The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สพม นครสวรรค์ รายงานวิจัยเชิงพื้นที่เรื่อง ข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์COVID19

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by metta.tha, 2021-10-26 22:47:34

สพม นครสวรรค์ รายงานวิจัยเชิงพื้นที่เรื่อง ข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์COVID19

สพม นครสวรรค์ รายงานวิจัยเชิงพื้นที่เรื่อง ข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์COVID19

Keywords: ข้อเสนอเชิงนโยบาย การจัดการศึกษาในสถานการณ์ Covid19

รายงานวจิ ัยเชิงพนื้ ที่ เรื่อง ขอ้ เสนอเชิงนโยบายการจดั การศึกษา
ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019

สำนกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษามัธยมศกึ ษานครสวรรค์

เอกสารลำดบั ท่ี 8 / 2564
สำนักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษามัธยมศกึ ษานครสวรรค์

สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร



ชื่อเร่อื ง รายงานวิจัยเชิงพ้นื ที่เรื่อง ข้อเสนอเชิงนโยบายการจดั การศึกษาในสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 สำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษา
ผู้วจิ ยั มธั ยมศึกษานครสวรรค์
ประธานท่ีปรกึ ษา สำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษานครสวรรค์
ปีทพี่ ิมพ์ นางจริยา ปารีพันธ์
ผ้อู ำนวยการสำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์
2564

บทคดั ย่อ

รายงานวิจัยเชงิ พืน้ ที่เรื่อง ข้อเสนอเชงิ นโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของ
โรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 สำนกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์ วตั ถปุ ระสงค์การวิจัยดังนี้
1) วิเคราะห์สภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนลักษณะต่างๆ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
นครสวรรค์ ด้านจุดแข็ง จดุ อ่อน โอกาส อุปสรรค (SWOT) ในดา้ นการบริหารจัดการ ดา้ นการจัดการเรียนรู้
และ ด้านการดูแลช่วยเหลือนักเรียน 2) พัฒนาแนวทางการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาโรงเรียนทุกลักษณะ
ในด้านการบริหารจัดการ ด้านการจัดการเรียนรู้ และด้านการดูแลช่วยเหลือนักเรียน 3) จัดทำข้อเสนอ
เชิงนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดจากเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในระดับเขตพื้นท่ี
การศึกษา โดยมีวิธีการดำเนินการวิจัย 3 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 การวิเคราะห์สภาพการจดั การศกึ ษาของ
โรงเรียนในสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์ในลักษณะต่างๆ ด้านจุดแข็ง จุดอ่อน
โอกาส อุปสรรค ในด้านการบริหารจัดการ ด้านการจัดการเรียนรู้ และด้านการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ขั้นตอนที่ 2 การประชุมระดมความคิด (Brainstorming) เพื่อกำหนดแนวทางการจัดการศึกษา และ
ขั้นตอนที่ 3 การสัมมนาอิงผู้เชี่ยวชาญ (Connoisseurship) กำหนดข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษา
ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ในระดับเขตพ้ืนที่การศึกษา เครื่องมือทีใ่ ชค้ ือ
แ บ บ ป ร ะเ มิ น คว า มเ ห มา ะส มแ ล ะคว า มเ ท ี ่ ย ง ต ร ง ข้ อเ ส น อเ ช ิ ง น โ ย บ า ย กา ร จ ั ด กา ร ศึ ก ษา ใ น ส ถา น ก า ร ณ์
การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในระดบั เขตพนื้ ที่การศึกษา แหล่งขอ้ มูล ไดแ้ ก่ ผู้ทรงคุณวุฒิ
จำนวน 21 คน การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้วธิ ีการวิเคราะห์เนือ้ หา (Content Analysis) ผลการวจิ ัยสรุปดังน้ี

ผลการวจิ ยั พบว่า
1. สำนักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษามัธยมศกึ ษานครสวรรค์ มีโรงเรยี นในสงั กดั จำนวนทัง้ สิน้ 37 โรงเรียน
แบ่งตามขนาดโรงเรียนดงั นี้ มโี รงเรยี นขนาดเล็กจำนวน 18 โรงเรยี น โรงเรยี นขนาดกลางจำนวน 11 โรงเรียน
โรงเรียนขนาดใหญ่จำนวน 5 โรงเรียน โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษจำนวน 3 โรงเรียน เป็นโรงเรียนคุณภาพ
จำนวน 1 โรงเรียน โรงเรียนทั่วไป จำนวน 23 โรงเรียน และมีโรงเรียนที่เป็นโรงพยาบาลสนาม
และสถานที่พักคอย จำนวน 13 โรงเรียน ดา้ นการจัดการเรียนการสอน ทุกโรงเรยี นไม่ได้จดั การเรียนการสอน
รูปแบบOn Site เนื่องจากจังหวัดนครสวรรค์ เป็นจังหวดั พื้นทีส่ แี ดง ตามประกาศของศูนย์บริหารสถานการณ์



การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 มีการจัดการเรียนการสอนทั้งสิ้น จำนวน 4 รูปแบบ ได้แก่
การจัดการเรียนการสอนแบบ Online ทุกโรงเรียน รองลงมา คือการจัดการเรียนการสอนแบบ On Hand
จำนวน 32 โรงเรียน, การจัดการสอนแบบ On Demand จำนวน 22 โรงเรียน และการจัดการสอน
แบบ On Air จำนวน 5 โรงเรียน เฉพาะระดับมัธยมศึกษาตอนต้นเท่านั้น ผลการวิเคราะห์ SWOT
ด้านบริหารจัดการศึกษา พบว่า โรงเรียนมีการปรับกระบวนการบริหารจัดการได้ทันตามสถานการณ์ มีการ
พัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศึกษาให้มคี วามสามารถในการจัดการเรยี นการสอนทางไกล การใช้แอปพลเิ คช่ัน
ต่างๆ ในการสอน มีการปรับกระบวนการจัดการเรียนการสอน โดยการยืดหยุ่นตามสถานการณ์ จุดอ่อน คือ
บุคลากรบางส่วนยังขาดอุปกรณ์ และทักษะในการใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอน ด้านการบริหาร
งบประมาณ ได้แก่ งบประมาณที่ได้รับการจัดสรรไม่เพียงพอในการบริหารจัดการ รวมถึงขั้นตอนการเบิกจ่าย
งบประมาณตามระเบยี บยงั ไม่เอ้ือกับสถานการณ์เท่าท่ีควร ในดา้ นการจดั การเรียนรู้ การจัดการเรียนการสอน
Online พบว่า ครูและนักเรียนมีทักษะในการใช้เทคโนโลยีเพิ่มมากขึ้น และเกิดการเรียนรู้ปรับตัวเกี่ยวกับ
กระบวนการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ จุดอ่อนของการจัดการเรียนการสอนรูปแบบ Online คือ
โรงเรียนยังไม่ได้กำหนด platform เดียวกัน ให้นักเรียนและครูได้ใช้ในการจัดการเรียนการสอน เพื่อจัดระบบ
การเรียนให้เป็นมาตรฐาน ลดความสับสนในการเข้าเรียน Online ที่หลากหลายช่องทางในแต่ละรายวิชา และ
จุดอ่อนที่เป็นปัญหาสำคัญในการจัดการเรียนการสอนแบบ Online ได้แก่ ปัญหาพฤติกรรมการเรียนของ
นักเรียน คือ นักเรียนขาดความตระหนักในการเรียน และขาดระเบียบวินัยต่อตนเองในการเรียนออนไลน์
ไม่เปิดกล้อง และไม่มีปฏิสัมพันธ์กับครูผู้สอน ทำให้ครูผู้สอนไม่สามารถตรวจสอบความรู้ความเข้าใจของ
นักเรียนได้ในขณะจัดการเรียนการสอนรูปแบบออนไลน์ อีกทั้งในรายวิชาที่เน้นทักษะกระบวนการ
ยังไม่สามารถจัดกิจกรรมการจัดการเรียนการสอนและวัดผลประเมินผลได้อย่างมีประสิทธิภาพ การจัด
การเรียนการสอนแบบ Online ยังไม่สามารถดำเนินการในกิจกรรมเสริมหลักสูตร ซึ่งส่งผลต่อการจัดทำ
portfolio ของนกั เรียนระดับชน้ั มธั ยมศึกษาตอนปลาย ท่เี ขา้ การศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย รวมถึงปัญหา
เรื่องคุณภาพสัญญาณอินเทอเน็ต และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ของนักเรียนไม่รองรับบางโปรแกรม หรือ
แอพพลิเคชั่นต่างๆ ทำให้นักเรียนบางคนไม่สามารถเข้าถึงการจัดการเรียนรู้ได้ การจัดการเรียนการสอน
แบบ On Hand พบว่า เป็นรูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่เพิ่มโอกาสทางการเรียนรู้ให้กับนักเรียน
ที่มีอุปกรณ์ไม่พร้อมและรายวิชาที่มคี วามสำคัญในการศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลยั โรงเรียน และในรายวิชา
เพิ่มเติม เช่น วิชาเคมี วิชาฟิสิกส์ และวิชาคณิตศาสตร์ ทำให้นักเรียนมีเอกสารประกอบการเรียนและมีโอกาส
ในการเรียนรู้ได้มากขึ้น แต่จุดอ่อนของรูปแบบการสอน On Hand คือ นักเรียนยังไม่สามารถเรียนรู้ เข้าใจได้
ดว้ ยตนเองจากการอ่าน ศกึ ษาเอกสารท่ไี ดร้ บั เมอ่ื เกิดขอ้ สงสยั หรอื ไมเ่ ข้าใจในบทเรยี น จะไม่สามารถสอบถาม
ครูได้ในทันที อีกทั้งการเดินทางมารับเอกสาร ก็มีโอกาสเสี่ยงต่อการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
2019 ทำให้โรงเรียนมีค่าใช้จ่ายในการจัดส่งเอกสารเพิ่มขึ้น การสอนแบบ On Demand พบว่า ครูผู้สอน
มีการพัฒนาและผลิตสื่อการสอนได้อย่างหลากหลายตามความถนัด ผู้เรียนสามารถเข้าเรียนตามความสะดวก
และสามารถทบทวนบทเรียนได้ตลอดเวลา แต่นักเรียนบางส่วนขาดความพร้อมด้านอุปกรณ์ และความพร้อม



เกยี่ วกบั การใช้แอพพลิเคช่นั รวมถงึ ขาดความสนใจ ใสใ่ จในการเรียน และปัญหาสภาพครอบครวั ด้านทุนทรัพย์
ในการจัดหาอปุ กรณข์ องนักเรียน การจัดการการสอน แบบ On Air พบว่า นกั เรียนสามารถเรียนรู้ผ่านส่ือการ
สอนที่ถ่ายทอดผ่านดาวเทียม ด้านจุดอ่อน คือ นักเรียนบางส่วนไม่สามารถเข้าถึงเอกสารประกอบการเรียน
การสอน ด้านโอกาส คือ นักเรียนติดตามย้อนหลังได้ตามตาราง DLTV ที่กำหนด ด้านอุปสรรค คือ สัญญาน
ดาวเทียมไม่เสถียร ด้านการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ด้านการเรียนรู้ พบว่า มีปรับลดการให้การบ้าน ลดภาระ
งานของนักเรียน และยืดหยุ่นเรื่องเวลาเรียน การจัดการเรียนการสอนโดยเน้นตัวชี้วัดที่ต้องรู้ การสอนแบบ
บูรณาการกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆ จุดอ่อน คือ นักเรียนยังขาดความรับผิดชอบและ ระเบียบวินัยใน
การเข้าเรียน เช่น ไม่เข้าเรียนออนไลน์ เข้าเรียนไม่ตรงเวลา ไม่เข้าไปศึกษาเนื้อหาตามท่ีได้รับมอบหมาย
ท่ีช่องทางการเรียนรู้ที่ครูกำหนด และไม่ทบทวนเนื้อหา ด้านโอกาส คือ ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงาน
ภายนอก เช่น เครือข่ายผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในการดูแลช่วยเหลือนักเรียน และ
อุปสรรคสำคัญ คือ สัญญาณอินเทอร์เน็ตและ อุปกรณ์ ที่ใช้ในการเรียน รวมทั้ง ผู้ปกครองต้องทำงานหาเลี้ยง
ครอบครวั ไมม่ เี วลาการดูแลนักเรยี น และไมส่ ามารถสอน อธบิ ายเน้ือหาการเรยี นให้กบั นกั เรียนได้

2. พฒั นาแนวทางการจัดการศึกษาเพ่ือพฒั นาโรงเรียนทุกประเภทในดา้ นการบรหิ ารจัดการ ด้านการ
จัดการเรียนรู้ และด้านการดูแลช่วยเหลือนักเรียน พบว่า ทุกโรงเรียน มีกระบวนการ กำกับ ติดตาม
การจัดการเรยี นการสอน ตามบริบทของโรงเรยี นและสภาพความเป็นอยขู่ องนักเรียน การจดั การเรยี นการสอน
รูปแบบ Online มีการจัดการศึกษาอย่างสอดคล้องกับหลักสูตร เน้นตัวชี้วัดที่ต้องรู้ โดยจัดการเรียนรู้
ตามตารางสอนผ่าน Google Meet, Google Classroom, Line group และ Facebook การจัดการเรียนรู้
แบบ On Hand พบว่า โรงเรียนออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ให้นักเรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเอง จัดปฏิทิน
กำหนดการ เวลา และสถานท่ี ในการรบั สง่ เอกสาร อย่างเป็นระบบ มรี ปู แบบ/โมเดลในการส่งต่อความรู้ให้กับ
นักเรียนที่ขาดโอกาสในการเข้าถึงการจัดการการสอนในรูปแบบอื่น ๆ เป็นทางเลือกสำหรับนักเรียนที่ไม่มี
ความพร้อมด้านอุปกรณ์ และสัญญาณอินเทอเน็ต และนักเรียนที่มีภาระต้องไปประกอบอาชีพช่วยครอบครัว
การจดั การเรียนแบบ On Demand พบวา่ โรงเรียนไดบ้ ันทึกคลิปวดิ โี อการสอนในรปู แบบออนไลน์ให้นักเรียน
สามารถเข้าไปเรียนย้อนหลังได้ ครูได้พัฒนา ผลิตสื่อการสอน หรือ จัดหาคลิปการสอนเพื่อให้นักเรียนเข้าไป
ศึกษาค้นคว้าเพิม่ เติม ย้อนหลังได้ แนวทางในการดูแลชว่ ยเหลือนักเรียน ในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น และ
ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์
พบว่า ด้านการเรียนรู้ ได้มีการวางแผนการช่วยเหลือนักเรียนเป็นรายบุคคล ครูประจำวิชามีช่องทางออนไลน์
ในการติดตอ่ กับนักเรียน และไดม้ ีปรับวิธกี ารสอนและการวดั ผลประเมนิ ผล จัดเนอ้ื หาและเวลาให้เหมาะสมกับ
นักเรียน ด้านการติดตาม พบว่า มีการจัดทำแอพลิเคช่ันสำหรับระบบดูแลช่วยเหลือโดยเฉพาะ มีช่องทาง
ออนไลน์ในการติดต่อกับนักเรียน จัดระบบเยี่ยมบ้านนักเรียนออนไลน์ จัดให้มีเครือข่ายที่ปฏิบัติหน้าที่ในส่วน
ของการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ด้านการช่วยเหลือส่งต่อ มีการสนับสนุนหาทุนการศึกษานักเรียนขาดแคลน
และด้านความปลอดภัย ให้นักเรียนทุกคนได้รับวัคซีน ดูแลช่วยเหลือนักเรียนด้านสุขภาพจิต ปรับลดชั่วโมง
การเรียนรู้ ลดภาระงาน เพื่อลดความเครียดและมีความสุขในการเรียนรู้



3. ขอ้ เสนอแนะเชิงนโยบาย การบรหิ ารจัดการ ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั
โคโรนา 2019 ทีจ่ ะนำมาใช้ในปกี ารศกึ ษา 2565 มี 6 ด้าน ดังน้ี 1) ดา้ นการจดั ทำแผนและนโยบาย เสนอให้
หน่วยงานต้นสังกัด วางแผนดำเนินการเพื่อให้โรงเรียนทราบแนวปฏิบัติทิศทางเดียวกันรวมถึงโครงการ
ต่าง ๆ ให้โรงเรียนมีความพร้อมและจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
2019 ได้อย่างมีประสิทธิภาพ จัดทำแผน และนโยบายการดูแลช่วยเหลือนักเรียนให้เข้าสู่ระบบการศึกษาตาม
หลักสูตรการศึกษาภาคบังคับในรูปแบบที่เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน และให้มีการปรับรูปแบบวิธีการ
ดำเนินโครงการหรือกิจกรรมต่าง ๆ และจัดทำแผนเผชิญเหตุฯ ให้เหมาะสม รวมถึงมีการประสานงานกับ
หน่วยงานอื่นเพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ที่มีระบบ ทั้งนี้ให้มีการสำรวจข้อมูลจากผู้ที่เกี่ยวข้องและผู้ที่ได้รับ
ผลกระทบจากการใช้นโยบายการจัดการศึกษาเพื่อนำมาประกอบการตัดสินใจก่อนนำไปปฏิบัติจริง 2) ด้าน
หลกั สตู รและการจัดการเรียนรู้ ให้หนว่ ยงานต้นสังกดั และกระทรวงศึกษาธิการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร
เพิ่มความยืดหยุ่นของตัวชี้วัด โครงสร้างเวลาเรียน และวิธีวัดผลและประเมนิ ผลผู้เรียนให้เหมาะสม เน้นทักษะ
ชีวิต และนำไปใช้ได้จริง จัดให้มีหน่วยงานในการให้คำแนะนำการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การจัดการ
เรียนรู้ รวมถึงวิธกี ารวัดผลและประเมินผลที่เป็นแนวปฏิบัติทีถ่ ูกต้อง ในทิศทางเดียวกัน รวมถึงการส่งเสริมครู
ให้มีความรู้ ความสามารถในการจัดการเรียนรู้ในรูปแบบที่หลากหลาย ทันต่อสถานการณ์ปัจจุบัน 3) ด้าน
เทคโนโลยีทางการศึกษา หน่วยงานตน้ สังกัด และกระทรวงศึกษาธิการ ควรจดั สรรงบประมาณการสนับสนุน
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ สื่อเทคโนโลยีทางการศึกษา และบริการสัญญาณอินเทอร์เน็ตใหท้ ั่วถึงกับนักเรียนทุกคน
และ สร้างแพลตฟอร์ม ในการเรียนรทู้ ี่ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา สามารถเข้าถึง และพฒั นาตนเองด้านการ
ใช้สื่อเทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ โดยจัดให้มีหน่วยงาน ผู้เชี่ยวชาญ ในการให้
คำแนะนำ การใช้เทคโนโลยีให้เกิดประโยชน์ต่อการเรียนรู้ และการใช้ชีวิตประจำวัน 4) ด้านการวัด
ประเมนิ ผล ให้หน่วยงานต้นสงั กัด กำหนดระเบียบ วธิ ีปฏิบตั ิ และแนวทางการวัดผลและประเมนิ ผลการศึกษา
ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่สอดคล้องกับบริบทและสถานการณ์ปจั จุบันอย่างเป็นรูปธรรม จัดให้มีหน่วยงาน
ผู้เชี่ยวชาญในการให้คำแนะนำ รูปแบบวิธีการวัดและประเมินผลที่สะท้อนตัวชี้วัดที่มีการสอนในรูปแบบ
ออนไลนห์ รือรปู แบบอนื่ ๆ ท้งั 5 on อย่างมมี าตรฐาน 5) ด้านการพัฒนานวตั กรรมการเรยี นรู้ หนว่ ยงานต้น
สังกัด ควรส่งเสริม สนับสนุน และจัดอบรมการวิจยั และพัฒนานวตั กรรมการจดั การเรียนการสอนครบทุกกล่มุ
สาระการเรียนรู้ และการบริหารจัดการศึกษาอย่างเหมาะสม และสร้างสรรค์มีการจัดงบประมาณเพื่อพัฒนา
นวัตกรรมการเรียนรู้สู่สถานศึกษา และจัดให้มีหน่วยงาน ผู้เชี่ยวชาญ ในการแนะนำให้คำปรึกษา ด้านการ
พัฒนานวัตกรรมในการปฏิบัติงาน และการแก้ปัญหาเพื่อให้สอดคล้องกับมาตรฐานวิชาชีพ และ 6) ด้านการ
ดูแลชว่ ยเหลือนักเรยี น หนว่ ยงานตน้ สังกัดและกระทรวงศึกษาธิการ จดั ทำแอพลเิ คช่ันใชเ้ ทคโนโลยีมาช่วยใน
การปฏิบัติงานด้านระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ร่วมกับเครือข่ายผู้ปกครอง หน่วยงานภาครัฐอื่นๆ ในการ
วางแผน กำกับ ติดตาม ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน เป็นรายบุคคล ติดตามการเรียนรู้ จัดหาทุนการศึกษา
จัดบริการตรวจเยี่ยมช่วยเหลือนักเรียนที่มีปัญหาเพื่อแก้ปัญหาร่วมกัน สนับสนุน ประสานการทำงานร่วมกับ
หนว่ ยงานดา้ นสุขภาพจติ และสร้างเครือข่ายเพอ่ื ปฏบิ ัติหน้าท่ีเฉพาะกิจ ในการดูแลช่วยเหลือนกั เรยี น



ประกาศคุณปู การ

รายงานวจิ ยั เชิงพ้นื ท่ีเร่อื ง ข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของ
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์ ฉบับนี้สำเร็จลงได้ดว้ ยดี
ด้วยการให้แนวคิดให้ คำปรึกษา แนะนำและสนับสนุนอย่างดียิ่ง จากนางจริยา ปารีพันธ์ ผู้อำนวยการ
สำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์ ซึง่ คณะผ้วู จิ ัย ขอกราบขอบพระคุณเปน็ อย่างสูงไว้ ณ ที่นี้
นอกจากน้ขี อกราบขอบพระคุณ ดร.สยาม สุม่ งาม รองผู้อำนวยการสำนกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษา
สิงห์บุรี เป็นวิทยากรในการประชุมปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพนักวิจัยระดับเขตพื้นที่การศึกษาเพื่อดำเนิน
งานวิจัยเชิงพื้นที่นี้ และขอกราบขอบพระคุณ ผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้ง 2 ท่าน ได้แก่ ผศ.ดร.อานนท์ เมธีวรฉัตร
มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณ์ราชวิทยาลัย ผศ.ดร.วิไลลักษณา สร้อยคีรี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ และ
ผู้อำนวยการโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์ ที่ได้กรุณาให้ข้อเสนอ
เชิงนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สำนักงานเขต
พืน้ ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษานครสวรรค์ จนทำให้งานวจิ ัยคร้งั นีส้ มบูรณ์และมีคุณคา่

ขอขอบคุณ นายอภิเชษฐ์ ฉิมพลีสวรรค์ และนายรังสิวุฒิ พุ่มเกิด รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่
การศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์ ผู้อำนวยการโรงเรียนทุกโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มัธยมศึกษานครสวรรค์ ผู้อำนวยการโรงเรียนประธานสหวิทยา ทั้ง 5 สหวิทยาเขต และครูเครือข่ายนักวิจัย
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์ ศึกษานิเทศก์ และบุคลากรสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มัธยมศึกษานครสวรรค์ ทุกท่านที่เป็นพลังสำคัญในการปฏิบัติงานวิจัย อำนวยความสะดวก ให้ความร่วมมอื ให้
ความร่วมมอื ในการเก็บรวบรวมข้อมลู และการดำเนนิ การวิจัยเชงิ พนื้ ที่ ในคร้งั นี้

ขอขอบคุณ คณะวิจัยของเขตพื้นที่ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์ ทุกคน
ทเ่ี ปน็ พลังสำคัญในการปฏบิ ัติงาน ใหค้ วามร่วมมือในการวเิ คราะห์ สรุปผลการวจิ ยั และอำนวยความสะดวกใน
การวจิ ยั นี้เป็นอย่างดียิง่

สำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์
25 ตุลาคม 2564



สารบัญ

บทที่ หน้า

บทคัดย่อ ก

ประกาศคณุ ปู การ จ

สารบญั ฉ

สารบญั ตาราง ซ

1 บทนำ………………………………………………………………....………..…………………………………. 1

ความเป็นมาและความสำคญั ของปญั หา………....………………….………………………….. 1

วตั ถุประสงค์การวจิ ยั ………………....………………….…………….……………………………… 2

ความสำคญั ของการวจิ ัย…....................…………………....…………..……………………….. 2

ขอบเขตของการวิจัย…………....…............................……………….………………………… 3

นิยามศพั ท์เฉพาะ……………………………....……………….......….……………………………… 6

2 เอกสารและงานวิจัยทเ่ี ก่ียวข้อง.................................................................................... 8

นโยบายการจดั การศึกษาในสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 9

2019….…………………......………………………………………………………………………………..

แนวคดิ เกย่ี วกบั การจดั ทำข้อเสนอเชงิ นโยบาย....................................….……………… 26

การบริหารการศึกษาดว้ ยหลัก 4M........................…………………………………………….. 29

แนวทางการจัดการศึกษาดว้ ย 5 On........................................…………..................... 35

ระบบการดูแลช่วยเหลอื นักเรียน.......………………….….......…………………………………. 36

งานวจิ ยั ท่เี ก่ยี วข้อง……………………....………………….………………………………………….. 44

3 วธิ ีดำเนนิ การวิจยั .......................................................................................................... 50

ขน้ั ตอนที่ 1 การวิเคราะห์ SWOT วเิ คราะห์สภาพการจัดการศกึ ษาของโรงเรียน 50

ในสงั กัด สำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์ ในลกั ษณะต่างๆ

ด้านจุดแขง็ จดุ ออ่ น โอกาส อปุ สรรค ในดา้ นการบริหารจัดการ ดา้ นการจดั การ

เรยี นรู้ และด้านการดูแลชว่ ยเหลือนกั เรยี น ………………………………….......................

ขัน้ ตอนท่ี 2 ประชมุ ระดมความคดิ (Brainstorming) นำผลการวเิ คราะห์ SWOT 51

มาประชมุ ระดมความคิดของคณะวจิ ยั นกั วิชาการ ผูบ้ ริหาร ครู ผูเ้ กยี่ วขอ้ ง

กำหนดแนวทางการจดั การศึกษา เพ่ือพฒั นาโรงเรียนทกุ ลักษณะ ในดา้ นการ

บริหารจดั การโรงเรยี น ดา้ นการจัดการเรยี นรู้ และดา้ นการดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรียน



สารบัญ(ต่อ)

บทที่ หน้า

ข้นั ตอนที่ 3 การสัมมนาองิ ผู้เชีย่ วชาญ (Connoisseurship) กำหนดข้อเสนอเชงิ 53
นโยบายการจดั การศึกษาในการแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 ใน
ระดับเขตพนื้ ที่การศึกษา
4 ผลการวิจัย…………………......…………………………………………......…………………………….. 55
ขั้นตอนที่ 1 การวิเคราะห์ SWOT วิเคราะหส์ ภาพการจัดการศกึ ษาของโรงเรียน 148
ในสงั กัด สำนักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษามัธยมศึกษานครสวรรค์ ในลกั ษณะต่างๆ
ดา้ นจุดแข็ง จดุ ออ่ น โอกาส อุปสรรค ในดา้ นการบรหิ ารจัดการ ด้านการจดั การ
เรยี นรู้ และดา้ นการดูแลช่วยเหลอื นกั เรยี น ………………………………….......................
ข้นั ตอนที่ 2 ประชมุ ระดมความคิด (Brainstorming) นำผลการวเิ คราะห์ SWOT 157
มาประชุมระดมความคดิ ของคณะวิจยั นักวิชาการ ผบู้ รหิ าร ครู ผเู้ กยี่ วข้อง
กำหนดแนวทางการจดั การศึกษา เพ่ือพฒั นาโรงเรียนทกุ ลักษณะ ในดา้ นการ
บรหิ ารจดั การโรงเรียน ดา้ นการจัดการเรียนรู้ และดา้ นการดูแลช่วยเหลอื นกั เรียน
ข้ันตอนท่ี 3 การสมั มนาอิงผเู้ ชี่ยวชาญ (Connoisseurship) กำหนดข้อเสนอเชิง 167
นโยบายการจดั การศึกษาในการแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ใน
ระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
5 บทสรปุ .......................................................................................................................... 169
สรปุ ผลการวจิ ยั ……………………....…………….....................…….…………………………… 170
อภปิ รายผลการวิจัย……………………………....………………...….…………………………….. 179
ข้อเสนอแนะในการวจิ ยั ครั้งต่อไป………....…………………....……………………………….. 182

รายการอ้างอิง.............................................................................................................................. 183
ภาคผนวก………………………....……………………………………….………………....................................... 191
คณะผู้วจิ ยั ………………………………………………………….……………................................................... 245



สารบญั ตาราง

ตาราง หน้า

1 แสดงข้อมูลพ้ืนฐานโรงเรยี นขนาดเล็ก 56

2 แสดงผลการวิเคราะห์ SWOT ด้านการบรหิ ารจัดการของโรงเรียนขนาดเลก็ 57

ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019

3 แสดงรปู แบบการจัดการเรยี นแบบ On Site โรงเรียนขนาดเลก็ 60

4 แสดงรปู แบบการจดั การเรียนแบบ On Air โรงเรยี นขนาดเลก็ 60

5 แสดงรปู แบบการจัดการเรยี นแบบ On Demand โรงเรียนขนาดเล็ก 61

6 แสดงรูปแบบการจดั การเรียนแบบ On Hand โรงเรียนขนาดเล็ก 62

7 แสดงรปู แบบการจดั การเรียนแบบ Online โรงเรียนขนาดเลก็ 63

8 แสดงแนวทางการจดั การศึกษา ของโรงเรียนขนาดเลก็ ในสังกดั สำนกั งานเขต 65

พืน้ ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษานครสวรรคจ์ ำแนกตามรูปแบบการจดั การเรยี นรู้ใน

สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา 2019

9 แสดงผลการวิเคราะห์การดูแลช่วยเหลอื นกั เรยี น ไดแ้ ก่ 1) ด้านการเรยี นรู้ 2) ดา้ น 67

การติดตาม 3) ดา้ นการช่วยเหลอื ส่งต่อ และ 4) ดา้ นความปลอดภยั ในระดบั ชน้ั

มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ และระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย ของโรงเรยี นขนาดเลก็

สังกดั สำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์

10 แสดงผลการวเิ คราะห์แนวทางในการดูแลช่วยเหลอื นักเรยี น ไดแ้ ก่ 1) ด้านการ 71

เรียนรู้ 2) ดา้ นการตดิ ตาม 3) ด้านการช่วยเหลอื ส่งตอ่ และ 4) ดา้ นความ

ปลอดภัย ในระดบั ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาตอนปลาย

ของโรงเรยี นขนาดเล็ก ไมไ่ ดเ้ ป็นสถานท่ีพักคอย สังกดั สำนักงานเขตพ้นื ที่

การศึกษามธั ยมศึกษานครสวรรค์

11 แสดงขอ้ มูลพื้นฐานโรงเรียนขนาดเล็กทเ่ี ปน็ สถานทพ่ี ักคอย 74

12 แสดงข้อมลู โรงเรยี นขนาดเลก็ ทเี่ ป็นสถานที่พกั คอยในสงั กดั สำนักงานเขตพ้ืนท่ี 75

การศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์ ที่ขอให้อาคารสถานที่เป็นสถานที่พักคอย

13 แสดงผลการวเิ คราะห์ SWOT ดา้ นการบริหารจดั การของโรงเรยี นขนาดเล็ก 76

ทเ่ี ป็นสถานท่ีพักคอยในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา

2019

14 แสดงรปู แบบการจดั การเรียนแบบ On Site โรงเรยี นขนาดเลก็ ทเี่ ป็นสถานทพ่ี ัก 78

คอย



สารบญั ตาราง

ตาราง หน้า

15 แสดงรูปแบบการจัดการเรียนแบบ On Air โรงเรียนขนาดเล็กทเ่ี ป็นสถานท่ีพัก 79

คอย

16 แสดงรปู แบบการจดั การเรยี นแบบ On Demand โรงเรยี นขนาดเล็กทเ่ี ป็น 79

สถานทพ่ี ักคอย

17 แสดงรปู แบบการจดั การเรียนแบบ On Hand โรงเรยี นขนาดเล็กทเี่ ปน็ สถานทพี่ ัก 80

คอย

18 แสดงรูปแบบการจดั การเรียนแบบ Online โรงเรียนขนาดเลก็ ทเี่ ปน็ สถานท่ีพัก 81

คอย

19 แสดงแนวทางการจัดการศกึ ษา ของโรงเรียนขนาดเลก็ ทเ่ี ป็นสถานท่ีพักคอย ใน 83

สงั กัดสำนกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษานครสวรรคจ์ ำแนกตามรูปแบบการ

จัดการเรียนรู้ใน สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019

20 แสดงผลการวิเคราะห์การดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรียน ไดแ้ ก่ 1) ด้านการเรียนรู้ 2) ด้าน 84

การติดตาม 3) ด้านการชว่ ยเหลือสง่ ตอ่ และ 4) ด้านความปลอดภยั ในระดบั ชัน้

มธั ยมศึกษาตอนต้นและระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาตอนปลาย ของโรงเรียนขนาดเลก็ ท่ี

เป็นสถานทพ่ี ักคอย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามธั ยมศกึ ษานครสวรรค์

21 แสดงผลการวเิ คราะห์แนวทางในการดูแลช่วยเหลอื นักเรยี น ได้แก่ 1) ด้านการ 85

เรียนรู้ 2) ดา้ นการติดตาม 3) ดา้ นการช่วยเหลือส่งต่อ และ 4) ด้านความ

ปลอดภัย ในระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาตอนต้นและระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

ของโรงเรยี นขนาดเล็ก ทเี่ ปน็ สถานท่ีพักคอย สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษา

มธั ยมศึกษานครสวรรค์

22 แสดงขอ้ มูลพ้ืนฐานโรงเรียนขนาดกลาง 88

23 แสดงผลการวเิ คราะห์ SWOT ด้านการบรหิ ารจดั การของโรงเรียนขนาดกลางใน 89

สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019

24 แสดงรูปแบบการจัดการเรยี นแบบ On Air โรงเรียนขนาดกลาง 92

25 แสดงรูปแบบการจดั การเรียนแบบ On Demand โรงเรยี นขนาดกลาง 93

26 แสดงรูปแบบการจดั การเรยี นแบบ On Hand โรงเรียนขนาดกลาง 94

27 แสดงรูปแบบการจัดการเรยี นแบบ Online โรงเรยี นขนาดกลาง 94



สารบญั ตาราง

ตาราง หน้า

28 แสดงแนวทางการจดั การศึกษา ของโรงเรียนขนาดกลาง ในสังกัดสำนักงานเขต 95

พื้นทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษานครสวรรค์จำแนกตามรูปแบบการจัดการเรยี นรใู้ น

สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019

29 แสดงผลการวิเคราะห์การดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรยี น ไดแ้ ก่ 1) ด้านการเรียนรู้ 2) ด้าน 97

การตดิ ตาม 3) ดา้ นการช่วยเหลอื ส่งต่อ และ 4) ดา้ นความปลอดภัย ในระดบั ชั้น

มธั ยมศึกษาตอนตน้ และระดับชัน้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ของโรงเรยี นขนาดกลาง

สังกดั สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์

30 แสดงผลการวิเคราะห์แนวทางในการดแู ลช่วยเหลอื นกั เรยี น ไดแ้ ก่ 1) ด้านการ 99

เรยี นรู้ 2) ด้านการตดิ ตาม 3) ด้านการช่วยเหลอื สง่ ต่อ และ 4) ดา้ นความ

ปลอดภัย ในระดบั ช้ันมัธยมศึกษาตอนตน้ และระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย

ของโรงเรียนกลาง สงั กดั สำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษามัธยมศกึ ษานครสวรรค์

31 แสดงขอ้ มูลพื้นฐานโรงเรียนขนาดกลางและขนาดใหญ่เป็นโรงพยาบาลสนามและ 106

สถานทพ่ี ักคอย

32 แสดงขอ้ มูลโรงเรยี นขนาดกลางและขนาดใหญ่ ในสงั กัดสำนักงานเขตพื้นท่ี 106

การศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์ทขี่ อให้อาคารสถานท่เี ป็นโรงพยาบาลสนาม

และสถานที่พกั คอย

33 แสดงผลการวิเคราะห์ SWOT ด้านการบรหิ ารจดั การของโรงเรียนขนาดกลางและ 107

ขนาดใหญท่ เ่ี ป็นโรงพยาบาลสนาม และสถานทพี่ ักคอย ในสถานการณ์การแพร่

ระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019

34 แสดงรูปแบบการจัดการเรียนแบบ On Site โรงเรยี นขนาดใหญท่ เี่ ป็น 110

โรงพยาบาลสนาม และสถานทพ่ี ักคอย

35 แสดงรปู แบบการจดั การเรยี นแบบ On Air โรงเรยี นขนาดใหญ่ทเี่ ป็นโรงพยาบาล 111

สนาม และสถานท่ีพักคอย

36 แสดงรปู แบบการจัดการเรียนแบบ On Demand โรงเรียนขนาดใหญท่ เี่ ป็น 111

โรงพยาบาลสนาม และสถานทีพ่ ักคอย

37 แสดงรปู แบบการจดั การเรียนแบบ On Hand โรงเรยี นขนาดใหญท่ เ่ี ป็น 112

โรงพยาบาลสนาม และสถานที่พักคอย



สารบัญตาราง

ตาราง หน้า

38 แสดงรปู แบบการจัดการเรียนแบบ Online โรงเรียนขนาดใหญท่ เี่ ป็นโรงพยาบาล 114

สนาม และสถานที่พักคอย

39 แสดงแนวทางการจดั การศกึ ษา ของโรงเรยี นขนาดเลก็ ในสังกดั สำนกั งานเขต 115

พน้ื ท่กี ารศึกษามธั ยมศึกษานครสวรรคจ์ ำแนกตามรูปแบบการจดั การเรียนรู้ใน

สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019

40 แสดงผลการวิเคราะห์การดูแลชว่ ยเหลือนกั เรยี น ไดแ้ ก่ 1) ด้านการเรียนรู้ 2) ดา้ น 116

การตดิ ตาม 3) ดา้ นการชว่ ยเหลือส่งต่อ และ 4) ด้านความปลอดภยั ในระดับชั้น

มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ และระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ของโรงเรียนขนาดเลก็

สังกดั สำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษานครสวรรค์

41 แสดงผลการวเิ คราะห์แนวทางในการดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี น ได้แก่ 1) ดา้ นการ 117

เรยี นรู้ 2) ดา้ นการติดตาม 3) ดา้ นการช่วยเหลอื ส่งตอ่ และ 4) ดา้ นความ

ปลอดภยั ในระดับชนั้ มัธยมศึกษาตอนตน้ และระดบั ชัน้ มธั ยมศึกษาตอนปลาย

ของโรงเรียนขนาดเลก็ ไม่ไดเ้ ป็นสถานท่ีพักคอย สงั กดั สำนักงานเขตพื้นที่

การศกึ ษามธั ยมศึกษานครสวรรค์

42 แสดงข้อมลู พ้ืนฐานโรงเรยี นขนาดใหญ่ 120

43 แสดงผลการวิเคราะห์ SWOT ดา้ นการบรหิ ารจัดการของโรงเรยี นขนาดใหญ่ 121

ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019

44 แสดงรูปแบบการจัดการเรียนแบบ On Site โรงเรียนขนาดใหญ่ 123

45 แสดงรูปแบบการจัดการเรยี นแบบ On Air โรงเรยี นขนาดใหญ่ 124

46 แสดงรูปแบบการจดั การเรยี นแบบ On Demand โรงเรยี นขนาดใหญ่ 124

47 แสดงรปู แบบการจดั การเรยี นแบบ On Hand โรงเรียนขนาดใหญ่ 125

48 แสดงรปู แบบการจัดการเรยี นแบบ Online โรงเรียนขนาดใหญ่ 125

49 แสดงแนวทางการจัดการศกึ ษา ของโรงเรยี นขนาดใหญ่ ในสงั กดั สำนกั งานเขต 126

พนื้ ที่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษานครสวรรค์จำแนกตามรูปแบบการจดั การเรยี นร้ใู น

สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019



สารบญั ตาราง

ตาราง หน้า

50 แสดงผลการวิเคราะห์การดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรยี น ได้แก่ 1) ด้านการเรียนรู้ 2) ดา้ น 127

การตดิ ตาม 3) ด้านการชว่ ยเหลอื สง่ ต่อ และ 4) ดา้ นความปลอดภยั ในระดับชั้น

มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ และระดับชนั้ มธั ยมศึกษาตอนปลาย ของโรงเรียนขนาดใหญ่

สงั กดั สำนกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษามัธยมศกึ ษานครสวรรค์

51 แสดงผลการวเิ คราะห์แนวทางในการดแู ลช่วยเหลอื นกั เรยี น ไดแ้ ก่ 1) ดา้ นการ 128

เรยี นรู้ 2) ดา้ นการติดตาม 3) ดา้ นการช่วยเหลือสง่ ตอ่ และ 4) ดา้ นความ

ปลอดภยั ในระดับช้ันมธั ยมศึกษาตอนต้นและระดับชั้นมัธยมศกึ ษาตอนปลาย

ของโรงเรียนขนาดใหญส่ ังกัดสำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์

52 แสดงข้อมลู พนื้ ฐานโรงเรียนขนาดใหญ่ 131

53 แสดงผลการวเิ คราะห์ SWOT ด้านการบริหารจดั การของโรงเรียนขนาดใหญ่ 132

ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019

54 แสดงรูปแบบการจัดการเรียนแบบ On Site โรงเรียนขนาดใหญ่ 135

55 แสดงรูปแบบการจดั การเรียนแบบ On Air โรงเรียนขนาดใหญ่ 135

56 แสดงรปู แบบการจดั การเรยี นแบบ On Demand โรงเรยี นขนาดใหญ่ 136

57 แสดงรูปแบบการจัดการเรียนแบบ On Hand โรงเรียนขนาดใหญ่ 137

58 แสดงรปู แบบการจัดการเรียนแบบ Online โรงเรยี นขนาดใหญ่ 137

59 แสดงแนวทางการจัดการศึกษา ของโรงเรยี นขนาดใหญ่ ในสงั กัดสำนกั งานเขต 138

พืน้ ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศึกษานครสวรรคจ์ ำแนกตามรปู แบบการจัดการเรียนรู้ใน

สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019

60 แสดงผลการวเิ คราะห์การดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี น ได้แก่ 1) ด้านการเรียนรู้ 2) ด้าน 140

การติดตาม 3) ด้านการช่วยเหลือสง่ ตอ่ และ 4) ดา้ นความปลอดภยั ในระดับชน้ั

มธั ยมศึกษาตอนต้นและระดับชน้ั มธั ยมศึกษาตอนปลาย ของโรงเรียนขนาดใหญ่

สงั กดั สำนักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์

61 แสดงผลการวเิ คราะห์แนวทางในการดแู ลชว่ ยเหลือนักเรียน ไดแ้ ก่ 1) ด้านการ 142

เรียนรู้ 2) ดา้ นการตดิ ตาม 3) ด้านการช่วยเหลอื ส่งตอ่ และ 4) ด้านความ

ปลอดภัย ในระดบั ชนั้ มัธยมศึกษาตอนตน้ และระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย

ของโรงเรียนขนาดใหญส่ ังกดั สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์



สารบัญตาราง

ตาราง หน้า

62 แสดงจำนวนโรงเรียนสงั กัดสำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษานครสวรรค์ 147

จำแนกตามขนาดลกั ษณะโรงเรียน และรปู แบบการจัดการเรียนการสอน ใน

สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019

63 แสดงผลการวิเคราะห์ SWOT ดา้ นการบริหารจัดการของโรงเรียนในสำนักงาน 148

เขตพื้นท่ีการศึกษามธั ยมศึกษานครสวรรคใ์ นสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรค

ตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019

64 แสดงรปู แบบการจดั การเรยี นแบบ On Site โรงเรยี นในสำนกั งานเขตพน้ื ที่ 151

การศกึ ษามัธยมศกึ ษานครสวรรค์

65 แสดงรูปแบบการจัดการเรียนแบบ On Air โรงเรียนในสำนกั งานเขตพน้ื ท่ี 151

การศึกษามัธยมศกึ ษานครสวรรค์

66 แสดงรูปแบบการจัดการเรียนแบบ On Demand โรงเรียนในสำนกั งานเขตพืน้ ที่ 152

การศึกษามธั ยมศึกษานครสวรรค์

67 แสดงรปู แบบการจดั การเรียนแบบ On Hand โรงเรยี นในสำนกั งานเขตพ้ืนที่ 153

การศกึ ษามธั ยมศึกษานครสวรรค์

68 แสดงรปู แบบการจดั การเรยี นแบบ Online โรงเรียนในสำนกั งานเขตพ้นื ที่ 154

การศึกษามธั ยมศกึ ษานครสวรรค์

69 แสดงแนวทางการจดั การศกึ ษา ของโรงเรยี น ในสงั กัดสำนกั งานเขตพ้ืนท่ี 157

การศกึ ษามธั ยมศึกษานครสวรรคจ์ ำแนกตามรูปแบบการจัดการเรยี นร้ใู น

สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019

70 แสดงผลการวิเคราะห์การดูแลช่วยเหลือนักเรียน ได้แก่ 1) ด้านการเรียนรู้ 2) ด้าน 160

การติดตาม 3) ด้านการชว่ ยเหลือส่งต่อ และ 4) ด้านความปลอดภัย ในระดับชนั้

มัธยมศึกษาตอนตน้ และระดบั ชัน้ มธั ยมศึกษาตอนปลาย ของโรงเรยี น สังกดั

สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษานครสวรรค์

71 แสดงผลการวิเคราะห์แนวทางในการดแู ลช่วยเหลือนักเรยี น ไดแ้ ก่ 1) ดา้ นการ 162

เรยี นรู้ 2) ด้านการตดิ ตาม 3) ดา้ นการช่วยเหลือสง่ ตอ่ และ 4) ด้านความ

ปลอดภยั ในระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาตอนตน้ และระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย

ของโรงเรียน สังกดั สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามธั ยมศึกษานครสวรรค์

1

บทที่ 1
บทนำ

ความเปน็ มาและความสำคัญของปญั หา
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ตัง้ แตป่ ี พ.ศ. 2562 เป็นต้นมา

ส่งผลกระทบต่อการจัดการศึกษาทุกระดับทุกเขตพื้นที่ โรงเรียนทุกโรงเรียนไม่สามารถจัดการเรียนการสอน
ได้ตามระบบปกติส่งผลให้การเรียนรู้ การพัฒนาทักษะ การปฏิบัติกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตร รวมท้ัง
การวัดประเมินผลความรู้และทักษะตามมาตรฐานตัวชี้วัด มีข้อจำกัด กระทรวงศึกษาธิการได้จัดรูปแบบการ
เรียนรู้เพื่อรับมือกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 โดยใช้เทคโนโลยีเพื่อการ
สื่อสารมาสนับสนุนการจัดการศึกษา ทั้งในรูปแบบออนไลน์ (Online) และ ออนแอร์ (On Air) และในปี พ.ศ.
2563 กระทรวงศึกษาธิการได้กำหนดรูปแบบการเรียนรู้ของโรงเรียน ไว้ 5 แบบคือ 1) ออนไซต์
(On Site) เรียนทีโ่ รงเรียน โดยมีมาตรการเฝ้าระวังตามประกาศของศูนย์บรหิ ารสถานการณ์การแพร่ะบาดของ
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (ศบค.) 2) ออนแอร์ (On Air) เรียนผ่านมูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
ในพระบรมราชูปถัมภ์ หรือ DLTV 3) ออนดีมานด์ (On Demand) เรียนผ่านแอปพลิเคชันต่างๆ 4) ออนไลน์
(Online) เรียนผ่านอินเทอร์เน็ต และ 5) ออนแฮนด์ (On Hand) เรียนที่บ้านด้วยเอกสาร เช่น หนังสือ
แบบฝกึ หดั ใบงาน ในรูปแบบผสมผสาน หรืออาจใช้วิธอี ื่นๆ เช่น วิทยุ เป็นต้น ใหแ้ ตล่ ะโรงเรยี นได้เลือกรูปแบบ
การจดั การเรยี นรู้ตามความเหมาะสมของแตล่ ะบรบิ ทพนื้ ทีแ่ ละของโรงเรียน อย่างไรก็ตาม ในการจดั การเรียนรู้
แต่ละรูปแบบมีความแตกต่างในข้อดี ข้อด้อย ของการจัดองค์ความรู้ การพัฒนาทักษะคุณลักษณะ และ
การวดั ประเมินผล ซึง่ ขอ้ ดแี ละข้อดอ้ ยของแต่ละรูปแบบน้ียงั ต้องการการศึกษาวจิ ยั เพื่อพัฒนาการจดั การเรียนรู้
เพอื่ ผเู้ รียนเป็นสำคญั

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงมีแนวคิดในการส่งเสริมให้นักวิจัย
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์ ทำวิจัยเชิงพื้นที่ ส่งเสริมวัฒนธรรมการมีส่วนร่วม
และการใช้ข้อมูลวิชาการ หรือ หลักฐานที่ได้จากการศึกษาเป็นส่วนสำคัญในการตัดสินใจเชิงนโยบาย
สำนักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษาเป็นหน่วยงานรับผิดชอบการวิจัยและส่งเสริ มการวิจัยของ
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงมอบหมายให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
นครสวรรค์ ดำเนินงานโครงการการยกระดับคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานด้านการวิจัย เพื่อสร้างองค์ความรู้
และเพิ่มศักยภาพด้านการวิจัยของบุคลากรในสังกัด โดยใช้การวิจัยเป็นฐาน ในการขับเคลื่อนคุณภาพ
การจัดการศึกษา เน้นการใช้กระบวนการวิจัยสร้างการเปลี่ยนแปลงในห้องเรียนและโรงเรียน เน้นผู้เรียน
เป็นสำคัญ โดยทำวิจัยเชิงพื้นที่เรื่อง ข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของ
โรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 เพ่อื การจัดทำนโยบายการจัดการเรียนรู้วิถีใหม่ข้ึน เพือ่ ใหก้ ารวจิ ัยและการมีส่วน
ร่วมเป็นไปในทิศทางที่เป็นประโยชน์ต่อการกำหนดนโยบายที่ตอบสนองต่อการจัดการเรียนรู้ของ
สำนกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษานครสวรรค์ ท่ตี อบสนองตามความตอ้ งการมากที่สดุ

2

วตั ถุประสงคก์ ารวจิ ยั
1. วเิ คราะหส์ ภาพการจดั การศึกษาของโรงเรียนลกั ษณะตา่ งๆ สำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษา

มัธยมศึกษานครสวรรค์ ด้านจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส อุปสรรค (SWOT) ในด้านการบริหารจัดการ
ดา้ นการจดั การเรยี นรู้ และ ดา้ นการดูแลชว่ ยเหลือนกั เรยี น

2. พัฒนาแนวทางการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาโรงเรียนทุกลักษณะ ในด้านการบริหารจัดการ
ดา้ นการจัดการเรียนรู้ และดา้ นการดูแลช่วยเหลือนกั เรียน

3. จัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดจากเชื้อไวรัสโคโรนา
2019 ในระดบั เขตพน้ื ที่การศึกษา และระดบั สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน

คำถามวิจยั
1. What? สำนักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์ มี โรงเรียนในสังกัด

จำนวนก่โี รง ลักษณะใด และจดั การเรยี นการสอนระดบั ใด
1) จำนวนโรงเรียนขนาดเล็ก กลาง ใหญ่ ใหญ่พิเศษ จำนวน กี่โรงเรียน (ไม่รวมจำนวนโรงเรียน

ในลักษณะข้อ 2 และ3)
2) โรงเรียนคณุ ภาพ ระดบั มัธยมศึกษา จำนวน กีโ่ รงเรยี น (ระบุช่อื ที่ตงั้ )
3) โรงเรียนที่ใช้พื้นที่เป็น โรงพยาบาลสนาม โรงพยาบาลสนาม (สำรอง) โรงพยาบาลสนาม และ

สถานท่ีกักตัว สถานท่กี ักตวั สถานท่ีพักคอย จำนวน ก่โี รงเรยี น (ระบุช่ือ ท่ีต้ัง จำนวนเตียง)
2. How? โรงเรียนแต่ละลักษณะดำเนินการอย่างไร (ช่วงระยะเวลา ปีการศึกษา 2564- สิงหาคม

2564)
1) ด้านการบรหิ ารจดั การ ของโรงเรยี นลกั ษณะตา่ ง ๆ เป็นอยา่ งไร
(4 M : Man Money Material Management)
2) การจัดการเรยี นรู้ 5 รูปแบบของโรงเรยี นลกั ษณะตา่ ง ๆ เปน็ อย่างไร
(On Site, On Air, On Demand, On Hand, Online) หรอื รูปแบบอนื่ ๆ
โดยแบง่ เปน็ ระดับชั้นมธั ยมศึกษาตอนตน้ และระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย
3) ดา้ นการดูแลชว่ ยเหลือนักเรียน ดำเนินการอยา่ งไร
(ดา้ นการเรยี นรู้, ด้านการติดตาม, ด้านการชว่ ยเหลือส่งต่อการเรยี นรู้จากระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
มธั ยมศึกษาตอนปลาย และดา้ นความปลอดภยั )

3. How to promotion? สำนกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษามัธยมศึกษานครสวรรค์ มีนโยบาย
การจัดการศกึ ษาอยา่ งไร / พฒั นาโรงเรยี น อยา่ งไร

1) นโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
เป็นอยา่ งไร

2) แนวทางการพฒั นาโรงเรียนแตล่ ะลักษณะเปน็ อย่างไร

3

ขอบเขตของการวจิ ยั
การวจิ ัยเชงิ พื้นที่ เร่ือง ขอ้ เสนอเชิงนโยบายด้านการจดั การศึกษาในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาด

ของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 สำนักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษามัธยมศกึ ษานครสวรรค์ ผวู้ จิ ยั ไดก้ ำหนด
ขอบเขตการวจิ ัย ออกเป็น 3 ขนั้ ตอน โดยในแต่ละขั้นตอนกำหนดขอบเขต 3 ด้าน คือ ด้านเนื้อหา ด้าน
แหล่งขอ้ มูล และด้านตวั แปร ซ่ึงมีรายละเอียดดังนี้

ขัน้ ตอนท่ี 1 การวเิ คราะห์ SWOT วเิ คราะห์สภาพการจัดการศกึ ษาของโรงเรยี นในสังกดั
สำนกั งานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษานครสวรรค์ ในลักษณะต่างๆ ด้านจดุ แข็ง จุดอ่อน โอกาส
อปุ สรรค ในดา้ นการบริหารจัดการ ด้านการจัดการเรยี นรู้ และดา้ นการดแู ลชว่ ยเหลือนักเรยี น

1. ขอบเขตดา้ นเน้ือหา
ในการศึกษา วิเคราะห์ SWOT นำข้อมูลของโรงเรียนจากการสัมภาษณ์เชิงลึก มาวิเคราะห์

จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและอุปสรรค โดยคณะนักวิจัยรว่ มกันวิเคราะห์ ด้านการบรหิ ารจัดการ ด้านการจัดการ
เรียนรู้ และด้านการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
นครสวรรค์ ทุกโรงเรียน โดยจำแนกลักษณะโรงเรียนเป็นโรงเรียนขนาดเล็ก กลาง ใหญ่ ใหญ่พิเศษ
โรงเรียนที่ใช้พื้นที่เป็นโรงพยาบาลสนาม และสถานที่พักคอย และวิเคราะห์แบ่งระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
และมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

2. ขอบเขตด้านแหล่งข้อมูล
1. แหล่งข้อมูลจากเอกสารการจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส

โคโรนา 2019 ของโรงเรียนในสังกัดสำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์ จำนวน 3 ด้าน ได้แก่
1) ดา้ นการบริหารจัดการ 2) ด้านการจัดการเรยี นรู้ และ 3) ดา้ นการดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรียน

2. แหลง่ ขอ้ มูลจากบคุ คล ได้แก่ ผู้บรหิ ารโรงเรียน และครู จำนวน 37 โรงเรียน โดยนำขอ้ มลู จาก
การนำเสนอของทุกโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์ ที่รายงานผลการ
นิเทศ กำกับติดตามการจัดการเรียนสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
ร ู ป แ บ บ VDO Conference โ ป ร แ ก ร ม Google Meet โ ด ย ร า ย ง า น ผ ล ก า ร จ ั ด ก า ร ศ ึ ก ษ า ต่ อ
ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์และคณะติดตามผลการดำเนินงาน
ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์ , ผู้อำนวยการโรงเรียน
ประธานสหวิทยาเขต และผ้อู ำนวยการโรงเรียนเลขานุการ สหวทิ ยาเขต และคณะศกึ ษานเิ ทศก์ทุกคน ระหว่าง
วันที่ 20, 23 และ 30 สงิ หาคม 2564

3. ขอบเขตด้านตัวแปร
ตวั แปรทศี่ กึ ษา คือ สภาพการจดั การศึกษาในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรัส

4

โคโรนา 2019 ของโรงเรียนในสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์ ในลักษณะต่างๆ

โดยวิเคราะห์ SWOT จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส อุปสรรค ในด้านการบริหารจัดการ ด้านการจัดการเรียนรู้

และ ดา้ นการดแู ลช่วยเหลือนักเรยี น

ขั้นตอนที่ 2 ประชุมระดมความคิด (Brainstorming) นำผลการวิเคราะห์ SWOT มาประชุม

ระดมความคิดของคณะวิจยั นักวชิ าการ ผูบ้ ริหาร ครู ผู้เกี่ยวขอ้ ง กำหนดแนวทางการจัดการศกึ ษา เพอ่ื พฒั นา

โรงเรียนทุกลกั ษณะ ในการบริหารจัดการโรงเรยี น การจดั การเรยี นรู้ และการดูแลชว่ ยเหลอื นักเรยี น

1. ขอบเขตดา้ นเนื้อหา

ในการประชุมระดมความคดิ (Brainstorming) นำผลการวเิ คราะห์ SWOT มาประชมุ

ระดมความคิดของคณะวิจัย นักวิชาการ ผู้บริหาร ครู ผู้เกี่ยวข้อง มากำหนดแนวทางการจัดการศึกษา

เพื่อพัฒนาโรงเรียนทุกลักษณะ ในด้านการบริหารจัดการโรงเรียน ด้านการจัดการเรียนรู้ และ

ดา้ นการดูแลช่วยเหลือนกั เรียน

2. ขอบเขตด้านแหล่งข้อมูล

1. ขอบเขตด้านแหล่งข้อมูล ในการประชุมระดมความคิด (Brainstorming) คือ แนวทางการ

จดั การศึกษาเพื่อพัฒนาโรงเรยี นทุกลักษณะ ในดา้ นการบริหารจัดการโรงเรยี น ดา้ นการจัดการเรยี นรู้ และด้าน

การดูแลชว่ ยเหลือนักเรียน

2. แหล่งข้อมูลจากบุคคล ได้แก่ คณะวิจัย นักวิชาการ ผู้บริหารโรงเรียน ครู ผู้เกี่ยวข้อง กำหนด

แนวทางการจัดการศกึ ษาเพ่ือพฒั นาโรงเรยี นทุกลกั ษณะ ดา้ นการบริหารจดั การโรงเรียน ดา้ นการจัดการเรียนรู้

และด้านการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยการเลือกแบบเจาะจง จำนวน 12 โรงเรียน ได้แก่ 1) โรงเรียน

นครสวรรค์ 2) โรงเรียนสตรีนครสวรรค์ 3) โรงเรียนตาคลีประชาสรรค์ 4) โรงเรียนนวมินทราชูทิศ มัชฌิม

5) โรงเรียนหนองบัว 6) โรงเรียนเทพศาลาประชาสรรค์ 7) โรงเรียนตากฟ้าวิชาประสิทธิ์ 8) โรงเรียน

พระบางวิทยา 9) โรงเรียนบรรพตพิสัยพิทยาคม 10) โรงเรียนโกรกพระ 11) โรงเรียนจันเสนเอ็งสุวรรณ

อนสุ รณ์ 12) โรงเรียนพนมรอกวทิ ยา

ขนาดโรงเรียน ประเภทโรงเรียน ชือ่ โรงเรียน

ขนาดเล็ก โรงเรียนทั่วไป 1)โรงเรยี นโกรกพระ

2) โรงเรยี นจนั เสนเอง็ สวุ รรณอนสุ รณ์

ขนาดเล็ก สถานท่พี ักคอย โรงเรียนพนมรอกวิทยา

ขนาดกลาง โรงเรียนทั่วไป 1) โรงเรยี นเทพศาลาประชาสรรค์

2) โรงเรยี นตากฟา้ วิชาประสิทธ์ิ

3) โรงเรยี นพระบางวทิ ยา

ขนาดกลาง โรงพยาบาลสนาม โรงเรยี นบรรพตพสิ ัยพทิ ยาคม

ขนาดใหญ่ โรงเรียนทว่ั ไป โรงเรียนนวมินทราชทู ศิ มชั ฌิม

ขนาดใหญ่ สถานท่ีพกั คอย โรงเรยี นหนองบัว

ขนาดใหญพ่ เิ ศษ โรงเรียนทั่วไป 1) โรงเรียนนครสวรรค์ 2) โรงเรยี นสตรีนครสวรรค์

3) โรงเรยี นตาคลปี ระชาสรรค์

5

3. ขอบเขตด้านตัวแปร
ตวั แปรที่ศกึ ษา คือ แนวทางการจดั การศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัส

โคโรนา 2019 ของโรงเรียนในสงั กัด สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามธั ยมศึกษานครสวรรค์ เพื่อพัฒนาโรงเรยี น
ทุกลักษณะ ในดา้ นการบรหิ ารจัดการโรงเรียน ดา้ นการจัดการเรียนรู้ และดา้ นการดูแลชว่ ยเหลือนกั เรยี น

เครอ่ื งมือการวจิ ยั
1. ประเด็นประชมุ ระดมความคิดการบรหิ ารจดั การโรงเรยี น การจัดการเรียนรู้ และการดูแล
ชว่ ยเหลอื นกั เรียน
2. แบบวเิ คราะห์แนวทางการจัดการศึกษาเพือ่ พฒั นาโรงเรยี นทุกลักษณะ ในการบริหารจัดการ
โรงเรียน การจัดการเรียนรู้ และการดูแลชว่ ยเหลือนกั เรยี น
การวเิ คราะหข์ ้อมูล แบบวเิ คราะหเ์ น้อื หา (Content Analysis)
วิเคราะห์แนวทางการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาโรงเรียนทุกลักษณะ ในด้านการบริหารจัดการโรงเรียน
ดา้ นการจัดการเรยี นรู้ และดา้ นการดูแลช่วยเหลอื นกั เรียน จากแบบวิเคราะห์แนวทางการจัดการศึกษา

ขั้นตอนที่ 3 การสัมมนาอิงผู้เชี่ยวชาญ (Connoisseurship) กำหนดข้อเสนอเชิงนโยบาย
การจัดการศกึ ษาในการแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในระดับเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา

1. ขอบเขตด้านเนื้อหา ข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในการแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรสั
โคโรนา 2019 ในระดับเขตพื้นที่การศึกษา เป็นโครงการหรือแผนงานย่อย ให้มีลักษณะเฉพาะเจาะจงของ
หลกั การเหตผุ ล วตั ถุประสงค์ กลยทุ ธก์ ารดำเนินงาน งบประมาณ ประกอบด้วย

1. ดา้ นการจัดทำแผนและนโยบาย แนวทางการบริหารจดั การการศกึ ษาของโรงเรยี น
2. ดา้ นหลักสูตรและการจัดการเรยี นรู้ (รูปแบบตา่ งๆ 5 On หรือรูปแบบอืน่ ๆ)
3. ด้านเทคโนโลยที างการศกึ ษา
4. ด้านการวัดประเมนิ ผล
5. ด้านการพัฒนานวตั กรรมการเรียนรู้
6. ดา้ นการดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรียน
2. ขอบเขตดา้ นแหล่งข้อมลู
แหล่งข้อมูลจากบุคคล ได้แก่ คณะวิจัย นักวิชาการ ผู้บริหารโรงเรียน ครู ผู้เกี่ยวข้อง กำหนด
แนวทางการจดั การศึกษาเพอื่ พัฒนาโรงเรียนทุกลกั ษณะ ดา้ นการบริหารจัดการโรงเรียน ดา้ นการจัดการเรียนรู้
และด้านการดแู ลช่วยเหลือนักเรียน
3. ขอบเขตด้านตวั แปร
ตวั แปรทศี่ กึ ษา คือ ขอ้ เสนอเชงิ นโยบายการจัดการศึกษาในการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัส
โคโรนา 2019 ในระดับเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษา

6

นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ
1. ข้อเสนอเชงิ นโยบายการจัดการศกึ ษาระดบั เขตพื้นท่กี ารศึกษา หมายถึง การแตกนโยบาย

การจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ปีการศึกษา 2565 ของ
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ด้านการบริหารโรงเรียน การจัดการเรียนรู้ และการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ออกเป็นโครงการหรือแผนงานย่อยให้มีลักษณะเฉพาะเจาะจงของหลักการเหตุผล วัตถุประสงค์ กลยุทธ์
การดำเนนิ งาน งบประมาณ และผลทคี่ าดว่าจะได้รับ

2. การบริหารจดั การ หมายถึง การอำนวยการ กำกับทศิ ทาง และควบคุม ให้โรงเรยี นสามารถ
ขบั เคลอ่ื นดำเนนิ การจดั การศึกษาไปด้วยดี ทัง้ ด้านบุคลากร (Man) วิธีการ (Management) วสั ดุอุปกรณ์
สง่ิ อำนวยความสะดวก (Material) และงบประมาณ (Money)

3. การจดั การเรยี นรู้ หมายถงึ กระบวนการ เทคนิค หรอื วธิ กี ารที่ครูนำมาใช้เพ่อื ใหผ้ ้เู รียน
เกดิ การเรยี นรู้ ในรปู แบบ

1. ออนไซต์ ( On Site) เรียนทโี่ รงเรียน
2. ออนแอร์ (On Air) เรียนผ่านมลู นิธกิ ารศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทียม ในพระบรมราชูปถมั ภ์
หรอื DLTV
3. ออนดีมานด์ (On Demand) เรยี นผา่ นแอปพลเิ คชันตา่ งๆ
4. ออนไลน์ (Online) เรียนผ่านอนิ เทอร์เนต็
5. ออนแฮนด์ (On Hand) เรียนทีบ่ า้ นดว้ ยเอกสาร เช่น หนังสือ แบบฝึกหัดใบงาน ในรูปแบบ
ผสมผสาน หรอื อาจใชว้ ิธอี ่ืนๆ เช่น วิทยุ
หรอื 6. รปู แบบอน่ื ๆ เพ่ือพฒั นาความรู้ ทักษะ คุณลกั ษณะ การวัดผลประเมินผล ในสถานการณ์
การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019
4. การดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี น หมายถึง การส่งเสริม สนับสนุน การปอ้ งกนั และการแกป้ ญั หา
ให้แก่นักเรียนให้ได้รับการเรียนรู้ พัฒนาความรู้ ทักษะและคุณลักษณะ การวัดประเมินผล การส่งผ่านผู้เรียน
เรยี นต่อในระดบั สูงขึน้ และความปลอดภยั ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019

ผลทคี่ าดวา่ จะไดร้ บั
ข้อเสนอเชงิ นโยบายการจัดการศกึ ษาในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019

ประกอบด้วย
1. นโยบายและแนวทางการบรหิ ารจัดการการศกึ ษาของโรงเรียน ไดแ้ ก่ ดา้ นการจัดทำแผน

และนโยบาย แนวทางการบริหารจดั การการศกึ ษาของโรงเรียน
2. นโยบายและแนวทางการจัดการเรยี นร้เู พ่ือพฒั นาคณุ ภาพผู้เรียนรปู แบบตา่ งๆ (5 On หรอื

รูปแบบอื่นๆ) ไดแ้ ก่
2.1 ด้านหลักสตู รและการจดั การเรียนรู้ (รูปแบบต่างๆ 5 On หรือ รูปแบบอืน่ ๆ)

7

2.2 ดา้ นเทคโนโลยีทางการศึกษา
2.3 ดา้ นการวัดประเมนิ ผล
2.4 ดา้ นการพฒั นานวตั กรรมการเรยี นรู้

3. นโยบายและแนวทางการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ด้านการเรียนรู้ การส่งต่อนักเรียน และ
ความปลอดภัยโดยจำแนกตามลักษณะโรงเรียน โดยแบ่งเป็นนโยบายการจัดการศึกษาระดับมัธยมศึกษา
ตอนต้น และระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย

8

บทท่ี 2
เอกสารและงานวิจยั ที่เกยี่ วข้อง

การจัดทำรายงานผลการวิจัยเชิงพื้นที่ เรื่องข้อเสนอเชิงนโยบายด้านการจัดการศึกษา
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
นครสวรรค์ คณะผู้วิจัยศึกษาเอกสารและงานวจิ ยั ที่เกย่ี วข้องดังรายละเอียดต่อไปนี้

1. นโยบายการจดั การศึกษาในสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019
1.1 แนวคิดเกี่ยวกบั การจัดการเรียนรู้
1.2 ความหมาย หลักการ และรูปแบบในการจดั การเรยี นรู้
1.3 ความสำคัญในการจดั การเรียนรู้
1.4 รูปแบบการจดั การเรียนรู้
1.5 รปู แบบการจดั การเรียนรแู้ บบต่าง ๆ
1.6 แนวคิดและหลกั การเกยี่ วกบั การจดั การเรียนรใู้ นสถานการณเ์ รง่ ดว่ นหรือ สถานการณ์วิกฤติ
1.7 นโยบายและแนวทางการจัดการเรียนรใู้ นสถานการณ์โควดิ -19 ในตา่ งประเทศ
1.8 นโยบายและแนวทางการจดั การเรยี นรู้ในสถานการณโ์ ควดิ -19 ในประเทศไทย
1.9 แนวทาง วิธีการและรูปแบบ/สภาพการจดั การเรียนรใู้ นสถานการณโ์ ควดิ -19

2. แนวคดิ เกยี่ วกบั การจดั ทำขอ้ เสนอเชิงนโยบาย
3. การบริหารการศกึ ษาดว้ ยหลกั 4M

3.1 องคป์ ระกอบของการบรหิ ารแบบ 4M
3.2 ความสำคัญของการบริหารแบบ 4M
4. แนวทางการจดั การศกึ ษาดว้ ย 5 On
5. ระบบการดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรียน
5.1 ความสำคัญของระบบการดูแลชว่ ยเหลือนักเรยี น
5.2 การดำเนนิ งานระบบการดแู ลช่วยเหลอื นักเรยี น
6. งานวจิ ัยทเ่ี กยี่ วข้อง
6.1 งานวจิ ยั ในประเทศ
6.2 งานวจิ ัยตา่ งประเทศ

9

1. นโยบายการจัดการศกึ ษาในสถานการณแ์ พร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019
1.1 แนวคดิ เก่ยี วกบั การจดั การเรยี นรู้
นกั วิชาการในดา้ นการศกึ ษา ได้ใหค้ วามหมายของการจัดการเรยี นรู้ ไวด้ ังนี้
วชิ ัย ประสทิ ธว์ ุฒิเวชช์ (2542) ได้กล่าวว่า การจัดการเรยี นรู้เปน็ กระบวนการที่มีระบบระเบียบครอบคลุม

การดำเนนิ การ ตั้งแตก่ ารวางแผน การจัดการเรียนรู้ จนถงึ การประเมนิ ผล
สุวิทย์ มูลคำ (2549) ได้ให้ความหมายของ การจัดการเรียนรู้ ไว้ว่า สภาพการเรียนรู้ที่กำหนดข้ึน

เพื่อนำผู้เรียนไปสู่เป้าหมายหรือจุดประสงค์การเรียนการสอนที่กำหนด ซึ่งหมายความรวมถึงรูปแบบการสอน
วิธีสอน และเทคนคิ การสอน

กระทรวงศึกษาธิการ (2551) ได้ให้ความหมายการจัดการเรียนรู้ไว้ว่า เป็นกระบวนการสำคัญในการนำ
หลักสูตรสู่การปฏิบัติ หรือหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐานเป็นหลักสูตรท่ีมีมาตรฐานการเรียนรู้ สมรรถนะ
สำคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน เป็นเป้าหมายสำหรับพัฒนาเด็กและเยาวชน ในการพัฒนาผู้เรยี น
ให้มีคุณสมบัติตามเป้าหมายหลักสูตร ผู้สอนพยายามคัดสรรกระบวนการเรียนรู้ จัดการเรียนรู้โดยช่วยให้ผู้เรียน
เรียนรู้ผ่านสาระท่ีกำหนดไว้ในหลักสตู ร 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้รวมทัง้ ปลูกฝังเสริมสร้างคุณลักษณะอันพึงประสงค์
พฒั นาทกั ษะตา่ ง ๆ อันเปน็ สมรรถนะสำคัญให้ผเู้ รียนบรรลตุ ามเปา้ หมาย

Hough and Duncan (1970) ได้ให้ความหมายของการจัดการเรียนรู้ว่า หมายถึง กิจกรรมที่บุคคลได้ใช้
ความรู้ของตนเองอย่างสร้างสรรค์เพื่อสนับสนุนให้ผู้อื่นเกิดการเรียนรู้ และมีความสุข การจัดการเรียนรู้จึงเป็น
กจิ กรรมในแงม่ มุ ตา่ ง ๆ 4 ด้านดงั น้ี (1) ด้านหลกั สตู ร หมายถงึ การศึกษาถงึ จุดมงุ่ หมายของการเรียน มีความเข้าใจ
ในจุดประสงค์รายวิชา และการตั้งจุดประสงค์การเรียนรู้ที่ชัดเจนและเลือกเนื้อหาได้เหมาะสมกับท้องถ่ิน
(2) การจัดการเรียนรู้ หมายถึง การเลือกวิธีสอนและวิธีจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมเพื่อช่วยให้ผู้เรียนบรรลุ
ตามจุดประสงค์การเรยี นรู้ทีว่ างไว้ (3) การวัดผล หมายถงึ การเลือกวิธวี ดั ผลท่ีเหมาะสมและและสามารถวิเคราะห์
ผลได้ และ (4) การประเมินผลการจัดการเรียนรู้ หมายถงึ ความสามารถในการประเมนิ ผลหลงั การจดั การเรียนรู้

Hills (1982) ได้ให้ความหมายของการจัดการเรียนรู้ว่า หมายถึง กระบวนการให้การศึกษาแก่ผู้เรียน
ซง่ึ จะตอ้ งอาศัยปฏสิ ัมพันธร์ ะหวา่ งผู้สอนกบั ผ้เู รยี น

สรุปได้ว่า การจัดการเรียนรู้หมายถึง สภาพการเรียนรู้ที่กำหนดขึ้นเพื่อให้ผู้เรียนไปสู่เป้าหมาย
หรอื จุดประสงค์การเรียนการสอนที่กำหนดไว้มีการวางแผนการจัดการเรียนรู้จนถึงการประเมินผล ซง่ึ ในการจัดการ
เรียนรูม้ ีความสัมพนั ธ์และมีปฏิสัมพันธเ์ กิดขึ้นระหว่างผสู้ อนกับผู้เรียน ผเู้ รียนกับผเู้ รียน ผู้เรยี นกับสงิ่ แวดล้อม และ
ผู้สอนกับสิ่งแวดล้อม ซึ่งความสัมพันธ์และการมีปฏิสัมพันธ์ก่อให้เกิดการเรียนรู้และประสบการณ์ใหม่ที่ผู้เรียน
สามารถนำประสบการณใ์ หมน่ นั้ ไปใชไ้ ด้

10

1.2 ความหมาย หลักการ และรปู แบบในการจัดการเรยี นรู้
กระทรวงศึกษาธิการ (2551) ได้ให้หลักการในการจัดการเรียนรู้ว่าต้องให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถ

ตามมาตรฐานการเรียนรู้ สมรรถนะสำคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่กำหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลาง
การศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน โดยยึดหลักวา่ ผูเ้ รียนมีความสำคญั ที่สุด เชอ่ื ว่าทกุ คนมคี วามสามารถเรยี นรู้และพัฒนาตนเอง
ได้ ยึดประโยชน์ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน กระบวนการจัดการเรียนรู้ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติ
และเต็มตามศักยภาพ คำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทางสมอง เน้นให้ความสำคัญทั้งความรู้
และคณุ ธรรม

จากหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานพุทธศักราช 2551 ได้ให้หลักการท่ีสำคัญในการจัดการเรยี นรู้
ไว้ ดังนี้

1. การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เป็นการจัดการเรียนรู้ที่ยึดหลักการว่าผู้เรียนทุกคนสามารถ
เรียนรู้ได้โดยการจัดวิธีการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับความสามารถของผู้เรียนแต่ละคนให้สามารถพัฒนาตนเองได้
การจัดการเรียนรู้ควรเป็นสิ่งที่มีความหมายต่อผู้เรียน ให้ผู้เรียนมีความสุขในการเรียนรู้ ได้ลงมือศึกษาค้นคว้า
คิดแก้ปัญหาและปฏิบัติงานเพื่อสร้างความรู้ได้ด้วยตนเอง โดยมีครูผู้สอนเป็นผู้ส่งเสริมสนับสนุนจัดสถานการณ์
ให้เอือ้ ตอ่ การเรียนรู้

2. การจัดการเรียนรู้ที่คำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล เป็นการให้ความสำคัญของความแตกต่าง
ระหว่างผู้เรียนเพื่อวางรากฐานชีวิตให้เจริญงอกงามอย่างสมบูรณ์ มีพัฒนาการสมวัยอย่างสมดุล ทั้งด้านร่างกาย
อารมณ์ จติ ใจ สังคม และสตปิ ัญญา การจดั การเรยี นรตู้ ้องส่งเสรมิ ให้ผเู้ รยี นไดค้ ้นพบและแสดงออกถึงศักยภาพของ
ตนเอง ครูผู้สอนจึงควรมีข้อมูลผู้เรียนเป็นรายบุคคลสำหรับใช้ในการวางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และ
นำไปพัฒนาผ้เู รยี นให้เหมาะสมกับความแตกตา่ งของผ้เู รียน

3. การจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับพัฒนาการทางสมอง เป็นการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ที่มุ่งเนน้ ให้ผู้เรยี น
ได้รับการพัฒนาได้อย่างเหมาะสมกับการทำงานของสมอง การเชื่อมโยงวงจรสมองพัฒนาการทางอารมณ์ ซึ่งจะ
ส่งผลให้ผู้เรียนมีจินตนาการ ความคิดสร้างสรรค์ ทำงาน และอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข โดยใช้ประสบการณ์
ตรงด้านร่างกายที่เป็นรูปธรรม ข้อเท็จจริงและทักษะด้านต่าง ๆ ที่ปรากฏในชีวิตจริงตามธรรมชาติเป็นเครื่องมือ
ในการจดั การเรียนร้ใู ห้สอดคลอ้ งกบั พัฒนาการทางสมอง

4. การจัดการเรียนรู้ที่เน้นด้านคุณธรรม จริยธรรม เป็นการจัดการเรียนรู้ที่บูรณาการคุณธรรมจริยธรรม
ไดร้ ับรู้ เกิดการยอมรบั เห็นคุณคา่ และพัฒนาอยา่ งตอ่ เน่อื งจนเปน็ ลกั ษณะนสิ ยั ทดี่ ี

สรุปหลักการในการจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถตามมาตรฐานการเรียนรู้ สมรรถนะ
สำคัญและคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ตามท่ีกำหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551
โดยยึดหลกั วา่ ผูเ้ รยี นมีความสำคัญทส่ี ุด และเช่ือว่าทกุ คนสามารถเรียนรู้และพฒั นาตนเองได้ โดยยดึ ประโยชนท์ ีเ่ กิด

11

ข้ึนกบั ผเู้ รียน ในกระบวนการจัดการเรยี นรู้ต้องสง่ เสริมให้ผเู้ รียนสามารถพัฒนาตนเองไดเ้ ต็มตามศกั ยภาพ คำนึงถึง
ความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คลและพัฒนาการทางสมอง เนน้ ใหค้ วามสำคญั ทั้งความรู้และคุณธรรมจริยธรรม

1.3 ความสำคัญในการจดั การเรียนรู้
ยพุ ิน ศิริพละ (2537, อา้ งถึงใน ประกาศติ อานุภาพ แสนยากร, 2555) ไดร้ ะบถุ ึงความสำคัญใน

การจัดการเรียนรู้ว่าเป็นกระบวนการพัฒนาผู้เรียนที่สอดคล้องกับความสนใจของผู้เรียน เพื่อพัฒนาผู้เรียนท้ัง
ทางด้านร่างกาย อารมณ์และสังคม การจัดการเรียนรู้และการเรียนรู้มีความสัมพันธ์กันการจัดการเรียนรู้มี
ความสำคญั ดังน้ี

1. การจดั การเรียนรู้ช่วยให้ผู้เรียนเปล่ียนแปลงพฤติกรรมได้เร็วขึ้น จุดมงุ่ หมายของการจัดการเรียนรู้
มงุ่ เนน้ ใหเ้ กิดการเปลย่ี นแปลงพฤติกรรมในตัวผู้เรยี น 3 ประการ คอื ความรู้ ทักษะ และเจตคติ ดังน้ัน ในการสอน
ของผู้สอนที่มีการวางแผนไว้อย่างมีเป้าหมาย ย่อมจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมได้อย่างรวดเร็ว
และมปี ระสทิ ธิภาพ

2. การจัดการเรียนรู้ช่วยให้จุดมุ่งหมายการจัดการศึกษาบรรลุผล จุดมุ่งหมายของการจัดการศึกษา
ต้องการให้ผู้เรียนเป็นคนเก่ง คนดีและมีความสุข ดังนัน้ ในการสอนจงึ ตอ้ งใช้วิธกี ารสอนหลายรปู แบบผสมผสานกัน
ใช้เทคนคิ การสอน และใชจ้ ติ วิทยาเพอ่ื ชว่ ยใหก้ ารเรียนการสอนบรรลุจุดม่งุ หมายของการจัดการศึกษา

3. การจัดการเรียนรู้ช่วยพัฒนาหลักสูตร การจัดการเรียนรู้เป็นขั้นตอนส ำคัญขั้นหนึ่ง
ของกระบวนการพัฒนาหลักสูตร คือ ในขั้นการนำไปใช้ ดังนั้น การเปลี่ยนแปลงหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ท่ี
สำคัญที่สุด คือ การเปลี่ยนแปลงตัวผู้สอนจากเป็นผู้สอนมาเป็นผู้ชี้นำผู้เรียนให้เป็นคนดี เข้าถึงองค์ความรู้
มีความสามารถในการคิด นำความรู้มาแก้ปัญหา เมื่อพฤติกรรมการสอนของผู้สอนและพฤติกรรมการเรียนของ
ผเู้ รยี นเปล่ยี นก็นบั ไดว้ ่าการเรียนการสอนได้ชว่ ยพัฒนาหลักสูตร

4. การจัดการเรียนรู้เป็นการสร้างแบบอย่างให้กับผู้เรียนในการคิดการทำ ผู้สอนมีอิทธิพลต่อ
พฤติกรรมของผู้เรียนเป็นอย่างมากทั้งด้านวาจา ความคิด บุคลิกภาพและความประพฤติ การกระทำของผู้สอน
จะอยู่ในสายตาผู้เรียนตลอดเวลา ผู้เรียนจะเลียนแบบผู้สอนโดยไม่รู้สึกตัว ดังนั้น ผู้สอนจึงต้องพัฒนาตนเอง
อยู่เสมอเพื่อให้ลูกศิษย์ซึมซับสิ่งที่ดีจากตัวผู้สอน เช่น การตรงต่อเวลา การพูดจาชัดเจน การแสดงความคิดเห็น
ท่ตี รงไปตรงมา สุภาพเรียบรอ้ ย เปน็ ต้น

5. การจัดการเรียนรู้เป็นการเสริมสรา้ งความรู้ ผู้สอนเป็นผู้ช้ีนำหรือแนะแนวทางให้ผู้เรียนได้ค้นคว้า
หาความรโู้ ดยการสังเกต สำรวจ ทดลอง วิเคราะหจ์ นพบคำตอบ ซงึ่ เป็นวิธีการให้ผูเ้ รียนสรา้ งความรู้ดว้ ยตนเอง

6. การจัดการเรียนรู้พัฒนาความเป็นมนุษย์ทุกด้าน พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
ได้เน้นให้การจัดการเรียนรู้ต้องพัฒนาคุณภาพมนุษย์ทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา คุณธรรม
จริยธรรม วัฒนธรรม ค่านิยม การประพฤติปฏิบัติ ฯลฯ เพื่อพัฒนาบุคคลให้เป็น “มนุษย์ที่สมบูรณ์” โดยคาดหวัง
วา่ คนท่ีมคี ณุ ภาพน้ีจะทำใหส้ ังคมมคี วามมัน่ คง สงบสุข มีความเทา่ เทียมกัน เจรญิ ก้าวหนา้ ทันโลก แขง่ ขันกับสังคม

12

อื่นในเวทีระหว่างประเทศได้ คนในสังคมมีความสุขมีงานทำ รวมถึงสามารถประกอบอาชีพการงาน
อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ

มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั วไลยอลงกรณ์ (2557) ได้ใหร้ ะบุความสำคญั ของการจัดการเรยี นรวู้ ่า
เปรียบเสมือนเครื่องมือที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนรักการเรียน ตั้งใจเรียน และ เกิดการเรียนรู้ขึ้น การเรียนของผู้เรียน
จะไปส่จู ุดหมายปลายทาง คอื ความสำเร็จในชวี ติ หรือไม่ เพยี งใดนน้ั ย่อมขึ้นอยู่กบั การจัดการเรียนรู้ท่ีดีของผู้สอน
หรือผูส้ อนด้วยเช่นกนั หากผสู้ อนรู้จัก เลอื กใชว้ ิธกี ารจัดการเรยี นรู้ท่ีดแี ละเหมาะสมแล้วย่อมจะมีผลดีต่อการเรียน
ของผูเ้ รียนดังนีค้ อื 1) มีความร้แู ละความเข้าใจในเนอ้ื หาวชิ า หรือกจิ กรรมท่ีเรยี นรู้ 2) เกิดทกั ษะหรอื มคี วามชำนาญ
ในเนื้อหาวิชา หรือกิจกรรมที่เรียนรู้ 3) เกิดทัศนคติที่ดีต่อสิ่งที่เรียน 4) สามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ใน
ชีวติ ประจำวันได้ 5) สามารถนำความรูไ้ ปศึกษาหาความร้เู พ่มิ เติมต่อไปอีกได้

อนงึ่ การท่ีผู้สอนจะสง่ เสริมใหผ้ ูเ้ รยี นมีความเจริญงอกงามในทกุ ๆ ด้าน ทง้ั ทางดา้ นรา่ งกาย
อารมณ์ สังคม และสติปัญญานั้น การส่งเสริมที่ดีที่สุด ก็คือ การให้การศึกษา ซึ่งจาก ที่กล่าวมาจะเห็นได้ว่า
การจดั การเรียนรเู้ ป็นส่ิงสำคัญในการใหก้ ารศกึ ษาแกผ่ เู้ รียนเปน็ อยา่ งมาก

1.4 รูปแบบการจดั การเรยี นรู้
มีนักวิชาการทางการศกึ ษาไดใ้ ห้ความหมายของรปู แบบการสอนหรอื รปู แบบการจัดการเรยี นรู้ หรอื

รูปแบบการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน ไวด้ งั น้ี
กาญจนา คณุ ารักษ์ (2543) ไดก้ ลา่ วว่ารูปแบบการสอน หมายถงึ แผนแสดงการเรียนการสอน

สำหรับนำไปใช้สอนในห้องเรียน เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามจุดมุ่งหมายทีก่ ำหนดไว้ให้มากที่สุด แผนดังกลา่ ว
จะแสดงถึงลำดับความสอดคล้องกันภายใต้หลักการของแนวคิดพื้นฐานเดียวกันองค์ประกอบทั้งหลายได้แก่
หลกั การ จุดมงุ่ หมาย เน้อื หา และทกั ษะท่ีต้องการสอน ยทุ ธศาสตรก์ ารสอนวิธีการสอน กระบวนการสอน ข้ันตอน
และกจิ กรรรมการสอนและการวัดและประเมินผล

ประภาพรรณ เอี่ยมสุภาษิต (2554) ได้ให้ความหมายของรูปแบบการสอน/รูปแบบการเรียน
การสอน คือ แบบแผนการดำเนินการสอนที่ได้รับการจัดเป็นระบบ อย่างสัมพันธ์สอดคล้องกับทฤษฎี/หลักการ
เรียนรู้หรือการสอนที่รูปแบบนั้นยึดถือ และได้รับการพิสูจน์ ทดสอบว่ามีประสิทธิภาพสามารถช่วยให้ผู้เรียน
เกิดการเรียนรู้ตามจุดมุ่งหมายเฉพาะของรูปแบบนั้น ๆ โดยทั่วไปแบบแผนการดำเนินการสอนดังกล่าว
มักประกอบด้วย ทฤษฎี/หลักการท่ีรูปแบบนั้นยึดถือและกระบวนการสอนที่มีลักษณะเฉพาะอันจะนำผู้เรียนไปสู่
จุดมุ่งหมายเฉพาะที่รูปแบบนั้นกำหนด ซึ่งผู้สอนสามารถนำไปใช้เป็นแบบแผนหรือแบบอย่าง
ในการจัดและดำเนินการสอนอื่น ๆ ท่ีมีจดุ มงุ่ หมายเฉพาะเชน่ เดยี วกนั ได้

ทิศนา แขมมณี (2555) ได้ให้ความหมายของรูปแบบการเรียนการสอน คือ สภาพของลักษณะ
ของการเรียนการสอนที่ครอบคลุมองค์ประกอบสำคัญซึ่งได้รับการจัดไว้อย่างเป็นระเบยี บตามหลักปรัชญา ทฤษฎี
หลักการ แนวคิดหรอื ความเชือ่ ตา่ ง ๆ โดยประกอบด้วยกระบวนการหรือขัน้ ตอนสำคญั ในการเรียนการสอน รวมท้งั

13

วิธีสอนและเทคนิคการสอนต่าง ๆ ที่สามารถช่วยให้สภาพการเรียนการสอนนั้นเป็นไปตามทฤษฎี หลักการ
หรือแนวคดิ ทยี่ ึดถอื รูปแบบจะตอ้ งได้รับการพิสจู น์ ทดสอบ หรือยอมรับวา่ มปี ระสิทธิภาพสามารถใช้เป็นแบบแผน
ในการเรยี นการสอนให้บรรลวุ ตั ถุประสงค์เฉพาะของรปู แบบน้นั ๆ

ประกาศิต อานุภาพแสนยากร (2555) ได้ให้ความหมายว่า รูปแบบการจัดการเรียนรู้ หมายถึง
แบบแผนของการจัดการเรียนการสอนทจี่ ัดข้ึนอยา่ งเป็นระบบสมั พันธส์ อดคล้องกับทฤษฎี หลักการเรียนรู้ แนวคิด
หรือความเชื่อต่าง ๆ ที่รูปแบบนั้นยึดถือและได้รับการพิสูจน์ทดสอบว่ามีประสิทธิภาพ สามารถช่วยให้ผู้เรียน
เกดิ การเรยี นรตู้ ามจดุ มุง่ หมายเฉพาะของรูปแบบนั้นๆ ซงึ่ รูปแบบการจัดการเรียนรมู้ ักประกอบดว้ ย ปรชั ญา ทฤษฎี
หลกั การ แนวคดิ หรือความเช่ือท่ีเปน็ พ้ืนฐานหรือเป็นหลักของรูปแบบการจัดการเรียนรู้น้ัน ๆ มีจุดมุ่งหมายสำคัญ
เฉพาะรูปแบบนั้น มีการบรรยายกระบวนการหรือขั้นตอนสำคัญ และอธิบายสภาพหรือลักษณะของ
การจัดการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับหลักการที่ยึดถือหรือให้ข้อมูลเกี่ยวกับวิธีสอนและเทคนิคการสอนต่าง ๆ
อันจะช่วยให้กระบวนการเรียนการสอนนั้น ๆ เกิดประสิทธิภาพสูง ซึ่งผู้สอนสามารถนำไปใช้เป็นแบบแผน
หรอื แบบอย่างในการดำเนินการเสนอท่ีมีจุดมงุ่ หมายเฉพาะตามทรี่ ปู แบบนั้นยดึ ถือได้

สรุปได้ว่า รูปแบบการสอน คือ สภาพของการจัดการเรียนการสอนซึ่งได้รับการจัดไว้
อย่างเป็นระเบียบ ตามหลักปรัชญา ทฤษฎี หลักการ แนวคิดหรือความเชื่อต่าง ๆ โดยประกอบด้วยกระบวนการ
หรือขั้นตอนสำคัญในการเรียนการสอน รวมทั้งวิธีสอนและเทคนิคการสอนต่าง ๆ ที่ช่วยให้นักเรียน
บรรลุวตั ถปุ ระสงคต์ ามทร่ี ูปแบบนนั้ ๆ

1.5 รปู แบบการจดั การเรยี นรู้แบบต่าง ๆ
รูปแบบการจดั การเรียนรูห้ รือรปู แบบการสอนเป็นสงิ่ ทีผ่ ้สู อนควรต้องศึกษาเรยี นรู้ เพ่ือปรบั ใช้

สำหรับการเรยี นการสอนในสถานการณ์ต่าง ๆ เพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้ เพือ่ ให้ทันกับโลกยุคโลกาภิวัฒน์
ผู้สอนจำเป็นต้องมคี วามรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั รูปแบบการจดั การเรยี นรู้แบบตา่ ง ๆ สามารถนำไปใชใ้ หส้ อดคล้องกับ
จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ และเหมาะสมกับความรคู้ วามสามารถของผ้เู รียนนักวิชาการการศึกษาได้จดั แบง่ รูปแบบการ
จัดการเรยี นรู้ ไวม้ ดี ังนี้

ไสว ฟักขาว (2561) ได้ยกตัวอยา่ งรูปแบบการจัดการเรยี นร้ทู ี่ชว่ ยส่งเสรมิ ทักษะในศตวรรษท่ี 21
ที่ผู้สอนควรศึกษา ทำความเข้าใจ และนำมาประยุกต์ในการจัดการเรียนรู้ในวิชาที่รับผิดชอบ ได้แก่ รูปแบบ
การจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน (Project - Based Learning) รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้
(Inquiry - Based Learning) รูปแบบการจดั การเรียนรู้แบบรว่ มมือ (Cooperative Learning) รปู แบบการจัดการ
เรียนรู้แบบบูรณาการ (Integrative Learning) รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบสัมมนาของโสเครติส (Socratic
Seminar)

ทศิ นา แขมมณี (2555) กลา่ วว่า รปู แบบการเรียนการสอนทีเ่ ปน็ สากลซ่ึงไดร้ ับการพิสจู น์ทดสอบ
ประสิทธิภาพมาแล้วและมีผู้นิยมนำไปใช้ในการเรียนการสอนโดยทั่วไป มีมากมายหลายรูปแบบ และสามารถ

14

จัดหมวดหมู่ของรูปแบบการสอนเหล่านั้นตามลักษณะของวัตถุประสงค์เฉพาะหรือเจตนารมณ์ของรูปแบบ
ซงึ่ สามารถจัดกล่มุ ไดเ้ ปน็ 5 หมวดดงั นี้

1) รปู แบบการเรียนการสอนที่เน้นการพฒั นาด้านพุทธิพสิ ยั (Cognitive Domain)
2) รูปแบบการเรยี นการสอนท่ีเนน้ การพัฒนาดา้ นจิตพิสัย (Affective Domain)
3) รูปแบบการเรียนการสอนทเ่ี น้นการพฒั นาดา้ นทักษะพิสัย (Psychomotor Domain)
4) รูปแบบการเรยี นการสอนทเ่ี นน้ การพัฒนาทักษะกระบวนการ (Process Skills)
5) รูปแบบการเรยี นการสอนทเ่ี นน้ การบูรณาการ (Integration)
โดยแต่ละรูปแบบมีรายละเอยี ดประกอบ ดังนี้
1) รูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นการพัฒนาด้านพุทธิพิสัย (cognitive domain) รูปแบบการเรียน
การสอนหมวดนี้ เป็นรูปแบบการเรียนการสอนที่มุ่งช่วยให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข้าใจในสาระต่าง ๆ ซึ่งเนื้อหา
สาระนั้นอาจอยู่ในรูปของข้อมูล ข้อเท็จจริง มโนทัศน์ หรือความคิดรวบยอด รูปแบบที่คัดเลือกมานำเสนอ
มี 5 รูปแบบดังน้ี

1.1 รปู แบบการเรยี นการสอนมโนทศั น์
1.2 รูปแบบการเรยี นการสอนตามแนวคิดกานเย
1.3 รูปแบบการเรยี นการสอนโดยการนำเสนอมโนทัศนก์ ว้างล่วงหน้า
1.4 รปู แบบการเรยี นการสอนเน้นความจำ
1.5 รูปแบบการเรียนการสอนโดยใชผ้ งั กราฟิก
2) รูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นการพัฒนาด้านจิตพิสัย (Affective Domain) รูปแบบการเรียน
การสอนหมวดนี้ เป็นรูปแบบที่มุ่งช่วยพัฒนาผู้เรียนให้เกิดความรู้สึก เจตคติ ค่านิยม คุณธรรมและจริยธรรม
ที่พึงประสงค์ ซึ่งเป็นเรื่องยากแก่การพัฒนาหรือปลูกฝัง การจัดการเรียนการสอนตามรูปแบบการสอน
ที่เพียงช่วยให้เกิดความรู้ความเข้าใจ มักไม่เพียงพอต่อการช่วยให้ผู้เรี ยนเกิดเจตคติที่ดีได้จำเป็น
ต้องอาศัยหลักการหรือวิธีการอ่นื ๆ เพิ่มเตมิ รูปแบบท่คี ดั เลอื กมานำเสนอมี 3 รูปแบบดงั น้ี
2.1 รปู แบบการเรยี นการสอนตามแนวคิดการพัฒนาด้านจิตพสิ ยั ของบลมู
2.2 รูปแบบการเรยี นการสอนโดยการซักค้าน
2.3 รปู แบบการเรยี นการสอนโดยใชบ้ ทบาทสมมติ
3) รูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นการพัฒนาด้านทักษะพิสัย ( Psycho-motor Domain)
รูปแบบการเรียนการสอนหมวดนี้ เป็นรูปแบบที่มุ่งช่วยพัฒนาความสามารถของผู้เรียนในด้านการปฏิบัติ
การกระทำหรือการแสดงออกตา่ ง ๆ ซง่ึ จำเป็นตอ้ งใชห้ ลักการ วธิ กี าร ทีแ่ ตกตา่ งไปจากการพัฒนาทางด้านจิตพิสัย
หรือพุทธิพสิ ยั รปู แบบทีส่ ามารถชว่ ยใหผ้ ้เู รยี นเกดิ การพัฒนาด้านนีท้ สี่ ำคัญๆ มี 3 รูปแบบดงั นี้
3.1 รูปแบบการเรยี นการสอนตามแนวคิดการพฒั นาทักษะปฏบิ ัตขิ องซิมพซ์ ัน (Simson)

15

3.2 รูปแบบการเรยี นการสอนทักษะปฏิบตั ขิ องแฮร์โรว์ (Harrow)
3.3 รปู แบบการเรยี นการสอนทักษะปฏิบัตขิ องเดวสี ์ (Davies)
4) รูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นการพัฒนาทักษะกระบว นการ ( Process Skills)
ทักษะกระบวนการเป็นทักษะที่เกี่ยวกับวิธีดำเนินการต่าง ๆ ซึ่งอาจเป็นกระบวนการทางสติปัญญา
เช่น กระบวนการสืบสอบแสวงหาความรู้หรือกระบวนการคิดต่าง ๆ อาทิ การคิดวิเคราะห์ การอุปนัย การนิรนัย
การใช้เหตุผล การสืบสอบ การคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และการคิดอย่างมีวิจารณญาณ เป็นต้น
หรอื อาจเป็นกระบวนการทางสงั คม เชน่ กระบวนการทำงานรว่ มกนั เปน็ ตน้ รูปแบบท่ีนำเสนอมี 4 รูปแบบ คอื
4.1 รปู แบบการเรยี นการสอนกระบวนการสบื สอบ และแสวงหาความรูเ้ ป็นกลุม่
4.2 รปู แบบการเรียนการสอนกระบวนการคิดอุปนัย
4.3 รปู แบบการเรยี นการสอนกระบวนการคิดสรา้ งสรรค์
4.4 รูปแบบการเรยี นการสอนกระบวนการคิดแก้ปญั หาอนาคตตามแนวคิดของทอร์แรนซ์
5) รปู แบบการเรยี นการสอนท่ีเน้นการบูรณาการ (Integration) รูปแบบการเรียนการสอนในหมวดนี้
เป็นรูปแบบที่พยายามพัฒนาการเรียนรู้ด้านต่างๆ ของผู้เรียนไปพร้อมๆ กัน โดยใช้การบูรณาการ
ทั้งทางด้านเนื้อหาสาระและวิธีการ รูปแบบในลักษณะนี้ได้รับความนิยมมากเพราะมีความสอดคล้อง
กับทฤษฎีทางการศึกษาที่มุ่งเน้นการพัฒนารอบด้าน หรือการพัฒนาเป็นองค์รวม รูปแบบในลักษณะ
ดงั กลา่ วทีน่ ำเสนอมี 4 รูปแบบใหญๆ่ คือ
5.1 รูปแบบการเรยี นการสอนทางตรง
5.2 รูปแบบการเรียนการสอนโดยการสรา้ งเร่อื ง
5.3 รปู แบบการเรยี นการสอนตามวัฏจกั รการเรียนรู้ 4 MAT
5.4 รูปแบบการเรียนการสอนของการเรียนรู้แบบร่วมมือ ได้แก่ รูปแบบจิ๊กซอร์ (JIGSAW)
รูปแบบเอส. ที. เอ. ดี. (STAD) รูปแบบ ที. เอ. ไอ. (TAI) รูปแบบ ที. จี. ที. (TGT) รูปแบบ แอล. ที. (LT)
รูปแบบ จ.ี ไอ. (GI) รูปแบบ ซ.ี ไอ. อาร์. ซี. (CIRC) รปู แบบคอมเพล็กซ์ (Complex Instruction)
Joyce and Weil (1988, อ้างถึงใน ประภาพรรณ เอี่ยมสุภาษิต , 2554, น.2-25) จัดกลุ่ม
รูปแบบการสอนออกเป็น 4 กลุ่มโดยใช้คุณลักษณะที่ต้องการให้เกิดกับผู้เรียนเป็นเกณฑ์ โดยจัดเป็น
กลุ่มรูปแบบการสอนเป็น 4 กลุ่มดงั นี้
1) รูปแบบการสอนท่มี ุ่งพัฒนาปฏิสมั พันธท์ างสงั คม
2) รูปแบบการสอนที่มงุ่ พฒั นากระบวนการคดิ
3) รูปแบบการสอนทมี่ ุ่งพฒั นาบุคลิกภาพ
4) รปู แบบการสอนท่มี งุ่ พัฒนาพฤติกรรม

16

1.6 แนวคิดและหลกั การเกย่ี วกับการจัดการเรยี นรู้ในสถานการณเ์ ร่งดว่ นหรอื สถานการณว์ กิ ฤติ
ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงในสถานการณ์ที่ไม่คาดคิดที่จะเกิดขึ้นในสถานศึกษา สถานการณ์เหล่าน้ี
อาจเกิดจากพฤติกรรมของนักเรียนที่ก่อให้เกิดอุบัติเหตุทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน หรืออาจเกิดจากภัยพิบัติ
ต่าง ๆที่ไม่คาดคิดว่าจะเกิดขึ้น ปัจจุบันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ส่งผลให้สถาบันการศึกษาใน
ประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกได้ปิดทำการลงชั่วคราวเพื่อป้องกนั การแพร่ระบาดของโรคซึ่งการปิดสถานศึกษาดงั กล่าวได้
ส่งผลกระทบต่อนักเรียน ร้อยละ 60 ทั่วโลก (UNESCO, 2020) ซึ่งการเกิดเหตุการณ์ที่ไม่คาดคิด
จนก่อให้เกิดสถานการณ์วิกฤติจำเป็นอย่างยิ่งที่สถานศึกษาจะต้องมีมาตรการในการเตรียมความพร้อม
เพอื่ รองรบั สถานการณท์ ่ีไม่อาจคาดเดาได้

1.6.1 การเตรยี มความพรอ้ มสำหรับเหตกุ ารณ์ท่ีไม่คาดคิด
สถานการณ์ที่ไม่คาดคิดว่าจะเกิดขึ้นในโรงเรียนส่งผลให้เกิดปัญหาทั้งทางด้านร่างกาย
และทางด้านจิตใจของนักเรียน CS & A International (2019) กล่าวว่า สถานการณ์ที่ไม่คาดคิดที่ก่อให้เกิดวิกฤติ
นั้นจะมีปัจจัยสำคัญที่ขึ้นอยู่กับ 3 เสาหลัก (Three pillars) ประกอบด้วย 1) กระบวนการจัดการที่มีคุณภาพ
และผ่านการทดสอบว่าใช้ได้จริง 2) สมรรถนะของบุคลากรหรือทีมบุคลากร และ 3) การตัดสินใจในระดับบริหาร
ที่มีจากฐานของประสบการณ์ที่พบเจอ ทั้ง 3 ประการนี้จะต้องทำงานแบบสอดประสานเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่สมดุล
และลดความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่ง Lichtenstein, Schonfeld and Kline (1994)
ได้กล่าวว่า การป้องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้นจะต้องพิจารณาทั้ง 2 ส่วนไปพร้อม ๆ กันทั้งการเตรียมการการป้องกัน
และการดูแลในสถานการณ์วิกฤติ ซึ่ง Lichtenstein et al. (1994) ได้เสนอรูปแบบการป้องกันและดูแล
ในสถานการณ์วิกฤติโดยการกำหนดแผนและแนวทางเป็นระดับ 3 ระดับ ตั้งแต่ระดับกระทรวง/ภาค
ระดับเขตพ้ืนท่ี และระดบั ของโรงเรยี นดงั นี้

1. ทีมทำงานแก้วกิ ฤติระดบั กระทรวง/ระดับภาค ประกอบดว้ ย ผู้แทนจากระดับเขตพ้ืนท่ีและ
ผู้เช่ียวชาญในแต่ละสาขาภายนอกโรงเรียน

2. ทมี ทำงานแก้วกิ ฤติระดับเขตพ้นื ท่ี ประกอบด้วย ผบู้ รหิ ารและภาคส่วนที่มีความรับผิดชอบ
สำหรบั การแกไ้ ขปัญหาวกิ ฤติซ่ึงจะต้อง
2.1 เป็นผู้กำหนดแนวทางโดยประยุกต์นโยบายและคำแนะนำที่ได้รับจากทีมทำงานแก้
วกิ ฤตริ ะดับกระทรวง/ระดบั ภาค
2.2 พัฒนาทมี งานในระดบั เขตพืน้ ท่ีให้มสี มรรถภาพเพยี งพอในการแก้ไขปัญหา
2.3 จัดตง้ั คณะทำงานระดับโรงเรยี นทีม่ คี วามสามารถ
2.4 สร้างความสัมพันธ์ระหว่างทีมทำงานแก้วิกฤติระดับเขตพื้นที่และคณะทำงานระดับ
โรงเรียน

17

2.5 ติดต่อประสานงานเพื่อมอบหมายภารกิจให้กับโรงเรียนและชุมชนท่ามกลางปัญหา
วกิ ฤตทิ เี่ กิดขน้ึ

3. ทีมทำงานแก้วิกฤติระดับโรงเรียน ถือเป็นความรับผิดชอบสูงสุดของโรงเรียนในการนำ
แผนการจัดการในภาวะวิกฤติไปปฏิบัติเพ่ือแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น ผู้บริหารโรงเรียนจะต้องมี
หน้าที่ในการคัดสรรคนทีม่ ีความสามารถในการกำหนดทศิ ทางและสนบั สนนุ ให้บุคลากรใน
โรงเรียนรวมทัง้ ชุมชนแก้ไขปัญหาวิกฤติไปด้วยกัน ซึ่งทีมทำงานแก้วิกฤตริ ะดับโรงเรียนจะ
มบี ทบาทสำคญั ในการประสานการให้คำแนะนำ การเตรยี มการกับสื่อ การติดตอ่ สื่อสารกับ
บุคลากรในโรงเรยี นและชุมชน และอาจมีการวางแผนการควบคุมมวลชนในบางกรณีที่เกิด
วิกฤติร้ายแรง โดยทีมทำงานแก้วิกฤติระดับโรงเรียนควรมีการกำหนดขั้นตอนในการ
วางแผนและการเตรยี มการสำหรับสถานการณว์ ิกฤตดิ ังนี้
3.1 การกำหนดทมี ทำงานแกว้ ิกฤตริ ะดบั โรงเรียน
3.2 การอบรมสมรรถนะของสมาชิกของทมี ทำงานแกว้ กิ ฤติระดับโรงเรียน
3.3 การกำหนดแผนการแก้ไขปัญหาวิกฤติซ่ึงเก่ียวข้องกับ การกำหนดความรับผิดชอบของ
ทีมบรหิ ารในสภาวะวิกฤติ การกำหนดการติดต่อประสานงานท่รี วดเร็วแก่ทีมทำงานแก้
วิกฤติ การจัดทำทะเบียนรายชื่อบุคลากรที่ได้รับการอบรมในแต่ละด้านมาโดยเฉพาะ
เช่น การทำ CPR, การปฐมพยาบาลเบ้อื งต้น นักจิตวิทยา ฯลฯ การกำหนดขน้ั ตอนและ
รายละเอียดในแต่ละสถานการณ์วิกฤตเิ ช่น เสน้ ทางการหนภี ัย ฯลฯ
3.3.5 การกำหนดแบบฟอร์มจดหมายในการตดิ ต่อประสานงานกบั ผปู้ กครองในกรณีวิกฤติ
3.4 การทบทวนแผนงานการแกป้ ญั หาวิกฤติอยา่ งสม่ำเสมอ
3.5 การตรวจสอบอุปกรณฉ์ กุ เฉินใหพ้ ร้อมใชง้ านได้ตลอดเวลา

1.6.2 ความสำคัญของการเตรียมการป้องกัน
ระบบของการรับมือกับสถานการณ์วิกฤติที่ดีไม่ใช่เพียงแค่การจัดท ำระบบในเชิงรุกเท่านั้นแต่ควรมี
จุดเน้นที่เน้นการป้องกัน สำหรับการเตรียมการป้องกันสามารถดำเนินการได้ในหลายระดับ ดังนี้ (Lichtenstein
et al., 1994)

1. การเตรียมการในระดับห้องเรียนที่จะรับมือกับสถานการณ์วิกฤติคือ การที่ครูสร้าง
ความสัมพันธ์ที่ดีและความไว้วางใจซึ่งกันและกันกับนักเรียน การให้ข้อมูลที่ถูกต้องและ
เหมาะสมแก่นักเรยี น การปรับหลักสตู รที่เน้นเน้ือหาทจี่ ำเป็น การจัดการความเครียด รวม
ไปถึงการสง่ เสรมิ ความปลอดภัยให้กับนักเรยี น ทง้ั ความปลอดภัยภายในโรงเรียน ภายนอก
โรงเรียน และการให้ความรู้เกี่ยวกับสุขอนามัยที่ดี รวมทั้งการส่งเสริมความไว้วางใจและ
การสนับสนนุ จากชมุ ชน และผู้ปกครองเพอ่ื เตรยี มพร้อมกบั การรับมือในสถานการณ์วกิ ฤติ

18

2. การเตรียมการระดับโรงเรียน คือจะต้องมีการเตรียมการบำรุงรักษาระบบที่มีอยู่อย่าง
ตอ่ เนื่อง ทมี จดั การวกิ ฤติของโรงเรยี นจะต้องทบทวนและปรับปรุงแผนการจดั การวิกฤติทุก
ปีและมีการฝึกขั้นพื้นฐานในการรับมือกับสถานการณ์วิกฤติเช่น การฝึกอบรมเบื้องต้น
การใช้เทคนิคในการให้คำปรึกษาแก่นักเรียนในภาวะวิกฤติการเตรียมวิธีการประสานงาน
ดา้ นการจัดการสุขภาพจิตกับชุมชนและหน่วยงานต่าง ๆ รวมทัง้ การจัดระบบข้อมูลเพ่ือให้
แนใ่ จว่ามกี ารสำรองขอ้ มูลทเ่ี พยี งพอในการจดั การอย่างทันท่วงทีในกรณีทเ่ี กิดภาวะวกิ ฤติ

3. การเตรียมการระดับเขตพื้นที่ ซึ่งจะต้องมีคณะกรรมการระดับพื้นที่และมีการจัดตั้ง
ศูนย์ป้องกันและรับมือกับวิกฤติที่จะเกิดขึ้นกับโรงเรียนในระดับภูมิภาค (Regional
School Crisis Prevention and Response Center) ท่ีมีความรว่ มมอื กันในการให้บริการ
ประเภทต่าง ๆ รวมทั้งเป็นแหล่งข้อมูลสำหรับการประสานงานกับศูนย์ภูมิภาคอื่น ๆ
จะเห็นได้ว่า กลยุทธ์โดยรวมในการรับมือกบั สถานการณ์วิกฤติจะมีลักษณะที่มคี วามสมดุล
ระหว่างการป้องกัน การแทรกแซง และปฏิกิริยาที่จะเกิดขึ้นในสถานการณ์วิกฤติ
ดังนั้นสถานศึกษาและหน่วยงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบจะต้องเตรียมพร้อมส ำหรับ
สิ่งที่ไม่คาดคิดที่อาจะเกิดขึ้นซึ่งเมื่อเกิดวิกฤติขึ้น หน่วยงานทางการศึกษาก็จะพร้อมที่จะ
ให้บริการผู้เรียนอย่างดีที่สุดโดยรับรู้และตอบสนองความต้องการทางจิตใจของนักเรียน
ซึ่งการเตรียมความพร้อมในลักษณะนี้จะช่วยฟื้นฟูความสามารถในการเรียนรู้และ
เพิ่มพนู ทักษะการเผชิญปญั หาและพัฒนาการทางสงั คมให้กับผ้เู รยี นได้เป็นอยา่ งดี

1.6.3 รูปแบบการจดั การวิกฤติในองค์กร
การจัดการวิกฤติเป็นสิ่งที่สำคัญสำหรับการบริหารงานขององค์กร โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำคัญต่อ
การบริหารกลยุทธ์ที่จะทำให้องค์กรประสบความสำเร็จ (Hall, 2006 ; Hermann, 1963) อธิบายว่าการเกิด
สถานการณ์วิกฤติขององค์กรจะเกิดขึ้นต่อเมื่อการที่องค์กรเกิดความกลัว ความสูญเสียต่อทรัพยากรที่มีมูลค่าสูง
ขององค์กร รวมทั้ง การมีเวลาที่จ ากัดในการจัดการสถานการณ์ที่ไม่ปกติ และการเกิดสิ่งที่ไม่คาดคิดกับองค์กร
ในขณะที่ Darling (1994) กล่าวว่า “วิกฤติเปน็ สถานการณ์ลักษณะหน่ึงที่เกิดจากการขาดการวางแผนทีเ่ หมาะสม
และการขาดบคุ ลากรที่มีทักษะและความพร้อมท่ีจะจัดการปัญหาอย่างเพียงพอ” MacNeil and Topping (2007)
ให้ความสำคัญกับการบริหารโรงเรียน โดยกล่าวว่า ผู้บริหารโรงเรียนจำนวนมากขาดทักษะในการป้องกันวิกฤติ
ที่เกิดขึ้น หรือแม้กระทั่งการตัดสินใจสั่งการภายใต้สถานการณ์กดดันในสภาพแวดล้อมที่ขาดแคลนทั้งด้านข้อมูล
เวลา และทรัพยากร จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่องค์กรหรือสถานศึกษาจะต้องมีกระบวนการในการจัดการวิกฤติที่เกิดข้นึ
อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่ง Coombs and Holladay (1996) ได้กล่าวถึงกระบวนการจัดการวิกฤติว่าควร
ประกอบด้วย 4 ขนั้ ตอน ไดแ้ ก่

19

1. การพัฒนาแผนการจัดการวิกฤติ (Critical management plan) สถานศึกษาจะต้องมี
แผนการจัดการวิกฤติโดยคำนึงถึงข้อมูลพื้นฐานที่สำคัญ ความร่วมมือของบุคลากร
ที่เก่ียวข้อง และทรัพยากรทางการบริหารทีเ่ พยี งพอ

2. การพัฒนาทีมจัดการวิกฤติ (Critical management team) สถานศึกษาจะต้องมี
ทีมบุคลากรที่มีสมรรถนะในการจัดการ มีทักษะในการสื่อสาร ทักษะในการสังเกต
รวมถงึ ทกั ษะในการทำงานร่วมกบั ผ้อู ่ืน

3. การจัดการเครือข่ายการสื่อสาร (Communication Network) สถานศึกษาจะต้องมี
การจัดการเครอื ข่ายการส่ือสารทั้งในส่วนของการส่ือสารระหว่างบคุ คล ระหว่างหน่วยงาน
รวมทั้งการสอื่ สารทางเทคโนโลยีทส่ี ำคัญ

4. การฝึกอบรม การประเมินผล และการสะท้อนผล (Training, Evaluation & Feedback)
สถานศึกษาจะต้องมีการพัฒนาบุคลากรโดยการฝึกอบรมทั้งแบบเผชิญหน้า และ
แบบออนไลน์มีการประเมินผลทักษะ การปฏิบัติ และสะท้อนผลการพัฒนาเพื่อการแก้ไข
และปรบั ปรุง

Netolicky (2020) กล่าวว่า ในช่วงสถานการณ์วิกฤติผู้นำต้องดำเนินการอย่างรวดเร็วและ
ด้วยการมองการณ์ไกลในการแก้ไขปัญหาที่เกดิ ขึน้ แต่ยังคงต้องคำนึงถึงทางเลือก ผลที่จะตามมา และผลข้างเคียง
ของการกระทำอยา่ งรอบคอบ

Caplan (1964) ไดก้ ลา่ วถงึ รปู แบบการจดั การวิกฤติ 3 ระดับว่าจะต้องประกอบด้วย
1. การแทรกแซงในระยะขั้นต้น (Primary intervention) ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรม
ในการป้องกันวิกฤติทเ่ี กดิ ขึน้
2. การแทรกแซงในระยะที่ 2 ( Secondary intervention) เป็นการด ำเนินงาน
เพอ่ื ลดผลกระทบและป้องกนั ไม่ให้วกิ ฤติทวีความรนุ แรงข้นึ
3. การแทรกแซงในระยะที่ 3 (Tertiary intervention) เป็นการดำเนินงานเพื่อการติดตาม
ใหค้ วามชว่ ยเหลือผทู้ ่ีประสบภาวะวิกฤตใิ นระยะยาว

Paton (1992) ไดส้ รปุ ถงึ กระบวนการเพ่อื การพฒั นาการจัดการวกิ ฤติท่ีมปี ระสิทธิภาพ ดังนี้
1. ผู้บริหารโรงเรียนจะต้องเป็นผู้รับผิดชอบสำคัญ (Key person) ของกระบวนการจัดการ
วิกฤติ
2. แผนการจัดการวิกฤติจะต้องได้รับการพัฒนาในลักษณะให้ค าปรึกษาและ ร่วมมือ
เพ่ือการนำไปส่กู ารปฏบิ ัติจริง
3. บุคคลและหน่วยงานที่รับผิดชอบในการจัดการวิกฤติจะต้องมีส่วนร่วมในการพัฒนา
แผนการจัดการวิกฤตริ ว่ มกัน

20

4. ตอ้ งมีการจัดสรรทรัพยากรประกอบการดำเนินงานตามแผนการจัดการวิกฤติอย่างเพียงพอ
และเหมาะสม

5. ควรมีการประเมนิ ความเสี่ยงในกระบวนการจัดทำแผนการจดั การวิกฤติ
6. จะตอ้ งมีข้อมลู เหตุการณว์ กิ ฤติท่ีผา่ นมาเพ่ือสนบั สนนุ การจัดทำแผนอย่างเพยี งพอ
7. แผนการจัดการวิกฤติจะต้องมีการระบแุ ละกำหนดภารกจิ และความรบั ผิดชอบของบุคลากร

ในแต่ละตำแหน่งที่รับผิดชอบ รวมไปถึงตำแหน่งของบุคลากรในทุกองค์กรที่เกี่ยวข้อง
เพ่ือการเชือ่ มโยงและการประสานการทำงานรว่ มกัน
8. แผนการจัดการวิกฤติจะต้องตั้งอยู่บนข้อมูลและความคาดหวังที่มีแนวโน้มที่จะสามารถ
ปฏบิ ตั ไิ ด้อย่างแทจ้ รงิ
1.6.4 บทบาทของการจัดการเรียนรแู้ บบ e-Learning ในการจัดการเรยี นรใู้ นสถานการณ์วิกฤต
ความสามารถในการจัดการวิกฤติเป็นความท้าทายสำหรับทุกองค์กร ซึ่งองค์กรส่วนใหญ่จะประสบ
ปัญหากับการปรับเปลี่ยนบุคลากร เช่น การโยกย้าย การบรรจุใหม่ ซึ่งประสบกาณ์ในการทำงานของบุคลากร
ที่แตกต่างกันเป็นปัจจัยหนึ่งของการบริหารการจัดการภายใต้ภาวะวิกฤติซึ่งการพัฒนาหรือการฝึกอบรม
อาจจะไม่ทันการกับสถานการณ์ที่ไม่คาดคิดที่จะเกิดขึ้นในองค์กร และ การฝึกอบรมจะทำได้
ก็ต่อเมื่อองค์กรมีความพร้อมด้านทรัพยากร และต้องพึ่งพาผู้ที่มีความเชี่ยวชาญในเรื่องนั้น ๆ จากภายนอก
ซึ่งอาจมีค่าใช้จ่ายสูง ดังนั้น การจัดการเรียนรู้แบบ e-Learning ท่ามกลางสถานการณ์วิกฤติจึงมีส่วนสำคัญ
ในการจัดการเรียนรู้ในสังคมที่มีการแข่งขันสูงในองค์กรหรือหน่วยงานต่าง ๆ และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง
ท่ามกลางสถานการณ์วิกฤติในแง่ของการศึกษา ประโยชน์สำคัญในการจัดการเรียนรู้โดยใช้ e-Learning
ปรากฏให้เห็นชดั เจนใน 3 ประเดน็ ดงั นี้ (CS & A International, 2019)
1. ความยืดหยุ่น (Flexibility) การจัดการเรียนรู้แบบ e-Learning จะช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้
อย่างไม่จำกดั สถานที่และเวลา หรือ ‘anytime and anywhere learning’
2. ความคงเส้นคงวา (Consistency) การจัดการเรียนรู้แบบ e-Learning จะช่วยใหก้ ารอบรม
หรือการจดั การเรียนรมู้ คี ณุ ภาพและคงเส้นคงวา
3. การจัดการที่ทันสมัย ( Managing updates) เมื่อเกิดเหตุสถานการณ์วิกฤติ
เนื้อหาการจัดการเรียนรู้จะถูกปรับให้ทันสมัยตามไปด้วย โมดูลที่อยู่ในการจัดการเรียนรู้
แบบออนไลน์จะเป็นการจัดการที่รวดเร็ว และมีการจัดการที่คงเส้นคงวา
พรอ้ มในการปฏบิ ตั ิงานอย่เู สมอ
4. ก า ร จ ั ด ก า ร ท ี ่ ม ี ป ร ะ ส ิ ท ธ ิ ผ ล ( Effective management) ส ถ า น ก า ร ณ ์ ว ิ ก ฤ ติ
จะทำให้การจัดการเรยี นรูแ้ บบ e-Learning มีประสิทธิผลเมื่อเทียบกับตน้ ทุนที่ดำเนินการ

21

เนื่องจากผู้เรียนสามารถใช้ระบบนี้ในการฝึกทักษะได้อย่างบ่อยครั้ง จึงประหยัดค่าใช้จ่าย
ในการดำเนนิ การกวา่ ระบบการสอนแบบเดิมทผ่ี ู้สอนจะตอ้ งจดั การเรียนรู้ซ้ำ ๆ
การจัดพัฒนาและฝึกอบรมในองค์กรขนาดใหญ่จะเป็นการนำ e-Learning มาใช้เพื่อเป็นการรักษา
ระดับความรู้ (Knowledge maintain) มากกว่าการคำนึงถึงผลประโยชน์ขององค์กรเป็นสำคัญ รวมท้ัง
ในแง่ของการศึกษา การจัดการเรยี นการสอนแบบ e-Learning ในการจัดการภาวะวิกฤติจะสามารถเป็นส่วนเสรมิ
ที่สำคัญที่มีประโยชน์สำหรับการพัฒนาบุคลากรผู้สอนและผู้เรียน และเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ในการพัฒนา
ความสามารถในการจัดการภาวะวิกฤติการจัดการเรียนรู้แบบ e-Learning ที่จะมีประสิทธิภาพมากที่สุด
จะขึ้นอยู่ว่า การจัดรายวิชาแบบ e-Learning จะต้องได้รับการออกแบบจากผู้เชี่ยวชาญในศาสตร์
เพื่อให้เหมาะกับสภาพแวดล้อมแบบเสมือนจริง (Virtual environment) ซึ่งอาจเป็นในลักษณะวิธีการปฏสิ ัมพันธ์
(Interactive approaches) ที่ใช้สื่อ PowerPoint ในการสร้างหรือฝึกทักษะ หรืออาจเป็นการจัดทำใบงาน
หรือใบ assignment ท่มี ีการประเมินผลอยา่ งทันทีทำใหผ้ ูเ้ รียนสนใจและกระตือรอื รน้
กล่าวโดยสรุป การจัดการเรียนรู้ในสถานการณ์เร่งด่วนหรือสถานการณ์วิกฤติจำเป็นอย่างย่ิง
ที่จะต้องมีมาตรการเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับสถานการณ์ที่ไม่อาจคาดเดาได้ โดยการกำหนดแผนและ
แนวทางเป็นระดับขั้นของการบังคับบัญชา เริ่มตัง้ แต่ ระดับกระทรวง/ภาค ระดับเขตพื้นที่ และระดับของโรงเรยี น
ซึ่งแต่ละระดับจะต้องกำหนดบทบาทและหน้าที่อย่างชัดเจนและเชื่อมโยงการทำงานเป็นเครือข่าย ซึ่งนอกจาก
มีการเตรียมการที่สำคัญแล้ว จะต้องมีกลยุทธ์การเตรียมการป้องกันในทุกระดับตั้งแต่ระดับห้องเรียน
ระดับโรงเรียน ระดับเขตพื้นที่ที่มีความสมดุลระหว่างการป้องกัน การแทรกแซง และปฏิกิริยาที่จะเกิดขึ้น
ในสถานการณ์วกิ ฤติซ่ึงนักวชิ าการได้เสนอกระบวนการจดั การวิกฤติประกอบด้วยการพัฒนาแผนการจัดการวิกฤติ
การพัฒนาทีมจัดการวิกฤติการจัดการเครือข่ายการสื่อสาร และการฝึกอบรม การประเมินผล และการสะท้อนผล
และจากการนำเสนอดังกล่าวข้างต้นได้กล่าวถึงการจัดการเรียนรู้แบบ e-Learning ในการจัดการเรียนรู้
ในสถานการณ์วิกฤติที่สามารถให้ประโยชน์แก่ผู้เรียนทั้งในเรื่องของความยืดหยุ่น ความคงเส้นคงวา การจัดการ
ที่ และความสามารถในการจัดการที่มีประสิทธิผล ซึ่งการจัดการเรียนรู้แบบ e-Learning ที่จะมีประสิทธิภาพ
มากที่สุด จะขึ้นอยู่กับการออกแบบจากผู้เชี่ยวชาญในศาสตร์เพื่อให้เหมาะกับสภาพแวดล้อมแบบเสมือนจริง
ทั้งในเรื่องของเนื้อหา วิธีการจัดการเรียนรู้ และการประเมินผล และไม่อาจปฏิเสธได้เลยว่า การจัดการเรียนรู้
แบบ e-Learning จะสามารถเป็นส่วนเสริมที่สำคัญที่มีประโยชน์สำหรับการพัฒนาบุคลากรผู้สอนและผู้เรียน
เพือ่ ให้บรรลวุ ตั ถุประสงค์ในการพฒั นาความสามารถของผูเ้ รยี นในสภาวะวิกฤติ
1.7 นโยบายและแนวทางการจดั การเรียนรใู้ นสถานการณ์โควดิ -19 ในตา่ งประเทศ
เกจ็ กนก เอ้อื วงศ์, ชชู าติ พว่ งสมจิตร์, นงเยาว์ อทุ ุมพร, กุลชลี จงเจริญ, และฐิติกรณ์ ยาวไิ ชย
จารึกศิลป์ (2562) ได้สรุปนโยบายและแนวทางการจัดการเรียนรู้ในสถานการณ์โควิด-19 ในต่างประเทศ ได้แก่
ประเทศแคนนาดา ฟินแลนด์ จนี และสิงคโปร์ ดังน้ี

22

1.7.1 นโยบายและแนวทางการจัดการเรยี นรูใ้ นสถานการณ์โควดิ -19 ในต่างประเทศแคนนาดา
การจัดการเรียนรู้ตามระบบการศึกษาของประเทศแคนาดาระหว่างเกิดการแพร่ระบาดของ

COVID-19 จะมีนโยบายและวิธีจัดการศึกษา และความคาดหวังในการจัดการเรียนรู้ของแต่ละมณฑล
ที่อาจเหมือนกันหรือแตกต่างกันในบางประเด็นทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการตัดสินใจของแต่ละมณฑลแม้ว่านโยบาย
และวิธีจัดการศึกษาจะแตกต่างกัน แต่สิ่งหนึ่งที่เหมือนกัน คือ เจตนารมณ์ที่จะให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้
ท่ามกลางสถานการณ์วิกฤติที่เกิดขึ้นทั้งสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในโรงเรียน และสถานการณ์ที่โรงเรียนจะมี
โครงการใหค้ วามช่วยเหลอื ผู้ปกครองในกรณีท่ีเกิดปัญหาการดำรงชพี ในบางมณฑล

1.7.2 นโยบายและแนวทางการจัดการเรียนรู้ในสถานการณ์โควดิ -19 ในตา่ งประเทศฟินแลนด์
การดำเนินการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ด้านการศึกษาในระหว่างการแพร่ระบ าดของ

เชอ้ื ไวรสั COVID-19 ของรัฐบาลประเทศฟนิ แลนด์ในชว่ งตน้ ๆ จะเป็นการให้คำปรึกษาแนะนำในการจัดการศึกษา
ทางไกล รวมทั้งแนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยจากการตดิ เชื้อทั้งนักเรียนและบคุ ลากรในโรงเรยี น แต่อย่างไรกต็ าม
ยังคงมีโรงเรียนที่เปิดสอนในระหว่างสถานการณ์ด้วยความระมัดระวัง จึงทำให้รัฐบาลจึงต้องสร้างแนวปฏิบัติ
ที่รัดกุมให้กับโรงเรียน เช่น การหลีกเลี่ยงการสัมผัสทางร่างกาย การปฏิบัติกิจกรรมในพื้นที่ที่มีบริเวณกว้างขวาง
กรณีหากมีเด็กเจ็บป่วยจะถูกห้ามไม่ให้ไปโรงเรียนและได้รับการตรวจสอบจากเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง
รวมทั้งกำหนดคำแนะนำสำหรับการศึกษาการจัดการศึกษาในระดับต่าง ๆ ทั้งการดูแลเด็กปฐมวัย
และการศึกษาระดับก่อนประถมศึกษา การศึกษาระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนต้น การศึกษา
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายทั่วไป ระดับอาชีวศึกษา ระดับมหาวิทยาลัยและการศึกษาแบบเสรี
และการอำนวยความสะดวกเก่ียวกบั การศกึ ษาดา้ นอ่ืน ๆ

1.7.3 นโยบายและแนวทางการจัดการเรยี นรู้ในสถานการณโ์ ควิด-19 ในต่างประเทศจนี
การจัดการเรียนรู้ให้แก่นักเรียนของสาธารณรัฐประชาชนจีนในสถานการณ์โควิด

ได้ถูกจัดอย่างเป็นระบบ นับตั้งแต่ การด ำเนินการระดับรัฐบาล ซึ่งจะมีหน่วยงานที่ตั้งขึ้นใหม่
เพื่อจัดการกับสถานการณ์ COVID -19 โดยได้มีการสร้างกรอบนโยบายเพื่อควบคุมและป้องกัน
การแพร่กระจายของ COVID-19 การเผยแพร่แนวทางการป้องกันและควบคุม COVID-19 การเผยแพร่
คู่มือการป้องกันและควบคุม COVID-19 ในภาษาต่างประเทศ ซึ่งการดำเนินการในระดับรัฐบาล
จะส่งผ่านไปยังการดำเนินการในระดับมณฑล โดยมีการจัดตั้งกลุ่มผู้นำที่สอดคล้องกับสำนักงานผู้นำแห่งชาติ
มีการเผยแพร่กฎระเบียบในการป้องกันและควบคุม COVID-19 การสนับสนุนให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วม
ในการจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ที่บ้าน การให้ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญที่เน้นประเด็นพิเศษ
แ ล ะ ก า ร ร ว บ ร ว ม แ น ว ค ว า ม ค ิ ด แ ล ะ ก ร ณ ี ต ั ว อ ย ่ า ง จ า ก ผ ู ้ ป ก ค ร อ ง เ พ ื ่ อ ก า ร แ ล ก เ ป ล ี ่ ย น เ ร ี ย น ร ู ้ ร ่ ว ม กั น
นอกจากนี้มี การกำหนดนโยบายและแนวการปฏิบัติของภาคสังคมและองค์กรภาคเอกชน โดยมีการจัด
โครงการท่ีรเิ รม่ิ โดย องค์การ UNICEF China ในการพฒั นาชุดทรัพยากรทางการศึกษา และกำหนดแนวทางปฏิบัติ

23

สำหรับการศึกษาปฐมวยั ของสังคมแห่งชาตสิ าธารณรฐั ประชาชนจนี และ การจดั ทำแผนปฏิบัติการและแนวปฏิบัติ
สำหรบั การศกึ ษาระดับปฐมวัยในระดับโรงเรียน โดยการจัดตัง้ กลุ่ม WeChat เพื่อรวบรวมสถานะของเด็กแต่ละคน
รวมทั้งใช้เป็นเครื่องมือในการสื่อสารเกี่ยวกับการเรียนการสอนกับเด็กในกลุ่มและมีหลักสูตรพิเศษ
สำหรับการตอบข้อซกั ถามจากผู้ปกครองอีกดว้ ย

1.7.4 นโยบายและแนวทางการจัดการเรยี นร้ใู นสถานการณโ์ ควิด-19 ในต่างประเทศสิงคโปร์
การจัดการเรียนรู้ในสถานการณ์โควิด-19 ของประเทศสิงคโปร์จะเน้นที่การปรับเปลี่ยน

วิธีการจัดการเรียนรู้เพื่อให้เหมาะสมกับสถานการณ์ โดยกระทรวงศึกษาธิการได้ดำเนินมาตรการป้องกันที่จำเป็น
เพื่อดูแลความเป็นอยู่ที่ดีของนักเรียนและบุคลากรทุกคนของโรงเรียน รวมทั้งได้มีความพยายามในการบูรณาการ
ของหลายกระทรวงในการที่จะเพิ่มมาตรการด้านความปลอดภัยในการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียน
โดยเฉพาะอย่างยิ่งการจัดการสอนทางไกล และการจัดการเรียนรู้โดยการใช้การเรียนรู้ที่บ้านเป็นหลัก
แบบเต็มรูปแบบ (HBL) โดยโรงเรียนจะให้คำแนะนำและการสนับสนุน สำหรับนักเรียน จัดหาวัสดุอุปกรณ์
เพื่อประกอบการเรียนรู้ที่บ้านทั้งการใช้ออนไลน์และวัสดุที่เป็นชิ้นงานเพื่อให้เกิดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ให้ความช่วยเหลือในการใช้อุปกรณ์ดิจิตอลหรือการใช้สัญญาณอินเทอร์เน็ต บุคลากรของโรงเรียน
สามารถที่จะติดต่อกับนักเรียนและผู้ปกครองได้อย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ และมีการปรับเปลี่ยนการทดสอบ
และประเมินผลตามความจำเป็น สำหรับสถาบันการศึกษาชั้นสูง (IHLs) จะใช้การเรียนรู้แบบผสมผสาน
ระหว่างการเรียนแบบเผชิญหน้าและการเรียนโดยใช้ e-Learning เพื่อสนับสนุนการจัดการเรียนรู้
และความก้าวหน้าในการเรียนของนกั ศึกษา

1.8 นโยบายและแนวทางการจดั การเรียนรใู้ นสถานการณโ์ ควดิ -19 ในประเทศไทย
จากการที่ประชุมคณะรัฐมนตรี เมื่อวันอังคารที่ 7 เมษายน 2563 มีมติรับทราบการเลื่อนเปิดเทอม
จากวันที่ 16 พฤษภาคม เป็นวันที่ 1 กรกฎาคม 2563 จึงจำเป็นต้องวางแนวทางการจัดการเรียนการสอน
ภายใต้สถานการณ์วิกฤติโควิด -19 ในทุกระดับชั้นและทุกประเภท โดยกระทรวงศึกษาธิการ
ได้มีการกำหนดแนวนโยบายเพื่อให้การจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์โควิด-19 ให้สามารถเกิดขึ้นได้
อย่างมปี ระสทิ ธิภาพสงู สุดเทา่ ทีส่ ภาพแวดล้อมจะอ านวยให้บนพืน้ ฐาน 6 ข้อ ดังน้ี (กระทรวงศึกษาธกิ าร, 2563)

1) จัดการเรียนการสอน โดยคำนึงถึงความปลอดภัยสูงสุดของทุกคนที่เกี่ยวข้อง “การเปิดเทอม”
หมายถึง การเรียนที่โรงเรียนหรือการเรียนที่บ้าน ทั้งนี้การตัดสินใจจะขึ้นอยู่กับผลการประเมินสถานการณ์
อยา่ งใกล้ชดิ

2) อำนวยการให้นกั เรียนทกุ คน สามารถเขา้ ถงึ การเรยี นการสอนได้แม้จะไมส่ ามารถไปโรงเรยี นได้
3) ใช้สิ่งที่มีอยู่แล้วให้เกิดประโยชน์สูงสุด เช่น การเสนอขอช่องดิจิทัล TV จาก กสทช.
ทั้งหมด 17 ช่อง เพื่อให้นักเรียนทุกระดับช้ัน สามารถเรียนผ่าน DLTV ได้ ทั้งนี้ ไม่มีการลงทุนเพื่อจัดซื้อ
อุปกรณ์ใด ๆ เพิ่มเติมโดยไม่จ ำเป็น ซึ่ง กสทช.อนุมัติแล้วให้เริ่มออกอากาศ 16 พฤษภาคมน้ี

24

เป็นเวลาไม่เกิน 6 เดือน หรือถ้าสามารถกลับมาดำเนินการสอนได้ตามปกติก็ให้หยุดทดลองออกอากาศ
แบ่งเป็นของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาพื้นฐาน (สพฐ.) จำนวน 15 ช่อง เป็นของสำนักงานคณะกรรมการ
การอาชีวศึกษา (สอศ.) จำนวน 1 ช่อง และเป็นของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศัย (กศน.) จำนวน 1 ช่อง โดยใหอ้ อกอากาศแบบความคมชดั ปกติ (SD)

4) ตัดสินใจนโยบายตา่ ง ๆ บนพน้ื ฐานของการสำรวจความต้องการ ทง้ั จากนักเรยี น ครู และโรงเรียน
ไม่คิดเอง โดยให้การจัดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพสูงสุดเป็นที่ตั้ง และกระทรวงจะสนับสนุนเครื่องมือ
และอปุ กรณ์ตามความเหมาะสมของแตล่ ะพืน้ ที่

5) ปรับปฏิทินการศกึ ษาของไทยให้เอื้อต่อการ “เรียนเพื่อรู”้ ของเด็กมากขนึ้ รวมท้งั มีการปรบั ตาราง
เรียนตามความเหมาะสม โดยเวลาทชี่ ดเชยจะคำนงึ ถึงภาระของทกุ คนและการไดร้ บั ความรู้ครบตามช่วงวยั ของเด็ก

6) บุคลากรทางการศึกษาทุกท่าน จะได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง และทำให้ท่านได้รับผลกระทบ
เชิงลบจากการเปล่ียนแปลงน้อยทส่ี ดุ

1.9 แนวทาง วธิ ีการและรปู แบบ/สภาพการจดั การเรียนรู้ในสถานการณโ์ ควิด-19
กระทรวงศึกษาธิการ (2563) ได้ออกแบบการเรียนการสอนในช่วง COVID-19 โดยมีรายละเอียด
ในภาพรวม ดังนี้

1) รูปแบบการเรยี นการสอนออกแบบให้สอดคลอ้ งกับความปลอดภัยของพ้ืนที่ โดยมีการเรียนร้แู บบ
On Site ในพ้นื ที่ท่ีมีความปลอดภัยสามารถไปโรงเรียนได้ ขณะทีพ่ ืน้ ท่ีไมป่ ลอดภยั จะมีการเรียนรู้หลักผ่านทางการ
On Air ของมูลนธิ กิ ารศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม ในพระบรมราชปู ถัมภ์ และมีการเรยี นรเู้ สรมิ ผา่ นระบบ Online
โดยกำหนดการจดั การเรยี นรู้ 3 รูปแบบ ดงั น้ี

1.1) การเรียนทโ่ี รงเรียน (ON-SITE)
– การเรียนผ่านทีวี (ON-AIR) ใน 4 ระบบ ได้แก่ ระบบดาวเทียม (Satellite) ทั้ง KU-Band
(จานทึบ) ช่อง 186
– 200 และ C-Band (จานโปรง่ ) ช่อง 337 – 351 ระบบดจิ ิทัลทวี ี (Digital TV) ชอ่ ง 37 – 51
ระบบเคเบ้ลิ ทวี ี (Cable TV) และระบบ IPTV
– การเรียนผ่านอินเทอร์เน็ตและแอปพลิเคชัน (ONLINE) ใน 4 ช่องทาง ได้แก่เว็บไ ซต์
www.deep.go.th (DEEP : Digital Education Excellence Platform) เว็บไซต์ DLTV
– www.dltv.ac.th เว็บไซต์ You tube - www.youtube.com DLTV1 Channel–DLTV15
Channel และ แอปพลเิ คชัน DLTV บน Smartphone/Tablet
2) นโยบายหลักที่นำมาใช้ คือ เพิ่มเวลาพัก ลดการประเมินและงดกิจกรรมต่าง ๆ ที่ไม่จำเป็น โดย
เน้นเรียนเฉพาะวิชากลุ่มสาระหลัก เพื่อให้นักเรียนผ่อนคลายลง ซึ่งนักเรียนมีเวลาพักในภาคเรียนที่ 1/2563
จำนวน 17 วัน และในภาคเรียนที่ 2/2563 จำนวน 37 วัน รวมทั้งสิ้น 54 วัน ฉะนั้นภาคเรียนที่ 1/2563 เรียน

25

ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม – 13 พฤศจิกายน 2563 เป็นเวลา 93 วัน แล้วปิดภาคเรียน 17 วัน ส่วนภาคเรียนที่ 2/2563
เรียนตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2563 – 9 เมษายน 2564 เป็นเวลา 88 วัน แล้วปิดภาคเรียน 37 วัน ตั้งแต่วันที่ 10
เมษายน 2564 ซ่งึ จะมเี วลาเรยี นรวมท้ังสิ้น 181 วัน สว่ นเวลาท่ีขาดหายไป 19 วนั จาก 200 วนั ให้แตล่ ะโรงเรียน
สอนชดเชย ดงั นน้ั การเปดิ เทอมปกี ารศึกษาหน้าจะกลบั มาปกติในวนั จนั ทรท์ ่ี 17 พฤษภาคม 2564

3) การเตรยี มพรอ้ มในด้านระบบการเรยี นรทู้ างไกลและระบบออนไลนจ์ ะเร่ิมทดสอบตัง้ แต่
วันที่ 18 พฤษภาคมนี้เป็นต้นไป เพื่อเตรียมความพร้อมให้มากที่สุด ในกรณีที่วันที่ 1 กรกฎาคม 2563
ไมส่ ามารถเปดิ เทอมที่โรงเรยี นได้

4) กระทรวงศึกษาธิการจะเป็นผู้สนับสนุนการเรียนการสอนทางไกล ในสัดส่วน 80% เพื่อให้ทุกคน
สามารถเข้าถึงการเรียนขั้นพื้นฐานได้ อีกร้อยละ 20 หรือมากกว่า ให้ทางโรงเรีย นและคุณครูในแต่ละพื้นที่
พิจารณาออกแบบตามความเหมาะสม

5) การเรียนผ่านการสอนทางไกล จะใช้ทีวิดิจิทัล และ DLTV เป็นหลัก ซึ่งได้รับการอนุเคราะห์
สื่อจากมูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดยมีดิจิทัลแพลตฟอร์ม
ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร หรอื DEEP และการเรยี นการสอนแบบโตต้ อบออนไลน์เปน็ สอ่ื เสรมิ

ทั้งนี้ กระทรวงศึกษาธิการได้มีการกำหนดแนวทางการจัดการเรียนการสอนระบบทางไกล
โดยแบ่งเป็น 4 ระยะ คอื

ระยะที่ 1 การเตรียมความพร้อม (7 เมษายน – 17 พฤษภาคม 2563) สำรวจความพร้อม
ในด้านอุปกรณ์การเข้าถึงอินเทอร์เน็ต ของนักเรียน ผู้ปกครอง ครู และระบบการบริหารจัดการการเรียนการสอน
รวมถึงขออนุมัติใช้ช่องรายการโทรทัศน์ในระบบดิจิทัลจากสำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง
กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) เพื่อจัดการเรียนการสอนตั้งแต่ระดับปฐมวัย
ถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย พร้อมขออนุมัติเผยแพร่การเรียนการสอนจากห้องเรียนต้นทาง ในระดับปฐมวัย
ถงึ ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ ของสถานวี ิทยโุ ทรทัศน์การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม (DLTV) จากมูลนิธิการศึกษา
ทางไกลผ่านดาวเทยี มในพระบรมราชปู ถัมภ์ จัดทำส่อื วดี ีทศั น์การสอน โดยครตู ้นแบบ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย
จำนวน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ และรวบรวมสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ใน OBEC Content Center ชุดโปรแกรม
และแพลตฟอร์มการเรียนรู้ครบวงจรของกระทรวงศึกษาธิการ เช่น Tutor ติวฟรี.com, e-Book เป็นต้น
รวมถึงเตรียมโครงสร้างพื้นฐานด้านระบบเครือข่าย เพื่อรองรับการให้บริการ แพลตฟอร์มการเรียนรู้ให้เชื่อมโยง
กบั ระบบ Digital e-Learning ของกระทรวงศกึ ษาธิการ

ระยะท่ี 2 การทดลองจดั การเรียนการสอนทางไกล (18 พฤษภาคม – 30 มิถนุ ายน 2563) จะทดลอง
จดั การเรยี นการสอนทางไกล ในระดับปฐมวัยถึงระดับมธั ยมศึกษาตอนต้นผ่านช่องรายการโทรทัศน์ในระบบดิจิทัล
โดยการเผยแพร่สัญญาณจากมูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ( DLTV)
ในระดับปฐมวัยเน้นกิจกรรมเตรียมความพร้อมเด็ก และระดับประถมศึกษาถึงระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

26

จำนวน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ และในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ผ่านช่องรายการโทรทัศน์ในระบบดิจิทัล
และระบบออนไลน์โดยครูต้นแบบ ด้วยเครื่องมือการเรียนรู้ตามความเหมาะสมและบริบทของสถานศึกษา
รวมทั้งเปิดศูนย์รับฟังความคิดเห็นการเรียนการสอนทางไกล จากผู้ปกครอง ประชาชน และผู้เกี่ยวข้อง
เพื่อเป็นแนวทางการปรับปรุงและพัฒนา และประชาสัมพันธ์ สร้างการรับรู้ ความเข้าใจ แนะนำช่องทาง
การเรยี นทางไกลใหก้ ับผปู้ กครองและผ้เู กีย่ วข้อง

ระยะที่ 3 การจัดการเรียนการสอน (1 กรกฎาคม 2563 – 30 เมษายน 2564) ได้วางแผนไว้สำหรับ
2 สถานการณ์ นั่นคือ สถานการณ์ที่ 1 กรณีที่สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ยังไม่คลี่คลาย จะจัดการเรียนการสอนระดับปฐมวัยถึงระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ด้วยระบบทางไกลผ่าน DLTV
และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ด้วยวีดีทัศน์การสอนโดยครูต้นแบบ และระบบออนไลน์ด้วยเครื่องมือการเรียนรู้
ตามความเหมาะสมและบริบทของสถานศึกษา และสถานการณ์ที่ 2 กรณีที่สถานการณ์การแพร่ระบาดของ
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid–19) คลี่คลาย จะจัดการเรียนการสอนปกติในโรงเรียน
โดยให้เว้นระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) และมีแผนเตรียมการเพื่อรองรับสถานการณ์ฉุกเฉินต่าง ๆ
โดยจะต้องไดร้ ับการอนมุ ัตจิ ากคณะกรรมการศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั ซง่ึ มผี ้วู ่าราชการจังหวดั เปน็ ประธาน

ระยะที่ 4 การทดสอบและการศึกษาต่อ (1 เมษายน – 15 พฤษภาคม 2564) ประสานงาน
กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการทดสอบและคัดเลือกเข้าศึกษาต่อ คือ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์
วิจัยและนวัตกรรม เกี่ยวกับระบบคัดเลือกเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา (TCAS GAT PAT) และสถาบันทดสอบ
ทางการศึกษาแห่งชาติเกี่ยวกับการทดสอบ O-net ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
และชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6

สำหรับการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการและผู้ด้อยโอกาส ซึ่งรัฐมนตรีช่วยว่าการ
กระทรวงศึกษาธิการ (คุณหญิงกัลยา โสภณพนิช) ดูแลรับผิดชอบ จัดทำแพลตฟอร์มของกระทรวงศึกษาธิการ
เพื่อเป็นเวทีเชื่อม 176 หน่วยงาน และโยงคนพิการทั้งประเทศ ให้สามารถเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา
การพัฒนาตนเองไดม้ ากขึ้น ตามแนวทาง “ปรับบ้านเปน็ หอ้ งเรยี น เปลี่ยนพอ่ แม่เป็นคร”ู

โดยแพลตฟอร์มนจี้ ะสามารถทำให้พ่อแม่ ผปู้ กครองเรียนรู้วิธีการดแู ล พัฒนาผูเ้ รยี นทพี่ ิการ ตามแบบ
ต่าง ๆ ต่อไปได้ ทั้งยังสามารถบรรจุสื่อการเรียนการสอนออนไลน์ การให้คำปรึกษา แนะนำ และเรื่องอื่น ๆ
ไปยงั หนว่ ยงาน สถานศึกษาในสงั กัดกระทรวงศกึ ษาธิการ ไดด้ ้วย
2. แนวคิดเกีย่ วกบั การจดั ทำข้อเสนอเชิงนโยบาย

แนวคิดเกี่ยวกับการจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อนำไปสู่การกำหนดเป็นกรอบข้อเสนอเชิงนโยบาย
ประกอบด้วย ความหมายและความสำคัญของข้อเสนอเชิงนโยบาย ลักษณะสำคัญข้อเสนอเชิงนโยบาย/
องคป์ ระกอบของข้อเสนอเชงิ นโยบาย และกระบวนการจัดทำขอ้ เสนอเชิงนโยบาย โดยมรี ายละเอียดดงั นี้

วโิ รจน์ สารรตั นะ (2556) กลา่ วว่า ข้อเสนอเชิงนโยบาย เป็นผลจากการวิจัยเชงิ นโยบายในบางกรณี

27

เรียกว่า ข้อเสนอเชิงยุทธศาสตร์ หรือบางกรณีเรียกว่าข้อเสนอแผนที่ยุทธศาสตร์ หรืออื่น ๆ ตามความเหมาะสม
โดยการวิจัยเชิงนโยบาย (Policy Research) เป็นกระบวนการศึกษาปัญหาพื้นฐานทางสังคมเพื่อให้ได้ข้อเสนอ
ที่เน้นการปฏิบัติที่เป็นไปได้ ( Possible action oriented recommendations) ที่ผู้กำหนดนโยบาย
สามารถใช้ประกอบการตัดสินใจเพื่อแก้ปัญหาที่มีประสิทธิผลและน ำไปสู่นาคตที่ดีขึ้นกว่าในปัจจุบัน
ในขณะที่ ทิพย์วรรณ สุขใจรุ่งวัฒนา (2557) ให้คำนิยาม ข้อเสนอเชิงนโยบาย หมายถึง กระบวนการศึกษา
รวบรวมข้อมูลอย่างเป็นระบบเพื่อให้ได้ผลการวิเคราะห์ข้อมูลและข้อเสนอต่าง ๆ จากผลการวิจัยเชิงนโยบาย
ตลอดจนแนวทางปฏิบัติที่อาจจะเป็นไปได้ในการแก้ปัญหาหรือการพัฒนาในเรื่องใดเรื่องหนึ่งใ นระดับนโยบาย
ที่ผู้วิจัยจะสื่อสารแก่บุคลากรที่ทำหน้าทีในการตัดสินใจเพื่อให้เกิดการขับเคลื่อน หรือปรับปรุงแก้ไขนโยบาย
กลยุทธ์หรือโครงการต่าง ๆ ต่อไป นอกจากน้ี รตั นา ภรณ์ สมบรู ณ์ (2556) ได้ใหค้ วามหมาย ขอ้ เสนอเชิงนโยบาย
ว่าหมายถึง ข้อเสนอแนะจากผลการวิจัยนโยบายเพื่อการปฏิบัติในเชิงนโยบาย ซึ่งมีองค์ประกอบสำคัญ คือ
วัตถุประสงค์ (Policy objectives) แนวการดำเนินงานของนโยบาย (Policy means) และกลไกของนโยบาย
(Policy mechanism)

นอกจากนี้ วิโรจน์ สารรัตนะ (2556) ได้กล่าวถึง ความสำคัญของข้อเสนอเชิงนโยบายว่า
ข้อเสนอเชิงนโยบายนำไปสู่การแก้ปัญหาที่มีประสิทธิผล และอนาคตที่ดีกว่าปัจจุบัน ไม่อยู่กับที่หรือถอยหลัง
และไม่เป็นข้อเสนออย่างเป็นแผนปฏิบัติการ ประเด็นเล็กประเด็นน้อย ข้อเสนอเชิงนโยบายมีความส ำคัญ
โดยเป็นการนำเสนอ ประเด็นหลัก และประเด็นรองที่ขยายความให้เข้าใจถึงแนวปฏิบัติที่เป็นไปได้
สามารถแก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิผล นำไปสู่การเกิดสิ่งที่ดีขึ้นกว่าเดิม (Better future) ทั้งนี้จะต้องนำเสนอ
ใหง้ า่ ยตอ่ การทำความเข้าใจ มคี วามกระชบั และมคี วามชดั เจน

วิโรจน์ สารรัตนะ (2556) กล่าวถึง ลักษณะสำคัญของข้อเสนอเชิงนโยบาย ดังนี้ข้อเสนอเชิงนโยบาย
ควรเป็นข้อเสนอใหม่ ๆ กระบวนทัศน์ใหม่ ๆ หลักๆ ที่เชื่อว่า หากปฏิบัติแล้วจะช่วยแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นได้
อย่างมีประสิทธิผล นำไปสู่อนาคตที่ดีกว่าในปัจจุบันข้อเสนอเชิงนโยบายเป็นข้อเสนอที่เพ่ิมขึ้น (added on)
จากงานประจ า (routine work) ไม่เป็นประเด็นเล็ก ๆ น้อย ๆ หรือเป็นประเด็นงานปร ะ จ ำ
ที่อัดแน่นจนขาดจุดเน้นสำคัญ กลาย เป็นแผนปฏิบัติการ (action plan) ของหน่วยงานที่รวมทุกอย่าง
ไว้การนำเสนอข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อพัฒนา จำแนกออกเป็นข้อเสนอเพื่อการปฏิบัติในระยะสั้น 1-2 ปี
เพื่อการปฏิบัติระยะปานกลาง 3-5 ปี และเพื่อการปฏิบัติระยะยาว 5 ปี ขึ้นไป การเขียน “ข้อเสนอเชิงนโยบาย”
แนะนำให้ศึกษา รูปแบบการนำเสนอ “แผนยุทธศาสตร์” “แผนเชิงนโยบาย” ของหน่วยงานที่มีมาตรฐาน
มีรูปแบบการนำเสนอที่ดีในแนวคิดหลัก ๆ กระชับ เข้าใจง่าย สื่อความหมาย ไม่เยินเย้อไม่สับสน หรือ
นำแนวคิดที่ดีมาใช้กับการเขียน “ข้อเสนอเชิงนโยบาย” ในงานวิจัยได้โดยเป็นข้อเสนอนำไปสู่การแก้ปัญหา
ที่มีประสิทธิผลและอนาคตที่ดีกว่าปัจจุบัน ไม่อยู่กับที่หรือถอยหลัง และไม่เป็นข้อเสนออย่างเป็นแผนปฏิบัติการ
ประเดน็ เลก็ ประเดน็ นอ้ ย

28

วิโรจน์ สารรัตนะ (2556) กล่าวว่า ผลจากการวิจัยเชิงนโยบายจะทำให้ได้ “ข้อเสนอเชิงนโยบาย”
(บางกรณีเรียกว่า ข้อเสนอเชิงยุทธศาสตร์ หรือบางกรณีเรียกว่าข้อเสนอแผนทียุทธศาสตร์ หรืออื่น ๆ
ตามความ เหมาะสม) ที่มีองค์ประกอบอยา่ งน้อย 2 องคป์ ระกอบ คือ

1) วัตถปุ ระสงคข์ องนโยบาย (policy objective)
2) แนวทางของนโยบาย (policy means)
บางกรณอี าจกำหนดเป็น 3 องคป์ ระกอบ คอื
1) วัตถปุ ระสงคข์ องนโยบาย (policy objective)
2) แนวทางของนโยบาย (policy means)
3) กลไกของนโยบาย (policy mechanism) ทจ่ี ะทำให้การนำแนวทางนโยบายไปปฏบิ ัติ
ว ิโ รจน์ สารรัตนะ ( 2556) ได้กล่าว ถึง กระบว นการในการจัดท ำข้อเสนอเชิงนโยบาย
โดยมขี ัน้ ตอน 2 ข้ันตอน ดงั น้ี
ขั้นตอนที่ 1 การกำหนดหรือจัดทำ “ข้อเสนอเชิงนโยบาย” ควรออกแบบเป็นวิธีวิทยาการวิจัย
แบบผสม (Mixed Methodology) เพ่ือให้ได้ข้อมลู จากหลากหลายแหลง่ ได้แก่
1) ข้อมูลจากการศึกษาบริบทของหน่วยงานหรือพื้นที่ที่ทำการวิจัย (contextual study/survey
study) เป็นการวิจัยเชิงสำรวจภายในสถาบันหรือภายในพ้ืนที่ที่กำหนด เช่น เขตพื้นที่การศึกษา จังหวัด ภูมิภาค
หรือประเทศ เปน็ ต้น เพื่อใหท้ ราบสภาพปญั หาและ ขอ้ เสนอแนะ โดยใชแ้ บบสอบถามแบบปลายเปิดและปลายปิด
ถือเป็นข้อมูลจากบริบทที่เป็นจริง จากคนในพื้นที่ถือเป็นข้อมูลแบบล่างขึ้นบน (bottom-up)
เพอ่ื โอกาสไดข้ ้อเสนอแนะท่เี ปิดกวา้ งอย่างเปน็ อสิ ระของผู้ตอบ ควรเป็นแบบสอบถามแบบปลายเปิด
2) ข้อมูลจากการศึกษากรณีตัวอย่างที่ประสบผลส ำเร็จ (outstanding/best practice)
อาจเปน็ การศึกษาเฉพาะกรณี (case study) เพื่อหาข้อสรปุ รปู แบบการพัฒนาที่ประสบผลสำเร็จ วา่ มวี ัตถุประสงค์
ข อ ง น โ ย บ า ย ( policy objective) แ ล ะ แ น ว ท า ง ข อ ง น โ ย บ า ย ( policy means) อ ะ ไ ร แ ล ะ อ ย ่ า ง ไ ร
ซึ่งหากจะให้มีความหลากหลาย ควรเป็นการศึกษาพหุกรณี (multi-cases study) ถือเป็นข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ
มีจุดมงุ่ หมายเพอ่ื นำนโยบายทด่ี มี าใช้
3) ข้อมูลเชิงวิชาการจากทฤษฎี นโยบาย/แผน และผลงานวิจัย จากที่ศึกษาไว้จากการวิเคราะห์
เนื้อหา (content analysis) เพิ่มเติม ถือเป็นข้อมูลจากภายนอกแบบบนลงสู่ล่าง (top- down) บรรลุผล
ตาม วัตถุประสงค์ที่กำหนด เช่น การออกกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ หรือกฎหมาย การจัดตั้งหน่วยงานเฉพาะ
การใชเ้ ทคนคิ การบรหิ ารแนวใหม่ การสนับสนุนจากตน้ สงั กดั เปน็ ต้น
โดยทั้ง 3 กรณีดังกล่าวข้างต้นนี้ จะทำให้ได้แหล่งข้อมูลจากทั้งบริบทที่เป็นจริง จากกรณีตัวอย่าง
ที่ประสบผลสำเรจ็ จากข้อมูลเชิงวิชาการ และแหล่งขอ้ มูลจากการสัมภาษณ์ผู้เชีย่ วชาญหรือผู้คณุ วุฒิทางวิชาการ/
ทางปฏิบัติประกอบด้วยข้อมูลจากในแหล่งที่ 3 และแหล่งที่ 4 เห็นได้ว่า แหล่งดังกล่าว ผู้วิจัยจะนำมาสังเคราะห์

29

เพื่อกำหนดเป็น “ร่างข้อเสนอเชิงนโยบาย” ใน 2 องค์ประกอบสำคัญ คือ 1) วัตถุประสงค์ที่คาดหวังให้เกิดข้ึน
และ 2) แนวทางปฏิบัติเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ โดยในขั้นตอนการสังเคราะห์ข้อมูลจาก 3 – 4 แหล่ง
มาเป็นร่างข้อเสนอเชิงนโยบายนี้ผู้วิจัยอาจอาศัยหลักการมีส่วนร่วม โดยจัดการสัมมนาเชิงปฏิบัติการของ
“ผู้มีส่วนได้เสีย” เพื่อให้มีการระดมสมองของคนที่เกี่ยวข้องหลายฝ่าย ซึ่งจะทำให้ได้ข้อเสนอเชิงนโยบาย
ท่ผี า่ นการกล่ันกรองไดด้ ีกว่าท่ผี ูว้ ิจยั จะจัดทำเพียงลำพัง

ขั้นตอนที่ 2 คาดคะเนโอกาสในการปฏบิ ตั ขิ องข้อเสนอเชิงนโยบาย
การคาดคะเนโอกาสในการปฏิบัติของข้อเสนอเชิงนโยบาย หากพิจารณาจากแนวคิดดั้งเดิม
“ผวู้ จิ ัยเปน็ ผู้ดำเนินการวิจัย” ดงั นี้ 1) การวิเคราะห์อำนาจของผมู้ สี ่วนได้เสียทจี่ ะมีอิทธพิ ลตอ่ การตัดสินใจนโยบาย
2) การวิเคราะห์ศักยภาพขององค์การ 3) การคาดการณ์ถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้น 4) การคาดคะเนโอกาส
ในการปฏิบัติ 5) การจัดเตรียมให้ข้อเสนอแนะสุดท้าย กิจกรรมเหล่านี้สามารถนำเอาหลักการมีส่วนร่วมจาก
ผู้มีส่วนได้เสียมาแทนได้ กล่าวคือเปลี่ยนจากการที่ “ผู้วิจัย” เป็นผู้ศึกษาวิเคราะห์ในองค์ประกอบด้านต่าง ๆ
ด้วยตนเอง ไปเป็นใช้ “หลักการมีส่วนร่วมจากผู้มีส่วนได้เสีย” มาร่วมกันคิด ร่วมกันวิเคราะห์ และร่วมกัน
ให้ข้อเสนอแนะแทน โดยใช้ข้อมูลที่ได้จากการวิจัยในขั้นตอนแรกมาใช้ประกอบการพิจารณา
เสมือนเป็นการวิเคราะห์อิทธิพลและท่าทีการสนับสนุนของผู้มีส่วนได้เสียไปด้วยในตัว ขณะเดียวกันก็พิจารณาถึง
ความเป็นไปได้ไปด้วยจากเกณฑ์ที่กำหนดใช้ประกอบการพิจารณา เช่น เกณฑ์ความเป็นไปได้ (feasible)
และเกณฑ์การยอมรับ (acceptable) เป็นต้น ถือเป็น “การวิจัยเชิงนโยบายแบบมีส่วนร่วม”(Participatory
Policy Research: PPR) โดยใช้กิจกรรมตามความเหมาะสมและตามศักยภาพ เช่น การสัมภาษณ์เชิงลึก
(in-depth interview) การอภิปรายกลุ่มเป้าหมาย ( focus group discussion) การสัมมนากลุ่มย่อย
( small group seminar) ก า ร ส ั ม ม น า เ ช ิ ง ป ฏ ิ บ ั ต ิ ก า ร ( operational seminar) ก า ร ป ร ะ ช า พ ิ จ า ร ณ์
(public hearing) เปน็ ต้น

3. การบรหิ ารแบบ 4M
การบริหารจัดการสถานศึกษามีหลายรูปแบบ ซึ่งการบริหารแบบ 4M เป็นรูปแบบหนึ่งที่นิยมใช้

ในการบริหารสถานศกึ ษาทกุ ขนาด ซงึ่ มีรายละเอียดดังนี้
3.1 องค์ประกอบของการบริหารแบบ 4M
การบริหารแบบ 4M เป็นปัจจัยในการบริหารที่นำไปใช้ทั้งในธุรกิจและการศึกษา ซึ่งมีองค์ประกอบ

ทส่ี ำคญั ดงั น้ี
สุธี สุทธิสมบูรณ์ (2539) กล่าวว่า รูปแบบที่เน้นปัจจัยการบริหารจัดการ 4Ms ซึ่งอธิบายไว้ในตำรา

การบริหารทั่วไปว่าหมายถึงกระบวนการบริหารทั่วไป มักมีลักษณะกระบวนการหรือการกำหนดวิธีการขั้นตอน
ในการปฏิบัติงานของผู้บริหาร ซึ่งเป็นวิธีการจัดการอย่างหนึ่งที่มีหลักเกณฑ์ตามวิธีการทางวิทยาศาส ตร์

30

กระบวนการทางบริหารจะกำหนดขอบเขตและหน้าทตี่ ามข้นั ตอนต่าง ๆ ไว้อย่างชดั เจน ซึ่งรปู แบบการบรหิ าร 4M
มีองค์ประกอบคือ ด้านบุคลากร (Man) ด้านงบประมาณ (Money) ด้านวัสดุอุปกรณ์และสิ่งอำนวยความสะดวก
(Material) และวธิ ีการปฏิบัติ (Management)

ถนัด เดชทรัพย์ (2550) ได้กล่าวถึงการบริหารจัดการ 4M ซึ่งจะทำให้สถานศึกษาก้าวไกลทันโลก
แห่งนวตั กรรมยุค Thailand 4.0 ประกอบดว้ ยหลกั ดงั น้ี

1. กำลังคน (Man) นับเป็นเครื่องมือสำคัญในการพัฒนางานในสถานศึกษา สำหรับการเลือกบุคลากร
ที่จะมาพัฒนาสถานศึกษาจะต้องมีวิธีการในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการทำงานซึ่งบุคลากรที่มีประสิทธิภาพ
ในยุคใหม่ต้องมีความรู้ในด้านเทคโนโลยีเพื่อรองรับยุค Thailand 4.0 โดยมีเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทมากยิ่งขึ้น
ในกระบวนการทำงานทั้งในด้านเอกสารดิจิทัล การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ใช้สื่อเทคโนโลยี เช่น บทเรียน
คอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอน สื่อวดิ ีโอออนไลน์ เป็นตน้ การใช้รปู แบบการสอนแนวนจ้ี ะทำใหน้ ักเรยี นเกดิ การเปดิ โลกทัศน์
แห่งการเรียนรู้ และเกิดการเรียนรู้ได้ง่ายมากกว่าการท่องจำในหนังสือ ซึ่งนักเรียนสามารถศึกษาค้นคว้า
ในเรื่องที่ตนเองสนใจก่อเกิดเป็นการเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ และจะทำให้นักเรียนมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ผลงาน
จากการเรียนรู้ นอกจากนี้การใช้วัสดุอุปกรณ์อาจจะลดความจำเป็นลงเนื่องจากใช้สื่อออนไลน์
ได้ในการสร้างองค์ความรู้ รวมไปถึงเอกสารที่สามารถทำออนไลน์ได้ หรือคอมพิวเตอร์โดยไม่จำเป็นต้อง
สิ้นเปลืองกระดาษในการทำงาน ทั้งนี้บุคลากรต้องมีความพร้อมที่จะเป็นคนไทยในยุค Thailand 4.0
เพื่อที่จะเป็นแบบอย่างในการจัดการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนได้อย่างมีคุณภาพ การศึกษาต้องปรับปรุงหลักสูตร
เพื่อพัฒนาให้ก้าวไกลในยุคของดิจิทัล พัฒนาคนให้สามารถวางแผน ตรวจสอบ และปรับปรุงงาน
ในกระบวนการทำงานทง้ั การสอนและงานทร่ี ับผิดชอบได้

2. งบประมาณ (Money) เป็นหัวใจของการบริหารงานทุกระบบ งบประมาณที่มาแหล่งต่าง ๆ
ไม่ว่าจะเป็น งบประมาณสนับสนุน การระดมทรัพยากร การบริจาค จะต้องมีการนำมาใช้ผ่านกิจกรรม
โครงการที่เกิดจากการวางแผนร่วมกันของบุคลากรในสถานศึกษา และนอกสถานศึกษาอย่างคุ้มค่า
ทั้งนี้กิจกรรมที่มีความสำคัญที่เน้นงานวิชาการต้องได้รับการจัดสรร และมีการลงทุนในการจัดการวัสดุอุปกรณ์
ที่ส่งเสริมการเรียนรู้ในรูปแบบที่ทันสมัย มีเครื่องมือส่งเสริมในการเรียนรู้ ส่งเสริมคุณภาพของผู้เรียน
ทั้งความรู้ คุณธรรม และคุณลักษณะที่ดีตามหลักสูตรต้องการ เป็นผลสำเร็จที่สังคมต้องการเป็น
บุคคลทางการแสวงหาความรู้ สร้างสรรค์มีคุณลักษณะที่ดีในการทำงาน มีกระบวนการคิด มีวัสดุอุปกรณ์ที่ดี
กิจกรรมสร้างสรรค์ และครูผู้สอนที่มีคุณภาพการใช้งบประมาณจึงมีความสำคัญในการเตรียมการ
พฒั นาการจดั การศกึ ษาได้

3. วัสดุ (Materials) มีความสำคัญอย่างยิ่งในยุค Thailand 4.0 เนื่องจากเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทมาก
ทำให้ผู้เรียนต้องใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้ ดังนั้นสถานศึกษาจึงต้องเตรียมพร้อมเครื่องมืออุป กรณ์ที่เหมาะสม
กับการเรียนรู้ของผู้เรียนในแต่ละช่วงวัยเพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก ทุกสถานศึกษา

31

จึงต้องพัฒนาเครื่องมือการสอนให้มีคุณภาพเพื่อจะสร้างกำลังคนที่เป็นผู้นำการใช้เทคโนโลยี มีกระบวนการ
คิดสร้างสรรค์จากกิจกรรมที่ได้เรียนรู้ที่หลักสูตรสถานศึกษาจัดเตรียมไว้ ตั้งแต่ระดับรากฐานไม่เพียงแต่
ในระดับอุดมศึกษา หากเริ่มแต่ผู้เรียนเข้าสถานศึกษาจะต้องมีพัฒนาการเรียนรู้ผ่านสื่อการสอนที่ทันสมัย
เห็นค่าคุณการใช้สื่ออย่างมีประโยชน์ จากกิจกรรมปลูกฝังคุณลักษณะที่ดี และเป็นผู้คิดค้นสร้างสรรค์งาน
และกิจกรรมต่อยอดได้ สื่อจึงมีความสำคัญอย่างมากจำเป็นต้องช่วยกันระดมทรัพยากร และพัฒนาสื่ออุปกรณ์
ให้ทันสมัยขึ้นในการจัดการศึกษาทีร่ ากฐาน เพราะวัสดุอุปกรณ์นั้นจะกระจายอยู่กับประชากรจำนวนมากในสังคม
ทีจ่ ะออกไปประกอบกิจการของตนเองอยา่ งผ้มู คี วามรู้บนพ้ืนฐานโลกยุค Thailand 4.0

4. การจัดการ (Management) เป็นกระบวนการในสถานศึกษา และปัจจัยหลักที่สำคัญในการพัฒนา
เน่อื งจากระบบงานราชการในหลายประเดน็ ไม่สง่ เสริมการบริการทรพั ยากร ซง่ึ ตดิ ขัดระเบียบท่ซี บั ซ้อนทั้งกฎกติกา
ทำให้การซื้อของในภาครัฐมีราคาสูง การจัดทำเอกสารมีกฎระเบียบไม่คล่องตัว สถานศึกษาซื้อของราคาแพง
เพราะการจัดทำเอกสารการเงินที่ล่าช้า ต่างจากเอกชนกระบวนการในการจัดซื้อจัดจ้างไม่ซับซ้อน ทำให้สามารถ
บริการจัดการได้รวดเร็ว มีคุณภาพ คุ้มค่า และคุ้มราคากับงบประมาณที่เสียไปในการบริการงบประมาณ
ของสถานศึกษาซึ่งต้องการปรับเปลี่ยนให้เกิดความคล่องตัวในการใช้เงิน ลดขั้นตอนความซับซ้อนลงโดยเน้น
จุดหมายที่คุ้มค่ามากกว่าการใช้ระเบียบที่รัดกุมจนดำเนินการทำงานได้ไม่เต็มประสิทธิภาพ ในขณะที่
การบริหารงบประมาณของเอกชนสามารถดำเนินการได้อย่างรวดเร็ว และคุ้มค่า สถานศึกษาควรมีการพัฒนา
ให้มีวิธีการในการทำงานได้คล่อง ถูกต้อง ประหยัด และรัดกุม อย่างไรก็ตาม เพื่อให้เป็นการบริหารงาน
ยคุ Thailand 4.0 ไปพรอ้ มกับแนวความคิดทีต่ ้องการด้วย

พงษ์ศักดิ์ สวัสดิเกียรติ (2550) กล่าวว่า การดำเนินงานต่าง ๆ จำเป็นต้องมีองค์ประกอบสำคัญ
ในการบรหิ ารคือ องคป์ ระกอบตามหลักการบรหิ าร 4M ได้แก่

M ตัวแรกคือ Man หมายถึง บุคลากรในองค์กร จะต้องมีความรู้ความสามารถ เอาใจใส่ต่อผู้ที่เกี่ยวข้อง
ไม่เพยี งแตท่ ำตามหน้าที่และทำใหเ้ ปน็ มาตรฐาน

M ตัวที่สอง คือ Money หมายถึง เงินทุนที่ใช้ในดำเนินงาน เป็นงบประมาณที่จะต้องนำมาจัดสรรใช้จ่าย
ในการดำเนินงานในข้นั ตอนตา่ ง ๆ

M ตัวทสี่ ามคือ Material หมายถงึ วตั ถุดบิ หรอื วัสดอุ ุปกรณท์ ีต่ อ้ งใช้ในการดำเนนิ การต่างๆตามขนั้ ตอน
M ตัวที่สี่คือ Management หมายถึง การจัดการหรือการบริหารจัดการที่เกี่ยวข้องกันดำเนินงาน
ตามข้ันตอนต่างๆ
เสกสิฐ เล้ากิจเจริญ (2550) กล่าวถึงหลักการ 4M’s ที่นำมาใช้ในระบบการศึกษา ซึ่งมี 4 องค์ประกอบ
ได้แก่
1. ด้านบุคลากร หมายถงึ ผู้บริหารสถานศกึ ษา ครู และบคุ ลากรทางการศึกษา ซึ่งเปน็ ผูท้ ำหน้าทใ่ี ห้บริการ
หรือปฏิบัติงานเกี่ยวเนื่องกับการจัดกระบวนการเรียนการสอน การนิเทศ การบริหารการศึกษาในสถานศึกษา

32

เป็นผู้จัดหาและใช้ทรัพยากรการบริหารอื่น ๆ ไม่ว่าจะเป็นเงิน วัสดุอุปกรณ์ และการจัดการเพื่อนำสถานศึกษา
ไปสู่ความเจริญก้าวหน้า บุคลากรจะต้องมีความรู้ความสามารถในการบริหารจัดการในการใช้เทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์ เพื่อให้การดำเนินงานและการจดั การเรียนการสอนของสถานศึกษามีคุณภาพสำเร็จตามวัตถุประสงค์
ทีว่ างไว้อยา่ งมีประสิทธภิ าพและประสทิ ธิผล

2. ด้านงบประมาณ หมายถึง แผนการเงินของโรงเรียนที่จัดทำขึ้นโดยการกำหนดรายรับรายจ่ายของ
งานโครงการต่าง ๆ ที่จะดำเนินการ เพื่อให้การจัดสรรทรัพยากรเปน็ ไปอย่างมีประสทิ ธิภาพ ในการบริหารจัดการ
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอนของสถานศึกษาจะต้องมีการจัดสรรทรัพยากรและบริหารงาน
งบประมาณอย่างมีคุณภาพเพื่อจัดหา พัฒนา ปรับปรุง ซ่อมแซม และใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์อย่างประหยัด
สุด เกดิ ประโยชนต์ อ่ การพัฒนาคณุ ภาพการเรียนการสอนสูงสดุ

3. ด้านวัสดุอุปกรณ์ หมายถึง การจัดสื่อการเรียนการสอน และนวัตกรรมที่มีคุณภาพและเพียงพอ
ต่อการเรียนการสอน โดยมีระบบการจัดหาและบำรุงรักษาที่มีประสิทธิภาพ พร้อมทั้งมีการบริการและส่งเสริม
การใชอ้ ยา่ งทว่ั ถงึ และเป็นระบบการบริหารงานวัสดุอปุ กรณท์ ่ดี ี จะนำไปสกู่ ารบรหิ ารจัดการเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เพื่อการดำเนินงานและการจัดการเรียนการสอนที่มีคุณภาพ ทำให้การใช้วัสดุอุปกรณ์เป็นไปอย่างเหมาะสม
และเกดิ คณุ คา่ ตรงกับความตอ้ งการของผู้บรหิ าร ครูและนักเรียน

4. ด้านการจัดการ หมายถึง กิจกรรมต่าง ๆ ท่กี ลุ่มบุคคลร่วมกนั ดำเนินการเพื่อพัฒนาสมาชิกของสังคมใน
ทุก ๆ ด้าน นับตั้งแต่บุคลิกภาพ ความรู้ ความสามารถ พฤติกรรมและคุณธรรม เพื่อให้มีค่านิยมตรงกันกับ
ความต้องการของสังคมโดยกระบวนการต่าง ๆ ที่อาศัยการควบคุมสิ่งแวดล้อมให้มีผลต่อบุคคล
และอาศัยทรัพยากรตลอดจนเทคนิคต่าง ๆ อย่างเหมาะสม เพื่อให้บุคคลพัฒนาไปตรงตามเป้าหมายของสังคม
ที่ตนดำเนินชีวิตอยู่ การจัดการที่เหมาะสมและคำนึงถึงบุคลากร งบประมาณ วัสดุอุปกรณ์จะทำให้เกิด
การจัดสรรทรัพยากรอย่างมีคุณภาพและนำไปสู่การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการเทคโนโลยีและการสื่อสาร
ตามเป้าหมายท่ีวางไว้

ดอกจันทร์ คำมีรัตน์, บุญทัน ดอกไธสง, และ อิมรอน มะลูลีม (2552) กล่าวว่า ทรัพยากรในการบริหาร
(Resources) ได้แก่ วัตถุและเครื่องใช้เพื่อประกอบการดำเนินงานรวมไปถึงความสามารถในการจัดการทรัพยากร
ในการบริหารสามารถแบง่ แยกไดเ้ ป็น 4 ประเภท หรือเรยี กยอ่ ๆ ว่า 4 M ซึ่งมอี งค์ประกอบ คอื

1. บุคลากร ( Man) การบริหารกำลังคน จะใช้คนอย่างไรให้เกิดประสิทธิภาพ และประสิทธิผล
กับงานให้มากที่สุด มีการกำหนดนโยบายการบริหารงาน ให้บุคลากรแต่ละคนต้องผ่านกระบวนการฝึกฝนทักษะ
ความสามารถก่อนเข้างาน จึงจะมอบหมายงานที่มีลักษณะเหมาะสมกับทักษะที่มีให้แต่ละคน โดยการแบ่งงาน
กันทำเฉพาะด้าน มีการส่งเสริมพัฒนาความรู้ความสามารถของบุคลากรให้เกิดความเชี่ยวชาญอยู่ตลอดเวลา
สร้างคนให้มีประสิทธิภาพมีความพร้อมต่อการทำงานและการเรียนรู้งาน ใหม่ๆ เพื่อให้ชิ้นงานที่ผลิต
ออกมามีคุณภาพ เป็นการบรหิ ารคนใหม้ ีประสทิ ธภิ าพ

33

2. งบประมาณ (Money) การบริหารเงิน จะจัดสรรเงินอย่างไรให้ใช้จ่ายต้นทุนน้อยที่สุดและ
ให้เกิดประสิทธิภาพ และประสิทธิผล มีการกำหนดแนวทางการบริหารการใช้จ่ายเงินหรือต้นทุนการผลิต
อยา่ งคุ้มคา่ ใหไ้ ด้ผลลพั ธม์ ากกว่าตน้ ทนุ ที่กำหนดไว้

3) วัสดุอุปกรณ์ (Material) การบริหารวัสดุในการดำเนินงาน ว่าจะทำอย่างไร้ให้ส้ินเปลืองน้อยท่ีสุด หรือ
เกิดประโยชน์สูงสุด โดยการกำหนดแนวทางการ ใช้งานเครื่องมือเครื่องใช้ที่เป็นส่วนสำคัญของการผลิตออกมา
ใหม้ คี ณุ ภาพและผลิตได้ในระยะเวลาท่ีกำหนด ดังน้ันจึงกำหนดให้บุคลากรต้องมีความรู้ความสามารถในการใช้งาน
เครื่องมือต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี โดยมีการฝึกฝนและทำความเข้าใจรวมถึงเทคนิคต่างๆ ที่จะเป็นการดูแลรักษา
และป้องกันอนั ตรายหรือความเสยี หายทอ่ี าจเกดิ ขึน้ ระหวา่ งปฏิบัติงานได้

4) การจัดการ (Management) การจัดการ คือกระบวนการจัดการบริหารควบคุมเพื่อให้งานทั้งหมด
เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผลอย่างเต็มที่ มีการกำหนดกลยุทธ์การบริหารงานที่คำนึงถึง
ปัจจัยแวดล้อมภายในและภายนอกองค์กร โดยทำการวิเคราะหจ์ ุดอ่อน จุดแข็ง โอกาสและอุปสรรคที่มผี ลกระทบ
ต่อการบริหารงานอยูตลอดเวลา เพื่อหากลยุทธ์ในการหลีกเลี่ยงและปรับเปลี่ยนแนวทางการบริหารให้สอดคล้ อง
กบั สภาพแวดล้อมภายในและภายนอกทเ่ี ปลยี่ นแปลงไปเป็นกลยทุ ธก์ ารบรหิ ารท่ีมีความครอบคลุม

สรุปได้ว่า องค์ประกอบของการบริหารแบบ 4M ที่นำมาใช้การบริหารสถานศึกษาประกอบ
ไปด้วย 4 องค์ประกอบ คือ 1) บุคลากร (Man) ซึ่งหมายถึง ครูผู้สอนหรือบุคลากรทางการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับ
การดำเนินการที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนและการพัฒนาสถานศึกษา 2) งบประมา ณ (Money)
คืองบประมาณที่จะนำมาใช้ในการดำเนินงานต่าง ๆ ของสถานศึกษา 3) วัสดุอุปกรณ์ ( Material) หมายถึง
วัสดุ อุปกรณ์ สื่อการสอน รวมทั้งสือ่ เทคโนโลยีต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ และ
4) การบริหารจัดการ (Management) เป็นกระบวนการจัดการบริหารควบคุมเพื่อให้การดำเนินงานทั้งหมด
ในสถานศกึ ษาเปน็ ไปอย่างมีประสทิ ธภิ าพ

3.2 ความสำคญั ของการบรหิ ารแบบ 4M
ภาวิดา ธาราศรสี ุทธิ และวบิ ูลย์ โตวณะบตุ ร (2542) กล่าวถึงการบริหารการศึกษาไว้ว่าเป็นกิจกรรมต่างๆ
ที่บุคคลหลายคนร่วมกันดำเนินการเพื่อพัฒนาสมาชิกขององค์กรในทุกด้านทั้งความรู้ความสามารถ เจตคติ
พฤติกรรม คุณธรรม เพื่อให้มีค่านิยมตรงกับความต้องการของสังคมโดยกระบวนการต่างๆ ที่อาศัยควบคุม
สิ่งแวดล้อมให้มีผลต่อบุคคล และอาศัยทรัพยากร ตลอดจนเทคนิคต่าง ๆ อย่างเหมาะสม เพื่อให้บุคคลพัฒนา
ไปตรงตามเป้าหมายของสังคมที่ตนดำเนินชีวิตอยู่โดยอาศัยปัจจัยสำคัญการบริหารที่สำคัญมี 4 อย่าง
ที่เรยี กว่า 4Ms ไดแ้ ก่ 1) คน (Man) 2) เงิน (Money) 3) วสั ดสุ งิ่ ของ(Materials) 4)การจัดการ (Management)
ชาญชัย อาจินสมาจาร(2545) ได้กล่าวถึงความสำคัญของการบริหารการศึกษาไว้ว่าเป็นการประกันว่า
โรงเรียนได้ดำเนินไปในทิศทางที่ถูกต้อง นั่นคือผู้บริหารจะต้องสามารถใช้ทรัพยากรหรือปัจจัยทางการบริหาร
(Administrative Resources) สำคัญมีอยู่อย่างน้อย 4 ประการ คือ คน (Man) เงิน(Money) วัสดุ (Materials)

34

และวิธีปฏิบัติงาน (Management) ไม่ว่าจะเป็นองค์กรใดๆย่อมมีความจำเป็นต้องใช้ทรัพยากรหรือปัจจัยนี้
เป็นเครื่องมอื ในการบรหิ ารหรือจัดการ

ศิริชัย กาญจนวาสี (2545) กล่าวว่า การดำเนินงานขององค์กรจะต้องศึกษาและให้ความสำคัญถึง
องค์ประกอบที่สำคัญของการดำเนินงาน คือ ปัจจัยนำเข้า กระบวนการดำเนินงาน และผลการดำเนินงาน
ซึ่งเป็นสิ่งที่ต้องสะท้อนถึงคุณภาพและสภาพปัญหาที่ต้องพิจารณาปัจจัยการบริหาร ทั้ง 4 ด้ าน ประกอบด้วย
1) การจัดการด้านบุคลากร 2) การจัดการด้านงบประมาณ 3) การจัดการด้านสถานที่ วัสดุ อุปกรณ์
และสง่ิ อำนวยความสะดวก และ 4) การบรหิ ารจดั การ

สมคิด บางโม (2546) ได้กล่าวถึง ปัจจัยการบริหารแบบ 4M ซึ่งแต่ละปัจจัยมีความสำคัญในการบริหาร
อย่างมาก ได้อธบิ ายความสำคญั ของการบริหาร 4M แต่ละองค์ประกอบดังต่อไปน้ี

1) คนหรือบุคคล (Man) เป็นปัจจัยสำคัญของการบริหารงานหน่วยงานหรือองค์การต่าง ๆ
จำเป็นต้องมีคนที่ปฏิบัติงาน ผลงานที่ดีจะออกมาได้ต้องประกอบด้วยบุคคลที่มีคุณภาพและมีความรับผิดชอบต่อ
องค์การหรอื หนว่ ยงานน้นั ๆ

2) เงิน (Money) หน่วยงานจำเปน็ ทีจ่ ะต้องมีงบประมาณเพอื่ การบริหารงานหากขาดงบประมาณ
การบริหารงานของหน่วยงานกย็ ากที่จะบรรลุเปา้ หมาย

3) ทรัพยากรหรือวัตถุ (Material) การบริหารจำเป็นต้องมีวัสดุอุปกรณ์หรือทรัพยากร
ในการบริหารหากหน่วยงานขาดวัสดุอุปกรณ์หรือทรัพยากรในการบริหารแล้วก็ย่อมจะเปน็ อุปสรรคหรือก่อให้เกดิ
ปัญหาในการบริหารงาน

4) การบริหารจัดการ (Management) เป็นภารกิจของผู้บริหารหรือผู้บังคับบัญชาโดยตรง
คือเป็นกลไกและตัวประสานที่สำคัญที่สุดในการประมวล ผลักดันและกำกับปัจจัยต่างๆทั้ง 3 ประการให้สามารถ
ดำเนนิ ไปไดโ้ ดยมปี ระสทิ ธิภาพจนบรรลเุ ป้าหมายของหน่วยงานตามที่ต้องการ

ดอกจันทร์ คำมีรัตน์ และคณะ (2552) กล่าวถึงความสำคัญของการจัดการแบบ 4M โดยใช้หลักการ
ควบคุมเป็นส่วนสำคัญของการบริหารจึงจะทำให้เกิดประสิทธิภาพ ในการบริหารจัดการโดยที่ต้องควบคุมปริมาณ
งาน ควบคุมคุณภาพของงาน ควบคุมเวลาการทำงานของบุคลากร และควบคุมค่าใช้จ่ายในการปฏิบัติงานต่าง ๆ
เหล่านี้จะส่งผลต่อความสำเร็จขององค์กรและต้องสร้างจิตสำนึกรักองค์กรให้เกิดขึ้นกับบุคลากรทุกคน
ร่วมทั้งผ้บู ริหารดว้ ยกนั ด้วยที่ส่งผลต่อการมีสว่ นรว่ มในกระบวนการตา่ ง ๆ ทจ่ี ดั ทำเพ่อื พัฒนาองค์กรใหม้ ุ่งไปสู่ความ
เปน็ เลศิ ในดา้ นการจัดการภายใน ไดแ้ ก่ การรักษามาตรฐานและการสร้างความเช่อื มั่น

สรุปได้ว่า การจัดการศึกษาตามหลักการบริหาร 4M มีความสำคัญในการบริหารจัดการ
ท้งั 4 ดา้ น คอื ดา้ นบุคลากร (Man) หน่วยงานหรอื องค์การตา่ ง ๆ จำเปน็ ต้องมคี นท่ีปฏิบัติงาน การบริหารบุคลากร
เป็นปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการบริหารงานให้มีประสิทธิภาพ, ด้านงบประมาณ(Money) มีการกำหนด
แนวทางการบริหารการใช้งบประมาณอย่างคุ้มค่าจะทำให้เกิดประสิทธิภาพสูง , วัสดุอุปกรณ์ (Material)

35

เป็นสิ่งที่สำคัญในการดำเนินงานต่าง ๆ โดยเฉพาะสื่อการเรียนการสอน สื่อเทคโนโลยี และวัสดุอุปกรณ์ต่างๆที่มี
ความจำเป็นต้องการจัดการเรียนการสอน และการบริหารจัดการ (Management) เป็นปัจจัยที่สำคัญที่สุด
เนื่องจากการเป็นขับเคลื่อนและควบคุมเพื่อให้การดำเนินงานทั้งหมดเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และเกิด
ประสทิ ธิผล

4. แนวทางการจัดการศึกษาดว้ ย 5on
วันที่ 6 มกราคม 2564 ณ ห้องประชุม สพฐ. 1 กระทรวงศึกษาธิการ นายอัมพร พินะสา

เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (เลขาธิการ กพฐ.) เป็นประธานในการประชุมทางไกล
ผ่านระบบวิดีโอคอนเฟอเรนซ์ เพื่อชี้แจงแนวทางปฏิบัติในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือ
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำหรับผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาทั่วประเทศ โดยมีผู้บริหารของ
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ชี้แจงแนวทางปฏิบัติในด้านต่าง ๆ อาทิ
นโยบายการจัดการศึกษา สพฐ. ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
โดยนายอัมพร พินะสา เลขาธิการ กพฐ./การบริหารจัดการทั่วไป การเตรียมความพร้อม การเปิด-ปิดสถานศึกษา
การจัดโครงการอาหารกลางวันและอาหารเสริม(นม) โดยนายสนิท แย้มเกษร รองเลขาธิการ กพฐ./
การบริหารจัดการงบประมาณของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา/สถานศึกษา และการดำเนินนโยบายโรงเรียน
คุณภาพของชุมชน/โรงเรียนดีส่ีมุมเมือง โดย ว่าที่ร้อยตรี ธนุ วงษ์จินดา รองเลขาธิการ กพฐ./แนวทางการจัดการ
เรียนการสอน การวัดประเมินผลผู้เรียนตามหลักสูตร การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET)
โดยนายอนันต์ พันนึก ผู้อำนวยการสำนักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน และการบริหารงานบุคคล
โดยนายนพิ นธ์ ก้องเวหา ผู้ชว่ ยเลขาธิการ กพฐ.

นายอัมพร พินะสา เลขาธิการ กพฐ. กล่าวว่า สำหรับการประชุมทางไกลครั้งนี้ เพื่อที่จะสื่อสาร
ทำความเข้าใจ แนวทางในการดำเนินงานของ สพฐ. ไปยงั สำนักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาและสถานศึกษาทั่วประเทศ
ในเรื่องหลักๆ ที่สำคัญ คือ การบริหารจดั การภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) ซึ่งเราพบว่าการแพร่ระบาดครั้งใหม่นี้มีความรุนแรง มีปริมาณการขยายตัวในวงกว้างและรวดเร็ว
มากกว่าครั้งที่ผ่านมา ดังนั้นเพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมรองรับสถานการณ์ ให้เป็นไปตามมาตรการของ ศบค.
จึงไดเ้ นน้ ยำ้ ใน 3 เรอื่ ง คอื สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาและสถานศึกษาทุกแห่ง ต้องส่ือสารสร้างความเข้าใจพร้อม
ดำเนินการตามมาตรการเพื่อให้นักเรียนหรือบุคลากรปลอดภัยจากการติดเชื้อโควิด-19 โดยปฏิบัติตามมาตรการ
ของ ศบค. ทั้งในเรื่องการเว้นระยะห่าง การล้างมือ การใส่หน้ากากอนามัย การดูแลสุขอนามัย และการเปิด -ปิด
สถานศึกษาในกรณีที่จำเป็น รวมถึงปฏิบัติตามประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ และปฏิบัติตามประกาศ
ของจงั หวัดแต่ละจังหวดั โดยคำนงึ ถึงความปลอดภยั ของนกั เรยี นและบคุ ลากรเป็นสำคัญ

36

พร้อมกันนั้น ให้ทุกโรงเรียนและทุกสำนักงานเขตพื้นที่ได้ออกแบบในเรื่องการติดตาม ตรวจสอบ
และรายงานผลสภาพจริงของแต่ละพื้นที่ โดยให้รายงานเป็นรายวัน หรือตามสถานกา รณ์ที่เกิดขึ้นจริง
เพื่อให้เกิดความปลอดภัยและทันต่อสถานการณ์ ส่วนในเรื่องการเผชิญเหตุหรือเตรียมพร้อมสำหรับการเผชิญเหตุ
ในจังหวัดที่ถูกประกาศให้เป็นพื้นที่สีแดง สีส้ม หรือสีเหลือง หากมีเหตุจำเป็นต้องปิดเรียนทุกโรงเรียน
ในจังหวัดพื้นที่สีแดง ให้ดำเนินการจัดการเรียนการสอน ใน 5 รูปแบบ ได้แก่ (สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา
ข้นั พ้นื ฐาน 2564)

1) On Site คือให้มาเรียนตามปกติได้ในพื้นที่ที่ไม่ใช่สีแดง แต่ต้องเว้นระยะหรือลดจำนวนนักเรียน
ตอ่ หอ้ งลง สำหรับจังหวดั พน้ื ทส่ี ีเขยี ว สามารถจดั การเรยี นการสอนในโรงเรยี นได้ตามปกติ

2) On Air คือการออกอากาศผ่าน DLTV เป็นตัวหลักในการกระจายการสอน โดยใช้โรงเรียนวังไกลกังวล
เปน็ ฐานในการจดั การเรยี นการสอน สามารถดไู ดท้ ัง้ รายการท่ีออกตามตาราง และรายการท่ดี ูยอ้ นหลงั

3) Online ให้ครูเป็นผู้จัดการเรียนการสอน ผ่านเครื่องมือที่ทางโรงเรียนกระจายไปสู่นักเรียน เป็นรูปแบบ
ทีถ่ ูกใชใ้ นการจัดการเรียนการสอนจำนวนมากที่สุด

4) On Demand เปน็ การใช้งานผา่ นแอปพลิเคช่นั ตา่ งๆ ท่คี รกู บั นักเรยี นใชร้ ่วมกัน
5) On Hand หากจัดในรูปแบบอื่นๆ ที่กล่าวมาไม่ได้ ให้โรงเรียนจัดแบบ On Hand คือจัดใบงานให้กับ
นักเรียน เป็นลักษณะแบบเรียนสำเร็จรูป ให้นักเรียนรับไปเป็นชุดไปเรียนด้วยตัวเองที่บ้าน โดยมีครูออกไปเยี่ยม
เป็นครั้งคราว หรือให้ผู้ปกครองทำหน้าที่เป็นครูคอยช่วยเหลือ เพื่อให้นักเรียนสามารถเรียนได้อย่างต่อเนื่อง
ถงึ แมโ้ รงเรียนจะปดิ แต่ตอ้ งไมห่ ยุดการเรยี นรู้

5. ระบบการดแู ลช่วยเหลือนกั เรียน
ระบบการดแู ลช่วยเหลือนักเรียน เป็นระบบที่สำคัญในการพัฒนาผู้เรยี น เนื่องจากเป็นการส่งเสริม พัฒนา

ป้องกนั และการแกไ้ ขปญั หาให้แกน่ ักเรยี น โดยมรี ายละเอียดดงั น้ี
5.1 ความสำคญั ของระบบการดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรยี น
นกั วชิ าการไดก้ ลา่ วถึงความสำคัญของระบบการดูแลช่วยเหลอื นักเรียน ดงั น้ี
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน (2550) ได้กำหนดความสำคัญของระบบการดูแลช่วยเหลือ

นักเรียนว่า เป็นการพัฒนานักเรียนให้มีความสมบูรณ์พร้อมทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้คุณธรรมและ
จรยิ ธรรม และการดำรงชีวิตอยา่ งมีความสขุ ในสงั คม ใหน้ กั เรียนเป็นคนดคี นเก่ง และมีความสุข ดังน้ัน ความจาํ เป็น
ในการสร้างระบบภูมิคุม้ กัน ที่เข้มแข็ง การมีระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนท่ีชัดเจนเป็นสิ่งสำคัญโดยดำเนินการ
ควบคู่ ไปกับระบบการจดั การเรียนการสอน

กระทรวงสาธารณสุข (2552) ได้กำหนดความสำคัญของระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
จากสภาพปัญหาต่าง ๆ จึงได้มีการดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนทางด้านการสร้างเสริมในส่วนที่ดี


Click to View FlipBook Version