137
ตารางท่ี 57 แสดงรปู แบบการจดั การเรยี นแบบ On Hand โรงเรยี นขนาดใหญ่พิเศษ
ระดบั จดุ แขง็ จุดออ่ น โอกาส อุปสรรค
Weakness Opportunity Threat
การศึกษา Strength
ไมม่ ี ไม่มี ไมม่ ี
มัธยมศกึ ษา ไมม่ ี
ไมม่ ี
ตอนต้น
มัธยมศกึ ษา โรงเรยี นไดจ้ ดั สง่ เอกสาร เพ่มิ โอกาสทางการ สนิ้ เปลอื ง
เรยี นร้ใู ห้กับนักเรียน งบประมาณ
ตอนปลาย ประกอบการเรยี นใน ท่ีมีอุปกรณ์ไม่พรอ้ ม คา่ ใช้จ่ายในการ
และรายวชิ าทีม่ ี จดั ส่งเอกสาร
รายวิชาเพ่มิ เตมิ เชน่ วิชา ความสำคัญใน
การศกึ ษาต่อในระดับ
เคมี วิชาฟสิ กิ ส์ และวิชา มหาวทิ ยาลยั
คณิตศาสตร์ ให้กับนกั เรยี น
ทำใหน้ ักเรยี นมีโอกาสใน
การเรียนรู้ไดด้ ีขึน้ และการ
จัดการเรยี นการสอนมี
ประสทิ ธภิ าพมากยงิ่ ขน้ึ
จากตารางท่ี 57 พบว่า โรงเรยี นขนาดใหญ่พิเศษมีการจัดการเรียนการสอนแบบ On Hand ในระดับ
มัธยมศึกษาตอนปลาย เม่ือทำการ SWOT ได้ว่าจุดแข็งคือโรงเรียนได้จัดส่งเอกสารประกอบการเรียน
ในรายวิชาเพิ่มเติม เช่น วิชาเคมี วิชาฟิสิกส์ และวิชาคณิตศาสตร์ ให้กับนักเรียน ทำให้นักเรียนมีโอกาส
ในการเรียนรไู้ ดด้ ีขึ้น และการจัดการเรยี นการสอนมีประสิทธิภาพมากยิ่งขน้ึ จุดอ่อน ไม่มี โอกาส คอื เพิ่มโอกาส
ทางการเรียนรู้ให้กับนักเรียนที่มีอุปกรณ์ ไม่พร้อมและรายวิชาที่มีความสำคัญ ในการศึกษาต่อ
ในระดบั มหาวิทยาลยั และอุปสรรค คอื สิน้ เปลืองงบประมาณค่าใช้จ่ายในการจัดส่งเอกสาร
ตารางที่ 58 แสดงรูปแบบการจัดการเรียนแบบ Online โรงเรยี นขนาดใหญ่พิเศษ
ระดบั จดุ แขง็ จดุ ออ่ น โอกาส อปุ สรรค
การศึกษา Strength Weakness Opportunity Threat
มธั ยมศกึ ษา 1.โรงเรยี นจัดทำค่มู ือ โรงเรียนยงั ไม่ได้ ครผู ู้สอนหาวธิ ีในการ นกั เรียนบางคน
ตอนตน้ การจัดการเรียนการ กำหนด platform แก้ไขปัญหานักเรียนให้ ไมม่ ีพรอ้ มในเร่ือง
สอนออนไลน์ใน เดยี วกัน ใหน้ กั เรียน เข้าเรยี นท่จี ะทำให้ อปุ กรณ์การเรียน
สถานการณ์การแพร่ และครูได้ใชใ้ นการ นกั เรยี นได้รับโอกาสใน และอินเทอรเ์ นต็
ระบาดของโรคติดเชื้อ จดั การเรยี นการสอน การเรียนเท่าเทียมกัน นักเรียนขาดความ
ไวรัสโคโรนา 2019 รวมถงึ เปน็ โอกาสอนั ดี
138
ตารางที่ 58 ต่อ
ระดับ จดุ แขง็ จุดออ่ น โอกาส อุปสรรค
Opportunity Threat
การศึกษา Strength Weakness ท่จี ะทำให้ครผู สู้ อน ใส่ใจในการเรียนทำ
พฒั นาตนเอง โดยฝกึ ให้เข้าเรียนไมค่ รบ
2.โรงเรียนมีความ เพอื่ ลดความสบั สน การแกป้ ัญหา 100 %
คิดรปู แบบในการสอน
พรอ้ มดา้ นสื่อ อปุ กรณ์ ในการเข้าเรียน ครูผูส้ อนพัฒนาตนเอง นกั เรียนบางคน
โดยฝึกการแก้ปัญหา ไมม่ ีพรอ้ มในเรื่อง
ในการจัดการเรยี นการ คิดรูปแบบในการสอน อุปกรณ์การเรยี น
และอินเทอรเ์ น็ต
สอน นกั เรยี นขาดความ
ใสใ่ จในการเรยี น
มัธยมศึกษา 1.โรงเรียนจัดทำคมู่ ือ โรงเรียนยังไม่ได้ ทำใหเ้ ข้าเรียนไม่ครบ
100 %
ตอนปลาย การจัดการเรยี นการ กำหนด platform
สอนออนไลนใ์ น เดยี วกัน ใหน้ ักเรยี น
สถานการณ์การแพร่ และครูไดใ้ ชใ้ นการ
ระบาดของโรคติดเชื้อ จัดการเรยี นการสอน
ไวรสั โคโรนา 2019 เพือ่ ลดความสบั สน
2.โรงเรยี นมคี วาม ในการเข้าเรียน
พร้อมด้านสื่อ อุปกรณ์
ในการจัดการเรียนการ
สอน
จากตารางที่ 58 พบว่า โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษมีการจัดการเรียนการสอนแบบ Online ในระดับ
มธั ยมศึกษาตอนตน้ และระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย เม่ือทำการ SWOT พบวา่ จดุ แขง็ คือ โรงเรยี นจัดทำคูม่ ือ
การจดั การเรียนการสอนออนไลนใ์ นสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 จดุ อ่อน คือ
โรงเรียนยังไม่ได้กำหนด platform เดียวกัน ให้นักเรียนและครูได้ใช้ในการจัดการเรียนการสอน เพื่อลดความ
สับสนในการเข้าเรียน โอกาสคือครูผู้สอนหาวิธีในการแก้ไขปัญหานักเรียนให้เข้าเรียนที่จะทำให้นักเรียน
ได้รับโอกาสในการเรียนเท่าเทียมกัน รวมถึงเป็นโอกาสอันดีท่ีจะทำให้ครูผู้สอนพัฒนาตนเอง โดยฝึก
การแก้ปัญหา คิดรูปแบบในการสอน และอุปสรรคคือนักเรียนบางคนไม่พร้อมในเร่ืองอุปกรณ์การเรียน
และอนิ เทอรเ์ น็ต นักเรยี นขาดความใสใ่ จในการเรียนทำใหเ้ ขา้ เรียนไม่ครบ 100 %
ตารางท่ี 59 แสดงแนวทางการจดั การศึกษาของโรงเรยี นขนาดใหญ่พิเศษในสังกัดสำนกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษา
มธั ยมศกึ ษานครสวรรค์ จำแนกตามรปู แบบการจดั การเรียนรูใ้ นสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของ
โรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019
139
ระดบั รูปแบบการจดั การเรียนรู้
การศกึ ษา On Site
มัธยมศกึ ษา ไมม่ ีการจดั On Air On Hand On Demand Online
ตอนต้น การเรยี น
ไมม่ ีการจัด ไม่มีการจดั 1.โรงเรียนบนั ทกึ โรงเรยี นจัดการ
การสอน
การเรียน การเรียนการ คลิปวิดโี อการสอน เรียนการสอน
มธั ยมศกึ ษา ไมม่ ีการจดั
ตอนปลาย การเรยี น การสอน สอน ในรูปแบบออนไลน์ ผ่านแอฟพลิ
การสอน ใหน้ ักเรียนสามารถ เคชน่ั ท่ี
เข้าไปเรยี น หลากหลาย
ยอ้ นหลังได้ เช่น Google
2. ครผู ลติ หรอื Meet, Zoom,
จดั หาคลปิ การสอน Line,
เพื่อใหน้ กั เรียนเข้า Facebook เป็น
ไปศึกษาค้นควา้ ตน้
เพม่ิ เติมเพ่ือให้
นักเรยี นศึกษา
ยอ้ นหลงั ได้
ไม่มกี ารจัด จัดส่งเอกสาร 1.โรงเรียนบนั ทึก โรงเรยี นจัดการ
การเรยี น ให้กบั นกั เรียน คลปิ วดิ โี อการสอน เรียนการสอน
การสอน ผ่านระบบ ในรปู แบบออนไลน์ ผ่านแอฟพลิ
ขนส่ง ใหน้ กั เรยี นสามารถ เคช่นั ท่ี
เขา้ ไปเรียน หลากหลาย
ยอ้ นหลงั ได้ เชน่ Google
2. ครูผลติ หรือ Meet, Zoom,
จดั หาคลิปการสอน Line,
เพ่ือใหน้ ักเรยี นเข้า Facebook เป็น
ไปศกึ ษาคน้ ควา้ ตน้
เพ่ิมเติมเพื่อให้
นักเรยี นศึกษา
ยอ้ นหลังได้
140
จากตารางท่ี 59 พบว่า แนวทางการจัดการศึกษาของโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษในสังกัดสำนักงานเขต
พนื้ ท่กี ารศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์ จำแนกตามรูปแบบการจัดการเรยี นรู้ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของ
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สามารถจัดได้ 3 รูปแบบคือ On Hand โดยจัดส่งเอกสารให้กับนักเรียน
ผ่านระบบขนส่ง On Demand โรงเรียนบันทึกคลิปวิดีโอการสอนในรูปแบบออนไลน์ให้นักเรียนสามารถ
เข้าไปเรียนย้อนหลังได้ และครูผลิตหรือจัดหาคลิปการสอนเพื่อให้นักเรียนเข้าไปศึกษาค้นคว้าเพ่ิมเติม
เพื่อให้นักเรียนศึกษาย้อนหลังได้ และ Onlineโรงเรียนจัดการเรียนการสอนผ่านแอฟพลิเคช่ันที่หลากหลาย
เช่น Google Meet, Zoom, Line, Facebook เป็นต้น
4. ผลการวิเคราะห์ SWOT การดูแลช่วยเหลือนักเรยี น ไดแ้ ก่ 1) ดา้ นการเรยี นรู้ 2) ดา้ นการ
ติดตาม 3) ดา้ นการชว่ ยเหลอื ส่งตอ่ และ 4) ด้านความปลอดภยั ในระดับชัน้ มธั ยมศึกษาตอนต้นและระดับช้นั
มธั ยมศึกษาตอนปลาย ของโรงเรยี นขนาดใหญ่พเิ ศษ สงั กัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามธั ยมศึกษานครสวรรค์
ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 ดงั นี้
ตารางที่ 60 แสดงผลการวิเคราะหก์ ารดูแลชว่ ยเหลอื นักเรียน ไดแ้ ก่ 1) ด้านการเรยี นรู้ 2) ดา้ นการตดิ ตาม
3) ด้านการชว่ ยเหลือส่งต่อ และ 4) ด้านความปลอดภัย ในระดบั ช้ันมัธยมศึกษาตอนต้นและ
ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาตอนปลาย ของโรงเรียนขนาดใหญ่พเิ ศษ สังกดั สำนักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษา
มัธยมศึกษานครสวรรค์
การดแู ล จุดแขง็ จุดอ่อน โอกาส อุปสรรค
ช่วยเหลอื Strength Weakness Opportunity Threat
นกั เรียน
ดา้ นการ ปรับลดการใหก้ ารบา้ น 1.นกั เรยี นบางคนขาด หนว่ ยงานอ่นื เข้ามามี สงิ่ แวดลอ้ มทีบ่ ้าน
เรยี นรู้ และภาระงานของ ความรับผดิ ชอบและ บทบาทช่วยเหลือนักเรยี น ของนักเรยี น
นักเรียนและยดื หยุ่นเร่ือง ระเบียบวินยั ในการเข้า ในดา้ น ไมเ่ อือ้ อำนวยต่อการ
เวลาเรียนโดยใหเ้ วลา เรียน การจดั การเรยี นรู้ เรยี นออนไลน์
เรียนทุกคน 2.การเรียนออนไลนค์ รู การสนบั สนนุ ด้านอปุ กรณ์
ไมส่ ามารถสังเกตหรอื การเรยี น
ควบคุมพฤตกิ รรม
นักเรยี นได้
ด้านการ การตรวจสอบกำกับ ครูประจำวชิ าและ หน่วยงานภายนอกให้ ผูป้ กครองไมม่ เี วลา
ติดตาม ติดตามนกั เรยี นเป็น ครูทป่ี รึกษาบางคร้ัง โอกาสให้การชว่ ยเหลือ ดแู ลนักเรียน เนอ่ื งจาก
รายบคุ คลทง้ั จากครู ตดิ ต่อนักเรียนไมไ่ ด้ใน ติดตามผ่านชอ่ งทาง ทำงาน
ประจำวชิ า เเละครูท่ี บางกรณี ต่าง ๆ
ปรึกษา อย่างใกลช้ ิด
141
ตารางท่ี 60 ต่อ
การดูแล จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส อุปสรรค
ชว่ ยเหลอื Strength Weakness Opportunity Threat
นักเรียน
ครไู มส่ ามารถสังเกต การสนับสนนุ งบประมาณ บคุ ลากรท่ดี แู ลดา้ น
ดา้ นการ มมี าตรการคดั กรองและ ควบคมุ พฤตกิ รรมการ จากหน่วยงานตา่ ง ๆ สขุ ภาวะ และ
เรยี นของนักเรยี นได้ ชว่ ยเหลือนกั เรยี น สุขภาพจติ ยังไม่
ช่วยเหลือ การป้องกนั การแพร่ ทว่ั ถงึ สามารถดูแลนกั เรียน
หน่วยงานอนื่ เขา้ มามี ได้ครอบคลมุ และทั่วถงึ
สง่ ตอ่ ระบาดให้กบั นกั เรยี น 1.นกั เรยี นยังไม่ได้รบั บทบาทในการชว่ ยเหลอื ยงั ขาดแคลนวคั ซนี ท่ี
การฉีดวัคซนี นักเรียน เหมาะสมกบั ช่วงวยั
และมกี ารจัดการอบรม 2.นักเรยี นขาดโอกาสใน และเพศของผเู้ รยี น
การตรวจหาเช้ือ Covid
สำหรบั ครแู นะแนว ทำใหม้ ีความกงั วล
ดา้ นความ โรงเรยี นมมี าตรการดแู ล
ปลอดภัย นักเรยี นด้านความ
ปลอดภยั และมีการสง่ ต่อ
นกั เรยี นทต่ี ดิ Covid เข้า
รบั การรักษา
จากตารางที่ 60 พบวา่ ผลการวเิ คราะห์การดูแลชว่ ยเหลอื นักเรียน ไดแ้ ก่ 1) ดา้ นการเรียนรู้ 2) ด้าน
การติดตาม 3) ด้านการช่วยเหลอื ส่งต่อ และ 4) ด้านความปลอดภยั ในระดบั ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและ
ระดับช้นั มัธยมศึกษาตอนปลาย ของโรงเรยี นขนาดเลก็ ไม่ไดเ้ ป็นสถานท่ีพักคอย สังกัดสำนักงานเขตพืน้ ที่
การศกึ ษามัธยมศึกษานครสวรรค์ มีดังน้ี
1. ด้านการเรียนรู้ จุดแข็งคือปรับลดการให้การบ้านและภาระงานของนักเรียนและยืดหยุ่นเร่ืองเวลา
เรียนโดยให้เวลาเรียนทุกคน จุดอ่อนคือนักเรียนบางคนขาดความรับผิดชอบและระเบียบวินัยในการเข้าเรียน
โอกาสคือหน่วยงานอื่นเข้ามามีบทบาทช่วยเหลือนักเรียนในด้านการจัดการเรียนรู้ การสนับสนุนด้านอุปกรณ์
การเรียน และอุปสรรคคือสิ่งแวดล้อมทบ่ี ้านของนักเรยี นไมเ่ อื้ออำนวยต่อการเรยี นออนไลน์
2. ด้านการติดตาม จุดแข็งคือการตรวจสอบกำกับติดตามนักเรียนเป็นรายบุคคลทั้งจากครูประจำวิชา
เเละครูที่ปรึกษาอย่างใกล้ชิด จุดอ่อนคือครูประจำวชิ าและครูท่ีปรึกษาบางครั้งติดต่อนักเรียนไม่ได้ในบางกรณี
โอกาสคือหน่วยงานภายนอกให้โอกาสให้การช่วยเหลือติดตามผ่านช่องทางต่าง ๆ และอุปสรรค คือ ผู้ปกครอง
ไม่มีเวลาดแู ลนักเรยี น เนื่องจากทำงาน
3. ดา้ นการชว่ ยเหลือและสง่ ต่อ จุดแขง็ คือโรงเรียนมีมาตรการคัดกรองและการป้องกันการแพรร่ ะบาด
ให้กับนักเรียนและมีการจัดการอบรมสำหรบั ครแู นะแนว จุดอ่อนคือครไู ม่สามารถสงั เกตควบคุมพฤติกรรมการ
เรียนของนักเรียนได้ท่ัวถึง โอกาสคือการสนับสนุนงบประมาณจากหน่วยงานต่าง ๆ ช่วยเหลือนักเรียน
และอปุ สรรคคือบคุ ลากรทด่ี แู ลดา้ นสขุ ภาวะ และสุขภาพจติ ยังไมส่ ามารถดแู ลนักเรยี นไดค้ รอบคลมุ และท่วั ถงึ
4. ดา้ นความปลอดภัย จุดแขง็ คือโรงเรยี นมมี าตรการดูแลนกั เรยี นดา้ นความปลอดภัย และมีการส่งต่อ
นักเรียนท่ีติด Covid เข้ารับการรักษา จุดอ่อนคือนักเรียนยังไม่ได้รับการฉีดวัคซีน และนักเรียนขาดโอกาส
142
ในการตรวจหาเช้ือ Covid ทำให้มีความกังวล โอกาสคือหน่วยงานอ่ืนเข้ามามีบทบาทในการช่วยเหลอื นักเรียน
และอปุ สรรคคอื ยงั ขาดแคลนวัคซีนท่เี หมาะสมกับชว่ งวยั และเพศของผ้เู รียน
ตารางท่ี 61 แสดงผลการวิเคราะหแ์ นวทางในการดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรยี น ได้แก่ 1) ด้านการเรยี นรู้ 2) ดา้ นการ
ติดตาม 3) ดา้ นการชว่ ยเหลอื ส่งต่อ และ 4) ดา้ นความปลอดภัย ในระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาตอนตน้
และระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย ของโรงเรียนขนาดใหญ่พเิ ศษสังกดั สำนักงานเขตพ้ืนที่
การศกึ ษามัธยมศกึ ษานครสวรรค์
ระดับ แนวทางการดูแลชว่ ยเหลอื นักเรียน ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019
การศกึ ษา ดา้ นการเรียนรู้ ด้านการตดิ ตาม ด้านการชว่ ยเหลอื สง่ ต่อ ด้านความปลอดภัย
มธั ยมศกึ ษา กำหนดให้มกี าร แจ้งปญั หากับครู 1. ครูท่ีปรกึ ษาสำรวจขอ้ มูลสุขภาพนกั เรยี น มมี าตรการควบคมุ
ตอนตน้ จัดการเรียนการ ทป่ี รกึ ษาผา่ น ต่อเนือ่ ง และดแู ลนักเรียนมีมี
สอนออนไลนผ์ ่าน แบบฟอร์มของ 2. ประสานกบั หน่วยงานใกลบ้ ้านนักเรียน ความเสยี่ งในโรค
ระบบออนไลนใ์ น โรงเรยี น เพอ่ื ให้นักเรียนไดเ้ รยี นออนไลน์ ระบาด และจดั สรร
รูปแบบตา่ ง ๆ เช่น ตลอดเวลา 3. โรงเรียนจดั เตรียมคอมพวิ เตอรแ์ บบ การฉดี วัคซนี ให้กับ
platform Google ประกอบกบั ใช้ พกพา (ipad) ใหน้ กั เรยี นยืมเรยี น ครแู ละนกั เรยี น
Meet, Google การวัดและ 4. ทบทวนบทเรียนหรือดยู อ้ นหลังไดท้ ี่หน้า
Classroom, Line ประเมนิ ผลท่ี เวบ็ ไซตค์ รผู ้สู อน
หลากหลาย 5. ปรับลดการให้การบา้ นโดยการใหบ้ รู ณา
งานระหว่างกลุ่มสาระฯ
6. ยกเว้นเงนิ บำรงุ การศกึ ษา นักเรียนทีม่ ี
ความสามารถพเิ ศษ
7. จดั สรรทุนการศึกษาให้นักเรียนทกุ
ห้องเรียน
8. ยดื หยุน่ เร่อื งเวลาเรยี นโดยใหเ้ วลาเรยี น
ทุกคน
มธั ยมศึกษา กำหนดใหม้ ีการ แจ้งปญั หากับครู 1. ครทู ีป่ รกึ ษาสำรวจข้อมูลสุขภาพนกั เรยี น มีมาตรการควบคมุ
ตอนปลาย จัดการเรียนการ ทีป่ รกึ ษาผ่าน ต่อเนอ่ื ง และดูแลนกั เรยี นมมี ี
สอนออนไลนผ์ ่าน แบบฟอรม์ ของ 2. ประสานกับหน่วยงานใกล้บา้ นนักเรยี น ความเสย่ี งในโรค
ระบบออนไลน์ใน โรงเรยี น เพื่อใหน้ กั เรียนไดเ้ รียนออนไลน์ ระบาด และจดั สรร
รปู แบบต่าง ๆ เชน่ ตลอดเวลา 3. โรงเรยี นจดั เตรยี มคอมพิวเตอรแ์ บบ การฉีดวคั ซนี ใหก้ ับ
platform Google ประกอบกบั ใช้ พกพา (ipad) ใหน้ กั เรยี นยืมเรยี น ครูและนกั เรียน
Meet, Google การวดั และ 4. ทบทวนบทเรียนหรือดูยอ้ นหลังได้ทหี่ นา้
Classroom, Line ประเมินผลท่ี เว็บไซตค์ รผู สู้ อน
หลากหลาย 5. ปรบั ลดการให้การบา้ นโดยการใหบ้ ูรณา
งานระหว่างกลุ่มสาระฯ
143
ตารางที่ 61 ต่อ
ระดับ แนวทางการดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรยี น ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019
การศึกษา ด้านการเรียนรู้ ดา้ นการตดิ ตาม ดา้ นการช่วยเหลอื ส่งตอ่ ด้านความปลอดภัย
มธั ยมศกึ ษา 6. ยกเวน้ เงินบำรุงการศึกษา นักเรียนทมี่ ี
ตอนปลาย ความสามารถพเิ ศษ
7. จัดสรรทุนการศึกษาให้นักเรียนทกุ
หอ้ งเรยี น
8. ยืดหยนุ่ เรอื่ งเวลาเรยี นโดยใหเ้ วลาเรยี น
ทกุ คน
จากตารางที่ 61 พบวา่ ผลการวเิ คราะห์แนวทางในการดูแลชว่ ยเหลือนกั เรียน ในระดับชน้ั มัธยมศึกษา
ตอนต้นและระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนปลายของโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ สังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
มัธยมศึกษานครสวรรค์ ได้แก่ 1) ด้านการเรียนรู้จะมีการกำหนดให้มีการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ผ่าน
ระบบออนไลน์ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น platform Google Meet, Google Classroom, Line 2) ด้านการ
ติดตามมีการแจ้งปัญหากับครูที่ปรึกษาผ่านแบบฟอร์มของโรงเรียนตลอดเวลา ประกอบกับใช้การวัดและ
ประเมินผลท่ีหลากหลาย 3) ดา้ นการชว่ ยเหลือสง่ ตอ่ มีแนวทางคือ 1) ครทู ป่ี รึกษาสำรวจขอ้ มูลสขุ ภาพนักเรยี น
ต่อเน่ือง 2) ประสานกับหน่วยงานใกล้บ้านนักเรียน เพ่ือให้นักเรียนได้เรียนออนไลน์ 3) โรงเรียนจัดเตรียม
คอมพิวเตอร์แบบพกพา (ipad) ให้นักเรียนยืมเรียน 4) ทบทวนบทเรียนหรือดูย้อนหลังได้ที่หน้าเว็บไซต์
ครูผู้สอน 5) ปรับลดการให้การบ้านโดยการให้บูรณางานระหว่างกลุ่มสาระฯ 6) ยกเว้นเงินบำรุงการศึกษา
นักเรียนท่ีมีความสามารถพิเศษ 7) จดั สรรทุนการศึกษาให้นักเรียนทุกห้องเรียน 8) ยืดหยุ่นเรอ่ื งเวลาเรียนโดย
ใหเ้ วลาเรียนทุกคน และ 4) ดา้ นความปลอดภัยมแี นวทางคือจัดมาตรการควบคุมและดูแลนกั เรียนมีความเส่ียง
ในโรคระบาดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 และจดั สรรการฉดี วัคซนี ให้กบั ครแู ละนกั เรียน
5. กรณีศึกษาของโรงเรยี นที่จดั การศึกษาโดดเด่น และโรงเรยี นที่มีปัญหาอุปสรรค โรงเรียนขนาด
ใหญพ่ เิ ศษที่จดั การศึกษาโดดเดน่ ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 ได้แก่
โรงเรยี น Best practice ได้แก่ โรงเรยี นนครสวรรค์
แนวปฏิบัตทิ ี่ดี คือ การสรา้ งนวตั กรรม Platform ระบบการจดั การเรียนออนไลน์โรงเรียนนครสวรรค์
(NSSC Online)
144
1. โรงเรียนสร้าง E-mail ส่วนตัวใหก้ ับนกั เรียน ครูและบุคลากรทุกคนในโรงเรียน ทำให้ครแู ละนักเรียนทกุ คน
ของโรงเรียน ใช้ E-mail ของโรงเรียน เพื่อเข้าถึงบริการออนไลน์ต่างๆ อาทิ Google App, Office 365
รวมถงึ ระบบ WiFi ภายในโรงเรยี น อย่างเปน็ ระบบ สะดวก และมีความปลอดภัย
2. ส ร้ า ง เว็ บ ไซ ต์ ศู น ย์ ก ล า ง (web portal) ส ำ ห รั บ ใช้ ร ว บ ร ว ม ลิ ง ก์ ข อ ง แ ต่ ล ะ ห้ อ ง เรี ย น
(81 ห้องเรียน) ครูและนักเรียน ไม่ต้องจำรหัสเข้าห้องเรียนออนไลน์ นักเรียนรอเรียนท่ีลิงก์เดิม ส่วน
ครูผู้สอนเป็นผู้เปล่ียนลิงก์ห้องท่ีจะเข้าสอนในแต่ละช่ัวโมงเรียน เปรียบเสมือนครูเดินเข้าไปสอนในห้อง
ประจำช้ันของนักเรียน ลดการสูญเสยี เวลาในการเปลย่ี นวชิ าเรยี น
145
3. สรา้ งหนา้ เว็บไซต์สำหรับบันทึกวิดีโอในการสอน เพื่อใหน้ กั เรยี นสามารถเขา้ ไปเรียนซ้ำ เรียนทบทวน
ยอ้ นหลงั ได้
4. การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ผ่าน Google Meet และมีวิธีการวัดประเมินผลหลากหลาย เช่น การใช้
Google Forms มีกิจกรรมทาง Google Classroom รวมทั้งมี Google site ของครูเป็นช่องทางในการ
เรยี นรู้
5. สนับสนุนดา้ นส่อื และอุปกรณ์การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ โดยใช้ Google Apps for Education มี
ระบบสญั ญาณอินเทอร์เน็ตท่ัวถึงทุกจุดภายในโรงเรียน ทุกหอ้ งเรียนมีคอมพิวเตอร์ โปรเจคเตอร์
webcam และ Apple TV และสำหรับนักเรียนท่ีขาดแคลนอปุ กรณ์ โรงเรียนจดั เตรยี ม iPad ใหย้ ืมสำหรับ
เรียนออนไลน์
146
6. มีเจา้ หนา้ ทแี่ ละครผู ู้สอนคอมพิวเตอร์ ช่วยเหลือ/แก้ปัญหาการสอนออนไลน์ และมชี ่องทางรับแจ้งปัญหา
การสอนออนไลน์ สำหรบั ครผู ูส้ อน/นกั เรียน/ผ้ปู กครองนอกจากนีย้ ังสนบั สนนุ อุปกรณก์ ารจัดการเรยี น
สอนสำหรับครผู สู้ อนทุกคน คอมพวิ เตอรต์ ง้ั โต๊ะ 1 ชดุ , iPad 1 เครื่อง, ค่าสญั ญาณอินเตอร์เนต็ คนละ
400 บาท, สาย link, กลอ้ ง Webcam
7. มีการสร้างบุคลากรแกนนำเป็นทีม i-Champion ต้นแบบในการใช้ iPad และแอพพลเิ คชน่ั ในการจดั การ
เรียนการสอนและขยายผลให้กับบคุ ลากรในโรงเรียน
6. ขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบายการบรหิ ารจดั การในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรัส
โคโรนา 2019 ท่ีจะนำมาใช้ในปีการศกึ ษา 2565
6.1 ด้านการจัดทำแผนและนโยบาย
กระทรวงศกึ ษาธิการหรือหน่วยงานตน้ สงั กดั ปรับปรุงแผนพฒั นาการศกึ ษาให้เข้ากับสถานการณ์
6.2 ด้านหลักสูตรและการจัดการเรยี นรู้
หนว่ ยงานต้นสงั กัดควรมกี ารกำหนดการจดั การเรียนการสอนท่ีหลากหลายรูปแบบให้
เหมาะสมกับระดับชนั้ มธั ยมศึกษาพรอ้ มทัง้ มีการพฒั นาอบรมครหู รอื มหี ลักสูตรท่เี หมาะสมกับการเรียนการ
สอนในสถานการณ์ปัจจุบัน
6.3 ด้านเทคโนโลยที างการศึกษา
หนว่ ยงานตน้ สงั กดั มีการพัฒนาส่ือและเทคนิควธิ กี ารต่าง ๆ สำหรบั การสอนแบบออนไลน์ให้
เหมาะสมกับการจัดการเรียนการสอน
6.4 ดา้ นการวัดประเมนิ ผล
หน่วยงานต้นสงั กดั มีการวางแผนการวัดและประเมนิ ผลในการจดั การเรยี นการสอนออนไลน์
ตลอดจนสนบั สนุนให้โรงเรียนมแี นวทางที่แปลกใหม่และมีมาตรฐานทศิ ทางเดียวกัน
6.5 ดา้ นการพฒั นานวัตกรรมการเรยี นรู้
หน่วยงานตน้ สงั กดั สนับสนุนเป็นแกนนำเพอื่ เสนอแนะจัดทำวิจยั พัฒนาการเรียนการสอน วธิ กี าร
รปู แบบสอนให้มีความเหมาะสมกบั สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 เพอ่ื ให้ครู
นำไปพฒั นาการจดั การเรยี นการสอนใหเ้ กดิ ประสิทธิภาพต่อผูเ้ รยี น
6.6 ด้านการดูแลช่วยเหลือนักเรยี น
หนว่ ยงานตน้ สังกัดมีการประสานงานเครอื ขา่ ยต่าง ๆ ในการสนบั สนุนดแู ลช่วยเหลอื นักเรียนประกอบ
กบั มีระบบทชี่ ่วยเหลอื จัดการสำหรับนักเรยี นทีม่ ปี ญั หาในการเข้าเรียนในระบบออนไลน์
147
สรุปผลการวิเคราะหข์ ้อมูล
1. ข้อมูลโรงเรียน สารสนเทศการจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา
2019 ของโรงเรียนในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์ จำนวน 37 โรงเรียน แยกตาม
ขนาดโรงเรยี น และประเภทของโรงเรยี น
ตารางที่ 62 แสดงจำนวนโรงเรยี นสังกดั สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศกึ ษานครสวรรค์ จำแนกตามขนาด
ลักษณะโรงเรยี น และรปู แบบการจัดการเรียนการสอน ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของ
โรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019
ลกั ษณะโรงเรยี น รูปแบบการจดั การเรยี นการสอน
โรงพยา
ท่ี ขนาดโรงเรยี น จำนวน บาล On On On On
Site Air Demand Hand
โรงเรียน โรงเรยี น โรงเรียน สนาม อ่ืนๆ Online
ทั่วไป คณุ ภาพ และ ระบุ
สถานที่
พักคอย
1 โรงเรยี น 18 9 - 9 - 0 2 8 18 18
ขนาดเลก็
2 โรงเรียน 11 8 - 3 - 0 0 6 11 11
ขนาดกลาง
3 โรงเรียน 5 3 1 1-03 5 25
ขนาดใหญ่
4 โรงเรียน 3 3 - - -00 3 13
ขนาดใหญ่
พเิ ศษ
รวม 37 23 1 13 - 0 0 22 32 37
จากตารางที่ 62 พบว่า สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์ มีโรงเรียนในสังกัด
จำนวนทั้งส้ิน 37 โรงเรียน แบ่งเป็นโรงเรียนท่ัวไป 23 โรงเรียน โรงเรียนคุณภาพ 1 โรงเรียน และโรงเรียน
ท่ีเป็นโรงพยาบาลสนามและสถานที่พักคอย 13 โรงเรียน มีการจัดการเรียนการสอนครบทั้ง 4 รูปแบบ ได้แก่
On Hand, Online, On Demand และ On Air
2. ผลการวเิ คราะห์จุดแขง็ จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค การจดั การศกึ ษาในสถานการณก์ ารแพร่
ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 ของโรงเรยี นในสำนักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา
นครสวรรค์
148
สำนกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์ มโี รงเรียนในสังกัด 37 โรงเรยี น แบ่งเปน็ โรงเรียน
ทวั่ ไป 23 โรงเรยี น โรงเรียนคุณภาพ 1 โรงเรียน และโรงเรียนที่เป็นโรงพยาบาลสนามและสถานที่พกั คอย 13
โรงเรียน มีการจัดการเรียนการสอนครบท้ัง 4 รปู แบบ ได้แก่ On Hand, Online, On Demand และ On Air
โรงเรยี นในสำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์ ดำเนินการจดั การศึกษาใน
สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 ช่วงระยะเวลา ปีการศกึ ษา 2564 - สิงหาคม
2564 ดังนี้
ตารางท่ี 63 แสดงผลการวิเคราะห์ SWOT ดา้ นการบริหารจัดการของโรงเรยี นในสำนกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษา
มธั ยมศกึ ษานครสวรรค์ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019
การบรหิ ารจดั การ จุดแขง็ จุดออ่ น โอกาส อุปสรรค
การบริหารจัดการ 1. ครูและบคุ ลากร 1. ครูและบุคลากร การสนับสนุนจาก 1. ขาดแคลน
ดา้ นบคุ ลากร ทางการศึกษามกี าร บางส่วนยังขาด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ใน บุคลากรทมี่ คี วามรู้
(Man) ปรบั กระบวนการ เทคนิคการนำ การพฒั นาครโู ดยการ และประสบการณ์
เรียนรโู้ ดยการยดื หย่นุ เทคโนโลยที ่ี เข้ารบั การอบรม ชว่ ยเหลอื ในดา้ น
ตามสถานการณ์ หลากหลายเขา้ มาใช้ เกี่ยวกบั การจดั การเรยี น สาธารณสขุ จาก
2. มีการอบรมพัฒนา ในการเรียนการสอน การสอนรปู แบบ หนว่ ยงานภายนอก
ครูในเรื่องของการใชส้ ือ่ 2. ครูและบุคลากร ออนไลน์ การใชส้ ื่อ 2. ขาดแคลน
เทคโนโลยเี ขา้ มาชว่ ยใน ปฏิบตั งิ าน เทคโนโลยี บุคลากรทางด้าน
การจดั การเรยี นการ หลากหลาย มีภาระ เทคโนโลยีในการ
สอน งานมาก หรอื จัดการระบบ
บางคร้ังตดิ ภาระงาน เทคโนโลยีของ
พิเศษเรง่ ด่วน ทำให้ โรงเรียน
การสอนไม่เปน็ ไป
ตามแผนท่วี างไว้
การบริหารจดั การ สถานศกึ ษาปรับ 1.บางส่วนขาด ได้รับงบประมาณ ข้ันตอนในการ
ด้านงบประมาณ แผนการใชง้ บประมาณ งบประมาณทไี่ ดร้ บั สนับสนุนจากหนว่ ยงาน ดำเนนิ งานเกยี่ วกับ
(Money) เพอื่ ใช้ในสถานการณ์ การจัดสรรไม่ ภายนอก เชน่ องค์การ การบริหาร
การแพร่ระบาดของโรค เพยี งพอในการ บริหารส่วนตำบล หรือ งบประมาณลา่ ชา้
COVID-19 ได้อยา่ ง บรหิ ารจดั การใน ชุมชนอย่างตอ่ เนอ่ื ง และระเบยี บการ
เหมาะสม สถานการณ์การแพร่ เบกิ จา่ ยไม่เอือ้ ให้กบั
ระบาด การทำงานใน
2.ข้ันตอนการ สถานการณก์ ารแพร่
เบิกจา่ ยงบประมาณ ระบาดของโรคติด
บางอย่างยังไม่
149
ตารางท่ี 63 ตอ่ จดุ แข็ง จุดอ่อน โอกาส อปุ สรรค
เหมาะสมการกบั เช้ือไวรสั โคโรนา
การบริหารจัดการ 1. มกี ารสนับสนุนในด้าน สถานการณ์ เนอ่ื งจาก ไดร้ ับการสนบั สนนุ 2019
การบริหารจดั การ ของอุปกรณ์ และ มกี ารเปลยี่ นรปู แบบ วสั ดุ อปุ กรณ์ ส่ือ
ด้านงบประมาณ สัญญาณอินเทอรเ์ น็ต การดำเนนิ งานเปน็ และส่ิงอำนวยความ ขาดอปุ กรณ์การ
(Money) สำหรับการจัดการเรียน แบบออนไลน์ สะดวก จาก จดั การเรียนการ
การสอนของครู 1. บางส่วนยังขาด หน่วยงานภายนอก สอนท่ที นั สมยั และ
การบรหิ ารจดั การ 2. มกี ารวางแผนเพือ่ อุปกรณ์ท่ีทันสมยั ตอ่ ไมเ่ พียงพอ
ดา้ นสอื่ อุปกรณ์ ชว่ ยเหลอื นกั เรยี น โดย การนำมาใช้ในการ 1.โรงเรยี นมีบริการ
(Material) ระดมทนุ เพือ่ ใช้ในการ จัดการเรียนการสอน ชุมชนุ โดยจดั เป็น 1.นโยบายจากต้น
จัดหาเครอื่ งมือและ 2. สอ่ื อุปกรณ์ ศูนย์พกั คอย ทำให้ สงั กัดมกี าร
การบรหิ ารจดั การ อปุ กรณ์การสือ่ สารใหก้ ับ บางอยา่ งไมส่ ามารถ เกิดการปรับปรงุ ปรบั เปลย่ี น จนอาจ
ดา้ นบริหารจัดการ นักเรยี นทขี่ าดแคลน จัดซ้ือได้ เพราะอาจ สถานท่ี และภูมิ สร้างภาระให้แก่
(Management) 1. มกี ารรายงานผลการ อยูน่ อกเหนอื ระเบยี บ ทศั น์ และมี สถานศึกษา
สอนออนไลนแ์ ละมกี าร การจัดซ้อื จดั จ้าง มาตรการเฝ้าระวัง 2.การวางแผน
นิเทศการสอนจาก อยา่ งเครง่ ครัด รว่ มกันตอ้ งวางแผน
ผบู้ รหิ ารแบบออนไลน์ ดว้ ยสถานการณก์ าร 2.หน่วยงานท้องถนิ่ ผ่านทางส่อื ออนไลน์
2. มีการบริหารจดั การ แพร่ระบาดเชอ้ื โรคโค มกี ารช่วยวางแผนใน และการติดตอ่
กำกับการทำงานผ่าน โรน่า 2019 ไม่ ดา้ นสาธารณสขุ ของ ประสานงานอาจ
ระบบออนไลน์ รวมทง้ั มี สามารถจัดการประชมุ โรงเรยี น คลาดเคลื่อน
การประกาศนโยบายและ ทงั้ องค์กรได้ สง่ ผลทำ
แนวปฏิบตั ิ กำหนดการ ให้การช้แี จงและการ
ปฏบิ ตั ิงาน ใหก้ ับคณะครู ติดตามงาน จะตอ้ งทำ
และบคุ ลาการทาง ผ่านระบบสอ่ื ออนไลน์
การศกึ ษาท่ชี ัดเจน ซงึ่ อาจทำใหเ้ กดิ ความ
3. โรงเรียนได้พฒั นา คลาดเคลือ่ นและขาด
รปู แบบ/โมเดลในการ ประสทิ ธภิ าพในการ
บรหิ ารการศึกษาใน สื่อสารได้
สถานการณก์ ารแพร่
ระบาดของโรคติดเชอ้ื
ไวรสั โคโรนา 2019
150
จากตารางที่ 63 พบว่า ผลการ SWOT ด้านการบริหารจัดการของโรงเรียนในสำนักงานเขตพ้ืนที่
การศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์ ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ทั้ง 4 ด้าน
มีดังน้ี
1. ด้านบุคลากร (Man) จุดแข็ง คือ ครูและบุคลากรทางการศึกษามีการปรับกระบวนการเรียนรู้
โดยการยืดหยุ่นตามสถานการณ์ และมีการอบรมพัฒนาครูในเรื่องของการใช้ส่ือเทคโนโลยีเข้ามาช่วย
ในการจัดการเรียนการสอน จุดอ่อน คือ ครูและบุคลากรบางสว่ นยังขาดเทคนิคการนำเทคโนโลยีท่หี ลากหลาย
เข้ามาใช้ในการเรียนการสอน และ ครูและบุคลากรปฏิบัติงานหลากหลาย มีภาระงานมาก หรือ บางคร้ังติด
ภาระงานพิเศษเร่งด่วน ทำให้การสอนไม่เป็นไปตามแผนท่ีวางไว้ โอกาส คือ การสนับสนุนจากหน่วยงานที่
เก่ียวข้อง ในการพัฒนาครโู ดยการเข้ารับการอบรมเก่ียวกับการจัดการเรยี นการสอนรูปแบบออนไลน์ การใช้สื่อ
เทคโนโลยีอุปสรรค คือ ขาดแคลนบุคลากรที่มีความรู้และประสบการณ์ช่วยเหลือในด้านสาธารณสุข
จากหนว่ ยงานภายนอก และขาดแคลนบุคลากรทางดา้ นเทคโนโลยใี นการจดั การระบบเทคโนโลยขี องโรงเรยี น
2. ด้านงบประมาณ (Money) จุดแข็ง คือ สถานศึกษาปรับแผนการใช้งบประมาณเพ่ือใช้ใน
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค COVID-19 ได้อย่างเหมาะสม จุดอ่อน คือ ขาดงบประมาณท่ีได้รับ
จัดสรรไม่เพียงพอในการบริหารจัดการในสถานการณ์การแพร่ระบาด และข้ันตอนการเบิกจ่ายงบประมาณ
บางอย่างยังไม่เหมาะสมการกับสถานการณ์ เนื่องจากมีการเปลี่ยนรูปแบบการดำเนินงานเป็นแบบออนไลน์
โอกาส คือ ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากหน่วยงานภายนอก เช่น องค์การบริหารส่วนตำบล หรือ ชุมชน
อย่างต่อเน่ืองอุปสรรค คือ ข้ันตอนในการดำเนินงานเก่ียวกับการบริหารงบประมาณล่าช้า และระเบียบ
การเบิกจ่ายไมเ่ อือ้ ใหก้ บั การทำงานในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019
3. ด้านบริหารจัดการด้านส่ือ อุปกรณ์ (Material) จุดแข็ง คือ มีการสนับสนุนในด้านของอุปกรณ์
และสัญญาณอินเทอร์เน็ตสำหรับการจัดการเรียนการสอนของครู และมีการวางแผนเพ่ือช่วยเหลือนักเรียน
โดยระดมทุนเพื่อใช้ในการจัดหาเครื่องมือและอุปกรณ์การสื่อสารให้กับนักเรียนท่ีขาดแคลน จุดอ่อน คือ
บางส่วนยังขาดอุปกรณ์ที่ทันสมัยต่อการนำมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน และส่ืออุปกรณ์บางอย่าง
ไม่สามารถจัดซื้อได้ เพราะอาจอยู่นอกเหนือระเบียบการจัดซื้อจัดจ้าง โอกาส คือ ได้รับการสนับสนุนวัสดุ
อุปกรณ์ สื่อ และส่ิงอำนวยความสะดวก จากหน่วยงานภายนอก อุปสรรค คือ ขาดอุปกรณ์การจัดการเรียน
การสอนทที่ ันสมยั และไม่เพยี งพอ
4. การบริหารจัดการด้านบริหารจัดการ (Management) จุดแข็ง คือ มีการรายงานผลการสอน
ออนไลน์และมีการนิเทศการสอนจากผู้บริหารแบบออนไลน์ และมีการบริหารจัดการ กำกับการทำงาน
ผ่านระบบออนไลน์ รวมท้ังมีการประกาศนโยบายและแนวปฏิบัติ กำหนดการปฏิบัติงาน ให้กับคณะครู
และบุคลาการทางการศึกษาท่ีชัดเจน และโรงเรียนได้พัฒนารูปแบบ/โมเดลในการบริหารการศึกษา
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019จุดอ่อน คือ ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาด
เชื้อโรคโคโรน่า 2019 ไม่สามารถจัดการประชุมทั้งองค์กรได้ ส่งผลทำให้การชี้แจงและการติดตามงาน
จะต้องทำผ่านระบบส่ือออนไลน์ ซ่ึงอาจทำให้เกิดความคลาดเคล่ือนและขาดประสิทธิภาพในการส่ือสารได้
151
โอกาส คือ โรงเรียนมีบริการชุมชุนโดยจัดเป็นศูนย์พักคอย ทำให้เกิดการปรับปรุงสถานที่ แล ะภูมิทัศน์
และมีมาตรการเฝ้าระวังอย่างเคร่งครัดอีกทั้งหน่วยงานท้องถิ่น มีการช่วยวางแผนในด้านสาธารณสุข
ของโรงเรียน อุปสรรค คือ นโยบายจากต้นสังกัดมีการปรับเปล่ียน จนอาจสร้างภาระให้แก่สถานศึกษา
และการวางแผนร่วมกันตอ้ งวางแผนผา่ นทางสอื่ ออนไลน์ และการติดต่อประสานงานอาจคลาดเคล่ือน
3. ผลการวเิ คราะห์ SWOT ด้านการจดั การเรียนร้แู ต่ละรปู แบบ ของโรงเรียนในสำนกั งานเขตพน้ื ท่ี
การศึกษามธั ยมศึกษานครสวรรค์ ดงั น้ี
ตารางท่ี 64 แสดงรปู แบบการจดั การเรียนแบบ On Site โรงเรียนในสำนกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษามัธยมศกึ ษา
นครสวรรค์
ระดับ จุดแขง็ จุดอ่อน โอกาส อุปสรรค
การศึกษา Strength Weakness Opportunity Threat
มัธยมศกึ ษา ไมม่ ี ไมม่ ี ไม่มี ไม่มี
ตอนตน้
มธั ยมศึกษา ไมม่ ี ไม่มี ไมม่ ี ไม่มี
ตอนปลาย
จากตารางที่ 64 พบว่า โรงเรียนในสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์ ไม่มีการ
จดั การเรียนการสอนแบบ On Site
ตารางท่ี 65 แสดงรปู แบบการจดั การเรียนแบบ On Air โรงเรยี นในสำนักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษา
นครสวรรค์
ระดับ จดุ แขง็ จุดออ่ น โอกาส อปุ สรรค
การศึกษา Strength Weakness Opportunity Threat
มัธยมศึกษา นักเรียนสามารถเรียนรู้ นกั เรียนบางสว่ นไม่ นกั เรยี นตดิ ตามย้อนหลัง สัญญานดาวเทยี มไม่
ตอนตน้ ผา่ นส่ือการสอนท่ี สามารถเข้าถึงเอกสาร ได้ตามตาราง DLTV ที่ เสถยี รของชมุ ชน
ถ่ายทอดผ่านดาวเทียม ประการเรยี นการสอน กำหนด
ได้
มธั ยมศึกษา นักเรียนสามารถเรยี นรู้ นักเรียนบางสว่ นไม่ นักเรยี นตดิ ตามยอ้ นหลงั สญั ญานดาวเทยี มไม่
ตอนปลาย ผ่านส่อื การสอนท่ี สามารถเขา้ ถงึ เอกสาร ไดต้ ามตาราง DLTV ที่ เสถียรของชุมชน
ถา่ ยทอดผา่ นดาวเทยี ม ประการเรยี นการสอน กำหนด
ได้
152
จากตารางท่ี 65 พบว่า โรงเรียนในสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์ มีการจัด
การเรียนการสอนแบบ On Air ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เม่ือทำการ
SWOT พบว่า จุดแข็ง คือ นักเรียนสามารถเรียนรู้ผ่านสื่อการสอนที่ถ่ายทอดผ่านดาวเทียม จุดอ่อน คือ
นักเรียนบางส่วนไม่สามารถเข้าถึงเอกสารประการเรียนการสอนได้ โอกาส คือ พันักเรียนติดตามย้อนหลังได้
ตามตาราง DLTV ทก่ี ำหนด อุปสรรค คอื สญั ญานดาวเทียมไมเ่ สถยี รของชมุ ชน
ตารางท่ี 66 แสดงรูปแบบการจดั การเรยี นแบบ On Demand โรงเรยี นในสำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษา
มัธยมศึกษานครสวรรค์
ระดับ จุดแข็ง จดุ อ่อน โอกาส อปุ สรรค
การศึกษา Strength Weakness Opportunity Threat
มัธยมศึกษา 1. ครูผูส้ อนมกี ารพฒั นา 1. นกั เรยี นบางสว่ นขาด ไดร้ ับการสนบั สนนุ และ ปัญหาสภาพครอบครวั
ตอนต้น และผลิตสอื่ การสอนได้ ความพร้อมดา้ นอุปกรณ์ การเขา้ ถึงสิทธติ า่ งๆ เช่น ด้านทนุ ทรพั ยใ์ นการ
อย่างหลากหลายตาม และความพร้อมเกย่ี วกับ การใช้อเี มลล์ของ OBEC จดั หาอปุ กรณ์ของ
มธั ยมศกึ ษา ความถนดั การใช้แอพพลิเคชั่น จึง เพื่อรบั สิทธกิ ารเขา้ ถึงการ นกั เรียน
ตอนปลาย 2. ผ้เู รียนสามารถเขา้ ใชง้ านได้ไม่เต็มที่ ผลิตส่อื ฯในเวป็ ไซต์ เป็น
เรยี นตามความสะดวก 2. นกั เรยี นยงั ขาดความ ต้น ปัญหาสภาพครอบครัว
และสามารถทบทวน สนใจในการเรยี น ดา้ นทุนทรพั ย์ในการ
บทเรยี นไดต้ ลอดเวลา ได้รับการสนบั สนุนและ จดั หาอปุ กรณข์ อง
คณุ ครสู ามารถตรวจสอบ 1. นักเรยี นบางสว่ นขาด การเขา้ ถงึ สทิ ธติ า่ งๆ เช่น นกั เรียน
ความถูกต้องของการสอน ความพรอ้ มดา้ นอุปกรณ์ การใช้อีเมลล์ของ OBEC
ได้ และความพรอ้ มเกี่ยวกบั เพ่อื รับสิทธกิ ารเข้าถึงการ
1. ครูผสู้ อนมีการพัฒนา การใชแ้ อพพลเิ คช่ัน จงึ ผลิตสอ่ื ฯในเวป็ ไซต์ เปน็
และผลิตสือ่ การสอนได้ ใชง้ านไดไ้ ม่เตม็ ท่ี ต้น
อยา่ งหลาก 2. นักเรียนยงั ขาดความ
หลายตามความถนดั สนใจในการเรยี น
2. ผ้เู รียนสามารถเข้า
เรียนตามความสะดวกและ
สามารถทบทวนบทเรยี นได้
ตลอดเวลา คณุ ครสู ามารถ
ตรวจสอบความถกู ต้องของ
การสอนได้
153
จากตารางที่ 66 พบว่า โรงเรียนในสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์ มีการจัด
การเรียนการสอนแบบ On Demand ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เมื่อทำ
การ SWOT พบว่า จุดแข็ง คือ ครูผู้สอนมีการพัฒนาและผลิตสื่อการสอนได้อย่างหลากหลายตามความถนัด
ผเู้ รียนสามารถเข้าเรียนตามความสะดวกและสามารถทบทวนบทเรียนได้ตลอดเวลา คุณครูสามารถตรวจสอบ
ความถูกต้องของการสอนได้ จุดอ่อน คือ นักเรียนบางส่วนขาดความพร้อมด้านอุปกรณ์ และความพร้อม
เกี่ยวกับการใช้แอพพลิเคชั่น จึงใช้งานได้ไม่เต็มที่ และนักเรียนยังขาดความสนใจในการเรียน โอกาส คือ
ได้รับการสนับสนุนและการเข้าถึงสิทธิต่างๆ เช่น การใช้อีเมลของ OBEC เพื่อรับสิทธิการเข้าถึงการผลิตสื่อฯ
ในเวป็ ไซต์ เป็นต้น อปุ สรรค คือ ปญั หาสภาพครอบครัวดา้ นทนุ ทรพั ย์ในการจดั หาอปุ กรณ์ของนกั เรียน
ตารางท่ี 67 แสดงรูปแบบการจัดการเรยี นแบบ On Hand โรงเรียนในสำนักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษา
มธั ยมศกึ ษานครสวรรค์
ระดบั จดุ แข็ง จุดอ่อน โอกาส อปุ สรรค
การศกึ ษา Strength Weakness Opportunity Threat
มธั ยมศึกษา 1.นักเรียนให้ความรว่ มมอื ใน 1.ตอ้ งมกี ารพบกันระหวา่ ง ชุมชนได้มสี ว่ นรว่ มใน ระยะทางของบ้าน
ตอนตน้ การมารับใบงานหรือเอกสาร ครแู ละนักเรยี นหรือ การดำเนนิ การเพื่อ นักเรียน ไม่สามารถ
เปน็ อย่างดี ผู้ปกครอง อาจเสยี่ งตอ่ ติดตามการเรียน และ เดินทางมารับใบงาน
2. ครูมีหนงั สือ เอกสาร การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ การแจกใบงาน On ได้ ครตู ้องเสียเวลา
ใบงาน ให้นกั เรยี นสำหรบั ใช้ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 ได้ Hand และเสียค่าใชจ้ า่ ยใน
ในการเรียนการสอน 2.เมอ่ื นกั เรียนเกิดข้อสงสัย การเอาใบงานไปให้
ครบถว้ น หรือไมเ่ ข้าใจในบทเรยี น นกั เรยี น
จะไมส่ ามารถสอบถามครู
ได้ในทนั ที ครูตดิ ตามงาน
จากนักเรียนไดค้ อ่ นข้าง
ยาก เนอ่ื งจากไม่มโี อกาส
ได้ไปพบนักเรียน
มัธยมศกึ ษา โรงเรียนไดจ้ ัดสง่ เอกสาร ไม่มี เพ่ิมโอกาสทางการ สิ้นเปลืองงบประมาณ
ตอนปลาย ประกอบการเรียนในรายวชิ า เรยี นรใู้ ห้กับนักเรยี น ค่าใช้จ่ายในการจดั สง่
เพมิ่ เตมิ เช่น วชิ าเคมี วิชา ที่มอี ุปกรณไ์ ม่พรอ้ ม เอกสาร
ฟิสิกส์ และวชิ าคณิตศาสตร์ และรายวชิ าท่มี ี
ใหก้ บั นักเรยี น ทำให้นกั เรยี น ความสำคญั ใน
มโี อกาสในการเรยี นรูไ้ ดด้ ีขึน้ การศกึ ษาตอ่ ในระดบั
และการจดั การเรยี นการสอน มหาวิทยาลยั
มปี ระสิทธิภาพมากยงิ่ ขึ้น
154
จากตารางที่ 67 พบว่า โรงเรียนในสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์ มีการจัดการ
เรียนการสอนแบบ On Hand ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เม่ือทำการ
SWOT พบว่า จุดแข็ง คือ โรงเรียนได้จัดส่งเอกสารประกอบการเรียนในรายวิชาเพ่ิมเติม เช่น วิชาเคมี
วิชาฟิสิกส์ และวิชาคณิตศาสตร์ ให้กับนักเรียน ทำให้นักเรียนมีโอกาสในการเรียนรู้ได้ดีขึ้น และการจัด
การเรยี นการสอนมีประสิทธภิ าพมากย่ิงข้ึน นักเรียนให้ความร่วมมือในการมารบั ใบงานหรือเอกสารเป็นอย่างดี
และครูมีหนังสือ เอกสาร ใบงาน ให้นักเรียนสำหรับใช้ในการเรียนการสอนครบถ้วน จุดอ่อน คือ มีการพบกัน
ระหว่างครูและนักเรียนหรือผู้ปกครอง อาจเส่ียงต่อการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ได้
และเม่ือนักเรียนเกิดข้อสงสัยหรือไม่เข้าใจในบทเรียน จะไม่สามารถสอบถามครูได้ในทันที ครูติดตามงาน
จากนกั เรยี นได้ค่อนขา้ งยาก เน่ืองจากไม่มีโอกาสได้ไปพบนักเรียน โอกาส คือ เพ่ิมโอกาสทางการเรยี นรใู้ ห้กับ
นักเรียนท่ีมีอุปกรณ์ไม่พร้อมและรายวิชาท่ีมีความสำคัญในการศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย ชุมชนได้มี
ส่วนร่วมในการดำเนินการเพ่ือติดตามการเรียน และการแจกใบงาน On Hand อุปสรรค คือ การมารับ
เอกสาร On Hand ที่โรงเรียนทำให้เกิดโอกาสเสี่ยงในการเกิดการแพร่ระบาดของเช้ือโรค และระยะทางของ
บา้ นนกั เรยี น ไม่สามารถเดนิ ทางมารบั ใบงานได้ และส้ินเปลืองงบประมาณค่าใช้จ่ายในการจัดสง่ เอกสาร
ตารางที่ 68 แสดงรปู แบบการจัดการเรียนแบบ Onlineโรงเรียนในสำนกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษามัธยมศึกษา
นครสวรรค์
ระดับ จดุ แข็ง จดุ อ่อน โอกาส อุปสรรค
การศกึ ษา Strength Weakness Opportunity Threat
มธั ยมศึกษา 1.ครแู ละนกั เรียนได้ 1. โรงเรียนยังไม่ได้ 1.นักเรียนได้รับการ ผ้ปู กครองมีภาระ
ตอนต้น เรยี นรแู้ ละปรบั ตวั กำหนด platform สนับสนนุ ดา้ นทนุ ทรพั ยใ์ น ค่าใชจ้ ่ายในการซอ้ื
เกยี่ วกบั กระบวนการ เดียวกนั ให้นกั เรยี น การเรยี นออนไลน์ และ อปุ กรณ์และสญั ญาณ
จัดการเรียนการสอนแบบ และครไู ด้ใช้ในการ ได้รบั ความชว่ ยเหลือจาก อินเทอเนต็ ในการเรยี น
ออนไลนโ์ ดยการใช้ จดั การเรยี นการสอน ทุกภาคสว่ นเชน่ อบต. ออนไลน์
เทคโนโลยี เพื่อลดความสบั สนใน เป็นตน้
2. โรงเรียนจดั ทำคมู่ อื การ การเข้าเรยี น 2. ครูไดส้ รา้ งทักษะใหมท่ ี่
จดั การเรยี นการสอน 2.คุณภาพสัญญาณและ จำเปน็ ในการทำงาน และ
ออนไลน์ในสถานการณ์ อปุ กรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกส์ มีการพฒั นาเพ่อื ยกระดบั
การแพร่ระบาดของโรค ของนกั เรยี นไมร่ องรับ ทักษะเดิมใหด้ ีขึ้นเพอ่ื
ตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา บางโปรแกรม/ สง่ เสรมิ การจดั การเรียน
3. โรงเรยี นทำการจัดการ แอพพลิเคชน่ั ทำให้ การสอน
เรียนการสอนในรปู แบบ นกั เรยี นบางคนไม่ 3. มกี ารระดมทรัพยากร
Onlineผา่ นทาง Line , สามารถเข้าถงึ การ จากหน่วยงานภายนอกมา
Google Meet และ จดั การเรียนรู้ได้ ชว่ ยในการจัดการศึกษา
Zoom
155
ตารางท่ี 68 ต่อ
ระดบั จดุ แข็ง จดุ อ่อน โอกาส อปุ สรรค
Weakness Opportunity Threat
การศึกษา Strength 3. พฤตกิ รรมการเรยี น
ของนกั เรียนท่ีไมเ่ ปดิ 1. นักเรียนไดร้ บั การ ผปู้ กครองมภี าระ
4. ครแู ละนักเรียนมี กล้อง และไมม่ ี สนบั สนนุ ดา้ นทุนทรพั ย์ใน ค่าใชจ้ า่ ยในการซ้ือ
ปฏิสัมพันธ์กับครูผสู้ อน การเรยี นออนไลน์ และ อุปกรณแ์ ละสญั ญาณ
ทักษะในการใชเ้ ทคโนโลยี 4. ครูผ้สู อนไมส่ ามารถ ไดร้ ับความช่วยเหลอื จาก อินเทอร์เนต็ ในการเรยี น
ตรวจสอบความรู้ความ ทกุ ภาคสว่ นเช่น อบต. ออนไลน์
เพมิ่ มากขนึ้ เขา้ ใจของนกั เรียนได้ เปน็ ต้น
ในขณะเรยี นออนไลน์ 2. ครูไดส้ รา้ งทกั ษะใหม่ที่
มธั ยมศึกษา 1.ครูและนักเรยี นได้ 5. โรงเรยี น ครูนักเรยี น จำเป็นในการทำงาน และ
ตอนปลาย เรียนรู้และปรบั ตัว และผปู้ กครองไม่ มีการพัฒนาเพือ่ ยกระดบั
เกย่ี วกับกระบวนการ ตระหนกั และให้ ทกั ษะเดมิ ให้ดขี น้ึ เพอื่
จดั การเรยี นการสอนแบบ ความสำคญั ในการเรยี น ส่งเสริมการจดั การเรยี น
ออนไลนโ์ ดยการใช้ การสอนออนไลน์ การสอน
เทคโนโลยี 6. นกั เรียนขาดระเบียบ
2. โรงเรียนจดั ทำคู่มอื การ วนิ ยั ในการเรยี น
จดั การเรยี นการสอน ออนไลน์
ออนไลน์ในสถานการณ์ 7. การจัดการเรียนการ
การแพร่ระบาดของโรค สอนในรายวชิ าทเี่ นน้
ตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา ทกั ษะกระบวนการไม่
สามารถจัดกจิ กรรมและ
วัดผลประเมนิ ผลได้
อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ
1. โรงเรียนยงั ไมไ่ ด้
กำหนด platform
เดยี วกนั ใหน้ กั เรยี น
และครไู ดใ้ ชใ้ นการ
จดั การเรยี นการสอน
เพ่อื ลดความสบั สนใน
การเขา้ เรียน
2.คุณภาพสัญญาณและ
อุปกรณอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์
ของนกั เรียนไมร่ องรบั
บางโปรแกรม/
156
ตารางที่ 68 ต่อ
ระดับ จุดแข็ง จุดออ่ น โอกาส อปุ สรรค
Threat
การศกึ ษา Strength Weakness Opportunity
มธั ยมศกึ ษา 3. โรงเรียนทำการจดั การ แอพพลเิ คช่ันทำให้ 3. มีการระดมทรพั ยากร
ตอนปลาย เรยี นการสอนในรปู แบบ นักเรยี นบางคนไม่ จากหน่วยงานภายนอกมา
Onlineผา่ นทาง Line , สามารถเข้าถงึ การ ชว่ ยในการจดั การศกึ ษา
Google Meet และ จัดการเรยี นรไู้ ด้
Zoom 3. พฤตกิ รรมการเรยี น
4. ครแู ละนักเรียนมี ของนกั เรยี นที่ไม่เปดิ
ทักษะในการใชเ้ ทคโนโลยี กลอ้ ง และไมม่ ี
เพ่ิมมากขนึ้ ปฏสิ มั พนั ธ์กับครผู สู้ อน
4. ครูผสู้ อนไมส่ ามารถ
ตรวจสอบความรู้ความ
เข้าใจของนักเรียนได้
ในขณะเรยี นออนไลน์
5. โรงเรียน ครนู กั เรียน
และผปู้ กครองไม่
ตระหนักและให้
ความสำคญั ในการเรียน
การสอนออนไลน์
6. นกั เรยี นขาด
ระเบียบวนิ ยั ในการ
เรยี นออนไลน์
7. การจดั การเรยี นการ
สอนในรายวิชาที่เนน้
ทักษะกระบวนการไม่
สามารถจัดกิจกรรมและ
วัดผลประเมนิ ผลได้
อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
8. การจัดการเรียนการ
สอนออนไลน์ ยงั ไม่
สามารถดำเนินการใน
กจิ กรรมเสรมิ หลกั สตู รท่ี
สง่ ผลต่อการศึกษาต่อใน
ระดบั มหาวิทยาลยั
157
จากตารางที่ 68 พบว่า โรงเรียนในสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์ มีการจัด
การเรียนการสอนแบบ Onlineในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เม่ือทำการ
SWOT พบว่า จุดแข็ง คือ ครูและนักเรียนมีทักษะในการใช้เทคโนโลยีเพ่ิมมากขึ้น ครูและนักเรียนได้เรียนรู้
และปรับตัวเกี่ยวกับกระบวนการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์โดยการใช้เทคโนโลยี โรงเรียนจัดทำคู่มือ
การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา และโรงเรียน
ทำการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบ Onlineผ่านทางLine , Google Meet และ Zoom จุดอ่อน คือ
โรงเรียนยังไม่ได้กำหนด platform เดียวกัน ให้นักเรียนและครูได้ใช้ในการจัดการเรียนการสอน
เพื่อลดความสบั สนในการเข้าเรียน การให้โอกาสครูผู้สอนเลือกช่องทางในการจดั การเรียนการสอนเอง อาจทำ
ให้นักเรียนเกิดความสับสน พฤติกรรมการเรียนของนักเรียนที่ไม่เปิดกล้อง และไม่มีปฏิสัมพันธ์กับครูผู้สอน
ครูผู้สอนไม่สามารถตรวจสอบความรู้ความเข้าใจของนักเรียนได้ในขณะเรียนออนไลน์โรงเรียน ครูนักเรียน
และผู้ปกครองไม่ตระหนักและให้ความสำคัญในการเรียนการสอนออนไลน์ นักเรียนขาดระเบียบวินัย
ในการเรียนออนไลน์ การจัดการเรียนการสอนในรายวิชาท่ีเน้นทักษะกระบวนการไม่สามารถจัดกิจกรรม
และวัดผลประเมินผลได้อย่างมีประสิทธิภาพ การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ ยังไม่สามารถดำเนินการ
ในกิจกรรมเสริมหลักสูตรท่ีส่งผลต่อการศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย และคุณภาพสัญญาณและ
อุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์ของนักเรยี นไม่รองรับบางโปรแกรม/แอพพลเิ คชั่นทำใหน้ ักเรยี นบางคนไม่สามารถเข้าถึง
การจัดการเรียนรู้ได้ โอกาส คือ ครูได้สร้างทักษะใหม่ท่ีจำเป็นในการทำงาน และมีการพัฒนาเพื่อยกระดับ
ทักษะเดิมให้ดีขึ้นเพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนการสอน มีการระดมทรัพยากรจากหน่วยงานภายนอกมาช่วย
ในการจัดการศึกษานักเรียนได้รับการสนับสนุนด้านทุนทรัพย์ในการเรียนออนไลน์ และได้รับความช่วยเหลือ
จากทุกภาคส่วนเช่น อบต. อุปสรรค คือ ผู้ปกครองมีภาระค่าใชจ้ ่ายในการซื้ออุปกรณ์และสัญญาณอินเทอเน็ต
ในการเรยี นออนไลน์
ตารางที่ 69 แสดงแนวทางการจดั การศึกษาของโรงเรยี นในสังกัดสำนกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษามธั ยมศึกษา
นครสวรรค์ จำแนกตามรปู แบบการจดั การเรียนรใู้ นสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้อื
ไวรัสโคโรนา 2019
ระดบั รูปแบบการจดั การเรียนรู้
การศึกษา
On Site On Air On Hand On Demand Online
มัธยม ไมม่ ีการ มกี ระบวน 1. จัดการศกึ ษาอยา่ ง
ศึกษา จัดการ การ กำกบั 1. จัดการศึกษาอย่าง 1.โรงเรียนบนั ทึกคลปิ สอดคล้องกบั หลกั สตู ร
ตอนต้น เรยี น ติดตาม ครบถ้วน เนน้ สงิ่ ท่ีต้องรู้
การสอน การ สอดคล้องกับหลกั สตู ร วิดโี อการสอนในรูปแบบ อย่างชดั เจน
จดั การ 2. ออกแบบกิจกรรมการ
เรยี นการ ครอบคลมุ ครบถว้ น ออนไลนใ์ หน้ กั เรยี น เรยี นร้อู ยา่ งสรา้ งสรรค์ เนน้
สอน ตาม เปน็ แบบ Active Learning
บริบทของ เนน้ สง่ิ ท่ตี ้องร้อู ย่าง สามารถเขา้ ไปเรยี น
ชัดเจน ยอ้ นหลังได้
2. เลือกสาระการ 2. ครผู ลติ หรือจดั หา
เรียนรู้ และตัวชว้ี ัดมา คลิปการสอนเพอื่ ให้
ออกแบบกจิ กรรมการ นักเรียนเข้าไปศึกษ
158
ตารางท่ี 69 ต่อ
ระดับ รูปแบบการจดั การเรยี นรู้
การศึกษา
มธั ยมศกึ ษา On On Air On Hand On Demand Online
ตอนตน้
Site
มธั ยมศึกษา
ตอนปลาย โรงเรียน เรียนรู้ใหน้ กั เรยี นได้ คน้ ควา้ เพิม่ เตมิ เพอื่ ให้ 3.จดั การเรียนรู้
และสภาพ เรยี นรดู้ ้วยตนเอง นกั เรยี นศึกษาย้อนหลัง ตามตารางสอนผา่ น
ความ 3. จดั ปฏทิ นิ ได้ Google Meet
เปน็ อยู่ กำหนดการ เวลา และ 3. จดั การศกึ ษาอย่าง Google Classroom
ของ สถานท่ี ในการรับสง่ สอดคลอ้ งกบั หลักสตู ร Line group
นักเรยี น เอกสาร อยา่ งเป็น อย่างครบถว้ น เน้นส่ิงท่ี และ Facebook
ระบบ ต้องรอู้ ย่างชัดเจน 4. ปรับตารางสอนให้
4. มรี ูปแบบ/โมเดลใน 4. เลอื กสอื่ /นวตั กรรมท่ี เหมาะสมเพ่ือลด
การส่งต่อความรใู้ ห้กบั สอดคล้องกบั การใช้การ ความเครยี ด และลดการใช้
นกั เรยี นท่ขี าดโอกาส เรยี นรจู้ ากการเรียน On อุปกรณ์การเรียนออนไลน์
ในการเข้าถงึ การ Demand ของผ้เู รยี น
จดั การการสอนใน 5.นำคลิปการสอนและ
รูปแบบอ่นื ๆ ใบงานตา่ ง ๆ ไปแขวนไว้
ใน Google
Classroom เพ่ือให้
นกั เรียนได้ศกึ ษาความรู้
ย้อนหลัง
ไมม่ ีการ มีกระบวน 1. จัดการศกึ ษาอยา่ ง 1.โรงเรียนบันทกึ คลิป 1. จัดการศกึ ษาอยา่ ง
จัด การ กำกบั สอดคลอ้ งกับหลักสตู ร วดิ ีโอการสอนในรูปแบบ สอดคลอ้ งกบั หลกั สตู ร
การ ตดิ ตาม ครอบ ออนไลน์ใหน้ ักเรยี น ครบถว้ น เน้นสง่ิ ท่ตี ้องรู้
เรียน การ คลมุ ครบถ้วน เนน้ ส่งิ สามารถเขา้ ไปเรยี น อย่างชดั เจน
การสอน จดั การ ที่ตอ้ งรูอ้ ย่างชัดเจน ยอ้ นหลงั ได้ 2. ออกแบบกิจกรรมการ
เรยี นการ 2. เลือกสาระการ 2. ครผู ลติ หรอื จดั หา เรียนรู้อยา่ งสร้างสรรค์ เนน้
สอน ตาม เรียนรู้ และตวั ช้ีวัดมา คลิปการสอนเพอ่ื ให้ เป็นแบบ Active Learning
บริบทของ ออกแบบกจิ กรรมการ นกั เรยี นเข้าไปศึกษา 3.จดั การเรยี นรู้
โรงเรยี น เรยี นรู้ใหน้ กั เรียนได้ คน้ คว้าเพิ่มเติมเพือ่ ให้ ตามตารางสอนผา่ น
และสภาพ เรียนรดู้ ว้ ยตนเอง นักเรยี นศกึ ษายอ้ นหลัง Google Meet
ความ 3. จดั ปฏทิ นิ ได้ Google Classroom
เปน็ อยู่ กำหนดการ เวลา และ 3. จัดการศกึ ษาอย่าง Line group
ของ สถานที่ ในการรับส่ง สอดคล้องกับหลกั สตู ร และ Facebook
นกั เรียน เอกสาร อยา่ งเป็น อย่างครบถ้วน เนน้ สิง่ ท่ี 4. ปรบั ตารางสอนให้
ระบบ ต้องรูอ้ ย่างชัดเจน เหมาะสมเพือ่ ลด
159
ระดบั รูปแบบการจดั การเรยี นรู้
การศกึ ษา
On On Air On Hand On Demand Online
มัธยมศึกษา Site
ตอนปลาย
4. มีรูปแบบ/โมเดลใน 4. เลอื กส่ือ/นวตั กรรมที่ ความเครยี ด และลดการใช้
การสง่ ตอ่ ความรูใ้ หก้ ับ สอดคล้องกับการใช้การ อปุ กรณ์การเรยี นออนไลน์
นักเรยี นท่ขี าดโอกาส เรียนรจู้ ากการเรยี น On ของผูเ้ รียน
ในการเขา้ ถึงการ Demand
จดั การการสอนใน 5.นำคลปิ การสอนและ
รูปแบบอ่ืน ๆ ใบงานต่าง ๆ ไปแขวนไว้
ใน Google
Classroom เพอื่ ให้
นักเรยี นไดศ้ ึกษาความรู้
ย้อนหลงั
ตารางที่ 69 ต่อ
จากตารางที่ 69 พบว่า แนวทางการจัดการศึกษาของโรงเรียน ในสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
มัธยมศึกษานครสวรรค์ จำแนกตามรปู แบบการจัดการเรียนรู้ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรัส
โคโรนา 2019 สามารถจัดได้ 4 รูปแบบคอื On Air ใหม้ ีกระบวนการ กำกับ ติดตาม การจัดการเรียนการสอน
ตามบริบทของโรงเรียน และสภาพความเป็นอยู่ของนักเรียน On Hand โดยจัดการศึกษาอย่างสอดคล้องกับ
หลักสูตร ครอบคลุม ครบถ้วน เน้นส่ิงท่ีต้องรู้อย่างชัดเจนเลือกสาระการเรียนรู้ และตัวชี้วัดมาออกแบบ
กิจกรรมการเรียนรู้ให้นักเรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเอง จัดปฏิทิน กำหนดการ เวลา และสถานที่ ในการรับส่ง
เอกสารอยา่ งเป็นระบบ มีรปู แบบ/โมเดลในการส่งตอ่ ความรใู้ ห้กบั นักเรียนทีข่ าดโอกาสในการเขา้ ถึงการจดั การ
สอนในรูปแบบอื่น ๆ On Demand โรงเรียนบันทึกคลิปวิดีโอการสอนในรูปแบบออนไลน์ให้นักเรียนสามารถ
เข้าไปเรียนย้อนหลังได้ ครูผลิตหรือจัดหาคลิปการสอนเพื่อให้นักเรียนเข้าไปศึกษาค้นคว้าเพ่ิมเติม
เพื่อให้นักเรียนศึกษาย้อนหลังได้โดยจัดการศึกษาอย่างสอดคล้องกับหลักสูตรอย่างครบถ้วน เน้นส่ิงท่ีต้องรู้
อย่างชัดเจน เลือกส่ือ/นวัตกรรมท่ีสอดคล้องกับการใช้การเรียนรู้จากการเรียน On Demand และนำคลิป
การสอนและใบงานต่าง ๆ ไปแขวนไว้ใน Google Classroom เพ่ือให้นักเรียนได้ศึกษาความรู้ย้อนหลัง
และ Onlineโดยจัดการศึกษาอย่างสอดคล้องกับหลักสูตร ครบถ้วน เน้นส่ิงที่ต้องรู้อย่างชัดเจน
ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ เน้นเป็นแบบ Active Learning และจัดการเรียนรู้ตาม
ตารางสอนผ่าน Google Meet, Google Classroom, Line group และ Facebook
160
4. ผลการวิเคราะห์ SWOT การดแู ลช่วยเหลอื นกั เรียน ได้แก่ 1) ดา้ นการเรียนรู้ 2) ดา้ นการ
ติดตาม 3) ด้านการช่วยเหลือส่งต่อ และ 4) ด้านความปลอดภัย ในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและระดับ
ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์
ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 ดังนี้
ตารางที่ 70 แสดงผลการวิเคราะหก์ ารดูแลช่วยเหลือนกั เรียน ได้แก่ 1) ดา้ นการเรยี นรู้ 2) ดา้ นการตดิ ตาม
3) ด้านการช่วยเหลือสง่ ตอ่ และ 4) ด้านความปลอดภัย ในระดับชนั้ มธั ยมศึกษาตอนตน้ และ
ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ของโรงเรียนในสงั กดั สำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษา
นครสวรรค์
การดแู ล จดุ แขง็ จดุ ออ่ น โอกาส อุปสรรค
ชว่ ยเหลอื Strength Weakness Opportunity Threat
นกั เรียน
ดา้ นการ 1.ปรบั ลดการใหก้ ารบา้ น นกั เรียนบางคนขาด ไดร้ ับการสนบั สนุนจาก 1.สภาพเศรษฐกจิ ใน
เรียนรู้ และภาระงานของ ความรับผดิ ชอบและ หน่วยงานภายนอก เชน่ ครอบครัว นักเรยี นมี
นกั เรียนและยืดหยนุ่ เรื่อง ระเบยี บวินยั ในการเขา้ เครือข่ายผู้ปกครอง ฐานะปานกลางถึง
เวลาเรยี นโดยให้เวลา เรยี น เชน่ ไมเ่ ข้าเรยี น คณะกรรมการ ยากจน
เรียนทกุ คน ออนไลน์ ไมเ่ ข้าไปศกึ ษา สถานศกึ ษาขั้นพ้นื ฐานใน 2.นกั เรียนต้องชว่ ย
2.มกี ารจัดการเรยี นการ เนือ้ หาท่ีครูนำไปไว้ใน การดแู ลชว่ ยเหลือ ผ้ปู กครองทำงานซงึ่ อยู่
สอนโดยเน้นตัวชี้วดั ที่ต้อง ชอ่ งทางที่ใหน้ ักเรียน นกั เรียน ในเวลาเรยี นของ
รู้ สอนแบบบรู ณาการ เขา้ ถงึ ได้ หรือไม่ นกั เรยี น
กลุ่มสาระการเรยี นรตู้ า่ งๆ ทบทวนเน้อื หา 3.ส่งิ แวดลอ้ มของ
นักเรียนไมเ่ อือ้ อำนวย
ตอ่ การเรยี นออนไลน์
ด้านการ 1.มีการตรวจสอบกำกบั ครปู ระจำวิชาและครูที่ ผนู้ ำชมุ ชน กำนนั ผูป้ กครองบางส่วนยังไม่
ติดตาม ติดตามนักเรยี นเปน็ ปรกึ ษาบางครั้งติดต่อ ผใู้ หญ่บา้ น องค์กร มีเวลาในการดแู ล
รายบุคคลทัง้ จากครู นักเรยี นไมไ่ ดใ้ นบาง ปกครองสว่ นท้องถ่นิ นกั เรียน เน่อื งจากตอ้ ง
ประจำวชิ า เเละครทู ่ี กรณี หนว่ ยงานราชการ ใน ทำงาน
ปรึกษา อย่างใกลช้ ิด ละแวกหมู่บ้านของ
2.จัดกิจกรรม PLC นกั เรียน ให้โอกาสในการ
ระหว่างผู้บรหิ าร กบั ครู ขอใชบ้ รกิ ารสัญญาณ
ประจำชนั้ และครูประจำ อินเทอร์เน็ต เพอ่ื ใชใ้ นการ
วชิ าเพือ่ ตดิ ตาม และ เรียนออนไลน์
สอบถามปัญหาทเี่ กดิ ขึ้น
ของนกั เรยี น
161
ตารางที่ 70 (ต่อ)
การดูแล จดุ แขง็ จดุ อ่อน โอกาส อุปสรรค
ช่วยเหลอื Strength Weakness Opportunity Threat
นกั เรยี น
ดา้ นการ 1.มกี ารสำรวจข้อมลู การเรยี นออนไลน์ครูไม่ ได้รับการสนบั สนุน นกั เรยี นและผปู้ กครอง
ชว่ ยเหลือส่ง
ต่อ จรงิ จากผ้นู ำชมุ ชน ผู้นำ สามารถสังเกต ควบคมุ งบประมาณจากหน่วยงาน ปกปดิ ข้อมลู ท่ีแท้จรงิ ใน
ดา้ นความ ท้องถิน่ เพ่อื นำมาเป็น พฤตกิ รรมการเรียนของ ตา่ งๆ ชว่ ยเหลือนกั เรียนท่ี การเดินทางมาจากพืน้ ที่
ปลอดภยั
ฐานขอ้ มลู ของโรงเรยี น นักเรยี นได้อย่างท่วั ถงึ เปน็ กลมุ่ เสีย่ งโควดิ 19 เสี่ยง
2.มีมาตรการคดั กรองและ และนักเรยี นท่ีกักตัว
การป้องกันการแพร่
ระบาดให้กับนักเรยี น
เปดิ ช่องทางการ นกั เรียนยังไม่ไดร้ บั หน่วยงานสาธารณสุขเข้า นกั เรยี นมีความกังวล
ตดิ ตอ่ ส่อื สาร line กลมุ่ วคั ซีน มามบี ทบาทในการ กลวั ตดิ เช้อื ไวรสั
ผปู้ กครอง ระหวา่ งครูท่ี ชว่ ยเหลือนกั เรยี น โคโรนา
ปรกึ ษากบั ผูป้ กครอง
นักเรยี น ในแตล่ ะห้องเพือ่
กำกบั ติดตามและใหช้ ่วย
นกั เรยี น
จากตารางท่ี 70 พบว่า ผลการวิเคราะห์การดูแลช่วยเหลือนักเรียน ได้แก่ 1) ด้านการเรียนรู้ 2) ด้าน
การติดตาม 3) ด้านการช่วยเหลือส่งต่อ และ 4) ด้านความปลอดภัย ในระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนต้นและ
ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ของโรงเรียนใน สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์ มี
ดงั นี้
1. ด้านการเรียนรู้ จุดแข็ง คือ ปรับลดการให้การบ้านและภาระงานของนักเรียนและยืดหยุ่นเร่ืองเวลา
เรียนโดยให้เวลาเรียนทุกคน และมีการจัดการเรียนการสอนโดยเน้นตัวชี้วัดท่ีต้องรู้ สอนแบบบูรณาการ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ จุดอ่อน คือ นักเรียนบางคนขาดความรับผิดชอบและระเบียบวินัยในการเข้าเรียน
เช่น ไม่เข้าเรียนออนไลน์ ไม่เข้าไปศึกษาเน้ือหาที่ครูนำไปไว้ในช่องทางท่ีให้นักเรียนเข้าถึงได้ หรือไม่ทบทวน
เน้ือหาโอกาส คือ ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานภายนอก เช่น เครือข่ายผู้ปกครอง คณะกรรมการ
สถานศึกษาขั้นพื้นฐานในการดูแลช่วยเหลือนักเรียน และอุปสรรค คือ สัญญาณอินเทอร์เน็ตบางพ้ืนท่ี
ไม่เอ้ืออำนวยต่อการเรียน สภาพเศรษฐกิจในครอบครัว นักเรียนมีฐานะปานกลางถึงยากจน และส่ิงแวดล้อม
ของนกั เรียนไม่เอ้อื อำนวยตอ่ การเรยี นออนไลน์
2. ด้านการติดตาม จุดแข็ง คือ มีการตรวจสอบกำกับติดตามนักเรียนเป็นรายบุคคลท้ังจาก
ครูประจำวิชา เเละครูท่ีปรึกษา อย่างใกล้ชิด และจัดกิจกรรม PLC ระหว่างผู้บริหาร กับครูประจำช้ันและ
162
ครปู ระจำวชิ าเพื่อตดิ ตาม และสอบถามปัญหาที่เกดิ ข้ึนของนักเรียน จุดอ่อน คือ ครูประจำวิชาและครูท่ีปรึกษา
บางคร้ังติดต่อนักเรียนไม่ได้ในบางกรณี โอกาส คือ ผู้นำชุมชน กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
หน่วยงานราชการ ในละแวกหมู่บ้านของนักเรียน ให้โอกาสในการขอใช้บริการสัญญาณอินเทอร์เน็ต เพื่อใช้ใน
การเรียนออนไลน์ และอปุ สรรค คือ ผปู้ กครองบางสว่ นยังไม่มเี วลาในการดูแลนักเรยี น เนือ่ งจากตอ้ งทำงาน
3. ด้านการช่วยเหลือและส่งตอ่ จุดแข็ง คือ ทำการสอบถามข้อมูลท่ีเป็นข้อมูลจริงจากผู้นำชมุ ชน ผู้นำ
ท้องถ่ินเพ่ือนำมาเป็นฐานข้อมูลของโรงเรียน และมีมาตรการคัดกรองและการป้องกันการแพร่ระบาดให้กับ
นักเรียน จุดอ่อน คือ การเรียนออนไลน์ครูไม่สามารถสังเกต ควบคุมพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนได้อย่าง
ทั่วถึง โอกาส คือ ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากหน่วยงานต่างๆ ช่วยเหลือนักเรียนที่เป็นกลุ่มเสี่ยงโควิด
19 และนักเรียนที่กักตัว และอุปสรรค คือ นักเรียนและผู้ปกครองปกปิดข้อมูลท่ีแท้จริงในการเดินทางมาจาก
พ้ืนที่เสี่ยง
4. ด้านความปลอดภัย จุดแข็ง คือ เปิดช่องทางการติดต่อสื่อสาร line กลุ่มผู้ปกครอง ระหว่าง
ครูท่ีปรึกษากับผู้ปกครองนักเรียน ในแต่ละห้องเพ่ือกำกับติดตามและให้ช่วยนักเรียน จุดอ่อน คือ นักเรียน
ยังไม่ได้รับวัคซีน โอกาส คือ หน่วยงานสาธารณสุขเข้ามามีบทบาทในการช่วยเหลือนักเรียน และอุปสรรค
คือ นกั เรียนมคี วามกงั วลกลวั ติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา
ตารางที่ 71 แสดงผลการวเิ คราะห์แนวทางในการดแู ลช่วยเหลอื นักเรยี น ได้แก่ 1) ดา้ นการเรยี นรู้ 2) ด้านการ
ตดิ ตาม 3) ดา้ นการชว่ ยเหลอื สง่ ต่อ และ 4) ด้านความปลอดภัย ในระดับชั้นมธั ยมศึกษาตอนต้น
และระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ของโรงเรยี นในสังกดั สำนกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษา
มธั ยมศึกษานครสวรรค์
ระดับ แนวทางการดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรียน ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
การศึกษา ด้านการเรียนรู้ ดา้ นการตดิ ตาม ดา้ นการช่วยเหลือส่งตอ่ ดา้ นความปลอดภยั
มัธยมศกึ ษา 1.มกี ารวางแผนการ 1.จดั ทำแอพลิเคชน่ั สำหรบั 1.สนับสนุนหา 1.ดแู ลชว่ ยเหลือ
ตอนต้น ช่วยเหลือนกั เรยี นเปน็ ระบบดแู ลช่วยเหลือ ทนุ การศกึ ษาสำหรบั นกั เรียนด้าน
รายบคุ คล เพื่อให้นกั เรยี น โดยเฉพาะ นักเรยี นขาดแคลน สขุ ภาพจิต
สามารถติดตามงานของ 2.จดั ให้มเี ครอื ขา่ ยทป่ี ฏบิ ตั ิ 2.ผปู้ กครองและชมุ ชน 2.ใสใ่ จ ดแู ล และ
นกั เรียนได้ หน้าท่ใี นส่วนของการดูแล ต้องเขา้ มามีบทบาทในการ รว่ มแก้ไข เพอ่ื
2.ครปู ระจำวชิ ามชี อ่ งทาง ชว่ ยเหลอื นกั เรยี น ดแู ลช่วยเหลอื นกั เรยี นให้ สุขภาพท่ีดแี ละมี
ออนไลนใ์ นการตดิ ต่อกบั 3.มีการติดตามนักเรยี น มากขน้ึ ความสุข
นักเรียน เพ่ือช่วยเหลือ เชงิ ลึก เก่ยี วกบั สภาพ
และแกไ้ ขปญั หาของ เศรษฐกจิ ในครอบครวั
นกั เรียนได้อยา่ งทนั ทว่ งที 4.จัดทำระบบเยย่ี มบา้ น
3.จัดการเรยี นการสอน นกั เรียนออนไลน์
แบบผสมผสาน ท้งั 4
รูปแบบ
163
ตารางที่ 71 ต่อ
ระดับ แนวทางการดแู ลช่วยเหลอื นักเรยี น ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019
การศึกษา
มัธยมศกึ ษา ดา้ นการเรียนรู้ ดา้ นการตดิ ตาม ดา้ นการช่วยเหลือสง่ ตอ่ ด้านความปลอดภยั
ตอนตน้
4. ครูปรับวิธกี ารสอน 5.ครูท่ีปรึกษามีชอ่ งทาง
มัธยมศึกษา
ตอนปลาย การวดั ผลประเมินผล ออนไลนใ์ นการตดิ ตอ่ กบั
เนอ้ื หาและเวลาให้ นักเรียน เพ่ือช่วยเหลือและ
เหมาะสมกบั นกั เรียน แกไ้ ขปญั หาของนกั เรยี นได้
อย่างทันท่วงที
1.มกี ารวางแผนการ 1.จัดทำแอพลิเคชน่ั สำหรับ 1.สนบั สนนุ หา 1.ดแู ลช่วยเหลือ
ชว่ ยเหลอื นักเรยี นเปน็ ระบบดแู ลช่วยเหลือ ทนุ การศึกษาสำหรับ นักเรยี นดา้ น
รายบุคคล เพ่อื ให้นักเรียน โดยเฉพาะ นกั เรียนขาดแคลน สขุ ภาพจิต
สามารถตดิ ตามงานของ 2.จดั ใหม้ ีเครือข่ายทปี่ ฏบิ ัติ 2.ผู้ปกครองและชมุ ชน 2.ใส่ใจ ดแู ล และ
นักเรยี นได้ หนา้ ที่ในส่วนของการดแู ล ต้องเข้ามามบี ทบาทในการ รว่ มแก้ไข เพือ่
2.ครูประจำวิชามีช่องทาง ช่วยเหลอื นกั เรยี น ดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นให้ สุขภาพทีด่ ีและมี
ออนไลนใ์ นการตดิ ต่อกบั 3.มีการติดตามนกั เรียนเชิง มากข้ึน ความสขุ
นักเรียน เพือ่ ชว่ ยเหลอื ลึก เกย่ี วกับสภาพ
และแก้ไขปญั หาของ เศรษฐกิจในครอบครวั
นกั เรยี นไดอ้ ยา่ งทันท่วงที 4.จดั ทำระบบเย่ยี มบา้ น
3.จดั การเรยี นการสอน นักเรียนออนไลน์
แบบผสมผสาน ทงั้ 4 5.ครทู ี่ปรึกษามชี ่องทาง
รปู แบบ ออนไลนใ์ นการตดิ ตอ่ กับ
4. ครปู รบั วธิ ีการสอน นกั เรยี น เพ่ือช่วยเหลอื และ
การวดั ผลประเมินผล แกไ้ ขปญั หาของนักเรยี นได้
เนื้อหาและเวลาให้ อยา่ งทนั ทว่ งที
เหมาะสมกับนกั เรียน
จากตารางที่ 71 พบว่า ผลการวิเคราะห์แนวทางในการดูแลช่วยเหลือนักเรยี น ในระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษา
ตอนต้นและระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา
นครสวรรค์ ดงั นี้
1. ด้านการเรียนรู้
1.1 มีการวางแผนการช่วยเหลือนักเรียนเป็นรายบุคคล เพื่อให้นักเรียนสามารถติดตามงาน
ของนกั เรียนได้
1.2 ครูประจำวิชามีช่องทางออนไลน์ในการติดต่อกับนักเรียน เพื่อช่วยเหลือและแก้ไขปัญหา
ของนักเรยี นไดอ้ ย่างทนั ท่วงที
164
1.3 จดั การเรียนการสอนแบบผสมผสาน ทงั้ 4 รปู แบบ
1.4 ครูปรับวธิ กี ารสอน การวัดผลประเมินผล เน้ือหาและเวลาให้เหมาะสมกับนกั เรียน
2. ด้านการติดตาม
2.1 จัดทำแอพลเิ คช่ันสำหรบั ระบบดูแลชว่ ยเหลอื โดยเฉพาะ
2.2 จดั ให้มเี ครือข่ายที่ปฏิบตั ิหน้าที่ในส่วนของการดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี น
2.3 มีการตดิ ตามนักเรียนเชงิ ลกึ เกยี่ วกบั สภาพเศรษฐกจิ ในครอบครัว
2.4 จดั ทำระบบเย่ียมบ้านนักเรยี นออนไลน์
2.5 ครูท่ีปรึกษามีช่องทางออนไลน์ในการติดต่อกับนักเรียน เพื่อช่วยเหลือและแก้ไขปัญหาของ
นกั เรียนได้อยา่ งทันท่วงที
3. ดา้ นการช่วยเหลือสง่ ตอ่
3.1 สนบั สนนุ หาทุนการศกึ ษาสำหรบั นกั เรยี นขาดแคลน
3.2 ผูป้ กครองและชมุ ชนต้องเข้ามามีบทบาทในการดูแลชว่ ยเหลอื นักเรียนใหม้ ากข้ึน
4. ด้านความปลอดภัย ให้นักเรียนทุกคนไดร้ ับวัคซีน
4.1 ดูแลช่วยเหลือนกั เรียนดา้ นสุขภาพจิต
4.2 ใสใ่ จ ดแู ล และร่วมแก้ไข เพ่อื สุขภาพทด่ี ีและมคี วามสขุ
5. กรณศี กึ ษาของโรงเรยี นทจี่ ัดการศกึ ษาโดดเด่น และโรงเรยี นท่มี ีปญั หาอุปสรรค โรงเรยี นในสงั กัด
สำนกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษามัธยมศึกษานครสวรรค์ท่จี ดั การศึกษาโดดเด่นในสถานการณก์ ารแพร่
ระบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 ไดแ้ ก่
โรงเรยี น Best practice ไดแ้ ก่ โรงเรียนนครสวรรค์
แนวปฏิบตั ทิ ี่ดี คือ การสร้างนวตั กรรม Platform ระบบการจดั การเรียนออนไลน์โรงเรยี นนครสวรรค์
(NSSC Online)
165
1. โรงเรียนสร้าง E-mail ส่วนตัวให้กับนักเรียน ครแู ละบุคลากรทุกคนในโรงเรียน ทำให้ครูและนักเรียนทุกคน
ของโรงเรียน ใช้ E-mail ของโรงเรยี น เพื่อเข้าถึงบริการออนไลน์ต่างๆ อาทิ Google App, Office 365 รวมถึง
ระบบ WiFi ภายในโรงเรียน อยา่ งเปน็ ระบบ สะดวก และมีความปลอดภยั
2 .ส ร้ า ง เว็ บ ไซ ต์ ศู น ย์ ก ล า ง (web portal) ส ำ ห รั บ ใช้ ร ว บ ร ว ม ลิ ง ก์ ข อ งแ ต่ ล ะ ห้ อ ง เรี ย น
(81 ห้องเรียน) ครูและนักเรียน ไม่ต้องจำรหัสเข้าห้องเรียนออนไลน์ นักเรียนรอเรียนที่ลิงก์เดิม ส่วน
ครูผู้สอนเป็นผู้เปลี่ยนลิงก์ห้องท่ีจะเข้าสอนในแต่ละชั่วโมงเรียน เปรียบเสมือนครูเดินเข้าไปสอนในห้อง
ประจำชน้ั ของนักเรยี น ลดการสญู เสยี เวลาในการเปลีย่ นวิชาเรียน
166
3. สร้างหนา้ เวบ็ ไซตส์ ำหรับบนั ทึกวดิ ีโอในการสอน เพ่ือให้นกั เรยี นสามารถเข้าไปเรยี นซำ้ เรียนทบทวน
ย้อนหลังได้
4. การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ผ่าน Google Meet และมีวิธีการวัดประเมินผลหลากหลาย เช่น การใช้
Google Forms มีกิจกรรมทาง Google Classroom รวมทั้งมี Google site ของครเู ป็นชอ่ งทางในการเรยี นรู้
5. สนบั สนนุ ดา้ นสอื่ และอปุ กรณ์การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ โดยใช้ Google Apps for Education
มีระบบสญั ญาณอนิ เทอร์เน็ตทั่วถึงทุกจุดภายในโรงเรียน ทุกห้องเรียนมีคอมพิวเตอร์ โปรเจคเตอร์ webcam
และ Apple TV และสำหรับนกั เรียนทข่ี าดแคลนอุปกรณ์ โรงเรยี นจัดเตรยี ม iPad ให้ยืมสำหรบั เรียนออนไลน์
167
6. มีเจา้ หนา้ ทแ่ี ละครผู ู้สอนคอมพวิ เตอร์ ชว่ ยเหลอื /แกป้ ัญหาการสอนออนไลน์ และมีช่องทางรับแจง้ ปัญหา
การสอนออนไลน์ สำหรบั ครูผู้สอน/นักเรยี น/ผ้ปู กครอง นอกจากน้ียังสนบั สนุน อปุ กรณ์การจดั การเรียนสอน
สำหรบั ครผู ูส้ อนทุกคน คอมพิวเตอร์ตั้งโตะ๊ 1 ชุด , iPad 1 เครือ่ ง, คา่ สญั ญาณอินเตอรเ์ น็ต คนละ 400 บาท,
สาย link, กล้อง Webcam
7. มกี ารสร้างบคุ ลากรแกนนำเปน็ ทมี i-Champion ต้นแบบในการใช้ iPad และแอพพลิเคชัน่ ในการจดั การ
เรียนการสอนและขยายผลให้กบั บุคลากรในโรงเรยี น
6. ขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบาย การบรหิ ารจัดการ ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือ
ไวรสั โคโรนา 2019 ทจี่ ะนำมาใชใ้ นปกี ารศึกษา 2565
6.1 ดา้ นการจัดทำแผนและนโยบาย
6.1.1 หน่วยงานตน้ สงั กัดวางแผนดำเนินการเพื่อใหโ้ รงเรียนทราบแนวปฏิบตั ทิ ศิ ทางเดียวกันรวมถึง
โครงการต่าง ๆ แตล่ ะปงี บประมาณเพ่ือใหโ้ รงเรยี นเตรียมความพร้อมและจดั การศึกษาในสถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ
6.1.2 หน่วยงานต้นสังกดั จัดทำแผน และนโยบายการดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรียนใหเ้ ขา้ สู่ระบบ
การศกึ ษาตามหลกั สตู รการศึกษาภาคบังคบั ในรูปแบบทเ่ี หมาะสมกับสถานการณ์ปจั จบุ ัน
6.1.3 หนว่ ยงานต้นสังกัดเสนอปรับรปู แบบวิธกี ารดำเนินโครงการหรอื กจิ กรรมต่าง ๆ และจัดทำ
แผนเผชญิ เหตฯุ ให้เหมาะสม
6.1.4 หนว่ ยงานต้นสงั กัดประสานงานกับหนว่ ยงานอน่ื เพอื่ สง่ เสริมการจดั การเรยี นรทู้ ม่ี ีระบบ
6.1.5 หน่วยงานต้นสังกัดมกี ารสำรวจขอ้ มูลจากผทู้ ี่เกย่ี วขอ้ งและผู้ท่ีไดร้ บั ผลกระทบจากการใช้
นโยบายการจดั การศึกษาเพ่ือนำมาประกอบการตดั สินใจก่อนนำไปปฏบิ ัติจรงิ
6.2 ด้านหลักสตู รและการจดั การเรยี นรู้
6.2.1 หน่วยงานต้นสงั กดั และกระทรวงศึกษาธิการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร เพมิ่ ความยืดหยนุ่
ของตัวช้วี ัด โครงสร้างเวลาเรยี น และวธิ วี ัดผลและประเมนิ ผลผู้เรียนให้เหมาะสม เนน้ ทักษะชีวิต และนำไปใช้
ได้จริง
6.2.2 หน่วยงานต้นสังกัด จดั ให้มหี น่วยงานในการใหค้ ำแนะนำการพฒั นาหลกั สูตรสถานศึกษา
การจัดการเรยี นรู้ รวมถงึ วิธีการวัดผลและประเมนิ ผลท่เี ปน็ แนวปฏิบัติท่ีถกู ต้อง ในทิศทางเดยี วกนั
6.2.3 หนว่ ยงานต้นสังกัดส่งเสรมิ ครใู หม้ ีความรู้ความสามารถในการจัดการเรยี นรู้ในรูปแบบท่ี
หลากหลาย ทันต่อสถานการณ์ปัจจุบนั
6.3 ด้านเทคโนโลยีทางการศึกษา
6.3.1 หน่วยงานต้นสังกัด และกระทรวงศึกษาธิการ จัดสรรงบประมาณการสนับสนุนอุปกรณ์
คอมพิวเตอร์ สื่อเทคโนโลยีทางการศึกษา และบริการสัญญาณอินเทอร์เน็ตให้ท่ัวถึงกับนักเรียนทุกคน
168
6.3.2 หน่วยงานต้นสังกัดสร้างแพลตฟอร์ม ในการเรียนรู้ท่ีครูและบุคลากรทางการศึกษาสามารถ
เขา้ ถึง และพฒั นาตนเองด้านการใช้ส่ือเทคโนโลยีในการจดั การเรยี นการสอนท่ีมีประสทิ ธิภาพ
6.3.3 หน่วยงานต้นสังกัด จัดให้มีหน่วยงาน ผู้เช่ียวชาญ ในการให้คำแนะนำ การใช้เทคโนโลยีให้
เกิดประโยชนต์ อ่ การเรียนรู้ และการใชช้ ีวติ ประจำวัน
6.4 ด้านการวัดประเมนิ ผล
6.4.1 หน่วยงานต้นสังกัด กำหนดระเบียบ วิธีปฏิบัติ และแนวทางการวัดผลและประเมินผล
การศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่สอดคล้องกัลบริบทและสถานการณ์ปัจจุบัน อย่างเป็นรูปธรรม
6.4.2 หน่วยงานต้นสังกัด จัดให้มีหน่วยงาน ผู้เช่ียวชาญ ในการให้คำแนะนำ รูปแบบวิธีการวัด
และประเมินผลท่ีสะท้อนตัวช้ีวัดที่มีการสอนในรูปแบบออนไลน์หรือรูปแบบอื่น ๆ ท้ัง 5 on อย่างเหมาะสม
และมมี าตรฐาน
6.5 ด้านการพัฒนานวตั กรรมการเรยี นรู้
6.5.1 หนว่ ยงานตน้ สังกัด สง่ เสรมิ สนับสนุน และจัดอบรมการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการจดั การ
เรียนการสอนครบทุกกลุม่ สาระการเรียนรู้ และการบรหิ ารจัดการศกึ ษาอยา่ งเหมาะสม และสรา้ งสรรค์
6.5.2 หน่วยงานต้นสงั กดั มีการจดั งบประมาณเพ่ือพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้สู่สถานศึกษา
6.5.3 หน่วยงานต้นสังกัดจัดให้มีหน่วยงาน ผู้เชี่ยวชาญ ในการแนะนำให้คำปรึกษา ด้านการพัฒนา
นวัตกรรมในการปฏบิ ัตงิ าน และการแกป้ ญั หา เพอ่ื ให้สอดคล้องกับมาตรฐานวชิ าชีพ
6.6 ด้านการดแู ลช่วยเหลอื นกั เรยี น
6.6.1 หน่วยงานต้นสังกัดและกระทรวงศึกษาธิการ จัดทำแอพลิเคช่ันใช้เทคโนโลยีมาช่วยในการ
ปฏิบัติงานด้านระบบดูแลชว่ ยเหลือนักเรียน
6.6.2 หน่วยงานตน้ สังกดั ร่วมกบั เครือข่ายผูป้ กครอง หน่วยงานภาครัฐอ่ืน ๆ ในการวางแผน กำกับ
ติดตาม ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน เป็นรายบุคคล ติดตามการเรียนรู้ จัดหาทุนการศึกษา จัดบริการตรวจ
เยี่ยมชว่ ยเหลือนักเรยี นทม่ี ปี ญั หาเพ่ือแก้ปัญหารว่ มกัน
6.6.3 หน่วยงานต้นสังกัด สนับสนุน ประสานการทำงานร่วมกับหน่วยงานด้านสุขภาพจติ และสรา้ ง
เครอื ขา่ ยเพ่อื ที่ปฏบิ ตั ิหนา้ ทเี่ ฉพาะกิจ เพือ่ ดแู ลช่วยเหลอื นกั เรยี น
169
บทท่ี 5
สรปุ ผล อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ
สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามธั ยมศึกษานครสวรรค์ ไดท้ ำการวิจัยเชิงพ้ืนที่เรื่อง ข้อเสนอเชิงนโยบาย
การจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 สำนกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษา
มัธยมศึกษานครสวรรค์ โดยมีวัตถุประสงค์การวิจัยดังนี้ 1) วิเคราะห์สภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียน
ลักษณะต่างๆ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์ ด้านจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส อุปสรรค
(SWOT) ในด้านการบริหารจัดการ ด้านการจัดการเรียนรู้ และ การดูแลชว่ ยเหลือนักเรียน 2) พัฒนาแนวทาง
การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาโรงเรียนทุกลักษณะ ในด้านการบริหารจัดการ ด้านการจัดการเรียนรู้ และ
ด้านการดูแลช่วยเหลือนักเรียน และ 3) จัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์
การแพร่ระบาดจากเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับสำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยมีวิธีการดำเนินการวิจัย 3 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 การวิเคราะห์ SWOT
วิเคราะห์สภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนในสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์
ในลักษณะต่างๆ ด้านจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส อุปสรรค ในด้านการบริหารจัดการ ด้านการจัดการเรียนรู้
และด้านการดแู ลชว่ ยเหลือนักเรียน ข้ันตอนท่ี 2 ประชุมระดมความคดิ (Brainstorming) นำผลการวิเคราะห์
SWOT มาประชุมระดมความคิดของคณะวิจัย ผู้บริหารโรงเรียน ครู ผู้เกี่ยวข้อง กำหนดแนวทาง
การจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาโรงเรียนทุกลักษณะ ในด้านการบริหารจัดการโรงเรียน ด้านการจัดการเรียนรู้
และด้านการดูแลช่วยเหลือนักเรียน และ ขั้นตอนที่ 3 การสัมมนาอิงผู้เชี่ยวชาญ (Connoisseurship)
กำหนดข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในระดับ
เขตพื้นที่การศึกษา โดยเครื่องมือการวิจัยขั้นตอนที่ 1 ได้แก่ 1) แบบสัมภาษณ์เชิงลึกของครูและผู้บริหาร
ด้านการบริหารจัดการ ด้านการจัดการเรียนรู้ และด้านการดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียนลักษณะต่างๆ
2) แบบวิเคราะห์ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค ด้านการบริหารจัดการ ด้านการจัดการเรียนรู้
และด้านการดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียน และ 3) แบบบันทึกกรณีศึกษาของโรงเรียนที่จัดการศึกษา
โดดเด่น และโรงเรียนที่มีปัญหาอุปสรรคต่อด้านการบริหารจัดการ ด้านการจัดการเรียนรู้ และด้านการดูแล
ช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียน แหล่งข้อมูลจากบุคคล ได้แก่ ผู้บริหารโรงเรียน และครู จำนวน 37 โรงเรียน
โดยนำข้อมูลจากเอกสารการจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์ จำนวน 3 ด้าน ได้แก่
1) ด้านการบริหารจัดการ 2) ด้านการจัดการเรียนรู้ และ 3) ด้านการดูแลช่วยเหลือนักเรียนและข้อมูล
จากการนำเสนอของทุกโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์ ที่รายงานผล
การจัดการเรียนสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
รูปแบบ VDO Conference โปรแกรม Google Meet ต่อผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มัธยมศึกษานครสวรรค์และคณะนิเทศ ติดตามผลการดำเนินงานประกอบด้วย รองผู้อำนวยการ
170
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์ , ผู้อำนวยการโรงเรียนประธานสหวิทยาเขต
และผู้อำนวยการโรงเรยี นเลขานุการ สหวิทยาเขต และคณะศึกษานิเทศก์ทุกคน ระหว่างวันท่ี 20, 23 และ 30
สิงหาคม 2564 ส่วนในขั้นตอนที่ 2 การประชุมระดมความคิด (Brainstorming) เครื่องมือการวิจัย ได้แก่
ประเด็นการประชุมระดมความคิดด้านการบริหารจัดการโรงเรียน ด้านการจัดการเรียนรู้ และด้านการดูแล
ช่วยเหลือนักเรียน 2) แบบวิเคราะห์แนวทางการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาโรงเรียนทุกลักษณะ
ในการบริหารจัดการโรงเรียน การจัดการเรียนรู้ และการดูแลช่วยเหลือนักเรียน แหล่งข้อมูลขั้นตอนที่ 2
การประชุมระดมความคิดเห็น ได้แก่ ผู้บริหารโรงเรียน ครู ผู้เกี่ยวข้อง กำหนดแนวทางการจัดการศึกษา
เพื่อพัฒนาโรงเรียนทุกลักษณะ ด้านการบริหารจัดการโรงเรียน ด้านการจัดการเรียนรู้ และด้านการดูแล
ช่วยเหลือนักเรียน โดยการเลือกแบบเจาะจง จำนวน 12 โรงเรียน ได้แก่ 1) โรงเรียนนครสวรรค์
2) โรงเรียนสตรีนครสวรรค์ 3) โรงเรียนตาคลีประชาสรรค์ 4) โรงเรียนนวมินทราชูทิศ มัชฌิม
5) โรงเรียนหนองบัว 6) โรงเรียนเทพศาลาประชาสรรค์ 7) โรงเรียนตากฟ้าวิชาประสิทธ์ิ
8) โรงเรียนพระบางวิทยา 9) โรงเรียนบรรพตพิสัยพิทยาคม 10) โรงเรียนโกรกพระ 11) โรงเรียนจันเสน
เอ็งสุวรรณอนุสรณ์ 12) โรงเรียนพนมรอกวิทยา และในขั้นตอนที่ 3 การสัมมนาอิงผู้เชี่ยวชาญ
(Connoisseurship) กำหนดข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา 2019 ในระดับเขตพื้นที่การศึกษา เครื่องมือการวิจัย ได้แก่ ประเด็นการสัมมนา จัดทำข้อเสนอ
เชิงนโยบายการจดั การศกึ ษาในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 ในระดบั เขตพ้ืนท่ี
การศึกษา 2) แบบวิเคราะห์ผลการสัมมนาอิงผู้เชี่ยวชาญ และข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษา
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 ในระดับเขตพื้นที่การศึกษา แหล่งข้อมูลจาก
บุคคล ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิ อาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ผู้บริหารโรงเรียน และรองผู้อำนวยการ
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์ ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมการจัดการศึกษา ผู้อำนวยการ
กลุ่มนโยบายและแผน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์ ร่วมกำหนดข้อเสนอเชิงโนยบาย
แนวทางการจัดการศกึ ษาเพื่อพฒั นาโรงเรยี นทุกลักษณะ ด้านการบรหิ ารจัดการโรงเรียน ด้านการจัดการเรียนรู้
และด้านการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ประกอบด้วย 1) ด้านการจัดทำแผนและนโยบาย แนวทางการบริหาร
จัดการการศึกษาของโรงเรยี น 2) ด้านหลักสตู รและการจัดการเรียนรู้ (รูปแบบต่างๆ 5 On หรือรูปแบบอื่นๆ)
3) ด้านเทคโนโลยีทางการศึกษา 4) ด้านการวัดประเมินผล 5) ด้านการพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้
และ 6) ด้านการดูแลช่วยเหลือนักเรียน การวิเคราะห์ข้อมูลทั้ง 3 ขั้นตอน ใช้การวิเคราะห์เนื้อหา (Content
Analysis) ผลการวจิ ยั สรุปดงั น้ี
1. ข้อมูลโรงเรียน สารสนเทศการจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา 2019 ของโรงเรียนในสำนักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์
2. ผลการวเิ คราะห์ SWOT ดา้ นการบรหิ ารจัดการ ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อ
ไวรสั โคโรนา 2019 ของโรงเรียนในสำนกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษามัธยมศึกษานครสวรรค์
171
3. ผลการวิเคราะห์ SWOT ด้านการจัดการเรียนรูแ้ ตล่ ะรปู แบบในสถานการณ์การแพรร่ ะบาด
ของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 ของโรงเรียนในสำนกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษามธั ยมศึกษานครสวรรค์
4. ผลการวิเคราะห์ SWOT การดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ได้แก่ 1) ด้านการเรียนรู้ 2) ด้านการติดตาม 3) ด้านการช่วยเหลือส่งต่อ
และ 4) ด้านความปลอดภยั ในระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาตอนต้น และระดับชน้ั มัธยมศึกษาตอนปลาย ของโรงเรียน
สงั กดั สำนกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษามัธยมศึกษานครสวรรค์
5. กรณศี กึ ษาของโรงเรยี นท่ีจัดการศึกษาโดดเด่น และโรงเรยี นทีม่ ปี ัญหาอปุ สรรคในการจดั
การศึกษาในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019
6. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอ้ื
ไวรสั โคโรนา 2019 ท่จี ะนำมาใช้ในปกี ารศึกษา 2565 ประกอบด้วย
6.1 ด้านการจัดทำแผนและนโยบาย แนวทางการบรหิ ารจัดการการศกึ ษาของโรงเรียน
6.2 ด้านหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ (รปู แบบต่างๆ 5 On หรอื รูปแบบอนื่ ๆ)
6.3 ดา้ นเทคโนโลยีทางการศึกษา
6.4 ด้านการวดั ประเมินผล
6.5 ด้านการพัฒนานวตั กรรมการเรยี นรู้
6.6 ด้านการดแู ลช่วยเหลอื นักเรียน
สรุปผลการวิจัย
1. ข้อมูลโรงเรยี น สารสนเทศการจัดการศกึ ษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือ
ไวรัสโคโรนา 2019 ของโรงเรียนในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์ มีโรงเรียนในสังกัดจำนวนทั้งสิ้น 37 โรงเรียน
แบ่งตามขนาดโรงเรียน มีโรงเรียนขนาดเล็ก จำนวน 18 โรงเรียน โรงเรียนขนาดกลาง จำนวน 11 โรงเรียน
โรงเรียนขนาดใหญ่ จำนวน 5 โรงเรียน โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ จำนวน 3 โรงเรียน แบ่งตามประเภท
เป็นโรงเรียนทั่วไป จำนวน 23 โรงเรียน โรงเรียนคุณภาพ จำนวน 1 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนห้วยน้ำหอม
วิทยาคาร และโรงเรียนที่เป็นโรงพยาบาลสนามและสถานที่พักคอย จำนวน 13 โรงเรียน มีการจัดการเรียน
การสอนจำนวน 4 รูปแบบ ได้แก่ On Hand, Online, On Demand และ On Air ไม่มีการจัดการเรียน
การสอนรปู แบบ On Site เน่อื งจากจังหวัดนครสวรรค์ เปน็ จังหวัดพนื้ ทีส่ ีแดงเขม้ ตามประกาศของศนู ย์บริหาร
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 โดยมีโรงเรียนที่จัดการศึกษาแบบ Online
ทุกโรงเรียน โรงเรียนที่จัดการศึกษาแบบ On Demand จำนวน 22 โรงเรียน โรงเรียนที่จัดการศึกษา
แบบ On Hand จำนวน 32 โรงเรียน โรงเรียนที่จัดการศกึ ษาแบบ On Air จำนวน 5 โรงเรยี น
172
2. ผลการวิเคราะหจ์ ุดแข็ง จุดออ่ น โอกาส และอปุ สรรค การจดั การศกึ ษาในสถานการณก์ ารแพร่
ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 ของโรงเรยี นในสำนกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา
นครสวรรค์
ผลการ SWOT ด้านการบริหารจัดการของโรงเรยี นในสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษามธั ยมศกึ ษา
นครสวรรค์ ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 ทั้ง 4 ดา้ นมีดังน้ี
1. ด้านบุคลากร (Man) จุดแข็ง คือ ครูและบุคลากรทางการศึกษามีการปรับกระบวนการเรียนรู้
โดยการยืดหยุ่นตามสถานการณ์ และมีการอบรมพัฒนาครูในเรื่องของการใช้สื่อเทคโนโลยีเข้ามาช่วย
ในการจัดการเรียนการสอน จดุ ออ่ น คือ ครูและบุคลากรบางสว่ นยงั ขาดเทคนิคการนำเทคโนโลยีที่หลากหลาย
เข้ามาใช้ในการเรียนการสอน และ ครูและบุคลากรปฏิบัติงานหลากหลาย มีภาระงานมาก หรือบางครั้ง
ติดภาระงานพิเศษเร่งด่วน ทำให้การสอนไม่เป็นไปตามแผนที่วางไว้ โอกาส คือ การสนับสนุนจากหน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้อง ในการพัฒนาครูโดยการเข้ารับการอบรมเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนรูปแบบออนไลน์
การใช้สื่อเทคโนโลยีอุปสรรค คือ ขาดแคลนบุคลากรที่มีความรู้และประสบการณ์ช่วยเหลอื ในด้านสาธารณสขุ
จากหนว่ ยงานภายนอก และขาดแคลนบุคลากรทางดา้ นเทคโนโลยีในการจัดการระบบเทคโนโลยขี องโรงเรียน
2. ด้านงบประมาณ (Money) จุดแข็ง คือ สถานศึกษาปรับแผนการใช้งบประมาณ
เพื่อใช้ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค COVID-19 ได้อย่างเหมาะสม จุดอ่อน คือ ขาดงบประมาณ
ที่ได้รับการจัดสรรไม่เพียงพอในการบริหารจัดการในสถานการณ์การแพร่ระบาด และขั้นตอนการเบิกจ่าย
งบประมาณบางอย่างยังไม่เหมาะสมการกับสถานการณ์ เนื่องจากมีการเปลี่ยนรูปแบบการดำเนินงาน
เปน็ แบบออนไลน์โอกาส คอื ไดร้ ับงบประมาณสนบั สนุนจากหน่วยงานภายนอก เชน่ องค์การบริหารสว่ นตำบล
หรือชุมชนอย่างต่อเนื่องอุปสรรค คือ ขั้นตอนในการดำเนินงานเกี่ยวกับการบริหารงบประมาณล่าช้า
และระเบียบการเบิกจ่ายไม่เอื้อให้กับการทำงานในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
2019
3. ด้านบริหารจัดการด้านสื่อ อุปกรณ์ (Material) จุดแข็ง คือ มีการสนับสนุนในด้านของอุปกรณ์
และสัญญาณอินเทอร์เน็ตสำหรับการจัดการเรียนการสอนของครู และมีการวางแผนเพื่อช่วยเหลือนักเรียน
โดยระดมทุนเพื่อใช้ในการจัดหาเครื่องมือและอุปกรณ์การสื่อสารให้กับนักเรียนที่ขาดแคลน จุดอ่อ น คือ
บางส่วนยังขาดอุปกรณ์ที่ทันสมัยต่อการนำมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน และสื่ออุปกรณ์บางอย่าง
ไม่สามารถจัดซื้อได้ เพราะอาจอยู่นอกเหนือระเบียบการจัดซื้อจัดจ้าง โอกาส คือ ได้รับการสนับสนุนวัสดุ
อุปกรณ์ สื่อ และสิ่งอำนวยความสะดวก จากหน่วยงานภายนอก อุปสรรค คือ ขาดอุปกรณ์การจัดการเรียน
การสอนท่ที นั สมยั และไมเ่ พยี งพอ
4. การบริหารจัดการด้านบริหารจัดการ (Management) จุดแข็ง คือ มีการรายงานผลการสอน
ออนไลน์และมีการนิเทศการสอนจากผู้บริหารแบบออนไลน์ และมีการบริหารจัดการ กำกับการทำงาน
ผ่านระบบออนไลน์ รวมทั้งมีการประกาศนโยบายและแนวปฏิบัติ กำหนดการปฏิบัติงาน ให้กับคณะครู
และบุคลาการทางการศึกษาที่ชัดเจน และโรงเรียนได้พัฒนารูปแบบ/โมเดลในการบริหารการศึกษา
173
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019จุดอ่อน คือ ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาด
เชื้อโรคโคโรน่า 2019 ไม่สามารถจัดการประชุมทั้งองค์กรได้ ส่งผลทำให้การชี้แจงและการติดตามงาน
จะต้องทำผ่านระบบสื่อออนไลน์ ซึ่งอาจทำให้เกิดความคลาดเคลื่อนและขาดประสิทธิภาพในการสื่อสารได้
โอกาส คือ โรงเรียนมีบริการชุมชุนโดยจัดเป็นศูนย์พักคอย ทำให้เกิดการปรับปรุงสถานที่ และภูมิทัศน์
และมีมาตรการเฝ้าระวังอย่างเคร่งครัดอีกทั้งหน่วยงานท้องถิ่น มีการช่วยวางแผนในด้านสาธารณสุข
ของโรงเรียน อุปสรรค คือ นโยบายจากต้นสังกัดมีการปรับเปลี่ยน จนอาจสร้างภาระให้แก่สถานศึกษา
และการวางแผนร่วมกันตอ้ งวางแผนผ่านทางสื่อออนไลน์ และการตดิ ตอ่ ประสานงานอาจคลาดเคล่ือน
3. ผลการวเิ คราะห์ SWOT ด้านการจดั การเรียนรูแ้ ตล่ ะรปู แบบ ของโรงเรยี นในสำนักงานเขตพื้นที่
การศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์ ดังนี้
โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์ ไม่มีการจัดการเรียนการสอน
แบบ On Site ได้เนื่องจากการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา2019 เป็นจังหวัดพื้นทีส่ ีแดงเข้ม ตามประกาศ
ของศูนยบ์ รหิ ารสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (ศบค.)
เมื่อทำการ SWOT การจัดการเรียนการสอนแบบ On Air โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่
การศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์ ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย พบว่า
จุดแข็ง คือ นักเรียนสามารถเรียนรู้ผ่านสื่อการสอนที่ถ่ายทอดผ่านดาวเทียม จุดอ่อน คือ นักเรียนบางส่วน
ไม่สามารถเข้าถึงเอกสารประการเรียนการสอนได้ โอกาส คือ นักเรียนติดตามย้อนหลังได้ตามตาราง DLTV
ทีก่ ำหนด อปุ สรรค คอื สญั ญานดาวเทยี มไม่เสถียรของชมุ ชน
การจัดการเรียนการสอนแบบ On Demand โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มัธยมศึกษานครสวรรค์ ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เมื่อทำการ SWOT
พบวา่ จุดแข็ง คือ ครผู ู้สอนมกี ารพัฒนาและผลิตส่ือการสอนได้อยา่ งหลากหลายตามความถนดั ผู้เรยี นสามารถ
เข้าเรียนตามความสะดวกและสามารถทบทวนบทเรียนได้ตลอดเวลา คุณครูสามารถตรวจสอบความถูกต้อง
ของการสอนได้ จุดอ่อน คือ นักเรียนบางส่วนขาดความพร้อมด้านอุปกรณ์ และความพร้อมเกี่ยวกับ
การใช้แอพพลิเคชั่น จึงใช้งานได้ไม่เต็มที่ และนักเรียนยังขาดความสนใจในการเรียน โอกาส คือ
ได้รับการสนับสนุนและการเข้าถึงสิทธิต่างๆ เช่น การใช้อีเมลล์ของ OBEC เพื่อรับสิทธิการเขา้ ถึงการผลิตสือ่ ฯ
ในเว็ปไซต์ เป็นตน้ อุปสรรค คอื ปญั หาสภาพครอบครัวดา้ นทุนทรัพยใ์ นการจัดหาอุปกรณ์ของนกั เรียน
การจัดการเรียนการสอนแบบ On Hand โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
นครสวรรค์ ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เมื่อทำการ SWOT พบว่า
จุดแข็ง คือ โรงเรียนได้จัดส่งเอกสารประกอบการเรียนในรายวิชาเพิ่มเติม เช่น วิชาเคมี วิชาฟิสิกส์
และวิชาคณิตศาสตร์ ให้กับนักเรียน ทำให้นักเรียนมีโอกาสในการเรียนรู้ได้ดีขึ้น และการจัดการเรียนการสอน
มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น นักเรียนให้ความร่วมมือในการมารับใบงานหรือเอกสารเป็นอย่างดี และครูมีหนังสอื
เอกสาร ใบงาน ให้นักเรียนสำหรับใช้ในการเรียนการสอนครบถ้วน จุดอ่อน คือ มีการพบกันระหว่างครู
174
และนักเรยี นหรอื ผู้ปกครอง อาจเส่ียงต่อการแพร่ระบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 ได้ และเมื่อนักเรียน
เกิดข้อสงสัยหรือไม่เข้าใจในบทเรียน จะไม่สามารถสอบถามครูได้ในทันที ครูติดตามงานจากนักเรียน
ได้ค่อนข้างยาก เนื่องจากไม่มีโอกาสได้ไปพบนักเรียน โอกาส คือ เพิ่มโอกาสทางการเรียนรู้ให้กับนักเรียน
ที่มีอุปกรณ์ไม่พร้อมและรายวิชาที่มีความสำคัญในการศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย ชุมชนได้มีส่วนร่ว ม
ในการดำเนินการเพื่อติดตามการเรียน และการแจกใบงาน On Hand อุปสรรค คือ การมารับเอกสาร
On Hand ที่โรงเรียนทำให้เกิดโอกาสเสี่ยงในการเกิดการแพร่ระบาดของเชื้อโรค และระยะทางของ
บ้านนักเรียน ไมส่ ามารถเดินทางมารบั ใบงานได้ และส้ินเปลอื งงบประมาณคา่ ใชจ้ ่ายในการจัดสง่ เอกสาร
การจัดการเรียนการสอนแบบ Online โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
นครสวรรค์ ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เมื่อทำการ SWOT พบว่า
จุดแข็ง คือ ครูและนักเรียนมีทักษะในการใช้เทคโนโลยีเพิ่มมากขึ้น ครูและนักเรียนได้เรียนรู้และปรับตัว
เกี่ยวกับกระบวนการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์โดยการใช้เทคโนโลยี โรงเรียนจัดทำคู่มือ
การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
และโรงเรียนทำการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบ Online ผ่านทาง Line , Google Meet และ Zoom
จุดอ่อน คือ โรงเรียนยังไม่ได้กำหนด platform เดียวกัน ให้นักเรียนและครูได้ใช้ในการจัดการเรียนการสอน
เพื่อลดความสับสนในการเข้าเรียน การให้โอกาสครูผู้สอนเลือกช่องทางในการจัดการเรียนการสอนเอง
อาจทำให้นักเรียนเกิดความสับสน พฤติกรรมการเรียนของนักเรียนที่ไม่เปิดกล้อง และไม่มีปฏิสัมพันธ์
กับครูผู้สอน ครูผู้สอนไม่สามารถตรวจสอบความรู้ความเข้าใจของนักเรียนได้ในขณะเรียนออนไลน์โรงเรียน
ครูนักเรียนและผู้ปกครองไม่ตระหนักและให้ความสำคัญในการเรียนการสอนออนไลน์ นักเรียนขาดระเบียบ
วินัยในการเรียนออนไลน์ การจัดการเรียนการสอนในรายวิชาที่เน้นทักษะกระบวนการไม่สามารถจัดกิจกรรม
และวัดผลประเมินผลได้อย่างมีประสิทธิภาพ การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ ยังไม่สามารถดำเนินการ
ในกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่ส่งผลต่อการศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย และคุณภาพสัญญาณและอุปกรณ์
อิเล็กทรอนิกส์ของนักเรียนไม่รองรับบางโปรแกรม/แอพพลิเคชั่นทำให้นักเรียนบางคน ไม่สามารถเข้าถึง
การจัดการเรียนรู้ได้ โอกาส คือ ครูได้สร้างทักษะใหม่ที่จำเป็นในการทำงาน และมีการพัฒนาเพื่อยกระดับ
ทักษะเดิมให้ดีขึ้นเพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนการสอน มีการระดมทรัพยากรจากหน่วยงานภายนอกมาช่วย
ในการจัดการศึกษานักเรียนได้รับการสนับสนุนด้านทุนทรัพย์ในการเรียนออนไลน์ และได้รับความช่วยเหลือ
จากทุกภาคสว่ นเช่น อบต. อุปสรรค คือ ผู้ปกครองมีภาระค่าใช้จ่ายในการซื้ออุปกรณ์และสัญญาณอินเทอเนต็
ในการเรียนออนไลน์
แนวทางการจัดการศึกษาของโรงเรียน ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์
จำแนกตามรูปแบบการจดั การเรียนรู้ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 สามารถ
จดั ได้ 4 รปู แบบคือ On Air ให้มกี ระบวนการ กำกับ ติดตาม การจัดการเรียนการสอน ตามบริบทของโรงเรียน
และสภาพความเป็นอยู่ของนักเรียน On Hand โดยจัดการศึกษาอย่างสอดคล้องกับหลักสูตร ครอบคลุม
ครบถ้วน เน้นสิง่ ทต่ี อ้ งรูอ้ ย่างชัดเจนเลือกสาะการเรียนรู้ และตวั ชว้ี ดั มาออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ให้นักเรียน
175
ได้เรียนรู้ด้วยตนเอง จัดปฏิทิน กำหนดการ เวลา และสถานที่ ในการรับส่งเอกสาร อย่างเป็นระบบ
มีรปู แบบ/โมเดลในการส่งตอ่ ความรูใ้ หก้ บั นกั เรียนทขี่ าดโอกาสในการเข้าถึงการจดั การการสอนในรูปแบบอ่นื ๆ
On Demand โรงเรียนบนั ทกึ คลปิ วิดีโอการสอนในรูปแบบออนไลน์ให้นักเรียนสามารถเขา้ ไปเรียนย้อนหลังได้
ครูผลิต หรือ จัดหาคลิปการสอนเพื่อให้นักเรียนเข้าไปศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมเพื่อให้นักเรียนศึกษาย้อนหลังได้
โดยจัดการศึกษาอย่างสอดคล้องกับหลักสูตรอย่างครบถ้วน เน้นสิ่งที่ต้องรู้อย่างชัดเจน เลือกสื่อ/นวัตกรรม
ที่สอดคล้องกับการใชก้ ารเรียนรูจ้ ากการเรียน On Demand และนำคลิปการสอนและใบงานต่าง ๆ ไปแขวนไว้
ใน Google Classroom เพื่อให้นักเรียนได้ศึกษาความรู้ย้อนหลัง และ Online โดยจัดการศึกษา
อยา่ งสอดคล้องกบั หลักสูตร ครบถ้วน เนน้ สงิ่ ทีต่ อ้ งรู้อย่างชัดเจน ออกแบบกจิ กรรมการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์
เน้นเปน็ แบบ Active Learning และจัดการเรียนร้ตู ามตารางสอนผ่าน Google Meet, Google Classroom,
Line group และ Facebook
4. ผลการวิเคราะห์ SWOT การดูแลชว่ ยเหลอื นักเรยี น ไดแ้ ก่ 1) ดา้ นการเรียนรู้ 2) ดา้ นการติดตาม
3) ด้านการช่วยเหลือส่งต่อ และ 4) ด้านความปลอดภัย ในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
และระดับช้ันมธั ยมศึกษาตอนปลาย ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามธั ยมศึกษานครสวรรค์
ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 ดังนี้
ด้านการเรียนรู้ จุดแข็ง คือ ปรับลดการให้การบ้านและภาระงานของนักเรียนและยืดหยุ่นเรื่องเวลา
เรียนโดยให้เวลาเรียนทุกคน และมีการจัดการเรียนการสอนโดยเน้นตัวชี้วัดที่ต้องรู้ สอนแบบบูรณาการ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ จุดอ่อน คือ นักเรียนบางคนขาดความรับผิดชอบและระเบียบวินัยในการเข้าเรียน
เช่น ไม่เข้าเรียนออนไลน์ ไม่เข้าไปศึกษาเนื้อหาท่ีครูนำไปไว้ในช่องทางที่ให้นักเรียนเข้าถึงได้ หรือ ไม่ทบทวน
เนื้อหาโอกาส คือ ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานภายนอก เช่น เครือข่ายผู้ปกครอง คณะกรรมการ
สถานศึกษาขั้นพื้นฐานในการดูแลช่วยเหลือนักเรียน และอุปสรรค คือ สัญญาณอินเทอร์เน็ตบางพื้นท่ี
ไม่เอื้ออำนวยต่อการเรียน สภาพเศรษฐกิจในครอบครัว นักเรียนมีฐานะปานกลางถึงยากจน และ
สง่ิ แวดล้อมของนักเรียนไมเ่ ออื้ อำนวยต่อการเรยี นออนไลน์
ด้านการตดิ ตาม จุดแข็ง คอื มีการตรวจสอบกำกับติดตามนักเรียนเป็นรายบุคคลท้ังจากครูประจำวิชา
เเละครูที่ปรึกษา อย่างใกล้ชิด และจัดกิจกรรม PLC ระหว่างผู้บริหาร กับครูประจำชั้นและครูประจำวิชา
เพื่อติดตาม และสอบถามปัญหาที่เกิดขึ้นของนักเรียน จุดอ่อน คือ ครูประจำวิชา และ ครูที่ปรึกษา
บางครั้งติดต่อนักเรียนไม่ได้ในบางกรณี โอกาส คือ ผู้นำชุมชน กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
หน่วยงานราชการ ในละแวกหมู่บ้านของนักเรียน ให้โอกาสในการขอใช้บริการสัญญาณอินเทอร์เน็ต
เพื่อใช้ในการเรียนออนไลน์ และอุปสรรค คือ ผู้ปกครองบางส่วนยังไม่มีเวลาในการดูแลนักเรียน
เนื่องจากต้องทำงาน
ด้านการช่วยเหลือและส่งต่อ จุดแข็ง คือ ทำการสอบถามข้อมูลที่เป็นข้อมูลจริงจากผู้นำชุมชน
ผู้นำท้องถิ่นเพื่อนำมาเป็นฐานข้อมูลของโรงเรียน และมีมาตรการคัดกรอง และ การป้องกันการแพร่ระบาด
ให้กับนักเรียน จุดอ่อน คือ การเรียนออนไลน์ ครูไม่สามารถสังเกต ควบคุมพฤติกรรมการเรียนของนักเรียน
176
ได้อยา่ งท่วั ถึง โอกาส คอื ได้รับการสนับสนนุ งบประมาณจากหน่วยงานตา่ งๆ ช่วยเหลอื นกั เรียนท่ีเปน็ กลุ่มเส่ียง
โควิด 19 และนักเรียนที่กักตัว และอุปสรรค คือ นักเรียนและผู้ปกครองปกปิดข้อมูลที่แท้จริงในการเดินทาง
มาจากพน้ื ทเี่ สีย่ ง
ด้านความปลอดภัย จุดแข็ง คือ เปิดช่องทางการติดต่อสื่อสาร line กลุ่มผู้ปกครอง ระหว่าง
ครูที่ปรึกษากับผู้ปกครองนักเรียน ในแต่ละห้องเพื่อกำกับติดตามและให้ช่วยนักเรียน จุดอ่อน คือ นักเรียน
ยังไม่ได้รับวัคซีน โอกาส คือ หน่วยงานสาธารณสุขเข้ามามีบทบาทในการช่วยเหลอื นักเรียน และอุปสรรค คือ
นกั เรียนมีความกังวลกลวั ตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019
ผลการวิเคราะห์แนวทางในการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น และ
ระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลายของโรงเรียนในสังกดั สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามธั ยมศึกษานครสวรรค์ ดงั น้ี
1. ด้านการเรยี นรู้
1.1 มีการวางแผนการช่วยเหลือนักเรียนเป็นรายบุคคล เพื่อให้นักเรียนสามารถติดตามงานของ
นกั เรียนได้
1.2 ครูประจำวิชามีช่องทางออนไลน์ในการติดต่อกับนักเรียน เพื่อช่วยเหลือและแก้ไขปัญหาของ
นักเรยี นได้อยา่ งทนั ทว่ งที
1.3 จัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน ท้ัง 4 รูปแบบ
1.4 ครูปรับวิธกี ารสอน การวดั ผลประเมนิ ผล เน้อื หาและเวลาให้เหมาะสมกบั นักเรียน
2. ด้านการตดิ ตาม
2.1 จัดทำแอพลเิ คช่ันสำหรบั ระบบดแู ลชว่ ยเหลอื โดยเฉพาะ
2.2 จดั ให้มีเครือขา่ ยที่ปฏบิ ตั หิ น้าที่ในส่วนของการดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรียน
2.3 มีการตดิ ตามนักเรยี นเชิงลกึ เกยี่ วกบั สภาพเศรษฐกิจในครอบครัว
2.4 จัดทำระบบเยย่ี มบา้ นนกั เรียนออนไลน์
2.5 ครูที่ปรึกษามีช่องทางออนไลน์ในการติดต่อกับนักเรียน เพื่อช่วยเหลือและแก้ไขปัญหา
ของนักเรียนได้อย่างทนั ท่วงที
3. ดา้ นการช่วยเหลอื ส่งต่อ
3.1 สนบั สนนุ หาทนุ การศกึ ษาสำหรบั นักเรียนขาดแคลน
3.2 ผปู้ กครองและชมุ ชนต้องเขา้ มามบี ทบาทในการดแู ลช่วยเหลือนักเรยี นให้มากข้นึ
4. ดา้ นความปลอดภยั ให้นกั เรยี นทุกคนได้รับวัคซีน
4.1 ดูแลชว่ ยเหลือนักเรียนดา้ นสขุ ภาพจติ
4.2 ใสใ่ จ ดูแล และรว่ มแก้ไข เพอ่ื สุขภาพท่ีดีและมีความสุข
177
5.กรณีศึกษาของโรงเรียนท่จี ัดการศกึ ษาโดดเด่น และโรงเรียนที่มปี ัญหาอุปสรรค โรงเรยี นในสังกดั
สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศกึ ษานครสวรรค์ที่จัดการศกึ ษาโดดเดน่ ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาด
ของโรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 ได้แก่ โรงเรยี น Best practice ไดแ้ ก่ โรงเรยี นนครสวรรค์
แนวปฏิบตั ทิ ีด่ ี คอื การสรา้ งนวตั กรรม Platform ระบบการจดั การเรียนออนไลน์โรงเรยี นนครสวรรค์
(NSSC Online)
1. โรงเรียนสรา้ ง E-mail สว่ นตัวใหก้ บั นกั เรียน ครูและบุคลากรทกุ คนในโรงเรียน ทำให้ครแู ละนักเรยี น
ทุกคนของโรงเรียน ใช้ E-mail ของโรงเรียน เพื่อเข้าถึงบริการออนไลน์ต่างๆ อาทิ Google App, Office 365
รวมถึงระบบ WiFi ภายในโรงเรียน อยา่ งเป็นระบบ สะดวก และมีความปลอดภัย
2. สร้างเว็บไซตศ์ นู ยก์ ลาง (web portal) สำหรับใช้รวบรวมลงิ กข์ องแตล่ ะห้องเรยี น (81 หอ้ งเรียน)
ครู และนักเรียน ไม่ต้องจำรหัสเขา้ ห้องเรียนออนไลน์ นกั เรียนรอเรยี นท่ีลงิ ก์เดมิ ส่วนครูผู้สอนเป็นผ้เู ปลี่ยนลิงก์
ห้องที่จะเข้าสอนในแต่ละชั่วโมงเรียน เปรียบเสมือนครูเดินเข้าไปสอนในห้องประจำชั้นของนักเรียน
ลดการสูญเสียเวลาในการเปล่ียนวิชาเรยี น
3. สร้างหนา้ เว็บไซตส์ ำหรับบันทึกวิดีโอในการสอน เพ่ือให้นกั เรยี นสามารถเข้าไปเรยี นซำ้ เรยี นทบทวน
ยอ้ นหลงั ได้
4. การจดั การเรยี นการสอนออนไลน์ผา่ น Google Meet และมวี ธิ ีการวดั ประเมินผลหลากหลาย เช่น
การใช้ Google Forms มีกิจกรรมทาง Google Classroom รวมทั้งมี Google site ของครูเป็นช่องทาง
ในการเรยี นรู้
5. สนบั สนนุ ดา้ นส่อื และอุปกรณ์การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ โดยใช้ Google Apps for Education
มีระบบสัญญาณอินเทอร์เน็ตทั่วถึงทุกจุดภายในโรงเรียน ทุกห้องเรียนมีคอมพิวเตอร์ โปรเจคเตอร์ webcam
และ Apple TV และสำหรบั นกั เรยี นที่ขาดแคลนอุปกรณ์ โรงเรียนจัดเตรียม iPad ให้ยืมสำหรับเรียนออนไลน์
6. มีเจ้าหน้าที่และครูผู้สอนคอมพิวเตอร์ ช่วยเหลือ/แก้ปัญหาการสอนออนไลน์ และมีช่องทางรับแจ้ง
ปัญหาการสอนออนไลน์ สำหรับครูผูส้ อน/นักเรียน/ผปู้ กครอง นอกจากนีย้ งั สนับสนนุ อปุ กรณ์การจัดการเรียน
สอนสำหรับครผู ูส้ อนทุกคน คอมพิวเตอรต์ ั้งโตะ๊ 1 ชุด, iPad 1เครอ่ื ง,คา่ สัญญาณอินเตอร์เนต็ คนละ 400 บาท,
สาย link, กล้อง Webcam
7. มกี ารสร้างบุคลากรแกนนำเป็นทมี i-Champion ต้นแบบในการใช้ iPad และแอพพลเิ คชั่นในการจดั การ
เรียนการสอนและขยายผลให้กบั บคุ ลากรในโรงเรียน
178
6. ข้อเสนอแนะเชงิ นโยบาย การบริหารจัดการ ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อ
ไวรัสโคโรนา 2019 ทจี่ ะนำมาใชใ้ นปกี ารศกึ ษา 2565
6.1 ด้านการจัดทำแผนและนโยบาย
6.1.1 หน่วยงานต้นสงั กดั วางแผนดำเนนิ การเพื่อให้โรงเรียนทราบแนวปฏิบตั ิทิศทางเดียวกันรวมถึง
โครงการต่าง ๆ แต่ละปีงบประมาณเพื่อให้โรงเรียนเตรียมความพร้อมและจัดการศึกษาในสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 ได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ
6.1.2 หน่วยงานตน้ สังกดั จดั ทำแผน และนโยบายการดูแลช่วยเหลือนักเรียนให้เข้าสู่ระบบการศึกษา
ตามหลกั สูตรการศึกษาภาคบังคบั ในรูปแบบท่ีเหมาะสมกบั สถานการณ์ปัจจบุ นั
6.1.3 หน่วยงานต้นสังกัดเสนอปรับรูปแบบวิธีการดำเนินโครงการหรือกิจกรรมต่าง ๆ
และจดั ทำแผนเผชิญเหตฯุ ใหเ้ หมาะสม
6.1.4 หนว่ ยงานตน้ สังกดั ประสานงานกับหนว่ ยงานอนื่ เพ่อื สง่ เสริมการจัดการเรียนรู้ท่มี รี ะบบ
6.1.5 หน่วยงานต้นสังกัดมีการสำรวจข้อมูลจากผู้ที่เกี่ยวข้องและผู้ที่ได้รับผลกระทบจาก
การใชน้ โยบายการจัดการศึกษาเพอ่ื นำมาประกอบการตัดสินใจก่อนนำไปปฏิบตั จิ ริง
6.2 ด้านหลกั สตู รและการจดั การเรยี นรู้
6.2.1 หน่วยงานตน้ สังกัด และกระทรวงศึกษาธิการพัฒนาและปรบั ปรงุ หลกั สตู ร เพมิ่ ความยดื หย่นุ
ของตัวชวี้ ดั โครงสรา้ งเวลาเรียน และวธิ ีวัดผลและประเมนิ ผลผูเ้ รยี นให้เหมาะสม เน้นทักษะชวี ติ และนำไปใช้
ได้จริง
6.2.2 หน่วยงานต้นสังกัด จัดให้มีหน่วยงานในการให้คำแนะนำการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การจดั การเรยี นรู้ รวมถงึ วิธีการวดั ผลและประเมินผลท่เี ป็นแนวปฏบิ ัติทถี่ กู ต้อง ในทศิ ทางเดยี วกัน
6.2.3 หน่วยงานต้นสังกัดส่งเสริมครูให้มีความรู้ความสามารถในการจัดการเรียนรู้ในรูปแบบ
ทหี่ ลากหลาย ทันตอ่ สถานการณป์ จั จุบัน
6.3 ดา้ นเทคโนโลยีทางการศกึ ษา
6.3.1 หน่วยงานต้นสังกัด และกระทรวงศึกษาธิการ จัดสรรงบประมาณการสนับสนุนอุปกรณ์
คอมพิวเตอร์ สื่อเทคโนโลยีทางการศึกษา และบริการสัญญาณอินเทอร์เน็ตให้ทั่วถึงกับนักเรียนทุกคน
6.3.2 หน่วยงานต้นสังกัดสร้างแพลตฟอร์ม ในการเรียนรู้ที่ครูและบุคลากรทางการศึกษา
สามารถเขา้ ถงึ และพฒั นาตนเองด้านการใช้ส่ือเทคโนโลยใี นการจัดการเรยี นการสอนท่มี ีประสิทธิภาพ
6.3.3 หน่วยงานต้นสังกัด จัดให้มีหน่วยงาน ผู้เชี่ยวชาญ ในการให้คำแนะนำ การใช้เทคโนโลยี
ใหเ้ กดิ ประโยชนต์ ่อการเรียนรู้ และการใชช้ วี ิตประจำวัน
6.4 ด้านการวดั ประเมินผล
6.4.1 หน่วยงานต้นสังกัด กำหนดระเบียบ วิธีปฏิบัติ และแนวทางการวัดผลและประเมินผล
การศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่สอดคล้องกัลบริบทและสถานการณ์ปัจจุบันอย่างเป็ นรูปธรรม
6.4.2 หน่วยงานต้นสังกัด จัดให้มีหน่วยงาน ผู้เชี่ยวชาญ ในการให้คำแนะนำ รูปแบบวิธีการวัด
179
และประเมินผลที่สะท้อนตัวชี้วัดที่มีการสอนในรูปแบบออนไลน์หรือรูปแบบอื่น ๆ ทั้ง 5 on อย่างเหมาะสม
และมมี าตรฐาน
6.5 ด้านการพฒั นานวตั กรรมการเรยี นรู้
6.5.1 หน่วยงานต้นสังกัด ส่งเสริม สนับสนุน และจัดอบรมการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม
การจัดการเรียนการสอนครบทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ และการบริหารจัดการศึกษาอย่างเหมาะสม
และสรา้ งสรรค์
6.5.2 หนว่ ยงานตน้ สงั กดั มกี ารจดั งบประมาณเพื่อพัฒนานวัตกรรมการเรียนร้สู ูส่ ถานศกึ ษา
6.5.3 หน่วยงานต้นสังกัดจดั ให้มหี น่วยงาน ผเู้ ช่ียวชาญ ในการแนะนำให้คำปรึกษา ด้านการพัฒนา
นวตั กรรมในการปฏิบตั งิ าน และการแกป้ ญั หา เพือ่ ให้สอดคล้องกับมาตรฐานวชิ าชีพ
6.6 ดา้ นการดแู ลช่วยเหลอื นักเรียน
6.6.1 หน่วยงานต้นสังกัดและกระทรวงศึกษาธิการ จัดทำแอพลิเคชั่นใช้เทคโนโลยีมาช่วย
ในการปฏบิ ตั งิ านด้านระบบดูแลชว่ ยเหลอื นักเรียน
6.6.2 หนว่ ยงานต้นสังกดั รว่ มกับเครอื ขา่ ยผปู้ กครอง หน่วยงานภาครัฐอ่นื ๆ ในการวางแผน กำกับ
ติดตาม ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน เป็นรายบุคคล ติดตามการเรียนรู้ จัดหาทุนการศึกษา จัดบริการ
ตรวจเยีย่ มชว่ ยเหลอื นกั เรยี นทม่ี ีปัญหาเพอื่ แกป้ ัญหารว่ มกนั
6.6.3 หน่วยงานต้นสังกัด สนับสนุน ประสานการทำงานร่วมกับหน่วยงานด้านสุขภาพจิต
และสร้างเครอื ข่ายเพื่อทปี่ ฏิบตั ิหนา้ ทีเ่ ฉพาะกจิ เพอ่ื ดูแลชว่ ยเหลือนักเรยี น
อภิปรายผล
ขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบาย การบรหิ ารจัดการในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา
2019 ที่จะนำมาใช้ในปีการศึกษา 2565 ด้านการจัดทำแผนและนโยบาย ที่ได้เสนอให้หน่วยงานต้นสังกัด
วางแผนดำเนนิ การเพื่อให้โรงเรียนทราบแนวปฏิบัติทิศทางเดียวกันรวมถึงโครงการต่าง ๆ แต่ละปีงบประมาณ
เพื่อให้โรงเรียนเตรียมความพร้อมและจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
2019 ได้อย่างมีประสิทธิภาพ จัดทำแผน และนโยบายการดูแลช่วยเหลือนักเรียนให้เข้าสู่ระบบการศึกษาตาม
หลักสูตรการศึกษาภาคบังคับในรูปแบบที่เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน และให้มีการปรับรูปแบบวิธีการ
ดำเนินโครงการหรือกิจกรรมต่าง ๆ และจัดทำแผนเผชิญเหตุฯ ให้เหมาะสม รวมถึงมีการประสานงานกับ
หน่วยงานอืน่ เพ่อื สง่ เสรมิ การจัดการเรียนรทู้ ม่ี ีระบบ ทั้งนี้ให้มีการสำรวจข้อมูลจากผู้ที่เกี่ยวข้องและผู้ที่ได้รับ
ผลกระทบจากการใช้นโยบายการจัดการศึกษาเพื่อนำมาประกอบการตัดสินใจก่อนนำไปปฏิบัตจิ ริง สอดคล้อง
กับ จิรกิติ์ ทองปรีชา (2563) ได้ศึกษา การบริหารจัดการการเรียนการสอน ภายใต้สถานการณ์ COVID-19
ระดับมัธยมศึกษาพื้นที่โรงเรียนวชิรธรรมสาธิต เขตพระโขนง กรุงเทพมหานคร พบว่า การบริหารจัดการการ
เรียนการสอนของโรงเรียนวชิรธรรมสาธิต เป็นไปตามนโยบายและแนวทางของรัฐบาล ในการเตรียมความ
พร้อมในการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบออนไลน์และมาตรการการป้องกันการแพร่ระ บาดในสถานศึกษา
เพื่อความปลอดภัยสูงสุดของนักเรียน และบุคลากรทางการศึกษา และ พงษ์ศักดิ์ ภูกาบขาว (2553) ทำการ
180
วิจัยเรื่อง ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อความมีประสิทธิผลของโรงเรียนเรียนร่วมจังหวัดขอนแก่น ว่ามีรูปแบบการ
นำเสนอในลักษณะของแผนยุทธศาสตร์ หรือแผนเชิงนโยบายของหน่วยงานที่มีมาตรฐาน และข้อเสนอเชิง
นโยบายจะนำไปใช้ในการประกอบการตัดสินใจในการแก้ปัญหาที่มีประสิทธิผล ด้านหลักสูตรและการจัดการ
เรียนรู้ ให้หน่วยงานต้นสังกัด และกระทรวงศึกษาธิการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร เพิ่มความยืดหยุ่นของ
ตัวชี้วัด โครงสร้างเวลาเรียน และวิธีวัดผลและประเมินผลผู้เรียนให้เหมาะสม เน้นทักษะชีวิต และนำไปใช้ได้
จริง จัดให้มีหน่วยงานในการให้คำแนะนำการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การจัดการเรียนรู้ รวมถึงวิธีการ
วัดผลและประเมินผลที่เป็นแนวปฏิบัติที่ถูกต้อง ในทิศทางเดียวกัน รวมถึงการส่งเสริมครูให้มีความรู้
ความสามารถในการจัดการเรียนรู้ในรูปแบบที่หลากหลาย ทันต่อสถานการณ์ปัจจุบัน สอดคล้องกับ เก็จกนก
เอ้อื วงศ,์ ชชู าติ พว่ งสมจติ ร์, นงเยาว์ อุทุมพร, กลุ ชลี จงเจรญิ , และฐติ กิ รณ์ ยาวิไชย จารกึ ศิลป์ (2562) ทำการ
วิจัย เรื่อง รายงานการศึกษารูปแบบการจัดการเรียนรู้สำหรับนักเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่ได้รับ
ผลกระทบจากสถานการณ์โควิด–19 พบว่า สถานศึกษาส่วนใหญ่มีการดำเนินการวิเคราะห์หลักสูตร/จัดทำ
โครงสร้างหลักสูตรให้เหมาะสม การปรับแผนการจัดการเรียนรู้ให้สอดคลอ้ งกับเนื้อหาและรูปแบบการจัดการ
เรียนรู้ การจัดลำดับความสำคัญของเนื้อหาให้เหมาะสมกับรูปแบบการจัดการเรียนรู้ การเชื่อมโยงเนื้อหาให้
เหมาะสมกับรูปแบบการจัดการเรียนรู้ การนิเทศ กำกับติดตามการจัดการเรียนรู้ และการวัดประเมินผลการ
เรียน มีการชี้แจงนโยบายให้ครูรับทราบ มีการอบรมครูเกี่ยวกับการใช้สื่อ เทคโนโลยี และการสำรวจความ
พร้อมของนักเรียน การปรบั เน้ือหา/กจิ กรรมเสริมการเรยี นรูใ้ ห้สอดคล้องกบั รปู แบบการจดั การเรียนรู้ มีการใช้
ใบความรู้/ใบงานประกอบการเรยี นรู้ และสอนเสริมให้กบั ผู้เรยี น กรณีการจัดการเรียนรู้ผ่านออนไลน์ มีใช้การ
ใช้แพลตฟอร์มต่าง ๆ เช่น Google Meet, Zoom, MST การใช้สื่อ Social Media นอกจากนี้ผลการศึกษา
ผลกระทบทางลบของสถานการณ์โควิด-19 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พบว่า อินเทอร์เน็ต และการสื่อสารไม่เพียงพอและสัญญาณไม่เสถียร สถานศึกษาส่วนมากไม่ได้รับเงิน
งบประมาณสนับสนุนจากหน่วยงานต้นสังกัด ทั้งที่ช่วงโควิดสถานศึกษามีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น อาคารสถานที่เพ่ือ
การจัดการเรยี นรูไ้ ม่เพียงพอ หน่วยงานต้นสงั กัดและหน่วยงานอื่น ๆ ขอข้อมูลจำนวนมากจากสถานศึกษา ทำ
ให้เป็นภาระงาน และกระทบต่อเวลาในการจัดการเรียนการสอน ดังนั้น ด้านเทคโนโลยีทางการศึกษา
หน่วยงานต้นสังกดั และกระทรวงศกึ ษาธกิ าร จงึ ควรจัดสรรงบประมาณการสนบั สนุนอปุ กรณ์คอมพวิ เตอร์ สื่อ
เทคโนโลยีทางการศึกษา และบริการสัญญาณอินเทอร์เน็ตให้ทั่วถึงกับนักเรียนทุกคน และ สร้างแพลตฟอร์ม
ในการเรียนรู้ที่ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา สามารถเข้าถึง และพัฒนาตนเองด้านการใชส้ ื่อเทคโนโลยีในการ
จัดการเรยี นการสอนที่มีประสิทธภิ าพ โดยจัดใหม้ หี นว่ ยงาน ผู้เชยี่ วชาญ ในการให้คำแนะนำ การใช้เทคโนโลยี
ให้เกิดประโยชน์ต่อการเรียนรู้ และการใช้ชีวิตประจำวัน สอดคล้องกับ รายงานการพิจารณาศึกษาเรื่อง
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเร่งด่วน ว่าด้วยการบริหารการจัดการศึกษาในช่วงสถานการณ์การระบาดของโรคติด
เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ท่เี หมาะสมกับสงั คมไทย ของคณะกรรมาธกิ ารการศกึ ษา วฒุ สิ ภา ว่า ควร
จัดอบรมการใช้อปุ กรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศประกอบการจัดการเรียนการสอนและโปรแกรมการเรยี นผา่ นส่ือ
อิเล็กทรอนิกส์ให้กับครูและบุคลากรทางการศึกษา สามารถใช้เทคโนโลยีทางการศึกษาเพื่อจัดการเรียนการ
181
สอน รวมทั้งสอนให้ผู้เรียนสามารถใช้เทคโนโลยีในการแสวงหาความรู้ ด้วยตนเองได้ และควรติดตั้งและเพิ่ม
ศูนย์บริการอินเทอร์เน็ตประชารัฐให้ครอบคลุมพื้นที่ต่าง ๆ มากขึ้น เพราะผู้เรียนบางคนครอบครัวไม่มี
ความสามารถในการจ่ายค่าอินเทอร์เน็ตให้แก่ผู้เรียนได้ จะสามารถใช้บริการของศูนย์บริการฯ ดังกล่าว
จะสามารถตดิ ตามข่าวสารและเขา้ ถงึ ส่ือการเรียนการสอนออนไลน์ได้ ดา้ นการวดั ประเมนิ ผล ให้หน่วยงานต้น
สังกดั กำหนดระเบียบ วิธปี ฏบิ ตั ิ และแนวทางการวดั ผลและประเมินผลการศึกษาระดับการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน ท่ี
สอดคล้องกัลบริบทและสถานการณ์ปัจจุบันอย่างเป็นรูปธรรม จัดให้มีหน่วยงาน ผู้ เชี่ยวชาญในการให้
คำแนะนำ รูปแบบวิธีการวัดและประเมนิ ผลที่สะท้อนตัวช้ีวัดที่มีการสอนในรูปแบบออนไลน์หรือรูปแบบอื่น ๆ
ทั้ง 5 on อย่างเหมาะสมและมีมาตรฐาน สอดคล้องกับรายงานการพิจารณาศึกษาเรื่องข้อเสนอแนะเชิง
นโยบายเร่งด่วน ว่าด้วยการบริหารการจัดการศึกษาในช่วงสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
2019 (COVID-19) ที่เหมาะสมกับสังคมไทย ของคณะกรรมาธิการการศึกษา วุฒิสภา ว่า ต้องมีแนวปฏิบัติท่ี
ชัดเจนในการวัดและประเมินผล เพื่อให้โรงเรียนที่มีความพร้อมสามารถดำเนินการจัดการศึกษาได้
สว่ นนักเรยี นทไี่ ม่มีความพรอ้ มด้านการเรยี น Online ใหม้ าเรียนท่โี รงเรยี นตามปกติ ด้านการพัฒนานวัตกรรม
การเรียนรู้ หน่วยงานต้นสังกัด ควรส่งเสริม สนับสนุน และจัดอบรมการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการจัดการ
เรยี นการสอนครบทุกกลุม่ สาระการเรียนรู้ และการบริหารจัดการศกึ ษาอยา่ งเหมาะสม และสร้างสรรค์มกี ารจัด
งบประมาณเพื่อพัฒนานวัตกรรมการเรยี นรู้สูส่ ถานศกึ ษา และ จดั ใหม้ หี นว่ ยงาน ผเู้ ชี่ยวชาญ ในการแนะนำให้
คำปรึกษา ด้านการพฒั นานวัตกรรมในการปฏิบัตงิ าน และการแกป้ ญั หา เพื่อให้สอดคล้องกับมาตรฐานวิชาชีพ
สอดคล้องกับ สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (2563) ศึกษาผลของการติดตามสภาพและความเคลือ่ นไหว
รวบรวมความคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่างๆที่เกิดขึ้นในสถานการณ์วิกฤติโควิด-19 ให้ข้อเสนอว่า “ควรสร้าง
เจตคติใหม่ในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาให้แก่ครูและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องซึ่งจากผลการวิจัยสะท้อนให้เห็น
ความสำคัญของการพัฒนาครู เพราะครูเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการจัดการเรียนรู้ หากครูมีคุณภาพ
ที่สามารถจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีคุณภาพแล้ว ก็จะส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียน คุณภาพของผู้เรียนจึงขึ้นอยู่กับ
คณุ ภาพของครเู ป็นสำคัญ และ ด้านการดแู ลช่วยเหลือนกั เรียน หน่วยงานต้นสังกัดและกระทรวงศึกษาธิการ
จัดทำแอพลิเคชั่นใช้เทคโนโลยีมาช่วย ในการปฏิบัติงานด้านระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ร่วมกับเครือข่าย
ผู้ปกครอง หน่วยงานภาครฐั อื่น ๆ ในการวางแผน กำกับ ติดตาม ระบบดูแลช่วยเหลอื นักเรยี น เป็นรายบุคคล
ติดตามการเรียนรู้ จัดหาทุนการศึกษา จัดบริการตรวจเยี่ยมช่วยเหลือนักเรียนที่มีปัญหาเพื่อแก้ปัญหาร่วมกัน
สนบั สนนุ ประสานการทำงานร่วมกับหน่วยงานด้านสุขภาพจติ และสร้างเครือข่ายเพื่อที่ปฏบิ ัตหิ น้าที่เฉพาะกิจ
เพื่อดูแลช่วยเหลือนักเรียน สอดคล้องกับ ภูมิศรัณย์ ทองเลี่ยมนาค (2563) ทำการศึกษาผลกระทบของ
COVID-19 ต่อระบบการศึกษาของโลกและประเทศไทยในมุมมองทางเศรษฐศาสตร์ ซงึ่ พบผลกระทบต่อผู้เรียน
คอื 1) ผลกระทบจากการปิดเรียนอันยาวนานพบว่าการท่ีนักเรยี นต้องอยู่บ้านนาน ๆ จะสง่ ผลทำให้การเรียนรู้
ของนักเรียนถดถอยลง โดยเฉพาะในกลุ่มเด็กยากจนที่ไม่มีโอกาสเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ นอกโรงเรียน 2) การ
วิเคราะห์เรื่องความเหลื่อมล้ำของการเข้าถึงทรัพยากรทางการศึกษา พบว่าการเรียนรู้ที่เป็นที่นิยมของ
สถานศึกษาในยุค COVID-19 คือการเรียนผ่านระบบออนไลน์ แต่ก็มีปัญหาในบางมิติ ในด้านของ
182
ความเหลื่อมล้ำดิจิทัล (digital divide) ไม่ว่าจะเป็นการเข้าถึงอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ สัญญาณอินเทอร์เน็ต
ทักษะความรูข้ องครูและผปู้ กครองในการชว่ ยสนับสนุน 3) การใหเ้ งินอุดหนุนท่ีสถานศึกษา ศูนยเ์ ด็กเล็ก และ
แนวทางการชว่ ยเหลอื อื่น ๆ ในปัจจุบันหลายประเทศได้เรง่ บรรเทาความเดือดร้อนของนักเรียนและผู้ปกครอง
ในด้านต่างๆ เช่น การให้เงินอุดหนุนเงนิ ลงไปทีศ่ ูนย์พัฒนาเด็กเล็กในระดับปฐมวัย โรงเรียน หรือมหาวทิ ยาลัย
การดูแลเรอ่ื งอาหารและโภชนาการแก่เด็กทต่ี ้องการ การแจกหรือใหย้ มื อุปกรณ์ เช่น เครอื่ งคอมพิวเตอร์มือถือ
เครอื่ งส่งสญั ญาณ WiFi แบบมือถือ ให้แกน่ กั เรียนในกลมุ่ ยากจนที่ไม่มอี ุปกรณ์การศกึ ษา การใหค้ วามชว่ ยเหลอื
ในเรื่องของการใหค้ ำปรกึ ษาต่าง ๆ หรือนักจติ วิทยา แก่เดก็ หรอื พ่อแม่
ขอ้ เสนอแนะในการวจิ ยั ครง้ั ต่อไป
1.ควรมีการวจิ ยั ต่อเนื่อง เมอ่ื มีการนำผลการวจิ ยั ทค่ี ้นพบไปใชป้ ระโยชนใ์ นการพฒั นาการจดั การศึกษา
ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในจังหวดั นครสวรรค์ ไปแลว้ ระยะหนง่ึ ควรจะทำ
การวิจัยเพื่อประเมนิ และหาข้อเสนอแนะในเรื่องน้ีอีก เนอ่ื งจากบรบิ ทในการจดั การศึกษาเปลยี่ นไปอาจทำให้มี
ความตอ้ งการในการทจี่ ะพฒั นาดา้ นอ่ืนๆ เพิม่ มากข้ึน
2. ควรมีการวิจัยและพัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคติดเช้ือ
ไวรัสโคโรนา 2019 สู่การปฏิบัติเพ่ือให้ได้แนวทางการนานโยบายไปสู่การปฏิบัติท่ีมีประสิทธิภาพ
และประสทิ ธิผล
3. ควรมีการวิจัยติดตามและประเมินผลของนโยบายการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา
พัฒนาการจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ทั้งด้านการนำนโยบายสู่
การปฏิบัติ สภาพและปัญหาการดำเนินงานการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา 2019 ตามนโยบาย และผลสัมฤทธิห์ รือประสิทธผิ ลของนโยบาย
4. ควรทำการวิจัยในภาพรวมของเขตตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ เนื่องจากแต่ละเขตตรวจ
ราชการมีบริบททีค่ ล้ายกนั เพือ่ จะไดน้ ำข้อเสนอเชิงนโยบายจากผลการวจิ ัยไปเปน็ แนวทางในการพัฒนาการจัด
การศึกษาต่อไป
185
รายการอา้ งอิง
186
รายการอ้างอิง
กรมสุขภาพจติ กระทรวงสาธารณสุข. (2554). คู่มือครทู ี่ปรกึ ษาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรยี น. กรุงเทพมหานคร:
ยูเรนสั อมิ เมจกรุ๊ป.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2563). การเตรียมความพร้อมของกระทรวงศึกษาธิการก่อนเปิดภาคเรียน 1 กรกฎาคม
2563. สืบค้นจาก https://moe360.blog/2020/05/08/การเตรียมความพร้อมของกระทรวงศึกษาธิการ
ก่อนเปิดภาคเรยี น 1 กรกฎาคม 2563.
. (2550). รายงานการสัมมนาการศึกษานอกโรงเรียนร่วมกับสมาคมศาสตร์แห่ง ประเทศไทย.
กรุงเทพฯ: อักษรบัณฑติ .
. (2551). หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุม
สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
กระทรวงสาธารณสขุ . (2552). คมู่ ือครทู ่ีปรกึ ษา ระบบการดูแลช่วยเหลือนกั เรยี น. กรงุ เทพฯ: ยเู รนสั อิมเมจกรุ๊ป.
กาญจนา คุณารกั ษ์. (2543). พ้นื ฐานการพฒั นาหลักสูตร. นครปฐม: มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร.
เก็จกนก เอื้อวงศ์, ชูชาติ พ่วงสมจิตร์, นงเยาว์ อุทุมพร, กุลชลี จงเจริญ, และฐิติกรณ์ ยาวิไชย จารึกศิลป์ (2562).
รายงานการศกึ ษารปู แบบการจดั การเรยี นรู้สำหรับนกั เรียนระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ท่ไี ด้รับผลกระทบจาก
สถานการณ์โควิด–19. กรุงเทพมหานคร: สำนกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา.
จริ กติ ์ิ ทองปรชี า. (2563). การบริหารจัดการการเรยี นการสอน ภายใต้สถานการณ์ COVID - 19 ระดับ
มัธยมศึกษา. สบื คน้ จาก http://www3.ru.ac.th/mpa-abstract/files 2562_159 7914679 _6114
832031.pdf.
ชาญชัย อาจนิ สมาจาร. การบรหิ ารการศกึ ษา.กรงุ เทพมหานคร: ศนู ย์สอื่ ส่งเสรมิ กรุงเทพ, 2545.
ดอกจนั ทร คํามีรตั น, บุญทนั ดอกไธสง, และ อมิ รอน มะลูลมี . (2552). กลยุทธในการบริหารของบริษทั เอน็ อีซี
โทคิน อิเล็กทรอนิกส(ประเทศไทย) จํากดั . สืบค้นจา http://www.grad.vru.ac.th/download4/141.pdf.
(6 ตลุ าคม 2021)
187
ถนัด เดชทรัพย์. (2550). การบริหารจัดการขององค์การบริหารส่วนตำบลไทยชนะศึก อำเภอทุ่งเสลี่ยมจังหวัด
สุโขทัย ตามหลักธรรมาธิบาล. ภาคนิพนธ์รัฐประศาสนศาตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารและพัฒนา
ประชาคมเมอื งและชนบท, มหาวิทยาลยั ราชภฏั อตุ รดิตถ.์
ทิพย์วรรณ สุขใจรุ่งวัฒนา. (2557). การพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายในการเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์
สำหรบั ผนู้ ำองคก์ รนิสติ /นักศกึ ษาในสถาบันอุดมศกึ ษาในทศวรรษหน้า (พ.ศ.2557 - 2566). (ปริญญานิพนธ์
ปรัชญาดุษฎบี ัณฑติ ไม่ได้ตพี มิ พ)์ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร, นครปฐม.
ทิศนา แขมมณ.ี (2555). ศาสตรก์ ารสอน (พมิ พ์ครัง้ ท่ี 5). กรุงเทพมหานคร: ด่านสุทธาการพมิ พ.์
ประกาศิต อานุภาพแสนยากร. (2555). การจัดการเรียนรู้. มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่ม ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ,
มหาวิทยาลยั ราชภฏั มหาสารคาม.
ประภาพรรณ เอย่ี มสุภาษิต. (2554). แนวคดิ และรูปแบบเกี่ยวกับการสอน ในเอกสารการสอนชุดวชิ าวิทยาการการ
จดั การเรยี นรู้ หนว่ ยท่ี 2. นนทบรุ ี. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์,มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
พัชราภรณ์ ดวงชื่น. (2563). การบริหารจัดการศึกษารับความปกติใหม่หลังวิกฤตโควิด – 19. วารสารศิลปการ
จดั การ.มหาวทิ ยาลัยครสิ เตยี น. 4(3), 783-795.
พริ้มเพรา วราพันธ์พิพิธ. (2556). ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อความเป็นเลิศของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น. (ปริญญานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์). มหาวิทยาลัยขอนแก่น,
ขอนแกน่ .
พงษ์ศักดิ์ ภูกาบขาว. (2553). ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อความมีประสิทธิผลของโรงเรียนเรียนร่วมจงั หวัดขอนแก่น.
(ปริญญานพิ นธป์ ริญญาปรชั ญาดุษฎบี ัณฑติ ไม่ไดต้ พี ิมพ์). มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น, ขอนแก่น.
พงษ์ศักดิ์ สวัสดิเกียรติ. (2550). “ธุรกิจ” เรื่องง่าย ๆ (Easy Busi...ness). กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ โกเมน
เอก.
ภาวิดา ธาราศรีสุทธิและวิบูลย์ โตวณะบุตร. (2542). หลักและทฤษฎีการบริหารการศึกษา. กรุงเทพมหานคร:
สำนักพมิ พม์ หาวทิ ยาลยั รามคำแหง.
ภูมศิ รัณย์ ทองเล่ยี มนาค. (2563). ผลกระทบของ COVID-19 ต่อระบบการศกึ ษาของโลกและประเทศ
ไทยในมุมมองทางเศรษฐศาสตร์. สืบค้นจาก https://thaipublica.org/2020/04/19-economists- with-
covid-19-15/.
188
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์. (2557). คู่มือการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรยี นเป็นสำคัญ.ปทมุ ธานี: ศูนย์
เรยี นรกู้ ารผลติ และจดั การธรุ กิจส่ิงพมิ พ์ดิจิตอล.
โรงเรียนจฬุ าภรณราชวทิ ยาลัย. (2558). คมู่ ือครูทีป่ รึกษา แบบฟอรม์ เอกสารทเี่ กย่ี วข้องกบั ระบบการดแู ลช่วยเหลือ
นักเรยี น. นครศรธี รรมราช : ฝา่ ยกิจการนกั เรียน.
รัตนาภรณ์ สมบูรณ์. (2556). ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตนักเรียนโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์.
(ปริญญานพิ นธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบณั ฑติ ไมไ่ ด้ตีพมิ พ์) มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ .
วชิ ยั ประสิทธิวุฒิเวชช์. (2542). การพัฒนาหลกั สูตรสานต่อทที่ อ้ งถ่ิน. กรงุ เทพมหานคร: เลฟิ แอนด์ ลพิ เพรส.
วิธิดา พรหมวงศ์. (2563). สภาพปัญหาและแนวทางการแก้ปัญหาการจัดการเรียนรูใ้ นช่วงการแพร่ระบาดของเช้อื
ไวรัสโควดิ -19 ของโรงเรียนในสังกดั สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต 1. วารสารรชั ต์
ภาคย.์ 15(4), 200-213.
วิโรจน์ สารรัตนะ. (2556). การวิจัยเชิงนโยบายแบบมีส่วนร่วม Participatory Policy Research (เอกสารการ
บรรยาย). หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชาการบริหารการศึกษามหาวิทยาลัยมหามกุฎราช
วิทยาลยั .
ศศิจันทร์ ปัญจทวี. (2560). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการยอมรับการใช้ระบบสารสนเทศ กรณีศึกษาสถาบันการพลศึกษา
วิทยาเขตเชียงใหม่. (รายงานการค้นคว้าอิสระ หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตไม่ได้ตีพิมพ์) มหาวิทยาลยั
ราชภัฏเชยี งใหม.่
ศิริชัย กาญจนวาสี. (2545). ทฤษฎีการประเมิน. พิมพ์ครั้งที่ 3 กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่ง จุฬาลงกรณ์
มหาวทิ ยาลัย.
สมคดิ บางโม. (2546). องค์การและการจดั การ. กรงุ เทพมหานคร: จูนพับลิชช่ิง.
สริ ิพร อนิ ทสนธ์ิ.(2563). โควดิ – 19 กับการเรยี นการสอนออนไลน์ กรณีศกึ ษา รายวิชาการเขียนโปรแกรมเว็บ ได้
ศึกษาและอธิบายถึงสถานการณ์โควิดโดยได้ศึกษาเรื่อง โควิด-19: กับการเรียนการสอนออนไลน์. วารสาร
วทิ ยาการจดั การปรทิ ัศน์.22(2), 203-213.
สธุ ี สทุ ธสิ มบูรณ์. (2539). หลักการบรหิ ารเบอ้ื งตน้ . กรงุ เทพมหานคร: สวสั ดิการสำนกั งาน.