The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการพัฒนาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพื้นที่

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by prpidthong1, 2022-01-23 21:39:41

โครงการพัฒนาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพื้นที่

โครงการพัฒนาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพื้นที่

Keywords: โครงการพัฒนาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพื้นที่

เล่มที่ 1
รายงานฉบับสมบูรณ์

โครงการพัฒนาระบบการตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการพฒั นาพืน้ ที่
ตามแนวทางความค้มุ คา่ ของการจดั การงบประมาณ

พฤศจกิ ายน 2563

เสนอต่อ มูลนธิ ิปดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ
จดั ทำโดย มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ ธนบบรุ ี



สารบญั

เร่ือง หน้า
สารบญั ...............................................................................................................................................i
สารบญั รปู .........................................................................................................................................iv
สารบญั ตาราง.....................................................................................................................................x
1 บทนำ.........................................................................................................................................1

1.1 หลักการและเหตุผล.........................................................................................................................1
1.2 วัตถปุ ระสงค์....................................................................................................................................1
1.3 ขอบเขตของการดำเนนิ งาน.............................................................................................................2
1.4 กิจกรรมการดำเนนิ งานทผี่ า่ นมา......................................................................................................4
1.5 สรปุ ผลงาน......................................................................................................................................7
2 หลกั การสำคญั ของการประเมินผลการพฒั นาพื้นที่........................................................................8
2.1 ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและทฤษฎใี หม่..................................................................................8
2.2 การตดิ ตามประเมนิ ผลความสำเรจ็ ของธนาคารโลก (World Bank) ............................................. 11
2.3 แนวทางการประเมินผลของ United Nations Development Programme (UNDP)............... 14
2.4 หลักการประเมินผลของ Organization for Economic Co-operation and Development

(OECD) ........................................................................................................................................ 15
2.5 ทฤษฎหี ว่ งโซแ่ หง่ คณุ คา่ (Value Chain) ...................................................................................... 16
2.6 โมเดลธรุ กจิ แบบแคนวาส (The Business Model Canvas) ....................................................... 18
2.7 วงจร PDCA (Plan-Do-Check-Act) ............................................................................................ 22
2.8 ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ สำนักงบประมาณ...................................... 23
3 องคป์ ระกอบของการพฒั นาระบบการตดิ ตามประเมนิ ผล............................................................ 27

3.1.1 พันธกิจ วัตถุประสงค์ เป้าหมายและตัวชี้วัดของสถาบันส่งเสรมิ และพัฒนากิจกรรมปิดทอง
หลงั พระสบื สานแนวพระราชดำริ ...................................................................................... 27

โครงการพฒั นาระบบการติดตาม ประเมนิ และรายงานผลการพฒั นาพื้นทตี่ ามแนวทางความคมุ้ คา่ ของการจัดการงบประมาณ i
มลู นิธิปิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

เรอื่ ง หน้า
3.2 การขับเคล่อื นงานพฒั นาตามแนวพระราชดำริ โดยใช้ทฤษฎีห่วงโซแ่ ห่งคณุ คา่ ............................. 29
3.3 รูปแบบกจิ กรรมการดำเนนิ งานของสถาบนั ปิดทองฯ ในพน้ื ท่ีตน้ แบบ (Business Model)........... 31
3.4 การประเมินผลสัมฤทธ์ขิ องมลู นธิ ปิ ดิ ทองฯ เปรยี บเทยี บกบั ความคาดหวงั ของผู้มสี ่วนได้ส่วนเสยี .. 40
3.4.1 ผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสียของมลู นธิ ปิ ิดทองฯ................................................................................ 40
3.4.2 แผนงานของมลู นิธปิ ิดทองฯ และกรอบการประเมินผลสมั ฤทธิ์ .......................................... 40
3.4.3 ความคาดหวงั ของผ้มู สี ว่ นได้ส่วนเสยี .................................................................................. 42
3.5 การทบทวนเปา้ หมายและตัวช้วี ดั ของสว่ นราชการท่ีเกีย่ วขอ้ งกบั การพฒั นาพ้นื ท่ี ......................... 48
3.6 การออกแบบตวั ชี้วดั เพ่อื การติดตาม ประเมนิ และรายงานผลการพฒั นาตามแนวพระราชดำริ .... 71
3.6.1 หลกั การออกแบบตวั ชีว้ ัด................................................................................................... 71
3.6.2 โครงสร้างตวั ชีว้ ดั เพือ่ การประเมินและรายงานผลของปดิ ทองฯ ........................................ 77
3.6.3 ตวั ชว้ี ดั การพัฒนาตามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง กบั การพัฒนาอย่างยง่ั ยนื (SDGs)..... 82
3.6.4 ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ชาติ/แผนของภาครัฐเกี่ยวกับมูลนิธิปิดทองหลังพระสืบสานแนว
พระราชดำริ ...................................................................................................................... 87
3.7 การพฒั นาระบบสารสนเทศกลางเพอื่ การวางแผน บรหิ ารจดั การ และการติดตามประเมนิ ผล.... 108
3.7.1 ความสำคัญของข้อมลู เพอ่ื ประกอบการตดั สนิ ใจ.............................................................. 108
3.7.2 ระบบสารสนเทศกลางเพ่ือการวางแผน บรหิ ารจัดการ และการตดิ ตามประเมินผล ......... 110
3.7.3 โครงสรา้ งรหสั มาตรฐานเพ่อื การพฒั นาพนื้ ทขี่ องมลู นิธิปดิ ทองฯ (Coding)...................... 114
3.7.4 กระบวนการและความเชื่อมโยงในการปฏิบตั ิการของฝ่ายตา่ งๆ ภายในสถาบันฯ ในขั้นตอน
การวางแผน จดั สรรงบประมาณ ติดตามและประเมินผลการปฏิบตั ิงาน.......................... 128
3.8 การจัดการองค์ความรูง้ านพฒั นาตามแนวพระราชดำริ............................................................... 130
3.8.1 ความสำคญั ของการจดั การองคค์ วามรู้............................................................................. 130
3.8.2 การใชก้ รณศี กึ ษาเป็นเครอ่ื งมอื ในการจัดการความรอู้ งคก์ ร.............................................. 143
3.8.3 แนวทางจดั การองค์ความรู้ในการพฒั นาตามแนวพระราชดำริ ......................................... 146
3.8.4 สรุปการถ่ายทอดองค์ความรูใ้ ห้กับบุคลากรของมูลนิธปิ ิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระดำริ
........................................................................................................................................ 169

ii โครงการพัฒนาระบบการตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการพฒั นาพ้ืนทต่ี ามแนวทางความค้มุ ค่าของการจดั การงบประมาณ

มูลนิธปิ ิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

เร่อื ง หน้า
4 ระบบการตดิ ตามประเมนิ ผล ................................................................................................... 176

4.1 หลักการวัดผลและรายงานผลเพอ่ื การพฒั นา (Developmental Evaluation) ......................... 176
4.2 หลกั การติดตามประเมนิ ผลของมลู นธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระฯ............................................................. 180
4.3 การประเมินผลความคุม้ ค่าในการใชจ้ า่ ยงบประมาณ (Fiscal Report)....................................... 184
4.4 การประเมนิ ผลการพัฒนาพ้นื ทตี่ ามแนวพระราชดำริ (Wisdom Report).................................. 187
4.5 การประเมินและทบทวนโครงการ (Project Financing Report)............................................... 193
4.6 คมู่ อื การติดตามประเมนิ ผล ........................................................................................................ 200
4.7 ขอ้ เสนอแนะมาตรฐานการรายงานผล ........................................................................................ 202
5 เอกสารอ้างอิง........................................................................................................................ 203

โครงการพฒั นาระบบการติดตาม ประเมนิ และรายงานผลการพฒั นาพ้นื ทต่ี ามแนวทางความคมุ้ ค่าของการจดั การงบประมาณ iii
มูลนิธิปดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

สารบญั รูป

รูป หนา้
รูปท่ี 1.1 สรปุ ผลงาน.......................................................................................................................................7
รปู ที่ 2.1 เศรษฐกจิ พอเพยี งและทฤษฎีใหม่ .....................................................................................................8
รปู ท่ี 2.2 ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ..........................................................................................................9
รูปท่ี 2.3 โมเดลการปฏบิ ตั ิของเศรษฐกจิ พอเพียงและทฤษฎีใหม่...................................................................10
รูปที่ 2.4 การประเมนิ ผลความสำเรจ็ แผนงาน/โครงการของธนาคารโลก (World Bank)..............................11
รปู ที่ 2.5 ขนั้ ตอนการประเมินผลความสำเรจ็ แผนงาน/โครงการของธนาคารโลก ..........................................13
รูปท่ี 2.6 หลกั ในการประเมินผลของ UNDP..................................................................................................14
รปู ท่ี 2.7 หลกั ในการประเมนิ ผลของ OECD..................................................................................................15
รูปท่ี 2.8 ทฤษฎีห่วงโซแ่ หง่ คุณค่า (Value Chain) (Porter, 1985)...............................................................16
รปู ที่ 2.9 The Business Model Canvas....................................................................................................18
รูปท่ี 2.10 สรปุ The Business Model Canvas..........................................................................................22
รูปที่ 2.11 วงจร PDCA (Plan-Do-Check-Act)............................................................................................22
รปู ที่ 2.12 กรอบแนวคดิ การตดิ ตามประเมนิ ผลตามระบบงบประมาณแบบมงุ่ เนน้ ผลงานตามยุทธศาสตร์ ....24
รูปท่ี 2.13 ความเชอื่ มโยงคา่ ใช้จ่าย กระบวนการ ผลผลิตและผลลัพธ์เชิงงบประมาณ...................................25
รูปท่ี 3.1 เป้าหมาย ตัวชี้วัด ผลสัมฤทธิ์และการประเมินผลตามแผนยุทธศาสตรก์ ารบูรณาการการขับเคลื่อน
การพฒั นาตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระยะที่ 2 พ.ศ.2559-2563.....................................................28
รปู ที่ 3.2 การพฒั นาตามแนวพระราชดำริ .....................................................................................................29
รปู ท่ี 3.3 การขบั เคลอ่ื นการพัฒนาพ้ืนท่ตี ามแนวพระราชดำริ : ขั้นที่ 1 ครวั เรือนพ่ึงตนเอง ..........................29
รปู ที่ 3.4 การขบั เคลอื่ นการพัฒนาพนื้ ทีต่ ามแนวพระราชดำริ : ข้นั ที่ 2 ชมุ ชนรวมกล่มุ พึ่งตนเองได้.............30
รปู ท่ี 3.5 การขบั เคลอ่ื นการพัฒนาพืน้ ทีต่ ามแนวพระราชดำริ : ข้ันที่ 3 ออกสู่ภายนอก ................................30
รปู ท่ี 3.6 รปู แบบกิจกรรมการดำเนนิ งานของสถาบนั ปิดทองฯ ในพืน้ ที่ต้นแบบ (Business Model).............31
รปู ที่ 3.7 กจิ กรรมทเ่ี กิดขึ้นในพนื้ ท่ีตน้ แบบ....................................................................................................32

iv โครงการพัฒนาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพ้นื ทต่ี ามแนวทางความคมุ้ คา่ ของการจัดการงบประมาณ

มูลนิธิปดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

รปู หน้า
รปู ที่ 3.8 กจิ กรรมท่ี 1 พัฒนาแหลง่ นำ้ และระบบรหิ ารน้ำ .............................................................................33
รปู ท่ี 3.9 กจิ กรรมที่ 2 ส่งเสรมิ และพฒั นาอาชพี ............................................................................................35
รูปท่ี 3.10 กจิ กรรมที่ 3 รวมกล่มุ /จดั ตั้งกองทุน/วสิ าหกจิ ชมุ ชน/สหกรณ์......................................................36
รูปท่ี 3.11 กจิ กรรมที่ 4 พัฒนาตลาดและการขาย.........................................................................................37
รปู ท่ี 3.12 กจิ กรรมสง่ เสรมิ การสรา้ งเครือขา่ ย...............................................................................................39
รูปท่ี 3.13 ตวั ชวี้ ัดความสำเร็จของพนื้ ทต่ี ้นแบบ ............................................................................................39
รูปท่ี 3.14 ผ้มู สี ่วนได้สว่ นเสียของมลู นธิ ปิ ิดทองฯ และความคาดหวงั .............................................................40
รูปที่ 3.15 เปา้ หมาย ตัวชี้วัด และแผนงานของมลู นธิ ิปิดทองฯ......................................................................41
รูปท่ี 3.16 กรอบการประเมนิ ผลสมั ฤทธ์ิ........................................................................................................42
รปู ที่ 3.17 กรอบการประเมนิ ผลสมั ฤทธติ์ ามแผนยทุ ธศาสตรก์ ารบูรณาการการขบั เคล่ือนการพฒั นาตามหลัก
ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระยะที่ 2 พ.ศ.2559-2563 ............................................................................42
รูปที่ 3.18 กรอบการประเมินผลสมั ฤทธิ์........................................................................................................43
รูปท่ี 3.19 กรอบแนวคดิ การประเมินต้นทุนทางสงั คม ...................................................................................76
รปู ท่ี 3.20 กรอบการประเมนิ ผลสำเรจ็ แบบบนลงล่าง (Top-Down) และล่างข้นึ บน (Bottom-Up).............77
รปู ที่ 3.21 กรอบการวางโครงสรา้ งตัวช้วี ดั ของสถาบันฯ ................................................................................80
รปู ท่ี 3.22 ตัวอย่างความสำเร็จและตวั ช้วี ัดในแต่ละระดบั ตามแผนยุทธศาสตรร์ ะยะท่ี ๓ : ด้านเศรษฐกจิ ....80
รปู ที่ 3.23 ตัวอย่างความสำเร็จและตวั ช้วี ดั ในแตล่ ะระดบั ตามแผนยุทธศาสตร์ระยะท่ี ๓ : ด้านสงั คม..........80
รปู ที่ 3.24 ตัวอยา่ งความสำเรจ็ และตัวชีว้ ดั ในแตล่ ะระดบั ตามแผนยทุ ธศาสตรร์ ะยะท่ี ๓ : ด้านสงิ่ แวดล้อม.81
รปู ที่ 3.25 ตัวอยา่ งความสำเร็จและตวั ชีว้ ดั ในแตล่ ะระดบั ตามแผนยุทธศาสตร์ระยะท่ี ๓ : ด้านความมน่ั คง.81
รปู ที่ 3.26 ตัวอยา่ งความสำเรจ็ และตัวชีว้ ัดในแตล่ ะระดบั ตามแผนยุทธศาสตรร์ ะยะที่ ๓ : ดา้ นการบรหิ าร..81
รปู ท่ี 3.27 แนวคดิ การพฒั นาแบบยั่งยืน (SDGs) ขององค์การสหประชาชาติ ................................................83
รูปที่ 3.28 ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง กบั การพัฒนาอยา่ งยัง่ ยืน (SDGs) ................................................85
รูปท่ี 3.29 ยทุ ธศาสตร์ชาติ/นโยบายของภาครัฐเก่ียวกบั มูลนิธิปิดทองหลังพระสบื สานแนวพระราชดำริ และ
สถาบนั สง่ เสรมิ และพฒั นากจิ กรรมปิดทองหลงั พระฯ....................................................................................87
รปู ที่ 3.30 ระดบั ของแผนตามมตคิ ณะรัฐมนตรี.............................................................................................89

โครงการพฒั นาระบบการตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการพฒั นาพนื้ ทต่ี ามแนวทางความคมุ้ ค่าของการจัดการงบประมาณ v
มลู นธิ ปิ ิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

รปู หน้า
รูปท่ี 3.31 ยทุ ธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 - 2580.............................................................................................90
รปู ที่ 3.32 ยุทธศาสตร์ชาติ และแผนแม่บทภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580) ..............................99
รปู ท่ี 3.33 ภาพรวมยุทธศาสตร์/นโยบายของภาครัฐเก่ียวกับมลู นิธิปดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ
....................................................................................................................................................................104
รูปที่ 3.34 สรุปตัวชี้วัดความสำเร็จในการพัฒนาที่เกีย่ วข้องกับเกี่ยวกับมูลนิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนว
พระราชดำร.ิ ................................................................................................................................................105
รูปท่ี 3.35 สรุปตวั ชว้ี ดั ความสำเรจ็ ระดบั ผลลัพธ์ .........................................................................................106
รูปที่ 3.36 สรปุ ตัวชีว้ ดั ความสำเรจ็ ระดบั ผลผลติ .........................................................................................107
รปู ที่ 3.37 แบบทดลองรายงานในพน้ื ทีต่ ้นแบบ 7 แหง่ (ขอ้ มูล ปี 2561).....................................................109
รปู ท่ี 3.38 ตวั อยา่ งการประมวลข้อมลู มาสรปุ ภาพรวมการพฒั นาเพอ่ื ประกอบการตัดสนิ ใจ........................109
รูปที่ 3.39 ข้อมูลสารสนเทศเพือ่ การพฒั นาพ้นื ที่.........................................................................................110
รูปท่ี 3.40 กรอบแนวคิดของระบบสารสนเทศกลางเพ่อื การวางแผน บริหารจัดการ และการติดตามประเมนิ ผล
....................................................................................................................................................................111
รูปที่ 3.41 แนวทางการขับเคลื่อนให้เกิดระบบสารสนเทศกลางเพื่อการวางแผน บริหารจัดการ และการ
ตดิ ตามประเมนิ ผล.......................................................................................................................................112
รปู ท่ี 3.42 ลกั ษณะของการมี Data Governance ท่ดี ี................................................................................113
รูปท่ี 3.43 มิตขิ องการบันทกึ ขอ้ มลู และการใชป้ ระโยชน์จากผลการประเมิน..............................................115
รูปที่ 3.44 โครงสร้างรหสั มาตรฐาน.............................................................................................................116
รูปที่ 3.45 รหัสชุดที่ 2 - รหัสหน่วยงานตามโครงสร้างสถาบันสง่ เสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระฯ
....................................................................................................................................................................121
รปู ที่ 3.46 รหสั ชดุ ที่ 3 – รหสั พื้นทต่ี น้ แบบ.................................................................................................121
รูปท่ี 3.47 รหสั ชดุ ที่ 4 - รหสั มิตยิ ทุ ธศาสตร์ แผนงานและโครงการ............................................................122
รูปที่ 3.48 โครงสร้างรหสั มาตรฐาน.............................................................................................................127
รูปที่ 3.49 กระบวนการและความเชื่อมโยงในการปฏิบัติการของฝ่ายต่างๆ ภายในสถาบันฯ ในขั้นตอนการ
วางแผน จดั สรรงบประมาณ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการปฏบิ ัตงิ าน.............................................................129

vi โครงการพัฒนาระบบการตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการพฒั นาพืน้ ทต่ี ามแนวทางความค้มุ ค่าของการจัดการงบประมาณ

มลู นธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

รปู หน้า

รูปที่ 3.50 การบริหารจดั การข้อมูล เพื่อประกอบการวางแผน ติดตาม ประเมินผลการปฏิบัติงาน และการ
ตัดสินใจ.......................................................................................................................................................129

รปู ที่ 3.51 แบบจำลองสแกนเดยี (Skandia Model/Navigator) ................................................................132

รปู ที่ 3.52 แผนผงั Knowledge Asset Map..............................................................................................133

รปู ที่ 3.53 แผนผงั Knowledge Asset Dashboard..................................................................................134

รปู ที่ 3.54 top-down และ Bottom-up approaches.............................................................................135

รปู ท่ี 3.55 ตัวอย่าง Success map.............................................................................................................136

รูปท่ี 3.56 แนวคดิ Top-down และ Skandia Model แบบย้อนกลับ .......................................................137

รูปที่ 3.57 แบบจำลอง PTF’s Framework เพื่อการประเมินทรัพย์สินทางความรู้และขีดความสามารถหลกั
ของปดิ ทอง..................................................................................................................................................139

รปู ท่ี 3.58 กระบวนการการจัดการองคค์ วามรู้ ............................................................................................139
รปู ท่ี 3.59 มาตรฐานของการเขียน Case.....................................................................................................146

รปู ที่ 3.60 การพฒั นาพ้นื ทตี่ ามแนวพระราชดำริ .........................................................................................147

รูปท่ี 3.61 การขับเคล่ือนการพฒั นาพ้นื ที่ตามแนวพระราชดำริ : ขัน้ ท่ี 1 ครัวเรือนพ่ึงตนเอง ......................148

รูปที่ 3.62 การขบั เคล่ือนการพฒั นาพนื้ ท่ีตามแนวพระราชดำริ : ข้นั ที่ 2 ชมุ ชนรวมกล่มุ พง่ึ ตนเองได้ ........149

รปู ท่ี 3.63 การขบั เคลอ่ื นการพฒั นาพ้ืนทีต่ ามแนวพระราชดำริ : ขัน้ ที่ 3 ออกสูภ่ ายนอก............................149

รูปท่ี 3.64 การศกึ ษาจดุ เด่นของมูลนธิ ิปิดทองฯ เพอ่ื ขับเคล่ือนการพัฒนาพ้ืนท่ตี ามแนวพระราชดำริ (ข้ันที่ 1
ครวั เรือนพง่ึ ตนเอง) .....................................................................................................................................150

รปู ที่ 3.65 การศึกษาจุดเดน่ ของมูลนิธปิ ิดทองฯ เพ่ือขับเคลอ่ื นการพฒั นาพืน้ ทต่ี ามแนวพระราชดำริ (ข้ันที่ 2
ชุมชนรวมกล่มุ พง่ึ ตนเองได้)........................................................................................................................161

รูปที่ 3.66 การศึกษาจุดเด่นของมลู นธิ ปิ ิดทองฯ เพื่อขับเคล่อื นการพฒั นาพน้ื ทีต่ ามแนวพระราชดำริ (ข้ันท่ี 3
ออกส่ภู ายนอก) ...........................................................................................................................................166
รปู ที่ 4.1 ลักษณะสำคัญของการประเมนิ ผลเพือ่ การพฒั นา (Developmental Evaluation).....................179

รปู ท่ี 4.2 ภารกจิ ของมลู นธิ ิปดิ ทองฯ ในการสง่ เสริมและสบื สานแนวพระราชดำริในระดบั พน้ื ที่...................180

รปู ที่ 4.3 ปรัชญาของการตดิ ตามประเมนิ ผล...............................................................................................181

โครงการพัฒนาระบบการติดตาม ประเมนิ และรายงานผลการพัฒนาพื้นทต่ี ามแนวทางความคมุ้ ค่าของการจดั การงบประมาณ vii
มลู นิธปิ ิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

รปู หน้า
รูปท่ี 4.4 แนวคิดในการติดตามประเมินผล..................................................................................................183
รูปท่ี 4.5 เป้าหมายของมลู นธิ ิฯ ในการวางแผนติดตามและประเมินผลการดำเนนิ งานใน 3 มิติ...................183
รปู ที่ 4.6 ระบบข้อมูล เพอื่ การวางแผน ตดิ ตามและประเมินผลการปฏบิ ตั ิงาน (3 มติ ิ)................................183
รปู ที่ 4.7 การประเมินผลความค้มุ คา่ ในการใช้จ่ายงบประมาณ (Fiscal Report).........................................184
รูปท่ี 4.8 โครงสร้างของ Fiscal Report......................................................................................................184
รูปที่ 4.9 องคป์ ระกอบการรายงานผลความคุ้มคา่ ในการปฏิบตั ิงานของมูลนธิ ปิ ดิ ทองฯ (Fiscal Report)....185
รปู ท่ี 4.10 ตัวอย่างการรายงานผลการปฏบิ ัติงานของมูลนิธปิ ิดทองฯ..........................................................187
รูปที่ 4.11 กรอบการพจิ ารณาปรมิ าณผลผลิตพอกนิ ตลอดปี .......................................................................189
รปู ที่ 4.12 ตัวอยา่ งการพจิ ารณาปรมิ าณผลผลติ พอกินตลอดปี....................................................................189
รปู ท่ี 4.13 สรุปสถานะครัวเรอื น..................................................................................................................191
รปู ท่ี 4.14 ตวั อยา่ งการรายงานผลการพฒั นาพื้นท่ีตามแนวพระราชดำริ (การบรหิ ารจดั การน้ำ) .................192
รูปที่ 4.15 ตัวอย่างการรายงานผลการพัฒนาพ้ืนที่ตามแนวพระราชดำริ (เกษตรกรมีผลผลิตพอกินตลอดปี)
....................................................................................................................................................................192
รปู ที่ 4.16 ตัวอยา่ งการรายงานผลการพฒั นาพ้นื ทต่ี ามแนวพระราชดำริ (อาชีพหลัก).................................192
รปู ที่ 4.17 ตวั อยา่ งการรายงานผลการพฒั นาพน้ื ทต่ี ามแนวพระราชดำริ (รายไดเ้ พียงพอและสมำ่ เสมอ).....192
รูปที่ 4.18 ตัวอยา่ งการรายงานผลการพฒั นาพ้นื ทตี่ ามแนวพระราชดำริ (หนส้ี นิ ครัวเรือน) .........................193
รูปที่ 4.19 การประเมินและรายงานผลความสำเร็จของการพัฒนาโครงการ/กิจกรรมในพื้นท่ี Project
Financing Evaluation and Report.........................................................................................................194
รปู ท่ี 4.20 มติ ขิ องการติดตามและประเมินผลการพฒั นาโครงการ/กจิ กรรมในพน้ื ท่ี ....................................194
รปู ที่ 4.21 ขอบเขตการดำเนินโครงการ/กจิ กรรมของมลู นิธิปดิ ทองฯ..........................................................195
รปู ท่ี 4.22 ภาพรวมโครงการ/กจิ กรรมพฒั นาในระดบั พน้ื ที่ ประจำปงี บประมาณ 2563 .............................195
รูปท่ี 4.23 การติดตามและประเมนิ ผลโครงการ/กจิ กรรมพฒั นาในระดบั พนื้ ท่ี ประจำปงี บประมาณ 2563.196
รปู ท่ี 4.24 กรอบการวางแผน ติดตามและประเมินผลสำเรจ็ โครงการ/กจิ กรรมดา้ นการสง่ เสรมิ อาชพี .........197
รูปที่ 4.25 ประเด็นการวางแผน ตดิ ตามและประเมินผลสำเร็จโครงการ/กจิ กรรมดา้ นการสง่ เสรมิ อาชีพ.....197
รปู ท่ี 4.26 บรบิ ทโครงการสง่ เสรมิ /สนบั สนุนอาชีพ .....................................................................................198

viii โครงการพัฒนาระบบการติดตาม ประเมนิ และรายงานผลการพัฒนาพน้ื ท่ีตามแนวทางความคุ้มค่าของการจดั การงบประมาณ

มูลนิธปิ ิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

รปู หนา้
รูปท่ี 4.27 ข้อมูลโครงการสง่ เสรมิ อาชพี ในพื้นที่..........................................................................................199
รปู ที่ 4.28 โครงสร้างแบบฟอรม์ ข้อมลู เพ่อื การวางแผน ตดิ ตามและประเมินผลโครงการ/กจิ กรรม..............200
รูปที่ 4.29 ตัวอย่างคมู่ ือการติดตามประเมนิ ผล ...........................................................................................201

โครงการพัฒนาระบบการตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการพฒั นาพ้นื ทตี่ ามแนวทางความคมุ้ ค่าของการจดั การงบประมาณ ix
มูลนธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

สารบญั ตาราง

ตาราง หน้า
ตารางที่ 1.1 สรปุ กจิ กรรมการดำเนินงานทผี่ า่ นมา ..........................................................................................4
ตารางที่ 3.1 เป้าหมายและตวั ชีว้ ดั ของกรมสง่ เสริมการเกษตร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2562....................49
ตารางที่ 3.2 กิจกรรมและตวั ช้วี ัดของกรมสง่ เสรมิ การเกษตร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2562......................50
ตารางท่ี 3.3 เปา้ หมายและตวั ชว้ี ดั ของกรมปศุสัตว์ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2562.....................................52
ตารางที่ 3.4 กจิ กรรมและตัวชีว้ ัดของกรมปศสุ ตั ว์ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2562.......................................53
ตารางที่ 3.5 เป้าหมายและตวั ชี้วัดของกรมพฒั นาที่ดิน ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2562...............................54
ตารางที่ 3.6 กิจกรรมและตวั ชวี้ ดั ของกรมพฒั นาท่ดี ิน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562.................................55
ตารางท่ี 3.7 เป้าหมายและตัวชว้ี ดั ของกรมวชิ าการเกษตร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2562..........................57
ตารางที่ 3.8 กิจกรรมและตัวชว้ี ดั ของกรมวิชาการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562 ...........................59
ตารางท่ี 3.9 เป้าหมายและตวั ชีว้ ดั ของกรมชลประทาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562 ..............................61
ตารางที่ 3.10 กจิ กรรมและตวั ชว้ี ดั ของกรมชลประทาน ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2562..............................61
ตารางที่ 3.11 เปา้ หมายและตัวชี้วัดของกรมสง่ เสริมสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562......................64
ตารางท่ี 3.12 กจิ กรรมและตวั ช้วี ัดของกรมสง่ เสรมิ สหกรณ์ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2562........................65
ตารางที่ 3.13 เป้าหมายและตวั ชว้ี ัดของกรมตรวจบัญชสี หกรณ์ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2562..................66
ตารางที่ 3.14 กจิ กรรมและตวั ช้ีวดั ของกรมตรวจบญั ชสี หกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562 ...................67
ตารางที่ 3.15 เปา้ หมายและตัวช้ีวดั ของกรมการพัฒนาชุมชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562 ....................68
ตารางที่ 3.16 กจิ กรรมและตวั ชี้วัดของกรมการพัฒนาชมุ ชน ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2562......................68
ตารางท่ี 3.17 เป้าหมายและตวั ช้ีวดั ของกรมประชาสมั พนั ธ์ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2562........................69
ตารางที่ 3.18 กจิ กรรมและตวั ช้ีวัดของกรมประชาสัมพันธ์ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2562 .........................69
ตารางที่ 3.19 เป้าหมายและตวั ชว้ี ดั ของกรมทรพั ยากรนำ้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562 ..........................70
ตารางท่ี 3.20 กจิ กรรมและตวั ชี้วัดของกรมทรพั ยากรน้ำ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2562............................71
ตารางท่ี 3.21 ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง กับ การพฒั นาอย่างยัง่ ยืน (SDGs)...........................................86

x โครงการพัฒนาระบบการตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพ้นื ท่ีตามแนวทางความค้มุ ค่าของการจดั การงบประมาณ

มลู นธิ ิปิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

ตาราง หน้า
ตารางท่ี 3.22 สรปุ (ตวั อย่าง) มาตรฐานกิจกรรมของสถาบนั ฯ....................................................................117
ตารางท่ี 3.23 สรปุ (ตัวอย่าง) มาตรฐานตัวชี้วดั ของสถาบนั ฯ......................................................................125
ตารางที่ 3.24 จดุ เด่นในการดำเนินงานของมลู นธิ ิปดิ ทองฯ ในข้นั ที่ 1 ครวั เรอื นพ่งึ ตนเอง...........................150
ตารางท่ี 3.25 จดุ เดน่ ในการดำเนินงานของมลู นิธิปิดทองฯ ในขั้นท่ี 2 ชมุ ชนรวมกลุ่ม พง่ึ ตนเองได้.............162
ตารางท่ี 3.26 จุดเด่นในการดำเนินงานของมลู นธิ ปิ ดิ ทองฯ ในขน้ั ที่ 3 ออกส่ภู ายนอก.................................166
ตารางท่ี 4.1 การเปรียบเทยี บระหวาL งการประเมนิ ผลแบบดงั้ เดิมและการประเมินผลเพอื่ การพัฒนา...........177

โครงการพฒั นาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพฒั นาพนื้ ทตี่ ามแนวทางความคมุ้ ค่าของการจดั การงบประมาณ xi
มลู นิธปิ ดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ



1 บทนำ

1.1 หลักการและเหตผุ ล

มลู นธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ และสถาบนั ส่งเสรมิ และพัฒนากจิ กรรมปิดทองหลงั
พระ สืบสานแนวพระราชดำริ พฒั นาต่อเนือ่ งมาจากโครงการปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ ซึ่ง
ดำเนินการมาตัง้ แต่ปี พ.ศ.2551 โดยในเวลานน้ั โครงการปดิ ทองหลังพระฯ มพี นั ธกิจตามมติคณะรฐั มนตรี
คอื เพอื่ ฉลองพระชนมายคุ รบ 80 และ 84 พรรษาของพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทร มหาภูมพิ ลอดุลยเดช
มหติ ลาธิเบศรรามาธบิ ดี จักรีนฤบดินทร สยามมนิ ทราธริ าช บรมนาถบพติ ร เป็นพระมหากษัตรยิ ์ไทยรชั กาล
ที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรีในขณะนัน้ เพื่อใหป้ ระชาชนสามารถเรียนรู้และสร้างประสบการณ์ตรงจากแนวทาง
โครงการพระราชดำรแิ ละนอ้ มนำมาปรบั ใช้ในชวี ิตประจำวัน สง่ เสรมิ การเรียนรใู้ นโครงการอันเนือ่ งมาจาก
พระราชดำริให้มีความเหมาะสมและมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น เพื่อยกระดับฐานะความเป็นอยู่และส่งเสรมิ
อาชีพประชาชน รวมทัง้ สง่ เสริมความรู้ความเข้าใจ และกระตนุ้ จติ สำนกึ ในการอนุรกั ษท์ รพั ยากรธรรมชาติ
สิง่ แวดลอ้ ม และศิลปวฒั นธรรมไทย

กว่า 10 ปี ในการดำเนนิ ภารกิจของ "มลู นธิ ิปิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ" และ "สถาบัน
ส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ" ตงั้ แต่การจดทะเบียนจดั ตงั้ มูลนธิ เิ มอ่ื
วันที่ 20 มกราคม 2553 มุ่งหวังเพื่อสืบสานแนวพระราชดำริ ให้ยกระดับฐานะความเปน็ อยู่และส่งเสริม
อาชพี ประชาชน รวมท้ังสง่ เสรมิ ความรคู้ วามเขา้ ใจ และกระต้นุ จติ สำนึกในการอนรุ ักษท์ รพั ยากรธรรมชาติ
สง่ิ แวดล้อม และศิลปวฒั นธรรมไทย ตลอดจนขยายผลสชู่ มุ ชนท้องถิ่นอยา่ งกว้างขวาง เพื่อความอยู่ดีมีสุข
ของประชาชน

เพื่อให้สามารถวัดผลสำเร็จของการพัฒนาพื้นที่ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างเป็น
รปู ธรรม สอดคลอ้ งกบั หลักวิชาการและแนวทางความคมุ้ ค่าของการจดั การงบประมาณ “การพฒั นาระบบ
การตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพื้นที่ ตามแนวทางความคุม้ ค่าของการจัดการงบประมาณ”
จึงมีความสำคัญ เพื่อให้องค์กรมีมาตรฐานในการติดตาม ประเมินและรายงานผล นำไปสู่การเป็นองค์กร
แหง่ การเรียนรู้ ตลอดจนเปน็ การวางรากฐานสู่การพฒั นาพนื้ ท่ใี นอนาคต

1.2 วัตถุประสงค์

(1) จัดทำ Business Model เพื่อสร้างมาตรฐานการวิเคราะห์รูปแบบ ลักษณะ และตัวชี้วัด
ความสำเรจ็ ของงานพฒั นาพื้นที่ตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

(2) ปรับปรุงโครงสร้างข้อมูลและการจดั การข้อมูล เพื่อการติดตาม ประเมินและรายงานผลการ
พฒั นาพืน้ ท่ใี นมิตติ ่างๆ ตามแนวทางความคุม้ ค่าของการจดั การงบประมาณ

โครงการพัฒนาระบบการติดตาม ประเมนิ และรายงานผลการพฒั นาพื้นทต่ี ามแนวทางความคมุ้ ค่าของการจัดการงบประมาณ 1
มลู นิธปิ ดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

(3) ออกแบบเครื่องมือการติดตามและประเมินผล รวมท้งั ตวั ชว้ี ัดผลการดำเนินงานของพ้ืนท่ีต่างๆ
ทั้งในระดับกจิ กรรม ผลผลิตและผลลัพธ์

(4) สนับสนุนทีมงานของมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ ในการติดตามประเมนิ ผลการพัฒนาพื้นที่ เพ่ือ
จดั ทำรายงานผลการดำเนินงานและสรปุ องคค์ วามรูใ้ นการพัฒนาพ้นื ท่ี

(5) จัดทำคู่มือการติดตามประเมินผล และถ่ายทอดองค์ความรู้เพ่ือเพิ่มขีดความสามารถ ในการ
วิเคราะหแ์ ละสงั เคราะห์ข้อมูลที่ไดจ้ ากการติดตามประเมนิ ผล ให้กบั บคุ ลากรของมลู นธิ ปิ ดิ ทอง
หลังพระ สบื สานแนวพระราชดำริ

1.3 ขอบเขตของการดำเนนิ งาน
ขอบเขตการดำเนินงานโครงการพัฒนาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพื้นที่

ตามแนวทางความคมุ้ ค่าของการจดั การงบประมาณ ประกอบไปด้วย 4 เร่ืองสำคญั ดงั นี้

1.3.1 เรอื่ ง Business Model
(1) จัดทำ Business Model ของงานพัฒนาพื้นที่ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในมิติท่ี

สำคัญ ประกอบด้วย
1. มิติโครงการ/กิจกรรม เช่น โครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน โครงการพัฒนาอาชพี

และ
2. มติ พิ นื้ ที่ เชน่ ด้านสังคม ดา้ นเศรษฐกิจและการเงิน ด้านส่ิงแวดล้อม และด้านคุณภาพ

ชวี ติ ของพน้ื ท่ี เป็นตน้
(2) ระบุตัวชี้วัดความสำเร็จในระดับต่างๆ ตามแนวทางความคุ้มค่าของการจัดการงบประมาณ

ตั้งแต่ปัจจัยนำเข้า (input) กระบวนการ (process) ผลผลิต (output) และผลลัพธ์
(outcome) เป็นตน้

1.3.2 เรื่องระบบขอ้ มลู
(3) ศึกษาและทบทวนข้อมูลและรูปแบบ/วิธกี ารรายงานผลการดำเนนิ งานเพ่ือการพฒั นาพ้ืนท่ีใน

ปัจจุบันของมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ อาทิ โครงสร้างของข้อมูล รูปแบบและวิธีการจัดเก็บ
ข้อมูลในพื้นที่ ตัวชี้วัดและวงรอบในการติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน การใช้
ประโยชนข์ องขอ้ มลู การทำงานร่วมกนั ระหว่างส่วนงานพฒั นาในพนื้ ทแี่ ละส่วนกลาง เป็นตน้
(4) ออกแบบโครงสรา้ งขอ้ มูลเพอื่ การตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผล ท่ีระบกุ ลุม่ และรายการของ
ข้อมูลที่สำคัญต่อการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพื้นที่ ตามแนวทางความ
ค้มุ คา่ ของการจดั การงบประมาณ
(5) จัดทำรหัสข้อมูล (coding) ทส่ี อดคลอ้ งกบั โครงสร้างข้อมลู ทอ่ี อกแบบขา้ งต้น และรหัสข้อมูล
จะทำใหก้ ารจัดเก็บ ตดิ ตาม วเิ คราะห์ ประเมนิ และรายงานผลเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ
มากย่งิ ขึน้

2 โครงการพฒั นาระบบการตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผลการพัฒนาพ้ืนทต่ี ามแนวทางความค้มุ คา่ ของการจัดการงบประมาณ
มูลนิธปิ ดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

(6) สังเคราะห์และจดั ทำข้อเสนอแนะวิธีการจัดเก็บข้อมูล เพื่อติดตาม ประเมินและรายงานผล
การพฒั นาพน้ื ท่ี ตามแนวทางความคุม้ คา่ ของการจัดการงบประมาณ

1.3.3 เรื่องการตดิ ตามและประเมนิ ผล
(7) ออกแบบเครื่องมอื การประเมินผลการพัฒนาพืน้ ท่ี ตามแนวทางความคุ้มค่าของการจัดการ

งบประมาณ ท้งั ในมิตโิ ครงการและมติ ิพื้นท่ี
(8) ทดสอบเครื่องมอื การประเมินผล ในพ้ืนทีต่ ้นแบบที่คัดเลือกร่วมกับมูลนธิ ิปิดทองหลังพระฯ

โดยดำเนินการทดสอบทง้ั ในมติ โิ ครงการและมติ พิ น้ื ท่ี
(9) สนับสนุนทีมงานของมลู นธิ ิปิดทองหลังพระฯ ในการติดตามประเมนิ ผลการพัฒนาพื้นที่ เพื่อ

จัดทำรายงานผลการดำเนินงานและสรปุ องค์ความรูใ้ นการพฒั นาพนื้ ท่ี
(10) จัดทำมาตรฐานการรายงานผลและคู่มือการติดตามประเมินผล เพื่อให้องค์กรมีมาตรฐานใน

การติดตาม ประเมนิ และรายงานผล ตลอดจนเปน็ การวางรากฐานสู่การพัฒนาในอนาคต

1.3.4 เรอื่ งข้ันตอน คมู่ ือและการถ่ายทอดความรู้
(11) ตลอดระยะเวลาดำเนินโครงการ ที่ปรึกษาจะต้องถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กับบุคลากรของ

มลู นิธิปิดทองหลงั พระฯ อย่างต่อเนื่อง ตัวอย่างองคค์ วามรปู้ ระกอบด้วย
- Business Model และตวั ชวี้ ัดในการพัฒนาพื้นท่ี
- โครงสรา้ งข้อมลู และรหสั ข้อมูล
- เครอื่ งมอื การประเมิน
- วิธกี ารจัดเก็บขอ้ มลู
- มาตรฐานการรายงานผลและคู่มอื การติดตามประเมนิ ผล
(12) สนับสนุนการรายงานผลของมลู นิธิปิดทองหลังพระฯ อาทิ รายงานประจำปี รายงานผลการ
ดำเนนิ งาน 10 ปี เปน็ ต้น

โครงการพัฒนาระบบการตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผลการพฒั นาพื้นทตี่ ามแนวทางความคุม้ ค่าของการจัดการงบประมาณ 3
มลู นิธิปิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

1.4 กจิ กรรมการดำเนนิ งานท่ีผา่ นมา

คณะที่ปรึกษาฯ ให้ความสำคัญกับกระบวนการร่วมคิดร่วมทำ จึงได้มีการประชุมหารือ เข้าร่วม

สงั เกตการณ์ในกิจกรรมของสถาบนั ฯ รวมทงั้ แลกเปลยี่ นความคดิ เห็นกับทีมงานของสถาบันฯ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง

โดยสรปุ กจิ กรรมการดำเนนิ การที่ผา่ นมาดังนี้

ตารางที่ 1.1 สรปุ กจิ กรรมการดำเนนิ งานท่ผี ่านมา

วนั ที่ เรอื่ ง ร่วมกับ

15 ก.ค. 2562 แนวคิด Business Model ทีมงานสว่ นกลาง

27 ส.ค. 2562 ความคืบหนา้ ของการพฒั นา Business Model ทมี งานสว่ นกลาง

18-19 ก.ย. 2562 รว่ มสงั เกตการณใ์ นงาน “เหลียวหลงั -แลหนา้ พฒั นาชนบท ทมี งานสว่ นกลาง และ

เชงิ พนื้ ทปี่ ระยกุ ตต์ ามพระราชดำริ จงั หวัดน่าน”“การจัดทำ ทีมงานในพนื้ ท่ตี น้ แบบจังหวัด

แผนชมุ ชน” รวมทัง้ แลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ ใน น่าน

กระบวนการตดิ ตามประเมนิ และรายงานผลการดำเนนิ งาน

ของพน้ื ที่ต้นแบบจงั หวัดนา่ น ณ จงั หวดั น่าน

9-10 ต.ค. 2562 ลงพนื้ ที่โครงการบรหิ ารจัดการน้ำอยา่ งย่งั ยนื ทีมงานสว่ นกลาง และ

อา่ งเกบ็ น้ำหว้ ยคล้ายอันเน่ืองมาจากพระราชดำริ จ. ทมี งานในพ้นื ทตี่ น้ แบบจังหวดั

อุดรธานี เพอ่ื สอบทานรปู แบบกจิ กรรมการดำเนนิ งาน อุดรธานี

(Business Model) เบ้ืองต้น

17 ต.ค. 2562 ร่วมสงั เกตการณ์ในการประชุม “การดำเนินงานของพืน้ ท่ี ฝา่ ยจัดการความรู้

ตน้ แบบ สถาบนั ส่งเสริมและพฒั นากิจกรรมปดิ ทองหลงั สำนักผอู้ ำนวยการ และ

พระ ปงี บประมาณ 2562” พ้ืนท่ตี น้ แบบ 9 จงั หวัด

14 พ.ย. 2562 รว่ มหารอื และบูรณาการเพ่อื พฒั นาระบบข้อมลู และการ ทีมงานสว่ นกลาง

ตดิ ตามประเมนิ ผล

11 ธ.ค. 62 ร่วมหารือแนวทางการบรู ณาการระบบและขอ้ มลู เพ่ือการ ทมี งานสว่ นกลาง

วางแผน จดั สรร ตดิ ตามและประเมินผลการปฏิบัตงิ าน

23 ธ.ค. 62 ร่วมหารือแนวทางการบรู ณาการระบบและขอ้ มลู เพ่อื การ ทีมงานสว่ นกลาง และ

วางแผน จัดสรร ติดตามและประเมนิ ผลการปฏิบตั งิ าน ทีมข้อมลู จากพน้ื ที่ 9 จังหวดั

17-19 ม.ค. 63 รว่ มสงั เกตการณ์การลงพน้ื ทโ่ี ครงการพฒั นาพนื้ ทีต่ ้นแบบฯ ประธานกรรมการ ทป่ี รึกษา

จังหวดั กาฬสนิ ธ์ุ จังหวัดขอนแกน่ และจงั หวดั อุดรธานี ผู้บรหิ าร ทีมงานส่วนกลาง

และพืน้ ที่ 9 จงั หวัด

21 ม.ค. 63 สมั มนาเชิงปฏิบัตกิ ารเพือ่ จัดทำแผนการพฒั นาพ้ืนท่ี ท่ีปรกึ ษา ผบู้ รหิ าร ทีมงาน

ประจำปงี บประมาณ 2563 สว่ นกลางและพน้ื ท่ี 9 จงั หวัด

4 โครงการพฒั นาระบบการตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผลการพฒั นาพืน้ ที่ตามแนวทางความคมุ้ คา่ ของการจัดการงบประมาณ
มลู นิธปิ ิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

วนั ท่ี เรือ่ ง ร่วมกับ

28-29 ก.พ. 63 สมั มนาเชิงปฏบิ ตั กิ ารเพ่อื พฒั นาระบบการตดิ ตาม ที่ปรกึ ษา ทีมงานส่วนกลาง

ประเมินผลของสถาบนั ฯ ณ พื้นท่ตี น้ แบบจงั หวัดขอนแกน่ และพนื้ ท่ี 9 จังหวดั

26 มี.ค. 63 ประชุมหารอื กรอบและเครอื่ งมอื การตดิ ตามประเมินผล ทีมงานส่วนกลาง

21 เม.ย. 63 ประชุมหารอื กรอบและเครอื่ งมอื การติดตามประเมินผล ทมี งานสว่ นกลาง

4 มิ.ย. 63 ประชุมหารือกรอบและเครอื่ งมอื การติดตามประเมนิ ผล ทีมงานส่วนกลาง

23-25 มิ.ย. 63 ลงพ้นื ที่ต้นแบบจังหวัดอุดรธาน-ี ขอนแกน่ -กาฬสนิ ธ์ุ เพ่อื ทำ ทีมงานสว่ นกลาง และ

ความเขา้ ใจและสอบทานกรอบและเครอ่ื งมอื การตดิ ตาม ทีมงานในพืน้ ทตี่ ้นแบบจงั หวดั

ประเมนิ ผล อุดรธาน-ี ขอนแก่น-กาฬสนิ ธุ์

14-15 ก.ค. 63 ประชมุ เชงิ ปฏบิ ัตกิ าร “การจัดทำตัวชว้ี ดั เคร่อื งมอื และ ทีมงานส่วนกลาง และ

วธิ ีการตดิ ตามประเมินผลการดำเนินงาน” ของสถาบนั ทมี งานในทกุ พน้ื ที่ตน้ แบบ

ส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลงั พระ สืบสานแนว

พระราชดำริ ณ บางแสน จงั หวัดชลบรุ ี

29-30 ก.ค. 63 รว่ มประชุมเพอ่ื หารือและจัดทำแผนพนื้ ที่ต้นแบบจงั หวัด ทมี งานส่วนกลาง และ

น่าน ปี 2564-2565 ณ พน้ื ท่ีตน้ แบบจังหวัดน่าน ทีมงานในพืน้ ที่ตน้ แบบจังหวดั

น่าน

1 ส.ค. 63 รว่ มประชุมเพอื่ หารือและจัดทำแผนพ้ืนที่ตน้ แบบจังหวดั ทีมงานสว่ นกลาง และ

เพชรบรุ ีและอุทัยธานี ปี 2564-2565 ทมี งานในพ้นื ทต่ี น้ แบบจังหวดั

เพชรบรุ ีและอุทยั ธานี

5 ส.ค. 63 ร่วมประชุมเพอื่ หารือและจัดทำแผนพ้ืนที่ ประจำปี 2564- ทมี งานสว่ นกลาง และ

2565 ทีมงานในทกุ พน้ื ที่ตน้ แบบ

21 ส.ค. 63 นำเสนอผลการศกึ ษาแก่ หม่อมราชวงศด์ ิศนัดดา ดิศกุล

ประธานกรรมการสถาบันสง่ เสริมและพฒั นากิจกรรมปดิ

ทองหลงั พระ สืบสานแนว พระราชดำริ

11 ก.ย. 63 ประชมุ เชิงปฏบิ ตั กิ าร “หลกั คดิ และวธิ กี ารจัดทำ ทีมงานสว่ นกลาง และ

ตัวชี้วัดผลการดำเนนิ งาน” ณ จังหวัดเพชรบรุ ี ทีมงานในทกุ พน้ื ทตี่ น้ แบบ

2-3 ต.ค. 63 ร่วมลงพ้นื ทเ่ี พื่อให้ขอ้ มลู กบั เอกอคั รราชทูตราชอาณาจักร ทมี งานสว่ นกลาง และ

ภูฏาน (ฯพณฯ เชวงั โชเพล ดอรจ์ )ิ เพอื่ ดงู านพ้ืนทนี่ ำร่อง ทีมงานในพ้นื ทีต่ ้นแบบจังหวัด

การดำเนนิ งานโครงการพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมฐานราก ขอนแกน่ และกาฬสินธุ์

เพ่ือบรรเทาผลกระทบจากโควดิ -19 ณ จงั หวดั ขอนแกน่

และกาฬสนิ ธุ์

โครงการพัฒนาระบบการตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผลการพัฒนาพ้ืนทต่ี ามแนวทางความคุ้มคา่ ของการจัดการงบประมาณ 5
มลู นิธปิ ิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

วันที่ เรือ่ ง ร่วมกบั
8 ต.ค. 63 รว่ มสงั เกตการณเ์ วทสี าธารณะภาคตะวนั ออก “คดิ ใหม่
ไทยก้าวตอ่ ” ณ เมืองพัทยา มูลนธิ ปิ ดิ ทองฯ และความ
12 ต.ค. 63 ร่วมมือภาคี 7 องคก์ ร ได้แก่
รว่ มนำเสนอผลการศึกษา “ก้าวใหมก่ ารพฒั นาชนบทตาม ธนาคารแหง่ ประเทศไทย
13 ต.ค. 63 แนวพระราชดำริ” ในงานเสวนาเร่ือง “พระราชดำรคิ ้ำจุน สถาบนั นโยบายสาธารณะ
สังคม” ทจ่ี ัดขน้ึ ข้นึ เนอื่ งในโอกาสวันคล้ายวนั สวรรคตวนั ท่ี และการพัฒนา สถาบนั วจิ ยั
13 ตลุ าคม เศรษฐกจิ ปว๋ ย อึ๊งภากรณ์
ธนาคารเพือ่ การเกษตรและ
ประชมุ เชิงปฏบิ ัตกิ าร “การวิเคราะหโ์ มเดลธรุ กิจ สหกรณก์ ารเกษตร
(Business Model)” มหาวิทยาลยั มหดิ ล สถาบัน
บัณฑิตพัฒนบรหิ ารศาสตร์
และสำนกั ขา่ วไทยพบั ลกิ ้า

ภาคีพัฒนาชนบทตามแนว
พระราชดำริ ประกอบด้วย
สำนกั งานปลัดสำนกั
นายกรฐั มนตรี
กระทรวงมหาดไทย กระทรวง
เกษตรและสหกรณ์ กระทรวง
ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ
สิ่งแวดลอ้ ม สำนกั งาน
คณะกรรมการพเิ ศษเพื่อ
ประสานงานโครงการอัน
เนื่องมาจากพระราชดำริ และ
มูลนธิ ปิ ิดทองหลงั พระ สืบ
สานแนวพระราชดำริ

ทีมงานสว่ นกลาง และ
ทมี งานในทกุ พ้นื ที่ต้นแบบ

6 โครงการพัฒนาระบบการตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผลการพฒั นาพ้นื ทต่ี ามแนวทางความคุ้มคา่ ของการจดั การงบประมาณ
มลู นิธิปดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

1.5 สรุปผลงาน

คณะที่ปรึกษาฯ ได้ส่งมอบผลงานโครงการพัฒนาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการ
พฒั นาพนื้ ทต่ี ามแนวทางความคมุ้ คา่ ของการจดั การงบประมาณ จำนวน 3 เลม่ ประกอบดว้ ย

เล่มที่ 1 รายงานฉบับสมบูรณ์

เปน็ รายงานทีร่ ะบุสาระสำคัญ หลักการ บทวเิ คราะห์ ผลงานและขอ้ เสนอแนะทั้งหมดของโครงการ
ประกอบด้วย 4 บท คือ บทนำ หลักการสำคญั ของการประเมินผลการพัฒนาพ้ืนที่ องค์ประกอบของการ
พัฒนาระบบการติดตามประเมนิ ผล และ ระบบการตดิ ตามประเมินผล

เลม่ ท่ี 2 ค่มู อื การติดตามประเมนิ ผล

เปน็ คูม่ อื เพื่อใชใ้ นการตดิ ตามประเมนิ ผล ทแ่ี บง่ ออกเป็น 3 มติ ิ คอื การประเมนิ ผลความคุ้มคา่ ในการ
ใช้จ่ายงบประมาณ (Fiscal Report) การประเมินผลการพัฒนาพื้นที่ตามแนวพระราชดำริ (Wisdom
Report) และการประเมนิ และทบทวนโครงการ (Project Financing Report) โดยแต่ละมติ นิ นั้ จะมีเน้ือหา
ของเกณฑ์การประเมนิ วตั ถุประสงค์ แนวทางการประเมิน และแบบฟอร์มเพือ่ ใชป้ ระกอบการติดตามและ
ประเมนิ ผลในแตล่ ะมติ ิ

เล่มที่ 3 สรุปการถ่ายทอดองคค์ วามร้ใู ห้กบั บุคลากรของมลู นธิ ปิ ิดทองหลังพระ สบื สานแนวพระราชดำริ

เป็นเล่มที่สรุปการถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กับบุคลากรของมูลนิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนว
พระราชดำริ โดยระบกุ ิจกรรมการประชุม การฝกึ อบรม การสัมมนาเชิงปฏบิ ัติการเพอ่ื ถ่ายทอดองค์ความรู้
ให้กับบุคลากรของมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ อย่างต่อเนื่อง ตลอดระยะเวลาโครงการ รวมทั้งองค์ความรู้
เน้ือหาสาระ เอกสาร แบบฟอร์ม และผลการสัมมนาท่ีแต่ละพื้นทร่ี ว่ มกันวิเคราะหแ์ ละจดั ทำข้นึ

รปู ท่ี 1.1 สรปุ ผลงาน 7

โครงการพัฒนาระบบการตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผลการพฒั นาพนื้ ทตี่ ามแนวทางความคมุ้ ค่าของการจัดการงบประมาณ
มูลนธิ ปิ ิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

2 หลกั การสำคัญของการประเมนิ ผลการพัฒนาพ้ืนท่ี

2.1 ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและทฤษฎีใหม่

เศรษฐกจิ พอเพยี งเปน็ แนวพระราชดำริในพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดุลยเดช
มหาราช บรมนาถบพติ ร หรอื พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เปน็ พระมหากษตั ริย์ไทย
รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี ที่พระราชทานมาตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2517 หรือ 40 กว่าปีทีผ่ ่านมา โดยที่แนวคดิ
ดังกล่าวตั้งอยบู่ นรากฐานของภูมสิ งั คมของไทยเป็นแนวทางการพัฒนาที่ตัง้ อยบู่ นพื้นฐานของทางสายกลาง
และความไมป่ ระมาท คำนึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันในตัวเอง ตลอดจนใช้
ความรู้และคุณธรรม เป็นพื้นฐานในการดำรงชีวิต ซึ่งจะนำไปสู่ความสุขในการดำเนินชีวิตอย่างแท้จริง
(มูลนธิ ชิ ยั พฒั นา, 2550)

เศรษฐกจิ พอเพียงและทฤษฎใี หม่ ทฤษฎีใหม่ หลกั การพ่งึ ตนเอง จอมปราชญ์แหง่ การพัฒนา เศรษฐกจิ พอเพียง : ทางเลอื ก
ในการพัฒนา (กปร.)
(มลู นิธชิ ยั พัฒนา) อยา่ งยงั่ ยนื (กปร.) ทฤษฎีใหม่ (กปร.)

ปรัชญาของเศรษฐกจิ การประยุกตใ์ ช้หลกั จากปรชั ญาของเศรษฐกิจ แผนยทุ ธศาสตร์การบูรณาการการขับเคลื่อนการ
พอเพยี ง (สศช.) เศรษฐกจิ พอเพยี ง (สศช.) พัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
พอเพยี งสูก่ ารปฏบิ ตั ิ (สศช.)
(พ.ศ. 2557 - 2560)

รูปท่ี 2.1 เศรษฐกจิ พอเพยี งและทฤษฎีใหม่

เศรษฐกิจพอเพยี ง ประกอบไปด้วยคุณสมบัติ 3 ประการ ดงั นี้

° ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่
เบยี ดเบยี นตนเองและผอู้ ่นื เช่น การผลิตและการบรโิ ภคทอ่ี ยู่ในระดบั พอประมาณ

° ความมเี หตผุ ล หมายถงึ การตัดสินใจเกยี่ วกบั ระดับความพอเพยี งน้ันจะต้องเปน็ ไปอยา่ งมี
เหตุผล โดยพจิ ารณาจากเหตปุ จั จยั ทีเ่ กย่ี วขอ้ ง ตลอดจนคำนึงถึงผลที่คาดวา่ จะเกดิ ขึน้ จาก
การกระทำนน้ั ๆ อย่างรอบคอบ

8 โครงการพัฒนาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพฒั นาพ้นื ท่ีตามแนวทางความคุ้มคา่ ของการจดั การงบประมาณ
มูลนิธปิ ิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

° ภูมิคุ้มกัน หมายถงึ การเตรยี มตัวใหพ้ รอ้ มรับผลกระทบและการเปล่ยี นแปลงด้านต่างๆ ที่
จะเกิดข้ึน โดยคำนึงถงึ ความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ท่คี าดวา่ จะเกดิ ขึ้นในอนาคต

โดยมเี ง่ือนไขของการตัดสนิ ใจและดำเนนิ กจิ กรรมตา่ งๆ อยใู่ นระดับพอเพียง 2 ประการ ไดแ้ ก่

° เงอ่ื นไขความรู้ ประกอบดว้ ย ความรอบรเู้ กยี่ วกับวชิ าการต่างๆ ทเี่ กยี่ วข้องรอบดา้ น ความ
รอบคอบที่จะนำความรเู้ หล่านัน้ มาพิจารณาให้เชอื่ มโยงกนั เพอื่ ประกอบการวางแผนและ
ความระมดั ระวงั ในการปฏบิ ตั ิ

° เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสรมิ สร้าง ประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความ
ซ่อื สตั ย์สุจรติ แลมีความอดทน มคี วามเพยี ร ใช้สตปิ ัญญาในการดำเนนิ ชวี ิต

ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 17

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 1. ความพอประมาณ หมายถงึ ความพอดี ท่ีไมน4 อ6 ยเกินไปและไม4มากเกินไป
โดยไมเ4 บียดบังตนเองและผอ6ู นื่ เชน4 การผลติ และบริโภคท่อี ยู4ในระดับ
พอประมาณ พอประมาณ
มเี หตผุ ล ภูมิคม:ุ กัน
2. ความมีเหตผุ ล หมายถงึ การตดั สนิ ใจเก่ยี วกบั ระดบั ความพอเพียงนน้ั
ความร:ู คุณธรรม จะตอ6 งเปนM ไปอย4างมเี หตุผล โดยพจิ ารณาจากเหตปุ จO จยั ท่ีเกี่ยวข6อง
ตลอดจนคํานึงถึงผลที่คาดวา4 จะเกดิ ขนึ้ จากการกระทําน้นั ๆ อยา4 ง
ที่มา : เศรษฐกจิ พอเพยี งและทฤษฎีใหม4 รอบคอบ
(มลู นิธิชยั พัฒนา, 19 กนั ยายน 2550)
3. ภูมิค:มุ กนั หมายถงึ การเตรยี มตัวให6พรอ6 มรบั ผลกระทบและการ
เปลีย่ นแปลงด6านต4างๆ ท่จี ะเกิดข้นึ โดยคํานงึ ถึงความเปMนไปไดข6 อง
สถานการณตS 4างๆ ท่คี าดว4าจะเกิดขน้ึ ในอนาคต

โดยมี “เง่อื นไข” ของการตัดสนิ ใจและดําเนินกิจกรรมตา4 งๆ ใหอ6 ย4ใู นระดบั
พอเพยี ง 2 ประการ ดังนี้
1. เงอื่ นไขความร:ู ประกอบดว6 ย ความรอบร6เู ก่ียวกบั วชิ าการต4างๆ ท่ี

เกย่ี วขอ6 งรอบดา6 น ความรอบคอบท่จี ะนาํ ความร6ูน้นั มาพจิ ารณาให6
เชอ่ื มโยงกัน เพือ่ ประกอบการวางแผนและความระมัดระวงั ในการปฏิบตั ิ
2. เงอื่ นไขคุณธรรม ท่จี ะตอ6 งเสริมสรา6 ง ประกอบดว6 ย มีความตระหนกั ใน
คุณธรรม มคี วามซอื่ สตั ยSสจุ รติ และมีความอดทน มีความเพียร ใช6
สตปิ Oญญาในการดาํ เนนิ ชวี ติ

รปู ท่ี 2.2 ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ทฤษฏีที่เป็นตัวอย่างของการนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ที่เด่นชัดที่สุด คือ ทฤษฎีใหม่ ซ่ึง
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานพระราชดำริ เพ่ือช่วยเหลือเกษตรกรให้สามารถตอบรับกับ
ความเสี่ยงสำคัญ ได้แก่ (1) ความเสี่ยงดา้ นราคาสินค้าเกษตร (2) ความเสี่ยงในราคาและการพึ่งพาปจั จยั
การผลิตสมัยใหม่จากต่างประเทศ (3) ความเสี่ยงด้านแผนการผลิต (4) ความเสี่ยงด้านน้ำ ฝนทิ้งช่วง ฝน
แลง้ และ (5) ภัยธรรมชาตอิ นื่ ๆ และโรคระบาดโดยแสดงความเช่ือมโยงของความเส่ยี งด้านต่างๆ ที่สำคัญใน
การทำเกษตรกรรม สาระสำคัญของทฤษฎใี หม่ สามารถสรปุ ไดใ้ น 3 ขั้นตอนดังตอ่ ไปน้ี

โครงการพฒั นาระบบการตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผลการพฒั นาพืน้ ทต่ี ามแนวทางความคุ้มคา่ ของการจัดการงบประมาณ 9
มลู นธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

รปู ท่ี 2.3 โมเดลการปฏิบตั ขิ องเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎใี หม่

ทฤษฎใี หมข่ ัน้ ที่ 1 ครวั เรือนพง่ึ ตนเอง เป็นการบริหารจดั การทรพั ยากรดนิ และน้ำ ตลอดจนจดั การ
ผลิตดา้ นการเกษตรภายในครัวเรือน อนั เป็นการผลิตเพอ่ื พออยพู่ อกินและพึง่ ตนเอง มีเป้าหมาย คอื เพื่อให้
ครัวเรือนเข้มแข็ง เกษตรกรผลิตได้และมีผลผลิตพอกินตลอดปี มีรายได้เพิ่มขึน้ หรือ รายจ่ายลดลง หรือ
หนี้ลดลง โดยแบ่งเป็น (1.1) บริหารจัดการน้ำและป่าให้ได้ประโยชน์ตลอดปี (1.2) ทำกิจกรรมการเกษตร
พออยพู่ อกนิ และ (1.3) บรหิ ารจัดการท่ดี นิ ขนาดเล็กใหเ้ กิดประโยชนส์ งู สดุ

ทฤษฎีใหม่ขั้นที่ 2 ชุมชนรวมกลุ่ม พึ่งตนเองได้ เป็นการรวมพลงั กันภายในชุมชนในรูปกลุ่มหรอื
สหกรณ์เพื่อร่วมแรงดำเนินงานในเรื่องต่าง ๆ ทั้งในด้านการผลิต การตลาด ความเป็นอยู่ สวัสดิการ
การศกึ ษา สังคมและศาสนา เป้าหมาย คือ เพ่ือให้ชุมชนแข็งแรง ชุมชนเขม้ แขง็ ไม่เบยี ดเบียนกัน แบ่งปัน
และใช้ทรพั ยากรรว่ มกันเพอื่ ลดต้นทุน/เพ่มิ ผลผลติ สามารถรวมกลมุ่ เพื่อดำเนนิ กจิ การได้ มีอำนาจต่อรอง
และสามารถบริหารจัดการกันเองได้ โดยแบ่งเป็น (2.1) รวมกลุ่มและดูแลความเป็นอยู่สมาชิก (2.2)
พัฒนาการผลิตใหส้ อดคล้องกบั ความตอ้ งการของตลาด และ (2.3) ส่งเสริมการเกษตร

ทฤษฎใี หม่ขน้ั ที่ 3 การเชื่อมโยงสู่ภายนอก เป็นการเชื่อมโยงตดิ ต่อประสานกับชมุ ชนภายนอก เช่น
ธนาคาร บริษัท ห้างร้านเอกชน เพื่อจัดหาแหล่งทนุ หรือแหล่งเงินมาช่วยในการลงทุนพฒั นาในดา้ นต่าง ๆ
และพัฒนาคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ของชุมชนให้ดีขึ้นสามารถพึ่งพาตนเอง เป้าหมาย คือ ชุมชนยั่งยืน
ขยายผล เป็นเครอื ขา่ ยสังคมใหญท่ ี่เข้มแข็ง รูปแบบชุมชน/องค์กร/ธุรกิจ แบ่งปัน ช่วยเหลือกัน สามารถ
เชื่อมโยงและถ่ายทอดภูมิปัญญา เงินทุน/เทคโนโลยี เพื่อสร้างมลู ค่าเพิ่มและอยู่ร่วมกันอย่างยั่งยืน โดย

10 โครงการพัฒนาระบบการติดตาม ประเมนิ และรายงานผลการพฒั นาพ้ืนทีต่ ามแนวทางความคมุ้ คา่ ของการจัดการงบประมาณ
มูลนิธปิ ดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

แบ่งเปน็ (3.1) สรา้ งมลู ค่าเพิม่ และสร้างแบรนด์ และ (3.2) เช่อื มโยงหนว่ ยงานดา้ นเทคโนโลยี องค์ความรู้
และเงินทนุ

2.2 การติดตามประเมนิ ผลความสำเรจ็ ของธนาคารโลก (World Bank)

การติดตามประเมินผลความสำเร็จของธนาคารโลก (World Bank) ได้จัดทำขึน้ เพื่อเป็นแนวทางใน
การออกแบบ วางแผน และดำเนินการติดตามและประเมินผล (Monitoring and Evaluation) เพื่อ
เผยแพร่ใหก้ บั นกั พฒั นา/นกั ปฏิบัตทิ ่วั โลก มีสาระสำคญั ดังน้ี

จดุ มุ%งหมาย (Goal) เปาS หมายทาO ยสดุ ท่ีตอO งการ

การป ิฏบัติ ผลงาน ผลลพั ธ6 (Outcome) ผลที่เกิดขน้ึ จากผลผลิต
การเปลีย่ นแปลง/ส่งิ ที่ตอO งการบรรลุผลสำเรจ็

ผลผลติ (Output) สนิ คาO หรือบรกิ าร ทีน่ ำส%งใหOองค6กร/บคุ คลภายนอก
กระบวนการ (Activities) ซึ่งสนิ คาO หรอื บรกิ ารสดุ ทาO ย

อาจอย%ูในรปู ที่สามารถจับตOองไดOหรอื ไม%ก็ไดO
กระบวนการต%างๆ เพอื่ ใหไO ดมO าซ่ึงผลผลติ

ปKจจัยนำเขOา (Input) ทรัพยากรที่หน%วยงานนำไปใชใO นแตล% ะกจิ กรรม
เพือ่ ใหOไดผO ลผลิตตามทก่ี ำหนดไวO ไดOแก% บุคลากร เงินทุน

ทนุ สนิ ทรัพย6ท่เี ปhนรปู ธรรมและนามธรรม

รูปที่ 2.4 การประเมินผลความสำเรจ็ แผนงาน/โครงการของธนาคารโลก (World Bank)1

ธนาคารโลกได้กลา่ วถงึ พลงั ในการวดั ผลไวว้ ่า
หากคุณไม่วัดผลการดำเนินงาน คุณจะไมส่ ามารถบอกไดว้ ่าสำเร็จหรือลม้ เหลว
หากคุณไม่สามารถเหน็ ความสำเรจ็ คณุ จะไมส่ ามารถใหร้ างวัลได้
หากคุณไม่สามารถให้รางวลั ความสำเร็จ คณุ อาจจะให้รางวัลกบั ความล้มเหลวแทน
หากคณุ ไม่สามารถรูถ้ งึ ความล้มเหลว คุณจะไม่สามารถปรบั ปรุงแก้ไขได้
หากคุณสามารถแสดงใหเ้ หน็ ถงึ ผลการดำเนนิ งาน คณุ จะสามารถไดร้ บั แรงสนบั สนนุ จากสาธารณชน

ธนาคารโลกไดจ้ ำแนกความแตกตา่ งกันระหวา่ ง “การติดตามการดำเนินงาน” (Implementation
Monitoring) และ “การตดิ ตามผลการดำเนินงาน” (Results Monitoring) ไวด้ ังนี้

1 ทีม่ า : A Handbook for Development Practitioners “Ten Steps to a Results-Based Monitioring and
Evaluation System” Jody Zall Kusek and Ray C. Rist, World Bank, 2004

โครงการพฒั นาระบบการตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพน้ื ทตี่ ามแนวทางความคมุ้ คา่ ของการจัดการงบประมาณ 11
มูลนิธปิ ดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

องคป์ ระกอบของ “การติดตามการดำเนินงาน” (Implementation Monitoring)

ท่เี ปน็ ธรรมเนียมปฏบิ ัตใิ นการดำเนนิ แผนงาน/โครงการ
• อธบิ ายปญั หาหรือสถานการณ์กอ่ นการตดั สินใจ
• เปรยี บเทยี บจากกจิ กรรมหรือผลผลติ ข้ันต้น
• จัดเกบ็ ข้อมลู บนปัจจัยนำเข้า กจิ กรรมและผลผลติ ข้นั ตน้
• รายงานตามวงรอบ บนปจั จัยนำเข้าท่ีกำหนด
• รายงานตามวงรอบ บนผลผลติ ทกี่ ำหนด
• เกีย่ วขอ้ งโดยตรงกับการตดั สินใจ
• นำเสนอข้อมูลและประเด็นการเพิ่มประสิทธิภาพให้แก่ฝ่ายบริหาร ฝ่าย
ปฏบิ ตั แิ ละฝ่ายจัดการ

องคป์ ระกอบของ “การติดตามผลการดำเนนิ งาน” (Results Monitoring)

ทใ่ี ช้เพอ่ื ติดตามผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์
• ใช้ข้อมลู ปญั หาหรือสถานการณอ์ า้ งองิ กอ่ นการตดั สินใจ
• ตวั ช้ีวดั เพื่อผลลัพธ์
• จัดเก็บขอ้ มูลบนผลผลิต และการส่งต่อความสำเร็จสผู่ ลลัพธ์
• ใหค้ วามสำคัญกบั การการเปลย่ี นแปลงความคิดเหน็ ของผมู้ ีสว่ นเก่ยี วขอ้ ง
• รายงานตามวงรอบ ถึงความกา้ วหนา้ ของผลลพั ธ์ ท้งั เชงิ ปรมิ าณและคุณภาพ
• บรรลผุ ลสำเรจ็ ในการเชือ่ มโยงกบั พันธมิตรทางยทุ ธศาสตร์
• รวบรวมข้อมูลความสำเร็จและความล้มเหลวของพันธมิตรทางยุทธศาสตร์ เพื่อบรรลุ
ผลลัพธ์

บทบาทของ “การติดตาม” และ “การประเมินผล” เพอื่ การติดตามประเมินผลโดยมุ่งเนน้ ผลงานไว้

ในมมุ มองของธนาคารโลก มีความแตกต่างกันดงั น้ี

การตดิ ตาม (Monitoring) การประเมนิ ผล (Evaluation)

Þ ระบวุ ัตถปุ ระสงค์ของแผนงาน/โครงการที่ Þ วเิ คราะหเ์ หตผุ ลท่ีทำให้ไมส่ ามารถบรรลุ
เขา้ ใจงา่ ย จุดมุง่ หมายได้

Þ เชื่อมโยงกิจกรรมและทรพั ยากรตาม Þ ประเมนิ เหตผุ ลสำคญั ทท่ี ำให้กจิ กรรมบรรลุ

วัตถุประสงค์ เปา้ หมายได้

Þ พิจารณากระบวนการปฏิบตั งิ าน

Þ สำรวจผลลัพธท์ ีไ่ มไ่ ด้คาดหวงั

12 โครงการพัฒนาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพฒั นาพื้นท่ีตามแนวทางความคมุ้ ค่าของการจัดการงบประมาณ
มูลนิธิปดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

Þ แปลงวัตถุประสงค์ไปสูต่ วั ชี้วัดผลการ Þ จัดทำบทเรียนและจุดสำคัญในการบรรลุ
ดำเนินงานและกำหนดเป้าหมายการ
ดำเนินงาน แผนงาน/โครงการ รวมทง้ั ข้อเสนอแนะเพอ่ื
ปรบั ปรงุ การดำเนนิ งาน
Þ จัดเกบ็ ขอ้ มลู อยา่ งตอ่ เน่ืองตามตัวชว้ี ัด โดย
เปรียบเทียบแผนและผล

Þ รายงานความกา้ วหน้าแกผ่ จู้ ัดการ พรอ้ มแจง้
เตอื นปญั หาทพี่ บ

นอกจากนี้ ธนาคารโลกยังได้ออกแบบขัน้ ตอนการประเมินผลความสำเร็จโครงการแบ่งออกเป็น 10
ข้ันตอนหลักดังนี้

การเตรยี มความ การระบุตวั ชี้วดั การวางแผนและระบุ บทบาท การประยุกต์ใช้
พรอ้ มในการ ในการตดิ ตาม เปา้ หมาย เพื่อปรับปรงุ ในการประเมนิ ผล ผลการตดิ ตาม
ประเมินผล และประเมิน
ผลลัพธ์ การดำเนนิ งาน

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

การร่วมตก ลงผลลัพธ์ การวเิ คราะห์ การตดิ ตามผล การรายงาน ผล ความยงั่ ยืนของระบบ
ของการตดิ ตามและ สถานภาพ ตัวช้ีวัด การดำเนินงาน การติดตาม การตดิ ตามและประเมนิ ผล

ประเมนิ ผล ในปจั จุบนั ในองค์กร

รูปท่ี 2.5 ข้ันตอนการประเมินผลความสำเร็จแผนงาน/โครงการของธนาคารโลก

ขนั้ ตอนที่ 1 การเตรยี มความพรอ้ มในการประเมนิ ผล โดยการสร้างความเข้าใจร่วมกนั ของพ้ืนฐานการ
ประเมนิ การใชป้ ระโยชนจ์ ากการประเมินเพอ่ื การพัฒนาอย่างตอ่ เน่ือง

ขน้ั ตอนท่ี 2 การรว่ มตกลงถึงผลลัพธ์ของการติดตามและประเมินผล โดยเป็นการตกลงร่วมกันของผู้มี
ส่วนได้เสยี หลกั (key stakeholders) ท้ังภายในและภายนอกหน่วยงาน

ขน้ั ตอนที่ 3 การระบุตัวชี้วัดในการติดตามผลลัพธ์ เพื่อใช้ในการติดตามความก้าวหน้าของโครงการ
ทั้งนี้ ข้อมูลจากตัวชี้วัดจะทำให้ได้รับข้อมูลย้อนกลับอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ การกำหนด
ตวั ช้วี ัดต้องอยบู่ นพ้นื ฐานของหลักการและเหตุผล

ขั้นตอนท่ี 4 การวิเคราะห์สถานภาพตัวชี้วัดในปัจจุบัน (Baseline) ทั้งตัวชี้วัดเชิงคุณภาพและเชิง
ปรมิ าณ ซ่งึ จะทำใหท้ ราบถงึ จดุ เร่ิมตน้ ของโครงการ

ขัน้ ตอนที่ 5 การวางแผนและระบเุ ป้าหมาย เพื่อปรับปรุงการดำเนินงาน โดยการกำหนดค่าเป้าหมาย
ของตัวชี้วัดในแต่ละระยะทั้งระยะสั้น ระยะปานกลางและระยะยาว เพื่อให้มั่นใจว่าจะ
นำไปสู่การบรรลผุ ลลัพธ์ที่กำหนด

โครงการพฒั นาระบบการตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผลการพฒั นาพ้ืนทต่ี ามแนวทางความคมุ้ ค่าของการจัดการงบประมาณ 13
มูลนธิ ปิ ิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

ขั้นตอนท่ี 6 การติดตามผลการดำเนินงาน ซึ่งในขั้นตอนนี้ต้องให้ความสำคัญกับการเก็บข้อมูลที่มี
คุณภาพ อนั จะสะทอ้ นผลการดำเนนิ งานท่แี ท้จริง

ขัน้ ตอนท่ี 7 บทบาทในการประเมินผล ซึ่งต้องพิจารณาถึงรูปแบบและเวลาที่เหมาะสมในการ
ประเมินผล

ขั้นตอนที่ 8 การรายงานผลการตดิ ตาม ที่ต้องมกี ารวิเคราะห์และรายงานผลให้กับผู้มีอำนาจตัดสินใจ
เพอ่ื พิจารณาปรบั ปรุงโครงการให้เหมาะสมต่อไป

ข้ันตอนท่ี 9 การประยกุ ตใ์ ชผ้ ลการติดตามและประเมิน เพอ่ื เป็นแนวทางและบทเรียนใหก้ ับหน่วยงาน
ตา่ ง ๆ ในการปรับปรงุ โครงการใหเ้ หมาะสมตอ่ ไป

ขน้ั ตอนท่ี 10 ความยั่งยืนของระบบการติดตามและประเมินผลในองคก์ ร ซึ่งเกี่ยวขอ้ งกับความชัดเจน
ของบทบาทและความรับผดิ ชอบ และความเช่ือถือไดข้ องข้อมูล เป็นตน้

2.3 แนวทางการประเมนิ ผลของ United Nations Development Programme (UNDP)

United Nations Development Programme (UNDP) ในฐานะหนว่ ยงานด้านการพัฒนาระดับสากล ได้
จดั ทำแนวทางการประเมินผลไว้ โดยหวั ใจของการประเมนิ ผลที่ UNDP ใหค้ วามสำคญั คอื ความรับผดิ ชอบ
(Accountability) ความโปร่งใส (Transparancy) และการเรยี นรู้ (Learning) ที่จะต้องยดึ และปฏบิ ัตคิ วบคู่
กันไป

UNDP อธิบายถงึ ความสำคัญว่า การประเมนิ ผลเป็นวธิ กี ารเสรมิ สร้างการเรียนรู้ (Learning) ภายในองค์กร
เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจที่ดีขึ้นและส่งเสรมิ การเรียนรภู้ ายในองค์กรและกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสยี ซึ่งการ
ประเมินผลบนพื้นฐานของความโปร่งใส (Transparancy) และความรับผิดชอบต่อภารกิจขององค์กร
(Accountability) จะช่วยเสริมสรา้ งความไวเ้ น้ือเชือ่ ใจและความมน่ั ใจท่ผี ู้มสี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี จะมกี ับองคก์ รได้

รปู ที่ 2.6 หลกั ในการประเมนิ ผลของ UNDP2

2 ท่ีมา : UNDP Evaluation Guidelines, UNDP, 2019

14 โครงการพัฒนาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพฒั นาพื้นทตี่ ามแนวทางความค้มุ ค่าของการจัดการงบประมาณ
มลู นิธปิ ิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

2.4 หลักการประเมินผลของ Organization for Economic Co-operation and Development
(OECD)

Organization for Economic Co-operation and Development (OECD) ได้เผยแพร่แนวทางการ
ประเมินผลจากรายงาน “Better Criteria for Better Evaluation” Revised Evaluation Criteria
Definitions and Principles for Use โดยให้หลักในการประเมินผลใน 6 เรื่อง ซึ่งได้นำมาประยุกต์ใช้ใน
การพฒั นาระบบการตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการพฒั นาพนื้ ที่ ประกอบด้วย

รูปท่ี 2.7 หลักในการประเมนิ ผลของ OECD3

1. ประสิทธิผล (Effectiveness)
ผลการดำเนินงานเปน็ ไปตามเป้าหมายขององค์กรหรอื ไม่ อยา่ งไร

2. ผลกระทบ (Impact)
ผลกระทบของโครงการ/กิจกรรมทไ่ี ดพ้ ัฒนาในมิติต่างๆ ท้ังในระยะสนั้ และระยะยาว

3. ความสำเรจ็ ตามแนวทางทถ่ี ูกตอ้ ง (Relevance)
ความสำเรจ็ สอดคล้องกับการพัฒนาตามแนวพระราชดำริ

4. ความเชอ่ื มโยง (Coherence)
การดำเนินโครงการ/กิจกรรมที่เชือ่ มโยงกับเป้าหมายขององคก์ ร

5. ความย่ังยืน (Sustainability)
ความย่ังยนื ของโครงการ/กิจกรรมท่ีได้พฒั นา

6. ประสทิ ธภิ าพ (Efficiency)
ความค้มุ คา่ ของโครงการ/กจิ กรรม ในการใชท้ รัพยากร

3 ที่มา : Better Criteria for Better Evaluation Revised Evaluation Criteria Definitions and Principles for Use,
OECD/DAC Network on Development Evaluation (November 2019)

โครงการพัฒนาระบบการตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผลการพฒั นาพืน้ ทตี่ ามแนวทางความคมุ้ ค่าของการจดั การงบประมาณ 15
มลู นิธิปดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

2.5 ทฤษฎีหว่ งโซแ่ หง่ คุณค่า (Value Chain)

Value Chain หรือ ทฤษฎีห่วงโซ่แห่งคุณค่า คือ ทฤษฎีที่คิดค้นขึ้นโดย Michael Porter (ไมเคิล
พอรเ์ ตอร์) ซึง่ เปน็ อาจารยป์ ระจำมหาวิทยาลยั ฮาร์วารด์ ประเทศสหรฐั อเมรกิ า โดยหลักการน้ีถูกเขียนลงใน
หนังสอื ที่ชื่อว่า Competitive Advantage ในปี 1985 ซึ่งแนวคิดหว่ งโซ่แห่งคุณค่าน้ัน สามารถวัดได้จาก
คุณคา่ ทลี่ ูกค้าได้รบั และยอมจ่ายเงนิ เพือ่ ซ้อื สนิ ค้าหรือบรกิ ารมากนอ้ ยเพียงใด โดยแนวคดิ น้ีถูกแบ่งออกเป็น
2 กิจกรรม คือ กิจกรรมหลัก (Primary Activities) และ กิจกรรมสนับสนุน (Support Activities) โดยแต่
ละกิจกรรมจะเน้นไปที่การเพมิ่ คณุ คา่ ใหก้ บั สนิ คา้ หรอื บริการ

รปู ท่ี 2.8 ทฤษฎีหว่ งโซ่แห่งคุณคา่ (Value Chain) (Porter, 1985)

Primary Activities (กิจกรรมหลัก) คือ กิจกรรมที่มีส่วนสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับวัตถุดิบและสินคา้
โดยตรง ประกอบดว้ ย

การขนส่งและจัดเกบ็ วถั ดุ บิ (Inbound Logistics) ประกอบไปด้วยกิจกรรมทม่ี คี วามสัมพันธ์กับผู้ส่ง
มอบ เช่น การรับ การจัดเกบ็ การควบคุมระดับของวัตถุดิบ รวมถึงการจัดการข้อมูลที่เก่ียวขอ้ งกับ
วัตถุดิบ โดยเทคโนโลยใี นกจิ กรรมนปี้ ระกอบไปด้วย การขนส่ง การส่งถา่ ยวัสดุ การจดั เก็บวสั ดุ การ
สอ่ื สาร การทดสอบและระบบขอ้ มูล

การผลิตสนิ คา้ หรือบริการ (Operations) กจิ กรรมท่ีก่อให้เกิดคณุ คา่ โดยการแปลงสภาพวัตถุดิบจน
กลายเป็นสินค้าหรือบริการ โดยเทคโนโลยีที่ใช้ในกิจกรรมนี้จะประกอบไปด้วย กระบวนการผลิต
วัตถุดิบ เครื่องจกั รและเครอ่ื งมือ การขนถา่ ยวัสดุ การบรรจุหบี หอ่ การรกั ษาสภาพ การทดสอบ การ
ออกแบบและจดั การสิง่ ปลกู สร้างและระบบข้อมลู

การขนส่งและจัดเกบ็ สินค้า (Outbound Logistics) กิจกรรมที่ดำเนนิ การส่งมอบสินค้าไปยังลกู ค้า
รวมถึงการจัดเก็บสินค้า การเติมเต็มความต้องการของลูกค้า โดยเทคโนโลยีที่ใช้ในกิจกรรมนี้
ประกอบไปดว้ ย การขนส่ง การขนถา่ ยวัสดุ การสอื่ สาร ระบบข้อมูล และการบรรจหุ ีบหอ่

16 โครงการพฒั นาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพฒั นาพื้นทีต่ ามแนวทางความคมุ้ คา่ ของการจัดการงบประมาณ
มลู นิธปิ ิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

การตลาดและการขาย (Marketing and Sales) กิจกรรมใดๆที่ทำให้ผู้ซื้อดำเนินการจัดหาสินค้า
รวมไปถึงการเลือกช่องทางโฆษณา ประชาสัมพนั ธ์ และการกำหนดราคาสนิ คา้

การบริการทั้งก่อนและหลังการขาย (Service) กิจกรรมในการรักษาสภาพของสินค้าหลังการขาย
รวมถงึ การซอ่ มและใหบ้ ริการกบั ลกู ค้า โดยเทคโนโลยีทีใ่ ช้ในกจิ กรรมนปี้ ระกอบไปด้วย การบริการ
การทดสอบ การสอื่ สาร และระบบข้อมลู

Support Activities (กิจกรรมสนับสนุน) คือ กิจกรรมอื่นๆซึ่งสนับสนุนกิจกรรมหลักให้สามารถ
ดำเนนิ ไปได้ แตไ่ ม่มสี ว่ นโดยตรงในการเพ่ิมคุณค่าใหก้ บั สนิ คา้ ประกอบด้วย

โครงสร้างพื้นฐานองค์กร (Firm Infrastructure) เช่น การเงิน การบัญชี ระบบสารสนเทศ การ
จดั การองค์กร

การบริหารบุคลากร (Human Resource Management) กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการบริหาร
ทรพั ยากรบุคคล ต้ังแตว่ เิ คราะหค์ วามต้องการ สรรหา คัดเลอื ก ประเมนิ ผล พฒั นาฝึกอบรม ระบบ
เงนิ เดอื นค่าจา้ ง และแรงงานสัมพันธ์

การพฒั นาเทคโนโลยี (Technology Development) กิจกรรมเกยี่ วกบั การพัฒนาเทคโนโลยีท่ีช่วย
ในการเพิม่ คุณค่าใหส้ ินคา้ และบรกิ าร หรือกระบวนการผลิต

การจัดซ้ือ (Procurement) กิจกรรมในการจดั ซื้อ-จัดหาปัจจยั นำเข้าเพอื่ มาใชใ้ นกจิ กรรมหลกั

เมื่อนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม่ มาผนวกกับทฤษฎีห่วงโซ่แห่งคุณค่า (Value
Chain) และรูปแบบกิจกรรมการดำเนินงานของสถาบันปดิ ทองฯ ในพ้ืนที่ต้นแบบ (Business Model) จะ
พบว่าสิ่งที่ได้ คือ การขับเคลื่อนแนวพระราชดำริในแต่ละขั้น นอกจากจะเป็นประโยชน์ในการยึดแนว
พระราชดำริเปน็ หลักในการพฒั นาพ้ืนท่ี และช่วยเปน็ แนวทางในการพัฒนาพื้นท่ีอย่างเปน็ ลำดบั ข้ันแล้ว ยัง
สามารถใชเ้ ป็นแนวทางจัดการองค์ความรู้ในการพฒั นาตามแนวพระราชดำรใิ นแต่ละเรอ่ื งได้ ดังนี้

ห่วงโซ่แห่งคุณค่า (Value Chain) ในรูปแบบกิจกรรมการดำเนินงานของสถาบันปิดทองฯ ในพื้นท่ี
ต้นแบบ (Business Model) จะแบ่งเป็นกลุ่มต้นน้ำ กลางน้ำและปลายน้ำ โดยมีกิจกรรมการผลิตของ
ประชาชนได้ดงั น้ี

ตน้ น้ำ - น้ำ/ดิน
- คดั เลอื กพชื /สัตว์เศรษฐกจิ
- จัดหาวัตถดุ บิ

กลางน้ำ - กิจกรรมการผลิต
- ทรัพยากรและโครงสร้างพนื้ ฐาน
- ผลผลติ การเกษตร
- สนิ คา้ แปรรปู

โครงการพัฒนาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพฒั นาพ้ืนทตี่ ามแนวทางความค้มุ ค่าของการจัดการงบประมาณ 17
มลู นิธิปดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

ปลายน้ำ - ลูกคา้ และช่องทางจำหนา่ ย
- รายไดแ้ ละผลสำเรจ็

2.6 โมเดลธุรกิจแบบแคนวาส (The Business Model Canvas)

โมเดลธุรกิจแบบแคนวาส (Business Model Canvas) เป็นแนวคดิ ทพ่ี ฒั นารปู แบบโดย Alexander
Osterwalder ซึ่งเป็นเครื่องมือในการทำธุรกิจที่ทำให้เรามองธรุ กิจของตนเองได้อย่างปรุโปร่ง และทำให้
ทีมงานรับรู้รูปแบบและปัญหาของธุรกิจไปในทิศทางเดียวกัน ซึ่งจะนำไปสู่ความรวดเร็วในการแก้ปัญหา
และระดมความคิด เพราะเรามองเหน็ จดุ เดน่ จุดด้อยของตัวเองได้ผ่านโมเดลน้ี ทจ่ี บทุกอย่างไวใ้ นแผน่ ผนื ผา้
แผ่นเดียว

รปู ที่ 2.9 The Business Model Canvas

The Business Model Canvas เป็นผืนผ้าสี่เหลี่ยม แบ่งหัวข้อหลักออกเป็น 9 ช่อง แต่ละช่องจะ
ชว่ ยให้เรามองเหน็ รายละเอยี ดในธรุ กจิ ของตวั เอง รวมท้งั จุดเด่นจุดดอ้ ย โดยจะชว่ ยใหท้ ีมมองเหน็ ภาพรวม
ของธุรกิจในทศิ ทางเดียวกัน เราจะรับรู้และเข้าใจไดพ้ ร้อมๆกันวา่ ตอนนี้ปัญหาคืออะไร ตรงไหนต้องลด
ตรงไหนตอ้ งเพม่ิ การระดมความคิด (brainstorm) จะไมส่ ะเปะสะปะหรอื หลงประเด็นซง่ึ เป็นปญั หาท่ีอาจ
เกิดขึ้นได้ง่าย หากแต่ละคนในทีม มีภาพรวม business model ในหัวที่แตกต่างกัน โดยหัวข้อหลักทั้ง 9
หวั ข้อ ประกอบดว้ ย

18 โครงการพัฒนาระบบการตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผลการพฒั นาพื้นทตี่ ามแนวทางความค้มุ ค่าของการจัดการงบประมาณ
มลู นธิ ิปิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

1. กลุ่มลูกคา้ (Customer Segment)

ใครเป็นลูกค้าเรา กลุ่มลูกค้าเราเป็นกลุ่มใหญ่ (mass) หรือกลุ่มเฉพาะ (niche) ปัญหาของ
ลูกค้าเราคืออะไร ซงึ่ ตอ้ งแยกระหว่างคนซอ้ื และคนใช้ เพราะสนิ คา้ บางอย่างคนซ้อื ไม่ไดใ้ ช้ และ
คนใช้ไมไ่ ด้ซอื้ เชน่ ของใชเ้ ด็ก พอ่ แม่จะเปน็ ผู้ซอ้ื ผลิตภัณฑต์ ้องตอบโจทย์ผใู้ ช้ แต่การส่ือสารเรา
จะสือ่ สารกับผูซ้ ื้อ รวมไปถึงลูกคา้ ของเรามพี ฤติกรรมแบบไหน อยูก่ บั สอ่ื อะไร เป็นเรอื่ งสำคญั ท่ี
เราตอ้ งรู้

2. ผลผลติ และคณุ คา่ ท่มี อบให้ (Product and Value Proposition)

อะไรทีท่ ำให้ลกู ค้าตอ้ งเลอื กสนิ ค้าและบรกิ ารของเรา ในสว่ นน้สี ำคญั มาก เราตอ้ งตอบตัวเองให้
ได้วา่ อะไรคือคณุ คา่ ในสนิ คา้ และบริการทเ่ี ราเลอื กนำเสนอใหล้ กู ค้า ลกู ค้าจะได้คณุ ค่าอะไรจาก
การยอมจ่ายให้เรา คุณค่าในสินค้าและบริการของเราเข้าไปแก้ปัญหา หรือตอบโจทย์ หรือ
ส่งเสรมิ อะไรใหล้ กู คา้ เช่น รา้ นกาแฟรา้ นหนึ่ง ขายแพงกว่าคูแ่ ข่งในระแวกเดียวกัน แต่มีบางสิ่ง
ทแ่ี ตกตา่ งซึง่ ทำใหล้ กู คา้ ยอมจ่ายแพงกว่าคอื มีทจี่ อดรถเพียงพอ ในรา้ นมีกลิ่นหอมผ่อนคลาย
ตลอดเวลา มีกาแฟชนิดพเิ ศษที่หาด่ืมยาก เครื่องชงกาแฟที่สัง่ ทำพิเศษไม่เหมือนร้านไหนใน
ประเทศไทย และทัง้ หมดนี้คือคุณคา่ ทล่ี กู คา้ จะได้รบั หากเลอื กร้านกาแฟร้านน้ี

3. สร้างความสมั พนั ธ์กับลกู คา้ (Customer Relationships)

การสรา้ งและรักษาความสัมพนั ธก์ บั ลูกค้าเปน็ หนึ่งเรอื่ งทอ่ี าจมองข้ามกันได้ง่าย แตเ่ ชอ่ื ไหมวา่ นี่
เปน็ อีกหนึง่ เหตุผลสำคัญทที่ ำใหเ้ กิดการบอกต่อ (word of mouth) การซ้อื ซำ้ จนนำไปสู่การ
เปน็ ลูกคา้ ทีจ่ งรกั ภกั ดตี อ่ แบรนด์ ความสมั พนั ธ์กับลกู ค้าในแตธ่ ุรกจิ จะแตกต่างกันไปซงึ่ สามารถ
แบง่ รูปแบบความสัมพันธ์ได้เป็น 4 ประเภท ดังน้ี – การให้ความชว่ ยเหลือส่วนบุคคล เชน่ call
center, ช่างประจำศนู ย์รถยนต์, พนกั งานคอยโทรสอบถามความพึงพอใจของสินค้าและบรกิ าร
– การบรกิ ารตนเอง เชน่ ตู้ ATM, ตู้ จา่ ยค่าบรกิ ารต่างๆของ True, แอพลิเคชันธุรกรรมทาง
การเงนิ – การบรกิ ารดว้ ยระบบอตั โนมัติ คล้ายกันกับการบริการตนเอง คอื การท่ลี ูกค้าสามารถ
มปี ฏิสัมพนั ธก์ ับธรุ กิจของเราด้วยตวั เอง ผา่ นระบบอตั โนมัตทิ ีเ่ ราสร้างขนึ้ – การใหบ้ รกิ ารแบบ
เชอื่ มตอ่ ถงึ กนั เปน็ ชมุ ชน (community) เช่น Fanpage บนเฟสบ๊คุ

4. ชอ่ งทางเข้าถึงลูกค้า (Channel)

ช่องทางในซื้อขาย และช่องทางในการติดต่อสื่อสารกับลูกค้า ลูกค้าเราเป็นแบบไหน ลักษณะ
ธุรกิจเราเป็นอย่างไร การซื้อขายผ่านช่องทางใดจึงจะสะดวกมากที่สุด นอกจากนี้ช่องทางใน
การติดต่อสื่อสารกับลูกค้าก็ต้องเลือกให้ถูกต้องตรงจดุ ลูกค้าเราอยู่กบั สื่อชนิดใด เราจะแจง้
ข้อมูลสินค้า หรือบอกโปรโมชั่นกับลูกค้าผ่านสื่อใดจึงจะเกิดประสิทธิภาพสูงสุด เป็นอีกหนึ่ง

โครงการพฒั นาระบบการตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการพฒั นาพื้นทต่ี ามแนวทางความคุม้ คา่ ของการจัดการงบประมาณ 19
มลู นิธิปดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

เร่ืองท่ีคนทำธุรกิจจำเปน็ ต้องรู้ ซงึ่ ช่องทางเหลา่ นีม้ ันเกดิ ข้นึ ตง้ั แต่กระบวนการก่อนการขาย ไป
จนถึงหลงั การขาย กระบวนการขายแบบเบสิคจะมีดว้ ยกันทงั้ หมด 5 ระยะคือ

Ø Awareness ลกู ค้าจะรับรถู้ ึงสินคา้ และบริการของเราไดอ้ ย่างไร?
Ø Evaluation ลกู คา้ จะมองเหน็ คณุ ค่าในสนิ ค้าและบริการของเราไดท้ างใดบา้ ง
Ø Purchase ชอ่ งทางใดบ้างท่ลี กู คา้ จะสามารถซื้อสนิ ค้าและบริการจากเราได้
Ø Delivery ช่องทางใดบา้ งทีเ่ ราสามารถสง่ มอบสนิ คา้ และบรกิ ารของเราให้ลกู คา้ ได้
Ø After-sale เราดูแลลูกคา้ หลังการขายอยา่ งไร

5. รายไดห้ ลกั (Revenue Stream)

ช่องทางการเข้ามาของรายได้จะเข้ามาทางใดบ้าง เราจำเป็นต้องรู้ โดยมากจะมี 4 ประเภท
ไดแ้ ก่ จากคา่ บรกิ าร จากการขายสนิ คา้ จากคา่ เช่า และ จากคา่ อนญุ าตใหใ้ ชล้ ิขสิทธ์ โดยควร
จะมองให้ลึกลงไปถึงขั้นว่าลูกค้าเราจะสะดวกจ่ายในรูปแบบใด เครดิตหรือเงินสด จ่ายผ่าน
ชอ่ งทางใด โอนผา่ นธนาคาร เคาท์เตอร์เซอรว์ สิ หรอื แคชเชียร์ ต้องสอดประสานกับสนิ ค้าและ
บรกิ ารของเรา และเชอื่ มโยงกับลูกคา้

6. กจิ กรรมหลกั (Key Activity)

กจิ กรรมหลักทีช่ ่วยขบั เคล่ือนธรุ กจิ พดู ง่ายๆว่าในธรุ กิจของเรา อะไรคือหนา้ ทีท่ ่ีเราต้องทำบ้าง
ซง่ึ แตล่ ะธุรกจิ กจ็ ะมหี นา้ ทห่ี ลกั แตกต่างกนั ไป เช่น ธุรกจิ ซกั อบ รีด หนา้ ท่หี ลกั ทเ่ี ราจะเขียนลง
ไปในช่องกจิ กรรมหลัก คอื การทำความสะอาดเส้ือผา้ การรดี เส้ือผา้ เปน็ ตน้

7. ทรัพยากรหลกั (Key Resource)

ทรพั ยากรที่สำคญั กบั ธรุ กิจเรา ทรัพยากรในที่น้หี มายรวมท้ัง คน เครอื่ งจักร เงินทุน ทรัพย์สิน
ทางปญั ญา ท่ดี นิ ฯลฯ ส่ิงทค่ี วรเขียนในช่องนี้ควรจะแยกเป็น 2 ส่วนคอื ทรพั ยากรส่วนที่เรามี
อยู่ และ ทรพั ยากรส่วนท่เี ราตอ้ งมี การมองหาทรพั ยากรเราต้องยอ้ นกลบั ไปดูว่าลูกค้าของเรา
คือใคร อะไรคือคุณคา่ ทีเ่ ราจะนำเสนอแกล่ ูกค้า และทรพั ยากรของเราจะสามารถสร้างคณุ ค่า
นั้นๆไดห้ รอื ไม่ อยา่ งไร

8. พันธมติ รหลัก (Key Partners)

มหี ลายสง่ิ ในกระบวนการทำธรุ กจิ ทีเ่ ราจำเป็นตอ้ งพึง่ พาผ้อู นื่ เพื่อใหธ้ รุ กิจดำเนนิ ไปอย่างลุล่วง
พันธมติ รคอื กลมุ่ คนอืน่ ๆทเี่ กย่ี วข้องในการดำเนนิ ธรุ กิจของเรา อาจจะเรยี กว่าคูค่ ้า ข้อดขี องการ
มพี ันธมติ รคือ กลุ่มคนเรานจี้ ะชว่ ยเพม่ิ ประสทิ ธิภาพในกระบวนการทำธุรกจิ ชว่ ยกระจายความ
เสี่ยง และทำให้เราไม่ต้องดำเนนิ การทุกอย่างด้วยตัวเองซ่งึ จะช่วยประหยัดเวลาให้เรามาโฟกัส
เร่อื งสำคญั ๆได้

20 โครงการพฒั นาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพฒั นาพนื้ ที่ตามแนวทางความคมุ้ ค่าของการจัดการงบประมาณ
มลู นิธิปิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

9. ต้นทุนหลัก (Cost Structure)

ต้นทุนมีหลายประเภท ต้นทุนที่แบ่งตามวัตถุประสงค์จะมี 2 ประเภทคือ ทุนเพื่อขับเคลื่อน
ธรุ กิจ เช่น คา่ จา้ งพนกั งาน ค่านำ้ ค่าไฟ ค่าน้ำมนั คา่ บำรุงรักษาเรื่องจักร คา่ เช่าสำนักงาน ฯลฯ
และอีกประเภทหนึ่งคอื ต้นทุนเพื่อเพ่ิมคุณค่าให้ธุรกจิ เช่น งบโฆษณา งบเช่าพ้ืนที่พิเศษเพื่อ
ลูกคา้ ของตนเองตามหา้ งสรรพสนิ ค้า งบลงข่าวประชาสมั พันธ์ ฯลฯ แต่ถ้าแยกตามประเภทของ
ตน้ ทนุ จะมี 4 ประเภท

1) ตน้ ทนุ คงท่ี (fixed cost) เปน็ รายจ่ายคงที่ จา่ ยประจำ เชน่ ค่าจ้างพนักงาน คา่ เช่า

2) ตน้ ทุนผนั แปร (variable cost) จา่ ยมากจ่ายน้อยขน้ึ อยกู่ บั ปรมิ าณการใช้ เช่น ค่านำ้ ค่าไฟ
ค่าน้ำมนั

3) ต้นทุนผลิตมากแลว้ ราคาถูกลง (economy of scale) เชน่ สง่ั ผลิตขวดโหลใสอ่ าหารจำนวน
1,000 ใบข้ึนไป จะไดร้ าคาตอ่ ชนิ้ ถกู กว่าปกติ

4) ตน้ ทุนซอื้ รวมกนั แลว้ ถูกลง (economy of scope) เชน่ ซื้อเครอ่ื งใชส้ ำนักงานพรอ้ มกัน
และจดั ส่งทีเดยี วจะไดส้ ว่ นลดมากกว่า และไดร้ บั บริการส่งฟรี

หากพิจารณา The Business Model Canvas ทั้ง 9 หัวข้อ สามารถแบ่งออกเป็นก้อนใหญ่ 4 ส่วน
ตามภาพด้านล่าง ซึ่งแต่ละกอ้ นจะมหี นา้ ทีห่ ลักแตกตา่ งกันไป

โครงการพัฒนาระบบการตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพ้ืนทต่ี ามแนวทางความคมุ้ คา่ ของการจัดการงบประมาณ 21
มลู นธิ ปิ ิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

เป็นสว่ นท่ีสำคัญมาก
ต้องระบุให้ได้วา่ สินค้า

หรือบรกิ ารของเรา
นำเสนอ “คณุ ค่า
” อะไรให้แกล่ กู ค้า
อะไรท่จี ะทำใหล้ ูกค้า

เลอื กเรา?

รูปที่ 2.10 สรปุ The Business Model Canvas
2.7 วงจร PDCA (Plan-Do-Check-Act)

วงจร PDCA เป็นอีกเครื่องมือหนึ่งที่สำคัญสำหรับการวางแผนและแก้ปัญหาอย่างยั่งยืน เป็น
กระบวนการที่ครบวงจรตง้ั แต่การวางแผน ปฏิบตั ิ ตรวจสอบ และย้อนกลบั มาปรบั ปรงุ การดำเนินงานให้ดี
ยิ่งๆขึ้นไป ซึ่งเป็นที่นิยมใช้เป็นอย่างมากในประเทศญี่ปุ่น โดยบริษัทโตโยต้า ที่ถือเป็นองค์กรขนาดใหญ่
ระดับโลกยงั มกี ารนำหลกั การ PDCA นม้ี าใชใ้ นกระบวนการผลติ รถยนต์ และพัฒนาจนกลายเปน็ TOYOTA
WAY อย่างทีร่ ู้จักกันในปัจจุบัน จงึ เป็นเครื่องพิสูจน์แลว้ ว่าหลักการ PDCA สามารถนำมาใช้เพื่อปรบั ปรุง
และพัฒนาระบบการทำงานขององค์กรให้ดีขึ้นได้ ถึงแม้ว่าองค์กรนั้นไม่ได้เกี่ยวข้องกับการผลิตใน
อุตสาหกรรม เพราะหลักการ PDCA (Plan-Do-Check-Act) สามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้กับทุกงาน
แม้กระทัง่ การดำเนนิ ชวี ิตประจำวนั

รปู ท่ี 2.11 วงจร PDCA (Plan-Do-Check-Act)

22 โครงการพฒั นาระบบการติดตาม ประเมนิ และรายงานผลการพฒั นาพื้นทีต่ ามแนวทางความคุ้มคา่ ของการจัดการงบประมาณ
มูลนธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

การวางแผนงาน (Planning) เป็นการกำหนดรายละเอียดสิ่งที่ต้องทำให้สอดคล้องกับเปา้ หมายที่
วางไว้ โดยเรียงตามลำดับความสำคัญ รายละเอียดขั้นตอน ปัจจัยต่างๆที่ต้องใช้ ระยะเวลาเริ่ม-สิ้นสุด
บุคคลหรือทีมงานที่เกี่ยวข้องในแต่ละขั้นตอน และที่สำคัญที่สุดคือ ตัวชี้วัดผล (KPI) เนื่องจากแผนงาน
หมายถึง เราจะเดินทางไปสถานท่ีนั้นด้วยวิธีไหน ไปถึงเมื่อไหร่ ดังนั้น ตัวชี้วัดจึงเป็นตัวที่จะคอยบอกวา่
วิธีการทีเ่ ราเลือกใช้น้นั ถูกตอ้ งหรอื ไม่ เรว็ -ชา้ อย่างไร ทรัพยากรท่ีใช้ไปเปน็ ไปตามแผนหรอื เกนิ กว่าทกี่ ำหนด
ไว้ เพ่ือท่ีจะได้ปรับแผนหรือวิธไี ด้อย่างทนั ท่วงที

การลงมือปฏิบัติ (Do) เป็นการลงมือปฏิบัติตามแผนงานและวิธีการที่เรากำหนดไว้อย่างมีวินัย
ทักษะการบรหิ ารตา่ งๆจะถกู หยิบมาใช้ในระยะการลงมือปฏบิ ัตินี้ เช่น การบรหิ ารเวลาใหไ้ ด้ตามแผน การ
ประชุมเพื่อตรวจสอบความคืบหนา้ การมอบหมายงานเพื่อแบ่งเบาภาระ เป็นตน้ ในเรื่องที่นอกเหนือจาก
การทำงาน ไมว่ า่ จะเปน็ การพฒั นาตวั เอง การออกกำลังกาย หรือการบรหิ ารการเงินส่วนบคุ คล ย่อมต้องใช้
วินยั และการบริหารดา้ นต่างๆด้วยเช่นกนั

การตรวจสอบ (Check) เปน็ การตรวจสอบความคบื หน้าของส่ิงท่เี ราได้ลงมือปฏิบัตไิ ปนน้ั ว่าเป็นไป
ตามแผนงานหรอื ไม่ ซ่งึ สิ่งที่จะบง่ บอกไดก้ ค็ ือตัวชีว้ ดั ทีก่ ำหนดไว้ ถ้าจุดทเ่ี ราตรวจสอบไดผ้ ลลพั ธ์ตามตวั ชวี้ ดั
ทเ่ี ราตงั้ ไว้หรือดกี ว่าแสดงว่าวิธกี ารท่เี ราเลือกใช้นน้ั ยังคงถกู ต้อง แต่ถา้ ตรวจสอบออกมาแลว้ ผลปรากฏวา่ ต่ำ
กว่าตัวชี้วัดทตี่ ัง้ ถือเป็นสัญญาณเตือนวา่ มีความผดิ ปกติบางอย่างเกีย่ วกบั แผนงานหรอื วิธีการที่เรากำหนด
ไว้ในตอนแรก

การปรับปรุง (Act) เป็นการปรับปรุงหรือปรับเปลี่ยนวิธีการหรือทรัพยากรบางอย่าง เพื่อทำให้
ผลลัพธก์ ลับมาอยูใ่ นแผนงานหรอื เส้นทางสู่เป้าหมายตามระยะเวลาท่กี ำหนดไว้ในคร้ังแรก ซึง่ กระบวนการ
ปรบั ปรุงเริ่มจากการวิเคราะหห์ าสาเหตุท่ีทำใหผ้ ลลัพธ์ไมเ่ ปน็ ไปตามท่เี ราวางแผนหรอื กำหนดไว้ วา่ เกดิ จาก
องค์ประกอบหรือปจั จยั ภายใน/ภายนอกใดบ้าง แลว้ จึงมากำหนดมาตรการแกไ้ ข ปรบั ปรงุ ต่อไป

P-D-C-A อย่างต่อเนื่อง หลังจากเรากำหนดมาตรการแก้ไขแล้วจึงนำมาปรับเปลี่ยนแผนงานให้
สอดคล้องกับวิธีการและทรพั ยากรทก่ี ำหนดข้ึนมาใหม่โดยยังคงคำนงึ ถึงการกำหนดตัวชวี้ ัดที่เหมาะสม แล้ว
จึงเรม่ิ ลงมือปฏิบัติ ตรวจสอบ ปรับปรงุ แกไ้ ข ตามวงจร P-D-C-A อยา่ งต่อเนอื่ งจนบรรลเุ ปา้ หมายท่ตี ง้ั ไว้

2.8 ระบบงบประมาณแบบมงุ่ เน้นผลงานตามยทุ ธศาสตร์ สำนกั งบประมาณ

ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยทุ ธศาสตร์ (Stategic Performance Based Budgeting
หรอื SPBB) เปลยี่ นจดุ เน้นจากการจดั การงบประมาณ ทเ่ี นน้ การควบคุมทรัพยากร (Input Oriented) ที่ใช้
ในการดำเนนิ งาน (Process Oriented) มาเป็นการมุ่งเนน้ ผลการดำเนินงาน (Performance Based) หรือ
ผลผลติ (Output) และผลลัพธ์ (Outcome) ตามยทุ ธศาสตร์ (Strategy) ทีม่ ีประสิทธภิ าพและประสทิ ธผิ ล
โดยตอ้ งมกี ารวัดผลสำเรจ็ ของผลงาน (Performance Measures) ดว้ ยการติดตามผลและประเมินผล ผา่ น

โครงการพัฒนาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพ้ืนทต่ี ามแนวทางความคมุ้ ค่าของการจดั การงบประมาณ 23
มลู นิธปิ ดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

การวิเคราะห์จากผลสำเร็จตามตัวชี้วดั (เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ เชิงเวลา และเชิงต้นทนุ /ค่าใช้จ่าย) ท่ี
กำหนดไวอ้ ยา่ งสมบูรณ์ชัดเจน มหี นว่ ยนบั ทีม่ ีค่าหรอื เกณฑก์ ารวดั ที่ใชไ้ ดจ้ รงิ และเหมาะสมกบั เวลา4

รปู ท่ี 2.12 กรอบแนวคิดการตดิ ตามประเมินผลตามระบบงบประมาณแบบมุง่ เน้นผลงานตามยทุ ธศาสตร์

Organization for Economic Co-operation and Development (OECD) มีแนวคิดสำคัญใน
การความเชื่อมโยงกิจกรรม/โครงการ ผลผลิตและผลลพั ธ์ เพื่อใช้ในการวางแผน ติดตาม และประเมินผล
โดยมีองค์ประกอบและโครงสร้างพื้นฐานที่เหมือนกัน คือ ค่าใช้จ่าย (Input) กระบวนการ (Process)
ผลผลิต (Output) และผลลัพธ์ (Outcome) ตามลำดับตามคำนยิ ามดังนี้

ผลลพั ธ์ (Outcomes) คอื สง่ิ ซ่งึ รฐั บาลมุ่งหวงั ท่ีจะเปลย่ี นแปลงเพื่อใหเ้ กดิ ประโยชน์สขุ แก่ประชาชน
ผ่านการดำเนินนโยบายของรัฐบาล ซึ่งเป้าหมายโดยรวมของรัฐบาล คือ การบริหารราชการเพื่อให้
บรรลผุ ลลพั ธ์ตามทีร่ ฐั บาลมุ่งหวังไว้ เช่น การยกระดบั มาตรฐานคณุ ภาพชีวติ การยกระดับศักยภาพ
ทางเศรษฐกิจ การลดปัญหาอาชญากรรม และการส่งเสริมสุขภาพของประชาชน เปน็ ตน้ ซง่ึ การให้
ไดม้ าซึ่งผลลพั ธ์ท่กี ำหนดไวร้ ัฐบาลต้องจดั สรรเงินผา่ นผลผลิต

4 ท่มี า : สำนกั งบประมาณ

24 โครงการพัฒนาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพฒั นาพน้ื ท่ตี ามแนวทางความคุ้มคา่ ของการจัดการงบประมาณ
มลู นิธปิ ิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

ผลผลิต (Outputs) คือ สินคา้ หรอื บรกิ ารซงึ่ ผลติ โดยองค์กรเพอ่ื ใหก้ ับผูบ้ ริโภคภายนอกองคก์ ร หรือ
อกี นยั หนงึ่ ผลผลติ คือ สินคา้ หรอื บริการสุดทา้ ยซ่ึงผลติ โดยองคก์ รเพื่อนำส่งให้องค์กรภายนอกหรือ
บคุ คลอนื่ ๆ ซึง่ สนิ คา้ หรอื บรกิ ารสุดทา้ ยอาจอยูใ่ นรปู ท่ีสามารถจบั ต้องไดห้ รอื ไมก่ ็ได้

กิจกรรม (Activities) คอื กระบวนการต่างๆ เพือ่ ใหไ้ ด้มาซง่ึ ผลผลิต เช่น หากต้งั เป้าหมายผลลพั ธ์ว่า
ต้องการสร้างความปลอดภัยบนทอ้ งถนน ผลผลติ ท่สี ามารถสง่ ผลใหถ้ งึ ผลลพั ธ์ดังกล่าว คอื การจัดทำ
สอ่ื โฆษณา และกิจกรรมจะประกอบดว้ ย การออกแบบ การพิมพ์ และการติดโปสเตอร์ เปน็ ตน้

ปัจจัยนำเข้า (Inputs) คือ ทรัพยากรที่หน่วยงานนำไปใช้ในแต่ละกิจกรรมเพื่อให้ได้ผลผลิตตามท่ี
กำหนดไว้ โดยปจั จยั นำเข้า ได้แก่ (1) แรงงาน ซึง่ รวมทง้ั แรงงานทใี่ ช้ทักษะ ใช้ความเชี่ยวชาญ และ
ใช้องค์ความรู้ เป็นต้น (2) ทุนสินทรพั ยอ์ ืน่ ๆ เช่น ที่ดิน อาคาร เครื่องจักรกล และระบบเครอื ข่าย
คอมพิวเตอร์ (3) เงนิ ทุนและสนิ ทรพั ย์อ่นื ๆ ทีไ่ มเ่ ปน็ รูปธรรม เชน่ ทรัพยส์ นิ ทางปัญญาซึ่งต้องใช้ใน
การนำสง่ ผลผลติ เป็นต้น

ค่าใช้จ่าย (Costs) คือ งบประมาณหรือค่าใชจ้ า่ ยเพอื่ ใหไ้ ดม้ าซ่งึ ปจั จัยนำเข้า

ความคุม้ คา่

ผลลัพธ์ 1 ทางการเงิน
(Value for Money)

ประสทิ ธิผล 2
(Effectiveness)

ผลผลติ ความคมุ้ คา่ ใน
กระบวนการ
3 การใชท้ รพั ยากร
(Optimized

ต้นทนุ ผลผลติ 4 Resources)
(Output Costing)

5 ต้นทุนกิจกรรม
(Activity Costing)

คา่ ใชจ้ า่ ย

รูปท่ี 2.13 ความเชอ่ื มโยงคา่ ใช้จ่าย กระบวนการ ผลผลิตและผลลัพธเ์ ชิงงบประมาณ

1) ความค้มุ ค่าทางการเงิน (Value for money)
เป็นการวัดและติดตามผลในระดับภาพรวมของโครงการ ซึ่งมีความสำคัญต่อผู้บริหารและ
ผูร้ บั ผดิ ชอบหลักในฐานะผพู้ ิจารณาว่า วิถที างทท่ี ำให้ไดม้ าซึง่ ผลลัพธเ์ ร่ิมตัง้ แต่ ปัจจัยนำเข้า
กระบวนการต่างๆ และผลผลิตนั้น มีต้นทุนในการดำเนินการเพื่อให้ได้มาซึ่งผลลัพธ์ตาม
เป้าหมายท่ีกำหนดไวค้ ุ้มค่ามากน้อยเพียงใด

โครงการพฒั นาระบบการตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผลการพฒั นาพ้นื ทตี่ ามแนวทางความคุ้มคา่ ของการจดั การงบประมาณ 25
มูลนิธปิ ิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

2) ประสิทธิผล (Effectiveness)
เป็นการวดั และติดตามผลในระดับผลผลติ และผลลัพธ์ของโครงการหรอื แผนงานเทา่ น้นั โดย
จะพิจารณาเกี่ยวกับการบรรลุสำเร็จตามเป้าหมายของผลผลิตและเป้าหมายของผลลัพธท์ ี่
กำหนดไว้

3) ความคมุ้ ค่าในการใช้ทรัพยากร (Optimized Resources)
เป็นการวัดและติดตามผลในระดับภาพรวมของกระบวนการ โดยพิจารณาว่าต้นทุนที่ใช้ใน
การดำเนนิ กระบวนการต่างๆ ทีก่ ำหนดไว้ท้งั ในด้านขัน้ ตอน กจิ กรรม และระยะเวลา เพื่อให้
ไดม้ าซงึ่ ผลผลิตทก่ี ำหนดไว้น้ัน มีความเหมาะสมมากน้อยเพียงใด

4) ตน้ ทุนผลผลิต (Output Costing)
เป็นการวัดและติดตามผลในระดับภาพรวมของผลผลิต โดยพิจารณาว่าต้นทุนของปัจจัย
นำเขา้ รวมทง้ั กระบวนการตา่ งๆ ท้ังในเชิงข้ันตอน กจิ กรรม และระยะเวลา เพ่ือให้ได้มาซ่ึง
ผลผลติ ทก่ี ำหนดไวน้ ้นั มคี วามเหมาะสมมากน้อยเพียงใด

5) ตน้ ทนุ กจิ กรรม (Activity Costing)
เป็นการวัดและติดตามผลในระดับภาพรวมของกิจกรรมโดยพิจารณาว่าต้นทุนที่ใช้ในการ
จัดหาปัจจัยนำเข้าท้ังหมดเพื่อดำเนินกจิ กรรมต่างๆ ให้ได้มาซ่ึงผลผลิตท่ีต้องการนั้นมคี วาม
เหมาะสมมากน้อยเพียงใด ต้นทุนในที่นี้อาจแตกย่อยได้เป็น ต้นทุนของระบบ ต้นทุนการ
ดำเนนิ การ และตน้ ทนุ การบำรงุ รกั ษา เปน็ ตน้

OECD5 ใหน้ ยิ ามเก่ยี วกับการติดตามและประเมินผลโครงการ ดังน้ี

การติดตาม (monitoring) หมายถึง กระบวนการเกบ็ ข้อมลู ของตวั ช้วี ดั สำคญั ของโครงการอย่าง ต่อ
เน่ือง เพ่ือเป็นเครื่องบ่งชี้ความคืบหน้าและระดับความสาเร็จของโครงการให้กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้
รับทราบ พร้อมความคบื หนา้ ของการใช้จา่ ยงบประมาณ

การประเมินผล (evaluation) หมายถึง กระบวนการประเมิน/ตัดสินคุณค่าของโครงการท่ีกำลัง
ดำเนนิ อยู่ โครงการทีแ่ ลว้ เสร็จ แผนงาน หรือนโยบาย อยา่ งมหี ลักเกณฑ์และเปน็ ระบบ ซ่ึงการประเมนิ ผลมี
จุดมุ่งหมายคือการประเมินความสอดคลอ้ ง (relevance) และการบรรลุวัตถุประสงคข์ องโครงการ แผนงาน
หรอื นโยบายนัน้ ๆ ตลอดจนประสิทธภิ าพ ประสทิ ธิผล ผลกระทบ และความยงั่ ยนื ผลการประเมินจะต้องมี
ความนา่ เชื่อถอื และมีประโยชน์ สามารถชว่ ยให้เกิดการเรียนรแู้ ละนำไปส่กู ารตดั สินใจทด่ี ขี ึ้นในอนาคต

5 ทมี่ า : OECD (Organisation for Economic Co-operation and Development). 2002. “Glossary of Key Terms in
Evaluation and Results-Based Management” Paris: OECD/DAC

26 โครงการพฒั นาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพฒั นาพน้ื ทตี่ ามแนวทางความคมุ้ ค่าของการจดั การงบประมาณ
มูลนิธิปดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

3 องค์ประกอบของการพฒั นาระบบการติดตามประเมนิ ผล

3.1.1 พันธกจิ วตั ถุประสงค์ เปา้ หมายและตัวช้ีวดั ของสถาบนั สง่ เสรมิ และพัฒนากจิ กรรมปดิ ทองหลงั
พระสบื สานแนวพระราชดำริ

"มลู นิธิปดิ ทองหลังพระ สบื สานแนวพระราชดำริ" และ "สถาบันสง่ เสริมและพัฒนากิจกรรมปิด
ทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ" มีพันธกิจคอื การจัดการความรูแ้ ละการส่งเสริมการพัฒนาตาม
แนวพระราชดำริอยา่ งเป็นระบบกวา้ งขวางจนกระทง่ั เปน็ แนวทางหลกั ในการพัฒนาประเทศ ทั้งนก้ี ารจดั ตงั้
และสนับสนุนการดำเนินงานของสถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระ สืบสานแนว
พระราชดำริ ซ่งึ เป็นหน่วยปฏิบตั ขิ องมูลนธิ ิ ให้ดำเนินการได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิผล ประสิทธภิ าพ สอดคลอ้ งกับ
เจตนารมณ์แหง่ การจดั ตัง้ ใหส้ ถาบนั โดยมมี ลู นธิ สิ นบั สนนุ ใหท้ นุ ดำเนินงาน มีวตั ถปุ ระสงคด์ ังนี้

(1) สนับสนนุ ส่งเสรมิ และใหค้ วามช่วยเหลอื ในการแกไ้ ขปญั หาและพฒั นา แกอ่ งคก์ ร ชมุ ชน ประชา
สังคม องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ องคก์ รภาครฐั องคก์ รทางสังคม สถาบนั วิชาการ ภาคธุรกิจ
ในการดำเนินงานทส่ี อดคล้องกับมิตกิ ารพฒั นาตามแนวพระราชดำริ เพอ่ื ใหป้ ระชาชนมชี ีวิตความ
เป็นอย่ทู ี่ดีขึ้น รวมถงึ สง่ ผลต่อการอนุรกั ษท์ รพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม

(2) สนบั สนุนการจดั การความรู้ตามแนวพระราชดำริ โดยประสานความร่วมมอื กบั ศูนยศ์ กึ ษาการพฒั นา
โครงการส่วนพระองค์ โครงการตามพระราชประสงค์ โครงการหลวง โครงการอันเนื่องมาจาก
พระราชดำริ องค์กรชุมชน ประชา สังคม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องคก์ รภาครฐั องค์กรทาง
สงั คม สถาบันวิชาการ ภาคธรุ กจิ เพอื่ ใหเ้ กิดคลงั ความรู้ การยกระดบั ความรู้ การต่อยอดชุดความรู้
ใหม่ การพฒั นาหลกั สตู รการศกึ ษาในและนอกระบบ ตลอดจนการ ขยายผลเชอ่ื มโยงสูก่ ารนำไป
ปฏิบัตอิ ย่างกวา้ งขวาง

(3) ส่งเสรมิ ใหเ้ กิดการบรู ณาการ ภารกจิ และกิจกรรมของสถาบนั กบั แผนชมุ ชน แผนองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น แผน พัฒนาจงั หวัด แผนหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง และนโยบายรฐั บาล

(4) สนบั สนุน สง่ เสริม แนะนำ และช่วยเหลอื องค์กรชมุ ชน ประชาสงั คม องค์กรปกครองส่วน
ทอ้ งถนิ่ องค์กรภาครัฐ องค์กรทางสังคม สถาบันวิชาการ ภาคธุรกจิ เพอื่ ให้นอ้ มนำแนวพระราชดำริ
ไปปรบั ใช้ให้เกดิ ประโยชน์ และเปน็ แนวทางหลกั ในการพฒั นาทกุ ระดบั ของประเทศ

(5) สร้างการรบั รู้ ความเข้าใจ และความร่วมมือดำเนนิ การตามแนวพระราชดำริอยา่ งต่อเนื่อง เพอื่
สนบั สนุนและสง่ เสริมการศกึ ษา และทศั นศึกษาทเี่ กย่ี วกบั การนำแนวพระราชดำริไปประยุกต์ใชแ้ ละ
ขยายผลสูช่ มุ ชน เพ่ือสง่ เสรมิ การประสานการดำเนินงานรว่ มกบั องคก์ รชุมชน ประชาสังคม องคก์ ร
ปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ องคก์ รภาครฐั องคก์ รทางสังคม สถาบนั วิชาการ ภาคธรุ กิจ เพอื่ กจิ กรรมพฒั นา
และกิจกรรมสาธารณประโยชน์ไม่ดำเนนิ การเกีย่ วข้องกบั การเมอื งแตป่ ระการใด

โครงการพฒั นาระบบการตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการพฒั นาพ้ืนทตี่ ามแนวทางความคุม้ ค่าของการจัดการงบประมาณ 27
มลู นิธิปดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

เพื่อให้สอดคลอ้ งกบั พนั ธกจิ และวตั ถปุ ระสงค์ "มูลนิธปิ ิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ" และ
"สถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ" ปฏิบัติภารกิจตามแผน
ยุทธศาสตรก์ ารบูรณาการการขบั เคลื่อนการพฒั นาตามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ระยะท่ี 2 พ.ศ.2559-
2563 โดยแบง่ ออกเปน็ 5 แผนงาน ประกอบดว้ ย

แผนงานท่ี 1 การพฒั นาพ้ืนท่ีตน้ แบบ
แผนงานที่ 2 การจัดตง้ั สถาบนั อบรม
แผนงานท่ี 3 ส่งเสริมการรบั รู้และเขา้ ใจแนวพระราชดำริ
แผนงานท่ี 4 สอื่ สารสาธารณะและภาคีสัมพนั ธ์
แผนงานท่ี 5 การบรหิ ารจดั การ

พร้อมระบตุ ัวชวี้ ดั ในแต่ละแผนงานดงั นี้

รูปท่ี 3.1 เปา้ หมาย ตวั ช้วี ัด ผลสัมฤทธแิ์ ละการประเมนิ ผลตามแผนยุทธศาสตรก์ ารบรู ณาการการขบั เคลอื่ น
การพฒั นาตามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระยะที่ 2 พ.ศ.2559-2563

28 โครงการพัฒนาระบบการตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผลการพฒั นาพืน้ ที่ตามแนวทางความคมุ้ คา่ ของการจดั การงบประมาณ
มูลนิธปิ ดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

3.2 การขบั เคลอ่ื นงานพัฒนาตามแนวพระราชดำริ โดยใช้ทฤษฎีหว่ งโซแ่ หง่ คุณค่า

จากการผนวกปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม่ เข้ากับกับทฤษฎีห่วงโซ่แห่งคุณค่า
(Value Chain) และรูปแบบกิจกรรมการดำเนินงานของสถาบันปิดทองฯ ในพื้นที่ต้นแบบ (Business
Model) พบการขบั เคลอ่ื นแนวพระราชดำริในแตล่ ะข้ัน ดังต่อไปน้ี

รูปท่ี 3.2 การพฒั นาตามแนวพระราชดำริ

ข้นั ที่ 1: ครวั เรอื นพ่ึงตนเอง กลางนำ้ ปลายน้ำ

ต,นนำ้

กจิ กรรม นำ้ /ดนิ พเืชลศค/อืกัดสก.ตั วL วจตั ัดถหุดาบิ กิจกรรมการผลติ ผลผลติ การเกษตร จชำลอ1 แหกูงลนทคะา,า1ายง ผรลแาสยลำไะเดรจ็,
การผลติ ของ โครงทสรรัพา, ยงาพกื้นรฐาน สนิ ค,าแปรรปู

ประชาชน

มนี ้ำเพียงพอ คัดเลือก จัดหา เพาะปลูก/เลยี้ งสตั วL ใหไ, ด,ตามมาตรฐาน ผลผลติ พอกนิ ตลอดปP
ตลอดปP พชื /สัตวL วัตถดุ ิบให, (ปริมาณ/คณุ ภาพ)
ปรบั ปรุง เศรษฐกิจ เปนU ไป
ปรับปรงุ การผลิต เพ่ือสรา, งมูลค1าเพ่มิ แปรรปู ผลผลติ ผลผลิต มรี ายได,เพมิ่ /
คุณภาพดิน ทดี่ ี ตาม (เกษตรประณีต/เกษตรอินทรยี L) สว1 นเกินขาย คา1 ใชจ, า1 ยลด/
จดั การท่ดี นิ เหมาะสม มาตรฐาน
แปลงเลก็ เพอ่ื กบั พ้ืนที่ ของตลาด ได, หน้ลี ดลง
ประโยชนLสูงสุด ขายง1าย เปาV หมาย
บนั ทกึ และทำบัญชีต,นทนุ
และ
ราคาสงู

รปู ท่ี 3.3 การขบั เคลอ่ื นการพฒั นาพนื้ ที่ตามแนวพระราชดำริ : ขน้ั ท่ี 1 ครัวเรือนพ่ึงตนเอง

โครงการพฒั นาระบบการตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผลการพฒั นาพืน้ ทตี่ ามแนวทางความคมุ้ ค่าของการจัดการงบประมาณ 29
มูลนธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

ข้นั ที่ 2: ชุมชนรวมกล$มุ พึง่ ตนเองได3 ปลายน้ำ

ต3นนำ้ กลางนำ้

กิจกรรม น้ำ/ดนิ พเชื ลศค/ือกดัสก.ตั วR วจัตัดถหุดาบิ กจิ กรรมการผลิต ผลผลิตการเกษตร จชำลอ$ แหูกงลนทคะา3$าายง ผรลแาสยลำไะเดรจ็3
การผลิตของ โครงทสรรพั 3ายงาพกนื้ รฐาน สนิ ค3าแปรรูป

ประชาชน

กล$มุ น้ำ กลุ$มวัตถุดิบ กลม$ุ การผลิต กลม$ุ
กลม$ุ การผลิต+จำหน$าย ดแู ลชมุ ชน

กล$ุมการจดั หาวัตถุดิบ+การผลิต+จำหนา$ ย

กล$มุ สินคา3 แปรรูป

กลุม$ สนิ ค3าแปรรูป+จำหน$าย

รปู ท่ี 3.4 การขบั เคลอื่ นการพฒั นาพนื้ ทต่ี ามแนวพระราชดำริ : ขนั้ ที่ 2 ชุมชนรวมกลมุ่ พึ่งตนเองได้

ข้นั ท่ี 3: ออกสภู@ ายนอก กลางน้ำ ปลายน้ำ

ต'นนำ้

กิจกรรม นำ้ /ดนิ พเชื ลศค/อืกดัสก.ตั วV วจัตัดถหดุ าบิ กิจกรรมการผลติ ผลผลติ การเกษตร จชำลอ@ แหูกงลนทคะา'า@ายง ผรลแาสยลำไะเดร็จ'
การผลิตของ โครงทสรรัพา' ยงาพกื้นรฐาน สนิ คา' แปรรปู

ประชาชน

กลมุ@ การผลติ กลม@ุ ผลผลติ

ความรู'และเทคโนโลยี มตี ลาด ชมุ ชน
ในการเพม่ิ คณุ ภาพการผลติ /ผลผลิตที่เป>นเลิศ ทีม่ น่ั คง ย่งั ยนื
และย่ังยืน
(เศรษฐกิจ/
สังคม/

สิง่ แวดล'อม)

เช่อื มโยงแหลง@ เงินทนุ ท่มี มี าตรฐาน เพื่อขยายการดำเนนิ ธุรกิจใหย' ่งั ยนื

รปู ที่ 3.5 การขบั เคลอ่ื นการพฒั นาพนื้ ท่ีตามแนวพระราชดำริ : ขนั้ ท่ี 3 ออกสูภ่ ายนอก

30 โครงการพฒั นาระบบการตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพน้ื ทต่ี ามแนวทางความคุม้ คา่ ของการจัดการงบประมาณ
มลู นิธปิ ดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

3.3 รปู แบบกิจกรรมการดำเนนิ งานของสถาบนั ปดิ ทองฯ ในพนื้ ท่ีต้นแบบ (Business Model)

จากการศึกษาพบว่ากิจกรรมหลักที่นักพัฒนาของสถาบันปิดทองฯ ดำเนินการในพื้นที่ต้นแบบมี
ท้ังหมด 5 กจิ กรรม ได้แก่

1) การพัฒนาแหลง่ น้ำและระบบบรหิ ารจดั การนำ้ ซง่ึ เปน็ การขบั เคลอ่ื นการพัฒนาและบริหาร
จดั การแหลง่ น้ำเพือ่ ใหม้ ีพ้นื ทีร่ บั ประโยชนจ์ ากแหลง่ น้ำมากขนึ้ ทำใหเ้ กิดการใชท้ รัพยากรที่ดนิ ได้
ประโยชนส์ ูงสุด และเกิดการบรหิ ารจดั การนำ้ อยา่ งเหมาะสม

2) การสง่ เสรมิ และพัฒนาอาชพี ซึ่งเป็นการส่งเสริมประชาชนใหม้ คี วามรู้และทกั ษะในการทำ
การเกษตร (พืช ปศสุ ัตว์ ประมง) และการผลิต ตลอดจนการประกอบอาชีพเสรมิ นอกการเกษตร

3) การรวมกลมุ่ /จดั ตง้ั กองทนุ /วสิ าหกิจชุมชน/สหกรณ์ เปน็ การรวมกลุ่ม จดั ตงั้ กองทนุ วสิ าหกจิ
ชุมชน หรอื สหกรณ์ เพื่อสง่ เสรมิ ให้ภาคประชาชนสามารถเขา้ ถงึ แหลง่ เงินทนุ เพ่มิ โอกาสในการ
ดำเนินกจิ กรรมการเกษตรและกจิ กรรมเก่ียวเนื่อง รวมทงั้ สรา้ งทักษะในการบรหิ ารจัดการด้วย
ตนเอง

4) การพัฒนาการตลาดและการขาย เป็นการดำเนนิ กจิ กรรมทางการตลาดและการขาย เช่น การ
ประสานรา้ นคา้ ปลีกสง่ สมัยใหม่ (Modern Trade) เพอ่ื ใหร้ บั ซ้ือผลผลติ การเกษตรและการผลิต
จากพ้ืนท่โี ดยตรง เพื่อใหเ้ กิดประโยชนร์ ว่ มกัน

5) การสง่ เสรมิ การสรา้ งเครอื ข่าย เปน็ การส่งเสรมิ การสรา้ งความเช่ือมโยงกับหน่วยงานภายนอกท่ี
จะร่วมดำเนินงานใหเ้ กดิ ประโยชนร์ ว่ มกัน

นกั พัฒนาของสถาบันมีภารกจิ ในการดำเนนิ งานตามกจิ กรรมหลักทง้ั 5 กจิ กรรมดงั กล่าวอยา่ งเข้มข้น
เพอ่ื ให้เกดิ การพฒั นาพ้ืนทีต่ ้นแบบอย่างถกู ตอ้ ง เหมาะสมและย่ังยนื

(1) เปน# การพัฒนาแหลง, นำ้ เพอื่ ใหม@ พี ้ืนที่รบั
พฒั นา ประโยชน<จากแหล,งนำ้ มากขึ้น ทำใหเ@ กิดการ
แหล8งน้ำและ
ระบบบรหิ ารนำ้ ใช@ทรพั ยากรทด่ี นิ ไดป@ ระโยชน<สงู สดุ

พนื้ ท/่ี ชุมชน

เปน# การสง, เสริมการสรา@ ง (5) (2) เปน# การส,งเสรมิ ประชาชนให@มีความรแ@ู ละ
ความเชอ่ื มโยงกบั หน,วยงาน ส8งเสริมการ ส8งเสรมิ ทกั ษะในการทำการเกษตร (พชื ปศสุ ตั ว<
ภายนอกท่จี ะรว, มดำเนินงาน สราN งเครอื ขา8 ย ครวั เรอื น ประมง) และการผลิต ตลอดจนการ
ใหเ@ กดิ ประโยชนร< ,วมกัน และพฒั นาอาชพี ประกอบอาชพี เสรมิ นอกการเกษตร

เปน# การดำเนนิ กจิ กรรมทางการตลาดและการขาย เช,น (4) (3) เป#นการรวมกล,ุม จัดตั้งกองทุน วสิ าหกจิ ชุมชน หรือ
การประสานร@านคา@ ปลกี ส,งสมยั ใหม, (Modern Trade) พฒั นาตลาด รวมกล8มุ / สหกรณ< เพอ่ื ส,งเสรมิ ใหภ@ าคประชาชนสามารถเข@าถึง
เพ่อื ให@รบั ซ้ือผลผลิตการเกษตรและการผลิตจากพนื้ ท่ี และการขาย จัดตง้ั กองทนุ / แหล,งเงนิ ทุน เพมิ่ โอกาสในการดำเนนิ กจิ กรรม
วสิ าหกจิ ชมุ ชน/ การเกษตรและกิจกรรมเก่ยี วเนอื่ ง รวมทง้ั สร@างทักษะ
โดยตรง เพอ่ื ใหเ@ กดิ ประโยชน<รว, มกัน สหกรณB ในการบรหิ ารจดั การด@วยตนเอง

รปู ท่ี 3.6 รปู แบบกิจกรรมการดำเนนิ งานของสถาบนั ปดิ ทองฯ ในพ้นื ทตี่ น้ แบบ (Business Model)

โครงการพัฒนาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพฒั นาพื้นทต่ี ามแนวทางความค้มุ คา่ ของการจดั การงบประมาณ 31
มลู นธิ ิปดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

เมื่อนำกจิ กรรมของนักพัฒนาของสถาบันฯ มาวิเคราะห์เทยี บกับกิจกรรมการผลติ ของประชาชนใน

พืน้ ทต่ี น้ แบบ พบว่า กิจกรรมการผลติ ของประชาชนนน้ั มักจะประกอบไปด้วย
- กิจกรรมตน้ น้ำ ได้แก่ การจัดหาวตั ถุดบิ การรวมกลุ่ม/การจดั ต้ังกองทนุ
- กิจกรรมกลางนำ้ ไดแ้ ก่ กจิ กรรมการผลิต ผลแปรรปู ผลิตผลการเกษตร สนิ คา้ แปรรปู การจดั หา

ทรพั ยากรและโครงสรา้ งพื้นฐาน การรวมกลุ่ม/จดั ต้งั กองทนุ (ด้านการเงิน) และการรวมกลมุ่ จดั ต้งั

วิสาหกจิ ชมุ ชนและสหกรณ์ (ดา้ นกจิ กรรมการเกษตร)
- กิจกรรมปลายนำ้ ได้แก่ การแสวงหาผูร้ บั บริการ (ลกู ค้า) ชอ่ งทางจำหน่าย การหารายไดแ้ ละ

เกิดผลสำเรจ็ ตามวตั ถปุ ระสงค์ของการจัดตงั้

ต,นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ

กจิ กรรมการผลติ กจาัดรตรง้ัวกมอกงลทุม1 ุน/ การรวมกลุม1 /จัดตัง้ กองทุน กาวรสิ ราวหมกกิจลชม1ุ ุม/จชัดนต/ส้ังกหอกงรทณนุ O / จชำล1อแหูกงลนทคะ,า1าายง ผรลแาสยลำไะเดร็จ,
ของประชาชน ผลผลิตการเกษตร
จดั หาวตั ถดุ บิ กิจกรรมการผลติ
โครทงสรัพรา, ยงาพกื้นร/ฐาน สนิ คา, แปรรูป

กิจกรรมของ (1) (2) (3) (4) (5)
นกั พฒั นา/ พัฒนา ส1งเสรมิ วจสิ ดั ารตสหวั้งหมกกกิจกอรชลงณุมมุ1ทช/ุนO น// พัฒนาตลาด ส1งเสรมิ การ
สถาบันปWดทองฯ แหล1งน้ำและ และพัฒนาอาชีพ และการขาย สร,างเครือข1าย
ระบบบรหิ ารนำ้

ให,ความรพู, ืน้ ฐาน

รูปที่ 3.7 กิจกรรมทเี่ กดิ ขน้ึ ในพน้ื ที่ต้นแบบ

กจิ กรรมที่ 1: พฒั นาแหล่งน้ำและระบบบรหิ ารน้ำ

การพัฒนาแหลง่ น้ำและระบบบริหารน้ำเป็นหนึ่งในกิจกรรมหลักของนักพัฒนา/สถาบันปิดทองฯท่ี
เกิดขึ้นในพื้นที่ต้นแบบ เมื่อพิจารณาห่วงโซ่คุณค่าของกิจกรรมการผลิตของประชาชนกิจกรรมหลัก
(Primary Activities) ในการพฒั นาแหลง่ นำ้ และระบบบรหิ ารน้ำนัน้ จะดำเนนิ การด้านทรพั ยากร/โครงสรา้ ง
พน้ื ฐาน ซึง่ ประกอบไปดว้ ยกิจกรรมหลกั ท่ีนักพัฒนา/สถาบนั ปิดทองฯได้ดำเนนิ การ 4 กจิ กรรมดังนี้

1. เพม่ิ น้ำต้นทนุ /เพ่ิมประสทิ ธภิ าพแหล่งนำ้ ตวั อยา่ งเช่น
- การขดุ สระ
- ระบบสบู นำ้
- ซอ่ มแซม เสริมฝาย
- ลดการพลงั ทลายของฝาย
- การขดุ ลอกคลอง

32 โครงการพฒั นาระบบการตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพน้ื ที่ตามแนวทางความคุ้มค่าของการจดั การงบประมาณ
มลู นธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

- จดั ทำแก้มลิงเกบ็ น้ำ
- การทำบอ่ พวง

2. พฒั นาระบบกระจายนำ้ ตัวอยา่ งเช่น
- สร้างทอ่ สง่ น้ำไปสู่แปลงเกษตร

- ซอ่ มแซมบำรงุ รกั ษาระบบทอ่ สง่ นำ้

3. พฒั นาระบบจดั การน้ำภายในแปลง ตัวอยา่ งเชน่
- การติดตั้งระบบกระจายนำ้ ในแปลงของแตล่ ะครวั เรอื น

4. การบรหิ ารจดั การน้ำ
- กำหนดตารางเวลาการปล่อยนำ้ ไปในแตล่ ะพื้นที่
- กำหนดความรบั ผิดชอบดำเนนิ การแก่สมาชิก

ตวั ชี้วดั ความสำเร็จของการพฒั นาแหล่งนำ้ และระบบบริหารนำ้ มีดงั นี้
1) ปริมาณน้ำทเี่ พ่ิมขึน้
2) การมนี ำ้ ใช้เพยี งพอตลอดหน้าแล้ง
3) การเกบ็ กกั นำ้ /ปรมิ าณนำ้ ใช้สอยภายในครัวเรอื น
4) จำนวนครัวเรอื นสมาชิกกล่มุ ผรู้ บั ประโยชนจ์ ากน้ำ
5) พ้ืนท่ีรบั ประโยชนเ์ มอ่ื เทยี บกบั พนื้ ทร่ี ับประโยชนต์ ามแผน

กิจกรรมการผลิต กจาัดรตรัง้วกมอกงลท1มุ ุน/ การรวมกลม1ุ /จดั ต้ังกองทนุ กาวรสิรวาหมกกจิลชุม1 ุม/จชดั นต/ั้งสกหอกงรทณุนL / จชำล1อแหูกงลนทคะา,า1ายง ผรลแาสยลำไะเดรจ็,
ของประชาชน จัดหาวัตถุดบิ ผลผลิตการเกษตร
กจิ กรรมการผลติ สินคา, แปรรูป
ทรัพยากร/โครงสร,างพนื้ ฐาน

กจิ กรรมของ เพิม่ นำ้ ต,นทนุ /เพ่ิม พฒั นาระบบ พัฒนาระบบจัดการ การบรหิ ารจดั การน้ำ
นกั พฒั นา/ ประสิทธภิ าพแหล1งนำ้ กระจายน้ำ นำ้ ภายในแปลง
สถาบนั ปTดทองฯ ตัวอย1าง
ตัวอยา1 ง • การขุดลอกคลอง ตวั อย1าง ตัวอยา1 ง • กำหนดตารางเวลาการปลIอย
• การขดุ สระ • จัดทำแกม7 ลิงเกบ็ น้ำ • สร7างทIอสIงน้ำไปสIแู ปลง • การติดตง้ั ระบบ
• ระบบสบู น้ำ • การทำบอI พวง นำ้ ไปในแตIละพืน้ ท่ี
• ซIอมแซม เสริมฝาย เกษตร กระจายน้ำในแปลง • กำหนดความรบั ผดิ ชอบ
• ลดการพลังทลายของฝาย • ซอI มแซมบำรุงรกั ษาระบบ ของแตIละครวั เรือน
ดำเนินการแกIสมาชกิ
ทอI สงI นำ้ หน1วย ค1าเปNาหมาย หมายเหตุ
ลบ.ม.
(1) ตวั ชวี้ ดั ความสำเร็จ -
แหพลง1ฒั นนำ้ าและ ปริมาณนำ้ ที่เพ่ิมขน้ึ ลบ.ม. 100 **
ระบบบริหารนำ้ การมีนำ้ ใช7เพยี งพอตลอดหน7าแลง7 ครวั เรือน
การเก็บกกั นำ้ /ปริมาณนำ้ ใชส7 อยภายในครัวเรอื น
จำนวนครวั เรอื นสมาชกิ กลมIุ ผ7ูรับประโยชนจN ากนำ้ ไรI
พ้ืนท่ีรบั ประโยชนNเมือ่ เทยี บกับพน้ื ท่ีรับประโยชนตN ามแผน

รปู ที่ 3.8 กิจกรรมท่ี 1 พัฒนาแหลง่ นำ้ และระบบรหิ ารนำ้

โครงการพฒั นาระบบการตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพืน้ ทตี่ ามแนวทางความคุม้ ค่าของการจัดการงบประมาณ 33
มลู นิธปิ ดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

กิจกรรมท่ี 2: การส่งเสรมิ และพัฒนาอาชพี

จากห่วงโซ่คุณค่ากิจกรรมการผลิตของประชาชนเรือ่ งการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพมกี ิจกรรมหลัก
(Primary Activities) ในการดำเนินการในพืน้ ท่ีต้นแบบ 5 กิจกรรม คือ 1) การจัดหาวัตถุดิบ 2) กิจกรรม
การผลิต 3) ทรัพยากร/โครงสร้างพ้ืนฐาน 4) ผลผลิตการเกษตร และ 5) สินค้าแปรรูป ซึ่งกิจกรรมเหลา่ น้ี
ประกอบไปด้วยกิจกรรมหลกั ทีน่ ักพัฒนา/สถาบนั ปดิ ทองฯไดด้ ำเนินการอยู่ 4 กจิ กรรมดังนี้

1. เสรมิ การปลกู พชื ตวั อยา่ งเช่น
- การปลูกพชื เศรษฐกจิ
- การบำรงุ ดนิ
- เกษตรอินทรีย์
- เกษตรประณตี

2. สง่ เสริมปศสุ ัตว์/ประมง ตวั อย่างเช่น
- การเลีย้ งสตั ว์
- อาหารสัตว์ ยาสัตว์
- การประมงนำ้ จืด
- การเลี้ยงสัตวใ์ นกระชงั

3. ส่งเสริมการผลติ /แปรรปู ตัวอย่างเชน่
- เกษตรประณีต (Precision Farming)
- เกษตรอินทรีย์ (Organic Farming)

4. ส่งเสริมการพฒั นาคุณภาพสินค้าเกษตร
- มาตรฐานการปฏิบัตทิ างการเกษตรทด่ี ี (Good Agriculture Practice - GAP)
- มาตรฐานการกระบวนการผลิตทด่ี ี (Good Manufacturing Practice – GMP)
- มาตรฐานผลิตภณั ฑ์ (อย.)

ตัวชว้ี ดั ความสำเร็จของการส่งเสริมพัฒนาอาชพี มีดงั น้ี
1) ผลผลิตต่อไร่ของผลผลติ การเกษตร (สำหรับผลผลิตทส่ี ่งเสรมิ )
2) อัตราการเพม่ิ ขน้ึ ของผลผลติ การเกษตรต่อปี (สำหรับผลผลติ ท่ีส่งเสริม)
3) ผลผลติ การเกษตร/ผลิตภัณฑ์แปรรปู ใหม่ที่เกดิ ขึน้
4) สัดสว่ นของผลผลิตการเกษตร/ผลติ ภณั ฑ์แปรรูปใหมต่ ่อจำนวนผลผลติ การเกษตร/
ผลิตภัณฑ์แปรรปู ทง้ั หมดของพ้นื ที่
5) จำนวนผลผลติ การเกษตร/ผลิตภัณฑแ์ ปรรปู ได้รบั มาตรฐาน GAP/GMP
6) สัดส่วนของผลผลติ การเกษตร/ผลิตภัณฑ์แปรรูปของพนื้ ทไ่ี ดร้ ับมาตรฐาน GAP/GMP ต่อ
จำนวนผลผลติ การเกษตร/ผลติ ภณั ฑ์แปรรูปทงั้ หมดของพืน้ ที่

34 โครงการพฒั นาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพ้นื ที่ตามแนวทางความคมุ้ คา่ ของการจดั การงบประมาณ
มูลนิธิปิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

กจิ กรรมการผลติ กจาัดรตรั้งวกมอกงลทุม% นุ / การรวมกล%ุม/จัดตง้ั กองทนุ กาวริสรวาหมกกิจลชุม% ุม/จชดั นต/ั้งสกหอกงรทณุนI / จชำล%อแหกูงลนทคะMาา%ายง ผรลแาสยลำไะเดร็จM
ของประชาชน จัดหาวตั ถดุ ิบ กิจกรรมการผลติ ผลผลติ การเกษตร

ทรัพยากร/โครงสราM งพน้ื ฐาน สินคาM แปรรปู

กิจกรรมของ สง% เสรมิ การปลกู พืช สง% เสรมิ ปศุสัตวI/ประมง สง% เสริมการผลิต/แปรรปู สง% เสรมิ การพัฒนา
นักพัฒนา/ คุณภาพสนิ คMาเกษตร
สถาบนั ปด@ ทองฯ
•ตัวอยา% ง ตวั อยา% ง• ตวั อยา% ง •ต•• วั Mมม(มอGาาายaoตตตn%าoรรรuงdฐฐฐfาาาaAนนนcgผกกtruลาาicrรรติ iuกปnภlรgฏtัณะuิบPบฑrัตreวa. ิท(นcPอาtกrยงiacาก.c)eราtผรi–cลเeกติGษท-Mตดี่GPรี A)(ทGPด่ี o)ี od
• การปลูกพชื เศรษฐกิจ • การเลี้ยงสัตว. • เกษตรประณีต คา% เปRาหมาย หมายเหตุ
การบำรงุ ดิน อาหารสัตว. ยาสตั ว. (Precision Farming)
• เกษตรอินทรยี . • การประมงนำ้ จดื • เกษตรอนิ ทรยี .
• เกษตรประณตี • การเลี้ยงสตั ว.ในกระชัง (Organic Farming)

ตัวชี้วัด หนว% ย

ผลผลิตตอe ไรขe องผลผลิตการเกษตร (สำหรบั ผลผลติ ท่สี eงเสรมิ ) กิโลกรมั ตอe ไรe -

(2) อัตราการเพมิ่ ขึ้นของผลผลติ การเกษตรตeอปj (สำหรบั ผลผลติ ท่ีสeงเสรมิ ) รkอยละตeอปj ตkองกำหนด
ผลผลติ การเกษตร/ผลติ ภัณฑ.แปรรปู ใหมeทีเ่ กดิ ข้ึน ชนิด - **
สดั สวe นของผลผลิตการเกษตร/ผลติ ภณั ฑ.แปรรปู ใหมeตeอจำนวนผลผลติ การเกษตร/ผลติ ภัณฑแ. ปร รอk ยละ

ส%งเสรมิ รูปทั้งหมดของพนื้ ท่ี ผลผลติ /ครวั เรอื น
และพัฒนาอาชีพ จำนวนผลผลิตการเกษตร/ผลติ ภัณฑ.แปรรูปไดรk บั มาตรฐาน GAP/GMP
สดั สeวนของผลผลิตการเกษตร/ผลิตภัณฑ.แปรรปู ของพืน้ ท่ไี ดkรบั มาตรฐาน GAP/GMP ตeอจำนวน รkอยละ 70 **
ผลผลิตการเกษตร/ผลิตภณั ฑแ. ปรรูปทงั้ หมดของพ้นื ท่ี

รูปที่ 3.9 กิจกรรมท่ี 2 ส่งเสรมิ และพฒั นาอาชีพ

กจิ กรรมท่ี 3: การรวมกลมุ่ /จัดตั้งกองทุน/วิสาหกิจชมุ ชน/สหกรณ์

จากห่วงโซ่คุณค่ากิจกรรมการผลิตของประชาชนเรื่องการรวมกลุ่ม/จัดตั้งกองทุน/วิสาหกิจชมุ ชน/
สหกรณ์ กิจกรรมหลัก (Primary Activities) ในการดำเนินการในพื้นที่ต้นแบบมี 3 กิจกรรม คือ 1) การ
รวมกลุม่ /จัดต้ังกองทนุ 2) การรวมกล่มุ /จัดต้ังกองทุน และ 3) การรวมกลุ่ม/จดั ตั้งกองทนุ /วิสาหกิจชมุ ชน/
สหกรณ์ ซึ่งกิจกรรมเหล่านี้ประกอบไปด้วยกจิ กรรมหลักทีน่ ักพัฒนา/สถาบนั ปิดทองฯได้ดำเนินการอยู่ 4
กิจกรรมดงั น้ี

1. กลุ่มจดั หาวัตถดุ บิ รองรบั การผลติ ตวั อย่างเชน่
- กองทุนเมล็ดพันธุ์

- กองทุนปยุ๋ อนิ ทรยี ์

- กลุม่ ปุ๋ยพอเพยี ง

2. กลุ่มการเกษตร (ปลกู พืช/ปศสุ ตั ว/์ ประมง) ตวั อยา่ งเชน่
- กองทุนปศสุ ัตว์
- กองทนุ ประมง
- กองทนุ ผู้ใช้น้ำ
- กองทุนเป็ดไข่
- กองทุนข้าวปลอดภยั
- กองทุนผักปลดภยั
- กลมุ่ พชื หลงั นา

โครงการพัฒนาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพฒั นาพื้นทต่ี ามแนวทางความคุ้มค่าของการจัดการงบประมาณ 35
มูลนิธปิ ิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

3. กลุ่มการผลติ /แปรรปู ตัวอยา่ งเช่น

- กองทนุ ตลาด

- วิสาหกจิ ชมุ ชนโรงสชี มุ ชน
- กลมุ่ วิสาหกจิ ชุมชนผลิตมะนาวบา้ นยอด

4. กลุ่มอน่ื ๆ

- กองทนุ อนรุ กั ษป์ ่า

- กองทุนยาและเวชภัณฑ์
- กองทุนศึกษาดงู าน

ตัวช้ีวัดความสำเร็จของการรวมกลุม่ /จดั ตงั้ กองทนุ /วิสาหกจิ ชุมชน/สหกรณ์ มดี งั น้ี
1) จำนวนครวั เรือนที่เขา้ ร่วมกองทนุ
2) ร้อยละของครวั เรือนท่เี ขา้ ร่วมกองทุนเมอ่ื เทียบกบั จำนวนครวั เรอื นทั้งหมด
3) จำนวนกองทนุ ทยี่ กระดับเปน็ วิสาหกจิ ชุมชนหรอื สหกรณ์
4) มูลค่าเงินทุนหมุนเวียน
5) การเตบิ โตของเงินทนุ หมนุ เวียนเมอื่ เทยี บกบั ปีทีแ่ ล้ว

กิจกรรมการผลติ กจาดั รตรง้ัวกมอกงลทมุ* นุ / การรวมกลุม* /จัดต้ังกองทนุ กาวริสรวาหมกกจิลชมุ* ุม/จชัดนต/งั้สกหอกงรทณนุ < / จชำลอ* แหูกงลนทคะาRา*ายง ผรลแาสยลำไะเดร็จR
ของประชาชน จดั หาวตั ถุดบิ ผลผลติ การเกษตร
กิจกรรมการผลิต สนิ คาR แปรรปู
ทรพั ยากร/โครงสรRางพืน้ ฐาน

กิจกรรมของ กลม*ุ จดั หาวัตถดุ บิ รองรับ กลุม* การเกษตร กลุม* การผลติ /แปรรูป กลม*ุ อื่นๆ
นกั พฒั นา/ การผลิต
สถาบันปEดทองฯ (ปลกู พืช/ปศุสตั ว0/ประมง)

(3) •ตัวอย*าง ••••ตวั กกกกอออออยงงงงททททา* ุุนุนุนนงปปผเป;ใูศรช@ดะุสน;ไมตัขำ้ งวD 0 • กองทุนขา; ว ตวั อย*าง• ตวั อย*าง•
รวมกลุม* / • กองทนุ เมลด็ พันธ0ุ • กองทนุ ตลาด • กองทุนอนุรกั ษป0 าQ
จดั ต้งั กองทุน/ • กองทนุ ปยุG อินทรยี 0 • ปลอดภยั • วิสาหกจิ ชมุ ชนโรงสีชมุ ชน • กองทนุ ยาและเวชภณั ฑ0
วสิ าหกิจชมุ ชน/ กลมDุ ปุยG พอเพยี ง • กองทนุ ผกั ปลดภัย กลุมD วิสาหกจิ ชุมชนผลิต กองทนุ ศกึ ษาดงู าน
สหกรณ< กลDุมพืชหลงั นา มะนาวบา; นยอด

ตัวช้วี ดั หนว* ย ค*าเปาQ หมาย หมายเหตุ
จำนวนครัวเรือนทีเ่ ขา; รวD มกองทุน ครวั เรอื น จำนวนครวั เรือนในพ้ืนที่ **
รอ; ยละของครัวเรอื นทเี่ ข;ารวD มกองทนุ เม่อื เทียบกบั จำนวนครัวเรือนท้งั หมด รอ; ยละ **
จำนวนกองทนุ ท่ียกระดบั เปน@ วสิ าหกิจชมุ ชนหรอื สหกรณ0 วิสาหกจิ / 100
มลู คาD เงนิ ทนุ หมุนเวยี น สหกรณ0 -
การเตบิ โตของเงนิ ทนุ หมนุ เวยี นเมอ่ื เทยี บกับป]ทแ่ี ลว;
บาท - **
ร;อยละ ตDอป] ต;องมกี ารกำหนด

รปู ที่ 3.10 กิจกรรมท่ี 3 รวมกลุม่ /จดั ตั้งกองทนุ /วิสาหกจิ ชมุ ชน/สหกรณ์

กจิ กรรมที่ 4: การพฒั นาการตลาดและการขาย

จากห่วงโซ่คุณค่ากจิ กรรมการผลิตของประชาชนเร่อื งการพัฒนาการตลาดและการขาย กิจกรรมหลกั
(Primary Activities) ในการดำเนินการในพื้นที่ต้นแบบมี 5 กิจกรรม คือ 1) การรวมกลุ่ม/จัดตั้งกองทุน/
วิสาหกิจชุมชน/สหกรณ์ 2) ผลผลิตการเกษตร 3) สินค้าแปรรูป 4) ลูกค้าและช่องทางจำหน่าย และ 5)

36 โครงการพัฒนาระบบการตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพ้ืนที่ตามแนวทางความคมุ้ คา่ ของการจัดการงบประมาณ
มูลนิธปิ ดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ


Click to View FlipBook Version