ่ัน ภรู ิทตโฺ ต
๖. เพ่ือส่ือใหเห็นถึงเทวทูตท้ัง ๔ อันเปนเครื่องเตือนสติ ไมใหใชชีวิตดวยความ
ประมาทมวั เมา
หองโถงช้นั ท่ี ๓
ภายนอก จารึกพทุ ธโอวาท และทศบารมี
ภายใน เปนท่ีประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุในพระธรรมธาตุเจดีย ซึ่งไดรับ
พระราชทานมาจากพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ภูมิพลอดุลยเดช ประมุขฝายอาณาจักร
และสมเดจ็ พระญาณสงั วร สมเดจ็ พระสงั ฆราช ประมุขฝา ยศาสนจักร
ภาพจิตรกรรมฝาผนังเร่อื งราวสังเวชนยี สถานทง้ั ๔

๑๐๘ สรุ ิยาสอ งฟา จนั ทรศ รสี อ งธรรม

ภายนอกพระบรมธาตธุ รรมเจดยี 

๑๐๙หลวงปูจนั ทรศ รี จนทฺ ทโี ป

ภายใน ช้นั ๓ พระบรมธาตุธรรมเจดีย
ภายใน ชน้ั ๒ พระบรมธาตุธรรมเจดยี 

๑๑๐ สรุ ยิ าสอ งฟา จันทรศ รสี อ งธรรม

ภายใน ช้นั ๑ พระบรมธาตธุ รรมเจดยี 

๑๑๑หลวงปูจนั ทรศรี จนฺททโี ป

ประวัติวดั โพธิสมภรณ
สถานทตี่ ้ังวดั

วัดโพธิสมภรณ ตั้งอยูถนนเพาะนิยม เลขท่ี ๒๒ ตำบลหมากแขง อำเภอเมือง จังหวัด
อดุ รธานี อยูทางทิศตะวนั ตกของหนองประจักษ มเี น้อื ที่ ๔๐ ไร

พระอโุ บสถวดั โพธสิ มภรณ (อดตี )

ความเปนมา

วัดโพธิสมภรณเริ่มสรางเม่ือป พ.ศ. ๒๔๔๙ ตอนปลายสมัยรัชกาลที่ ๕ แหงกรุง
รัตนโกสินทร โดยมหาอำมาตยตรี พระยาศรีสุริยราชวรานุวัตร (โพธิ เนติโพธิ) สมุหเทศา-
ภิบาล มณฑลอุดร ไดพิจารณาเห็นวาในเขตเทศบาลเมืองอุดรธานี มีเพียงวัดมัชฌิมาวาส
วดั เดยี วเทา นน้ั สมควรท่ีจะสรางวัดขึ้นอกี สกั วดั หนึง่ จงึ ไดไ ปสำรวจดสู ถานทีท่ างดานทิศใตของ
“หนองนาเกลือ” ซึ่งเปนหนองน้ำกวางใหญ อุดมไปดวยเกลือสินเธาว มีปลาและจระเขชุกชุม
(ตอมาภายหลังไดเปลี่ยนช่ือเปน “หนองประจักษ” เพื่อเปนอนุสรณแด กรมหลวงประจักษ
ศิลปาคมผูกอตั้งเมืองอุดรธานี) เห็นวาเปนทำเลที่เหมาะสมควรแกการสรางวัดไดเพราะเปน
ทร่ี าบปาละเมาะ เงยี บสงบดี ไมใ กลไ มไกลจากหมบู า นมากนกั และอยใู กลแหลงนำ้

๑๑๒ สุรยิ าสอ งฟา จันทรศรสี องธรรม

เม่ือตกลงใจเลือกสถานท่ีไดแลว ก็ไดชักชวนราษฎรในหมูบานหมากแขง ถากถางปาจน
ควรแกการปลูกกุฏิ ศาลาโรงธรรม สำหรับใชเปนท่ีบำเพ็ญบุญ และเปนที่ถือน้ำพระพิพัฒน
สัตยาประจำปของหนวยราชการ ใชเวลาสรางอยูประมาณ ๑ ป ในระยะแรกชาวบานเรียกวา
“วัดใหม” เพราะแตเดิมมีเพียงวัดมัชฌิมาวาส ซึ่งชาวบานเรียกวา “วัดเกา” ดวยพบรองรอย
เปนวัดรางมากอน มีเจดียศิลาแลงเกาแกและพระพุทธรูปหินขาว ปางนาคปรก และไดกราบ
อาราธนา พระครูธรรมวินยานุยุต (หนู) เจาคณะเมืองอุดรธานี จากวัดมัชฌิมาวาสมาเปน
เจา อาวาสวดั

ตั้งชอ่ื

พระยาศรีสุริยราชวรานุวัตร (โพธิ เนติโพธิ) ไดนำความข้ึนกราบทูลขอช่ือตอ พระเจา
วรวงศเธอกรมหลวงชินวรสิริวัฒน สมเด็จพระสังฆราชเจา วัดราชบพิธฯ กรุงเทพฯ ไดทรง
ประทานนามวา “วัดโพธิสมภรณ” เพื่อใหเปนอนุสรณแด พระยาศรีสุริยราชวรานุวัตร
(โพธิ เนติโพธิ) ผสู รา งวดั น้ี

รว มใจพัฒนา พระอุโบสถวดั โพธสิ มภรณ (ปจ จุบนั )

ประมาณ ๓ ปตอมา พระยาศรีสุริยราชวรานุวัตร กับทานเจาอาวาสก็ไดเริ่มสรางโบสถ
ไมขึ้น พอเปนที่อาศัยทำอุโบสถสังฆกรรม คร้ันตอมา ก็ไดเร่ิมสรางโบสถกอดวยอิฐ ถือปูน

๑๑๓หลวงปูจันทรศรี จนฺททโี ป

โดยใชผูตองขังในเรือนจำเปนแรงงาน โดยพระยาศรีสุริยราชวรานุวัตรเปนชางผูควบคุมการ
กอ สรา งเอง แตย งั ไมแลว เสร็จ ทานก็ไดถ งึ แกก รรมเสยี กอนเมื่อป พ.ศ. ๒๔๕๕

สำหรับพระครูธรรมวินยานุยุต ทานมาอยูใหเปนครั้งคราวบางปก็มาจำพรรษาเพ่ือฉลอง
ศรัทธาของพระยาศรีสุริยราชวรานุวัตรบาง มีพระรูปอ่ืนมาจำพรรษาแทนบาง ตอมาเม่ือทาน
ชราภาพมากแลวคณะศิษยและลูกหลานทางเมืองหนองคาย เห็นพองกันวา ควรอาราธนาทาน
ไปอยูจำพรรษาที่วัดศรีเมือง จังหวัดหนองคาย เพ่ือสะดวกในการปรนนิบัติ และไดมรณภาพ
ณ ทีน่ นั้

เสาะหาผนู ำ

ในป พ.ศ. ๒๔๖๕ มหาเสวกโท พระยาราชนุกูลวิบูลยภักดี (อวบ เปาโรหิตย) ข้ึนดำรง
ตำแหนงอปุ ราชมณฑลภาคอีสาน และเปน สมุหเทศาภิบาลมณฑลอดุ รธานดี วย (ตอมาไดเลอ่ื น
บรรดาศักดิเ์ ปน เจา พระยามุขมนตรี ศรสี มหุ พระนครบาล) ไดมาเสรมิ สรางวดั โพธสิ มภรณตอ

โดยขอขยายอาณาเขตใหกวางออกไป ตลอดถึงกอสรางเสนาสนะเพ่ิมเติมอีกหลายหลัง
พรอมกบั สรางพระอโุ บสถตอ จนแลวเสรจ็ และจัดการขอพระราชทานวิสุงคามสมี าใหเ ปน หลักฐาน
ท้ังเห็นวาภายในเขตเทศบาลของจังหวัดน้ี ยังไมมีวัดธรรมยุติกนิกายสักวัด สมควรจะต้ังวัดนี้
ใหเ ปน วัดของคณะธรรมยุตโดยแท

เมื่อกิจการพระศาสนาไดเจริญกาวหนาข้ึนโดยลำดับเชนน้ี แตวายังขาดพระภิกษุผูเปน
เจาอาวาส เจาพระยามุขมนตรีฯ จึงไดปรึกษาหารือกับพระเทพเมธี (ติสฺโส อวน) เจาคณะ
มณฑลอุบลราชธานี โดยมีความเห็นพองตองกันวา สมควรจัดพระเปรียญเปนเจาอาวาส
วัดโพธิสมภรณเพื่อจะไดบริหารกิจการพระศาสนา ฝายปริยัติธรรมและฝายวิปสสนาธุระ ให
กวางขวา งย่ิงขึ้น ดงั นั้น เจา พระยามุขมนตรฯี จงึ นำความคิดเห็นกราบเรยี นตอพระศาสนโสภณ
เจาอาวาสวัดเทพศิรินทราวาส กรุงเทพฯ กอน แลวจึงนำความข้ึนกราบทูลพระเจาวรวงศเธอ
กรมหลวงชินวรสิริวัฒน สมเด็จพระสังฆราชเจา วัดราชบพิธฯ ขอพระเปรียญ ๑ รูป จากวัด
เทพศิรินทรฯ ไปเปนเจาอาวาสวัดโพธิสมภรณสืบไป สมเด็จพระสังฆราชเจาฯ จึงทรงรับส่ังให
เจาอาวาสวัดเทพศิรินทราวาส เลือกเฟนพระเปรียญ ก็ไดพระครูสังฆวุฒิกร (จูม พนฺธุโล)
ป.ธ. ๓ น.ธ.โท ฐานานกุ รมของทาน ซง่ึ ไดศ กึ ษาเลา เรียนอยใู นสำนักวัดเทพศริ ินทรฯ เปนเวลา
ถึง ๑๕ ป วา เปน ผูเหมาะสมทง้ั ยังเปนที่ชอบใจของเจาพระยามุขมนตรีฯ อกี ดวย เพราะทานเคย
เปนผูอุปถัมภบำรุงอยูกอนแลว พระครูสังฆวุฒิกร (จูม พนฺธุโล) จึงไดยายจากวัดเทพศิรินทรฯ
กรุงเทพฯ ไปเปนเจาอาวาสวัดโพธิสมภรณ ต้ังแตปกุน พ.ศ. ๒๔๖๖ วัดโพธิสมภรณ จึงเปน
วัดของคณะธรรมยตุ ต้งั แตบัดนั้นมาจนถึงปจจบุ นั

๑๑๔ สรุ ิยาสอ งฟา จันทรศ รีสอ งธรรม

หลกั ธรรมเจดยี 

วัดโพธิสมภรณ ในระยะนั้นยังมีสภาพเปนปาละเมาะอยูมีเสนาสนะช่ัวคราวพอคุมแดด
คุมฝน บริเวณโดยรอบก็ยังเปนปา ไมคอยมีบานเรือน เงียบสงบ อาหารบิณฑบาตตามมี
ตามได น้ำใชก็ไดจากบอบาดาลในวัด ซ่ึงพระเณรชวยกันตักหาบมาใสตุมใสโอง พระเณรระยะ
แรกยังมนี อ ย ทั้งอตั คัดกันดารในปจ จัยสี่ แตด วยความมุงม่ันตัง้ ใจทีจ่ ะบรหิ ารกิจการพระศาสนา
ใหเจรญิ กาวหนา พระครูสังฆวุฒิกร (จูม พนธฺ ุโล) ไดท มุ เทพฒั นาวดั ในทุกๆ ดา น สวนที่เปน
ศาสนวัตถุนั้น ทานไดบูรณะซอมแซมและสรางเสริมเพ่ิมเติมใหมั่นคงถาวร อาทิเชน กุฏิกออิฐ
ถอื ปนู ๒ ชั้น ๓ หลงั กุฏไิ ม ช้นั เดียว ๑๗ หลัง ศาลาการเปรยี ญ ไมช ั้นเดยี ว ๑ หลัง โรงเรียน
พระปรยิ ตั ิธรรม ๑ หลงั โรงเรียนภาษาไทย ๑ หลัง โดยแตละหลงั สูง ๒ ช้นั ผนังกออิฐถอื ปูน
พ้นื ไมต ะเคียนทอง หลงั คามุงกระเบอื้ งดินเผา สน้ิ เงนิ หลงั ละประมาณ ๒๐,๐๐๐ บาท

สำหรับพระอุโบสถ ไดกอสรางจนแลวเสร็จ โดยพระยามุขมนตรีฯ (อวบ เปาโรหิตย)
เปน ผูอุปถมั ภมคี วามกวา ง ๑๒.๔๗ เมตร ยาว ๒๗.๘๕ เมตร สูงจากพืน้ ถงึ อกไก ๒๒.๓๐ เมตร
มีเสาอยูภายใน ๑๖ ตน ไมมีชอฟาใบระกา ไมมีมุขหนา มุขหลัง ผนังกอ อิฐถือปูนหนา
๗๕ ซ.ม. โครงหลงั คาใชไ มเ นอ้ื แขง็ ทั้งหมด มงุ ดว ยกระเบอ้ื งดนิ เผา พนื้ ปูดวยกระเบอื้ งดนิ เผา
ส้ินเงนิ คา กอ สรา ง ๓๐,๐๐๐ บาท

สวนที่เปนศาสนทายาทนั้น ทานไดเอาใจใสท้ังฝายปริยัติและปฏิบัติ โดยไดจัดบริหาร
การศึกษาพระปริยัติธรรม ไดแก นักธรรมช้ันตรี, โท, เอก และแผนกบาลีไวยากรณ (ตั้งแต
เปรยี ญ ๓ ประโยค ถงึ เปรียญ ๕ ประโยค ซึ่งมพี ระภกิ ษสุ ามเณรจากจังหวดั ตางๆ ในมณฑล
อุดรธานี มาศึกษาเลา เรยี นอยูในวดั โพธสิ มภรณ และสอบไลใ นสนามหลวงไดเปน จำนวนมาก
นับเปนสำนักเรียนที่มีชื่อเสียงเปนท่ีนิยมยกยอง ในฝายวิปสสนาธุระ ไดจัดใหมีการอบรม
กรรมฐานควบคูกันไปดวย เพ่ือฝกหัดขัดเกลาบมเพาะนิสัยพระเณร ใหมีความประพฤติ
เรยี บรอย ดีงาม ตามพระธรรมวนิ ยั

เม่ือวันท่ี ๖-๙ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๔๖๗ ไดประกอบพิธีผูกพัทธสีมาวัดโพธิสมภรณ
โดยมีพระศาสนโสภณ (เจริญ าณวโร) เจาคณะรองคณะธรรมยุต เจาอาวาสวัดเทพ
ศิรินทราวาส กรุงเทพฯ เปนประธานในการผูกพัทธสีมา ในวันที่ ๖ เดือน มีนาคม
พ.ศ. ๒๔๖๗ มพี ระเทพเมธี (อว น ตสิ โฺ ส) เจาคณะมณฑลอุบลราชธานี และพระมหาจมู พนธฺ ุโล
เจาอาวาส วดั โพธิสมภรณ พรอมดวยพระสงฆ ๕๒ รูป รว มในพธิ ีอยดู วย

พ.ศ. ๒๔๙๗ สมเดจ็ พระสังฆราชเจา กรมหลวงวชริ ญาณวงศ (ม.ร.ว.ชื่น สุจิตโฺ ต) ทรงมี
พระบัญชาให พระครูสิริสารสุธี (จันทรศรี จนฺททีโป) ไปอยูวัดโพธิสมภรณ เพื่อชวยแบงเบา
ภาระของพระธรรมเจดีย (จูม พนธฺ ุโล) เนือ่ งดว ยชราภาพมากแลว

๑๑๕หลวงปูจนั ทรศรี จนฺททโี ป

ตอมา พ.ศ. ๒๕๐๑-๒๕๐๕ พระธรรมเจดีย ไดใหชางตอเติมมุขหนา มุขหลัง ของ
พระอุโบสถอีกดานละ ๖ เมตร จึงยาว ๔๐ เมตร พอดี ตลอดถึงไดเปล่ียนแปลงหลังคาเปน
สามลดสามชนั้ มงุ ดว ยกระเบื้องเคลอื บดนิ เผา มีชอฟาใบระกา โดยมอบหมายให พระสิรสิ ารสธุ ี
เปนผูควบคุม นับเปนพระอุโบสถทส่ี วยงามในภาคอีสานอีกหลงั หน่ึง

พ.ศ. ๒๕๐๕ พระธรรมเจดีย อาพาธดวยโรคน่ิวในถุงน้ำดีและถึงแกมรณภาพดวย
ความสงบ เม่ือวันท่ี ๑๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๐๕ ณ โรงพยาบาลศิริราช คณะศิษยานุศิษย
ไดรว มกันบรจิ าคทรพั ยส รางเมรุถาวร และศาลาบำเพญ็ กศุ ลศพ ๒ หลงั ไดแก ศาลาประจงจิตต
และศาลาสามพระอาจารย เพ่ือเปน อนุสรณและเปน ท่พี ระราชทานเพลิงศพดวย

จนั ทรศ รีผองเพญ็

แตเดิมน้ัน พระสิริสารสุธี (จันทรศรี จนฺททีโป) ไมไดคิดวาจะไดมาอยูวัดโพธิสมภรณ
เปนเวลานาน ดวยมาตามพระบัญชาของเจาพระคุณสมเด็จพระสังฆราชเจา กรมหลวง
วชิรญาณวงศฯ เมื่อกลับไปเขาเฝา สมเด็จพระสังฆราชเจาฯ ณ วัดบวรนิเวศ เพื่อกราบทูล
ขอกลับมาอยูสำนักเดิม ดวยมีความประสงคจะศึกษาเลาเรียนใหสูงยิ่งๆ ขึ้นไป พระองค
ทรงรับสั่งวา ยงั หาตวั แทนไมได กเ็ ลยตอ งอยูตอ ไปจนกระท่ังสมเด็จพระสังฆราชเจา กรมหลวง
วชิรญาณวงศฯ สิ้นพระชนมก็ยังไมละความต้ังใจเดิม อยูตอมา พระธรรมเจดียก็มาถึงแก
มรณภาพลงอีก ทานก็ไดยอนระลึกถึงพระคุณที่ไดรับความอุปถัมภบำรุง ดวยเมตตาธรรม
ตลอดมา ท้ังจากสมเด็จพระสังฆราชเจาฯ พระธรรมเจดียตลอดบรรดาบูรพาจารย ทุกทาน
ทุกองค จึงไดตั้งใจเสียสละ รับเอาภารธุระในกิจการพระศาสนาเพ่ือสนองพระเดชพระคุณ
ดว ยความยนิ ดีเต็มความสามารถท่ีจะทำได

ในเวลาตอมา วัดโพธิสมภรณ ไดปรับปรุงเปล่ียนแปลงไปจากยุคแรกๆ เปนอันมาก
มีความเจริญกาวหนาไปอยางดี ดวยบรรดาศิษยยานุศิษย และสัทธิวิหาริกของพระธรรมเจดีย
โดยเฉพาะบรรดาครูบาอาจารยกรรมฐาน สายทานพระอาจารยมั่น ภูริทตฺโต ก็มีเปน
จำนวนมาก ตางเจริญงอกงามเปนกำลังสำคัญในการเผยแผพระศาสนาในฝายคฤหัสถก็เจริญ
กาวหนา ในทางบา นเมอื ง ตลอดถึงประชาชนตา งกม็ คี วามตนื่ ตัวสนใจในพระศาสนา ก็ไดชวยกัน
ทำนุบำรุงวดั โพธสิ มภรณ ใหเ จริญรุงเรืองสบื ตอ มา

พ.ศ. ๒๕๐๖ เปนศูนยศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย โดยมีนักเรียนตามโรงเรียน
ตางๆ มาเรียน ตั้งแตชั้น ป.๕ จนถึงมัธยมตน เพ่ืออบรมใหนักเรียนมีความรูความเขาใจ
ในพระพุทธศาสนาใหถกู ตองลกึ ซึ้ง ยิ่งข้นึ

๑๑๖ สุรยิ าสองฟา จนั ทรศรีสอ งธรรม

วันที่ ๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๐๗ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ ไดทรงโปรดเกลาฯ
พระราชทานพระบรมราชานุญาต ใหว ัดโพธิสมภรณเ ปนพระอารามหลวงชัน้ ตรี ชนิดสามัญ

วันท่ี ๒๖ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๐๗ ใหพ ระราชเมธาจารย (จนั ทรศ รี จนฺททีโป ป.ธ.๔)
เปนเจา อาวาสโพธิสมภรณ

วนั ท่ี ๑๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๑๖ สมเด็จพระสงั ฆราชฯ ทรงประทานพดั , ยา ม, ใบยก-
ยอ งเปนวัดพัฒนาตัวอยา ง

พ.ศ. ๒๕๑๗ ไดต ้งั ศูนยศกึ ษาบาลอี สี าน (ธรรมยตุ ) ท่ีวัดโพธสิ มภณ โดยความเหน็ พอ ง
ตองกันของพระสังฆาธกิ ารทุกระดบั ในภาค ๘-๙-๑๐-๑๑ เปนตนมาจนกระทัง่ บดั นี้

พ.ศ. ๒๕๔๔ ไดต งั้ ศูนยพฒั นาคณุ ธรรมจริยธรรม จังหวัดอดุ รธานี
วันที่ ๑๙ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๘ สมเด็จพระสังฆราชฯ ทรงประทานพระบรมสารีริกธาตุ
จำนวน ๙ องค ใหก ับพระอดุ มญาณโมลี (จนั ทรศ รี จนฺททโี ป) เจา อาวาส วดั โพธสิ มภรณ
วนั ที่ ๒๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ พระอดุ มญาณโมลี (จันทรศ รี จนทฺ ทีโป) วางศลิ า
ฤกษ พระบรมธาตุธรรมเจดยี  ไวเปนปูชนยี สถานอันศักดิ์สทิ ธิ์คแู ผนดินไทย
วันที่ ๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๒ พระบาทสมเด็จพระเจา อยูหัวฯ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา ฯ
พระราชทานพระบรมสารีริกธาตุ แกพระอุดมญาณโมลี (จันทรศรี จนฺททีโป) เพ่ืออัญเชิญ
ไปประดิษฐาน ณ พระบรมธาตธุ รรมเจดยี  วัดโพธสิ มภรณ
วันท่ี ๑ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๒ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
เสด็จพระราชดำเนินเปนประธานงานฉลองสมโภช พระบรมธาตุธรรมเจดีย และบรรจุพระบรม
สารีรกิ ธาตุ ณ พระบรมธาตุธรรมเจดีย วดั โพธิสมภรณ

ลำดบั เจาอาวาส

รูปที่ ๑ พระครธู รรมวินยานุยุต (หน)ู พ.ศ. ๒๔๕๐-๒๔๖๕

รปู ที่ ๒ พระธรรมเจดีย (จมู พนฺธุโล) พ.ศ. ๒๔๖๖-๒๕๐๕

รูปท่ี ๓ พระอุดมญาณโมลี (จันทรศ รี จนฺททโี ป) พ.ศ. ๒๕๐๕-ปจ จุบนั

๑๑๗หลวงปจู นั ทรศรี จนทฺ ทโี ป

๑๑๘ สุรยิ าสองฟา จันทรศ รสี องธรรม

ปูชนียวตั ถทุ ี่สำคัญของวดั

พระพุทธรูปทองสำริด เปนพระพุทธรูปปางมารวิชัยนามวาพระพุทธรัศมี หนาตักกวาง
๑.๕๕ เมตร สูง ๒.๓๐ เมตร อายุประมาณ ๖๐๐ ป สมัยสโุ ขทัย เปนพระประธานในพระอุโบสถ
และพระประธานองคน ย้ี ังมพี ระบรมสารีริกธาตบุ รรจไุ วใ นพระเศียรดวย

พระพุทธรูปศิลาแลง เปนพระพุทธรูปปางประทานพร สูง ๙๕ เซนติเมตร กวาง ๒๔
เซนติเมตร สมัยลพบุรี อายุประมาณ ๑,๓๐๐ ป ประดิษฐานอยูหลังพระอุโบสถ พระพุทธรูป
องคน ชี้ าวเมืองอดุ รใหความเคารพนับถอื เปน อยา งมาก มักจะมคี นมากราบไหวขอพรอยูเ สมอ

ตนพระศรีมหาโพธิ์ เปนตนโพธ์ิท่ีรัฐบาลประเทศศรีลังกา มอบใหรัฐบาลไทย ในสมัย
จอมพล ป. พิบลู สงคราม เปนนายกรัฐมนตรี ไดน ำมาปลูกไวเมื่อป พ.ศ. ๒๔๙๔

รอยพระพทุ ธบาทจำลอง ทำดว ยศลิ าแลง อายุประมาณ ๑๐๐ ปเศษ
ตูพระไตรปฎกลายทองลดน้ำ สรางในพระนามเจาฟามหิดลอดุลยเดช กรมหลวงสงขลา
นครินทร เมอ่ื ป พ.ศ. ๒๔๗๒
พระบรมธาตุธรรมเจดีย บรรจุพระบรมสารีริกธาตุและวัตถุมหามงคล สมควรแก
การสักการบชู า สรา งแลวเสร็จเมอ่ื ป พ.ศ. ๒๕๕๒ เปนหนึง่ ในสง่ิ ศักด์ิสทิ ธิ์ ๘ แหง ของจังหวัด
อุดรธานี ที่พุทธศาสนิกชนใหความเคารพเล่ือมใสอยางสูง ตองเดินทางมาสวดมนต ไหวพระ
นั่งภาวนาหรือกราบไหวสกั การะ เพอ่ื ความเปนศริ ิมงคลแกต นเองและครอบครัวเปนจำนวนมาก
โดยเฉพาะวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา จะเนืองแนน ลนหลามไปดวยสาธุชน ท่ีเปยมลนดวย
จิตศรทั ธา

๑๑๙หลวงปจู นั ทรศรี จนทฺ ทโี ป

๑๒๐ สุริยาสองฟา จนั ทรศรีสองธรรม
ปฏปิ ทาในปจ ฉมิ สมยั

กวา จะผา นพนศตวรรษ

หลวงปูเปนพระมหาเถระ ผูรัตตัญู เขาสูรมเงาแหงพระพุทธศาสนา เริ่มจากเปน
เด็กวัดเพ่ือศึกษาเลาเรียนตามความประสงคของมารดาและความพอใจของตนเองตั้งแตอายุ
๑๐ ป จากนั้นก็เริ่มชีวิตในรมผากาสาวพัตร ต้ังแตอายุ ๑๔ ป เร่ือยมา ตราบจนอายุจะ
ครบ ๑๐๑ ปในวันท่ี ๑๐ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ พรรษา ๘๐ ทานใชชีวิตอยูในสมณเพศ
เร่ิมตนท่ี ฝายมหานิกายและตอมาญัตติเปนฝายธรรมยุต เคยเท่ียววิเวกปฏิบัติภาวนาตาม
ปาเขา และจากน้ันไดไปศึกษาพระปริยัติธรรมที่กรุงเทพฯ หลวงปูจึงเปนผูมีโอกาสดี ท่ีได
เรียนรูทั้งหลักปริยัติและหลักปฏิบัติ ทำใหทานดำรงชีวิตอยูในครรลองแหงศีลธรรมมาตลอด
รอดฝง จนกระทง่ั ปจ จบุ ัน

อน่ึงในวัยเดก็ ไมท นั รเู ดยี งสา ทา นก็ยงั ตระหนกั ในบาปบุญคณุ โทษ รูจ ักละเวนในสงิ่
ที่ไมด ี โดยเฉพาะการเบียดเบียน ทำลายชวี ิตสตั ว แทบจะเรยี กไดวา ในชวี ติ ของทาน มีนอ ย
ที่สุด ปรารถนาใหสัตวทั้งหลายอยูเย็นเปนสุข ไมอาฆาตจองเวร ผูกโกรธพยาบาท ไมถือสี
ถอื สา ใหอภัยแกสัตว บคุ คลทง้ั ปวงแมจ ะมาเบยี ดเบียนก็ตาม เปน ผวู า นอนสอนงาย เคารพ
ออนนอมในผูใหญ ไมกระดางถอื ตวั กริ ิยามารยาท สภุ าพเรยี บรอย ออ นโยน ตัง้ อยใู นพรหม
วิหารธรรม ดังท่ีพระธรรมวิสุทธิมงคล (หลวงตาพระมหาบัว าณสมฺปนฺโน) กลาวไววา
“ทานเจาคุณวัดโพธ์นิ ีก้ ริ ิยานิสัยทา นดนี ะเรยี บรอ ยๆ มาต้งั แตต น...”

ต้ังแตทานเขามาอยูในรมผากาสาวพัตร เร่ิมตนที่ความเปนสามเณร ในวัยเด็กเพียง
๑๔ ขวบ ก็ตั้งใจรักษาศลี มใิ หด า งพรอยหรอื ขาดทำลาย ทา มกลางหมูเพื่อนสามเณร ทย่ี ัง
ซกุ ซน สนกุ สนาน กำลงั กินกำลงั นอน ตา งพากันละเลยลว งเกินสิกขาบทบา ง ทานสามารถ
หักหามใจ ไมประพฤติผิดศีลธรรมไปตามเพื่อนๆ ท้ังยังบอกเตือนและหามเพื่อนๆ มิให
กระทำความผดิ เพราะมีความละอายและเกรงกลวั ตอ บาปมาประจำนิสยั ดง้ั เดิม ประกอบกับ
ไดเ ขา รับการอบรมบม นสิ ยั ตัง้ แตเปนสามเณรนอ ย กบั ครูบาอาจารย พระธดุ งคกรรมฐานสาย
หลวงปูมน่ั ภรู ทิ ตโฺ ต ซึง่ มาเผยแผธ รรม ณ จังหวัดขอนแกน ทำใหท านดำรงมน่ั ในหลักธรรม
วินยั สำรวมระวังความประพฤตขิ องตนใหอยูในกรอบแหงศลี ธรรม นำพาใหชวี ติ ในสมณเพศ
ของทาน รอดพนจาก ความเสือ่ มเสียใดๆ เจริญงอกงามเตบิ ใหญในพระพุทธศาสนา กลาย

๑๒๑หลวงปูจันทรศรี จนทฺ ทีโป

มาเปนพระมหาเถระผูรัตตัญูเปนพระอุปชฌายผูเปยมดวยเมตตา รุงเรืองดวยจตุรพิธพรชัย
ทงั้ สี่ เปน ศูนยรวมศรัทธาของศิษยานศุ ิษยและพุทธศาสนกิ ชน ผูใฝหาสันติสุขอนั แทจริง

ปจ จบุ ันหลวงปู อายุยางเขา ๑๐๒ ป กวา จะมาถึงวันน้ี หลวงปู ไดกาวผา นชวงเวลา
ทวี่ ิกฤติ ในเรื่องสขุ ภาพ ถึง ๒ ครัง้ ในชว งเวลาเพยี ง ๑ ป และในวยั ลวง ๑๐๐ ป มาดวย
ความราบรื่น อยางที่หาไดโดยยาก สอแสดงใหเห็นถึงอานิสงสผลบุญโดยแทจริง ที่บันดาล
ส่ิงอนั นาปรารถนาใหบังเกดิ แกห ลวงปู สมดงั คำตรัสของพระพุทธเจาทว่ี า

“สิ่งท่ีนาปรารถนา นารักใคร ชอบใจ แตไดโดยยาก ๕ อยา ง คือ อายุ วรรณะ สุข
ยศ และสวรรค ทั้ง ๕ อยางน้ี ไมสามารถมีไดดวยการออนวอน...ผูใครจะไดส่ิงเหลาน้ี
ควรบำเพ็ญปฏิปทา ท่ีจะทำใหไดส่ิงเหลานี้จึงจะได ผูใหส่ิงท่ีนาพอใจ ยอมไดสิ่งที่นาพอใจ
ผูใหส ิ่งท่เี ลศิ ประเสริฐและประเสรฐิ สดุ ยอมไดส่ิงท่ีเลิศ ประเสรฐิ และประเสรฐิ สดุ ...”

อายุ วรรณะ สุข และยศ ที่ปรากฏขึ้นกับหลวงปู ยอมเปนอุทาหรณอยางเปน
รูปธรรม ในเร่ืองหลกั กรรมและผลของกรรม ทต่ี ามใหผลแกผกู ระทำ โดยไมล ำเอียง ไมเ ลอื ก
ท่ีรัก มักท่ีชัง ไมขึ้นกับความเชื่อหรือไมเช่ือของผูใด ไมมีที่ลับท่ีแจง ยอมติดตามบุคคลนั้น
ไปเหมอื นเงาตามตัว รอกาลที่จะใหผ ล อนั สมควรแกเ หตนุ น้ั ๆ เหตุดี ยอ มใหผลเปน ความสขุ
ในภายหลัง เหตชุ ่วั ยอมใหผ ลเปนความทุกขใ นภายหลงั

ดังจะกลาวถึงเหตุการณอาพาธหนักที่ผานมาโดยสังเขป เพ่ือประกอบการพิจารณา
ของวิญูชนทั้งหลาย ใหเพิ่มพูนความศรัทธาเลื่อมใสอันประกอบดวยปญญาเปนเคร่ือง
สอ งทางและปฏิบัตติ นใหเหมาะสมในฐานะศษิ ยและพุทธศาสนกิ ชน พงึ กระทำเพอื่ ปฏบิ ตั บิ ชู า
แดห ลวงปู โดยชอบยงิ่ ตามหลกั พระธรรมวนิ ัย

อาพาธหนกั ครั้ง ท่ี ๑

หลวงปู มีโรคประจำตัวท่ีสำคัญ คือภาวะล้ินหัวใจหลอดเลือดแดงใหญตีบ (aortic
stenosis) รวมกับ ภาวะหัวใจเตนไมสม่ำเสมอ (sick sinus syndrome) แตไมมีกลามเน้ือ
หัวใจขาดเลือด นอกจากนี้ก็เปนการเส่ือมสภาพตามวัย เชน โรคขาดไทรอยดฮอรโมน
โรคกระดกู พรุน โรคไขกระดกู ฝอ เปน ตน กอนหนาน้กี ็มอี าการอาพาธบาง เชน เปน ไขหวดั
หรือบางครั้งเปนโรคปอดบวม ตองเขานอนพักรักษาตัวท่ีโรงพยาบาล แตก็ไมถึงกับรุนแรง
มากนัก โดยปกติหลวงปูจะระมัดระวังในเร่ืองสุขภาพ และยินดีปฏิบัติตามคำแนะนำของ

๑๒๒ สรุ ิยาสองฟา จนั ทรศ รสี อ งธรรม

แพทยบอยครั้งทานจะบันทึกอาการอาพาธและคำแนะนำตางๆ ไวดวยตนเอง เพ่ือเตือน
ความจำ ดว ยความละเอยี ดถี่ถว น ดังเชน

๑๒๓หลวงปจู นั ทรศรี จนทฺ ทโี ป

๑๒๔ สรุ ยิ าสอ งฟา จนั ทรศ รีสอ งธรรม

๑๒๕หลวงปูจันทรศรี จนทฺ ทีโป

ตนเดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ หลวงปู บนเจ็บเล็กนอย ที่กระพุงแกมดานซาย
เวลาฉันภัตตาหาร เปนมา ๒-๓ วัน พระอุปฏฐาก จึงกราบขอโอกาสดูในชองปาก สังเกต
เหน็ กอ นเน้อื ขนาดเทา ปลายน้วิ กอ ยท่ี

กระพุงแกมดานซายลักษณะผิดปกติ จึงกราบนิมนตหลวงปู ไปตรวจวินิจฉัยท่ี
รพ.วฒั นา แพทยไดต ัดชนิ้ เนอื้ ไปตรวจ พบวาเปน เน้ืองอกชนิดลกุ ลาม คณะแพทย รพ.จฬุ าฯ
จงึ กราบอาราธนานิมนตหลวงปู ไปตรวจวนิ จิ ฉยั และรักษาเพ่มิ เติมโดยละเอียด ท่ี รพ.จฬุ าฯ
หลวงปู รับนิมนต และเดินทางเขาพักรักษาอาการอาพาธ ณ ตึกวชิรญาณวงศ ชั้น ๔
รพ.จุฬาฯ ในวนั ที่ ๒๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ โดยเปนคนไขใ นพระบรมราชานุเคราะห

คณะแพทยผูเชี่ยวชาญ ดานตางๆ ไดทำการตรวจเพ่ิมเติมโดยละเอียด รวมถึง
ประเมินความพรอมดานสุขภาพหากตองเขารับการผาตัด และไดประชุมสรุปความเห็น
กราบเรียนถวายหลวงปู วานาจะเปนโรคเน้ืองอกกระพุงแกมซายชนิดลุกลาม ระยะเริ่มแรก
สันนิษฐานวา สาเหตุเกิดจากการระคายเคืองของการเคี้ยวหมาก รักษาโดยการผาตัด หาก
สามารถนำกอนเนื้องอกออกไดหมด ก็ไมจำเปนตองฉายแสงหรือใหยาเคมีบำบัด และกราบ
อาราธนานิมนตห ลวงปู เขา รบั การผาตัด หลวงปู ตอบรบั นิมนต และเขารบั การผา ตัด ในวนั
ที่ ๒๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ ใชเวลาผาตัดนาน ๓ ชั่วโมงครึ่ง ผลการผาตัดเปนไปดวย
ความเรียบรอย สามารถนำกอนเนื้องอกออกไดหมดและใชปลายล้ินสวนบนครึ่งดานซายมา
ปดแผลจากการเลาะเน้ือท่ีกระพุงแกมซายไปจนหมด โดยเหลือปลายล้ินสวนบนคร่ึงดานขวา
ไวเพียงพอสำหรับการกลืนและการพูด ซ่ึงจะคอยๆ ดีข้ึนในระยะ ๖ เดือน-๑ ป หลังการ
ผาตัด จากน้ันคณะแพทยกราบอาราธนานิมนตหลวงปูเขาพักที่หนวยไอซียู ศัลยกรรม
ตึก สริ นิ ธร ชน้ั ๒ เมอ่ื ปลอดภัยดีแลว พนระยะอันตราย ถอดทอชว ยหายใจออกได ไมพ บ
ภาวะแทรกซอนเฉียบพลันหลังการผาตัด จึงกราบอาราธนานิมนตหลวงปูเขาพักฟนท่ีตึก
วชิรญาณวงศ ชน้ั ๔

หลังการผาตัดวันท่ี ๒ พระเจาหลานเธอ พระองคเจาพัชรกิติยาภา ทรงโปรดให
กรมวังผูใหญ เชิญแจกันดอกไมที่ทรงกรุณา ประทานมาถวายสักการะ และสอบถามอาการ
อาพาธของหลวงปู คณะศษิ ยานุศิษยตางรสู กึ สำนกึ ในพระคณุ เปนลนพน

ในชวงสัปดาห แรกหลังผาตัด หลวงปู รูสึกปวดมากบริเวณแผลผาตัดและอาการ
ปวดคอยทุเลาลงเปนลำดับ งดน้ำและอาหารทางปาก โดยใหสารน้ำและอาหารทางหลอด
เลอื ด พูดไมไดช ดั เจน ตอ งเขียนขอความเพอ่ื สื่อความประสงคของหลวงปู แกพ ระอุปฏ ฐาก

๑๒๖ สุรยิ าสอ งฟา จนั ทรศ รีสองธรรม

วันที่ ๖ กันยายน ๒๕๕๔ พระบาทสมเด็จพระเจา อยูหวั ฯ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา
โปรดกระหมอ มให นายอรรถนิติ ดิษฐอำนาจ องคมนตรี อัญเชิญแจกันดอกไมพระราชทาน
ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ ไปถวายแด หลวงปูจันทรศรี ขณะพำนักรักษาอาการ
อาพาธ ณ ตึกวชิรญาณวงศ ชนั้ ๔ โรงพยาบาลจฬุ าลงกรณ กรงุ เทพฯ คณะศษิ ยานุศษิ ย
ตางรูสึกสำนกึ ในพระมหากรณุ าธคิ ณุ เปนลนพน

หลวงปูรับมอบแจกนั ดอกไมพ ระราชทาน จากนายอรรถนิติ ดิษฐอำนาจ องคมนตรี
(วนั ที่ ๖ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๔)

ในชว งสปั ดาห ที่ ๒-๓ หลังผาตัด หลวงปู อาการดขี ึน้ มาก ยงั คงตองงดน้ำและ
อาหารทางปาก แผลผาตัดเริ่มประสานสนิทกันมากขึ้น น้ำเหลืองท่ีซึมออกมาจากทอระบาย
กน็ อยลงเปน ลำดบั เสยี งพูดชัดเจนขนึ้ จับใจความได

ในชวงสัปดาห ที่ ๔ หลังผาตัด แผลประสานกันสนิทดี เริ่มใหทานอาหารเหลว
คอยเพ่ิมข้ึนทีละนอย โดยมีนักกายภาพบำบัดมาชวยฝกการกลืนและการพูด นับเปนชวง
เวลาท่ีเหนื่อยยากเปนอยางยิ่ง เพราะการเปลี่ยนแปลงสภาพของอวัยวะภายในชองปากและ
ริมฝปาก หลังผาตัด ทำใหกลืนยาก ตองระวังสำลักและยังคงปวดแผลในเวลากลืน โดยใช
วิธีคอยๆ ฉันทีละนอย และคอยๆ เพิ่มปริมาณขึ้นตามลำดับ หากเหนื่อยหรือสำลักก็หยุด

๑๒๗หลวงปูจ ันทรศรี จนทฺ ทโี ป

พกั รอกอน ดวยความอดทน เขม แข็ง และความพยายามอนั ยอดเย่ียมของหลวงปู ทำใหทา น
สามารถกลับมาฉันอาหารทางปากไดตามปกติอีกครัง้ หนึง่

ในวันที่ ๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ คณะแพทย พยาบาล โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ
ผูถวายการรกั ษาและผมู ีจิตศรทั ธาเล่อื มใส ตางพรอ มเพรียงกนั กราบทำวัตรขอขมาแดหลวงปู
และรวมทำบุญทอดผาปาสมทบทุนสรางหอเมตตาธรรมบำบัดวิกฤติ (CICU) โรงพยาบาล
อุดรธานี เปนปฐมฤกษ เพ่ือนอมถวายกุศลบูชารักษาธาตุขันธ ใหหลวงปูมีสุขภาพแข็งแรง
อายยุ ืนยาว

คณะแพทย พยาบาล โรงพยาบาลจุฬาลงกรณแ ละคณะศษิ ย กราบทำวตั รขอขมาแดหลวงปู
และรวมทำบุญทอดผา ปาสมทบทนุ สรา งหอเมตตาธรรมบำบัดวิกฤติ (CICU)
โรงพยาบาลอุดรธานี อนสุ รณหน่ึงรอยป (๓ ตลุ าคม พ.ศ.๒๕๕๔)

ในวันที่ ๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ คณะแพทยอ นญุ าตใหห ลวงปู กลบั วดั ได รวมเวลา
พักรกั ษาอาการอาพาธ ทัง้ สนิ้ จำนวน ๔๒ วนั โดยหลวงปเู ดินทางกลบั มาถึงวดั โพธสิ มภรณ
ในเย็นวันท่ี ๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ และทันเวลาพอดีกับงานบำเพ็ญกุศลอายุวัฒนะครบ
๑๐๐ ป ซ่ึงคณะธรรมยุตและคณะศษิ ยานศุ ษิ ย รว มกันเปน เจาภาพ ตระเตรียมงานในครั้งน้ี
กันอยางพิเศษดวยความปติยินดีท่ีหลวงปู ไดเจริญอายุครบ ๑๐๐ ป และหายจากอาการ
อาพาธ โดย พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว พระราชทานพระมหากรุณา ใหการจัดงาน
บำเพญ็ กุศลอายุวัฒนะ ดังกลาว อยูในพระบรมราชปู ถมั ภ

๑๒๘ สุริยาสองฟา จนั ทรศ รสี อ งธรรม

กำหนดการ
พระบาทสมเด็จพระเจา อยูหัว พระราชทานพระบรมราชปู ถมั ภ

ในการที่คณะธรรมยุต และคณะศษิ ยานุศิษย
จัดงานบำเพ็ญกศุ ลฉลองอายวุ ัฒนมงคล ๑๐๐ ป พระอดุ มญาณโมลี (หลวงปูจนั ทรศรี จนฺททีโป)
เจา อาวาสวัดโพธิสมภรณ รองสมเดจ็ พระราชาคณะ และท่ีปรึกษาเจา คณะภาค ๙ (ธรรมยุต)

ระหวา งวันที่ ๘-๙-๑๐ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๔
ณ พระอุโบสถวัดโพธิสมภรณ อำเภอเมอื ง จงั หวัดอุดรธานี

*********
วนั เสาร ที่ ๘ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๔ ตรงกับวันขึ้น ๑๑ ค่ำ เดือน ๑๑ (ณ ศาลา ๑๐๐ ป)
เวลา ๐๙.๐๐-๑๐.๐๐ น. พธิ บี วชเนกขัมมะ
วันอาทติ ย ที่ ๙ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ ตรงกบั วันขนึ้ ๑๒ ค่ำ เดือน ๑๑ (ณ ศาลา ๑๐๐ ป)
เวลา ๑๗.๐๐-๑๙.๐๐ น. พระเถรานุเถระ ๑๐๑ รปู สวดพระพทุ ธมนต และรบั ทักษิณานปุ ทาน
วันจนั ทร ท่ี ๑๐ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๔ ตรงกบั วันขึน้ ๑๓ ค่ำ เดือน ๑๑ (ณ พระอโุ บสถ)
เวลา ๐๗.๐๐-๐๗.๓๐ น. พระอดุ มญาณโมลี (หลวงปจู ันทรศรี จนฺททโี ป) และคณะศรัทธา

สาธุชนรวมทำบญุ ตกั บาตร พระสงฆ ๑๐๑ รปู
เวลา ๐๘.๐๐-๐๙.๐๐ น. ถวายภัตตาหารแดพ ระสงฆ/รับประทานอาหารเชา
เวลา ๐๙.๓๐-๑๐.๐๐ น. พระพรหมวชริ ญาณ แสดงพระธรรมเทศนา ๑ กณั ฑ
เวลา ๑๐.๓๐-๑๑.๐๐ น. พระสงฆส มณศักดิ์ ๒๐ รูป เจริญพระพทุ ธมนต

พิธีฉลองอายวุ ฒั นมงคล ๑๐๐ ป พระอุดมญาณโมลี
เวลา ๑๑.๐๐-๑๒.๐๐ น. ถวายภัตตาหารเพล/รบั ประทานอาหารกลางวัน
เวลา ๑๒.๓๐-๑๓.๐๐ น. องคมนตรี เชิญผา ไตร น้ำสรง และดอกไม ธปู เทียนแพพระราชทาน

ถวายแด พระอุดมญาณโมลี (หลวงปจู ันทรศรี จนฺททโี ป)
เวลา ๑๓.๐๐-๑๔.๐๐ น. พระเจาหลานเธอ พระองคเจาพชั รกติ ยิ าภา ทรงถวายสักการะและ

น้ำสรงแด พระอุดมญาณโมลี (หลวงปูจันทรศ รี จนทฺ ทโี ป)
คณะสงฆ และตัวแทนศษิ ยานุศษิ ย ถวายสกั การะและนำ้ สรง
เปนเสรจ็ พธิ ี

๑๒๙หลวงปูจ นั ทรศรี จนทฺ ทโี ป

คณะศษิ ยานศุ ษิ ย และพทุ ธศาสนกิ ชน ไดเ ดินทางมารวมงานในครง้ั นี้ เปน จำนวนมาก
ดวยจิตศรัทธาเลื่อมใส ตางรวมกันบำเพ็ญบุญกุศล นอมถวายบูชาพระคุณแดหลวงปู
ดวยความปต ิเบิกบานใจกนั ถวนหนา งานบำเพญ็ บญุ ในสวนตางๆ ที่สำคญั มีดงั นี้

คณะกรรมการจัดงาน

การตระเตรียมงานบำเพ็ญกุศลอายุวัฒนะ เพ่ือใหทันกับเวลาท่ีกำหนดและสมบูรณ
เรียบรอย เปนเรื่องสำคัญและเรงดวน เพ่ือนอมถวายบูชาพระคุณทาน ทางคณะกรรมการ
จัดงานฯ ทั้งพระเถรานุเถระและศรัทธาญาติโยม ตลอดถึงขาราชการทุกฝายที่เก่ียวของ
ตางพรอมเพรียงกัน ประชุมปรึกษาหารือ มอบหมายหนาที่ความรับผิดชอบ ทุกองคทุกทาน
เอาใจใสในภาระหนา ท่ี ขยนั ขันแขง็ เพอ่ื ใหค วามสะดวกแกพ ระภกิ ษสุ ามเณร ประชาชนที่มา
รวมในพิธีเปนจำนวนมาก ฉะน้ัน จึงตองเตรียม ท้ังท่ีพักและโรงทาน ตลอดถึงระบบ
สาธารณปู โภค อาทิ นำ้ ประปา ไฟฟา หองสขุ า สถานท่ีจอดรถ เปนตน ไวใหม ากเทา ท่ีจะ
มากได ตางพากันขวนขวาย โดยไมเห็นแกความเหน็ดเหน่ือยและส้ินเปลือง เพ่ือใหงาน
สำเร็จลุลวงไปดวยความเรียบรอย สำหรับคาใชจายในการจัดงาน คณะสงฆศิษยานุศิษย
ไดร วมกนั บริจาคสมทบเปน การภายใน

อน่ึง คณะกรรมการจัดงานฯ มีมติเห็นชอบในโครงการจัดต้ังหอเมตตาธรรมบำบัด
วิกฤติ (ศูนยบำบัดวิกฤติผูปวยหนักทางอายุรกรรม) รพ.อุดรธานี เพ่ือใหเปนอนุสรณที่เปน
รูปธรรม เน่ืองในวาระท่ีหลวงปู เจริญอายุครบ ๑๐๐ ป และถวายกุศลบูชารักษาธาตุขันธ
หลวงปู ใหมีสขุ ภาพพลานามัยทแ่ี ข็งแรง

เปนท่ีนาปลาบปล้ืมปติยินดี ที่บรรดาศิษยานุศิษย ตางรูสึกสำนึกในพระคุณ และ
ต้งั ใจบำเพญ็ ความดงี ามเพื่อนอ มถวายแดหลวงปู อยางเต็มกำลงั ความสามารถ

การบวชเนกขมั มะ

พุทธศาสนิกชน ทง้ั ชายและหญงิ ตา งใหค วามสนใจในการบวช ถือศลี ๘ สมคั รเขา
รับการอบรมศีลธรรม เปนจำนวนมากเพ่ือปฏิบัติบูชาพระคุณหลวงปู โดยมีกำหนดตาราง
เวลาทำกิจกรรมตางๆ ใหเกิดเปนบุญกุศลแกผูเขาอบรมมีท่ีพัก อาหารและน้ำดื่ม ใหอยาง
เพียงพอ โดยไมเสียคาใชจา ยแตอยางใด

๑๓๐ สรุ ิยาสองฟา จันทรศรีสอ งธรรม

ไทยทานและของท่รี ะลึก

คณะศิษยานุศิษย ไดมีจิตศรัทธาจัดเตรียมไทยทานและของท่ีระลึกข้ึนเปนพิเศษ
เน่ืองในงานนี้ ไดพยายามจัดเตรียมอยางเต็มที่และดีที่สุดตามกำลังความสามารถของตน
เพ่ือถวายบูชาพระคุณหลวงปู อาทิ หนังสืออนุสรณ ๑๐๐ ป, แผนดีวีดี ประวัติปฏิปทา,
แผนเสียงซีดี พระธรรมเทศนา, รูปภาพ, ผาไตรจีวร, ผาหม, ยารักษาโรค เปนตน มีเปน
จำนวนมาก บางสวนก็ทยอยแจก ต้ังแตชวงตน งาน เรอื่ ยมา เชน หนังสอื ธรรมะ, รูปภาพ
อีกสวนหน่ึงก็เตรียมไวเพ่ือถวายแกพระสงฆสามเณร และประชาชนท่ีมารวมในวันงาน
ตางก็ไดรับแจกกันพอเปนที่ระลึกตามสมควร มีบางท่ีตกหลนไมทั่วถึง โดยเฉพาะหนังสือ
อนุสรณ ๑๐๐ ป จันทรศรีผองเพ็ญ ท่ีมีคนสนใจเปนจำนวนมาก แตเนื่องจากการพิมพ
มีจำนวนจำกัดพิมพเพ่ือแจกเปนธรรมทานลวนๆ ไมมีการจำหนายหรือส่ังจองแตอยางใด
และมีศรัทธาสาธุชนจำนวนมากตอมากที่มารวมงาน ไมสามารถจัดใหท่ัวถึงทุกทานได
คณะกรรมการจัดงานฯ ตองกราบขออภัย ในความขาดตกบกพรอง และหวังไดรับความ
เมตตาจากทกุ ทา น มา ณ ทนี่ ้ดี วย

โรงทาน

ผูม จี ติ ศรัทธา ตางนำขาวปลาอาหาร มาตงั้ โรงทานเพือ่ ถวายภตั ตาหารแดพระสงฆ
สามเณรและแจกจายแกประชาชนท่ัวไป กันเปนจำนวนมาก ไมนอยกวา ๒๐๐ โรงทาน
โดยทางวัดไดเตรียมสถานที่และสิ่งอำนวยความสะดวกตางๆ เชนเตนท, น้ำประปา, ไฟฟา,
แคร เปนตน ทุกทานที่มารวมงานตางอ่ิมทองกันถวนหนา เปนสุขท้ังผูใหและผูรับ หลวงปู
จึงเปนผูนำและแบบอยางของการเสียสละ รูจักแบงปน มีน้ำใจ ไมตระหนี่ถ่ีเหนียว ซึ่งเปน
เคร่ืองยึดเหน่ียวจิตใจและจรรโลงโลกไวเปนอยางดี จะไปอยูในสถานที่ใดยอมบริบูรณไม
อดอยากขาดแคลน

พระเถรานเุ ถระ ๑๐๑ รูป เจรญิ พระพทุ ธมนต รับทักษณิ านุปทานและรบั บณิ ฑบาตร
คณะกรรมการฯไดกราบนิมนตพระเถรานุเถระ ทั้งฝายธรรมยุตและมหานิกาย รวม
จำนวน ๑๐๑ รูป เจรญิ พระพุทธมนตใ นเย็นวันท่ี ๙ ต.ค. นอมถวายแดห ลวงปู เพ่อื ความ
เปนสิรมิ งคล และไดถ วายจตปุ จ จัยไทยทานทเ่ี ตรยี มเปนพเิ ศษ แดท กุ รูป และในชวงเชา วนั ท่ี

๑๓๑หลวงปูจ นั ทรศ รี จนฺททีโป

๑๐ ต.ค. ไดออกรับบิณฑบาตร จากศรัทธาญาติโยม ท่ีมาใสบาตรกันเปนจำนวนมาก
โดยรอบภายในบรเิ วณวัด ตางแนน ขนดั ไปดวยสาธุชนผูใจบุญ

พธิ บี ำเพ็ญกุศล งานทีฆายวุ ัฒนะมงคล ๑๐ ต.ค. ๒๕๕๔

พุทธศาสนิกชนตางมารวมในพิธีกันเปนจำนวนมาก โดยเร่ิมตั้งแตชวงเชาที่มีการ
ตักบาตร จากนั้นแสดงพระธรรมเทศนา ๑ กัณฑ และพระสงฆสมณศักด์ิ ๒๐ รูป เจริญ
พระพุทธมนต

ชวงบาย พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ ทรงพระกรุณาโปรดเกลาโปรดกระหมอม
ให นายอรรถนิติ ดิษฐอำนาจ องคมนตรี เชิญผาไตร น้ำสรง และดอกไม ธูป เทียนแพ
พระราชทาน นอมถวายแด พระอุดมญาณโมลี (หลวงปูจันทรศรี จนฺททีโป) และหลวงปู
ไดม อบของท่ีระลึกอนสุ รณ ๑๐๐ ป ที่จัดไวอยา งพิถีพิถันงดงาม เพอื่ นอมขึน้ ทลู เกลา ถวายแด
พระบาทสมเดจ็ พระเจาอยหู วั ฯ

จากน้ัน เวลา ๑๓.๔๕ น. พระเจาหลานเธอ พระองคเจาพัชรกติ ยิ าภา เสด็จอยาง
เปนทางการ เน่อื งในงานบำเพญ็ กศุ ลทีฆายวุ ัฒนะมงคล ๑๐๐ ป พระอุดมญาณโมลี (หลวงปู
จันทรศรี จนฺททีโป) ทรงถวายจตุปจจัยไทยธรรมแดพระสงฆ ๑๐ รูป ทรงถวายพานพุม
ดอกบัวสักการะและน้ำสรงแดหลวงปู ทรงรับของทรี่ ะลึกอนสุ รณ ๑๐๐ ป จากหลวงปู ทรงมี
ปฏิสันถารสอบถามสุขภาพของหลวงปู ดวยความหวงใย ครั้นทราบวาหลวงปู หายจากการ
อาพาธทรงดีพระทยั จากนน้ั ทรงกราบนมสั การลา กลบั ท่ีประทับ

๑๓๒ สรุ ยิ าสอ งฟา จนั ทรศ รีสอ งธรรม

๑๓๓หลวงปูจ นั ทรศ รี จนทฺ ทีโป

ประมวลภาพงานบำเพญ็ กศุ ลฉลองอายวุ ฒั นมงคล ๑๐๐ ป

พระอุดมญาณโมลี (หลวงปจู ันทรศ รี จนทฺ ทีโป)


Click to View FlipBook Version