The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สพม นครสวรรค์ รายงานวิจัยเชิงพื้นที่เรื่อง ข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์COVID19

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by metta.tha, 2021-10-26 22:47:34

สพม นครสวรรค์ รายงานวิจัยเชิงพื้นที่เรื่อง ข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์COVID19

สพม นครสวรรค์ รายงานวิจัยเชิงพื้นที่เรื่อง ข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์COVID19

Keywords: ข้อเสนอเชิงนโยบาย การจัดการศึกษาในสถานการณ์ Covid19

86

พฤติกรรมการไม่เข้าเรียนและไม่ส่งงานของนักเรียนในรูปแบบการเรียน มีการวางแผนการช่วยเหลือนักเรียน
เป็นรายบุคคล เพ่ือให้สามารถช่วยเหลือนักเรียนรายบุคคลได้ และจัดทำระบบเยี่ยมบ้านนักเรียนออนไลน์
และมีแนวทางในการจัดดสรรงบประมาณในการดูแลนักเรียนบางส่วนอยู่ในพ้ืนท่ีห่างไกล รวมทั้งสนับสนุน
ใหผ้ ปู้ กครองและชุมชนตอ้ งเขา้ มามบี ทบาทในการดูแลช่วยเหลอื นกั เรยี นให้มากขนึ้

5. กรณศี กึ ษาของโรงเรียนที่จดั การศกึ ษาโดดเดน่ และโรงเรยี นทมี่ ีปญั หาอุปสรรค โรงเรยี นขนาด
เล็กทเ่ี ปน็ สถานที่พักคอย ท่ีจัดการศึกษาโดดเดน่ ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา
2019

โรงเรียน Best practice ได้แก่ โรงเรียนทับกฤชพัฒนา
โครงการจัดหาทุนการศึกษาช่วยเหลือนักเรียนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โรงเรียนทับกฤชพัฒนา โดยการจัดหาทุนการศึกษาเพื่อสนับสนุนการเรียน
การสอนออนไลน์โดยมอบทนุ ยากจน เปน็ ทนุ การศกึ ษา 500 บาท จำนวน 241 ทุน และทุนการศึกษายากจน
พเิ ศษในการจดั หาสมารท์ โฟนสำหรบั การเรียนการสอนออนไลนจ์ ำนวน 17 ทุน

แนวปฏิบัติทีด่ ี คอื

โครงการจัดหาทุนการศึกษาช่วยเหลือนักเรียนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส

โคโรนา 2019 (COVID-19) ด้านอุปกรณ์และสัญญาณอินเทอร์เน็ตสำหรับเรียนออนไลน์ โดยโรงเรียน

ทบั กฤชพฒั นาได้ดำเนนิ การ ดังนี้

1. ครูทป่ี รกึ ษาสำรวจปญั หาของนกั เรยี นในการเรยี นออนไลน์ ซึ่งปัญหาท่ีพบ มี 2 ประเดน็

1.1 นักเรยี นไม่มีอุปกรณ์สำหรับใช้ในการเรยี นออนไลน์

1.2 นกั เรียนไมม่ เี งินจา่ ยคา่ สัญญาณอนิ เทอรเ์ น็ต

2. คณะกรรมการพิจารณาจัดสรรทุนการศึกษาช่วยเหลือนักเรียนในสถานการณ์การแพร่ระบาด

ของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

3. ดำเนินการช่วยเหลือนักเรียน โดยการนำเงินทุนการศึกษาท่ีได้รับบริจาค จากหน่วยงานต่างๆ

ศิษย์เก่า ชุมชน ฯลฯ มาจัดสรรมอบทุนการศึกษาให้แกน่ กั เรยี น โดยแบ่งเป็น 2 ประเภท ดงั น้ี

3.1 ทุนยากจน ได้รับเงินทนุ การศึกษา 500 บาท จำนวน 241 ทุน

3.2 ทนุ ยากจนพิเศษ ได้รับสมาร์ทโฟน 1 เครื่อง จำนวน 17 ทนุ

4. ติดตามการเข้าเรียนออนไลน์ของนักเรียน โดยสอบถามจากครูประจำวิชา พบว่า นักเรียนที่ได้รับ

ทนุ การศึกษาเข้าเรียนออนไลน์สมำ่ เสมอ

87

6. ขอ้ เสนอแนะเชิงนโยบาย การบริหารจดั การ ของโรงเรยี นขนาดเล็กทีเ่ ป็นสถานที่พักคอย
ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 ท่จี ะนำมาใช้ในปกี ารศึกษา 2565

6.1 ดา้ นการจดั ทำแผนและนโยบาย
6.1.1 ปรบั ปรุงแผนพัฒนาการศกึ ษา และแผนปฏิบัติการของโรงเรยี นใหเ้ ข้ากับสถานการณ์
6.1.2 พัฒนาการบรหิ ารจดั การให้เปน็ ระบบมากขึน้
6.1.3 ปรับรูปแบบวิธีการดำเนินโครงการหรือกิจกรรมต่างๆ ให้เหมาะสม เช่น ใช้วิธีการประชุม

อบรมพฒั นาครผู า่ นระบบออนไลน์ งดกิจกรรมในรูปแบบ On Site เปน็ ตน้
6.2 ด้านหลักสตู รและการจัดการเรยี นรู้
6.2.1 ปรับปรงุ หลกั สตู รให้เหมาะสมกับสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา

2019
6.2.2 ส่งเสริมการเพม่ิ ทักษะและเทคนิคท่ใี ช้จัดการเรยี นการสอนในรูปแบบ Online , On Hand

และ On Demand ให้ครูผู้สอน
6.2.3 ส่งเสรมิ ใหค้ รปู รบั แผนการจัดการเรียนรู้ เนื้อหา รปู แบบการสอน กิจกรรมการสอนและ

เวลาให้เหมาะสมกบั สถานการณ์
6.3 ดา้ นเทคโนโลยีทางการศกึ ษา
จัดทำคมู่ อื การจดั การเรยี นการสอนท่ีเหมาะสมกบั ความพรอ้ มของนักเรียนในสถานการณ์

การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 เช่น Online , On Hand และ On Demand
6.4 ด้านการวัดประเมินผล
ปรบั ปรงุ การวัดผลและประเมนิ ผล ใหม้ คี วามยดื หยนุ่ เหมาะสมกบั สถานการณ์การแพร่ระบาด

ของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019
6.5 ด้านการพัฒนานวตั กรรมการเรยี นรู้
ส่งเสรมิ ครูผสู้ อนให้ผลติ สอ่ื การเรียนการสอนที่ทันสมัย เหมาะสมกบั การเรียนการสอนในรูปแบบ

ตา่ ง ๆ ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019
6.6 ด้านการดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรียน
6.6.1 ตดิ ตามนกั เรยี นเปน็ รายบุคคล
6.6.2 เสนอเขตพื้นที่การศึกษาให้มีแผนงาน/โครงการท่ีจะให้ผู้ปกครอง และ ชุมชนต้องเข้ามา

มบี ทบาทในการดูแลช่วยเหลอื นักเรียนใหม้ ากขน้ึ
6.6.3 มอบหมายครูผู้สอนกำกับติดตามนักเรียน และให้ครูที่ปรึกษาช่วยเหลือประสานงาน

กับนกั เรียนทกุ ดา้ น
6.6.4 เสนอเขตพ้ืนที่การศึกษาในการสนับสนุนอุปกรณ์ที่ใช้ในการเรียนออนไลน์ เช่น การยืมเรียน

เป็นตน้

88

ผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู โรงเรยี นขนาดกลาง
1. ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียน สารสนเทศการจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ

ไวรัสโคโรนา 2019 ของโรงเรียนขนาดกลางที่ไม่ได้เป็นสถานท่ีพักคอย ในสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
มธั ยมศึกษานครสวรรค์

ตารางท่ี 22 แสดงข้อมลู พนื้ ฐานโรงเรยี นขนาดกลาง

ท่ี โรงเรียน จำนวน จำนวน จำนวน จำนวน วันท่เี ปดิ On รูปแบบการจดั การเรียนรู้ Onli
นักเรียน ผู้บริ ครู หอ้ งเรียน ภาคเรียน site ne
(คน) หาร (คน) ม. ม. ท่ี 1/2564 On On On
(คน) ตน้ ปลาย Air Demand Hand

1 ตากฟ้าวชิ า 873 1 42 18 12 14 มิ.ย. -  
ประสทิ ธิ์ 64

2 ทหารอากาศ 580 2 33 7 9 14 ม.ิ ย. -- - 
อนสุ รณ์ 64

3 เทพศาลา 1,108 3 53 15 15 1 ม.ิ ย. 64 - -  
ประชาสรรค์

4 พยหุ ะพิทยาคม 725 2 38 12 11 1 มิ.ย. 64 - -   

5 พระบางวทิ ยา 622 1 35 12 7 14 ม.ิ ย. --  
64

6 แม่วงกพ์ ิทยา 537 2 26 9 9 14 ม.ิ ย. -- - -
คม 64 

7 หนองกรด 627 2 31 9 6 14 มิ.ย. --  
พทิ ยาคม 64

8 หว้ ยน้ำหอม 1,248 3 52 18 18 14 มิ.ย. -  
วิทยาคาร 64

รวม 6,317 16 310 100 87 02 6 78

ร้อยละ 0 25 75 87.5 100

จากตารางที่ 22 พบว่า โรงเรียนขนาดกลางซ่ึงประกอบ ด้วย 8 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนตากฟ้า
วิชาประสิทธ์ิ โรงเรียนทหารอากาศอนุสรณ์ โรงเรียนเทพศาลาประชาสรรค์ โรงเรียนพยุหะพิทยาคม
โรงเรียนพระบางวิทยา โรงเรียนแม่วงก์พิทยาคม โรงเรียนหนองกรดพิทยาคม และโรงเรียนห้วยน้ำหอม
วิทยาคาร มีนักเรียน 6,317 คน ผู้บริหาร 16 คน ครู 310 คน จำนวนห้องเรียน 187 ห้องเรียน โรงเรียน
มีรูปแบบการจัดการเรียนรู้ 4 แบบ คือ On Air, On Demand, On Hand และ Online ยังไม่มีโรงเรียนใด
จัดการเรียนรู้แบบ On Site และทุกโรงเรียนส่วนใหญ่เปิดเรียนภาคเรียนที่ 1 ปีการศึ กษา 2564
ตง้ั แต่ 14 มิถุนายน 2564

89

2. ผลการวิเคราะห์จดุ แข็ง จุดอ่อน โอกาส และอปุ สรรค การจัดการศึกษาในสถานการณก์ ารแพร่
ระบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 ของโรงเรยี นขนาดกลาง

โรงเรียนขนาดกลาง ที่มีจำนวนนักเรียน 500 – 1,499 คน ในสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
มธั ยมศึกษานครสวรรค์ มีจำนวนทั้งส้ิน 12 โรงเรยี น จัดการเรียนการสอนระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น และระดับ
มัธยมศึกษาตอนปลาย โดยจัดกลุ่มเป็น 2 กล่มุ ดังนี้

1. โรงเรียนขนาดกลาง ท่ีมีจำนวนนักเรียน 500 – 1,499 คน ท่ีไม่ได้เป็นสถานที่พักคอย หรือ
โรงพยาบาลสนามประเภท มีจำนวน 8 โรงเรียน ดังน้ี 1) โรงเรียนตากฟ้าวิชาประสิทธ์ิ 2) โรงเรียน
ทหารอากาศอนุสรณ์ 3) โรงเรียนเทพศาลาประชาสรรค์ 4) โรงเรียนพยุหะพทิ ยาคม 5) โรงเรียนพระบางวทิ ยา
6) โรงเรยี นแมว่ งกพ์ ิทยาคม 7) โรงเรยี นหนองกรดพิทยาคม และ 8) โรงเรียนหว้ ยน้ำหอมวิทยาคาร

2.โรงเรียนขนาดกลาง ทม่ี ีจำนวนนักเรียน 500 – 1,499 เป็นสถานท่ีพกั คอย หรือ โรงพยาบาลสนาม
มี จ ำน ว น 4 โรงเรีย น ดั งน้ี 1) โรงเรีย น บ รรพ ต พิ สั ย พิ ท ย าค ม 2) โรงเรีย น เก้ าเล้ี ย ว วิท ย า
3) โรงเรยี นไพศาลีพิทยา และ 4) โรงเรยี นหนองบวั

โรงเรียนขนาดกลาง จำนวน 8 โรงเรียน ท่ีไม่ได้เป็นสถานที่พักคอย ดำเนินการจัดการศึกษา
ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 ชว่ งระยะเวลา ปีการศกึ ษา 2564 - สิงหาคม
2564 ดังน้ี

ตารางที่ 23 แสดงผลการวิเคราะห์ SWOT ด้านการบริหารจัดการของโรงเรียนขนาดกลาง ไมไ่ ด้เปน็
โรงพยาบาลสนามและสถานทพี่ ักคอย ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา
2019

การบรหิ ารจัดการ จุดแขง็ จุดออ่ น โอกาส อุปสรรค
การบรหิ ารจดั การ 1. ครูและบุคลากร ครบู างสว่ นขาด จัดให้มกี ารอบรมการใช้ คณะครแู ละ
ดา้ นบคุ ลากร ทางการศึกษาไดร้ บั การ ความชำนาญในการ โปรแกรมตา่ ง ๆ ท่เี ปน็ บุคลากรไมส่ ามารถ
(Man) ฉดี วคั ซีนรอ้ ยละ 100 ใชเ้ ทคโนโลยีในการ ประโยชน์ต่อการจดั การ มาทำงานท่ีโรงเรยี น
และสามารถลงพนื้ ที่ ๆ จัดการเรียนการ เรียนการสอนในรปู แบบ ได้พร้อมกนั ทำให้
สามารถเข้าตดิ ตาม สอนออนไลน์ ออนไลน์ เพอื่ ใหค้ รไู ด้ การทำงานท่ีจะต้อง
นักเรยี นได้ เลือกใชใ้ หเ้ หมาะตอ่ การ ใชข้ ้อมูลรว่ มกันไม่
2. พฒั นาใหค้ รูผู้สอน จดั การเรียนการสอน ราบร่ืน เน่อื งจาก
ใหม้ ีความสามารถใน ของตน การเกดิ การแพร่
การจัดการเรยี นการ ระบาดของโรคติด
สอนออนไลน์ ไดอ้ ยา่ งมี เชื้อไวรสั โคโรนา
คณุ ภาพ 2019

90

ตารางที่ 23 ต่อ จดุ แข็ง จดุ อ่อน โอกาส อปุ สรรค
โรงเรยี นมกี ารจดั สรร การลดค่าใชจ้ า่ ย 1. สพฐ.เปดิ โอกาสให้ การจดั สรร
การบริหารจัดการ งบประมาณให้ ผ้ปู กครองโดยลดค่า โรงเรียนสามารถนำเงิน งบประมาณในการ
การบริหารจัดการ สอดคลอ้ งกบั ระดมทรพั ยากรทำ งบประมาณการ ปรับปรงุ พัฒนา
ด้านงบประมาณ สถานการณก์ ารแพร่ ให้โรงเรียนขาด สนับสนนุ ค่าใชจ้ ่ายใน เทคโนโลยีในการ
(Money) ระบาดของเช้ือไวรัสโค งบประมาณในการ การจดั การศกึ ษา ส่วน สอนทางไกลรวมถงึ
โรนา โดยการปรบั บรหิ ารจดั การศึกษา กจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพ การตดิ ตั้งระบบ
การบรหิ ารจดั การ แผนการใชง้ บประมาณ ผเู้ รยี น ให้สามารถใช้ สญั ญาณ
ดา้ นสื่อ อุปกรณ์ เพ่ือใช้ในการบรหิ าร นกั เรียนขาดความ งานเพอ่ื กจิ กรรมการ อนิ เตอรเ์ นต็ เพื่อ
(Material) จัดการงบประมาณและ พรอ้ มของอปุ กรณ์ จัดการเรยี นการสอน กระจายสัญญาณ
ผ่านความเหน็ ชอบจาก เลก็ ทรอนิกส์ ทางไกลในช่วง การจดั ซอ้ื ครภุ ณั ฑ์
คณะกรรมการ สัญญาณ สถานการณก์ ารแพร่ เพ่ือสนับสนนุ การ
สถานศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน อนิ เตอรเ์ นต็ ซง่ึ เป็น ระบาดของเชอ้ื ไวรสั โคโร จดั การเรยี นการ
สิ่งสำคญั ในการเรียน นา 2019 สอน ไม่เพยี งพอต่อ
มีสญั ญาณอนิ เตอรเ์ น็ต ออนไลน์ 2. โรงเรียนไดร้ บั ความต้องการ
ห้องคอมพิวเตอรแ์ ละ งบประมาณสนับสนุน
จัดสรรวัสดุ อุปกรณท์ ่ี จากหนว่ ยงานภายนอก การสำรวจวัสดุ
ใช้ในการจัดการเรยี น สนบั สนุนวสั ดอุ ุปกรณ์ที่ อปุ กรณ์ สือ่ ความ
การสอนออนไลน์ ให้ จำเป็นในการปรบั ปรุง พรอ้ มในการเรยี น
เพียงพอ พัฒนาเพื่อการบริหาร ของนักเรยี นยงั ไม่
จัดการโรงเรยี น ทัว่ ถงึ เน่อื งจาก
1. โรงเรยี นได้รบั มอบ สถานการณ์การแพร่
วัสดุ อปุ กรณ์ และสง่ิ ระบาดของเช้ือโรค
อำนวยความสะดวกจาก โคโรนา 2019
หนว่ ยงานต้นสังกัดและ
หนว่ ยงานราชการอ่ืนๆ
2. โรงเรยี นมีการจดั ทำ
แผนพฒั นาคณุ ภาพ
การศกึ ษาประจำปี เพอ่ื
กำหนดทศิ ทางในการ
บริหารจดั การด้านการ
จัดการวสั ดุ อปุ กรณ์
และสิ่งอำนวยความ
สะดวกในชว่ ง

91

ตารางที่ 23 ตอ่ จุดแขง็ จดุ ออ่ น โอกาส อุปสรรค
สถานการณ์การแพร่
การบรหิ ารจัดการ 1. มกี ารประชุม วาง การประชุมชแี้ จง ระบาด โดยมกี ารสำรวจ ความขดั คลอ่ งของ
การบรหิ ารจัดการ แผนการดำเนนิ งาน นเิ ทศ และการตดิ ตามงาน ความตอ้ งการและความ สญั ญาณ
ดา้ นสอื่ อุปกรณ์ กำกบั ติดตาม และการ ท่ดี ำเนนิ การผ่าน จำเป็น และได้ทำการ อินเตอรเ์ นต็ สง่ ผล
(Material) ประเมนิ ผลการดำเนินการ ระบบออนไลน์ ทำ จัดซื้อจัดจ้าง โดย ในการติดต่อส่อื สาร
ท้ังดา้ นการจัดการเรยี น ใหเ้ กิดความ พจิ ารณาถงึ ความ เพอ่ื การบรหิ าร
การบริหารจดั การ การสอน และรว่ มแกไ้ ข คลาดเคลอื่ นและ เหมาะสมเปน็ สำคญั จดั การ
ดา้ นบริหารจัดการ ปัญหา อุปสรรค์ ท่ีเกิด ขาดประสทิ ธิภาพใน โรงเรียนมีชอ่ งทางการ
(Management) จากการดำเนนิ การ การสอ่ื สารและการ ติดตอ่ สอ่ื สารทส่ี ะดวก
2. โรงเรยี นมโี มเดลในการ ดำเนนิ งานได้ รวดเรว็ เพอื่ สามารถ
บรหิ ารจดั การเปน็ ไปตาม บริหารจดั การไดอ้ ย่างมี
บรบิ ทของแต่ละโรงเรยี น ประสทิ ธภิ าพ

จากตารางท่ี 23 พบวา่ ผลการ SWOT ดา้ นการบรหิ ารจัดการของไม่ได้เป็นโรงพยาบาลสนามและ
สถานทพ่ี ักคอย ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 ท้ัง 4 ด้านมีดงั น้ี

1. ด้านบุคลากร (Man) จุดแข็ง คือ ครูและบุคลากรทางการศึกษาไดร้ ับการฉีดวัคซีนรอ้ ยละ 100 และ
สามารถลงพื้นท่ี ๆ สามารถเข้าติดตามนักเรียนได้ และพัฒนาให้ครผู ู้สอนให้มีความสามารถในการจัดการเรียน
การสอนออนไลน์ ได้อย่างมีคุณภาพ จุดอ่อน คือ ครูบางส่วนขาดความชำนาญในการใช้เทคโนโลยี
ในการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ โอกาส คือ จัดให้มีการอบรมการใช้โปรแกรมต่าง ๆ ท่ีเป็นประโยชน์
ต่อการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบออนไลน์ เพื่อให้ครูได้เลือกใช้ให้เหมาะต่อการจัดการเรียนการสอน
ของตนอุปสรรค คือ คณะครูและบุคลากรไม่สามารถมาทำงานท่ีโรงเรียนได้พร้อมกัน ทำให้การทำงาน
ที่จะต้องใช้ข้อมลู ร่วมกนั ไมร่ าบร่นื เนอ่ื งจากการเกิดการแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019

2. ด้านงบประมาณ (Money) จุดแข็ง คือ โรงเรียนมีการจัดสรรงบประมาณให้สอดคล้องกับ
สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา โดยการปรับแผนการใช้งบประมาณเพ่ือใช้ในการบริหาร
จัดการงบประมาณและผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน จุดอ่อน คือ
การลดค่าใช้จ่ายผู้ปกครองโดยลดค่าระดมทรัพยากรทำให้โรงเรียนขาดงบประมาณในการบริหารจัดการศึกษา
โอกาส สพฐ.เปิดโอกาสให้โรงเรียนสามารถนำเงินงบประมาณการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษา

92

ส่วนกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ให้สามารถใช้งานเพ่ือกิจกรรมการจัดการเรียนการสอนทางไกล
ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และโรงเรียนได้รับงบประมาณสนับสนุน
จากหน่วยงานภายนอก สนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ท่ีจำเป็นในการปรับปรุง พัฒนาเพ่ือการบริหารจัดการโรงเรียน
อุปสรรค คือ การจัดสรรงบประมาณในการปรับปรุง พัฒนาเทคโนโลยีในการสอนทางไกลรวมถึงการติดตั้ง
ระบบสัญญาณอินเตอร์เน็ต เพื่อกระจายสัญญาณ การจัดซ้ือครุภัณฑ์เพ่ือสนับสนุนการจัดการเรียนการสอน
ไมเ่ พยี งพอต่อความต้องการ

3. ด้านบริหารจัดการด้านส่ือ อุปกรณ์ (Material) จุดแข็ง คือ มีสัญ ญ าณ อินเตอร์เน็ต
ห้องคอมพิวเตอร์และจัดสรรวัสดุ อุปกรณ์ท่ีใช้ในการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ ให้เพียงพอ จุดอ่อน คือ
นกั เรียนขาดความพร้อมของอุปกรณอ์ ิเล็กทรอนิกส์ สัญญาณอินเตอร์เน็ต ซึ่งเป็นส่ิงสำคัญในการเรียนออนไลน์
โอกาส คือ โรงเรยี นได้รับมอบวัสดุ อุปกรณ์ และสงิ่ อำนวยความสะดวกจากหน่วยงานตน้ สงั กัด และ หน่วยงาน
ราชการอ่ืนๆ และโรงเรียนมกี ารจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจำปี เพ่ือกำหนดทิศทางในการบริหาร
จัดการด้านการจัดการวัสดุ อุปกรณ์ และส่ิงอำนวยความสะดวกในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาด โดยมี
การสำรวจความต้องการและความจำเป็น และได้ทำการจัดซื้อจัดจ้าง โดยพิจารณาถึงควา มเหมาะสม
เป็นสำคัญ อุปสรรค คือ การสำรวจวสั ดุ อุปกรณ์ ส่ือ ความพร้อมในการเรียนของนักเรยี นยังไม่ทั่วถึง เนื่องจาก
สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของเชื้อโรคโคโรนา 2019

4. การบริหารจัดการด้านบริหารจัดการ (Management) จุดแข็ง คือ มีการประชุม วางแผน
การดำเนินงาน นิเทศ กำกับ ติดตาม และการประเมินผลการดำเนินการทั้งด้านการจัดการเรียนการสอน และ
รว่ มแกไ้ ขปัญหา อุปสรรค์ ที่เกดิ จากการดำเนนิ การ และโรงเรยี นมโี มเดลในการบรหิ ารจดั การเป็นไปตามบรบิ ท
ของแต่ละโรงเรียน จุดอ่อน คือ การประชุมช้ีแจงและการติดตามงาน ที่ดำเนินการผ่านระบบออนไลน์
ทำให้เกิดความคลาดเคลื่อนและขาดประสิทธิภาพในการส่ือสารและการดำเนินงานได้ โอกาส คือ โรงเรียน
มีช่องทางการติดต่อส่ือสารท่ีสะดวก รวดเร็ว เพ่ือสามารถบริหารจัดการได้อย่างมีประสิทธิภาพ อุปสรรค คือ
ความขดั คล่องของสญั ญาณอนิ เตอรเ์ น็ต ส่งผลในการติดต่อสื่อสารเพ่อื การบริหารจดั การ

3. ผลการวิเคราะห์ SWOT ด้านการจัดการเรียนรู้แต่ละรูปแบบ โรงเรียนขนาดกลางไม่ได้เป็น
โรงพยาบาลสนามและสถานทพ่ี ักคอย ดงั น้ี

ตารางที่ 24 แสดงรูปแบบการจัดการเรียนแบบ On Air โรงเรียนขนาดกลางไม่ได้เป็นโรงพยาบาลสนามและ
สถานทีพ่ ักคอย

93

ระดับ จดุ แขง็ จุดออ่ น โอกาส อุปสรรค
การศกึ ษา Strength Weakness Opportunity Threat
มัธยมศึกษา นักเรยี นเขา้ ถึงการจดั การ นักเรียนไม่สามารถ นักเรียนสามารถตดิ ตาม 1. สญั ญาณดาวเทยี มไม่
ตอนต้น เรียนรไู้ ด้ง่ายผา่ นระบบ เข้าถึงเอกสาร ย้อนหลงั ไดต้ ามตาราง เสถียร
โทรทัศน์ทางไกลผ่าน ประกอบการเรียนการ DLTV ทก่ี ำหนด 2. ไมม่ ีอปุ กรณ์รับ
มัธยมศึกษา ดาวเทียม สอนได้ สญั ญาณดาวเทยี ม
ตอนปลาย สำหรับนักเรียนทงั้ หมด
ไมม่ กี ารจัดการเรยี นการ ไมม่ ีการจัดการเรยี นการ ไม่มีการจัดการเรยี นการ ไม่มีการจดั การเรยี นการ
สอน สอน สอน สอน

จากตารางที่ 24 พบว่าโรงเรียนขนาดกลางไม่ได้เป็นโรงพยาบาลสนามและสถานที่พักคอย
มีการจัดการเรียนการสอนรูปแบบ On Air จำนวน 1 แห่ง เฉพาะระดับมัธยมศึกษาตอนต้นเท่าน้ัน
ส่วนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ไม่มีการจัดการเรียนการสอน และผลการวิเคราะห์ SWOT พบว่า
นกั เรียนเขา้ ถึงการจัดการเรียนรไู้ ด้ง่ายผ่านระบบโทรทศั น์ทางไกลผา่ นดาวเทียม (DLTV) โดยท่นี ักเรยี นสามารถ
ติดตามย้อนหลังได้ตามตารางของ DLTV ที่กำหนด แต่ประสบปัญหาด้านเอกสารประกอบการเรียน
ท่ีนักเรียนบางส่วนไม่สามารถเข้าถึงได้ อีกท้ังมีข้อจำกัดในเร่ืองสัญ ญ าณ ดาวเทียมท่ีไม่เสถียร
และนักเรยี นบางส่วนไม่มอี ปุ กรณ์รับสญั ญาณดาวเทียมสำหรับนักเรยี นทง้ั หมด

ตารางท่ี 25 แสดงรปู แบบการจดั การเรียนแบบ On Demand โรงเรยี นขนาดกลางไมไ่ ด้เป็นโรงพยาบาลสนาม

และสถานที่พกั คอย

ระดับ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส อุปสรรค

การศกึ ษา Strength Weakness Opportunity Threat

มัธยมศึกษา เพม่ิ ทางเลอื กใหก้ บั อปุ กรณ์ของนกั เรยี นไม่ ได้รบั การสนบั สนนุ และ ครอบครวั นกั เรยี นมี

ตอนตน้ นักเรียน สามารถเรียนรู้ รองรบั โปรแกรม/ การเขา้ ถงึ สทิ ธิตา่ งๆ เชน่ ปัญหาด้านทุนทรพั ยใ์ น

ได้ทุกทท่ี ุกเวลา แอพพลเิ คชนั่ ทำให้ การใช้อีเมลของ OBEC การจดั หาอปุ กรณข์ อง

นกั เรียนบางคนไม่ เพ่อื รับสทิ ธิ์เข้าถงึ การผลติ นักเรียน

สามารถเข้าถึงการ ส่ือ ในเวบ็ ไซต์ เปน็ ตน้

จัดการเรียนรู้ได้

มัธยมศึกษา เพิม่ ทางเลอื กใหก้ บั อปุ กรณข์ องนกั เรียนไม่ ได้รบั การสนบั สนนุ และ ครอบครวั นักเรยี นมี

ตอนปลาย นกั เรียน สามารถเรยี นรู้ รองรับโปรแกรม/ การเขา้ ถงึ สทิ ธิต่างๆ เช่น ปัญหาดา้ นทุนทรัพย์ใน

ไดท้ กุ ท่ที ุกเวลา แอพพลเิ คชนั่ ทำให้ การใช้อเี มลของ OBEC การจดั หาอปุ กรณ์ของ

นกั เรียนบางคนไม่ เพื่อรับสทิ ธ์เิ ข้าถงึ การผลติ นกั เรียน

สามารถเขา้ ถึงการ สื่อ ในเว็บไซต์ เป็นตน้

จัดการเรียนรไู้ ด้

94

จากตารางที่ 25 พบว่าโรงเรียนขนาดกลาง ท่ีไม่ได้เป็นโรงพยาบาลสนามและสถานที่พักคอย
มีการจัดการเรียนการสอนรูปแบบ On demand จำนวน 4 แห่ง พบว่า เป็นการเพิ่มทางเลือกให้กับนักเรียน
สามารถเรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลา อีกท้ังโรงเรียนได้รับการสนับสนุนและการเข้าถึงสิทธิต่างๆ ที่ส่งเสริมสนับสนุน
การสอน แต่อุปกรณ์ของนักเรียนไม่รองรับโปรแกรม/แอพพลิเคช่ัน ทำให้นักเรียนบางคนไม่สามารถเข้าถึง
การจัดการเรียนรู้ได้ อีกท้ังมีข้อจำกัดในเรื่องครอบครัวนักเรียนมีปัญหาด้านทุนทรัพย์ในการจัดหาอุปกรณ์
ของนักเรียน

ตารางที่ 26 แสดงรูปแบบการจัดการเรียนแบบ On Hand โรงเรียนขนาดกลางไม่ได้เป็นโรงพยาบาลสนาม
และสถานทพี่ ักคอย

ระดับการศึกษา จุดแขง็ จดุ อ่อน โอกาส อุปสรรค
Strength Weakness Opportunity Threat
มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ผูเ้ รียนมเี อกสารประกอบการ นกั เรยี นขาดความใส่ใจใน ได้รับการช่วยเหลอื ด้านงบประมาณ และความ
ตอนต้น เรียนรู้ และครผู สู้ อนมี งานท่ไี ดร้ บั มอบหมาย ไม่มา ประสานงานจากผู้นำท้องถิ่น เสีย่ งในการรับ - ส่ง เอกสาร
หลกั ฐานในการวัดผล ติดต่อรับงานตามเวลาที่ ในการกำหนดจดุ รบั - สง่ ประกอบการเรียนการสอน
ประเมนิ ผล กำหนด เอกสารประกอบ
การเรียนการสอน ดา้ นงบประมาณ และความ
มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ผู้เรยี นมีเอกสารประกอบการ นักเรียนขาดความใส่ใจใน ได้รบั การช่วยเหลอื เสี่ยงในการรบั - สง่ เอกสาร
ตอนปลาย เรียนรู้ และครผู สู้ อนมี งานทไ่ี ด้รบั มอบหมาย ไมม่ า ประสานงานจากผ้นู ำทอ้ งถ่นิ ประกอบการเรียนการสอน
หลักฐานในการวัดผล ตดิ ต่อรับงานตามเวลาที่ ในการกำหนดจดุ รบั - ส่ง
ประเมนิ ผล กำหนด เอกสารประกอบการเรยี นการ
สอน

จากตารางที่ 26 พบว่า โรงเรียนขนาดกลาง ที่ไม่ได้เป็นโรงพยาบาลสนามและสถานท่ีพักคอย
มีการจัดการเรียนการสอนรูปแบบ On Hand จำนวน 8 แห่ง พบว่า ผู้เรียนมีเอกสารประกอบการเรียนรู้ และ
ครูผู้สอนมีหลักฐานในการวัดผลประเมินผล อีกทั้งยังได้รับการช่วยเหลือประสานงานจากผู้นำท้องถิ่น
ในการกำหนดจุดรับ - ส่ง เอกสารประกอบการเรียนการสอน แต่เนื่องจากนักเรียนขาดความใส่ใจในงาน
ท่ีได้รับมอบหมาย ไม่มาติดต่อรับงานตามเวลาที่กำหนด อีกท้ังมีข้อจำกัดในเรื่องงบประมาณท่ีใช้
ในการจัดทำเอกสารประกอบการสอน และความเสีย่ งในการรบั - สง่ เอกสารประกอบการเรยี นการสอน

ตารางท่ี 27 แสดงรูปแบบการจัดการเรียนแบบ Online โรงเรยี นขนาดกลางไม่ได้เปน็ โรงพยาบาลสนามและ
สถานท่พี กั คอย

95

ระดบั จดุ แข็ง จุดอ่อน โอกาส อปุ สรรค
การศกึ ษา Strength Weakness
มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ครแู ละนักเรียนสามารถ คณุ ภาพสัญญาณและ Opportunity Threat
ตอนต้น เรยี นรแู้ ละปรับตัว อปุ กรณอ์ เิ ล็กทรอนิกส์
เกี่ยวกับกระบวนการ ของนักเรยี นไมร่ องรับ นักเรียนสว่ นใหญ่คุ้นเคย ครอบครัวนกั เรียนมี
จดั การเรยี นการสอนแบบ บางโปรแกรม/
ออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยี แอพพลเิ คชน่ั ทำให้ กบั การใชง้ านอุปกรณม์ ือ ปัญหาดา้ นทุนทรพั ยใ์ น
ได้ นกั เรียนบางคนไม่
สามารถเขา้ ถงึ การ ถือในการเขา้ ถึง การจดั หาอปุ กรณข์ อง
จัดการเรียนรูไ้ ด้
อนิ เตอรเ์ นต็ นกั เรยี น

การไดร้ บั การสนบั สนุนทุน

ทรัพยใ์ นการเรยี น

ออนไลน์ และไดร้ ับความ

ช่วยเหลอื จากทกุ ภาคสว่ น

เชน่ อบต. เปน็ ต้น

มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ครูและนักเรยี นสามารถ คณุ ภาพสญั ญาณและ นักเรียนสว่ นใหญ่คุน้ เคย ครอบครัวนักเรียนมี
ตอนปลาย เรียนรู้และปรับตวั อุปกรณ์อเิ ล็กทรอนกิ ส์
เก่ียวกบั กระบวนการ ของนกั เรยี นไมร่ องรบั กบั การใช้งานอปุ กรณ์มอื ปญั หาด้านทุนทรพั ยใ์ น
จดั การเรยี นการสอนแบบ บางโปรแกรม/
ออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยี แอพพลิเคชน่ั ทำให้ ถอื ในการเขา้ ถึง การจัดหาอุปกรณ์ของ
ได้ นักเรียนบางคนไม่
สามารถเข้าถึงการ อินเตอรเ์ นต็ นักเรียน
จัดการเรยี นรู้ได้
การไดร้ บั การสนับสนุนทุน

ทรัพย์ในการเรยี น

ออนไลน์ และไดร้ บั ความ

ชว่ ยเหลือจากทุกภาคสว่ น

เช่น อบต. เป็นตน้

จากตารางท่ี 27 พบว่า โรงเรียนขนาดกลาง ที่ไม่ได้เป็นโรงพยาบาลสนามและสถานท่ีพักคอย
มีการจัดการเรียนการสอนรูปแบบ Onlineจำนวน 8 แห่ง พบว่า ครูและนักเรียนสามารถเรียนรู้และปรับตัว
เก่ียวกับกระบวนการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีได้ อีกทั้งนักเรียนส่วนใหญ่คุ้นเคยกับ
การใช้งานอุปกรณ์มือถอื ในการเข้าถึงอินเตอร์เน็ต รวมถึงการได้รบั การสนับสนุนทุนทรัพย์ในการเรียนออนไลน์
และได้รับความช่วยเหลือจากทุกภาคส่วน แต่มีปัญหาด้านคุณภาพสัญญาณและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
ของนักเรียนไม่รองรับบางโปรแกรม/แอพพลิเคชั่น ทำให้นักเรียนบางคนไม่สามารถเข้าถึงการจัดการเรียนรู้ได้
อีกท้ังมีข้อจำกัดในเร่ือง ครอบครัวนักเรียนมีปัญหาด้านทุนทรัพย์ในการจัดหาอุปกรณ์ในการเรียนออนไลน์
ของนักเรยี น

ตารางท่ี 28 แสดงแนวทางการจัดการศึกษา ของโรงเรียนขนาดกลางไม่ไดเ้ ปน็ โรงพยาบาลสนามและสถานที่
พักคอยในสงั กัดสำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์ จำแนกตามรูปแบบการ
จดั การเรียนรู้ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019

96

ระดบั รูปแบบการจดั การเรียนรู้
การศึกษา
มธั ยมศกึ ษา Online On Demand On Hand On Air
ตอนตน้ และ
มัธยมศกึ ษา 1. ใช้เทคโนโลยดี ิจิทลั จัด ใชเ้ ทคโนโลยดี ิจิทลั จดั ใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ทิ ลั จดั มกี าระบวนการ กำกบั
ตอนปลาย
การศกึ ษาแบบผสมผสาน การศกึ ษาแบบ การศกึ ษาแบบผสมผสาน ตดิ ตาม การจัดการ
มธั ยมศกึ ษา
ตอนต้นและ Online ผสมผสาน Online On Online On Demand เรียนการสอน ตาม
มัธยมศกึ ษา
ตอนปลาย On Demand และ On Demand และ On และ On Hand บริบทของโรงเรยี นและ

Hand Hand สภาพ

2. จดั ใหม้ ีการอบรมการ โรงเรียนพระบางวิทยา โรงเรยี นหว้ ยน้ำหอมวทิ ยา ความเปน็ อยขู่ อง

ใช้โปรแกรมตา่ งๆ ทีเ่ ป็น ใชร้ ูปแบบ PHRABANG คาร พฒั นารูปแบบการ นกั เรยี น

ประโยชนต์ ่อการจัดการ MODEL ในการบรหิ าร จดั การเรยี นการสอน

เรียนการสอนในรูปแบบ จดั การเรยี นการสอน HNW Delivery

ออนไลน์ เพอื่ ให้ครไู ด้ และการนเิ ทศภายใน Learning To Home

เลือกใช้ให้เหมาะตอ่ การ สถานศึกษา โดยเนน้ เร่อื งการเปดิ

จดั การเรยี นการสอนของ โอกาสทางการศึกษา และ

ตน ลดความเหล่ือมล้ำ

3. มกี าระบวนการ กำกับ ทางการศกึ ษาสำหรบั

ติดตาม การจดั การเรยี น นักเรยี นทีไ่ ม่สามารถเรียน

การสอนออนไลน์ ตาม ออนไลน์ไดเ้ นื่องจากขาด

บรบิ ทของโรงเรียน และ แคลนอุปกรณ์

สภาพความเปน็ อยู่ของ

นักเรยี น

จากตารางที่ 28 พบว่า แนวทางการจัดการศึกษาของของโรงเรียนขนาดกลางไม่ได้เป็นโรงพยาบาล
สนามและสถานที่พักคอยในสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์ จำแนกตามรูปแบบ
การจัดการเรียนรู้ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 สามารถจดั ได้ 4 รปู แบบคอื
On Air โดยมีการะบวนการ กำกับ ติดตาม การจัดการเรียนการสอน ตามบริบทของโรงเรียน และสภาพความ
เป็นอยู่ของนักเรียน On Hand โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัล จัดการศึกษาแบบผสมผสาน Online On Demand
และ On Hand โรงเรียนห้วยน้ำหอมวิทยาคาร พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอน HNW Delivery
Learning To Home โดยเน้นเร่ืองการเปิดโอกาสทางการศึกษา และลดความเหล่ือมล้ำทางการศึกษาสำหรับ
นักเรียนท่ีไม่สามารถเรียนออนไลน์ได้เน่ืองจากขาดแคลนอุปกรณ์ On Demand โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัล
จัดการศึกษาแบบผสมผสาน Online On Demand และ On Hand โรงเรียนพระบางวิทยา ใช้รูปแบบ
PHRABANG MODEL ในการบริหารจัดการเรียนการสอนและการนิเทศภายในสถานศึกษา และ Online
โดยใช้เทคโนโลยีดจิ ิทัล จัดการศึกษาแบบผสมผสาน Online On Demand และ On Hand จดั ให้มีการอบรม
การใช้โปรแกรมต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบออนไลน์ เพื่อให้ครูได้เลือก

97

ใช้ให้เหมาะต่อการจัดการเรียนการสอนของตน และมีกระบวนการ กำกับ ติดตาม การจัดการเรียนการสอน
ออนไลน์ ตามบริบทของโรงเรียน และสภาพความเป็นอยขู่ องนักเรียน

4.ผลการวิเคราะห์ SWOT การดูแลช่วยเหลือนักเรียน ได้แก่ 1) ด้านการเรียนรู้ 2) ด้านการติดตาม
3) ด้านการช่วยเหลือส่งต่อ และ 4) ด้านความปลอดภัย ในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับ
ช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย ของโรงเรียนขนาดกลาง ไม่ได้เป็นสถานที่พักคอย สังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ี
การศกึ ษามธั ยมศึกษานครสวรรค์ ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 ดังนี้

ตารางท่ี 29 แสดงผลการวิเคราะห์การดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรียน ได้แก่ 1) ดา้ นการเรยี นรู้ 2) ดา้ นการติดตาม
3) ด้านการชว่ ยเหลือส่งตอ่ และ 4) ดา้ นความปลอดภยั ในระดับช้นั มัธยมศึกษาตอนต้นและ
ระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาตอนปลาย ของโรงเรยี นขนาดกลาง ไม่ไดเ้ ป็นโรงพยาบาลสนามและสถานที่
พักคอย สังกดั สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามธั ยมศึกษานครสวรรค์

การดูแล จดุ แขง็ จุดออ่ น โอกาส อปุ สรรค
ช่วยเหลือ Strength Weakness Opportunity Threat
นักเรียน
ด้านการ ครแู ละนกั เรียนไดใ้ ช้ ผู้ปกครองไม่มเี วลา ไดร้ บั การสนบั สนุน นักเรยี นบางส่วนขาด
เรียนรู้ ปัจจยั ตา่ งๆ ในการจัด แคลนอุปกรณ์ มี
ประโยชน์จาก ดูแลนกั เรียนขณะ การศกึ ษา จากภาครฐั ปัญหาดา้ นเครือขา่ ย
ดา้ นการ และหนว่ ยงานอื่นๆ อนิ เทอร์เน็ต
ตดิ ตาม เทคโนโลยีการสือ่ สาร เรยี นออนไลน์ ภายนอก เนอ่ื งจากฐานะทาง
บา้ นของนักเรยี น
ทส่ี อดคล้องกบั ยุคสมัย หน่วยงานภายนอก ไม่สามารถลงพน้ื ที่ใน
ผ้นู ำชมุ ชนพรอ้ มให้ การติดตามชว่ ยเหลือ
ในการเรียนการสอน ความช่วยเหลอื และ นักเรยี นได้อย่าง
ใหค้ วามร่วมมือเป็น ครบถว้ น ทำใหข้ ้อมูล
ออนไลน์ อยา่ งดี ตกหล่น และ
แกป้ ัญหาไมท่ ัว่ ถึง
1. มกี ารติดตามจากท้ัง การตดิ ตามนักเรียน

ทางผูบ้ รหิ าร ครผู ูส้ อน กลมุ่ ทไ่ี มม่ ีความ

ครูท่ีปรึกษา ทำให้ได้ พร้อมในการเรียน

ข้อมูลท่ีแม่นยำ ออนไลนม์ คี วาม

สามารถแก้ปัญหาได้ ลา่ ช้า ตกหล่น ไม่

ทันที ครบถ้วน

2. การดำเนินการ

ตดิ ตามนกั เรียนกลุม่ ที่

มคี วามพร้อมเป็นไป

ดว้ ยความรวดเรว็

98

ตารางที่ 29 ต่อ

การดูแล จุดแขง็ จดุ อ่อน โอกาส อุปสรรค
ช่วยเหลือ Strength Weakness Opportunity Threat
นกั เรยี น การชว่ ยเหลอื และส่ง
นกั เรยี นบางสว่ นทไ่ี ม่ หนว่ ยงานภายนอกให้ ตอ่ นกั เรียนไมส่ ามารถ
ด้านการ นักเรียนที่สามารถ สามารถเข้าถงึ การส่งเสริม สนับสนนุ ดำเนินการได้อย่าง
เทคโนโลยีไดห้ รือไม่ ในการการติดตาม รวดเรว็ และท่วั ถงึ
ช่วยเหลือสง่ เข้าถึงเทคโนโลยี มี สามารถติดต่อได้ จะ ช่วยเหลือนกั เรยี นที่ไม่
ขาดโอกาสในการรับ มคี วามพร้อม ทำให้ ความปลอดภัยของ
ตอ่ โอกาสได้รบั การ การช่วยเหลือและ นกั เรยี นไดร้ บั โอกาส พื้นท่ที ี่นักเรยี นพัก
ตดิ ตามจากทาง ทางการศกึ ษามาก อาศัยที่เป็นพืน้ ท่ีเสีย่ ง
ช่วยเหลือสง่ ตอ่ ท่ีมาก โรงเรยี นและ ยง่ิ ขึ้น ทำใหแ้ ก้ปัญหาได้ไม่
หน่วยงานต่างๆ ทัว่ ถึง
ย่ิงข้ึน จากความ -ผปู้ กครองบางสว่ น มภี าคเี ครือข่ายที่มี
ยังไม่มีเวลาในการ ประสทิ ธภิ าพ
สะดวกด้านเทคโนโลยี ดแู ลนกั เรียนที่
เพยี งพอ เนื่องจาก
ดา้ นความ 1. มคี วามปลอดภัย/มี ตอ้ งทำงาน
ปลอดภยั ทกั ษะการป้องกนั
ตัวเอง
2. ปอ้ งกันผเู้ รียนจาก
การถูกภยั คุกคาม

จากตารางท่ี 29 พบว่า การดูแลช่วยเหลือนักเรียน ด้านการเรียนรู้ การติดตาม การช่วยเหลือส่งต่อ
และความปลอดภัย ในระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนต้นและระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย ของโรงเรียน
ขนาดกลาง ไม่ได้เป็นสถานท่ีพักคอย โรงเรียนขนาดกลาง ที่ไม่ได้เป็นสถานท่ีพักคอย พบว่า มีจุดเด่น เกี่ยวกับ
ครูประจำวิชา ครูที่ปรึกษา และผู้บริหาร ทุกฝ่ายมีการช่วยเหลือติดตามนักเรียน-รวมถึงผู้นำชุมชน กำนัน
ผู้ใหญ่บ้าน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน หน่วยงานราชการ ในละแวกหมู่บ้านของนักเรียน ให้โอกาส
ในการขอใช้บริการสัญญาณอินเทอร์เน็ต เพ่ือใช้ในการเรียนออนไลน์ แต่เนื่องจากผู้ปกครองบางส่วน
ยังไม่มีเวลาในการดูแลนักเรียน เนื่องจากต้องทำงานประกอบอาชีพ อีกทั้งนักเรียนบางส่วนยังต้องช่วยเหลือ
ผู้ปกครองประกอบอาชีพ ทำให้ไม่ได้เรียนออนไลน์ จนบางส่วนออกนอกระบบการศึกษาไปในท่ีสุด
และข้อจำกัดในเรื่องความยากลำบากในการติดตามนักเรียนท่ีไม่มีความพร้อมโดยการลงพ้ืนท่ีในการติดตาม
ชว่ ยเหลอื นกั เรียน

99

ตารางที่ 30 แสดงผลการวิเคราะห์แนวทางในการดูแลช่วยเหลือนกั เรียน ได้แก่ 1) ดา้ นการเรยี นรู้ 2) ดา้ นการ
ติดตาม 3) ด้านการชว่ ยเหลือส่งต่อ และ 4) ด้านความปลอดภยั ในระดับช้นั มธั ยมศึกษาตอนต้น
และระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย ของโรงเรียนขนาดกลาง ไม่ได้เปน็ โรงพยาบาลสนามและ
สถานที่พกั คอย สงั กัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศกึ ษานครสวรรค์

ระดับ แนวทางการดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรียน ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019
การศึกษา
มธั ยมศึกษา ด้านการเรียนรู้ ด้านการตดิ ตาม ด้านการชว่ ยเหลือสง่ ต่อ ด้านความปลอดภัย
ตอนตน้
1. ปรับลดภาระงานให้ 1. การติดตามนกั เรียน 1. ครูท่ีปรกึ ษานำผลการ 1. เสริมสร้างทกั ษะ
มธั ยมศึกษา
ตอนปลาย กระชบั และเหมาะสม โดยครูประจำวชิ าเป็น ติดตามนักเรยี นในการเรยี น การป้องกันตนเองให้

2. การลดความเครยี ด ข้อมูลพื้นฐานโดยสง่ ต่อ ออนไลนม์ าเป็นขอ้ มลู พืน้ ฐาน ปลอดภัยจากเชอ้ื ไวรสั

สะสมจากการเรยี น ใหก้ บั ครทู ่ปี รึกษาหรือ ในการติดตามนักเรียนกลมุ่ ที่ โคโรนา 2019

ออนไลน์ โดยการปรบั งานวชิ าการ เพอ่ื ร่วมกนั ไมเ่ ข้าเรยี นออนไลน์ พรอ้ มทงั้ 2. ปอ้ งกันผูเ้ รยี นจาก

ชัว่ โมงการเรียนการสอน หาแนวทางในการ หาทางช่วยเหลอื นกั เรยี นกลุ่ม การถูกภยั คุกคาม

ลดลง ติดตามพฤตกิ รรมการ ดังกล่าว 3. มกี ารกำกบั ตดิ ตาม

3. ครูบรู ณาการการเรยี น เรยี นออนไลน์ การส่งใบ 2. ผู้อำนวยการโรงเรยี นและ ระบบดูแลนักเรียนผา่ น

การสอนร่วมกันโดย งานหรือการแก้ไขผล ครูที่ปรึกษาลงพนื้ ทก่ี ารเข้า เครอื ขา่ ยผูป้ กครอง

ทำงาน 1 ชน้ิ ได้รบั การเรยี น เย่ยี มบา้ นพร้อมทงั้ หาทาง และการเยี่ยมบา้ น

คะแนนหลายรายวิชา ชว่ ยเหลือเร่งด่วนสำหรบั ออนไลน์ การ

4. นโยบายให้นักเรยี นทม่ี ี นักเรียนทีม่ ปี ญั หา จดั บรกิ ารตรวจเยย่ี ม

บา้ นพักอาศยั อยใู่ กล้กับ 3. โรงเรยี นจดั กิจกรรม PLC ชว่ ยเหลือนักเรยี นทม่ี ี

โรงเรยี น ใหเ้ ดนิ ทางมาใช้ ระหว่างผู้บริหาร กบั ครู ปัญหา ประสานความ

สญั ญาณอนิ เทอรเ์ นต็ ของ ประจำชั้นและครูประจำวิชา ชว่ ยเหลอื ให้กบั

โรงเรียนได้ เพ่อื ตดิ ตาม และสอบถาม นักเรยี นเพอื่ ไดร้ ับ

ปัญหาทเี่ กิดขึน้ ของนกั เรยี น ความช่วยเหลอื อย่าง

เตม็ ท่ี

1. สร้างชอ่ งทางการ 1. การติดตามนักเรียน 1. สง่ ตอ่ นักเรยี นที่มเี หตุ 1. เสริมสรา้ งทักษะ

ติดต่อส่ือสารสำหรับ โดยครูทป่ี รกึ ษา เพอื่ จำเปน็ สู่การศึกษานอกระบบ การป้องกันตนเองให้

นกั เรียนและครไู ดใ้ ช้ใน ตดิ ตามช่วยเหลือ โรงเรยี น ปลอดภยั จากเช้ือไวรสั

การสอ่ื สารระหวา่ งกัน นกั เรยี น ประสานเพือ่ 2. สนับสนุนทุนการศกึ ษา โคโรนา 2019

2. การเพ่มิ โอกาสการ แก้ปัญหา และรับการ สำหรบั นักเรยี นขาดแคลน 2. ปอ้ งกันผเู้ รยี นจาก

เข้าถึงการเรียนการสอนท่ี สนับสนุนจากหนว่ ยงาน การถกู ภัยคกุ คาม

ต้องพง่ึ พาอปุ กรณ์ท่ี ต่างๆ ตามสิทธิ์ของ 3. มกี ารกำกบั ตดิ ตาม

ทันสมยั และการลดความ นกั เรียน โดยวิธีการ ระบบดแู ลนกั เรียนผ่าน

เหล่ือมล้ำทางการศกึ ษา ต่างๆ ได้แกก่ ารเยยี่ ม เครอื ขา่ ยผู้ปกครอง

ของนกั เรียนทข่ี าดแคลน บา้ นนกั เรยี น สร้างช่อง และการเยี่ยมบา้ น

100

ตารางท่ี 30 ต่อ

ระดบั แนวทางการดแู ลช่วยเหลือนกั เรยี น ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019

การศึกษา ดา้ นการเรียนรู้ ด้านการติดตาม ด้านการช่วยเหลือส่งต่อ ดา้ นความปลอดภัย

มัธยมศึกษา ทางการติดต่อส่อื สาร ออนไลน์ การ

ตอนปลาย เป็นกลมุ่ การจบั คู่ จดั บริการตรวจเย่ียม

ช่วยเหลอื กันระหวา่ ง ช่วยเหลอื นกั เรยี นทมี่ ี

นักเรยี นภายในห้อง ปญั หา ประสานความ

เปน็ ตน้ ชว่ ยเหลอื ให้กับ

2. การติดตามโดยฝา่ ย นักเรียนเพอื่ ไดร้ ับ

บรหิ าร มกี ารนิเทศการ ความชว่ ยเหลืออยา่ ง

สอนออนไลนอ์ ย่าง เต็มที่

ตอ่ เนอื่ ง กำกับ ตดิ ตาม

การจัดการเรยี นการ

สอนอย่างเปน็ ระบบ

ประสาน หนว่ ยงาน

ภายนอกและผนู้ ำชุมชน

ในการประชาสมั พันธ์

ขา่ วสารตา่ งๆ ของทาง

โรงเรยี น

จากตารางที่ 30 พบวา่ ผลการวเิ คราะห์แนวทางในการดูแลชว่ ยเหลือนักเรยี น ในระดับชนั้ มธั ยมศึกษา
ตอนต้นและระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนปลายของโรงเรียนขนาดกลาง สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
มัธยมศึกษานครสวรรค์ ได้แก่ ด้านการเรียนรู้ ปรับลดภาระงานให้กระชับและเหมาะสม การลดความเครียด
สะสมจากการเรียนออนไลน์ โดยการปรับช่วั โมงการเรียนการสอนลดลง ครูบรู ณาการการเรียนการสอนร่วมกัน
โดยทำงาน 1 ชิ้น ได้รับคะแนนหลายรายวิชา นโยบายให้นักเรียนที่มีบ้านพักอาศัย อยู่ใกล้กับโรงเรียน
ให้เดินทางมาใช้สัญญาณอินเทอร์เน็ตของโรงเรียนได้ ด้านการติดตาม การติดตามนักเรียนโดยครูท่ีปรึกษา
เพ่ือติดตามช่วยเหลือ นักเรียน ประสานเพื่อแก้ปัญหา และรับการสนับสนุนจากหน่วยงานต่างๆ ตามสิทธิ์
ของนักเรียน โดยวิธีการต่างๆ ได้แก่การเยี่ยมบ้านนักเรียน สร้างช่องทางการติดต่อสื่อสารเป้นกลุ่ม
การจับคู่ช่วยเหลือกันระหว่างนักเรียนภายในห้อง เป็นต้น การติดตามโดยฝ่ายบริหาร มีการนิเทศการสอน
ออนไลน์อย่างต่อเน่ือง กำกับ ติดตามการจัดการเรียนการสอนอย่างเป็นระบบ ประสาน หน่วยงานภายนอก
และผู้นำชุมชนในการประชาสัมพันธ์ ข่าวสารต่างๆของทางโรงเรียน ด้านการช่วยเหลือส่งต่อ ส่งต่อนักเรียน
ที่มีเหตุจำเป็นสู่การศึกษานอกระบบโรงเรียน สนับสนุนทุนการศึกษาสำหรับนักเรียนขาดแคลน และ
ด้านความปลอดภัย เสริมสร้างทักษะการป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ป้องกันผู้เรยี น
จากการถูกภัยคุกคาม และมีการกำกับติดตามระบบดูแลนักเรียนผ่านเครือข่ายผู้ปกครอง และการเย่ียมบ้าน

101

ออนไลน์ การจัดบริการตรวจเยี่ยมช่วยเหลือนักเรียนที่มีปัญหา ประสานความช่วยเหลือให้กับนักเรียน
เพ่ือได้รบั ความชว่ ยเหลืออยา่ งเตม็ ท่ี

5. กรณีศกึ ษาของโรงเรยี นที่จดั การศกึ ษาโดดเด่น และโรงเรยี นทม่ี ีปัญหาอปุ สรรค โรงเรียนขนาด
กลาง ไมไ่ ด้เป็นโรงพยาบาลสนามและสถานทพี่ ักคอย ท่ีจัดการศกึ ษาโดดเดน่ ในสถานการณก์ ารแพร่
ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019

โรงเรยี น Best practice ไดแ้ ก่ โรงเรยี นหว้ ยน้ำหอมวิทยาคาร
แนวปฏิบัติที่ดี คือ การจัดการเรียนการสอนรูปแบบ Delivery learning to home ในรูปแบบ
“HNW DLTH Model”
โรงเรียนห้วยน้ำหอมวิทยาคาร ได้เพ่ิมเติมรูปแบบที่เป็นทางเลือกสำหรับการแก้ปัญหาให้กับนักเรียน
และผู้ปกครองท่ีมีความต้องการช่วยเหลือเป็นกรณีเร่งด่วน โดยเน้นเรื่องการเปิดโอกาสทางการศึกษา และลด
ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาสำหรับนักเรียนท่ีไม่สามารถเรียนออนไลน์ได้เนื่องจากการขาดแคลนอุปกรณ์
สำหรับการเรียนออนไลน์ผ่านระบบ HNW Delivery learning to home (HNW DLTH) ด้วยการจัดส่ง
องค์ความรู้พร้อมครูผู้สอนให้กับนักเรียนถึงท่ี ตามท่ีได้ระบุไว้เพื่ออำนวยความสะดวกให้กับนักเรียนและ
ผปู้ กครองท่ีมปี ัญหา และตอ้ งการความช่วยเหลือจำเปน็ เรง่ ด่วน โดยท่ีนกั เรยี นและผู้ปกครองไมจ่ ำเปน็ ต้องมาท่ี
โรงเรียน เพียงแต่ผู้ปกครองและนักเรียนแจ้งความต้องการผ่านระบบ Call Center หรือการออกใบ Order
Request เพื่อทำการขอความชว่ ยเหลือจากทางโรงเรียนได้ ภายใตเ้ ง่อื นไขการดำเนนิ งานตามมาตรการปอ้ งกัน
การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรน่าอย่างเคร่งครัด ผ่านช่องทางการติดต่อ (Call Center 056-293119) โดย
การจดั การเรยี นการสอนรูปแบบ HNW Delivery learning to home (HNW DLTH) มรี ายละเอียด ดงั นี้

Hearken รบั ฟงั ดว้ ยหัวใจ
Needs สนองความต้องการผ้เู รียน
Wherever ทกุ ทที่ ุกเวลา

102

จากรูปแบบขา้ งต้นนำสวู่ ิธีการปฏิบัติ ดังน้ี

Hearken รับฟังดว้ ยหวั ใจ

โรงเรียนยินดีรับฟังปัญหาและความต้องการของผู้เรียนในการจัดการเรียนการสอนแบบ

Online และพร้อมทจ่ี ะให้การชว่ ยเหลือตามความเหมาะสม

Needs สนองความตอ้ งการผเู้ รยี น

โรงเรียนเพ่ิมโอกาสการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน โดยการนำขอ้ มูลปัญหาความตอ้ งการท่ีได้รับแจ้ง

จากผเู้ รยี นมาวเิ คราะห์ สังเคราะห์ เพื่อวางแผนให้ความชว่ ยเหลอื ตามความต้องการของผู้เรียน

Wherever ทุกทท่ี ุกเวลา

โรงเรียนบริการจัดส่งความรู้ถึงบ้านตามความต้องการของผู้เรียน และเพื่ออำนวยความ

สะดวกให้ผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้ได้ทุกท่ีทุกเวลา เช่น บริการสอนเพิ่มเติม บริการรับ-ส่งใบงาน ใบความรู้

ภาระงาน เปน็ ต้น

โรงเรยี น Best practice ไดแ้ ก่ โรงเรยี นพระบางวทิ ยา

แนวปฏิบัตทิ ่ดี ี คือ

1. กระบวนการนิเทศภายในสถานศึกษาโดยใช้ PRABANG MODEL เพื่อยกระดับผลสัมฤทธ์ิ

ทางการเรียนของผเู้ รยี น

โรงเรียนพระบางวิทยา จัดทำกระบวนการนิเทศภายในและสะท้อนผลการนิเทศ ติดตาม โดยทำการ

สะท้อนให้ทราบถึงจุดเด่น และจุดท่ีควรปรับปรุง และรวมถึงร่วมกันหาแนวทางปรับปรุง หรือพัฒนาหลักสูตร

ผ่านการใช้กระบวนการนิเทศการสอนแบบ PRABANG Model เพื่อยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของ

ผู้เรียนโรงเรียนพระบางวทิ ยา จงั หวัดนครสวรรค์ ซ่งึ มรี ายละเอยี ดดงั น้ี

P = Problems gathering คือ การรับทราบปัญหา ส่งเสริมพัฒนาความสามารถของครูใน
การจัดการเรียนรู้ โดยใช้เทคนิค/วธิ กี ารสอนทส่ี ง่ เสรมิ ใหผ้ ้เู รยี นเกดิ ทกั ษะในศตวรรษที่ 21

103

R = Real Planning คือ การวางแผนการนิเทศภายในอย่างเป็นระบบระหว่างผู้บริหาร
ร่วมกับครูผู้สอน ก่อนให้ความช่วยเหลือในการจัดการเรียนรู้ มีการกำหนดนโยบายและจุดเน้นในการจัดทำ
หลักสูตรสถานศกึ ษาท่สี อดคล้องกับศตวรรษที่ 21

A = Active Doing คือ มีการนิเทศอย่างสม่ำเสมอ โดยผู้นิเทศมีการใช้สื่อ เคร่ืองมือ
นวัตกรรมในการช่วยเหลอื ครผู ู้สอน เนอื้ หาของการนเิ ทศภายในสถานศึกษาทันกบั เหตุการณ์เสมอ

B = Bridling คือ การตรวจสอบ ติดตาม การจัดการเรียนการสอนของครูอย่างเปิดกว้าง
อำนวยความสะดวกในดา้ นเอกสาร การคน้ คว้า ใหม้ กี ารพฒั นาอย่างตอ่ เนอ่ื งอยู่เสมอ

A = Assessing คือ ตรวจสอบติดตามเคร่ืองมือการวัดประเมินผลประเมินผลของครูท่ีใช้
วัดผลประเมนิ ผลการเรียนรู้ของนักเรียน

N = Non-stop Developing คือ การไมห่ ยดุ พฒั นาให้ดีย่งิ ขนึ้ โดยการสง่ เสรมิ ให้ครูทำวิจัย
เชงิ ปฏบิ ัติการในชน้ั เรยี น เพ่ือพัฒนาผู้เรยี นอยา่ งต่อเนือ่ งสม่ำเสมอ

G = Goal achieving คือ การบรรลุเป้าหมายหรือความสำเร็จท่ีเกิดกับนักเรียนโรงเรียน
พระบางวิทยา ตามวิสัยทัศน์ของโรงเรียน ได้แก่ ผู้เรียนมีคุณธรรมจริยธรรม ดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง เรยี นรูต้ ามมาตรฐานสากล บนพืน้ ฐานของความเปน็ ไทย

จากรปู แบบข้างตน้ นำสวู่ ธิ ีการปฏบิ ัติ ดงั น้ี
P = Problems gathering ครูมีการรับทราบปัญหาการเรียนรู้ของนักเรียนเป็นรายบุคคล

นำผลมากำหนดเป้าหมายและวิธีการเรียนการจัดการเรียนรู้ นำแนวทางการแก้ปัญหามาใช้ในการปรับปรุง
กิจกรรมการเรียนการสอน เพอื่ สร้างความตระหนักในการจัดการเรยี นรู้ ส่งเสริมความก้าวหน้าให้ครูทุกคนด้วย
ความยุตธิ รรม สรา้ งขวญั และกำลังใจ

R = Real Planning ครูมีการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีส่งเสริมการเรียนรู้จากแหล่ง
เรียนรู้ที่ทันสมัย ปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้เป็นปัจจุบัน รวมถึงวางแผนด้านงบประมาณ วัสดุ
อปุ กรณ์ เพื่อใช้ในการสนับสนนุ ใหค้ รูได้จัดการเรยี นการสอนเปน็ ไปตามหลกั สูตรสถานศกึ ษาที่กำหนดไว้

A = Active Doing ครูผู้สอนดำเนินการจัดการเรียนการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้ มี
กิจกรรมท่ีเหมาะสม มีสื่อการจัดการเรียนรู้ท่ีช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้เต็มตามศักยภาพ ท้ังนี้มีการประชุม
วิเคราะห์กระบวนการช่วยเหลือครูผู้สอนและนักเรียน มีการสรุปการวางแผนการตรวจสอบการช่วยเหลือการ
ปฏบิ ตั งิ านอยา่ งสม่ำเสมอ

B = Bridling ครูผู้สอนจัดทำรายงานการจัดการเรียนรู้ เป็นระยะอย่างสม่ำเสมอ เพื่อ
รบั ทราบถึงผลการจัดการเรียนการสอนในแต่ละช่วง นำไปสู่การพัฒนาวิธีการจัดการเรียนรูเ้ พ่ือพัฒนานักเรียน
อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ

A = Assessing ครูมีวิธีการวัดประเมินผลนักเรียนด้วยวิธีท่ีหลากหลายอย่างเหมาะสมและ
สม่ำเสมอ ตรงตามตัวชี้วัดของแผนการจดั การเรียนรู้

104

N = Non-stop Developing ครูนำผลการจดั การเรยี นการสอนมาจัดทำวิจยั เชิงปฏิบัติการ
ในช้ันเรยี นเพ่อื พัฒนาผู้เรียนและพฒั นาการจัดการเรยี นรขู้ องครไู ปพรอ้ มๆกนั

G = Goal achieving ครจู ดั การเรียนรูโ้ ดยเนน้ การพัฒนาผู้เรยี นตามวิสัยทศั นโ์ รงเรยี น
ในการดำเนนิ การนิเทศการสอนด้วยกระบวนการนเิ ทศการสอนแบบ PRABANG Model เพ่ือยกระดับ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนโรงเรียนพระบางวิทยา จังหวัดนครสวรรค์ ครูผู้รับการนิเทศและ ผู้นิเทศ
ต้องทำงานร่วมกันดังที่กล่าวมาแลว้ ว่าการนิเทศการสอนภายในโรงเรียนประกอบดว้ ยบคุ คล 3 ฝา่ ยคอื

1. ผู้บรหิ ารสถานศึกษา
2. ผู้นิเทศ อาจเป็นผู้ท่ีได้รับมอบหมายเช่นหัวหน้าวิชาการหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ หรือ
เพอ่ื นครู
3. ผู้รับการนิเทศ ในกรณีท่ีเป็นครูผู้สอนในระดับเดียวกันอาจจะตกลงร่วมกันในลักษณะ
การนเิ ทศการสอนแบบเพือ่ นนิเทศเพื่อนโดยให้ฝา่ ยใดฝ่ายหน่ึงเป็นผนู้ ิเทศและอีกฝ่ายหนง่ึ เปน็ ผู้รับการนิเทศ

6. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย การบริหารจดั การ โรงเรียนขนาดกลาง ไม่ไดเ้ ป็นโรงพยาบาลสนาม
และสถานทพ่ี ักคอย ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 ทีจ่ ะนำมาใช้
ในปีการศึกษา 2565

6.1 ด้านการจัดทำแผนและนโยบาย
6.1.1 สำรวจข้อมูลจากผู้ท่ีเก่ียวข้องและผู้ท่ีได้รับผลกระทบจากการใช้นโยบายการจัดการศึกษา

ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในเบื้องต้น เพ่ือนำข้อมูลดังกล่าว
ประกอบการตดั สนิ ใจก่อนนำนโยบายไปปฏบิ ัตจิ ริง

6.1.2 มีการวางแผนการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบโดยการบริหารแบบมีส่วนร่วมของภาคส่วน
มีการประสานงานขอความรว่ มมือจากหนว่ ยงานที่เกย่ี วข้อง เช่น สาธารณสุข โรงพยาบาล อสม.

6.2 ด้านหลกั สตู รและการจัดการเรียนรู้
กระชับหลักสูตร ปรับหลักสูตรให้กระชับควบคู่ไปกับจัดลำดับความสำคัญของเน้ือหาเพิ่มความ

ยดื หยนุ่ ของโครงสรา้ งเวลาเรยี น ปรบั รูปแบบการเรยี นรู้ท่ีหลากหลาย และยกระดับการประเมินเพื่อพฒั นาการ
เรียนรู้ให้สอดคล้องกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 พัฒนาหลักสูตร
และกระบวนการจัดการเรียนรตู้ ามนโยบายกระทรวงศกึ ษาธิการ เรอื่ งตัวชี้วัดต้องรู้และควรรู้ ผ่อนคลายตัวชวี้ ัด
และโครงสร้างเวลาเรยี น มีการออกแบบหน่วยการเรียนรู้ และแผนการจดั การเรยี นรู้ ท่ีเหมาะสม มีการประเมิน
เพ่อื พัฒนาการเรยี นรู้

6.3 ด้านเทคโนโลยีทางการศึกษา
ส่งเสริมพัฒนาบุคลากรด้านการใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอน ประยุกต์ใช้เทคโนโลยี

ให้เกิดประโยชน์แก่การเรียนรู้ จัดให้มีการเรียนการสอนออนไลน์ในรูปแบบท่ีหลากหลาย อันได้แก่ DLTV

105

โปรแกรมออนไลน์ (Zoom, Google Meet, Microsoft Team) โดยพิจารณาถึงความเหมาะสมกับผู้เรียน
ในแต่ละระดับ

6.4 ด้านการวดั ประเมนิ ผล
ใช้วิธีการและรูปแบบการวัดและประเมินผลที่เหมาะสมและหลากหลายผสมผสานกันไป เช่น

การสังเกต การสัมภาษณ์ การตรวจผลงาน การประเมินภาคปฏิบัติ การประเมินโดยใช้แฟ้มสะสมผลงาน และ
การทดสอบ โดยมีการประเมินที่สามารถเช่ือมโยงรูปแบบการเรียนรู้ทั้ง On Hand - Online หรือ
รูปแบบผสมผสาน ยืดหยุ่นทั้งครู นักเรียนและผู้ปกครองให้เหมาะสมตามสภาพบริบท การเก็บรวบรวมข้อมูล
ในการประเมินพอประมาณตามความจำเปน็ และเหมาะสม ไมส่ ร้างความเครียดใหก้ ับนักเรียน

6.5 ดา้ นการพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้
เพื่อการจัดการเรยี นการสอนในรูปแบบทเี่ ปล่ยี นแปลงตามสถานการ์การแพร่ระบาดของเชอ้ื โคโรนา

2019 ดังนั้นการนำเทคโนโลยีมาปรับใช้ในการจัดการเรียนการสอนจึงมีความสำคัญ การสร้างนวัตกรรมขนึ้ มา
จึงเกิดประโยชน์ทั้งกับครูและนักเรียนท่ีสามารถเลือกเวลาเรียนได้ด้วยตนเอง สามารถเรียนและทบทวนได้
ตลอดเวลา โดยมคี รูเปน็ ผู้สร้างและให้คำปรึกษาในสว่ นทน่ี ักเรยี นไม่เข้าใจ

6.6 ด้านการดแู ลช่วยเหลอื นักเรยี น
6.6.1 การรจู้ ักนักเรยี นเป็นรายบคุ คล ดว้ ยความแตกต่างสภาพความเปน็ อยขู่ องนักเรยี น
6.6.2 การคัดกรองนักเรียน อาจจะแบ่งระบบการคัดกรองออกเป็นระดับ เพ่ือท่ีจะได้ดูแล

และแก้ปญั หาไดต้ รงจดุ เชน่ กลมุ่ ปกติ กล่มุ เส่ยี ง กลุม่ มปี ัญหา
6.6.3 การส่งเสริมและพัฒนานักเรียน เป็นการส่งเสริมนักเรียนแต่ละกลุ่มให้มีคุณภาพมากขึ้น

และเตม็ ตามศกั ยภาพของนักเรยี น โดยผ่านกิจกรรมโฮมรมู แนะแนว หรือกิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น
6.6.4 ครเู อาใจใส่นกั เรียนในทุกคนเทา่ เทยี มกนั สว่ นกล่มุ ที่มีปัญหาอาจจะมากเป็นพเิ ศษ
6.6.5 กาส่งต่อผเู้ ชีย่ วชาญ สำหรบั กล่มุ ท่ีมปี ัญหาเพื่อปอ้ งกนั และแก้ปัญหาของนักเรียนให้มีคุณภาพ

ทด่ี ขี นึ้

106

ผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู โรงเรียนขนาดกลางและขนาดใหญท่ ี่เป็นโรงพยาบาลสนามและสถานที่พกั คอย

1. ขอ้ มูลพืน้ ฐานโรงเรียน สารสนเทศการจัดการศกึ ษาในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื
ไวรัสโคโรนา 2019 ของโรงเรียนขนาดกลางและขนาดใหญ่ท่ีเป็นสถานท่ีพักคอย ในสำนักงานเขตพ้ืนท่ี
การศกึ ษามธั ยมศกึ ษานครสวรรค์

ตารางที่ 31 แสดงข้อมลู พ้นื ฐานโรงเรียนขนาดกลางและขนาดใหญ่เปน็ โรงพยาบาลสนามและสถานทีพ่ ักคอย

ที่ โรงเรียน จำนวน จำนวน จำนวน จำนวน วันท่ีเปดิ On รูปแบบการจัดการเรียนรู้
นักเรียน ผู้บริหาร ครู ห้องเรียน ภาค site
(คน) (คน) (คน) ม. ม. เรยี นที่ On On On Online
ต้น ปลาย 1/2564 Air Demand Hand

1 บรรพตพสิ ยั 1,027 3 53 16 12 1 ม.ิ ย. - -   

พิทยาคม 64

2 เกา้ เลยี้ ว 618 2 46 12 9 1 ม.ิ ย. - -   

วิทยา 64

3 1,401 3 67 20 17 1 มิ.ย. - -   

ไพศาลพี ิทยา 64

4 1,826 4 95 27 22 1 ม.ิ ย. - -   

หนองบัว 64

รวม 4,872 12 261 75 60 4 44

ร้อยละ 100 100 100

จากตารางท่ี 31 พบว่า โรงเรยี นขนาดกลาง จำนวนนักเรยี นตั้งแต่ 500-1,499 คน ท่ีเป็นโรงพยาบาล
สนามและสถานท่ีพักคอย จำนวน 3 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนบรรพตพิสัยพิทยาคม โรงเรียนเก้าเล้ียววิทยา
โรงเรียนไพศาลีพิทยา โรงเรียนขนาดใหญ่ จำนวนนักเรียนต้ังแต่ 1,499 -2,499 คน ท่ีเป็นโรงพยาบาลสนาม
และสถานที่พักคอย จำนวน 1 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนหนองบัว รวมมีนักเรียนทั้งสิ้น 4,872 คน มีผู้บริหาร
โรงเรียน 12 คน ครู 261 คน จำนวนห้องเรียน 135 ห้องเรียน โรงเรียนมีรูปแบบการจัดการเรียนรู้ท้ังหมด
3 รูปแบบ คือ On Demand, On Hand และ Online ยังไม่มีโรงเรียนใดจัดการเรียนรู้รูปแแบบ On Site
และ On Air และทกุ โรงเรยี นเปิดเรยี นภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 ตง้ั แต่ 1 มิถนุ ายน 2564

ตารางท่ี 32 แสดงข้อมูลโรงเรียนขนาดกลางและขนาดใหญ่ ในสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา
นครสวรรค์ทขี่ อใหอ้ าคารสถานทเี่ ป็นโรงพยาบาลสนามและสถานทีพ่ ักคอย

107

ท่ี สถานศกึ ษา ประเภท หนว่ ยงานท่ีขอ จำนวน ว/ด/ป ท่ีเร่มิ ใช้ ว/ด/ป ท่ีเลิกใช้ จำนวนวันขอใช้
การขอใช้ ใช้ เตียง อาคารสถานที่ อาคารสถานท่ี อาคารสถานที่
1 โรงเรยี นบรรพตพิสยั อาคาร
พทิ ยาคม สถานท่ี อาคารสถานท่ี 80 29 สิงหาคม 2564 ยังไม่ระบุ ยงั ไมส่ ามารถ
รพ.สนาม จนกว่าเลิก ระบุ
2 โรงเรยี นเก้าเล้ียว รพ.บรรพตพิสยั 70
วทิ ยา รพ.สนาม 80 23 กรกฎาคม 1 ตลุ าคม 2564
อำเภอเก้าเลย้ี ว 2564 90
3 โรงเรียนไพศาลีพทิ ยา สถานที่พัก
คอย ท่ีวา่ การอำเภอ 90 25 กรกฎาคม 25 ตลุ าคม 31
4 โรงเรียนหนองบัว ไพศาลี 2564 2564
สถานท่พี ัก
คอย เทศบาลตำบล 72 31 กรกฎาคม 31 สิงหาคม
หนองบัว 2564 2564

จากตารางท่ี 32 พบว่า โรงเรียนขนาดกลางในสังกัด สพม.นครสวรรค์ ท่ีขอให้อาคารสถานท่ีเป็น
โรงพยาบาลสนามและสถานท่ีพักคอยซ่ึงประกอบ ด้วย 4 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนบรรพตพิสัยพิทยาคม
โรงเรียนเก้าเล้ียววิทยา โรงเรียนไพศาลีพิทยา และโรงเรียนหนองบัว มีจำนวนเตียง 322 เตียง ระยะเวลาท่ีใช้
อาคารสถานที่เริ่มตั้งแต่ 23 กรกฏาคม 2564 เป็นต้นไป

2. ผลการวเิ คราะหจ์ ดุ แข็ง จดุ ออ่ น โอกาส และอปุ สรรค การจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ของโรงเรียนขนาดกลางและขนาดใหญ่ท่ีเป็นสถานท่ีพักคอย
หรือโรงพยาบาลสนาม

โรงเรียนขนาดกลางและขนาดใหญจ่ ำนวน 4 โรงเรียน ท่เี ป็นสถานท่พี ักคอยหรือโรงพยาบาลสนาม
ดำเนินการจัดการศกึ ษาในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 ชว่ งระยะเวลา
ปกี ารศึกษา 2564 - สิงหาคม 2564 ดงั น้ี

ตารางที่ 33 แสดงผลการวเิ คราะห์ SWOT ด้านการบริหารจัดการของโรงเรยี นขนาดกลางและขนาดใหญ่ทเี่ ป็น

โรงพยาบาลสนาม และสถานที่พักคอย ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา

2019

การบรหิ ารจัดการ จุดแข็ง จดุ อ่อน โอกาส อปุ สรรค

การบริหารจัดการ 1. ครูและบคุ ลากร ครแู ละบคุ ลากร มีการเปดิ อบรมพัฒนา ขาดแคลนบุคลากร

ดา้ นบคุ ลากร ทางการศึกษามคี วาม ทางการศกึ ษา ครูเพือ่ ส่งเสรมิ การ ท่มี คี วามรแู้ ละ

(Man) พร้อมในการจัดการ บางส่วนขาดทกั ษะ จดั การเรียนการสอน ประสบการณ์

เรียนการสอน จากหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ช่วยเหลือในดา้ น

สาธารณสขุ

108

ตารางท่ี 33 ตอ่ จดุ แขง็ จดุ อ่อน โอกาส อุปสรรค
ในรูปแบบ Online, ในการใชส้ ่ือ ทเ่ี ก่ยี วขอ้ งทางดา้ น
การบรหิ ารจดั การ On demand และ On เทคโนโลยใี นการ การศึกษา 1. ขาดการสนับสนนุ
การบริหารจัดการ hand จัดการเรียนการ งบประมาณจาก
ด้านบุคลากร 2. ครูและบุคลากร สอน ไดร้ ับเงินสนบั สนุนจาก หนว่ ยงานภายนอก
(Man) ทางการศึกษามี สำนกั งาน 2. สอื่ อปุ กรณ์
ความสามารถในการใช้ คณะกรรมการ บางอย่างไมส่ ามารถ
การบริหารจดั การ สื่อเทคโนโลยีในการ การศึกษาขัน้ พื้นฐาน จดั ซอื้ ได้ เพราะอาจ
ด้านงบประมาณ จดั การเรียนการสอน องคก์ ร และชุมชน อยูน่ อกเหนือ
(Money) 3. ครูและบคุ ลากร ระเบียบการจดั ซ้ือ
ทางการศกึ ษามกี าร จัดจ้าง
การบรหิ ารจดั การ ปรบั กระบวนการ ราคาของวสั ดุ
ด้านสอื่ อุปกรณ์ เรยี นรโู้ ดยการยดื หยุ่น อปุ กรณ์ สอื่ สิง่
(Material) ตามสถานการณ์ หา อำนวยความสะดวก
เทคนิควิธีการจงู ใจให้ มีราคาสงู ทำให้
นักเรียนมสี ว่ นร่วมใน จดั ซือ้ ไดไ้ มค่ รบตาม
กิจกรรม ตดิ ตามและให้ ความต้องการของ
ความช่วยเหลอื นกั เรยี น ครูและบุคลากร
ท่ีมปี ัญหาทางการเรยี น ทางการศกึ ษา
สามารถนำงบประมาณ งบประมาณมไี ม่
ในโครงการที่ไม่ได้จัด เพียงพอ
กิจกรรมมาใช้ในการ
จดั การเรียนการสอน

เปน็ การจดั หา จัดซ้ือ 1. งบประมาณไม่ ไดร้ ับงบประมาณดา้ น
วสั ดอุ ุปกรณ์ ส่อื ส่ิง เพียงพอในการ อินเตอรเ์ นต็ ของ
อำนวยความสะดวก ท่ี จดั ซ้อื วัสดุอปุ กรณ์ โรงเรยี นจากสำนกั งาน
ตรงตามความต้องการ ส่ือ สิ่งอำนวยความ คณะกรรมการ
ของครูและบุคลากร สะดวก การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
ทางการศกึ ษา และ 2. สื่ออุปกรณ์ องค์กรและชมุ ชน
สามารถใชใ้ นการ บางอยา่ งไมส่ ามารถ
จัดซ้ือได้ เพราะอาจ

109

ตารางท่ี 33 ตอ่ จดุ แข็ง จดุ ออ่ น โอกาส อุปสรรค
จดั การเรียนการสอนได้ อย่นู อกเหนือ
การบรหิ ารจัดการ จริง ระเบียบการจดั ซอื้ หนว่ ยงานทอ้ งถ่นิ มกี าร หน่วยงานภายนอก
จัดจ้าง ช่วยวางแผนในดา้ น ขอใชโ้ รงเรียนเปน็
การบริหารจัดการ 1. มีการประชมุ โรงเรยี นทไ่ี มม่ ี สาธารณสขุ ของโรงเรยี น โรงพยาบาลสนาม
ดา้ นบริหารจัดการ วางเเผนของฝ่าย ผูบ้ ริหารโรงเรียน ทำให้ครู นกั เรียน
(Management) บรหิ าร การประชุม การดำเนินงานต่างๆ เเละผูป้ กครองขาด
หวั หนา้ กลมุ่ สาระฯ คอ่ นข้างลา่ ชา้ ใช้ ความม่ันใจในดา้ น
เเละคณะกรรมการ การบริหารแบบ ความปลอดภยั
บริหารวชิ าการ มกี าร คณะกรรมการ มี
ประชมุ ครู เพ่อื วางเเผน การตดั สนิ ใจรว่ มกนั
เเละแกไ้ ขปญั หาในการ
จดั การศึกษารว่ มกนั
อยา่ งเป็นระบบ
2. มกี ารนเิ ทศกำกับ
ติดตาม การเรยี นการ
สอนออนไลนข์ อง
ครูผสู้ อนทกุ คน
3. มแี นวทางปฏบิ ัตใิ น
การเรยี นการสอน การ
วัดและประเมนิ ผลให้
สอดคลอ้ งกบั นโยบาย
ของรัฐ

จากตารางท่ี 33 พบว่า ผลการ SWOT ด้านการบริหารจัดการของโรงเรียนขนาดกลางและขนาดใหญ่
ท่ีเป็นโรงพยาบาลสนาม และสถานท่ีพักคอย ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
ทง้ั 4 ดา้ นมดี ังนี้

1. ด้านบุคลากร (Man) จุดแขง็ คอื ครูและบุคลากรทางการศกึ ษามคี วามพร้อมในการจัดการเรียนการ
สอนในรูปแบบ Online, On demand และ On hand มีความสามารถในการใช้สื่อเทคโนโลยีในการจัดการ
เรียนการสอน และมีการปรับกระบวนการเรียนรู้โดยการยืดหยุ่นตามสถานการณ์ หาเทคนิควิธีการจูงใจให้
นักเรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรม ติดตามและให้ความช่วยเหลือนักเรียนท่ีมีปัญหาทางการเรียน จุดอ่อน คือ
ครูและบุคลากรทางการศึกษาบางส่วนขาดทักษะในการใช้ส่ือเทคโนโลยีในการจัดการเรยี นการสอน โอกาส คือ
มีการเปิดอบรมพัฒนาครูเพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนจากหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
ทางด้านการศึกษา อปุ สรรค คือ ขาดแคลนบคุ ลากรทีม่ ีความรแู้ ละประสบการณ์ช่วยเหลือในด้านสาธารณสุข

110

2. ด้านงบประมาณ (Money) จุดแข็ง คือ สามารถนำงบประมาณในโครงการท่ีไม่ได้จัดกิจกรรมมาใช้
ในการจัดการเรยี นการสอน จุดอ่อน คือ งบประมาณมีไมเ่ พียงพอ โอกาส คือ ได้รับเงนิ สนับสนุนจากสำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน องค์กรและชุมชน อุปสรรค คือ ขาดการสนับสนุนงบประมาณ
จากหน่วยงานภายนอก และสื่ออุปกรณ์บางอย่างไม่สามารถจัดซ้ือได้ เพราะอาจอยู่นอกเหนือระเบียบ
การจัดซอื้ จัดจา้ ง

3. ด้านบริหารจัดการด้านส่ือ อุปกรณ์ (Material) จุดแข็ง คือ เป็นการจัดหา จัดซ้ือวัสดุอุปกรณ์ ส่ือ
ส่ิงอำนวยความสะดวก ท่ีตรงตามความต้องการของครูและบุคลากรทางการศึกษา และสามารถใช้ในการจัด
การเรียนการสอนได้จริง จุดอ่อน คือ งบประมาณไม่เพียงพอในการจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ สื่อ สิ่งอำนวย
ความสะดวก และส่ืออุปกรณ์บางอย่างไม่สามารถจัดซ้ือได้ เพราะอาจอยู่นอกเหนือระเบียบการจัดซื้อจัดจ้าง
โอกาส คือ ได้รับงบประมาณด้านอินเตอร์เน็ตของโรงเรียนจากสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน
องค์กรและชุมชน อุปสรรค คือ ราคาของวัสดุอุปกรณ์ ส่ือ สิ่งอำนวยความสะดวก มีราคาสูง ทำให้จัดซื้อ
ไดไ้ ม่ครบตามความตอ้ งการของครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา

4. การบริหารจัดการด้านบริหารจัดการ (Management) จุดแข็ง คือ มีการประชุมวางเเผนของฝ่าย
บริหาร การประชุมหัวหน้ากลุ่มสาระฯ เเละคณะกรรมการบริหารวิชาการ มีการประชุมครู เพื่อวางเเผนเเละ
แก้ไขปัญหาในการจัดการศึกษาร่วมกันอย่างเป็นระบบ และมีการนิเทศกำกับติดตาม การเรียนการสอน
ออนไลน์ของครูผู้สอนทุกคน จุดอ่อน คือ ไม่มีผู้บริหารโรงเรียน การดำเนินงานต่างๆ ค่อนข้างล่าช้า ใช้การ
บริหารแบบคณะกรรมการ มีการตัดสินใจร่วมกัน โอกาส คือ หน่วยงานท้องถ่ิน มีการช่วยวางแผนในด้าน
สาธารณสุขของโรงเรียน อุปสรรค คือ หน่วยงานภายนอกขอใช้โรงเรียนเป็นโรงพยาบาลสนาม ทำให้ครู
นักเรยี นเเละผู้ปกครองขาดความม่นั ใจในดา้ นความปลอดภัย

3. ผลการวเิ คราะห์ SWOT ด้านการจดั การเรียนรู้แตล่ ะรปู แบบ โรงเรียนขนาดกลางและขนาด
ใหญ่ ท่ีเป็นโรงพยาบาลสนาม และสถานท่ีพกั คอย ดงั นี้

ตารางท่ี 34 แสดงรูปแบบการจัดการเรียนแบบ On Site โรงเรยี นขนาดกลางและขนาดใหญ่ที่เป็นโรงพยาบาล

สนาม และสถานท่พี ักคอย

ระดบั จุดแขง็ จดุ อ่อน โอกาส อปุ สรรค

การศึกษา Strength Weakness Opportunity Threat

มธั ยมศกึ ษา ไมม่ ี ไม่มี ไม่มี ไมม่ ี

ตอนตน้

มัธยมศกึ ษา ไมม่ ี ไม่มี ไมม่ ี ไม่มี

ตอนปลาย

111

จากตารางท่ี 34 พบว่า โรงเรียนขนาดกลาง และขนาดใหญ่ทเี่ ปน็ สถานที่พักคอย หรือ โรงพยาบาล
สนาม ไม่มีการจัดการเรยี นการสอนแบบ On Site เนือ่ งจากมคี วามเสยี่ งจากการแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา 2019

ตารางที่ 35 แสดงรูปแบบการจดั การเรียนแบบ On Air โรงเรยี นขนาดกลางและขนาดใหญ่ ทีเ่ ป็นโรงพยาบาล
สนาม และสถานท่ีพกั คอย

ระดับ จุดแขง็ จุดออ่ น โอกาส อปุ สรรค
การศกึ ษา Strength Weakness Opportunity Threat
มัธยมศึกษา
ตอนตน้ ไมม่ ี ไมม่ ี ไม่มี ไมม่ ี
มัธยมศึกษา
ตอนปลาย ไมม่ ี ไมม่ ี ไมม่ ี ไมม่ ี

จากตารางที่ 35 พบว่า โรงเรียนขนาดกลางและขนาดใหญ่ ที่เป็นโรงพยาบาลสนาม และสถานที่พัก
คอย ไมม่ ีการจัดการเรยี นการสอนแบบ On Air

ตารางท่ี 36 แสดงรูปแบบการจัดการเรยี นแบบ On Demand โรงเรียนขนาดกลางและขนาดใหญ่ ท่เี ปน็

โรงพยาบาลสนาม และสถานที่พักคอย

ระดบั จดุ แขง็ จดุ ออ่ น โอกาส อุปสรรค

การศกึ ษา Strength Weakness Opportunity Threat

มธั ยมศกึ ษา โดยกำหนดให้ครูและ การจัดการเรยี นการ 1. พัฒนาทกั ษะการใชส้ ื่อ นักเรยี นบางคนไม่

ตอนต้น บคุ ลากรทางการศึกษาทุก สอนในรูปแบบ เทคโนโลยขี องครูและ สามารถเขา้ ถึงการ

กลุม่ สาระการเรยี นรผู้ ลติ Ondemand เปน็ การ นักเรียน จากหน่วยงาน จัดการเรยี นการสอนใน

สือ่ วิดีโอการเรียนรูด้ ้วย จดั การเรยี นการสอนทาง ภายนอก รูปแบบ Ondemand

ตนเอง นอกจากนยี้ งั มกี าร เดียวซึ่งทำให้นักเรยี นไม่ 2. เปน็ แหลง่ การเรยี นรูท้ ่ี ได้ เนื่องจากการจดั การ

ใชโ้ ปรแกรม Google สามารถตดิ ต่อหรอื ถาวรสามารถค้นควา้ หา เรยี นการสอนในรูปแบบ

Classroom เพ่อื จดั ทำ สอบถามครผู ูส้ อนได้ ความรูไ้ ด้ตลอดเวลา Ondemand เป็น

แหลง่ การเรยี นร้ปู ระเภท แอพพลเิ คช่นั ทนี่ ักเรียน

วดี โี อการสอนและใบงาน และผปู้ กครองสว่ นใหญ่

ต่าง ๆ ให้นกั เรยี นไดศ้ กึ ษา ไม่นิยมใช้

ยอ้ นหลงั

112

ตารางท่ี 36 ต่อ

ระดับ จดุ แขง็ จดุ อ่อน โอกาส อุปสรรค
Opportunity Threat
การศกึ ษา Strength Weakness 1. พัฒนาทักษะการใชส้ อื่ นกั เรยี นบางคนไม่
เทคโนโลยขี องครูและ สามารถเข้าถงึ การ
มธั ยมศึกษา โดยกำหนดใหค้ รแู ละ การจัดการเรยี นการ นักเรยี น จากหน่วยงาน จัดการเรยี นการสอนใน
ภายนอก รปู แบบ On demand
ตอนปลาย บคุ ลากรทางการศึกษาทุก สอนในรปู แบบ On 2. เป็นแหลง่ การเรยี นรู้ที่ ได้ เนอื่ งจากการจัดการ
ถาวรสามารถคน้ ควา้ หา เรียนการสอนในรูปแบบ
กลุ่มสาระการเรียนรผู้ ลติ demand เป็นการ ความร้ไู ด้ตลอดเวลา On demand เป็น
แอพพลิเคชน่ั ท่ีนกั เรียน
สอื่ วดิ โี อการเรียนรดู้ ว้ ย จดั การเรยี นการสอนทาง และผปู้ กครองสว่ นใหญ่
ไม่นยิ มใช้
ตนเอง นอกจากน้ียังมกี าร เดยี วซึง่ ทำให้นักเรยี นไม่

ใชโ้ ปรแกรม Google สามารถติดตอ่ หรอื

Classroom เพื่อจัดทำ สอบถามครผู ูส้ อนได้

แหล่งการเรยี นรปู้ ระเภท

วดี โี อการสอนและใบงาน

ตา่ ง ๆ ให้นักเรียนได้ศึกษา

ยอ้ นหลัง

จากตารางที่ 36 พบว่า โรงเรียนขนาดกลางท่ีเป็นสถานท่ีพักคอยหรือโรงพยาบาลสนาม มีการจัด
การเรียนการสอนแบบ On Demand ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เม่ือทำ
การ SWOT พบว่า จุดแข็ง คือ กำหนดให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ผลิตส่ือวิดีโอ
การเรียนรดู้ ้วยตนเอง นอกจากนย้ี งั มีการใชโ้ ปรแกรม Google Classroom เพอื่ จดั ทำแหล่งการเรียนรู้ประเภท
วีดีโอการสอนและใบงานต่าง ๆ ให้นักเรียนได้ศึกษาย้อนหลัง จุดอ่อน คือ การจัดการเรียนการสอนในรูปแบบ
On demand เป็นการจัดการเรียนการสอนทางเดยี วซ่งึ ทำใหน้ กั เรยี นไม่สามารถตดิ ต่อ หรือ สอบถามครูผู้สอน
ได้ โอกาส คือ พัฒนาทักษะการใช้สื่อเทคโนโลยีของครูและนักเรียน จากหน่วยงานภายนอก อุปสรรค คือ
นักเรียนบางคนไม่สามารถเข้าถึงการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบ On demand ได้ เน่ืองจากการจัด
การเรยี นการสอนในรูปแบบ On demand เปน็ แอพพลิเคชั่นทนี่ กั เรียนและผ้ปู กครองสว่ นใหญ่ไม่นิยมใช้

ตารางที่ 37 แสดงรูปแบบการจัดการเรียนแบบ On Hand โรงเรียนขนาดกลางและขนาดใหญ่ ท่เี ป็น

โรงพยาบาลสนาม และสถานที่พักคอย

ระดบั จดุ แขง็ จดุ อ่อน โอกาส อปุ สรรค

การศึกษา Strength Weakness Opportunity Threat

มธั ยมศึกษา โรงเรียนมีการสนบั สนุน นกั เรียนตอ้ งศึกษา 1. เปดิ โอกาสให้นักเรียนท่ี การมารับเอกสาร On

ตอนต้น จดั ทำเอกสาร On Hand คน้ คว้าหาความรู้ด้วย ไม่มีอุปกรณ์ในการเรียนรู้ Hand ทโี่ รงเรยี นทำให้

สำหรบั แจกให้นกั เรียนรับ ตนเองจากเอกสาร On ไดศ้ ึกษาเอกสาร เกดิ โอกาสเสย่ี งในการ

ไปทำที่บ้าน Hand ทที่ างโรงเรยี น ประกอบการเรยี นการ เกิดการแพรร่ ะบาดของ

เดือนละ 1 ครัง้ แจกให้ นักเรียนจึงไม่ สอน เชอื้ โรค

สามารถส่อื สารกับ

113

ตารางที่ 37 ต่อ

ระดบั จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส อปุ สรรค
การศกึ ษา Strength Weakness Opportunity Threat
มธั ยมศกึ ษา ครผู สู้ อนไดเ้ มื่อนักเรยี น 2. พฒั นาทกั ษะ
ตอนต้น โรงเรยี นมกี ารสนบั สนุน เกิดความไมเ่ ข้าใจ กระบวนการเรยี นรู้เชงิ การมารบั เอกสาร On
จดั ทำเอกสาร On Hand เน้ือหา สบื คน้ และพัฒนาทกั ษะ Hand ที่โรงเรยี นทำให้
มัธยมศึกษา สำหรบั แจกใหน้ ักเรียนรับ ทางเทคโนโลยีของ เกิดโอกาสเสย่ี งในการ
ตอนปลาย ไปทำท่บี า้ น นักเรียนต้องศกึ ษา นักเรยี นในการสบื คน้ สง่ิ ที่ เกิดการแพรร่ ะบาดของ
เดอื นละ 1 คร้งั คน้ คว้าหาความรู้ดว้ ย นักเรยี นไม่เข้าใจ เมอ่ื ไม่ เช้อื โรค
ตนเองจากเอกสาร On สามารถสอบถามครูผสู้ อน
Hand ทท่ี างโรงเรยี น ได้
แจกให้ นักเรียนจงึ ไม่ 1. เปดิ โอกาสให้นกั เรยี นที่
สามารถสือ่ สารกับ ไม่มอี ปุ กรณ์ในการเรียนรู้
ครูผสู้ อนไดเ้ มื่อนกั เรยี น ได้ศึกษาเอกสาร
เกิดความไมเ่ ข้าใจ ประกอบการเรยี นการ
เนอื้ หา สอน
2. พฒั นาทักษะ
กระบวนการเรยี นรูเ้ ชิง
สืบค้นและพฒั นาทักษะ
ทางเทคโนโลยขี อง
นักเรยี นในการสบื คน้ สง่ิ ท่ี
นักเรียนไม่เขา้ ใจ เม่อื ไม่
สามารถสอบถามครูผสู้ อน
ได้

จากตารางท่ี 37 พบว่า โรงเรียนขนาดกลางท่ีเป็นสถานท่ีพักคอย หรือ โรงพยาบาลสนาม มีการ
จัดการเรียนการสอนแบบ On Hand ในระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ และระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย เม่ือทำการ
SWOT พบว่า จุดแข็ง คือ โรงเรียนมีการสนับสนุนจัดทำเอกสาร On Hand สำหรับแจกให้นักเรียนรับไปทำ
ที่บ้าน เดือนละ 1 ครั้ง จุดอ่อน คือ นักเรียนต้องศึกษาค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเองจากเอกสาร On Hand
ทีท่ างโรงเรยี นแจกให้ นักเรียนจึงไม่สามารถส่ือสารกับครูผสู้ อนไดเ้ มือ่ นักเรียนเกดิ ความไม่เข้าใจเนื้อหา โอกาส
คือ เปิดโอกาสให้นักเรียนท่ีไม่มีอุปกรณ์ในการเรียนรู้ได้ศึกษาเอกสารประกอบการเรียนการสอน และพัฒนา
ทักษะกระบวนการเรียนรู้เชิงสืบค้นและพัฒนาทักษะทางเทคโนโลยีของนักเรียนในการสืบค้น ส่ิงที่นักเรียน
ไม่เข้าใจ เมื่อไม่สามารถสอบถามครูผู้สอนได้ อุปสรรค คือ การมารับเอกสาร On Hand ท่ีโรงเรียนทำให้
เกิดโอกาสเส่ยี งในการเกดิ การแพรร่ ะบาดของเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019

114

ตารางท่ี 38 แสดงรูปแบบการจดั การเรียนแบบ Online โรงเรียนขนาดกลางและขนาดใหญ่ ทเ่ี ปน็
โรงพยาบาลสนาม และสถานท่พี ักคอย

ระดบั จดุ แขง็ จดุ ออ่ น โอกาส อปุ สรรค
การศึกษา Strength Weakness Opportunity Threat
มธั ยมศกึ ษา โรงเรยี นทำการจดั การ นกั เรียนบางคนไม่ นักเรียนมีปฏสิ มั พันธ์กับ ปัญหาการขดั ขอ้ ง
ตอนตน้ เรยี นการสอนในรปู แบบ สามารถเข้าถึงการ ครูผสู้ อนสามารถ ทางด้านสัญญาณ
Onlineผ่านทาง จัดการเรยี นการสอนใน สอบถามในสง่ิ ท่ไี ม่เขา้ ใจ อนิ เตอร์เนต็ ทำให้
มธั ยมศกึ ษา แอพพลเิ คชนั่ Line , รูปแบบ Onlineได้ จากครูผสู้ อนในขณะท่ี จดั การเรยี นการสอนได้
ตอนปลาย Google Meet และ เนอ่ื งจากขอ้ จำกัดทาง จัดการเรียนการสอนได้ ไมเ่ ตม็ ประสิทธภิ าพ
Zoom อุปกรณ์การเรยี นรู้ของ
นกั เรยี น นักเรียนมีปฏสิ มั พนั ธก์ บั ปัญหาการขดั ขอ้ ง
โรงเรยี นทำการจดั การ นกั เรยี นบางคนไม่ ครูผสู้ อนสามารถ ทางดา้ นสัญญาณ
เรียนการสอนในรูปแบบ สามารถเข้าถงึ การ สอบถามในสงิ่ ท่ีไมเ่ ข้าใจ อนิ เตอร์เนต็ ทำให้
Onlineผา่ นทาง จัดการเรียนการสอนใน จากครผู สู้ อนในขณะท่ี จัดการเรียนการสอนได้
แอพพลิเคชน่ั Line , รูปแบบ Onlineได้ จัดการเรยี นการสอนได้ ไม่เต็มประสทิ ธิภาพ
Google Meet และ เนื่องจากขอ้ จำกัดทาง
Zoom อุปกรณก์ ารเรยี นรู้ของ
นักเรยี น

จากตารางที่ 38 พบว่า โรงเรียนขนาดกลาง และขนาดใหญ่ ที่เป็นสถานที่พักคอย หรือ โรงพยาบาล
สนาม มีการจัดการเรียนการสอนแบบ Online ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
เม่ือทำการ SWOT พบว่า จุดแข็ง คือ โรงเรียนทำการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบ Online
ผ่านทางแอพพลิเคช่ัน Line , Google Meet และ Zoom จุดอ่อน คือ นักเรียนบางคนไม่สามารถเข้าถึง
การจัดการเรียนการสอนในรูปแบบ Online ได้ เนื่องจากข้อจำกัดทางอุปกรณ์การเรียนรู้ของนักเรียน
โอกาส คือ นักเรียนมีปฏิ สัมพั น ธ์กับ ครูผู้สอนสามารถสอบ ถามในส่ิงที่ไม่เข้าใจจากครูผู้สอน
ในขณะที่จัดการเรียนการสอนได้ อุปสรรค คือ ปัญหาการขัดข้องทางด้านสัญญาณอินเตอร์เน็ต
ทำใหจ้ ัดการเรยี นการสอนได้ไม่เตม็ ประสิทธภิ าพ

115

ตารางท่ี 39 แสดงแนวทางการจดั การศึกษา ของโรงเรียนขนาดกลางและขนาดใหญ่ ทเ่ี ป็น
โรงพยาบาลสนาม และสถานท่พี ักคอย จำแนกตามรปู แบบการจัดการเรียนร้ใู นสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

ระดบั รูปแบบการจัดการเรียนรู้
การศึกษา
On Site On Air On Hand On Demand Online
มัธยมศกึ ษา ไม่มกี ารจดั ไมม่ ีการจัด จัดการเรียนรู้
ตอนต้น การเรยี น การเรยี น นดั หมายใหน้ ักเรยี น นำคลิปการสอน ตามตารางสอน
การสอน การสอน ผ่าน Google
มารบั เอกสารท่ี และใบงานตา่ ง ๆ Meet
ไมม่ กี ารจดั Google
การเรยี น โรงเรยี นหรอื จดั ส่ง ไปแขวนไว้ใน Classroom
การสอน Line group
เอกสารใหก้ ับ Google และ Facebook
จัดการเรียนรู้
นกั เรยี นผ่านระบบ Classroom ตามตารางสอน
ผ่าน Google
ขนสง่ เพอ่ื ใหน้ ักเรียนได้ Meet
Google
ศึกษาความรู้ Classroom
Line group
ยอ้ นหลงั และ Facebook

มธั ยมศึกษา ไมม่ กี ารจดั นัดหมายให้นกั เรียน นำคลปิ การสอน
ตอนปลาย การเรยี น
การสอน มารบั เอกสารท่ี และใบงานต่าง ๆ

โรงเรยี นหรือจัดสง่ ไปแขวนไว้ใน

เอกสารใหก้ บั Google

นักเรียนผ่านระบบ Classroom

ขนส่ง เพอ่ื ใหน้ ักเรยี นได้

ศกึ ษาความรู้

ย้อนหลัง

จากตารางที่ 39 พบวา่ แนวทางการจดั การศกึ ษาของของโรงเรียนขนาดกลางและขนาดใหญ่ ทเี่ ป็น
โรงพยาบาลสนาม และสถานที่พักคอย ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์ จำแนก
ตามรูปแบบการจัดการเรียนรู้ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สามารถ
จัดได้ 3 รูปแบบคือ On Hand โดยนัดหมายให้นักเรียนมารับเอกสารที่โรงเรียนหรือจัดส่งเอกสาร
ให้กับนักเรียนผ่านระบบขนส่ง On Demand โดยนำคลิปการสอนและใบงานต่าง ๆ ไปแขวนไว้ใน
Google Classroom เพ่ือให้นักเรียนได้ศึกษาความรู้ย้อนหลัง และ Online โดยจัดการเรียนรู้ ตามตารางสอน
ผา่ น Google Meet, Google Classroom, Line group และ Facebook

116

4. ผลการวิเคราะห์ SWOT การดแู ลช่วยเหลือนักเรียน ได้แก่ 1) ดา้ นการเรียนรู้ 2) ด้านการ
ติดตาม 3) ดา้ นการช่วยเหลอื สง่ ตอ่ และ 4) ดา้ นความปลอดภยั ในระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาตอนตน้ และระดบั
ช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย ของโรงเรียนขนาดกลางและขนาดใหญ่ ท่ีเปน็ โรงพยาบาลสนาม และสถานที่พักคอย
สงั กดั สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษามธั ยมศกึ ษานครสวรรค์ ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั
โคโรนา 2019 ดังน้ี

ตารางที่ 40 แสดงผลการวิเคราะห์การดูแลชว่ ยเหลือนกั เรียน ได้แก่ 1) ด้านการเรียนรู้ 2) ดา้ นการตดิ ตาม

3) ดา้ นการชว่ ยเหลอื สง่ ต่อ และ 4) ด้านความปลอดภยั ในระดบั ชนั้ มัธยมศึกษาตอนต้นและ

ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาตอนปลาย ของโรงเรยี นขนาดกลางเปน็ สถานท่ีพักคอยหรอื

โรงพยาบาลสนามสงั กัดสำนกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษามัธยมศกึ ษานครสวรรค์

การดูแล จดุ แข็ง จดุ ออ่ น โอกาส อุปสรรค
ชว่ ยเหลอื Strength Weakness Opportunity Threat
นักเรยี น

ด้านการ ปรับลดการใหก้ ารบ้าน นกั เรียนบางคนขาด หน่วยงานอ่ืนเข้ามามี สัญญาณอนิ เทอรเ์ น็ต

เรียนรู้ และภาระงานของ ความรับผิดชอบและ บทบาทช่วยเหลอื นักเรยี น บางพ้ืนที่ไมเ่ อ้ืออำนวย

นักเรียนและยดื หยนุ่ เร่อื ง ระเบียบวินยั ในการเขา้ ในด้าน ตอ่ การเรยี น

เวลาเรยี น เรียน การจดั การเรยี นรู้

การสนับสนุนด้านอุปกรณ์

การเรยี น

ดา้ นการ การตรวจสอบกำกับ นักเรยี นจำนวนหนง่ึ ไมม่ ี หน่วยงานภายนอกให้ ผ้ปู กครองไม่มีเวลาดแู ล

ติดตาม ติดตามนักเรยี นเป็น อินเทอร์เน็ต ส่งผลให้ครู โอกาสใหก้ ารช่วยเหลือ นกั เรียน เนอ่ื งจาก

รายบุคคลทัง้ จากครู ทีป่ รึกษาตดิ ตอ่ นักเรียน ติดตามผ่านชอ่ งทาง ทำงาน

ประจำวิชา เเละครทู ่ี ไม่ได้ในบางกรณี ต่าง ๆ

ปรกึ ษา อย่างใกล้ชดิ

ดา้ นการ มีการเยยี่ มบ้านออนไลน์ ครไู มส่ ามารถสังเกต การสนับสนุนงบประมาณ การปรับตัวท่นี กั เรยี น

ช่วยเหลือส่ง จัดกิจกรรมโฮมรมู ออน ควบคมุ พฤตกิ รรมการ จากหนว่ ยงานตา่ ง ๆ บางคน

ต่อ ไลน์ เรยี นของนกั เรยี นได้ ชว่ ยเหลือนกั เรยี น ยังรับมอื ไมไ่ ด้

ทัว่ ถึง

ด้านความ เปิดชอ่ งทางการ นกั เรียนยงั ไม่ได้รบั หน่วยงานสาธารณสขุ เข้า นกั เรียนมีความกังวล

ปลอดภยั ติดต่อสอ่ื สาร line กลมุ่ วคั ซีน มามบี ทบาทในการ กลัวตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา

ผ้ปู กครอง ระหวา่ งครทู ี่ ชว่ ยเหลอื นกั เรยี น

ปรึกษากับผู้ปกครอง

นกั เรยี น ในแตล่ ะหอ้ งเพื่อ

กำกับตดิ ตามและใหช้ ่วย

นกั เรยี น

117

จากตารางท่ี 40 พบว่า ผลการวิเคราะห์การดูแลช่วยเหลือนักเรียน ได้แก่ 1) ด้านการเรียนรู้
2) ด้านการติดตาม 3) ด้านการช่วยเหลือส่งต่อ และ 4) ด้านความปลอดภัย ในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
และระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย ของโรงเรียนขนาดกลางและขนาดใหญ่ ที่เป็นโรงพยาบาลสนาม
และสถานท่ีพกั คอย สังกดั สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษามธั ยมศกึ ษานครสวรรค์ มดี งั น้ี

1. ด้านการเรียนรู้ จุดแข็ง คือ ปรับลดการให้การบ้านและภาระงานของนักเรียนและยืดหยุ่น
เรื่องเวลาเรียน จุดอ่อน คือ นักเรียนบางคนขาดความรับผิดชอบและระเบียบวินัยในการเข้าเรียน โอกาส คือ
หน่วยงานอื่นเข้ามามีบทบาทช่วยเหลือนักเรียนในด้านการจัดการเรียนรู้ การสนับสนุนด้านอุปกรณ์การเรียน
และอปุ สรรค คอื สัญญาณอนิ เทอรเ์ นต็ บางพ้ืนที่ไมเ่ อ้ืออำนวยต่อการเรียน

2. ด้านการติดตาม จุดแข็ง คือ การตรวจสอบกำกับติดตามนักเรียนเป็นรายบุคคลทั้งจาก
ครูประจำวิชา เเละครูท่ีปรึกษา อย่างใกล้ชิด จุดอ่อน คือ นักเรียนจำนวนหน่ึงไม่มีอินเทอร์เน็ต ส่งผลให้
ครูท่ีปรึกษาติดต่อนักเรียนไม่ได้ในบางกรณี โอกาส คือ หน่วยงานภายนอกให้โอกาสให้การช่วยเหลือติดตาม
ผา่ นช่องทางตา่ ง ๆ และอปุ สรรค คอื ผู้ปกครองไม่มีเวลาดแู ลนักเรยี น เน่ืองจากทำงาน

3. ด้านการช่วยเหลือและส่งต่อ จุดแข็ง คือ มีการเย่ียมบ้านออนไลน์ จัดกิจกรรมโฮมรูมออนไลน์
จุดอ่อน คือ ครูไม่สามารถสังเกต ควบคุมพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนได้ทั่วถึง โอกาส คือ การสนับสนุน
งบประมาณจากหน่วยงานต่าง ๆ ช่วยเหลือนักเรียน และอุปสรรค คือ การปรับตัวท่ีนักเรียนบางคน
ยงั รบั มอื ไมไ่ ด้

4. ด้านความปลอดภัย จุดแข็ง คือ เปิดช่องทางการติดต่อส่ือสาร line กลุ่มผู้ปกครอง ระหว่าง
ครูท่ีปรึกษากับผู้ปกครองนักเรียน ในแต่ละห้องเพ่ือกำกับติดตามและให้ช่วยนักเรียน จุดอ่อน คือ นักเรียน
ยังไม่ได้รับวัคซีน โอกาส คือ หน่วยงานสาธารณสุขเข้ามามีบทบาทในการช่วยเหลือนักเรียน และอุปสรรค คือ
นกั เรียนมคี วามกังวลกลัวตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019

ตารางที่ 41 แสดงผลการวิเคราะหแ์ นวทางในการดแู ลช่วยเหลอื นักเรียน ได้แก่ 1) ดา้ นการเรยี นรู้ 2) ดา้ นการ

ติดตาม 3) ด้านการชว่ ยเหลอื ส่งตอ่ และ 4) ด้านความปลอดภยั ในระดับชน้ั มธั ยมศึกษาตอนตน้

และระดบั ชัน้ มธั ยมศึกษาตอนปลาย ของโรงเรยี นขนาดกลางและขนาดใหญ่ ท่เี ป็น

โรงพยาบาลสนาม และสถานที่พักคอย สังกดั สำนกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษามธั ยมศึกษานครสวรรค์

ระดับ แนวทางการดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรยี น ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา 2019

การศึกษา ดา้ นการเรยี นรู้ ดา้ นการติดตาม ดา้ นการชว่ ยเหลอื ส่งตอ่ ดา้ นความปลอดภัย

มัธยมศึกษา ส่งเสริมสนบั สนุนดา้ นวัสดุ ผบู้ ริหารสถานศกึ ษาและ มีการสำรวจ กำกบั ตดิ ตาม ใหน้ กั เรียนทกุ คน

ตอนตน้ อุปกรณ์ ดา้ นอินเทอรเ์ น็ต คุณครทู ีป่ รึกษาออกเยีย่ ม และให้ความช่วยเหลือ ไดร้ บั วัคซนี

ใหน้ กั เรียนทกุ คนได้เข้าถึง บ้านนกั เรยี นทไ่ี ม่สามารถ นกั เรียนท่ีออกนอกระบบ

จดั หาอปุ กรณใ์ หน้ ักเรยี น เข้าเรียนออนไลนไ์ ด้ เพือ่

สนบั สนนุ ค่าอินเทอรเ์ น็ต สำรวจความพร้อมในการ

เรียนของนกั เรียน

118

ตารางที่ 41 ต่อ

ระดับ แนวทางการดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรียน ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019
การศึกษา
มัธยมศกึ ษา ด้านการเรยี นรู้ ด้านการติดตาม ด้านการชว่ ยเหลอื สง่ ต่อ ดา้ นความปลอดภยั
ตอนปลาย
ส่งเสริมสนบั สนนุ ดา้ นวสั ดุ ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา มกี ารสำรวจ กำกบั ตดิ ตาม ให้นักเรยี นทุกคน

อปุ กรณ์ ดา้ นอนิ เทอร์เนต็ และคณุ ครทู ีป่ รกึ ษา และให้ความชว่ ยเหลือ ได้รบั วคั ซีน

ใหน้ ักเรียนทุกคนได้เขา้ ถึง ออกเยี่ยมบา้ นนกั เรียนที่ นกั เรยี นทอี่ อกนอกระบบ

จดั หาอปุ กรณใ์ หน้ ักเรยี น ไมส่ ามารถเขา้ เรยี น

สนับสนุนคา่ อินเทอรเ์ นต็ ออนไลน์ได้ เพอ่ื สำรวจ

ความพร้อมในการเรียน

ของนกั เรยี น

จากตารางท่ี 41 พบวา่ ผลการวิเคราะห์แนวทางในการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ในระดับชน้ั มธั ยมศึกษา
ตอนต้นและระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนปลายของโรงเรียนขนาดกลางและขนาดใหญ่ ท่ีเป็นโรงพยาบาลสนาม
และสถานที่พักคอย สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์ ได้แก่ 1. ด้านการส่งเสริม
สนับสนุนด้านวัสดุอุปกรณ์ ด้านอินเทอร์เน็ตให้นักเรียนทุกคนได้เข้าถึง จัดหาอุปกรณ์ให้นักเรียน สนับสนุน
ค่าอินเทอร์เน็ต 2. ด้านการติดตาม ผู้บริหารสถานศึกษาและคุณครูท่ีปรึกษาออกเย่ียมบ้านนักเรียน
ท่ีไม่สามารถเข้าเรียนออนไลน์ได้ เพื่อสำรวจความพร้อมในการเรียนของนักเรียน 3. ด้านการช่วยเหลือส่งต่อ
มีการสำรวจ กำกับติดตาม และให้ความช่วยเหลือนักเรียนท่ีออกนอกระบบ และ 4. ด้านความปลอดภัย
ให้นักเรียนทุกคนได้รับวคั ซนี

5. กรณีศึกษาของโรงเรียนที่จดั การศกึ ษาโดดเด่น และโรงเรยี นทม่ี ีปญั หาอปุ สรรค โรงเรียนขนาด
กลางเปน็ สถานท่พี ักคอยหรือโรงพยาบาลสนาม ท่ีจดั การศกึ ษาโดดเดน่ ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของ
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ไดแ้ ก่

โรงเรียน Best practice ได้แก่ โรงเรียนหนองบัว
แนวปฏิบัติท่ีดี คือ โรงเรียนมีการจัดทำช่องยูทูป ใช้ชื่อว่า NBSC Ondemand โดยกำหนดให้ครู
และบุคลากรทางการศึกษาทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ผลิตส่ือวิดีโอการเรียนรู้ด้วยตนเอง นอกจากน้ียังมีการใช้
โปรแกรม Google Classroom เพ่ือจัดทำแหล่งการเรียนรู้ประเภทวีดโี อการสอนและใบงานตา่ ง ๆ ให้นกั เรยี น
ได้ศึกษายอ้ นหลงั

119

6. ขอ้ เสนอแนะเชิงนโยบาย การบรหิ ารจัดการ โรงเรยี นขนาดกลางเป็นสถานทพี่ ักคอยหรือ
โรงพยาบาลสนาม ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 ทจี่ ะนำมาใชใ้ นปี
การศกึ ษา 2565

6.1 ดา้ นการจัดทำแผนและนโยบาย
ควรมกี ารวางนโยบายและจดั ทำแผนเพ่ือรองรบั ปญั หาด้านการเรยี นการสอน การวัดผลและ

ประเมินผล และการจดั หางบประมาณลงสู่โรงเรียนท่ีขาดแคลนและไมม่ คี วามพร้อมในการจัดการเรยี นการสอน
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

6.2 ด้านหลักสตู รและการจดั การเรยี นรู้
อยากใหม้ ีการจดั หลักสตู รในรูปแบบบูรณาการเขา้ มาใช้เฉพาะในสถานการณ์การแพร่ระบาดของ

โรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019
6.3 ด้านเทคโนโลยที างการศึกษา
6.3.1 จัดผู้เชีย่ วชาญดา้ นเทคโนโลยีดแู ลอำนวยความสะดวกให้แตล่ ะโรงเรยี น
6.3.2 จัดใหม้ ีโครงการอบรมพฒั นาดา้ นเทคโนโลยีให้กบั ครูและบุคลากรทางการศึกษา
6.3.3 จัดงบประมาณเพ่ือพัฒนาดา้ นเทคโนโลยลี งส่โู รงเรยี น
6.4 ด้านการวดั ประเมนิ ผล
6.4.1 ให้มรี ะเบยี บการวัดผลและประเมินผลทช่ี ัดเจนทจี่ ะใชร้ ่วมกนั ทุกโรงเรยี นในสถานการณ์

การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019
6.4.2 จดั ใหม้ ีการอบรมดา้ นการวัดประเมินผลในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้อื

ไวรัสโคโรนา 2019
6.5 ด้านการพฒั นานวัตกรรมการเรียนรู้
6.5.1 จดั งบประมาณเพ่อื พัฒนานวตั กรรมการเรียนร้ลู งสู่โรงเรียน
6.5.2 จัดให้มีโครงการอบรมพัฒนาดา้ นการพฒั นานวัตกรรมการเรยี นรใู้ หก้ ับครู และ

บุคลากรทางการศึกษา
6.5.3 จดั ผเู้ ช่ยี วชาญดา้ นการพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้เพอ่ื ใหค้ ำปรกึ ษาแตล่ ะโรงเรยี น

6.6 ด้านการดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรียน
6.6.1 ให้มกี ารส่งเสรมิ สนับสนนุ ด้านวัสดอุ ปุ กรณ์ ดา้ นอนิ เทอร์เนต็ ใหน้ ักเรยี นทุกคนได้เข้าถึง
6.6.2 จัดสรรนักจิตวทิ ยาเพอ่ื ดูแลนักเรยี นในสภาวะการแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา

2019
6.6.3 จัดสรรบุคลากรด้านสาธารณสุขประจำโรงเรียนเพ่ือใหค้ วามรู้และทำความเข้าใจในเร่ือง

ของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019

120

ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู โรงเรยี นขนาดใหญ่
1. ข้อมลู พื้นฐานโรงเรียน สารสนเทศการจัดการศกึ ษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของ

โรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 ของโรงเรียนใหญท่ ไ่ี ม่ไดเ้ ป็นสถานท่พี ักคอย ในสำนกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษา
มัธยมศกึ ษานครสวรรค์

ตารางท่ี 42 แสดงข้อมลู พื้นฐานโรงเรียนขนาดใหญ่

ที่ โรงเรยี น จำนวน จำนวน จำนวน จำนวน วันท่เี ปดิ On รปู แบบการจดั การเรียนรู้
นกั เรยี น ผู้บรหิ าร ครู(คน) ห้องเรยี น ภาคเรียน site
(คน) (คน) On On On Onli
ม. ม. ท่ี Air Dema Hand ne
ต้น ปลาย 1/2564
nd

1 ชุมแสงชนูทศิ 2,175 2 135 30 33 14 มิ.ย.64 - -   

2 ท่าตะโกพิทยาคม 1,184 4 80 27 22 1 - -  

มิถนุ ายน

2564

3 นวมินทราชทู ศิ 2,489 5 119 36 25 1 - - - 

มชั ฌมิ มิถุนายน

2564

4 ลาดยาววิทยาคม 1,892 4 84 28 21 14 มิ.ย.64 - -  - 

รวม 7,740 14 447 121 101 -- 4 2 4

ร้อยละ - - 100 50 100

จากตารางที่ 42 พบว่า โรงเรียนขนาดใหญ่ ซง่ึ ประกอบ ด้วย 4 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนชุมแสงชนูทิศ
โรงเรยี นทา่ ตะโกพทิ ยาคม โรงเรียนนวมินทราชูทศิ มัชฌิม และโรงเรียนลาดยาววทิ ยาคม มีนักเรียน 7,740 คน
ผูบ้ รหิ าร 14 คน ครู 447 คน จำนวนห้องเรียน 222 ห้องเรียน โรงเรียนมีรูปแบบการจัดการเรียนรู้ 3 แบบ คือ
On Demand, On Hand และ Online ยังไม่มีโรงเรียนใดจัดการเรียนรู้แบบ On Site และ On Air และ
โรงเรียนเปดิ เรยี นภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 ต้ังแต่ 1 มถิ ุนายน 2564

2. ผลการวิเคราะห์จดุ แข็ง จดุ อ่อน โอกาส และอุปสรรค การจดั การศกึ ษาในสถานการณก์ ารแพร่
ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 ของโรงเรียนขนาดใหญ่

โรงเรยี นขนาดใหญ่ ทีม่ จี ำนวนนกั เรียน 1,500 - 2,499 คน ในสงั กัดสำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษา
มัธยมศึกษานครสวรรค์ มีจำนวนทั้งสิ้น 4 โรงเรียน จัดการเรียนการสอนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
และ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ประกอบด้วย 1) โรงเรียนชุมแสงชนูทิศ 2) โรงเรียนท่าตะโกพิทยาคม
3) โรงเรียนนวมนิ ทราชูทศิ มัชฌมิ และ 4) โรงเรียนลาดยาววทิ ยาคม

121

ตารางที่ 43 แสดงผลการวิเคราะห์ SWOT ดา้ นการบรหิ ารจดั การของโรงเรียนขนาดใหญ่ ท่ไี ม่ได้เป็นสถานท่ี

พักคอยหรือโรงพยาบาลสนาม ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019

การบรหิ ารจดั การ จดุ แข็ง จุดอ่อน โอกาส อุปสรรค

การบริหารจัดการ 1. บุคลากรมคี วาม 1. การตดิ ตอ่ มีโอกาสพัฒนาทักษะ บางครัง้ ขาดความ

ดา้ นบคุ ลากร พรอ้ มในการปฏบิ ตั ิ ประสานงานทล่ี า่ ช้า ดา้ นความเข้าใจและใช้ พร้อมในด้านสื่อ

(Man) หน้าที่ เนอื่ งจากครบู างท่าน เทคโนโลยีดจิ ิทลั อุปกรณ์ และ

2. โรงเรยี นใหก้ าร ปฏิบัติหนา้ ทท่ี บี่ า้ น (Digital Literacy) สัญญาณ

สนบั สนุนเพื่อใหค้ รู 2. การติดตอ่ อย่างรอบด้าน อนิ เทอร์เนต็

สามารถปฏิบตั หิ น้าท่ไี ด้ ประสานงานในบาง ทัง้ การทำความเข้าใจ

อยา่ งมีประสิทธภิ าพ เรือ่ ง การใช้ การสร้าง

3. บคุ ลากรมที ักษะ ต้องใชเ้ วลานานกวา่ และการเข้าถงึ

ด้านความเข้าใจและใช้ ปกติ ไมส่ ามารถทำ เทคโนโลยี

เทคโนโลยดี ิจทิ ลั ไดท้ ันที

(Digital Literacy)

การบริหารจดั การ 1. โรงเรยี นมี ขนั้ ตอนการเบกิ จ่าย ไดป้ รับปรุงและจัดทำ ไม่สามารถ

ดา้ นงบประมาณ งบประมาณเพียงพอ งบประมาณ แผนปฏบิ ัตกิ าร แผนการ ดำเนินการตาม

(Money) ในการดำเนนิ การต่าง บางอย่างยังไม่ ใช้งบประมาณท่ี โครงการ/กิจกรรม

ๆ เหมาะสมการกบั สอดคล้อง ได้ จงึ ตอ้ งมีการ

2. มกี ารวางแผนการใช้ สถานการณ์ กับสถานการณ์ ปรบั เปลยี่ นรูปแบบ

งบประมาณ เนือ่ งจากมกี าร กจิ กรรม โครงการ

เปลี่ยนรปู แบบการ งบประมาณ

ดำเนนิ งานเป็นแบบ ระยะเวลา

ออนไลนซ์ ึง่ ไม่ตรง ดำเนินการ

กับโครงการ/

กจิ กรรม

ทก่ี ำหนดไว้

การบรหิ ารจดั การ มกี ารสนบั สนนุ ดา้ น 1. วสั ดอุ ุปกรณท์ ีใ่ ช้ มีการสำรวจความ การจดั ซ้ือล่าชา้
ดา้ นสอ่ื อุปกรณ์ วสั ดอุ ุปกรณ์ ในการจัดการเรียนรู้ ต้องการ ไม่ทนั เวลา
(Material) ท่ใี ช้ในการจัดการ ไม่เพยี งพอ ของนักเรียน ครู เพ่ือ เพราะต้องทำตาม
เรยี นรู้ 2. ไมไ่ ดร้ บั การ ดำเนนิ การจัดหาให้ ข้นั ตอนในการ
สนับสนุนด้าน สอดคลอ้ งกับความ จัดซ้ือ
งบประมาณในการ ต้องการ
จดั หาอุปกรณ์เพิ่ม

การบรหิ ารจดั การ 1. มีการนเิ ทศ กำกับ พบปัญหา อปุ สรรค 1. บริหารอย่างเป็น การตดิ ต่อส่อื สาร

ด้านบริหารจัดการ ติดตาม อยา่ งเป็นระบบ ในการบริหารจดั การ ระบบตามวงจร ขาดการ
(Management) ประสานงาน
PDCA

122

ตารางที่ 43 ต่อ

การบรหิ ารจดั การ จดุ แข็ง จุดอ่อน โอกาส อุปสรรค

การบรหิ ารจัดการ 2. มีการใช้แพลตฟอร์ม 2. ดำเนินการพฒั นา ที่ทั่วถงึ

ด้านบรหิ ารจดั การ ของโรงเรยี น โรงเรียนให้สอดคล้อง
(Management) ในการประชาสมั พันธ์ กับสภาพปจั จุบัน
การสอน วสิ ยั ทัศน์ พันธกิจ
ใหผ้ ปู้ กครองและ และเปา้ หมาย ท่ี
นักเรยี นทราบเกีย่ วกบั กำหนดไว้
ข้อมลู ข่าวสารเก่ยี วกับ 3. มกี ารกำหนด
การจดั การเรยี นรู้

กลยทุ ธท์ สี่ อดคลอ้ ง

กับสถานการณ์

ปัจจุบัน

4. ส่งเสริมให้

บุคลากรทุกส่วน

ได้รบั การพฒั นา

อบรม หรอื เรียนรู้

และนำมาพัฒนาการ

จัดการเรียน

การสอนในชน้ั เรียนที่

มงุ่ เนน้ ผเู้ รียน

เปน็ สำคญั

5. จัดสรร

งบประมาณตาม

โครงการ

โดยยึดหลกั การมสี ่วน

รว่ มและการบรหิ าร

จดั การที่ดี

จากตารางท่ี 43 พบวา่ ผลการ SWOT ดา้ นการบริหารจดั การของโรงเรยี นขนาดใหญ่ ในสถานการณ์
การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 ท้งั 4 ด้านมดี งั น้ี

1. ดา้ นบคุ ลากร (Man) มจี ดุ แข็ง คือ บุคลากรมีทักษะทางด้าน Digital Literacy มคี วามพร้อมใน

123

การปฏิบัติหน้าที่และได้รับการสนับสนุนจากโรงเรียน จุดอ่อน คือ ความล่าช้าในการติดต่อประสานงาน
โอกาส คือ การพัฒนาทักษะด้านความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล และอุปสรรค คือ การขาดความพร้อม
ในด้านสอ่ื อปุ กรณ์ และสัญญาณอนิ เทอรเ์ นต็

2. ดา้ นงบประมาณ (Money) มีจดุ แขง็ คือมีงบประมาณเพียงพอและมีการวางแผนการใช้งบประมาณ
จุดอ่อน คือ ขั้นตอนการเบิกจ่ายงบประมาณบางอย่างยังไม่เหมาะสมการกับสถานการณ์ โอกาส คือได้ปรบั ปรุง
และจดั ทำแผนปฏิบัติการ แผนการใช้งบประมาณทส่ี อดคล้องกับสถานการณ์ จดุ อ่อน คือไม่สามารถดำเนินการ
ตามโครงการ/กจิ กรรมได้

3. ด้านบรหิ ารจัดการดา้ นสื่อ อปุ กรณ์ (Material) มจี ดุ แขง็ คือ มีการสนับสนุนด้านวสั ดุอปุ กรณ์
ที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้ จุดอ่อน คือ การจัดหาวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้เพิ่มเติมยังไม่เพียงพอ
โอกาส คือ มีการสำรวจความต้องการของนักเรียน ครู เพื่อดำเนินการจัดหาให้สอดคล้องกับความต้องการ
อปุ สรรค คอื การจัดซอื้ ล่าช้า ไม่ทนั เวลาเพราะตอ้ งทำตามขั้นตอนในการจัดซื้อ

4. การบริหารจัดการดา้ นบริหารจดั การ (Management) มจี ุดแขง็ คือ มีการนเิ ทศ กำกบั ตดิ ตาม
อย่างเป็นระบบและใช้แพลตฟอร์มของโรงเรยี น ในการประชาสัมพันธ์การสอนให้ผู้ปกครองและนักเรียนทราบ
เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ จุดอ่อน คือ พบปัญหา อุปสรรค ในการบริหารจัดการ
โอกาส คือ บริหารอย่างเป็นระบบตามวงจร PDCA เพ่ือพัฒนาโรงเรียนให้สอดคล้องกับสภาพปัจจุบัน
วิสัยทัศน์ พันธกิจและเป้าหมาย ที่กำหนดไว้ โดยกำหนดกลยุทธ์ท่ีสอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน
และส่งเสริมให้บุคลากรทุกส่วนได้รับการพัฒนา อบรม หรือเรียนรู้และนำมาพัฒนาการจัดการเรียนการสอน
ในชั้นเรียนท่ีมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และจัดสรรงบประมาณตามโครงการโดยยึดหลักการมีส่วนร่วม
และการบรหิ ารจัดการที่ดี อปุ สรรค คือ การตดิ ตอ่ สื่อสาร ขาดการประสานงานทท่ี ่วั ถึง

3. ผลการวิเคราะห์ SWOT ดา้ นการจัดการเรยี นรแู้ ต่ละรปู แบบ โรงเรยี นขนาดใหญ่ ดังน้ี

ตารางท่ี 44 แสดงรปู แบบการจดั การเรียนแบบ On Site โรงเรียนขนาดใหญ่

ระดบั จุดแขง็ จดุ อ่อน โอกาส อุปสรรค
Threat
การศึกษา Strength Weakness Opportunity
ไม่มี
มัธยมศึกษา ไมม่ ี ไมม่ ี ไม่มี
ไมม่ ี
ตอนตน้

มธั ยมศึกษา ไมม่ ี ไมม่ ี ไม่มี

ตอนปลาย

จากตารางท่ี 44 พบว่า โรงเรียนขนาดใหญ่ที่ไม่ได้เป็นโรงพยาบาลสนามหรือสถานท่ีพักคอย
ไม่มีการจัดการเรียนการสอนแบบ On Site เนือ่ งจากมคี วามเสี่ยงติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019

124

ตารางที่ 45 แสดงรูปแบบการจัดการเรยี นแบบ On Air โรงเรยี นขนาดใหญ่

ระดบั จดุ แขง็ จดุ อ่อน โอกาส อปุ สรรค
Threat
การศกึ ษา Strength Weakness Opportunity
ไม่มี
มธั ยมศึกษา ไมม่ ี ไม่มี ไมม่ ี
ไม่มี
ตอนตน้

มัธยมศึกษา ไม่มี ไม่มี ไม่มี

ตอนปลาย

จากตารางที่ 45 พบว่า โรงเรียนขนาดใหญ่ท่ีไม่ได้เป็นโรงพยาบาลสนามหรือสถานที่พักคอย
ไม่มกี ารจดั การเรยี นการสอนแบบ On Air

ตารางท่ี 46 แสดงรปู แบบการจัดการเรยี นแบบ On Demand โรงเรียนขนาดใหญ่

ระดบั จดุ แขง็ จดุ ออ่ น โอกาส อปุ สรรค
Threat
การศึกษา Strength Weakness Opportunity มปี ญั หาดา้ นการ
เข้าถึง เชน่ นักเรยี น
มัธยมศึกษา มีแอพพลิเคช่ัน ขาดความพรอ้ มดา้ น ท้งั ครแู ละนักเรยี น บางคนไมม่ ีอุปกรณ์
หรืออุปกรณไ์ ม่
ตอนต้น หลากหลายให้ครูได้ อุปกรณ์ และความ ไดใ้ ชแ้ อปพลิเคช่ัน รองรับแอพพลเิ คชน่ั

เลือกใช้สอนตามความ พร้อมเก่ยี วกับการใช้ ท่หี ลากหลาย มีปัญหาดา้ นการ
เขา้ ถึง เชน่ นกั เรียน
เหมาะสมของเน้ือหา แอพพลเิ คชั่นไมม่ าก บางคนไม่มีอุปกรณ์
หรอื อุปกรณไ์ ม่
พอจึงใช้งานได้ไม่ รองรับแอพพลเิ คช่นั

เต็มท่ี

มธั ยมศกึ ษา มแี อพพลเิ คชัน่ ขาดความพร้อมด้าน ท้งั ครแู ละนักเรียน

ตอนปลาย หลากหลายให้ครไู ด้ อุปกรณ์ และความ ได้ใช้แอปพลิเคชั่น

เลอื กใช้สอนตามความ พร้อมเกี่ยวกบั การใช้ ทหี่ ลากหลาย

เหมาะสมของเน้ือหา แอพพลิเคชน่ั ไม่มาก

พอจงึ ใช้งานได้ไม่

เตม็ ที่

จากตารางท่ี 46 พบว่า โรงเรียนขนาดใหญ่ท่ีไม่ได้เป็นโรงพยาบาลสนามหรือสถานที่พักคอย
มีการจัดการเรียนการสอนแบบ On Demand ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
เม่ือทำการ SWOT พบว่า จุดแข็ง คือ มีแอพพลิเคช่ันหลากหลายให้ครูได้เลือกใช้สอนตามความเหมาะสม
ของเน้ือหา จุดอ่อน คือ ขาดความพร้อมด้านอุปกรณ์ และความพร้อมเก่ียวกับการใช้แอพพลิเคชั่นไม่มากพอ
จึงใช้งานได้ไม่เต็มที่ โอกาส คือ ทั้งครูและนักเรียนได้ใช้แอปพลิเคชั่นท่ีหลากหลาย อุปสรรค คือ มีปัญหา
ด้านการเขา้ ถงึ เชน่ นกั เรยี นบางคนไมม่ อี ปุ กรณ์หรอื อปุ กรณ์ไม่รองรบั แอพพลิเคช่ัน

125

ตารางท่ี 47 แสดงรปู แบบการจัดการเรียนแบบ On Hand โรงเรยี นขนาดใหญ่

ระดับ จุดแขง็ จดุ อ่อน โอกาส อปุ สรรค
Opportunity Threat
การศกึ ษา Strength Weakness สง่ เสรมิ ให้นักเรียน การควบคมุ กำกับ
ได้เรยี นรู้ดว้ ยตนเอง ติดตามดแู ลนักเรยี น
มธั ยมศึกษา นกั เรยี นสามารถเขา้ ถึง ครแู ละนักเรียน ทำได้ไมท่ ัว่ ถึง
ส่งเสริมให้นักเรยี น การควบคมุ กำกบั
ตอนตน้ ไดโ้ ดยไม่ต้องใช้ ไมม่ ีปฏิสัมพันธ์ ไดเ้ รียนรดู้ ้วยตนเอง ติดตามดแู ลนักเรยี น
ทำได้ไมท่ วั่ ถึง
อนิ เทอร์เน็ต มากเท่าทคี่ วร

มัธยมศกึ ษา นกั เรียนสามารถเขา้ ถงึ ครแู ละนกั เรยี น

ตอนปลาย ไดโ้ ดยไม่ต้องใช้ ไมม่ ีปฏสิ ัมพันธ์

อินเทอรเ์ นต็ มากเท่าทีค่ วร

จากตารางท่ี 47 พบว่า โรงเรียนขนาดใหญ่ท่ีไม่ได้เป็นโรงพยาบาลสนามหรือสถานที่พักคอย
มีการจัดการเรียนการสอนแบบ On Hand ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
เมื่อทำการ SWOT พบว่า จุดแข็ง คือ นักเรียนสามารถเข้าถึงได้โดยไม่ต้องใช้อินเทอร์เน็ต จุดอ่อน คือ
ครูและนักเรียนไม่มีปฏิสัมพันธ์มากเท่าท่ีควร โอกาส คือ ส่งเสริมให้นักเรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเอง อุปสรรค คือ
การควบคมุ กำกับ ติดตามดูแลนักเรยี น ทำไดไ้ มท่ ั่วถงึ

ตารางที่ 48 แสดงรูปแบบการจดั การเรียนแบบ Onlineโรงเรยี นขนาดใหญ่

ระดบั จุดแขง็ จดุ ออ่ น โอกาส อปุ สรรค
Threat
การศกึ ษา Strength Weakness Opportunity การเข้าถงึ สอ่ื
การขาดวัสดอุ ุปกรณ์
มธั ยมศกึ ษา สามารถเขา้ ถึงได้การ ครูและนกั เรยี น นักเรียนและครมู ีการ ในการเรยี นออนไลน์
การเข้าถงึ สื่อ
ตอนตน้ เรียนรไู้ ดท้ ุกที่ ไม่มปี ฏสิ ัมพนั ธ์ พฒั นาด้านการเรยี นรู้ การขาดวัสดุอปุ กรณ์
ในการเรียนออนไลน์
มากเทา่ ทค่ี วร ทีห่ ลากหลาย

มัธยมศกึ ษา สามารถเข้าถึงได้การ ครูและนักเรียน นักเรยี นและครมู กี าร

ตอนปลาย เรียนรไู้ ด้ทกุ ท่ี ไมม่ ีปฏสิ ัมพนั ธ์ พัฒนาดา้ นการเรียนรู้

มากเท่าท่ีควร ท่ีหลากหลาย

จากตารางท่ี 48 พบว่า โรงเรียนขนาดใหญ่ท่ีไม่ได้เป็นโรงพยาบาลสนามหรือสถานท่ีพักคอย
มีการจัดการเรียนการสอนแบบ Onlineในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
เม่ือทำการ SWOT พบว่า จุดแข็ง คือ สามารถเข้าถึงได้การเรียนรู้ได้ทุกที่ จุดอ่อน คือ ครูและนักเรียนไม่มี
ปฏิสัมพันธ์มากเท่าท่ีควร โอกาส คือ นักเรียนและครูมีการพัฒนาด้านการเรียนรู้ที่หลากหลาย อุปสรรค คือ
การเข้าถึงสอื่ การขาดวัสดอุ ปุ กรณ์ ในการเรียนออนไลน์

126

ตารางที่ 49 แนวทางการจดั การศกึ ษาของโรงเรียนขนาดใหญ่ ทไี่ ม่ได้เปน็ โรงพยาบาลสนาม หรือ สถานท่ี

พกั คอย สงั กัดสำนักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์ จำแนกตามรูปแบบ

การจัดการเรียนรู้ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019

ระดับ รปู แบบการจัดการเรยี นรู้

การศกึ ษา On Site On Air On Hand On Demand Online

มธั ยมศกึ ษา ไมม่ ีการจัด ไมม่ ีการจัด จัดการเรียนรู้ จัดการเรยี นรู้ จัดการเรยี นรู้

ตอนต้น การเรยี น การเรยี น โดยใช้ โดยใช้ ตามตารางสอน

การสอน การสอน หนงั สอื เรยี น แอพพลิเคชน่ั ผา่ น platform

ใบความรู้ ใช้ในการสอน Google Meet

แบบฝึกหัด โดยแทรกเขา้ Google

และใบงาน กับการสอนใน Classroom

รปู แบบ Line group

Online และ

Facebook

มัธยมศึกษา ไมม่ ีการจดั ไมม่ กี ารจัด จดั การเรียนรู้ จัดการเรียนรู้ จัดการเรียนรู้

ตอนปลาย การเรียน การเรยี น โดยใช้ โดยใช้ ตามตารางสอน

การสอน การสอน หนังสือเรียน แอพพลเิ คชนั่ ผา่ น platform

ใบความรู้ ใช้ในการสอน Google Meet

แบบฝึกหดั โดยแทรกเขา้ Google

และใบงาน กบั การสอนใน Classroom

รูปแบบ Line group

Online และ

Facebook

จากตารางที่ 49 พบวา่ แนวทางการจัดการศึกษาของโรงเรียนขนาดใหญ่ที่ไม่ได้เป็นโรงพยาบาลสนาม
หรือสถานท่ีพักคอย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์ จำแนกตามรูปแบบ
การจัดการเรียนรู้ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สามารถจัดได้ 3 รูปแบบ
คือ รูปแบบ On Hand โดยใช้หนังสือเรียน ใบความรู้ ใบงาน และแบบฝึกหัด รูปแบบ On Demand
โดยการจัดการเรียนการสอนโดยใช้แอพพลิเคช่ัน ใช้ในการสอนโดยแทรกเข้ากับการสอนในรูปแบบ Online
และรูปแบบ Online โดยจัดการเรียนรู้ตารางสอนผ่าน platform, Google Meet, Google Classroom,
Line group และ Facebook

127

4. ผลการวเิ คราะห์ SWOT การดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี น ไดแ้ ก่ 1) ดา้ นการเรียนรู้ 2) ด้านการ
ตดิ ตาม 3) ดา้ นการช่วยเหลือส่งต่อ และ 4) ดา้ นความปลอดภยั ในระดบั ช้ันมัธยมศึกษาตอนตน้ และ
ระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย ของโรงเรยี นขนาดใหญ่ สงั กดั สำนักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา
นครสวรรค์ ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 ดงั นี้

ตารางท่ี 50 แสดงผลการวเิ คราะห์การดูแลช่วยเหลอื นกั เรียน ไดแ้ ก่ 1) ด้านการเรยี นรู้ 2) ด้านการติดตาม

3) ด้านการชว่ ยเหลอื สง่ ต่อ และ 4) ด้านความปลอดภัย ในระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนตน้ ระดับ

ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ของโรงเรียนขนาดใหญ่ สงั กดั สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศกึ ษา

นครสวรรค์

การดแู ล จุดแขง็ จดุ ออ่ น โอกาส อปุ สรรค
ชว่ ยเหลอื Strength Weakness Opportunity Threat
นกั เรยี น

ดา้ น โรงเรยี นมีรูปแบบการ การจดั การเรยี นการ เกิดการเรียนร้ดู ้านการใช้ ปญั หาดา้ นการเขา้ ถงึ

การเรยี นรู้ จดั การเรียนร้ทู ี่ สอนมขี ้อจำกดั สือ่ และเทคโนโลยี สญั ญาณอินเทอรเ์ นต็

หลากหลาย ของนกั เรียน

ดา้ น มีครทู ีป่ รึกษาครบชน้ั โรงเรียนไมส่ ามารถลง ไดใ้ ชส้ ื่อเทคโนโลยี นักเรียนบางส่วน

การติดตาม เรยี น พ้นื ทีด่ แู ลนกั เรยี นได้ ในการตดิ ต่อสอ่ื สาร ขาดความพร้อม

อยา่ งเตม็ ที่ ในการเขา้ ถงึ สื่อ

เทคโนโลยี

ดา้ นการ มีระบบการตดิ ตาม โรงเรียนไมส่ ามารถลง ได้สร้างเครอื ข่าย ผู้ปกครองนกั เรยี นมี

ชว่ ยเหลือ นกั เรยี นที่ชัดเจน พ้ืนท่ดี แู ลนักเรยี นได้ ผปู้ กครองและประสานกบั ข้อจำกดั ในการดแู ล

สง่ ต่อ อย่างเต็มท่ี องคก์ รภายนอก ชว่ ยเหลือนกั เรยี น

-

ดา้ นความ มีการใหค้ วามรู้ การเผยแพรข่ ้อมลู และ ไดป้ ระสานความรว่ มมือ ปญั หาด้านการเข้าถงึ

ปลอดภยั ดา้ นความเขา้ ใจและใช้ การใหค้ วามรู้ ระหวา่ งโรงเรียนและ สญั ญาณอนิ เทอรเ์ น็ต

เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ยงั ไม่เขา้ ถึงนักเรยี น ผู้ปกครอง การขาดอปุ กรณ์

รวมถงึ ให้ความรู้ ทุกคน ในการดูแลช่วยเหลือ ในการเขา้ ถึงส่อื

ด้านการดแู ลตนเอง นักเรยี น และเทคโนโลยี

ใหป้ ลอดภัยจากโรค ติด ของนักเรียน

เชื้อไวรสั โคโรนา 2019

ผา่ นแพลตฟอรม์

ของโรงเรียน

จากตารางที่ 50 พบว่า ผลการวิเคราะห์การดูแลชว่ ยเหลือนกั เรยี น ได้แก่ 1) ด้านการเรียนรู้
2) ด้านการตดิ ตาม 3) ดา้ นการชว่ ยเหลือส่งต่อ และ 4) ดา้ นความปลอดภัย ในระดับชัน้ มัธยมศกึ ษาตอนต้น

128

และระดับช้นั มธั ยมศึกษาตอนปลาย ของโรงเรียนขนาดใหญ่ ทไ่ี มไดเ้ ป็นสถานท่พี ักคอยหรอื โรงพยาบาลสนาม
สงั กดั สำนกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์ มีดังน้ี

1. ดา้ นการเรยี นรู้ จดุ แข็ง คอื โรงเรียนมรี ปู แบบการจดั การเรยี นรทู้ ่ีหลากหลาย จุดอ่อน คอื
การจัดการเรียนการสอนมีข้อจำกัด โอกาส คือ เกิดการเรียนรู้ด้านการใช้ส่ือและเทคโนโลยี และอุปสรรค คือ
ปัญหาดา้ นการเขา้ ถึงสญั ญาณอนิ เทอรเ์ น็ตของนักเรยี น

2. ด้านการติดตาม จุดแข็ง คือ มีครูท่ีปรึกษาครบช้ันเรียน จุดอ่อน คือ โรงเรียนไม่สามารถลงพื้นท่ี
ดูแลนักเรียนได้อย่างเต็มท่ี โอกาส คือ ได้ใช้สื่อเทคโนโลยี ในการติดต่อส่ือสาร และอุปสรรค คือนักเรียน
บางสว่ นขาดความพร้อมในการเข้าถงึ สือ่ เทคโนโลยี

3. ด้านการชว่ ยเหลือและส่งต่อ จดุ แข็ง คือ มรี ะบบการติดตามนักเรียนทชี่ ัดเจน จดุ อ่อน คือ โรงเรียน
ไม่สามารถลงพ้ืนท่ีดูแลนักเรียนได้อย่างเต็มท่ี โอกาส คือ ได้สร้างเครือข่ายผู้ปกครองและประสานกับ
องค์กรภายนอก และอุปสรรค คือ ผู้ปกครองนักเรียนมีข้อจำกัดในการดูแลช่วยเหลือนักเรียน

4. ด้านความปลอดภัย จุดแข็ง คือ มีการให้ความรู้ด้านความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล รวมถึง
ให้ความรู้ด้านการดูแลตนเองให้ปลอดภัยจากโรค ติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019ผ่านแพลตฟอร์มของโรงเรียน
จุดอ่อน คือ การเผยแพร่ข้อมูลและการให้ความรู้ ยังไม่เข้าถึงนักเรียนทุกคน โอกาส คือ ได้ประสาน
ความร่วมมือระหว่างโรงเรียนและผู้ปกครอง ในการดูแลช่วยเหลือนักเรียน และอุปสรรค คือ
ปญั หาด้านการเข้าถงึ สญั ญาณอนิ เทอร์เน็ต การขาดอปุ กรณ์ในการเข้าถึงสอื่ และเทคโนโลยขี องนักเรียน

ตารางที่ 51 แสดงผลการวิเคราะห์แนวทางในการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ได้แก่ 1) ด้านการเรยี นรู้ 2) ด้านการ

ตดิ ตาม 3) ดา้ นการช่วยเหลอื ส่งต่อ และ 4) ด้านความปลอดภัย ในระดับชนั้ มัธยมศึกษาตอนต้น

และระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย ของโรงเรยี นขนาดใหญ่ ท่ีไม่ไดเ้ ป็นสถานทีพ่ ักคอยหรือ

โรงพยาบาลสนาม สังกดั สำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษานครสวรรค์

ระดบั แนวทางการดแู ลช่วยเหลอื นักเรยี น ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019

การศึกษา ด้านการเรยี นรู้ ดา้ นการตดิ ตาม ด้านการช่วยเหลอื สง่ ตอ่ ดา้ นความปลอดภยั

มธั ยมศึกษา ดูแลให้นกั เรยี นสามารถ 1. จัดให้มกี ารประชมุ 1. ติดตามพฤตกิ รรมการ 1. สร้างความรคู้ วาม

ตอนต้น เขา้ ถึงการจดั การเรยี นใน ช้ันเรียน และประชุม เรยี นของนักเรียนพรอ้ ม เข้าใจในการใช้

รูปแบบ Online และ On เครือข่ายผู้ปกครอง กับสร้างเครือขา่ ยการมี เทคโนโลยี เพอื่ ให้

demand ได้ โดยอาศัย 2. รับทราบปัญหา สว่ นรว่ มระหวา่ ง นกั เรียนมีทักษะดา้ น

กระบวนการสรา้ ง และร่วมหาทางแก้ไขกบั ผ้ปู กครองกบั ครทู ปี่ รกึ ษา ความใจและใช้

เครอื ข่ายและการมีส่วน ผ้ปู กครองและครผู ูส้ อน 2. ดำเนินการเยีย่ มบา้ น เทคโนโลยีดจิ ิทลั

รว่ มของ ผู้บริหาร ครูที่ นกั เรยี นออนไลน์ ตาม (Digital Literacy) อย่าง

ปรกึ ษา นักเรยี น และ ระบบดแู ลชว่ ยเหลอื รอบด้านท้ังการทำความ

ผ้ปู กครอง ในการสือ่ สาร นักเรยี นเพือ่ รจู้ ักนกั เรียน เขา้ ใจ การใช้ การสร้าง

ทำความเข้าใจและการ เปน็ รายบคุ คลและนำ และการเข้าถงึ เทคโนโลยี

129

ตารางท่ี 51 (ตอ่ )

ระดบั แนวทางการดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรยี น ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019

การศกึ ษา ด้านการเรยี นรู้ ดา้ นการติดตาม ด้านการช่วยเหลือส่งตอ่ ด้านความปลอดภยั

มัธยมศึกษา ดำเนินการตา่ งๆที่ ข้อมูลทไ่ี ดจ้ ากการเยย่ี ม 2. ใหค้ วามรเู้ กย่ี วกบั การ

ตอนต้น เก่ียวขอ้ งกับนักเรยี น บา้ นมาใชใ้ นการสง่ เสรมิ ดูแล และป้องกันตนเอง

พัฒนา แก้ไขนักเรยี น ให้ปลอดภัยจากเชื้อไวรสั

โคโรนา 2019

มัธยมศกึ ษา ดูแลให้นักเรยี นสามารถ 1. จัดให้มีการประชมุ 1. ติดตามพฤตกิ รรมการ 1. สรา้ งความรคู้ วาม
ตอนปลาย
เขา้ ถึงการจัดการเรยี นใน ช้ันเรียน และประชมุ เรียนของนักเรยี นพรอ้ ม เขา้ ใจในการใช้

รปู แบบ Online และ On เครอื ขา่ ยผ้ปู กครอง กับสรา้ งเครือขา่ ยการมี เทคโนโลยี เพอ่ื ให้

demand ได้ โดยอาศยั 2. รับทราบปญั หา ส่วนร่วมระหว่าง นักเรยี นมีทักษะด้าน

กระบวนการสร้าง และรว่ มหาทางแกไ้ ขกับ ผปู้ กครองกับครูที่ปรกึ ษา ความใจและใช้

เครอื ข่ายและการมสี ่วน ผปู้ กครองและครผู ู้สอน 2. ดำเนินการเยย่ี มบา้ น เทคโนโลยดี ิจิทลั

ร่วมของ ผู้บรหิ าร ครทู ่ี นกั เรียนออนไลน์ ตาม (Digital Literacy) อย่าง

ปรกึ ษา นักเรียน และ ระบบดูแลชว่ ยเหลอื รอบด้านทง้ั การทำความ

ผู้ปกครอง ในการส่ือสาร นักเรียนเพ่อื รจู้ ักนกั เรียน เขา้ ใจ การใช้ การสร้าง

ทำความเขา้ ใจและการ เปน็ รายบุคคลและนำ และการเข้าถึงเทคโนโลยี

ดำเนินการตา่ งๆท่ี ข้อมลู ทไ่ี ดจ้ ากการเยี่ยม 2. ให้ความรู้เกยี่ วกบั การ

เกี่ยวข้องกบั นักเรียน บ้านมาใช้ในการสง่ เสริม ดแู ล และปอ้ งกนั ตนเอง

พฒั นา แก้ไขนกั เรียน ให้ปลอดภัยจากเช้อื ไวรสั

โคโรนา 2019

จากตารางที่ 51 พบว่า ผลการวเิ คราะห์แนวทางในการดูแลชว่ ยเหลือนกั เรียน ในระดับช้นั มธั ยมศึกษา
ตอนต้นและระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนปลายของโรงเรียนขนาดใหญ่ท่ีไม่ได้เป็นสถานท่ีพักคอย หรือ
โรงพยาบาลสนาม สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์ ได้แก่ 1) ด้านการเรียนรู้
ได้ ดู แ ล นั ก เรี ย น ให้ ส า ม า ร ถ เข้ า ถึ ง ก า ร จั ด ก า ร เรี ย น ใน รู ป แ บ บ Online แ ล ะ On demand
ได้โดยอาศัยกระบวนการสร้างเครือข่ายและการมีส่วนร่วมของ ผู้บริหาร ครูท่ีปรึกษา นักเรียน และผู้ปกครอง
ในการส่ือสารทำความเข้าใจและการดำเนินการต่างๆที่เก่ียวข้องกับนักเรียน 2) ด้านการติดตามได้จัดให้มี
การประชุมช้ันเรียน และประชุมเครือข่ายผู้ปกครองเพื่อรับทราบปัญหา และร่วมหาทางแก้ไขระหว่าง
ผู้ปกครองและครูผู้สอน 3) ด้านการช่วยเหลือส่งต่อ มีการติดตามพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนพร้อมกับ
สร้างเครือข่ายการมีส่วนร่วมระหว่างผู้ปกครองกับครูท่ีปรึกษา ดำเนินการเย่ียมบ้านนักเรียนออนไลน์
ต าม ร ะ บ บ ดู แ ล ช่ ว ย เห ลื อ นั ก เรี ย น เพ่ื อ รู้ จั ก นั ก เรี ย น เป็ น ร าย บุ ค ค ล แ ล ะ น ำข้ อ มู ล ท่ี ได้ จ าก ก าร เยี่ ย ม บ้ า น
มาใช้ในการส่งเสริม พัฒนา แก้ไขนักเรียน 4) ด้านความปลอดภัยมีการสร้างความรู้ความเข้าใจ
ในการใช้เทคโนโลยี เพื่อให้นักเรียนมีทักษะด้านความใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy)

130

อย่างรอบด้านทั้งการทำความเข้าใจ การใช้ การสร้าง และการเข้าถึงเทคโนโลยีและให้ความรู้เกี่ยวกับ
การดแู ล และปอ้ งกันตนเองให้ปลอดภยั จากเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019

5. กรณศี ึกษาของโรงเรยี นท่ีจดั การศกึ ษาโดดเด่น และโรงเรียนท่มี ีปัญหาอุปสรรค โรงเรยี นขนาด
ใหญท่ ไี่ มไ่ ดเ้ ป็นสถานทพี่ ักคอยหรือโรงพยาบาลสนาม ท่ีจดั การศกึ ษาโดดเด่นในสถานการณก์ ารแพร่
ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 ไดแ้ ก่ ไมม่ ีโรงเรียน Best practice และไม่มโี รงเรียนทีต่ ้องเร่ง
ช่วยเหลอื

6. ข้อเสนอแนะเชงิ นโยบาย การบริหารจัดการ ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เชือ้
ไวรัสโคโรนา 2019 ทจ่ี ะนำมาใชใ้ นปกี ารศึกษา 2565

6.1 ด้านการจัดทำแผนและนโยบาย
กำหนดหลักการวดั และประเมินผลใหช้ ัดเจนและเป็นไปในทิศทางเดยี วกัน

6.2 ดา้ นหลักสูตรและการจดั การเรียนรู้
ปรับหลกั สตู รและเน้ือหาให้เสอดคล้องตามสถานการณ์

6.3 ด้านเทคโนโลยีทางการศกึ ษา
สนับสนุนดา้ นการจัดหาสื่อ/แหล่งเรียนรู้ และวสั ดอุ ุปกรณ์ทางเทคโนโลยี

6.4 ดา้ นการวัดประเมนิ ผล
ประกาศหลกั เกณฑข์ องการวัดและประเมินผลให้ชัดเจน

6.5 ดา้ นการพฒั นานวตั กรรมการเรียนรู้
สนบั สนุน ส่งเสรมิ และจัดอบรม การสรา้ งและพฒั นานวัตกรรม

6.6 ดา้ นการดูแลช่วยเหลือนักเรยี น
6.6.1 สนับสนุนใหผ้ ปู้ กครองมบี ทบาทจัดการเรยี นรูเ้ พิ่มข้ึน
6.6.2 ให้ความสำคัญกับการประสานความร่วมมือ ระหวา่ งครปู ระจำชั้นและผปู้ กครอง
6.6.3 การดแู ลช่วยเหลอื นักเรยี นใหส้ ามารถเข้าถึงการจัดการเรยี นการสอนในรูปแบบออนไลน์

โดยการสนบั สนุนอปุ กรณ์เคร่ืองมือสอื่ สาร รวมถงึ สัญญาณอินเทอร์เน็ตทมี่ ีประสิทธภิ าพ

131

ผลการวิเคราะห์โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ

1. ข้อมลู พ้ืนฐานโรงเรียน สารสนเทศการจัดการศึกษาในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื
ไวรสั โคโรนา 2019 ของโรงเรยี นขนาดใหญ่พิเศษ ในสำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษามธั ยมศกึ ษานครสวรรค์

ตารางท่ี 52 แสดงขอ้ มลู พืน้ ฐานโรงเรยี นขนาดใหญ่พิเศษ

จำนวน จำนวน จำนวน จำนวน วนั ท่เี ปดิ รูปแบบการจดั การเรยี นรู้
นกั เรียน ผบู้ ริหาร ครู หอ้ งเรยี น ภาค
ท่ี โรงเรยี น (คน) (คน) (คน) ม. ม. เรยี นท่ี On On On On Online
ตน้ ปลาย 1/2564 site
Air Demand Hand

1 นครสวรรค์ 3,185 4 161 36 45 1 

มถิ นุ ายน - - -

2564

2 สตรี 2,933 5 135 36 39 1 

นครสวรรค์ มิถนุ ายน - - 

2564

3 ตาคลี 2,728 5 134 42 30 1 

ประชาสรรค์ มิถุนายน - - -

2564

รวม 8,846 14 430 113 114 -- 3 13

ร้อยละ 0 0 100 33.33 100

จากตารางที่ 52 พบว่า โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ ซึ่งประกอบด้วย 3 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียน
นครสวรรค์ โรงเรียนสตรีนครสวรรค์ และตาคลีประชาสรรค์ มีนักเรียน 8,846 คน ผู้บริหารโรงเรียน 14 คน
ครู 430 คน จำนวนห้องเรียน 227 ห้องเรียน โรงเรียนมีรูปแบบการจัดการเรียนรู้ 3 แบบ คือ On Demand,
On Hand และ Online ยังไม่มีโรงเรียนใดจดั การเรยี นรแู้ บบ On Site และ On Air และทกุ โรงเรยี นเปดิ เรียน
ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564 ตงั้ แต่ 1 มิถุนายน 2564

2. ผลการวิเคราะห์จุดแข็ง จดุ อ่อน โอกาส และอุปสรรค การจัดการศกึ ษาในสถานการณก์ าร
แพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 ของโรงเรยี นขนาดใหญ่พเิ ศษ

โรงเรยี นขนาดใหญพ่ ิเศษ ท่ีมีจำนวนนักเรยี น 2,500 คนขึน้ ไป ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
มธั ยมศึกษานครสวรรค์ มจี ำนวนทั้งส้นิ 3 โรงเรยี น คอื 1) โรงเรียนนครสวรรค์ 2) โรงเรียนสตรนี ครสวรรค์
และ 3) โรงเรยี นตาคลปี ระชาสรรค์ ซ่งึ โรงเรยี นจัดการเรยี นการสอนระดับมธั ยมศึกษาตอนต้นและระดับ
มัธยมศกึ ษาตอนปลาย ดังนี้

132

ตารางที่ 53 แสดงผลการวิเคราะห์ SWOT ด้านการบรหิ ารจัดการของโรงเรยี นขนาดใหญ่พเิ ศษ ใน

สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019

การบรหิ ารจัดการ จุดแขง็ จดุ ออ่ น โอกาส อปุ สรรค

การบรหิ ารจดั การ 1. บุคลากรสามารถใช้ บคุ ลากรใชอ้ ปุ กรณ์ บุคลากรมีโอกาสเข้า บุคลากรบางกลมุ่

ดา้ นบคุ ลากร เทคโนโลยใี นการ เทคโนโลยีท่ยี งั ไมม่ ี อบรมเพ่อื เพ่ิมความรู้ ขาดความชำนาญใน

(Man) บรหิ ารจดั การการสอน ประสิทธภิ าพขาด ความสามารถทาง การใช้ ICT ทำให้

ออนไลนโ์ ดย Work ความชำนาญและ เทคนิควธิ ีการสอน เทคนิคการสอนไม่

from Home ตอ้ งคอยมผี ู้ให้ ประกอบกับสนับสนนุ ให้ หลากหลาย

2. มีการพัฒนาทีมงาน คำแนะนำช่วยเหลือ สรา้ งบรรยากาศทม่ี ี

บุคลากรดา้ นการ ความสนุกสนานมีการ

พฒั นานวตั กรรมการ ออกแบบแนวทางการวัด

จัดการเรยี นการสอน และประเมินผลท่ี

(i-Champion) และ หลากหลาย

พฒั นาสอื่ การสอนโดย

ทำคลปิ การสอนโดยใช้

แอพพลเิ คช่ันในการ

เรียนการสอน

3. มที ีมงานบุคลากร

ดา้ นสื่อและเทคโนโลยี

พฒั นาระบบสำหรับ

การสอนออนไลน์

การบริหารจดั การ 1. สมาคมศษิ ยเ์ ก่าของ งบประมาณสำหรับ โรงเรียนไดป้ รบั โรงเรยี นได้นำ

ดา้ นงบประมาณ โรงเรยี นและชมรมครฯู การดำเนินกจิ กรรม งบประมาณในส่วนที่ งบประมาณทไี่ ม่

(Money) เขา้ มาสนบั สนนุ เร่อื ง บางกจิ กรรมไม่ ไม่ไดจ้ ดั กิจกรรมตาม สามารถดำเนนิ การ

ของทนุ การศกึ ษา สามารถดำเนนิ การ โครงการและปรับเพม่ิ ไดม้ าปรบั และ

นกั เรยี น ไดส้ ่งผลให้นักเรยี น กจิ กรรมที่จำเปน็ สำหรับ เปลีย่ นแปลง

2. หนว่ ยงานทอ้ งถนิ่ ขาดประสบการณ์ สถานการณ์การแพร่ การใชง้ บประมาณ

เช่น องคก์ ารบริหาร และทักษะการ ระบาดของ ใหเ้ หมาะสมกับ

ส่วนตำบลและเทศบาล เรยี นรู้ โรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา สถานการณ์

เขา้ มามีบทบาทในการ 2019

สนบั สนนุ อปุ กรณ์

ปอ้ งกันเนอ่ื งใน

สถานการณ์โรคระบาด

133

ตารางท่ี 53 ตอ่ จุดแข็ง จดุ อ่อน โอกาส อุปสรรค
โรงเรียนไดส้ นบั สนนุ ใน อุปกรณก์ ารสอน โรงเรยี นนำวสั ดอุ ปุ กรณ์ สญั ญาณ
การบรหิ ารจัดการ ด้านของอุปกรณ์ เชน่ บางชนิดไมร่ องรบั ipad คอมพวิ เตอร์ อินเทอรเ์ น็ตไม่
การบริหารจัดการ ipad คอมพวิ เตอรต์ งั้ อีกทง้ั ยังไมม่ ี ที่ใชส้ อนประจำหอ้ งมา เสถยี รในบางชว่ ง
ดา้ นสื่อ อุปกรณ์ โต๊ะ โนต๊ บ๊คุ สาย Lan ประสิทธภิ าพเพอ่ื ให้นกั เรยี นไดย้ มื ใช้ ทำใหส้ ง่ ผลกระทบ
(Material) และกล้อง มีการจดั ระบบ จดั การเรยี นสอน ในการใชง้ าน และ
สัญญาณอนิ เทอรเ์ นต็ ท่ี การจัดการเรยี นการ
การบริหารจดั การ พรอ้ มประกอบกบั มี การติดตอ่ สอน
ดา้ นบรหิ ารจัดการ ทีมงาน ประสานงานหรือ
(Management) ชว่ ยแกป้ ัญหา การประชาสัมพนั ธ์ 1. สำนกั งาน การปฏบิ ัตงิ าน
1. โรงเรียนมีการทดสอบ ในการดำเนินงาน
ระบบการจัดการเรยี น ตา่ ง ๆ ยงั ขาดความ คณะกรรมการการศึกษา WFH ทำให้การ
การสอนออนไลน์ก่อน ชดั เจน ทำให้การ
การสอนจริง ปฏิบัตงิ านไมม่ ี ขัน้ พ้ืนฐานมีการ ดำเนนิ งานในดา้ น
2. โรงเรียนมที มี ส่อื และ ประสิทธภิ าพ
เทคโนโลยีเพ่ือรบั เท่าท่ีควร สนบั สนุนในการด้าน ต่าง ๆ หรอื การ
ประสานในการแกป้ ญั หา
การสอนออนไลน์ เรยี นการสอนเพอื่ บริหารจดั การมี
3. การเปิดโอกาสให้
ทบทวนเน้ือหาดูยอ้ นหลัง จดั สรรใหค้ รใู นการ ความลา่ ช้า
ไดท้ หี่ น้าเว็บไซตโ์ รงเรยี น
4. การนำเทคโนโลยมี าใช้ จัดการเรียนการสอนได้
มาในการบรหิ าร
ทง้ั งานธุรการและการ สะดวกมากยงิ่ ข้นึ
จดั การเรยี นการสอน
5. สนบั สนนุ ให้ครแู ละ 2. หน่วยงานภายนอก
บุคลากรทางการศึกษา
ได้รบั วัคซีนอย่างทว่ั ถึง เชน่ สมาคมศษิ ยเ์ กา่ ของ
6. การสรปุ การนเิ ทศ
ติดตามพร้อมหาแนว โรงเรยี น องค์การบริหาร
ทางการแกไ้ ข
7. การเปิดชอ่ งทาง สว่ นตำบลเข้ามามี
สอ่ื สารระหวา่ งโรงเรยี น
กับนักเรยี นสามารถ บทบาทให้การช่วยเหลือ
ดำเนนิ การไดต้ ลอด
ดา้ นทนุ การศึกษาใหก้ บั

นักเรยี นไดม้ ีความพร้อม

ในการเรียนมากข้นึ

134

จากตารางที่ 53 พบวา่ ผลการ SWOT ด้านการบริหารจัดการของโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ ใน
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 ทงั้ 4 ดา้ นมีดงั นี้

1. ดา้ นบุคลากร (Man)
จุดแข็ง คือ บุคลากรสามารถใช้เทคโนโลยีในการบริหารจัดการการสอนออนไลน์โดย Work from
Home มีการพัฒนาทีมงานบุคลากรด้านการพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนการสอน (i-Champion) และ
พัฒนาส่ือการสอนโดยทำคลิปการสอนโดยใช้แอพพลิเคช่ันในการเรียนการสอน และมีทีมงานบุคลากร
ด้านส่ือและเทคโนโลยีพัฒนาระบบสำหรับการสอนออนไลน์จุดอ่อนคือบุคลากรใช้อุปกรณ์เทคโนโลยีที่ยังไม่มี
ประสิทธิภาพขาดความชำนาญและต้องคอยมีผู้ให้คำแนะนำช่วยเหลือ โอกาสคือบุคลากรมีโอกาสเข้าอบรม
เพื่อเพ่ิมความรู้ความสามารถทางเทคนิควิธีการสอนท่ีหลากหลายเพ่ือกระตุ้นเร้าความสนใจของนักเรียน
ประกอบกับสนับสนุนให้สร้างบรรยากาศการเรียนท่ีมีความสนุกสนานและมีการออกแบบ แนวทางการวัด
และประเมินผลท่ีหลากหลาย และอุปสรรคคือบุคลากรบางกลุ่มขาดความชำนาญในการใช้ ICT ทำให้เทคนิค
การสอนไมห่ ลากหลาย
2. ดา้ นงบประมาณ (Money)

จุดแข็งคือ 1) สมาคมศิษย์เก่าของโรงเรียนและชมรมครูฯ เข้ามาสนับสนุนเร่ืองของทุนการศึกษา
นักเรียน 2) หน่วยงานท้องถ่ิน เช่น องค์การบริหารส่วนตำบลและเทศบาลเข้ามามีบทบาทในการสนับสนุน
อุปกรณ์ป้องกันเน่ืองในสถานการณ์โรคระบาด จุดอ่อนคืองบประมาณสำหรับการดำเนินกิจกรรมบางกิจกรรม
ไม่สามารถดำเนินการได้ส่งผลให้นักเรียนขาดประสบการณ์และทักษะการเรียนรู้ โอกาส คือ โรงเรียน
ได้ปรับงบประมาณในส่วนที่ไม่ได้จัดกิจกรรมตามโครงการและปรับเพ่ิมกิจกรรมที่จำเป็นสำหรับสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 และอุปสรรคคือโรงเรียนได้นำงบประมาณท่ีไม่สามารถ
ดำเนนิ การไดม้ าปรบั และเปล่ยี นแปลงการใชง้ บประมาณใหเ้ หมาะสมกบั สถานการณ์

3. ด้านบรหิ ารจดั การด้านสอ่ื อปุ กรณ์ (Material)
จุดแข็งคือโรงเรียนได้สนับสนุนในด้านของอุปกรณ์ เช่น ipad คอมพิวเตอร์ต้ังโต๊ะ โน๊ตบุ๊ค

สาย Lan และกล้อง พร้อมท้ังมีการจัดระบบสัญญาณอินเทอร์เน็ตที่พร้อมประกอบกับมีทีมงานช่วยแก้ปัญหา
จุดอ่อนคืออุปกรณ์การสอนบางชนิดไม่รองรับอีกท้ังยังไม่มีประสิทธิภาพเพื่อจัดการเรียนสอน โอกาส คือ
โรงเรียนนำวัสดุอุปกรณ์ ipad คอมพิวเตอร์ ท่ีใช้สอนประจำห้องมาให้นักเรียนได้ยืมใช้ และอุปสรรค คือ
สัญญาณอินเทอรเ์ น็ตไมเ่ สถียรในบางช่วง ทำให้สง่ ผลกระทบในการใชง้ าน และการจดั การเรยี นการสอน

4. การบริหารจัดการดา้ นบรหิ ารจดั การ (Management)
จุดแข็งคอื โรงเรยี นมกี ารทดสอบการสอนออนไลน์ก่อนการสอนจรงิ โรงเรียนมที ีมสอ่ื และเทคโนโลยี

เพ่ือรับประสานในการแก้ปัญหาการสอนออนไลน์ การเปิดโอกาสให้ทบทวนเน้ือหาดูย้อนหลังได้ที่หน้าเว็บไซต์
โรงเรียน การนำเทคโนโลยีมาใช้มาในการบริหารทั้งงานธุรการและการจัดการเรียนการสอน สนับสนุนให้ครู
และบุคลากรทางการศึกษาได้รับวัคซีนอย่างท่ัวถึง การสรุปการนิเทศติดตามพร้อมหาแนวทางการแก้ไข
และการเปิดช่องทางส่ือสารระหว่างโรงเรียนกับนักเรียนสามารถดำเนินการได้ตลอด จุดอ่อน คือ การติดต่อ

135

ประสานงาน หรือ การประชาสัมพันธ์ในการดำเนินงานต่าง ๆ ยังขาดความชัดเจน ทำให้การปฏิบัติงาน
ไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควรโอกาสคือ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานมีการสนับสนุน
ในการด้านเรียนการสอนเพื่อจัดสรรให้ครูในการจัดการเรียนการสอนได้สะดวกมากย่ิงข้ึน และหน่วยงาน
ภายนอก เช่น สมาคมศิษย์เก่าของโรงเรียน องค์การบริหารส่วนตำบลเข้ามามีบทบาทให้การช่วยเหลือ
ด้านทุนการศึกษาให้กับนักเรียนได้มีความพร้อมในการเรียนมากขึ้น และอุปสรรคคือการปฏิบัติงาน Work
From Home ทำใหก้ ารดำเนินงานในดา้ นตา่ ง ๆ หรอื การบริหารจดั การมีความลา่ ช้า

3. ผลการวิเคราะห์ SWOT ด้านการจดั การเรยี นรู้แตล่ ะรูปแบบ โรงเรยี นขนาดใหญ่พเิ ศษ ดงั น้ี

ตารางที่ 54 แสดงรูปแบบการจัดการเรยี นแบบ On Site โรงเรยี นขนาดใหญ่พิเศษ

ระดับ จดุ แขง็ จดุ อ่อน โอกาส อปุ สรรค
การศกึ ษา Strength Weakness Opportunity Threat
มัธยมศกึ ษา
ตอนต้น ไมม่ ี ไม่มี ไมม่ ี ไมม่ ี
มธั ยมศึกษา
ตอนปลาย ไมม่ ี ไม่มี ไมม่ ี ไม่มี

จากตารางที่ 54 พบว่า โรงเรียนขนาดใหญ่พเิ ศษไม่มีการจัดการเรียนการสอนแบบ On Site เนื่องจาก
สถานการก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคไวรัสโคโรนา2019

ตารางท่ี 55 แสดงรปู แบบการจัดการเรยี นแบบ On Air โรงเรียนขนาดใหญ่พเิ ศษ

ระดบั จดุ แขง็ จุดออ่ น โอกาส อุปสรรค
การศึกษา Strength Weakness Opportunity Threat
มธั ยมศกึ ษา
ตอนตน้ ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี
มธั ยมศึกษา
ตอนปลาย ไมม่ ี ไมม่ ี ไม่มี ไม่มี

จากตารางที่ 55 พบว่า โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษไม่มีการจัดการเรียนการสอนแบบ On Air


Click to View FlipBook Version