The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการพัฒนาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพื้นที่

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by prpidthong1, 2022-01-23 21:39:41

โครงการพัฒนาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพื้นที่

โครงการพัฒนาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพื้นที่

Keywords: โครงการพัฒนาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพื้นที่

รายได้และผลสำเร็จ ซึ่งกิจกรรมเหล่านี้ประกอบไปด้วยกิจกรรมหลักที่นักพัฒนา/สถาบันปิดทองฯได้

ดำเนนิ การอยู่ 4 กจิ กรรมดงั น้ี

1. การพฒั นา Brand ตวั อย่างเช่น
- พฒั นา Brand ผลติ ภณั ฑ์ของพ้ืนท่ี สำหรบั ผลิตภัณฑ์ทมี่ ีคุณภาพ

- พัฒนารปู แบบหบี ห่อบรรจุภัณฑ์

2. การหาตลาด ตัวอยา่ งเช่น

- ตลาดค้าส่ง/ปลกี สำคญั ภายในจงั หวดั
- ออกร้านในเทศกาลขนาดใหญ่

- การพฒั นา Business Model ใหม่

3. การขายตรงกบั องค์กรภายนอก ตัวอยา่ งเช่น
- Modern Trade โรงเรยี น/สถานศึกษา (อาหารกลางวัน)

- สถานที่ราชการ

4. การสอ่ื สาร/ประชาสมั พนั ธ์

- การสอื่ สารในชอ่ งทางสอื่ มวลชน
- การสอ่ื สารโดยใชส้ ื่อสงั คมออนไลน์ (Online Social Media)

ตวั ชีว้ ดั ความสำเร็จของการรวมกลมุ่ /จดั ต้งั กองทุน/วิสาหกิจชุมชน/สหกรณ์ มดี งั น้ี

1) จำนวนช่องทางการขายที่เพ่ิมข้นึ

2) กำไร/ขาดทนุ จากช่องทางการขายทเ่ี พ่ิมขึ้น
3) จำนวนประเภทสนิ คา้ ท่ไี ดม้ าตรฐานตามความต้องการของตลาด

กจาดั รตร้ังวกมอกงลทุม3 ุน/ การรวมกล3ุม/จัดตัง้ กองทุน กาวริสรวาหมกกจิลชุ3มุม/จชัดนต/ัง้สกหอกงรทณนุ K / จชำล3อแหูกงลนทคะาXา3ายง ผรลแาสยลำไะเดรจ็X
กจิ กรรมการผลติ จดั หาวตั ถุดิบ ผลผลติ การเกษตร
ของประชาชน กิจกรรมการผลิต

ทรพั ยากร/โครงสราX งพ้ืนฐาน สินคXาแปรรปู

กิจกรรมของ การพัฒนา Brand การหาตลาด การขายตรงกับองคกK ร การสื่อสาร/
นกั พัฒนา/ ภายนอก ประชาสัมพันธK
สถาบันปTดทองฯ ตัวอยา3 ง
• พฒั นา Brand ผลติ ภณั ฑ\ของพ้นื ที่ ตวั อยา3 ง ตวั อย3าง ตัวอยา3 ง
• ตลาดคา8 สง& /ปลกี สำคัญภายใน • Modern Tradeโรงเรยี น/ • การสอ่ื สารในชอ& งทางสือ่ มวลชน
สำหรับผลิตภัณฑ\ทม่ี คี ณุ ภาพ จังหวดั สถานศกึ ษา (อาหารกลางวนั ) • การส่ือสารโดยใช8สอื่ สังคมออนไลน\
• พฒั นารปู แบบหีบห&อบรรจภุ ณั ฑ\ • ออกร8านในเทศกาลขนาดใหญ& • สถานที่ราชการ
• การพัฒนา Business Model ใหม& (Online Social Media)

(4) ตวั ช้วี ดั ความสำเร็จ หนว3 ย คา3 เปา6 หมาย หมายเหตุ
พัฒนาตลาด จำนวนชอ& งทางการขายท่เี พ่มิ ขึน้ ชอ& งทาง ตอ8 งกำหนด **
และการขาย กำไร/ขาดทุนจากชอ& งทางการขายทเี่ พ่ิมข้ึน บาท ตอ8 งกำหนด **
จำนวนประเภทสินคา8 ทไี่ ดม8 าตรฐานตามความตอ8 งการของตลาด ประเภทสนิ ค8า ตอ8 งกำหนด **

รูปที่ 3.11 กจิ กรรมท่ี 4 พฒั นาตลาดและการขาย

โครงการพฒั นาระบบการตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพ้ืนทต่ี ามแนวทางความคุ้มคา่ ของการจัดการงบประมาณ 37
มลู นิธปิ ิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

กิจกรรมที่ 5: การส่งเสรมิ การสรา้ งเครือข่าย

จากห่วงโซ่คุณค่ากิจกรรมการผลิตของประชาชนเรื่องการส่งเสรมิ การสร้างเครือข่าย กิจกรรมหลัก
(Primary Activities) ในการดำเนนิ การในพ้ืนที่ตน้ แบบมี 9 กิจกรรม คือ 1) การรวมกลุ่ม/จัดตัง้ กองทุน 2)
จดั หาวัตถุดบิ 3) การรวมกลุม่ /จัดตง้ั กองทนุ 4) กจิ กรรมการผลติ 5) ทรพั ยากร/โครงสรา้ งพ้ืนฐาน 6) การ
รวมกลุ่ม/จัดต้งั กองทุน/วสิ าหกจิ ชุมชน/สหกรณ์ 7) ผลผลิตการเกษตร 8) สนิ คา้ แปรรปู และ 9) ลูกค้าและ
ช่องทางจำหน่าย ซึ่งกิจกรรมเหล่าน้ีประกอบไปด้วยกิจกรรมหลักที่นักพัฒนา/สถาบันปิดทองฯได้
ดำเนินการอยู่ 3 กจิ กรรมดังนี้

1. หน่วยงานผเู้ ชยี่ วชาญ ตัวอยา่ งเชน่
- สถาบันการศกึ ษา
- หนว่ ยงานภาครฐั ที่กำกบั ดแู ลมาตรฐานท่ีเกี่ยวขอ้ ง

2. หน่วยงานทีม่ ศี ักยภาพซ้อื ตัวอยา่ งเช่น
- องคก์ รธรุ กิจค้าปลีก-สง่ เอกชน
- สถาบนั การศึกษา
- โรงพยาบาล
- ผู้ผลิต/แปรรปู สินค้าเกษตร

3. หนว่ ยงานพันธมิตรอื่นๆ ตัวอยา่ งเช่น
- มหาวิทยาลยั สถาบนั การศกึ ษา
- กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
- กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติ
- กรมชลประทาน
- องคก์ รบรหิ ารสว่ นท้องถ่นิ
- มลู นธิ ิชยั พัฒนา มลู นธิ ิแมฟ่ า้ หลวง
- ธนาคาร สถาบนั การเงิน
- หนว่ ยงานเอกชน

ตัวชวี้ ัดความสำเร็จของการรวมกลมุ่ /จดั ต้งั กองทุน/วสิ าหกจิ ชุมชน/สหกรณ์ มดี งั น้ี
1) จำนวนองคก์ รเครือข่าย
2) จำนวนองคก์ รเครอื ขา่ ยทไี่ ดท้ ำงานร่วมกัน (แบบ Project Base)
3) จำนวนองคก์ รเครอื ขา่ ยทไ่ี ด้ทำงานรว่ มกัน (แบบ Partnership)

38 โครงการพัฒนาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพน้ื ที่ตามแนวทางความคุ้มค่าของการจดั การงบประมาณ
มลู นิธิปดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

กจาดั รตร้ังวกมอกงลทุม& ุน/ การรวมกลุม& /จดั ตงั้ กองทุน กาวรสิรวาหมกกิจลช&ุมมุ/จชดั นต/งั้สกหอกงรทณนุ \ / จชำลอ& แหกูงลนทคะ.า&าายง ผรลแาสยลำไะเดร็จ.
จัดหาวตั ถุดิบ กจิ กรรมการผลิต ผลผลติ การเกษตร
กิจกรรมการผลิต
ของประชาชน ทรัพยากร/โครงสร.างพ้ืนฐาน สินคา. แปรรูป

กิจกรรมของ หนว& ยงานผูเ. ชีย่ วชาญ หน&วยงานทม่ี ีศกั ยภาพซ้ือ หนว& ยงานพนั ธมติ รอนื่ ๆ
นักพฒั นา/
สถาบนั ปBดทองฯ •ตวั อย&าง •ตวั อย&าง ตวั อย&าง
• สหถนา.วบยนังากนาภรศาคึกรษฐั าทก่ี ำกับดูแล • สอถงคาบก( รนั ธกรุ ากริจศคึกา2 ษปาลกี -สง. เอกชน • มหาวิทยาลยั สถาบันการศึกษา • องค(กรบรหิ ารสว. นทอ2 งถิ่น
(5) มาตรฐานทเี่ กีย่ วข2อง • โรงพยาบาล • กกรระะททรรววงงเทกรษพั ตยราแกลระธสรหรมกชราณต( ิ • มูลนธิ ิชัยพฒั นา มลู นิธิแม.ฟาf หลวง
สง& เสรมิ การ • ผผู2 ลติ /แปรรูปสนิ คา2 เกษตร • กรมชลประทาน • ธนาคาร สถาบันการเงนิ
สร.างเครอื ข&าย • • หน.วยงานเอกชน

ตัวชว้ี ัด หน&วย คา& เปJาหมาย หมายเหตุ
จำนวนองคก( รเครอื ข.าย
องคก( ร ต2องกำหนด **
จำนวนองคก( รเครือข.ายที่ได2ทำงานร.วมกัน (แบบ Project Base)
องค(กร ต2องกำหนด **
จำนวนองคก( รเครอื ขา. ยทีไ่ ดท2 ำงานร.วมกนั (แบบ Partnership)
องคก( ร ต2องกำหนด **

รปู ท่ี 3.12 กจิ กรรมสง่ เสรมิ การสร้างเครอื ข่าย

การวดั ความสำเรจ็ ของการพัฒนาพ้นื ทีต่ ้นแบบ

เม่ือพจิ ารณาการดำเนินงานในพ้นื ท่ีตน้ แบบในแต่ละพื้นที่ ซ่ึงนักพฒั นาของสถาบนั ฯเปน็ ผูด้ ำเนินการ
ส่งเสริมการพัฒนาในกิจกรรมหลกั ทัง้ 5 กิจกรรมดงั ที่กล่าวไปแล้วข้างต้นน้ัน การวัดความสำเร็จของการ
พัฒนาพื้นทตี่ ้นแบบน้ันอาจประกอบไปด้วยการวดั ผลตามตวั ช้ีวัด 5 ประการดังนี้

1) รายไดเ้ ฉล่ียต่อครัวเรือน
2) ครัวเรอื นมีรายไดผ้ า่ นเกณฑ์ข้นั ตำ่ (บาทตอ่ คนต่อป)ี
3) จำนวนครัวเรอื นปลอดหนเี้ พมิ่ ขน้ึ
4) จำนวนครวั เรอื นทร่ี ายไดผ้ า่ เกณฑข์ ั้นตำ่ ต่อครวั เรือนทง้ั หมด
5) จำนวนครัวเรอื นที่ปฏิบัตติ ามหลกั เศรษฐกิจพอเพียง

ต:นนำ้ กลางนำ้ ปลายน้ำ

การรวมกลุ*ม/จัดตัง้ กองทนุ การรวมกลม*ุ /จัดตงั้ กองทุน กาวริสรวาหมกกจิลช*ุมมุ/จชัดนต/้ังสกหอกงรทณนุ Q / จชำลอ* แหกูงลนทคะ:าา*ายง ผรลแาสยลำไะเดรจ็:
กิจกรรมการผลติ กิจกรรมการผลิต ผลผลิตการเกษตร
ของประชาชน สนิ ค:าแปรรปู
จดั หาวตั ถดุ ิบ ทรัพยากร/โครงสรา: งพืน้ ฐาน

กจิ กรรมของ (1) (2) (3) (4) (5)
นกั พัฒนา/สถาบัน พฒั นา สง* เสริม รวมกลุ*ม/ พัฒนาตลาด ส*งเสริมการ
แหลง* นำ้ และ และพัฒนาอาชพี จัดต้ังกองทุน/ และการขาย สร:างเครอื ข*าย
ปXดทองฯ ระบบบริหารนำ้ วิสาหกิจชุมชน/
สหกรณQ

ใหค: วามรูพ: ื้นฐาน

ตัวชี้วัด หนว* ย คา* เป0าหมาย หมายเหตุ

รายได(เฉลยี่ ตอ/ ครวั เรอื น บาทตอ/ ป9 ต(องกำหนด ** 24
ครวั เรือนที่มีรายได(ผ/านเกณฑขB น้ั ตอ/ 30,000 บาทตอ/ คนตอ/ ป9 ครวั เรือน ต(องกำหนด **
จำนวนครวั เรือนปลอดหน้ีเพิม่ ขึ้น ครัวเรอื น
จำนวนครวั เรือนทร่ี ายได(ผา/ นเกณฑBข้นั ต/อ ตอ/ ครวั เรอื นทง้ั หมด รอ( ยละ ตอ( งกำหนด
จำนวนครัวเรอื นทปี่ ฏบิ ัตติ ามหลกั เศรษฐกจิ พอเพยี ง ครวั เรือน ต(องกำหนด

รปู ท่ี 3.13 ตัวชวี้ ัดความสำเร็จของพ้นื ที่ต้นแบบ

โครงการพฒั นาระบบการตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพนื้ ทตี่ ามแนวทางความคมุ้ ค่าของการจดั การงบประมาณ 39
มูลนิธปิ ิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

3.4 การประเมินผลสัมฤทธิ์ของมลู นธิ ปิ ิดทองฯ เปรียบเทียบกบั ความคาดหวังของผู้มีสว่ นไดส้ ่วนเสีย

3.4.1 ผู้มีส่วนได้ส่วนเสยี ของมลู นธิ ิปิดทองฯ

มูลนิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริพัฒนาต่อเนื่องจากโครงการปิดทองหลังพระ
สืบสานแนวพระราชดำริ ซึ่งดำเนินการมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2551 ในเวลานั้นมีพันธกิจสำคัญ คือ เพื่อให้
ประชาชนสามารถเรยี นรูแ้ ละสรา้ งประสบการณ์ตรงจากแนวทางโครงการพระราชดำริและน้อมนำมาปรับ
ใช้ในชีวิตประจำวัน ส่งเสริมการเรยี นรู้ในโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริให้มีความเหมาะสมและมี
ประสิทธิภาพเพิม่ ขึ้นเพ่ือยกระดับฐานะความเป็นอยู่และสง่ เสริมอาชีพ ประชาชน รวมทั้งสง่ เสริมความรู้
ความเข้าใจ และกระตุ้นจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และศิลปวัฒนธรรมไทย
ต่อมาเมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ.2552 คณะรัฐมนตรีเห็นชอบให้สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
ดำเนินการจัดต้ัง "มูลนิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ" และ "สถาบันส่งเสริมและพัฒนา
กิจกรรมปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ" โดยมีพันธกิจในการจัดการความรู้และการส่งเสริม
การพฒั นาตามแนวพระราชดำริอย่างเปน็ ระบบกวา้ งขวางจนกระทงั่ เป็นแนวทางหลักในการพฒั นาประเทศ

การประเมนิ ผลสมั ฤทธิ์ของมูลนธิ ิปิดทองฯ จงึ ตอ้ งคำนงึ ถึงความสำเรจ็ ในการดำเนนิ งานตามพันธกิจ
ของมูลนิธิปิดทองฯ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อผู้มีส่วนได้เสียในการพัฒนาทุกระดับของประเทศ ซึ่งสามารถ
จำแนกผู้มีส่วนได้เสียที่สำคัญได้แก่ รัฐบาล สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี สำนักงบประมาณ
คณะกรรมการมลู นิธิ สว่ นราชการตา่ ง ๆ ภาคเอกชนหรือภาคธรุ กจิ และประชาชนในพนื้ ทป่ี ิดทอง ซึ่งแต่ละ
กลุ่มมคี วามคาดหวังที่แตกตา่ งกนั ไปดังภาพ

รฐั บาล/ การดำเนนิ งาน คณะกรรมการมูลนธิ ิฯ
ของ
สำนักงานปลดั สำนกั นายกรัฐมนตรี ประชาชนมีวิถชี ีวติ ตามปรัชญาของเศรษฐกจิ
นำปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปสู่ มลู นธิ ิปด= ทองฯ พอเพียง พง่ึ พาตนเองไดอ้ ยา่ งยัง่ ยนื
เอกชน
การปฏิบัตใิ หเ้ หน็ ผลเปน็ รูปธรรม ประชาชนในพน้ื ทป่ี ดิ ทอง

สำนกั งบประมาณ พ้ืนท/่ี ชมุ ชน เป็นพ่เี ลย้ี ง เป็นที่
ปรึกษาใหก้ ับชมุ ชน
ความคุ้มคา่ ในการจดั สรรงบประมาณ มีอาชีพ มีรายได้
ในการดำเนินกจิ กรรมตามเศรษฐกิจพอเพยี ง ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมดขี น้ึ
ส่วนราชการ

ผลักดนั ให้ชมุ ชนสามารถผลิตผลผลิตทม่ี ีคณุ ภาพ ครัวเรอื น
เพยี งพอ สมำ่ เสมอ และราคาที่สามารถรบั ซื้อได้
สนับสนุนการพัฒนาตามเศรษฐกจิ พอเพียง
ให้ชุมชนสามารถพึง่ ตนเองได้ จากชมุ ชน/พ้นื ที่

รปู ที่ 3.14 ผู้มสี ว่ นได้สว่ นเสียของมลู นิธปิ ิดทองฯ และความคาดหวัง

3.4.2 แผนงานของมูลนธิ ิปดิ ทองฯ และกรอบการประเมินผลสัมฤทธ์ิ

มูลนิธิปิดทองฯ กำหนดเป้าหมาย ตัวชี้วัด และแผนงานของมูลนิธิปิดทองฯ ตามแผนยุทธศาสตร์

การบรู ณาการการขบั เคลอ่ื นการพัฒนาตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ระยะที่ 2 พ.ศ.2559-2563
ของมูลนิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ และสถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทอง

40 โครงการพัฒนาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพฒั นาพืน้ ท่ตี ามแนวทางความค้มุ คา่ ของการจดั การงบประมาณ
มลู นิธปิ ดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

หลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ โดยแบ่งเป็น 5 แผนงานซึ่งสอดคล้องกับวัตถุประสงค์การจัดต้ัง
ประกอบด้วย (1) การพัฒนาพื้นทีต่ ้นแบบ (2) การจัดตั้งสถาบันอบรม (3) การส่งเสริมการรบั รู้และเข้าใจ
แนวพระราชดำริ (4) การส่อื สารสาธารณะและภาคีสมั พันธ์ และ (5) การบริหารจัดการดังภาพ ซ่ึงแผนงาน
ท้งั 5 ท่ีกำหนดขึ้นนำไปสู่การนำสง่ ผลผลิตของมลู นิธปิ ิดทองฯ ไดแ้ ก่

± เกิดแนวทางที่หลากหลายในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาประเทศตามภูมิสังคมอย่างยั่งยนื ตาม
แนวพระราชดำริ

± เกิดการมีส่วนร่วมจากภาคีทุกภาคนส่วนในการพัฒนายุทธศาสตร์ชาติ และยุทธศาสตร์สาขา

ตามแนวพระราชดำริ
± เกิดการรับรู้ เข้าใจ และ ความร่วมมือสนับสนุนจากภาครัฐ วิชาการ เอกชนท้องถิ่น ชุมชน

ประชาสังคม และ นานาชาติ ในการร่วมสรา้ งภูมคิ มุ้ กันและรว่ มแกไ้ ขปัญหาพื้นฐานที่สำคญั ของ
ประเทศตามแนวพระราชดำริ

รูปท่ี 3.15 เปา้ หมาย ตวั ช้ีวัด และแผนงานของมลู นิธิปดิ ทองฯ

การกำหนดกรอบแนวคิดในการประเมินผลสัมฤทธ์ิของมูลนิธิปิดทองฯ เป็นไปตามหลักการ
ประเมินผลตามแนวคิดเชิงระบบ (System Concept) โดยเป้าหมายสุดท้าย (Goal) และผลลัพธ์
(Outcome) ของมลู นธิ ปิ ดิ ทองฯ คอื ความสำเร็จของพนื้ ที่ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ในขณะที่
ผลผลิต (Output) กระบวนการ (Process/Activities) และปัจจัยนำเข้า (Input) ของมูลนิธิปิดทองฯ คือ
การจดั การความรู้ในการพัฒนาตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งดงั ภาพ

โครงการพัฒนาระบบการตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพนื้ ทต่ี ามแนวทางความคมุ้ คา่ ของการจัดการงบประมาณ 41
มลู นิธปิ ิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

เป#าหมาย (Goal)

ผลงาน ผลลพั ธ. (Outcome) ความสําเรจ็ ของพ้นื ที่
ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ผลผลิต (Output)

การปฏิบัติ กระบวนการ (Activities) การจัดการความร;ใู นการพฒั นา
ป7จจัยนาํ เข;า (Input) ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

รปู ที่ 3.16 กรอบการประเมนิ ผลสมั ฤทธ์ิ

การกำหนดกรอบแนวคิดในการประเมินผลสัมฤทธิ์ของมูลนิธิปิดทองฯ เป็นการประเมินทั้งในมิติ
ผลผลิตและผลลัพธ์ ทั้งนี้ การประเมินผลลัพธ์ให้ครบถ้วนและเกิดผลสัมฤทธิ์อย่างเป็นรูปธรรมนั้น ต้อง
คำนงึ ถึงผมู้ สี ่วนไดส้ ว่ นเสียซ่งึ เปน็ ผ้นู ำผลผลติ ของมูลนธิ ปิ ิดทองฯ ไปประยุกต์ใชห้ รอื นำไปขยายผล หรอื เปน็
กลุ่มผู้ได้รับประโยชน์จากผลผลติ ดังกล่าว จึงจำเป็นอย่างยิ่งท่ีมูลนิธิปดิ ทองฯ ต้องทบทวนและวิเคราะห์
ความคาดหวงั ของผ้มู สี ่วนได้ส่วนเสีย เพือ่ ใหก้ ารประเมินผลสมั ฤทธเ์ิ กดิ ประโยชนส์ งู สุด

3.4.3 ความคาดหวังของผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสยี

การทบทวนและวิเคราะห์ความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียแต่ละกลุ่มเป็นการวิเคราะห์
เปรยี บเทยี บกับแผนงานและตัวช้วี ัดตามแผนยุทธศาสตรก์ ารบรู ณาการฯ ทัง้ 5 แผนงาน ซ่งึ ผู้มีส่วนได้ส่วน
เสียแต่ละกลุ่มจะมีความคาดหวังต่อผลการดำเนินงานตามแผนงานแต่ละแผนงานแตกต่างกันไป เช่น
รฐั บาลมีความคาดหวงั ตอ่ แผนงานการพฒั นาพนื้ ทตี่ น้ แบบ โดยตอ้ งการได้ตน้ แบบการพัฒนาที่สอดคล้องกบั
สภาพความเป็นจริงซึ่งสามารถขยายผลไปสู่หมู่บ้านอื่น ๆ ได้อย่างเป็นรูปธรรม เป็นตน้ รายละเอียดของ
ความคาดหวงั ของผู้มสี ว่ นไดส้ ว่ นเสียแตล่ ะกลุม่ แสดงดังภาพ

เปา# หมาย ตัวชว้ี ัด ผลสมั ฤทธิ์ และการประเมนิ (แผนยุทธศาสตรก4 ารบรู ณาการฯ)

การปฏิ ับติ ผลงาน เปา# หมาย (Goal) ± ครัวเรือนอยร+ู อด (30,000 บ/คน/ป)5 ± มชี ุดความรAู หลักสูตร และวิทยากร (7 ± มีกิจกรรมพฒั นาตามแนวพระราชดำริ ± จำนวนการเผยแพรข+ า+ วสารสรAางการ ± มรี ะบบบริหารความเสี่ยง
(Oผuลtcลoัพmธ4 e) เพิ่มขน้ึ 10% ชดุ ความรAู/17 หลกั สูตร/20 วิทยากร เฉลิมพระเกยี รตทิ กุ วันสำคัญ รบั รAูสป+ู ระชาชนท่ัวไป ± มรี ะบบตวั ช้ีวดั ผลการปฏบิ ตั ิงานของ
ตนA แบบ)
± หมบ+ู าA นระดับพอเพยี งมีการบรหิ าร ± เกษตรกร นร. นศ.เรียนรAูโดยปฏิบัติใน ± จำนวนการเผยแพร+ข+าวสารสป+ู ระชาชน สถาบนั ฯ
จดั การทด่ี ี (มี คกก.ระเบยี บและ ± คนทีไ่ ปอบรมสามารถนำความรูAไป พืน้ ทโ่ี ครงการฯ ในพน้ื ทตี่ นA แบบและพน้ื ที่โดยรอบ ± กล+ุมเปาh หมายมคี วามพึงพอใจต+อการ
ดำเนนิ การตอ+ เนื่อง) ประยุกตQใชA และสราA งเครือข+ายการ
เรยี นรขAู องเกษตรกรในพื้นที่ต+าง ๆ ไดAป5 ± วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยในพื้นท่ตี Aนแบบฯ ± จำนวนการเผยแพร+ข+าวสารสเ+ู ยาวชนใน ดำเนินงาน
± หม+บู าA นพึ่งพาตนเองไดA (มีความรว+ มมอื ละ 20 คน ไดAเรียนรกูA ารประยกุ ตใQ ชแA นวทาง พื้นท่ตี Aนแบบและพนื้ ทีโ่ ดยรอบ ± มีระบบการบริหารและพัฒนาบุคลากร
มากกวา+ 1 มบ. สหกรณQ วิสาหกจิ ฯ) พระราชดำริ ± กระบวนการของสถาบันไดAรับการ

± ระดบั ความสำเร็จของหมบ+ู าA น “หม+บู าA น ± ผูรA ว+ มงานมหกรรมแลกเปลี่ยนความรูAปดg ปรับปรงุ ใหAมีประสทิ ธภิ าพและนำไปส+ู
ตAนแบบ ทองหลงั พระฯ นำความรไูA ปประยุกตQใชA ผลลัพธQทมี่ คี ุณภาพ
81 มบ./ยทุ ธศาสตรQ 1,770 มบ.”

ผลผลิต (Output) 1. การพฒั นา 2. การจัดต้ัง 3. การส`งเสริมการ 4. การสื่อสาร 5. การบริหารจัดการ
ก(Aรcะบtivวiนtiกeาsร) พื้นที่ตนL แบบ สถาบนั อบรม รับรูLและเขLาใจแนว สาธารณะ

พระราชดำริ และภาคสี ัมพนั ธ4

ปHจ(Iจnัยpนuำtเ)ขLา

5 แผนงาน

รูปที่ 3.17 กรอบการประเมนิ ผลสมั ฤทธติ์ ามแผนยทุ ธศาสตร์การบูรณาการการขบั เคลอ่ื นการพัฒนาตาม
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ระยะท่ี 2 พ.ศ.2559-2563

42 โครงการพฒั นาระบบการตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผลการพัฒนาพนื้ ทตี่ ามแนวทางความคุ้มค่าของการจดั การงบประมาณ
มลู นิธปิ ิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

มูลนิธปิ ด( ทองฯ ความ

แผนงาน ผลลัพธ1 (Outcome) เป4าหมาย (Goal) รฐั บาล สาํ นัก
1. การพฒั นา นายกรัฐมน
พื้นที่ตนM แบบ ± ครวั เรือนอยร+ู อด (30,000 บ/คน/ป)0 เพมิ่ ขนึ้ 10%
± หมบ+ู 9านระดบั พอเพียงมีการบริหารจัดการท่ดี ี (มี คกก. O ต9นแบบการพัฒนา
2. การจัดตงั้ (สอดคลอ9 งกบั สภาพ
สถาบันอบรม ระเบียบและดําเนนิ การต+อเนื่อง) ความเปSนจริง) ซง่ึ
3. การส9งเสริม ± หมู+บา9 นพึง่ พาตนเองได9 (มคี วามร+วมมอื มากกวา+ 1 มบ. สามารถขยายผลไปส+ู
การรับรMูและ หมบ+ู 9านอน่ื ๆ ได9อยา+ ง
เขMาใจแนว สหกรณH วิสาหกิจฯ) เปSนรปู ธรรม
พระราชดําริ ± ระดบั ความสาํ เรจ็ ของหม+ูบา9 น “หม+บู า9 นต9นแบบ
4. การสอื่ สาร O ทกุ ภาคสว+ นท่ี
สาธารณะและ 81 มบ./ยุทธศาสตรH 1,770 มบ.” เกย่ี วขอ9 งมคี วามเข9าใจ
ภาคสี ัมพันธ1 ± มชี ุดความร9ู หลกั สตู ร และวิทยากร (7 ชดุ ความรู9/17 และสามารถขยายผล
ต9นแบบถกู นาํ ไปขยาย O มูลนธิ ิปดZ ท
หลักสูตร/20 วิทยากรต9นแบบ) ผลและเกดิ ประโยชนH มผี ลงานตา
± คนที่ไปอบรมสามารถนาํ ความรไู9 ปประยกุ ตHใช9 และ อย+างเปนS รปู ธรรม เปา\ หมาย
O ประชาชนทว่ั ไปมี
สร9างเครือขา+ ยการเรยี นร9ขู องเกษตรกรในพืน้ ทีต่ า+ ง ๆ ความเข9าใจ และ สามารถขย
ไดป9 ล0 ะ 20 คน ประยกุ ตHใช/9 ขยายผล ผลไดอ9 ยา+ ง
ไปส+ชู ุมชน รูปธรรม
± มกี ิจกรรมพัฒนาตามแนวพระราชดาํ รเิ ฉลมิ พระเกียรติ
ทุกวนั สาํ คญั

± เกษตรกร นร. นศ.เรยี นรโู9 ดยปฏิบตั ใิ นพ้นื ที่โครงการฯ
± วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยในพ้ืนท่ีตน9 แบบฯ ได9เรยี นรกู9 าร

ประยุกตHใช9แนวทางพระราชดาํ ริ
± ผู9ร+วมงานมหกรรมแลกเปล่ยี นความรปู9 Zดทองหลงั พระฯ

นาํ ความร9ไู ปประยกุ ตใH ช9
± จาํ นวนการเผยแพรข+ +าวสารสร9างการรับรูส9 ปู+ ระชาชน

ทัว่ ไป
± จํานวนการเผยแพรข+ า+ วสารสูป+ ระชาชนในพ้ืนที่ตน9 แบบ

และพืน้ ที่โดยรอบ
± จาํ นวนการเผยแพร+ขา+ วสารสู+เยาวชนในพื้นทตี่ 9นแบบ

และพ้ืนทโี่ ดยรอบ

± มีระบบบรหิ ารความเสย่ี ง O มูลนธิ ปิ Zดท
± มีระบบตัวชี้วัดผลการปฏิบตั ิงานของสถาบนั ฯ บรหิ ารจัดก
5. การบรหิ าร ± กลุม+ เปา\ หมายมีความพงึ พอใจต+อการดาํ เนนิ งาน ภายในอยา+
จัดการ ± มรี ะบบการบริหารและพฒั นาบคุ ลากร ประสิทธภิ
± กระบวนการของสถาบนั ไดร9 ับการปรับปรุงให9มี และย่ังยืน
ประสทิ ธภิ าพและนาํ ไปสผู+ ลลัพธHที่มีคณุ ภาพ

รูปท่ี 3.18 กรอบ

โครงการพัฒนาระบบการตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการพฒั นาพืน้ ทตี่ ามแนวทางความค้มุ คา่ ของการจัดการงบประมาณ
มูลนธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

มคาดหวังท่มี กี ับมูลนิธปิ ด( ทองฯ ในการพัฒนาตามเศรษฐกจิ พอเพยี ง

นตรี สาํ นกั งบประมาณ คณะกรรมการ สว9 นราชการ เอกชน ประชาชนในพ้ืนท่ี
มลู นธิ ฯิ ปด( ทอง

O มลู นธิ ิปดZ ทองฯ O มีแนวทางการพัฒนาหม+ูบ9าน/ O ประชาชน/ครัวเรือนมีอาชีพ
บรหิ ารงานบรรลุ ชุมชนตามหลกั ปรชั ญาของ มรี ายได9 ทรพั ยากร
เศรษฐกจิ (แนวทาง/คมู+ อื / ธรรมชาติและส่งิ แวดลอ9 มดีข้นึ
เป\าหมายตาม ขัน้ ตอน/คาํ แนะนํา/ตัวอยา+ ง) O ประชาชน/ครวั เรือนมผี ลผลติ
วตั ถปุ ระสงคกH าร O มีชุมชนตน9 แบบท่เี ปนS ตวั อยา+ ง ที่มคี ุณภาพ เพียงพอ
จดั ตั้ง/ภารกจิ / สมํ่าเสมอ และราคาท่ีสามารถ
และสามารถประยุกตใH ชก9 ับชุมชน รบั ซอื้ ไดจ9 ากชมุ ชน/พืน้ ที่
พันธกจิ “การ ในพ้ืนที่ซึง่ ส+วนราชการรบั ผดิ ชอบ

O ประชาชน/
จดั การความร+แู ละ ครัวเรอื นผลิตผล
O การใช9จา+ ย การส0งเสริมการ ผลิตที่มคี ณุ ภาพ
ทองฯ งบประมาณใน พัฒนาตามแนว มาตรฐาน และ
การจัดการการ พระราชดาํ รอิ ยา0 ง ตามความต9องการ
าม พฒั นาพื้นที่ เป=นระบบกว+างขวาง O ข9าราชการที่ผ+านการ ของตลาด
และ ต9นแบบมคี วาม จนกระท่งั เป=น ฝYกอบรมกับมูลนธิ ิปZดทองฯ O ผลผลติ มี
ยาย คุม9 คา+ แนวทางหลักในการ มีความเข9าใจและสามารถ ศักยภาพ/
งเปนS O ผลทีไ่ ด9รบั เปSน พฒั นาประเทศ” ขยายผลการพัฒนาได9 สม่าํ เสมอ ดึงดูดให9 O ประชาชนในพ้ืนทีต่ 9นแบบและ
ไปตามตัวช้ีวดั
O มูลนธิ ปิ Zดทองฯ หน+วยงาน พนื้ ทโี่ ดยรอบมคี วามเขา9 ใจ
ภาคเอกชนเข9าไปมี และประยกุ ตใH ช9/ขยายผลไปส+ู
ดาํ เนนิ การ สว+ นรว+ มในการ ชุมชน
ครบถว9 นตาม
วตั ถุประสงคHการ พฒั นาธุรกจิ

จัดตง้ั

ทองฯ O มลู นิธิปZดทองฯ 43
การ บรหิ ารจดั การ
างมี ภายในอยา+ งมี
ภาพ ประสทิ ธิภาพ

และย่ังยืน

บการประเมินผลสมั ฤทธ์ิ



3.4.3.1 รฐั บาล

ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ.2561 - 2580) กำหนดวิสัยทัศน์ “ประเทศไทย ความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน
เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพฒั นาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง” ซี่งรัฐบาลมีหน้าทีใ่ น
การบริหารประเทศเพอ่ื ใหบ้ รรลุวิสยั ทศั นด์ ังกล่าว ทงั้ นี้ มูลนธิ ิปดิ ทองฯ เปน็ หนง่ึ ในหน่วยงานหลักภายใต้
กำกับของสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ซึ่งสนับสนุนการนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปสู่
การปฏิบัติให้เห็นผลเป็นรูปธรรม ดังนั้นรัฐบาลคาดหวังสิ่งที่จะได้รับจากมูลนิธิปิดทองฯ ได้แก่ (1) มี
ต้นแบบการพฒั นาตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงที่รองรับความหลากหลายในแต่ละพ้ืนท่ี (2) ทุกภาค
ส่วนที่เกี่ยวข้องมีความเข้าใจและสามารถขยายผลต้นแบบถูกนำไปขยายผลและเกิดประโยชน์อย่างเป็น
รูปธรรม และ (3) ประชาชนท่วั ไปมีความเข้าใจ และสามารถประยกุ ต์ใช/้ ขยายผลไปสู่ชมุ ชน ซ่ึงมูลนิธิปิด
ทองฯ ควรกำหนดตัวชวี้ ดั ความสำเรจ็ ทสี่ ะท้อนตอ่ ความคาดหวังดังกล่าว เช่น

± จำนวนหมู่บ้าน/ชุมชนที่นำต้นแบบการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจไปใช้ (Outcome
Indicator)

± จำนวนหมู่บ้าน/ชุมชนทีป่ ระสบผลสำเร็จตามตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (Outcome
Indicator)

± จำนวนการเผยแพรข่ ่าวสารสร้างการรบั รสู้ ปู่ ระชาชนทว่ั ไป (Output Indicator)

อนึง่ หากการดำเนนิ การของมลู นธิ ปิ ิดทองฯ เปน็ ไปตามความคาดหวงั ของรฐั บาล หรอื บรรลตุ วั ชี้วัด
ตามท่ีรัฐบาลกำหนด รัฐบาลสามารถสนบั สนนุ เชงิ นโยบายและทรัพยากรต่าง ๆ ใหแ้ กม่ ูลนิธปิ ิดทองฯ เช่น
(1) การสนบั สนนุ บูรณาการ และกำกับการใช้ทรัพยากรของสว่ นราชการ (2) การปรับกฎระเบียบใหเ้ ออ้ื ตอ่
การพัฒนา และ (3) การกำหนดพ้ืนทีใ่ นการขยายผลการพฒั นา เปน็ ตน้

3.4.3.2 สำนักงานปลัดสำนกั นายกรฐั มนตรี

คณะรัฐมนตรีมีมติในการประชุมเมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน 2552 เห็นชอบให้สำนักงานปลัด
สำนักนายกรัฐมนตรีดำเนินการจัดต้ัง "มูลนิธิปิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ" และ "สถาบัน
สง่ เสรมิ และพัฒนากจิ กรรมปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ" ซึ่งมพี นั ธกจิ ในการจัดการความรู้
และการส่งเสริมการพัฒนาตามแนวพระราชดำริอย่างเป็นระบบกว้างขวางจนกระท่ังเป็นแนวทางหลักใน
การ พัฒนาประเทศ ดังนั้น สำนักงานปลดั สำนักนายกรัฐมนตรคี าดหวังสิ่งทีจ่ ะได้รับจากมูลนิธิปิดทองฯ
ได้แก่ (1) มูลนิธิปดิ ทองฯ มผี ลงานตามเปา้ หมาย และสามารถขยายผลได้อยา่ งเปน็ รูปธรรม และ (2) มลู นธิ ิ
ปิดทองฯ บริหารจัดการภายในอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน ซึ่งมูลนิธิปิดทองฯ ควรกำหนดตัวชี้วัด
ความสำเร็จท่สี ะทอ้ นตอ่ ความคาดหวังดังกลา่ ว เช่น

± มูลนิธิปิดทองฯ บรรลุผลการดำเนินงานตามพันธกิจและวัตถุประสงค์การจัดตั้งหน่วย
(Organization Indicator)

44 โครงการพฒั นาระบบการตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพืน้ ทีต่ ามแนวทางความคุม้ คา่ ของการจัดการงบประมาณ
มลู นิธปิ ิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

± มูลนิธิปิดทองฯ บรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมายที่กำหนดในแผนปฏิบัติราชการ (Organization
Indicator)

อนึ่ง หากการดำเนินการของมูลนิธิปิดทองฯ เป็นไปตามความคาดหวังของสำนักงานปลัดสำนัก
นายกรัฐมนตรี หรือบรรลุตัวชี้วัดตามที่สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรกี ำหนด สำนักงานปลัดสำนกั
นายกรัฐมนตรีสามารถสนับสนุนเชิงนโยบายและทรัพยากรต่าง ๆ ให้แก่มูลนิธิปิดทองฯ เช่น (1) การ
สนับสนนุ แผนการดำเนินการของมลู นิธิปิดทองฯ และ (2) การส่งเสริมการรับรแู้ ละเขา้ ใจให้ส่วนราชการ/
เอกสาร/ภาคสว่ นทีเ่ ก่ียวข้อง เปน็ ต้น

3.4.3.3 สำนักงบประมาณ

สำนกั งบประมาณเป็นหน่วยงานหลกั ในการพจิ ารณาการจัดทำงบประมาณท่ีสนองตอ่ นโยบายและ
เป้าหมายเชิงยทุ ธศาสตร์ของรัฐบาล และการบริหารจัดการงบประมาณ ทั้งในส่วนของการวางแผน การ
จัดสรร การติดตามและการประเมินผลการใช้จ่ายงบประมาณของหน่วยงานต่าง ๆ ที่เป็นหน่วยรับ
งบประมาณแผ่นดิน ดังนั้น สำนักงบประมาณคาดหวังสิ่งท่ีจะได้รับจากมูลนิธปิ ดิ ทองฯ ได้แก่ (1) การใช้
จา่ ยงบประมาณของมลู นิธิปิดทองฯ มีความคมุ้ ค่าสามารถตรวจสอบและเปดิ เผยต่อสาธารณะได้ และ (2)
ผลการดำเนินงานของมูลนิธิปิดทองฯ เป็นไปตามตัวชี้วัดงบประมาณที่กำหนด ซึ่งมูลนิธิปิดทองฯ ควร
กำหนดตัวชวี้ ดั ความสำเรจ็ ทส่ี ะท้อนต่อความคาดหวงั ดังกล่าว เชน่

± มูลนิธปิ ิดทองฯ บรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมายที่กำหนดในเอกสารงบประมาณ (Organization
Indicator)

อนึ่ง หากการดำเนินการของมูลนิธิปิดทองฯ เป็นไปตามความคาดหวังของสำนักงบประมาณ หรือ
บรรลุตัวชี้วัดตามท่ีสำนักงบประมาณกำหนด สำนักงบประมาณสามารถสนับสนุนเชิงนโยบายและ

ทรพั ยากรตา่ ง ๆ ให้แก่มลู นธิ ปิ ิดทองฯ เช่น (1) การสนบั สนนุ งบประมาณตามแผนการดำเนนิ การของมลู นธิ ิ

ปิดทองฯ และ (2) การขยายพน้ื ท่ใี นการสร้างการรบั รู้และเข้าใจแนวพระราชดำริ เปน็ ต้น

3.4.3.4 คณะกรรมการมูลนธิ ิ

คณะกรรมการมลู นิธมิ ีหน้าท่ีในการกำหนดแนวทางการบริหารมลู นิธิปิดทองฯ ให้บรรลวุ ัตถปุ ระสงค์
เช่น จัดตั้งและสนับสนนุ การดำเนนิ งานของสถาบนั สง่ เสรมิ และพฒั นากจิ กรรมปดิ ทองหลงั พระสบื สานแนว
พระราชดำริ ซ่ึงเปน็ หนว่ ยปฏบิ ตั ขิ องมลู นธิ ิ ให้ดำเนินการไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิผล ประสิทธิภาพ สอดคลอ้ งกบั
เจตนารมณ์แห่งการจัดตั้ง ตลอดจนมูลนิธิสนับสนุนให้ทุนดำเนินงานต่าง ๆ เกี่ยวกับการนำแนว
พระราชดำริไปประยุกตใ์ ชแ้ ละขยายผลสู่ชมุ ชน ดังนน้ั คณะกรรมการมูลนิธคิ าดหวังสง่ิ ท่ีจะไดร้ ับจากมูลนิธิ
ปดิ ทองฯ ได้แก่ (1) มลู นิธปิ ดิ ทองฯ บริหารงานบรรลุเปา้ หมายตามวัตถปุ ระสงคก์ ารจดั ต้ัง/ภารกิจ/พนั ธกจิ
(2) มลู นธิ ิปิดทองฯ ดำเนินการครบถ้วนตามวตั ถุประสงคก์ ารจัดตั้งและ (3) มลู นธิ ิปิดทองฯ บริหารจัดการ
ภายในอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพและย่งั ยนื ซ่งึ มลู นธิ ปิ ดิ ทองฯ ควรกำหนดตวั ช้วี ดั ความสำเร็จท่สี ะท้อนต่อความ
คาดหวังของคณะกรรมการมูลนธิ ิ เชน่

โครงการพัฒนาระบบการตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพ้ืนทตี่ ามแนวทางความคมุ้ คา่ ของการจัดการงบประมาณ 45
มูลนธิ ปิ ิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

± มูลนิธิปิดทองฯ บรรลุผลการดำเนินงานตามพันธกิจและวัตถุประสงค์การจัดตั้งมูลนิธิ
(Organization Indicator)

± มูลนิธิปิดทองฯ มีผลการดำเนินงานครบถ้วนตามขอบเขตการจัดตั้งมูลนิธิ (Organization
Indicator)

อนึง่ หากการดำเนินการของมูลนิธปิ ิดทองฯ เปน็ ไปตามความคาดหวังของคณะกรรมการมลู นิธิ หรอื
บรรลุตัวชี้วัดตามท่ีคณะกรรมการมูลนิธิกำหนด คณะกรรมการมูลนิธิสามารถสนับสนุนเชิงนโยบายและ
ทรัพยากรตา่ ง ๆ ใหแ้ กม่ ูลนิธิปดิ ทองฯ เชน่ (1) การสนับสนุนให้ทุนดำเนินงานต่าง ๆ เพมิ่ เตมิ เพ่อื ขยายผล
(2) การส่งเสริมการจัดกิจกรรมขยายผลเพื่อให้การพัฒนาตามแนวพระราชดำริเป็นแนวทางหลักในการ
พฒั นาประเทศ เปน็ ตน้

3.4.3.5 สว่ นราชการ

สว่ นราชการตา่ ง ๆ เปน็ หนว่ ยงานขบั เคล่ือนการดำเนินงานของรัฐบาลใหเ้ ป็นไปตามยุทธศาสตรช์ าติ
(พ.ศ.2561 - 2580) นโยบายรัฐบาล และแผนการพัฒนาต่าง ๆ ซึ่งหลายรวมถึง การนำปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี งไปส่กู ารปฏิบตั ิให้เห็นผลเปน็ รูปธรรมเพ่อื ใหบ้ รรลุวิสยั ทัศน์ “ประเทศไทย ความม่ันคง
มงั่ คงั่ ยัง่ ยนื เป็นประเทศพัฒนาแลว้ ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง” โดยทุก
ส่วนราชการต้องดำเนินการและ/หรือบูรณาการการดำเนินงานกับทุกภาคส่วนตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจ เพื่อให้ประชาชนในแต่ละหมู่บ้าน/ชุมชนมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น รวมถึงการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมซ่งึ เป็นการพฒั นาอยา่ งยัง่ ยนื ดงั นั้น ส่วนราชการคาดหวังสิง่ ท่ีจะได้รับ
จากมูลนิธิปิดทองฯ ได้แก่ (1) มีแนวทางการพัฒนาหมู่บ้าน/ชุมชนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
(แนวทาง/คู่มอื /ขน้ั ตอน/คำแนะนำ/ตวั อย่าง (2) มีชุมชนตน้ แบบท่ีเป็นตวั อยา่ ง และสามารถประยกุ ตใ์ ช้กบั
ชมุ ชนในพืน้ ที่ซงึ่ ส่วนราชการรบั ผดิ ชอบ และ (3) ขา้ ราชการท่ีผ่านการฝึกอบรมกบั มลู นธิ ิปิดทองฯ มีความ
เข้าใจและสามารถขยายผลการพัฒนาได้ ซึ่งมูลนธิ ิปดิ ทองฯ ควรกำหนดตัวชี้วัดความสำเรจ็ ที่สะท้อนต่อ
ความคาดหวงั ดงั กลา่ ว เช่น

± จำนวนหมู่บา้ นต้นแบบท่ีเป็นตัวอยา่ งใหส้ ว่ นราชการ (หมู่บา้ นต้นแบบ 81 หม่บู า้ น/ยทุ ธศาสตร์
1,770 หมบู่ า้ น) (Output Indicator)

± แนวทางการพัฒนาหมบู่ ้าน/ชมุ ชนตามปรชั ญาของเศรษฐกจิ (Output Indicator)
± จำนวนชุดความรู้ หลักสูตร และวิทยากร (7 ชุดความรู้/17 หลักสูตร/20 วิทยากรต้นแบบ)

(Output Indicator)
± สถาบันการศึกษาได้เรยี นร้กู ารประยุกตใ์ ชแ้ นวทางพระราชดำริ (Output Indicator)
± ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ และสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ของ

เกษตรกรในพ้นื ทตี่ ่าง ๆ ได้ปีละ 20 คน (Outcome Indicator)

46 โครงการพัฒนาระบบการตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการพฒั นาพน้ื ที่ตามแนวทางความคุ้มค่าของการจดั การงบประมาณ
มูลนิธปิ ิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

อนึ่ง หากการดำเนินการของมูลนธิ ิปิดทองฯ เป็นไปตามความคาดหวังของส่วนราชการ หรือบรรลุ
ตัวชี้วัดตามทส่ี ่วนราชการกำหนด ส่วนราชการสามารถสนับสนนุ เชิงนโยบายและทรัพยากรต่าง ๆ ให้แก่
มูลนิธิปิดทองฯ เช่น (1) การส่งเสริมการจัดการความรู้และการส่งเสริมการพัฒนาตามแนวพระราชดำริ
และ (2) การสนับสนุนมูลนิธิปิดทองฯ ในการขยายผลเพื่อสร้างการรับรู้ ความเข้าใจ และความร่วมมือ
ดำเนินการตามแนวพระราชดำรอิ ยา่ งตอ่ เนือ่ ง เป็นตน้

3.4.3.6 ภาคเอกชน

ภาคเอกชนหรอื ภาคธุรกจิ เปน็ ภาคสว่ นท่สี นบั สนุนการขบั เคลอ่ื นและต่อยอดการพัฒนาธรุ กจิ อนั เกิด
จากความพร้อมของหมู่บ้าน/ชมุ ชน โดยเฉพาะผลิตภณั ฑ์หรือผลผลิตของของหมู่บ้าน/ชุมชนที่มีคุณภาพ
มาตรฐาน และตามความต้องการของตลาด มีส่วนสำคัญในการจูงใจให้เกิดความร่วมมือหรอื รว่ มลงทุนใน
รูปแบบตา่ ง ๆ ของภาคเอกชน ดังนั้น ภาคเอกชนหรือภาคธุรกิจคาดหวงั สิง่ ที่จะได้รับจากมลู นิธปิ ิดทองฯ
ได้แก่ (1) ประชาชน/ครัวเรือนผลิตผลผลิตที่มีคุณภาพ มาตรฐาน และตามความต้องการของตลาด (2)
ผลผลติ มศี ักยภาพ/สมำ่ เสมอดงึ ดูดใหห้ น่วยงานภาคเอกชนเข้าไปมสี ่วนร่วมในการพฒั นาธรุ กิจ ซึ่งมลู นิธิปิด
ทองฯ ควรกำหนดตัวชีว้ ดั ความสำเรจ็ ทสี่ ะท้อนต่อความคาดหวงั ดังกล่าว เช่น

± จำนวนหมบู่ ้าน/ชมุ ชนซง่ึ มภี าคเอกชนเข้ารว่ มกจิ กรรมการพฒั นาธรุ กิจ (Outcome Indicator)
± จำนวนหมู่บ้านพึ่งพาตนเองได้ (มีความร่วมมือมากกว่า 1 หมู่บ้าน สหกรณ์ วิสาหกิจฯ)

(Outcome Indicator)

อนึง่ หากการดำเนนิ การของมลู นิธปิ ดิ ทองฯ เป็นไปตามความคาดหวังของภาคเอกชนหรอื ภาคธรุ กิจ
ในแต่ละพืน้ ท่ี จะดึงดูดให้หน่วยงานภาคเอกชนเข้าไปมีสว่ นรว่ มในการพัฒนาธุรกจิ ของหมู่บา้ น/ชุมชนตาม
แนวพระราชดำริอยา่ งยง่ั ยนื

3.4.3.7 ประชาชนในพ้นื ทปี่ ิดทอง

มูลนิธปิ ิดทองฯ กำหนดแผนงานการพัฒนาพื้นท่ีต้นแบบ โดยคัดเลือกพื้นที่ที่เหมาะสมและมีความ
หลากหลาย เพอื่ การสง่ เสริมการพัฒนาควบคู่ไปกบั การจัดการความรู้และการสง่ เสรมิ การพัฒนาตามแนว
พระราชดำรอิ ยา่ งซ่งึ จะสง่ ผลโดยตรงตอ่ ประชาชนในพื้นที่ปดิ ทอง ซึง่ ประชาชนในพนื้ ทปี่ ิดทองคาดหวงั ส่ิง
ที่จะได้รับจากมูลนิธิปิดทองฯ ได้แก่ (1) ประชาชน/ครัวเรือนมีอาชีพ มีรายได้ ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอ้ มดีข้นึ (2) ประชาชน/ครัวเรอื นมีผลผลติ ท่ีมีคณุ ภาพ เพียงพอ สมำ่ เสมอ และราคาท่สี ามารถรับ
ซอ้ื ไดจ้ ากชมุ ชน/พ้ืนที่ และ (3) ประชาชนในพื้นที่ต้นแบบและพ้ืนท่ีโดยรอบมคี วามเข้าใจและประยุกต์ใช้/
ขยายผลไปสู่ชุมชน ซึ่งมูลนิธิปดิ ทองฯ ควรกำหนดตัวชี้วัดความสำเร็จทีส่ ะท้อนต่อความคาดหวังดงั กล่าว
เชน่

± ครัวเรือนในพื้นท่ปี ิดทองอย่รู อด (30,000 บาท/คน/ป)ี (Outcome Indicator)
± จำนวนการเผยแพร่ข่าวสารสู่ประชาชน/เยาวชนในพ้ืนที่ต้นแบบและพื้นที่โดยรอบ (Output

Indicator)

โครงการพัฒนาระบบการตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพืน้ ทต่ี ามแนวทางความคุม้ ค่าของการจัดการงบประมาณ 47
มูลนธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

อนึ่ง หากการดำเนินการของมูลนิธิปิดทองฯ เป็นไปตามความคาดหวังของประชาชนในพื้นที่
ปิดทองในแต่ละพน้ื ท่ี จะเปน็ สงิ่ ยืนยนั ได้ว่าต้นแบบทไ่ี ดร้ บั การพฒั นาขน้ึ ตามแนวพระราชดำริจากมูลนธิ ิปดิ
ทองฯ สามารถนำไปประยกุ ต์ใชแ้ ละขยายผลสูช่ มุ ชนได้อยา่ งเป็นรูปธรรม

3.5 การทบทวนเป้าหมายและตวั ช้ีวัดของสว่ นราชการท่ีเกยี่ วข้องกบั การพัฒนาพืน้ ที่

นอกเหนือจากการวางโครงสร้างมาตรฐานกิจกรรมและตัวชี้วัดการพัฒนาพื้นที่ให้สอดคล้องกับ
ภารกิจและเป้าหมายของมูลนิธิและสถาบันสถาบันส่งเสริมและพฒั นากิจกรรมปิดทองหลังพระ สืบสาน
แนวพระราชดำรแิ ลว้ คณะท่ีปรึกษาฯ ยังไดท้ บทวนเป้าหมายการให้บรกิ าร ตลอดจนกจิ กรรมและตัวชี้วัด
ของส่วนราชการที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาพื้นที่ เพื่อศึกษา เทียบเคียงและนำไปสู่การออกแบบการวัดผล
ความสำเรจ็ ของการพฒั นาพื้นทที่ ่มี ีประสิทธิภาพได้ ทั้งน้ี คณะที่ปรษึ าฯ ไดท้ บทวนส่วนราชการทั้งส้ิน 10
กรม ภายใต้ 4 กระทรวงประกอบด้วย

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
1. กรมส่งเสริมการเกษตร
2. กรมปศุสตั ว์
3. กรมพัฒนาท่ีดนิ
4. กรมวิชาการเกษตร
5. กรมชลประทาน
6. กรมสง่ เสริมสหกรณ์
7. กรมตรวจบัญชีสหกรณ์

กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม
8. กรมทรัพยากรนำ้

สำนักนายกรฐั มนตรี
9. กรมประชาสมั พนั ธ์

กระทรวงมหาดไทย
10. กรมการพัฒนาชุมชน

ผลการทบทวนเป้าหมาย กิจกรรมและตัวชี้วัดของส่วนราชการที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาพื้นท่ี
ภายใต้สังกดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ทั้ง 7 หน่วยงาน ประกอบด้วย กรมสง่ เสรมิ การเกษตร กรมปศุ
สัตว์ กรมพัฒนาที่ดิน กรมวิชาการเกษตร กรมชลประทาน กรมส่งเสริมสหกรณ์ และกรมตรวจบัญชี
สหกรณ์ มีรายละเอียดดงั ตอ่ ไปน6้ี

6 ข้อความในตารางที่เน้นเปน็ ตัวหนา คือ เปา้ หมาย กิจกรรมและตวั ชีว้ ดั ทีม่ คี วามเกี่ยวขอ้ งกับการพัฒนาพนื้ ที่

48 โครงการพัฒนาระบบการตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการพฒั นาพน้ื ทต่ี ามแนวทางความคุ้มค่าของการจัดการงบประมาณ
มลู นิธิปดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

ตารางที่ 3.1 เป้าหมายและตัวชว้ี ัดของกรมสง่ เสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562

เปา้ หมายการใหบ้ รกิ าร ตัวช้วี ดั เชิงปรมิ าณ ตวั ช้ีวัดเชงิ คณุ ภาพ

1. เสริมสรา้ งความ • จำนวนเกษตรกรได้รบั การถา่ ยทอดความรู้ และส่งเสรมิ • ร้อยละของเกษตรกรนำไปปฏบิ ตั ิและสามารถลดรายได/้
เขม้ แข็งของเกษตรกร
และองค์กรเกษตร มี อาชีพการเกษตรท่ีเหมาะสมกับพ้นื ท่ี นำความรู้ท่ีไดร้ บั ไป สรา้ งรายได้ (รอ้ ยละ)
ความมัน่ คงในอาชพี และ ปฏิบัติในการประกอบอาชีพของตนและมรี ายได้เพมิ่ ขึ้น • ร้อยละของเกษตรกรได้รบั การส่งเสรมิ และพัฒนาให้
สามารถพึ่งพาตนเองได้ (ราย)
ตามแนวทางเศรษฐกิจ สามารถเพม่ิ มลู ค่าผลผลติ ทางการเกษตร (รอ้ ยละ)
• จำนวนเกษตรกรได้รบั การบรกิ ารทางการเกษตรและพัฒนา
พอเพยี ง ใหม้ คี วามเขม้ แข็ง (ราย) • รอ้ ยละของเกษตรกรทไี่ ด้รับการพัฒนาอาชีพ สามารถนำ
ความรไู้ ปใช้ในการทำเกษตรของตนเอง (ร้อยละ)
2. ส่งเสริมการผลติ สนิ ค้า • จำนวนเกษตรกรทไ่ี ด้รบั การส่งเสรมิ และพัฒนาอาชีพให้มี
เกษตรใหม้ คี ณุ ภาพได้ • ร้อยละของเกษตรกรทเ่ี ขา้ รว่ มโครงการ สามารถนำความรู้ท่ี
ความเขม้ แข็ง (ราย) ไดร้ บั ไปพฒั นาการผลิตของตนเองได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ มี
มาตรฐาน • จำนวนเกษตรกรที่ได้รับการถา่ ยทอดความรู้ด้านการผลติ พืชใน
รายไดเ้ พม่ิ ขึ้น (ร้อยละ)
พ้นื ที่โครงการหลวงและเหมาะสมกบั ศักยภาพชมุ ชน (ราย) • รอ้ ยละของเกษตรกรไดร้ บั ความรไู้ ปใชใ้ นการประกอบ

• จำนวนเกษตรกรทีไ่ ดร้ ับการถ่ายทอดความรู้ด้านการผลิตพชื อาชพี เสรมิ เพอ่ื ความเหมาะสมกับศักยภาพพน้ื ที่ (ร้อย
ท่เี หมาะสมกับศกั ยภาพพืน้ ที่ (ราย)
ละ)
• จำนวนเกษตรกรท่ไี ด้รบั การถา่ ยทอดความรแู้ ละมีเครอื ข่ายที่ • ร้อยละของเกษตรกรมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจและสามารถนำ
ไดร้ บั การถา่ ยทอดความรแู้ ละมเี ครอื ขา่ ยเกษตรปลอดการเผา
ความรทู้ ่ีไดร้ ับไปปฏบิ ตั ิสง่ ผลใหเ้ กดิ พนื้ ทกี่ ารเกษตรปลอด
ในพน้ื ที่ (ราย)
การเผา (ร้อยละ)
• จำนวนเกษตรกรไดร้ บั การถา่ ยทอดความรู้ในการส่งเสรมิ และ
พัฒนาการบริหารจดั การมะพรา้ วตลอดหว่ งโซอ่ ุปทาน (ราย) • ร้อยละของเกษตรกรทไี่ ดร้ บั การถา่ ยทอดความรู้ สามารถ
นำความรไู้ ปปฏบิ ตั ิ (ร้อยละ)
• จำนวนเกษตรกรทไ่ี ดร้ บั การถ่ายทอดความรใู้ นการส่งเสรมิ การ
ปรบั เปล่ียนการผลติ สนิ ค้าเกษตรไปสสู่ นิ ค้าใหมต่ ามศักยภาพ • รอ้ ยละของเกษตรกรที่ได้รบั การถา่ ยทอดความรู้ในการ
ส่งเสริมการปรับเปลี่ยนการผลติ สนิ คา้ สามารถนำความรไู้ ป
พ้นื ท่ี (ไม้ดอกไม้ประดบั ) (ราย)
• จำนวนเกษตรกรทไี่ ด้รับการถา่ ยทอดความรใู้ นการสง่ เสริมการ ปฏบิ ัติ (ร้อยละ)
• ร้อยละของเกษตรกรที่ไดร้ บั การถ่ายทอดความรู้ สามารถนำ
ปรับเปล่ียนการผลิตพชื อนื่ เปน็ ผลไม้ท่มี ศี ักยภาพทางเศรษฐกจิ
ความรู้ไปปฏบิ ัติ (ร้อยละ)
(ราย)
• จำนวนเกษตรกรที่ไดร้ บั การถา่ ยทอดความร้ใู นการพฒั นา • ร้อยละของเกษตรกรทไี่ ด้รบั การถา่ ยทอดความรใู้ นการ
พัฒนา สามารถนำความรู้ไปปฏบิ ัตไิ ด้ (รอ้ ยละ)
คณุ ภาพการผลิตไมผ้ ลสมู่ าตรฐานการสง่ ออก (ราย)
• รอ้ ยละของเกษตรกรทไ่ี ดร้ ับการถา่ ยทอดความรใู้ นการ
• จำนวนเกษตรกรทีไ่ ดร้ บั การถา่ ยทอดความรใู้ นการแปรรปู แปรรูป ใหส้ ามารถนำความรู้ไปปฏบิ ัติได้ (รอ้ ยละ)
ผลไมเ้ พื่อเพมิ่ มลู คา่ (ราย)
• รอ้ ยละของเกษตรกรที่ได้รบั การถ่ายทอดความรใู้ นการ
• จำนวนเกษตรกรท่ีได้รับการถา่ ยทอดความรู้ในการพฒั นา พฒั นาคณุ ภาพ สามารถนำความรไู้ ปปฏบิ ัตไิ ด้ (รอ้ ยละ)
คุณภาพการผลิตไม้ผลสมู่ าตรฐานการสง่ ออก (ราย)
• ร้อยละของเกษตรกรทีไ่ ด้รับการถ่ายทอดความรใู้ นการแปร
• จำนวนเกษตรกรที่ได้รบั การถ่ายทอดความรู้ในการแปรรปู ผลไม้ รูป สามารถนำความร้ไู ปปฏิบัติ (ร้อยละ)
เพอื่ เพิ่มมลู ค่า (ราย)
• วิสาหกจิ ชมุ ชนสามารถตอ่ ยอดการสรา้ งมลู คา่ เพมิ่ จาก
• วสิ าหกจิ ชุมชนได้รบั การพฒั นาผลิตภัณฑ์ บรรจภุ ณั ฑแ์ ละ วตั ถุดิบทางการเกษตรใหเ้ ป็นสินคา้ เกษตรแปรรปู ทีม่ ี
คณุ ภาพมาตรฐานสินคา้ เกษตรแปรรปู (แห่ง) คณุ ภาพปลอดภัยตอ่ ผู้บรโิ ภคไมน่ อ้ ยกว่า (รอ้ ยละ)

• จำนวนครวั เรอื นเกษตรกรไดร้ บั การปรบั ปรุงฐานข้อมูลให้ • มีระบบฐานข้อมลู ทะเบียนเกษตรท่ีสามารถใช้เป็นระบบ
เปน็ ปจั จบุ นั (ครวั เรอื น) ตรวจสอบได้ (ระบบ)

• จำนวนแหลง่ ทอ่ งเทย่ี ววถิ เี กษตรไดร้ ับการพัฒนา (แหลง่ ) • แหลง่ ทอ่ งเทยี่ วเชิงเกษตรมศี กั ยภาพในการรองรบั
• จำนวนพนื้ ท่ีปลูกข้าวนาปรังลดลง (ไร่) นกั ทอ่ งเทย่ี วและสามารถสรา้ งรายไดเ้ พม่ิ เตมิ จากรายได้
• จำนวนเกษตรกรท่ไี ดร้ บั การถ่ายทอดความรสู้ ามารถผลติ ภาคเกษตรไม่น้อยกวา่ (รอ้ ยละ)

สินค้าไดม้ าตรฐานตรงตามความตอ้ งการของตลาด (ราย) • ร้อยละของเกษตรกรทเ่ี ข้ารว่ มโครงการมีรายได้เพมิ่ ข้ึน
• จำนวนเกษตรกรทีไ่ ดร้ บั การอบรมความรทู้ างเทคนคิ (ร้อยละ)

เครอื่ งจกั รกลเกษตรทรี่ องรับการบรกิ ารซ่อมดแู ล (ราย) • รอ้ ยละของเกษตรกรท่ไี ดร้ ับความรมู้ กี ารนำความร้ไู ปปฏบิ ัติ
(รอ้ ยละ)
• จำนวนเกษตรกรไดร้ บั การส่งเสรมิ และพฒั นาด้านการจัดการ
คณุ ภาพการผลติ สินคา้ เกษตรตามระบบมาตรฐาน GAP • ร้อยละของช่างเกษตรทอ้ งถน่ิ ทส่ี ามารถใหบ้ ริการซ่อมแซม
เครื่องจกั รกลการเกษตรในพน้ื ทแ่ี ละพนื้ ทใ่ี กลเ้ คียง (รอ้ ยละ)
(ราย)
• จำนวนเกษตรกรที่ได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยแี ละการใช้ • เกษตรกรเป้าหมายผา่ นการประเมินแปลงเบ้อื งต้นเพอ่ื ยื่น
ขอรบั รองตามระบบมาตรฐาน GAP (รอ้ ยละ)
สารเคมีอยา่ งถูกต้องและปลอดภยั (ราย)

• พื้นทเี่ กษตรแปลงใหญ่ไดร้ บั การพัฒนาส่รู ะบบส่งเสริม
การเกษตรแบบแปลงใหญไ่ ม่นอ้ ยกวา่ (แปลง)

โครงการพัฒนาระบบการติดตาม ประเมนิ และรายงานผลการพัฒนาพื้นทตี่ ามแนวทางความคุม้ ค่าของการจัดการงบประมาณ 49
มลู นธิ ิปิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

เป้าหมายการใหบ้ รกิ าร ตัวชว้ี ัดเชิงปรมิ าณ ตวั ช้ีวดั เชงิ คุณภาพ

• จำนวนตลาดเกษตรกรได้รบั การพัฒนาเป็นแหลง่ จำหน่าย • ร้อยละของเกษตรกรทย่ี อมรับเทคโนโลยแี ละนำความรไู้ ป
ผลผลิตทางการเกษตรของเกษตรกรได้ (จังหวดั ) ปฏบิ ัติ มีต้นทนุ การผลติ ด้านสารเคมีปอ้ งกนั และกำจัด
ศตั รพู ชื ลดลง (ร้อยละ)
• จำนวนเกษตรกรทเ่ี ข้ารว่ มโครงการไดร้ บั การยกระดบั เปน็
Smart Farmer (ราย) • เกษตรกรสมาชิกแปลงใหญม่ ีตน้ ทนุ ลดลง และผลผลิต
เพิม่ ข้ึนไมน่ อ้ ยกว่า (ร้อยละ)
• จำนวน ศพก. ทีไ่ ดร้ ับการพัฒนาและเครือขา่ ยทีม่ คี วามพร้อม
ให้บรกิ ารแก่เกษตรกร (ศนู ย์) • รอ้ ยละของตลาดเกษตรกรไดร้ ับการพฒั นาจนเป็นแหล่ง
จำหน่ายผลผลติ ทางการเกษตร (ร้อยละ)
• จำนวนพืน้ ที่ปรบั เปล่ยี นจากการผลติ พืชในพน้ื ท่ไี มเ่ หมาะสม
เปน็ การผลติ พชื อ่นื (ไร่) • ร้อยละของ Smart Farmer ทมี่ ที ักษะทางวิชาการ เปน็ ผนู้ ำ
ดา้ นการเกษตรและเปน็ ตน้ แบบได้ (รอ้ ยละ)
• จำนวนครัวเรอื นเกษตรกรที่ไดร้ บั การถ่ายทอดความรู้และ
สนบั สนนุ ปจั จัยการผลติ (ครวั เรอื น) • จำนวนเกษตรกรทีไ่ ด้รับการถ่ายทอดความรู้จาก ศพก. และ
ศูนย์เครือข่ายสามารถนำความรู้ไปปฏิบัตไิ ด้ (รอ้ ยละ)
• จำนวนพน้ื ทข่ี องเกษตรกรท่เี ข้ารว่ มโครงการมกี ารปรับเปลยี่ น
ไปทำเกษตรกรรมทางเลอื ก (ไร)่ • รอ้ ยละของพ้นื ท่กี ารเกษตรได้รับการปรบั เปลยี่ นเพือ่ การ
ผลติ ท่เี หมาะสมกบั ศักยภาพ (รอ้ ยละ)
• จำนวนเกษตรกรทีไ่ ด้รบั การถ่ายทอดความรดู้ ้านการผลิต
สินค้าเกษตรอนิ ทรยี ์ เพอื่ เข้าสู่การรบั รองมาตรฐานเกษตร • ร้อยละของเกษตรกรที่เข้ารว่ มโครงการนำแนวทางเกษตร
อนิ ทรยี ์ (ราย) ทฤษฎใี หมไ่ ปปฏบิ ัติ (รอ้ ยละ)

• รอ้ ยละของเกษตรกรทเี่ ขา้ รว่ มโครงการมีการปรบั เปลยี่ นไป
ทำเกษตรกรรมทางเลือก (รอ้ ยละ)

• รอ้ ยละของเกษตรกรทไ่ี ดร้ บั การถ่ายทอดความรู้นำไป
ปฏิบตั ิ (รอ้ ยละ)

ตารางท่ี 3.2 กิจกรรมและตัวชีว้ ัดของกรมส่งเสรมิ การเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562

ผลผลิต/โครงการ กจิ กรรม ตัวช้วี ดั เชิงปรมิ าณ ตัวชว้ี ดั เชิงคณุ ภาพ

ผลผลิตที่ 1 : เกษตรกร 1. การพฒั นาเกษตรกร • จำนวนเกษตรกรไดร้ บั การบริการทาง • ร้อยละของเกษตรกรได้รบั การส่งเสริม
ไดร้ บั การส่งเสริมและ 2. การพัฒนาการผลิตสนิ คา้ เกษตร การเกษตรและพัฒนาให้มีความ และพฒั นาใหส้ ามารถเพ่ิมมูลคา่
3. เพมิ่ ประสิทธภิ าพการบริหาร เข้มแข็ง (ราย) ผลผลติ ทางการเกษตร (รอ้ ยละ)
พฒั นาศกั ยภาพ
จดั การดา้ นการเกษตรและสหกรณ์ • จำนวนเกษตรกรทีไ่ ด้รบั การถ่ายทอด • ร้อยละของเกษตรกรทเ่ี ขา้ ร่วมโครงการ
โครงการท่ี 1 : โครงการ ความรดู้ ้านการผลิตพชื ในพน้ื ทีโ่ ครงการ สามารถนำความรทู้ ่ไี ดร้ ับไปพฒั นาการ
พฒั นาพนื้ ทโี่ ครงการหลวง 1. พฒั นาพื้นท่โี ครงการหลวง หลวงและเหมาะสมกบั ศกั ยภาพชมุ ชน ผลติ ของตนเองไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ
(ราย) มรี ายได้เพมิ่ ขนึ้ (รอ้ ยละ)
โครงการที่ 2 : โครงการ 1. สง่ เสรมิ และพฒั นาอาชพี เพือ่ แกไ้ ข
สง่ เสรมิ และพัฒนาอาชีพเพ่ือ ปญั หาทีด่ ินทำกนิ ของเกษตรกร • จำนวนเกษตรกรที่ได้รบั การถ่ายทอด • ร้อยละของเกษตรกรไดร้ บั ความรูไ้ ปใช้
แก้ไขปญั หาทดี่ ินทำกนิ ของ ความรดู้ า้ นการผลติ พชื ทเี่ หมาะสมกบั ในการประกอบอาชีพเสริม เพ่อื ความ
1. สนบั สนุนโครงการอันเนื่องมาจาก ศักยภาพพ้นื ท่ี (ราย) เหมาะสมกับศักยภาพพน้ื ท่ี (รอ้ ยละ)
เกษตรกร พระราชดำริ
• จำนวนเกษตรกรท่ไี ดร้ ับการส่งเสรมิ • รอ้ ยละของเกษตรกรทไ่ี ด้รับการ
โครงการที่ 3 : โครงการ 1. สง่ เสรมิ และพัฒนาแหลง่ ท่องเท่ยี ว และพัฒนาอาชพี ให้มคี วามเขม้ แขง็ พฒั นาอาชพี สามารถนำความรไู้ ปใช้
ส่งเสรมิ การดำเนินงานอนั วถิ ีเกษตร (ราย) ในการทำเกษตรของตนเอง (ร้อยละ)
เนื่องมาจากพระราชดำริ
• จำนวนแหล่งทอ่ งเทย่ี ววถิ เี กษตรไดร้ บั • แหลง่ ท่องเที่ยวเชงิ เกษตรมศี กั ยภาพ
โครงการที่ 1 : โครงการ การพฒั นา (แหล่ง) ในการรองรบั นักทอ่ งเทย่ี วและ
ส่งเสรมิ และพฒั นาการ สามารถสรา้ งรายไดเ้ พมิ่ เติมจาก
ท่องเทยี่ ววิถีเกษตร • จำนวนพ้นื ที่ปรบั เปลยี่ นจากการผลิต รายไดภ้ าคเกษตรไม่นอ้ ยกวา่ (รอ้ ย
พชื ในพนื้ ทีไ่ มเ่ หมาะสมเปน็ การผลิตพชื ละ)
โครงการท่ี 1 : โครงการ 1. บรหิ ารจดั การเขตเกษตรเศรษฐกิจ อืน่ (ไร่)
บริหารจัดการการผลติ สินคา้ สำหรบั สนิ คา้ เกษตรทสี่ ำคญั • รอ้ ยละของพนื้ ทีก่ ารเกษตรได้รบั การ
เกษตรตามแผนทเ่ี กษตรเพือ่ (zoning) • จำนวนเกษตรกรท่ีได้รบั การถา่ ยทอด ปรบั เปล่ยี นเพือ่ การผลติ ทเ่ี หมาะสมกับ
เทคโนโลยีและการใช้สารเคมอี ย่าง ศกั ยภาพ (ร้อยละ)
การบริหารจดั การเชงิ รุก 1. สง่ เสรมิ การอารกั ขาพชื เพื่อเพ่มิ ถูกต้องและปลอดภัย (ราย)
(Agri-Map) ประสิทธิภาพการผลิตสนิ ค้าเกษตร • รอ้ ยละของเกษตรกรทีย่ อมรับ
เทคโนโลยแี ละนำความร้ไู ปปฏบิ ัติ มี
โครงการท่ี 2 : โครงการ
ยกระดบั คณุ ภาพมาตรฐาน

สินค้าเกษตร

50 โครงการพฒั นาระบบการตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการพฒั นาพ้ืนที่ตามแนวทางความคมุ้ คา่ ของการจัดการงบประมาณ
มูลนิธปิ ิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

ผลผลติ /โครงการ กิจกรรม ตวั ชี้วัดเชิงปรมิ าณ ตัวช้ีวัดเชงิ คุณภาพ
ต้นทุนการผลิตดา้ นสารเคมีปอ้ งกนั
2. พัฒนาคุณภาพสนิ คา้ เกษตรสู่ • จำนวนเกษตรกรไดร้ บั การส่งเสริม และกำจดั ศัตรพู ืชลดลง (รอ้ ยละ)
มาตรฐาน และพัฒนาดา้ นการจดั การคุณภาพ • เกษตรกรเป้าหมายผ่านการประเมนิ
การผลิตสินคา้ เกษตรตามระบบ แปลงเบอื้ งตน้ เพือ่ ยน่ื ขอรับรองตาม
มาตรฐาน GAP (ราย) ระบบมาตรฐาน GAP (รอ้ ยละ)
• รอ้ ยละของชา่ งเกษตรทอ้ งถน่ิ ที่สามารถ
โครงการท่ี 3 : โครงการ 1. ส่งเสรมิ การใชเ้ ครือ่ งจกั รกล • จำนวนเกษตรกรทไ่ี ดร้ บั การอบรม ใหบ้ ริการซอ่ มแซมเคร่ืองจกั รกล
ส่งเสริมการใชเ้ คร่ืองจกั รกล การเกษตรทดแทนแรงงานเกษตร ความรทู้ างเทคนคิ เครือ่ งจกั รกลเกษตร การเกษตรในพ้นื ทแ่ี ละพน้ื ท่ีใกล้เคียง
ทีร่ องรบั การบรกิ ารซ่อมดแู ล (ราย) (ร้อยละ)
ทางการเกษตร • รอ้ ยละของ Smart Farmer ทมี่ ที กั ษะ
ทางวชิ าการ เป็นผนู้ ำดา้ นการเกษตร
โครงการท่ี 4 : โครงการ 1. พฒั นาเกษตรกรปราดเปรอื่ ง • จำนวนเกษตรกรท่ีเข้าร่วมโครงการ และเปน็ ตน้ แบบได้ (รอ้ ยละ)
พฒั นาเกษตรกรปราดเปรือ่ ง (Smart Farmer) ไดร้ บั การยกระดบั เปน็ Smart Farmer • ร้อยละของตลาดเกษตรกรไดร้ ับการ
(ราย) พฒั นาจนเปน็ แหล่งจำหนา่ ยผลผลิต
(Smart Farmer) 1. ตลาดเกษตรกร ทางการเกษตร (ร้อยละ)
• จำนวนตลาดเกษตรกรไดร้ บั การพฒั นา • เกษตรกรสมาชกิ แปลงใหญม่ ตี น้ ทุน
โครงการที่ 5 : โครงการ เปน็ แหลง่ จำหนา่ ยผลผลติ ทางการ ลดลงและผลผลิตเพม่ิ ขน้ึ ไมน่ อ้ ยกวา่
พัฒนาตลาดสนิ ค้าเกษตร เกษตรของเกษตรกรได้ (จังหวดั ) (รอ้ ยละ)
• จำนวนเกษตรกรที่ได้รับการถา่ ยทอด
โครงการท่ี 6 : โครงการ 1. ระบบสง่ เสรมิ เกษตรแบบแปลงใหญ่ • พืน้ ทเี่ กษตรแปลงใหญ่ไดร้ บั การพฒั นา ความรู้จาก ศพก. และศนู ยเ์ ครอื ข่าย
ระบบสง่ เสรมิ เกษตรแบบ ส่รู ะบบส่งเสรมิ การเกษตรแบบแปลง สามารถนำความร้ไู ปปฏิบัตไิ ด้ (ร้อยละ)
1. ศูนยเ์ รยี นรู้การเพม่ิ ประสิทธภิ าพการ ใหญ่ไมน่ อ้ ยกว่า (แปลง) • ร้อยละของเกษตรกรท่เี ขา้ รว่ ม
แปลงใหญ่ ผลติ สนิ คา้ เกษตร โครงการมรี ายไดเ้ พิม่ ขน้ึ (รอ้ ยละ)
โครงการที่ 7 : โครงการศูนย์ • จำนวน ศพก. ท่ไี ดร้ ับการพัฒนาและ • รอ้ ยละของเกษตรกรทไ่ี ด้รับความรูม้ ี
เรยี นรกู้ ารเพิ่มประสิทธภิ าพ 1. ส่งเสรมิ การปลูกพชื หลากหลายฤดู เครอื ขา่ ยทมี่ ีความพรอ้ มใหบ้ รกิ ารแก่ การนำความรไู้ ปปฏบิ ตั ิ (ร้อยละ)
นาปรงั เกษตรกร (ศูนย)์
การผลิตสนิ คา้ เกษตร • ร้อยละของเกษตรกรทไ่ี ดร้ ับการ
โครงการที่ 8 : โครงการ 2. เพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการผลติ สนิ ค้า • จำนวนพนื้ ทป่ี ลูกขา้ วนาปรังลดลง ถ่ายทอดความร้นู ำไปปฏบิ ัติ (ร้อยละ)
เกษตรมนั สำปะหลงั (ไร่)
พัฒนาศกั ยภาพ • รอ้ ยละของเกษตรกรที่เขา้ รว่ ม
กระบวนการผลติ สินค้า 3. เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการผลิตสนิ ค้า • จำนวนเกษตรกรทไ่ี ดร้ ับการถ่ายทอด โครงการนำแนวทางเกษตรทฤษฎีใหม่
เกษตรปาลม์ น้ำมนั ความรสู้ ามารถผลติ สินค้าไดม้ าตรฐาน ไปปฏิบตั ิ (รอ้ ยละ)
เกษตร ตรงตามความตอ้ งการของตลาด
4. เพิม่ ประสิทธิภาพการผลติ สินค้า (ราย) • รอ้ ยละของเกษตรกรท่ีเขา้ รว่ ม
โครงการที่ 9 : โครงการ เกษตรสับปะรด โครงการมีการปรบั เปลีย่ นไปทำ
พัฒนาเกษตรกรรมย่ังยืน • จำนวนเกษตรกรที่ได้รบั การถา่ ยทอด เกษตรกรรมทางเลอื ก (ร้อยละ)
1. พัฒนาการผลิตเกษตรอินทรีย์ ความรู้ดา้ นการผลติ สนิ ค้าเกษตร
2. สง่ เสรมิ เกษตรทฤษฎใี หม่และ อนิ ทรีย์ เพ่ือเข้าสูก่ ารรับรองมาตรฐาน • วิสาหกิจชมุ ชนสามารถตอ่ ยอดการ
เกษตรอินทรยี ์ (ราย) สร้างมลู ค่าเพมิ่ จากวตั ถุดบิ ทาง
เกษตรกรรมย่งั ยนื การเกษตรให้เปน็ สนิ คา้ เกษตรแปรรปู
• จำนวนครวั เรอื นเกษตรกรที่ไดร้ บั การ ท่มี ีคณุ ภาพปลอดภัยต่อผบู้ ริโภคไม่
โครงการที่ 1 : โครงการ 1. พฒั นาขีดความสามารถในการ ถา่ ยทอดความรแู้ ละสนับสนุนปจั จยั น้อยกว่า (ร้อยละ)
แข่งขนั สินค้าเกษตรแปรรปู การผลิต (ครัวเรอื น)
พฒั นาขีดความสามารถใน • มรี ะบบฐานข้อมลู ทะเบยี นเกษตรที่
การแข่งขนั สนิ ค้าเกษตร • จำนวนพ้ืนที่ของเกษตรกรที่เข้าร่วม สามารถใช้เปน็ ระบบตรวจสอบได้
โครงการมีการปรบั เปล่ียนไปทำ (ระบบ)
แปรรูป เกษตรกรรมทางเลอื ก (ไร่)
• ร้อยละของเกษตรกรทไ่ี ดร้ บั การ
• วสิ าหกจิ ชมุ ชนได้รับการพฒั นา ถ่ายทอดความรใู้ นการพัฒนาคุณภาพ
ผลติ ภัณฑ์ บรรจุภัณฑแ์ ละคุณภาพ
มาตรฐานสนิ คา้ เกษตรแปรรูป (แห่ง)

โครงการที่ 1 : โครงการ 1. ขึ้นทะเบยี นและปรบั ปรงุ ทะเบียน • จำนวนครวั เรอื นเกษตรกรไดร้ ับการ
ขึ้นทะเบยี นและปรบั ปรุง เกษตรกร ปรับปรุงฐานขอ้ มูลใหเ้ ปน็ ปัจจบุ นั
(ครัวเรอื น)
ทะเบยี นเกษตรกร 1. พฒั นาคุณภาพการผลติ ไมผ้ ลสู่
มาตรฐานการส่งออกภาค • จำนวนเกษตรกรท่ไี ดร้ บั การถา่ ยทอด
โครงการท่ี 1 : โครงการ ตะวันออก ความรใู้ นการพัฒนาคุณภาพการผลติ
พฒั นาการผลิตสินค้า ไม้ผลสู่มาตรฐานการสง่ ออก (ราย)

โครงการพัฒนาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพฒั นาพ้ืนทต่ี ามแนวทางความค้มุ ค่าของการจดั การงบประมาณ 51
มูลนธิ ิปิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

ผลผลติ /โครงการ กิจกรรม ตวั ชี้วัดเชิงปรมิ าณ ตวั ชีว้ ดั เชงิ คณุ ภาพ
เกษตรและการคา้ ผลไม้ภาค 2. แปรรูปผลไมเ้ พื่อเพม่ิ มลู ค่าภาค
• จำนวนเกษตรกรท่ีไดร้ บั การถา่ ยทอด สามารถนำความรไู้ ปปฏบิ ัตไิ ด้ (รอ้ ย
ตะวันออก ตะวันออก ความรู้ในการแปรรูปผลไมเ้ พ่ือเพิ่ม ละ)
มูลค่า (ราย) • ร้อยละของเกษตรกรทไ่ี ดร้ บั การ
โครงการท่ี 2 : โครงการ 1. สง่ เสริมการปรบั เปลย่ี นการผลิต ถ่ายทอดความรู้ในการแปรรูป
ส่งเสริมการปรบั เปลีย่ นการ สินค้าเกษตรไปสสู่ ินค้าใหม่ • จำนวนเกษตรกรทีไ่ ดร้ บั การถา่ ยทอด สามารถนำความรไู้ ปปฏบิ ัติ (รอ้ ยละ)
ผลติ สนิ ค้าเกษตรไปสสู่ ินค้า ความร้ใู นการสง่ เสรมิ การปรบั เปลีย่ นการ • รอ้ ยละของเกษตรกรทไ่ี ด้รับการถ่ายทอด
ชนดิ ใหม่ตามศกั ยภาพพน้ื ท่ี 2. พัฒนาและส่งเสรมิ การปรบั เปลยี่ น ผลิตสินค้าเกษตรไปสสู่ ินค้าใหม่ตาม ความร้ใู นการสง่ เสรมิ การปรบั เปล่ียน
การผลติ พชื อื่นเป็นไม้ผล ศักยภาพพน้ื ท่ี (ไม้ดอกไมป้ ระดบั ) (ราย) การผลติ สนิ คา้ สามารถนำความร้ไู ป
โครงการท่ี 3 : โครงการ • จำนวนเกษตรกรทีไ่ ด้รบั การถา่ ยทอด ปฏิบตั ิ (รอ้ ยละ)
ส่งเสรมิ การทำเกษตรแบบ 1. สง่ เสรมิ และพัฒนาการบรหิ าร ความรใู้ นการส่งเสรมิ การปรับเปล่ยี น • ร้อยละของเกษตรกรท่ไี ดร้ บั การ
จดั การมะพร้าวตลอดห่วงโซอ่ ปุ ทาน การผลิตพชื อ่ืนเป็นผลไมท้ ่มี ศี กั ยภาพ ถา่ ยทอดความรู้ สามารถนำความรไู้ ป
ผสมผสาน ภาคใต้ ทางเศรษฐกจิ (ราย) ปฏิบตั ิ (ร้อยละ)

โครงการท่ี 4 : โครงการ 1. พัฒนาคณุ ภาพการผลติ ไม้ผลสู่ • จำนวนเกษตรกรไดร้ บั การถา่ ยทอด • ร้อยละของเกษตรกรทีไ่ ด้รับการถ่ายทอด
ยกระดับการผลติ สนิ ค้า มาตรฐานการสง่ ออกภาคใต้ ความรใู้ นการสง่ เสรมิ และพฒั นาการ ความรู้ สามารถนำความรู้ไปปฏิบตั ิ (รอ้ ย
เกษตรท่ีเปน็ อตั ลกั ษณ์และ บรหิ ารจัดการมะพร้าวตลอดหว่ งโซ่ ละ)
เหมาะสมกบั ศกั ยภาพพน้ื ท่ี 2. แปรรูปผลไมเ้ พอื่ เพมิ่ มูลค่าภาคใต้ อปุ ทาน (ราย)
• รอ้ ยละของเกษตรกรท่ไี ดร้ บั การถ่ายทอด
ของภาค 1. สง่ เสรมิ การหยดุ การเผาในพืน้ ท่ี • จำนวนเกษตรกรที่ไดร้ ับการถ่ายทอด ความรใู้ นการพฒั นา สามารถนำความรู้
การเกษตร ความรูใ้ นการพฒั นาคณุ ภาพการผลติ ไม้ ไปปฏบิ ตั ิได้ (รอ้ ยละ)
โครงการท่ี 1 : โครงการ ผลสู่มาตรฐานการส่งออก (ราย)
ส่งเสรมิ การหยุดการเผาใน • รอ้ ยละของเกษตรกรทไ่ี ด้รบั การถ่ายทอด
• จำนวนเกษตรกรที่ไดร้ บั การถ่ายทอด ความรู้ในการแปรรูป ให้สามารถนำ
พ้นื ที่การเกษตร ความรูใ้ นการแปรรปู ผลไมเ้ พ่ือเพิ่มมลู ค่า ความร้ไู ปปฏิบัตไิ ด้ (ร้อยละ)
(ราย)
• ร้อยละของเกษตรกรมคี วามรูค้ วามเขา้ ใจ
• จำนวนเกษตรกรทไ่ี ด้รบั การถา่ ยทอด และสามารถนำความรทู้ ่ีไดร้ บั ไปปฏบิ ัติ
ความรแู้ ละมเี ครือข่ายที่ไดร้ ับการ ส่งผลให้เกดิ พ้ืนท่กี ารเกษตรปลอดการ
ถ่ายทอดความรแู้ ละมเี ครือขา่ ยเกษตร เผา (รอ้ ยละ)
ปลอดการเผาในพื้นที่ (ราย)

ตารางท่ี 3.3 เปา้ หมายและตัวชีว้ ดั ของกรมปศสุ ัตว์ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2562

เปา้ หมายการให้บริการ ตวั ชีว้ ดั เชิงปรมิ าณ ตัวชีว้ ดั เชงิ คณุ ภาพ

1 เสรมิ สร้างความมนั่ คงดา้ น • จำนวนเกษตรกรได้รบั การพฒั นาและสง่ เสรมิ ด้านปศสุ ตั ว์ (ราย) • N/A
การปศุสตั ว์

2. เพมิ่ ประสิทธภิ าพการผลิต • พ้นื ทีก่ ารผลิตไมเ่ หมาะสมไดร้ ับการปรบั เปล่ียนมาทำการปศุสัตว์ (ไร่) • ผลผลิตต่อหน่วยสินค้าปศุสัตว์
ภาคการปศสุ ตั ว์ • สถานประกอบการสนิ ค้าปศสุ ัตวท์ ี่ได้รบั บรกิ ารตรวจประเมนิ มาตรฐาน (แห่ง) เพม่ิ ขนึ้ (ร้อยละ)
• จำนวนเกษตรกรที่ไดร้ บั การถ่ายทอดองค์ความรู้เข้าสู่ระบบ Smart Farmer
3. ส่งเสริมและพฒั นา • ความสำเร็จของการดำเนินโครงการ
ศักยภาพด้านปศสุ ัตว์ (ราย) บรรลเุ ปา้ หมายตามแผนรายปีไม่น้อย
• พ้ืนทกี่ ารเกษตรแปลงใหญ่ไดร้ ับการส่งเสริมและพฒั นาดา้ นปศสุ ัตว์ (แปลง) กวา่ (ร้อยละ)
4. สง่ เสรมิ การดำเนนิ งานตาม • จำนวนเกษตรกรท่ไี ดร้ ับการส่งเสรมิ และพฒั นาศักยภาพ (ราย)
แนวทางหลักปรัชญา • เกษตรกรทีไ่ ดร้ ับการถา่ ยทอดองค์
เศรษฐกจิ พอเพยี ง • จำนวนเกษตรกรที่ได้รบั การส่งเสรมิ อาชพี ตามแนวทางหลกั ปรชั ญา ความรูด้ า้ นการปศสุ ตั วส์ ามารถนำ
เศรษฐกิจพอเพยี ง (ราย) ความรไู้ ปประกอบอาชพี ไดไ้ ม่นอ้ ย
5. เพิม่ ประสทิ ธิภาพการผลติ กว่า (รอ้ ยละ)
ปศสุ ัตวพ์ น้ื ท่รี ะดับภาค • จำนวนสตั ว์ท่ไี ดร้ ับการผา่ ตัดทำหมนั ภายใตโ้ ครงการสัตว์ปลอดโรค คนปลอดภยั
จากโรคพษิ สนุ ัขบ้า (ตวั ) • เกษตรกรสามารถนำความร้ไู ป
ประกอบอาชีพไดไ้ มน่ อ้ ยกว่า (รอ้ ย
• จำนวนผยู้ ากไรไ้ ดร้ บั การส่งเสริมและพฒั นาอาชพี (ราย) ละ)
• พฒั นาพื้นท่ีระดับภาคดา้ นการเพมิ่ ศักยภาพภาคการเกษตร (ภาค)
• N/A

52 โครงการพฒั นาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพื้นทตี่ ามแนวทางความคมุ้ ค่าของการจัดการงบประมาณ
มูลนธิ ิปิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

ตารางที่ 3.4 กิจกรรมและตัวช้ีวดั ของกรมปศุสตั ว์ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2562

ผลผลิต/โครงการ กิจกรรม ตัวช้วี ดั เชิงปรมิ าณ ตัวชว้ี ดั เชิงคุณภาพ

ผลผลติ ท่ี 1 : พฒั นา 1. เฝ้าระวัง ปอ้ งกนั ควบคมุ บำบดั และ • จำนวนเกษตรกรทไ่ี ด้รบั การส่งเสรมิ • เกษตรกรที่ได้รับการถ่ายทอดองค์
ศกั ยภาพดา้ นปศุสัตว์
ชนั สูตรโรคสัตว์ และพฒั นาศกั ยภาพ (ราย) ความรู้ด้านการปศุสัตว์สามารถนำ
2. ถ่ายทอดองคค์ วามรแู้ ละเทคโนโลยี • จำนวนสตั ว์ที่ไดร้ บั บริการเสรมิ สรา้ ง ความรู้ไปประกอบอาชีพได้ไม่น้อย
กว่า (ร้อยละ)
ดา้ นการปศุสตั ว์ ภมู คิ มุ้ กนั โรคสัตว์ (ลา้ นตัว)
3. พัฒนาปรับปรุงพนั ธ์สุ ัตว์ • สัตวพ์ นั ธดุ์ ีท่ีผลติ ไดต้ ามเกณฑ์มาตรฐาน
• จำนวนสัตวพ์ ันธดุ์ ที ีผ่ ลติ ได้ (ล้านตวั ) ทกี่ ำหนดไม่นอ้ ยกวา่ (ร้อยละ)
4. พฒั นาอาหารสัตว์ • จำนวนผลผลติ พชื อาหารสตั ว์ (ตัน)
5. พัฒนาเทคโนโลยสี ารสนเทศและ • ข้นึ ทะเบยี นพันธส์ุ ัตว์ อนรุ กั ษ์พนั ธุ์พชื

การสอ่ื สาร อาหารสัตว์และครอบครอง
6. ความหลากหลายทางชีวภาพด้านปศุ เชอ้ื จลุ นิ ทรยี ด์ ้านปศุสัตว์ (สายพนั ธ)์ุ

สัตว์

โครงการท่ี 1 : โครงการ 1. พฒั นาพืน้ ที่โครงการหลวง • เกษตรกรได้รับการพัฒนาศักยภาพ • เกษตรกรสามารถนำความรไู้ ป
พฒั นาพ้นื ทโี่ ครงการหลวง ดา้ นปศุสัตว์ (ราย) ประกอบอาชพี ไดไ้ ม่นอ้ ยกวา่ (รอ้ ย
ละ)
โครงการที่ 2 : โครงการ 1. สง่ เสรมิ และพฒั นาอาชีพเพอื่ แก้ไข • จำนวนผ้ยู ากไรไ้ ดร้ ับการสง่ เสริมและ
ส่งเสรมิ และพัฒนาอาชีพ ปญั หาทีด่ ินทำกนิ ของเกษตรกร พฒั นาอาชพี (ราย) • เกษตรกรสามารถนำความรไู้ ปใช้
เพอ่ื แกไ้ ขปัญหาทดี่ ินทำกิน ประโยชน์ในการประกอบอาชพี ด้าน
1. สนบั สนุนโครงการอันเน่อื งมาจาก • จำนวนเกษตรกรทีไ่ ดร้ บั บรกิ ารภายใต้ ปศุสัตวไ์ มน่ อ้ ยกวา่ (น้อยละ)
ของเกษตรกร พระราชดำริ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
(ราย) • เกษตรกรสามารถนำความรไู้ ป
โครงการที่ 3 : โครงการอัน ประกอบอาชีพไดไ้ มน่ อ้ ยกว่า (ร้อย
เน่ืองมาจากพระราชดำริ • จำนวนสตั ว์ท่ีไดร้ บั บรกิ ารผา่ ตดั ทำหมัน ละ)
ภายใตโ้ ครงการสตั ว์ปลอดโรค คน
ปลอดภยั จากโรคพิษสุนัขบ้า (ตัว)

โครงการที่ 1 : โครงการ 1. สง่ เสริมและพฒั นาอาชพี ดา้ นการปศุ • จำนวนเกษตรกรไดร้ บั การพัฒนาและ • เกษตรกรในพนื้ ท่จี ังหวดั ชายแดน
ธนาคารแพะตำบลสนั ติสุข สตั ว์ ส่งเสริมดา้ นปศสุ ัตว์ (ราย) ภาคใตท้ เ่ี ข้ารว่ มโครงการ มีรายได้
จงั หวัดชายแดนภาคใต้ เพิม่ ข้ึน (รอ้ ยละ)
1. เพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการผลิตใหก้ ับ • พนื้ ทีก่ ารผลติ ไม่เหมาะสมไดร้ บั การ
โครงการท่ี 1 : โครงการ เกษตรกรในพน้ื ท่ที มี่ คี วามเหมาะสม ปรบั เปลย่ี นมาทำการปศุสัตว์ (ไร่) • ประสทิ ธิภาพการผลติ เพิม่ ขนึ้ ไมน่ อ้ ย
บริหารจดั การการผลติ สนิ คา้ กวา่ (รอ้ ยละ)
เกษตรตามแผนทเี่ กษตรเพอ่ื 2. เพิ่มประสิทธภิ าพการผลติ ใหก้ ับ • จำนวนเกษตรกรได้รับการเพมิ่
เกษตรกรในพืน้ ทท่ี ไี่ มเ่ หมาะสม ประสิทธภิ าพการผลติ (ราย) • ผูป้ ระกอบการสนิ คา้ ปศุสตั ว์ทไ่ี ดร้ บั
การบรหิ ารจดั การเชงิ รกุ บริการตามเกณฑม์ าตรฐานกำหนดไม่
(Agri-Map) 3. ปรบั โครงสรา้ งการผลติ ปศสุ ตั ว์ • สถานประกอบการสนิ ค้าปศสุ ัตวท์ ี่ได้รบั นอ้ ยกว่า (รอ้ ยละ)
1. ตรวจสอบรบั รองคณุ ภาพสนิ ค้าปศุ บริการตรวจประเมินมาตรฐาน (แหง่ )
โครงการท่ี 2 : โครงการ
ยกระดบั คณุ ภาพมาตรฐาน สตั ว์ • จำนวนตวั อย่างที่ได้รบั การตรวจ
2. พฒั นาและสง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมฮา วิเคราะหค์ ณุ ภาพสนิ ค้าปศสุ ัตวต์ าม
สนิ ค้าเกษตร เกณฑ์มาตรฐานกำหนด (ตัวอย่าง)
ลาลด้านปศสุ ตั ว์

โครงการท่ี 3 : โครงการ 1. สร้างเกษตรกรปราดเปรื่อง • จำนวนเกษตรกรทไี่ ด้รับการถ่ายทอด • เกษตรกรทไ่ี ด้รับการพัฒนามีความเปน็
Smart Farmer (รอ้ ยละ)
พัฒนาเกษตรกรปราดเปร่อื ง องคค์ วามรเู้ ขา้ สรู่ ะบบ Smart Farmer
(Smart Farmer) (ราย)

โครงการที่ 4 : โครงการ 1. ส่งเสรมิ การเลย้ี งสัตวแ์ บบแปลงใหญ่ • พ้นื ทกี่ ารเกษตรแปลงใหญไ่ ด้รบั การ • ประสทิ ธภิ าพการผลติ เพม่ิ ขนึ้ ไมน่ อ้ ย
ระบบส่งเสรมิ เกษตรแบบ ส่งเสริมและพฒั นาด้านปศสุ ัตว์ (แปลง) กว่า (รอ้ ยละ)

แปลงใหญ่

โครงการท่ี 5 : โครงการศูนย์ 1. พฒั นาศนู ยเ์ รยี นรกู้ ารเพ่มิ • ศนู ย์เครอื ข่ายศนู ยเ์ รยี นรูก้ ารเพม่ิ • ศนู ยเ์ ครอื ขา่ ยศนู ยเ์ รยี นรู้การเพ่มิ
ประสทิ ธิภาพการผลิตสนิ ค้าเกษตร ประสิทธภิ าพการผลิตสนิ คา้ เกษตรด้าน ประสิทธิภาพการผลติ สนิ คา้ เกษตรดา้ น
เรยี นรูก้ ารเพิม่ ประสทิ ธภิ าพ
การผลติ สินคา้ เกษตร ปศุสัตวไ์ ดร้ บั การส่งเสรมิ (แห่ง) ปศสุ ัตวไ์ ด้รับการพัฒนาความพร้อมเพื่อ
เป็นแหลง่ เรยี นรู้ผ่านเกณฑ์ท่ีกำหนดไม่

น้อยกว่า (ร้อยละ)

โครงการพัฒนาระบบการตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพน้ื ทต่ี ามแนวทางความคุ้มค่าของการจัดการงบประมาณ 53
มลู นิธปิ ดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

ผลผลติ /โครงการ กจิ กรรม ตัวชีว้ ัดเชงิ ปรมิ าณ ตัวชวี้ ดั เชิงคุณภาพ
• จำนวนสตั วพ์ นั ธ์ดุ ีท่ีผลติ ได้จากการผสม • การเกดิ โรคที่สำคัญลดลงจากปีทีผ่ ่าน
โครงการท่ี 6 : โครงการ 1. การพฒั นาการผลิตปศุสตั ว์
พัฒนาศักยภาพกระบวนการ 2. การพัฒนาสุขภาพสัตว์ เทยี ม (ล้านตัว) มาไมน่ อ้ ยกวา่ (ร้อยละ)
• จำนวนสัตว์ที่ได้รบั บริการพฒั นา
ผลติ สนิ ค้าเกษตร • จำนวนฟารม์ ปศสุ ัตวอ์ นิ ทรยี ท์ ่ผี ่าน
สขุ ภาพสัตว์ (ล้านตวั ) การรบั รอง สามารถรักษาสถานภาพ
โครงการท่ี 7 : โครงการ 1. ส่งเสรมิ การทำปศสุ ัตวอ์ นิ ทรยี ์ • พื้นที่เกษตรกรรมย่งั ยนื (ไร่) ไดไ้ มน่ ้อยกว่า (รอ้ ยละ)
พฒั นาเกษตรกรรมย่งั ยนื 2. สง่ เสรมิ เกษตรทฤษฎีใหม่
• โครงสรา้ งพ้ืนฐานด้านเศรษฐกิจได้รับ • เกษตรกรและผ้ปู ระกอบการทร่ี บั
โครงการท่ี 1 : โครงการ 1. เพม่ิ ศักยภาพด่านสนิ ค้าเกษตร การพฒั นา (รายการ) บรกิ ารมคี วามพึงพอใจไม่น้อยกวา่
เพ่ิมศักยภาพดา่ นสินค้า ชายแดน (ร้อยละ)
เกษตรชายแดนเพอ่ื รองรบั
การเขา้ สปู่ ระชาคมอาเซยี น 1. ปรบั ปรุงขอ้ มลู ทะเบยี นเกษตรกร • จำนวนเกษตรกรผเู้ ลยี้ งสัตวท์ ีไ่ ดร้ ับการ • N/A
ข้นึ ทะเบียนเกษตรกร (ราย)
โครงการท่ี 1 : โครงการ 1. โครงการวิจยั และนวัตกรรม
ปรับปรงุ ขอ้ มลู ทะเบียน • จำนวนโครงการวิจัย (โครงการ) • ความสำเร็จของการดำเนนิ โครงการ
1. เพ่ิมศกั ยภาพภาคการเกษตร บรรลเุ ปา้ หมายตามแผนรายปไี มน่ ้อย
เกษตรกร ภาคเหนอื • เกษตรกรผเู้ ลีย้ งสตั วใ์ นพื้นทภ่ี าคเหนือ กวา่ (ร้อยละ)
ได้รับการเพ่ิมประสทิ ธภิ าพการผลิต
โครงการท่ี 1 : (ราย) • ความพงึ พอใจของเกษตรกรท่ไี ด้รบั
โครงการวิจยั และนวัตกรรม บรกิ ารไมน่ ้อยกว่า (ร้อยละ)
• จำนวนศนู ยบ์ รกิ ารพชื อาหารสตั วใ์ น
ดา้ นปศสุ ตั ว์ พื้นทภ่ี าคเหนือ (แหง่ ) • ความพึงพอใจของเกษตรกรทไ่ี ด้รับ
บริการไมน่ ้อยกวา่ (รอ้ ยละ)
โครงการท่ี 1 : โครงการ • เกษตรกรผเู้ ลย้ี งสตั ว์ในพ้นื ทภ่ี าคใต้
ส่งเสริมเกษตรปลอดภยั ชายแดนไดร้ ับการเพมิ่ ประสิทธภิ าพ • ความพงึ พอใจของเกษตรกรที่ได้รบั
การผลิต (ราย) บริการไมน่ อ้ ยกวา่ (รอ้ ยละ)
ภาคเหนอื
• จำนวนศนู ย์บริการพืชอาหารสตั ว์ใน • ความพงึ พอใจของเกษตรกรทไ่ี ด้รบั
โครงการที่ 2 : โครงการ 1. ส่งเสรมิ พัฒนาศักยภาพดา้ น พ้ืนท่ีภาคใตช้ ายแดน (แห่ง) บริการไมน่ อ้ ยกว่า (ร้อยละ)
สง่ เสรมิ การเลยี้ งปศสุ ัตว์
การเกษตรสามเหล่ยี มมนั่ คง มั่งคง่ั • เกษตรกรผเู้ ลีย้ งสัตวใ์ นพื้นทภ่ี าค
ยงั่ ยนื ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ได้รบั การเพม่ิ
ประสิทธภิ าพการผลิต ราย)
โครงการท่ี 3 : โครงการเพิ่ม 1. เพม่ิ ศักยภาพการผลิตปศสุ ตั ว์
ศกั ยภาพการผลิตโคเนือ้ และ คณุ ภาพสูง • จำนวนศนู ยบ์ รกิ ารพืชอาหารสตั วใ์ น
พื้นท่ภี าคใต้ชายแดน (แห่ง)
โคนมคณุ ภาพสูง

โครงการที่ 4 : โครงการ 1. เพมิ่ มลู ค่าปศสุ ัตว์
สง่ เสรมิ เกษตรกรให้มีการใช้ • เกษตรกรผเู้ ล้ียงสตั ว์ในพ้นื ทภี่ าคใต้
ได้รบั การเพ่ิมประสทิ ธภิ าพการผลิต
เทคโนโลยีและนวตั กรรมใน (ราย)
การผลิตและบริหารจดั การ
• จำนวนศนู ย์บริการพืชอาหารสตั วใ์ น
ฟารม์ อย่างเปน็ ระบบ พ้นื ที่ภาคใต้ชายแดน (แห่ง)

ตารางที่ 3.5 เป้าหมายและตวั ชวี้ ดั ของกรมพัฒนาทดี่ ิน ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2562

เปา้ หมายการใหบ้ ริการ ตวั ช้วี ัดเชิงปรมิ าณ ตวั ช้วี ดั เชิงคณุ ภาพ

1. ความเขม้ แขง็ ของเกษตรกรทไ่ี ด้รบั • จำนวนพนื้ ท่ที างการเกษตรท่ีไดร้ บั การพฒั นาศักยภาพ • เกษตรกรในพ้นื ทท่ี ีไ่ ด้รับการอนรุ กั ษ์ ปรบั ปรงุ และ
การพฒั นาศกั ยภาพดา้ นการพัฒนา การพฒั นาทด่ี นิ และประยุกตใ์ ช้นวตั กรรมการผลติ ท่ี ฟนื้ ฟนู ำความร้ดู ้านการพัฒนาที่ดินไปใชใ้ นการ
เหมาะสมกบั พ้ืนที่ (ไร่) ผลติ ทางการเกษตร (ร้อยละ)
ทด่ี นิ และประยุกตใ์ ชน้ วัตกรรมการ
ผลิตทีเ่ หมาะสมกับพ้นื ท่ี • จำนวนเกษตรกรทีไ่ ด้รับการสง่ เสรมิ และบรกิ ารดา้ นการ
พัฒนาท่ดี นิ (ราย)

2. เขตการใชท้ ด่ี นิ จากฐานข้อมลู • จำนวนพื้นทีท่ ่ไี ดร้ บั การปรับปรงุ และพัฒนาฐานข้อมลู • ผรู้ บั บริการของกรมพัฒนาที่ดนิ มคี วามพึงพอใจตอ่
ทรัพยากรดนิ ทเ่ี หมาะสมเพือ่ การผลิตใน (ไร่) การใชฐ้ านข้อมูลทรพั ยากรดนิ ไมน่ ้อยกวา่ (ร้อยละ)

พื้นทที่ ำการเกษตร

54 โครงการพฒั นาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพฒั นาพนื้ ที่ตามแนวทางความคุ้มคา่ ของการจดั การงบประมาณ
มลู นิธปิ ดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

เป้าหมายการใหบ้ รกิ าร ตวั ช้ีวัดเชิงปรมิ าณ ตัวช้วี ดั เชงิ คณุ ภาพ
3. ทรพั ยากรท่ดี นิ และนำ้ มคี วามอดุ ม
สมบรู ณ์ เพ่มิ ผลผลติ ลดต้นทนุ และใช้ • จำนวนพนื้ ทที่ างการเกษตรได้รบั การอนรุ กั ษ์ ปรบั ปรงุ • ร้อยละของต้นทุนการผลิตในพืน้ ท่ที ่ีได้รบั การ
และฟื้นฟู (ไร่) อนรุ ักษ์ ปรับปรุงและฟ้นื ฟลู ดลงจากการนำ
ประโยชน์อยา่ งยั่งยนื ความรดู้ า้ นการพฒั นาที่ดนิ ไปใชใ้ นการผลิตทาง
• จำนวนฝายชะลอนำ้ เพ่ือการอนรุ ักษ์ดนิ และน้ำได้รับ การเกษตร (รอ้ ยละ)
4. ลดการเผาวสั ดุทางการเกษตรใน การก่อสรา้ ง (แห่ง)
พื้นที่ 9 จังหวดั ภาคเหนอื • เกษตรกรและประชาชนในพ้นื ท่ี 9 จงั หวดั ภาคเหนือ
• จำนวนพน้ื ทล่ี ดการเผาเศษวัสดุทางการเกษตร และรักษา มีความพึงพอใจในมาตรการไมน่ ้อยกวา่ (รอ้ ยละ)
ความอุดมสมบรู ณข์ องดนิ (ไร่)

5. บริหารจดั การแหลง่ น้ำเพอ่ื • จำนวนแหล่งนำ้ ท่ไี ด้รบั การกอ่ สรา้ งและพัฒนา (แห่ง) • พน้ื ทท่ี างการเกษตรได้รบั ประโยชนจ์ ากการ
การเกษตรและรกั ษาความชมุ ชน้ื แก่ กอ่ สร้างและพฒั นาแหลง่ น้ำไมน่ อ้ ยกว่า (รอ้ ยละ)
• จำนวนฐานข้อมลู เขตเศรษฐกจิ สำหรบั สนิ ค้าเกษตรที่
ทรพั ยากรดนิ อยา่ งสมดลุ สำคัญ (ชนดิ พชื ) • ฐานขอ้ มูลเกษตรเศรษฐกจิ สำหรับสนิ คา้ เกษตรท่ี
สำคัญ ถกู ต้องตามหลกั วชิ าการ (รอ้ ยละ)
6. ฐานขอ้ มลู เขตเกษตรเศรษฐกจิ • จำนวนพ้ืนที่ปรับเปลยี่ นการผลติ ในพนื้ ทท่ี ไี่ มเ่ หมาะสม
สำหรบั สนิ คา้ เกษตรทสี่ ำคญั ตาม Agri-Map (ไร่)

ตารางท่ี 3.6 กจิ กรรมและตัวชว้ี ัดของกรมพัฒนาทีด่ ิน ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2562

ผลผลติ /โครงการ กิจกรรม ตวั ชวี้ ดั เชงิ ปรมิ าณ ตัวชี้วัดเชงิ คุณภาพ

ผลผลติ ที่ 1 : ฐานขอ้ มลู 1. ปรับปรงุ ฐานข้อมูลทรัพยากรดิน • จำนวนพื้นทีท่ ี่ได้รับการปรบั ปรุง • ผูร้ ับบรกิ ารของกรมพัฒนาทดี่ นิ มคี วามพงึ
ทรพั ยากรท่ดี นิ ได้รบั การ 2. ปรบั ปรงุ ระบบขอ้ มลู สารสนเทศ และพัฒนาฐานข้อมูล (ไร่) พอใจตอ่ การใช้ฐานขอ้ มลู ทรพั ยากรดนิ ไม่
นอ้ ยกว่า (ร้อยละ)
ปรบั ปรงุ และพฒั นา 1. คลนิ กิ เกษตรเคลอ่ื นที่ • จำนวนเกษตรกรทไี่ ด้รบั การ
ผลผลิตที่ 2 : เกษตรกร 2. การพฒั นาหมอดนิ อาสาและหมอดนิ ส่งเสริมและบรกิ ารด้านการพฒั นา • เกษตรกรในพน้ื ท่ีที่ไดร้ บั การอนุรักษ์
ไดร้ ับการส่งเสรมิ และ ท่ีดนิ (ราย) ปรบั ปรงุ และฟน้ื ฟู นำความรู้ด้านการ
พฒั นาศักยภาพด้านการ นอ้ ย พฒั นาทด่ี นิ ไปใชใ้ นการผลติ ทางการเกษตร
3. ศูนยถ์ ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการพฒั นา • จำนวนพื้นที่ทางการเกษตรไดร้ ับ (รอ้ ยละ)
พัฒนาทด่ี ิน การอนรุ กั ษ์ ปรบั ปรุงและฟืน้ ฟู
ทดี่ นิ (ไร่) • ต้นทุนการผลิตในพนื้ ทท่ี ี่ไดร้ บั การอนรุ กั ษ์
ผลผลติ ท่ี 3 : ทรพั ยากร 1. ปรับปรงุ คณุ ภาพดิน ปรับปรุงและฟนื้ ฟู ลดลงจากการนำ
ทดี่ นิ และน้ำไดร้ บั การ 2. ฟน้ื ฟูและปอ้ งกนั การชะล้างพงั ทลาย • จำนวนพืน้ ที่โครงการหลวงไดร้ บั ความร้ดู ้านการพัฒนาทด่ี นิ ไปใช้ในการ
การอนุรกั ษแ์ ละฟน้ื ฟู (ไร่) ผลติ ทางการเกษตร (ร้อยละ)
พัฒนา ของดนิ
3. การพัฒนาทด่ี นิ ในพ้นื ทเี่ ฉพาะ • จำนวนเกษตรกรที่ได้รับการจดั • พน้ื ที่โครงการหลวงได้รับการพัฒนาตาม
โครงการที่ 1 : โครงการ 4. สง่ เสรมิ การใชส้ ารอนิ ทรีย์ลดการใช้ ท่ีดนิ ทำกินได้รบั การพฒั นาคณุ ภาพ หลักวชิ าการไมน่ ้อยกวา่ (ร้อยละ)
พฒั นาพนื้ ท่ีโครงการ ดิน (ราย)
สารเคมที างการเกษตร • พื้นทีไ่ ด้จัดท่ดี นิ ทำกนิ ใหแ้ กเ่ กษตรกรได้รบั
หลวง 2. สร้างนคิ มการเกษตร • จำนวนพืน้ ทโ่ี ครงการอนั การสง่ เสรมิ และพฒั นาตามหลกั ชิ าการไม่
โครงการท่ี 2 : โครงการ 3. การรับรองการเปลยี่ นแปลงภูมิอากาศ เน่ืองมาจากพระราชดำรไิ ดร้ บั การ นอ้ ยกว่า (รอ้ ยละ)
ส่งเสริมและพฒั นาอาชีพ พัฒนา (ไร่)
เพือ่ แกไ้ ขปญั หาทด่ี นิ ทำ และลดโลกร้อน • พืน้ ทโ่ี ครงการพระราชดำริได้รบั การพฒั นา
1. การพัฒนาพนื้ ทโี่ ครงการหลวง • จำนวนพนื้ ทน่ี าร้างไดร้ บั การพัฒนา ตามหลักวิชาการไม่น้อยกวา่ (ร้อยละ)
กินของเกษตรกร และฟื้นฟู (ไร่)
โครงการท่ี 3 : โครงการ 1. พฒั นาคณุ ภาพดินในพน้ื ท่ีจัดการปัญหา • เกษตรกรทีไ่ ดร้ บั การพัฒนาและฟนื้ ฟูท่ีดิน
ส่งเสรมิ การดำเนนิ งานอัน ที่ดนิ ทำกิน ใหม้ ีความเหมาะสมต่อการปลูกขา้ ว มคี วาม
เนอื่ งมาจากพระราชดำริ พึงพอใจไมน่ ้อยกว่า (ร้อยละ)
โครงการท่ี 1 : โครงการ 1. สง่ เสรมิ การดำเนนิ งานอันเนือ่ งมาจาก
พระราชดำริ
สง่ เสรมิ อาชพี ดา้ น
การเกษตรในจังหวดั 1. ส่งเสรมิ อาชพี ด้านการเกษตรในจงั หวัด
ชายแดนภาคใต้
ชายแดนภาคใต้

โครงการพฒั นาระบบการติดตาม ประเมนิ และรายงานผลการพัฒนาพ้ืนทต่ี ามแนวทางความคุม้ ค่าของการจดั การงบประมาณ 55
มลู นธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

ผลผลิต/โครงการ กจิ กรรม ตวั ชว้ี ดั เชิงปรมิ าณ ตวั ช้วี ัดเชิงคุณภาพ
โครงการท่ี 1 : โครงการ 1. การจัดทำฐานข้อมลู เพ่ือรองรับเขต • จำนวนฐานขอ้ มลู เขตเศรษฐกิจ • ฐานขอ้ มลู เกษตรเศรษฐกจิ สำหรับสนิ คา้
บริหารจัดการการผลิต
สนิ คา้ เกษตรตามแผนที่ เกษตรเศรษฐกิจ สำหรับสนิ ค้าเกษตรทส่ี ำคญั (ชนดิ เกษตรทีส่ ำคญั ถูกตอ้ งตามหลักวิชาการ
เกษตรเพ่ือการบรหิ าร 2. พฒั นาท่ีกินเพื่อสนบั สนนุ การ พชื ) (ร้อยละ)
จดั การเชิงรกุ (Agri-Map) • จำนวนพื้นทปี่ รบั เปลย่ี นการผลิตใน
ปรับเปล่ยี นการผลิตในพนื้ ท่ไี ม่ พนื้ ทีท่ ี่ไมเ่ หมาะสมตาม Agri-Map • เกษตรในพนื้ ท่แี ปลงใหญท่ ่ไี ดร้ ับการพัฒนา
โครงการที่ 2 : โครงการ เหมาะสมตาม Agri-Map (ไร่) ทด่ี นิ สามารถเพมิ่ ผลผลติ ทางการเกษตรได้
ระบบส่งเสรมิ เกษตร • จำนวนพน้ื ท่ีสง่ เสริมการเกษตร ไม่นอ้ ยกวา่ (ร้อยละ)
1. พฒั นาคณุ ภาพดนิ ในระบบสง่ เสรมิ แบบแปลงใหญ่ไดร้ บั การพฒั นา
แปลงใหญ่ การเกษตรแบบแปลงใหญ่ ทด่ี นิ (ไร่) • สมาชกิ ธนาคารปยุ๋ อนิ ทรยี ส์ ามารถลด
โครงการที่ 3 : โครงการ • จำนวนธนาคารปยุ๋ อินทรียข์ องกรม ต้นทุนการผลิตไดไ้ มน่ ้อยกว่า (รอ้ ยละ)
ธนาคารสนิ ค้าเกษตร 1. ธนาคารปุย๋ อินทรีย์ พัฒนาทีด่ ิน (แหง่ )
• ร้อยละของต้นทนุ การผลิตทล่ี ดลงจากการ
โครงการที่ 4 : โครงการ 1. พฒั นาเทคโนโลยกี ารพัฒนาที่ดนิ ใน • จำนวนศนู ยเ์ รยี นร้กู ารเพ่ิม นำความรู้ด้านการพัฒนาท่ดี ินไปใช้ประ
ศูนย์เรียนรกู้ ารเพมิ่ ศนู ยเ์ รยี นรู้การเพมิ่ ประสิทธิภาพการ ประสทิ ธภิ าพการผลติ สนิ คา้ เกษตร โยขน์ (ร้อยละ)
ประสทิ ธิภาพการผลิต ผลติ สินค้าเกษตร ทม่ี กี จิ กรรมของกรมพัฒนาทีด่ นิ
สินคา้ เกษตร รว่ มดำเนินการ (ศนู ย์) • ร้อยละของต้นทนุ การผลติ ทล่ี ดลงจากการ
1. ถา่ ยทอดเทคโนโลยกี ารพัฒนาทีด่ ิน นำความรู้ดา้ นการพัฒนาท่ดี นิ ไปใช้
โครงการท่ี 5 : โครงการ เพอ่ื ขบั เคลอ่ื นกลุม่ เกษตรกรเข้าสู่ • จำนวนพน้ื ทีท่ างการเกษตรไดร้ บั ประโยชน์ (ร้อยละ)
พัฒนาเกษตรกรรมยั่งยืน ระบบเกษตรอินทรยี ์ การอนุรกั ษ์ ปรบั ปรงุ และฟืน้ ฟู
(ไร่) • ผลงานวิจัยท่ีนำไปประยุกต์ใช้เปน็ แนวทาง
โครงการที่ 1 : 2. สนบั สนุนงานพฒั นาท่ีดินเพื่อส่งเสรมิ ในการกำหนดนโยบายของหน่วยงาน
โครงการวิจยั และพฒั นา เกษตรทฤษฎีใหม่ • จำนวนโครงการวจิ ัยด้านการพฒั นา ภาครฐั ภาคเอกชน หรอื นำไปใช้ประโยชน์
ทีด่ นิ อยา่ งย่งั ยนื ได้รับการสนบั สนนุ ทางดา้ นสงั คม ชมุ ชนไม่นอ้ ยกว่า (รอ้ ยละ)
ที่ดินอย่างย่งั ยนื 1. วจิ ยั และพัฒนาท่ดี นิ อยา่ งยงั่ ยืน (เรือ่ ง)
• ผลงานวิจัยทส่ี ามารถนำไปใชเ้ ปน็ แนว
โครงการที่ 2 : 1. วจิ ยั และพฒั นาเทคโนโลยีชวี ภาพ • จำนวนโครงการวิจัยด้านการพฒั นา ทางแกไ้ ขปัญหาการดำเนนิ งานของ
โครงการวิจยั และพัฒนา ทางดา้ นดนิ สำหรบั พนื้ ดนิ มีปญั หา เทคโนโลยีชวี ภาพไดร้ บั การ หนว่ ยงานไมน่ อ้ ยกว่า (ร้อยละ)
สนับสนนุ (เรื่อง)
เทคโนโลยชี ีวภาพ 2. วจิ ยั และพัฒนาเทคโนโลยีชวี ภาพ • ผลงานวจิ ยั พน้ื ฐานทีไ่ ดเ้ ป็นองค์ความรเู้ พือ่
ทางดา้ นดนิ ทางดา้ นดินเพ่อื ความเปน็ เลศิ ทาง • จำนวนโครงการวจิ ยั พนื้ ฐานเพือ่ ประยกุ ต์ใช้กำหนดเป็นแนวทางการแกไ้ ข
วชิ าการ สรา้ งและสะสมองค์ความรทู้ างด้าน ปัญหาการดำเนนิ งานของหนว่ ยงานไมน่ ้อย
โครงการที่ 3 : การพัฒนาทดี่ ินไดร้ ับการสนบั สนนุ กวา่ (รอ้ ยละ)
โครงการวจิ ยั พนื้ ฐานเพือ่ 1. วจิ ยั พ้ืนฐานเพ่อื พัฒนาเทคโนโลยกี าร (เรอื่ ง)
จดั การดนิ • ผลงานวิจัยท่ีสามารถนำไปเป็นแนวทางการ
สรา้ งและสะสมองค์ • จำนวนโครงการวิจัยประยุกตแ์ ละ แก้ไขปญั หาการดำเนินงานของหน่วยงานไม่
ความรทู้ างด้านการพฒั นา 2. วิจยั พน้ื ฐานเพือ่ สร้างและสะสมองค์ ต่อยอดงานวิชาการด้านพัฒนา นอ้ ยกว่า (รอ้ ยละ)
ความรทู้ างดา้ นการพัฒนาท่ดี ิน ทด่ี ินเพื่อแกป้ ญั หาใหก้ บั เกษตรกร
ท่ีดิน ได้รบั การสนับสนนุ (เรอื่ ง) • เกษตรกรและประชาชนในพืน้ ที่ 9 จงั หวัด
โครงการท่ี 4 : 1. วิจัยประยุกต์และตอ่ ยอดงานวชิ าการ ภาคเหนือ มคี วามพงึ พอใจในมาตรการไม่
โครงการวิจยั ประยุกต์ ด้านพฒั นาท่ีดนิ เพอื่ แกป้ ญั หาใหก้ ับ • จำนวนพื้นท่ลี ดการเผาเศษวัสดทุ าง น้อยกวา่ (รอ้ ยละ)
และตอ่ ยอดงานวชิ าการ เกษตรกร การเกษตรและรกั ษาความอดุ ม
ดา้ นพัฒนาท่ีดนิ เพือ่ สมบูรณข์ องดิน (ไร่) • เกษตรกรในพืน้ ทแี่ ปลงใหญใ่ นพน้ื ที่ 9
แกป้ ัญหาให้กับเกษตรกร 1. ส่งเสริมการไถกลบและผลิตปยุ๋ อนิ ทรยี ์ จงั หวัดภาคเหนอื ได้รบั ปัจจัยการผลติ
โครงการที่ 1 : โครงการ เพอ่ื ปอ้ งกันปญั หาหมอกและควนั ไฟใน • จำนวนพ้ืนทสี่ ง่ เสรมิ การเกษตร สามารถเพ่ิมผลผลิตทางการเกษตรได้ไม่
บริหารจัดการ พ้ืนทเ่ี กษตรภาคเหนอื ในจังหวัด แบบแปลงใหญ่ 9 จังหวัดภาคเหนอื น้อยกว่า (ร้อยละ)
ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ ภาคเหนอื ไดร้ ับการพฒั นาทีด่ นิ (ไร่)
สงิ่ แวดล้อมภาคเหนือ • กลุ่มเกษตรกรในพน้ื ท่ี 8 จงั หวดั ภาคเหนือที่
โครงการที่ 2 : โครงการ 1. พัฒนาคณุ ภาพดนิ ในระบบสง่ เสรมิ • จำนวนพ้นื ทก่ี ารเกษตรในพน้ื ท่ี 8 เข้ารว่ มโครงการเกษตรอนิ ทรยี ์ ได้รับการ
สง่ เสริมเกษตรปลอดภยั การเกษตรแบบแปลงใหญ่ ในจังหวัด จงั หวดั ภาคเหนอื ท่ที ำการผลติ ใน
ภาคเหนือ ระบบเกษตรอินทรยี ์ (ไร)่
ภาคเหนือ
1. ถ่ายทอดเทคโนโลยกี ารพฒั นาทดี่ นิ เพอ่ื
โครงการท่ี 3 : โครงการ ขับเคล่ือนกล่มุ เกษตรกรเขา้ สรู่ ะบบ
สง่ เสรมิ เกษตรอินทรีย์ เกษตรอนิ ทรีย์ ในจังหวัดภาคเหนือ

ภาคเหนือ

56 โครงการพฒั นาระบบการติดตาม ประเมนิ และรายงานผลการพฒั นาพ้นื ทต่ี ามแนวทางความคุม้ ค่าของการจัดการงบประมาณ
มูลนธิ ิปิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

ผลผลติ /โครงการ กจิ กรรม ตัวชีว้ ัดเชงิ ปรมิ าณ ตวั ช้วี ัดเชงิ คณุ ภาพ

พฒั นาเข้าสมู่ าตรฐานเกษตรอนิ ทรยี ไ์ มน่ ้อย
กว่า (ร้อยละ)

โครงการที่ 4 : โครงการ 1. พฒั นาคณุ ภาพดนิ ในระบบสง่ เสริม • จำนวนพื้นทท่ี างการเกษตรใน 3 • พื้นท่ี 3 จังหวัดภาคใต้ชายแดนไดร้ บั การ
พฒั นาศกั ยภาพการผลติ การเกษตรแบบแปลงใหญใ่ นจังหวดั จังหวัดภาคใต้ชายแดน ไดร้ บั การ อนุรกั ษ์ ปรับปรุงและฟืน้ ฟู มตี ้นทนุ การ
ภาคใต้ชายแดน อนุรกั ษ์ ปรับปรงุ และฟน้ื ฟู (ไร่) ผลิตทางการเกษตรลดลง (ร้อยละ)
ภาคเกษตร
2. สนบั สนนุ งานพัฒนาทดี่ นิ เพือ่ ส่งเสรมิ • จำนวนพื้นที่การผลิตขา้ มหอมมะลิ • พื้นที่การผลิตขา้ วหอมมะลทิ ุ่งกุลาร้องไห้ท่ี
โครงการท่ี 5 : โครงการ เกษตรทฤษฎใี หม่ ในจงั หวดั ภาคใต้ ท่งุ กุลารอ้ งไหไ้ ดร้ ับการพัฒนาทดี่ ิน ได้รบั การอนรุ ักษ์ ปรบั ปรุงและฟนื้ ฟู มตี น้ ทนุ
เพมิ่ ศกั ยภาพการผลติ ข้าว ชายแดน (ไร่) การผลิตทางการเกษตรลดลง (รอ้ ยละ)
หอมมะลิทุง่ กลุ าร้องไหส้ ู่
มาตรฐานเกษตรอินทรยี ์ 1. การพฒั นาท่ีดินพ้นื ทเี่ ฉาพะในจงั หวัด • จำนวนพ้ืนทีท่ างการเกษตรใน 9 • เกษตรในพ้ืนที่ 9 จงั หวดั ภาคใต้ สามารถ
โครงการท่ี 6 : โครงการ ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื จงั หวัดภาคใต้ ได้รับการอนรุ กั ษ์ เพม่ิ ผลผลติ ทางการเกษตรได้ไม่น้อยกวา่
สง่ เสรมิ การทำเกษตร ปรับปรุงและฟ้ืนฟู (ไร่) (ร้อยละ)
1. สนับสนนุ งานพฒั นาทีด่ ินเพือ่ ส่งเสริม
แบบผสมผสาน เกษตรทฤษฎใี หม่ ในจงั หวดั ภาคใต้ • จำนวนพ้นื ท่สี ่งเสริมการเกษตรแบบ • เกษตรกรในพื้นทแี่ ปลงใหญ่ในพนื้ ท่ี 4
โครงการที่ 7 : โครงการ แปลงใหญ่ 4 จงั หวดั ภาคใต้ไดร้ บั จังหวัดภาคใต้ สามารถเพ่มิ ผลผลติ ทาง
ยกระดบั การผลิตสนิ ค้า 1. พฒั นาคณุ ภาพดนิ ในระบบส่งเสรมิ การพฒั นาท่ีดนิ (ไร)่ การเกษตรได้ไม่นอ้ ยกวา่ (ร้อยละ)
เกษตรทีเ่ ปน็ อตั ลักษณ์ การเกษตรแบบแปลงใหญ่ ในจงั หวัด
ภาคใต้ • จำนวนแหลง่ นำ้ ชุมชนได้รบั การ • พืน้ ทีท่ างการเกษตรได้รับประโยชน์จากการ
และเหมาะสมกบั พัฒนาและฟื้นฟู (แหง่ ) พฒั นาแหล่งนำ้ ชมุ ชนไมน่ อ้ ยกวา่ (รอ้ ยละ)
ศกั ยภาพพน้ื ทขี่ องภาค 1. การกอ่ สร้างแหล่งน้ำชุมชน
โครงการที่ 1 : โครงการ
พฒั นาแหลง่ นำ้ ชุมชน

โครงการท่ี 2 : โครงการ 1. การก่อสร้างแหลง่ น้ำในไรน่ านอกเขต • จำนวนแหล่งน้ำในไรน่ านอกเขต • พนื้ ทีท่ างการเกษตรไดร้ บั ประโยชน์จากการ
กอ่ สรา้ งแหล่งนำ้ ในไร่นาน ชลประทาน ชลประทานได้รับการกอ่ สรา้ ง (บ่อ) กอ่ สรา้ งแหลง่ น้ำในไรน่ านอกเขตชลประทาน
ไม่นอ้ ยกวา่ (รอ้ ยละ)
อกเขตชลประทาน 1. พฒั นาแหลง่ นำ้ เพือ่ การอนรุ ักษ์ดนิ • จำนวนแหล่งนำ้ เพ่ือการอนรุ กั ษ์ดิน
และนำ้ และนำ้ ไดร้ ับการก่อสร้าง (แหง่ ) • พืน้ ท่ที างการเกษตรได้รบั ประโยชน์จากการ
โครงการท่ี 3 : โครงการ พฒั นาแหล่งนำ้ เพอ่ื การอนุรกั ษ์ดนิ และน้ำ
พัฒนาแหลง่ น้ำเพื่อการ ไม่นอ้ ยกว่า (ร้อยละ)

อนรุ กั ษ์ดนิ และนำ้

ตารางที่ 3.7 เปา้ หมายและตวั ชีว้ ดั ของกรมวชิ าการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562

เป้าหมายการให้บรกิ าร ตัวชว้ี ดั เชิงปรมิ าณ ตัวช้ีวัดเชงิ คุณภาพ

1. แหล่งผลติ ปจั จยั การผลิต ผลผลิต และ • จำนวนปจั จัยการผลติ และผลติ ภณั ฑ์ที่ตรวจรับรองตาม • ร้อยละจำนวนปัจจัยการผลิตทส่ี มุ่ ตรวจจาก
ผลิตภณั ฑ์เกษตรมคี ุณภาพปลอดภัยตอ่ มาตรฐานทก่ี รมวชิ าการเกษตรกำกบั (ตัวอยา่ ง/ราย/ฉบบั ) ร้านค้าผ่านมาตรฐาน (รอ้ ยละ)
ผบู้ ริโภคภามมาตรฐานและสอดคลอ้ ง ตาม
พ.ร.บ.ทก่ี รมวิชาการเกษตร กำกบั ดแู ล • จำนวนเกษตรกรทไ่ี ด้รบั การใหบ้ รกิ ารวิชาการด้านพืช • ร้อยละเกษตรกรผไู้ ดร้ ับบรกิ ารไดร้ บั การ
(ราย) พัฒนาความรเู้ พิม่ ขน้ึ (ร้อยละ)
2. เกษตรกรมีความรมู้ คี วามเขา้ ใจในการ
ผลติ พืชและทักษะด้านพืช • จำนวนหน่วยงานของกรมร่วมดแู ล ปกป้อง ปลูกรกั ษา
พนั ธุกรรมพชื ในพระราชดำรขิ องสมเดจ็ พระเทพฯ (แหง่ )

3. เกษตรกรในพ้นื ที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ มี • จำนวนเกษตรกรท่ีได้รับการส่งเสรมิ อาชพี ดา้ นการเกษตร • ร้อยละเกษตรกรทไี่ ด้รบั การฝึกอบรมและ
ความรคู้ วามเข้าใจดา้ นการผลิตพชื นำความรไู้ ปใช้เพมิ่ เตมิ (ร้อยละ)
(ราย)
• รอ้ ยละเกษตรกรทไี่ ด้รับการส่งเสริมอาชพี
มรี ายไดเ้ พ่ิมข้ึน (ร้อยละ)

4. เกษตรกรสามารถผลิตสนิ ค้าเกษตรทีด่ ี มี • จำนวนแหล่งผลติ ท่ไี ดร้ บั การตรวจสอบเพ่ือรับรอง • ร้อยละของจำนวนสนิ ค้าดา้ นพืชทผ่ี ่าน
คุณภาพมาตรฐานปลอดภยั ตามระบบ การ มาตรฐาน ตามระบบการจัดการคุณภาพ GAP พชื การตรวจสอบรบั รองไม่ถกู แจ้งเตอื นจาก
(ฟาร์ม) ตา่ งประเทศ (ร้อยละ)
จดั การคุณภาพพืชทเ่ี หมาะสม
• จำนวนโรงคัดบรรจุ โรงแปรรปู ท่ีได้รบั การตรวจสอบเพอื่
รับรองมาตรฐานตามระบบการจดั การคณุ ภาพ GMP พชื
(โรงงาน)

โครงการพัฒนาระบบการตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพืน้ ทตี่ ามแนวทางความค้มุ คา่ ของการจดั การงบประมาณ 57
มูลนิธิปดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

เปา้ หมายการใหบ้ ริการ ตวั ชวี้ ัดเชิงปรมิ าณ ตวั ชวี้ ดั เชงิ คุณภาพ
5. เกษตรกรได้พนั ธ์ุพชื คณุ ภาพดี • N/A
• จำนวนพนั ธ์ขุ ้าวโพดเลย้ี งสตั วท์ ่ผี ลิต (ตัน)
6. เกษตรกรไดพ้ นั ธุ์พืชและปัจจัยการผลิตทมี่ ี • จำนวนพนั ธป์ุ าลม์ นำ้ มันท่ีผลิต (ต้น/เมล็ดงอก) • รอ้ ยละของพนั ธพ์ุ ชื และปัจจยั การผลิตท่ี
คุณภาพ • จำนวนพนั ธมุ์ ะพรา้ วทีผ่ ลติ (ต้น/ผล) ผลิตไดม้ ีคณุ ภาพมาตรฐานการผลิตและ
• จำนวนพนั ธมุ์ ันสำปะหลังที่ผลติ (ทอ่ น) พร้อมที่จะนำไปขยายผลได้ (รอ้ ยละ)
7. อำนวยความสะดวกให้กับผูป้ ระกอบการ • จำนวนพนั ธุ์สบั ปะรดท่ีผลติ (หนอ่ )
นำเข้า ส่งออกพืช ผลผลติ พืชและปจั จัยการ • จำนวนชนดิ พชื และปัจจัยการผลิตท่ีดำเนนิ การผลิต (ชนดิ ) • N/A
• จำนวนเมล็ดพันธุไ์ ดร้ บั การตรวจสอบมาตรฐานเพือ่ ออก
ผลิตผ่านระบบ NSW • N/A
ใบรับรอง (ตัวอย่าง)
8. เกษตรกรมคี วามรูค้ วามเข้าใจในการ • จำนวนศนู ยแ์ ปรรูปสมนุ ไพรที่ได้รบั การพฒั นา (แหง่ ) • ผลงานวจิ ัย องค์ความรแู้ ละเทคโนโลยี
ผลิตพชื ตามแนวปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง • พัฒนาระบบการรับชำระค่าธรรมเนยี มการออกใบอนุญาต/ นวตั กรรมเพิม่ ประสิทธิภาพการผลติ พืช
และนโยบายทางดา้ นเศรษฐกิจ สังคม
9. เพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตพชื ใบรบั รอง/ใบผา่ นด่านยางใหเ้ ปน็ มาตรฐานสากล (ระบบ) กลมุ่ เป้าหมายพรอ้ มนำไปใช้ประโยชน์
• พัฒนาระบบการตรวจสอบคุณภาพยางและสถานทเ่ี กบ็ ยาง ถา่ ยทอดหรือกำหนดเป็นนโยบายในการ
10. พ้ืนทเี่ กษตรพชื เศรษฐกิจได้รับการพัฒนา ดำเนนิ งานของหนว่ ยงาน (ร้อยละของชุด
โดยใช้เทคโนโลยเี กษตรอัจฉริยะ เพอ่ื ประกอบการออกใบผา่ นดา่ นใหเ้ ปน็ มาตรฐานสากล โครงการวิจยั และโครงการวิจัยเดี่ยวท่ี
(ระบบ) สน้ิ สดุ ปี 62)
11. เกษตรกรได้รบั การพฒั นาองค์ความรู้ใน • พัฒนาระบบขอใบอนญุ าต ใบรับรอง การนำเขา้ นำผ่าน
การผลติ พชื เศรษฐกจิ ทีส่ ำคัญ และ สง่ ออกพืช ผลผลิตพชื และปจั จยั การผลติ ให้เปน็ • N/A
มาตรฐานสากลชื่อมโยงระบบNSW (ระบบ)
12. พฒั นาดา่ นตรวจพชื และการตรวจสอบ • จำนวนแหล่งผลิตทไี่ ดร้ บั การตรวจสอบเพ่อื รบั รอง • ร้อยละของเกษตรกรในพื้นทเี่ ป้าหมายได้รบั
สินคา้ เกษตรชายแดน มาตรฐานตามระบบเกษตรอนิ ทรยี ์ (ฟารม์ ) การอบรมและมคี วามรูเ้ พ่มิ ขน้ึ (รอ้ ยละ)
• จำนวนครวั เรอื นทไ่ี ด้รบั การสนบั สนุนปัจจัยการผลิตพืชใน
13. งานวิจัยพชื ไดร้ ับการสนับสนุน การทำเกษตรทฤษฎีใหม่ (ครัวเรือน) • N/A
• จำนวนแปลงตน้ แบบ/แปลงเรยี นรเู้ กษตรผสมผสานใน • N/A
14. สนบั สนนุ ขอ้ มูลวิชาการในการถ่ายทอด พน้ื ทีเ่ กษตรกร (ไร่)
เทคโนโลยกี ารผลติ สนิ คา้ เกษตรด้านพชื • จำนวนงานวิจยั และพฒั นาเทคโนโลยีและนวตั กรรมเพม่ิ • รอ้ ยละของเกษตรกรกลุม่ เป้าหมายในพน้ื ที่
ประสิทธภิ าพการผลติ พชื เพื่อใช้ประโยชน์พัฒนาสังคม ศพก. ทีไ่ ด้รบั การอบรมและมีความรเู้ พมิ่ ข้นึ
ชุมชนและส่ิงแวดลอ้ มท่ดี ำเนินการ (ชุดโครงการวจิ ัยและ (รอ้ ยละ)
โครงการวจิ ยั เด่ียว)
• จำนวนงานวิจยั และพัฒนาสรา้ งองค์ความรู้พน้ื ฐาน
การเกษตรดา้ นพชื ทด่ี ำเนินการ (ชุดโครงการวจิ ยั และ
โครงการวจิ ัยเดีย่ ว)

• จำนวนพน้ื ท่ีเกษตรพชื เศรษฐกจิ ได้รับการพัฒนาโดยใช้
เทคโนโลยีเกษตรอัจฉริยะ (แห่ง)

• ศนู ยท์ ดสอบเครื่องจกั รกลการเกษตรตามมาตรฐานท่ี
เกษตรกรและผู้ประกอบการมาใช้บรกิ าร (ศนู ย)์

• จำนวนพน้ื ทีจ่ ัดทำแปลงตน้ แบบการปรบั เปลย่ี นพน้ื ท่ีไม่
เหมาะสมให้เปน็ พนื้ ทเ่ี หมาะสมกบั พืชในพนื้ ท่ี (ไร)่

• จำนวนด่านตรวจพืชดา้ นการเกษตรได้รับการพฒั นาใหม้ ี
ประสทิ ธิภาพการบริการทด่ี ขี นึ้ (รายการ)

• จำนวนแผนบรู ณาการ/ชดุ โครงการวิจัยและโครงการวจิ ยั
เดี่ยวทด่ี ำเนนิ การ (ชดุ โครงการวจิ ยั และโครงการวิจัยเดยี่ ว)

• จำนวนผลงานวจิ ัยและเทคโนโลยที นี่ ำไปใช้ในการเพมิ่
ประสทิ ธิภาพการผลิตพชื ให้กับเกษตรกร (เรื่อง)

• จำนวนพันธุกรรมพืช จลุ นิ ทรยี ์ เหด็ แมลงท่อี นรุ ักษไ์ วใ้ ช้
ประโยชน์ (สายพันธ์ุ)

• จำนวนเกษตรกรผนู้ ำในศนู ยเ์ รียนรู้ไดร้ บั การถ่ายทอด
เทคโนโลยีการเกษตรด้านพืช (ราย)

58 โครงการพัฒนาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพ้ืนท่ีตามแนวทางความคมุ้ ค่าของการจดั การงบประมาณ
มลู นิธิปิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

เปา้ หมายการใหบ้ ริการ ตัวชว้ี ดั เชิงปรมิ าณ ตัวช้ีวดั เชิงคณุ ภาพ

• จำนวนศนู ยก์ ารเรียนร้ทู ่ไี ด้รบั การถา่ ยทอดเทคโนโลยีจาก
กรมวชิ าการเกษตร (ศูนย)์

15. เกษตรกรได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยี • จำนวนเกษตรกรท่ไี ดร้ ับการถ่ายทอดเทคโนโลยกี ารใช้ • ร้อยละของเกษตรกรกล่มุ เปา้ หมายในพนื้ ท่ี
การผลิตพืชในพนื้ ทแี่ ปลงใหญ่ เครือ่ งจกั รกลการเกษตรในพน้ื ท่ีแปลงใหญ่ (ราย) แปลงใหญ่ไดร้ บั การอบรมและมคี วามรู้

• จำนวนพื้นทที่ ่ีไดร้ ับการถา่ ยทอดเทคโนโลยกี ารผลติ พืชใน เพิ่มขนึ้ (ร้อยละ)
พน้ื ทแ่ี ปลงใหญ่ (แปลง)

ตารางท่ี 3.8 กิจกรรมและตวั ชี้วัดของกรมวิชาการเกษตร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2562

ผลผลติ /โครงการ กิจกรรม ตวั ชี้วดั เชงิ ปรมิ าณ ตัวชีว้ ัดเชิงคณุ ภาพ

ผลผลิตท่ี 1 : งานวจิ ัยดา้ น 1. การบริหารความหลากหลายทาง • จำนวนชุดโครงการวิจยั และ • N/A
พืชและเทคโนโลยกี ารเกษตร ชีวภาพ โครงการวจิ ยั เชิงเดยี่ วทด่ี ำเนนิ การ (ชุด
โครงการวจิ ยั และโครงการวจิ ัยเชงิ เดย่ี ว • รอ้ ยละของพนั ธ์ุพชื และปัจจัยการผลิต
2. วิจยั และพฒั นา ท่ผี ลิตไดม้ ีคุณภาพมาตรฐานการผลติ
3. การขับเคลอ่ื นผลงานวจิ ัยสู่การใช้ ท่ีดำเนินการ) และพรอ้ มท่จี ะนำไปขยายผลได้ (ร้อย
• จำนวนผลงานวิจัยและเทคโนโลยที ี่ ละ)
ประโยชน์
นำไปใช้ในการเพม่ิ ประสทิ ธิภาพการ
ผลผลิตที่ 2 : พันธพ์ุ ชื และ 1. ผลติ พันธุ์พืชและปัจจัยการผลิตอื่นๆ
ปัจจยั การผลติ 2. พฒั นาการเป็นศูนย์กลางการผลิต ผลติ พืช (เรอ่ื ง)
• จำนวนพันธกุ รรมพืชจลุ นิ ทรยี ์ เหด็ แมง
เมล็ดพนั ธุเ์ พื่อรองรบั ประชาคม
อาเซยี น ทีอ่ นรุ กั ษไ์ ว้ใช้ประโยชน์ (สายพันธ์ุ)

3. แปรรูปวตั ถุดิบสมนุ ไพรใหไ้ ด้ • จำนวนชนิดพชื และปัจจัยการผลิตท่ี
มาตรฐาน ดำเนนิ การผลติ (ชนดิ )

• จำนวนเมลด็ พนั ธ์ุไดร้ บั การตรวจสอบ
มาตรฐานเพื่อออกใบรับรอง (ตัวอย่าง)

• จำนวนศนู ย์แปรรปู สมนุ ไพรที่ไดร้ บั การ
พฒั นา (แหง่ )

ผลผลติ ที่ 3 : สนิ ค้าเกษตรมี 1. การตรวจปัจจยั การผลติ / ศัตรพู ชื • จำนวนปัจจยั การผลิตและผลิตภัณฑท์ ่ี • รอ้ ยละจำนวนปจั จยั การผลติ ท่ีสมุ่ ตรวจ
คุณภาพได้มาตรฐาน ออกใบรับรองและควบคุมกำกับดูแล ตรวจรบั รองตามมาตรฐานทกี่ รม จากร้านค้าผ่านมาตรฐาน (ร้อยละ)
ตาม พ.ร.บ. วชิ าการเกษตรกำกบั (ตวั อย่าง/ราย/
โครงการที่ 1 : โครงการ • ร้อยละเกษตรกรผไู้ ดร้ บั บริการไดร้ บั
สง่ เสรมิ การดำเนินงานอัน 1. อนุรักษพ์ นั ธกุ รรมพชื ฉบับ) การพัฒนาความรเู้ พมิ่ ขึน้ (รอ้ ยละ)
เนอื่ งมาจากพระราชดำริ 2. สนบั สนนุ วชิ าการเกษตรด้านพืชใน
• จำนวนเกษตรกรทไ่ี ด้รับการให้บรกิ าร
โครงการพระราชดำริ วชิ าการดา้ นพชื (ราย)

• จำนวนหนว่ ยงานของกรมรว่ มดแู ล
ปกปอ้ ง ปลูกรกั ษา พนั ธุกรรมพชื ใน

พระราชดำรขิ องสมเด็จพระเทพฯ
(แหง่ )

โครงการที่ 1 : โครงการ 1. สง่ เสรมิ อาชพี ด้านเกษตรใน • จำนวนเกษตรกรท่ไี ดร้ บั การสง่ เสรมิ • รอ้ ยละเกษตรกรทไ่ี ด้รับการฝกึ อบรม
ส่งเสรมิ อาชพี ดา้ น จงั หวัดชายแดนภาคใต้ อาชีพดา้ นการเกษตร (ราย) และนำความรไู้ ปใช้เพม่ิ เตมิ (ร้อยละ)
การเกษตรในจงั หวดั
• ร้อยละเกษตรกรทไ่ี ดร้ ับการสง่ เสริม
ชายแดนภาคใต้ อาชีพมรี ายได้เพม่ิ ขน้ึ (ร้อยละ)

โครงการท่ี 1 : โครงการ 1. บรหิ ารจัดการการผลติ สนิ ค้าเกษตร • จำนวนพ้ืนที่จดั ทำแปลงตน้ แบบการ • รอ้ ยละของเกษตรกรในพน้ื ทเ่ี ปา้ หมาย
บรหิ ารจดั การการผลิตสนิ ค้า ตามแผนท่ีเกษตร Agri Map ปรับเปล่ยี นพน้ื ทีไ่ ม่เหมาะสมใหเ้ ปน็ ได้รับการอบรมและมคี วามร้เู พิ่มขนึ้
พน้ื ทเี่ หมาะสมกบั พืชในพน้ื ที่ (ไร่) (รอ้ ยละ)
เกษตรตามแผนทเ่ี กษตรเพื่อ
การบริหารจดั การเชิงรกุ

(Agri-Map)

โครงการท่ี 2 : โครงการ 1. ยกระดบั คณุ ภาพสินคา้ เกษตรสู่ • จำนวนแหลง่ ผลิตที่ได้รบั การตรวจสอบ • รอ้ ยละของจำนวนสนิ ค้าดา้ นพชื ที่
มาตรฐาน เพ่ือรบั รองมาตรฐาน ตามระบบการ ผ่านการตรวจสอบรบั รองไมถ่ กู แจ้ง
ยกระดบั มาตรฐานสนิ คา้
เกษตร จัดการคุณภาพ GAP พชื (ฟาร์ม) เตอื นจากต่างประเทศ (รอ้ ยละ)
• จำนวนโรงคัดบรรจุ โรงแปรรปู ท่ีได้รบั

การตรวจสอบเพอ่ื รับรองมาตรฐาน

โครงการพฒั นาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพน้ื ทตี่ ามแนวทางความค้มุ ค่าของการจัดการงบประมาณ 59
มูลนิธิปดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

ผลผลติ /โครงการ กจิ กรรม ตวั ชีว้ ดั เชงิ ปรมิ าณ ตวั ชว้ี ัดเชิงคณุ ภาพ
• รอ้ ยละของเกษตรกรกลุม่ เปา้ หมายใน
โครงการท่ี 3 : โครงการ 1. การถ่ายทอดเทคโนโลยกี ารใช้ ตามระบบการจดั การคณุ ภาพ GMP
พืช (โรงงาน) พื้นทแ่ี ปลงใหญท่ ่ีได้รบั การอบรมและมี
ระบบสง่ เสรมิ เกษตรแบบ เคร่ืองจกั รการเกษตรในพนื้ ทีแ่ ปลง ความรมู้ ากขึน้ (รอ้ ยละ)
แปลงใหญ่ ใหญ่ • จำนวนเกษตรกรท่ีได้รบั การถ่ายทอด • รอ้ ยละของเกษตรกรกลมุ่ เปา้ หมายใน
เทคโนโลยกี ารใชเ้ คร่ืองจักรกล พนื้ ท่ี ศพก. ทไ่ี ด้รบั การอบรมและมี
โครงการที่ 4 : โครงการศนู ย์ 1. สนบั สนนุ การถา่ ยทอดเทคโนโลยี การเกษตรในพนื้ ทแ่ี ปลงใหญ่ (ราย) ความรเู้ พมิ่ ขึน้ (รอ้ ยละ)
• N/A
การเรยี นรู้การเพม่ิ การผลติ พชื ในศนู ยก์ ารเรยี นรูก้ าร • จำนวนพน้ื ทท่ี ่ไี ดร้ ับการถา่ ยทอด
ประสิทธิภาพการผลิตสนิ คา้ เพม่ิ ประสิทธภิ าพการผลติ สนิ คา้ เทคโนโลยกี ารใช้เครื่องจักรกล • N/A
การเกษตรในพื้นทแ่ี ปลงใหญ่ (แปลง)
เกษตร เกษตร • N/A
• จำนวนเกษตรกรผูน้ ำในศนู ยเ์ รยี นรู้ไดร้ ับ
โครงการที่ 5 : โครงการ 1. ผลิตพันธข์ุ ้าวโพดเลี้ยงสตั วค์ ณุ ภาพดี การถ่ายทอดเทคโนโลยกี ารเกษตรดา้ น • N/A
พฒั นาศักยภาพกระบวนการ พชื (ราย) • N/A
(ตนั )
ผลิตสนิ คา้ เกษตร 2. ผลติ พันธ์ปุ าลม์ น้ำมนั คณุ ภาพดี • จำนวนศนู ยก์ ารเรยี นร้ทู ไี่ ดร้ บั การ • N/A
ถา่ ยทอดเทคโนโลยจี ากกรมวิชาการ
โครงการท่ี 6 : โครงการ (ต้น/เมลด็ งอก) เกษตร (ศนู ย์)
พัฒนาเกษตรกรรมย่ังยืน 3. ผลิตพนั ธุม์ ะพร้าวคุณภาพดี (ตน้ /
• จำนวนพนั ธ์ขุ ้าวโพดเล้ยี งสัตวท์ ผี่ ลิต
ผล) (ตนั )
2. ผลิตพนั ธม์ุ นั สำปะหลังคณุ ภาพดี
• จำนวนพนั ธป์ุ าล์มนำ้ มันที่ผลิต (ต้น/
(ทอ่ น) เมลด็ งอก)
3. ผลติ พนั ธุ์สบั ปะรดคณุ ภาพดี (หน่อ)
• จำนวนพนั ธ์มุ ะพรา้ วที่ผลิต (ตน้ /ผล)
1. ตรวจรับรองแหล่งผลติ พชื อนิ ทรยี ์ • จำนวนพันธุ์มนั สำปะหลังทผ่ี ลิต (ท่อน)
2. เกษตรทฤษฎีใหม่ • จำนวนพนั ธส์ุ บั ปะรดทีผ่ ลิต (หนอ่ )

3. เกษตรผสมผสาน • จำนวนแหล่งผลติ ทไี่ ดร้ บั การตรวจสอบ
เพ่ือรบั รองมาตรฐานตามระบบเกษตร
โครงการท่ี 7 : โครงการ 1. พฒั นาเทคโนโลยเี พอื่ นำไปสู่ อินทรยี ์ (ฟาร์ม)
พัฒนาเทคโนโลยเี กษตร การเกษตรอจั ฉรยิ ะ
• จำนวนครัวเรอื นทไี่ ดร้ บั การสนบั สนนุ
อจั ฉรยิ ะ ปัจจัยการผลิตพืชในการทำเกษตร
ทฤษฎใี หม่ (ครัวเรือน)
โครงการท่ี 8 : โครงการเพมิ่ 1. เพม่ิ ศกั ยภาพดา่ นสนิ คา้ เกษตร
ศักยภาพด่านสนิ ค้าเกษตร ชายแดนเพือ่ รองรบั เขา้ สปู่ ระชาคม • จำนวนแปลงต้นแบบ/แปลงเรียนรู้
ชายแดนเพ่ือรองรบั เขา้ สู่ อาเซยี น เกษตรผสมผสานในพืน้ ท่เี กษตรกร
(ไร่)
ประชาคมอาเซยี น 1. พัฒนาระบบการชำระเงนิ
คา่ ธรรมเนยี มการออกใบอนญุ าต • จำนวนพน้ื ทเ่ี กษตรพชื เศรษฐกิจได้รับ
โครงการท่ี 1 : โครงการ ผ่าน NSW การพฒั นาโดยใชเ้ ทคโนโลยีเกษตร
พฒั นาระบบการรับชำระเงิน อจั ฉริยะ (แหง่ )
1. พัฒนาโปรแกรมปฏบิ ตั ิการ
คา่ ธรรมเนยี มการออก (Application) สำหรับตรวจสอบ • ศูนย์ทดสอบเครื่องจักรกลการเกษตร
ใบอนญุ าต/ใบรับรองและใบ คณุ ภาพยางผ่านระบบ NSW ตามมาตรฐานทเ่ี กษตรกรและ
ผ้ปู ระกอบการมาใช้บริการ (ศนู ย์)
ผา่ นดา่ นยาง
• จำนวนดา่ นตรวจพชื ดา้ นการเกษตร
โครงการท่ี 2 : โครงการ ได้รับการพัฒนาใหม้ ปี ระสิทธิภาพการ
พฒั นาโปรแกรมปฏบิ ตั ิการ บรกิ ารที่ดขี นึ้ (รายการ)

• พัฒนาระบบการรับชำระคา่ ธรรมเนยี ม
การออกใบอนุญาต/ใบรบั รอง/ใบผ่าน
ด่านยาง (ระบบ)

• พัฒนาระบบการตรวจสอบคณุ ภาพยาง
และสถานทเี่ กบ็ ยาง เพ่ือ ประกอบการ

60 โครงการพฒั นาระบบการตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการพฒั นาพน้ื ที่ตามแนวทางความคุ้มค่าของการจัดการงบประมาณ
มูลนิธปิ ดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

ผลผลิต/โครงการ กจิ กรรม ตัวช้วี ัดเชิงปรมิ าณ ตัวชว้ี ดั เชงิ คณุ ภาพ

(Application) สำหรับ ออกใบผา่ นดา่ นใหเ้ ปน็ มาตรฐานสากล
ตรวจสอบคณุ ภาพยาง (ระบบ)

โครงการท่ี 3 : โครงการ 1. พัฒนาระบบบรู ณาการและปรบั ปรุง • พฒั นาระบบขอใบอนญุ าต ใบรับรอง • N/A
การนำเขา้ นำผ่าน และ ส่งออกพชื
พฒั นาระบบและปรับปรุง การเชือ่ มโยงขอ้ มลู แบบ • ผลงานวิจยั องคค์ วามรแู้ ละ
ประสทิ ธภิ าพการเชือ่ มโยง อเิ ล็กทรอนิกสผ์ ่านระบบ NSW ผลผลิตพชื และปัจจัยการผลติ ให้เปน็ เทคโนโลยีนวัตกรรมเพม่ิ ประสิทธิภาพ
ข้อมูลแบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ มาตรฐานสากลชื่อมโยงระบบNSW การผลิตพืชและนโยบายทางด้าน
เศรษฐกจิ สังคม กล่มุ เป้าหมายพร้อม
โครงการท่ี 1 : 1. วิจัยและพัฒนาเพอื่ สร้างองค์ (ระบบ) นำไปใช้ประโยชนถ์ า่ ยทอดหรือ
กำหนดเป็นนโยบายในการดำเนินงาน
โครงการวจิ ัยและพัฒนา ความรู้พืชพ้ืนฐานการเกษตรดา้ น • จำนวนงานวิจยั และพัฒนาเทคโนโลยี ของหนว่ ยงาน (รอ้ ยละของชุด
เทคโนโลยีและนวตั กรรม พชื และนวัตกรรมเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการ โครงการวิจัยและโครงการวิจยั เดี่ยวที่
สนิ้ สดุ ปี 62)
เพ่ิมประสิทธิภาพการผลิต 2. วจิ ยั และพัฒนาเทคโนโลยี ผลิตพชื เพ่ือใช้ประโยชนพ์ ัฒนาสังคม
พืช เพอ่ื ใช้ประโยชน์พฒั นา นวัตกรรมทางการเกษตรเพอ่ื เพม่ิ ชุมชนและสงิ่ แวดลอ้ มทด่ี ำเนินการ
ประสิทธิภาพการผลิตพชื เศรษฐกจิ
สงั คม ชมุ ชนและ (ชดุ โครงการวจิ ยั และโครงการวิจยั
ทสี่ ำคัญเฉพาะพ้นื ท่ี เด่ียว)
สิง่ แวดลอ้ ม
• จำนวนงานวิจัยและพัฒนาสรา้ งองค์
ความรู้พน้ื ฐานการเกษตรด้านพืชท่ี
ดำเนินการ (ชดุ โครงการวจิ ัยและ

โครงการวจิ ยั เดย่ี ว)

ตารางที่ 3.9 เป้าหมายและตัวชว้ี ัดของกรมชลประทาน ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2562

เปา้ หมายการใหบ้ รกิ าร ตัวช้วี ดั เชิงปรมิ าณ ตัวช้ีวดั เชิงคุณภาพ

1. มแี หล่งกักเกบ็ น้ำและมปี รมิ าณนำ้ ทจ่ี ดั การได้ • N/A • จำนวนพน้ื ทชี่ ลประทานเพม่ิ ขน้ึ (ไร่)
เพือ่ เพม่ิ พนื้ ทชี่ ลประทาน • ปริมาณการกกั เก็บนำ้ เพม่ิ ขนั้ (ล้าน ลบ.ม.)
• จำนวนปริมาณนำ้ ตน้ ทุนที่เพิ่มให้อ่างเก็บน้ำ (ล้าน
2. ความสญู เสยี ทลี่ ดลงอนั เน่ืองมาจากอทุ ักภยั และ • จำนวนพ้ืนท่ีการเกษตรทไ่ี ดร้ บั การปอ้ งกัน
ภัยแล้ง ความเสียหายจากอทุ กภยั (ล้านไร)่ ลบ.ม. ตอ่ ปี)

• N/A

3. ดำเนนิ โครงการพระราชดำริให้ครบท้ังระบบ • จำนวนคนทีไ่ ดร้ ับประโยชนจ์ ากศูนยศ์ กึ ษา • จำนวนแหลง่ น้ำท่สี นบั สนุนโครงการอันเนอ่ื งมาจาก
พฒั นาอันเนอ่ื งมาจากพระราชดำริ (คน) พระราชดำริ (แห่ง)
4. การบรหิ ารจัดการน้ำโดยให้ทุกภาคสว่ นได้รับ
น้ำทมี่ ีคณุ ภาพอยา่ งท่วั ถึงและเปน็ ธรรม ตาม • N/A • จำนวนพ้ืนที่ได้รบั ประโยชน์ (ไร่)
ปริมาณน้ำตน้ ทนุ ทมี่ ใี นแต่ละปี (อุปโภค บรโิ ภค • จำนวนพน้ื ที่ชลประทานที่บริหารจดั การน้ำ (ลา้ นไร)่
• จำนวนแหล่งนำ้ ท่ีได้รับการพฒั นา (แหง่ ) • จำนวนพนื้ ที่ชลประทานเดมิ ทไ่ี ดร้ ับการปรับปรุง (ไร่)
เกษตร อุตสาหกรรม)
5. พัฒนาและปรบั ปรงุ แหล่งนำ้ ระบบ • ปริมาณการใชย้ างข้น (ต้น) • จำนวนพ้นื ที่ได้รับประโยชน์ (ไร่)
ชลประทานเพื่อแก้ไขปญั หาการขาดแคลนนำ้ • จำนวนคนท่ไี ด้รับการจา้ งแรงงาน (คน) • จำนวนพน้ื ทชี่ ลประทานท่ีเพิ่มขนึ้ (ไร่)

และปญั หาอทุ กภยั • N/A
6. เพม่ิ มูลค่าทางเศรษฐกิจทางการเกษตรในงาน

ชลประทาน

ตารางท่ี 3.10 กิจกรรมและตัวชวี้ ดั ของกรมชลประทาน ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2562

ผลผลิต/โครงการ กจิ กรรม ตวั ช้วี ดั เชิงปรมิ าณ ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ

ผลผลิตที่ 1 : การจัดการนำ้ 1. การจัดการงานชลประทาน • จำนวนพื้นท่ชี ลประทานท่ี • ร้อยละของพื้นท่ีชลประทานทีไ่ ดร้ บั น้ำตอ่ พน้ื ทีเ่ ป้าหมาย (รอ้ ย
ชลประทาน บริหารจัดการนำ้ (ล้าน ละ)
ไร่)
• ระยะเวลาดำเนนิ งานแล้วเสร็จตามแผนงานท่ีกำหนดไว้ (รอ้ ย
ละ)

• ค่าใชจ้ ่ายอยภู่ ายในวงเงินงบประมาณทไ่ี ด้รับ (รอ้ ยละ)

โครงการพฒั นาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพฒั นาพ้นื ทต่ี ามแนวทางความคมุ้ คา่ ของการจัดการงบประมาณ 61
มูลนิธปิ ิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

ผลผลิต/โครงการ กิจกรรม ตัวชว้ี ัดเชงิ ปรมิ าณ ตัวช้วี ัดเชิงคุณภาพ
• จำนวนที่ไดร้ บั ประโยชน์ • ระยะเวลาการดำเนนิ งานแลว้ เสรจ็ ตามแผนงานที่กำหนดไว้ (รอ้ ย
โครงการที่ 1 : โครงการ 1. กอ่ สร้างแหลง่ นำ้ สนบั สนุน
สง่ เสรมิ การดำเนนิ งานอัน โครงการอนั เนื่องมาจาก จากศูนยศ์ กึ ษาการพัฒนา ละ)
เน่อื งมาจากพระราชดำริ พระราชดำริ อันเน่ืองมาจาก • ค่าใชจ้ ่ายอยู่ภายในวงเงนิ งบประมาณทไ่ี ดร้ บั (รอ้ ยละ)
พระราชดำริ (คน)
2. การสนบั สนุนโครงการพัฒนาอนั • จำนวนแหลง่ นำ้ ที่ • ระยะเวลาการดำเนินงานแล้วเสร็จตามแผนงานท่ีกำหนดไว้ (ร้อย
เน่อื งมาจากพระราชดำริ สนบั สนุนโครงการอนั ละ)
เนือ่ งมาจากพระราชดำริ
โครงการท่ี 2 : โครงการ 1. ส่งเสริมการใช้ยางในหน่วยงาน (แห่ง) • ค่าใชจ้ ่ายอยูภ่ ายในวงเงนิ งบประมาณทไ่ี ดร้ บั (ร้อยละ)
สง่ เสริมการใชย้ างใน ภาครัฐ • ปริมาณการใช้ยางขน้ (ตน้ ) • จำนวนพืน้ ที่ชลประทานเพิ่มขึ้น (ไร)่
หนว่ ยงานภาครัฐ • ระยะเวลาดำเนนิ งานแล้วเสร็จตามแผนงานทก่ี ำหนดไว้ (ร้อยละ)
โครงการท่ี 1 : โครงการ 1. บริหารจัดการน้ำลมุ่ น้ำหลักอย่าง • จำนวนแหลง่ นำ้ ได้รบั การ • ค่าใช้จ่ายอยภู่ ายในวงเงนิ งบประมาณที่ไดร้ บั (ร้อยละ)
เป็นระบบภาคเหนอื พฒั นา (แห่ง)
บริหารจดั การ • จำนวนพ้นื ทช่ี ลประทานเพ่มิ ขึ้น (ไร)่
ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ 1. บรหิ ารจัดการน้ำภาคใต้ • จำนวนแหลง่ นำ้ ทไ่ี ดร้ ับการ • จำนวนพื้นทร่ี ับประโยชนเ์ พมิ่ ขนึ้ (ไร่)
สง่ิ แวดลอ้ มภาคเหนอื พฒั นา (แหง่ ) • ระยะเวลาดำเนนิ งานแลว้ เสรจ็ ตามแผนงานที่กำหนดไว้ (ร้อยละ)
โครงการที่ 2 : โครงการ 1. บรหิ ารจดั การน้ำอย่างบรู ณาการให้ • คา่ ใช้จา่ ยอยภู่ ายในวงเงนิ งบประมาณทไ่ี ด้รบั (ร้อยละ)
ปอ้ งกันและแกไ้ ขปญั หา สอดคล้องกบั ศักยภาพพนื้ ทภ่ี าค • จำนวนแหลง่ นำ้ ได้รบั การ
ความเสื่อมโทรมของ ตะวันออก พัฒนา (แห่ง) • จำนวนพืน้ ทช่ี ลประทานเพ่ิมขน้ึ (ไร)่
ทรัพยากรธรรมชาติและ • ระยะเวลาดำเนนิ งานแลว้ เสรจ็ ตามแผนงานที่กำหนดไว้ (รอ้ ยละ)
1. จัดหาแหลง่ น้ำและเพม่ิ พน้ื ท่ี • จำนวนแหลง่ นำ้ ไดร้ บั การ • ค่าใช้จา่ ยอยู่ภายในวงเงนิ งบประมาณทีไ่ ด้รับ (ร้อยละ)
สงิ่ แวดลอ้ ม ชลประทานภาคใต้ชายแดน พฒั นา (แห่ง)
โครงการท่ี 3 : โครงการ • จำนวนพ้ืนท่ีชลประทานเพ่มิ ข้ึน (ไร่)
2. ป้องกนั และบรรเทาอุทกภยั พ้ืนท่ี • จำนวนแหลง่ น้ำไดร้ บั การ • ระยะเวลาดำเนนิ งานแลว้ เสรจ็ ตามแผนงานทีก่ ำหนดไว้ (รอ้ ยละ)
แก้ไขปัญหา เกษตรกรรมและพื้นทเ่ี ขตเศรษฐกิจ พัฒนา (แหง่ ) • ค่าใช้จา่ ยอยู่ภายในวงเงนิ งบประมาณท่ไี ดร้ บั (รอ้ ยละ)
ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ ภาคใต้ชายแดน
สง่ิ แวดลอ้ มภาคตะวันออก • จำนวนแหลง่ นำ้ ไดร้ บั การ • จำนวนพน้ื ทชี่ ลประทานเพิ่มขึ้น (ไร)่
โครงการท่ี 4 : โครงการ 1. จัดหาแหล่งนำ้ และเพ่ิมพน้ื ที่ พัฒนา (แห่ง) • ระยะเวลาดำเนนิ งานแล้วเสร็จตามแผนงานทก่ี ำหนดไว้ (ร้อยละ)
พฒั นาศกั ยภาพการผลติ ชลประทานภาค • คา่ ใช้จ่ายอยภู่ ายในวงเงินงบประมาณทไ่ี ดร้ บั (รอ้ ยละ)
ตะวันออกเฉียงเหนอื • รอ้ ยละของผลการ
ภาคเกษตร ดำเนนิ งานโครงการ (รอ้ ย • จำนวนพน้ื ที่ชลประทานเพิ่มข้นึ (ไร)่
2. ป้องกนั และบรรเทาอทุ กภยั พ้นื ที่ ละ) • ระยะเวลาดำเนนิ งานแลว้ เสร็จตามแผนงานทก่ี ำหนดไว้ (รอ้ ยละ)
โครงการท่ี 5 : โครงการเพิม่ เกษตรกรรมและพ้นื ทเ่ี ขตเศรษฐกิจ • ค่าใช้จ่ายอยภู่ ายในวงเงนิ งบประมาณที่ได้รบั (ร้อยละ)
ประสิทธิภาพการบรหิ าร ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ • รอ้ ยละของผลการ • จำนวนปริมาณนำ้ ต้นทุนทเ่ี พม่ิ ให้อ่างเก็บน้ำ (ลา้ น ลบ.ม. ตอ่ ป)ี
จดั การน้ำเพอ่ื การพฒั นาที่ ดำเนนิ งานโครงการ (ร้อย • จำนวนพื้นท่ีรับประโยชน์เพม่ิ ขึน้ (ไร่)
1. พัฒนาและเพิ่มประสิทธภิ าพการ ละ) • ระยะเวลาดำเนนิ งานแล้วเสร็จตามแผนงานที่กำหนดไว้ (ร้อยละ)
ยัง่ ยืน บริหารจัดการน้ำภาคกลาง • คา่ ใช้จ่ายอยู่ภายในวงเงินงบประมาณทีไ่ ด้รับ (รอ้ ยละ)
• รอ้ ยละของผลการ • จำนวนพืน้ ทช่ี ลประทานเพม่ิ ขน้ึ (ไร)่
โครงการที่ 6 : โครงการ ดำเนินงานโครงการ (รอ้ ย • ระยะเวลาดำเนนิ งานแล้วเสร็จตามแผนงานที่กำหนดไว้ (ร้อยละ)
บรหิ ารจัดการทรัพยากรน้ำ ละ) • ค่าใชจ้ า่ ยอยภู่ ายในวงเงินงบประมาณทไ่ี ดร้ บั (ร้อยละ)
• จำนวนพน้ื ทช่ี ลประทานเพิ่มข้นึ (ไร)่
โครงการที่ 1 : โครงการ 1. กอ่ สร้างโครงการเพิ่มปรมิ าณนำ้ ใน • จำนวนพื้นทร่ี บั ประโยชนเ์ พมิ่ ขนึ้ (ไร่)
เพ่มิ ประมาณนำ้ ในอา่ งเก็บ อ่างเก็บน้ำเข่ือนแมก่ วงอดุ มธารา • ระยะเวลาดำเนนิ งานแลว้ เสร็จตามแผนงานที่กำหนดไว้ (รอ้ ยละ)
นำ้ เขอ่ื นแมก่ วงอดุ มธารา จงั หวดั เชยี งใหม่ • คา่ ใชจ้ า่ ยอยู่ภายในวงเงินงบประมาณทไี่ ด้รับ (ร้อยละ)

จงั หวัดเชยี งใหม่ 1. กอ่ สรา้ งโครงการพัฒนาลมุ่ น้ำตาปี –
พมุ ดวง จังหวัดสรุ าษฎร์ธานี
โครงการที่ 2 : โครงการ
พัฒนาลุ่มนำ้ ตาปี – พุมดวง 1. กอ่ สรา้ งโครงการเขอ่ื นทดนำ้ ผาจกุ
จงั หวดั อตุ รดติ ถ์
จังหวัดสุราษฎรธ์ านี

โครงการที่ 3 : โครงการ
เขือ่ นทดนำ้ ผาจกุ จงั หวดั

อุตรดติ ถ์

62 โครงการพฒั นาระบบการตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผลการพัฒนาพื้นทตี่ ามแนวทางความคมุ้ คา่ ของการจดั การงบประมาณ
มูลนธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

ผลผลิต/โครงการ กจิ กรรม ตวั ชวี้ ัดเชิงปรมิ าณ ตวั ชวี้ ัดเชิงคุณภาพ
โครงการที่ 4 : โครงการอา่ ง 1. ก่อสรา้ งโครงการอา่ งเกบ็ น้ำคลอง • รอ้ ยละของผลการ • จำนวนพนื้ ที่ชลประทานเพิ่มข้ึน (ไร)่
เก็บนำ้ คลองหลวง จงั หวัด • จำนวนปรมิ าณเกบ็ กักที่เพมิ่ ขน้ึ (ล้าน ลบ.ม.)
หลวง จงั หวดั ชลบรุ ี ดำเนินงานโครงการ (รอ้ ย • ระยะเวลาดำเนนิ งานแล้วเสร็จตามแผนงานทก่ี ำหนดไว้ (รอ้ ยละ)
ชลบรุ ี ละ) • ค่าใชจ้ า่ ยอยภู่ ายในวงเงนิ งบประมาณที่ได้รับ (ร้อยละ)
1. กอ่ สรา้ งโครงการหว้ ยโสมอัน • จำนวนพ้ืนที่ชลประทานเพิ่มขน้ึ (ไร)่
โครงการที่ 5 : โครงการห้วย เน่อื งมาจากพระราชดำริ จังหวัด • ร้อยละของผลการ • จำนวนปรมิ าณเกบ็ กักท่ีเพม่ิ ข้นึ (ลา้ น ลบ.ม.)
โสมอันเนือ่ งมาจาก ปราจีนบรุ ี ดำเนนิ งานโครงการ (ร้อย • ระยะเวลาดำเนนิ งานแลว้ เสรจ็ ตามแผนงานทก่ี ำหนดไว้ (รอ้ ยละ)
พระราชดำริ จังหวัด ละ) • ค่าใช้จา่ ยอย่ภู ายในวงเงินงบประมาณท่ีได้รับ (รอ้ ยละ)
ปราจนี บรุ ี 1. กอ่ สรา้ งอา่ งเก็บนำ้ หว้ ยน้ำรอี นั • จำนวนปรมิ าณเกบ็ กักทเ่ี พมิ่ ขน้ึ (ล้าน ลบ.ม.)
เน่อื งมาจากพระราชดำริ จังหวัด • รอ้ ยละของผลการ • จำนวนพน้ื ทช่ี ลประทานเพ่ิมขึ้น (ไร)่
โครงการท่ี 6 : โครงการอา่ ง อุตรดิตถ์ ดำเนินงานโครงการ (รอ้ ย • ระยะเวลาดำเนนิ งานแลว้ เสร็จตามแผนงานทก่ี ำหนดไว้ (ร้อยละ)
เก็บนำ้ หว้ ยน้ำรีอัน ละ) • คา่ ใช้จ่ายอยู่ภายในวงเงินงบประมาณท่ไี ด้รับ (รอ้ ยละ)
1. กอ่ สรา้ งโครงการบรรเทาอทุ กภยั • จำนวนพ้ืนท่ีไดร้ บั การป้องกันและลดผลกระทบ (ไร)่
เนือ่ งมาจากพระราชดำริ อำเภอหาดใหญ่ (ระยะท่ี 2) จงั หวัด • รอ้ ยละของผลการ • ระยะเวลาดำเนนิ งานแล้วเสร็จตามแผนงานทก่ี ำหนดไว้ (ร้อยละ)
จังหวดั อตุ รดติ ถ์ สงขลา ดำเนินงานโครงการ (ร้อย • คา่ ใช้จ่ายอยภู่ ายในวงเงนิ งบประมาณทีไ่ ด้รบั (ร้อยละ)
ละ)
โครงการที่ 7 : โครงการ 1. ก่อสรา้ งโครงการบรรเทาอทุ กภัย • จำนวนพนื้ ทไ่ี ด้รบั การปอ้ งกันและลดผลกระทบ (ไร)่
บรรเทาอทุ กภัยอำเภอ เมอื งนครศรธี รรมราช จงั หวัด • รอ้ ยละของผลการ • ระยะเวลาดำเนนิ งานแลว้ เสร็จตามแผนงานทก่ี ำหนดไว้ (ร้อยละ)
หาดใหญ่ (ระยะท่ี 2) จังหวัด นครศรธี รรมราช ดำเนินงานโครงการ (ร้อย • คา่ ใช้จ่ายอยภู่ ายในวงเงินงบประมาณทไ่ี ดร้ ับ (ร้อยละ)
ละ)
สงขลา 1. การปรับปรงุ งานชลประทาน • ระยะเวลาดำเนนิ งานแลว้ เสรจ็ ตามแผนงานทีก่ ำหนดไว้ (ร้อยละ)
โครงการท่ี 8 : โครงการ • จำนวนรายการปรบั ปรงุ • ค่าใช้จ่ายอยภู่ ายในวงเงินงบประมาณทไี่ ด้รับ (รอ้ ยละ)
บรรเทาอทุ กภยั เมือง 1. ก่อสรา้ งแหลง่ นำ้ และระบบส่งน้ำ ชลประทาน (รายการ)
เพือ่ ชุมชน/ชนบท • ระยะเวลาดำเนนิ งานแล้วเสรจ็ ตามแผนงานท่ีกำหนดไว้ (ร้อย
นครศรีธรรมราชอนั • จำนวนพ้นื ท่ชี ลประทานที่ ละ)
เนอ่ื งมาจากพระราชดำริ 2. กอ่ สรา้ งและพัฒนาแหล่งนำ้ ใน ไดร้ บั การปรบั ปรุง (ไร)่
จังหวัดนครศรีธรรมราช พ้ืนท่ีรับนำ้ • คา่ ใชจ้ า่ ยอย่ภู ายในวงเงินงบประมาณทไ่ี ด้รบั (รอ้ ยละ)
โครงการที่ 9 : โครงการ • จำนวนแหล่งน้ำชุมชน/
ปรบั ปรุงงานชลประทาน 3. การจัดการงานกอ่ สร้างโครงการ ชนบทเพม่ิ ข้ึน (แห่ง) • ระยะเวลาดำเนนิ งานแลว้ เสร็จตามแผนงานทกี่ ำหนดไว้ (รอ้ ยละ)
เพ่อื เพมิ่ พ้ืนท่ชี ลประทาน • ค่าใช้จ่ายอยู่ภายในวงเงินงบประมาณทไ่ี ด้รบั (ร้อยละ)
โครงการที่ 10 : โครงการ • จำนวนปรมิ าณเก็บกักท่ี
จดั หาแหล่งน้ำเพม่ิ พนื้ ที่ 1. ปอ้ งกนั และบรรเทาอทุ กภัยพ้ืนท่ี เพิ่มขนึ้ (ล้าน ลบ.ม.) • ระยะเวลาดำเนนิ งานแลว้ เสร็จตามแผนงานท่ีกำหนดไว้ (ร้อยละ)
เกษตรกรรมและพ้นื ทเี่ ขตเศรษฐกิจ • คา่ ใช้จา่ ยอยู่ภายในวงเงินงบประมาณท่ีได้รับ (ร้อยละ)
ชลประทาน • จำนวนพืน้ ที่ชลประทาน
1. การจัดการคุณภาพน้ำ เพม่ิ ข้นึ (ไร่) • จำนวนปริมาณเกบ็ กักทเี่ พ่มิ ข้ึน (ล้าน ลบ.ม.)
โครงการท่ี 11 : โครงการ • จำนวนพน้ื ทีช่ ลประทานเพม่ิ ข้นึ (ไร่)
ปอ้ งกันและบรรเทาภัยจาก 1. ก่อสรา้ งโครงการอา่ งเกบ็ น้ำนำ้ ป้ี • จำนวนรายการงานปอ้ งกัน • ระยะเวลาดำเนนิ งานแลว้ เสรจ็ ตามแผนงานที่กำหนดไว้ (รอ้ ยละ)
อันเนอื่ งมาจากพระราชดำริ และบรรเทาสาธารณภยั จาก • ค่าใชจ้ า่ ยอยภู่ ายในวงเงินงบประมาณท่ไี ดร้ บั (รอ้ ยละ)
นำ้ จังหวัดพะเยา นำ้ (รายการ) • จำนวนปรมิ าณเกบ็ กกั ทีเ่ พม่ิ ข้ึน (ล้าน ลบ.ม.)
• จำนวนพนื้ ที่ชลประทานเพ่ิมขึน้ (ไร)่
โครงการที่ 12 : โครงการ 1. ก่อสรา้ งโครงการประตรู ะบายน้ำศรี • จำนวนพ้นื ทไี่ ดร้ บั ประโยชน์ • ระยะเวลาดำเนนิ งานแล้วเสรจ็ ตามแผนงานที่กำหนดไว้ (รอ้ ยละ)
จดั การคณุ ภาพนำ้ สองรักอันเนอ่ื งมาจากพระราชดำริ (ลา้ นไร)่ • คา่ ใช้จ่ายอยูภ่ ายในวงเงนิ งบประมาณทีไ่ ดร้ ับ (รอ้ ยละ)
อำเภอเชยี งคาน จังหวดั เลย
โครงการที่ 13 : โครงการ • จำนวนรายการงานจดั การ
อ่างเกบ็ น้ำนำ้ ปอ้ี นั คณุ ภาพนำ้ (รายการ)

เน่ืองมาจากพระราชดำริ • จำนวนพื้นท่ไี ดร้ บั ประโยชน์
จงั หวัดพะเยา (ลา้ นไร)่

โครงการท่ี 14 : โครงการ • รอ้ ยละของผลการ
ประตรู ะบายนำ้ ศรสี องรกั อนั ดำเนนิ งานโครงการ (รอ้ ย
ละ)
เนอ่ื งมาจากพระราชดำริ
อำเภอเชยี งคาน จังหวดั เลย • ร้อยละของผลการ
ดำเนินงานโครงการ (ร้อย
ละ)

โครงการพฒั นาระบบการตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผลการพัฒนาพื้นทต่ี ามแนวทางความคุ้มค่าของการจดั การงบประมาณ 63
มูลนิธปิ ดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

ผลผลติ /โครงการ กิจกรรม ตัวชวี้ ัดเชงิ ปรมิ าณ ตวั ช้ีวดั เชิงคณุ ภาพ

โครงการที่ 15 : โครงการ 1. ก่อสร้างโครงการพฒั นาลมุ่ นำ้ หว้ ย • ร้อยละของผลการ • จำนวนปรมิ าณเกบ็ กกั ทเ่ี พม่ิ ข้ึน (ลา้ น ลบ.ม.)
พฒั นาลมุ่ น้ำหว้ ยหลวง หลวงตอนล่าง จงั หวัดหนองคาย ดำเนินงานโครงการ (รอ้ ย • จำนวนพื้นท่ชี ลประทานเพม่ิ ขึน้ (ไร)่
ตอนลา่ ง จังหวดั หนองคาย ละ) • ระยะเวลาดำเนนิ งานแลว้ เสร็จตามแผนงานทก่ี ำหนดไว้ (รอ้ ยละ)
• ค่าใชจ้ ่ายอยภู่ ายในวงเงนิ งบประมาณท่ไี ด้รบั (รอ้ ยละ)
โครงการท่ี 16 : โครงการ 1. กอ่ สรา้ งโครงการคลองระบายน้ำ • จำนวนพื้นทร่ี ับประโยชน์
หลาก บางบาล-บาลไทร เพ่ิมข้ึน (ไร)่ • รอ้ ยละของผลการดำเนนิ งานโครงการ (ร้อยละ)
คลองระบายนำ้ หลาก บาง • จำนวนปรมิ าณเกบ็ กักที่เพม่ิ ข้ึน (ลา้ น ลบ.ม.)
บาล-บาลไทร • ระยะเวลาดำเนนิ งานแล้วเสรจ็ ตามแผนงานทก่ี ำหนดไว้ (รอ้ ยละ)
• คา่ ใช้จ่ายอยู่ภายในวงเงินงบประมาณท่ีไดร้ บั (รอ้ ยละ)
โครงการที่ 17 : โครงการ 1. ก่อสร้างโครงการอา่ งเก็บน้ำลำสะพงุ • จำนวนพ้ืนทชี่ ลประทาน
อา่ งเก็บน้ำลำสะพุง อัน อนั เน่อื งมาจากพระราชดำริ จังหวัด เพ่ิมขนึ้ (ไร)่ • ร้อยละของผลการดำเนนิ งานโครงการ (ร้อยละ)
เนือ่ งมาจากพระราชดำริ ชยั ภมู ิ • จำนวนปรมิ าณเกบ็ กักทเ่ี พม่ิ ข้นึ (ลา้ น ลบ.ม.)
• รอ้ ยละของผลการ • ระยะเวลาดำเนนิ งานแล้วเสรจ็ ตามแผนงานท่ีกำหนดไว้ (รอ้ ยละ)
จงั หวดั ชยั ภูมิ 1. กอ่ สร้างโครงการอ่างเก็บนำ้ ลำนำ้ ชี ดำเนินงานโครงการ (รอ้ ย • คา่ ใชจ้ ่ายอยภู่ ายในวงเงินงบประมาณทไ่ี ดร้ ับ (รอ้ ยละ)
อนั เนอื่ งมาจากพระราชดำริ จงั หวัด ละ)
โครงการที่ 18 : โครงการ ชัยภมู ิ • จำนวนปรมิ าณเกบ็ กกั ท่ีเพม่ิ ขน้ึ (ลา้ น ลบ.ม.)
อ่างเก็บน้ำลำน้ำชี อัน • รอ้ ยละของผลการ • จำนวนพน้ื ทีช่ ลประทานเพิ่มขึน้ (ไร)่
เนอื่ งมาจากพระราชดำริ 1. ก่อสรา้ งโครงการบรรเทาจงั หวัด ดำเนนิ งานโครงการ (ร้อย • ระยะเวลาดำเนนิ งานแลว้ เสร็จตามแผนงานท่ีกำหนดไว้ (ร้อยละ)
อุทกภยั เมอื งชยั ภมู ิ จงั หวดั ชยั ภมู ิ ละ) • ค่าใชจ้ า่ ยอยู่ภายในวงเงินงบประมาณท่ไี ดร้ ับ (ร้อยละ)
จังหวัดชยั ภมู ิ (ระยะท่ี 1)
• รอ้ ยละของผลการ • จำนวนพ้นื ท่ีไดร้ ับการปอ้ งกันและลดผลกระทบ (ไร)่
โครงการที่ 19 : โครงการ 1. ก่อสรา้ งโครงการวังหบี อนั ดำเนนิ งานโครงการ (รอ้ ย • ระยะเวลาดำเนนิ งานแลว้ เสรจ็ (รอ้ ยละ)
บรรเทาจงั หวัดอุทกภยั เมือง เน่ืองมาจากพระราชดำริ จังหวัด ละ) • ค่าใชจ้ า่ ยอยู่ภายในวงเงนิ งบประมาณทีไ่ ด้รับ (รอ้ ยละ)
นครศรีธรรมราช
ชยั ภูมิ จังหวดั ชัยภมู ิ • จำนวนปรมิ าณเกบ็ กักที่เพมิ่ ขึน้ (ลา้ น ลบ.ม.)
• ระยะเวลาดำเนนิ งานแล้วเสร็จตามแผนงานทก่ี ำหนดไว้ (รอ้ ยละ)
โครงการที่ 20 : โครงการวงั • คา่ ใชจ้ ่ายอยภู่ ายในวงเงินงบประมาณทไ่ี ดร้ บั (รอ้ ยละ)
หบี อนั เน่อื งมาจาก
พระราชดำริ จังหวดั
นครศรธี รรมราช

ตารางที่ 3.11 เปา้ หมายและตัวชีว้ ัดของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2562

เป้าหมายการให้บรกิ าร ตัวชี้วัดเชิงปรมิ าณ ตัวชีว้ ัดเชงิ คุณภาพ

1. สหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกรท่ไี ด้รับการส่งเสรมิ ผา่ น • จำนวนสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรไดร้ บั การส่งเสริมผ่าน • สหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรมฐี านข้อมลู ระบบ online เพอ่ื
ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศที่มปี ระสทิ ธิภาพ ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศทีม่ ปี ระสทิ ธภิ าพ (แหง่ ) นำไปใชใ้ นการสนับสนุนการดำเนนิ นโยบายของรฐั (ร้อยละ)

2. สมาชิกสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรไดร้ ับการ • จำนวนสมาชกิ สหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรไดร้ บั การ • ต้นทนุ การผลิตของสมาชิกสหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกรทีไ่ ด้รับ
ช่วยเหลือดา้ นหนี้สนิ ช่วยเหลือด้านหนส้ี นิ (ราย) ความชว่ ยเหลอื ดา้ นหนีส้ นิ ลดลง (ร้อยละ)

3. สหกรณไ์ ดร้ ับการสนบั สนนุ ในการพัฒนาระบบ • จำนวนพนื้ ท่ขี องสมาชกิ สหกรณไ์ ดร้ บั การพัฒนาไปสู่ • สมาชกิ สหกรณ/์ กลุม่ เกษตรกรที่เขา้ ร่วมโครงการมรี ายได้
เกษตรกรรมย่ังยนื แก่สมาชกิ ระบบเกษตรกรรมยัง่ ยนื (ไร)่ เพม่ิ ข้ึนเฉลย่ี (รอ้ ยละ)

4. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรไดร้ บั การพัฒนา • จำนวนสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกรไดร้ บั การสง่ เสรมิ ให้ • N/A
ศกั ยภาพให้สามารถบริหารจดั การสนิ คา้ เกษตร เกิดการรวมกลมุ่ เปน็ เครือข่าย (แห่ง)
• N/A
ได้ครบวงจรตลอดหว่ งโซก่ ารผลติ • จำนวนสมาชกิ สหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกรในพนื้ ที่จงั หวดั
5. สมาชิกสถาบนั เกษตรกรในพน้ื ท่ีจงั หวัดชายแดน ชายแดนภาคใตไ้ ดร้ บั การส่งเสรมิ และพัฒนาอาชีพ • เครอื ขา่ ยสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกรมกี ิจกรรมเช่อื มโยง
(ราย) รว่ มกนั อยา่ งนอ้ ย 1 กิจกรรม ไมต่ ำ่ กวา่ (ร้อยละ)
ภาคใตไ้ ด้รบั การพฒั นาศักยภาพ
• จำนวนศนู ยเ์ รยี นร้เู พิ่มประสทิ ธภิ าพการผลติ สนิ ค้า • อัตราการขยายตวั ปริมาณธรุ กิจของสหกรณ์และกลมุ่
6. สหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกรได้รับการเสรมิ สรา้ ง เกษตร (ศนู ย์) เกษตรกรในงาน/โครงการท่ีเข้ารว่ มขบั เคลื่อนงานนโยบาย
ความเขม้ แขง็ พัฒนาสมู่ าตรฐานและยกระดบั รัฐบาลเพมิ่ ข้ึนไมต่ ่ำกวา่ (ร้อยละ)
• จำนวนสมาชกิ สหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรไดร้ บั การพฒั นา
รายไดแ้ ก่สมาชกิ ใหเ้ ป็นสมาชกิ ปราดเปรื่อง (Smart Farmer) (ราย) • ปรมิ าณธรุ กจิ ของสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกรเพมิ่ ขนึ้ ไมน่ ้อย
กว่า (รอ้ ยละ)
7. ระบบสหกรณไ์ ดร้ บั การสง่ เสรมิ และพัฒนาให้ • จำนวนสหกรณ์/กล่มุ เกษตรกรไดร้ บั การสง่ เสริมและ
เปน็ กลไกการพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมในระดับ พฒั นา (แหง่ ) • สนิ ค้าเกษตรแปลงใหญม่ ีตลาดรองรบั ไมน่ อ้ ยกว่า (รอ้ ยละ)

ชุมชน • จำนวนสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกรไดร้ บั การพฒั นา
8. สหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกรได้รับการพฒั นา ศกั ยภาพการผลิต การตลาดและการบรหิ ารจดั การ
ศกั ยภาพการผลติ และการตลาดเพอ่ื สนับสนนุ สนิ ค้าเกษตร (แห่ง)
การลดต้นทนุ การผลิตแก่สมาชกิ เกษตรกร

64 โครงการพัฒนาระบบการตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผลการพัฒนาพืน้ ทีต่ ามแนวทางความคมุ้ คา่ ของการจดั การงบประมาณ
มลู นิธปิ ดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

เปา้ หมายการใหบ้ รกิ าร ตัวชว้ี ดั เชงิ ปรมิ าณ ตัวชว้ี ดั เชงิ คณุ ภาพ
• สมาชกิ สหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกรมรี ายไดเ้ ฉลี่ยเพ่มิ ขึ้นรอ้ ยละ
9. สหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกรในพื้นทโี่ ครงการมี • จำนวนสมาชิกสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกรไดร้ ับ
ศกั ยภาพในการใหบ้ รกิ ารสมาชกิ ประโยชนจ์ ากการให้บริการทางด้านการผลติ และ 5 (รอ้ ยละ)
การตลาดสินค้าเกษตร (ราย)
10. เกษตรกรได้รบั การจดั สรรที่ดนิ ทำกินและ • สหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกรในพ้ืนที่โครงการหลวงและ
พฒั นาอาชพี • จำนวนแปลงของสมาชกิ สหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกรได้รบั โครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดำรมิ ปี รมิ าณธรุ กิจ
การสง่ เสรมิ การผลิตในระบบเกษตรแบบแปลงใหญ่ เพ่ิมข้ึนไมต่ ำ่ กวา่ (ร้อยละ)
เพ่อื ลดตน้ ทนุ การผลิต (แปลง)
• มีการจดั ต้งั กลมุ่ เตรยี มสหกรณใ์ นพื้นท่ีโครงการไม่น้อยกว่า
• จำนวนสหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกรในพ้ืนทโ่ี ครงการ (รอ้ ยละ)
หลวงและโครงการอันเนอ่ื งมาจากพระราชดำรไิ ด้รบั
การพัฒนา (แห่ง)

• จำนวนเกษตรกรในพนื้ ท่ตี ามโครงการจดั ท่ดี ินทำกนิ ให้
ชุมชนตามนโยบายรัฐบาลได้รับการส่งเสรมิ และ
สนบั สนนุ การรวมกลมุ่ และจัดตัง้ สถาบนั เกษตรกร
(ราย)

ตารางที่ 3.12 กจิ กรรมและตัวชวี้ ัดของกรมสง่ เสรมิ สหกรณ์ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2562

ผลผลติ /โครงการ กจิ กรรม ตวั ชวี้ ัดเชิงปรมิ าณ ตวั ชีว้ ดั เชิงคณุ ภาพ

ผลผลิตท่ี 1 : สหกรณแ์ ละ 1. การจัดงานแสดงสนิ ค้าสหกรณ์ • จำนวนสมาชิกสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกรเพม่ิ ขนึ้ (ราย) • อตั ราสว่ นเงินออมตอ่ หนี้สนิ ของสมาชกิ
กลุ่มเกษตรกรได้รับการ 2. การพัฒนาเทคโนโลยสี ารสนเทศ • จำนวนสหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกรได้รบั การพฒั นา ในสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกรมสี ดั สว่ นท่ี
เพ่มิ ขึ้น (ร้อยละ)
สง่ เสรมิ และพฒั นาใหเ้ ป็น และการส่อื สาร ศักยภาพการผลิต การตลาดและการบริหาร
กลไกการพฒั นาเศรษฐกจิ 3. ส่งเสรมิ และพฒั นาสหกรณ์และ จดั การ (แห่ง) • อัตราการขยายตัวปรมิ าณธรุ กิจของ
• จำนวนสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกรทมี่ สี ว่ นร่วม สหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรในงาน/โครงการที่
และสังคมในระดับชมุ ชน กลมุ่ เกษตรกร ขบั เคลอ่ื นนโยบายรัฐบาล (แหง่ ) เข้าร่วมขบั เคลื่อนงานนโยบายรฐั บาล ไม่
ตำ่ กวา่ (รอ้ ยละ)
โครงการท่ี 1 : โครงการ 1. พกั ชำระหนีเ้ งนิ ต้นและลด • จำนวนสมาชิกสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกรทป่ี ระกอบ
ช่วยเหลือด้านหน้ีสนิ สมาชกิ ดอกเบ้ียใหส้ มาชิกกลมุ่ เกษตรกร อาชพี ทำนา ไดร้ บั การชว่ ยเหลอื ดา้ นหน้สี นิ (ราย) • ตน้ ทนุ การผลิตมนั สำปะหลังของสมาชิก
ที่ปลกู มันสำปะหลงั ปกี ารผลิต สหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกรตามแนวทางการ
สหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร • จำนวนสมาชิกสหกรณ์ทปี่ ระสบอุทกภัยปี 2559- บรหิ ารจัดการมนั สำปะหลงั ปีการผลิต
2560-2561 2560 ไดร้ ับความช่วยเหลือเงินอุดหนนุ เพอ่ื ชดเชย 2560-61 ลดลง (ร้อยละ)
ดอกเบี้ย (ราย)
โครงการที่ 2 : โครงการ 1. พฒั นาสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกรใน • สหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกรในพน้ื ท่ี
พัฒนาพ้ืนทโี่ ครงการหลวง พืน้ ที่โครงการหลวง • จำนวนสมาชิกสหกรณ/์ กลุม่ เกษตรกรทป่ี ระกอบ โครงการหลวง มปี รมิ าณธรุ กจิ เพม่ิ ขึน้ ไม่
อาชพี ปลูกมันสำปะหลงั ได้รบั การชว่ ยเหลอื ดา้ น ตำ่ กว่า (รอ้ ยละ)
โครงการที่ 3 : โครงการ 1. สง่ เสริมและพฒั นาอาชีพภายใต้ หนสี้ นิ (ราย)
• มกี ารจดั ต้ังกลมุ่ เตรยี มสหกรณไ์ มน่ ้อยกวา่
ส่งเสรมิ และพฒั นาอาชีพเพ่ือ โครงการจัดที่ดนิ ตามนโยบาย • จำนวนสถาบันเกษตรกรในพนื้ ทโี่ ครงการหลวงได้รบั (ร้อยละ)
แก้ไขปญั หาท่ดี นิ ทำกนิ ของ รฐั บาล การสง่ เสรมิ และพฒั นา (แหง่ )
• สหกรณ์/กลุม่ เกษตรกรในพ้ืนท่ีโครงการ
เกษตรกร • จำนวนเกษตรกรได้รบั การส่งเสรมิ และสนับสนนุ การ สง่ เสรมิ การดำเนนิ งานอนั เนอ่ื งมาจาก
รวมกลุ่มและจดั ตัง้ สถาบนั เกษตรกร (ราย) พระราชดำรมิ ปี ริมาณธรุ กิจเพ่ิมขึน้ ไมต่ ่ำ
โครงการที่ 4 : โครงการ 1. พัฒนาสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรใน กวา่ (ร้อยละ)
• ส่งเสรมิ ให้มีการรวมกลมุ่ ในรปู แบบสหกรณ์ในพน้ื ที่
ส่งเสรมิ การดำเนนิ งานอัน พ้นื ท่ีโครงการอนั เนอ่ื งมาจาก โครงการจัดทด่ี ินทำกนิ ใหช้ มุ ชนตามนโยบายรฐั • เกษตรกรสมาชกิ กลมุ่ เปา้ หมายได้รับการ
เน่ืองมาจากพระราชดำริ พระราชดำริ (ราย) ยกระดบั เปน็ Smart Farmer ไมน่ ้อยกวา่
(ราย)
โครงการท่ี 1 : โครงการ 1. พฒั นาสมาชกิ สหกรณเ์ ปน็ สมาชกิ • สหกรณใ์ นพน้ื ทีโ่ ครงการจดั ที่ดินทำกินใหช้ มุ ชนตาม
พัฒนาเกษตรกรปราดเปร่ือง ปราดเปร่อื ง (Smart Farmer) นโยบายรฐั ได้รบั การสนับสนุนโครงสรา้ งพน้ื ฐาน
(แหง่ )
(Smart Farmer)
• จำนวนสถาบนั เกษตรกร/โรงเรียน/กล่มุ ชาวบา้ น
ในพน้ื ที่โครงการพระราชดำริไดร้ ับการส่งเสรมิ
และพฒั นาดา้ นการสหกรณ์ (แหง่ )

• จำนวนสมาชกิ สหกรณท์ ีเ่ ข้าร่วมโครงการ มรี ายได้
ไม่ตำ่ กว่า 180,000 บาท/ครัวเรือน/ปี (ราย)

โครงการพฒั นาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพ้ืนทต่ี ามแนวทางความคุ้มค่าของการจัดการงบประมาณ 65
มลู นธิ ปิ ิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

ผลผลิต/โครงการ กจิ กรรม ตวั ชีว้ ัดเชิงปรมิ าณ ตัวช้ีวัดเชงิ คณุ ภาพ
• การใหบ้ ริการเครอื่ งจกั รกลทางการเกษตร
โครงการท่ี 2 : โครงการ 1. ส่งเสริมการใชเ้ ครอื่ งจักรกล • จำนวนสหกรณไ์ ด้รับการสง่ เสรมิ การบริหารจัดการ
สง่ เสริมการใชเ้ ครื่องจักรกล การเกษตร ดา้ นเคร่อื งจักรกลการเกษตรเพือ่ บรกิ ารสมาชกิ สามารถลดต้นทนุ การผลติ ของสมาชกิ
(แห่ง) (ร้อยละ)
ทางการเกษตร
• เกษตรกรสมาชิกสหกรณ์ได้รบั ประโยชนจ์ ากการ • สมาชกิ สหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกรมีชอ่ งทาง
โครงการที่ 3 : โครงการ 1. สนับสนุนการพฒั นาตลาดสินค้า ใหบ้ รกิ ารด้านเครอื่ งจักรกลทางการเกษตร (ราย) การจำหนา่ ยสนิ ค้าไมน่ อ้ ยกว่า (รอ้ ยละ)
พัฒนาตลาดสนิ คา้ เกษตร เกษตรในสหกรณ์/กลุม่ เกษตรกร
• สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรเปน็ ชอ่ งทางจำหน่ายสนิ คา้ • สนิ ค้าเกษตรจากพ้นื ทแี่ กษตรแปลงใหญ่มี
โครงการที่ 4 : โครงการ 1. สนบั สนนุ การดำเนินการบรหิ าร เกษตรของสมาชกิ (แหง่ ) ตลาดรองรบั ไม่นอ้ ยกวา่ (ร้อยละ)
ระบบสง่ เสรมิ การเกษตร จัดการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ใน
รปู แบบสหกรณ์ • จำนวนเกษตรกรนำสนิ คา้ มาจำหน่ายในตลาด (ราย) • สมาชกิ มีต้นทนุ การผลติ ลดลงจากการใช้
แบบแปลงใหญ่ • จำนวนแปลงเกษตรแปลงใหญม่ ีการบริหารจดั การ เมล็ดพนั ธ์ดีของสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร
1. ส่งเสรมิ การผลติ และกระจาย (รอ้ ยละ)
โครงการท่ี 5 : โครงการ เมลด็ พนั ธด์ุ แี ก่เกษตรกรใน ในรปู แบบสหกรณ์ (แปลง)
พฒั นาศักยภาพกระบวนการ สถาบันเกษตรกร • เครือขา่ ยสหกรณแ์ ละกลุม่ เกษตรกรมี
• ประมาณการรวบรวมเมลด็ พันธุด์ ีของสหกรณ/์ กลุ่ม กิจกรรมเช่อื มโยงรว่ มกนั อย่างน้อย 1
ผลติ สนิ ค้าเกษตร 1. สนับสนนุ กจิ กรรมสหกรณ์ในศนู ย์ เกษตรกร (ตัน) กิจกรรม ไมต่ ่ำกวา่ (รอ้ ยละ)
เรยี นรูก้ ารเพิ่มประสทิ ธภิ าพการ
โครงการท่ี 6 : โครงการศูนย์ ผลิตสนิ ค้าเกษตร • จำนวนศนู ยเ์ รยี นรู้เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการผลติ สนิ ค้า • ปรมิ าณธรุ กจิ ของสหกรณ์เปา้ หมาย
เรยี นร้กู ารเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพ เกษตรเปน็ แหลง่ เรยี นรู้ดา้ นสหกรณ์ (ศนู ย)์ โครงการเพมิ่ ขนึ้ ไม่นอ้ ยกว่า (รอ้ ยละ)

การผลติ สินค้าเกษตร • เกิดเครือขา่ ยความร่วมมอื ระหวา่ งกลมุ่ ภายใตศ้ นู ย์ • ปรมิ าณธรุ กจิ ของสหกรณแ์ ละกลมุ่
การเรยี นรกู้ ารเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการผลติ สนิ คา้ เกษตรกรเพม่ิ ขนึ้ (รอ้ ยละ)
โครงการท่ี 8 : โครงการ 1. สนับสนนุ การพัฒนาสถาบนั เกษตร (ศพก.) และสหกรณ์ไม่น้อยกว่า (เครือขา่ ย)
เกษตรกรตามรปู แบบประชารฐั • สมาชกิ เขา้ รว่ มโครงการมีรายไดเ้ พม่ิ ขึน้
พฒั นาสถาบันเกษตรกร • จำนวนสหกรณ์ทไ่ี ดร้ ับการพฒั นาศักยภาพการผลติ เฉล่ีย (รอ้ ยละ)
รูปแบบประชารัฐ การตลาด การบรกิ ารและการบริหารจัดการตาม
รปู แบบประชารัฐ (แห่ง) • สหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรมฐี านข้อมลู ระบบ
โครงการท่ี 9 : โครงการ 1. พัฒนาศกั ยภาพการดำเนินธรุ กจิ online เพอ่ื นำไปใชใ้ นการสนบั สนนุ การ
พฒั นาศกั ยภาพการดำเนนิ ของสหกรณ์ภาคการเกษตรและ • สหกรณ์ได้รบั การพัฒนาเปน็ ศนู ยก์ ลางในการ ดำเนนิ นโยบายของรฐั (รอ้ ยละ)
กลุม่ เกษตรกร ให้บริการด้านการเกษตรแกส่ มาชิกและชมุ ชน
ธรุ กิจของสหกรณ์ภาค (แหง่ )
การเกษตรและกลมุ่ 1. สง่ เสรมิ เกษตรอนิ ทรียใ์ น
สหกรณ์ในพ้ืนที่นิคมสหกรณ์ • จำนวนสหกรณ/์ กลุม่ เกษตรกรได้รบั การพฒั นา
เกษตรกร ศักยภาพการผลติ การตลาด การบริการและการ
โครงการที่ 10 : โครงการ 2. สง่ เสรมิ การเกษตรตามแนวทาง บรหิ ารจัดการ (แหง่ )
พัฒนาเกษตรกรรมยั่งยืน ทฤษฎีใหมใ่ นสหกรณ์และกลมุ่
เกษตรกร • จำนวนพื้นทขี่ องสมาชกิ สหกรณไ์ ด้รบั การส่งเสรมิ
โครงการท่ี 1 : โครงการ เกษตรอินทรยี ์ (ไร่)
พัฒนาเศรษฐกจิ ดิจทิ ลั 3. ส่งเสรมิ เกษตรผสมผสานใน
สหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกร • จำนวนพ้นื ทขี่ องสมาชกิ สหกรณไ์ ด้รบั การเกษตร
ผสมผสาน (ไร่)
1. พัฒนาเศรษฐกิจดิจทิ ัลใน
สหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกร • จำนวนพืน้ ทีข่ องสมาชกิ สหกรณไ์ ดร้ บั การสง่ เสรมิ
เกษตรทฤษฎีใหม่ (ราย)

• มโี ปรแกรมจัดการฐานขอ้ มลู สมาชิกสหกรณ์ท่ี
สามารถใชไ้ ดท้ ง้ั ดา้ นการผลติ และการตลาด
(ระบบ)

• กรมสง่ เสรมิ สหกรณ์มฐี านข้อมลู เพื่อแกไ้ ขปัญหา
สมาชิกของสถาบนั เกษตรกร เม่อื ประสบปญั หาภยั
พิบัตติ ่างๆ (ราย)

ตารางท่ี 3.13 เป้าหมายและตวั ชี้วัดของกรมตรวจบัญชสี หกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562

เปา้ หมายการใหบ้ รกิ าร ตัวช้ีวดั เชิงปรมิ าณ ตัวชีว้ ัดเชิงคุณภาพ

1. เกษตรกรเปา้ หมายได้รับการพฒั นาศักยภาพ • จำนวนเกษตรกรเป้าหมายผ่านการฝึกอบรมการจดั ทำบญั ชี • ร้อยละของเกษตรกรเปา้ หมายมีความรูค้ วาม
การจัดทำบัญชตี น้ ทุนประกอบอาชพี ตน้ ทนุ ประกอบอาชพี (ราย) เข้าใจในการจัดทำบัญชีต้นทุนประกอบอาชพี
(รอ้ ยละ)

66 โครงการพฒั นาระบบการตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพืน้ ท่ีตามแนวทางความคุ้มคา่ ของการจัดการงบประมาณ
มลู นิธิปิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

เปา้ หมายการใหบ้ รกิ าร ตัวช้ีวดั เชิงปรมิ าณ ตวั ชวี้ ัดเชิงคณุ ภาพ

2. วสิ าหกจิ ชุมชนไดร้ บั การเพิม่ ทกั ษะให้มคี วามรู้ • จำนวนวสิ าหกจิ ชุมชนเปา้ หมายได้รบั การสอนแนะการจดั ทำ • รอ้ ยละของวสิ าหกิจชุมชนเป้าหมายทผ่ี า่ นการ
การจดั ทำบญั ชีและการควบคุมภายใน บญั ชี (แห่ง) สอนแนะสามารถจัดทำบัญชไี ด้ (รอ้ ยละ)

3. สมาชกิ สหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกรในจงั หวดั • จำนวนสมาชกิ สหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกรในจังหวัดชายแดน • รอ้ ยละของกลมุ่ เปา้ หมายที่ไดร้ ับการฝกึ อบรม
ชายแดนภาคใต้ไดร้ ับการฝกึ อบรมการบรหิ าร ภาคใตไ้ ด้รบั การฝกึ อบรมการบริหารการเงิน (ราย) สามารถนำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ (รอ้ ยละ)

การเงนิ • จำนวนสหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกรได้รับการตรวจสอบบัญชี • ร้อยละของสหกรณแ์ ละกล่มุ เกษตรกรได้รับการ
4. สถาบันเกษตรกรมคี วามเข้มแข็งดา้ นการเงนิ และ (แห่ง) ตรวจสอบบญั ชภี ายในมาตรฐานเวลาท่ีกำหนด
(ร้อยละ)
การบัญชี • จำนวนเกษตรกรเปา้ หมายได้รบั การพฒั นาดา้ นการเงินและการ
บัญชี (ราย) • รอ้ ยละของกลมุ่ เปา้ หมายตามโครงการ
5. กลุ่มเป้าหมายตามโครงการพระราชดำรไิ ดร้ บั พระราชดำริ มีความรู้ความเขา้ ใจในการจดั ทำ
การสง่ เสรมิ และพฒั นาศกั ยภาพด้านการบญั ชี • จำนวนกล่มุ เป้าหมายตามโครงการพระราชดำริ ได้รบั การ บญั ชี (รอ้ ยละ)
สอนแนะการจัดทำบญั ชี (ราย)

ตารางท่ี 3.14 กจิ กรรมและตวั ช้ีวดั ของกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2562

ผลผลิต/โครงการ กจิ กรรม ตัวชี้วัดเชิงปรมิ าณ ตวั ช้วี ัดเชงิ คุณภาพ

ผลผลติ ที่ 1 : สหกรณแ์ ละสถาบัน 1. พัฒนาศกั ยภาพดา้ นการบัญชีแก่สมาชกิ สหกรณ์ • จำนวนสหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกร • รอ้ ยละของสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกร
ไดร้ ับการตรวจสอบบญั ชี (แห่ง) ได้รบั การตรวจสอบบญั ชีภายใน
เกษตรกรไดร้ บั การพัฒนาและ และประชาชนกลมุ่ เปา้ หมาย
เสรมิ สร้างความเขม้ แข็ง 2. ตรวจสอบบัญชีประจำปสี หกรณ์และกลมุ่ เกษตรกร • จำนวนเกษตรกรเป้าหมายไดร้ ับ มาตรฐานเวลาทกี่ ำหนด (รอ้ ยละ)
การพัฒนาดา้ นการเงนิ และการ
3. พัฒนาศักยภาพการบรหิ ารจัดการด้านการเงนิ การ บัญชี (ราย)
บัญชแี ก่สหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกร

4. ฝกึ อบรมเศรษฐกจิ การเงนิ ขนั้ พนื้ ฐานแก่สมาชกิ
สหกรณ์

5. ตรวจสอบความถูกตอ้ งในการทำธรุ กรรมทางการ
เงนิ ระหวา่ งสหกรณ์และสมาชิก

โครงการท่ี 1 : โครงการสง่ เสรมิ 1. สอนแนะการจัดทำบญั ชตี ้นทนุ อาชพี แก่ • จำนวนกลุ่มเป้าหมายตาม • ร้อยละของกลมุ่ เปา้ หมายตาม
การดำเนินงานอันเนอ่ื งมาจาก กลมุ่ เปา้ หมายตามโครงการพระราชดำริ โครงการพระราชดำริ ไดร้ ับการ โครงการพระราชดำริ มคี วามรู้ความ
สอนแนะการจัดทำบญั ชี (ราย) เขา้ ใจในการจดั ทำบญั ชี (ร้อยละ)
พระราชดำริ

โครงการที่ 1 : โครงการเสรมิ สรา้ ง 1. ฝึกอบรมการบริหารการเงินก่สมาชกิ สหกรณแ์ ละ • จำนวนสมาชิกสหกรณแ์ ละกลุม่ • รอ้ ยละของกล่มุ เป้าหมายทไี่ ด้รบั การ
การบรหิ ารการเงนิ แกส่ มาชิก กล่มุ เกษตรกรในจังหวัดชายแดนภาคใต้ เกษตรกรในจงั หวัดชายแดนภาคใต้ ฝึกอบรมสามารถนำความรไู้ ปใช้
ไดร้ บั การฝกึ อบรมการบริหาร ประโยชน์ได้ (ร้อยละ)
สหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกรใน
จังหวดั ชายแดนภาคใต้ การเงนิ (ราย)

โครงการที่ 1 : โครงการระบบ 1. ฝึกอบรมการจัดทำบัญชรตน้ ทนุ รายอาชพี • จำนวนเกษตรกรเปา้ หมายผา่ นการ • รอ้ ยละของเกษตรกรเป้าหมายมี
ส่งเสริมการเกษตรแบบแหลงใหญ่ ฝกึ อบรมการจัดทำบญั ชตี น้ ทุน ความรคู้ วามเขา้ ใจในการจัดทำบัญชี

โครงการท่ี 2 : โครงการศนู ย์ 1. พฒั นาศกั ยภาพครบู ญั ชปี ระจำศูนยเ์ รยี นรู้ ประกอบอาชพี (ราย) ตน้ ทนุ ประกอบอาชพี (ร้อยละ)

เรยี นรกู้ ารเพ่ิมประสิทธภิ าพการ • จำนวนศนู ยเ์ รยี นร้กู ารเพ่ิม • ร้อยละของศนู ยเ์ รยี นรู้การเพมิ่
ผลติ สนิ ค้าเกษตร ประสทิ ธภิ าพการผลติ สนิ ค้าเกษตร ประสทิ ธภิ าพการผลติ สนิ ค้าเกษตรท่ีมี

ทีม่ ีการพฒั นาอาสาสมคั รเกษตร อาสาสมัครเกษตรด้านบัญชีประจำ
ดา้ นบญั ชปี ระจำศูนย์เรยี นรู้ (ศนู ย์) ศนู ยเ์ รยี นรู้ สามารถให้บรกิ ารความรู้

ด้านการจดั ทำบัญชีแกเ่ กษตรกรที่
ขอรับบรกิ ารได้ (ร้อยละ)

โครงการท่ี 3 : โครงการพัฒนา 1. เสรมิ สร้างความรดู้ ้านบัญชแี กก่ ล่มุ เกษตรกรใน • จำนวนเกษตรกรเป้าหมายผ่าน • รอ้ ยละของเกษตรกรเปา้ หมายมี
เกษตรกรรมยง่ั ยืน โครงการเกษตรอินทรยี ์ การฝกึ อบรมการจัดทำบัญชี ความรคู้ วามเขา้ ใจในการจัดทำบัญชี
ตน้ ทุนประกอบอาชพี (ราย) ต้นทนุ ประกอบอาชีพ (ร้อยละ)
2. สอนแนะการจดั ทำบญั ชตี น้ ทนุ อาชีพแก่
เกษตรกรทีน่ ้อมนำหลกั ทฤษฎใี หม่

โครงการที่ 4 : โครงการบริหาร 1. อบรมการจดั ทำบัญชีตน้ ทนุ อาชพี แกเ่ กษตรกรใน • จำนวนเกษตรกรเป้าหมายผ่านการ • ร้อยละของเกษตรกรเป้าหมายมี
จดั การการผลติ สินคา้ เกษตรตาม พื้นท่ีปรับเปลีย่ นการผลิต (พน้ื ท่ี N) ฝึกอบรมการจัดทำบญั ชตี น้ ทุน ความรคู้ วามเขา้ ใจในการจัดทำบัญชี
ประกอบอาชีพ (ราย) ตน้ ทุนประกอบอาชีพ (ร้อยละ)
แผนทเี่ กษตรเพอื่ การบรหิ าร
จดั การเชิงรุก (Agri-Map)

โครงการพัฒนาระบบการตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผลการพัฒนาพ้ืนทตี่ ามแนวทางความคุม้ คา่ ของการจัดการงบประมาณ 67
มูลนิธปิ ิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

ผลผลิต/โครงการ กจิ กรรม ตัวชวี้ ัดเชิงปรมิ าณ ตัวชวี้ ัดเชิงคณุ ภาพ
1. พฒั นาวิสาหกจิ ชมุ ชนดา้ นการบญั ชี
โครงการที่ 1 : โครงการพฒั นา • จำนวนวสิ าหกจิ ชมุ ชนเปา้ หมาย • ร้อยละของวิสาหกิจชุมชนเปา้ หมายที่
ผู้ประกอบการวสิ าหกิจชุมชน ได้รับการสอนแนะการจัดทำบญั ชี ผา่ นการสอนแนะการจดั ทำบัญชีได้
(แหง่ ) (รอ้ ยละ)

ผลการทบทวนเป้าหมาย กิจกรรมและตัวช้วี ัดของกรมการพฒั นาชมุ ชน สังกัดกระทรวงมหาดไทย
มีรายละเอียดดงั ตอ่ ไปน้ี

ตารางท่ี 3.15 เป้าหมายและตัวชี้วัดของกรมการพฒั นาชมุ ชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562

เป้าหมายการให้บรกิ าร ตัวช้วี ดั เชิงปรมิ าณ ตัวช้วี ัดเชงิ คณุ ภาพ

1. เศรษฐกิจครวั เรือนมีความมั่นคง ประชาชน • ครัวเรอื นในหมู่บ้านเศรษฐกจิ พอเพียงไดร้ บั การสง่ เสรมิ • ร้อยละของหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงที่ได้รับการ
ใช้ชีวติ อยใู่ นชุมชนอย่างมคี วามสขุ สง่ เสริมอาชีพมรี ายได้เฉลยี่ สงู ขน้ึ (รอ้ ยละ)
อาชพี (ครวั เรอื น)

ตารางที่ 3.16 กิจกรรมและตัวช้ีวัดของกรมการพฒั นาชมุ ชน ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2562

ผลผลติ /โครงการ กจิ กรรม ตัวชว้ี ัดเชิงปรมิ าณ ตวั ชี้วดั เชิงคุณภาพ

ผลผลิตท่ี 1 : เสรมิ สรา้ งขีด 1. บรหิ ารการจัดเกบ็ และใชป้ ระโยชน์ • ครวั เรอื นทีม่ ีขอ้ มลู ความจำเปน็ • ร้อยละของครวั เรอื นทม่ี ขี อ้ มลู ความจำเป็น
ความสามารถของชุมชนในการ ขอ้ มลู เพอื่ การพฒั นาชมุ ชน พื้นฐาน (จปฐ.) (ครัวเรอื น) พน้ื ฐาน (จปฐ.) ท่เี ชื่อถือได้ (รอ้ ยละ)
บรหิ ารจดั การขอ้ มูลเพอ่ื การพฒั นา
2. ส่งเสรมิ การบรหิ ารงานพฒั นา • หมบู่ ้านทมี่ ขี ้อมูลพน้ื ฐานระดับ • ร้อยละของหมูบ่ ้านทมี่ ขี อ้ มลู พนื้ ฐานระดบั
ชมุ ชน ชมุ ชน หมูบ่ ้าน (กชช.2ค) (หมู่บา้ น) หม่บู า้ น (กชช.2ค) ทเ่ี ช่อื ถือได้ (ร้อยละ)

โครงการท่ี 1 : โครงการสรา้ ง 1. สรา้ งและพัฒนาผนู้ ำสมั มาชีพ • ตำบลทม่ี ีการบูรณาการแผนชมุ ชน • รอ้ ยละของตำบลทม่ี ีการบรู ณาการแผนชุมชน
สมั มาชีพชุมชนตามหลักปรชั ญา ชุมชนตามหลกั ปรชั ญาของ ระดบั ตำบล (ตำบล) สรา้ งสัมมาชีพและนำไปใช้ประโยชน์ในการ
เศรษฐกิจพอเพยี ง บรหิ ารจดั การชมุ ชน (ร้อยละ)
ของเศรษฐกิจพอเพียง • จำนวนประชาชนท่ีได้รับการ
2. บรู ณาการแผนชมุ ชนระดบั ตำบล ส่งเสรมิ อาชีพ (ครวั เรอื น) • ร้อยละของประชาชนทีไ่ ด้รบั การสง่ เสรมิ อาชีพ
ประกอบอาชพี ตามแนวทางสมั มาชีพ (ร้อยละ)
โครงการท่ี 2 : โครงการส่งเสรมิ การ 1. ส่งเสริมการดำเนนิ งานศูนย์จดั การ • จำนวนครัวเรอื นทส่ี มารถแกป้ ัญหา
หนี้สิน 1 ครวั เรอื น 1 สญั ญา • ร้อยละของศูนยจ์ ัดการกองทนุ ชมุ ชน สามาร
บริหารจัดการการเงินชมุ ชน กองทนุ ชมุ ชน (ครัวเรือน) บริหารจัดการหนไ้ี ดต้ ามเกณฑ์ทก่ี ำหนด (รอ้ ยละ)

โครงการที่ 3 : โครงการเพม่ิ 1. พัฒนาผลิตภณั ฑ์ชุมชน • ผลิตภณั ฑช์ มุ ชนไดร้ ับการพัฒนา • รอ้ ยละของผลติ ภณั ฑช์ มุ ชนทม่ี คี ุณภาพและ
ประสิทธิภาพการบริหารจดั การและ 2. พัฒนาผูป้ ระกอบการชุมชน คณุ ภาพและมาตรฐาน มูลค่าเพ่ิมข้ึน (ร้อยละ)
(ผลติ ภัณฑ)์
พัฒนาผลติ ภณั ฑช์ มุ ชน • ร้อยละของผู้ประกอบการชมุ ชนไดร้ บั การ
• ผู้ประกอบการชุมชนไดร้ บั การ พัฒนาศักยภาพการผลิตผลติ ภณั ฑ์ให้ตรงตาม
โครงการท่ี 4 : โครงการสง่ เสรมิ 1. ส่งเสรมิ และพัฒนาชอ่ งทาง พัฒนาศกั ยภาพ (คน/กลุม่ ) ความตอ้ งการของตลาด (รอ้ ยละ)
ชอ่ งทางการตลาดผลิตภณั ฑ์ชมุ ชน การตลาดผลติ ภัณฑช์ ุมชน
• จำนวนช่องทางการตลาด (ครงั้ ) • ร้อยละของรายได้ทเี่ พมิ่ ข้นึ จากการจำหน่าย
ผลติ ภณั ฑ์ชมุ ชนปที ีผ่ ่านมา (ร้อยละ)

โครงการท่ี 5 : โครงการพฒั นา 1. พัฒนาหมบู่ า้ นเศรษฐกิจพอเพียง • หมูบ่ ้านทไี่ ดร้ บั การพฒั นาตาม • รอ้ ยละของหมบู่ ้านทไี่ ดร้ บั การพัฒนาตามหลกั
หมบู่ า้ นเศรษฐกิจพอเพยี ง หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ ของเศรษฐกิจพอเพยี งมคี วามสุขมวลรวมตาม
พอเพยี ง (หมู่บ้าน) เกณฑท์ ่กี ำหนด (รอ้ ยละ)
โครงการที่ 1 : โครงการส่งเสรมิ และ 2. สง่ เสริมและพฒั นาหมู่บา้ นกองทุน
พฒั นาหม่บู า้ นกองทนุ แมข่ องแผน่ ดนิ แมข่ องแผ่นดนิ • ชุมชนปลอดภยั จากยาเสพติด • ร้อยละของหมูบ่ า้ นกองทุนแมข่ องแผน่ ดนิ มี
(หมูบ่ ้าน) กลไกการแกไ้ ขปัญหายาเสพตดิ (ร้อยละ)

โครงการท่ี 1 : โครงการยกระดับการ 1. เพ่ิมศกั ยภาพการท่องเทย่ี วและ • หมบู่ ้านท่ไี ด้รบั การพัฒนาศกั ยภาพ • รายได้จากการจำหนา่ ยผลติ ภัณฑแ์ ละบริการ
ทอ่ งเทยี่ วคณุ ภาพเฉพาะและ บรกิ ารภาคเหนือ การบรหิ ารจัดการดา้ นการ เพิม่ ขึ้น (รอ้ ยละ)
ประชาสัมพนั ธภ์ าคเหนอื ท่องเทีย่ ว (หมบู่ ้าน)
1. ยกระดับการทอ่ งเทยี่ วเชิงประเพณี • รายไดจ้ ากการจำหน่ายผลติ ภัณฑ์และบรกิ าร
โครงการที่ 2 : โครงการยกระดบั วฒั นธรรม (ภาค • หม่บู า้ นทไี่ ดร้ บั การพฒั นา เพม่ิ ข้ึน (รอ้ ยละ)
การท่องเที่ยวเชงิ ประเพณี ตะวันออกเฉียงเหนอื ) ศักยภาพการบริหารจดั การด้าน
วัฒนธรรม การท่องเท่ยี ว (หมู่บ้าน) • ร้อยละของผมู้ รี ายได้นอ้ ยสมารถเขา้ ถึงแหล่ง
1. กองทุนชมุ ชนหนนุ เสริมอาชพี ผูม้ ี เงินทุนในการประกอบอาชีพ (รอ้ ยละ)
โครงการท่ี 3 : โครงการพัฒนาอาชพี รายได้น้อยเพอื่ ลดความเหลอ่ื มลำ้ • หมบู่ า้ นท่กี องทุนชมุ ชนสามารถ
และคณุ ภาพชวี ิตผู้มรี ายได้นอ้ ยเพื่อ หนุนเสรมิ อาชพี ผมู้ รี ายไดน้ อ้ ย
(หมบู่ ้าน)
ลดความเหล่ือมลำ้ ทางสงั คม

68 โครงการพฒั นาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพฒั นาพื้นท่ตี ามแนวทางความคุ้มคา่ ของการจัดการงบประมาณ
มลู นิธปิ ิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

ผลผลิต/โครงการ กิจกรรม ตวั ช้วี ดั เชงิ ปรมิ าณ ตัวชวี้ ดั เชิงคุณภาพ

ทางสังคม (ภาค
ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื )

ผลการทบทวนเปา้ หมาย กจิ กรรมและตัวช้วี ดั ของกรมประชาสมั พนั ธ์ สงั กัดสำนกั นายกรัฐมนตรี มี
รายละเอยี ดดงั ตอ่ ไปน้ี

ตารางท่ี 3.17 เป้าหมายและตวั ช้ีวดั ของกรมประชาสัมพนั ธ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562

เปา้ หมายการใหบ้ ริการ ตวั ช้วี ดั เชงิ ปรมิ าณ ตัวช้วี ัดเชงิ คณุ ภาพ

1. ประชาชนกล่มุ เปา้ หมายมคี วามเชื่อมน่ั และนำข้อมลู • N/A • ประชาชนกล่มุ เป้าหมายมีความเชอ่ื มน่ั ตอ่ ข้อมลู ตอ่ ข่าวสารยทุ ธศาสตร์ชาตแิ ละนโยบายสำคญั ของ
ข่าวสารยทุ ธศาสตรช์ าติและนโยบายสำคญั ของรฐั บาลท่ี รฐั บาลที่เผยแพรผ่ ่านสอ่ื ของกรมประชาสัมพนั ธ์ (ร้อยละ)

เผยแพร่ผ่านสอื่ ของกรมประชาสัมพนั ธ์ไปใช้ประโยชน์ • ประชาชนกลมุ่ เป้าหมายนำข้อมูลข่าวสารยุทธศาสตรช์ าตแิ ละนโยบายสำคัญของรัฐบาลทเ่ี ผยแพร่
ผา่ นสอื่ ของกรมประชาสมั พนั ธไ์ ปใช้ประโยชน์ (ร้อยละ)
2. ประชาชนกล่มุ เป้าหมายมีความเช่อื มั่นและนำขอ้ มลู • N/A
ขา่ วสารนโยบาย และการดำเนนิ งานการแกไ้ ขปญั หาใน • N/A • ประชาชนกล่มุ เปา้ หมายมีความเชือ่ มนั่ ตอ่ ข้อมูลตอ่ ข่าวสารนโยบาย และการดำเนนิ งานการแก้ไข
ปญั หาในจงั หวดั ชายแกนภาคใตท้ เี่ ผยแพร่ผา่ นสอื่ ของกรมประชาสัมพนั ธ์ (รอ้ ยละ)
จังหวัดชายแกนภาคใตท้ เ่ี ผยแพร่ผ่านสอ่ื ของกรม
ประชาสัมพันธ์ไปใชป้ ระโยชน์ • ประชาชนกลมุ่ เปา้ หมายนำขอ้ มูลขา่ วสารนโยบาย และการดำเนินงานการแก้ไขปญั หาในจงั หวัด
ชายแกนภาคใต้ท่เี ผยแพรผ่ ่านสื่อของกรมประชาสัมพันธไ์ ปใชป้ ระโยชน์ (ร้อยละ)
3. ประชาชนกลมุ่ เป้าหมายมคี วามเชอ่ื ม่ันและนำขอ้ มลู
ข่าวสารนโยบาย และการดำเนินงานการจัดการปญั หา • ประชาชนกลุ่มเปา้ หมายมีความเช่ือมน่ั ต่อขอ้ มูลตอ่ ข่าวสารนโยบาย และการดำเนนิ งานการจดั การ
แรงงานตา่ งด้าวและการคา้ มนษุ ยท์ เ่ี ผยแพร่ผ่านสื่อของ ปญั หาแรงงานต่างด้าวและการคา้ มนุษย์ที่เผยแพร่ผ่านสื่อของกรมประชาสมั พันธ์ (รอ้ ยละ)

กรมประชาสัมพนั ธ์ไปใชป้ ระโยชน์ • ประชาชนกลมุ่ เปา้ หมายนำขอ้ มูลขา่ วสารนโยบาย และการดำเนนิ งานการจดั การปัญหาแรงงานต่าง
ดา้ วและการค้ามนษุ ยท์ เ่ี ผยแพรผ่ า่ นส่อื ของกรมประชาสัมพนั ธไ์ ปใชป้ ระโยชน์ (ร้อยละ)

4. ประชาชนกลุ่มเปา้ หมายมคี วามเชอื่ มั่นและนำ • N/A • ประชาชนกลมุ่ เป้าหมายมคี วามเชือ่ ม่ันต่อขอ้ มลู ต่อข่าวสารนโยบาย และการดำเนินงานการ
ขอ้ มลู ขา่ วสารนโยบาย และการดำเนินงานการบรหิ าร บริหารจัดการขยะและสิง่ แวดล้อม ทเี่ ผยแพร่ผา่ นสื่อของกรมประชาสมั พันธ์ (รอ้ ยละ)

จดั การขยะและสง่ิ แวดล้อม ทีเ่ ผยแพรผ่ ่านสอ่ื ของกรม • ประชาชนกลุ่มเป้าหมายนำขอ้ มูลขา่ วสารนโยบาย และการดำเนินงานการบริหารจัดการขยะและ
ประชาสัมพันธไ์ ปใชป้ ระโยชน์ สิ่งแวดลอ้ ม ท่ีเผยแพร่ผ่านสอ่ื ของกรมประชาสมั พันธไ์ ปใช้ประโยชน์ (ร้อยละ)

5. ประชาชนกล่มุ เป้าหมายมคี วามเชอ่ื มั่นและนำขอ้ มลู • N/A • ประชาชนกลุ่มเปา้ หมายมีความเช่อื ม่นั ต่อข้อมลู ต่อขา่ วสารนโยบายและการดำเนินงานการป้องกัน
ขา่ วสารนโยบายและการดำเนนิ งานการป้องกัน ปราบปรามการทุจริตและประพฤตมิ ชิ อบ ทเี่ ผยแพร่ผา่ นสอ่ื ของกรมประชาสัมพนั ธ์ (ร้อยละ)

ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมชิ อบ ทเ่ี ผยแพร่ผ่าน • ประชาชนกลุม่ เป้าหมายนำข้อมูลข่าวสารนโยบายและการดำเนนิ งานการป้องกันปราบปรามการ
ส่ือของกรมประชาสมั พนั ธ์ไปใชป้ ระโยชน์ ทุจรติ และประพฤตมิ ชิ อบ ที่เผยแพร่ผา่ นสือ่ ของกรมประชาสัมพนั ธไ์ ปใชป้ ระโยชน์ (ร้อยละ)

ตารางท่ี 3.18 กจิ กรรมและตวั ชีว้ ัดของกรมประชาสมั พันธ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562

ผลผลิต/โครงการ กิจกรรม ตัวชี้วดั เชงิ ปรมิ าณ ตวั ช้ีวัดเชงิ คุณภาพ

ผลผลติ ท่ี 1 : ขอ้ มลู ขา่ วสาร 1. พฒั นานโยบายและแผนการประชาสมั พนั ธ์ • ขอ้ มูลข่าวสารยทุ ธศาสตร์ • ประชาชนกลุ่มเปา้ หมายรบั รใู้ นเนือ้ หายุทธศาสตรช์ าติ
ยทุ ธศาสตรช์ าตแิ ละนโยบาย แหง่ ชาติ และกำกับดแู ลการปฏิบตั งิ านตาม ชาตแิ ละนโยบายสำคญั และนโยบายสำคญั ของรฐั บาลทเี่ ผยแพรผ่ า่ นส่อื ของกรม
ของรัฐบาลทเี่ ผยแพรผ่ ่าน ประชาสมั พันธ์ (ร้อยละ)
สำคญั ของรฐั บาลทเี่ ผยแพรส่ ู่ แผนการประชาสมั พนั ธ์แหง่ ชาติ
สาธารณะ 2. ขยายบทบาททางวิชาการด้านการ ส่อื ของกรมประชาสัมพนั ธ์ • ประชาชนกลุ่มเปา้ หมายเข้าใจในเนื้อหายุทธศาสตร์ชาติ
(ครง้ั ) และนโยบายสำคัญของรัฐบาลทเี่ ผยแพร่ผ่านสอ่ื ของกรม
ประชาสัมพันธแ์ ละการสอ่ื สารมวลชน ประชาสมั พนั ธ์ (รอ้ ยละ)

3. พฒั นาการประชาสมั พนั ธข์ ้อมูลข่าวสารและ • ประชาชนกล่มุ เปา้ หมายชาวตา่ งประเทศรบั รู้ในเน้ือหา
นโยบายของรฐั ในการเข้าสู่ประชาคมอาเซยี น ยทุ ธศาสตรช์ าติและนโยบายสำคัญของรฐั บาลทเ่ี ผยแพร่
ผา่ นสอื่ ของกรมประชาสมั พันธ์ (ร้อยละ)
4. พฒั นาและปรับปรุงประสทิ ธภิ าพเทคโนโลยี
สารสนเทศการประชาสมั พันธ์

5. พัฒนาการประชาสมั พนั ธข์ อ้ มลู ข่าวสารและ
นโยบายของรัฐใหเ้ กดิ ภาพลกั ษณ์ทีด่ ขี อง

ประเทศ

โครงการท่ี 1 : ขอ้ มูล 1. เสรมิ สรา้ งความรคู้ วามเข้าใจในนโยบายและ • ขอ้ มูลข่าวสารนโยบายและ • ประชาชนกลุ่มเป้าหมายรบั รู้ในเนื้อหานโยบายและ
แผนการประชาสมั พนั ธ์ แผนการประชาสมั พนั ธแ์ ห่งชาติ ที่เผยแพร่ผา่ นสอ่ื ของ
ข่าวสารนโยบายและ แผนการประชาสมั พนั ธ์แหง่ ชาติ
แผนการประชาสมั พนั ธ์ 2. เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพด้านเทคโนโลยกี ารส่ือสารเพื่อ แหง่ ชาติ ท่เี ผยแพรผ่ า่ นสอื่ กรมประชาสมั พนั ธ์ (รอ้ ยละ)
ของกรมประชาสัมพนั ธ์
แหง่ ชาติท่ีเผยแพรส่ ู่ การประชาสมั พนั ธ์
สาธารณะ (ครั้ง)

โครงการพัฒนาระบบการตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผลการพัฒนาพน้ื ทต่ี ามแนวทางความคมุ้ ค่าของการจดั การงบประมาณ 69
มลู นิธปิ ิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

ผลผลิต/โครงการ กจิ กรรม ตัวชี้วดั เชิงปรมิ าณ ตัวชีว้ ัดเชงิ คุณภาพ

โครงการที่ 1 : โครงการ 1. ผลิตและเผยแพรข่ อ้ มูลข่าวสารการแกไ้ ข • ข้อมูลขา่ วสารนโยบาย • ประชาชนกลมุ่ เปา้ หมายเข้าใจในเนือ้ หานโยบายและ
ประชาสมั พนั ธก์ ารแก้ไข ปัญหาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ และการดำเนนิ งานภาครัฐ แผนการประชาสมั พนั ธ์แหง่ ชาติ ทีเ่ ผยแพร่ผ่านสื่อของ
ในการแกไ้ ขปญั หาจังหวดั กรมประชาสัมพนั ธ์ (รอ้ ยละ)
ปัญหาในจงั หวัดชายแดน ชายแดนภาคใต้ ทีเ่ ผยแพร่
ภาคใต้ ผา่ นส่ือของกรม • ประชาชนกลุ่มเปา้ หมายชาวต่างประเทศรบั รู้ในเนอื้ หา
ประชาสมั พนั ธ์ (ครงั้ ) นโยบายและแผนการประชาสมั พนั ธแ์ ห่งชาติทีเ่ ผยแพร่
โครงการท่ี 1 : โครงการ 1. ผลติ และเผยแพรข่ อ้ มลู ข่าวสารการจัดการ ผ่านสือ่ ของกรมประชาสมั พันธ์ (รอ้ ยละ)
ปัญหาแรงงานต่างด้าวและการคา้ มนษุ ย์ • ขอ้ มูลข่าวสารนโยบายและ
ประชาสมั พนั ธก์ ารจดั การ การดำเนนิ งานการจัดการ • ประชาชนกลุ่มเป้าหมายรบั ร้ขู ้อมูลข่าวสารนโยบายและ
ปญั หาแรงงานต่างดา้ ว ปัญหาแรงงานตา่ งด้าว ที่ การดำเนินการแก้ไขปญั หาจงั หวัดชายแดนภาคใต้ ท่ี
เผยแพร่ผ่านสือ่ ของกรม เผยแพรผ่ า่ นส่ือของกรมประชาสมั พนั ธ์ (รอ้ ยละ)
โครงการท่ี 1 : โครงการ 1. ผลิตและเผยแพร่ขอ้ มลู ขา่ วสารการบรหิ าร ประชาสมั พนั ธ์ (ครัง้ )
ประชาสัมพนั ธ์การบรหิ าร จดั การขยะและส่งิ แวดล้อม • ประชาชนกลมุ่ เป้าหมายเข้าใจข้อมลู ขา่ วสารนโยบาย
• ข้อมูลข่าวสารนโยบายและ และการดำเนนิ งานภาครฐั ในการแก้ไขปญั หาจงั หวัด
จดั การขยะและสิง่ แวดลอ้ ม การดำเนินงานการบรหิ าร ชายแดนภาคใต้ ทเ่ี ผยแพรผ่ า่ นสอื่ ของกรม
จัดการขยะและสิ่งแวดลอ้ ม ประชาสมั พันธ์ (รอ้ ยละ)
โครงการท่ี 1 : โครงการ 1. ผลิตและเผยแพร่ขอ้ มลู ข่าวสารการตอ่ ตา้ นการ ท่เี ผยแพรผ่ ่านสื่อของกรม
ประชาสัมพันธก์ ารต่อต้าน ทจุ ริตและประพฤติมชิ อบ ประชาสมั พนั ธ์ (ครง้ั ) • ประชาชนกลุม่ เปา้ หมายรบั ร้ขู ้อมลู ข่าวสารนโยบายและ
การดำเนินงานการจัดการปัญหาแรงงานตา่ งดา้ ว ที่
การทจุ ริตและประพฤติมิ • ข้อมลู ขา่ วสารนโยบายและ เผยแพร่ผ่านสอ่ื ของกรมประชาสัมพนั ธ์ (รอ้ ยละ)
ชอบ การดำเนนิ งานการตอ่ ต้าน
การทุจริตและประพฤติมิ • ประชาชนกลมุ่ เป้าหมายเขา้ ใจขอ้ มูลขา่ วสารนโยบายและ
ชอบ ที่เผยแพรผ่ า่ นสื่อของ การดำเนินงานการจดั การปัญหาแรงงานตา่ งด้าว ที่
กรมประชาสมั พันธ์ (ครง้ั ) เผยแพร่ผา่ นสื่อของกรมประชาสัมพนั ธ์ (ร้อยละ)

• ประชาชนกลมุ่ เป้าหมายรับรู้ข้อมลู ข่าวสารนโยบายและ
การดำเนินงานการบริหารจดั การขยะและสงิ่ แวดลอ้ ม ที่
เผยแพร่ผ่านสื่อของกรมประชาสมั พนั ธ์ (รอ้ ยละ)

• ประชาชนกลมุ่ เป้าหมายเขา้ ใจข้อมลู ขา่ วสารนโยบายและ
การดำเนนิ งานการบรหิ ารจดั การขยะและส่ิงแวดล้อม ท่ี
เผยแพร่ผ่านสอ่ื ของกรมประชาสัมพนั ธ์ (ร้อยละ)

• ประชาชนกลมุ่ เป้าหมายรบั รู้ข้อมลู ขา่ วสารนโยบายและ
การดำเนนิ งานการตอ่ ตา้ นการทจุ รติ และประพฤตมิ ชิ อบท่ี
เผยแพรผ่ ่านสื่อของกรมประชาสัมพนั ธ์ (รอ้ ยละ)

• ประชาชนกลมุ่ เป้าหมายเขา้ ใจข้อมลู ขา่ วสารนโยบายและ
การดำเนนิ งานการตอ่ ตา้ นการทจุ รติ และประพฤตมิ ิชอบที่
เผยแพรผ่ ่านสอ่ื ของกรมประชาสมั พนั ธ์ (รอ้ ยละ)

ตารางท่ี 3.19 เป้าหมายและตัวชีว้ ัดของกรมทรัพยากรนำ้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562

เป้าหมายการใหบ้ รกิ าร ตวั ชี้วัดเชิงปรมิ าณ ตวั ชี้วดั เชิงคณุ ภาพ

1. วิจยั พัฒนาองคค์ วามรู้และเทคโนโลยีดา้ นทรพั ยากรนำ้ • จำนวนผลงานวจิ ยั ทีแ่ ลว้ เสร็จพรอ้ มนำไปประยุกต์ใช้ • N/A
เป็นแนวทางในการบริหารจดั การทรพั ยากรนำ้ (เรื่อง)

2. เกดิ กลไกในการบริหารจัดการทรัพยากรนำ้ แบบบรู ณา • จำนวนกลไกการบรหิ ารจัดการทรพั ยากรนำ้ (เรอื่ ง) • N/A
การทุกระดบั โดยการมสี ว่ นร่วมจากทุกภาคส่วน

3. เพิ่มประสิทธภิ าพการกักเก็บนำ้ ของแหลง่ นำ้ ธรรมชาติ • จำนวนแหล่งนำ้ ที่ได้รบั การพัฒนา ปรบั ปรงุ เพมิ่ • N/A
และปรบั ปรงุ อาคารสิง่ ก่อสร้างแหล่งน้ำทีม่ อี ย่เู ดมิ ใหใ้ ช้ ประสิทธภิ าพและบำรงุ รักษาแหล่งนำ้ (แหง่ ) • N/A

งานได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ • มแี ผนบริหารจดั การทรพั ยากรน้ำ (ลมุ่ น้ำ)

4. องค์กรลุ่มนำ้ ได้รบั การสง่ เสริมและเพมิ่ ประสิทธภิ าพ
รวมถึงมกี ารพฒั นาระบบบริหารจดั การน้ำที่สำคญั

5. อนรุ ักษ์ พฒั นา ปรับปรุงและฟืน้ ฟแู หลง่ น้ำ เพอ่ื เปน็ • แหลง่ น้ำได้รบั การอนรุ ักษ์ ฟ้ืนฟูและพฒั นาแหลง่ น้ำ • จำนวนครัวเรอื นในพ้ืนที่ขาดแคลนแหล่ง
(แหง่ ) นำ้ ไดร้ บั ประโยชน์ (ครัวเรอื น)
แหลง่ นำ้ ตน้ ทุนและเพม่ิ ประสิทธภิ าพการกระจายนำ้ เพ่อื
แก้ไขปญั หาอทุ กภยั และภัยแล้ง

70 โครงการพฒั นาระบบการตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผลการพฒั นาพนื้ ทีต่ ามแนวทางความคุ้มค่าของการจดั การงบประมาณ
มูลนธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

เป้าหมายการใหบ้ รกิ าร ตวั ช้ีวดั เชิงปรมิ าณ ตวั ชว้ี ดั เชิงคณุ ภาพ
6. เฝ้าระวังและเตือนภัยนำ้ ทว่ มดนิ ถลม่
• จำนวนหมูบ่ า้ นท่ไี ด้รบั การเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพและ • ประชาชนไดร้ ับขอ้ มลู แจง้ เตอื นล่วงหนา้ ได้
บำรุงรกั ษาระบบเตือนภยั ด้านน้ำ (หมู่บา้ น) ตรงต่อเหตุการณ์นำ้ ทว่ ม นำ้ ปา่ ไหลหลาก
ไมน่ อ้ ยกว่า (รอ้ ยละ)

ผลการทบทวนเป้าหมาย กิจกรรมและตัวชี้วัดของกรมทรัพยากรน้ำ สังกัดกระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม มรี ายละเอยี ดดงั ต่อไปน้ี

ตารางที่ 3.20 กิจกรรมและตัวชี้วัดของกรมทรพั ยากรนำ้ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2562

ผลผลติ /โครงการ กิจกรรม ตวั ชีว้ ดั เชงิ ปรมิ าณ ตัวช้ีวดั เชิงคุณภาพ

ผลผลติ ท่ี 1 : การเพิ่ม 1. จดั ทำขอ้ เสนอแนะ นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ กล • จำนวนกลไกการบรหิ ารจดั การ • N/A
ศักยภาพกลไกในการบรหิ าร ยุทธ์ แผน มาตรการและติดตามประเมนิ ผล ทรพั ยากรนำ้

จดั การทรพั ยากรน้ำ การบรหิ ารจัดการทรพั ยากรนำ้
2. พฒั นาเคร่อื งมือและกลไกบริหารจดั การ

ทรัพยากรน้ำ

3. พัฒนาและสนับสนุนระบบงานโครงสร้าง
พืน้ ฐานด้านน้ำอปุ โภค

4. เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารและพฒั นา
สมรรถนะบุคลากรดา้ นนำ้

5. เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพระบบเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสารทเ่ี หมาะสมในการ

บริหารจัดการทรพั ยากรน้ำ
6. การสนับสนุนการบรหิ ารจดั การทรพั ยากรนำ้

ผลผลติ ท่ี 2 : การปรับปรงุ 1. ปรับปรุง ซอ่ มแซมและบำรุงรักษาแหลง่ น้ำ • จำนวนแหล่งน้ำที่ได้รับการพฒั นา • จำนวนครวั เรอื นทีไ่ ด้รบั ประโยชน์
เพิ่มประสทิ ธิภาพและ ปรับปรุงเพม่ิ ประสทิ ธิภาพและ จากการพฒั นา ปรบั ปรุงเพมิ่
บำรงุ รักษาแหล่งนำ้ (แหง่ ) ประสิทธิภาพและบำรงุ รักษาแหลง่
บำรงุ รกั ษาแหล่งนำ้
• จำนวนหม่บู ้านทีไ่ ด้รบั การเพม่ิ น้ำ (ครัวเรอื น)
ผลผลติ ท่ี 3 : การเพิม่ 1. เพมิ่ ประสิทธภิ าพการบริหารจัดการการ ประสทิ ธภิ าพและบำรงุ รักษาระบบ
พยากรณแ์ ละเตอื นภัยดา้ นน้ำ เตอื นภัยดา้ นนำ้ (หมบู่ ้าน) • ประชาชนได้รับข้อมลู แจง้ เตอื น
ศักยภาพระบบพยากรณแ์ ละ ล่วงหนา้ ได้ตรงตอ่ เหตกุ ารณน์ ้ำทว่ ม
เตอื นภยั ด้านนำ้
น้ำปา่ ไหลหลาก ไม่นอ้ ยกว่า (ร้อยละ)

โครงการที่ 1 : โครงการ 1. วจิ ยั พฒั นาองคค์ วามรแู้ ละเทคโนโลยดี ้าน • จำนวนงานวจิ ัยท่ีนำไปประยกุ ต์ใช้ • องคค์ วามร้จู ากผลงานวจิ ัยสามารถ
ทรัพยากรนำ้
พัฒนาองคค์ วามรแู้ ละ เปน็ แนวทางในการบรหิ ารจัดการ นำไปใช้เปน็ แนวทางในการบรหิ าร
เทคโนโลยดี า้ นทรพั ยากรน้ำ ทรัพยากรนำ้ (เรือ่ ง) จัดการนำ้ (รอ้ ยละ)

โครงการท่ี 1 : โครงการ 1. อนุรกั ษ์ ฟน้ื ฟู พฒั นาแหลง่ น้ำและบรหิ าร • แหล่งน้ำได้รบั การอนรุ กั ษ์ ฟื้นฟู • จำนวนครัวเรอื นในพ้ืนทข่ี าดแคลน
อนุรักษ์ ฟื้นฟู พฒั นาแหลง่ จัดการน้ำ และพฒั นาแหลง่ นำ้ (แหง่ ) แหล่งน้ำไดร้ บั ประโยชน์ (ครัวเรอื น)
น้ำและบรหิ ารจดั การน้ำ

โครงการท่ี 2 : โครงการ 1. พฒั นาและส่งเสรมิ การมสี ว่ นรว่ มขององค์กร • มแี ผนบรหิ ารจัดการทรัพยากรนำ้ • N/A
พฒั นากลไกองค์กรบรหิ าร ทกุ ระดบั ในการบรหิ ารจดั การนำ้ ทกุ ลุม่ นำ้ (ลุ่มน้ำ)

จัดการนำ้ ทุกระดับ

3.6 การออกแบบตวั ชว้ี ัด เพอ่ื การติดตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาตามแนวพระราชดำริ

3.6.1 หลักการออกแบบตวั ชีว้ ัด

ตัวช้ีวดั (KPIs) เปน็ ดชั นีหรือหน่วยวดั ความสำเร็จของการปฏบิ ัตงิ านทีก่ ำหนดขน้ึ โดยเปน็ หนว่ ยวดั ที่
แสดงถึงผลสัมฤทธิ์ของหน่วยงาน/โครงการ/งาน รวมถึงใช้ในการประเมินผลการปฏิบัติงานของแต่ละ
หน่วยงานได้ การกำหนดตัวชว้ี ัดทเ่ี หมาะสม สอดคล้องกบั เปา้ หมาย วตั ถุประสงค์และผลลัพธ์ที่คาดว่าจะ

โครงการพัฒนาระบบการติดตาม ประเมนิ และรายงานผลการพฒั นาพน้ื ทต่ี ามแนวทางความคุม้ คา่ ของการจัดการงบประมาณ 71
มูลนธิ ิปิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

ไดร้ บั จึงเปน็ ขน้ั ตอนทส่ี ำคัญมากสำหรบั การประเมนิ ผลการปฏิบตั ิงาน หากตัวช้วี ัดไมส่ อดรบั กับเป้าหมาย
หรอื มคี วามทา้ ทายที่นอ้ ยเกินไปเมอื่ เทยี บกับความสำเรจ็ ก็อาจส่งผลให้การประเมินน้ันๆ มีคณุ คา่ ท่ีนอ้ ยลง
ไม่เกิดแรงผลักดันให้เกิดการพัฒนาในปีต่อไป หรือหากกำหนดตัวชีว้ ัดที่สูงเกนิ ไป โดยอาจเกดิ จากความ
คาดหวังทีเ่ กนิ กวา่ เป้าหมาย เปน็ ต้น ผลท่ไี ดร้ ับก็มคี วามเส่ียงทจี่ ะทำใหห้ น่วยงานนนั้ ๆ มผี ลการประเมินที่
ตกตำ่ กวา่ ทต่ี ง้ั เปา้ ไวไ้ ด้

รายละเอียดตอ่ ไปนปี้ ระกอบด้วย การทบทวนหลักการกำหนดตัวช้วี ดั จากงานวิจัยทเ่ี กีย่ วข้อง ควบคู่
กับการศึกษาขอบเขตและภารกิจของปิดทองฯ ทั้งนี้ กรอบการกำหนดโครงสรา้ งตัวชี้วัด จะต้องสะทอ้ น
หลากหลายมิติของผลลพั ธ์ ทสี่ อดรับกับแนวทางการประเมนิ ในระดบั นานาชาติ ระดับประเทศ และระดับ
องค์กรของปดิ ทองฯ

เพื่อให้การประเมินและติดตามผลของปิดทองฯ มีความเป็นระบบ มีหลักการสอดคล้องกับ
วัตถุประสงค์ของสำนักงบประมาณ รวมถึงสอดคล้องกับหลักการประเมินผลในระดับนานาชาติ การ
ทบทวนงานศึกษาวิจยั ทเ่ี กี่ยวข้อง จึงมีความจำเปน็ อย่างมาก เพอื่ ให้มอี งค์ความรใู้ นมมุ กว้างและสามารถใช้
องค์ความรู้เหล่านั้น มาประยุกต์ใช้บูรณาการร่วมกัน ให้เกิดรูปแบบการประเมินและติดตามผลการ
ดำเนนิ งานทเ่ี หมาะสมกบั เปา้ หมาย ภารกจิ และผลงานของปิดทองฯ ได้

ในสว่ นนี้ จงึ เร่ิมจากระบบการประเมนิ ผลงานของไทย ท่ีอา้ งองิ จากระบบการติดตามประเมนิ ผลของ
สำนักงบประมาณ ที่หน่วยงานที่ได้รับการจดั สรรงบประมาณจากภาครฐั ทุกหนว่ ยงาน จำเป็นตอ้ งปฏิบตั ิ
ตามใหส้ อดคลอ้ งกนั และในอกี สองสว่ นคือ การศกึ ษาในกระบวนการหาตวั ช้ีวดั ท่ีเน้นการวัดผลเชงิ สงั คม ท่ี
มคี วามซับซอ้ นและยากต่อการวัดค่ามากกวา่ การวดั ผลเชงิ เศรษฐกิจทใ่ี ชก้ ันอยา่ งแพรห่ ลาย รวมถงึ รูปแบบ
ที่น่าจะสามารถนำมาปรับใช้ในการประเมินตวั ช้วี ัดในบริบทตา่ งๆ ทีน่ านาชาติได้นำเสนอไว้ตามลำดบั

3.6.1.1 ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ (Strategic Performance Based
Budgeting : SPBB)

ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ.2546 สำนักงบประมาณได้มีการเริ่มปรับเปลี่ยนระบบงบประมาณจาก
ระบบงบประมาณแบบแผนงาน เป็นระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ (Strategic
Performance Based Budgeting : SPBB) และเริ่มใช้จริงในทุกหน่วยงานเมื่อปี พ.ศ.2551 เพื่อให้การ
จัดสรรงบประมาณ การบริหารจัดการงบประมาณสามารถขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ของรัฐบาลให้บรรลุตาม
เป้าหมายที่กำหนดไว้และเกิดประโยชน์อย่างแท้จริง หลักการสำคัญของระบบงบประมาณแบบใหม่ คือ
การจดั สรรงบประมาณใหเ้ ชอื่ มโยงและสามารถขับเคลือ่ นยทุ ธศาสตรข์ องรฐั บาลไดต้ ามเปา้ หมายที่กำหนด
และจัดสรรงบประมาณให้เหมาะสมสอดคล้องกับผลงาน (performance) ของหน่วยงานภาครัฐในการ
นำส่งผลสำเรจ็ ตามยุทธศาสตร์ของรัฐบาลในแต่ละปีงบประมาณ โดยหน่วยงานภาครัฐที่ได้รับการจัดสรร
งบประมาณพันธกิจในการดำเนินการตามเป้าหมายยุทธศาสตร์ของรัฐบาลจะต้องกำหนดเป้าหมายการ
ให้บริการกระทรวง ยุทธศาสตร์กระทรวง เป้าหมายการให้บริการ หน่วยงานแผนยุทธศาสตร์ ผลผลิต/

72 โครงการพัฒนาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพ้ืนท่ีตามแนวทางความคมุ้ คา่ ของการจดั การงบประมาณ
มูลนิธปิ ิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

โครงการและกิจกรรม และดำเนนิ การบรหิ ารงานตามแผนกลยทุ ธ์ เพอื่ ให้การดำเนินการบรรลุเป้าหมายที่
กำหนด เพื่อสนับสนุนเป้าหมายยุทธศาสตร์ที่รับผิดชอบ ดังนั้นการที่จะจัดสรรงบประมาณให้เหมาะสม

สอดคล้องกับผลงาน (Performance) ของหน่วยงานภาครัฐในการนำส่งผลสำเร็จตามยุทธศาสตร์ของ

รัฐบาล จึงจำเป็นที่จะต้องมีการติดตามประเมินผล เพื่อให้ทราบผลการดำเนินงานจากการใช้จ่าย

งบประมาณของหนว่ ยงานภาครัฐอนั เป็นสารสนเทศท่ีสำคญั ในกระบวนการบริหารจดั การงบประมาณ และ
การพิจารณาจัดสรรงบประมาณให้เหมาะสมสอดคล้องกับผลงาน (performance) ของหน่วยงานภาครัฐ

ในการนำสง่ ผลสำเร็จตามยุทธศาสตร์ของรฐั บาลในแต่ละปีงบประมาณ

แนวคิดของการวเิ คราะหร์ ะดับความสำเร็จฯ จะต้องกำหนด เป้าหมายการใหบ้ ริการหน่วยงาน แผน
กลยุทธ์ ผลผลิต/โครงการและกิจกรรมที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์กระทรวง เป้าหมายการให้บริการ
กระทรวง และยุทธศาสตรช์ าติ เพ่อื หนว่ ยงานภาครัฐสามารถดำเนนิ การบรหิ ารงาน ตามแผนยุทธศาสตร์ให้
บรรลุเป้าหมายแต่ละระดับที่กำหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และคุ้มค่า โดยกำหนดไว้ใน 5
ดา้ น ดงั น้ี

ก) จดุ มงุ่ หมายและรูปแบบ เพื่อทราบถึงการเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างเป้าหมาย
ยุทธศาสตร์ของชาติกับเป้าหมายยุทธศาสตร์ของกระทรวงและ

เปา้ หมายการใหบ้ ริการของหน่วยงาน (ระดบั กรมหรือเทยี บเท่า)

รวมทั้งการตอบสนองความต้องการต่อกลุ่มเป้าหมาย ซึ่งเป็น
พื้นฐานในการวางแผนกลยุทธ์ของหน่วยงาน การเชื่อมโยง

ผลผลติ กบั งบประมาณการบรหิ ารจดั การ และการกำหนดตัวชี้วดั

ระดับผลผลิตและผลลัพธ์ เพื่อการประเมินผลของหน่วยงาน โดย

อ้างอิงจากกฎหมายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง แผนยุทธศาสตร์
แผนปฏิบตั ิการ แผนงบประมาณและเอกสารอื่น ๆ ทเี่ กี่ยวข้อง

ข) การวางแผนกลยุทธ์ เพื่อให้หน่วยงานกำหนดแผนกลยทุ ธ์ให้สอดคล้อง เชื่อมโยงกับ
การบรรลุเป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ชาติ เป้าหมายการ
ให้บรกิ ารของกระทรวงและเป้าหมายการให้บรกิ ารของหนว่ ยงาน

ค) การเชอื่ มโยงงบประมาณ เพื่อทราบถึงการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี และความ
เชื่อมโยงระหว่างผลผลิต กิจกรรม และงบประมาณ/ทรัพยากร
รวมทั้งการกำหนดตัวชี้วัดความสำเร็จ ตามระยะเวลาที่กำหนด
ทกุ กจิ กรรมหลัก

ง) การบรหิ ารจัดการ เพื่อทราบถึงระบบบริหารจัดการในด้านการวางแผน ระบบ
สารสนเทศ และระบบขอ้ มลู การนำต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตไปใช้
ประโยชน์ กระบวนการการวัดผลการดำเนินงาน และ/หรือ

โครงการพัฒนาระบบการตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการพฒั นาพ้ืนทต่ี ามแนวทางความคุม้ คา่ ของการจดั การงบประมาณ 73
มลู นธิ ิปิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

ปรับปรุงการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพและความคุ้มค่า การ
ตรวจสอบทางการเงิน และการประเมินบุคคลที่สัมพันธ์กับการ
นำสง่ ผลผลิต

จ) การประเมนิ ผลผลติ /ผลลัพธ์ เพอื่ ทราบถึงความก้าวหนา้ ของผลผลติ และผลลัพธ์ ประสิทธภิ าพ
ในการดำเนนิ งาน ความคุ้มค่าเชิงเศรษฐกิจและ/หรือสงั คม การ
เทียบเคียงผลผลิตของสว่ นราชการและหน่วยงานเอกชนอน่ื และ
ผลการประเมินจากผู้ประเมินอสิ ระ

นอกจากนี้ ในพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ หมวด ๗ ได้กำหนดให้หน่วยงานรบั
งบประมาณ จะต้องจัดวางระบบติดตามและประเมินผลการดำเนนิ งานตามแผนปฏิบตั ิการและแผนการใช้
จ่ายงบประมาณ เพื่อวัดผลสัมฤทธิ์หรือประโยชน์ท่ีได้รับจากการใช้จ่ายงบประมาณ โดยในระบบติดตาม
และประเมินผลการดำเนินงานให้ประกอบด้วย การติดตามและประเมินผลก่อนการจัดสรรงบประมาณ
ระหว่างการใช้จ่ายงบประมาณ และภายหลงั การใช้จ่ายงบประมาณ ด้วย

3.6.1.2 Principle for Social Impact Assessment (SIA) (Vanclay, 2003)

เม่อื มกี ารพิจารณาถงึ ผลงานและคณุ ค่าของการดำเนินงานพัฒนาใดๆ ทีส่ ่งผลกระทบตอ่ สงั คม และ
ชมุ ชน และตอ้ งการประเมนิ ผลกระทบนัน้ ๆ มีหลักการท่ยี ึดถอื กันอยา่ งแพร่หลายในระดับนานาชาติ ได้แก่
การประเมนิ ผลกระทบต่อสงั คม หรือ Social Impact Assessment (SIA)

SIA ประกอบดว้ ย กระบวนการในการวิเคราะห์ ติดตาม และบรหิ ารจดั การผลกระทบ และผลลัพธท์ ่ี
เกดิ ข้ึนตอ่ สังคมและชุมชนทง้ั โดยตั้งใจและไม่ตงั้ ใจ ท้ังด้านบวกและด้านลบ รวมถึงการวางแผนทีจ่ ะจดั การ
กับผลกระทบเหล่านั้น โดยมีวัตถุประสงค์หลกั เพื่อใหเ้ กิดความสมดุลอย่างยั่งยืนทัง้ สง่ิ แวดล้อมทางสงั คม
และทางธรรมชาติ

กระบวนเหล่านี้ ให้ความสำคัญในการระบุเปา้ หมายการพัฒนาที่ชัดเจน เพื่อให้มัน่ ใจได้ว่าผลลพั ธ์
ของการพัฒนาน้ันๆ จะบรรลุผลประโยชน์สูงสุด และได้รับผลกระทบทางลบน้อยที่สุด ดังนั้น SIA มักถูก
ประยกุ ต์ใชใ้ นดา้ นการบรรเทาผลกระทบ และกระบวนการชดเชยความเสียหายทอี่ าจเกดิ ข้ึนจากโครงการ
พฒั นา ซ่ึงมักควบรวมอยูใ่ นการประเมินผลกระทบของโครงการขนาดใหญ่ของไทย เชน่ Environmental
Impact Assessment (EIA)

ทั้งนี้ สิ่งที่คณะที่ปรึกษาให้ความสนใจในหลักการของ SIA ซึ่งไม่ได้จำกัดเฉพาะการใช้งานกับ
กระบวนการใดๆ เท่านั้น แต่ยังให้ความรู้อย่างกว้างขวางเก่ียวกับความหมายของ ‘ผลกระทบต่อสังคม’
หรือ ‘Social Impacts’ โดยได้มีการอธบิ ายความหมายของ Social Impacts ที่ประกอบดว้ ยผลกระทบใน
หลายบริบท ดังตอ่ ไป

74 โครงการพฒั นาระบบการตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพ้นื ทีต่ ามแนวทางความคุ้มค่าของการจดั การงบประมาณ
มูลนิธปิ ดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

- วิถชี วี ติ ของประชาชน: เช่น การอยู่อาศัย การออกจากบา้ นไปทำงาน การติดตอ่ สื่อสารกบั คนอืน่ ๆ
ในแต่ละวัน

- วัฒนธรรม: เชน่ ความเชอื่ วิถีท่ปี ฏบิ ตั ิตอ่ ๆกันมา ภาษา คุณคา่ ทางความคดิ
- ชมุ ชนที่อาศยั อยู่: ความเปน็ อนั หนง่ึ อันเดียวกนั ความแข็งแกรง่ ในชมุ ชน สิง่ อำนวยความสะดวก

สิง่ ท่ใี ห้บริการ
- ระบบการเมอื ง: การมสี ว่ นร่วมในกระบวนการตัดสนิ ใจทส่ี ง่ ผลตอ่ ชวี ติ ความเปน็ อยู่ของชุมชนนัน้ ๆ

ความสามารถในการแสดงความคิดเหน็ ทรพั ยากรต่างๆ ท่เี อ้ืออำนวยต่อการมสี ว่ นรว่ มเหล่าน้ี
- สงิ่ แวดลอ้ ม: เชน่ คุณภาพอากาศ และนำ้ บริโภค ปรมิ าณและคณุ ภาพอาหารทเ่ี พยี งพอตอ่ การ

บริโภค ระดับความเสี่ยงต่อความเปน็ พิษทางส่ิงแวดล้อมทีอ่ ยอู่ าศยั ความปลอดภัยตอ่ รา่ งกายและ
ทรัพยส์ ิน
- คุณภาพและความเปน็ อย:ู่ เชน่ สขุ ภาพทสี่ มบรู ณ์ทงั้ กาย ใจ สงั คม และจติ วิญญาณ
- สทิ ธสิ ่วนบุคคลและทรัพยส์ ิน: ผลกระทบท่ีมตี อ่ ฐานะทางการเงิน ความไดเ้ ปรยี บ-เสยี เปรยี บ ทัง้
ทางเสรภี าพ และผลประโยชน์
- ความรสู้ กึ กลวั และไมม่ ั่นใจ: เช่น ความรสู้ ึกต่อความปลอดภยั ความกลวั และไม่มั่นใจเก่ียวกบั ชวี ิต
ในอนาคต ของตัวเองและครอบครวั

ดังนั้น ตามที่ SIA ระบุไว้ข้างต้น คือ บริบททางสังคมต่างๆ ที่ควรถูกประเมิน เมื่อต้องการพัฒนา
โครงการใดๆ ท่ีส่งผลในวงกว้างตอ่ ประชาชน ชมุ ชน และสิ่งแวดล้อม แต่ท้งั นี้ SIA ไมไ่ ดร้ ะบวุ ิธีมาตรฐานที่
ควรใชใ้ นการประเมินผลในแต่ละบริบท เพียงแตร่ ะบกุ ิจกรรมหลกั ๆ ท่คี วรดำเนนิ การเทา่ นน้ั เชน่ การเก็บ
ขอ้ มูลพน้ื ฐาน, กระบวนการมสี ่วนรว่ ม, การระบแุ นวทางบรรเทาผลกระทบ เปน็ ต้น

3.6.1.3 Social Capital Assessment (SCA) (Krishna & Shrader, 1999)

การประเมินต้นทุนทางสังคม หรือ Social Capital Assessment (SCA) นั้น ให้ความสำคัญกับ
ลักษณะโครงสร้างทางสงั คม เชน่ โครงขา่ ยทางสงั คม, วถิ ชี ีวิต, ความเช่ือม่นั , ผลประโยชน์ร่วมกันในสังคม
เปน็ ตน้ โดยกรอบทีใ่ ชใ้ นการประเมนิ คอื การเปรยี บเทียบความเปลยี่ นแปลงที่เกดิ ข้ึนจากสง่ิ ท่ีสังคมเคยมี
อยู่เดิม ว่าดขี ้นึ หรอื แยล่ ง

กรอบการประเมินนี้ เน้นการจัดเก็บข้อมูลพื้นฐานทางกิจกรรมของสังคม ทั้งเชิงปริมาณและเชงิ
คุณภาพ เพื่อให้มีข้อมูลที่ชัดเจนถึงความสัมพันธ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชุมชนนั้นๆ เพื่อใช้ในการติดตาม
คาดการณ์ผลกระทบของโครงการที่อาจทำให้เกดิ การเปลี่ยนแปลงโครงสรา้ งกิจกรรมตา่ งๆ เหล่าน้ัน โดย
เปน็ การวิเคราะห์ความสมั พนั ธ์ระหว่างตวั ชี้วดั การพัฒนาโครงการ และต้นทนุ ของสังคมท่ีเปลี่ยนแปลงไป

รูปแสดงกรอบแนวคิดการประเมินต้นทนุ ทางสังคม ซง่ึ แบ่งออกเปน็ 2 ระดับ :

โครงการพฒั นาระบบการตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผลการพฒั นาพื้นทตี่ ามแนวทางความคุม้ คา่ ของการจดั การงบประมาณ 75
มลู นธิ ิปดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

Macro Level – แสดงถงึ โครงสรา้ งท่เี ปน็ แบบแผนในระดบั องคก์ ร/ประเทศ เช่น กฎหมาย, ระบบ
การบริหารที่เอ้ือตอ่ สังคม, นโยบายการมีส่วนรว่ มของประชาชน เป็นต้น

Micro Level – แสดงถงึ ความเกีย่ วข้องที่สำคญั ในระดับสงั คม ซึง่ แบง่ ออกเปน็ 2 แบบ ได้แก่ การ
รับรู้/ความรสู้ กึ นึกคิดทจี่ บั ตอ้ งไม่ได้ (Cognitive) เชน่ คณุ คา่ , ความเชือ่ , แนวคิด
เป็นต้น และ เชิงโครงสร้าง (Structure) เช่น โครงสร้างชุมชน, กระบวนการ
ตัดสนิ ใจ, ความรบั ผดิ ชอบ เปน็ ตน้

รูปท่ี 3.19 กรอบแนวคดิ การประเมนิ ต้นทนุ ทางสงั คม

โดยกรอบแนวคิดนี้ ให้ความสำคัญกับความเข้าใจในบทบาทของสังคมที่กำลังพัฒนา เพื่อให้เหน็
ความสัมพันธ์ทั้งในระดับ Macro และ Micro แต่การประเมินผล จะเน้นปฏิสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นในระดับ
Micro ท้งั เชงิ การรบั รู้ และเชงิ โครงสร้าง มากกว่าการวดั จากตวั ชวี้ ัดทางดา้ น Macro

ในกรอบแนวคดิ นี้ คณะทป่ี รกึ ษาให้ความสนใจในการเช่อื มโยงความสมั พันธจ์ ากระดับบนลงล่าง คือ
จาก Macro มายัง Micro (Top-Down) แต่กระบวนการวัดผลนั้น กลับดำเนินการแบบล่างขึ้นบน
(Bottom-Up) ซึ่งสอดคล้องกับการดำเนินงานของปิดทองฯ ที่มีผลงานลงไปสู่ระดับชุมชน และสะท้อน
กิจกรรมท้ังหมดในภาพรวมของแผนงานองคก์ รได้

76 โครงการพฒั นาระบบการตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการพฒั นาพืน้ ท่ตี ามแนวทางความคมุ้ คา่ ของการจดั การงบประมาณ
มลู นธิ ิปดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

3.6.2 โครงสร้างตัวชี้วัด เพ่อื การประเมนิ และรายงานผลของปดิ ทองฯ

จากการทบทวนงานศึกษาวิจัยที่เกี่ยวข้อง สิ่งที่สอดคล้องตรงกันในทุกการศึกษาด้านการประเมนิ
และติดตามผล คือ การกำหนดเป้าหมาย และยุทธศาสตร์หลักในระดับ Macro แล้วจึงย่อยเป้าหมายลง
ไปสู่ระดบั แผนงาน โครงการ และกจิ กรรม

ดังนั้น แนวคิดในการออกแบบระบบการประเมินผลสำเร็จ และการรายงานผล จะคำนึงถึงการ
กำหนดเป้าหมาย/ยุทธศาสตร์ในระดบั ประเทศเปน็ หลกั แล้วจงึ เชอ่ื มโยงลงไปสู่แผนงาน และกิจกรรมต่างๆ
ในระดบั พื้นที่ จากรูปกรอบการประเมินผลสำเรจ็ ที่จะนำมาใชก้ บั งานของปิดทองฯนั้น จะแบ่งออกเป็น 2
ส่วน ได้แก่

รูปท่ี 3.20 กรอบการประเมนิ ผลสำเรจ็ แบบบนลงล่าง (Top-Down) และลา่ งข้ึนบน (Bottom-Up)

3.6.2.1 การกำหนดแผนยทุ ธศาสตร์ส่พู นื้ ท่ี (Top-down strategy)

การกำหนดแผนยุทธศาสตร์ เป็นกระบวนการตัดสินใจเพื่อกำหนดทิศทางขององค์กรในอนาคตท่ี
ตอ้ งการบรรลุเปา้ หมายนนั้ ๆ รวมถงึ กำหนดแนวทางในการบรรลุสภาพการณ์ท่กี ำหนดบนพื้นฐานข้อมูลท่ี
รอบด้านอย่างเป็นระบบ โดยกระบวนการนี้ จะต้องดำเนินการอย่างรอบคอบ มีขั้นตอน เพื่อให้เกิด
แผนปฏบิ ัติการทจ่ี ับตอ้ งไดแ้ ละเขา้ ใจไดใ้ นทกุ ระดบั

จากรูปจะเห็นได้ว่า แผนยุทธศาสตร์ได้ถูกกำหนดขึ้นภายใต้ความคาดหวังที่จะเกิดผลลัพธ์ หรือ
ผลกระทบต่างๆ ในภาพรวมหากแผนนั้นบรรลุได้ตามเป้าประสงค์ และเพอ่ื ให้เกดิ ผลลพั ธ/์ ผลกระทบทีต่ งั้ ไว้

โครงการพฒั นาระบบการติดตาม ประเมนิ และรายงานผลการพฒั นาพน้ื ทตี่ ามแนวทางความคุ้มคา่ ของการจัดการงบประมาณ 77
มูลนิธปิ ิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

จึงจำเป็นต้องกำหนดเป้าหมายยอ่ ย หรือ เป้าหมายและผลสำเร็จเชิงพ้ืนที่ เพือ่ ให้หน่วยปฏิบัติการ ได้มี
แนวทางในการทำงานในแตล่ ะพ้นื ทข่ี องตนเอง

ในส่วนนี้ คือส่วนที่ปิดทองฯ ได้มีการดำเนินงานไว้แล้วจากแผนงาน และการเชื่อมโยงแผนงานสู่
ยุทธศาสตร์ของชาติ ดังนั้น ในการประเมินผลของคณะที่ปรึกษาฯ จะเน้นการศึกษาความเชื่อมโยงของ
ยทุ ธศาสตร์ และจะดำเนินงานหลักในหัวข้อถดั ไป คือ การวัดผลสำเร็จจากพนื้ ทีส่ ู่เปา้ หมาย

3.6.2.2 การวัดผลสำเรจ็ จากพื้นทีส่ ่เู ป้าหมาย (Bottom-up evaluation)

เมื่อเกิดเปา้ หมายและแผนงานในทกุ ระดบั แล้ว การดำเนินงานต่อไปคือการติดตาม และวัดผลการ
ปฏิบตั ิงาน และผลสำเร็จของแตล่ ะแผนงาน การวัดความสำเรจ็ นัน้ จำเป็นตอ้ งมีการกำหนดดัชนี/ตัวช้ีวัด
ความสำเร็จของการปฏิบัติงาน (Key Performance Indicators/KPIs) KPIs จึงหมายถึง สิ่งที่สะท้อนถงึ
ความสำเร็จของการปฏิบัติงาน ซ่ึงสงั เกตได้/วดั ได้/นบั ได้

ตวั ชวี้ ดั ที่มกั ใช้ในระบบการวดั ผลสมั ฤทธ์ขิ องโครงการภาครฐั มี 5 ประเภท ได้แก่ (1) ตัวช้ีวัดปัจจัย
นำเข้า (Input Indicators) (2) ตัวชี้วัดผลผลิต (Output Indicators) (3) ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (Outcome
Indicators) (4) ตัวชีว้ ดั ประสิทธภิ าพและความคมุ้ คา่ (Efficiency and Cost Effectiveness Indicators)
(5) ขอ้ สนเทศเชิงอธบิ าย (Explanatory Information)

จากกรอบแนวคิดการวัดผลสำเร็จจากพื้นที่สู่เป้าหมาย (Bottom-up evaluation) จึงเน้นการวัด
จากผลลัพธ์สุดทา้ ยท่ีเป็นหน่วยหลักของผลผลติ แลว้ จงึ รวบรวมผลลพั ธต์ า่ งๆ เพื่อการรายงานผลในระดับ
ยุทธศาสตร์ จากรูปการวัดผลสำเร็จสามารถอธิบายจากล่างขึ้นบน (Bottom-up) ตามลักษณะการ
ประเมนิ ผลได้ดังน้ี

1) ตัวชว้ี ดั การประเมินผลเชงิ พนื้ ท:ี่ เป็นตวั ชีว้ ัดผลผลิต (Output indicators) แสดงจำนวน
สงิ่ ของท่ผี ลติ ไดใ้ นแต่ละพ้ืนที่ หรอื จำนวนหน่วยท่ีไดใ้ หบ้ รกิ ารต่อผรู้ ับบรกิ าร ตัวชวี้ ัดนจ้ี ะ
รวมตัวช้วี ดั ภาระงาน (Workload) ซงึ่ เป็นตวั สะท้อนความพยายามทีใ่ ชเ้ พือ่ ผลิตส่งิ ของ
หรอื ให้บริการ ตวั อย่างของตวั ชว้ี ัดผลผลิต ได้แก่ จำนวนผ้เู ขา้ อบรม จำนวนผทู้ ่ีใช้บรกิ าร
หรอื ได้รบั การถ่ายทอดความรู้ จำนวนชุมชน/หมบู่ า้ นทมี่ รี ายไดเ้ พิ่มขึ้น จำนวนแหลง่ นำ้ ท่ี
ไดร้ บั การพัฒนา เปน็ ตน้

2) ตวั ช้ีวัด/การประเมินผลกระทบ: เป็นตัวช้วี ัดผลลัพธ์ หรอื Outcome indicators ตัวชี้วัด
เหล่านีจ้ ะรายงานผลสมั ฤทธิ์ของโครงการ ในด้านเศรษฐกิจ, สังคม, สงิ่ แวดล้อม และผ้มู ี
ส่วนเกีย่ วข้อง ตวั อยา่ งไดแ้ ก่ รายไดท้ เี่ พม่ิ ขนึ้ ของประชาชน ความพงึ พอใจของประชาชน/
ผมู้ สี ว่ นเกยี่ วขอ้ ง ร้อยละของชุมชนท่มี ีความเป็นอยู่ดีขน้ึ สัดส่วนความสมดลุ ทาง
ธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ มทเี่ พิม่ ขน้ึ เปน็ ต้น ซ่งึ สามารถใชผ้ ลการประเมินจากขนั้ ตอนก่อน

78 โครงการพฒั นาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพนื้ ทต่ี ามแนวทางความคุม้ ค่าของการจัดการงบประมาณ
มลู นิธิปดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

หน้าของแต่ละพนื้ ท่ี โดยวเิ คราะหล์ ักษณะของผลกระทบจากตวั ชวี้ ัดแต่ละตวั และ

รวบรวมเพ่ือให้ได้ผลกระทบในระดับประเทศได้

3) ตวั ชว้ี ัดและผลสมั ฤทธ์เิ ชิงยุทธศาสตร:์ เป็นตวั ชี้วัดระดับสงู สดุ ทป่ี ระกอบด้วย 3 สว่ น
ได้แก่
- ตวั ชี้วดั ปัจจยั นำเขา้ (Input indicator) ได้แก่ ทรพั ยากรทใ่ี ชใ้ นโครงการ เช่น จำนวน

เงินงบประมาณท่ีใช้ หรือจำนวนบคุ ลากรทจ่ี ำเป็นในการใหบ้ รกิ าร จำนวนอุปกรณ์ที่

จำเป็นในการการผลิต เปน็ ตน้
- ตัวช้ีวดั ประสิทธภิ าพและความคุ้มค่า (Efficiency and Cost Effectiveness

Indicators) แสดงคา่ ใช้จ่ายต่อหน่วยของผลผลติ และผลลพั ธ์ ตามลำดับ ตวั อยา่ งเช่น

ความรวดเรว็ ในการเบิกจ่ายงบประมาณตามแผน ค่าใชจ้ า่ ยเดินทางท่ีประหยดั ได้

มูลคา่ เพม่ิ ของโครงการท่ีไดร้ บั เป็นต้น
- ตัวชว้ี ัดผลผลิต และ ผลลพั ธ์ ในภาพรวมองค์กร (Strategic output and outcome

indicators) เป็นการรวบรวมผลผลติ และผลลพั ธ์ในระดบั กจิ กรรมและระดบั พ้นื ที่
เพอ่ื สะทอ้ นประสทิ ธภิ าพการปฏิบตั งิ านในภาพรวมขององคก์ ร ในระดบั นอี้ าจใช้

ข้อสนเทศเชงิ อธิบาย (Explanatory Information) เพอ่ื ใช้เป็นบทสรปุ การประเมนิ

ในรูปแบบการรายงานผลได้

การวางแผนในส่วนของทิศทางการพัฒนาของมูลนิธิปิดทองฯ และการวางแผนการพัฒนามติ พิ ้ืนที่
ตอ้ งสามารถแสดงให้เหน็ ความสำเร็จในแตล่ ะระดบั ของการวงแผน จงึ กำหนดโครงสรา้ งตัวช้ีวัดท่ีถ่ายทอด
ในระดับต่างๆ อย่างเป็นระบบที่จะนำไปสู่ความสำเรจ็ ตามยุทธศาสตร์ท้ัง 3 ด้าน โดยกำหนดความสำเรจ็
เป็นด้านๆ ได้แก่ (1) ด้านเศรษฐกิจแทนด้วย “E” ซึ่งย่อมาจาก Economic (2) ด้านสังคมแทนด้วย “S”
ซึ่งยอ่ มาจาก Social (3) ดา้ นสงิ่ แวดลอ้ มแทนด้วย “N” ซง่ึ ยอ่ มาจาก Environment (4) ด้านความม่ันคง
แทนด้วย “I” ซึ่งย่อมาจาก Internal Affairs และ (5) ด้านการบริหารแทนด้วย “M” ซึ่งย่อมาจาก
Management ทั้งนี้ โครงสร้างตัวชี้วัดความสำเร็จของสถาบันฯ ในแต่ละด้านแบ่งเป็น 3 ระดับ ได้แก่
ตวั ช้วี ดั ระดบั ผลลัพธ์ ตวั ช้วี ดั ระดบั ผลผลิต และตวั ชวี้ ดั ระดบั โครงการ โดยกำหนดรหัสกำกับดว้ ยตัวอักษร
และตัวเลข เพื่อให้สามารถติดตามความก้าวหน้าและการส่งต่อผลสำเร็จตามลำดับขั้นไปจนถึงระดับ
ความสำเร็จระดับยุทธศาสตร์ กรอบการวางโครงสร้างในแต่ละระดับและตัวอย่างตัวชีว้ ัดในแต่ละด้าน มี
รายละเอยี ดดงั น้ี

โครงการพฒั นาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพฒั นาพ้ืนทต่ี ามแนวทางความคุม้ ค่าของการจัดการงบประมาณ 79
มูลนธิ ิปิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

ยุทธศาสตรH ๑. การเสรมิ สรา, งความเข,มแข็งของพ้นื ท่ตี ,นแบบเดมิ ใหไ, ปสูTความยั่งยืน ๒. สงT เสริมการประยุกตHใชแ, นว ๓. การบริหารจัดการเพ่ือขยายผล
ความสำเร็จ พระราชดำรใิ นพ้นื ท่ีท่มี ีปญX หา การพัฒนาตามแนวพระราชดำริ
ด,านเศรษฐกิจ (E) ด,านสงั คม (S) ด,านส่ิงแวดลอ, ม (N)
ระดบั ผลลพั ธH ความมนั่ คงของประเทศ ด,านการบรหิ าร (M)
(1) ด,านความมั่นคง (I)

E1 S1 N1 I1 I2 M1 M2

ระดับผลผลติ E11 E12 S11 S12 N11 N12 I11 I12 I21 M11 M12 M21 M22
(2)

ระดับ E1101 E1201 S1101 S1201 N1101 N1201 I1101 I1201 I2101 M1101 M1201 M2101 M2201
โครงการ/ E1102 E1202 S1102 S1202 N1102 N1202 I1102 I1202 I2102 M1102 M1202 M2102 M2202
กจิ กรรม I1103 I1203 I2103 M1103 M1203 M2103 M2203
E11n E12n S11n S12n N11n N12n
(3)

I11n I12n I21n M11n M12n M21n M22n

รปู ท่ี 3.21 กรอบการวางโครงสร้างตัวช้ีวัดของสถาบันฯ

ยทุ ธศาสตร* ๑. การเสรมิ สรา2 งความเขม2 แข็งของพ้นื ท่ีต2นแบบเดิมใหไ2 ปสGคู วามยง่ั ยืน

ความสำเร็จ ดา2 นเศรษฐกจิ (E)

ระดับผลลัพธ* E1 พืน้ ทต่ี น2 แบบเดิมสามารถพงึ่ พาตนเองไดอ2 ยาG งยงั่ ยนื
(1)

ระดบั ผลผลิต E11 รอ2 ยละ ๘๐ ของครวั เรอื นทเี่ ข2ารวG มโครงการในหมูบG า2 นตน2 แบบประยุกต* E12 เกิดการพฒั นาผลติ ภณั ฑท* ส่ี ร2างมูลคาG ให2พื้นทต่ี น2 แบบ ๑๕ ชนดิ ภายใน
(2) “ทฤษฎใี หมG” ในการประกอบอาชีพเกษตร ๕ ปd โดยมีระดับกำไรของผลิตภัณฑ*เพม่ิ ข้ึนจากปd ๒๕๖๓ รอ2 ยละ ๑๐ ตอG ปd

ระดบั โครงการ/ E1101 เกิดขยายผลสGพู นื้ ที่ภายนอกพนื้ ท่ีตน2 แบบฯ และพื้นที่ที่เกี่ยวขอ2 ง E1201 เกิดผลผลติ หลกั ในพน้ื ท่ีที่สร2างมูลคาG ทางเศรษฐกจิ ท่สี ามารถทำกำไร
กิจกรรม (โครงการขยายผลการพัฒนาตามแนวพระราชดำริ) เพ่มิ ขน้ึ ให2กบั เกษตรกรทีเ่ ข2ารวG มโครงการ (โครงการสGงเสริมและพัฒนาอาชีพ
(3) ตวั ช้วี ัดโครงการ : จำนวนพน้ื ที่ทไ่ี ด2รับการขยายผลเพิม่ ขึ้น* ทางเลอื ก)
E1102 เกิดแผนพฒั นาชมุ ชนทีเ่ ชื่อมโยงกบั แผนพัฒนาของ อปท. และ ตัวชีว้ ัดโครงการ : ร2อยละของกำไรท่เี พมิ่ ข้นึ จากผลผลิตหลักในพื้นท*ี่
หนวG ยงานอน่ื ๆ ที่เกีย่ วข2อง (โครงการพฒั นาแผนชมุ ชน) E1202 มผี ลผลติ ทางการเกษตรทไ่ี ดร2 บั การรบั รองมาตรฐาน เชนG อย./GAP/
ตัวชี้วดั โครงการ : จำนวนแผนพฒั นาชุมชนทีเ่ พม่ิ ขน้ึ ทีเ่ ชอื่ มโยงกบั มาตรฐานจังหวดั เพ่ิมข้ึน (โครงการพฒั นาและเพม่ิ ผลติ ภาพการผลิต
แผนพัฒนาของ อปท. และหนวG ยงานอน่ื ๆที่เกีย่ วข2อง* (Productivity) และ โครงการยกระดบั ผลผลติ และ การพฒั นาศักยภาพ
ทนุ เดิมในชุมชน)
ตัวช้วี ดั โครงการ : จำนวนผลผลติ ทางการเกษตรทไี่ ด2รับการรับรองมาตรฐาน
เพ่ิมข้ึน*

รปู ท่ี 3.22 ตัวอยา่ งความสำเร็จและตวั ชวี้ ัดในแต่ละระดบั ตามแผนยทุ ธศาสตร์ระยะที่ ๓ : ดา้ นเศรษฐกิจ

ยุทธศาสตร* ๑. การเสริมสร2างความเขม2 แขง็ ของพนื้ ทตี่ 2นแบบเดมิ ให2ไปสคูG วามยัง่ ยืน

ความสำเร็จ ดา2 นสังคม (S)

ระดับผลลพั ธ* S1 พ้ืนที่ตน2 แบบเปOนแหลGงเรยี นรเ2ู พอื่ การขยายผล เกิดการปฏบิ ัตเิ พื่อดแู ลความเปนO อยGู และคณุ ภาพชีวติ ของประชาชนในพ้นื ท่ี รวมถงึ การเอ้อื เฟZ[อเผ่อื แผGนอกพื้นท่ี
(1)
S11 ร2อยละ ๘๐ ของกลมGุ /กองทนุ จากฐาน ป` ๒๕๖๓ ได2รับการรับรอง S12 รอ2 ยละ ๘๐ ของหมGูบา2 นเปาg หมาย เกิดกฎระเบียบ หรอื ขอ2 บังคับชมุ ชน
ระดับผลผลิต มาตรฐาน (กลGมุ เกษตรกร วสิ าหกจิ ชุมชน สหกรณ*) มกี ารบรหิ ารกิจกรรม จติ สำนกึ ชมุ ชน และเกิดการปฏิบตั ใิ ช2ในการดูแลความเปนO อยGู และคณุ ภาพชวี ิต
(2) ดำเนนิ การอยาG งตGอเนือ่ งตามหลกั ธรรมาภิบาล และชมุ ชนทำได2ดว2 ยตนเอง ของประชาชนในพ้นื ท่ี รวมถงึ การเอ้ือเฟ[อZ เผ่ือแผGนอกพ้นื ที่

ระดบั โครงการ/ S1201 น้ำกระจายทวั่ ถงึ พน้ื ที่รับประโยชนจ* ากนำ้ เดิมเต็มศักยภาพ (โครงการ
กิจกรรม สGงเสรมิ ประสิทธิภาพบรหิ ารจดั การทรพั ยากรนำ้ ดิน ปาk )
(3) ตวั ช้ีวัดโครงการ : พนื้ ทีร่ ับประโยชนท* ่ีเพิ่มขึน้ *

S1202 เกิดกิจกรรมการพฒั นาศักยภาพของบุคลากรทส่ี อดคล2องกบั แผนงานใน
พืน้ ท่ี ๑๐ (แผนงานการสนับสนนุ และบริหารจัดการงานการพัฒนาตาม
ยทุ ธศาสตร)*
ตวั ช้ีวดั โครงการ : จำนวนบคุ ลากรทผ่ี Gานการพัฒนาศกั ยภาพท่ีสอดคลอ2 งกับ
แผนงานในพืน้ ที่ ๑๐*

รปู ท่ี 3.23 ตวั อยา่ งความสำเร็จและตวั ช้วี ัดในแตล่ ะระดบั ตามแผนยุทธศาสตรร์ ะยะที่ ๓ : ดา้ นสังคม

80 โครงการพฒั นาระบบการติดตาม ประเมนิ และรายงานผลการพัฒนาพ้นื ท่ตี ามแนวทางความคมุ้ ค่าของการจัดการงบประมาณ
มูลนธิ ปิ ิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

ยุทธศาสตร* ๑. การเสริมสร2างความเข2มแข็งของพนื้ ทต่ี น2 แบบเดิมใหไ2 ปสGูความย่ังยืน
ความสำเร็จ
ระดับผลลัพธ* ดา2 นสง่ิ แวดลอ2 ม (N)

(1) N1 พ้นื ท่ปี Pาไมไ2 ดร2 บั การอนรุ กั ษ* การผลิตเปนS มิตรกับสงิ่ แวดลอ2 ม เกิดรูปแบบการบรหิ ารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ2 ม เพือ่ สุขอนามัยของประชาชนทุก
ระดับผลผลิต หมGบู า2 นที่เข2ารGวมโครงการ

(2) N11 มีพ้นื ทป่ี าP ไม2 ท่ไี ดร2 ับการปWองกัน การดแู ลรักษา และการอนรุ ักษท* รพั ยากร N12 เกดิ การดำเนนิ งานดา2 นการผลิตท่เี ปนS มิตรตอG สิง่ แวดลอ2 ม หรอื การลดปจ\ จยั
ปาP ไม2 ในพื้นท่ีโครงการท่ไี ดร2 ับอนญุ าตตามกฎหมาย มสี ดั สGวนร2อยละ ๕๕ ของ ทก่ี Gอใหเ2 กดิ มลพษิ การบรหิ ารจัดการทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ2 ม เพอ่ื
ระดบั โครงการ/ พื้นที่โครงการ สขุ อนามยั ของประชาชนทุกหมูGบา2 นทเ่ี ข2ารGวมโครงการ
กจิ กรรม
(3) N1101 นำ้ กระจายทัว่ ถงึ พืน้ ทร่ี ับประโยชน*จากนำ้ เดมิ เตม็ ศักยภาพ N1201 มกี ารบรหิ ารจัดการทรพั ยากรอยาG งมีประสิทธภิ าพ เปนS ธรรม (โครงการ
(โครงการสGงเสรมิ ประสิทธภิ าพบรหิ ารจดั การทรัพยากรน้ำ ดิน ปาP ) สงG เสริมประสทิ ธภิ าพบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ดนิ ปPา)
ตวั ชีว้ ดั โครงการ : จำนวนพนื้ ท่ปี าP ไมท2 ไ่ี ด2รับประโยชน** ตัวช้ีวัดโครงการ : จำนวนรูปแบบการบรหิ ารจัดการทรัพยากรที่มีสวG นรGวมของ
ประชาชน*

N1202 มีการนำเทคโนโลยี นวัตกรรมทีเ่ หมาะสมกบั ภูมสิ ังคม เพอ่ื พัฒนา
มาตรฐานการผลิต (โครงการสนบั สนุนนวตั กรรม เทคโนโลยี เพอ่ื พฒั นามาตรฐาน
การผลิตชมุ ชน)
ตัวชวี้ ัดโครงการ : จำนวนกลGุม/กองทุนท่ีมีการนำเทคโนโลยี นวตั กรรมมาใชด2 า2 น
การผลติ ทีเ่ ปนS มติ รตอG สิง่ แวดลอ2 ม*

รูปท่ี 3.24 ตัวอยา่ งความสำเรจ็ และตัวชวี้ ดั ในแต่ละระดบั ตามแผนยทุ ธศาสตรร์ ะยะที่ ๓ : ดา้ นสิ่งแวดล้อม

ยทุ ธศาสตร* ๒. ส.งเสริมการประยุกต*ใช8แนวพระราชดำรใิ นพน้ื ทท่ี ี่มปี Cญหาความม่ันคงของประเทศ

ความสำเรจ็ ดา8 นความมัน่ คง (I)

ระดบั ผลลัพธ* I1 คุณภาพชวี ิตของประชาชนในพน้ื ทช่ี ายแดนของประเทศมีการพัฒนาข้นึ จากการประยกุ ตใ* ชแ8 นวพระราชดำริ โดยประชาชนได8มีอาชพี ลดปญC หาท่ีคุกคามความ
(1) ม่นั คงของประเทศ

ระดบั ผลผลติ I11 จังหวดั ชายแดนภาคใต8 : ครวั เรือนต8นแบบ ๖๖๔ ครัวเรอื น สามารถ I12 จังหวัดชายแดนภาคเหนือ : ตำบลตน8 แบบ ๓๓ ตำบล ในพ้ืนทเ่ี ปา` หมาย ๑๙
(2) บริหารจัดการสหกรณท* เุ รียนคณุ ภาพได8 ภายในระยะเวลา ๕ ป] อำเภอชายแดนภาคเหนือ ๔ จงั หวัด สามารถนาปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
ไปประยุกต*ใช8และไดผ8 ลจรงิ

ระดับโครงการ/ I1101 ประชาชนในพน้ื ที่ได8รบั ความรใู8 นการปลูกไม8ผลอยา. งครบวงจร I1201 แผนงานการเรียนร8ปู ระสบการณ*การประยุกตใ* ช8แนวพระราชดำรโิ ครงการ
กิจกรรม (โครงการพัฒนาศักยภาพประชาชนในพืน้ ที)่ ร8อยใจรกั ษ* หลกั สูตร ๑
(3) ตวั ชีว้ ัดโครงการ : จำนวนครวั เรอื นท่ไี ด8รับความร*8ู ตัวชีว้ ัดโครงการ : ๗๔ อปท. ๗๔ รุ.น ท่ีได8รบั การพัฒนา

I1102 เพิ่มประสทิ ธภิ าพการพฒั นาแหล.งนำ้ ตน8 ทนุ แหล.งน้ำกกั เก็บ และ I1202 แผนงานการฝกj ปฏบิ ัติดา8 นการประยกุ ต*ใช8เศรษฐกิจพอเพยี งของ อปท.
กระจายนำ้ ในแปลง ปรับปรุงดินให8เหมาะสมกบั การเพาะปลกู (โครงการ หลกั สูตร ๒
สนับสนนุ การพัฒนาโครงสร8างพน้ื ฐาน น้ำ ดิน) ตัวชวี้ ัดโครงการ : ๓๓ อปท. ๑๑ รุ.น
ตวั ช้ีวดั โครงการ : จำนวนครวั เรอื นท่ีมแี หล.งนำ้ ต8นทุน ดนิ ท่ีเหมาะสมกบั กบั I1203 กิจกรรมการพฒั นาเพ่ือแก8ไขปCญหาเร.งดว. นให8แก. อปท.ทม่ี าเรียนร8แู ลว8 นำไป
เพาะปลกู * ปฏบิ ัตจิ รงิ และพัฒนา อสพ.ใหเ8 ปนm ผเู8 ชือ่ มโยงการพฒั นา
ตัวช้วี ดั โครงการ : ๓๓ อปท.

รปู ท่ี 3.25 ตัวอย่างความสำเรจ็ และตัวช้วี ดั ในแต่ละระดบั ตามแผนยุทธศาสตรร์ ะยะท่ี ๓ : ด้านความมั่นคง

ยทุ ธศาสตร* ๓. การบริหารจัดการเพอ่ื ขยายผลการพัฒนาตามแนวพระราชดำริ
ความสำเร็จ ดาG นการบริหาร (M)
ระดบั ผลลัพธ*
M1 เกดิ การขยายผลการพัฒนาตามแนวพระราชดำริและองค*ความรGูที่ไดจG ากการดำเนินงาน ไปสทูQ กุ กลุมQ เปาR หมายอยาQ งเปนS ระบบ
(1)
ระดับผลผลิต M11 มีหลกั สตู รการฝUกอบรมท้ังดGานการปฏิบัตแิ ละดGานบรหิ าร วิทยากร และมี M12 มเี ครือขาQ ยปราชญป* Zดทองหลังพระฯ ประจำภาคตQางๆ เปนS วทิ ยากร/พ่ี
การจัดการอบรมนกั พฒั นาชนบทตามแนวพระราชดำริ เล้ียง และผูปG ระสานงาน
(2)
M1201 จัดงานเครือขาQ ยปราชญส* บื สานแนวพระราชดำริ (แผนงานภาคีสัมพนั ธ*)
ระดับโครงการ/ ตัวช้วี ดั โครงการ : จำนวน ๓ ครั้งตQอปb
กจิ กรรม M1202 การขยายผลการพฒั นารQวมกบั หนวQ ยงานภาคี (แผนงานการบริหารจดั การ
(3) และสนับสนนุ การขยายผลการพฒั นา)
ตวั ชี้วัดโครงการ : จำนวนกจิ กรรมการขยายผลรQวมกบั หนQวยงานภาค*ี

รูปที่ 3.26 ตัวอยา่ งความสำเร็จและตวั ช้ีวัดในแต่ละระดบั ตามแผนยทุ ธศาสตรร์ ะยะท่ี ๓ : ดา้ นการบริหาร

โครงการพัฒนาระบบการตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการพฒั นาพนื้ ทตี่ ามแนวทางความคมุ้ คา่ ของการจดั การงบประมาณ 81
มลู นิธปิ ดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

3.6.3 ตัวช้วี ดั การพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง กบั การพฒั นาอย่างยง่ั ยนื (SDGs)

การพฒั นาอยา่ งย่ังยืน (SDGs)

ความยั่งยืน หรือ Sustainability ได;มีการกล?าวถึง และนำมาประยุกตHใช;ในหลายองคHความรู;ท่ี
เกี่ยวข;องกับกระบวนการตัดสินใจ โดยจะต;องพิจารณาให;เกิดการบูรณาการความสำคัญของ 3
องคHประกอบหลัก คือ เศรษฐกิจ (Economic growth) สังคม (Social inclusion) และสิ่งแวดล;อม
(Environmental protection) โดยองคHการสหประชาชาติ หรือ United Nations ได;ประกาศเปkาหมาย
หลักของการพัฒนาอย?างยั่งยนื (Sustainable Development Goals: SDGs) เมื่อปm 2015 ประกอบดว; ย
17 เปาk หมาย ไดแ; ก?

1) ยุติความยากจน (No poverty)
2) ยุตคิ วามหิวโหย (Zero hunger)
3) สขุ ภาพและความเปuนอยท?ู ่ีดี (Good health and well-being)
4) คุณภาพทางการศึกษา (Quality education)
5) ความเทา? เทียมทางเพศ (Gender equality)
6) สขุ อนามยั และนำ้ ดืม่ ทสี่ ะอาด (Clean water and sanitation)
7) การเขา; ถงึ แหลง? พลงั งานและการใชพ; ลงั งานสะอาด (Affordable and clean energy)
8) การสร;างงานทีม่ ่ันคงและเศรษฐกจิ เตบิ โต (Decent work and economic growth)
9) การใช;นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพ่ือการอุตสาหกรรมและโครงสรา; งพื้นฐาน (Industries,

innovation and infrastructure)
10) ลดความเหลือ่ มล้ำ (Reduced inequalities)
11) เมืองและชุมชนทย่ี ง่ั ยืน (Sustainable cities and communities)
12) การบริโภคและการผลิตทร่ี ับผิดชอบตอ? สงิ่ แวดลอ; ม (Responsible consumption and

production)
13) ความตระหนกั ต?อปàญหาสภาพอากาศ (Climate action)
14) ความใส?ใจตอ? สง่ิ แวดลอ; มในทะเล (Life below water)
15) ความใส?ใจตอ? ธรรมชาติ ปãาไม; และสัตวHปาã (Life on land)
16) สนบั สนนุ สทิ ธิมนุษยชน และความยตุ ิธรรม (Peace, justice and strong institutions)
17) สร;างความร?วมมือเพ่อื นำไปส?ูความสำเรจ็ (Partnerships for the goals)

82 โครงการพัฒนาระบบการตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการพฒั นาพื้นที่ตามแนวทางความคุม้ คา่ ของการจัดการงบประมาณ
มูลนิธปิ ิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

รปู ท่ี 3.27 แนวคดิ การพัฒนาแบบยั่งยืน (SDGs) ขององค์การสหประชาชาติ

การประเมินผลความก;าวหน;าของการพัฒนา SDGs ตามกรอบของสหประชาชาติ จึงได;กำหนด
ตัวชี้วัดเพื่อใช;ในการประเมินผล จำนวนท้ังส้ิน 232 ตัวชี้วัด (United Nations, 2020) ที่รัฐบาล นักวิจยั
และผ;ูสนใจในการใช;งาน SDGs สามารถนำไปใช;เพื่อตดิ ตามความก;าวหนา; ของการดำเนินงานตาม SDGs ที่
สอดคล;องกับการพฒั นาเศรษฐกจิ สังคม และส่งิ แวดลอ; มอยา? งยง่ั ยนื โดยแตล? ะเปาk หมาย 17 เปkาหมาย ได;
มีการแบ?งตัวชี้วัดไว;อย?างละเอียด และแสดงผลความก;าวหน;าของการดำเนินงานในภาพรวมของทุก
ประเทศในรปู แบบรายงานเชงิ วเิ คราะหH (Dashboard) อย?างไรก็ตาม ถึงแม;จะมกี ารกำหนดตวั ชี้วัดของแต?
ละเปkาหมายไว;แล;ว แต?ไม?ใช?ทุกตัวชี้วัดที่สามารถใช;งานได;จริงกับทุกประเทศ ทุกวัฒนธรรม หรือทุก
สิ่งแวดล;อม โดยปàญหาหลักของการใช;งานตัวช้ีวัด คือ คำจำกัดความที่ไม?ชัดเจน และการขาดข;อมลู ท่จี ะ
นำมาใชป; ระเมนิ หรือวัดผล

เศรษฐกจิ พอเพียง และทฤษฎใี หม่

เศรษฐกิจพอเพียง เปuนปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช
มหาราช บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ 9 พระราชทานพระราชดำริช้ีแนะแนวทางการดำเนินชีวิตแก?พสกนกิ ร
ชาวไทยมาโดยตลอดนานกวา? 25 ปm ต้ังแตก? อ? นเกดิ วิกฤตการณHทางเศรษฐกจิ และเม่อื ภายหลังได;ทรงเน;น
ย้ำแนวทางการแกไ; ขเพื่อให;รอดพ;น และสามารถดำรงอยไู? ดอ; ยา? งม่นั คงและยง่ั ยนื ภายใตก; ระแสโลกาภิวัตนH
และความเปลี่ยนแปลงต?างๆ

วนั ที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542 พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทร มหาภูมิพลอดลุ ยเดช มหติ ลาธเิ บ
ศรรามาธิบดี จกั รนี ฤบดนิ ทร สยามมินทราธิราช บรมนาถบพิตร รชั กาลท่ี 9 ได;มีพระบรมราชวินิจฉัยและ
พระกรุณาปรับปรุงแก;ไขพระราชทานบทความเรื่อง “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ซึ่งสำนักงาน
คณะกรรมการพัฒนาการเศรษกิจและสังคมแห?งชาติได;เชิญผู;ทรงคุณวุฒิในทางเศรษฐกิจและสาขาอื่นๆ

โครงการพฒั นาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพ้นื ทตี่ ามแนวทางความคุ้มค่าของการจัดการงบประมาณ 83
มลู นธิ ิปิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

มาร?วมกันประมวลและกลั่นกรองพระราชดำรัสเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง เพื่อเปuนแนวทางปฏิบัติของ
สำนกั งานฯ และทกุ ฝาã ยท่เี ก่ียวขอ; ง ตลอดจนประชาชนโดยท่วั ไป โดยมคี วามวา?

“เศรษฐกิจพอเพียง เปuนปรัชญาชี้ถึงแนวการดำรงอย?ูและปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ
ตั้งแต?ระดบั ครอบครวั ระดับชมุ ชน จนถงึ ระดบั รฐั ท้งั ในการพฒั นาและบรหิ ารประเทศใหด; ำเนินไปในทาง
สายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อให;ก;าวทันต?อโลกยุคโลกาภิวัตนH ความพอเพียง หมายถงึ
ความพอประมาณ ความมเี หตุผล รวมถึงความจำเปนu ท่ีจะต;องมรี ะบบภูมคิ ม;ุ กันในตัวทด่ี พี อสมควร ต?อการ
กระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลีย่ นแปลงท้ังภายในภายนอก ทงั้ นี้ จะต;องอาศัยความรอบร;ู ความรอบคอบ
และความระมัดระวงั อย?างย่ิงในการนำวิชาการต?างๆ มาใช;ในการวางแผนและการดำเนินการ ทุกขั้นตอน
และขณะเดียวกัน จะตอ; งเสรมิ สรา; งพ้นื ฐานจติ ใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจา; หน;าทขี่ องรัฐ นักทฤษฎี และ
นักธรุ กจิ ในทกุ ระดบั ให;มสี ำนกึ ในคุณธรรม ความซอ่ื สัตยHสุจริต และให;มีความรอบร;ทู เี่ หมาะสม ดำเนนิ ชวี ติ
ด;วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปàญญา และความรอบคอบ เพื่อให;สมดุลและพร;อมตอ? การรองรับการ
เปลยี่ นแปลงอยา? งรวดเร็วและกว;างขวาง ท้งั ด;านวัตถุ สงั คม สงิ่ แวดล;อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอก
ได;เปนu อย?างด”ี

ทฤษฎีใหม? คือ ตัวอย?างที่เปuนรูปธรรมของการประยุกตHใช;เศรษฐกิจพอเพียงที่เด?นชัดที่สุด ซ่ึง
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ 9 ได;
พระราชทานพระราชดำรินี้ เพื่อเปuนการชว? ยเหลือเกษตรกรทีม่ ักประสบปàญหาทัง้ ภัยธรรมชาติและปàจจัย
ภายนอกที่มผี ลกระทบต?อการทำการเกษตร ใหส; ามารถผา? นพ;นช?วงเวลาวิกฤต โดยเฉพาะการขาดแคลนนำ้
ไดโ; ดยไมเ? ดือดรอ; นและยากลำบากนัก

การออกแบบตวั ชวี้ ัดเพอื่ การพฒั นาตามแนวพระราชดำริ

หลักการคิดตัวชี้วัดของปöดทองฯ ได;ออกแบบจากการบูรณาการหลักการในหลายระดับ
ประกอบด;วย กรอบเปาk หมายขององคHกร, หลักเศรษฐกจิ พอเพียงและทฤษฎีใหม?ของพระบาทสมเด็จพระ
บรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ 9 และ UN Sustainable
Development Goals (SDGs)

หลกั การของ SDGs มง?ุ เนน; เปาk หมายการพัฒนาอย?างย่ังยืนในระดับประเทศ โดยเปuนการรวบรวม
ผลการพฒั นาจากระดับทอ; งถน่ิ และคำนวณเปนu เปอรHเซ็นตHการพฒั นาในภาพรวมในแตล? ะเปkาหมาย (goal)
นอกจากนี้ SDGs ถูกออกแบบให;เข;าใจง?าย และสามารถนำไปใช;ประโยชนHได;ในหลายกลุ?มเปkาหมาย ซ่ึง
ครอบคลุมในทุกประเด็นทางเศรษฐกจิ สังคม และ สิ่งแวดลอ; ม โดยผ?าน “แหล?งทุน หรือความชว? ยเหลอื
(partnerships)” จากประเทศ หรือหน?วยงานทม่ี ีศักยภาพ เพอื่ ให;บรรลเุ ปาk หมาย SDGs

เม่อื วิเคราะหH SDGs กับหลกั การเศรษฐกจิ พอเพยี ง จะพบว?ามเี ปาk หมายท่ีสอดคลอ; งกัน คอื “การ
พัฒนาอย?างยั่งยืน” แต?ในมุมของเศรษฐกิจพอเพียงนั้น มุ?งเน;นการสร;างรากฐานจากชุมชนในชนบท
(เกษตรกร) ที่เปuนระดับท;องถิน่ ให;สามารถพ่ึงพาตนเองได; แล;วจึงขยายผลต?อไปยงั ระดับประเทศ ดังน้ัน

84 โครงการพัฒนาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพ้นื ทีต่ ามแนวทางความคมุ้ คา่ ของการจดั การงบประมาณ
มูลนธิ ปิ ิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

เศรษฐกิจพอเพียง จึงเข;มข;นในบริบททางด;านการเกษตร การใช;ชวี ติ และความเปนu อย?ูของชมุ ชน มากกว?า
การพัฒนาระดับใหญ?จากภาครัฐในบริบทอื่น เช?น พลังงาน, การศึกษา, ความเท?าเทียมทางเพศ เปuนตน;
และความสำเร็จของเศรษฐกิจพอเพียง สามารถทำได;ผ?านกระบวนการ “ทฤษฎีใหม?” ซึ่งให;ขั้นตอนการ
ดำเนินงานท่มี ากกวา? คำจำกดั ความ partnerships ในมุมของ SDGs

ดงั น้ัน หากเปรียบเทยี บตวั ชีว้ ดั ผลการพัฒนาตามแนวพระราชดำริของปöดทองฯ ทีไ่ ด;ออกแบบใน
5 ขอ; (ซึ่งสอดคลอ; งกับหลกั การเศรษฐกจิ พอเพียง) รว? มกบั หลกั การของ SDGs จะพบวา? มีความสอดคล;อง
ในเปาk หมายข;อท่ี 1, 2, 6, 8, 10 ทีผ่ ลลัพธขH องเปkาหมายน้นั ๆ สามารถจัดเกบ็ ได;จากระดบั ชุมชน โดยแสดง
ความสอดคล;องดังน้ี

การปฏบิ ัติตามศาสตร์พระราชา ผลลัพธก์ ารพัฒนา

ตวั ชี้วัดตามแนวพระราชดำริ ความ ความเพียร พงึ่ ตนเอง ความ นวตั กรรม การหลดุ มีรายได้ การมี ความสุข
พอประมาณ ความรอบรู้ รอบคอบ ชมุ ชน พน้ ความ เพยี งพอ งานทำ ความพอใจ
ยากจน
ระมดั ระวงั

1.การบรหิ ารจัดการน้ำ ใหม้ ีใชต้ ลอดปี ✓✓

2. เกษตรกรมีปริมาณผลผลติ พอกนิ ✓✓✓ ✓
ตลอดปี

3. อาชพี หลกั 2 อาชีพขน้ึ ไป ✓✓ ✓

4. รายได้เพียงพอและสมำ่ เสมอ และ ✓ ✓
หนส้ี ินลดลง

(5) เศรษฐกจิ ท่ยี ั่งยืนของชมุ ชน ✓ ✓✓

รูปที่ 3.28 ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง กับ การพฒั นาอยา่ งย่ังยืน (SDGs)

โครงการพฒั นาระบบการตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผลการพัฒนาพน้ื ทตี่ ามแนวทางความคุ้มคา่ ของการจัดการงบประมาณ 85
มูลนิธิปดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ


Click to View FlipBook Version