The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สพม นครสวรรค์ รายงานวิจัยเชิงพื้นที่เรื่อง ข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์COVID19

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by metta.tha, 2021-10-26 22:47:34

สพม นครสวรรค์ รายงานวิจัยเชิงพื้นที่เรื่อง ข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์COVID19

สพม นครสวรรค์ รายงานวิจัยเชิงพื้นที่เรื่อง ข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์COVID19

Keywords: ข้อเสนอเชิงนโยบาย การจัดการศึกษาในสถานการณ์ Covid19

189

เสกสิฐ เล้ากจิ เจรญิ . (2550). การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการเทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์เพ่ือการเรียนการสอนใน
โรงเรยี นคาทอลิก สงั กดั สังฆมณฑลราชบรุ ี เขตเหนอื . ปริญญานพิ นธศ์ ึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการ
บริหารการศกึ ษา มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ.

สวุ ิทย์ มูลคำ. (2549). การเขียนแผนการจดั การเรยี นรู้ทเ่ี นน้ การคดิ . กรุงเทพมหานคร: ภาพพมิ พ.์

สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน. (2564). การประชุมทางไกลผา่ นระบบวดิ โี อคอนเฟอเรนซ์ เพื่อชีแ้ จง
แนวทางปฏิบัติในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19). สืบค้นจาก
https://www.obec.go.th/archives/363188.

. (2552 ก). คู่มือแนวทางปฏิบัติและมาตรการรักษาความ ปลอดภัยของสถานศึกษา ฉบับปรับปรุง
พ.ศ. 2552. กรุงเทพมหานคร: สำนกั งานฯ.

. (2550). แนวทางการกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศกึ ษา. กรุงเทพมหานคร: สำนกั งานฯ.

. (2549). แนวทางการดำเนินระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนสำหรับโรงเรียนขนาดเล็ก.
กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พ์ชุมนมุ สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทยจำกัด.

. (2552 ข). ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน หลักการ แนวคิด และทิศทางในการดำเนินงาน.
กรุงเทพมหานคร: สำนกั งานฯ .

สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา. (2563). รายงานการพิจารณาการศึกษา เรื่อง ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเร่งด่วน ว่า
ดว้ ยการบริหารจดั การศึกษาในชว่ งสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ท่ี
เหมาะสมกบั สงั คมไทย. กรุงเทพมหานคร: สำนักกรรมาธกิ าร 3 สำนักงานเลขาธิการวฒุ สิ ภา.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2563). รายงานเรียนออนไลน์ยุคโควิด-19: วิกฤติหรือโอกาสการศึกษาไทย.
กรุงเทพมหานคร: สำนกั มาตรฐานการศึกษาและพฒั นาการเรยี นร.ู้

ไสว ฟักขาว. (2561). การจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพมหานคร:
คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจนั ทรเกษม.

หน่วยศึกษานิเทศก์สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2550 ). การพัฒนาและการใช้
แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนและท้องถิ่นเพื่อจัดกระบวนการเรียนรู้.กรุงเทพมหานคร: หน่วยศึกษานิเทศก์
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐานกระทรวงศึกษาธิการ.

องคก์ ารทุนเพือ่ เด็กแหง่ สหประชาชาติ. (2563). ยูนิเซฟเผยผลกระทบโควดิ -19 ตอ่ เด็กและเยาวชนใน

190

ประเทศไทยพบเยาวชน 8 ใน 10 คนเครียดด้านปัญหาการเงินของครอบครัวมากที่สุด. สืบค้นจาก
https://www.unicef.org/thailand/th/press-releases/ยูนิเซฟเผยผลกระทบโควดิ -
19 ต่อเด็กและเยาวชนในประเทศไทย.

อำนาจ ชนะวงศ์. (2552). ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อความมีประสิทธิผลเชิงระบบในการดำเนินงานของ
คณะกรรมการสถานศึกษาในจังหวัดกาฬสินธ์ุ. วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
1(3), 54–59.

Caplan, G. (1964). Principles of preventive psychiatry. New York: Basic Books.

Coombs, W. T & Holladay, W. J. (2000). Crisis management: Advantages of a relational perspectives.
In J. A. Ledingham & S. D. Bruning (Eds.) Public relations as relationship management: A
relational approach to public relations, 73-93. Mahwah, NJ: Lawrence Erlbaum Associates.

CS&A International. (2019). The role of eLearning in crisis resilience. Retrieved from
https://www.crisis-response.com/comment/blogpost.php?post=489

Daniel P. Bennett (2021). Crisis management at an institution of higher education during the
recovery phase of the 2020 COVID-19 pandemic : A case study. A dissertation submitted to
Edgewood College Doctor of Education degree program in Educational Leadership in partial
fulfillment of the requirements for the degree. Edgewood College

Darling, J. R. (1994). Crisis management in international business: Keys to effective decision making.
Leadership & Organization Development Journal, 15(8), 3-8.

Di Pietro, G., Biagi, F., Costa P., Karpinski, Z., and Mazza, J. (2020). The likely impact of COVID-19
on education: Reflections based on the existing literature and recent international datasets.
A Technical report by the Joint Research Centre (JRC).
Finnish National Agency for Education. (2020). Education in Finland and the Coronavirus.
Retrieved from https://www.oph.fi/en/education-andqualifications/education-finland-
andcoronavirus.

Hall, M. R. (2006). Corporate philanthropy and corporate community relations: Measuring
relationship-building results. Journal of Public Relations Research, 18(1), 1-21.

191

Havighurst, R. J. (1953). Human Development and Education. Oxford: Longmans.

Herman, C. F. (1963). International crisis as a situational variable. In Rosenau, J.N. (Ed.), International
Politics and Foreign Policy: A Reader in Research and Theory, New York: Free Press.

Hills, P. J. A. (1982). Dictionary of education. London: Routledge & Kegan Payi.

Hough, J. B. & Duncan, K. (1970). Teaching description and analysis. Addison-Westlu.

Joint Committee on Standards for Educational Evaluations. (1994). The program evaluation standards:
How to assess evaluations of educational programs. Newbury Park, CA: Sage

Lichtenstein, R., Schonfeld, D. J. & Kline, M. (1994). Special Topic / School crisis response: Expecting
the unexpected. Educational Leadership, 52(3), 79-83.

MacNeil, W. & Topping, K. (2007). Crisis management in schools: Evidence-based prevention.
Journal of Educational Enquiry, 7(1), 64-94.

Ministry of Education, Singapore. (2020). School and institutes of higher learning to shift to full
home-based learning; preschools and student care centre to suspend general services.
Retrieved from https://planipolis.iiep.unesco.org/en/2020/schools-and-institutes-higher-
learning-shift-full-home-based-learning-preschools-and-student

Netolicky, M. (2020). School leadership during a pandemic: Navigating tensions. Journal of
Professional Capital and Community, 5(3/4), 391-395.

Nickerson, A. B., Brock, S. E., & Reeves, M. A. (2006). School crisis teams within an incident command
system. The California School Psychologist, 11, 63-72.

Osmond-Johnson, P., Campbell, C. & Pollock, K. (2020). Moving forward in the COVID19 era:
Reflections for Canadian education. Retrieved from https://www.edcan.ca/articles/moving-
forward-in-the-covid-19-era/?gclid=EAIaIQobChMIzeie-fCV6gIVTQ4rCh3muwKwEAAYASAAEgL
Oo_D_BwE.

Paton, D. (1992). Dealing with traumatic incidents in the workplace. Coolum Beach, Queensland: Gull
Publishing.

192

People for Education. (2020). Tracking Canada's education systems' response to COVID19.
Retrieved from https://peopleforeducation.ca/our-work/tracking-canadaseducation-
systems-response-to-covid-19/

Ploj Virtic, Mateja; Dolenc, Kosta; Šorgo, Andrej. (2021). Changes in Online Distance Learning
Behaviour of University Students during the Coronavirus Disease 2019 Outbreak, and
Development of the Model of Forced Distance Online Learning Preferences. European
Journal of Educational Research, 10(1) : 393-411.

Rogers, B. (1972). Human personality: Towards a unified theory. Massachusetts: Vantage.

Roy, C. & Andrews, H. A. (1999). The Roy adaptation model (2nd ed.). Stamford, CT: Appleton & Lange.

Tayeb, M. H. (1996). The management of a multicultural workforce. London: Biddles.

United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization. (2020). China ECE policy
response to COVID-19. Retrieved from
https://planipolis.iiep.unesco.org/en/2020/china-ece-policy-response-covid-19-6865.

Tartavulea, Cristina Venera and others. (2020). Online Teaching Practices and the Effectiveness
of the Educational Process in the Wake of the COVID-19 Pandemic. Amfiteatru Economic
recommends. Amfiteatru Economic recommends. 22(55), 921-936.

Williamson, E. G. (1950). A concept of counseling. Occupations, 29, 182-189.

191

ภาคผนวก

192

เครือ่ งมือวิจยั

193

เคร่ืองมอื ชดุ ท่ี 1
แบบสัมภาษณผ์ ู้บริหารโรงเรยี น
การวจิ ยั เชงิ พ้นื ที่ เรอ่ื ง ขอ้ เสนอเชงิ นโยบายการจดั การศึกษาในสถานการณ์การแพรร่ ะบาด
ของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 ของโรงเรยี นในสงั กัดสำนกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษา

นครสวรรค์
คำชี้แจง โปรดกรอกขอ้ มูลตามความคิดเห็นของทา่ นตามความเป็นจรงิ เพ่ือเปน็ ประโยชน์ในการจดั ทำ

ข้อเสนอเชิงนโยบายของสำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาต่อไป โดยในการเก็บข้อมูลเพ่ือการวจิ ยั ครั้งน้ี
มีวัตถปุ ระสงค์ดงั น้ี
1. ศึกษาสภาพปจั จุบนั และปัญหาการจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรัส
โคโรนา 2019 ของโรงเรียนในสังกดั สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษานครสวรรค์
2. เพือ่ พัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายการบริหารสถานศึกษาการจัดการศึกษาในสถานการณก์ ารแพร่
ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 ของโรงเรียนในสงั กัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามธั ยมศึกษา
นครสวรรค์
3. เพอ่ื ตรวจสอบข้อเสนอเชงิ นโยบายการจัดการศึกษาของสถานศึกษาประเภทต่างๆ และขนาดต่างๆ
ในสงั กัดสำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษานครสวรรค์

การใหข้ ้อมลู ความคิดเหน็ และข้อเสนอแนะของท่านจะเป็นประโยชน์ตอ่ การวจิ ัยในคร้ังน้ีเป็นอย่างยง่ิ
และคณะผู้วิจยั จะเก็บรกั ษาข้อมูลของท่านเพ่ือใช้ประโยชน์เฉพาะงานวิจยั น้ีเท่านน้ั ผู้วจิ ัยหวงั เปน็ อย่างยิ่งวา่
จะไดร้ ับความอนเุ คราะห์จากทา่ นในการตอบแบบสอบถามครงั้ นี้ และขอขอบคุณในความร่วมมือมา ณ โอกาสนี้

ตอนท่ี 1 ข้อมลู พ้นื ฐาน
ช่อื - สกลุ ผู้ให้ข้อมลู ……………………………………………………………………………………………………………
ตำแหนง่ ……………………………………………เบอร์โทรศัพท์…………………………………………………………….
ชือ่ โรงเรยี น……………………………………………………………………………………………………………………..
ตำบล…………………………………………อำเภอ……………………จังหวดั …………………………………………

ตอนท่ี 2 การดำเนนิ งานด้านการบรหิ ารจดั การ การจดั การเรียนรู้ และการดูแลช่วยเหลอื นกั เรยี น
2.1 การดำเนินงานดา้ นการบริหารจดั การของโรงเรียนในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของ

โรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019
1) ด้านบคุ คล (Man)
1.1 โรงเรียนมีรูปแบบหรือแนวทางในการบริหารจัดการด้านบุคคลในช่วงสถานการณ์

การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 อยา่ งไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

194

1.2 ผู้บริหารสถานศึกษา /ครูผสู้ อน มบี ทบาทในการจดั การเรยี นการสอนในชว่ งสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 อย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

1.3 โรงเรียนมีรูปแบบหรือแนวทางการส่งเสริมพัฒนาครูในการจดั การศึกษาในช่วงสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 อย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

1.4 โรงเรียนมีครูพอเพยี งในการจดั การเรยี นการสอนในชว่ งสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 หรอื ไม่ และโรงเรยี นมีรูปแบบหรือแนวทางในการจดั การอย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2) ด้านงบประมาณ (Money)
2.1 โรงเรียนมีรูปแบบหรือแนวทางในการบริหารจัดการด้านการงบประมาณ ( Money)
ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 อย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2.2 โรงเรียนมีงบประมาณเพยี งพอในการจดั การเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ
เชือ้ ไวรัสโคโรนา(COVID 19) หรือไม่ อย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2.3 โรงเรียนมีปัญหาและอุปสรรคการบริหารจัดการงบประมาณ ในการจัดการเรยี น
การสอนในชว่ งสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือไม่ และโรงเรยี นมีแนวทาง
การแกไ้ ขปัญหาอยา่ งไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2.4 โรงเรียนไดร้ ับการสนับสนนุ งบประมาณเพม่ิ เติมในการจัดการเรยี นการสอนในช่วงสถานการณ์การ
แพรร่ ะบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 หรอื ไม่ จากท่ีใด อย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3) ดา้ นวัสดุ อุปกรณ์ และสงิ่ อำนวยความสะดวก (Money)
3.1 โรงเรียนมีรูปแบบหรือแนวทางในการบริหารจัดการด้านการวัสดุ อุปกรณ์ และสิ่งอำนวย
ความสะดวก (Material) ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 อย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3.2 โรงเรียนมีวัสดุ อุปกรณ์ และสิ่งอำนวยความสะดวก ในการจัดการเรียนการสอน
ในชว่ งสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 เพียงพอหรือไม่ อย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3.3 โรงเรียนได้รบั การสนับสนนุ วสั ดุ อุปกรณ์ และสิ่งอำนวยความสะดวก ในการจัดการเรยี นการสอน
ในชว่ งสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 หรอื ไม่ อย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

195

4) ดา้ นการบริหารจัดการ (Management)

4.1 โรงเรียนมีการบริหารจัดการ (Management) ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือ

ไวรัสโคโรนา 2019 อยา่ งไร

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

4.2 โรงเรยี นมรี ปู แบบ วธิ กี าร หรอื กระบวนการ ในการพฒั นาการจดั การเรยี นการสอน

ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ทีป่ ระสบผลสำเร็จ หรือเป็น

Best Practice ของโรงเรยี น หรอื ไม่ อยา่ งไร

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2.2 การดำเนินงานด้านการจัดการเรียนรู้ของโรงเรยี นในสถานการณ์การแพร่ระบาดของ

โรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019

2.2.1 แต่ละชั้นเรียนจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบใด (สามารถเลือกตอบ ✓ได้มากวา่ 1 ข้อ)

ชนั้ On On On On On รูปแบบอื่นๆ ปัญหาอุปสรรค วิธีการแกไ้ ข

Site Air Demand Hand Line (โปรดระบุ)

ม.1

ม.2

ม.3

ม.4

ม.5

ม.6

2.2.2 จากขอ้ 2.2.1 ทา่ นมวี ธิ ีการ หรอื แนวทางในการพิจารณาเลอื กรูปแบบการจัดการเรียนรู้อย่างไร

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2.2.3 โรงเรียนมรี ูปแบบ หรือแนวทางในการวัดและประเมินผลจากการจัดการเรียนการสอนในช่วง

สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 อย่างไร

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2.3 การดำเนินงานดา้ นการดูแลชว่ ยเหลือนกั เรียนของโรงเรยี นในช่วงสถานการณ์

การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019

2.3.1 โรงเรยี นมรี ูปแบบหรือแนวทางในการให้ความช่วยเหลอื นักเรียนด้านการเรยี นรู้อย่างไร

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2.3.2 กรณนี ักเรยี นขาดเรยี นโรงเรียนมรี ะบบติดตาม ให้ความชว่ ยเหลอื นักเรียนอย่างไร

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

196

2.3.3 โรงเรียนมีรปู แบบหรือแนวทางในการด้านการติดตามสง่ ต่อการเรียนรู้จากระดบั ประถมศึกษา
มัธยมศึกษาตอนต้น มธั ยมศึกษาตอนปลาย อย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2.3.4 โรงเรียนมีมาตรการด้านความปลอดภัยในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา 2019 อยา่ งไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2.3.5 โรงเรียนมีแนวทางในการติดตาม ช่วยเหลือนักเรียนที่ผู้ปกครองหรือญาติที่ใกล้ชิด
เปน็ กลุ่มผสู้ ัมผสั โรค กลุม่ เส่ียง หรอื ติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา (COVID 19) หรอื ไมอ่ ยา่ งไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2.3.6 โรงเรียนมีแนวทาง หรือนโยบายให้เครือข่ายผู้ปกครอง หรือญาติที่ใกล้ชิดของนักเรียน
มีสว่ นร่วมในการสังเกตพฤตกิ รรมการเรยี น และประเมินผลการเรียนรรู้ ว่ มกนั หรอื ไม่ อย่างไร

2.3.7 ด้านอืน่ ๆ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ตอนที่ 3 ความต้องการของโรงเรียนในการได้รับการส่งเสริมสนับสนุนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

ในกรณีทไ่ี ม่สามารถจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนแบบปกติได้ (On Site)
สำนักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ข้อเสนอแนะเพม่ิ เติม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

*****************************************************************************
ขอขอบคุณในความร่วมมือ ณ โอกาสน้ี

197

เคร่ืองมือชุดที่ 2

แบบสมั ภาษณค์ รผู ้สู อน

การวิจัยข้อเสนอเชิงนโยบายการจดั การศึกษาในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา

2019 ของโรงเรยี นในสงั กัดสำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษานครสวรรค์

คำชแี้ จง

1. รูปแบบการจัดการเรียนการสอน

 On- Site  On- Air  On- Demand  On- Hand  On- Line

 รปู แบบอื่นๆ(โปรดระบุ)……………………………………………………………..

2. ระดับช้นั ที่สอน

 ม. 1  ม. 2  ม. 3  ม. 4  ม. 5  ม. 6

3. ลกั ษณะโรงเรียนท่ีใช้ในการวิจัย

 โรงเรียนคุณภาพระดับมัธยมศึกษา  โรงเรียนที่เป็นโรงพยาบาลสนาม

 โรงเรียนขนาดใหญ่พเิ ศษ  โรงเรยี นขนาดกลาง  โรงเรียนขนาดเล็ก

4. ช่อื – สกุล …………………………………………………………………………….

ตำแหนง่ …………………………………………………………………………….

5. โปรดระบุกล่มุ สาระการเรยี นร/ู้ กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน

 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย  กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์  กลุ่มสาระการเรียนรู้

วทิ ยาศาสตร์  กลุม่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษาฯ  กล่มุ สาระการเรียนรู้ศลิ ปะ

 กลุ่มสาระการเรียนรู้สขุ ศึกษาฯ  กลมุ่ สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ  กลมุ่ สาระการเรยี นรู้

ภาษาตา่ งประเทศ  กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน

การให้ข้อมลู ความคดิ เห็นและข้อเสนอแนะของท่านจะเปน็ ประโยชนต์ อ่ การวิจยั ในครั้งน้ีเป็นอย่างยงิ่

และคณะผวู้ จิ ัยจะเก็บรกั ษาข้อมลู ของท่านเพ่ือใช้ประโยชน์เฉพาะงานวจิ ัยน้เี ทา่ น้ัน ผู้วจิ ยั หวงั เป็นอย่างยงิ่ วา่

จะไดร้ ับความอนเุ คราะห์จากท่านในการตอบแบบสอบถามคร้ังนี้ และขอขอบคุณในความรว่ มมอื มา ณ โอกาสน้ี

1. ปญั หาอุปสรรค และวธิ กี ารแก้ไข การจดั การเรียนรู้ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัส

โคโรนา 2019 ทา่ นดำเนนิ การอยา่ งไร

รูปแบบการจัดการเรียน ปัญหาอุปสรรค วธิ กี ารการแกไ้ ข

การสอน

 On Site

 On Air

 On Demand

 On Hand

 On Line

 รปู แบบอน่ื ๆ(โปรดระบุ)

198

2. ทา่ นมวี ิธีการวดั และประเมินผลการจัดการเรียนรตู้ ามรูปแบบการสอน ในข้อ 1 ของผเู้ รียนอย่างไร
............................................................................................................................. .................................................
3. ทา่ นใช้สือ่ นวตั กรรม ในการจดั การเรยี นการสอนในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโร
นา 2019 อะไรบ้าง
............................................................................................................................. .................................................
................................................................................................................................................................. .............
4. ทา่ นดูแลช่วยเหลอื นักเรียนอย่างไร เพ่อื ใหก้ ารจดั การเรียนการสอนในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรค
ติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 ประสบความสำเรจ็

.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................

5. ขอ้ เสนอเสนอแนะเพื่อการพัฒนา

......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................

ขอขอบคุณในความรว่ มมือ ณ โอกาสน้ี

199

เคร่ืองมอื ชุดท่ี 3

แบบการวิเคราะห์ จดุ แขง็ จุดออ่ น โอกาส และอุปสรรค (SWOT)

การบรหิ ารจดั การ การจดั การเรยี นรู้ และการดูแลช่วยเหลอื นักเรียนของโรงเรยี น

การวิจยั ข้อเสนอเชิงนโยบายการจดั การศกึ ษาในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั

โคโรนา 2019 ของโรงเรียนในสังกดั สำนักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศึกษานครสวรรค์

คำชแ้ี จง

1. แบบการวเิ คราะห์ จุดแขง็ จดุ ออ่ น โอกาส และอุปสรรค การบริหารจดั การ การจัดการเรียนรู้

และการดูแลช่วยเหลอื นักเรียน ของโรงเรยี นในสังกัดสำนกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษานครสวรรค์

จำนวน 31 โรงเรียน แบ่งออกเปน็ 5 กลมุ่ ดงั น้ี 1. โรงเรยี นขนาดใหญพ่ ิเศษ จำนวน 1 โรงเรียน

โรงเรียนขนาดกลาง จำนวน 5 โรงเรียน และโรงเรยี นขนาดเลก็ จำนวน 13 โรงเรยี น โรงเรียนคุณภาพระดับ

มัธยมศึกษา จำนวน 11 โรงเรียน และ โรงเรยี นท่ใี ช้พ้ืนท่เี ป็นโรงพยาบาลสนาม จำนวน 1 โรงเรียน

2. โรงเรยี นแตล่ ะประเภท นำขอ้ มลู จากการสัมภาษณ์ ผู้บริหาร ครู แยกตามระดบั ช้ัน

วเิ คราะหส์ ภาพการณภ์ ายในและภายนอกของงาน/องค์กร พจิ ารณาสภาพการณ์ การบริหารจดั การ

การจัดการเรยี นรู้ และการดูแลช่วยเหลอื นักเรียน ของโรงเรยี นนกั วิจยั

วเิ คราะห์สภาพการณ์ภายใน/องค์กร

ประเด็นสำคัญประเดน็ ย่อย ด้านบริหารจดั การ บันทกึ ผลการวิเคราะห์

1. ดา้ นบุคลากร (Man)

1.1 ผบู้ ริหาร

1.2 ครู

2. ดา้ นงบประมาณ (Money)

- การบรหิ ารงบประมาณ

3. ดา้ นวสั ดุ อปุ กรณ์ และสิง่ อำนวยความสะดวก

(Material)

3.1 การไดร้ ับการสนับสนนุ

3.2 ส่ือเทคโนโลยี
4. การบริหารจดั การ (Management)

4.1 การกำกับตดิ ตาม และกำหนด
ทศิ ทาง การจดั การศกึ ษา ให้สามารถขบั เคลือ่ นไป
ดว้ ยดี

4.2 การนำผลการตดิ ตามไปปรบั ปรงุ และ
พฒั นาคณุ ภาพของสถานศึกษา

200

วเิ คราะหส์ ภาพการณ์ภายนอก/องคก์ ร (หน่วยงานที่เกย่ี วข้อง)

ประเด็นสำคญั ประเด็นย่อย ด้านบรหิ ารจดั การ บนั ทึกผลการวเิ คราะห์

1. ด้านบคุ ลากร (Man) บุคลากรในเขตพ้ืนท่ี

1.1 ผู้อำนวยการสำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษา

1.2 ผอ.กลุ่ม กลมุ่ ในเขตพน้ื ท่ี

1.3 ศึกษานเิ ทศก์

2. ด้านงบประมาณ (Money) -มรี ะบบการติดตามและนโยบายท่ีชัดเจนสามารถ
2.1 ปรมิ าณ ปฏิบัตไิ ด้
2.2 การจดั สรร
3. ดา้ นวัสดุ อปุ กรณ์ และสิ่งอำนวยความสะดวก
(Material)
-การสนับสนุน
4. การบริหารจดั การ (Management)

- การกำกับตดิ ตาม และกำหนด
ทิศทาง การจัดการศึกษา ให้สามารถขบั เคลือ่ นไป
ด้วยดี

201

นำประเดน็ ย่อยจากผลการวิเคราะหส์ ภาวการณ์ภายใน และการวเิ คราะห์สภาวการณภ์ ายนอก มาใส่

ในตารางวเิ คราะห์ SWOT โดยแยกข้อมลู เปน็ จดุ แขง็ จดุ ออ่ น โอกาส และอปุ สรรค

(ดา้ นการบรหิ ารจดั การ)

สภาพการณ์ภายใน จดุ แขง็ (Strength) จุดอ่อน (Weaknesses)

สภาพการณ์ภายนอก วเิ คราะห์ความสัมพันธ์ วิเคราะห์ความสมั พันธ์
โอกาส (Opportunities) จดุ แขง็ กับ โอกาส SO จดุ อ่อน กบั โอกาส WO

- -

อุปสรรค (Threats) วเิ คราะหค์ วามสัมพันธ์ วิเคราะหค์ วามสัมพันธ์
จดุ แข็ง กับ อปุ สรรค ST จดุ ออ่ น กบั อุปสรรค WT

-

202

วิเคราะห์ความสัมพนั ธข์ องสภาพการณ์ภายในกบั สภาพการณภ์ ายนอก โดยจบั คู่

SO จดุ แข็งกับโอกาส ST จุดแข็งกับอุปสรรค

WO จุดออ่ นกบั โอกาส WT จดุ อ่อนกับอปุ สรรค

สรปุ การวเิ คราะห์ความสมั พันธร์ ะหวา่ งสภาพการณภ์ ายใน/องค์กร (จุดแข็ง/จดุ อ่อน) กบั
สภาพการณ์ ภายนอก/องค์กร (โอกาส/อุปสรรค) ด้านบริหารจดั การ

จุดแข็งกบั โอกาส (SO) พบวา่
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

แนวทางการจดั การศึกษา โรงเรียน...........................................................................................

203

2. จดุ แข็งกบั อปุ สรรค (ST) พบว่า
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

แนวทางการจัดการศึกษา โรงเรียน...........................................................................................
3. จุดออ่ นกับโอกาส (WO) พบวา่

………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………
แนวทางการจดั การศึกษา โรงเรยี น...........................................................................................
4. จดุ ออ่ นกบั อุปสรรค (WT) พบว่า
………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………
แนวทางการจัดการศกึ ษา โรงเรยี น...........................................................................................

วเิ คราะหส์ ภาพการณ์ภายใน/องคก์ ร บันทกึ ผลการวิเคราะห์
ประเด็นสำคัญประเดน็ ย่อย ด้านจัดการเรียนรู้
1. ดา้ นบคุ ลากร (Man)
-ครู

2. ดา้ นงบประมาณ (Money)
การบรหิ ารงบประมาณ

3. ด้านวสั ดุ อุปกรณ์ และสิ่งอำนวยความสะดวก
(Material)

- การไดร้ บั การสนับสนนุ

4. การบริหารจดั การ (Management)

4.1 หลักสตู ร

4.2 วธิ กี ารวัดและประเมนิ ผลผู้เรียน

204

ประเดน็ สำคญั ประเด็นย่อย ด้านจดั การเรยี นรู้ บันทึกผลการวิเคราะห์
4.3 การตดิ ตาม ตรวจสอบ การจัดการเรียนรู้
ของผู้เรยี น
4.4 การปรบั ปรุงแก้ไขการจัดการเรยี นรู้

วิเคราะห์สภาพการณภ์ ายนอก/องคก์ ร (หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง)

ประเดน็ สำคญั ประเดน็ ย่อย ด้านจัดการเรยี นรู้ บันทึกผลการวิเคราะห์

1. ดา้ นบคุ ลากร (Man)

1.1 ผูอ้ ำนวยการสำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษา

1.2 ผอ.กล่มุ กลุ่มในเขตพ้นื ที่

1.3 ศกึ ษานิเทศก์

2. ด้านงบประมาณ (Money)
- การบรหิ ารงบประมาณ

3. ด้านวัสดุ อปุ กรณ์ และส่งิ อำนวยความสะดวก
(Material)

-การไดร้ ับการสนบั สนุน

4. การบรหิ ารจัดการ (Management)

4.1 หลักสตู ร

4.2 วิธีการวัดและประเมนิ ผลผูเ้ รียน

4.3 การตดิ ตาม ตรวจสอบ การจัดการเรียนรู้ ของ
ผเู้ รียน

4.4 การปรบั ปรงุ แก้ไขการจัดการเรยี นรู้

205

นำประเดน็ ย่อยจากผลการวิเคราะหส์ ภาวการณ์ภายใน และการวเิ คราะห์สภาวการณ์ภายนอก มาใส่

ในตารางวเิ คราะห์ SWOT โดยแยกข้อมลู เปน็ จดุ แข็ง จดุ อ่อน โอกาส และอุปสรรค

(ด้านการจัดการเรียนรู้)

สภาพการณ์ภายใน จดุ แข็ง (Strength) จดุ ออ่ น (Weaknesses)

สภาพการณ์ภายนอก วเิ คราะหค์ วามสัมพันธ์ วิเคราะห์ความสัมพันธ์
โอกาส (Opportunities) จดุ แข็ง กับ โอกาส SO จดุ อ่อน กับ โอกาส WO

อุปสรรค (Threats) วเิ คราะห์ความสัมพนั ธ์ วิเคราะหค์ วามสัมพันธ์
จดุ แขง็ กบั อปุ สรรค ST จดุ ออ่ น กับ อุปสรรค WT

วเิ คราะหค์ วามสัมพันธข์ องสภาพการณภ์ ายในกบั สภาพการณภ์ ายนอก โดยจบั คู่

SO จดุ แขง็ กบั โอกาส ST จุดแข็งกบั อปุ สรรค

WO จุดออ่ นกับโอกาส WT จุดอ่อนกับอุปสรรค

206

สรปุ การวิเคราะห์ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งสภาพการณภ์ ายใน/องค์กร (จุดแข็ง/จุดอ่อน)
กับสภาพการณ์ ภายนอก/องค์กร (โอกาส/อปุ สรรค) ด้านการจดั การเรยี นรู้

จุดแข็งกบั โอกาส (SO) พบว่า
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

แนวทางการจัดการศกึ ษา โรงเรยี น...........................................................................................
1. จุดแข็งกับอปุ สรรค (ST) พบว่า

………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………
แนวทางการจัดการศกึ ษา โรงเรียน...........................................................................................
2. จดุ อ่อนกบั โอกาส (WO) พบวา่
………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………
แนวทางการจดั การศึกษา โรงเรียน...........................................................................................
3. จดุ อ่อนกบั อุปสรรค (WT) พบวา่
………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………
แนวทางการจัดการศึกษา โรงเรียน...........................................................................................

วิเคราะห์สภาพการณ์ภายใน/องค์กร บนั ทกึ ผลการวเิ คราะห์
ประเดน็ สำคญั ประเด็นย่อย ด้านการดูแล

ช่วยเหลือนกั เรยี น
1. ดา้ นบุคลากร (Man)
-ครู
2. ด้านงบประมาณ (Money)

-การบริหารงบประมาณ
3. ด้านวสั ดุ อุปกรณ์ และสงิ่ อำนวยความสะดวก
(Material)

3.1การได้รับการสนับสนนุ
3.2 สอ่ื เทคโนโลยี

207

ประเด็นสำคญั ประเดน็ ย่อย ด้านการดแู ล บันทกึ ผลการวิเคราะห์
ช่วยเหลอื นกั เรยี น

4. การบริหารจัดการ (Management)

4.1 หลกั สตู ร

4.2 วธิ ีการวัดและประเมนิ ผลผู้เรียน

4.3 การติดตาม ตรวจสอบ การจัดการเรียนรู้ ของ
ผู้เรยี น

4.4 การปรบั ปรงุ แก้ไขการจัดการเรยี นรู้
4.5 การดแู ลช่วยเหลือนกั เรียน ในการสง่ ต่อ
ผเู้ รยี นให้สามารถศึกษาต่อให้สูงขน้ึ

วเิ คราะห์สภาพการณภ์ ายนอก/องคก์ ร (หนว่ ยงานทเ่ี กีย่ วข้อง)

ประเดน็ สำคัญประเดน็ ย่อย ด้านการดูแล บนั ทกึ ผลการวเิ คราะห์

ช่วยเหลือนักเรียน

1. ด้านบุคลากร (Man)

1.1 ผอู้ ำนวยการสำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษา

1.2 ผอ.กลุ่ม กล่มุ ในเขตพืน้ ท่ี

1.3 ศกึ ษานเิ ทศก์

2. ดา้ นงบประมาณ (Money)
-การบริหารงบประมาณ

3. ด้านวัสดุ อุปกรณ์ และสงิ่ อำนวยความสะดวก
(Material)

-การไดร้ ับการสนับสนนุ

208

ประเด็นสำคัญประเด็นย่อย ด้านการดแู ล บันทึกผลการวเิ คราะห์
ช่วยเหลือนักเรียน

4. การบริหารจดั การ (Management)

4.1 หลักสูตร

4.2 วธิ กี ารวดั และประเมินผลผู้เรยี น

4.3 การติดตาม ตรวจสอบ การจดั การเรยี นรู้ ของ
ผูเ้ รยี น

4.4 การปรบั ปรุงแก้ไขการจัดการเรียนรู้
4.5 การดูแลชว่ ยเหลือนกั เรียน ในการสง่ ต่อ
ผเู้ รยี นใหส้ ามารถศึกษาต่อให้สงู ขน้ึ

นำประเดน็ ย่อยจากผลการวิเคราะหส์ ภาวการณ์ภายใน และการวเิ คราะหส์ ภาวการณ์ภายนอก มาใส่

ในตารางวเิ คราะห์ SWOT โดยแยกข้อมลู เป็นจดุ แข็ง จดุ ออ่ น โอกาส และอุปสรรค

(ด้านการการดแู ลช่วยเหลือนักเรยี น)

สภาพการณ์ภายใน จุดแขง็ (Strength) จดุ อ่อน (Weaknesses)

สภาพการณภ์ ายนอก วเิ คราะหค์ วามสัมพันธ์ วิเคราะห์ความสัมพันธ์
โอกาส (Opportunities) จุดแขง็ กบั โอกาส SO จุดออ่ น กบั โอกาส WO

สภาพการณ์ภายใน จุดแขง็ (Strength) 209
จดุ ออ่ น (Weaknesses)

สภาพการณภ์ ายนอก วเิ คราะห์ความสัมพนั ธ์ วเิ คราะหค์ วามสัมพันธ์
อปุ สรรค (Threats) จุดแข็ง กบั อุปสรรค ST จุดอ่อน กบั อุปสรรค WT

วิเคราะห์ความสัมพนั ธ์ของสภาพการณภ์ ายในกับสภาพการณ์ภายนอก โดยจบั คู่

SO จดุ แขง็ กบั โอกาส ST จุดแข็งกับอุปสรรค

WO จดุ อ่อนกบั โอกาส WT จดุ อ่อนกับอุปสรรค

สรุปการวิเคราะห์ความสัมพนั ธ์ระหว่างสภาพการณภ์ ายใน/องค์กร (จดุ แข็ง/จดุ อ่อน) กบั
สภาพการณ์ ภายนอก/องค์กร (โอกาส/อปุ สรรค) ดา้ นการดูแลช่วยเหลือนักเรียน

1.จดุ แข็งกับโอกาส (SO) พบว่า
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

แนวทางการจัดการศึกษา โรงเรยี น...........................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

210

1. จดุ แข็งกับอปุ สรรค (ST) พบว่า
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แนวทางการจัดการศกึ ษา โรงเรยี น...........................................................................................
2. จดุ อ่อนกบั โอกาส (WO) พบว่า
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แนวทางการจัดการศึกษา โรงเรียน...........................................................................................

3. จุดอ่อนกบั อปุ สรรค (WT) พบว่า
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แนวทางการจดั การศึกษา โรงเรยี น...........................................................................................

211

แบบสมั ภาษณเ์ พอ่ื เก็บข้อมลู การวิจัย
ตอนที่ 1 ข้อมลู เบอ้ื งต้นของผู้ให้สัมภาษณ์
คำช้แี จง โปรดเขยี นเครอื่ งหมาย (✓) หน้าข้อความที่ตรงกับความเป็นจรงิ และเติมข้อความลงใน
ชอ่ งว่างตาท่กี ำหนดให้
1. ชื่อผ้ใู หส้ มั ภาษณ์…………………………………………………………………………………………………………..
โรงเรยี น............................................................
2. ตำแหนง่ ( ) ผ้บู ริหาร ( ) ครูผสู้ อน ( ) หวั หน้ากลมุ่ ใน สพม.นครสวรรค์
วทิ ยฐานะ ( ) เช่ยี วชาญ ( ) ชำนาญการพเิ ศษ ( ) ชำนาญการ ( ) ไม่มีวทิ ยฐานะ

ตอนท่ี 2 กลุ่มสนทนา (Focus group)
เรือ่ ง ข้อเสนอเชงิ นโยบายการจดั การศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรคตดิ เชอ้ื

ไวรัสโคโรนา 2019 สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษามธั ยมศึกษานครสวรรค์
คำชแี้ จง
1. การจดั เกบ็ ขอ้ มูลเพื่อการวจิ ัยครง้ั น้ี เครอื่ งมือท่ใี ชใ้ นการวจิ ยั เปน็ แบบสัมภาษณ์ ใช้

เทคนิคสนทนากล่มุ (Focus group) เพ่ือรวบรวมข้อมูล การบรหิ ารจดั การ การจัดการเรียนรู้ และการดแู ล
ช่วยเหลือนกั เรยี น จำนวน 31 โรงเรยี น

การดำเนินงาน 5 ประเดน็ 1) การบรหิ ารจัดการ 2) การจัดการเรียนรู้ 3) การดูแล
ช่วยเหลือนักเรยี น 4) นโยบายการจดั การศึกษาในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา
2019 5) แนวทางการพฒั นาโรงเรียนแตล่ ะลกั ษณะ

1) การบรหิ ารจดั การ เกย่ี วกับ การอำนวยการ กำกบั ทิศทาง และควบคมุ ให้โรงเรียน
สามารถขับเคล่ือนดำเนนิ การ จดั การศกึ ษาไปด้วยดี ทง้ั ด้านบคุ ลากร (Man) วิธีการ (Management) วสั ดุ
อุปกรณส์ งิ่ อำนวยความสะดวก (Material) และงบประมาณ (Money)

2) การจดั การเรยี นรู้ เก่ียวกบั การจัดการเรยี นการสอน On- Site, On- Air,
On -Demand, On -Hand, On- Line) หรอื รูปแบบอ่นื ๆ ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ และระดบั มธั ยมศึกษา
ตอนปลาย

3) การดูแลช่วยเหลือนักเรยี น เก่ียวกับ ดา้ นการเรียนรู้ ดา้ นความปลอดภัย
ด้านการติดตามสง่ ต่อการเรยี นรู้ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น และระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

4) นโยบายการจดั การศึกษาในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา
2019 เก่ยี วกับ การจัดการเรียนรู้ การวดั ประเมินผลผเู้ รยี น

5) แนวทางการพัฒนาโรงเรียนแต่ละลกั ษณะ เก่ียวกับ การบริหารจัดการ การจัดการ
เรียนรู้ และ การดแู ลช่วยเหลอื นกั เรยี น ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย

2. การสนทนากลุ่ม ประกอบด้วย กลุ่มผบู้ รหิ ารโรงเรยี น กลมุ่ ครผู ู้สอน และกลมุ่ ผู้อำนวยการกล่มุ
สำนกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์

ชุดที่ 1 กลุ่ม21ผ2บู้ รหิ าร

ขอ้ คำถามในการนำสนทนา
กลมุ่ ผูบ้ ริหาร

1. ช่วงสร้างความพร้อมในการสนทนา (ใชเ้ วลา 10 นาที)
1.1 กลา่ วตอ้ นรบั แสดงความขอบคุณทใี่ ห้ความรว่ มมือ
1.2 ช้แี จงเหตุผลและวัตถปุ ระสงค์ในการเข้ารว่ มสนทนาในคร้งั น้ี
1.3 แนะนำผวู้ จิ ัย
1.4 อธบิ ายให้ผ้รู ว่ มสนทนาเขา้ ใจถึงการพดู คุยและซักถาม

2. ชว่ งดำเนินการสนทนาในประเดน็ ขอ้ เสนอเชิงนโยบายการจัดการศกึ ษาในสถานการณก์ ารแพร่
ระบาด ของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 สำนักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษามัธยมศกึ ษานครสวรรค์
ตามประเด็นการดำเนนิ งาน 5 ประเดน็ 1) การบรหิ ารจัดการ 2) การจดั การเรียนรู้ 3) การดแู ล
ช่วยเหลอื นกั เรยี น 4) นโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา
2019 5) แนวทางการพัฒนาโรงเรียนแตล่ ะลักษณะ ดังน้ี (ใช้เวลาประมาณ 1.30 ชัว่ โมง)

3. ชว่ งแสดงความคดิ เหน็ ข้อเสนอเชงิ นโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพรร่ ะบาด ของโรค
ติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 ของโรงเรียน ประเด็น การบรหิ ารจัดการ การจัดการเรยี นรู้ และการดูแล
ช่วยเหลือนกั เรียน นโยบายการจดั การศึกษาในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019
แนวทางการพัฒนาโรงเรียนแต่ละลกั ษณะ (ใช้เวลาประมาณ 1 ช่วั โมง)

1. การบริหารจัดการ
1.1 สถานศึกษามีการดำเนินการจดั การศึกษา ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือ

ไวรสั โคโรนา 2019 อยา่ งไร
1.2 สถานศกึ ษา มกี ารกำกบั ตดิ ตาม และกำหนดทศิ ทาง การจดั การศึกษา ใหส้ ามารถ

ขับเคล่ือนไปด้วยดี ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 อยา่ งไร
1.3 สถานศกึ ษามีการนำผลการติดตามไปปรับปรุง และพัฒนาคณุ ภาพของสถานศึกษา ใน

สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 อยา่ งไร
1.4 สถานศกึ ษามีแนวทางการใชส้ ่ือนวตั กรรมการจดั การเรยี นการสอน ในสถานการณ์การแพร่

ระบาดของโรคติดเช้ือ ไวรัสโคโรนา 2019 อย่างไร
1.5 สถานศกึ ษามีการพัฒนาบุคลากรใหส้ ามารถจัดการเรียนการสอน ในสถานการณก์ ารแพร่

ระบาดของโรคตดิ เช้ือ ไวรสั โคโรนา 2019 อยา่ งไร
1.6 สถานศึกษาดำเนินการใชง้ บประมาณตามแผนการใช้งบประมาณเงนิ อุดหนนุ รายหัวนกั เรยี น

ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 อย่างไร
2. การจดั การเรยี นรู้
2.1 สถานศึกษาจดั รูปแบบการจัดการเรยี นการสอนภายใตส้ ถานการณ์การแพรร่ ะบาดของ

โรคโควดิ -19 อยา่ งไร ใน 5 รูปแบบหรือรูปแบบอืน่ ๆ (On-site ,On-air,On-demand ,On-line ,On-hand)
2.2 สถานศึกษามีการวางแผนการจดั การเรียนรู้ (On-site ,On-air,On-demand ,On-line ,

On-hand) ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 อยา่ งไร (ตอบรูปแบบที่มกี าร
จัดการเรยี นรู้)

2.3 สถานศึกษาจดั การเรยี นรู้ ให้ผู้เรยี นได้เรยี นร้คู รบทุกคน ในสถานการณ์การแพร่

213

ระบาดของโรคติดเช้ือ ไวรัสโคโรนา 2019 อยา่ งไร
2.4 สถานศึกษามีวธิ ีการติดตาม ตรวจสอบ การจดั การเรียนรู้ ของผเู้ รยี น ในสถานการณ์

การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 อย่างไร
2.5 สถานศึกามวี ิธีการวดั และประเมนิ ผลผ้เู รียน ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ

เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 อยา่ งไร
2.6 สถานศึกษามีการปรบั ปรุงแก้ไขการจัดการเรียนรู้ ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของ

โรคตดิ เชื้อ ไวรสั โคโรนา 2019 อยา่ งไร
3. การดูแลช่วยเหลือนักเรียน
3.1 สถานศึกษามีการดูแลชว่ ยเหลือนกั เรยี นดา้ นการศึกษา ในสถานการณ์การแพร่ระบาด

ของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 อย่างไร
3.2 สถานศกึ ษามกี ารดูแลชว่ ยเหลอื นักเรียน ในการจัดการเรียนรู้ตามรปู แบบของการศึกษา

(On-site ,On-air,On-demand ,On-line ,On-hand) ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรัส
โคโรนา 2019 อยา่ งไร

3.3 สถานศกึ ษามกี ารดูแลนักเรยี นท่มี ไี ม่มคี วามพร้อม และด้อยโอกาสในการเรยี น
ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 อย่างไร

3.4 สถานศกึ ษา ดูแลช่วยเหลอื นักเรยี นจากภยั คกุ คาม ทุกรปู แบบ ในสถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 อยา่ งไร

3.5 สถานศึกษาดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรยี น ในการส่งต่อผเู้ รียนให้สามารถศึกษาต่อใหส้ งู ข้นึ ใน
สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 ไดอ้ ยา่ งไร

3. ชว่ งแสดงความคิดเห็น ข้อเสนอเชิงนโยบายการจดั การศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาด ของ
โรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 ของโรงเรยี น ประเด็น การบรหิ ารจดั การ การจัดการเรยี นรู้ และการดแู ล
ชว่ ยเหลอื นักเรียน นโยบายการจดั การศึกษาในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019
แนวทางการพัฒนาโรงเรยี นแตล่ ะลักษณะ (ใชเ้ วลาประมาณ 1 ชั่วโมง)

1. สถานศกึ ษามีวิธีปฏิบัติที่ดี ท่เี ปน็ แบบอย่าง ในการบริหารจดั การ ท่ีนำมาเปน็
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย หรือไม่ อย่างไร

2. สถานศึกษามีวิธปี ฏบิ ัตทิ ่ีดี ท่เี ป็นแบบอย่าง ของรูปแบบ การจดั การเรยี นรู้ (On site, On
air, On demand, Online, On hand) ทน่ี ำมาเปน็ ขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบาย หรอื ไม่ อยา่ งไร

3. สถานศึกษามวี ิธีปฏิบตั ทิ ่ีดี ทเ่ี ป็นแบบอย่าง การดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรยี น ทน่ี ำมาเป็น
ข้อเสนอแนะเชงิ นโยบาย หรือไม่ อยา่ งไร

4. แนวทางการพัฒนาโรงเรยี น ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
2019 ตามบริบทของโรงเรียน มีลักษณะอย่างไร

5. ทา่ นมีข้อเสนอแนะเชงิ นโยบาย การบรหิ ารจดั การ การจดั การเรยี นรู้ และการดแู ล
ช่วยเหลือนกั เรียน ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 ที่จะนำมาใช้ใน
ปีการศึกษา 2565 หรอื ไม่ อย่างไร

214
ชดุ ที่ 2 กลมุ่ ครผู ู้สอน

ข้อคำถามในการนำสนทนา
กลุ่มครูผสู้ อน

4. ชว่ งสร้างความพร้อมในการสนทนา (ใชเ้ วลา 10 นาท)ี
4.1 กล่าวต้อนรบั แสดงความขอบคณุ ทใี่ ห้ความร่วมมือ
4.2 ช้ีแจงเหตผุ ลและวตั ถุประสงค์ในการเข้าร่วมสนทนาในคร้ังน้ี
4.3 แนะนำผวู้ จิ ยั
4.4 อธบิ ายให้ผู้รว่ มสนทนาเขา้ ใจถงึ การพดู คุยและซักถาม

5. ชว่ งดำเนินการสนทนาในประเดน็ ขอ้ เสนอเชิงนโยบายการจดั การศกึ ษาในสถานการณ์การแพร่
ระบาด ของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สำนักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษามธั ยมศกึ ษานครสวรรค์
ตามประเด็นการดำเนินงาน 5 ประเดน็ 1) การบริหารจดั การ 2) การจัดการเรยี นรู้ 3) การดแู ล
ชว่ ยเหลอื นักเรยี น 4) นโยบายการจดั การศกึ ษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา
2019 5) แนวทางการพัฒนาโรงเรียนแตล่ ะลักษณะ ดังนี้ (ใชเ้ วลาประมาณ 1.30 ชวั่ โมง)

6. ช่วงแสดงความคดิ เหน็ ข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรค
ติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 ของโรงเรยี น ประเด็น การบริหารจดั การ การจัดการเรยี นรู้ และการดูแล
ช่วยเหลอื นักเรยี น นโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019
แนวทางการพฒั นาโรงเรยี นแตล่ ะลักษณะ (ใช้เวลาประมาณ 1 ชวั่ โมง)

3. การบริหารจัดการ
3.1 สถานศกึ ษามีการดำเนินการจัดการศึกษา ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื

ไวรสั โคโรนา 2019 อย่างไร
3.2 สถานศกึ ษา มกี ารกำกับตดิ ตาม และกำหนดทิศทาง การจดั การศึกษา ให้สามารถ

ขับเคลอื่ นไปดว้ ยดี ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 อย่างไร
3.3 สถานศึกษามีการนำผลการติดตามไปปรบั ปรุง และพฒั นาคุณภาพของสถานศึกษา ใน

สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 อยา่ งไร
3.4 สถานศึกษามีแนวทางการใช้สื่อนวตั กรรมการจัดการเรยี นการสอน ในสถานการณ์การแพร่

ระบาดของโรคติดเช้ือ ไวรสั โคโรนา 2019 อย่างไร
3.5 สถานศึกษามีการพฒั นาบุคลากรให้สามารถจัดการเรียนการสอน ในสถานการณก์ ารแพร่

ระบาดของโรคตดิ เชื้อ ไวรสั โคโรนา 2019 อยา่ งไร
3.6 สถานศกึ ษาดำเนินการใชง้ บประมาณตามแผนการใชง้ บประมาณเงินอุดหนนุ รายหวั นกั เรียน

ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 อยา่ งไร
4. การจดั การเรยี นรู้
4.1 ครจู ดั รูปแบบการจัดการเรียนการสอนภายใต้สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของ

โรคโควดิ -19 อย่างไร ใน 5 รูปแบบหรอื รปู แบบอื่น ๆ (On site ,On air, On demand ,Online ,On hand)
4.2 ครมู กี ารวางแผนการจัดการเรยี นรู้ (On site ,On air, On demand ,Online ,

On hand) ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ ไวรสั โคโรนา 2019 อย่างไร (ตอบรปู แบบทม่ี ีการ
จัดการเรียนรู้)

2.3 ครจู ดั การเรียนรู้ ให้ผเู้ รยี นได้เรยี นรคู้ รบทุกคน ในสถานการณ์การแพร่

215

ระบาดของโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 อย่างไร
2.4 ครูมวี ิธีการตดิ ตาม ตรวจสอบ การจัดการเรียนรู้ ของผู้เรียน ในสถานการณ์การแพร่

ระบาดของโรคติดเช้ือ ไวรสั โคโรนา 2019 อย่างไร
2.5 ครมู วี ธิ ีการวดั และประเมินผลผเู้ รียน ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั

โคโรนา 2019 อย่างไร
2.6 ครูมีการปรับปรงุ แก้ไขการจดั การเรยี นรู้ ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเชือ้

ไวรสั โคโรนา 2019 อยา่ งไร
3. การดแู ลชว่ ยเหลือนักเรียน
3.1 ครมู กี ารดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรียนดา้ นการศึกษา ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ

เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 อยา่ งไร
3.4 ครมู กี ารดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรยี น ในการจดั การเรยี นรตู้ ามรูปแบบของการศกึ ษา

(On-site ,On-air,On-demand ,On-line ,On-hand) ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอื้ ไวรัส
โคโรนา 2019 อยา่ งไร

3.5 ครมู กี ารดแู ลนักเรียนทม่ี ีไม่มีความพร้อม และดอ้ ยโอกาสในการเรยี น
ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 อยา่ งไร

3.4 ครจู ัดระบบดแู ลช่วยเหลอื นกั เรียนจากภัยคุกคาม ทุกรูปแบบ ในสถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 อยา่ งไร

3.5 ครจู ัดระบบดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี น ในการสง่ ตอ่ ผเู้ รยี นใหส้ ามารถศึกษาตอ่ ใหส้ งู ขนึ้
ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 ไดอ้ ย่างไร

3. ช่วงแสดงความคดิ เห็น ขอ้ เสนอเชงิ นโยบายการจดั การศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาด ของ
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของโรงเรียน ประเด็น การบริหารจัดการ การจดั การเรียนรู้ และการดแู ล
ชว่ ยเหลือนักเรียน นโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019
แนวทางการพฒั นาโรงเรยี นแต่ละลกั ษณะ (ใชเ้ วลาประมาณ 1 ช่วั โมง)

1. สถานศกึ ษามีวิธีปฏิบตั ทิ ่ีดี ทเ่ี ป็นแบบอย่าง ในการบริหารจดั การ ท่นี ำมาเป็น
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย หรือไม่ อยา่ งไร

2. ครมู ีวิธปี ฏบิ ัตทิ ดี่ ี ที่เป็นแบบอย่าง ของรูปแบบ การจัดการเรยี นรู้ (On site, On air, On
demand, Online, On hand) ทนี่ ำมาเป็นข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย หรือไม่ อย่างไร

3. ครมู ีวธิ ปี ฏบิ ัตทิ ด่ี ี ที่เป็นแบบอย่าง การดูแลชว่ ยเหลือนักเรียน ที่นำมาเป็น
ข้อเสนอแนะเชงิ นโยบาย หรือไม่ อย่างไร

4. แนวทางการพฒั นาโรงเรียน ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
2019 ตามบริบทของโรงเรยี น มีลกั ษณะอย่างไร

5. ทา่ นมขี ้อเสนอแนะเชงิ นโยบาย การบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ และการดูแล
ช่วยเหลอื นักเรยี น ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ทจี่ ะนำมาใช้ใน
ปกี ารศกึ ษา 2565 หรือไม่ อยา่ งไร

ชุดที่ 3 กลุ่มผอู้ ำนวย2ก1า6รกลุ่ม

ข้อคำถามในการนำสนทนา สพม.นครสวรรค์

กลุ่มผู้อำนวยการกลุ่ม สำนักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษานครสวรรค์

7. ช่วงสรา้ งความพรอ้ มในการสนทนา (ใชเ้ วลา 10 นาท)ี
7.1 กล่าวตอ้ นรบั แสดงความขอบคณุ ท่ีให้ความรว่ มมือ
7.2 ชี้แจงเหตุผลและวัตถุประสงค์ในการเข้าร่วมสนทนาในคร้งั นี้
7.3 แนะนำผูว้ ิจัย
7.4 อธิบายให้ผรู้ ว่ มสนทนาเขา้ ใจถึงการพดู คยุ และซักถาม

8. ชว่ งดำเนินการสนทนาในประเดน็ ขอ้ เสนอเชิงนโยบายการจัดการศกึ ษาในสถานการณ์การแพร่
ระบาด ของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษามัธยมศึกษานครสวรรค์
ตามประเดน็ การดำเนินงาน 5 ประเด็น 1) การบริหารจัดการ 2) การจัดการเรยี นรู้ 3) การดูแล
ชว่ ยเหลอื นกั เรยี น 4) นโยบายการจดั การศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา
2019 5) แนวทางการพัฒนาโรงเรียนแตล่ ะลักษณะ ดังนี้ (ใช้เวลาประมาณ 1.30 ชว่ั โมง)

9. ช่วงแสดงความคดิ เหน็ ข้อเสนอเชงิ นโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรค
ตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ของโรงเรียน ประเดน็ การบริหารจดั การ การจดั การเรียนรู้ และการดูแล
ช่วยเหลือนกั เรยี น นโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
แนวทางการพัฒนาโรงเรียนแตล่ ะลกั ษณะ (ใช้เวลาประมาณ 1 ชัว่ โมง)

5. การบริหารจดั การ
5.1 เขตพืน้ ท่กี ารศึกษา มีการดำเนินการจัดการศกึ ษา ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ

เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 อยา่ งไร
5.2 เขตพน้ื ทกี่ ารศึกษา มกี ารกำกับติดตาม และกำหนดทิศทาง การจดั การศึกษา ใหส้ ามารถ

ขบั เคลอ่ื นไปดว้ ยดี ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 อยา่ งไร
5.3 เขตพนื้ ทก่ี ารศึกษา มีการนำผลการตดิ ตามไปปรับปรุง และพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา

ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 อย่างไร
5.4 เขตพ้ืนที่การศึกษา มีแนวทางการใช้ส่อื นวัตกรรมการจดั การเรยี นการสอน ในสถานการณ์

การแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 อยา่ งไร
5.5 เขตพืน้ ทก่ี ารศึกษา มกี ารพฒั นาบคุ ลากรให้สามารถจดั การเรียนการสอน ในสถานการณ์

การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 อยา่ งไร
5.6 เขตพ้ืนท่ีการศึกษา มีการบริหารงบประมาณตามแผนการใช้งบประมาณ ในสถานการณ์การ

แพร่ระบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 อยา่ งไร
6. การจดั การเรยี นรู้
6.1 เขตพื้นทก่ี ารศึกษา มีการติดตามการจดั รปู แบบการจดั การเรยี นการสอนภายใต้สถานการณ์

การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด-19 อย่างไร
6.2 เขตพนื้ ทีก่ ารศึกษา มกี ารส่งเสริมใหส้ านศกึ ษามีการวางแผนการจดั การเรยี นรู้

ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 อยา่ งไร
6.3 เขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา ส่งเสริมใหค้ รูจดั การเรียนรู้ ให้ผเู้ รยี นไดเ้ รยี นร้คู รบทกุ คน

ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือ ไวรัสโคโรนา 2019 อยา่ งไร

217

2.4 เขตพ้นื ทก่ี ารศึกษา มีวิธีการติดตาม ตรวจสอบ การจดั การเรยี นรู้ ของครผู ู้สอน
ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อ ไวรสั โคโรนา 2019 อย่างไร

2.5 เขตพน้ื ที่การศึกษา ส่งเสรมิ การวดั และประเมนิ ผลผเู้ รียน ในสถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคติดเชื้อ ไวรสั โคโรนา 2019 อย่างไร

2.6 เขตพื้นทก่ี ารศกึ ษา ส่งเสริมใหค้ รูปรับปรุงแกไ้ ขการจดั การเรียนรู้ ในสถานการณก์ าร
แพรร่ ะบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 อยา่ งไร

3. การดแู ลชว่ ยเหลือนักเรียน
3.1 เขตพน้ื ทก่ี ารศึกษา สง่ เสริมการดูแลช่วยเหลอื นกั เรยี นของสถานศึกษา ในสถานการณ์

การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 อย่างไร
3.6 เขตพืน้ ท่ีการศึกษา สง่ เสริมการดแู ลช่วยเหลอื นกั เรียน ในการจัดการเรยี นร้ตู ามรปู แบบ

ของการศึกษา (On site ,On air, On demand ,Online ,On hand) ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรค
ติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 อยา่ งไร

3.7 เขตพ้ืนท่ีการศึกษา สง่ เสริม การดแู ลนกั เรียนท่มี ีไม่มีความพร้อม และด้อยโอกาสในการ
เรียน ของสถานศกึ ษา ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 อย่างไร

3.4 เขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษา ส่งเสรมิ การจัดระบบดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรยี นจากภัยคุกคาม
ทุกรปู แบบ ของสถานศกึ ษา ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 อย่างไร

3.5 เขตพนื้ ทก่ี ารศึกษา จดั ระบบดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นในการสง่ ตอ่ ผเู้ รียนใหส้ ามารถ
ศึกษาตอ่ ให้สงู ขึน้ ของสถานศึกษา ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019
ไดอ้ ยา่ งไร

3. ช่วงแสดงความคิดเห็น ข้อเสนอเชิงนโยบายการจดั การศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาด ของ
โรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 ของโรงเรยี น ประเดน็ การบรหิ ารจัดการ การจดั การเรียนรู้ และการดแู ล
ช่วยเหลือนกั เรียน นโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019
แนวทางการพัฒนาโรงเรียนแต่ละลกั ษณะ (ใชเ้ วลาประมาณ 1 ชวั่ โมง)

1. กลมุ่ งานของท่าน มวี ธิ ปี ฏบิ ตั ิทดี่ ี ทเี่ ป็นแบบอย่าง ในการบริหารจดั การ ท่นี ำมาเป็น
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย หรือไม่ อยา่ งไร

2. กลุ่มงานของท่าน มีวธิ ปี ฏบิ ัติท่ีดี ท่ีเป็นแบบอยา่ ง ในการสง่ เสริมการจัดการเรยี นรู้
(On site, On air, On demand, Online ,On hand) ท่ีนำมาเปน็ ข้อเสนอแนะเชงิ นโยบาย หรอื ไม่ อยา่ งไร

3. กลมุ่ งานของทา่ น มีวธิ ปี ฏบิ ัติทด่ี ี ทีเ่ ปน็ แบบอยา่ ง ในการสง่ เสรมิ การดูแลช่วยเหลอื
นักเรยี น ทนี่ ำมาเปน็ ขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบาย หรือไม่ อย่างไร

4. ทา่ นมแี นวทางการพฒั นาโรงเรียน ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรัส
โคโรนา 2019 ตามบรบิ ทและลักษณะของโรงเรียน อย่างไร

5. ทา่ นมีขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบาย การบรหิ ารจัดการ การจัดการเรยี นรู้ และการดแู ล
ช่วยเหลือนักเรียน ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 ท่ีจะนำมาใชใ้ น
ปกี ารศกึ ษา 2565 หรอื ไม่ อย่างไร

218

เครอื่ งเก็บรวบรวมข้อมูล
แบบการวเิ คราะห์ จดุ แขง็ จุดออ่ น โอกาส และอปุ สรรค
การบรหิ ารจัดการ การจัดการเรียนรู้ และการดแู ลช่วยเหลือนกั เรยี นของโรงเรยี น
คำชีแ้ จง
1. แบบการวเิ คราะห์ จุดแข็ง จุดออ่ น โอกาส และอุปสรรค การบริหารจดั การ การจัดการเรียนรู้ และ
การดูแลช่วยเหลอื นกั เรยี น ของโรงเรียนในสงั กดั สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศึกษานครสวรรค์ จำนวน
37 โรงเรียน แบ่งออกเป็น 5 กลุ่ม ดังน้ี 1. โรงเรยี นขนาดใหญ่พิเศษ จำนวน 3 โรงเรียน โรงเรยี นขนาด
กลาง จำนวน 5 โรงเรียน และโรงเรียนขนาดเลก็ จำนวน 18 โรงเรียน โรงเรียนคณุ ภาพระดบั มธั ยมศึกษา
จำนวน 1 โรงเรียน และ โรงเรียนที่ใช้พืน้ ทเี่ ปน็ โรงพยาบาลสนาม จำนวน 14 โรงเรยี น
2. นกั วจิ ัยท่ไี ด้รับแตง่ ต้ัง วเิ คราะห์ (SWOT) จดุ แข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค การบรหิ ารจัดการ
การจัดการเรยี นรู้ และการดูแลช่วยเหลอื นักเรยี น ตามประเดน็ การสนทนากลุ่ม โรงเรียนของนักวจิ ยั
3. วเิ คราะห์สภาพการณภ์ ายในและภายนอกของงาน/องค์กร พิจารณาสภาพการณ์ การบริหาร
จดั การ การจดั การเรยี นรู้ และการดูแลชว่ ยเหลือนักเรียน ของโรงเรยี นนกั วิจยั
3.1 วเิ คราะห์สภาพการณ์ภายในงาน/องค์กร

ประเด็นสำคัญประเด็นย่อย ผลการวิเคราะห์

1. การบริหารจัดการ
1.1 การดำเนินการจัดการศึกษา
1.2 การกำกับตดิ ตาม และกำหนด

ทศิ ทาง การจดั การศึกษา ให้สามารถขบั เคล่ือนไป
ดว้ ยดี

1.3 การนำผลการติดตามไปปรบั ปรงุ และ
พฒั นาคณุ ภาพของสถานศึกษา

2. บคุ ลากร
2.1 การพฒั นาบุคลากรให้สามารถจัดการเรียน
การสอน
2.2 การกำกับตดิ ตามการปฏิบตั งิ านของบุคลากร

3. วัสดุ สื่อ อุปกรณ์
3.1 การผลิตสอ่ื นวตั กรรมการจดั การเรยี นการ

สอนและการบรหิ ารจดั การ
3.2 การผลิตใชส้ ่ือนวัตกรรมบรหิ ารจดั
การศึกษา

4. งบประมาณ
การบริหารงบประมาณ

219

ประเด็นสำคญั ประเดน็ ย่อย ผลการวเิ คราะห์

5. การจัดการเรียนรู้
5.1 รปู แบบการจดั การเรียนการสอนภายใต้

สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควดิ -19
5.1.1 On-site
5.1.2 On-air
5.1.3 On-demand
5.1.4 On-line
5.1.5 On-hand

5.2 การวางแผนการจดั การเรียนรู้
5.2.1 On-site
5.2.2 On-air
5.2.3 On-demand
5.2.4 On-line
5.2.5 On-hand

5.3 จดั การเรยี นรู้ให้ผเู้ รยี นไดเ้ รยี นรู้ครบทุกคน
5.3.1 การตดิ ตาม ตรวจสอบ การจัดการเรียนรู้
ของผเู้ รยี น
5.3.2 วธิ กี ารวัดและประเมินผลผเู้ รยี น
5.3.3 การปรับปรุงแกไ้ ขการจัดการเรียนรู้

6. การดูแลชว่ ยเหลือนักเรียน
6.1 การดแู ลช่วยเหลือนักเรยี นด้านการศึกษา
6.2 การดแู ลช่วยเหลือนักเรยี น ในการจดั การ

เรียนรูต้ ามรูปแบบของการศึกษา
6.2.1 On-site
6.2.2 On-air
6.2.3 On-demand
6.2.4 On-line
6.2.5 On-hand

6.3 การดแู ลนักเรยี นทมี่ ีไมม่ ีความพร้อม และด้อย
โอกาสในการเรยี น
6.4 การดูแลชว่ ยเหลือนกั เรียนจากภัยคกุ คาม
ทกุ รปู แบบ
6.5 การดแู ลช่วยเหลือนกั เรียน ในการสง่ ตอ่
ผู้เรยี นใหส้ ามารถศึกษาต่อให้สงู ขน้ึ

220

3.2 วิเคราะห์สภาพการณ์ภายนอกของงาน/องค์กร (โรงเรียน/หนว่ ยงานทเี่ กย่ี วข้อง)

ประเด็นสำคัญประเดน็ ย่อย บันทึก

1. การบริหารจัดการ

1.2 การดำเนนิ การจัดการศึกษา

1.2 การกำกบั ตดิ ตาม และกำหนด

ทิศทาง การจดั การศึกษา ให้สามารถขับเคล่อื นไป

ด้วยดี

1.3 การนำผลการตดิ ตามไปปรบั ปรงุ และพฒั นา

คุณภาพของสถานศึกษา

2. บุคลากร

2.1 การพฒั นาบคุ ลากรใหส้ ามารถจดั การเรียนการ

สอน

2.2 การกำกับตดิ ตามการปฏิบตั งิ านของบุคลากร

3. วัสดุ สือ่ อปุ กรณ์

3.1 การผลติ สื่อนวตั กรรมการจดั การเรยี นการ

สอนและการบรหิ ารจัดการ

3.2 การผลติ ใชส้ อ่ื นวัตกรรมบริหารจัดการศึกษา

4. งบประมาณ

การบริหารงบประมาณ

5. การจัดการเรียนรู้

5.1 รปู แบบการจัดการเรียนการสอนภายใต้

สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ -19

5.1.1 On site

5.1.2 On air

5.1.3 On demand

5.1.4 On line

5.1.5 On hand

5.2 การวางแผนการจดั การเรยี นรู้

5.2.1 On site

5.2.2 On air

5.2.3 On demand

5.2.4 Online

5.2.5 On hand

5.3 จัดการเรียนรู้ใหผ้ ูเ้ รียนได้เรยี นรู้ครบทกุ คน

5.3.1 การตดิ ตาม ตรวจสอบ การจดั การเรยี นรู้

ของผเู้ รียน

5.3.2 วิธีการวัดและประเมินผลผูเ้ รียน

5.3.3 การปรบั ปรงุ แกไ้ ขการจดั การเรยี นรู้

221

ประเดน็ สำคญั ประเด็นย่อย ผลการวิเคราะห์

6. การดแู ลช่วยเหลือนกั เรยี น
6.1 การดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรียนดา้ นการศึกษา
6.2 การดูแลช่วยเหลือนักเรียน ในการจัดการ

เรียนรู้ตามรปู แบบของการศึกษา
6.2.1 On-site
6.2.2 On-air
6.2.3 On-demand
6.2.4 On-line
6.2.5 On-hand

6.3 การดแู ลนักเรยี นท่มี ีไม่มีความพร้อม และด้อย
โอกาสในการเรยี น
6.4 การดแู ลช่วยเหลือนักเรียนจากภยั คุกคาม
ทุกรปู แบบ
6.5 การดแู ลช่วยเหลือนักเรยี น ในการสง่ ตอ่ ผ้เู รยี น
ให้สามารถศึกษาต่อใหส้ งู ขนึ้

4. นำประเด็นยอ่ ยจากข้อ 3.1 และขอ้ 3.2 มาใสใ่ นตารางวิเคราะห์ SWOT โดยแยกข้อมลู เป็น

จดุ แขง็ จดุ อ่อน โอกาส และอุปสรรค

สภาพการณภ์ ายใน จุดแข็ง (Strength) จดุ อ่อน (Weaknesses)

สภาพการณภ์ ายนอก วิเคราะหค์ วามสัมพนั ธ์ วิเคราะห์ความสมั พนั ธ์
โอกาส (Opportunities) จุดแข็ง กบั โอกาส SO จดุ ออ่ น กับ โอกาส WO
-
อุปสรรค (Threats) วิเคราะหค์ วามสมั พันธ์
จดุ แข็ง กับ อุปสรรค ST วเิ คราะหค์ วามสมั พนั ธ์
จุดอ่อน กับ อปุ สรรค WT

222

5. วเิ คราะหค์ วามสัมพนั ธ์ของสภาพการณ์ภายในกบั สภาพการณ์ภายนอก โดยจบั คู่

SO จดุ แขง็ กับโอกาส ST จุดแข็งกบั อปุ สรรค

WO จุดออ่ นกบั โอกาส WT จุดอ่อนกับอุปสรรค

6. สรุปผลการวเิ คราะหบ์ รบิ ท ผูป้ ฏบิ ัติงานตดั สินใจพัฒนางานโดยเลือกใชข้ ้อมลู คู่ใดบ้าง
เพราะเหตุใด

จากการวิเคราะหค์ วามสัมพันธร์ ะหวา่ งสภาพการณ์ภายใน/องค์กร (จุดแข็ง/จุดอ่อน) กับ
สภาพการณ์ ภายนอก/องค์กร (โอกาส/อุปสรรค) ตามข้อ 5
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

223

แบบบนั ทกึ กรณีศึกษาของโรงเรยี นท่ีจดั การศกึ ษาโดดเด่น และโรงเรียนทีม่ ีปัญหาอุปสรรคตอ่ การบรหิ าร
จัดการ การจดั การเรียนรู้ และการดูแลชว่ ยเหลือนักเรียนของโรงเรียน

ชอ่ื ผลงานท่ีโดเด่น

1. เกรนิ่ นำ (เกรนิ่ นำ บอกถึงสภาพความตอ้ งการ การพัฒนาหรอื แกป้ ัญหาและเม่ือนำกระบวนการ
หรือวธิ ีการปฏบิ ตั ิท่ีดมี าใชท้ ำให้เกดิ ผลสำเร็จอะไรบ้าง (การเขยี นในส่วนนคี้ วรเขียนใหเ้ ร้าความสนใจ

2. ผลสำเร็จ (ผลสำเร็จ ผลลัพธ์หรือประโยชนท์ ี่ได้รบั จากการดำเนนิ งาน)
3. กจิ กรรม/วิธีการ/ข้นั ตอนทส่ี ำคัญ (กจิ กรรม/วิธกี าร/ข้ันตอนที่สำคัญนำเสนอกิจกรรม
วิธดี ำเนนิ การข้ันตอนทีแ่ สดงถงึ การปฏบิ ตั งิ านที่โดดเด่น)
4. ข้อจำกดั ในการนำไปใช้ (ข้อจำกัดในการนำไปใชใ้ นสถานการณ์ที่ทำให้กระบวนการหรือวิธกี าร
ปฏิบัติทเ่ี ปน็ เลศิ ไมป่ ระสบผลสำเรจ็ )
5. ผ้นู ำสง่ ข้อมลู (เจา้ ของผลงานหรอื ผู้ทน่ี ำผลงาน)
6. หนว่ ยงาน (หนว่ ยงาน สถานท่ที ำงาน)
7. โทรศัพท์ (หมายเลขโทรศัพท์ของผนู้ ำสง่ )
8. E-mail (E-mail ของผ้นู ำส่งหรือหน่วยงานเจ้าของผลงาน)

224

แบบบันทึกการจดั การเรียนรใู้ นสถาการณ์ COVID-19

โรงเรียน.............................................................................................................

วิชา............................................รหสั วิชา.........................................ระดับชั้น....................................
หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ ....... เรื่อง..................................................................................จำนวน .............ชว่ั โมง
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี.....เรอ่ื ง......................................................................เวลา...................ชวั่ โมง
มาตรฐาน...................................................................................................................... .........................
ตวั ช้วี ดั /ผลการเรยี นรู้.................................................................................................................................
วัตถปุ ระสงค์การเรยี นรู้ K ………………………………………………………………………………………………………………..

P………………………………………………………………………………………………………………….
A ………………………………………………………………………………………………………………..
ชือ่ – สกุล ครผู ูส้ อน ……………………………………………………………………………………………………………………
ระดับช้ันที่สอน..........................................................................จำนวนนกั เรยี น...........................คน
วนั เดือน ปี.ท่ีสอน …………………………………………………………………………………………………………………
รูปแบบการสอน  ON-SITE ON-AIR ON-LINE  ON-DEMAND  ON-HAND

เทคนคิ การสอน/สื่อทใี่ ช้/การวดั ประเมนิ ผล ผลท่ีเกดิ กบั ผู้เรยี น

ผูเ้ รียนจำนวน......................................คน
มาเรยี น................................................คน
ขาดเรยี น..............................................คน
-มวี ิธวี ดั และประเมินผเู้ รียนอยา่ งไร.................................
-มรี ะบบดูแลผู้เรียนอย่างไร...............................................
-สร้างวนิ ัยเชงิ บวกใหผ้ ู้เรยี นอยา่ งไร……………………………..
-อะไรคือหลักฐานวา่ ผ้เู รียน บรรลมุ าตรฐานตวั ชี้วดั /ผล
การเรยี นรู้ ของแผนฯน้ี โปรดระบุ
…………………………………………………………………………

ข้อตกลงร่วมกัน ระหวา่ งผู้เรยี น และครผู สู้ อน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
สรุปข้อคิดเหน็ ของครผู สู้ อนในการปรับปรงุ การสอนครั้งต่อไป (ด้านผู้เรียน และด้านครูผู้สอน)
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ลงช่ือ............................................ครูผู้สอน
(……………………………………………..)
ตำแหน่ง...........................................

225

แบบบนั ทึกรูปแบบการสอน ที่เปน็ วิธปี ฏบิ ัติที่ดี

รูปแบบการสอน  ON-SITE  ON-AIR  ON-LINE  ON-DEMAND  ON-HAND
โรงเรยี น..........................................................................................
ช่อื ครูผู้สอน........................................................................................
รายวชิ า.........................................................................................

รูปแบบการสอน วิธดี ำเนินการ ผลที่เกิดกับผู้เรียน

………………………………………………… ………………………………………………… เชงิ ปรมิ าณ

………………………………………………… ………………………………………………… …………………………………………………

………………………………………………… ………………………………………………… …………………………………………………

………………………………………………… ………………………………………………… เชงิ คุณภาพ

………………………………………………… ………………………………………………… …………………………………………………

……………………………………………….. ………………………………………………… …………………………………………………

นวตั กรรม หรือวิธปี ฏิบตั ิทีด่ ี
......................................................................................................... ....................................................... ..............

226

คำสัง่ แตง่ ตงั้ คณะกรรมการดำเนนิ โครงการวิจัยเชงิ พน้ื ที่เพ่ือจัดทำข้อเสนอเชงิ นโยบายการจัดการศึกษาใน
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา่ 2019

227

228

คำส่งั แต่งต้งั คณะกรรมการเครือขา่ ยนักวิจัยระดบั เขตพื้นท่ีการศกึ ษา เพื่อจัดทำวิจัยเชงิ พน้ื ที่ เรื่อง
ข้อเสนอเชงิ นโยบายการจัดการศกึ ษาในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรน่า 2019

229

230

บญั ชีรายช่ือเครอื ข่ายนกั วิจัยท่เี ขา้ รับการพัฒนาศักยภาพนกั วิจยั ระดับเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษา
เพือ่ จดั ทำวิจัยเชิงพ้นื ท่ี เรอ่ื งข้อเสนอเสนอเชิงนโยบายการจดั การศึกษาในสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรงตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 ระหวา่ งวนั ท่ี 27-28 กันยายน 2564
ณ หอ้ งประชุมราชสิทธเิ วที สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษานครสวรรค์

1. นางจริยา ปารพี นั ธ์ ผอู้ ำนวยการ.สพม.นครสวรรค์

2. นายอภิเชษฐ์ ฉิมพลีสวรรค์ รองผู้อำนวยการ.สพม.นครสวรรค์

3. นายรงั สิวุฒิ พมุ่ เกดิ รองผอู้ ำนวยการ.สพม.นครสวรรค์

4. นายชาญณรงค์ ยาสทุ ธิ ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นนวมินทราชทู ิศ มชั ฌมิ

5. นางสาวณัฐชานนท์ ยอดทอง ผู้อำนวยการโรงเรียนทหารอากาศอนุสรณ์

6. นางสาวศรภี าวรรณ ไสโสภา ผู้อำนวยการโรงเรยี นตะคร้อพิทยา

7. นางธชิ าพร ยอดกัณหา ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นตะคร้อพทิ ยา

8. นางสวุ รรณี พรหมประสทิ ธ์ิ ครูเชยี่ วชาญ โรงเรียนตาคลีประชาสรรค์

9. นางสาวอาภาภรณ์ ปานมี ครู โรงเรียนนครสวรรค์

10. นางสาวนริ มล รอดไพ ครู โรงเรยี นห้วยน้ำหอมวิทยาคาร

11. นายอนวุ ตั ร พลู เอี่ยม ครู โรงเรียนบรรพตพสิ ัยพิทยาคม

12. นางสาวสพุ ัตรา จนั ทร์น้อย ครู โรงเรียนชุมแสงชนทู ิศ

13. นางสาวจริ าพชั ร ไผว่ ฒุ พิ ันธ์ ครู โรงเรยี นสตรีนครสวรรค์

14. นางสาวสุกฤตา สนิทจันทร์ นักวชิ าการศึกษาชำนาญการ

15. นางสาวอมรรัตน์ แก้วมาลา ศึกษานเิ ทศกช์ ำนาญการพเิ ศษ

16. นางสาวจริ าวรรณ พุ่มตน้ วงษ์ ศึกษานเิ ทศกช์ ำนาญการพิเศษ

17. นายคมกฤช แผนเสอื ศึกษานิเทศก์ชำนาญการ

18. นางสาวณสุดา สชิ ฌรังษี ศกึ ษานเิ ทศกช์ ำนาญการ

19. นางสาวบงกชธณศรสอนไวสาด พนักงานพิมพ์ดดี

20. นางเมตตา ถวลิ ไทย ศึกษานิเทศกช์ ำนาญการพิเศษ

21. นางสัมพรรณ ถวิลไทย ศึกษานเิ ทศก์ชำนาญการพเิ ศษ

22. นางสาวศยมล ยิ้มแพร ครู โรงเรียนเก้าเล้ยี ววทิ ยา

23. นางแสงจนั ทร์ สุขวญิ ญา ครู โรงเรียนเขากะลาวทิ ยาคม

24. นายดิเรก พนู ศรีไทย ครู โรงเรียนเขาทองพิทยาคม

25. นางประภาพร มน่ั พรม ผอ. โรงเรียนจันเสนเอ็งสุวรรณอนุสรณ์

26. นางสาวรชั นี รัตนบรุ ี ครู โรงเรียนชอ่ งแคพิทยาคม

27. นางสาวสภุ าพร สิงห์เดช ครู โรงเรยี นชุมแสงชนทู ศิ

28. นางสาวภทั ราภรณ์ แจ่มบุรี ครู โรงเรยี นตะคร้อพิทยา

231

29. นางเมธปยิ า ทองแกว้ ครู โรงเรยี นตาคลีประชาสรรค์

30. นางวนิดา พูลพนั ธ์ชู ครู โรงเรยี นทหารอากาศอนสุ รณ์

31. นางจฑุ ามาศ เจตนก์ สิกจิ ครู โรงเรยี นทบั กฤชพัฒนา

32. นางภทั รารักษ์ พลพจนารถ ครู โรงเรียนเทพศาลาประชาสรรค์

33. นางเพชรา บวั เทศ ครู โรงเรียนนครสวรรค์

34. นางกนกวลี ปานตา ครู โรงเรียนนวมินทราชูทศิ มัชฌิม

35. นายอนวุ ตั ร พูลเอ่ียม ครู โรงเรยี นบรรพตพิสยั พิทยาคม

36. นางสาวศริ ลิ กั ษณ์ ศรีวญิ ญรตั เวช ครู โรงเรยี นพยุหะพทิ ยาคม

37. นางสาววสั ยา จันทรด์ ษิ ฐ ครู โรงเรยี นพระบางวทิ ยา

38. นายชัยภัทร แย้มครวญ ครู โรงเรยี นแม่วงก์พิทยาคม

39. ว่าท่ี ร.ต.เบญจรงค์ ทองอ่อน ผู้อำนวยการโรงเรียนรฐั ราษฎร์อนสุ รณ์

40. นายอนิรทุ ธ์ พนู วิวัฒน์ ครู โรงเรียนลาดยาวทิ ยคม

41. นางสาวรังสิมา อ่วมมี ครู โรงเรียนลาดทิพรสพิทยาคม

42. นายมาโนช แยบเกษตร ครู โรงเรยี นวงั เมืองชนประสิทธ์ิวิทยาคม

43. นางสาวธิตยา คำควร ครู โรงเรียนสตรนี ครสวรรค์

44. นางสาวสมร ปะวะภชู ะโก ครู โรงเรยี นหนองกรดพิทยาคม

45. นางไพลนิ ส่งวัฒนา ครู โรงเรียนหนองบัว

46. นางณฐั กานต์ สขุ ะพิบลู ย์ ครู โรงเรยี นหนองโพพิทยา

47. นายจีระศกั ด์ิ อบอาย ครู โรงเรยี นห้วยน้ำหอมวิทยาคาร

48. นายเจตน์ นามโสวรรณ์ ครู โรงเรยี นหวั ดงราชพรหมาภรณ์

49. นางสาวมนธริ า นรนิ ทรร์ มั ย์ ครู โรงเรียนอุดมธัญญาประชานุเคราะห์

50. นางจรยิ ารัตน์ บัวบุญ ลกู จา้ งชั่วคราว สพม.นครสวรรค์

51. ดร.สยาม สมุ่ งาม รองผู้อำนวยการ สพป.สิงหบ์ ุรี

52. นางพมิ พ์มนสั คงเมฆ ครู โรงเรยี นวงั ข่อยวทิ ยา

53. นางสาวพมิ พ์อักษร เมืองงาว ครู โรงเรยี นวังบ่อวทิ ยา

54. นางสาวสลุ กั ษณข์ นางค์ คำศรี ครู โรงเรยี นตากฟา้ วิชาประสิทธ์ิ

55. นางเพชรา บวั เทศ ครู โรงเรียนนครสวรรค์

56. นางสาวมนธิรา นรินทร์รมั ย์ ครู โรงเรียนอุดมธญั ญาประชานุเคราะห์

57. นางสาวราณี ศรปี ระเทศ ครู โรงเรยี นบงึ บอระเพ็ดวทิ ยา

58. นายพชร พนั ธร์ุ อด ครู โรงเรยี นท่าตะโกพทิ ยาคม

59. นางวไิ ลวรรณ พุทธชาติ ครู โรงเรยี นจนั เสนเอง็ สวุ รรณอนสุ รณ์

60. นายสุธี ดไี ทสงฆ์ ประชาสมั พนั ธ์ สพม.นครสวรรค์

232

233

บัญชีรายชื่อผู้ทรงคณุ วฒุ ิ

1. ผศ.ดร.อานนท์ เมธีวรฉตั ร ผูช้ ่วยอธกิ ารบดฝี า่ ยกจิ การทั่วไป

มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณ์ราชวทิ ยาลยั

2. ผศ.ดร.มงคล ศยั ยกุล อาจารย์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครสวรรค์

3. นางจริยา ปารีพันธ์ ผู้อำนวยการ สพม.นครสวรรค์

4. นายอภเิ ชษฐ์ ฉิมพลีสวรรค์ รองผูอ้ ำนวยการ สพม.นครสวรรค์

5. นายรังสวิ ุฒิ พมุ่ เกดิ รองผอู้ ำนวยการ สพม.นครสวรรค์

6. นางสาวจงกล เดชปัน้ ผู้อำนวยการโรงเรียนนครสวรรค์

7. นายชาญชยั ชนิดสะ ผู้อำนวยการโรงเรียนสตรนี ครสวรรค์

8. นายบรรพต สมสวย ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นแม่วงก์พิทยาคม

9. นายไพบลู ย์ เขยี นประเสริฐ ผู้อำนวยการโรงเรียนลาดยาววิทยาคม

10. นายชาญณรงค์ ยาสุทธิ ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นนวมินทราชูทิศ มัชฌมิ

11. นางสาวณฐั ชานนท์ ยอดทอง ผู้อำนวยการโรงเรยี นทหารอากาศอนสุ รณ์

12. นางสาวศรภี าวรรณ ไสโสภา ผู้อำนวยการโรงเรียนตะคร้อพทิ ยา

13. นายกิจจา เอี่ยมระหงษ์ ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นทับกฤชพฒั นา

14. นางชรินรตั น์ แผงดี ผู้อำนวยการโรงเรียนบรรพตพสิ ัยพิทยาคม

15. นายทพิ ย์ แดงนิ่ม ผู้อำนวยการโรงเรียนไพศาลีพิทยา

16. นายก้านตอง เสง็ เอ่ยี ม ผอู้ ำนวยการโรงเรียนหว้ ยน้ำหอมวิทยาคาร

17. นางธิชาพร ยอดกัณหา รองผอู้ ำนวยการโรงเรียนนครสวรรค์

18. นายสมัคร นรนิ ทร์รมั ย์ รองผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นหนองบวั

19. นางอสิ ริยา พันธเ์ ขตกจิ ผ้อู ำนวยการกลมุ่ ส่งเสริมการจัดการศกึ ษา สพม.นครสวรรค์

20. นางวสุ เกษสำโรง ผู้อำนวยการกลมุ่ นโยบายและแผน สพม.นครสวรรค์

21. นางนนั ทนา อุ่นทวิ ากร ผอู้ ำนวยการกลุม่ บริหารงานการเงนิ และสนิ ทรัพย์ สพม.นครสวรรค์

234

235

236

ภาพการประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศกั ยภาพนกั วจิ ยั ระดับเขตพ้นื ท่ีการศึกษา เพ่ือจัดทำวจิ ัยเชิงพื้นท่ี
เรือ่ งขอ้ เสนอเสนอเชงิ นโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรงตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019

วนั ที่ 27 กันยายน 2564 ณ หอ้ งประชุมราชสิทธเิ วที สำนักงานเขตพ้นื ที่การศกึ ษามัธยมศกึ ษานครสวรรค์


Click to View FlipBook Version