ปุจฉาวิสัชนาตางประเทศ โดย พระนิโรธรังสีคัมภีรปญญาจารย (เทสก เทสรังสี) วัดหินหมากเปง อําเภอศรีเชียงใหมจังหวดหนองคายั
สารบัญ คํานํา สิงคโปร คร ั้ งท ี่ ๑ วันท ี่๘ - ๑๘ พฤศจิกายน ๒๕๑๙ ออสเตรเลีย วันที่๑๙ พฤศจิกายน - ๑๒ ธันวาคม ๒๕๑๙ สิงคโปร คร ั้ งท ี่ ๒ วันที่๑๕ – ๒๔ ธันวาคม ๒๕๑๙ อินโดนีเซีย วันท ี่๒๕ ธันวาคม - ๑๗ มกราคม ๒๕๒๐ สิงคโปร คร ั้ งท ี่ ๓ วันที่๑๘ – ๒๒ มกราคม ๒๕๒๐ สิงคโปร คร ั้ งท ี่๔ วันที่๒๐ – ๓๑ มีนาคม ๒๕๒๐ คํานํา หนังสือที่ทานถืออยูในมือน ี้ เป นหนงสั ือที่ขาพเจ าเขียนเม ื่อไดมีโอกาสไปเที่ ยวตางประเทศ ขณะเดียวกันก็มีเวลาไดสนทนาธรรมกับคนตางชาติดวย เพราะคนตางชาติเวลาน ี้ เขากําลังสนใจ เร ื่องการปฏิบัติธรรมกันโดยมาก แท จริงหนังสือการเท ี่ ยวตางประเทศของข าพเจ าน ั้นได เขียน มาแล วเร ื่ องหนึ่ง แตในหนังสือเลมน ั้ นกลาวเฉพาะแตเร ื่ องการเท ี่ ยวเฉย ๆ ไมไดกล าว ถึงเร ื่ อง การสนทนาธรรมะกันเลย เพราะข าพเจ าต ั้งใจไววา หัวข อสนทนาธรรมน ั้นจะเอาไว เขียน
อีกเลมหน ึ่ งตางหาก แตเวลาก็ลวงเลยมานานกวาปแลว จึงเขียนออกมาได เพราะมีอุปสรรค บางอยาง ทําใหไมสามารถจะทําหนังสิอออกมาได แตถึงอยางนั้น ขาพเจ าก ็ พยายามที่สุดท ี่ จะ ทําหนังสือน ี้ออกมาใหจงได เพราะเห็นวาจะเปนประโยชน แกผูสนใจพอสมควร เอาเถิด ถึง หนังสือจะออกมาช าบ างก ็คงไมเปนไร ธรรมะเปนของเกาท ี่ไมเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา จะ ออกมาช าหรือเร็ว รสชาติของธรรมะยอมไมจืดจางไปไหน ใครไดรับรสชาติแล วยอมเอมโอชอยู อยางเดิม อนึ่ง ขาพเจ าไปตางประเทศครั้ งน ี้ ไดมีโอกาสไดไปเที่ยวหลายประเทศและอยูนาน โดยเฉพาะสิงคโปรได อยูนานกวาเขาต ั้ งแรมเดือน จึงมีโอกาสไดสนทนาธรรมและแกปญหาธรรม แกเขาเหลาน ั้ นมากพอ สมควร ชื่อของผูถาปญหาจําไดบาง ไมไดบางหวังวาคงไมเปนอุปสรรคแกทานผูอานท ั้ งหลาย เพราะหนังสือนี้มุงเอาธรรมเปนใหญ คนชาวตางประเทศกับคนไทยยอมมีมติคล าย ๆ กัน เว นแตเขาถือศาสนาท ี่ เชื่อในพระเจา ทําอะไรดีหรือช ั่วยกให พระเจ าเปนผูสั่งการ ฉะนั้นปญหา ที่เขาถามโดยมากมักจะมีดังน ี้ ๑. ปญหาเก ี่ ยวดวยการภาวนา ( เขามีภาวนาด วยเหมือนกัน) โดยเฉพาะ ๒. ปญหาท ี่ เก ี่ ยวด วยการภาวนาบ าง แตคิดคาดคะเนวาจะเป นอยางน ั้ นอยางน ี้ มากกวา ๓. ปญหาชีวิตประจําวันท ี่ เขาคิดไมตก ทั้งสามข อน ี้ได ลงเลข ๑ ,๒,๓ กํากับไว แลว เพ ื่อจะได ตรวจดูใหรูวา ขอไหนหมายความวา อยางไร หนังสือเลมนี้ขาพเจ าได รวบรวมเอาคําถามคําตอบ มาลงไวดวยความลําบากยากเข ็ ญและ ดวยสติปญญาอันนอย ขออุทิศกุศลน ี้ ถวายแดสมเด็จบรมบพิตรพระราชสมภารเจ าทุกพระองค แหง พระบรมราชจักรีวงศ และพระบรมวงศานุวงศทุกๆ พระองค ซึ่งไดลวงลับไปแล วทพระองค ี่ ได ทรงเสียสละอุทิศพระวรกายและพระราชทรัพย พร อมด วยสติปญญาเพ ื่อปกป องรักษาผืนแผนดิน ไทยใหเป นมรดกตกทอดตลอดมาจนลูกหลานมาจนบัดน ี้ ถายังทรงสถิตอยูในภูมิใดแลว ขอจงได ทอดพระเนตรดูเขตแดนไทยทรงคุมครองและชวยใหคนไทยมีใจเมตตา กรุณา ปราณี สามัคคีเปน อันหน ึ่งใจเดียวกัน แล วจงทรงชวยปกป องอยาใหภัยวิบัติเกิดข ึ้นในแผนดินไทย อันรมรื่นดวยพระ บวรพุทธศาสนาและพระมหากษัตริยผูทรงเป นเอกอัครศาสนูปถัมภกนี้ตอไป
ความหมายของเลขหนาคําถาม เลข ๑ เปนคําถามในเรื่องการภาวนาโดยเฉพาะ เลข ๒ เปนคําถามเก ี่ ยวกับการภาวนาบ างแตผูถามมักคิดคาดคะเนวา จะเป นอยางน ั้ นอยางน ี้ เลข ๓ เปนคําถามเก ี่ ยวกับชีวิตประจําวันที่ผูถามคิดไมตก สิงคโปร คร ั้ งท ี่ ๑ วันที่๘ – ๑๘ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๑๙ วันที่๘ พฤศจิกายน ๒๕๑๙ (เวลาบาย ) สนทนาธรรม ทานอาจารย ใครมีเร ื่องอะไรสนทนาก็ เชิญ ๑. ผูถาม ไดอานวิธีปฏิบัติธรรมแบบพมา ทานอาจารย แล วเวลาปฏิบัติปฏิบัติอยางไร ๑. ผูถาม ที่ไดรับอบรมมานั้น เวลาน ั่ งภาวนาพยายามท ี่ จะขจัดอารมณ ไมใหมารบกวน พอขจัด อารมณ สงบลงพักหนึ่ง จะมีอารมณ ใหมเกิดขึ้น จะเป นอารมณ อะไรก็ แล วแตพอเห็นวาเกิดอารมณ
ขึ้นแลว ก็พยายามทําใจใหวางก ็ สงบอีก ทําอยูอยางน ี้ เห ็ นวาเป นการทําใหสงบไดไมนาน ขอกราบ เรียนถามวา ทําอยางไรถึงจะทําใหสงบได นานๆ ทานอาจารย การขับไลอารมณ ใหออกไปไดนั้นดีแลว แตยังจับหลักไมถูกตอง จับความสงบของจิตใจให ไดจึงจะสงบไดนาน ๆ ๑. ผูถาม เม ื่ อทําความสงบแลว แตพออารมณ เกิดขึ้น ก็พยายามจับอารมณนั้นเม ื่ อจับอารมณนั้นได แล วก็สามารถทําความสงบอีกได มันจะเป นอยูอยางน ี้ และพยายามทําอยูอยางน ี้ ทานอาจารย ใหไปจับเอาต นเหตุคือผูคิดนึกกอนท ี่เป นอารมณ อารมณทั้งหลายก ็หายไปแลวสงบอยู อยางเดียว จับเอาความสงบน ั้นใหได ๑.ผูถาม เม ื่ ออารมณ เกิดขึ้น ทานอาจารย ให พยายามจับอารมณนั้นใชไหมคร ับ ทานอาจารย ใหพิจารณาจับอารมณนั้น จับที่ตรงเหตุคือผูไปคิดนึกเป นเหตุนั่นแหละจับเอาตรง นั้นแหละใหได ๑. ผูถาม ไดพยายามจับอารมณนั้นเหมือนกัน แตมันก็ดับไปกอน ทานอาจารย ให เข าใจอยางน ี้ ใจเป นกลาง ผูคิดผูสงไปเป นอารมณนั้นคือจิต ใหจับเอาจิตผู เป นเหตุนี้ใหไดจึงจะหมดเร ื่ อง
๑.ผูถาม ที่ทําภาวนาน ี้ไมตองการอะไรทั้ งสิ้น ตองการทําใจใหวางตลอดเวลา ทานอาจารย มันไมวางนะ ซิ ถึงวางก ็ไปยึดความวางนั้น ก็เลยไมวาง ๑. ผูถาม จะพยายามละอุปาทานได อยางไร ทานอาจารย มันยังมากมาย ขอใหพิจารณาอัตตาน ี้ เสียกอนเม ื่ อพิจารณาอัตตาน ี้ เห ็ นชัดเจนแลว จนไมมี อัตตา สิ่งท ั้งปวงทั้งหมดเป นอนัตตา นั่นแหละจึงจะละอุปาทานได ๑ .ผูถาม ขอทานอาจารย โปรดอธบายคิ ําตอบสุดท ายอีกคร ั้ งหน ึ่ งครับ ทานอาจารย ขอใหใชสติควบคุมปญญาพิจารณา รูป-นาม คือกาย กับ ใจ อันนี้ให เห ็ นแจ งชัดเจนด วยใจ ของตนเอง แล วมองเห ็ นส ิ่ งท ั้งปวงมีสภาพเหมือนกันหมด นี้ก็เปนอุบายอันหน ึ่ งของอุบาย หลายๆ อยางด วยกัน ซึ่งจะทําให ละ อุปาทานได อุปาทานไมใชอันเดียว มีหลายอยางแตไป ชัดอุบายอันเดียว แล วเรองอ ื่ ื่นก็ดวยกันทั้งหมด ๑.ผูถาม ที่ทานอาจารย ใหพิจารณากายนั้น ควรจะพิจารณาสวนไหนครับ ทานอาจารย จะพิจารณาสวนใดสวนหน ึ่ งก ็ได แล วแตถนัด เม ื่ อมันชัดแลวส วนอื่น ก็ชัดตามกันไปหรือ จะชัดเฉพาะแตสวนที่พิจารณาก ็ เอา อยาไปอยากใหมันชัดท ั้ งหมด ประเดี๋ยวใจมันจะถอนออกมา เสีย ส ิ่ งที่ชัดจะหายไปเสีย สิ่งท ี่ไมชัดก็เลยไมชัดตามกันไปด วย
๑.ผูถาม เม ื่ อพิจารณาอนิจจัง หรอนามธรรมอื ื่น อันใดจะชัดกวาครับ ทานอาจารย เม ื่ อพิจารณาอนิจจัง ขอใหลงถึงใจจริง ๆ เถิดเปนชัดด วยกันทั้งน ั้นไมวารูปและนาม ๑.ผูถาม เวลาทําความสงบมีอารมณ เล ็ กน อย มันจะไปยึดเอาแตความสงบนั้น ทานอาจารย ก็ตองเป นอยางนั้น ความสงบเป นความสุขอยางยิ่ง แตความไมสงบเปนสัญชาติญาณ มันยัง มีอยูและไมมีความสุขจงทําความสงบใหมากจนไมมีอารมณ แล วอยูเปนสุข ๑.ผูถาม เวลาที่ทําสมาธิโดยกําหนดลมหายใจ และเม ื่ อจิตสงบน ิ่ งดีแลว กลับมาพิจารณากายโดยคิด ไปวา นาจะเปนโรคอันนั้นอันน ี้ ซึ่งก ็อาจจะเปนไปได แตเม ื่ อคิดวาขณะกําลังพิจารณาอานา ปานสติอยู ก็นับหนึ่ง-สอง-สาม---- จนถึงสิบแทนการกําหนดลมหายใจ ความรูสึกนั้นก็หายไป ทําอยางนี้จะถูกหรือไม ทานอาจารย จิตยังไมสงบเต ็ มที่ยังไมเข าถึงธรรมจึงต องหวงแหนรางกายอยู กลัวจะเกิดโรคนั้นโรคนี้ อยู ถาจิตเข าถึงสมาธิเต ็ มท ี่ แล วและเข าถึงธรรม ความวิตกกังวลเชนนั้นจะไมมีเลย ๑.ผูถาม ผมเข าใจวาเม ื่อใจจะเป นฌานตองวางอารมณเสียกอน เม ื่ อวางแล วก ็เป นฌาน หลังจากนั้น ผมพยายามจับอาการสามสิบสองมาพิจารณาใหม ทานอาจารย
ฌานก็ตองมีอารมณ ไมมีอารมณ จะเรียกฌานได อยางไร อารมณ ของฌานคืออานาปานสติ อสุภ กสิณ ทั้งหลาย เปนตน ที่จับเอาอาการสามสิบสองมาพิจารณาน ั้ นดีแลว ขอใหพิจารณาไป เถิด เป นอยางไรชางมัน ขอใหมันเปนก็แล วกัน ๑.ผูถาม เวลาอารมณ อะไรมาแทรกขณะที่กําลังพิจารณาอยู ใจก็มักจะเข าหาฌานแตถาเม ื่อใดใจจด จองแตอารมณ เดียว เวลาจับเอาอารมณนั้นมาพิจารณากาย จิตใจก็ จะต ั้ งม ั่ นอยูที่กาย ทานอาจารย ฌานเป นอารมณขี้ขลาด เหตุนั้นเม ื่ อมีอารมณ มาแทรกจึงหลบเข าฌานเสีย สมาธิ เป นอารมณ กล าหาญ เม ื่ ออารมณ ใดเข ามาแทรกจะต องจดจ องเพงพิจารณาอยูที่กายแหงเดียว ๑.ผูถาม เม ื่ อกอนน ี้ ผมคิดวาการเรียนหมอน ี้เป นหลัก วิชาท ี่ไดเปรียบในเรื่ องการพิจารณาแตเด ี๋ ยวน ี้ ทราบวาเข าใจผิด การไปเพงดูโรคตาง ๆ แล วเอามาพิจารณานั้นมันยังเป นการเพงภายนอก ทานอาจารย เราเพงอันนั้นนับวาดีแลว เราจับจุดไดวามีโรคอะไรเกิดข ึ้นในที่นั้น เราเพงเรียกวา เพงออกไปภายนอก เรียกสมาธิเหมือนกัน เม ื่ อจิตใจจดจออยูอันเดียวเรียกสมาธิ แตเปน สมาธิสงนอก บรรดาวิชาท ั้ งหลายท ี่ เรียนรูมาแล วในโลกนี้ และนําออกมาใชทั้งหมด ลวนแตเกิด จากสมาธิอันนี้ทั้งนั้น แตในทางพุทธศาสนาใหยอนกลับมาพิจารณาภายใน ใครเปนผูพิจารณา ใจ เปนผูพิจารณา จับใจนั้ นแหละมาพิจารณาออ…….ผูนี้เองเปนผูพิจารณา แล วเรามาพิจารณาใจวา มันมีอะไรอยูตรงนี้บาง เวลาเราคิดนึกสงสายมันไปหาอะไร จับตรงน ี่ แหละข ึ้ นมาพิจารณา อยูตรงน ี้ ตั้งสติควบคุมทําความรูสึกไว เอาแคนี้เสียกอน เม ื่ อสมาธิเกิด มันตองวางอารมณอัน นั้นตามหลักพระพุทธศาสนาถาหากไปติดอารมณนั้นอยูเป นสมาธิเหมือนกันแตเป นสมาธิสงนอก ๑. ผูถาม เม ื่ อกอนน ี้ เวลาภาวนา พิจารณาเห ็ นสมองของคนอ ื่ นอยูขางหน าปจจุบันนี้พยายามพิจารณา ใหเป นสมองของตัวเองบ างจะเป นอยางไรครับ
ทานอาจารย มันก็ดีละซี เห ็ นภายนอกแล วน อมเข าภายในกายของตน ไมใหสงออกไปภายนอก ไมวา แตสมองละอื่น ๆ ก็ใหนอมเข าอยางน ั้ นเหมือนกันก็ใชได ๑.ผูถาม เราจะต องแยกจิตออกจากอารมณ ใชไหมครับ ทานอาจารย แยกหรือไมแยกเราไมตองพูด เม ื่ ออารมณทั้งหลายมีรูปเปนตน ที่ตามีประสาทเป นผูรับรู อยางภาษาสมัยใหมเรียกวา เซลลประสาทก ็ดีเซลลอื่นก็ดีเป นแตเคร ื่ องรับ ผูรูนั้นคือธาตุรูสภาพ ที่รูนั้นแหละจับใหได เม ื่ อจับตัวน ั้นได แลว สิ่งอื่นก็หายไปหมด ก็เปนอันแยกอารมณกับจิต ออกจากกันได แลว ๑. ผูถาม เม ื่ อเวลาภาวนา จะไดยินอะไรหรือได เห็นอะไรในขณะนั้น เราทําเปนไมสนใจ ทําเปนไม รู ปลอยวางอารมณ ให เฉย ๆ เสียจะไดไหมครับ ทานอาจารย นั่นเปนวิธีวางอารมณ ชําระอารมณ คือเวลาที่มีอารมณ เรารูจักชําระอยางน ี้ หากอารมณ อื่นเกิดข ึ้ นมาอีกก็ตองใช แบบน ี้ แตปรกติธรรมดา ถาไมมีสิ่งใดจะพิจารณา เราต องมา พิจารณาอารมณอันนี้อีกเหมือนกัน ตองใหมีความชํานาญ ถามันไมมีอะไรจิตอยูเฉย ตอง ยอนกลับมาคนคิดอยูอีก ให อยูกับอารมณที่เกิดน ี้ ถาไมอยางน ั้ นแล วจิตจะสงไปในที่ตาง ๆ ๒. ผูถาม เวลาพิจารณาอาการ ๓๒ สวนใดสวนหน ึ่ งจนชัดเจนเห ็นตามเป นจริง แตมันไมสลด สังเวชแลเบ ื่ อหนาย มันยังเห็นตอไปวา กลัวจะเกิดโรคอยางนี้อีกด วย ผมกลัววาจะไมถูกทางพน ทุกข ทางที่ถูกจะทําอยางไร
ทานอาจารย อันนี้มันยังอยูที่เรียกตามหลักวิชาที่ศึกษามา เลยเห ็ นเพียงสักแตวาธรรมดา ไมยึด ไมถือ เห ็นเป นธรรมดา เหมือนกับทอนไมทอนฟน เห ็นไมใชเราไมใชเขาเห ็ นเพียงแคนั้นใจของ เรายังไมทันเป นสมาธิ ถาเป นสมาธิเห ็นประจักษ แจ งวางปุบ ซึ่งตําราท ั้ งหมด แลวเห ็ นเฉพาะ ตนเอง มันก็สลดสังเวช อันนี้มันไมเข ามาในใจ มันไปอยูที่อื่นเสียจึงไมเกิดสลดสังเวช ๒. ผูถาม ผมกลัววาจะไปติดทางวิชาเกาคือวิชาแพทย เปนหมอไมได อบรมทางพุทธศาสนากลัววาจะ ไมทราบไมเข าใจความพนทุกข เพียงพอเพ ื่ อท ี่ จะเข าสูหลักไดจึงอยากจะกราบเรียนถามทานอาจารย วา ควรจะแก ไขใหมดี หรือวาเอาอารมณอันเกามาพิจารณา ทานอาจารย อารมณ เกาหรืออารมณ ใหมไมสําคัญ ขอแตให เพงพิจารณาแนวแนลงเฉพาะท ี่ เดียว เพงพิจารณาอะไรขอให อยู ณ ที่นั้นให เกิดความรูขึ้นเฉพาะตน อยาไปเอาความรูจากตํารา หรืออ ื่นมาใช เปนอันใชไดทั้งนั้น (วันนี้หมดเวลาไมไดนั่งภาวนา) วันที่๙ พฤศจิกายน ๒๕๑๙ (เวลาบาย) สนทนาธรรม ๑. ผูถาม ผมเคยหัดภาวนาโดยบริกรรม พุทโธ ๆ ตอมารูสึกวาจิต มันนิ่งและคําบริกรรมก ็หายไป ทานอาจารย ที่ภาวนา พุทโธ ๆ จิตมันรวมมันวางหมด พุทโธก็หายไปเหลือแตผูรูใหกําหนดเอาผูที่รูวา มันหายไปนั้น อยาไปวา พุทโธ อีก นี่ภาวนาเป นแลวเม ื่อเป นเชนนั้นแล วมันสุขหรือไม
๑. ผูถาม รูสึกเฉยๆ ไมรูสึกวาเปนสุขอะไรไมเห็นวาตนเองดีอกดีใจอะไร ทานอาจารย เพราะไมรูจักความสุขชนิดน ี้มีแตสุขเพราะความยึดถือ สุขวางๆอยางนี้ยังไมเคยมี ๑.ผูถาม คนที่ปฏิบัติภาวนาเปนนั้น เพราะกรรมที่เขาสรางสมมาท ี่ เรียกวาบารมีชาติกอนท ี่ สรางไวใช หรือไมหรือจะเป นเพราะวิริยะที่ทําความเพียรชาตินี้เอง ทานอาจารย ถ าภาวนาเป นแลว บุญก ็ มาวาสนาก็สงใหอะไร ๆ ก็ดีไปหมด ถาภาวนาไมเป นแลว อะไร ๆ มันก็ตันตื้นไปหมดภาวนาเป นแล วถึงขนาดนั้น มันก ็ไมพน ขี้เกียจอยูดีๆ นั่นเอง ๑.ผูถาม ทําไมทานอาจารย สอนจึงเข าใจ แตอื่นพูดไมเข าใจ ทานอาจารย นั่นเรียกวาบุญมาวาสนาสงแลว เพราะเราก็มีศรัทธา แลวก ็มีครูบาอาจารย มาสอนให ดวย เราทําตามคําสอนของทานก ็เปนไปตามปรารถนา บุญ คือทุนเดิมมีอยูแลว ศรทธาเพั ิ่ มบุญ ให เจริญย ิ่ งๆ ขึ้นไป เอาบุญมาสรางบุญยิ่ง ๆ ขึ้น ในสิงคโปรนี้จะมีที่ไหนที่ สร างบ านแล วมีพระ มาอยูให อยางน ี้ ๑. ผูถาม ไดพิจารณากายใหเปน ธาตุดินธาตุลม ธาตุน้ํา ธาตุไฟ เม ื่ อมองดูตัวของตนเองแลว มี ความรูสึกวามันเปนตัวอะไรก็ไมทราบ ทานอาจารย
มันก็แนละซิเม ื่ อพิจารณาเห ็นเป นธาตุแลว มันก็ไมมีตัวมีตน เห ็นเปนสักแตวาธาตุ เทานั้น ที่เราเรียกตามสมมุติวาคน วาสัตว แทที่จริงไมใชทั้งนั้น เป นแตธาตุเฉย ๆ ๑. ผูถาม ผมกลัวตาย ทานอาจารย มันมีแตเห ็นตามเป นจริงอยางนั้น แตความรูมันไมพร อม ตองเห ็ นพร อมด วยความรูดวยคือ เห็นชัดด วยปญญาแล วใจมันสงบอยูณ ที่เดียว มันจึงไมตองตาย ๑. ผูถาม เม ื่ อกําหนดลมหายใจแล วนับลมหายใจ แล วตอจากนั้นก็วางลมหายใจหรือวามันจะวางเอง การทําอยางน ี้ไดประโยชนอะไร ทานอาจารย กําหนดลมหายใจจนสงบแลววางเอง มีประโยชนคือเปนสื่อให เข าถึงความสงบน ั้ นเอง เพราะความสงบเป นความสุขท ี่ แท จริง ๑. ผูถาม ขอทราบเรียนถามเร ื่ อง ผูรู ทานอาจารย เคยแนะนําใหจับ ผูรู เม ื่ อผมพิจารณาอะไรคือผูรู ผมบอกวาผมเปน ผูรู ถาหากวาผมเปนผูรูมันก็ตรงกันขามกับอนัตตาไป ทานอาจารย ตอนนี้มันเปนอัตตาเสียกอน อยาเพ ิ่งเป นอนัตตากอนเลยให เห็นอัตตาชัดแนเสียกอน เรา ปฏิบัติอัตตาไปหาอนัตตา อยางตัวเราน ี้ เราถือวาเรา เม ื่ อพิจารณากันจริงจังแล วมันไมมีสาระ อะไรเลย แล วปลอยมันเสีย ถึงแมผูรูนั้นก็หาสาระอะไรไมได รูสักแตวารูเฉย ๆ แล วก ็ เท ี่ยวไปรู นั่นรูนี่หาสาระไมได ๑. ผูถาม
ผมสนใจในทางศาสนาพุทธมานานแลวแตไมมีครูบาอาจารย อธิบายใหฟง เม ื่ อแมชีชวน กลับมาบ านพักหนึ่ง ก็ไดมาสนทนากับแมชีชวนบ าง แลวก ็ มาหัดน ั่ งภาวนาตามตําราบอกวาพอ เกิดภาพนิมิตหรืออะไรอื่น เราหลงไปยึดมันแล วอาจเปนอันตรายกับเราก ็ได ผมกลัววาจะหลงภาพ นิมิตหรือหลงอยางอื่น ๆ ที่จะเกิดขึ้น ปจจุบันนี้ ผมน ั่ งภาวนาวันละคร ึ่ งช ั่วโมง กําหนดลม หายใจเขา ออกเพราะมีครูบาอาจารย อยูใกล ๆ ถาทานอาจารย ไปแล วผมกลัวจะเกิดสัญญาวิปลาส ผมขอกราบเรียนถามวาถ าหากเกิดสัญญาวิปลาสขึ้นหรือมีการหลงเร ื่ องนิมิตหรืออะไรตออะไร จะ มีทางแก ไขอยางไรครับ ทานอาจารย มันไมเปนงาย ๆ หรอก ตั้งเปนรอย ๆ พัน ๆ คนท ี่ ภาวนา ก็ไมเห ็นเป นบา กอน จะเป นภาวนามันก็ยากอยูแลว ภาวนาเป นแล วจะเกิดวิปลาสตอนนี้ไมใชงาย ๆ เปรียบอุปมาที่ เขา เลาลือวาเสือกินคน ไมทราบก ี่สิบปกี่รอยปจะมีเสือกินคนสักคนพากันกลัวเสือจะกิน ไมเปนไร หรอกขอใหทําเถิด การหัดสติใหดีมันจะเปนบาได อยางไรคนเปนบาคือคนไมมีสติตางหาก ๑.ผูถาม ผมเคยหัดภาวนามาหลายปแล วรูสึกได ผลดีเวลาน ั่ งเด ี๋ ยวน ี้ เข าถึงความสงบไดงาย ผมจะ ทราบได อยางไรวาการปฏิบัติของผมก าวหน าหรือไมและจะต องทําอะไรตอไปไป หรือทําอยูอยาง นี้ตลอดไป ทานอาจารย ดีแล วที่ทําภาวนาให เข าถึงความสงบได เพราะคนเรามาติดขัดตรงท ี่จะให เข าถึงความ สงบน ี่ แหละ เม ื่ อเข าถึงความสงบได แลว ใหจําหลักวิธีที่ให เข าถึงความสงบนั้นใหมั่นคง แลว ปฏิบัติใหมันชํานาญ ทําอยูอยางน ี้ แหละ เม ื่ อชํานาญแล วความก าวหน าจะเกิดข ึ้นเปนไปเอง เหมือนกับตนไมรักษาต นไวใหมั่นคงตอไป มันแกแล วออกดอกออกผลของมันเอง มันเป นเองแต อยางไรก็ดีเร ื่ องท ี่จะให เกิดผลนั้น มันยากท ี่ จะรูตัวเหมือนกัน บางทีเกิดผลแล วรูตัว เชนหัดทํา ความสงบไดบอย ๆ พอเราหัดทําความสงบไดชํานาญแล วคราวน ี้ เรามองเห็นสิ่งท ี่ไมสงบเลยทํา ให เกิดความสงสาร เกิดอุบายปญญาเห ็นโทษทุกข ของเร ื่องความไมสงบ อันนี้เรียกวาผลของ ความสงบ บางทีเกิดอะไรแปลก ๆ ตาง ๆ เปนของมห ัศจรรย เรียกวาการปฏ ิบัติเจริญก าวหนา ขอใหทําอยูอยางน ี้แหละตลอดไป มันเกิดอะไรหรือไมก็อยาไปคํานึงถึงมัน
๑. ผูถาม ความสงบท ี่ เกิดขึ้นทําใหมีความสุข แตความสุขน ั้ นอยูไมนานแล วหายไป เหมือนกับนอน หลับครับผม ทานอาจารย ความสงบสุขเกิดขึ้นก็เป นผลเหมือนกัน ความสุขอันน ั้นไมมีอามิสเป นผลของความ สงบ ที่มันหายไปนั้นยิ่งเป นความสุขมาก ไมเข าใจตามเป นจริง มันมีปรากฏการณ ของมันอยู คือ อยางน ี้ บางอยางซึ่งเราเคยเห็นมาแลว เชนความพอใจยินดีในทรัพยสินเงินทองหรือส ิ่งใดที่ได มาแลว เราก็ดีใจจนเหลือประมาณ คราวน ี้ เม ื่ อเราทําความสงบ เรารูสึกเฉย ๆ ในสมบัติเหลานั้น มันก็เปนของแปลกประการหนึ่ง หรือมิฉะนั้นสิ่งท ี่ เรารักหรือพอใจ ชอบใจ สิ่งน ั้ นเส ื่ อมสูญ หายไปมันวิบัติไปมาตอนหลังน ี้ ความเสียใจจะไมมี อยากไปอยูในความสงบที่เคยฝกหัด อันนี้ เปนผลพลอยไดของความสงบ ของอยางนี้ก็มีเหมือนกัน ผูทําความสงบตองเป นอยางนี้ทุกคน เป นอยางน ี้ หรือไม ๑. ผูถาม ผมยังไมเคยคิดและไมเข าใจในเรื่ องเหลาน ี้ มากอน ทานอาจารย ความสงบสุขเกิดจากประสบการณทั้งหลายเหลาน ี้ เน ื่ องจากความสงบมันจึงไมมีการ หว ั่นไหว ไมมีการเดือดร อน มีความกล าหาญ อันนี้เปนผลพลอยไดจากความสงบ คุณไมเข าใจไม เคยสังเกตแตความสุขสงบท ี่ไดรับทําใหอดปฏิบัติไมไดัผลก ็ เลยเกิดข ึ้ นมาอยางนั้น ๑. ผูถาม จะทําอยางไรถึงจะก าวหน าตอไป ทานอาจารย คิดดูแตแรกเราทําไมได มันขี้เกียจข ี้ คร าน บางทีมันก็อยากทําบางทีก็ไมอยากทํา พอ ตอนนี้มันชอบใจ คือมันเห็นความสุขความสงบก ็อดชอบใจอดอยากทําไมได นี้เรียกวาความ
เจริญมันคอยก าวหน าขึ้น ความรูตาง ๆ ซึ่งแตกอนมันของอยูในใจ ก็ตองละไดทั้งได มันจึงคอย สงบ ถาท ิ้งไมไดมันก็ไมสงบ นี่เรียกวามันเจริญในทางปฏิบัติมันเจริญไมรูตัว เพราะเราไมเคย ศึกษาและไมชํานาญในเรื่ องเหลาน ี้ ๑ . ผูถาม ผมหัดเข าถึงความสงบได แตไมเคยมีความรูความเข าใจเกิดขึ้น ถาจะใหไดรับประสบการณ ของความรูเกิดข ึ้ นจะทําไต อยางไรจะต องมีการคิดคนกอนภาวนาใชหรือไม ทานอาจารย อยาไปแสสายหาความรูในเมื่ อมันสงบแลว ความสงบน ั้ นมันจะหายไปมันจะเกิดความรู ขึ้นมาเอง ถามันไมเกิดก ็ใหรักษาความสงบไวกอนจะนานแสนนานก็ชางมัน ความคิดค นหา ความรูโดยปราศจากความสงบแลวเปนของปลอม นานหนักเข าความสงบก ็หายไป แล วจะ ยังเหลือแตความคิดคราวน ี้ แหละจะเดือดร อนใหญ ๒. ผูถาม คนท ี่อยากภาวนาใหได อยางเต ็ มท ี่ ทานอาจารย จะสอนให เขามีกําลังใจ เพ ื่อใหทําได เต ็ มท ี่ อยางไร ทานอาจารย อาจารย เองเป นแตผูสอน คนท ี่ ภาวนานั้นตางหากตางหากทําเอง คือทําให เกิดศรัทธาพอใจ ในอุบายท ี่ อาจารย สอนน ั้นให เต ็ มท ี่ ก็ภาวนาได เต ็ มท ี่ เทาน ั้ นเอง ๒.ผูถาม อะไรคือความดีอะไรเปนอุปสรรคของความดีจะแกไขอยางไร ทานอาจารย การกระทําดีในทางที่พุทธศาสนานิยมคือ ทําส ิ่งใดไมเปนภัยตนเองและคนอื่น นั้นเรียกวา ทางที่ดีอุปสรรคที่ไมใหทําความดีไดมันก็มีหลายอยางเหมือนกัน แตถาหากผูใดเห็ นคุณคาในการ
ทําความดีก็อาจจะฝาฝนอุปสรรคนั้นไปได ความเช ื่ ออยางเดียว สามารถฝาฝนอุปสรรคใหลุลวง ไปได ๒. ผูถาม พวกที่ไมมีโอกาสพบพระพุทธศาสนา เขาจะเจริญก าวหน าได อยางไรครับ ทานอาจารย ธรรมะมีอยูทั่วไป ทุกคนต องมีธรรมะท ั้ งนั้น แตมีคนละอยางกัน ที่ไมได พบพระ พุทธศาสนาหรือไมไดพบศาสนาท ี่ แสดงสัจธรรมอันแท จริง ยากที่จะเจริญก าวหน าได เจริญได แต ที่จะใหถึงที่สุดทุกขนั้นเปนไปไมได ( เวลาค่ํา ) แสดงธรรมเทศนา พุทธศาสนาสอนสัจธรรมของจริงของแท เม ื่ อจะศึกษาพุทธศาสนาจึงควรคิดค นหา ของจริงวาอะไรเปนของจริงของแท เด ี๋ยวจะไปเขาใจเอาวาของจริงเปนของไมจริง แท จริงของทั้ง ปวงมันเป นจริงของมันอยูแลวตามธรรมชาติแตคนไปเขาใจเอาตามมติของตนเองวาไมจริง ตางหาก เชนพระองค สอนวา คนเราเกิดมาเป นอนิจจํ ไมเทียงมั่นยื่นยงแปรสลายไปทนอยูไม นาน ทุกข ํ เปนทุกขอย างนี้ทุกถ วนหนา บอกไมไดหามก ็ไมฟงคําใคร หากเปนไปตามสภาพ ของสังขาร มีเกิดแล วก็มีการดับไปเปนธรรมดาอยางนั้น นี้เปนความจร ิงและความจริงนี้ก็มีอยูใน โลกแตไหนแตไรมา ใครจะดัดแปลงแกไขอยางไรก็ไมได แพทย เยียวยารักษาของที่มันแตกไมดีมัน ชํารุดแล วเพ ื่อให กลับคืนดีเปนปรกติตามเดิม ก็ไดบางไมไดบาง ในที่สุดก็ตองแตกสลายไปสู สภาพเดิมของมัน หมอเองก็ตองเป นเชนนั้นเหมือนกัน ของจริงมีอยูอยางน ี้ คนเกิดมามีแตกลัวความตาย แตหาได กลัวต นเหตุคือความเกิดไม จึง หาเร ื่ องแก แตความเจ็บ ความตาย แก ไมถูกจึงวุนวายกันไมรูจักจบสิ้นสักทีแก เจ็บปวดเมื่อยตรงน ี้ หายไปแล วอีกหนอยก ็ เจ ็บปวดเมื่อยตรงโนนอีกตอไป แก ตนเองได แล วยังคนอื่นอีก เชน
ลูกหลาน คนโนน คนน ี้ ไมรูจักจบสิ้นสักทีตายแลวกลับมาเกิดอีกก ็เป นอยูอยางน ี้ เชนเดิม เรียกวาวัฏฏะ ไมมีที่สุดลงได พระพุทธเจ าจึงสอนให แก ตรงจุดเดิม คือ ผูเป นเหตุใหนํามาเกิดได แกจิตที่ยังหุมหอด วย สรรพกิเลสท ั้งปวงใหใสสะอาดไมมีมลทิน นั้นแลจึงจะหมด เกิด แกเจ็บ ตาย ไมตองวุนวายอีก ตอไป พระพุทธองค สอนให เข าถึงต นเหตุให เกิดคือใจและสรรพกิเลสท ั้งปวงอันปรุงใหจิตคิดนึก สงสายตาง ๆ แล วทําใหจิตเศร าหมองมืดมิดจึงไมรูจักผิด ถูกดี ชั่ว ตามเป นจริง พระองค สอนใหทําจิตน ั้นใหใสสะอาดปราศจากความมัวหมองซึ่งกองกิเลสท ั้งปวง มี ปญญาสวางรูแจงแทงตลอดกิเลสท ี่เป นอดีตอนาคตมารวมลงปจจุบันเปนปจจัตตัง อยางไมมี อะไรปกบิดแล วจึงจะหมดกิเลส พนจากความเกิดแกเจ็บ ดายไมตองวุนวายอีกตอไป พึงเข าใจวาธรรมะเป นของพนจากความแก ความเจ็บ ความตาย แล วก ็ ตามแตรูปอันนี้ ประกอบดวยธาตุสี่ยังไมแตกสลาย ขันธหายังใชการได อยู อายตนะผัสสะ ยังจําเป นจะต อง ปรารภเรื่ องนั้น ๆ อันเปนเหต ุปจจัยอยู แตทานผูรูทั้งหลายปรารภแล วก ็ แลวไป เร ื่ องเหลาน ั้ นแต สักวา ไมทําใหทานกังวลด วยประการใด ๆ ทั้งสิ้น ทานอาจารย พาน ั่ งภาวนาพร อมท ั้ งอบรมธรรมนํากอน ภาวนา ก็คือวิธีอบรมใจใหไดรับความสงบ เพราะเราไมเคยสงบต ั้ งแตไหนแตไรมา ใจที่ ไมไดรับความสงบแลว ก็ไมมีพลังท ี่ จะเกิดความรู คือ ความนึกคิดอะไรตางๆใหเห ็ นของจริงได เหตุนั้นการภาวนาจึงเป นการสร างพลังใจ ใหใจสงบอยูที่เดียว จะอยูไดนานสักเทาใดก็ขอให อยู ไปเสียกอน แตใจเปนของไมมีตัว เหมือนลมกระทบส ิ่ งหน ึ่ งจึงปรากฏวามีลม ใจก็ เชนเดียวกัน เราจะต องให กระทบวัตถุใดวัตถุหน ึ่ งเชนให กระทบท ี่ปลายจมูก เอาลมหายใจนั้นเป นเคร ื่ องวัด ใหใจไปรูเฉพาะลมหายใจกระทบปลายจมูกก ็ได หรือเราจะเพงพิจารณาอยูเฉพาะตัวของเราให เห็น สักแตวาธาตุสี่ดิน น้ํา ไฟ ลม อยูอยางนั้นตลอดเวลาก็ได แล วแตจะถนัดอยางไหน เม ื่อใจมัน กระทบอยูนั้น จะเห ็นใจชัดข ึ้ นมาทีเดียววา ใจอยูหรือไมอยู เม ื่อไมอยูก็ดึงเอามาไวให อยูในที่ เดียว เม ื่ ออยูแล วก็คุมสติเพงพิจารณาอยูอยางนั้น เม ื่ อทําอยูอยางน ี้ใจก็ จะคอยออนลง ๆ แล วผล ที่สุดก ็รวมลงเป นเอกัคตารมณ มีใจเป นอารมณอันหน ึ่งได
ตอบปญหาธรรมภายหลังจากน ั่ งภาวนา 1.ผูถาม ถาหากมีอารมณ เกิดขึ้น ในขณะที่ เราไมไดนั่งภาวนา แตเราพยายามคิดค นหาเหตุผลนั้น แตคิดไมตกแก ไมได ทําอยางไรจึงจะแกไขได ทานอาจารย การคิดค นหาเหตุผลเรียกวาปญญา การทําความสงบเรียกวา สมถะ ถาหากวาเราคิดคน เร ื่ องน ั้นไมตก แสดงวาสมถะน อยหรือไมมี ปญญาก ็ไมเฉ ียบแหลมคือตัดไมขาด เวลาเกิด อารมณ หรืออุปสรรคใดขึ้ นมา ใหหย ิบยกเอาอารมณนั้นมาเพงพิจารณาอยูในจุดเดียว อยาใหมัน ฟุงซาน มันก็เปนสมถะอยูในตัว เกิดความรูชัดข ึ้ นแก ไขอุปสรรคนั้นไดทันทีนั้นแหละเรียกวา ปญญา 2.ผูถาม ผมสนใจพุทธศาสนามานานแลว แตไมมีครูบาอาจารย อาศัยการอานหนังสือพร อมกับ การปฏิบัติไปด วย ทานอาจารยมีความคิดเห ็ นอยางไรในเรื่ องนั้น และขอคําแนะนําจากทานอาจารย ดวย ทานอาจารย ผูหัดภาวนาต องอาศัยบัญญัติตําราเสียกอนเป นแนวทางเบ ื้ องตน เรียกวา อนุมานหริออนุ โลมไปตามนั้นเชน เราพิจารณาเห ็ นความตาย เห ็นของเป อยเนาปฏิกูลของรางกายเปนของไมเท ี่ ยง เปนทุกข เป นอนัตตา ในไตรลักษณ เราก็ตองอาศัยอันนั้นเสียกอน แตเวลาปฏิบัติเรากําหนดจับ ตัวใจใหได คือใจผูพิจารณา แล วมนวางเองั ตราบใดถาไมวางตําราคือบัญญัติจะภาวนาไมลง ถาเวลาภาวนาลงสนิทมันวางหมดปรากฏเฉพาะใจที่ เรากําหนดอยางเดียว ถึงอยางไรก็ ตาม เมื่อ เกิดความรูจากการภาวนาแลว มันผิดกับตําราที่วาไว มันชัดไปกวาตําราเสียอีก 3.ผูถาม
เร ื่ องวัตถุภายนอกหรืออารมณตางๆ สามารถปลอยวางไดงาย แตวาเร ื่ องเก ี่ ยวกับครอบครัว ปลอยวางยาก เชน ผมมีที่แหงหนึ่งผมจะต องจัดการเพ ื่ อลูกเมียถ าหากปลอยวางเสียหมด มันจะ ไมขัดกับหน าที่ที่ผมมีกับครอบครัวหรือครับ ทานอาจารย ครอบครัวน ั้ นแหละคืออารมณภายนอก อารมณ ภายในนั้ นเกิดขึ้นที่ใจแหงเดียวไมเก ี่ ยว ของกับคนอื่น เชน ความวิตกวิจารณ ในเหตุการณ ความแกความตาย ความสุขทุกข ของตนเป นตน ครอบครัวของเราเราสรางมาแล วต องแก ไขให เรียบร อยเสียกอนจึงคอยไป ถาไมเรียบร อยก็ตองเปน อยางน ั้ นเองกําลังศรัทธายังไมเต ็ มท ี่ ถาศรัทธาเต ็ มท ี่ แล วของเหลาน ั้นเป นของเล ็ กน อยนิดเดียว วันที่๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๑๙ (เวลาบาย ) สนทนาธรรม ๑.ผูถาม ผมเคยหัดภาวนามากอนแลว เวลาบริกรรมไปเรื่อยๆ คําบริกรรมมันหายไปแล วมันอยูเฉยๆ ไมมีอะไรผมควรทําอยางไรตอไปครับ ทานอาจารย สติตามจิตไมทัน จิตสงบนอมไปสูความสุข สติเลยสงบไปด วย ถาสติดึงเอาจิตกลับมาสู อารมณพิจารณาในอารมณนั้น จิตจะเบิกบานมีเคร ื่ องอยูตอไปแลวไมเพิกเฉยไปเหมือนอยางท ี่เปน อยูนี้ ๑.ผูถาม ผมเคยกราบเรียนวาถึงความสงบแลว และทานอาจารย สอนวาต องพิจารณากาย แตเม ื่ อคน อื่นมากราบเรียนทานอาจารยวาเขาถึงความสงบแลว ทานอาจารย อธิบายกับเขาวาให พิจารณาวา ใครเปนผูที่เข าถึงความสงบนั้น คือ พิจารณาความสงบ ผมอยากทราบวาอันใดถูก ตอง พิจารณาตัวเราหรือพิจารณาความสงบ
ทานอาจารย ถูกท ั้ งสองอยาง คือสงบแลวไมใหติดความสงบมันจะวางเฉยเสีย จึงต องพิจารณา กาย หรือจิต เป นเคร ื่ องอยูตอไป ๑. ผูถาม เวลากําหนดหรือพิจารณาเชน กําหนดกระดูกบางทีความรูสึกน ั้นหายไปตอนนั้นมีนิมิต ปรากฏขึ้น จึงสนใจในนิมิตน ั้ นแล วก็ยึด จนเบอไม ื่ อยากจะเห็นนิมิติตอไป ไมทราบวาจะทํา ใหใจกลับมาท ี่ เดิมอยางไร จะจับจุดเดิมได อยางไร ทานอาจารย เคยอธิบายอยูเสมอวา มันจะติดอยูอยางไรก็ ตาม ติดอยูในความสุขติดอยูในความเบื่ อหนาย หรือความไมพอใจก็ ตาม ใหรูจักใจผูที่ไปติด ผูที่ไปเพงผูที่ไปเห็น ผูที่ไปรูที่ใจ เม ื่อเป นเชนนั้น เราท ิ้ งอารมณ ของใจแล วมากําหนดลงที่ตัวใจ ก็รูวาจิตมันวางนิมิต นิมิตมันติดตรงน ั้ นแหละ พูด อีกนัยหนึ่ง ใจไมมีอารมณ เป นกลาง ๆ จิตตางหาแสหาอารมณ แล วก็ติดอารมณ เป นอาการ ของจิต เม ื่ อจะย อนกลับมาหาจุดเดิมจงจับจุดตรงใจใหได ๑. ผูถาม เวลาจะย อนกลับมาหาจุดเดิม ตองพิจารณานามธรรมกอนครับ ทานอาจารย มันอยูดวยกัน พิจารณารูปมันเห็นงายเม ื่ อเห็นรูปแลวใครเป นคน เห็นรูป ก็ทราบไดวาใจ เป นคนเห็น ก็เห ็นใจไปในตัว ๑. ผูถาม เวลากําหนดอาการ ๓๒ เชนพิจารณาผม เม ื่ อเพงพิจารณา ผมก ็หายไปบางทีหายแบบไฟ ไหม เม ื่ อมันหายไป ก็พยายามเอาอารมณ แบบเกามาพิจารณาแตใจไมยอมจับอารมณที่กาย มันจะ ไปหาอานาปานสติ พายามพิจารณากระดูกหรืออาการตางๆ ใจไมยอมมันจะไปจับลมหายใจอยาง เดียวอยากจะทราบวาทําไมถึงไปจับท ี่ลมหายใจ เพราะอะไร
ทานอาจารย ดีแลว มันไปจับเอาลมก ็ให อยูตรงน ั้นไปกอน จนกวาจะชํานาญจงคอยพิจารณาอยางอื่น ตอไป ถาไมชํานาญพิจารณาอยางอื่นก็เหลว ขอน ั้ นควรจําไว ๑.ผูถาม ผมเห็นวาผมต องหัดภาวนาทุกอยาง คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตาผมเห ็ นอนิจจังและทุกขัง แตไมเห ็ นอนัตตา มันเห ็ นเฉย ๆ ไมเห ็ นความสําคัญของอนัตตา ทานอาจารย นั่นซิ ดังอธิบายมาแลว ความไมชํานาญเป นเหตุใหพิจารณาไมชัด ถามันชัดแลว พิจารณาเป นอันเดียว คือเห ็ นอนัตตาก ็ เห ็ นอนิจจัง ทุกขัง เห็นทุกขังก ็ เห ็ นอนิจจังและอนัตตา เห ็ นอนิจจังก ็ เห็นทุกขังอนัตตาไปด วยกัน ๑.ผูถาม เวลาเกิดความโกรธขึ้น ความสงบยังมีอยูภายในใจ ละได ไมสนใจในความโกรธตัดได ทานอาจารย ก็นั่นละซิ คนที่ทําอยางนี้จึงจะเป นคนดีได ๑.ผูถาม เวลาน ั่ งภาวนาอยูในห องนอนติดแอร กําหนดลมหายใจ ถาหากวาใจสงสายไปที่อื่น รางกายมันเย็น รูตัววาเย็นก็พิจารณาความเย็น ดูวาสวนไหนเย็น ความเย ็นเปนอะไรรูสึกตรงไหน แลวกลับไปจับลมหายใจอยากทราบวาถูกหนทางหรือเปลา ทานอาจารย ถูก แตไมถนัด ที่ถนัดแทตองเข ามาท ี่ใจ ใจเปนผูรู เย็น จะจับใจใหไดรูตัวเย็น เห็นตัว เย็น จับตัวน ั้นได แล วก ็ หมดเร ื่ อง
๑. ผูถาม เวลาท ี่ เราแยกกายออกจากความรูสึก ความรูสึกจะหายไป และเม ื่ อน ั่ งสมาธิบางทีขาชาไมมี ความรูสึก เวลาเพงความรูสึกนั้น เชน กําหนดกายตรงขา ความรูสึกตรงขาก ็หายไป ทานอาจารย นี่แหละวิธีแยกกายออกจากใจ แยกใจออกจากกาย เม ื่อใจถึงความสงบเราจับตัวความสงบ ได แลว กายมันเปนอีกสวนหนึ่ง ที่เขาพูดกันวาประสาทหรือเซลล เป นคนส ั่งการใหรูสึกน ั้นไมจริง ถาเห ็ นตรงน ี้ แล วไมจริงเลยเปนเพราะใจไมเขาไปย ึด ประสาทก็ เทานั้น มันอีกสวนหนึ่ง ตางหาก มองเทาไรก็ไมเห็น แตวาเร ื่ องท ี่เรามองไมเห็นนี่แหละเป นหลักท ี่ เราจะต องชําระ เวลา เราเจ ็บไขไมสบาย หรือเวลาจะแตกดับ เราไมเข าไปยึดถอนอุปาทานเสีย นี่แหละวิธีละ อุปาทาน หัดแบบนี้ก็เรียกวาละอุปาทาน จึงจะไมเปน ทุกข เวลาเม ื่ อกายอยู หรือเวลากายแตกดับ ไปแลว ๑. ผูถาม เวลาทานอาจารย บางองค เทศน ใหฟง พยายามเข าใจคําส ั่ งสอนของทาน ขณะนั้นมี ความรูสึกแปลกๆ คล ายมีเคร ื่ องดึงดูดให กายยืน รูสึกคล าย ๆ วาเรายืนขึ้น มันไมดีเพราะทาน อาจารยกําลังเทศน เรายืนมันไมถูกต อง ลืมตามองดูกายก็ยังเห็นนั่งอยู อยากทราบวาเป นเพราะ อะไร ทานอาจารย นั่นปติ ปติมันมีมากอยาง แสดงใหเห ็นความไมดีของเราก ็ได เชนกรณีนี้คล ายกับเรายืน แตเม ื่ อมองดูจริง ๆ แล วเรายังน ั่ งอยู นี้อาจเปนเพราะเราแสดงความไมเคารพในอาจารยก็ได จง ตั้งใจสํารวมเสียใหม ๑. ผูถาม ปติเปนสิ่งท ี่แปลก ทานอาจารย
ดี มันไมรูตัว เราฝกความสงบ เม ื่ อความสงบเกิดขึ้นนิดเดียวปติก็ปรากฏขึ้น แตเราตามรู ไมทัน เปนบอย ๆ ลักษณะน ั้นจะหายไปทีนี้เราก ็ ตามรูเอาซิ เป นเร ื่ องที่ดีเหมือนกัน ๑.ผูถาม เคยมีประสบการณวา เม ื่ อกําหนดท ี่กะโหลกศรษะี กะโหลกศรีษะแตกออกเป นชิ้น ๆ แล วช ิ้นกะโหลกศรีษะกลับติดกันอีก แล วแตกสลายออกไปอีกจนปนปเป นภาพเห็นชัด ตอมาภาพ ที่เห็นนั้นก็หายไป แล วไมรูอะไรอึกเป นแบบนอนหลับ อยางน ี้เป นสภาพเอกัคตาจิตหรือเปลา ทานอาจารย เปนปฏิภาคนิมิต เป นเอกัคตารมณ ไมใชเอกคตาจั ิต เพราะเพงอยูแตอารมณปฏิภาคนิมิต เทานั้น ภาพนั้นหายไปเลยเขาภวังค เหมือนกับนอนหลับหายไปเลย อยางน ี้เปนอัปนาฌานเปน เอกัคตาจิต ๑. ผูถาม คิดวาถึงเอกัคตาจิต แล วนอนหลับไป เข าใจวาเวลาถึงเอกัคตาจิตแล วถึงจะหลับได เวลา ออกจากสภาพน ี้ แล วควรจะพิจารณาหรืออยางไร ทานอาจารย นั้นเปนจิตเข าสูนิทรารมณ คล ายกับเอกัคตาจิต แตไมใชเอกัคตาจิต เอกัคตาจิตมีสองอยาง เอกัคตาจิตของฌาน ก็คืออัปนาฌานนั้ นเองอยางหนึ่ง เอกัคตาสมาธิก็คืออัปนาสมาธินั้นเองมีสติ รูตัวอยูเฉพาะมันเอง ไมไปรูของภายนอก แลพูดออกมาไมได ๑.ผูถาม เข าใจวาตนเองหลับ ทานอาจารย จะเรียกวาหลับก็ใชเพราะไมมีสติ แตยังน ั่ งอยูคือเวลาใจรวมเขาไปสติมันหายไปถาสติตาม รูอยูตลอดเวลาก็ไมเข าภวังค ถึงเข ามันก็เปนอัปนาสมาธิไป
๑. ผูถาม การภาวนาในทางศาสนาพุทธต องเอาสติมาใชใชหร ือไม เวลาใชสติเราต องกําหนดอารมณ ที่เปนกุศล ลดอารมณที่เปนสวนอกุศลใหมันนอยลง เม ื่ อทําเชนนั้นอารมณที่จะมาแทรกในการ ภาวนาไมมี สามารถปลอยวางได แล วอยูเฉย ๆ ได เวลาอยูเฉย ๆ ยังยดความคึ ิดวายังน ิ่ งภาวนา อยูในห อง พอปลอยวางความคิดน ี้ ทําใหตกใจกลับมายึดความคิดวาน ั่ งภาวนาอยูในห องอีก ถา หากปลอยวางเต ็ มที่มันยังจะมิสติอยูอีกหรือไม ทานอาจารย ที่สามารถปลอยวางอารมณ ได แล วอยูเฉยๆ แตยังยึดความคิดวาน ั่ งภาวนาอยูในห องน ั้นเปน จิตท ี่ อยูในเอกัคตารมณ เม ื่อปลอยวางความคิดที่วาน ั่ งภาวนาอยูในห องแลว มันเป นเอกัคตาจิต แตอยูไมได นาน จึงตกใจเลยย อนมาคิดวาเราน ั่ งอยูในห อง ธรรมดาคนเรามันตองมีเคร ื่ องอยู เมื่อ ปลอยจนหมดแล วไมมีอะไรเป นเคร ื่ องอยูเลยตกใจ คนเราจึงละเคร ื่ องผูกพันไดยากภาวนาเป น ไปถึงข ั้ นละแล วก็ยังกลบมายั ึดอยูอีก ๑. ผูถาม เวลาน ั่ งภาวนาเห ็ นภาพนิมิต เม ื่ อเห ็ นภาพนิมิตน ั้ นแล วเราไปบอกคนอื่น ภาพอันนั้นมัน จะคืนกลับมาหรือเปลา หรือจะหายไปเด็ ดขาด ทานอาจารย ถาหากเราไปเลาถึงภาพท ี่ เกิดข ึ้นให คนอื่นฟง บางคนก ็ เส ื่อมหายไปบางคนไมเส ื่ อม เลาก ็ อยูเชนนั้น ไมเลาก ็ อยูเชนนั้น ยิ่งเลาย ิ่งไปใหญเหตุที่มันเส ื่ อมเพราะ เกาแล วปติมันออนลง ทําไมเส ื่ อมเพราะเกาแล วปติยิ่งมากขึ้น ๒. ผูถาม ขอกราบเรียนถามเร ื่ องภวังค ทานอาจารย บอกวาเวลาเข าฌานจิตเป นภวังค ตามหลัก อภิธรรมบอกวาเวลาหลับสนิทไมไดฝน ไปได หมายความวาใจมันเป นภวังค สงสัยวาเวลาหลับจิต มันอยูในสภาพของฌานหรือเปลา ทานอาจารย
เวลานอนหลับเรียกวาจิตเข าสูนิทรารมณ ไมได เรียกวาจิตเข าภวังค ๒ .ผูถาม ธรรมะคืออะไร ทานอาจารย พูดเร ื่ องธรรมมันกว างมาก ธรรม คือ ธรรมดา สภาพอันหน ึ่ งซ ึ่งเป นของจริงเรียกวา ธรรมะ มันกว าง แตเม ื่ อเรามาพูดกันเร ื่ องธรรมมะท ี่เราปฏิบัติโดยเฉพาะคือปฏิบัติสุจริต ทํา ชอบ ทําดีนั่นเรียกวา ธรรมะ ทําช ั่ วก ็ เรียกวา ธรรมเหมือนกัน แตเราไมนิยมจะเอาคําน ั้ นมาพูด คําวา ธรรมกว างมาก ดีก็เรียกวา ธรรม ชั่วก ็ เรยกวี า ธรรม ไมดีไมชั่วก ็ เรียกวา ธรรม ในตัว ของเราท ั้ งหมดคือรูปธรรม นามธรรม ก็เรียกธรรม ถาพูดเฉพาะทางปฏิบัติเรียกวาปฏิบัติธรรม เพ ื่อให เราดี เพ ื่อเราจะไดรับความสุข ๒. ผูถาม การฝนที่เห ็ นอยางชัดเจนแจมแจ งนั้น มันจะเป นความจริงหรือเปลาเพราะบางทีมันก ็ จริง บางทีมันก็ไมจริง ทานอาจารย กอนจะหลับถาเรามีสติเต ็ มท ี่ เม ื่อฝนมักจะมีความจริงมากกวา ถาหาสติไมได แล วความ ฝนก็เหลวไหล ๒. ผูถาม เวลาเราฝนรูสึกตัวเหมือนกับเราลอยอยูในอากาศ เม ื่ อรูสึกตัวควรจะทําอยางไรตอไป ทานอาจารย นั่นแสดงถึงเร ื่องฌานโดยเฉพาะ เราหัดความวาง ไมมีอะไร ไมมีอารมณ ในเวลาเรา หัดภาวนา ที่นี้เม ื่ อเราหลับและฝนก็แสดงถึงเร ื่องเราไมมีอะไร มันวางคือมันลอยอยูใน
อากาศแสดงถึงขณะของจิตท ี่ไมมีอะไร ปลอยมันใหอย ูอยางน ั้ นแหละ รูสึกแล วมันไมมี อะไร ฝนก็เป นแตความฝนทําอะไรไมได ๒. ผูถาม ผมมีศรัทธาเตรียมพร อมท ี่จะใหไปถึงปลายทางใหจงได ทานอาจารย ศรัทธา นั้นดีสําหรับที่จะพาเราไปสูจุดหมายปลายทาง แตทางท ี่เราจะไปนั้ นเรายังไม เคยไป ไมทราบวาใกล หรือไกล ยาก งาย อยางไร จงเพียรพยายามไปเถิดจะถึงแนไมวัน ใดก็วันหนึ่ง ละ 3. ผูถาม ขอถามเร ื่ องตายแล วเกิด ศาสนาคริสต สอนอัตตา เม ื่ อเราตายแล วตัวของเราก็มี อีกสวนหน ึ่ งท ี่จะไปเกิดสวรรค ไปอยูกับพระเจา ถาเราทําช ั่ วเราก็ตองไปอยูในนรก ตลอดกาลสวนศาสนาฮินดูเขาสอนวา เราเกิด-ตายๆ แตวามีสวนท ี่ เรียกวาอัตตาท ี่ตายไปแล วเกิด ใหม ศาสนาพุทธก ็ สอนถึงเร ื่ องตายแล วเกิด ผมอยากทราบวาเม ื่ อตายแล วอะไรเปนสิ่งท ี่ เกิดใหม ในทางพุทธศาสนา คืออัตตาหรือเปลา ทานอาจารย ก็อัตตาละซิ คือจิตเปนผูไปเกิด แตไมได แยกเหมือนคริสตศาสนาไปตกนรกและขึ้น สวรรคก็ไปหมด คือจิตผูเดียวเปนผูไป ถาแยกกันได แลว เม ื่ อมาเกิดเป นคนก็ตองเปน สอง, สาม คนไปละซิ 3. ผูถาม อะไรคืออัตตา ทานอาจารย ที่พูดอยูนี่คืออัตตา ที่พูด เกิด-ดับ นี้ก็คืออัตตา ไมใชอนัตตา
3. ผูถาม การทําบุญทําทานน ี้ เราก็ทําเพ ื่ อตัวเราเอง คือเพ ื่อจะไดบุญไดกุศลนี่ก็หมายความวายังๆ ยึดเร ื่ องตัวเราอยูใชหรือไม ทานอาจารย การกระทํามันตองมีตัวตน ถาไมมีตัวตนเสียแลวก็ตองเลิกการกระทํา ทําบุญมันเก ี่ ยวข อง ถึงเร ื่ องตัวตนอยูจึงต องทํา 3. ผูถาม เวลาเราทํากุศลเราถือวาเป นเราที่ทํากุศล เพราะเราเปนผูทํากุศลและเปนผูสะสมกุศล เอาไว เพ ื่ ออนาคต เพ ื่ อจุดหมายปลายทางของเรา ทานอาจารย ทํากุศลก็ตองมีการมุงหวังอยางนั้น เหมือนกับคนข ามน ้ํ าต องอาศัยเรือแพ เม ื่ อถึงฝงแล ว เราก็ทิ้งเรือแพนั้น เดินขึ้นฝงแตตัวเปลามิได เอาเรือแพไปด วย 3. ผูถาม ทางศาสนาฮินดูสอนวาเราจะต องหัดใช ความคิดเสียกอนถ าเราชนะความคิดแล วเราจะมี ความรูเกิดขึ้น เม ื่ อมีความรูเกิดข ึ้ นแลว ปญญามันก็เกิดขึ้น อยากทราบเปรียบเทียบกับทางศาสนา พุทธ ตอนน ี้ผมเปนนักคิด จะทําอยางไรตอไปจึงจะก าวหน าครับ ทานอาจารย ในทางศาสนาพุทธนั้น ความคิด คือ ตัวปญญาคิดคนอะไรสิ่งท ั้งปวงเป นตัวปญญาเมื่อ เข าใจเหตุผลนั้นคือวิชชา ทีแรกเรยกตี ัวปญญาคิดค นหาเหตุผล พอชัดข ึ้ นเรียกวาวิชชาเชนนี้ เรียกวาเจริญก าวหนา ดังเราคิดเลข เขามีปญหาถามใหคิดเลข เราพยายามคิดด วยวิธีตาง ๆเปน ปญญา เมอค ื่ ิดไดพอตอบได เรียกวาไดวิชชา แตในทางพุทธศาสนาจะเอาชนะความคิดน ั้นไมได เด ็ ดขาด ถาคิดเชนนั้นมีแตจะแพร่ําไปหาความก าวหน าไมได
3. ผูถาม พระพุทธรูปนี้จะต องมีการปลุกเศกเสยกี อนจึงจะกราบไหวบูชาได หรืออยางไรครับ ทานอาจารย การปลุกเศกเป นเร ื่องทางไสยศาสตร พุทธศาสนาไมมีเราเล ื่อมใสแลวกราบไหวไปเถิดได บุญท ั้ งนั้น 3. ผูถาม พระพุทธรูปโดยมากเขา อยากใหมีการปลุกเศก ถือวาเป นของขลังศักดิ์สิทธิ์ และสามารถ ที่จะกันภัยอันตรายตลอดจนภูติผีปศาจได ถาไมปลุกเศกไมนากราบไหว ทานอาจารย เพราะความถือน ั่ นเอง พอไมมีการปลุกเศกก ็ไมขล ัง ความจริงพระพุทธรูปมิใชของขลัง เป นแตพยานให ระลึกถึงพระคุณของพระพุทธเจ าตางหาก คนถือของขลังอะไร ๆ ก็เลยเปน ของขลังไปหมด กระท ั่ งก อนอิฐก อนปนก อนหินเป นของขลังไปทั้ งนั้น ถาพุทธาภิเศกแลว ขลังท ั้ งนั้น 3. ผูถาม เม ื่อคนตายกลายเป นศพแลว เขาจะต องจัดใหมีพิธีสงวิญญาณไปเกิดอันนี้มันเท ็ จจริง อยางไรครับ ทานอาจารย นั้นมันเป นเร ื่ องของศาสนาคริสต ฮินดู หรือ อิสลาม ตางหาก ถาหากสงไปเกิดได แลว ใครจะทําดีทําช ั่ วอยางไรก็ ตาม ตายแล วจะต องสงไปเกิดสวรรคดวยกันทั้งน ั้นไมตองระวังบาป อะไรใหลําบาก แตนี่ทางศาสนาคริสต ฮินดู ก็ยังต องระวังบาปอยูเหมือนกัน อนึ่ง ตายไปแลวเปนผีไมเห ็ นตัว ไปสงจะต องไปกับอะไร และสวรรคนั้นเลาใครไปมาแล ววาอยูใน สถานที่ใด จะไปสงกันอยางไรจึงจะไปถูก 3. ผูถาม
บางคนมีพระพุทธรูปไวในตัวแล วแสดงอาการตาง ๆ คล ายกับคนบา ทานอาจารย นั่นแหละดีนัก อยางโบราณทานวาไว อวดตนแกดิน อวดกินแกขี้อวดดีแกตาย อวดสบายแกโรค นั่งโงกงมแกเหลียวแลวาตน รูปตนคือผี เห ็ นอยางไร วันที่๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๑๙ (เวลาค่ํา) แสดงธรรมเทศนา ความสุขทางกายใครก็ตองการทุกคน บํารุงปรนเปรอรักษาทุก ๆ วิถีทาง แตก็ไมไดรับ ความสุขเทาท ี่ ควร คือไมพอแกความตองการสักที แก ไขนี่ แล วยังเหลือโนน บํารุงน ี่ แลว ยังเหลือนั่น แก ไขบํารุงสักเทาไร ๆ ก็ไมพอ ความต องการในที่นี้มิใชใจหร ือใจอยากไดโนนได นี่ไมมีที่สิ้นสุด สวนกายมันมีความรูสึกอะไร คนตายแล วมันรูสึกหิวอาหารหรือไม เปลาท ั้ งนั้น ฉะน ั้นความอยากในที่นี้คือใจนั่ นเอง คําวา สุขกาย จึงเปนคําไมจริง ความจริงคือสุขใจ ดังคํา เขาพูดวาทุกข ใจกลุมใจ รอนใจ เสียใจ เจ ็บใจ ฯลฯ ดังน ี้เปนตน หรือคําวาสุขใจ ดีใจ ปลื้ม ใจ ชอบใจ ถูกใจ ฯลฯ ดังน ี้เปนตน ไมเคยไดยินใครพูดวา ทุกข กาย สุขกาย ดีกาย เสียกาย ชอบกาย เพราะใจเป นผูรับรูสุขทุกข ของกายท ั้งปวงเมื่ อยังมีชีวิตอยูคือยังไมตายจิตจะต องรับรูทุก สิ่งทุกอยางของกาย กายเป นเคร ื่ องรับ ใจเปนผูรูตางหาก ใจเปนผูรับรูจึงไมรูจักอ ิ่ มรูจักพอเปน สักที รูแลวก ็หายไปเรื่ องอ ื่นมาใหรูอีกเป นอยางน ี้ อยูร่ําไป จึงไมรูจักพอเป นบางคนมีเงินเปนรอย ๆ ลานใชจายวันหน ึ่ งก ็ไมกี่สตางค เหลือจากน ั้ นก ็ เก ็บไว แตก็ยังไมพออีกตอไป ความสุขของใจนั้นมันอยูที่ความพอ คือวา “พอ” มันก็หยุดทันที อะไรทั้ งหมดหยุด หมด จะมี จะจนหยุดหมด คําวา “ พอ” ในที่นี้มิใชไมหา หาแตเป นผูรูจักพอเปน หาไปทําไม ตายแล วเอาไปดวยไมได เม ื่ อยังมีชีวิตเป นอยูก็ตองหาต องรับประทาน ไมหาก ็ไมมี รับประทานรับประทานพออยูได เม ื่อไมรับประทานก็ตองตาย ชีวิตความเป นอยูมันบังคับใหตอง ทําอยางน ั้ นแตเมื่อตายแลวก ็ไมเอาอะไรไปด วย เพียงแตเกิดมายุงเก ี่ ยวด วยเร ื่ องตางๆ ใหทําความชั่ว นานาชนิดแล วท ิ้งไวใหจิตรับเคราะห กรรมคนเดียว ดังนั้นทุกคนจึงควรคิด
ที่สุดน ี้ ขอความสุขความเจริญจงมีแกชาวพุทธทุกถ วนหนา ขอศาสนาพุทธจงงอกงาม เจริญจิรังถาวรอยูในสิงคโปรชั่วกาลอวสานเทอญ ทานอาจารย พาน ั่ งภาวนาพรอมท ั้ งเทศนาอบรมธรรมนํากอน ภาวนา คือหัดทําใหรูจักวาใจคืออะไร จิตคืออะไร ถึงจะรูของจริง ที่จะทําใหถึงของจริงรู ของจริงน ี้เอาปจจุบัน อยาไปคิดอะไรให มากมาย ใหทําในปจจุบัน ความนึกความคิดอะไรตาง ๆ งานการภาระท ั้งปวงทั้ งหมดทอดท ิ้ งเสียกอนเวลาน ี้ทําความสงบอบรมจิตให อยูกับลมหายใจ สติคุมจิตให อยูกับลมหายใจถายเดียว ไมใหนึกคิดสงสายปรารถนาโนนนี่อะไรทั้ งหมด เอาเฉพาะคุมจิตให อยูกับลมหายใจอันเดียว ( นั่งภาวนาประมาณ ๒๐ นาที ) สนทนาธรรมภายหลังนงภาวนา ั่ ทานอาจารย ถาม เทาท ี่ อธิบายมาเข าใจหรือไม 2.ผูถาม เราสามารถที่จะกําหนดท ี่ของใจไดไหม ทานอาจารย ใจไมมีที่ ไมมีสถานที่ ความรูสึกคือตัวใจ ไมมีสถานที่ใด ๆ ทั้งปวงหมดอยูไหน ก็ได รูสึกตรงไหนคือใจตรงนั้น อยางพวกโยคีเขาหัดเอาใจไปไวที่ไม สงไปไวที่ไม หรือหิน สามารถทําใหไม หรือหินสะเทือนได
2 . ผูถาม ขอใหทานอาจารย อธิบายเร ื่องใจ และเร ื่ องจิต ทานอาจารย ลองกลั้นลมไวสักพักหนึ่ง แล วมีความรูสึกอันหนึ่ง ไมมีอะไรสงสายใชไหม มีความรูสึก เฉย ๆ เราก็จับได แล ววานั้นคือใจ อันที่มันคิดถึงนั้นมันเปนอาการของใจที่ เรียกวา จิต แตนี้เรา เห ็ นแต จิต เราไมเห ็นใจ เรารูแตเร ื่ องจิต แล วเราก ็ใชจิต ใจเราไมไดใช คือสําหรับเก ็บไวพักใจ เปนที่พัก หมายความวาตัวเดิมจะไดรับความสุขสงบก ็โดยการเข าถึงใจ ที่เรามายุงหรือ เดือดร อนวุนวายกระสับกระสายเปนทุกข เพราะจิต เหตุนั้นจิตท ี่เราใชจึงเปนทุกข เม ื่ อเราเห็นจิต อยางเดียวไมเห ็นใจจึงเข าไมถึงความสุขสงบคือใจ 2. ผูถาม เวลาภาวนาเชนกําหนด'ลมหายใจเรากําหนดเพราะเหตุจะใหรูใจ หรือลมหายใจ ทานอาจารย คือจิตมันยังฟุงซานอยู เรายังจับไมได จึงให เข าไปอยูในลมหายใจอันเดียว เม ื่ อจับไดจุด เดียวมันจึงจะเข าถึงใจและลมหาบใจได วันที่๑๓ พฤศจิกายน ๒๕๑๙ (เวลาค่ํา) สนทนาธรรม ทานอาจารย พาน ั่ งภาวนา พรอมท ั้ งอบรมธรรมกอน เราไมตองระลึกอะไรทั้ งสิ้น ให ระลกเอาสึ ิ่ งเดียวท ี่ลมหายใจซึ่งเป นของกลางมีอยูทุกคนไม เอนเยงไปทางไหนทั้ งหมด ทุกคนมีลมหายใจด วยกันทั้งนั้น คนเรากลวตายถั าไมมีลมหายใจก็ ตองตาย เหตุนั้นมากําหนดท ี่ลมหายใจ สติควบคุมจิตใหรูสึกเฉพาะท ี่ปลายจมูก จิตไปอยูตรง นั้น รูสึกตรงนั้น สติก็คุมอยูตรงนั้น ไมใหสงไปนอกจากนั้น ถามันสงออกไปแลวก็ดึงมาอยู
อยางน ี้ ตลอดเวลา ถาหากเราฝกฝนไปนานๆ หนักเขา ที่มันฟุงซานจะคอยซาลงออนลงคอยเบา ลงนอยลงๆ จนกระทั่งหายวับไป ไมมีอะไรเลย ยังเหลอแตื ผูรู สติกับผูรูมาอยูรวมกันในที่ เดียวกัน (นั่งอยูประมาณ ๒๐ นาที) ตอบปญหาธรรมหลังน ั่ งภาวนา ๑.ผูถาม ได พยายามจะจับใจใหอยู เวลาเกิดอารมณ อะไรขึ้นมาจะพยายามไมยึดปลอยมันทิ้งไป ทานอาจารย ความหมายของพุทธศาสนาหรือทุกศาสนาสอนเร ื่องใจทั้ งนั้น ตองการ สํารวมใจอบรมใจด วยกันทั้งนั้น จะแยกกันก็ตอนปลายขอใหจับตัวใจใหไดกอนแล วจึงคอย พูดเร ื่ องอื่นตอไป ถาหากจับใจไมได แล วจะพูดเร ื่ องอื่นก็พูดไมถูก เพราะทุกส ิ่ งทุกอยางมันเกิด จากใจ กายเป นเคร ื่องใชของใจตางหาก ๑.ผูถาม ถาหากวาเรากําหนดจิต แล วเห็นจิต เกิด-ดับ กําหนดอยูเชนนั้นนาน ๑-๒ ชั่วโมงแลว รูสึกเหน ื่ อยควรกําหนดความเหน ื่ อยหรือควรท ี่ จะผลักออก ทานอาจารย เหน ื่ อยเราก็กําหนด เกิด-ดับ เหมือนกัน เวทนาก ็ เกิด-ดับเหมือนกัน ความสุขความทุกข มัน เกิด-ดับ เวลาเหน ื่ อยก็กําหนด เกิด-ดับ ๆ จนกระทงม ั่ ันวางความเหน ื่อยได แลว จะไป รวมอยูอันหน ึ่ งของมันตางหาก นั้นมันจึงจะหมดเหนื่อย มันยังไมทันถึงท ี่ มันเพียงแตเห ็ นการ เกิด-ดับ ๆ มันอยูกับการ เกิด-ดับเฉย ๆ ยังไมทันวางการเกิด-ดับ ถาหากวาเรากําหนดความเกิด ดับอยูอยางน ี้ เรารูจักคนท ี่ไปกําหนดความ เกิด-ดับ เราเห ็ นความ เกิด-ดับ เรียกวาใจ เกิด-ดับ ผู
เห ็นใจ เกิด-ดับ ยังมีอีกผูหนึ่ง จนกระท ั่ งเห็นผูนี้แล ววางความ เกิด-ดับไปอยูอันหน ึ่ งของมัน ตางหาก นั่นมันจึงคอยเป นภาวนาแท อนึ่ง นั่งนานรูสึกมันเหน ื่ อยพึงเข าใจวา จิตมันถอนแล วใจมันไมมิเคร ื่ องอยู หรือ อารมณ จะอยูตอไป ฉะน ั้ นควรทําความพอใจในอารมณที่จิตยึดอยูนั้นให เกิดความพอใจยินดียิ่ง ก็ เป นเคร ื่ องอยูตอไป ๑.ผูถาม ที่เรามองเห็นผูนึกผูคิดอยางนั้น เพราะใจไปจดจองลมหายใจใชหรือเปลาครับ ทานอาจารย ใช เม ื่ อเราเข าใจเชนนั้นแลว คือวาผูไปเห็นลมหายใจเข าออกอันนั้น คือจิตใจจดจองอัน เดียว สติเราไปคุมเร ื่ องน ั้นเราไปเห็ นเร ื่ องน ั้ นอยู เม ื่ อเราคุมเร ื่ องน ั้ นอยูนาน ๆ หนักเราแลว มันจะ วางเอง เวลามันวางจะมีความรูสึกอันเดียว ผูที่รูสึกกับสติมันรวมเข าอยูอันหน ึ่ งของมันตางหาก วา มันจะปลอยวางท ั้งลมหายใจด วย ของพรรคนี้อยาไปแตงมันเป นเอง แตงไมเป นแน ๑. ผูถาม สติคืออะไร ผูรูผูคิดคืออะไร ทําอยางไรจึงจะสามารถมองเห็น และจะรูได อยางไรวา ความเห ็ นของเราจะถูกหรือผิด สติอันนั้นคือตัวรูใชหรือไม ทานอาจารย สติคือผูระวัง ผูรูคือ ปญญา ผูคิดคือจิตเราต องฝกที่จิตให เกิดปญญาจึงสามารถมองเห็น และจะรูวาความเห ็ นของตนถูกหรือผิดได สติมิใชตัวรู ปญญาตางหากคือตัวรู ๑. ผูถาม เวลาหัดภาวนาด วยการอนุมานทุกส ิ่ งทุกอยางก ็ อยูในหลัก อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ไมมี แกนสารสาระอะไรทั้ งสิ้น นี่เป นเพียงอนุมาน ยังไมทันเห็นชัดแจ งภายในใจ เพราะเห ็ นอยางน ี้ เวลาอยูในสภาพธรรมดา ๆ บางทึกสามารถยับยั้งความโกรธไดคือสํารวมใจไดหรือระลึกถึงส ิ่ งน ี้ ได บางทีสติไมทันความโกรธก็เกิดขึ้น เพราะฉะน ั้ นเราต องพยายามระลึกถึง อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เสมอตลอดเวลาอยูธรรมดา ๆ จึงจะยับยั้งกิเลสท ั้งหลายไดใชไหมครับ
ทานอาจารย ใชได เหมือนกัน อยางนั้นก็ได อยางนั้นก็ถูกแลว มันหลายเร ื่ องคือเราหัดท ี่ใจ ความ โกธรมันเกิดท ี่ใจ เราไปจับที่ใจได หัดอีกอยางหน ึ่ งคือ พอโกรธขึ้ นมาแล วคิดวา คนเราก ็ จะต อง ตาย ความโกรธไมมีประโยชนอะไร หลายเร ื่ องหลายอยางสุดแท แตจะระงับไดโดยอุบาย ใดวิธีไหนก็ เอา รวม ๆ กันไว หลายอยาง เวลาเราจะใชวิธีใดก็นํามาใชได ๑. ผูถาม ผมหัดภาวนามาเป นเวลา ๑๒ ปครึ่ง ทานอาจารย ก็นับวาดีแลว อยาไปทอดทิ้ง ทํามาขนาดนี้ก็เห ็ นผลดีถึงขนาดน ี้ แล วหัดใหรูจักวิธีละโกรธ จนเข าใจแลว ดีแลว ขอใหทําไปเรื่ อย ๆ ๒.ผูถาม ในขนบธรรมเนียมของศาสนาพุทธ การสอนการอบรมศาสนาพุทธเปนของพระโดยเฉพาะ หรือ ฆราวาสสอนได หรือไม ทานอาจารย ศาสนาพุทธเปนพื้นฐานของความดีที่มีอยูในโลกทั้ งหมด ถาหากใครต องการตี ไมวาพระ และฆราวาสสอนไดทั้งนั้น แตบุคคลผูสอนนั้นมีกิเลส เมอสอนเข ื่ าแล วจึงเป นเหตุให เข าข างตัว เชน พระพุทธเจ าสอนให งดเวนฆาสัตว บางศาสนาสอนวาฆาสัตวที่ไมมีเจาของหวงแหนไมเปน บาป พระพุทธศาสนาสอนให เข าถึงใจ คนมใจจ ี ึงทําบาปเปนบาป เจตนาคือใจของผูนั้น เป นอกุศลอยูแลว จะเปนสัตวที่มีเจ าของอยูแล วหรือไมก็ตามยอมเปนบาปอยูนั่นเอง หรือสอนวา เวลาฆาใหภาวนาใหสัตวนั้นไปเกิดในสวรรค อยางน ี้เปนตน แตใจของเราเป นนรกอยูไมอยากไป สวรรคสักที ฉะนั้นผูมีใจอยากพ นจากความช ั่วพระสอนไดทั้งนั้น คนเรามีใจหรือไม รูจักใจ หรือเปลา ผูอื่นตอบแทน
เขานับถือศาสนาคริสต อยางม ั่ นคง เวลาเข าโบสถ ศาสนาคริสตหัดภาวนาด วยโดยพยายาม ทําความสงบสัก ๕ นาที จึงเข าใจวาทุกศาสนาสอนให เข าถึงจุดเดียวกันเหตุนั้นจึงอยากทราบวิธี อบรมภาวนา ทานอาจารย นั่นคือวิธีอบรบภาวนาแลว จงเจริญให มาก ทําใหมากใหชํานาญเถิดจะเกิดความรูอยาง อัศจรรยขึ้นมาในนั้ นเอง ๒. ผูถาม กอนท ี่จะฝกภาวนาไดตองครูบาอาจารย หรือเปลา ทานอาจารย ตองมี เราเป นสาวกของพระพุทธเจ าน ี่ เราปฏิบัติไมมีครูบาอาจารยอาจจะผิดได แตทั้งที่มี ครูอาจารยยังผิดได เลย บางทีปฏิบัติไป ๆ อาจมีความเห ็ นผิดเกิดข ึ้ นแล วเข าใจวาเปนคําสอนของ พระพุทธเจ าก็มี ความเห ็ นคนอ ื่นเปนผิดไปหมด แล วจากลัทธินั้นออกมาต ั้งเปนนิกายขึ้น เร ื่ องมี มาก จึงควรระวังตัวใหดี อยาทําโดยไมมีครูอาจารย จะผิดไปใหญ ผิดแล วแก ยาก ๒. ผูถาม ถาเข าใจโลกุตระ ถามีอภินิหารหรือมีญาณเกิดขึ้น เราจะหยิบมาใช หรือจะใหมัน ทรงไว อยางน ั้ นเฉย ๆ ทานอาจารย อยาไปพูดถึงเร ื่ องนั้นกอนเลย แตโลกยะกี ็ยังทําไมได เวลาได จริงๆ เข าก ็ จะรูดวยตนเอง 3. ผูถาม เร ื่ องดีเร ื่ องช ั่ วมีอยูทั่วไป แตวาบางสังคมอาจจะเปลี่ยนแปลงไป เชน การฆาสัตวถือวา เป นความดี เม ื่ อสังคมเขาเขาใจกันอยางน ี้ จะทําให เขาเข าใจได อยางไรวาเร ื่ องน ี้เปนความชั่วไมใช ความดี
ทานอาจารย ความนิยมไปตามสังคมแล วแตเขาจะนิยม แตหลักความดีที่พระพุทธเจ าสอนน ั้ นมี เคร ื่ องวัดอยูวา ถาหากทําอะไรลงไปเป นเร ื่ องเบียดเบียนตนทําตนใหลําบากก็ดี หรือเบียดเบียนคน อื่นทําให คนอื่นลําบากก็ดี ทั้งเบียดเบียนตนและคนอื่นก็เหมือนกัน อันนั้นเปนของไมดีที่ เราเข าใจวาดีมันเข าตัวเอง ถาหากเราเอาหลักอันนี้มาวัดแลว เรียกวาความดี ในหลักพุทธศาสนา จะไมกระทบความ คิดความเห ็นของใครทั้งหมดในโลก 3. ผูถาม ผมเป นคนข ี้ กลัว ทําอยางไรจึงจะหายกลัว ทานอาจารย ยอมตายก ็ หายกลัว วันที่๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๑๙ (เวลาบาย ) สนทนาธรรม ๑. ผูถาม เวลาน ั่ งภาวนาบางทีก็๑๐ นาที ๒๐ นาทีหรือเปนชั่วโมง ก็เกิดภาพข ึ้ นมา ภาพท ี่ เกิดไมใช ความนึกคิดข ึ้ นมา มันเป นภาพเฉยๆ บางทีก็เป นภาพอวกาศ บางทีก็เป นภาพคนแกและอาจจะมี ภาพอะไรตางๆ เกิดขึ้น การเกิดภาพตางๆ นี้เปนปรากฏการณ ของการเร ิ่ มต นภาวนาหรือ อยางไร ทานอาจารย พูดเร ื่ องภาวนาเสียกอน ตอเน ื่องมาจากปญหาแรก การถภาวนานั้นมิไดหมาเอาอะไร มากมาย หมายความวาเราทําใจใหสงบ เพงพิจารณาเฉพาะความเกิดความดับ คือเห ็ นสภาพตาม ความเป นจริง ถาหากใจไมสงบมันก ็ไมเห ็นตามเป นจริง ทั้ง ๆ ที่ความเกิด ความดับของเรามีอยู ในตัวของเรา นี่คือความมุงในการภาวนา อยาไปเขาใจวามันพิสดารกวานั้น สวนที่มันจะพิสดาร
จิตมันจะละเอียดขนาดไหนเปนอีกเร ื่ องหนึ่ง สวนภาพท ี่ จะเกิดข ึ้ นมาอยางท ี่ ถามนี้มันก็เป นเร ื่ อง หน ึ่ งแล วแตบางคน บางคนก ็เป นบางคนก ็เปน ภาพท ี่ เกิดข ึ้ นมานั้น บางคนจิตรวมนิด เดียวภาพก ็ปรากฏ บางคนรวมยังไปกวานั้นมันก็ไมมี อันภาพน ั้นไมเปนปญหาให เห็นวาเปน เคร ื่ องวัดความสงบ ให เข าใจแคนั้นก็พอแลว อยาไปสงตามภาพ นอมเข ามาหาใจคือผูที่ ไปเห็ นภาพนั้น อยาไปเอาภาพนั้นเป นอารมณ เม ื่ อเราจับใจผูไปเห็ นภาพแล วภาพก ็จะหายไป เอง เราก ็จะได หลักภาวนาที่ดียิ่งขึ้น ๑.ผูถาม สมมติวากอนเราน ั่ งภาวนาเราทราบวาอีก ๒-๓ วันเราจะไปที่นั้นหรือท ี่โนน เวลาน ั่ งภาวนา เห็นสถานที่นั้น และสงใจไปตามนิมิตนั้น สามารถที่จะทําใหอนาคตเปลี่ยนแปลงได หรือไม ทานอาจารย ถาจิตของเรายังไมทันแนนอนมันสงสาย ยังไมมีอํานาจ ไมสามารถจะเปลี่ ยนสภาพ นั้นได เพราะยังไมมีกําลังพอท ี่จะเปลี่ยนไดถาจะใหดีอยูกับที่เสียกอน ใหจิตแนวแนเต ็ มท ี่ไมมี ภาพอดีตอนาคต มีพลังเต ็ มท ี่ แลว ถาหากจะใช เราก็นอมเพ ื่อเปลี่ยนแปลงสภาพอันนั้นอาจจะ เปนไปไดในบางกรณียแล วแตบุคคล ๑.ผูถาม บุคคลท ี่ เห ็ นภาพนิมิตจะเจริญภาวนาไดดีกวาบุคคลท ี่ไมเห ็ นภาพนิมิตหรือเปลา ทานอาจารย ภาพตางๆ มันเป นของจริงบ างไมจริงบ าง เพราะจิตเรารักษาความสงบไมเข าถึง ที่ สัญญา สังขาร มันปรงกอนเสีย ฉะนั้นผูมีภาพมักจะติดภาพนั้น จึงภาวนาไมดีเทาท ี่ ควร ๒.ผูถาม ถาหากวาคนที่มีความชํานิชํานาญในการภาวนา คนน ั้นสามารถจะใหความรูเกิดข ึ้ นแกคน อื่นได หรือไมหรือวาความรูตองเกิดกับตัวเขาเอง ทานอาจารย
ก็สามารถละซีอยางพระพุทธเจ าทานรูเห ็ นแลว สาวกท ั้ งหลายทานรูเห ็ นแล วเข าใจ ตามเป นจริงแล วจึงสอนคนอื่นให เห ็ นตาม แตวาจะไปดลบันดาลใหคนอ ื่ นเห ็นตามไมได จะทํา ให คนอ ื่ นเกิดความรูโดยมิไดสั่งสอนอะไรแกเขาผูนั้นเลยไมได ๒ .ผูถาม เวลาหัดทําภาวนาจะทําอยางไรจึงจะทราบวาทําถูกทางหรือไม พระพุทธเจ ามีหลักสอน อยางไรที่จะให ทราบวาเราทําถูกทาง ทานอาจารย ที่จะเข าใจวาถูกหนทางหรือผิดน ั่ นเราจะสังเกตไดวา ถาเรามาพิจารณาน อมมาในตัวของเรา เพ ื่ อชําระกาย เพ ื่ อชําระใจของตนนั้ นจงถูกหนทาง พระพุทธเจ าสอนให เราชําระกายวาจาและใจ 3. ผูถาม บางคนภาวนาเพ ื่อจะได ฤทธ ิ์ไดปาฏิหาริย บางคนภาวนาแล วปาฏิหาริยมาเองเมื่อเรา พยายามหัดภาวนาเพ ื่อจะไดปาฏิหาริยจะถูกต องหรือไม หรอตื องใหปาฏิหาริยมาเอง ทานอาจารย เร ื่องปาฏิหาริยเปนสิ่งอัศจรรย คนชอบ แตก็หาไดเปนไปตามประสงคทุกคนไม เพราะ เร ื่องปาฏิหาริยโดยมากมนเบั ึนตามนิสัยวาสนาบารมิที่เคยสรางสมอบรมมาแตกอน ถาหากบารมี ไมมีแล วจะหัดเทาไร ๆ ก็ไมเปนไปได ในทางพุทธศาสนาพระพุทธเจ าทานก ็ไมปฏิเสธ แตก็ไม ทรงสอนทางนั้น สอนให ละความชั่ว ทําใจใหบริสุทธิ์สะอาด สวนปาฏหาริ ิยนั้น บางทาน บาง องคจิตใจบริสุทธิ์สะอาดเต ็ มท ี่ แตไมมีปาฏิหาริย เม ื่ อมีปาฏิหาริยขึ้นมาทานก ็ ชม เม ื่อไมมี ปาฏิหาริยทานก ็ไมวา 3. ผูถาม ฉันอาหารเน ื้อจะเป นเหตุให การภาวนาไมดีอยางพวกโยคีเขาถือกันเร ื่ องน ี้ จะมีขอเท ็ จจริง อยางไร ทานอาจารย
มันก็มีสวนอยูบาง อาหารบางอยางซ ึ่ งมันแสลงกับโรคเมื่ อฉันเข าไปแล วก็ทําใหไมสบาย บางทีเน ื้ อน ั้นโรคของบางคนยังต องการอยู ไมไดรับประทานเนื้อภาวนาไมได มีสวนเก ี่ ยวข อง กันเหมือนกัน ถาหากกําลังใจกล าเพียงพอยอมสละทุกขณะไมเห ็ นแกรางกาย จิตใจมันเหนือกวา รางกายแล วทอดท ิ้ งหมด ก็ไมมีอุปสรรคอะไรในการภาวนา 3.ผูถาม พวกโยคีเขาสอนวาเวลาเราฆาสัตว เม ื่ อสัตวกําลังจะตายภายในใจของมันมีความกลัว ความโกรธ และความเจ ็บปวด เพราะฉะน ั้ นเน ื้ อสัตวนั้นมันมีอาการของสวนเก ี่ ยวเน ื่ องกับความ กลัว ความโกรธ ดังนั้น เม ื่ อเรารับประทานเนื้ อสัตวนั้นก็เป นผลทําใหเราโกรธ เรากลัว เรา เปนทุกข เร ื่ องน ี้ จริงหรือไม ทานอาจารย สัตว เวลามันจะตายจะต องมีความกลัว ความโกรธ ความเจ ็บปวด เขาบอกวามีสารเคมี ชนิดหน ึ่ งเข าไปปนอยูในเนื้ อสัตวดวย คนกินเข าไปจะต องมีความกลัวความโกรธและเจ็บปวด นี้เป นความเห็นของพวกมังสะวิรัต หากสารเคมีเม ื่ อถูกความร อนของไฟแล วยังไมสลายตัว ยังคงอยู มนุษย เรากินเน ื้ อสัตว เข าไปแล วถายออกมา เปนผักเป นหญ าเปนพืชผลตาง ๆแม แตน้ํา ธรรมดา ๆ คนท ั้ งหลายพร อมท ั้ งพวกมังสะวิรัตกินเข าไปก็ จะต องกลัว ตองโกรธ และ เจ ็บปวด ไมมีที่สิ้นสุดลงได ผูปฏิบัติดีปฏิบัติชอบเม ื่ อยังมีการบริโภคอยู ก็ทําที่สุดแหงการพน ทุกข ไมไดโยคีเปนนักคิดคน คือยังไมบรรลุถึงนิพพาน ยังไมสิ้นอาสวะกิเลสก ็ เลยคิดคนที่เรียกวา จินตมยปญญา หมุนไปจนเลยขอบเขต พระพุทธเจ าไดศึกษาและทรงทําตามมาแล วถึง ๖ พรรษาท ี่ เรียกวา ทุกกรกิริยา และทรงปฏิบัติแล วทุกลัทธิ ไมเปนไปเพื่ อสําเร ็ จมรรคผลและนิพพาน ทรง ทราบเร ื่ องท ั้ งหลายเหลาน ี้ เม ื่ อพระพุทธองค ตรัสรูและเห็นวาอันนั้นมันไรสาระจึงมาปฏิบัติภายใน ใจ จึงสอนใหปฏิบัติมัชฌิมาปฏิปทาคือ ทางกลางๆ ใหฉันเน ื้ อท ี่ปราศจากโทษ ๓ ประการ ดังน ี้ได เห ็ นเขาฆาเพ ื่ อภิกษุ๑ ไดยินวาเขาฆาเพ ื่ อภิกษุ๑ และสงสัยวาเขาฆาเพ ื่ อภิกษุ๑ เพราะชีวิตพระเป นอยูไดดวยคนอื่น ถาหากวาไปฉันเจเสียแลว ก็คนสวนมากไมรับประทาน เจ ตกลงก ็ไปไหนไมรอด มันอยูในบังคับแตนี่พระเข าได หมดเขาฉันเจก็ฉันได เขาฉันเน ื้ อก ็ ฉันได นี่เปนมัชฌิมาปฏิปทา พระองค เห ็ นแล วพระองคจึงบัญญัติอยางน ี้คือบัญญัติดวยความรู ไมใชบัญญัติดวยความคิด คือทดสอบฝกฝนนอบรมมาแล วด วย และเป นของจริงด วย พวก
ที่บัญญัติมังสะวิรัตบัญญัติแล วปฏิบัติกันมาจนปานนี้ ก็ยังไมปรากฏมีใครบรรลุมรรคผลนิพพาน สักคนเดียว 3.ผูถาม จําเป นหรือไมที่จะต องมีการดัดเสนบริหารรางกาย ทานอาจารย ก็ไมมีปญหาอะไร การดดเสั นเป นการบริหารรางกาย การเดินจงกรม การเปลี่ ยนอิริยาบถ ทั้ง ๔ ก็เปนการต ัดเสนไปในตัว คือ หัดสติใหอบรมสมาธิไปในตัวในอิริยาบถ ๔ ไมจะน ั่ งแตทา เดียว 3. ผูถาม เคยรูจักนักภาวนาคนหน ึ่ งซ ึ่ งหัดไป ๆ เลยกลายเปนบา นี่คงเป นเพราะเดินผิดหลงทางใช หรือไมจึงทําใหเปนบา หรือเป นเพราะกรรมของเขา ทานอาจารย การหัดภาวนาในทางที่ถูกไมเปนไปเพื่ อเสียจริต ยิ่งหัดเข าไปก็ยิ่งทําให คนมีสติ มีปญญา มีความสงบเสง ี่ ยมเรียบร อยสุภาพขึ้น ถาหากวาไมถูกหนทาง หัดภาวนาไปบางทีมันอาจจะเกิดภาพ นิมิตต ื่นตระหนกตกใจ แลวกลัวสงออกไปภายนอก ไมไดนอมเข ามาภายในใจของเรา นั่นอยาง หน ึ่ งเสียได เหมือนกัน อีกอยางหน ึ่ งคนน ั้นอาจเปนโรคประสาทอยูกอนแล วก ็ได เม ื่ อทําความเพียร ภาวนาก ็ เลยเกิดมโนภาพหลอกขึ้นมา ทําให กลัวแล วตกอกตกใจเลยหวาดหวั่นตั้งสติไมอยู หรืออีก นัยหน ึ่ งจะเรียกวากรรมก็ถูก ถาทางที่ถูกแล วไมมีเสียคน ที่เป นเชนนั้นไมใชเปนงายๆ คนนับ ลานๆ จะเกิดเปนบาสักคนเดียว ก็กลัวเสียแลว สวนคนเมาเหลา เมากามเปนบากันอยูทุกวันนี้ไม กลัวกันเลย (ชวงน ี้ หมดเวลาไมไดนั่งภาวนา) (เวลาค่ํา )
สนทนาธรรม ๑.ผูถาม การพิจารณาทางฌาน กับการพิจารณาทางสมาธิแตกตางกันอยางไร ทานอาจารย ผูเพงพิจารณาแตเร ื่ องฌาน บางทีไปเห็ นแตอสุภะหรือโครงกระดูกเข าเลยไปติดอยูแคนั้น ไปอยากพิจารณาเร ื่ องอ ื่ นตอไป ผูมีปญญาเห ็นโทษทุกข ความเกิด แม แตรับประทานอาหารอยูก็ เปนทุกข เม ื่ อพิจารณาอยูอยางนี้จิตยอมหนายในความเกิด เม ื่ อเบ ื่ อหนายก ็ คบลายกําหนัดในยินดี ในภพความเกิดและภพชาติตอไป ฌานกับสมาธิมีการเพงพิจารณาผิดแผกกันอยางน ี้ ๑.ผูถาม เทาท ี่เคยไดรับการอบรมมาและจากากรที่ไดอานพบในหนังสือเก ี่ ยวกับเร ื่ อภาวนาและตาม ความเข าใจเองวา การภาวนาต องกําหนดอารมณอันเดียว เชน กําหนดลมหายใจ แตขณะท ี่ กําหนดลมหายใจนั้ นจะต องรูสิ่งแวดล อมไวดวย และส ิ่ งแวดล อมต องไมมารบกวนการภาวนานั้น ดวย โดยจะกําหนดไดทั้งสองอยางในขณะเดียวกัน ทานอาจารย อารมณอันเดียวหมายความวา ไมตองคิด ไมตองรูสิ่งแวดล อม ไมตองสงออกไปจึงจะ เรียกวาอารมณอันเดียว ให วางหมดทุกส ิ่ งทุกอยาง ให เหลืออันเดียวจริงๆ ถาหากอยากไป กําหนดส ิ่ งแวดล อมอยูก็จะเปนปกติธรรมดาเหมือนกับไมได ภาวนา ๑.ผูถาม เข าใจวาเม ื่อใจสงบถึงที่สุดแล วจึงไดรับเสียงท ี่ เบาที่สุด เพราะไดรับการส ั่ งสอน อบรมมา อยางนั้น ทานอาจารย
ยังไมถูก ยิ่งสงบเทาไร เสียงก็ยิ่งสงบจนหายไปเลยไมปรากฏ ณ ที่นั้น ๑.ผูถาม จากการภาวนาที่ใหกําหนดแตลมหายใจนี้ ในครั้ งแรกจะทําใหมีความรูสึกตาง ๆ ในกาย เม ื่ อความรูสึกน ั้ นเกิดขึ้นก็ไปกําหนดท ี่ ความรูสึกนั้น เม ื่ อความรูสึกหายไปกลับกําหนดท ี่ ลมหายใจใหม สับเปลี่ ยนกันไปเชนนั้นจะเป นการทําที่ถูกต องหรือไม หรือปลอยวางความรูสึก อันนั้นเสีย มุงแตเฉพาะลมหายใจนั้ นแตอยางเด ียว สองอยางน ี้ อยางไหนจะเปนฝายถูกต อง ทานอาจารย ให พยายามตัดออกไป เร ื่ องอื่นที่เกิดข ึ้นใหพยายามสละเสีย คือตัดออกไปเสียเพราะ ตองการจะให อยูในจุดเดียว เพงพิจารณาอยูที่ผูรูแตอยางเดียว ทั้งลมและความรูสึกก ็ จะ หายไป แล วจะคงเหลือแตผูรูอยางเดียว ๑. ผูถาม ไดภาวนาโดยกําหนดเอาอานาปานสติเวลาลมละเอียดขึ้นมักจะมีอารมณ อยางอ ื่ นเข ามา แทรกอยูเสมอ รูสึกวาการกําหนดลมหายใจเขา – ออกน ี้ บางทีก็เปนอุปสรรคในการเจริญภาวนา ดังน ั้ นเวลาลมละเอียดข ึ้นเลยไมอยากจะกําหนดลมหายใจ อยากอยูเฉย ๆ ฉะน ั้ นเวลาลม หายใจละเอียดควรท ี่จะปลอยหรือควรท ี่ จะกําหนด ทานอาจารย กําหนดไมถูก ความจริงน ั้ นถ าหากลมมันละเอียดลงไปแลว เราตามลมละเอียดลงไปที่ อารมณอื่นจะมาแทรกน ั้นไมมีเราจับลมน ั้นได จนกระท ั่ งลมมันละเอียดน อมไปตามความละเอียด ของลมอารมณอื่นจะไมมีที่จะเข ามาแทรก จนกระท ั่ งมันละเอียดเต ็ มท ี่ แล วมันวางเองวางลมอัน นั้นแล วเข าไปอยูในอารมณอันหน ึ่ งของมันตางหาก มีความรูสึกเฉพาะของมันตางหากนั้นจึง เรียกวาละเอียด ๑. ผูถาม เม ื่ อกําหนดลมหายใจ ลมละเอียดที่สุดจนปลอยวางลมหายใจ ตอนน ั้นลมหายใจมันมี หรือไมถาเราอยากจะสัมผัสลมหายใจเราจะสามารถสัมผัสได หรือไม
ทานอาจารย ในตอนนั้ นเกือบจะไมมีความรูสึกลมปรากฏ ถาหากเราต ั้ งสติจริงๆ จังมีลมแผว ๆ นิดเดียว ถาหากสติเราไมละเอียด ก็คล ายกับเหมือนไมมีในตอนนั้นถึงแม จะไมปรากฏลมแต ลมยังระบายตามรางกาย ถาจิตละเอียดลมก ็ ละเอียด บางทานบางองค ไมปรากฏทางจมูกเลย แตวาลมมันระบายทางรางกาย ตามขุมขนได อยู ๑.ผูถาม เวลากําหนดลมหายใจ บางทีลมหายใจละเอียดมากจนบางทีเห ็นลมหายใจเกิดข ึ้ นแล วดับไป บางทีก็มีอารมณ เกิดข ี้ นพร อมกับลมหายใจเกิดข ึ้ นแล วดับไปพร อมกับลมหายใจ อยาก จะทราบวาอยางนี้ถูกต องหรือเปลา ทานอาจารย ถูกเหมือนกันแตมันยังไมทันละเอียดจนวางลม เม ื่อลมหายใจละเอียดออนลงไป อารมณ อะไรมาแทรกนดเดิ ียวมันก็ปรากฏเห็นชัดข ึ้ นมา ถูกเหมือนกัน แตมันยังไมทัละเอียด ถึงกับวางลม ถาละเอียดเต ็ มท ี่ หายหมด ลมนี้ก็จะไมปรากฏเลย เหตุที่วางไมลงเพราะยังไป เข าใจวาอันนั้นมันเป นของดีแตก็ตองใหทําอยางน ี้ อยูเร ื่อยไป มันจะวางของมันเอง วางลม แล วก ็ไมรูจะไปยึดอะไร มันเลยวางไมลงตรงน ั้ นแหละ ๑.ผูถาม แล วจะแกไขไดอยางไร ทานอาจารย แก ไขอยางน ี้ พอลมละเอียดเข าแล วอยาไปเอาลมมาเป นอารมณ ใหไปจับเอาจิตผูไป พิจารณาลมนั้นก็จะวางเปลาจากอาการใดหมด จิตก ็ จะรวมเข าเป นหน ึ่งจะไมมีอาการใด ทั้งหมด ๑. ผูถาม
กอนท ี่ จะน ั่ งภาวนาทําใจใหสบายเสียกอน แล วกําหนดรูวาตนเองเวลานี้กําลังน ั่ งภาวนา อยูประมาณ ๑๐-๑๕ นาที มีความรูสึกสบาย มีความสุขทั้งกายและใจ แล วความรูสึกนั้นก็ หายไป มีแตความวางในใจ เป นอยูประมาณ ๕-๑๐ นาที แล วคอยรูสึกตัวพร อมท ั้ งรูสึกสุสบาย ทั้งกายและใจปรากฏขึ้นอีก มีความเข าใจวาเวลาภาวนาก ็ ตองมีอารมณ เราจะต องมีสิ่งใดสิ่ งหนึ่ง ที่จะพิจารณา ถาหากวางอยางท ี่เป นอยูและปลอยใหมันเยือกเย ็ นสบายจะถูกต องหรือไม ทานอาจารย การท ี่ อธิบายมาท ั้ งหมดนั้นถูกต องดีแลว แตที่ปลอยวางใหมันเยือกเย ็ นอยูเฉย ๆ นั้นยัง ไมถูกต องดีนัก เพราะสมาธิตองมีอารมณอันหน ึ่งเป นเคร ื่ องยึดเหน ี่ ยวจึงจะม ั่ นคงดี ในที่นี้ขอยึด เอากายเป นอารมณ คือให เห ็นเปน อนิจจัง ทุกขังอนัตตา อยูเปนนิจ ๑. ผูถาม ความรูสึกท ี่ เข าถึงเอกัคตารมณนั้น เป นอยางไร ทานอาจารย ความรูสึกปลอยวางวางอยูของมันนั้นแหละเรียกวาเอกัคตารมณ แตถารวมวูบเขาไปแลว รูตัวอยูแตไมทราบวาอยูที่ไหนเปน เอกัคตาจิต หรือภวังคจิต ๑. ผูถาม เวลานั้นรูอยูวาเหมือนกับเราอยูที่ไหนก็ไมทราบ แตรูวามีตัวเรากับมีที่อยูเทานั้น ทานอาจารย ใช น ั้นเป นความรูดวยตนเองวาไมมี แตมันยังมีอยู เรียกเอกคตาจั ิตไปพูดให คนอื่นฟงไม รูเร ื่ อง ๒.ผูถาม คนท ี่ไมชํานาญในเรื่ องภาวนา ขณะที่กําลังภาวนามีเสียงอะไรมารบกวน ทําใหกําหนด ลมหายใจไมได จิตใจเกิดวอกแวก ทําอยางไรถึงจะแก ใหหายได จะต องพยายามให อารมณ อยูที่ลม หายใจหรือวาภาวนาแล วกําหนดเอาเสียง
ทานอาจารย ใหกําหนดลมหายใจอยางเดียว เสียงไมตองกังวลใหสละปลอยวางเลย ให แยกวาน ั้นเปน ภัยเปนอันตรายแกภาวนา ให แนวอยู ในอารมณ อยางเดียวคือลมหายใจ ไมตองต องไปคํานึงถึง มัน ๒.ผูถาม ไดรับคําอธิบายวา ถาไปอยูในที่ สงบสงัดก ็ จะสามารถกําหนดลมหายใจไดสะดวกกวาท ี่ จะ อยูในที่มีสิ่งแวดล อมอันกอให เกิดเสียงได หรือวาจะทําไดในสิ่ งแวดล อมท ั้ งสอง ทานอาจารย เสียงนั้นมีใชวาจะเป นคนท ั้ งหมด บรรดาเสียงท ั้งหลายไมวาจะเสียงสัตว เสียงคนเสียง ลมหรือเสียงอะไรตออะไร ยอมเป นเสียงท ั้ งหมด อยูที่ไหน ๆ ก็มีเสียงเหมือนกันที่จะไมใหได ยินเสียงเพ ื่อจะปลอยวางธุระไดก็ดวยใจยอมสละทิ้งปลอยวางให อยู ณ ที่หน ึ่ งตางหาก จิตจะต องอยู ที่ลมอยางเดียว มันจะหายไปเอง ถาจิตแวบลงแล วก ็ จะ ไมมีเสียงใด ๆ ท ั้ งสิ้น เสียงน ั้นไมใชมัน ไมมี มันมีอยูแตจิตมันไมได เข าไปยึด เหมือนกับเราดูหนังสือท ี่เราชอบใจ หรือดูภาพยนตร หรือดู อะไรก็ ตามท ี่เราชอบใจ ติดใจ ยินดีในเรื่ องนั้น ๆ คนอ ื่ นจะมาเรียกหรือใครจะทําอะไรก็ ตาม มัน ไมมารบกวนเลย เสียงก ็ อยูตามสภาพของมัน หากจิตลงแนวแนในอันเดียวแล วเสียงก ็จะไมมา รบกวน มิใชมันหายไป ใจมันอยูในอารมณอันเดียวตางหาก จิตจะไมถูกรบกวนเลย เด ็ ดขาด ๒. ผูถาม สมัยน ี้ เสียงมันมาก สารพัดเสียงท ี่ จะเกิดขึ้น นาจะกําหนดเสียงมากกวาลมหายใจ ทานอาจารย ก็เพราะเสียงมากนะ ถากําหนดเสียงมันก็จะไมหายสักที เพราะเสียงมากน ั่ นแหละจึงต อง กําหนดลมหายใจ เพ ื่อไมใหเสียงมันรบกวน เด ี๋ยวจะเปนโรคประสาทตายกันหมด เรา ชําระเสียงแตเข าไปอยูในเสียง ยากที่จะเอาชนะมันได กําหนดลมหายใจไมไปยึดเอาเสียงมาเปน อารมณจึงจะชําระเสียงได
๒.ผูถาม การทําภาวนาจะต องทํากสิณกอนหรือไม ทานอาจารย ไมตองทํากสิณก็คือการทําจิตให อยูในจุดเดียวเหมือนกัน เราพิจารณาอานาปานสติใหจิต อยูในอารมณอันเดียว อยูในพวกกสิณเหมือนกัน การทํากสิณต องไปทําวงกลมใหมันลําบากเปลา า ๓. ผูถาม เข าใจวา ถาจะไมสนใจในสิ่ งแวดล อมเลย บางทีอาจเกิดอันตรายก ็ได เชนอาจ ถึงกับตายมีคนมาฆาเอาก ็ได ทานอาจารย อยางนั้นยังไมเรียกวาภาวนา ยังไมเข าถึงภาวนา ยังพาวนอยู พาวนกลัวตายอยู ๓. ผูถาม จะต องจุดธูปเทียนบูชาพระในวันพระหรือไม ทานอาจารย ไมวาวันพระหรือวันปรกติธรรมดา ดอกไมธูปเทียนเป นอามิสบูชา ถาหากวาไมมี มัน จําเปนก็แล วไป ดอกไมธูปเทียนเป นเคร ื่ องบูชา อยาประมาทเป นการดี คือทําต ั้ งแตหยาบไปหา ละเอียด ถาหากไมมีก็จําเปน การทําเปนประจําคือวาทําทุกคร ั้ งกอนจะหลับนอนด วยความ เล ื่อมใสเคารพนับถืออยางยิ่ง จะเปนประโยชนๆ ให อยูเย ็นเปนสุข ตลอดถึงการทํามาหากินก็จะ เจริญงอกงาม นอนก ็ หลับสนิทและตื่นงาย มีประโยชนหลายอยาง นี่เป นเบ ื้ องตน หัดใหเปน นิสัย ถาหากวันใดไมทําพลั้งเผลอจะไมสบายใจ ทําแล วทําใหสบายใจจึงควรทําประจําเปน นิจ การหัดภาวนารักษาศีล หรือรักษาสัจจะ ความซ ื่ อสัตยสุจริตตามหลักธรรมคาสอนํ ชองพระพุทธเจ าเรียกวา “ ปฏิบัติบูชา “ การที่มีดอกไมธูปเทียนกราบไหวบูชานี่ เรยกวี า “อามิส
บูชา”ทั้งสองอยางน ี้เปนผลประโยชนดวยกันทั้งนั้น จึงวาไมควรประมาทควรไดทําเปนนิจ การมี ชีวิตอยูวันหน ึ่ งๆ ควรทําผลประโยชน อยาได ขาด ๓.ผูถาม ทุกขนั้นเป นอยางไร ทานอาจารย เอาไฟจี้ดูซิ กระโดดโหยงเลย นั้นทุกข แลว มันทนไมไหวคือทุกข ๓. ผูถาม มายาคืออะไร ทานอาจารย มายาคือของไมจริง อยางตัวของคนเราน ี้ แทที่จริงมนไม ั ใชคน มันเป นเคร ื่ องหลอกวา จริง ความจริงมันเปนวัตถุธาตุที่ประกอบขึ้นมาเปนตัวคน แล วก็ตองแปรปรวนสลายไปตามเดิม วัตถุธาตุนั้นปรากฏขึ้ นมาแล วก ็จะแปรสภาพไปตามเดิม ไมใชของจริง เรียกวามายา ๓. ผูถาม ตามคําสอนของศาสนาฮินดูวา สิ่งมีชีวิตเป นของเจริญเติบโตก าวหน าไปเรื่อยๆอยากทราบ วา ตามหลักพุทธศาสนามีวาอยางไรเกี่ ยวกับเร ื่ องน ี้ เพราะตามหลักทางศาสนาฮินดูใชคําวา อาตมันหรือ อัตตา แปลวาเจริญก าวหนา แตทางพุทธศาสนาสอนอนัตตา เปนที่แตกตางกัน อยางไร ทานอาจารย ทางศาสนาฮินดู พูดถึงเซลลมันเจริญเติบโตและเปลี่ยนสภาพไปในตัว คือวาเจริญ แต ศาสนาพุทธถือวาการท ี่ เจริญนั้นมีเส ื่อมไปในตัวมิใชวาจะเจริญตลอดเวลา มีเจริญแลวก ็ เส ื่อมไปมี อันอื่นมาแทน อันนั้นก็คืออนัตตา คือส ิ่ งท ี่ไมถาวรเรียกวา อนัตตาไมใชของไมมีของมีแตไม มีสาระเรียกวา อนัตตา เขาถือวาน ั้ นแหละความเจริญอยางคนเราท ี่ เกิดมาน ี้ นับตั้งแตเป นเด็ก เติบโตขึ้นมาจนเปนผูใหญเขาเรียกวา เจริญ แตตามหลักธรรมเรียกวาเส ื่อมไปหาตาย
ทานอาจารย พาน ั่ งภาวนา พรอมท ั้ งอบรมธรรมนากํ อน จิตเป นของอันเดียงไมใชของมาก เรามาอบรมภาวนาก็คือเราต องการเข าถึงจิตอันเดียว คือ เข าถึงจิตเดิมน ั่ นเอง จิตเป นของท ี่ เร ็ วที่สุดตามไมทัน ที่วาจิตมากเพราะไปวิ่ งตามมัน เหมือนกับ เงาถ าไปวิ่ งมันวิ่งด วย ถาหยุดแล วมันก็หยุดด วยเรา (นั่งอยูประมาณ ๒๐ นาที) วันที่๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๑๙ เวลาบาย สนทนาธรรม ๑.ผูถาม หัดภาวนาครั้งแรกรูสึกฟุงซาน หาความสงบไมได ทุกขเวทนาก็มากหาความสบายมิได ทานอาจารย ไมวาใครทั้งหมดเรื่องภาวนาไมใชของเปนงายๆ คนท ี่เป นเองเรียกวาวาสนาสูงสงที่สุด โดยมากที่อยากจะภาวนาก็เห็นทุกขทั้งหลายอยางน ี้ แหละ ตองฝาฝนอุปสรรคเพื่ อท ี่จะใหพนทุกข คือหัดทําความสงบ ถาไมเห็นทุกข อยางน ี้ แล วไมมีใครอยากภาวนาใหพนจากทุกข เลย ภาระมีกัน ทุกคน แม แตพระอยางเราๆ เห็นกันอยูนี่แหละก็มีภาระ พระพุทธเจ าย ิ่ งมีภาระย ิ่ งกวานี้อีกไมมีใคร สักคนท ี่ไมมีภาระ ปญหาประจําฆราวาสเป นอยางหนึ่ง ของพระเปนอีกอยางหนึ่ง มีเทาๆ กันนั่น แหละ แตพระพุทธเจ าหรือผูรูทั้งหลายทานทําได แล วสละท ิ้งไดไมของอารมณนั้น ๆ ๑.ผูถาม การพิจารณาสวนใดสวนหน ึ่ งของรางกาย ถาไมชัดควรกลับมากําหนดลมหายใจดี หรือ วาควรพิจารณาไตรลักษณดี
ทานอาจารย ให วกกลับมาพิจารณาลมหายใจใหสงบเสียกอน จึงจะพิจารณาพระไตรลักษณ ๑. ผูถาม กอนท ี่ จะทําความสงบได จะต องพิจารณากายเสียกอนเสมอ จะเปนไปได หรือไมถาหากจะ เข าความสงบเลย โดยปลอยวางเฉย ๆ ไมพิจารณาอะไร ทานอาจารย ได แตตองอาศัยความชํานาญกอน ใหพิจารณากายใหชํานาญเสียกอนมันจึงจะมีหลัก ถาปลอยวางเฉย ๆ อีกหนอยม ันจะไมมีหลักยึดเส ื่อมไดงาย ๑.ผูถาม บางคร ั้ งเวลาพิจารณากายอยูเกิดไฟเผาจนไมมีอะไรเหลือรูสึกวาชัดเจนเหลือเกิน ทานอาจารย นั้นเปนปฏิภาคนิมิต อยาไปถือเอาเป นจริงเปนจังเลย ขอใหถือเพียงเป นเคร ื่ องวัดของจิต เทานั้นก็พอแลว คือแนวแนเป นสมาธิแล วจึงเกิดแตมิใชเกิดท ั่วไป เปนได แตละบุคคลเทาน ั้ นบาง คนจิตจะสงบเทาไร ๆ ก็ไมเกิด ๑.ผูถาม บางคร ั้ งเดินภาวนาอยูเห็นนองสาวกําลังเดินจงกรม ไฟลุกไหมเผาเส ื้ อผ าของผูนั้นหมด แตเขาหาไดมีความร อนรนเพราะถูกไฟเผาไม นี่เป นเพราะเหตุอะไร หมายความวาอยางไร ทานอาจารย คนพิสดาร เห ็นโนนเห็นนี่แล วก ็ เพลินไปตาม ไมมีอะไร เปนนิมิตภาวนาเฉย ๆ ไฟเผา รางกายถ าจะอธิบายก็กิเลสเผากายแตมันไมรอนแสดงถึงไมกระทบใจนั่ นเอง
๑.ผูถาม มีอุปทานมากในการเห็นโนนเห็นนี่ บางคร ั้ งออกขากภาวนาแล วจิตใจยังไปครุนคิด กับ นิมิตท ี่ เห ็ นอยู ไมยอมปลอยท ิ้ งงาย ทานอาจารย ไมเข าใจดูใจตน คือไมเข าไปดูผูที่ไมเห็น ถาจับไดอันนี้แล วมันก็วาง จิตตอนนี้มันกําลัง สบาย เห ็นโนนเห็นนี่ยิ่งชอบใจ เลยลืมน อมเข าหาตนเอง ๑.ผูถาม บางครั้งอยากจะจับจิตเข าไปในขวด ทานอาจารย สงออกนอกแล วไมไดการหาใจตองหาภายในซิผูรูกับสิ่งท ี่ไปรูไปเห็นมันเป นคนละอยาง กัน ใหจับเอาตัวผูรูผูเห็นนั่นแหละจึงจะถูก สิ่งที่รูที่เห็นนั้นจะหายหมด ๑.ผูถาม ขณะน ี้ เข าใจดี ถาหากมีอะไรเกิดข ึ้ นจะรีบไปภาคอิสาน ทานอาจารย ถาหากไปไมทันแล วจะวาอยางไร การภาวนาต องพ ึ่ งตนเอง การท ี่ จะหวังพ ึ่ งคนอื่นมันจะ ไหวหรือหัดพ ึ่งตนเองใหไดในปจจุบันเด ี๋ ยวนี้แหละ จึงเรียกวาภาวนามีหลัก ถายังพ ึ่งตนเองไมไดก็ ยังไมมีหลัก ใหจับอยางน ี้ หลัก คือ ตัวใจของเรา เรามาจับอันน ี้ใหได แล วไดชื่อวาพ ึ่ งตนเอง นี้ อะไรกันพอมันเส ื่ อมก็วิ่งแจ นไปภาคอิสาน ๑.ผูถาม แตกอนไมเข าใจ เม ื่ อทานอาจารย อธิบายอยางน ี้ แลวจะพยายามทํา ทานอาจารย