The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการพัฒนาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพื้นที่

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by prpidthong1, 2022-01-23 21:39:41

โครงการพัฒนาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพื้นที่

โครงการพัฒนาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพื้นที่

Keywords: โครงการพัฒนาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพื้นที่

ตัวอยา่ งการบันทึกขอ้ มูลตามโครงสรา้ งรหัสมาตรฐาน

เพื่อให้เกิดความชัดเจนและสร้างความเขา้ ใจในการบันทึกข้อมูลตามโครงสร้างมาตรฐานที่นำเสนอ
คณะท่ปี รึกษาฯ จึงไดจ้ ดั ทำตวั อยา่ งของการบันทึกข้อมูลทงั้ 5 มิติมาดังน้ี

xxxxมติ กิ ิจกรรม [รหัส .xx.xx.xxxx.xxxx]

เพ่ือให้ทราบวา่ กิจกรรมท่ีหนว่ ยปฏิบตั /ิ พื้นที่ ทจ่ี ะดำเนินการ

1 สอดคลอ้ งกับภารกจิ ของปดิ ทองหรือไม่
เชื่อมโยงกับยทุ ธศาสตร/์ แผนงานและโครงการอยา่ งไร

xxมติ ิหนว่ ยงาน 2 การดำเนนิ งาน 4 ม[ริตหสัยิ xทุ xxธxศ.xxา.xสxต.xรx์ แxผxน.xxงxาx]นและโครงการ
เพอ่ื ตอบความเชือ่ มโยงทีม่ ีกบั ยุทธศาสตร์
[รหัส xxxx. .xx.xxxx.xxxx] แผนงานและโครงการ (ระยะ 5 ปี)
เพ่ือเปน็ หนว่ ยรบั ผิดชอบในการดำเนินงาน รวมทงั้ แผนปฏบิ ัติการ (ประจำป)ี ขององคก์ ร
รวมทง้ั การติดตามประเมินผลการดำเนนิ งาน

และการใชจ้ า่ ยงบประมาณ

xxมติ พิ ้ืนที่ มติ ิผลงาน

[รหสั xxxx.xx. .xxxx.xxxx] [รหสั xxxx.xx.xx.xxxx.
เพ่อื ประโยชน์ในการติดตามประเมนิ ผลสำเรจ็ 3 xxxx5 ]

ของการพัฒนาในแตล่ ะพื้นท่ี เพ่ือให้เกดิ ความชดั เจนวา่ กจิ กรรมที่ดำเนินการ กอ่ ใหเ้ กดิ
ผลสำเรจ็ ในระดับผลผลติ และผลลพั ธอ์ ยา่ งไร

รปู ที่ 3.48 โครงสรา้ งรหสั มาตรฐาน

1. มติ ิกจิ กรรม – รหสั ชุดท่ี 1 (รหัส 4 ตัว)
ตัวอยา่ ง กิจกรรมที่เกีย่ วกับการพัฒนาแหลง่ น้ำในพ้ืนท่ี เช่น การสรา้ งฝาย การขุดสระ
ดงั นั้นรหัสกิจกรรมทผี่ ปู้ ฏิบัติจะบันทึก คอื รหัส “1201”
กลมุ่ กจิ กรรม ดนิ -นำ้ -ปา่ (1000)
กจิ กรรมหลกั น้ำ (1200)
กิจกรรม พัฒนาแหล่งนำ้ (รหสั 1201)

2. มิติหนว่ ยงาน – รหัสชุดท่ี 2 (รหัส 2 ตวั )

ตวั อยา่ ง กจิ กรรมขา้ งตน้ ดำเนินการโดยฝา่ ยส่งเสรมิ การพฒั นา ดังนน้ั รหสั หน่วยงานท่ีจะ
บันทึก คอื รหัส “03”

3. มิตพิ ืน้ ที่ – รหสั ชดุ ท่ี 3 (รหัส 2 ตัว)

ตัวอยา่ ง กิจกรรมขา้ งตน้ ดำเนนิ การในพ้ืนที่ต้นแบบฯ จังหวัดนา่ น ดังนั้นรหัสพ้นื ที่ที่จะ
บนั ทึก คือ รหสั “01”

4. มติ ิยทุ ธศาสตร์ แผนงานและโครงการ – รหสั ชุดที่ 4 (รหสั 4 ตัว)

ตวั อย่าง กิจกรรมข้างต้นมีความเชอื่ มโยงกบั ยทุ ธศาสตร์ แผนงานและโครงการ ตามแผน
ยุทธศาสตร์ฯ ระยะที่ 3 ดังนั้นรหัสยุทธศาสตร์ แผนงานและโครงการ ที่จะ
บันทึก คือ รหัส “1101”

โครงการพฒั นาระบบการติดตาม ประเมนิ และรายงานผลการพัฒนาพ้นื ที่ตามแนวทางความค้มุ คา่ ของการจดั การงบประมาณ 127
มลู นิธิปดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

ยุทธศาสตร์ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 การเสริมสรา้ งความเข้มแข็งของพื้นทตี่ ้นแบบเดมิ
ให้ไปสคู่ วามยง่ั ยนื (1000)

แผนงาน แผนงานท่ี 1 การพัฒนาครวั เรือนพ่ึงตนเองได้ (อยูร่ อด) (1100)

โครงการ โครงการสง่ เสรมิ ประสทิ ธิภาพการบรหิ ารจดั การทรพั ยากรน้ำ ดิน

ปา่ (รหัส 1101)
5. มิติผลงาน – รหสั ชดุ ท่ี 5 (รหสั 4 ตัว)

ตวั อยา่ ง กิจกรรมข้างต้น ระบุตัวชี้วัดระดับผลผลิต คือปริมาณการกักเก็บน้ำจาก
กิจกรรมนี้ (หน่วยนับเป็น ลบ.ม.) ดังนั้นรหัสผลงานที่จะบันทึก คือ รหัส
“3101”

รหสั ที่ 1 ดา้ น สง่ิ แวดล้อม (3000)
รหสั ท่ี 2 เรอ่ื ง นำ้ (3100)
รหสั ท่ี 3-4 ตัวชี้วัด ปรมิ าณการกกั เกบ็ น้ำจากโครงการนี้ (รหสั 3101) หนว่ ย
นบั (ลบ.ม.)

ดังนัน้ การบนั ทึกข้อมลู ตามโครงสรา้ งรหสั มาตรฐานชดุ น้ี คอื “1201.03.01.1101.3101”

3.7.4 กระบวนการและความเชื่อมโยงในการปฏิบตั ิการของฝ่ายต่างๆ ภายในสถาบนั ฯ ในขั้นตอน
การวางแผน จดั สรรงบประมาณ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการปฏิบตั ิงาน

คณะที่ปรึกษาฯ ได้ทบทวนเอกสารและสัมภาษณ์บุคลากรที่เกี่ยวข้อง เกี่ยวกับกระบวนการและ
ความเชื่อมโยงในการปฏิบัติการของฝ่ายต่างๆ ภายในสถาบันฯ ได้แก่ สำนักผู้อำนวยการ ฝ่ายจัดการ
ความรู้ ฝ่ายส่งเสริมการพัฒนา แผนกการเงินการบัญชี เพื่อทำความเข้าใจและทบทวนขัน้ ตอนตั้งแตก่ าร
จัดทำคำของบประมาณ จัดสรรงบประมาณ วางแผน เบิกจ่ายงบประมาณ ปฏิบัติงาน ติดตามและ
ประเมนิ ผลการปฏบิ ัตงิ าน ตลอดจนเคร่ืองมือการประเมนิ ผลการพฒั นาพื้นท่ที คี่ วรจะเปน็ ใหค้ รบวงจร ดัง
รายละเอยี ดต่อไปนี้

128 โครงการพฒั นาระบบการตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพนื้ ท่ตี ามแนวทางความค้มุ คา่ ของการจดั การงบประมาณ
มูลนธิ ปิ ิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

กระบวนการวางแผน ตดิ ตาม หนว# ยปฏบิ ัติ สำนกั ผู2อำนวยการ ฝา7 ยบัญชีการเงิน ฝา7 ยจดั การความร2ู
และประเมนิ ผลการปฏิบัตงิ าน
จัดทำคำขอ แผนยทุ ธศาสตร/; ทงไ่ี บดปEรับระจมัดาสณรร รใบันรกูคE าวราปมฏกบิ EาัตวงิหานนEา
จดั ทำคำของบประมาณ งบประมาณ แผนปฏิบัตกิ ารประจำป@ เบกิ จาH ยงบประมาณ ประเมินและรายงานผลการ
จดั สรรงบประมาณ พิจารณาคำของบประมาณ บนั ทกึ การใชจE าH ย
และวางแผนงาน ทงไ่ี บดปEรับระจมดั าสณรร งบประมการณอบประจำป@ ดำเนนิ งานประจำป@
เบิกจา# ยงบประมาณ จแดัผทนำกแาผรในชงจE าาHนย/
เพคำอื่ ขดอำงเนบนิปกระิจมการณรม อนุมตั ิ
ปฏิบัติงานและติดตาม งบประมาณ งบประมาณ
ความก2าวหนา2
ปฏบิ ัตงิ าน รายงาน ต(ผิดใลตนงาากมนาแครลปวะาฏกมบิ ากรัตาEใงิชวาจEหนาH นยEา)
ประเมินผลการดำเนินงาน ความกาE วหนEา (ส3ร-6ุปคเดวือานม/กปาEรวะหจำนปาE )@
และความสำเรจ็ ประเมินและรายงานผลการ
สนับสนนุ ขEอมลู ดำเนินงานแกH สปน.
ประกอบการประเมนิ ผล

รูปท่ี 3.49 กระบวนการและความเชอื่ มโยงในการปฏิบัติการของฝา่ ยต่างๆ ภายในสถาบันฯ
ในข้นั ตอนการวางแผน จัดสรรงบประมาณ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการปฏิบตั งิ าน

การดำเนินการของฝา่ ยปฏิบัติ ตงั้ แต่ต้นจนจบปีงบประมาณ จะมีการส่งตอ่ เอกสารในรูปแบบต่างๆ
ทั้งยุทธศาสตร์ แผนงาน แบบฟอร์ม รายงาน บทเรียน คู่มือ บทความ ข้อมูลเชิงปฏิบัติ และผลการ
ดำเนินงานท่ีผา่ นมา จากหน่วยงานหนง่ึ ไปยังหน่วยงานหนง่ึ ดว้ ยเหตุนี้ การบริหารจัดการข้อมูลอย่างเป็น
ระบบ เป็นอกภาพ ด้วยระบบเดียวกนั เพือ่ ประกอบการวางแผน ตดิ ตาม ประเมนิ ผลการปฏิบัติงาน และ
การตัดสนิ ใจจึงมีความสำคญั ท่จี ะสนบั สนนุ ให้การดำเนินงานมีประสิทธภิ าพ

ยุทธศาสตร/E แผนงาน จดั ทำคำของบประมาณ จดั สรรงบประมาณ แบบฟอรมE แผนงาน/แผนการ
ผลการดำเนินงาน และวางแผนงาน ใชจ@ <ายงบประมาณ
ท่ีผ<านมา

ข@อมูลสำคญั เบกิ จา< ยงบประมาณ

แบบฟอรEม งบประมาณ

ประเมนิ ผลการดำเนินงาน ปฏบิ ัติงานและติดตาม
และความสำเรจ็ ความก@าวหนา@
ถอดบทเรียน รายงานผล แบบฟอรEม แบบฟอรมE ขอ@ มลู เชงิ ปฏิบตั ิ ผลงาน/ผลการใช@
จ<ายงบประมาณ

รปู ท่ี 3.50 การบรหิ ารจดั การข้อมลู เพื่อประกอบการวางแผน ตดิ ตาม ประเมนิ ผลการปฏิบตั ิงาน และการ
ตดั สนิ ใจ

ประโยชน์ทคี่ าดวา่ จะไดร้ บั

โครงการพัฒนาระบบการตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผลการพัฒนาพืน้ ที่ตามแนวทางความคมุ้ คา่ ของการจดั การงบประมาณ 129
มูลนธิ ิปิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

1. เชื่อมโยงข้อมูลและการปฏิบัตจิ ากฝ่ายต่างๆ ภายในองคก์ ร
เพื่อการวางแผน จัดสรร ติดตามและประเมนิ ผลการปฏิบัตงิ านไดอ้ ย่างเปน็ ระบบ

2. เจา้ หน้าท่เี ห็นกระบวนการที่ตรงกนั ในภาพรวม และเขา้ ใจบทบาทและหนา้ ท่ขี องตน ในแตล่ ะ
ข้นั ตอนไดอ้ ย่างชัดเจน

3. งา่ ยต่อการประมวลผลในแตล่ ะมิติ (มติ ิยทุ ธศาสตร์ แผนงานและโครงการ/มิตผิ ลงาน/มติ กิ ิจกรรม/
มิติพนื้ ท/่ี มติ หิ นว่ ยงาน) เพอื่ การตดิ ตาม ประเมนิ ผลและการตดั สนิ ใจ

4. สามารถสรปุ เป็น Dashboard และนำเสนอผบู้ รหิ ารและผูม้ สี ่วนเกยี่ วข้องหลกั ได้
5. ผลการประเมนิ จะเป็นข้อมลู เพื่อการวางแผนการพฒั นาพ้นื ท่ใี ห้มปี ระสิทธภิ าพยง่ิ ขน้ึ

3.8 การจัดการองค์ความรงู้ านพฒั นาตามแนวพระราชดำริ

3.8.1 ความสำคัญของการจัดการองคค์ วามรู้

ในโลกยคุ ปัจจุบันท่ีธรุ กิจตา่ งๆ ทว่ั โลกมกี ารขยายตวั การผลติ สนิ คา้ และบริการเพอื่ ตอบสนองความ
ตอ้ งการของตลาดก็มกี ารแขง่ ขันทีส่ งู ขึ้นอยา่ งมาก การมุ่งเนน้ เพยี งแคผ่ ลประกอบการและสนิ ทรพั ย์ทางตัว
เงนิ ในระยะสนั้ แตเ่ พียงอยา่ งเดยี วจึงไมใ่ ช่ทิศทางในการเติบโตขององค์กร กลยุทธ์ในยคุ ใหม่และปัจจัยทาง
ธุรกิจในระยะยาวได้เริ่มให้ความสนใจในคุณค่าขององค์ความรู้ (knowledge) ที่เกิดขึ้นภายในองค์กร
นอกจากน้ี การระบขุ ดี ความสามารถหลัก (core competency) ของประเทศหรือองค์กร ยงั สามารถทำได้
จากการศึกษาองคค์ วามรู้ที่มีอยู่เปน็ ตน้ ทุนเดมิ ดังนน้ั การเสริมสร้างความเขา้ ใจในการจัดการองค์ความรู้
จึงมีความสำคญั และจำเป็นอยา่ งมาก ไม่เพียงแต่องค์กรทางธุรกิจเท่านั้น แต่รวมถึงหน่วยงานของรัฐทีม่ ี
เปา้ หมายการพฒั นาทางดา้ นสงั คม ซึ่งจำเปน็ ต้องใช้องคค์ วามรเู้ ฉพาะทาง และประสบการณใ์ นการทำงาน

องค์ความรู้ขององค์กรมชี ื่อเสียงท่ีใช้กันหลากหลาย ขึ้นอยู่กับบริบทของแต่ละองค์กร แต่ชื่อที่มกั
นยิ มใช้ ได้แก่ ทรัพย์สินทางความรู้, ทรพั ย์สนิ ทางปญั ญา (knowledge capital หรือ knowledge asset
หรือ intellectual capital), ทรัพยส์ นิ ทจี่ ับตอ้ งไมไ่ ด้ (intangible asset) ในการศกึ ษาของมูลนธิ ิปดิ ทองฯ
นี้ ทางคณะที่ปรึกษาจะใช้คำว่า “ทรัพย์สนิ ทางความร”ู้ หรือ “knowledge capital” เป็นชื่อเรียกแทน
ความหมายเหลา่ นี้

3.8.1.1 องคป์ ระกอบขององคค์ วามรูแ้ ละแนวทางการวัดผล

บทบาทขององค์ความรู้ในยุคปัจจุบัน ได้เขา้ มาเปน็ สว่ นหนง่ึ ของการวางยทุ ธศาสตร์ในหลายองค์กร
ท่วั โลกเพอ่ื การพัฒนาอยา่ งย่งั ยนื และการรกั ษาตำแหน่งทางการแข่งขัน (competitive advantages) ใน
บริบทใหม่นี้ องค์กรตา่ งๆ จำเปน็ ตอ้ งเขา้ ใจและค้นหาวา่ ความสามารถดา้ นใดทพ่ี วกเขาต้องการรกั ษาไว้ ซึง่
ความสามารถ (capabilities) ของแตล่ ะองค์กรนนั้ ขึน้ อยกู่ บั องคค์ วามรู้ท่ีเปน็ เหมอื นทรพั ยากรท่สี ำคญั ทจี่ ะ
เสรมิ สรา้ งขีดความสามารถหลัก (core competencies) ใหก้ ับหน่วยงาน

130 โครงการพัฒนาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพฒั นาพ้ืนทต่ี ามแนวทางความคุ้มคา่ ของการจัดการงบประมาณ
มูลนธิ ิปดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

ดังนั้น องค์กรท่ีต้องการพัฒนาและปรบั ปรุงความสามารถ จะมองหาแนวทางในการบริหารจัดการ
ทรัพย์สินทางความรู้ (knowledge capital หรือ intellectual capital) ของพวกเขา แต่อย่างไรก็ตาม

การบรหิ ารจัดการจะไม่สามารถทำไดห้ ากสิง่ เหลา่ น้นั เป็นส่ิงทีย่ ังไม่ถูกประเมนิ หรอื ทำวดั ค่าได้

จากการทบทวนวรรณกรรม ทรัพยส์ นิ ทางความรเู้ ปน็ สง่ิ ทยี่ ากตอ่ การประเมินและชี้วัด และมีความ
พยายามในการกำหนดกรอบแนวคิดหลายอย่าง เพื่อใช้ในการประเมินและวัดค่าของทรัพย์สนิ ทางความรู้
เนอ่ื งจากผลของการประเมนิ และผลชีว้ ัด จะช่วยระบุขดี ความสามารถหลักขององค์กร (key capabilities
หรือ core competencies) ที่จะใช้ในการกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาในระยะยาวต่อไป ดังนั้น ในบท
ยอ่ ยนี้จะนำเสนอกรอบแนวคิดทเี่ กี่ยวขอ้ งกบั การประเมินทรพั ย์สนิ ทางความรู้ ซ่ึงน่าจะสามารถนำมาปรับ
ใชไ้ ด้กับบรบิ ทของปดิ ทองฯ และประเทศไทย

1) Skandia Model หรอื Skandia Navigator

ในแบบจำลองสแกนเดีย (Skandia model) น้ี ไดร้ ะบอุ งค์กรประกอบหลักของทรพั ย์สนิ ทางความรู้

(knowledge capital หรือ intellectual capital) ไว้ 4 องค์ประกอบหลัก พร้อมทั้งตัวอย่างในการ

กำหนดตัวชวี้ ดั ของแตล่ ะองค์ประกอบเพื่อระบุทรัพย์สินทางความรู้ขององค์กรได้ ดังนี้

องค์ประกอบ ตวั อยา่ งตวั ช้ีวัด

1.Market/Customer Capital – คอื - มีความสามารถในการตอบสนองต่อความต้องการ

องคป์ ระกอบทส่ี ะท้อนทรพั ยส์ นิ ทางความรู้ ของตลาด หรือผมู้ สี ว่ นเก่ียวขอ้ งได้ในเวลา

ขององคก์ ร ทผี่ นวกรวมอย่ใู นความสมั พันธ์ อันรวดเรว็ เชน่ การผลิตสนิ คา้ หรอื บรกิ ารใหมๆ่

ขององค์กรกบั หนว่ ยงานตา่ งๆ - ระดบั ในการเป็นส่วนหนึง่ ของงานระดับชาติ

- การเปิดกว้างตอ่ วัฒนธรรมที่หลากหลาย

2. Process Capital – คอื องคค์ วามร้ทู ี่ - โครงสร้างพนื้ ฐานด้านการสื่อสาร

สนับสนุนกระบวนการเรยี นรู้ หรือกจิ กรรม - การเผยแพร่กิจกรรมภายในสสู่ าธารณะ

ตา่ งๆ ท่สี ร้างสัมพันธภาพ และการเตบิ โตของ - การใช้งานซอฟต์แวรต์ า่ งๆ ทีช่ ่วยในการบรหิ าร

องคก์ ร จัดการ และเสรมิ สร้างประสทิ ธิภาพการทำงาน

3. Human Capital – คือองคป์ ระกอบท่ี - ระดับการศึกษา

มุ่งเน้นความสามารถของบุคลากรในองค์กร - การสร้างโอกาสการพัฒนาศักยภาพอย่างเท่าเทยี ม

ทสี่ ะทอ้ นได้จากระดับการศึกษา - วฒั นธรรมในองคก์ ร

ประสบการณ์ ความรู้ และความเชย่ี วชาญ - สุขภาพของบุคลากร

4. Renewal & Development Capital – คือ - การใชจ้ ่ายดา้ นงานวจิ ยั และพฒั นา

องคป์ ระกอบทสี่ ะท้อนถงึ ความสามารถใน - ผลงานตีพมิ พ์

การปรับตวั และการสร้างส่ิงใหมๆ่ ของ - ผลงานสงิ่ ประดิษฐ์ และนวตั กรรม

- กำลังคนดา้ นงานวิจยั และพฒั นา

โครงการพัฒนาระบบการตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผลการพฒั นาพ้ืนที่ตามแนวทางความคุ้มค่าของการจดั การงบประมาณ 131
มูลนธิ ิปิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

องคก์ ร ซง่ึ จะนำไปสู่การเป็นองคก์ รทไี่ มห่ ยุด
น่ิง และเตบิ โตตอ่ ไปในอนาคต

นอกจาก 4 องค์ประกอบด้านทรัพย์สินทางความรู้ข้างต้น สแกนเดียโมเดลยังให้ความสำคัญกับ
ทรัพย์สินและความเติบโตทางการเงิน (financial capital) โดยกระบวนการในการประเมินศักยภาพของ
องค์กรโดยการใช้สแกนเดยี โมเดล เปน็ ดงั น้ี

1. พฒั นา/กำหนดวิสัยทศั น์ขององคก์ ร
2. ระบุขีดความสามารถหลกั ขององคก์ รซง่ึ สะทอ้ นวิสัยทัศน์
3. ระบปุ จั จัยความสำเร็จ (key success factors) เพือ่ ให้บรรลุขีดความสามารถนน้ั ๆ
4. ระบตุ ัวชี้วัดหลัก (key indicators) ของปัจจยั ความสำเร็จ

รปู ที่ 3.51 แบบจำลองสแกนเดีย (Skandia Model/Navigator)

วิธีการประเมนิ ของแบบจำลองนี้ ใชห้ ลกั การคลา้ ยกับการทำ Balanced Scorecard8 แต่เพ่มิ บริบท
ที่เกี่ยวกับบุคลากรขององค์กรเข้าไป (human capital) แต่ข้อจำกัดของแบบจำลองนี้คือ แต่ละ
องค์ประกอบยังไม่สามารถแสดงความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันได้อย่างชัดเจน และการประเมินในทุก
องคป์ ระกอบจะถูกชี้วดั ในหน่วยตัวเงินเทา่ นน้ั ซ่ึงทรพั ยส์ ินทางความรู้อาจไม่สามารถแสดงมูลคา่ เปน็ ตัวเงิน
ได้ท้ังหมด

8 Balanced Scorecard คือ ระบบการบริหารงานและประเมินผลทว่ั ทงั้ องคDกร และไมใF ชFเฉพาะเปนK ระบบการวัดผลเพยี งอยาF งเดยี ว แตจF ะเปKนการกำหนดวสิ ยั ทัศนD (vision) และ
แผนกลยุทธD (strategic plan) แลว^ แปลผลลงไปสทFู กุ จดุ ขององคกD รเพอื่ ใช^เปKนแนวทางในการดำเนนิ งานของแตFละฝbายงานและแตFละคน

132 โครงการพัฒนาระบบการตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพ้ืนท่ีตามแนวทางความคมุ้ ค่าของการจัดการงบประมาณ
มูลนธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

2) Knowledge Asset Map

กรอบแนวคิดของ Knowledge Asset Map อยู่บนพื้นฐานของการรวมกันของทรัพยากร 2 ส่วน
ขององค์กร ได้แก่ ทรัพยากรของผู้มีส่วนเกีย่ วขอ้ ง (stakeholder resources) และทรพั ยากรเชิงโครงสรา้ ง
(structural resources) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อหาภาพรวมของทรัพย์สินทางความรู้ขององค์กร และ
สามารถระบุองค์ความรู้หลกั ท่สี ำคัญของหนว่ ยงานตัวเองได้ แผนผังของ knowledge asset map

รูปที่ 3.52 แผนผงั Knowledge Asset Map

ทรัพยากรของผู้มีส่วนเก่ยี วข้อง (stakeholder resources) แบ่งออกเป็น ความสัมพันธ์กับผู้มีส่วน
เก่ียวข้อง (stakeholder relationships) และทรัพยากรมนุษย์ (human resources)

ทรพั ยากรเชิงโครงสรา้ ง (structural resources) แบง่ ออกเป็น โครงสรา้ งพืน้ ฐานทีเ่ ป็นรูปเป็นร่าง
(physical infrastructure) และ โครงสร้างพ้ืนฐานที่จบั ต้องไม่ได้ (virtual infrastructure) โดยสว่ นหลังนี้
ยงั แบง่ ออกเป็นกลมุ่ ย่อยอกี 3 กลมุ่ ไดแ้ ก่ เชงิ วัฒนธรรม (culture), สง่ิ ทปี่ ฏิบตั อิ ยา่ งสมำ่ เสมอ (routine &
practices) และ ทรพั ยส์ ินทางปัญญา (intellectual property)

จากแผนผังการจัดกลุ่มองค์ความรู้ในภาพข้างต้น องค์กรสามารถใช้ในการกำหนดตัวชี้วัดท่ี
หลากหลาย สำหรบั แตล่ ะกล่มุ ของทรพั ยส์ ินทางความรูไ้ ด้ง่าย แตข่ อ้ พงึ ระวงั ในการใชง้ าน คอื การกำหนด
ตัวชว้ี ดั เหล่านี้ เป็นหนา้ ท่หี ลกั ของคณะผบู้ รหิ าร ท่จี ำเปน็ ต้องระบุเฉพาะตัวชว้ี ัดท่สี ่อื ความหมายทแี่ ทจ้ ริงที่
จะสามารถใช้เพ่ือประเมินองค์ความรู้ขององค์กร ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ แตกต่างจากหน่วยงานอื่นๆ เพ่ือ
สามารถชีว้ ัดทรัพย์สินทางความรูท้ ่กี ำหนดขดี ความสามารถหลัก และกำหนดทศิ ทางยุทธศาสตร์ขององคก์ ร
ไดอ้ ย่างแทจ้ ริง

โครงการพัฒนาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพืน้ ท่ีตามแนวทางความคมุ้ คา่ ของการจดั การงบประมาณ 133
มลู นิธปิ ดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

3) Knowledge Asset Dashboard

กรอบแนวคิดของ Knowledge Asset Dashboard อยู่บนพื้นฐานของความพยายามหา
ความสมั พันธ์ระหวา่ งผูป้ ฏิบัติ (actors) กับโครงสร้างพ้ืนฐาน (infrastructure) ท่ีมีอยู่ ซึง่ เป็นรูปแบบการ
แสดงผลอีกรูปแบบหนึ่งของ Knowledge Asset Map ดังนั้น 4 องค์ประกอบหลักจึงได้ถูกปรับมาจาก
Knowledge Asset Map และจัดรูปแบบในแนวตั้ง และแนวนอน เพื่อแสดงปฏิสัมพันธ์ระหว่างแต่ละ
องคป์ ระกอบทีส่ นบั สนนุ ใหเ้ กดิ ขีดความสามารถหลักขององค์กรที่เป็นเอกลกั ษณ์

แกนแนวตั้ง ได้แก่ ความสัมพันธ์ของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง (stakeholder relationships) และ
ทรพั ยากรมนุษย์ (human resources)

แกนแนวนอน เกี่ยวกับโครงสร้างพื้นฐานขององค์กร ได้แก่ โครงสร้างพื้นฐานที่เป็นรูปเป็นร่าง
(physical infrastructure) และ โครงสรา้ งพน้ื ฐานท่จี ับต้องไม่ได้ (virtual infrastructure)

รูปที่ 3.53 แผนผงั Knowledge Asset Dashboard

การกำหนดทรัพย์สินทางความรู้ใน Knowledge Asset Dashboard ทำได้ ดงั น้ี
1) กำหนดขีดความสามารถหลักซง่ึ สามารถใช้กำหนดยุทธศาสตร์องค์กร ทั้งนี้ ขดี ความสามารถหลัก

สามารถกำหนดได้จากหลักการบริหารที่นิยม คือ กระบวนการแบบบนลงล่าง (top-down
approach) หรือ แบบลา่ งข้ึนบน (bottom-up approach) บนพื้นฐานของทรพั ย์สินทางความรู้
ขององค์กร

134 โครงการพฒั นาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพน้ื ทีต่ ามแนวทางความค้มุ ค่าของการจดั การงบประมาณ
มูลนธิ ปิ ิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

รปู ที่ 3.54 top-down และ Bottom-up approaches

กระบวนการแบบบนลงล่าง (top-down approach) หรือ แบบล่างขึ้นบน (bottom-up
approach) เพอ่ื ระบุทรัพย์สนิ ทางความรู้ อธิบายไดด้ ังนี้
- กระบวนการแบบบนลงล่าง (top-down approach) คือ เริ่มจากทำความเข้าใจยุทธศาสตร์

ขององค์กรและขีดความสามารถหลักทีม่ ีอยู่ ท่ีสรา้ งความพึงพอใจใหก้ ับผมู้ สี ่วนเก่ียวข้องจาก
ภายนอกองค์กร การใชก้ ระบวนการนี้ทำให้องคก์ รสามารถระบคุ วามสามารถหลกั ทผี่ ลกั ดนั ให้
เกิดยทุ ธศาสตร์ และความต้องการทีจ่ ะปรบั ปรุงขดี ความสามารถเหล่านน้ั ได้ รวมถึงทรัพย์สิน
ทางความรู้ ที่เป็นปจั จยั สำคัญให้เกดิ ความสำเรจ็
- กระบวนการแบบล่างข้ึน (bottom-up approach) จะตรงข้ามกับแบบแรก โดยมุ่งเน้นการ
ทำความเขา้ ใจและค้นหาทรพั ยส์ ินทางความรูท้ ่ีมีอยใู่ นองค์กร เพื่อท่ีจะใช้กำหนดยุทธศาสตร์
ต่อไป ดังนั้น กระบวนการนเ้ี นน้ การค้นหาตัวเองจากความสามารถทม่ี ีอยู่ภายในองค์กร แล้ว
จงึ พจิ ารณาถึงสิ่งท่ีสามารถนำเสนอออกไปสทู่ ้องตลาดและผู้เกย่ี วขอ้ งภายนอก
2) หลังจากได้ขีดความสามารถหลักขององค์กรจากขั้นตอนแรกแล้ว ลำดับต่อไปจะสามารถกำหนด
ชุดของทรัพย์สินทางความรู้ใน Knowledge Asset Dashboard ที่สัมพันธ์กับการสร้างขีด
ความสามารถนน้ั ๆ
3) ค้นหาปฏิสัมพันธ์ หรอื ความสมั พันธท์ เ่ี กดิ ขึ้นระหวา่ งองค์ประกอบตา่ งๆ ของทรพั ย์สินทางความรู้
โดยใช้ strategy map หรือ success map

โครงการพฒั นาระบบการตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผลการพฒั นาพนื้ ท่ีตามแนวทางความคมุ้ ค่าของการจัดการงบประมาณ 135
มูลนธิ ปิ ิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

รูปท่ี 3.55 ตวั อยา่ ง Success map
4) กำหนดตัวชี้วัด ที่สามารถติดตามประสิทธิภาพขององค์กรผ่านการประเมินคุณค่าของแต่ละ

องคป์ ระกอบตามเส้นทางความสัมพนั ธข์ องแต่ละชุดทรพั ย์สินทางความรู้

กรอบแนวคดิ ของ Knowledge Asset Dashboard นี้ ชว่ ยใหอ้ งคก์ รสามารถประเมนิ ประสิทธิภาพ
ทางธุรกิจได้อย่างเป็นระบบ และเห็นภาพที่แท้จริงภายในองค์กรซึ่งช่วยให้ผู้บริหาร สามารถตัดสินใจ
ทางด้านกลยุทธ์ได้อย่างมปี ระสิทธิภาพมากขึ้น

จากการทบทวนวรรณกรรมเก่ียวกับการประเมินทรพั ย์สินทางความรู้ และการหาขีดความสามารถ
หลักขององค์กรขา้ งตน้ แต่ละกรอบแนวคิดตา่ งมขี อ้ ดี และข้อจำกัด ซง่ึ สามารถเลอื กนำไปปรับใชก้ บั บริบท
และความตอ้ งการของปดิ ทองฯ ได้

3.8.1.2 แบบจำลองการประเมินทรัพย์สินทางความรู้และการกำหนดขีดความสามารถหลักของปิด
ท อ ง (PTF’s Framework for identifying core competencies and knowledge
capital)

กรอบแนวคิดน้ี (PTF’s Framework) ถูกออกแบบเพ่ือระบุขดี ความสามารถหลกั ขององค์กร ทีไ่ ด้มา
จากทรัพยส์ นิ ทางความรทู้ ซี่ อ่ นอยใู่ นแต่ละพ้ืนท่ตี ้นแบบ ผลลัพธ์ในการประเมนิ สามารถใช้เพ่อื การวางแผน
ทางกลยุทธ์ในระยะยาวได้ โดยแบบจำลองน้ีได้ออกแบบบนพื้นฐานของข้อมูลพ้ืนฐานของปิดทองที่มอี ยู่
แลว้ ผสานกบั กรอบแนวคดิ ทมี่ อี ยใู่ นวรรณกรรมสากล โดยประยุกตใ์ ช้ 2 แนวคิด คือ กระบวนการแบบบน
ลงล่าง (top-down strategic approach) และ Skandia Model

ข้อมลู พื้นฐานของปิดทองทเี่ กี่ยวข้องกบั ทรัพยส์ ินทางความรู้ ไดแ้ ก่ ทฤษฎีใหม่ (บันได 3 ข้ัน) ซึ่ง
เป็นทรัพย์สินทางความรู้หลักขององค์กร แต่จากการศึกษาข้อมูลพบว่า ในทฤษฎีใหม่ที่ปิดทองได้
ประยกุ ต์ใชน้ น้ั ยังไม่มกี ารกำหนดตัวชว้ี ัดเพอื่ ประเมนิ ผลสำเร็จของพนื้ ทีต่ น้ แบบในแต่ละข้ัน มเี พียงตัวช้ีวัด
ในระดับองคก์ รที่สามารถกำหนดความสำเรจ็ ได้เพียงกรอบกวา้ งๆ เท่าน้นั ทำให้ไม่สามารถระบคุ วามเติบโต
ของการประยกุ ตใ์ ชท้ ฤษฎีใหมไ่ ด้ และติดขัดในการกำหนดกลยทุ ธ์และทศิ ทางองคก์ รในระยะยาว

136 โครงการพฒั นาระบบการตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการพฒั นาพนื้ ที่ตามแนวทางความค้มุ ค่าของการจัดการงบประมาณ
มลู นิธิปดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

กรอบแนวคิดในวรรณกรรมสากลที่ประยกุ ต์ใช้
1) กระบวนการแบบบนลงลา่ ง (top-down strategic approach) นำมาประยกุ ต์ใช้เพือ่ ทบทวนกล

ยุทธ์ เปา้ หมายขององค์กร และผลผลิตทตี่ อ้ งการ ซง่ึ สามารถระบกุ ิจกรรมตา่ งๆ และตวั ชี้วัดในแต่
ละข้ันบนั ไดได้
2) Skandia Model ถูกนำมาปรับใช้เพื่อกำหนดกระบวนการในการประเมินทรัพยส์ ินทางความรูใ้ น
แต่ละข้นั บันได ซงึ่ กระบวนการของ Skandia ท่แี ทจ้ รงิ คอื มงุ่ เนน้ ทีจ่ ะกำหนดตัวชวี้ ัด โดยเริ่มจาก
การค้นหาขีดความสามารถหลักก่อน เพื่อระบุปัจจัยความสำเร็จ และกำหนดตัวชี้วัดแต่ละ
องค์ประกอบในข้ันตอนสุดทา้ ย แต่ในกรณีของปิดทอง ทรัพย์สินทางความรู้ได้ถูกกำหนดไว้แล้ว
(ทฤษฎีใหม่ บันได 3 ข้ัน) และตวั ชว้ี ัดในแต่ละขน้ั บนั ได จะถูกกำหนดจาก top-down approach
ข้างต้น ดังนั้น ที่สิ่งที่ขั้นตอนต่างๆ ของ Skandia model จะเติมเต็ม คือการระบุปัจจัย
ความสำเร็จ (key success factors) เพื่อให้สามารถกำหนดขีดความสามารถขององค์กรไดต้ อ่ ไป
ดังนั้น กระบวนการการประเมินของ Skandia Model จะถูกประยุกต์ใช้แบบยอ้ นกลับ เพื่อระบุ
ความสามารถหลักในแตล่ ะขั้นบันได

ภาพด้านล่างแสดงแนวคิดของ top-down approach และกระบวนการ Skandia แบบ
ย้อนกลับ ทป่ี ระยุกต์ใช้ในแบบจำลอง PTF’s Framework น้ี

รปู ท่ี 3.56 แนวคิด Top-down และ Skandia Model แบบยอ้ นกลบั

ข้ันตอนการประเมนิ ทรพั ยส์ นิ ทางความรู้ และการกำหนดขีดความสามารถหลกั

แบบจำลองท่นี ำเสนอน้ี แสดงข้ันตอนการประเมนิ อย่างเปน็ ระบบ ดังภาพดา้ นล่างและอธบิ ายอย่าง
ละเอยี ด ดังตอ่ ไปน้ี

โครงการพัฒนาระบบการตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผลการพฒั นาพืน้ ท่ีตามแนวทางความคุ้มค่าของการจัดการงบประมาณ 137
มลู นธิ ิปดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

สว่ นแรก : การกำหนดตวั ชี้วดั เพือ่ ประเมนิ ผลสำเรจ็ ของพ้ืนท่ีต้นแบบ
1) กำหนดตัวชี้วัดผลสำเร็จในแต่ละขัน้ บนั ได โดยใช้กระบวนการ Top-down approach โดยระบุ
กลยุทธข์ ององค์กร และกระจายลงมาเปน็ กจิ กรรมยอ่ ยของกระบวนการประยกุ ตใ์ ชท้ ฤษฎใี หม่ ซึ่ง
ผลลัพธ์คอื ตวั ช้วี ดั ของทฤษฎีใหม่ 3 ชุด สำหรับประเมินผลสำเร็จในขนั้ บนั ไดที่ 1, 2 และ 3
2) ใช้ตัวชี้วัดในแต่ละขั้นบันได เพื่อประเมินผลสำเร็จของพื้นที่ต้นแบบ เพื่อให้ผ่านเกณฑ์
ความสามารถในการกา้ วไปส่ขู ้นั บันไดระดบั ตอ่ ไป โดยทำการประเมนิ แตล่ ะพ้ืนทีโ่ ดยใช้ตัวชี้วัดใน
แต่ละขนั้ บันไดท่ีถูกระบุในขอ้ แรก
3) ผลการประเมนิ จะสามารถจำแนกพื้นทต่ี ้นแบบที่ประสบความสำเรจ็ ซง่ึ ผ่านเข้ารอบไปสขู่ ้ันบันได
ตอ่ ไป และพน้ื ที่ที่ไม่ผ่านการประเมนิ

สว่ นท่สี อง : การค้นหาขีดความสามารถหลกั ของพนื้ ท่ีตน้ แบบ
4) จากผลการประเมินในขอ้ 3) สามารถระบผุ ลลัพธไ์ ด้ ดังน้ี
- กรณีประสบความสำเร็จ : ผลลพั ธท์ ไ่ี ด้ คือ ความสามารถหลกั ของพ้นื ท่ี (ทำอยา่ งไรใหป้ ระสบ
ความสำเรจ็ ), ปัจจัยความสำเรจ็ (เช่น กระบวนการบริหาร, บุคลากร, องค์ความรู้ เป็นต้น)
- กรณลี ้มเหลว : ผลลพั ธ์ที่ได้ คอื ปจั จัยความลม้ เหลว เพ่ือนำไปใช้ปรบั ปรงุ กระบวนการเรียนรู้
ในกรณอี ื่นๆ

สว่ นทส่ี าม : การกำหนดขีดความสามารถหลกั ขององค์กร
5) เมื่อได้ปัจจัยความสำเรจ็ จากขั้นตอนที่ 4) แล้ว หลักการของ Skandia แบบย้อนกลบั ถูกนำมาใช้
เพ่อื รวบรวมปัจจยั ความสำเรจ็ ในแตล่ ะข้ันบันได และกำหนดขีดความสามารถหลักของแต่ละพ้ืนที่
ต้นแบบ
6) ขีดความสามารถหลักของพื้นท่ีต้นแบบ แสดงถึงทรัพย์สินทางความรู้ของการดำเนินงานของปดิ
ทอง ซงึ่ สามารถถกู นำมารวบรวมเพอ่ื ระบุขดี ความสามารถหลกั ขององคก์ ร และระบุทรพั ย์สนิ ทาง
ความร้อู น่ื ๆ ทไี่ ดจ้ ากพน้ื ที่ต้นแบบดว้ ย

138 โครงการพัฒนาระบบการตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการพฒั นาพ้ืนทต่ี ามแนวทางความคุ้มค่าของการจัดการงบประมาณ
มูลนิธปิ ดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

รปู ที่ 3.57 แบบจำลอง PTF’s Framework เพื่อการประเมนิ ทรัพยส์ ินทางความรขู้ องปดิ ทองฯ
3.8.1.3 กระบวนการการจดั การองคค์ วามรู้

กระบวนการบรหิ ารจดั การองคค์ วามรูท้ ี่มคี วามชัดเจน และเหมาะสมสำหรบั การบริหารจัดการองค์
ความรู้ อันเนื่องมาจากโครงการตามแนวพระราชดำริต่อไป ประกอบด้วยองค์ประกอบ 5 ขั้นตอนหลัก
ได้แก่ (1) การจัดหาความรู้ หรือ sourcing (2) การสร้างกรอบแนวคิดเชิงปฏิบัติ หรือ abstraction (3)
การสรา้ งต้นแบบโมเดลปฏิบัติ หรือ conversion (4) การเผยแพร่โมเดลปฏิบัติสู่วงกวา้ ง หรือ diffusion
(5) การพัฒนาและปรับปรุงโมเดลปฏิบัติ หรือ development and refinement ประกอบด้วยความหมาย
กิจกรรมหลกั และบทบาทของผ้มู สี ่วนเกยี่ วขอ้ งหลักดงั รายละเอยี ดตอ่ ไปนี้

KM Process Sourcing Abstraction Conversion Diffusion Development &
(รวบรวม) (แปลงเป>นProduct) (ปฏบิ ัติในพ้นื ท่ี) (ขยายผล) Refinement
(ยกระดบั )
ความหมาย ระบุประเภท บรู ณาการองค;ความร1ดู า1 นท่ี แปลงกรอบแนวคดิ สต?ู 1นแบบ เผยแพรค? วามรูแ1 ละใช1
สร1าง/รวบรวม เก่ียวข1อง ใหเ1 ปEนกรอบแนวคิด/ โมเดลพัฒนาพ้ืนที/่ โมเดลพัฒนาพื้นท/ี่ ตอ? ยอดองค;ความรใู1 หม?
จดั ระเบียบ จัดเกบ็ ผงั โมเดลในการพัฒนาพ้ืนที/่ ตน1 แบบผลิตภัณฑ/; ตน1 แบบ ผลิตภัณฑ;/กระบวนการ และปรบั ปรงุ โมเดล
องค;ความร1ูดา1 นตา? งๆ ผลติ ภณั ฑ;/ กระบวนการ และทดลองใช1 ในพนื้ ทเี่ ปQาหมาย พฒั นาพืน้ ท่ี/ผลติ ภณั ฑ/;
ตน1 แบบในพน้ื ท/่ี กลม?ุ ตัวอยา? ง อยา? งกว1างขวาง กระบวนการ
กระบวนการ ให1ดขี ้ึน

กจิ กรรม •Knowledge Mapping •Conceptualization •Prototype Development •Knowledge Sharing •Knowledge
บทบาท / Creating/ •Model Development •Process Design •Commercialization Advancement
(A – F Model) Capturing / •Development Research •Business Incubation •Market Development •Product
Organizing ¨ Creator ¨ Developer ¨ Executor Proliferation
•Basic Research ¨ Developer ¨ Executor ¨ Facilitator ¨ Browser
¨ Activator ¨ Creator
¨ Browser ¨ Developer

รปู ท่ี 3.58 กระบวนการการจัดการองคค์ วามรู้

โครงการพัฒนาระบบการตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผลการพฒั นาพน้ื ทีต่ ามแนวทางความคมุ้ ค่าของการจัดการงบประมาณ 139
มูลนิธิปิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

1. การจัดหาความรู้ (sourcing)
ความหมาย : การจัดหาให้ได้มาซึ่งความรู้ที่จำเป็นต่อการดำเนินพันธกิจขององค์กร เริ่มตั้งแต่
การระบุประเภทความรู้ที่ต้องจัดหา การจดั หาความรู้ ซึ่งอาจเกิดจากการสร้างความรู้ใหม่หรอื
การรวบรวมความร้ทู มี่ อี ยู่แล้วจากภายในและภายนอกองคก์ ร การจดั ระเบยี บความรู้จากแหล่ง
ต่างๆ ให้อยู่ในมาตรฐานเดียวกัน และจัดเก็บให้อยู่ในระบบที่สามารถเข้าใช้งานและปรับปรงุ
ความรใู้ ห้ทันสมัยได้งา่ ย
กจิ กรรมหลัก :

• การจดั ทำแผนที่ความรู้ (knowledge mapping) โดยการระบุความรู้ในแต่ละประเภท และ
โครงสรา้ งของความรูย้ ่อยในแต่ละประเภทความรู้ เชน่
– ความรทู้ ฤษฎพี ้นื ฐาน (theory / body of knowledge)
– ความร้แู นวปฏิบตั ิ (application)

• การสรา้ งความรู้ (knowledge creating)

• การรวบรวมความรู้ (knowledge capturing)

• การจัดระเบียบ/จัดโครงสร้างความรู้ (knowledge organizing)

• การวจิ ยั พ้นื ฐานเพอ่ื สร้างองคค์ วามรพู้ นื้ ฐาน (basic research)

บทบาทของผมู้ ีส่วนเก่ยี วข้องหลัก :

• ผู้ชี้นำ/ระบุประเภทความรู้ (activator) คือ ผู้ที่ทำหน้าที่ชี้นำหรือระบุประเภทความรู้ที่
องค์กรจำเป็นต้องมี โดยต้องเป็นเป็นบุคคล/ทีมงานที่มีความเข้าใจในพันธกิจขององค์กร
เข้าใจผลผลิตและกระบวนการนำส่งผลผลติ ตลอดจนปัจจัยแวดล้อมต่างๆ ที่จะกระทบต่อ
กระบวนการนำสง่ ผลผลิตขององคก์ ร

• ผู้เสาะหาความรู้ (browser) คือ ผู้ทที่ ำหน้าทีใ่ นการเสาะหาความรใู้ นดา้ นตา่ งๆ โดยตอ้ งเป็น
บุคคล/ทมี งานท่ีมคี วามรู้กว้างขวาง รูว้ ่าในแต่ละประเภทความรู้น้นั ควรไปเสาะหามาด้วยวิธี
ใด เช่น วิจัยเอง สร้างเอง รวบรวมจากในองค์กร หรือ ต้องหาพันธมิตรช่วยวิจัย ช่วยสร้าง
ช่วยรวบรวมจากภายนอก นอกจากนี้ จะต้องรู้ว่าความรู้ที่เสาะหามาได้นั้น ควรได้รับการ
จัดเก็บอย่างเปน็ ระบบอยา่ งไร ด้วยกระบวนการและเทคโนโลยใี ด

2. การสร้างกรอบแนวคิดเชิงปฏิบตั ิ (abstraction)
ความหมาย : การบูรณาการองคค์ วามรดู้ ้านที่เก่ยี วขอ้ ง ให้เป็นกรอบแนวคดิ และผังโมเดลในการ
พฒั นาพนื้ ท่ี ผลติ ภัณฑ์ หรอื กระบวนการใหม่ๆ
กิจกรรมหลัก :

• การกำหนดกรอบแนวคิด (conceptualization) โดยนำองค์ประกอบของแต่ละทฤษฎีมา
เชื่อมโยงกันให้เป็นระบบ เช่น การนำทฤษฎีด้านน้ำ ดิน และป่า มากำหนดกรอบแนวคิดใน

140 โครงการพัฒนาระบบการติดตาม ประเมนิ และรายงานผลการพัฒนาพ้นื ทีต่ ามแนวทางความคุ้มค่าของการจัดการงบประมาณ
มลู นธิ ปิ ิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

การบูรณาการการพัฒนาพื้นที่ต้นแบบ หรือ การนำทฤษฎีการวางแผนการเคลื่อนที่ของ
หุ่นยนต์ทฤษฎีเครือข่ายระบบประสาทแบบ Perceptron และทฤษฎีทางการแพทย์ มา
กำหนดกรอบแนวคิดในการพัฒนาหุ่นยนต์ทางการแพทย์ เปน็ ต้น

• การพัฒนากรอบโมเดล (model development) โดยการนำกรอบแนวคิดมาวางผังการ
พัฒนารปู แบบต่างๆ เช่น ผงั โมเดลการพฒั นาพ้นื ทเ่ี กบ็ นำ้ การปรบั สภาพดนิ และการปลูกปา่
โดยการวางโซนนิ่งและแนะนำวิธีการปฏิบัติขั้นตอนหลักๆ หรือ การกำหนดผังการพัฒนา
หุน่ ยนต์ทางการแพทย์ที่ประกอบดว้ ยสเปคของระบบฮารด์ แวร์ของหุ่นยนต์และระบบซอฟ์ท
แวรท์ ี่ควบคมุ การทำงานของหุ่นยนต์ เป็นตน้

บทบาทของผู้มีส่วนเกี่ยวขอ้ งหลัก :

• ผู้สรา้ งสรรค์ (creator) คอื ผทู้ ี่ทำหน้าทใ่ี นการบูรณาการทฤษฎตี ่างๆ สู่กรอบแนวคิดรปู แบบ
การพฒั นา ผลิตภัณฑ์ และกระบวนการใหม่ๆ โดยตอ้ งเป็นบุคคล/ทีมงานทีเ่ ขา้ ใจพืน้ ฐานของ
แต่ละทฤษฎี และมีความคิดนอกกรอบ ความคิดเชิงนวัตกรรม ที่จะนำเสนอกรอบแนวคิด
ใหม่ๆ เพือ่ ตอบโจทยท์ ี่มี

• ผู้พัฒนา (developer) คือ ผู้ที่หน้าที่ในการแปลงกรอบแนวคิดสู่ผังโมเดลต่างๆ ที่เห็น
รูปธรรมในการทำงานชัดเจน เช่น ผังโมเดลการพัฒนาพื้นที่ ผังโมเดลการพัฒนาผลิตภัณฑ์
และผังโมเดลการพัฒนากระบวนการ โดยต้องเป็นบุคคล/ทีมงาน ที่มีประสบการณ์การลง
พน้ื ที่ การผลิตผลิตภณั ฑ์ และการใหบ้ รกิ าร และมคี วามคิดนอกกรอบ ความคดิ เชงิ นวตั กรรม
ทจ่ี ะนำเสนอกรอบโมเดลใหม่ๆ

3. การสร้างต้นแบบโมเดลปฏบิ ัติ (conversion)
ความหมาย : การแปลงกรอบแนวคิดหรือผังโมเดลสู่ต้นแบบโมเดลพัฒนาพื้นที่ ต้นแบบ
ผลิตภัณฑ์ หรือต้นแบบกระบวนการ รวมทั้ง ทำการทดลองใช้ต้นแบบต่างๆ ในพื้นที่ตัวอย่าง
ชุมชนตัวอย่าง หรือ ครวั เรือนตวั อย่าง
กจิ กรรมหลกั :

• การสร้างตน้ แบบผลิตภณั ฑ์ (prototype development) และนำไปใหก้ ลมุ่ ตัวอย่างทดลอง
ใช้ เชน่ สรา้ งตน้ แบบหุ่นยนตท์ างการแพทย์ แล้วให้แพทยก์ ลมุ่ ตัวอยา่ งทดลองใช้

• การสร้างต้นแบบกระบวนการ (process design) และทดลองใช้ในกลุม่ ตัวอย่าง เช่น สร้าง
ต้นแบบการพฒั นาพื้นท่แี บบบูรณาการ แล้วนำไปทดลองในพ้นื ท่ี/ชมุ ชนตัวอย่าง

• การบ่มเพาะธุรกจิ (business incubation) ในกรณีของผลิตภัณฑ์ใหม่ จะเปน็ กระบวนการ
ในการสนับสนุนผู้ประกอบการ ให้มีความพร้อมก่อนการนำผลิตภัณฑ์เข้าสู่ตลาดในเชิง
พาณิชย์ สำหรับกรณีขององค์กรไม่แสวงหากำไรที่มีพันธกิจในการนำต้นแบบ
กระบวนการพฒั นาสพู่ ้นื ทน่ี น้ั จะเปน็ การทเ่ี ครอื ข่ายแม่/หนว่ ยงานส่วนกลางเขา้ ไปสนับสนุน

โครงการพัฒนาระบบการตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผลการพฒั นาพืน้ ทตี่ ามแนวทางความคมุ้ ค่าของการจัดการงบประมาณ 141
มูลนธิ ิปดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

ทีมปฏิบัติ ให้สามารถเข้าพัฒนาในพื้นที่ตัวอย่างจนเกิดความเข้าใจ ก่อนที่เครือข่ายแม่/
หน่วยงานสว่ นกลางจะถอยออกมา แล้วให้ทีมปฏบิ ตั ใิ นพื้นท่ดี ำเนินการต่อเอง หรือขยายผล
ในพนื้ ที่อนื่ ๆ ต่อไป

บทบาทของผู้มีส่วนเกีย่ วข้องหลกั :

• ผู้พัฒนา (developer) คือ ผู้ที่หน้าที่ในการร่วมพัฒนาและทดสอบต้นแบบ โดยต้องเป็น
บุคคล/ทีมงาน ที่มีประสบการณ์การลงพ้ืนที่ การผลิตผลิตภัณฑ์ และการให้บริการ และมี
ความคิดนอกกรอบ ความคิดเชิงนวัตกรรม ที่จะปรับต้นแบบที่พัฒนาให้เหมาะสมกับการ
ปฏบิ ตั /ิ การใชง้ านในพื้นท่ีให้มากข้นึ

• ผู้ปฏิบัติ (executor) คือ ผู้ที่หน้าที่ในการทดสอบต้นแบบ โดยต้องเป็นบุคคล/ทีมงาน ที่มี
ประสบการณ์การลงพื้นทแ่ี ละการนำผลิตภัณฑ์ส่ผู ใู้ ช้งาน ต้องมคี วามเข้าใจในพื้นท่ี ผู้ใช้งาน
และผู้มสี ว่ นไดเ้ สียหลกั

4. การเผยแพรโ่ มเดลปฏบิ ัตสิ ู่วงกวา้ ง (diffusion)
ความหมาย : การเผยแพรค่ วามร้แู ละประยกุ ตใ์ ช้โมเดลพัฒนาพน้ื ท่ี ผลิตภัณฑ์ กระบวนการใหม่
ในพนื้ ท่ี/ชมุ ชน/ครัวเรอื น เปา้ หมายอย่างกวา้ งขวาง
กิจกรรมหลัก :

• การเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกบั โมเดลการพฒั นาผลิตภณั ฑแ์ ละกระบวนการใหม่ (knowledge
sharing)

• การนำผลิตภัณฑ์เขา้ ส่ตู ลาดในเชงิ พาณิชย์ (commercialization)

• การพัฒนาตลาด (market development) ในกรณีที่เป็นเชิงพาณิชย์ การพัฒนาตลาดจะ
เป็นการใช้กลยุทธ์ทางดา้ นการตลาดเพอ่ื ให้ขายผลติ ภัณฑไ์ ด้จำนวนมากในพนื้ ที่เป้าหมาย แต่
ในกรณีของการพัฒนาพ้ืนที่โดยองค์กรไม่แสวงหากำไร การพัฒนาตลาด หมายถึง การปรบั
สภาพกลุ่มเป้าหมาย/ชุมชุมในพื้นที่ให้พร้อมรับโมเดลการพัฒนา ซึ่งอาจใช้กลยุทธ์ในการ
สร้างความรู้ความเข้าใจทางตรงต่อครัวเรือนเป้าหมาย และการสร้างความรู้ความเข้าใจ
ทางออ้ ม ผ่านกจิ กรรมตา่ งๆ ท่ีเข้าไปสรา้ งในระดับชมุ ชน

บทบาทของผมู้ สี ่วนเก่ียวขอ้ งหลัก :

• ผู้ปฏิบัติ (executor) คือ ผู้ที่หน้าที่ในการนำต้นแบบการพัฒนาไปประยุกต์ใช้ในพืน้ ที่ต่างๆ
โดยตอ้ งเปน็ บคุ คล/ทีมงาน ท่มี ปี ระสบการณก์ ารลงพน้ื ทีแ่ ละการนำผลติ ภณั ฑส์ ่ผู ู้ใช้งาน ต้อง
มคี วามเข้าใจในพืน้ ท่ี ผู้ใชง้ าน และผู้มสี ว่ นได้เสยี หลกั

• ผู้อำนวยความสะดวก (facilitator) คอื ผู้ที่ทำหนา้ ท่อี ำนวยความสะดวกและประสานงานกับ
ภาคสว่ นต่างๆ ที่เก่ียวขอ้ งกับการพัฒนาพน้ื ที่

142 โครงการพัฒนาระบบการตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพ้ืนท่ตี ามแนวทางความคุม้ ค่าของการจดั การงบประมาณ
มลู นิธิปิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

5. การพัฒนาและปรบั ปรุงโมเดลปฏิบัติ (development and refinement)
ความหมาย : ต่อยอดองคค์ วามร้ใู หม่ และปรับปรงุ โมเดลพฒั นาพนื้ ที่ ผลิตภณั ฑ์ กระบวนการให้
ดีข้ึน
กจิ กรรมหลกั :

• การพฒั นาต่อยอดองค์ความรู้เดิม/สร้างองค์ความรู้ใหม่ (knowledge advancement) โดย
การตดิ ตามประเมินผลการเผยแพร่ความรู้ ผลการพฒั นาตามโมเดล ผลการใช้ผลติ ภณั ฑ์และ
กระบวนการ ในพื้นทต่ี า่ งๆ แลว้ นำความร้ใู หม่ท่ีเกิดข้นึ ระหว่างการพัฒนา มาทำการต่อยอด
องคค์ วามรู้เดมิ หรอื สรา้ งเป็นองคค์ วามรู้ใหม่

• การปรับปรุงโมเดลปฏิบัติ ผลิตภัณฑ์ และกระบวนการ (product proliferation) ให้
สอดคลอ้ งกบั บริบทต่างๆ มากขนึ้ โดยนำความรู้ที่ไดร้ ะหวา่ งการประยุกต์ใชใ้ นพ้นื ทต่ี ่างๆ มา
เป็นปจั จยั นำเขา้ ในการปรับปรงุ

บทบาทของผูม้ สี ่วนเก่ียวขอ้ งหลัก :

• ผเู้ สาะหาความรู้ (browser) คอื ผทู้ ่ีทำหน้าทใี่ นการรวบรวมและจัดเก็บความรู้ใหม่ที่เกิดขึ้น
ระหว่างการพฒั นา มาทำการต่อยอดองคค์ วามรู้เดิม หรอื สร้างเปน็ องค์ความรู้ใหม่

• ผู้สร้างสรรค์ (creator) และผู้พัฒนา (developer) คือ ผู้ที่ทำหนา้ ที่ในการนำความรู้ใหม่ท่ี
เกิดขึ้นระหว่างการพัฒนามาบูรณาการความองค์ความรู้เดิม เพื่อปรับกรอบแนวคิดและ
ปรบั ปรุงโมเดลปฏิบัติ ผลติ ภัณฑ์ และกระบวนการ ใหม้ ีประสทิ ธิภาพมากยงิ่ ข้ึน

3.8.2 การใชก้ รณีศกึ ษาเปน็ เครื่องมอื ในการจดั การความรู้องค์กร

การจัดการองคค์ วามรู้เปน็ หน่ึงในพันธกิจของมูลนธิ ิปิดทองหลังพระฯ เครื่องมอื ในการจัดการองค์
ความรู้มีอยู่หลายรูปแบบซึ่งการใช้กรณีศึกษา (case) เป็นเครื่องมือในการจัดการองค์ความรู้ถือเป็น
เครื่องมืออีกหนึ่งรูปแบบในการจัดการองค์ความรู้ที่เกิดขึ้นจากการดำเนินกิจกรรมของนักพัฒนาของ
สถาบนั ฯ อาทิ การพัฒนาพนื้ ท่ตี น้ แบบ การจดั การความรู้ การส่งเสรมิ และรับรู้เข้าใจแนวพระราชดำริ เป็น
ตน้ ทั้งทกี่ ารดำเนินงานท่ีประสบความสำเรจ็ และไมส่ บความสำเร็จ เพื่อรวบรวมความร้เู ป็นกรณีศึกษาเพ่ือ
เปน็ แหล่งองคค์ วามรูข้ องสถาบนั ฯท่ีเกดิ จากการปฏิบัตงิ านจรงิ ในพ้ืนทีแ่ ละถา่ ยทอดองค์ความร้สู ภู่ ายนอก

หลกั การการเขยี น case ท่ดี ีจะต้องกำหนด learning Point ในแต่ case เปน็ วตั ถปุ ระสงค์ของการ
เขียน case ซ่งึ ประเภทของ Learning Point ทส่ี ามารถใช้ Case Method ได้ดี มดี ังนี้

1. การตรวจสอบข^อสมมตุ ิ (To challenge assumptions) : เปKนการตัง้ คำถามกับสิง่ ตFางๆเพือ่ เปนK
แนวทางในการคน^ คว^าหาบทสรปุ ท่เี ปนK ข^อเทจ็ จรงิ

2. การหักลา^ งความเชอื่ เดิม (To overcome prejudices) : เพือ่ พสิ จู นDความเชอ่ื เดิมท่ีเคยปฏิบัติกัน
มาวาF เปนK จรงิ หรอื ไมF

โครงการพัฒนาระบบการตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการพฒั นาพืน้ ทตี่ ามแนวทางความคุม้ คา่ ของการจัดการงบประมาณ 143
มลู นธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

3. การทดสอบทฤษฎี (To test theories) : เปKนการทดสอบวFาสามารถนำทฤษฎีมาใช^ประยุกตใD ช^กบั
กิจกรรมการพฒั นาไดห^ รอื ไมF

4. การถกเถยี งความเหมาะสมของวธิ กี ารแก^ปqญหา (To debate solutions)

5. การพัฒนาทักษะการทำงานและทกั ษะชีวิต (To develop work and life skills)

6. ก า ร พ ั ฒนา Employability (To enhance employability) : เ ป K น กา รพั ฒนา ทั กษะขีด
ความสามารถในการทำงาน

เมื่อกำหนด learning Point ใน case แล้วลำดับต่อมาสิ่งที่ต้องพิจารณาในการจัดทำ Case มี
องค์ประกอบ 3 ส่วน ดังนี้

1. Conceptual Dimension : Case ทจี่ ะทำนี้ ต^องใหผ^ ู^เรยี นเข^าใจหลกั การ ทฤษฎีหรอื แนวคดิ เร่ือง
ใด กีเ่ รอื่ ง กหี่ ลกั การ

2. Analytical Dimension : Case ทจี่ ะทำน้ี ต^องการใหผ^ ูเ^ รียนฝuกการคดิ วิเคราะหเD ชงิ ปริมาณ
(คำนวณ สถติ )ิ หรอื เชงิ คณุ ภาพ (เหตผุ ล ความเชือ่ มโยง) ในระดบั ความยาก ซบั ซ^อน ลกึ ซ้งึ
เพยี งใด

3. Presentation Dimension : Case ทจี่ ะทำนี้ จะตงั้ ใจนำเสนอขอ^ มูลให^ผเ^ู รยี นแบบชดั เจนเขา^ ใจ
แบบงาF ย หรอื ควรนำเสนอ Case ในลกั ษณะทใ่ี หผ^ ^เู รียนต^องจับต^นชนปลายเรอ่ื งด^วยตนเอง

การใช้ case เปน็ เครอื่ งมอื ในการจัดการองค์ความรทู้ ี่ดจี ำตอ้ งกำหนด Learning Point ของ case
ใหช้ ดั เจนในแต่ละ case ต้องการท่ใี หผ้ เู้ รียนไดเ้ รยี นร้อู ะไร และพจิ ารณาองค์ประกอบของการจดั ทำ case
ใหส้ อดคลอ้ งกบั Learning Point ของ case จากนัน้ ดำเนินการเข้าสูก่ ารเขียน case

จากขอ้ มลู ที่กลา่ วมาขา้ งตน้ มาตรฐานการเขียน case ทด่ี คี วรมีลำดับการเขยี นดงั น้ี

1. ขอ^ มูลพืน้ ฐานขององคกD ร/พนื้ ที/่ โครงการ (Background)

เปKนการเขียนเพื่อการให^ความรูค^ วามเข^าใจพื้นฐานเกีย่ วกบั Case ซึ่งทำให^ผ^ูอาF นสามารถ
เข^าใจบริบท สถานการณDและสภาพแวดลอ^ มทางเศรษฐกจิ สังคมทเี่ กี่ยวข^อง ซงึ่ หากไมทF ราบขอ^ มูล
เหลFานี้ก็อาจจะไมFสามารถวิเคราะหDและเข^าใจสาระสำคัญของ Case ได^อยFางถูกต^องถFองแท^ โดย
ขอ^ มลู พนื้ ฐานอาจหายถึง

- ข^อมลู เกีย่ วกับองคDกร เชFน ภารกจิ /กิจการขององคกD ร โครงสร^างองคกD ร จำนวนบุคลากร
ประเภทของบุคลากร รายรบั และคาF ใชจ^ าF ย ผลการดำเนนิ งาน/ผลประกอบการ สภาพการ
แขงF ขันของกจิ การ และข^อมลู อืน่ ๆทจ่ี ะเกี่ยวขอ^ งกับ Case

- ข^อมลู เกยี่ วกับพน้ื ท/ี่ ชมุ ชน เชนF ขนาดพื้นที่ จำนวนประชากร/ครัวเรอื น โครงสร^างประชากร
การประกอบอาชีพ ลักษณะและประเภทของทรัพยากรธรรมชาตทิ มี่ ี เชนF ปริมาณและ

144 โครงการพฒั นาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพฒั นาพนื้ ทต่ี ามแนวทางความค้มุ ค่าของการจัดการงบประมาณ
มลู นิธิปิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

คุณภาพแหลงF นำ้ ปbาไม^ เปนK ตน^ ลกั ษณะของรายไดแ^ ละคาF ใชจ^ Fายในภาพรวม และในระดบั
ครัวเรอื น และขอ^ มูลอนื่ ๆตามที่จะเก่ียวข^องกบั Case

- ข^อมูลเกยี่ วกับโครงการ เชนF ทมี่ าและวัตถุประสงคขD องโครงการ ขอบเขตการดำเนินงาน
บุคลากรทเี่ กีย่ วข^อง โครงสรา^ งของทมี งาน ระยะเวลาดำเนินการ ความคาดหวงั ของผลผลติ
ผลลัพธDผลกระทบ ความสามารถของบุคลากรโครงการ ปqญหาและอปุ สรรคสำคญั และขอ^ มูล
อน่ื ๆตามทจ่ี ะเกี่ยวข^องกบั Case

2. สาระสำคญั ของเรอ่ื งทเี่ ปนK จุดเน^น (Specific Area of Interest)

เปKนการบนั ทกึ รายละเอียดของสาระสำคญั ที่จะเปKนจดุ เน^นของ Case และเปKนสาระสำคัญ
ที่ต^องการให^ผู^อFานได^เกิดการเรียนรู^ (Learning Points) จากการอFาน Case เชFน เรื่องการวาง
แผนการพัฒนาชุมชน เรื่อการพัฒนาแหลFงน้ำ เรื่องหลักการของการวมกลุFม เรื่องการลงทุนใน
โครงสรา^ งพนื้ ฐานการผลิตของชมุ ชน ฯลฯ

3. ปqญหาหรอื เรื่องทตี่ ^องตัดสนิ ใจ (Problem/ Decision)

เปKนการกำหนดประเด็นปqญหาหรือเรื่องที่ต^องตัดสินใจ ซึ่งจะนำไปสูFการวิเคราะหD Case
โดยการกำหนดปญq หาหรือเรอ่ื งท่ีตอ^ งตดั สนิ ใจนี้ไว^ใน Case จะเป~ดโอกาสให^ผู^อFานได^คิดวิเคราะหD
ได^มองปqญหาหรอื การตัดสินใจอยFางรอบด^าน และนำไปสFูการค^นหาขอ^ มูลหรอื หลักการสำคญั อ่ืนๆ
ท่จี ำเปKนสำหรับการวเิ คราะหDเพือ่ แก^ไขปqญหา/ตัดสินใจในประเดน็ ท่กี ำหนด

นอกจากนปี้ ระเดน็ ปญq หาหรือเรือ่ งท่ีต^องตดั สนิ ใจ ก็จะเปนK เคร่อื งมือในการหารือแบบกลุFม
บคุ คลที่จะเรยี นรูร^ วF มกนั โดยเป~ดโอกาสให^ทุกคนในกลFมุ ได^แสดงความคดิ เห็นในการแก^ไขปqญหา
และเสนอวธิ ีและแนวทางการตัดสนิ ใจ และหาขอ^ ยุติรFวมกันผFานการแลกเปลี่ยนความร^ูและความ
คดิ เหน็ อยFางทว่ั ถงึ ฉะนัน้ ประเด็นปญq หาหรอื เรื่องทีต่ อ^ งตดั สนิ ใจจงึ เปนK เคร่ืองมอื ในการเรยี นรู^แบบ
กลุFมได^เปKนอยาF งดี

4. ทางเลอื กของแนวทางการแกไ^ ข (Alternatives/ Options)

เปนK การเสนอแนวทางแก^ไขปญq หา หรือทางเลือกของการตดั สินใจทเี่ กย่ี วขอ^ งกับประเด็นท่ี
ได^เสนอไว^กอF นหน^า โดยเปKนทางเลือกหรือแนวทางการแก^ไขปqญหาทเ่ี ปKนไปได^ทผ่ี ูเ^ ขยี น Case คิด
และวิเคราะหDไว^ลFวงหน^า ทั้งนี้การเสนอทางเลือกการตัดสินใจและแนวทางการแก^ไขปญq หาน้จี ะ
ชFวยให^ผู^อFาน Case สามารถมองปqญหาหรือการตัดสินใจในหลากหลายแงFมุม และหลากหลาย
ทางออก ซ่งึ ล^วนแล^วแตมF ขี อ^ ดแี ละขอ^ ดอ^ ยแตกตาF งกนั ไป การไดม^ องเห็นทางเลอื กและแนวทางการ
แก^ไขปqญหาที่แตกตFางกันทำให^ผู^อFาน Case ต^องตัดสินใจเลือกทางเลือกและแนวทางที่ดีที่สุด
ภายใตส^ ถานการณDและขอ^ มูลท่มี อี ยFูอยาF งจำกัด เปนK การฝกu ทักษะการตัดสนิ ใจได^อยาF งดี

5. คำถามเพอ่ื การวเิ คราะหDและบทสรปุ (Question & Conclusion)

โครงการพัฒนาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพฒั นาพืน้ ทตี่ ามแนวทางความคมุ้ ค่าของการจดั การงบประมาณ 145
มลู นธิ ิปิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

เมื่อผFานกระบวนการตดั สนิ ใจเลือกทางเลือก หรือเลือกแนวทางการแก^ไขปqญหาไดอ^ ยFางดี
แลว^ ก็จะเปKนสFวนของการวเิ คราะหDและสรปุ ผลการคิดวิเคราะหตD งั้ แตFเรม่ิ ตน^ กลFาวคอื เปนK การสรปุ
แนวคิด สรุปการตัดสินใจ และสรปุ แนวทางการดำเนินการตFอไปในโจทยDท่ีกำหนด โดยข^อสรุปที่
เขียนไว^จะต^องประกอบด^วยแนวคิดและข^อสมมุติ (Assumption) และข^อสรุปของการตัดสินใจ
ตลอดจนเหตุผลและข^อมลู ประกอบการตัดสนิ ใจ และข^อเสนอแนะแนวทางการดำเนินการในเรื่อง
นี้ตFอไป

(1) Organizational/ Project
Background

(2) Specific Area of Interest

(3) SpecDifeiccisPiroonblem or
(4) (AOlptetrionnasti)ves

(5) Conclusion

รูปท่ี 3.59 มาตรฐานของการเขียน Case

ทั้งนี้หากสังเกตลักณะเนื้อหาของ Case จะพบว่า การเขียน Case เริ่มจากการให้ข้อมูลพื้นฐาน
กว้างๆและจะค่อยๆเฉพาะเจาะจงมากขึ้นๆ เรื่อยๆจนถึงการระบุประเด็นปัญหาและทางเลือก และจบลง
ด้วยข้อสรุปทีม่ ีความเฉพาะเจาะจง ตรงประเดน็ กับ Learning Point ท่ตี อ้ งการใหผ้ ้เู รยี นได้เรยี นรใู้ นทส่ี ุด

การเขียน Case อย่างถูกตอ้ งจงึ เป็นเคร่ืองมืออยา่ งดีสำหรบั การเรยี นรูแ้ ละการจัดการความรู้ โดย
ผ่านกระบวนการคิดและวางแผนการเขียน Case อย่างเป็นระบบ ซึ่งจะทำให้ผู้อ่านได้ทั้งความรู้และ
ประสบการณ์ผา่ นการบนั ทึกสถาณการณแ์ ละประเด็นทีเ่ กยี่ วขอ้ งจนถงึ ข้อสรปุ ในทสี่ ุด

3.8.3 แนวทางจัดการองค์ความรใู้ นการพฒั นาตามแนวพระราชดำริ

ทฤษฏีทีเ่ ป็นตัวอยา่ งของการนำปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาใช้ท่ีเด่นชดั ทีส่ ดุ คือ ทฤษฎีใหม่ ซ่ึง
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภมู ิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร หรอื พระบาทสมเด็จ
พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลท่ี 9 แห่งราชวงศจ์ ักรี ได้พระราชทาน
พระราชดำรเิ ศรษฐกิจพอเพียง ที่พระราชทานมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2517 เพื่อช่วยเหลือเกษตรกรให้สามารถ
ตอบรับกับความเส่ียงสำคญั ซึ่งสาระสำคัญของทฤษฎีใหม่ คือ เรื่องการบริหารจัดการท่ีดินแปลงเลก็ เพ่ือ
ประโยชน์สงู สดุ ของเกษตรกร การคำนวณปริมาณนำ้ ท่จี ะกกั เก็บใหเ้ พียงพอตอ่ การเพาะปลกู ตลอดปี และ
การวางแผนพัฒนาที่สมบรู ณ์แบบสำหรบั เกษตรรายยอ่ ย โดยแบง่ เป็น 3 ระดบั ขนั้ อยา่ งชัดเจน เชอ่ื มโยงกนั
และเป็นลำดับขั้น ไดแ้ ก่

146 โครงการพฒั นาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพฒั นาพน้ื ทต่ี ามแนวทางความคุ้มคา่ ของการจดั การงบประมาณ
มูลนิธปิ ดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

1. ทฤษฎใี หมข่ ้นั ตน้ (ขัน้ อยู่รอด-ครวั เรือนพ่ึงตนเอง)
มีเป้าหมาย คือ เพื่อให้ครัวเรือนเข้มแข็ง เกษตรกรผลิตได้และมีผลผลิตพอกนิ ตลอดปี มี
รายได้เพ่ิมขึ้น หรอื รายจ่ายลดลง หรอื หนลี้ ดลง

2. ทฤษฎใี หมข่ นั้ ท่ี 2 (ขัน้ พอเพียง-ชมุ ชนรวมกลุม่ พงึ่ ตนเองได)้
เป้าหมาย คือ เพื่อให้ชุมชนแข็งแรง ชุมชนเข้มแข็ง ไม่เบียดเบียนกัน แบ่งปันและใช้
ทรัพยากรร่วมกันเพื่อลดต้นทุน/เพิ่มผลผลิต สามารถรวมกลุ่มเพื่อดำเนินกิจการได้ มี
อำนาจต่อรอง และสามารถบรหิ ารจดั การกันเองได้

3. ทฤษฎีใหม่ขั้นที่ 3 (ขั้นยั่งยืน-ออกสู่ภายนอกเพื่อเชื่อมโยงแหล่งทุน องค์ความรู้และ
เทคโนโลย)ี
เป้าหมาย คือ ชุมชนยั่งยืนขยายผล เป็นเครือข่ายสังคมใหญ่ที่เข้มแข็ง รูปแบบชุมชน/
องค์กร/ธุรกิจ แบ่งปัน ช่วยเหลือกัน สามารถเชื่อมโยงและถ่ายทอดภูมิปัญญา เงินทุน/
เทคโนโลยี เพื่อสร้างมูลค่าเพ่มิ และอยรู่ ว่ มกนั อย่างยง่ั ยนื

รปู ที่ 3.60 การพฒั นาพ้ืนทตี่ ามแนวพระราชดำริ

เมื่อนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม่ มาผนวกกับทฤษฎีห่วงโซ่แห่งคุณค่า (Value
Chain) และรปู แบบกจิ กรรมการดำเนนิ งานของสถาบันปิดทองฯ ในพ้ืนทต่ี น้ แบบ (Business Model) จะ
พบว่าสิ่งที่ได้ คือ การขับเคลื่อนแนวพระราชดำริในแต่ละขั้น นอกจากจะเป็นประโยชน์ในการยึดแนว

โครงการพฒั นาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพฒั นาพนื้ ท่ีตามแนวทางความคุม้ ค่าของการจดั การงบประมาณ 147
มูลนิธิปดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

พระราชดำริเป็นหลกั ในการพฒั นาพน้ื ที่ และชว่ ยเปน็ แนวทางในการพัฒนาพนื้ ทีอ่ ย่างเปน็ ลำดับขัน้ แล้ว ยัง
สามารถใช้เป็นแนวทางจดั การองค์ความรใู้ นการพฒั นาตามแนวพระราชดำรใิ นแต่ละเรือ่ งได้ ดังนี้

ห่วงโซ่แหง่ คุณค่า (Value Chain) ในรูปแบบกิจกรรมการดำเนนิ งานของสถาบันปิดทองฯ ในพื้นท่ี
ต้นแบบ (Business Model) จะแบ่งเป็นกลุ่มต้นน้ำ กลางน้ำและปลายน้ำ โดยมีกิจกรรมการผลิตของ
ประชาชนไดด้ งั น้ี

ตน้ น้ำ - นำ้ /ดิน
- คดั เลอื กพืช/สตั วเ์ ศรษฐกจิ
- จัดหาวัตถุดิบ

กลางน้ำ - กิจกรรมการผลิต
- ทรพั ยากรและโครงสรา้ งพน้ื ฐาน
- ผลผลิตการเกษตร
- สนิ ค้าแปรรูป

ปลายน้ำ - ลูกคา้ และช่องทางจำหน่าย
- รายไดแ้ ละผลสำเร็จ

หลังจากผนวกปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม่ เข้ากับกับทฤษฎีห่วงโซ่แห่งคุณค่า
(Value Chain) และรูปแบบกิจกรรมการดำเนินงานของสถาบันปิดทองฯ ในพื้นที่ต้นแบบ (Business
Model) พบการขบั เคลื่อนแนวพระราชดำรใิ นแต่ละขน้ั ดังต่อไปน้ี

ขน้ั ท่ี 1: ครัวเรือนพ่งึ ตนเอง กลางน้ำ ปลายน้ำ

ตน, น้ำ

กิจกรรม น้ำ/ดนิ พเชื ลศค/ือกัดสก.ัตวL วจตั ดั ถหุดาบิ กิจกรรมการผลิต ผลผลติ การเกษตร จชำลอ1 แหกูงลนทคะา,า1ายง ผรลแาสยลำไะเดรจ็,
การผลติ ของ โครงทสรรพั ,ายงาพกืน้ รฐาน สินค,าแปรรูป

ประชาชน

มนี ำ้ เพียงพอ คดั เลอื ก จัดหา เพาะปลูก/เลี้ยงสัตวL ใหไ, ดต, ามมาตรฐาน ผลผลิตพอกนิ ตลอดปP
ตลอดปP พืช/สัตวL วตั ถดุ บิ ให, (ปริมาณ/คณุ ภาพ)
ปรับปรุง เศรษฐกจิ เปUนไป
ปรับปรุงการผลติ เพอื่ สร,างมลู ค1าเพิ่ม แปรรปู ผลผลติ ผลผลติ มรี ายได,เพิม่ /
คณุ ภาพดิน ท่ีดี ตาม (เกษตรประณตี /เกษตรอนิ ทรีย)L สว1 นเกนิ ขาย ค1าใช,จา1 ยลด/
จัดการท่ีดิน เหมาะสม มาตรฐาน
แปลงเล็กเพ่อื กบั พื้นท่ี ของตลาด ได, หน้ลี ดลง
ประโยชนสL ูงสดุ ขายงา1 ย เปาV หมาย
บนั ทึกและทำบญั ชตี ,นทุน
และ
ราคาสูง

รูปท่ี 3.61 การขับเคล่ือนการพฒั นาพื้นทต่ี ามแนวพระราชดำริ : ขน้ั ที่ 1 ครวั เรอื นพง่ึ ตนเอง

148 โครงการพัฒนาระบบการตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผลการพฒั นาพืน้ ที่ตามแนวทางความคุม้ ค่าของการจดั การงบประมาณ
มลู นธิ ิปิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

ขน้ั ท่ี 2: ชุมชนรวมกลุ$ม พึ่งตนเองได3 ปลายน้ำ

ตน3 น้ำ กลางนำ้

กจิ กรรม น้ำ/ดนิ พเชื ลศค/ือกัดสก.ตั วR วจตั ัดถหุดาบิ กิจกรรมการผลติ ผลผลิตการเกษตร จชำลอ$ แหกูงลนทคะ3า$าายง ผรลแาสยลำไะเดร็จ3
การผลิตของ โครงทสรรพั า3 ยงาพกืน้ รฐาน สนิ คา3 แปรรปู
ประชาชน

กลมุ$ น้ำ กลุ$มวัตถุดิบ กล$ุมการผลติ กลมุ$
กลุ$มการผลิต+จำหน$าย ดแู ลชมุ ชน

กล$มุ การจัดหาวัตถดุ บิ +การผลิต+จำหน$าย

กลุม$ สนิ คา3 แปรรปู

กลุ$มสนิ ค3าแปรรปู +จำหนา$ ย

รูปท่ี 3.62 การขับเคลื่อนการพฒั นาพ้นื ทตี่ ามแนวพระราชดำริ : ขนั้ ที่ 2 ชุมชนรวมกลมุ่ พึ่งตนเองได้

ขนั้ ที่ 3: ออกส@ูภายนอก กลางน้ำ ปลายน้ำ

ตน' น้ำ กิจกรรมการผลิต
โครงทสรรพั 'ายงาพกืน้ รฐาน
กจิ กรรม นำ้ /ดิน พเชื ลศค/อืกัดสก.ตั วV วจตั ัดถหดุ าิบ ผลผลติ การเกษตร จชำล@อแหกูงลนทคะ'า@าายง ผรลแาสยลำไะเดร็จ'
การผลติ ของ สนิ ค'าแปรรูป

ประชาชน

กล@มุ การผลิต กลม@ุ ผลผลติ

ความร'แู ละเทคโนโลยี มตี ลาด ชุมชน
ในการเพ่ิมคุณภาพการผลิต/ผลผลติ ที่เปน> เลิศ ทีม่ ่นั คง ย่งั ยืน
และย่งั ยืน
(เศรษฐกจิ /
สังคม/

สง่ิ แวดล'อม)

เชือ่ มโยงแหลง@ เงนิ ทุนทมี่ มี าตรฐาน เพ่อื ขยายการดำเนนิ ธุรกิจใหย' ง่ั ยืน

รปู ท่ี 3.63 การขับเคลอ่ื นการพฒั นาพ้ืนที่ตามแนวพระราชดำริ : ขน้ั ท่ี 3 ออกสู่ภายนอก

เพอื่ เป็นการศึกษารายละเอยี ดในเชงิ ลึก คณะทป่ี รกึ ษาฯ ได้ศกึ ษาจุดเดน่ ของมูลนิธิปิดทองฯ ในการ
ขับเคลื่อนงานพัฒนาพื้นที่ตามแนวพระราชดำริในแต่ละขั้น เพื่อให้เปน็ การถอดบทเรียนและจัดการองค์
ความรูใ้ นการพฒั นาพ้ืนทตี่ ามแนวพระราชดำริต่อไป โดยมีผลการศกึ ษาจุดเด่นของมูลนธิ ปิ ิดทองฯ ทพ่ี บใน
ขนั้ ท่ี 1-2-3 ดงั น้ี

โครงการพฒั นาระบบการตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพน้ื ที่ตามแนวทางความคมุ้ คา่ ของการจดั การงบประมาณ 149
มูลนธิ ิปดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

ขน้ั ท่ี 1: ครัวเรอื นพง่ึ ตนเอง กลางน้ำ ปลายนำ้

ต,นน้ำ

กิจกรรม น้ำ/ดิน พเชื ลศค/อืกัดสก.ัตวL วจัตัดถหดุ าบิ กจิ กรรมการผลิต ผลผลิตการเกษตร จชำล1อแหูกงลนทคะ,าา1ายง ผรลแาสยลำไะเดรจ็,
การผลติ ของ โครงทสรรัพ,ายงาพกื้นรฐาน สินคา, แปรรูป

ประชาชน 6
เพาะปลูก/เล้ียงสตั วL ใหไ, ดต, ามมาตรฐาน
1 4 5 8 11 12
มนี ้ำเพยี งพอ คัดเลือก จดั หา (ปริมาณ/คณุ ภาพ)
พชื /สัตวL วตั ถดุ ิบให, ผลผลิตพอกนิ ตลอดปP ผลผลิต มรี ายไดเ, พม่ิ /
ตลอดปP เศรษฐกจิ เปUนไป ปรับปรงุ การผลิต เพือ่ สร,างมูลคา1 เพ่ิม 7 แปรรูปผลผลติ 9 สว1 นเกินขาย ค1าใช,จา1 ยลด/
ตาม (เกษตรประณีต/เกษตรอินทรีย)L
ปรบั ปรุง 2 ทดี่ ี มาตรฐาน ได, หนีล้ ดลง
คณุ ภาพดนิ เหมาะสม ของตลาด
จดั การทด่ี ิน 3 กบั พนื้ ที่ เปาV หมาย บนั ทึกและทำบัญชีต,นทุน 10
แปลงเลก็ เพอ่ื ขายง1าย
ประโยชนLสงู สดุ
และ
ราคาสูง

รูปที่ 3.64 การศึกษาจุดเดน่ ของมลู นธิ ปิ ดิ ทองฯ เพอ่ื ขับเคลอ่ื นการพฒั นาพนื้ ทต่ี ามแนวพระราชดำริ (ขัน้ ที่
1 ครัวเรอื นพ่งึ ตนเอง)

ตารางท่ี 3.24 จุดเดน่ ในการดำเนินงานของมลู นิธปิ ิดทองฯ ในขนั้ ที่ 1 ครวั เรอื นพงึ่ ตนเอง

1. มนี ้ำเพยี งพอตลอดปี

กิจกรรมของปิดทอง จดุ เดน่ ของปิดทอง พระราชดำรัส

1. 1 การฟนื้ ฟแู หล่ง การดแู ลรักษาแหล่งนำ้ และ/หรอื ป่าไม้ โดยชุมชน “...สำหรบั ตน้ นา้ํ ไม้ที่ข้นึ อยบู่ รเิ วณสองข้างลำห้วย จำเป็นต้อง
นำ้ รักษาไว้ให้ดี เพราะจะชว่ ยเก็บรักษาความชุ่มชื้นไว้สว่ นตามรอ่ ง
เพ่อื การใชป้ ระโยชน์อย่างยงั่ ยนื โดยการสรา้ งฝายต้นน้ำ นา้ํ และบริเวณท่นี ้าํ ซับ ก็ควรสรา้ งฝายขนาดเลก็ กนั้ นาํ้ ไวใ้ น
หรอื ฝายชะลอน้ำ หรือฝายอนุรกั ษ์ หรือฝายเก็บกกั น้ำ ลกั ษณะฝายชมุ่ ช้นื แม้จะมีจำนวนน้อยก็ตาม สำหรับแหล่งน้ำ ท่ี
มปี รมิ าณน้ำมาก จงึ สร้างฝายเพ่อื ผันนำ้ ลงมาใช้ในพืน้ ที่
ช่วยกกั เกบ็ น้ำไวใ้ นดินและพ้ืนท่ีตอนบน เพ่อื ให้ความชมุ่ เพาะปลกู ...”
“... ควรสรา้ งฝายต้นน้าํ ลำธารตามร่องน้ํา เพ่ือชว่ ยชะลอกระแส
ชืน้ รกั ษาความชมุ่ ช้ืน หรอื หมุนส่งน้ำไปใชย้ งั พ้นื ทท่ี ำ นํ้า และกกั เกบ็ นาํ้ สำหรบั สรา้ งความช่มุ ชื้นให้กบั บริเวณตน้ น้าํ
...”
การเกษตร พระราชดำรัส เมอื่ วนั ท่ี ๑๑ มนี าคม พ.ศ.๒๕๓๒ ณ ดอยอ่างขาง
1.1.2 การเพ่มิ ประสิทธภิ าพแหลง่ นำ้ เปน็ การจดั การ
เชยี งใหม่
เพ่อื ใหส้ ามารถใช้แหล่งนำ้ ได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพเพิ่มข้นึ
"... เรือ่ งนำ้ นี้ กเ็ ปน็ ปัจจัยหลกั ของมวลมนุษย์ ไมใ่ ชม่ นษุ ย์เท่านนั้
ซึ่งสามารถทำไดห้ ลายวธิ ี เช่น การสรา้ งอา่ งพวง เพอ่ื ทำ แม้สง่ิ มชี วี ิตท้ังหลาย ทง้ั สตั วท์ ง้ั พืช ถา้ ไม่มกี อ็ ยูไ่ ม่ได้ เพราะว่าน้าํ
หนา้ ทเ่ี กบ็ กักนำ้ ทไี่ หลจากพ้ืนทีม่ าเกบ็ กัก และตอ่ เชอ่ื ม เป็นสอื่ หรือเป็นปัจจัยสำคญั ของสิง่ มชี วี ติ แมส้ งิ่ ไมม่ ีชวี ติ ก็
ตอ้ งการน้าํ เหมือนกัน มฉิ ะนั้นก็จะกลายเป็นอะไรไม่ทราบ เช่น
กันเป็นระบบ เพือ่ ให้สามารถใช้น้ำจากทร่ี ะบายลงสระได้ ในวตั ถุ ตุ ่างๆ ในรูปผลึก ก็ต้อง มนี ํ้าในนัน้ ดว้ ย ถา้ ไมม่ ีน้ําก็จะไม่
อย่างมปี ระสิทธิภาพมากกวา่ อา่ งเก็บนำ้ เดย่ี ว เปน็ ผลึก กลายเปน็ สิ่งทีไ่ ม่มีรูป ฉะน้ัน นํา้ นีก้ ็เปน็ สิ่งสำคญั ที่
กลา่ วถึงขอ้ นี้กจ็ ะให้ไดท้ ราบถงึ วา่ ทำไมการพัฒนา ข้นั แรกหรอื
1.2 การพัฒนาแหลง่ 1.2.1 การพฒั นาแหล่งนำ้ ตามธรรมชาติ ให้สามารถใช้ สง่ิ แรกท่นี กึ ถึงกค็ ือโครงการชลประทาน แล้วก็โครงการ
นำ้
ประโยชน์ไดเ้ ตม็ ประสิทธิภาพ หรอื รับปรมิ าณน้ำไดเ้ พิม่
มากขน้ึ เชน่ การปรบั ปรุงสภาพลำนำ้ การขุดสระ การ

ขุดลอกดินในหนองและบึงธรรมชาติ เพ่อื เพม่ิ ปริมาณ
เก็บกักนำ้ เปน็ ต้น

1.2.2 การพัฒนาหรือปรับปรงุ โครงสรา้ งพน้ื ฐาน เปน็
การจัดการเพ่อื ใหแ้ หลง่ นำ้ มปี ริมาณเพ่มิ ขึน้ เพ่ือใช้

สนบั สนุนการผลิต เชน่ การเสริมสนั ฝายเพ่อื เพิ่มพื้นทีร่ บั

150 โครงการพฒั นาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพื้นทีต่ ามแนวทางความคมุ้ ค่าของการจดั การงบประมาณ
มูลนิธิปดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

กจิ กรรมของปิดทอง จุดเด่นของปิดทอง พระราชดำรสั

1.3 การพฒั นาระบบ นำ้ หรือทำให้มปี รมิ าณน้ำเพิม่ มากขน้ึ สามารถนำไปใช้ สิ่งแวดล้อมทำใหน้ ำ้ ดี สองอย่างน้อี นื่ ๆ กจ็ ะเป็นไปได้ถ้าหากว่า
น้ำและระบบกระจาย ประโยชนใ์ นพนื้ ท่ีเปา้ หมาย ทำใหไ้ ด้ผลผลติ ท่ีเพมิ่ ขึ้น ปญั หา ของน้ํานี้ เราไดส้ ามารถท่ีจะแก้ไข หรืออยา่ งน้อยท่ีสดุ ก็
น้ำเข้าส่แู ปลง หรือมีคุณภาพดขี ึน้ หรือการพฒั นาระบบน้ำจากการใช้ ทำให้เรามนี า้ํ ใชอ้ ย่างเพียงพอ ฉะนน้ั การพัฒนาน้นั สงิ่ สำคัญกอ็ ยู่
พลังงานทดแทนดว้ ยระบบไมโครกรดิ สามารถช่วยแกไ้ ข ตรงนี้ นอกจากนัน้ กเ็ ปน็ ส่ิงท่ตี ่อเน่ือง เชน่ วชิ าการในดา้ นการ
1.4 การบริหาร ปญั หา บรรเทาความเดือดร้อนเก่ยี วกบั นำ้ จนสามารถ เพาะปลกู เป็นตน้ ตลอดจนถึงการพฒั นาท่ีเกย่ี วขอ้ งกับ
จดั การน้ำโดยชุมชน สนองความตอ้ งการพ้ืนฐานของชุมชนได้ อตุ สาหกรรม หรือการคา้ หรือการคลงั อะไร พวกนี้กต็ ่อเนือ่ ง
ตอ่ ไป..."
1.3.1 การพฒั นาระบบน้ำจากแหล่งน้ำไปยงั พืน้ ที่ พระราชดำรสั วันท่ี ๒๙ ธนั วาคม ๒๕๓๒ พระตำหนกั จิตรลดา
การเกษตร เปน็ งานทเี่ กย่ี วกบั การพฒั นาระบบส่งนำ้ ของ รโหฐาน
โครงการจากแหลง่ ตน้ นำ้ ไปยังพ้ืนทีเ่ กษตรกรรม (ต้น “... วนั นี้ก็ขอพดู ขออนุญาตที่จะพูด เพราะว่าอนั้ มาหลายปีแลว้
แหลง่ น้ำ) ตัวอยา่ งเชน่ การทำฝายส่งน้ำ ทำคลองสง่ นำ้ เคยพดู มาหลาย ปแี ลว้ ในวธิ ที ่ีจะปฏิบัติเพอื่ ท่ีจะใหม้ ีทรัพยากร
ทำคันกั้นน้ำ การฟน้ื ฟูสถานสี ูบน้ำ การวางแนวท่อเมน นำ้ เพียงพอและเหมาะสม คำวา่ “พอเพยี ง” หมายความว่า ใหม้ ี
หรือการต่อทอ่ หลกั เพ่ือส่งนำ้ จากแหล่งน้ำ ไปยังพืน้ ที่ พอในการบรโิ ภคในการใช้ ทงั้ ในด้านการบริโภคในบา้ น ทง้ั ใน
การเกษตรแต่ละพ้ืนที่ เพือ่ ใหเ้ พยี งพอต่อการ การใช้ เพ่ือการเกษตรกรรม อตุ สาหกรรมตอ้ งมพี อ ถา้ ไมม่ ที กุ ส่งิ
เกษตรกรรม ทกุ อย่างก็ชะงกั ลง แลว้ ทุกสิง่ ทกุ อย่างทเ่ี ราภาคภมู ใิ จ วา่
1.3.2 การพัฒนาระบบกระจายน้ำเข้าส่แู ปลงของ ประเทศเรากา้ วหนา้ เจริญกช็ ะงกั ไมม่ ีทางทจ่ี ะมคี วามเจรญิ ถ้า
เกษตรกร เปน็ งานท่เี ก่ยี วขอ้ งกับการกระจายน้ำเขา้ สู่ ไม่มีนำ้ ...
พน้ื ท่ีของเกษตรกร (ปลายแหลง่ นำ้ ) เชน่ การตดิ ตงั้ ทอ่
ก้างปลาเขา้ แปลงของเกษตรกร การทำระบบนำ้ หยด พระราชดำรสั ถึงโครงการกกั เกบ็ น้ำปา่ สัก จ.ลพบรุ ี และ จ.
และสปิงเกอร์ การขดุ บ่อจว๋ิ การจัดทำคนั และคูนำ้ เขา้ สระบุรี โครงการเขือ่ นเก็บนำ้ แมน่ ำ้ นครนายก จ.นครนายก
แปลง เป็นตน้ โครงการพฒั นาลุ่มน้าํ ปากพนัง จงั หวัดนครศรธี รรมราช ณ ศาลา
1.4.1 การสรา้ งอาสาสมัครในพน้ื ที่ อาสาสมคั รมกั เป็น
ผู้ที่ชาวบา้ นมีความเชือ่ ถอื มีความเขา้ ใจในหลกั การท่ี ดุสติ ดาลยั สวนจิตรลดา วนั ที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๓๖
เกย่ี วกับการพัฒนาชุมชนตามแนวพระราชดำริ และ
เขา้ ใจวถิ ชี ีวติ ของชมุ ชนไดเ้ ป็นอย่างดี สามารถ “...ภาระในการบรหิ ารนน้ั จะประสบผลดว้ ยดีย่อมต้องอาศยั
ประสานงานและบรู ณาการการบรหิ ารจดั การนำ้ เพอ่ื ความรกั ชาติ ความซื่อสัตยส์ จุ รติ ความสมคั รสมานกลมเกลยี ว
ความยั่งยืนของชมุ ชนและระบบนิเวศในพ้นื ทไี่ ด้ กัน ประกอบกบั การรว่ มมือของประชาชนพลเมืองทั่วไป ข้าพเจ้า
จึงหวังวา่ ทา่ นทัง้ หลายคงจะพยายามปฏบิ ตั ิกรณยี กจิ ในส่วนของ
แต่ละท่านด้วยใจบริสุทธ์ิ โดยคำนึงถึงประโยชน์สว่ นรวม ท้ังนี้
เพอ่ื ได้มาซ่งึ ความร่มเยน็ เปน็ สุขของประชาชนท่วั ไปอนั เป็นยอด
ปรารถนาดว้ ยกันท้งั สิ้น...”

โครงการพัฒนาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพฒั นาพน้ื ทตี่ ามแนวทางความค้มุ ค่าของการจัดการงบประมาณ 151
มูลนธิ ิปิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

กิจกรรมของปิดทอง จุดเดน่ ของปิดทอง พระราชดำรสั

1.4.2 การจดั การแหลง่ นำ้ โดยชุมชนมสี ว่ นร่วม โดยมี พระราชดำรสั ในอากาสวันข้ึนปีใหม่ ๓๑ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๐๑
วธิ ีการบรหิ ารจดั การในแต่ละขน้ั ตอนรว่ มกัน เชน่ การ กบั ประชาชนชาวไทยทั้งหลาย
วางแผน การตงั้ ระเบียบ กฎเกณฑ์ และขอ้ ตกลงรว่ มกนั
อาจดำเนนิ การในรูปแบบกลุ่ม กองทนุ หรอื
คณะกรรมการ เพือ่ ให้มีการจัดการโดยชมุ ชนอยา่ งมี
ระบบและทวั่ ถงึ เพ่ือให้สามารถใชน้ ้ำไดห้ ลายดา้ น ทง้ั ใน
การเกษตร อปุ โภค และบริโภค

2. ปรบั ปรงุ คณุ ภาพดนิ

กจิ กรรมของปดิ ทอง จุดเดน่ ของปิดทอง พระราชดำรัส

2.1 การอนรุ ักษ์ดนิ 2.1.1 การรกั ษาดิน ดว้ ยการรักษาหนา้ ดิน ..ควรพจิ ารณาสรา้ งฝายเกบ็ กกั น้ำตามลำน้ำสาขาของห้วยฮอ่ งไคร้ โดย
สรา้ งเป็นฝายแบบง่ายๆ เชน่ ฝายหินทงิ้ คลุมด้วยตาข่าย และฝายแบบ
หรอื การกักเก็บตะกอนเอาไว้ไม่ให้ไปทับถม ชาวบา้ น โดยดำเนินการก่อสร้างเปน็ ชว่ งๆ ท้งั ในเขตพน้ื ทพ่ี ฒั นาป่าไม้
ด้วยนำ้ ชลประทาน และพื้นทพ่ี ัฒนาป่าไม้ดว้ ยน้ำฝน เพือ่ สนบั สนุนการ
ลำนำ้ ตอนล่าง และเพอื่ ลดการสญู เสยี ดนิ พัฒนาปา่ ไม้ใหไ้ ดผ้ ลอยา่ งสมบูรณต์ อ่ ไป ควรเร่งการดำเนินงาน ปี พ.ศ.
2527 บางสว่ น และภายในปีต่อๆ ไปตามความเหมาะสม...
ไมใ่ ห้ไหลไปทบั ถมแหล่งนำ้ ให้ตน้ื เขิน หรือ พระราชดำรัส เมือ่ วนั ที่ ๓ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๒๗ ณ โครงการศนู ยศ์ กึ ษาการ
พัฒนาหว้ ยฮอ่ งไคร้อันเนอ่ื งมาจากพระราชดำริ อำเภอดอยสะเกด็
ตะกอนหินดนิ ลงไปทบั ถมพ้นื ท่เี กษตรกรรม จังหวดั เชยี งใหม่
"...การอนุรักษ์ดินต้องดำเนินควบคไู่ ปกับการอนรุ กั ษฟ์ น้ื ฟูป่าไม้ การ
เช่น การสรา้ งฝายชะลอนำ้ หรือฝายต้นนำ้ อนุรักษด์ นิ ดว้ ยหญ้าแฝกตอ้ งทำให้กวา้ งขวางเพอ่ื ป้องกันและรกั ษาหน้า
ดนิ ไมใ่ ห้สูญหาย ขอใหก้ ระทรวงเกษตรและสหกรณ์พิจารณาดำเนินการ
หรอื ฝายอนรุ กั ษ์ (Check dam) ในบรเิ วณทจี่ ะฟื้นฟู และอนรุ ักษด์ นิ และน้ำในพ้ืนทเ่ี สอ่ื มโทรมต่างๆ...
“พระราชดำริ เมื่อวนั ท่ี ๙ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๔๐
2.1.2 การปลูกพืชเพ่ืออนุรกั ษด์ นิ เป็นการ “... "หญา้ แฝก" ซงึ่ เปน็ ประโยชน์อยา่ งยิ่งแก่การอนรุ ักษด์ นิ และนำ้
เพราะมีรากท่หี ยงั่ ลงงลกึ แผก่ ระจายลงไปตรงๆ ทำให้อุม้ นำ้ และยดึ
อนรุ กั ษด์ นิ ด้วยการปลกู พชื ตวั อย่างเชน่ การ เหนยี่ วดนิ ได้มั่นคงและมีลำต้นชดิ ตดิ กันแน่นหนา ทำใหด้ กั ตะกอนดิน
และรักษาหน้าดนิ ไดด้ ี...”
ปลูกหญา้ แฝก เพื่อปอ้ งกนั การชะลา้ ง พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั รชั กาลท่ี ๙ วนั ที่ ๔

พงั ทลายของดิน ลดการสูญเสียหนา้ ดนิ ท่ี กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๔๐
"….การจัดเตรยี มดินสำหรับเพาะปลูกตามพื้นทลี่ าดชัน จะตอ้ งเก็บรกั ษา
อุดมสมบูรณ์ ช่วยกักเก็บตะกอนดนิ ลดการ ผวิ ดินเดิมซ่งึ มคี วามอุดมสมบูรณ์สูงไว้ และตอ้ งปลกู หญ้าหรอื พชื อน่ื ยดึ
ผิวดนิ ไว้ไม่ใหถ้ กู ฝนหรือกระแสน้ำชะลา้ งได้ เพราะหากผวิ ดินถกู ชะล้าง
สญู เสยี ธาตุอาหารของพืช ตูดซบั สารเคมี ทำลายเสียแลว้ ก็จะทำการเพาะปลกู ไม่ไดผ้ ล เน่ืองจากดนิ จะจดื และ
เส่ือมคณุ ภาพ…."
ตา่ งๆ และสารพษิ ตา่ งๆ ไวใ้ นราก และลำตน้ พระราชดำรสั ทบ่ี ้านผาปูจ่ อม ตำบลกดิ้ ช้าง อำเภอแมแ่ ตง เมอื่ วันที่ ๓
กมุ ภาพันธ์ ๒๕๒๐
ไดน้ าน จนสารเคมนี น้ั สลายตวั และไม่เปน็
"……ราษฎรน่าจะหมนุ เวยี นการปลูกพชื ประเภทถ่วั สลบั กับการปลูกข้าว
อันตรายต่อตนั ขา้ งลา่ ง ตน้ แฝกก็จะสลายตวั เพอ่ื การบำรงุ ดินและการใช้ทด่ี นิ สำหรบั การนำมาหาเลี้ยงชพี ให้เป็น
ประโยชนต์ ลอดปี…..."
เป็นปุย๋ สำหรบั พืชต่อไป

2.2 การปรบั ปรุงและ 2.2.1 การวเิ คราะห์คุณสมบตั แิ ละคณุ ภาพ
บำรงุ คณุ ภาพดิน ดินในพื้นท่ี เพอ่ื ทราบคุณสมบัติและคณุ ภาพ

ดนิ เพอื่ ให้สามารถปรบั ปรงุ และบำรงุ

คุณภาพดนิ ใหด้ ขี นึ้ อย่างถาวร/ตอ่ เน่ือง ดว้ ย
ป๋ยุ พชื สด หรอื ปุ๋ยทม่ี คี ุณภาพและเหมาะสม

2.2.2 การสง่ เสรมิ การปลกู พืชหมนุ เวยี น
เพ่อื บำรงุ ดนิ เปน็ การปลูกพชื เพือ่ ปรับปรุง

ดิน รวมถึงการปรบั เปล่ยี นการทำเกษตร
เชงิ เดย่ี ว ไปเป็นการปลกู พชื หมนุ เวียน หรอื

เกษตรแบบผสมผสาน เชน่ การปลูกข้าว
ข้าวโพด ถว่ั ปอเทอื ง หมุนเวียนสลบั กนั ใน

พ้ืนท่ี หรือการปลกู ปอเทอื ง ปลกู ถ่ัวเขียว

152 โครงการพฒั นาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพืน้ ท่ีตามแนวทางความคมุ้ คา่ ของการจดั การงบประมาณ
มลู นิธิปิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

กจิ กรรมของปดิ ทอง จุดเดน่ ของปิดทอง พระราชดำรสั

เพอ่ื ใช้เปน็ ปุย๋ หมักหรือปุ๋ยพืชสดในการ พระราชดำรัสเมือ่ วันท่ี ๒๖ พฤศจกิ ายน ๒๕๒๑ ณ ตำบลนาใน อำเภอ
ปรบั ปรงุ ดิน (ปลกู ปอเทืองปรบั ปรุงดิน ตาม พรรณานคิ ม จังหวัดสกลนคร
แนวพระราชดำริ)
2.2.3 การใสป่ ุ๋ยเพอ่ื บำรุงดิน เป็นการ
ปรับปรงุ หรอื บำรุงดินดว้ ยปุ๋ยอินทรยี ์ หรอื
ปยุ๋ ชวี ภาพ ได้แก่ ป๋ยุ หมกั ป๋ยุ คอก และปุ๋ย
พชื สด เป็นตน้ เพ่อื ใหด้ ินมแี ร่ธาตอุ าหารท่ี
จำเป็นสำหรบั การเจรญิ เตบิ โตของพืช หรอื มี
ความเหมาะสมตอ่ การเจริญเตบิ โตของพชื

3. จัดการทดี่ นิ แปลงเลก็ เพ่อื ประโยชนส์ งู สดุ

กิจกรรมของปดิ ทอง จดุ เดน่ ของปิดทอง พระราชดำรัส

3.1 การใช้ประโยชนท์ ่ีดนิ 3.1.1 การจดั สรรการใชท้ ด่ี ินขนาด “....วิธีการแก้ไขก็คอื ต้องเก็บนำ้ ฝนท่ีตกลงมา กเ็ กิดความคิดว่าอยาก
ทดลองดูสัก 10 ไร่ ในทีอ่ ยา่ งนนั้ 3 ไร่ จะเปน็ บ่อนำ้ คือ เกบ็ น้ำฝนแล้ว
เลก็ อยา่ งเหมาะสม เป็นการจดั การ ถา้ จะต้องบดุ ้วยพลาสติก กบ็ ุดว้ ยพลาสตกิ ทดลองดแู ลว้ อีก 6 ไร่ ทำ
เป็นท่นี า ส่วนไร่ทเ่ี หลือกเ็ ปน็ บริการ หมายถึง ทางเดิน หรอื กระต๊อบ
การใช้ทด่ี ินที่มีขนาดเล็ก หรอื ขนาด หรืออะไรกแ็ ล้วแต่ หมายความว่า นำ้ 30% ทท่ี ำนา 60% กเ็ ชื่อว่าถา้
ไม่มาก เพื่อให้เกษตรกรที่มที ด่ี ินไม่ เกบ็ นำ้ ไวไ้ ด้จากเดิมทีเ่ ก็บเกย่ี วข้าวไดไ้ รล่ ะประมาณ 1-2 ถัง ถ้ามนี ำ้
เล็กนอ้ ยอย่างนั้น กค็ วรจะเกบ็ เก่ยี วขา้ วไดไ้ ร่ละประมาณ 10-20 ถงั
มาก สามารถใชป้ ระโยชนท์ ด่ี นิ อย่าง หรือมากกว่า....”
“....นอกจากมสี ระน้ำในไร่นาของตวั เองแล้ว จะต้องมอี ่างเก็บน้ำทใ่ี หญ่
เต็มประสิทธิภาพ หรอื ตามความ กว่าอีกแห่ง เพ่ือเสริมสระนำ้ ในการนไี้ ดร้ ับความรว่ มมอื จาก
ตอ้ งการ บรษิ ทั เอกชน ซ้ือท่ีด้วยราคาที่เป็นธรรมไมใ่ ชไ่ ปเวนคืนและสรา้ งอ่าง
เกบ็ นำ้ ฉะนนั้ ในบรเิ วณน้ันจะเกดิ เป็นบรเิ วณท่ีพฒั นาแบบใหม่ ถงึ
3.1.2 การจดั สรร และแบง่ สัดสว่ น เรยี กว่า ทฤษฎีใหม่....”
ท่ดี ินเพอื่ การใชป้ ระโยชนส์ งู สดุ เป็น พระราชดำรสั ถงึ วิธกี ารแก้ไขเพือ่ ชว่ ยเหลือเกษตรกรบา้ นกุดตอแกน่

การจดั การการใช้ทดี่ ิน ตามแนวทาง ในวโรกาสเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสดิ าลัย สวนจติ รดา
เกษตรทฤษฎใี หม่ (สัดสว่ น พระราชวังดสุ ติ วันท่ี ๔ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๓๕

30:30:30:10) สำหรบั ปลูกขา้ ว สวน

ไมผ้ ล ขดุ สระ และท่อี ยู่อาศยั

4. คัดเลอื กพชื /สัตว์เศรษฐกิจที่ดีเหมาะสมกับพืน้ ที่ ขายงา่ ย และราคาสงู

กิจกรรมของปดิ ทอง จุดเด่นของปิดทอง พระราชดำรัส

4.1 การคัดเลอื กพืช/สัตว์ 4.1.1 คัดเลอื กพชื เศรษฐกจิ เป็น "….ข้าพเจา้ มีโอกาสไดศ้ กึ ษาการทดลองและทำนามาบ้าง และทราบดีว่า

ข้ันตอนการคัดเลอื กพชื เศรษฐกจิ ท่ี การทำนานั้นมี ความยากลำบากอยู่ มใิ ช่นอ้ ย จำเป็นจะตอ้ งอาศยั พันธุ์
ให้ผลผลติ ดี มีคณุ คา่ สงู หรือเป็นพืช ขา้ วทด่ี ี และต้องใชว้ ิชาการต่าง ๆ ดว้ ยจงึ จะได้ผลเป็นล่ำเป็นสัน อกี

ปลอดภยั ท่ี เหมาะสมกบั พนื้ ท่ี ประการหน่ึงทน่ี าน้นั เมอื่ ส้นิ ฤดูทำนาแลว้ ควรปลกู พชื อืน่ ๆ บา้ งเพราะ

ผลผลติ ทไ่ี ดส้ ามารถขายไดง้ า่ ย และมี จะเพ่ิมรายได้ใหอ้ ีกไม่ใชน่ อ้ ย ท้ังจะชว่ ยใหด้ นิ รว่ น ชว่ ยเพิ่มปุย๋ กากพชื
ราคาสูง เชน่ การคดั เลอื กพนั ธุข์ า้ ว ทำใหล้ กั ษณะเนอื้ ดินดีข้ึน เหมาะสำหรับจะทำนาในฤดตู ่อไป…."

กล่ำลมื ผัว ซ่งึ เป็นขา้ วทตี่ ลาดมคี วาม พระราชดำรัส พระราชทานแกผ่ ูน้ ำกลมุ่ ชาวนา เมื่อ ๑๙ มีนาคม ๒๕๐๘

ตอ้ งการ และมรี าคาดี "...การเล้ยี งไก่บนบ่อปลา การปลูกพชื ผสมผสานระหว่าง พืชสวน พชื ไร่
4.1.2 คัดเลอื กสัตว์เศรษฐกจิ เป็น ซึ่งมไี มผ้ ลเป็นหลัก การเพาะเหด็ การเลยี้ งผึ้ง การปลูกพืชสมนุ ไพร การ

ขั้นตอนการคดั เลือกสตั ว์ทีเ่ ปน็ สัตว์ ปลกู ไมต้ ดั ดอก บ่อแก๊สชวี ภาพ การทําสวนเกษตรนัน้ ดีแลว้ นับวา่

พันธ์ดุ ี มีความเหมาะสมกบั พืน้ ที่ ถูกตอ้ งกับวัตถปุ ระสงคท์ ี่วางไว้ โดยเฉพาะการใชเ้ ทคโนโลยที ี่เหมาะสม

โครงการพฒั นาระบบการตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพ้นื ทตี่ ามแนวทางความคุ้มค่าของการจัดการงบประมาณ 153
มลู นิธปิ ดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

กิจกรรมของปดิ ทอง จดุ เดน่ ของปิดทอง พระราชดำรัส

4.2 วางแผนปลูกพืช/ ผลผลิตสามารถขายงา่ ย และมีราคา กับพนื้ ที่ จะให้นักวิชาการและประชาชนเขา้ มาศึกษาดูงาน และขยายผล
เลยี้ งสตั ว์ สงู เชน่ การเลี้ยงจง้ิ หรีด ซึ่งเปน็ สัตว์ ตอ่ ไป...”
เศรษฐกจิ ที่ตลาดมคี วามตอ้ งการ พระราชดำรสั ในการเสดจ็ ฯ เปดิ งานวันเกษตรแห่งชาติ เมอื่ วนั ท่ี ๒๘
กำลงั เปน็ ที่นิยมอย่างกว้างขวาง เลยี้ ง
งา่ ย และมรี าคาดี มกราคม พ.ศ. ๒๕๓๘

4.2.1 วางแผนปลกู พชื เศรษฐกิจ "... โดยที่สภาพของภมู ปิ ระเทศ และโครงสรา้ งของความเป็นอยู่ท่มี อี ยู่
เปน็ ขั้นตอนการวางแผนปลูกพืชหรือ ตามประเพณแี ตล่ ะแหง่ อาจจะแตกต่างกนั บ้างความสำคัญกม็ ที ี่ต้องนํา
พชื เศรษฐกิจทีเ่ หมาะสมกับพ้นื ที่ ความรวู้ ชิ าการตา่ งๆ นน้ั มาดดั แปลงใหเ้ หมาะสมกบั สถานที่ทอ่ี ยู่ แต่ละ
ผลผลิตมีราคาดี ขายคล่อง สามารถ คนไดอ้ ย่ใู นทีข่ องตนมาแต่ ปยู่ า่ ตายาย กร็ ู้จักทขี องตัวดี เมอื่ ประชุมกัน
ขายได้ตลอดปี จากทตี่ า่ งๆ ก็ สามารถท่จี ะมาเปรยี บเทยี บแลกเปลีย่ นความคดิ และเลา่
4.2.2 วางแผนเล้ยี งสัตว์เศรษฐกจิ ใหฟ้ ัง วา่ ที่ของตัวมอี ยา่ ง นัน้ ๆ และแก้ปญั หามาแตโ่ บราณอย่างไร ก็
เป็นขน้ั ตอนการวางแผนเล้ียงสัตว์ ท่ี อาจจะเกิดความรู้ หรอื ความคดิ พเิ ศษขึน้ มาใหม่ เพ่อื ท่จี ะ ดดั แปลง
เป็นสัตวเ์ ศรษฐกิจพันธ์ุดี เปน็ พันธทุ์ ี่ ความรทู้ ไ่ี ดม้ าตามประเพณี เพ่อื ใหม้ ีความสามารถ มปี ระสิทธิภาพสูงข้นึ
เหมาะสมกบั พ้ืนท่ี ผลผลิตราคาดแี ละ อนั นถี้ งึ มีประโยชน์ แตต่ ้องไมล่ มื วา่ ทุกสิง่ ทกุ อยา่ งจะตอ้ งปฏบิ ัติให้
ขายคลอ่ ง เหมาะสมกับสภาพในทอ้ งที่...”
ระราชดํารสั พระราชทานแก่สมาชกิ สหกรณ์ เมอื่ วันท่ี 7 พฤษภาคม พ.ศ.
๒๕๒๒
"...ในดา้ นอาชพี ของเกษตรกรต้องมีการเพาะปลูกในขอ้ ที่ ๒ นี้ การ
เพาะปลกู หรือการทํามาหากนิ น้ีก็ต้องอาศัยหลกั วิชา หลักวิชาตงั้ แต่พชื
พันธใุ์ ดทสี่ มควร วิธกี ารใชป้ ุ๋ยใช้เครื่องทนุ่ แรง คือ วิชาการนน่ั เอง กเ็ ปน็
อีกสว่ นหน่งึ ของชีวิต สว่ นอกี อันหนึ่งกค็ ือ เม่ือทาํ ผลติ ผลแลว้ ต้อง
สามารถท่ีจะใหผ้ ลติ ผลน้นั เปน็ ประโยชนท์ ้ังในดา้ นบริโภคของตนเอง
และท้งั ในดา้ นการได้เงิน คา้ ขาย เพ่อื ท่จี ะได้เงนิ มาบำรงุ ชวี ติ ของคน ทงั้
สามส่วนน้จี งึ สัมพนั ธ์กนั สําหรบั ทุกคน...”

พระบรมราโชวาททพี่ ระราชทานแกค่ ณะกรรมการผแู้ ทนสถาบัน
เกษตรกร ระดับชาติ เม่ือวันท่ี ๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๑๗

5. จดั หาวัตถดุ ิบใหเ้ ป็นไปตามมาตรฐานของตลาดเปา้ หมาย

กิจกรรมของปิดทอง จุดเดน่ ของปิดทอง พระราชดำรัส

5.1 จัดหาวัตถดุ บิ 5.1.1 จัดหาวตั ถดุ ิบเปน็ ไปตาม "...บริเวณนี้กาแฟน่าจะปลูกไดเ้ หมาะ ขอใหช้ ่วยกนั แนะนําชาวเขา ให้มกี ารปลูกกาแฟ
มาตรฐานของตลาด เปน็ การ ท่ีถกู ตอ้ งและมกี ารจัดการทดี่ ี เพราะรู้สึกว่าชาวเขาจะปลกู อยู่ไมเ่ ป็นระเบยี บ และพันธุ์

จัดหาวตั ถดุ ิบให้เป็นไปตาม กาแฟทจี่ ะส่งเสรมิ ให้ชาวเขาปลูก ควรจะเปน็ พันธ์ุกาแฟทแ่ี ตกตา่ งจากภาคใต้...“

มาตรฐานของตลาดเป้าหมาย พระราชดำรัส เสด็จพระราชดาํ เนนิ ตรวจเย่ยี มราษฎรทีห่ มู่บา้ นมเู ซอสม้ ป่อย อําเภอแม่

เพ่อื สนบั สนนุ ปัจจยั การผลิตท่ีมี สอด จงั หวดั ตาก เมื่อวันที่ ๒๖ มกราคม พ.ศ. ๒๕๑๗

คุณภาพ ชว่ ยในการควบคมุ "...ในด้านอาชพี ของเกษตรกรต้องมีการเพาะปลูกในขอ้ ที่ ๒ น้ี การเพาะปลูกหรือการ

ต้นทุน เช่น เมล็ดพันธุ์ ปยุ๋ วัสดุ ทาํ มาหากนิ นก้ี ็ตอ้ งอาศยั หลกั วชิ า หลักวชิ าตงั้ แต่พืชพันธ์ุใดที่สมควร วธิ กี ารใช้ปยุ๋ ใช้

เพาะ วัสดุในการผลิต เปน็ ตน้ เครอ่ื งทุ่นแรง คือ วชิ าการนั่นเอง กเ็ ปน็ อกี สว่ นหน่ึงของชวี ติ สว่ นอีกอนั หนึ่งก็คอื เม่ือ

ซงึ่ บางครัง้ อาจเปน็ ในรูปการ ทําผลิตผลแลว้ ต้องสามารถทีจ่ ะใหผ้ ลิตผลน้ัน เปน็ ประโยชนท์ ้ังในดา้ นบรโิ ภคของ

ใหย้ มื และคนื เพ่อื ลดการก้ยู ืมไป ตนเองและท้งั ในดา้ นการได้เงนิ คา้ ขาย เพอื่ ท่ีจะไดเ้ งินมาบำรุงชวี ิตของคน ท้ังสามส่วน

ซอื้ ปจั จยั การผลติ ภายนอก ช่วย นจ้ี ึง สัมพนั ธก์ นั สําหรบั ทุกคน...“

ใหล้ ดต้นทนุ การผลติ ได้ พระบรมราโชวาทท่พี ระราชทานแกค่ ณะกรรมการผู้แทนสถาบนั เกษตรกร ระดบั ชาติ

เม่อื วนั ท่ี ๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๑๗

154 โครงการพัฒนาระบบการตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผลการพัฒนาพ้ืนที่ตามแนวทางความคมุ้ ค่าของการจดั การงบประมาณ
มลู นิธปิ ดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

6. เพาะปลูก/เลี้ยงสตั ว์ ใหไ้ ดต้ ามมาตรฐาน (ปรมิ าณ/คณุ ภาพ)

กิจกรรมของปิดทอง จุดเด่นของปิดทอง พระราชดำรสั

6.1 การส่งเสริมการ 6.1.1 การเพาะปลกู และดูแลพชื เปน็ "…ความสะดวกจะสามารถสรา้ งอะไรไดม้ าก น่ีคอื เศรษฐกจิ พอเพียง สำคญั วา่ ต้อง
ผลิต (พชื /สัตว)์
การเพาะปลกู และดแู ลพขื ในแต่ละ รูจ้ กั ขั้นตอน ถา้ นึกจะทำอะไรให้เร็วเกินไป ไม่พอเพียง ถ้าไมเ่ ร็ว ชา้ ไป กไ็ ม่
ขนั้ ตอนอย่างเป็นระบบตามหลักวิชาการ พอเพยี ง ตอ้ งใหร้ จู้ กั กา้ วหนา้ โดยไม่ทำใหค้ นเดือดรอ้ น อันนี้เศรษฐกจิ พอเพียงคง

หรือตามมาตรฐานของตลาดเป้าหมาย ไดศ้ ึกษามานานแลว้ เราพูดมาแลว้ 10 ปตี ้องปฏบิ ัติด้วย…”

เช่น การเพาะปลูกข้าว ให้เปน็ ไปตาม พระราชดำรสั พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธเิ บศร มหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราช

มาตรฐานการปฏบิ ตั ทิ างการเกษตรทดี่ ี บรมนาถบพิตร เนอ่ื งในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา วนั ท่ี ๔ ธนั วาคม ๒๕๔๖

(GAP) ซึ่งช่วยป้องกันและลดความเสย่ี ง “...การพัฒนาประเทศเพ่ือให้เกิดความเจรญิ ความมนั่ คงแก่คนสว่ นรวมทงั้ ชาตไิ ด้

ของอันตรายทีเ่ กดิ ข้นึ ระหว่างการปลกู แท้จรงิ นั้น จะตอ้ งอาศยั หลักวชิ าอันถูกต้อง และตอ้ งกระทำพรอ้ มกนั ไปทุกๆ

การเกบ็ เก่ียวผลผลติ และการจดั การ ด้านด้วย เพราะความเป็นไปทกุ อย่างในบ้านเมอื งมีความสมั พนั ธเ์ ก่ียวโยงถงึ กัน

หลงั เก็บเก่ียว เพ่ือใหไ้ ด้ผลผลิตท่มี ี หมด เพยี งแตจ่ ะทำงานดา้ นการเกษตร ซงึ่ โดยหลักใหญ่ ได้แก่ การกสกิ รรมและ

คุณภาพความปลอดภยั และเหมาะสม สัตว์บาล อยา่ งนอ้ ยทีส่ ดุ ก็ยังตอ้ งอาศยั วิชาการด้านวทิ ยาศาสตร์

ต่อการบรโิ ภค วศิ วกรรมศาสตร์ และเศรษฐศาสตร์สหกรณ์เขา้ ช่วยดว้ ย ทุกคนซ่ึงเปน็ ผู้ทจ่ี ะใช้

6.1.2 การเลีย้ งสัตว์ เน้นการเลย้ี งสัตว์ วิชาการ ในการพฒั นาบ้านเมอื งตอ่ ไป ควรทราบใหถ้ ่องแท้ว่าในการน้ันจำเปน็

และดแู ลสัตวใ์ นแตล่ ะข้นั ตอนอยา่ งเปน็ ที่สุดทจี่ ะตอ้ งใชว้ ิชาการทำงานรว่ มมือกันให้ประสานสอดคลอ้ งทุกฝา่ ย...”

ระบบตามหลกั วิชาการ หรอื ตาม พระบรมราโชวาทพระราชทานแก่บัณฑิตของมหาวทิ ยาลยั เกษตร ศาสตร์ เมอื่

มาตรฐานของตลาดเป้าหมาย อยา่ งเป็น วนั ท่ี ๒๐ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๑๕

ระบบตามหลกั วิชา หรอื ตามมาตรฐาน "...ศนู ย์ศกึ ษาการพัฒนานั้น แมจ้ ะมีการปลูกขา้ วก็อาจจะมกี ารปลูกขา้ วในลกั ษณะ

ของตลาดเปา้ หมาย เช่น การเลี้ยงโคขุน ตา่ งกัน หรือดูว่าในภูมปิ ระเทศอยา่ งน้ี เราจะปลูกอย่างไร อาจจะไมถ่ กู หลักวชิ าก็

ให้ได้ตามมาตรฐาน ตามความต้องการ ได้ แต่วา่ ชาวบ้านเขาทําอยา่ งนนั้ เราก็ทดลองบา้ ง หรอื ว่าถ้าปลกู ขา้ วไม่เกิด

ของตลาด ประโยชน์กล็ องแก้ไขโดยใช้วธิ ีอืน่ ดา้ นชลประทานกไ็ ด้ หรือด้านพัฒนาทดี่ ิน หรือ

ด้านวชิ าการเกษตรนํามาประยกุ ต์เพ่อื ทีจ่ ะให้ได้ผลมากขน้ึ รวมท้ังตอนปลกู ขา้ ว

แล้วทาํ อย่างไร เกบ็ รกั ษาอย่างไร สอี ยา่ งไร หรอื ขายอยา่ งไร ก็หมายความวา่ ให้

สามารถท่จี ะแกป้ ัญหาท้ังทางต้นและทางปลาย แต่การแก้ ปญั หานั้น อาจจะมีคน

วา่ ไม่ถกู หลักวิชากไ็ ดไ้ มเ่ ป็นไร โดยมากเราพยายามท่จี ะทาํ อยา่ งไรท่งี ่ายแลว้ ใน

ทส่ี ุดถา้ ทาํ งา่ ย แล้วไดผ้ ลก็จะเปน็ หลักวิชาโดยอัตโนมตั ิ...”

พระราชดํารัสทพ่ี ระราชทานแก่คณะกรรมการ กปร. และเจา้ หนา้ ที่ทเี่ กีย่ วข้อง

เม่ือวันท่ี ๒๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๓๑ ณ พระตําหนกั สวนจติ รลดารโหฐาน

6.2 การให้ความรู้ 6.2.1 การให้ความรู้ทเี่ กีย่ วกับการผลติ “...การพฒั นาประเทศเพอ่ื ใหเ้ กดิ ความเจริญความมั่นคงแกค่ นสว่ นรวมทงั้ ชาติได้
เร่ืองมาตรฐาน
ท่ไี ดม้ าตรฐาน เป็นการให้ความรทู้ ่ี แท้จริงน้นั จะต้องอาศยั หลกั วชิ าอนั ถูกต้อง และต้องกระทำพรอ้ มกนั ไปทกุ ๆ
เกีย่ วกบั การผลิตเพ่อื ให้ได้ผลผลติ ตาม ด้านด้วย เพราะความเปน็ ไปทกุ อยา่ งในบา้ นเมอื งมีความสัมพนั ธเ์ ก่ยี วโยงถึงกนั

มาตรฐาน หรอื ตรงตามหลกั วิชาการ ซึง่ หมด เพยี งแต่จะทำงานดา้ นการเกษตร ซง่ึ โดยหลกั ใหญ่ ไดแ้ ก่ การกสกิ รรมและ

สามารถทำได้หลายรูปแบบ เชน่ การ สตั ว์บาล อยา่ งน้อยท่ีสดุ ก็ยงั ต้องอาศยั วชิ าการด้านวทิ ยาศาสตร์

อบรม สมั มนา ดูงาน ตลอดจนการให้ วิศวกรรมศาสตร์ และเศรษฐศาสตรส์ หกรณ์เข้าช่วยดว้ ย ทกุ คนซงึ่ เปน็ ผทู้ ี่จะใช้

ความรู้ทีเ่ กีย่ วกบั มาตรฐานหรอื หลัก วิชาการ ในการพฒั นาบา้ นเมืองต่อไป ควรทราบให้ถอ่ งแทว้ ่าในการนั้นจำเปน็

วิชาการทเี่ หมาะสม ทส่ี ดุ ท่จี ะตอ้ งใช้วชิ าการทำงานรว่ มมือกันให้ประสานสอดคล้องทุกฝา่ ย...”

6.2.2 การสง่ เสรมิ ใหไ้ ดร้ บั มาตรฐาน พระบรมราโชวาทพระราชทานแกบ่ ัณฑติ ของมหาวทิ ยาลยั เกษตร ศาสตร์ เมอ่ื

เปน็ การส่งเสริมใหผ้ ลผลิตทีเ่ กิดขึ้น มี วันที่ ๒๐ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๑๕

คณุ สมบัติตรงตามมาตรฐาน และได้รับ

การรับรองมาตรฐาน หรือมีการรับรอง

มาตรฐานผลผลิต เชน่ การสง่ เสรมิ ให้

โครงการพัฒนาระบบการตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผลการพฒั นาพนื้ ท่ีตามแนวทางความคุ้มค่าของการจดั การงบประมาณ 155
มูลนิธปิ ดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

กจิ กรรมของปิดทอง จุดเด่นของปิดทอง พระราชดำรัส
6.3 การวางแผนการ
ผลิตตามความ เกษตรกร ไดร้ บั มาตรฐานการผลิต
ต้องการตลาด
6.4 การควบคมุ การ (GAP) เป็นต้น
ผลิต
6.3.1 วางแผนการผลติ ตามความ " ….ไมจ่ ำเปน็ ตอ้ งส่งเสริมผลผลติ ให้ได้ปริมาณสงู สุดแต่เพียงอย่างเดียว เพราะเปน็
6.5 การส่งเสริม
ความรู้เพ่ือการผลิต ต้องการของตลาด เปน็ การวางแผนการ การส้นิ เปลืองคา่ โสหุ้ย และทำลายคุณภาพดนิ แตค่ วรศึกษาสภาวะการตลาด

ผลติ ใหเ้ ปน็ ไปตามความต้องการของ การเกษตร ตลอดจนการควบคมุ ราคาผลติ ผล ไมใ่ ห้ประชาชนได้รับความเดือน

ตลาด รวมถึงการวางแผนการจัดการ ร้อน…."

ปัจจัยการผลติ ต่างๆ เพอื่ ให้สอดคล้อง พระบรมราโชวาท ๔ กรกฎาคม ๒๕๔๕

กบั ปัจจัยการผลิตทม่ี อี ยา่ งเหมาะสม ซึ่ง

ชว่ ยใหไ้ ดผ้ ลผลิตที่มคี ุณภาพ สามารถ

ลดตน้ ทุนการผลติ และชว่ ยใหไ้ ด้ผลผลิต

ที่มีราคาดี ขายคล่อง และขายได้ตลอดปี

6.4.1 การควบคุมการผลิต เปน็ การเฝา้ “...ในเร่ืองวิชาการกเ็ ช่นเดยี วกนั สมยั นเี้ ขาใช้เครือ่ งมือ หุน่ แรง เขาใช้ปุ๋ย เขาใช้

ติดตามผลการผลติ หรือควบคมุ ให้ วิชาการ แต่วา่ วชิ าการเหล่าน้ีมนั ก็ แพง ฉะนัน้ ถา้ พยายามทจี่ ะปฏบิ ตั ิให้อยูใ่ น

เปน็ ไปตามแผนที่วางไว้ ตามตน้ ทุนทม่ี ี ขอบเขตของกําลงั ให้ เสียก่อนแล้วก็ค่อยเสรมิ สรา้ งขึน้ มาใหค้ อ่ ยๆ มีวชิ าการมาก

หรอื ตามเปา้ หมายทวี่ างไว้ ซ่ึงสามารถ ขน้ึ ก็จะมน่ั คง...”

ช่วยลดต้นทุนการผลิต หรือลดเวลาลง พระบรมราโชวาทพระราชทานแก่ คณะกรรมการผแู้ ทนสถาบันเกษตรกร

ได้ ระดับชาติ เมือวันที่ ๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๑๗

6.4.2 ใช้ทรัพยากรท่มี อี ยใู่ หค้ ุ้มคา่ มาก “….ทุกวนั น้ี ประเทศไทยยงั มีทรัพยากรพร้อมมลู ทัง้ ทรัพยากรธรรมชาติและ

ที่สุด โดยการใชท้ รพั ยากรเทา่ ทม่ี คี วาม ทรพั ยากรบุคคล ซึง่ เราสามารถนำมาใช้เสรมิ สร้างความอดุ มสมบรู ณ์ และ

จำเปน็ ใช้น้อยทสี่ ุด หรอื การบรู ณ เสถียรภาพอนั ถาวรของบ้านเมืองไดเ้ ปน็ อย่างดี ข้อสำคัญ เราตอ้ งรจู้ ักใชท้ รัพยากร

ซอ่ มแซมให้ใชง้ านได้ การใชส้ ิง่ อ่ืน นัน้ อย่างฉลาดคอื ไม่นำมาทุ่มเทใชใ้ ห้เปลอื งไปโดยไรป้ ระโยชน์ หรือได้ประโยชน์

ทดแทน รวมถึงการนำกลบั มาใช้ซำ้ อกี ไม่คุม้ คา่ หากแต่การระมดั ระวงั ใชด้ ้วยความประหยดั รอบคอบ ประกอบด้วย

เป็นตน้ ความคดิ พิจารณาตามหลกั วิชา เหตผุ ล และความถูกตอ้ งเหมาะสม โดยมุ่งถงึ

ประโยชน์แท้จริงที่จะเกดิ แก่ประเทศชาติ ทัง้ ในปจั จบุ ันและอนาคตอันยืนยาว.…”

พระราชดำรสั ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู วั ในการเสด็จออกมหาสมาคมใน

งานพระราชพิธเี ฉลิมพระชนมพรรษา เมือ่ วันท่ี ๕ ธนั วาคม ๒๕๒๙

“...โครงการพัฒนาตา่ งๆ ตั้งขน้ึ เพือ่ ปรบั ปรงุ ดัดแปลงสงิ่ ที่มีอยแู่ ลว้ คอื

ทรพั ยากรธรรมชาติให้เกิดผลเปน็ ประโยชนแ์ กป่ ระเทศและประชาชนสว่ นรวมให้

ไดม้ ากที่สุด ในทางปฏบิ ัติน้นั นอกจากจะได้ผลส่วนใหญ่ หรอื ส่วนรวมตาม

จุดประสงคแ์ ลว้ บางทีก็อาจทำให้มีการเสยี หายในบางสว่ นได้บ้าง เพอื่ จะให้

โครงการมผี ลเตม็ เม็ดเต็มหนว่ ย จำเปน็ ตอ้ งพิจารณาจัดตั้งโดยรอบคอบและ

ละเอยี ดถี่ถ้วน ให้ทราบวา่ ผลที่เกดิ จากโครงการนั้นจะมีขอบเขตต่อเนื่องไปเพียงใด

และมีผลเสยี ประการใดทีจ่ ุดใดบา้ ง จะไดส้ ามารถวางแผนใหส้ อดคลอ้ งตอ้ งกนั ทกุ

สว่ นทุกขน้ั เพ่ือแกไ้ ขในสว่ นทจ่ี ะเสยี หายใหก้ ลบั เป็นดใี ห้โครงการได้ประโยชน์มาก

ที่สดุ ...”

พระราชดำรัสพระราชทานปริญญาบตั รแกผ่ ู้สำเร็จการศึกษา ของ

มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ ณ หอประชมุ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ เม่อื วันที่

๑๕ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๑๙

6.5.1 สง่ เสริมความรูเ้ พ่อื การเพิ่ม “...การทาํ เกษตรกรรมนั้นจะตอ้ งมีวชิ าการ วชิ าการแผนใหม่ สมัยใหม่ท่ีกา้ วหน้า

ผลผลติ เพื่อให้เกษตรกรมีความรู้ ความ เช่น ใช้ปยุ๋ วธิ ใี ช้ปุ๋ยวิธใี ชเ้ คร่ืองกลต่างๆ อันน้ีทุกคนกป็ รารถนาที่จะก้าวหน้าเป็น

เขา้ ใจทถี่ ูกตอ้ ง สามารถนำไปประยกุ ต์ใช้ คนสมัยใหม่ เป็นคน ทใี่ ชว้ ทิ ยาการแผนใหม่ คือ หมายความวา่ อะไร เครอ่ื งจกั ร

ในการเพิ่มผลผลติ ได้ ซง่ึ สมารถทำได้ เครอื งกลทุกสิ่งทกุ อย่างท่ไี ด้คน้ ควา้ มากไ็ ดใ้ ช้ ในข้อนจี ะต้อง คิดดีๆ บางคนมุ่งทจ่ี ะ

156 โครงการพฒั นาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพนื้ ท่ตี ามแนวทางความคมุ้ ค่าของการจัดการงบประมาณ
มูลนธิ ปิ ิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

กิจกรรมของปดิ ทอง จดุ เด่นของปิดทอง พระราชดำรัส

โดยการอบรม สัมมนา ปฏบิ ัติการ หรอื สมยั ใหม่ มุ่งจะเป็นคนกา้ วหน้า ใช้วิชาการ ใชว้ ิทยาการใชท้ ่ีเรยี กว่าเทคโนโลยคี าํ นี้
ดูงาน ตลอดจนการจดั ตั้งศนู ย์ศกึ ษา กค็ งจะเขา้ ใจเทคโนโลยี ก็หมายถึงเครืองกลตา่ งๆ ทเี่ ขาคน้ ควา้ มา เขาเอามาขาย
เพื่อสง่ เสรมิ การเผยแพรค่ วามรเู้ พอ่ื การ เราในราคาแพง แลว้ กเ็ วลาปฏิบตั ิตอ้ งมคี วามร้ชู า่ งกลมีความร้ใู น ทางวิชาการมาก
เพม่ิ ผลผลติ เช่น การใหค้ วามรใู้ นการใช้ ขนึ้ ขอ้ นเี ปน็ ขอ้ ดีเหมือนกนั ทจี่ ะก้าวหนา้ แต่ หมายความวา่ ทุกคน สมาชกิ ทุกคน
สารชวี ภณั ฑ์ การให้ความรใู้ นการผลิต จะตอ้ งเรียนร้วู ชิ าการใหใ้ ช้ วทิ ยาการตา่ งๆ เหลา่ น้ใี หถ้ กู ตอ้ ง ถา้ ใชไ้ ม่ถกู ตอ้ งก็จะ
ข้าวอยา่ งเหมาะสม เป็นตน้ เกดิ ผล เสยี หายได้...”
พระบรมราโชวาทพระราชทานแก่ คณะกรรมการผู้แทนสถาบันเกษตรกร
ระดับชาติ เมือวนั ที่ ๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๑๗
“...มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พื่อใหเ้ ปน็ ศนู ยศ์ ึกษา และทดลองงานพฒั นา การเกษตรตา่ ง ๆ
ตามความเหมาะสม สาํ หรบั เป็นตัวอย่างแก่ เกษตรกรในการนำไปปฏิบัตใิ นพนื้ ที่
ของตน ตลอดจนเพอื่ ดำเนนิ กจิ การด้านเกษตรอุตสาหกรรม โดยเฉพาะส่งเสริม
การปลูกพืชตระกลู ถ่ัว สาํ หรับแปรรปู เป็นสนิ คา้ อตุ สาหกรรม..."

พระราชดำรัสไว้ เมอ่ื วันท่ี ๒๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๓๑

7. ปรับปรุงการผลติ เพอื่ สร้างมลู คา่ เพ่ิม (เกษตรประณีต/เกษตรอนิ ทรีย)์

กิจกรรมของปดิ ทอง จดุ เดน่ ของปิดทอง พระราชดำรัส

7.1 ส่งเสริมความรูเ้ พ่อื 7.1.1 ใหค้ วามรู้ในการทำเกษตรอนิ ทรยี ์ เป็นใหค้ วามรู้ใน "...ฉะนน้ั การที่จะใช้ของสมัยใหมน่ ี้กม็ ีอันตรายเหมอื นกัน
การผลิตเกษตรอนิ ทรีย์ การทำเกษตรอนิ ทรยี ท์ ี่ถูกต้องในทกุ ขัน้ ตอน (ปลูกอะไร/ท่ี
ถ้าไมค่ รบถว้ นใช้ปุ๋ยเคมดี นิ กแ็ ขง็ กระด้างไปหมด ถ้าใช้ปุ๋ย
ไหน/อย่างไร/ราคาดี) รวมถงึ การใหค้ วามรู้ในการใช้สารชีว ธรรมชาติ เชน่ ปยุ๋ คอก ปยุ๋ หมกั ปยุ๋ อินทรีย์ ป๋ยุ จากฟาง

ภัณฑ์ เพอื่ สนับสนุนการทำเกษตรอนิ ทรีย์ ขา้ วจากใบไม้ ดนิ ไม่แข็ง ดนิ จะซยุ ทงั้ หมดนี้เป็นข้อคดิ ...”

7.2.2 การปรบั เปลย่ี นการผลติ สูเ่ กษตรอนิ ทรีย์ เปน็ การ พระบรมราโชวาทพระราชทานแก่ คณะกรรมการผู้แทน

ปรบั เปลย่ี นการผลิตใหเ้ ปน็ การผลติ แบบเกษตรอินทรยี ์ เพือ่ สถาบนั เกษตรกรระดับชาติ เมอื วันที่ ๘ พฤษภาคม พ.ศ.

ลดการใช้สารเคมี หันมาใช้สารชีวภัณฑ์ เพอื่ ทำใหไ้ ด้ผลผลิตท่ี ๒๕๑๗

ได้ตามมาตรฐาน ตรงกบั ความต้องการของตลาด

8. ผลผลติ พอกนิ ตลอดปี

กิจกรรมของปดิ ทอง จุดเดน่ ของปิดทอง พระราชดำรัส

8.1. มีปจั จยั การผลติ 8.1.1 ความเพยี งพอของปจั จัยในการ “...ในการปฏบิ ัตงิ านเกษตรนัน้ นักวชิ าการเกษตรควรจะศกึ ษา สังเกตให้

ดำรงชีวิต หมายถงึ มีปจั จัยในการ ทราบชัดว่าเกษตรกรรมย่อมเปน็ ไป หรอื ดำเนนิ ไปอย่างต่อเน่ืองเปน็ วงจร
และเปน็ ส่วนหนึง่ ของวงจรธรรมชาติ ซ่งึ มกี ารเกดิ สืบเน่ืองทดแทนกันอย่าง
ดำรงชวี ติ อยา่ งพอเพยี ง หรือเหมาะสมกบั
พสิ ดาร จากปจั จัยหนึง่ เช่น พนั ธุพ์ ชื เมือ่ ได้อาศยั ปจั จยั อื่นๆ มดี ิน นำ้
ฐานะ เช่น ที่อย่อู าศัย อาหาร เครือ่ งนงุ่ หม่ อากาศ เปน็ ตน้ เข้าปรุงแต่งทำให้เกษตรกรได้พืชผลขน้ึ มา พชื ผลทไี่ ด้มาน้ัน เมื่อ

ยารักษาโรค เปน็ ตน้ นำไปบริโภคเปน็ อาหาร ทำให้ไดพ้ ลังงานมาทำงาน เม่อื นำออกจำหนา่ ยก็ทำให้
เกดิ ผลทางเศรษฐกจิ ขนึ้ ทงั้ แก่ผู้ซอ้ื และผู้ผลติ คอื ผู้ซอื้ ย่อมนำไปทำ
8.1.2 ความพอเพยี งของปจั จยั การผลิต
ผลประโยชนใ์ ห้งอกเงยต่อไปได้ ผ้ผู ลติ ก็ได้เงนิ ทองมาจบั จา่ ยใช้สอยยงั ชพี
ทางการเกษตร หมายถึงมปี ัจจัยการผลติ
รวมทง้ั ซื้อหาปัจจัยสำหรับสนับสนนุ การผลติ ของตนให้เกดิ ผลหมุนเวยี นเพ่ิมเตมิ
ทางการเกษตรหรอื ปัจจยั การผลิตอยา่ ง ขน้ึ เหน็ ได้วา่ แมเ้ พยี งงานเกษตรอยา่ งเดยี ว ยังจำเป็นตอ้ งเกย่ี วพนั กบั งาน

พอเพียง หรอื มีความเหมาะสมกบั การผลิต ตา่ งๆ กับเหตปุ จั จยั ต่างๆ มากมายหลายขอบข่าย ทงั้ ตอ้ งเกี่ยวกนั อาศยั กันอยา่ ง
ถูกตอ้ งสมดลุ อีกด้วย...”
เชน่ ทด่ี ิน แหลง่ น้ำ ทรพั ยากรอน่ื ๆ เปน็
พระบรมราโชวาทท่พี ระราชทานแกผ่ สู้ ำเร็จการศกึ ษาจากสถาบนั
ตน้ เทคโนโลยกี ารเกษตรแมโ่ จ้ ณ วันท่ี ๑๙กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๒๕

โครงการพัฒนาระบบการตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผลการพัฒนาพน้ื ทีต่ ามแนวทางความคมุ้ ค่าของการจดั การงบประมาณ 157
มลู นิธิปดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

กิจกรรมของปดิ ทอง จดุ เดน่ ของปิดทอง พระราชดำรสั
8.2 มคี วามรู้
8.3 มผี ลผลิตพอเพียง 8.2.1 ส่งเสริมให้มศี กึ ษาหาความรู้ และ “...การกสกิ รรมและอาชีพในดา้ นเกษตรทุกทุกอยา่ งย่อมต้องอาศัยปจั จยั สำคญั
เพมิ่ พูนประสบการณใ์ หต้ นเอง เป็น หลายดา้ น ดา้ นหนึ่งก็คือหลักวิชาของการเพาะปลกู เปน็ ต้น และอกี ดา้ นหน่งึ ก็
8.4 มีความเป็นอยู่ท่ีดี กิจกรรมทีเ่ กี่ยวขอ้ งเพอ่ื สง่ เสริมให้มี เป็นการชว่ ยให้เพมิ่ หลักวชิ าเหล่าน้นั และเมอื่ ได้ปฏิบัตแิ ลว้ ไดผ้ ลติ ผลแลว้ ก็
การศกึ ษาหาความรู้ หรือเพ่มิ พนู จะต้องสามารถดดั แปลงและขายจำหน่ายผลติ ผลทตี่ นได้ทำ ฉะนั้นทกุ อย่างต้อง
ประสบการณ์ มีการพฒั นาดา้ นความรแู้ ละ สอดคล้องกนั ความขยนั หม่ันเพียรในการผลิต ความรใู้ นวิชาการผลติ และ
ทกั ษะท่สี ามารถนำไปต่อยอดหรือสามารถ ความรใู้ นการเป็นอยู่ ทัง้ ความรูใ้ นด้านจำหนา่ ย ลว้ นเปน็ ความรทู้ จ่ี ะต้อง
นำไปประกอบอาชีพได้ ประสานกนั หมด...”
8.2.2 การนำความรู้ มาทำใหเ้ ห็นผลจรงิ
เปน็ การนำความรูท้ ่ไี ดเ้ รยี นรู้ หรือไดร้ ับ พระราชดำรสั ในโอกาสที่คณะกรรมการสหกรณ์การเกษตร สหกรณน์ ิคม
มาประยุกตใ์ ชใ้ นการประกอบอาชีพ และ สหกรณ์ประมง และสมาชกิ ผูร้ บั นมสดเข้าเฝ้าฯ ณ โครงการส่วนพระองค์ สวน
สามารถทำไดผ้ ลจริง เชน่ การนำความรู้ที่
ไดร้ บั การอบรม มาใชใ้ นการเพาะปลูก จิตรลดา วันที่ ๘ พฤษภาคม ๒๕๓๐
เล้ียงสตั ว์ การทำเกษตรอนิ ทรยี ์ เปน็ ตน้ “...การพัฒนาประเทศเพ่อื ให้เกดิ ความเจรญิ ความม่นั คงแก่คนสว่ นรวมทงั้ ชาติ
8.3.1 ผลผลติ ทางการเกษตรมีเพยี งพอ ได้แทจ้ ริงน้ัน จะตอ้ งอาศัยหลักวิชาอนั ถกู ตอ้ ง และตอ้ งกระทำพรอ้ มกนั ไปทกุ ๆ
หมายถึงมีผลติ ทเ่ี กิดจากกิจกรรมทาง ดา้ นดว้ ย เพราะความเปน็ ไปทกุ อยา่ งในบา้ นเมอื งมีความสมั พนั ธ์เกี่ยวโยงถึงกัน
การเกษตรเพ่ือใช้เองในครัวเรือนอยา่ ง หมด เพยี งแตจ่ ะทำงานดา้ นการเกษตร ซ่งึ โดยหลกั ใหญ่ ไดแ้ ก่ การกสิกรรมและ
พอเพียง รวมถึงอาจมีผลผลิตบางสว่ น สัตว์บาล อยา่ ง น้อยท่ีสุด ก็ยงั ตอ้ งอาศัยวชิ าการด้านวิทยาศาสตร์
เหลอื พอขายและนำเงนิ มาใช้จา่ ยใน วศิ วกรรมศาสตร์ และเศรษฐศาสตร์สหกรณ์เขา้ ชว่ ยดว้ ย ทุกคนซง่ึ เป็นผู้ท่ีจะใช้
ครวั เรือนสำหรับเรือ่ งท่ีจำเป็นด้วย เช่น วิชาการ ในการพัฒนาบา้ นเมอื งตอ่ ไป ควรทราบใหถ้ ่องแทว้ า่ ในการน้ันจำเป็น
การปลูกขา้ วเพือ่ บริโภค เหลอื จึงจำหน่าย ทสี่ ดุ ท่ีจะตอ้ งใชว้ ชิ าการทำงานรว่ มมือกันให้ประสานสอดคล้องทุกฝา่ ย...”
เปน็ ตน้
8.3.2 ปลกู พืชเศรษฐกจิ ผลผลิตเหลือ “...เมืองไทยนต้ี ้องพ่ึงเกษตรกรเปน็ สำคญั เพราะว่าเกษตรกรเปน็ ประชาชนส่วน
จำหน่าย เปน็ การปลกู พชื เศรษฐกิจ โดย ใหญ่ของประเทศและตอ้ งยึดอาชีพนม้ี าและไมใ่ ชเ่ พราะเหตุนั่นเทา่ นัน้ เอง แต่ว่า
มุ่งทีจ่ ะจำหน่ายผลผลิตเพ่อื ใหม้ ีรายได้ ประเทศหนง่ึ ประเทศใดจะอยูไ่ ดก้ ็เพราะว่ามีกสกิ รรม การประกอบอาชพี ใน
เพม่ิ ขึ้น มากกว่าทีน่ ำผลิตมาใช้ในครัวเรอื น ด้านผลติ ผลทไ่ี ด้จากธรรมชาติ ท้งั ในดา้ นท่ีจะเปน็ การปลูกขา้ ว ปลูกพืชไร่ ปลูก
เป็นการเนน้ การปลูกในเชงิ พานิชย์เพ่ือนำ ผลไม้ หรือทำมาหากนิ ในด้านปศุสัตวห์ รือประมง...”
ผลผลิตมาจำหน่าย เชน่ การปลกู ผกั ท่ี พระราชดำรัสในโอกาสทคี่ ณะกรรมการสหกรณก์ ารเกษตร สหกรณ์นิคม
ตลาดตอ้ งการและให้ราคาดี เน้นการ สหกรณ์ประมง และสมาชิกผูร้ บั นมสดเข้าเฝา้ ฯ ณ โครงการสว่ นพระองค์ สวน
จำหนา่ ยมากกว่าการบรโิ ภคเอง จติ รลดา วนั ที่ ๘ พฤษภาคม ๒๕๓๐
8.4.1 มีความเป็นอยทู่ ่ดี ขี น้ึ หมายถงึ การ “...ในด้านอาชีพของเกษตรกรต้องมีการเพาะปลกู ในข้อที่ ๒ น้ี การเพาะปลูก
ประกอบอาชีพเพ่ือให้สามารถพง่ึ ตนเองได้ หรือการทาํ มาหากนิ นกี้ ็ตอ้ งอาศัยหลกั วชิ า หลกั วชิ าตง้ั แต่พืชพันธ์ุใดท่ีสมควร
สามารถดำรงชวี ติ ได้อย่างมคี วามสขุ หรอื วิธกี ารใช้ปยุ๋ ใชเ้ ครอ่ื งทุ่นแรง คอื วิชาการน่นั เอง ก็เป็นอกี สว่ นหน่งึ ของชีวิต ส่วน
อีกอนั หน่งึ ก็คือ เม่ือทาํ ผลติ ผลแลว้ ต้องสามารถทจ่ี ะใหผ้ ลิตผลนนั้ เปน็
ประโยชนท์ ั้งในด้านบรโิ ภคของตนเองและทงั้ ในด้านการได้เงนิ คา้ ขาย เพ่ือทจ่ี ะ
ไดเ้ งนิ มาบำรุงชวี ิตของคน ทงั้ สามส่วนนี้จงึ สัมพันธ์กันสาํ หรับทุกคน...”

พระบรมราโชวาททีพ่ ระราชทานแก่คณะกรรมการผู้แทนสถาบนั เกษตรกร
ระดบั ชาติ เมอื่ วนั ที่ ๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๑๗

“... การช่วยเหลอื สนับสนุนประชาชนในการประกอบอาชพี และตง้ั ตวั ให้มี
ความพอกินพอใช้ก่อนอนื่ เปน็ พ้ืนฐาน เป็นสิ่งสาํ คญั อย่างย่ิงยวด เพราะผทู้ ีม่ ี

158 โครงการพัฒนาระบบการตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพื้นทต่ี ามแนวทางความคมุ้ ค่าของการจดั การงบประมาณ
มูลนธิ ิปิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

กิจกรรมของปิดทอง จุดเด่นของปิดทอง พระราชดำรสั

อย่รู อดในระดบั ครัวเรือน หรอื มคี วาม อาชพี และฐานะเพียงพอท่ีจะพึ่งตนเองยอ่ มสามารถสร้างความเจริญก้าวหน้า
เป็นอยู่ที่ดีขึน้ ซ่งึ สามารถวดั ได้จากการมี ระดับทส่ี งู ขน้ึ ตอ่ ไปได้แน่นอน..."
รายได้เพมิ่ ค่าใช้จ่ายลด และหนล้ี ดลง พระบรมราโชวาทพระราชทานแกน่ ิสติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เมือ่ วนั ท่ี ๑๙
เป็นต้น กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๑๗
“...การพัฒนาประเทศจำเป็นตอ้ งทำตามลำดับขนั้ ตอ้ งสรา้ งพืน้ ฐาน ความพอมี
พอกิน พอใช้ ของประชาชนส่วนใหญ่เป็นเบ้ืองตน้ ก่อน โดยใช้วธิ กี าร และ
อุปกรณท์ ป่ี ระหยัด ถูกตอ้ งตามหลกั วิชา เม่อื ไดพ้ ้ืนฐานทีม่ นั พร้อมพอสมควร
และปฏิบตั ไิ ด้แล้ว จงึ ค่อยสรา้ งคอ่ ยเสริมความเจรญิ และฐานะทางเศรษฐกิจขน้ั
ทสี่ ูงขน้ึ โดยลําดบั ต่อไป….”

พระราชดํารสั เมื่อวนั ท่ี ๑๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๑๗

9. แปรรปู ผลผลติ

กจิ กรรมของปิดทอง จุดเด่นของปิดทอง พระราชดำรัส

9.1 แปรรปู ผลผลิต 9.1.1 มองหาชอ่ งทางใน “....สมยั นก้ี ็จะตอ้ งมกี ารดดั แปลงผลติ ผลท่ีมี เชน่ ขา้ วก็ตอ้ งสแี ลว้ ในท่ีน้กี ม็ นี มกต็ อ้ งปรบั ปรุง
การแปรรปู ผลผลติ ให้กับ นมน้ันให้ขายได้ เชน่ การทำใหน้ มนนั้ เกบ็ อยู่นานกวา่ ๑ วนั เพราะตามธรรมดานมโดยเฉพาะ
ในประเทศรอ้ น อย่างประเทศไทยเกบ็ ไวไ้ ม่กช่ี ัว่ โมงก็จะเสยี ฉะน้นั กต็ ้องมีวธิ ีการที่จะดดั แปลง
ชมุ ชน โดยนำผเู้ ช่ียวชาญมา ให้เกบ็ ไวไ้ ด้ เพ่ือทจ่ี ะส่งไปสู่ตลาดไดแ้ ละเปน็ นมที่มคี ุณภาพดี.....”
พระราชดำรสั ในโอกาสทค่ี ณะกรรมการสหกรณ์การเกษตร สหกรณน์ ิคม สหกรณป์ ระมง และ
ให้ความรู้ ทดลองทำ สำรวจ สมาชกิ ผูร้ ับนมสด เขา้ เฝา้ ฯ ณ โครงการสว่ นพระองค์สวนจติ รลดา เม่ือวันศกุ รท์ ่ี ๘
พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๓๐
ตลาดแล้วคอ่ ยๆขยายผล

10. บนั ทกึ และทำบญั ชตี ้นทนุ

กจิ กรรมของปิดทอง จุดเด่นของปิดทอง พระราชดำรัส

10.1 การบันทึกและ 10.1.1 การบนั ทึกและทำบัญชีต้นทุน “...แต่ท่พี ดู ถึงทางเศรษฐกิจหมายความวา่ ทางการคํานวณดู วา่ รายได้รายจ่ายเปน็
ทำบัญชีต้นทนุ ยังไง รายได้จะมาก ทุกคนก็บอกวา่ เรามผี ลผลิตมากๆ เรากร็ วยสิ จริงสิรวย เรา
เป็นการจดบนั ทึก หรือทำบญั ชีทแ่ี สดง ขายได้มากแตว่ ่ากต็ อ้ งจ่ายมากเหมือนกนั ....”
ตน้ ทุน เพอ่ื ใหท้ ราบรายรบั รายจา่ ย กำไร “...ฉะนั้น ทกุ คนกจ็ ะต้องรดู้ ีเกย่ี วกบั การทาํ บญั ชีรายจา่ ย - รายรับให้ดี ก็ต้องรู้
เศรษฐกจิ รู้บัญชมี ากขึ้น...”
ขาดทุน ในครัวเรือน เพือ่ ให้สามารถวาง พระบรมราโชวาทพระราชทานแก่ คณะกรรมการผแู้ ทนสถาบันเกษตรกร
ระดับชาติ เมอื วนั ที่ ๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๑๗
แผนการใช้จ่ายหรือการลงทนุ ทีเ่ หมาะสม “...ในดา้ นหนงึ่ ทไี่ มเ่ คยคิดกนั ในดา้ นการพฒั นา เช่น เจ้าหนา้ ท่ีบัญชี ถา้ หากวา่ ทำ
การเพาะปลูก ชาวบ้านทำการเพาะปลูก เม่อื มผี ลแล้วเขาบริโภคเองส่วนหนึ่ง อีก
ได้ สว่ นหนึ่งกข็ ายเพ่ือใหไ้ ด้ มีรายได้ แลว้ ก็เมอ่ื มรี ายไดแ้ ลว้ ก็ไปซือ้ ของทจี่ ำเป็นและ
สิ่งท่จี ะมาเก้ือกลู การอาชพี ของตัว อยา่ งนไี้ ม่ค่อยมีการศึกษากัน เมอื่ ผลิตอะไรแลว้
10.2 การตรวจสอบ 10.2.1 การตรวจสอบและควบคมุ ภายใน กจ็ ำหนา่ ยไปกม็ ีรายไดก้ ็ตอ้ งทำบญั ชี ชาวบ้านทำบญั ชบี างท่ไี มค่ ่อยถูก...”
และควบคุมภายใน พระราชดำริแกก่ รรมการ กปร. และคณะเจ้าหนา้ ท่ีทีเ่ กย่ี วขอ้ งกับการดำเนินงาน
เปน็ การตรวจสอบและควบคมุ ภายใน โดย ศนู ยศ์ ึกษาการพฒั นาอนั เน่ืองมาจากพราชดำริ เมือ่ วันที่ 26 สงิ หาคม พ.ศ. 2531
กรรมการท่ชี ุมชนเลอื กหรือมีส่วนร่วม หรือ
ณ ศาลาดุสดิ าลัย
เปน็ บุคคลภายในท่ีมหี น้าทร่ี ว่ มตรวจสอบ
"... ให้มีคณะกรรมการควบคมุ ทีค่ ดั เลือกจากราษฏรในหมบู่ ้าน เป็นผเู้ กบ็ รกั ษา
พจิ ารณาจำนวนขา้ วท่จี ะให้ยืมและรับข้าวคนื ตลอดจนจดั ทำบญั ชีทำการของ
ธนาคารขา้ ว ราษฎรทตี่ อ้ งการข้าวไปใชบ้ ริโภคยามจำเป็นใหค้ งบัญชยี มื ขา้ วไปใข้
จำนวนหน่ึง เมื่อสามารถเกบ็ เกีย่ วข้าวไดแ้ ลว้ ก็นำมาคนื ธนาคาร พร้อมดว้ ย

โครงการพัฒนาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพ้นื ที่ตามแนวทางความคมุ้ ค่าของการจัดการงบประมาณ 159
มูลนิธปิ ดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

กิจกรรมของปิดทอง จุดเด่นของปิดทอง พระราชดำรัส

10.3 การตรวจสอบ เพอ่ื ให้การดำเนินการโปร่งใส นา่ เช่อื ถอื ดอกเบี้ย (ขา้ ว) จำนวนเลก็ น้อยตามแตต่ กลงกัน ซง่ึ ข้าวซง่ึ เป็นดอกเบ้ียดังกล่าวก็
บัญชี และตรวจสอบได้ จะเกบ็ รวบรวมไวใ้ นธนาคาร และถอื เปน็ สมบัตขิ องส่วนรวม...ราษฏรต้องรว่ มมอื
กันสรา้ งยงุ้ ทแ่ี ข็งแรง ทัง้ นห้ี ากปฏบิ ตั ิตามหลกั การท่ีวางไว้ จำนวนขา้ วทห่ี มุนเวยี น
10.3.1 การตรวจสอบบัญชีโดย ในธนาคารจะไม่มีวันหมด แต่จะค่อย ๆ เพ่มิ จำนวนข้นึ และจะมีข้าวสำหรบั
หนว่ ยงานภายนอก เปน็ การตรวจสอบ บริโภคตลอดไปจนถงึ ลกู หลาน ในที่สุดธนาคารขา้ วจะเป็นแหล่งทร่ี กั ษา
บัญชีโดยหน่วยงานภายนอกทม่ี คี วาม ผลประโยชน์ของราษฎรในหม่บู ้าน และเป็นแหลง่ อาหารสำรองของหมู่บ้าน
น่าเช่ือถอื และมคี วามเป็นมืออาชีพ อาจ ด้วย…."
เกดิ จากความร่วมมอื กับส่วนราชการ ทรงพระราชทานแนวทางดำเนนิ งานธนาคารขา้ วแก่ราษฎรชาวเขาเผา่ กระเหรี่ยง
รฐั วิสาหกจิ หรอื ภาคเอกชน อำเภอจอมทอง จังหวัดเชยี งใหม่ พ.ศ. ๒๕๑๙
10.3.2 การจัดทำและประเมนิ ผลการ “...ถ้าแต่ละคนมคี วามขยนั หมนั่ เพียร ทางราชการและผู้มวี ิชาการอ่นื ๆ ท่ไี มใ่ ชท่ าง
ปฏบิ ัตงิ าน เป็นการประเมินผลการดำเนิน ราชการก็จะชว่ ย ขนั้ แรกที่สดุ จะต้องแสดงวา่ ตนมคี วามเข้มแข็ง มคี วามตัง้ ใจที่
โครงการ อาจจัดทำในรูปแบบรายงาน จะทำงานร่วมกนั อย่างเปน็ สุขเสยี กอ่ น เม่ือเป็นเชน่ นน้ั แลว้ จะมีผ้ทู ม่ี าชว่ ยแล้ว
หรอื แบบอืน่ ๆ เพ่ือตรวจสอบสถานภาพ ความเดอื ดร้อนต่างๆ กจ็ ะได้บรรเทาไปไม่ใหเ้ ป็นทกุ ข์...”
ของโครงการ หรือประเมนิ ผลการ พระราชดำรัสท่มี ตี ่อกลุ่มชาวไรผ่ ักในพระบรมราชปู ถมั ภ์ ตำบลเขาใหญ่ อำเภอ
ปฏิบตั ิงาน ด้วยการเปรียบเทียบผลท่ี
เกิดขน้ึ จริงหลังโครงการแลว้ เสร็จ กับ ชะอำ จังหวดั เพชรบุรี เมอ่ื วนั ท่ี ๒๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๑๓
แผนงานทีว่ างไว้ รวมถงึ การวเิ คราะห์ผล
การปฏิบตั งิ านโครงการทีเ่ กี่ยวข้อง

11. ผลผลิตส่วนเกินขายได้

กิจกรรมของปิดทอง จดุ เด่นของปิดทอง พระราชดำรสั

11.1 พฒั นาการผลิต 11.1.1 สง่ เสรมิ การผลติ ท่ี “...การกสกิ รรมและอาชีพในด้านเกษตรทุกทกุ อย่างย่อมต้องอาศัยปัจจัยสำคัญหลาย
ใหส้ อดคลอ้ งกบั สอดคล้องกับตลาด เปน็ การ ดา้ น ดา้ นหน่งึ กค็ ือหลกั วิชาของการเพาะปลูก เปน็ ต้น และอกี ดา้ นหนง่ึ ก็เป็นการช่วยให้
เพิ่มหลกั วชิ าเหลา่ นนั้ และเมอื่ ได้ปฏิบัติแลว้ ไดผ้ ลติ ผลแลว้ ก็จะต้องสามารถดดั แปลงและ
การตลาด สง่ เสริมการผลติ ใหต้ รงกับ ขายจำหนา่ ยผลติ ผลทตี่ นไดท้ ำ ฉะนนั้ ทกุ อย่างต้องสอดคล้องกัน ความขยันหมนั่ เพียรใน
ความตอ้ งการของตลาด การผลิต ความรูใ้ นวชิ าการผลติ และความรใู้ นการเป็นอยู่ ทง้ั ความรใู้ นดา้ นจำหน่าย ลว้ น
เปน็ ความรู้ที่จะต้องประสานกันหมด...”
เพอื่ ใหไ้ ด้ผลผลติ ทีส่ ามารถทงั้ พระราชดำรสั ในโอกาสทค่ี ณะกรรมการสหกรณ์การเกษตร สหกรณ์นคิ ม สหกรณป์ ระมง
บริโภคได้เอง และมผี ลผลติ และสมาชกิ ผรู้ บั นมสดเขา้ เฝา้ ฯ ณ โครงการสว่ นพระองค์ สวนจติ รลดา วันท่ี ๘
พฤษภาคม ๒๕๓๐
บางส่วนขายได้ ทำใหม้ ีรายได้
เพม่ิ คา่ ใชจ้ า่ ยลด หน้ีลดลง

เช่น การปลกู ขา้ วกำ่ ลมื ผัว ซึง่

160 โครงการพัฒนาระบบการตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผลการพฒั นาพื้นท่ีตามแนวทางความคุ้มค่าของการจัดการงบประมาณ
มูลนิธิปดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

กจิ กรรมของปิดทอง จดุ เดน่ ของปิดทอง พระราชดำรัส

เปน็ ข้าวทีต่ ลาดต้องการและให้ “ …ไม่จำเป็นตอ้ งส่งเสรมิ ผลผลิตให้ได้ปรมิ าณสงู สดุ แต่เพยี งอยา่ งเดียว เพราะเปน็ การ
ราคาดี เน้นการจำหนา่ ย ส้ินเปลอื งค่าโสหุย้ และทำลายคณุ ภาพดนิ แต่ควรศึกษาสภาวะการตลาดการเกษตร
มากกวา่ การบริโภคเอง ตลอดจนการควบคมุ ราคาผลติ ผล ไมใ่ หป้ ระชาชนได้รับความเดือนรอ้ น….”

พระบรมราโชวาท ๔ กรกฎาคม ๒๕๔๕

12. มีรายไดเ้ พม่ิ /คา่ ใชจ้ า่ ยลด/หนี้ลดลง

กจิ กรรมของปดิ ทอง จดุ เดน่ ของปิดทอง พระราชดำรัส

12.1 สร้างรายได้ 12.1.1 การสรา้ งรายได้เพ่ิมจากการผลิตหลัก “….ข้าพเจา้ มีโอกาสไดศ้ ึกษาการทดลองและทำนามาบา้ ง และทราบดี
เพ่มิ จากการผลติ หลัก เป็นการสรา้ งรายได้เพ่ิมจากการผลติ หลกั ท่ที ำอยู่ วา่ การทำนานน้ั มี ความยากลำบากอยู่ มิใช่น้อย จำเปน็ จะต้องอาศยั
พนั ธขุ์ า้ วทดี่ ี และต้องใชว้ ิชาการตา่ ง ๆ ดว้ ยจงึ จะได้ผลเป็นลำ่ เปน็ สนั
เชน่ ปลกู พชื หลังนา เพอ่ื สรา้ งอาชีพเสริม และมี อีกประการหนง่ึ ท่ีนานั้น เมอื่ ส้ินฤดูทำนาแล้วควรปลกู พชื อนื่ ๆ บา้ ง
เพราะ จะเพิ่มรายไดใ้ หอ้ กี ไมใ่ ช่น้อย ทงั้ จะชว่ ยให้ดนิ ร่วน ช่วยเพิม่ ปุ๋ย
รายได้เพิม่ เติมสำหรับเกษตรกรในพ้นื ท่ี กากพืช ทำให้ลักษณะเนอื้ ดนิ ดีขึ้น เหมาะสำหรับจะทำนาในฤดู
ต่อไป….”
12.1.2 สง่ เสรมิ การสร้างอาชพี นอกภาคเกษตร พระราชดำรสั พระราชทานแกผ่ นู้ ำกล่มุ ชาวนา เม่ือ ๑๙
เป็นการสนับสนนุ สง่ เสริมใหม้ ีการสร้างอาชีพ
มีนาคม ๒๕๐๘
อืน่ ๆนอกเหนือจากอาชพี ทางการเกษตร เพอื่

สร้างอาชพี และรายได้พเิ ศษใหก้ ับคนในพน้ื ที่

ขนั้ ท่ี 2: ชมุ ชนรวมกล$มุ พ่งึ ตนเองได3 กลางน้ำ ปลายน้ำ
ตน3 น้ำ

กิจกรรม นำ้ /ดนิ พเชื ลศค/ือกดัสก.ัตวR วจตั ัดถหดุ าบิ กิจกรรมการผลติ ผลผลิตการเกษตร จชำล$อแหกูงลนทคะา3$าายง ผรลแาสยลำไะเดร็จ3
การผลิตของ โครงทสรรัพา3 ยงาพกื้นรฐาน สินคา3 แปรรูป
กลม$ุ
ประชาชน ดแู ลชมุ ชน

กลุ$มน้ำ กลม$ุ วตั ถุดบิ กลุ$มการผลติ

13 การวมกลม$ุ กลุม$ การผลติ +จำหน$าย
กลม$ุ การจดั หาวัตถดุ ิบ+การผลิต+จำหนา$ ย

14 การแปรรปู ผลติ ภณั ฑR กลุ$มสินค3าแปรรปู
กลมุ$ สินค3าแปรรูป+จำหน$าย

รปู ท่ี 3.65 การศึกษาจุดเดน่ ของมลู นิธิปิดทองฯ เพอื่ ขับเคลอื่ นการพฒั นาพน้ื ทตี่ ามแนวพระราชดำริ (ขั้นท่ี
2 ชมุ ชนรวมกลมุ่ พึง่ ตนเองได)้

โครงการพฒั นาระบบการติดตาม ประเมนิ และรายงานผลการพัฒนาพ้นื ทตี่ ามแนวทางความค้มุ คา่ ของการจัดการงบประมาณ 161
มลู นิธปิ ดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

ตารางที่ 3.25 จุดเด่นในการดำเนนิ งานของมลู นิธิปดิ ทองฯ ในขนั้ ที่ 2 ชุมชนรวมกลุ่ม พงึ่ ตนเองได้

13. การวมกล่มุ

กจิ กรรมของปดิ ทอง จุดเด่นของปิดทอง พระราชดำรัส

13.1 จดั ต้ังกล่มุ / 13.1.1 การจดั ตง้ั กลมุ่ เปน็ การรวมกันของ “...ขอให้ทุกคนได้ระลกึ ถงึ วา่ การท่ีมารวมกลุม่ จะเปน็ กลมุ่ เกษตรกร
กองทุน เกษตรกรทม่ี ีวตั ถปุ ระสงคเ์ ดียวกนั และดำเนิน หรือประมง หรอื ชลประทาน ในรปู สหกรณ์ ในรูปกลมุ่ ในรูปใดก็ตามน้ัน
จะต้องมจี ดุ ประสงค์ แลว้ ก็จุดประสงค์ ของแต่ละคน ต้องแบง่ ดูวา่ มสี ว่ น
กิจการรว่ มกัน มีการชว่ ยเหลอื ซึง่ กนั และกันใน อย่างไรในชีวิตของเกษตรกรหรอื ของคนทุกคน เราต้องแบง่ เปน็ สามส่วน
การประกอบอาชพี และช่วยเหลือส่วนรวม เช่น ส่วนหนึง่ คือความเป็นอยู่ประจําวันให้มอี าหารกนิ มีเส้ือใส่ แลว้ ก็มีทอี่ ยู่
อาศยั มียารกั ษาโรค คอื หมายความจตุปจั จยั ที่ทกุ คนตอ้ งมี...”
กลุม่ ผลติ พันธพุ์ ชื กลุม่ วัตถุดิบ กลุม่ ผลิตและ
พระบรมราโชวาทที่พระราชทานแกก่ ลมุ่ ชาวไรศ่ นู ย์พัฒนาไทย -
จำหนา่ ย กลมุ่ จดั หาวตั ถุดบิ กลุ่มแปรรูป เปน็ ตน้ อสิ ราเอล เม่อื วนั ที่ ๑๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๑๙
13.1.2 การจัดต้ังกองทนุ เปน็ การจัดตงั้ และ
“...สหกรณน์ ี้ กจ็ ะต้องให้เขา้ ใจว่าเป็นวธิ หี น่งึ มกี ารรว่ มกัน ทํางานเป็น
ดำเนินงานเกยี่ วกบั กองทุน ใหส้ ามารถดำเนนิ งาน กลมุ่ เปน็ ก้อนเพ่อื ท่ีจะให้ได้ผลในการพฒั นาความ เปน็ อยขู่ องตน และอยู่
รวมกันก็ทาํ ใหม้ ีแรงงาน คือร่วมแรง งานเพอ่ื การอาชพี ใหเ้ จรญิ งอก
ด้วยความเรียบร้อย เพือ่ ช่วยสนับสนุนกจิ กรรม งาม…”
ของสมาชกิ หรอื จัดสรรประโยชนใ์ ห้แกส่ มาชกิ ได้ พระบรมราโชวาททพ่ี ระราชทานแก่กล่มุ ชาวไร่ศนู ยพ์ ฒั นาไทย -
อิสราเอล เมือ่ วันที่ ๑๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๑๙
อย่างเหมาะสมหรือยุติธรรม มีกฎระเบียบ กติกา
“...คำว่า "สหกรณ์" แปลวา่ การทาํ งานร่วมกัน การทํางาน ร่วมกนั นล้ี กึ
หรอื มีการตรวจสอบท่โี ปรง่ ใส เปน็ ทีย่ อมรบั เชน่ ซงึ่ มาก เพราะวา่ จะต้องรว่ มมอื กันในทกุ ด้าน ท้งั ในดา้ นงานการทที่ าํ ดว้ ย
กองทนุ ป๋ยุ กองทนุ เมล็ดพันธ์ุ กองทุนปศสุ ตั ว์ รา่ งกาย ทงั้ ในด้านงานการท่ที าํ ด้วย สมอง และงานการทท่ี าํ ดว้ ยใจ ทกุ
อย่างน้ขี าดไม่ไดต้ ้องพรอ้ ม งานทท่ี ําด้วยร่างกาย ถ้าแต่ละคนทาํ กเ็ กิดผล
เปน็ ต้น ข้ึนมาได้ เชน่ การทําเพาะปลกู ก็มีผลขนึ้ มา สามารถท่ีจะใช้ผลนนั ในดา้ น
การบรโิ ภคคือ เอาไปรับประทานหรือเอาไปใช้ หรอื เอาไป จําหนา่ ย
13.2 ขบั เคล่อื น 13.2.1 การดำเนินกจิ การเพอ่ื ขบั เคลอ่ื นกองทนุ เพือ่ ให้มรี ายไดเ้ ล้ียงชพี ได้ ถ้าแตล่ ะคนทําไปโดย ลาํ พังแต่ละคน งานท่ีทํา
กองทุน เปน็ การดำเนินงานหรอื กิจกรรม โดยใหป้ ระชาชา นนั้ ผลอาจจะไม่ได้เต็มเมด็ เตม็ หนว่ ย ละอาจจะไมพ่ อเพียงในการเล้ยี ง
ตวั เอง ทาํ ใหม้ ีความเดอื ดร้อน ฉะน้นั จะต้องรว่ มกนั แม้ในขนั้ ทท่ี าํ ใน
ชนหรือสมาชิก เข้ามามบี ทบาท มสี ว่ นร่วม หรอื ครอบครัวก็จะตอ้ งช่วย กันทกุ คนในครอบครวั กช็ ว่ ยกนั ทํางานทําการ
เปน็ สว่ นหน่งึ ในการทำงาน เพอื่ ขับเคลื่อนการ เพอื่ ที่จะเลย้ี งครอบครัวให้มีชวี ิตอยูไ่ ด้ แตว่ า่ ถา้ รว่ มกันหลายๆ คนเป็น

ดำเนินงานใหส้ ำเรจ็ บรรลตุ ามวัตถปุ ระสงค์ เชน่
กิจกรรมขบั เคล่อื นด้านการประกอบอาชีพ การ

ผลิตสนิ ค้าและบรกิ าร
13.2.2 มคี ณะกรรมการทำงานร่วมกัน เปน็ การ

บริหารงานทีช่ มุ ชนหรอื สมาชิก เขา้ มามีบทบาท

หรอื มสี ว่ นรว่ มในการทำงาน การบริหารจัดการ
การวางแผน หรือการตัดสินใจ อาจเปน็ ในรปู แบบ

ของคณะทำงาน หรอื คณะกรรมการ หรือกลุ่ม

สมาชิก ก็ได้

13.3 ยกระดบั กลุ่ม/ 13.3.1 มีการจัดตั้งวิสาหกจิ ชุมชน หรือสหกรณ์
เปน็ การจัดตง้ั หรือดำเนนิ การในรูปแบบวิสาหกจิ
กองทนุ สู่วิสาหกจิ
ชมุ ชน/สหกรณ์ ชุมชน หรือสหกรณ์ โดยมผี ลประกอบการ การ
ตรวจสอบ และมีการดำเนินงานอย่างต่อเน่อื ง มี

ความสามารถในการเชอื่ มโยงกับแหล่งทุน
ภายนอกได้

13.3.3 การวางแผนบรหิ ารจัดการ และการ

จดั ทำโมเดลธุรกิจ เปน็ การดำเนินการท่เี กี่ยวกับ
การบรหิ าร การวางแผน การผลติ การจำหนา่ ย

การจัดการทางการเงนิ การจัดการคน และอน่ื ๆ
ให้เปน็ ไปอยา่ งเหมาะสม โดยการสรา้ งโมเดล

162 โครงการพฒั นาระบบการตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผลการพฒั นาพนื้ ทีต่ ามแนวทางความคุ้มคา่ ของการจดั การงบประมาณ
มูลนิธปิ ดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

กิจกรรมของปดิ ทอง จุดเด่นของปิดทอง พระราชดำรสั

13.4 กลุม่ ดูแล ธรุ กิจ ทท่ี าํ ใหส้ ามารถเห็นภาพรวมทั้งหมดของ กลุ่ม เป็นก้อนก็สามารถท่จี ะปฏิบตั ิงานได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ มี
สมาชกิ ธุรกิจ และสามารถลดจดุ อ่อนในแตล่ ะจดุ ทีจ่ ะ ความสามารถ มีผลได้มากขน้ึ ...”
เกดิ ขึน้ ในช่วงดําเนนิ ธุรกจิ ได้อีกดว้ ย พระราชดํารสั ทไี่ ด้พระราชทานแกผ่ ู้นาํ สหกรณ์ทว่ั ประเทศเม่อื คร้ังเข้า
เฝ้าทลู ละอองธลุ ีพระบาท ณ ศาลาดสุ ิดาลยั เมื่อวันท่ี ๑๑ พฤษภาคม
13.4.1 การดแู ลความเปน็ อยู่สมาชกิ เปน็ การ พ.ศ. ๒๕๒
ดแู ลความเปน็ อยู่สมาชิก และ/หรือ ครอบครัว “...ควรทีจ่ ะมีการแพร่ขยาย ใหใ้ ช้ระบบสหกรณข์ น้ึ ทั่วประเทศ เนืองจาก
รวมถึงการแบ่งปัน เอื้ออาทร ช่วยเหลอื ซ่ึงกนั และ วิธีการสหกรณน์ ัน้ เอง เป็นรากฐานทดี่ ขี องระบอบ ประชาธปิ ไตย อยา่ ง
กัน ในชมุ ชนท้องถ่นิ ในรปู แบบที่เหมาะสมและ สาํ คญั สอนใหค้ นรู้จักรับผิดชอบรว่ มกัน ให้มกี ารเลอื กตวั แทนเข้าไป
หลากหลาย ตามสภาพพ้ืนท่ี บรหิ ารสหกรณ์ ตลอดจนใหร้ ู้ถึง คณุ ค่าของประโยชน์อนั จะได้ร่วมกัน
13.4.2 สวสั ดกิ ารแก่สมาชกิ และ/หรือ เปน็ ส่วนรวม...”
ครอบครวั เพื่อจดั สวัสดิการที่เหมาะสมตาม พระราชดาํ รัสทพี่ ระราชทานแก่ผ้นู ำสหกรณภ์ าคการเกษตรท่ัวประเทศ
วัตถปุ ระสงคข์ องกองทุน เปน็ การสร้าง ณ ศาลาดสุ ดิ าลยั วนั ท่ี ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๒๐
หลักประกนั ความมนั่ คงในชวี ติ ดว้ ยการจดั
สวัสดกิ ารแก่สมาชิกโดยครอบคลุมเกอื บทกุ ชว่ ง “...ประชาราษฎรผ์ ู้ประกอบการเพาะปลูกและจําพวกอน่ื ๆ ท่ีมกี าํ ลัง
ชีวติ เชน่ สวัสดกิ ารรับขวญั เด็กแรกเกดิ ทรัพย์น้อยแต่มคี วามต้องการอย่างเดยี วกนั ควรไดร้ ับการอดุ หนุนให้ต้ัง
ทุนการศึกษา จ่ายกรณีเขา้ รักษาตวั ใน สหกรณ์ เพ่ือยงั ใหเ้ กดิ การประหยดั ทรพั ย์ การชว่ ยเหลอื ซ่ึงกันและกัน
โรงพยาบาล บำนาญผสู้ ูงอายุ สวสั ดกิ ารเสยี ชวี ิต และการช่วยตนเองเป็นทางอกี ทางหนง่ึ ซ่งึ เผยแผค่ วามจาํ เรญิ ทรพั ย์ และ
จัดงานศพ สวัสดกิ ารผดู้ ้อยโอกาส คนพิการ ทนุ จาํ เรญิ ธรรมในบา้ นเมืองใหย้ ง่ิ ข้ึน..”
ประกอบอาชีพ ภยั พิบัติ เปน็ ต้น พระราชดาํ รัสทพ่ี ระราชทานแก่ผนู้ าํ สหกรณ์การเกษตร สหกรณ์นคิ ม
และสหกรณป์ ระมงทวั่ ประเทศ เมือ่ วนั ที่ ๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๒๔
“...ประเทศไทยพดู โดยสว่ นรวมก็เป็นประเทศทีอ่ าศยั การเกษตร ในทกุ
สาขาเปน็ หลัก เพอ่ื ใหป้ ระเทศชาตมิ คี วามมนั่ คง จงึ ต้อง มวี ธิ กี ารที่
เหมาะสม สาํ หรับให้ผทู้ ป่ี ฏิบัติงานเกษตรน้สี ามารถ ทจ่ี ะผลติ ได้มากที่สดุ
และมีความสขุ ความเจริญความม่ันคง มากท่ีสดุ การใชว้ ธิ ขี องสหกรณ์น้ีดี
ท่ีสดุ แล้ว เพราะวา่ ผ้ทู ่ี ปฏบิ ตั งิ านในดา้ นเกษตร กจ็ ะได้รบั ประโยชน์
ทว่ั ถงึ ทุกคน...”
พระราชดาํ รสั ทพ่ี ระราชทานแก่ผ้นู ําสหกรณ์การเกษตร สหกรณน์ ิคม
และสหกรณ์ประมงทั่วประเทศ เมื่อวนั ที่ ๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๒๔

14. การแปรรปู ผลติ ภัณฑ์

กิจกรรมของปดิ ทอง จดุ เดน่ ของปิดทอง พระราชดำรัส

14.1 การแปรรูป 14.1.1 การแปรรูปผลผลติ เป็นการแปรรปู ผลผลิต “...มีวัตถุประสงคเ์ พือ่ ให้เป็นศนู ยศ์ กึ ษาและทดลองงานพัฒนาการ
ผลผลิต รวมถงึ การคดิ ค้นเพ่อื สรา้ งนวตั กรรมใหม่ เพื่อสง่ เสริม เกษตรต่างๆ ตามความเหมาะสม สำหรับเป็นตวั อย่างแก่

การผลิต ป้องกนั การลน้ ตลาดของผลิตผลสด ซง่ึ ชว่ ย เกษตรกรในการนำไปปฏิบัติในพ้นื ท่ีของตน ตลอดจนเพื่อดำเนนิ

ยกระดบั ราคาผลิตผล ไม่ใหต้ กตำ่ เปน็ การเพมิ่ มูลค่าของ กจิ การดา้ นเกษตรอุตสาหกรรม โดยเฉพาะส่งเสริมการปลูกพชื
ผลิตผลทางการเกษตร หรือการผลิตให้ได้มาตรฐานเพอื่ ตระกลู ถวั่ สำหรบั แปรรปู เปน็ สินคา้ อตุ สาหกรรม...”

ความปลอดภยั ต่อผู้บรโิ ภค เพอื่ ให้ผลติ ภัณฑ์แปรรูปเป็น พระราชดำรัส ณ ศูนยศ์ ึกษาการพัฒนาภูพาน อันเนอ่ื งมาจาก

ท่ยี อมรบั สามารถจำหน่ายหรอื ขยายตลาดการค้าออก พระราชดำริตามพระราชดำรสั เม่อื วนั ท่ี ๒๗ พฤศจิกายน พ.ศ.

ไปสภู่ ายนอกชุมชนได้ ๒๕๒๖

14.1.2 การพฒั นาสนิ คา้ ชุมชน หรอื การสร้างแบรนด์ “.....หลกั การของสถานทีน่ ีก้ ็คือจะตอ้ งดูวา่ ผลิตผล ผลติ อย่างไร

ชุมชน เป็นการพัฒนาสนิ คา้ เพ่ือให้สนิ คา้ สามารถสรา้ ง ตงั้ แตต่ ้น เช่น ในที่นี้กม็ ีการเลยี้ งโคนม มีการปลกู ข้าว และปลกู
แบรนดข์ องตัวเองได้ มเี อกลักษณ์ มคี วามเปน็ เฉพาะตัว พชื อน่ื ๆ เปน็ การทดลอง และจากน้ันมีการค้นควา้ วจิ ัยวา่ จะ

โครงการพฒั นาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพื้นทต่ี ามแนวทางความค้มุ คา่ ของการจดั การงบประมาณ 163
มลู นธิ ปิ ิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

กิจกรรมของปดิ ทอง จดุ เด่นของปิดทอง พระราชดำรัส

14.2 การขน้ึ ทะเบยี น สามารถแข่งขันในตลาด หรอื สรา้ งการยอมรบั ในตลาดได้ ดดั แปลงผลติ ผลเหล่านน้ั อย่างไร สำหรบั ใหไ้ ปสผู่ ู้บรโิ ภค เช่น โค
มาตรฐาน ตวั อย่างเชน่ ผลิตภัณฑแ์ บรนด์ “ภธู ารา” ท่อี ำเภอหนอง
วัวซอ จงั หวัดอดุ รธานี นมก็ให้นมซึ่งผา่ นกรรมวธิ ตี า่ งๆ เพอ่ื ทีจ่ ะเป็นนมสำหรบั ผู้บริโภค
14.1.3 พฒั นาแหล่งรวบรวม หรอื กระจายผลผลิต นมสำหรบั เก็บไวไ้ ดน้ านหนอ่ ย หรือขา้ วกม็ โี รงสสี ำหรับสีขา้ ว แล้ว
เป็นการสรา้ ง จดั เตรยี ม พัฒนาสง่ิ กอ่ สร้าง หรือพฒั นา
พืน้ ทเ่ี พ่ือเปน็ แหล่งรวบรวม จัดเก็บ สนิ คา้ ผลติ ภณั ฑ์ กส็ ง่ ไปใหแ้ กส่ มาชกิ ทัง้ นมก็มสี มาชกิ ทีร่ ับนมเป็นประจำวนั
ผลิตภัณฑแ์ ปรรูป หรืออื่นๆ ก่อนทำการจำหน่าย หรอื
กอ่ นการกระจายสินค้าไปยังแหลง่ จำหนา่ ยอนื่ เช่น การ ฉะน้นั ก็เป็นกจิ การท่คี รบวงจรตง้ั แต่ตน้ คือ การผลติ แตต่ น้ และ
สร้างโกดงั โรงเรือนเพ่อื เก็บสินคา้ เป็นต้น มาดัดแปลง เสรจ็ แลว้ กไ็ ด้จำหน่ายและบริโภค ซ่ึงทกุ สิง่ ทุกอยา่ ง

14.2.1 การสร้างความร่วมมอื เกี่ยวกบั มาตรฐานการ เกีย่ วขอ้ งกบั การเกษตรนี้ก็เป็นเชน่ เดียวกันต้องผลติ ดัดแปลง
ผลิต เป็นการสรา้ งความร่วมมอื ระหว่างชุมชน ผผู้ ลติ จำหน่าย และบริโภคคอื ใช้ ถ้าตลอดทางเป็นไปโดยดี และแตล่ ะ
สนิ คา้ กบั หนว่ ยงานท้องถ่ิน สว่ นราชการ หรือ
ภาคเอกชน ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั มาตรฐานการผลติ หรอื คนกไ็ ดท้ ำดว้ ยความซื่อสัตยส์ จุ ริต ดว้ ยความตง้ั ใจดี ดว้ ยความมี
ผลิตภณั ฑท์ ี่ได้มาตรฐาน เพอ่ื ให้มีความรู้ ความเขา้ ใจ หลกั วิชาทด่ี ี ทุกคนกไ็ ด้ประโยชน์ ทุกคนได้รบั ผลดี ไม่ว่าผู้ทผ่ี ลติ
เก่ียวกบั มาตรฐานทเี่ กีย่ วข้อง
14.2.2 การขึ้นทะเบยี นมาตรฐาน เปน็ กจิ กรรมท่ี ไม่ว่าผู้ทด่ี ดั แปลง ไม่ว่าผทู้ ีบ่ รโิ ภค ได้ประโยชน์ทง้ั นั้น และทำให้
นอกเหนือจากงานดา้ นการเกษตรที่จำเป็นตอ้ งทำ สว่ นรวมของเรามีความมั่นคงได้.....”

พระราชดำรสั ในโอกาสทคี่ ณะกรรมการสหกรณ์การเกษตร

สหกรณน์ คิ ม สหกรณ์ประมง และสมาชิกผรู้ บั นมสด เข้าเฝา้ ฯ ณ
โครงการส่วนพระองคส์ วนจติ รลดา เมื่อวนั ศุกร์ท่ี ๘ พฤษภาคม

พ.ศ. ๒๕๓๐
“..... ทรงมพี ระราชดําริเสมอว่า โรงงานนี้จะต้องเป็นส่วนหนง่ึ ของ

หมบู่ ้าน จะต้องเป็นส่วนหน่งึ ของชมุ ชน จะเป็นโรงงานแยก
ออกมาโดดๆ ไม่ได้ เพราะวา่ จะตอ้ งมบี ทบาทในการส่งเสริมการ

เรยี นรู้ของชาวบา้ นเป็นทีฝ่ ึกนอกเหนอื ไปจากอุตสาหกรรมเกษตร
ระบบการทํางาน ฝึกอย่างอืน่ ๆ เป็นคลา้ ยๆ กับหน่วยงานซงึ่

ถ่ายทอดความรู้ ถ่ายทอดเทคโนโลยีใหช้ าวบา้ นด้วยครับ...”
ออกอากาศทางสถานวี ิทยกุ ระจายเสยี งแห่งประเทศไทย เมอื่ วันที่

๑๘ กันยายน พ.ศ. ๒๕๒๙

“....สมัยน้ีกจ็ ะตอ้ งมกี ารดัดแปลงผลิตผลท่ีมี เช่นขา้ วกต็ ้องสแี ล้ว
ในท่ีน้กี ม็ ีนมก็ตอ้ งปรบั ปรุงนมน้ันใหข้ ายได้ เช่น การทำให้นมน้ัน

เก็บอยู่นานกว่า ๑ วัน เพราะตามธรรมดานมโดยเฉพาะใน
ประเทศรอ้ น อยา่ งประเทศไทยเก็บไว้ไมก่ ีช่ ว่ั โมงกจ็ ะเสีย ฉะนน้ั ก็

ตอ้ งมวี ิธีการทีจ่ ะดดั แปลงใหเ้ กบ็ ไว้ได้ เพ่อื ท่จี ะส่งไปสตู่ ลาดได้
และเป็นนมท่ีมคี ุณภาพดี.....”

พระราชดำรสั ในโอกาสท่คี ณะกรรมการสหกรณก์ ารเกษตร
สหกรณ์นคิ ม สหกรณ์ประมง และสมาชิกผู้รบั นมสด เข้าเฝา้ ฯ ณ

โครงการสว่ นพระองค์สวนจติ รลดา เม่อื วันศกุ รท์ ี่ ๘ พฤษภาคม
พ.ศ. ๒๕๓๐

“...การพฒั นาประเทศเพอื่ ให้เกดิ ความเจริญความมัน่ คงแกค่ น

สว่ นรวมทงั้ ชาติไดแ้ ทจ้ รงิ น้ัน จะต้องอาศยั หลักวชิ าอนั ถูกตอ้ ง
และตอ้ งกระทำพร้อมกนั ไปทุกๆ ดา้ นดว้ ย เพราะความเป็นไปทุก

อยา่ งในบ้านเมืองมคี วามสมั พนั ธ์เกยี่ วโยงถงึ กันหมด เพยี งแต่จะ
ทำงานด้านการเกษตร ซ่ึงโดยหลกั ใหญ่ ได้แก่ การกสิกรรมและ

สัตวบ์ าล อย่าง นอ้ ยท่สี ุด กย็ งั ตอ้ งอาศยั วชิ าการด้านวิทยาศาสตร์
วศิ วกรรมศาสตร์ และเศรษฐศาสตรส์ หกรณ์เข้าช่วยดว้ ย ทกุ คน

ซง่ึ เป็นผูท้ ีจ่ ะใชว้ ิชาการ ในการพฒั นาบา้ นเมอื งต่อไป ควรทราบ

164 โครงการพัฒนาระบบการตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผลการพฒั นาพื้นที่ตามแนวทางความคุ้มคา่ ของการจัดการงบประมาณ
มลู นิธปิ ดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

กจิ กรรมของปิดทอง จดุ เดน่ ของปิดทอง พระราชดำรัส

14.3 รับรองคณุ ภาพ เพราะเกีย่ วขอ้ งกบั การขึน้ ทะเบียนมาตรฐานผลติ ภัณฑ์ ให้ถอ่ งแทว้ า่ ในการน้ันจำเปน็ ทีส่ ุดท่ีจะตอ้ งใช้วชิ าการทำงาน
ผลติ ภัณฑ์ โดยมีขัน้ ตอน การควบคมุ คุณภาพ หรือวธิ ีการผลติ ตามที่ ร่วมมือกันให้ประสานสอดคล้องทุกฝา่ ย...”
หน่วยงานราชการ หรอื ผูร้ บั รองมาตรฐานกำหนด เช่น พระบรมราโชวาทพระราชทานแก่บัณฑติ ของมหาวิทยาลยั เกษตร
14.4 การจำหน่าย การก่อสร้างโรงเรอื นพลงั แสงอาทติ ยร์ ะบบปิดของ ศาสตร์ เมือ่ วนั ที่ ๒๐ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๑๕
ผลิตภัณฑ์แปรรูป ผลิตภัณฑภ์ ูธารา เพอ่ื ป้องกันแมลง และเป็นไปตาม
มาตรฐานขอ้ กำหนดของสำนกั งานคณะกรรมการอาหาร “.....สมยั นี้กจ็ ะต้องมกี ารดัดแปลงผลติ ผลท่ีมี เช่นขา้ วก็ต้องสแี ล้ว
และยา (อย.) ในทนี่ ้กี ็มนี มกต็ ้องปรับปรงุ นมนัน้ ใหข้ ายได้ เช่น การทำใหน้ มนั้น
14.3.1 การผลิตทไี่ ด้มาตรฐาน ได้รับการรบั รอง เก็บอยู่นานกวา่ ๑ วัน เพราะตามธรรมดานมโดยเฉพาะใน
คณุ ภาพผลิตภณั ฑ์ เป็นขนั้ ตอนที่ผลผลติ หรอื ประเทศร้อน อย่างประเทศไทยเกบ็ ไว้ไม่ก่ีช่วั โมงกจ็ ะเสยี ฉะนน้ั ก็
ผลติ ภัณฑแ์ ปรรูป ไดร้ บั การรับรองคุณภาพ โดยผา่ นการ ตอ้ งมีวธิ ีการท่จี ะดดั แปลงให้เกบ็ ไว้ได้ เพอื่ ทจี่ ะส่งไปสูต่ ลาดได้
รบั รองและได้รับเครือ่ งหมายรบั รองมาตรฐาน (เช่น และเปน็ นมท่มี ีคุณภาพดี.....”
มาตรฐานผลติ ภัณฑ์ GAP GMP หรอื อ.ย. เปน็ ตน้ ) ซ่งึ พระราชดำรัสในโอกาสทีค่ ณะกรรมการสหกรณ์การเกษตร
การทส่ี ินคา้ จะได้รับเครอ่ื งหมายรบั รองมาตรฐานน้ัน สหกรณ์นิคม สหกรณ์ประมง และสมาชิกผ้รู ับนมสด เขา้ เฝ้าฯ ณ
ผผู้ ลติ จะตอ้ งผลติ สนิ คา้ ใหผ้ ่านเกณฑต์ า่ งๆ เพื่อให้ได้ โครงการสว่ นพระองคส์ วนจติ รลดา เมอ่ื วันศุกร์ท่ี ๘ พฤษภาคม
ผลิตภณั ฑต์ ามมาตรฐาน ทำให้ผบู้ รโิ ภคเกดิ ความเชือ่ มนั่ พ.ศ. ๒๕๓๐
ในการเลอื กซ้ือสนิ คา้ “.....สมยั น้ีก็จะตอ้ งมีการดัดแปลงผลติ ผลท่ีมี เชน่ ขา้ วก็ต้องสีแลว้
ในทน่ี ีก้ ็มนี มก็ต้องปรบั ปรงุ นมนนั้ ให้ขายได้ เช่น การทำให้นมนั้น
14.4.1 สง่ เสริมสถานทจ่ี ำหน่ายผลิตภณั ฑ์แปรรูป เป็น เก็บอยนู่ านกวา่ ๑ วนั เพราะตามธรรมดานมโดยเฉพาะใน
การสง่ เสรมิ หรอื สนบั สนุนให้มีสถานทจ่ี ำหนา่ ยผลผลิต ประเทศร้อน อย่างประเทศไทยเก็บไวไ้ ม่ก่ชี ่ัวโมงก็จะเสีย ฉะนัน้ ก็
หรือจำหน่ายผลติ ภัณฑ์แปรรูปเกิดขนึ้ มีท้งั ที่ไดร้ ับการ ต้องมวี ิธีการทจ่ี ะดดั แปลงใหเ้ กบ็ ไว้ได้ เพื่อท่ีจะส่งไปสู่ตลาดได้
สนับสนุนสถานทีจ่ ำหนา่ ยจากหน่วยงานภาครฐั และเป็นนมทม่ี คี ณุ ภาพดี.....”
รฐั วสิ าหกจิ หรือเอกชน เช่น ตลาดขายสนิ คา้ ในชมุ ชน “.....หลกั การของสถานทน่ี กี้ ค็ ือจะต้องดูวา่ ผลิตผล ผลติ อย่างไร
ตลาดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ปลอดสาร สถานทีจ่ ำหน่ายใน ต้งั แตต่ ้น เช่น ในที่น้ีกม็ ีการเล้ยี งโคนม มกี ารปลูกข้าว และปลกู
หอประชมุ หรือสถานทเ่ี ฉพาะกจิ อ่ืนๆ เปน็ ต้น พชื อน่ื ๆ เป็นการทดลอง และจากนั้นมีการค้นควา้ วจิ ัยว่าจะ
14.4.2 สร้างชอ่ งทางจำหนา่ ยผลติ ภณั ฑ์ท่ีหลากหลาย ดัดแปลงผลิตผลเหล่านั้นอย่างไร สำหรับใหไ้ ปสู่ผู้บรโิ ภค เชน่ โค
หมายถึงการสร้างชอ่ งทางจำหนา่ ย หรือชอ่ งทางเขา้ ถงึ นมกใ็ ห้นมซึ่งผา่ นกรรมวธิ ีตา่ งๆ เพือ่ ที่จะเป็นนมสำหรับผู้บริโภค
สินคา้ ให้มคี วามหลากหลาย ตวั อยา่ งเชน่ ชอ่ งทาง นมสำหรับเก็บไว้ไดน้ านหน่อย หรอื ข้าวก็มีโรงสสี ำหรบั สีขา้ ว แลว้
สง่ ออก ชอ่ งทางการคา้ ธุรกจิ ออนไลน์ ช่องทางรา้ นค้า ก็สง่ ไปให้แก่สมาชกิ ทั้งนมก็มสี มาชกิ ทรี่ ับนมเปน็ ประจำวัน
ตัวแทนจำหนา่ ย (Traditional Trade) เช่น ร้านคา้ ปลีก ฉะนน้ั กเ็ ป็นกิจการที่ครบวงจรตั้งแต่ต้น คือ การผลติ แตต่ ้น และ
ช่องทางการจัดจำหน่ายแบบสมยั ใหม่ (Modern Trade) มาดัดแปลง เสร็จแล้วก็ได้จำหนา่ ยและบริโภค ซงึ่ ทกุ สิ่งทุกอยา่ ง
เชน่ ซปุ เปอร์มารเ์ ก็ต หรือรา้ นค้าสะดวกซ้อื เปน็ ตน้ เกยี่ วขอ้ งกบั การเกษตรนก้ี เ็ ปน็ เชน่ เดยี วกนั ตอ้ งผลติ ดัดแปลง
จำหน่าย และบริโภคคอื ใช้ ถา้ ตลอดทางเป็นไปโดยดี และแตล่ ะ
คนก็ไดท้ ำดว้ ยความซอ่ื สัตยส์ ุจรติ ด้วยความตงั้ ใจดี ดว้ ยความมี
หลกั วชิ าทด่ี ี ทกุ คนก็ได้ประโยชน์ ทกุ คนได้รบั ผลดี ไมว่ า่ ผทู้ ผ่ี ลติ
ไมว่ า่ ผทู้ ่ดี ดั แปลง ไม่วา่ ผทู้ บ่ี ริโภค ได้ประโยชน์ทงั้ นนั้ และทำให้
ส่วนรวมของเรามีความมน่ั คงได้.....”
พระราชดำรัสในโอกาสท่ีคณะกรรมการสหกรณ์การเกษตร
สหกรณน์ คิ ม สหกรณ์ประมง และสมาชกิ ผู้รบั นมสด เข้าเฝ้าฯ ณ

โครงการพฒั นาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพืน้ ทต่ี ามแนวทางความคุ้มคา่ ของการจดั การงบประมาณ 165
มูลนิธิปิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

กิจกรรมของปิดทอง จุดเดน่ ของปิดทอง พระราชดำรสั

โครงการส่วนพระองค์สวนจติ รลดา เมอื่ วนั ศุกร์ท่ี ๘ พฤษภาคม
พ.ศ. ๒๕๓๐

ขัน้ ท่ี 3: ออกส@ภู ายนอก กลางนำ้ ปลายนำ้
ตน' น้ำ

กจิ กรรม นำ้ /ดนิ พเืชลศค/ือกัดสก.ตั วV วจตั ัดถหดุ าบิ กิจกรรมการผลิต ผลผลติ การเกษตร จชำล@อแหูกงลนทคะา'า@ายง ผรลแาสยลำไะเดร็จ'
การผลติ ของ โครงทสรรัพา' ยงาพก้ืนรฐาน สินค'าแปรรปู

ประชาชน กลุม@ ผลผลิต

กลุ@มการผลิต 15 18 19

ความรู'และเทคโนโลยี 16 มีตลาด ชมุ ชน
ในการเพ่ิมคณุ ภาพการผลติ /ผลผลติ ที่เป>นเลิศ ท่มี นั่ คง ย่งั ยนื
และย่ังยนื
(เศรษฐกิจ/
เช่ือมโยงแหล@งเงินทนุ ทมี่ มี าตรฐาน เพือ่ ขยายการดำเนินธรุ กิจให'ย่งั ยืน 17 สังคม/

ส่งิ แวดลอ' ม)

รูปที่ 3.66 การศกึ ษาจุดเดน่ ของมลู นิธปิ ิดทองฯ เพอ่ื ขับเคลอื่ นการพฒั นาพื้นทตี่ ามแนวพระราชดำริ (ขน้ั ท่ี

3 ออกสู่ภายนอก)

ตารางท่ี 3.26 จุดเด่นในการดำเนินงานของมลู นิธิปิดทองฯ ในขน้ั ท่ี 3 ออกสูภ่ ายนอก

15. กลมุ่ การผลติ

กจิ กรรมของปดิ ทอง จดุ เด่นของปิดทอง พระราชดำรัส

15.1 กลมุ่ การผลิต 15.1.1 การผลิตของกลมุ่ การผลิต เปน็ การรวมตวั กนั เปน็ กลุม่ “...ขอให้ทุกคนไดร้ ะลึกถึงวา่ การท่ีมารวมกลมุ่ จะเป็น
เพือ่ ผลติ สินคา้ การแปรรปู ผลผลิต หรือการบริการ โดยสมาชิกใน กลุม่ เกษตรกรหรือประมง หรือชลประทาน ในรปู

กลุ่มร่วมกันผลิต ร่วมกันบรหิ ารจดั การ และร่วมรับผลประโยชน์ สหกรณ์ ในรปู กลุม่ ในรูปใดกต็ ามนั้น จะต้องมี
ซง่ึ มีการดำเนินการอยา่ งตอ่ เน่อื ง เกดิ การหมุนเวียนเงนิ ในชมุ ชน จุดประสงค์ แลว้ ก็จุดประสงค์ ของแต่ละคน ตอ้ งแบ่งดู

เชน่ กลมุ่ ผู้ผลิตในชมุ ชนทจ่ี ดทะเบียนอยา่ งเปน็ ทางการ วา่ มีส่วนอยา่ งไรในชวี ติ ของเกษตรกรหรือของคนทกุ คน

15.1.2 การเพ่ิมมูลค่าผลิตภณั ฑ์ /สร้างนวตั กรรมใหม่ เป็นการ เราตอ้ งแบง่ เปน็ สามสว่ น ส่วนหนง่ึ คือความเป็นอยู่

ปรับปรงุ พัฒนาเพ่ือให้เกิดสนิ ค้าใหม่ หรอื เพ่มิ มูลคา่ ให้กับสินค้า ประจาํ วนั ใหม้ ีอาหารกนิ มเี สื้อใส่ แลว้ กม็ ที อี่ ยอู่ าศยั มี

เดิม ตวั อยา่ งเช่น การเพ่ิมประสทิ ธภิ าพการใช้งานให้กบั สินคา้ ใน ยารักษาโรค คือ หมายความจตปุ ัจจยั ทที่ ุกคนตอ้ งม.ี ..”
การใช้งาน การปรบั เปลยี่ นวิธีการใชง้ านใหง้ า่ ยขน้ึ การยดื อายุ พระบรมราโชวาทท่พี ระราชทานแก่กลุ่ม ชาวไรศ่ ูนย์

การใชง้ านให้ยาวนานกวา่ เดิม เพอ่ื สรา้ งความแตกตา่ ง หรอื พัฒนาไทย - อสิ ราเอล เม่อื วันที่ ๑๙ พฤษภาคม พ.ศ.

นำไปสกู่ ารสนองความต้องการของลูกค้าได้อยา่ งตรงจดุ เชน่ การ ๒๕๑๙
ออกแบบบรรจภุ ัณฑ์ข้าวสารใหม้ ีความสวยงามและพัฒนา

ประสิทธภิ าพ โดยใชถ้ งุ พลาสติกแบบสญุ ญากาศ เพ่อื ใหส้ ามารถ

จัดเก็บและยดื อายขุ องขา้ วสารไดน้ านยิง่ ข้ึน รวมถึงการสรา้ ง
มูลค่าใหก้ บั การบริการ โดยการอำนวยความสะดวกใหก้ ับลูกคา้

สามารถโอน จ่าย ชำระคา่ สนิ ค้าและคา่ บรกิ ารผ่านระบบออนไลน์
ได้ เป็นต้น

166 โครงการพัฒนาระบบการตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผลการพฒั นาพ้ืนทต่ี ามแนวทางความคมุ้ คา่ ของการจดั การงบประมาณ
มลู นธิ ิปิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

16. ความรูแ้ ละเทคโนโลยี ในการเพม่ิ คุณภาพการผลิต/ผลผลติ ท่เี ปน็ เลิศ

กิจกรรมของปดิ ทอง จดุ เด่นของปิดทอง พระราชดำรัส
16.1.1 การแลกเปลี่ยนองคค์ วามรูแ้ ละ “...มีวัตถปุ ระสงคเ์ พื่อใหเ้ ป็นศนู ยศ์ กึ ษาและทดลองงานพัฒนาการเกษตรตา่ งๆ
16.1 ความร้แู ละ เทคโนโลยี เปน็ การแลกเปล่ยี นองค์ ตามความเหมาะสม สำหรบั เปน็ ตวั อยา่ งแกเ่ กษตรกรในการนำไปปฏิบตั ิในพื้นท่ี
เทคโนโลยี ในการ ความร้แู ละเทคโนโลยที ้ังในชมุ ชนและ ของตน ตลอดจนเพอื่ ดำเนนิ กิจการด้านเกษตรอุตสาหกรรม โดยเฉพาะส่งเสริม
เพิม่ คุณภาพการ นอกชมุ ชน หรือทง้ั ในหน่วยงานและ การปลูกพชื ตระกูลถั่ว สำหรับแปรรปู เป็นสินค้าอุตสาหกรรม...”
ผลิต/ผลผลิตท่ีเปน็ นอกหนว่ ยงาน รวมถึงการถ่ายทอดและ พระราชดำรสั ณ ศูนยศ์ กึ ษาการพัฒนาภพู าน อนั เนอื่ งมาจากพระราชดำรติ าม
เลศิ แลกเปลยี่ นเรยี นรู้ เพื่อให้สามารถนำ พระราชดำรสั เมื่อวนั ท่ี 27 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2526
ความรเู้ หล่านนั้ ไปใชเ้ พ่อื การพฒั นา ซ่ึง “...ทางราชการโดยกรมชลประทาน กรมพฒั นาท่ดี ิน กรมวิชาการเกษตร กรม
สามารถทำได้ไดห้ ลายทาง เชน่ การ ส่งเสรมิ การเกษตร ทางนายอำเภอ และผู้วา่ ราชการจงั หวัดสระบรุ ี ได้ชว่ ยกันทำ
เรยี นรจู้ ากตวั อย่างของผลสำเรจ็ ในพื้นที่ โครงการน้ี โครงการนใ้ี ช้เงนิ ของมลู นธิ ิชยั พัฒนาสว่ นหนึ่ง ใชเ้ งินของราชการสว่ น
การถอดบทเรียนการพฒั นาพื้นท่ี หนึ่ง โดยวธิ ีขุดบอ่ น้ำ เพอ่ื ใชน้ ำ้ น้ันมาทำการเพาะปลูก ตาม ทฤษฎใี หม่ ซึ่งทฤษฎี
ต้นแบบ เปน็ ตน้ ใหม่น้ียังไมเ่ กดิ ข้ึน พอดขี ดุ บอ่ น้ำนั้น เรากเ็ รียกว่า มือดี ขดุ นำ้ มนี ้ำ ขา้ งๆ ที่อ่นื
16.1.2 การพัฒนาหลักสตู รฝกึ อบรม น้ันไมม่ ีน้ำ แตต่ รงนนั้ มีน้ำ ลงท้ายก็สามารถปลกู ข้าว แลว้ ก็ปลกู ผกั ปลกู ไม้ยนื
เปน็ การสรา้ งชุดความรู้ เพอื่ นำมา ต้นไมผ้ ล ต่อมากไ็ ด้ซ้ือท่ีอกี 30 ไร่ ก็กลายเป็นศูนย์พัฒนา หลกั มวี า่ แบง่ ทด่ี นิ
เปน็ สามส่วน ส่วนหน่งึ เป็นทสี่ ำหรบั ปลกู ขา้ ว อกี ส่วนหนึ่งสำหรับปลกู พืชไร่ พืช
พัฒนาเป็นหลกั สตู รฝึกอบรม หรอื สวน และก็มที ี่สำหรบั ขดุ สระนำ้ ดำเนินการไปแลว้ ทำอยา่ งธรรมดาอยา่ ง
ชาวบา้ น ในที่สดุ ได้ขา้ วและไดผ้ กั ขายขา้ วกบั ผกั นมี่ กี ำไร 2 หมืน่ บาท 2 หม่ืน
หลักสูตรการเรยี นการสอน เพ่ือ บาทต่อปี หมายความวา่ โครงการนใี้ ช้งานได้ เมอื่ ใชง้ านได้ก็ขยายโครงการ
ถา่ ยทอดความรใู้ ห้กบั เกษตรกร ทฤษฎีใหม่ น้ี โดยใหท้ ำท่ีอ่นื นอกจากมสี ระน้ำในที่นแี้ ลว้ จะต้องมีอา่ งเกบ็ น้ำท่ี
ใหญก่ วา่ อกี แห่งเพ่ือเสริมสระนำ้ ในการน้ีก็ไดร้ บั ความร่วมมือจากบรษิ ัทเอกชน
หน่วยงานทงั้ ภาครัฐ รฐั วิสาหกจิ ซอื้ ทดี่ ้วยราคาท่เี ปน็ ธรรม ไม่ใช่ไปเวนคืนและสรา้ งอ่างเกบ็ น้ำ…”
เอกชน หรอื ผสู้ นใจอ่นื ๆ รวมถึงการ จากพระราชดำรสั พระราชทานแกบ่ ุคคลต่างๆ ทเ่ี ขา้ เฝ้าฯ ถวายชยั มงคลเนือ่ งใน
โอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสดิ าลยั สวนจติ รลดาฯ พระราชวงั ดุสติ
สร้างความรูใ้ หม่ และการเผยแพร่
ความรู้ โดยผู้อบรมสามารถนำความรู้ไป

ประยุกต์ใช้ในชวี ติ จรงิ ได้

วันอาทิตยท์ ี่ ๔ ธันวาคม ๒๕๓๗

17. เช่ือมโยงแหลง่ เงินทนุ ท่ีมมี าตรฐาน เพอ่ื ขยายการดำเนนิ ธุรกิจใหย้ ่งั ยืน

กิจกรรมของปดิ ทอง จดุ เดน่ ของปิดทอง พระราชดำรัส

17.1 เชอ่ื มโยงแหล่ง 17.1.1 สร้างเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งเงินทุน เป็นการสรา้ ง “...การพัฒนาประเทศเพ่ือให้เกดิ ความเจรญิ ความม่ันคง
เงินทุนเพื่อขยายการ
ดำเนนิ ธรุ กิจ เครอื ขา่ ยเครือข่ายพนั ธมิตร เพือ่ เช่ือมโยงกลมุ่ คนหรอื กล่มุ องค์กร แก่คนสว่ นรวมทั้งชาติได้แท้จรงิ นน้ั จะต้องอาศัยหลัก
ที่จะทำกจิ กรรมรว่ มกันในดา้ นการสนบั สนุนเงนิ ทุน แหลง่ เงินทนุ วชิ าอันถูกต้อง และตอ้ งกระทำพร้อมกนั ไปทกุ ๆ ด้าน

หรอื สนบั สนนุ ในกิจกรรมทีเ่ ก่ยี วกับการผลิตสินคา้ การจำหน่าย ด้วย เพราะความเป็นไปทกุ อยา่ งในบ้านเมืองมี

สินคา้ และการบริการ เพือ่ ให้การดำเนนิ ธรุ กิจ สามารถบรรลตุ าม ความสมั พนั ธ์เกี่ยวโยงถึงกนั หมด เพยี งแต่จะทำงาน
เปา้ หมาย มคี วามม่ันคง และไดร้ ับผลประโยชน์ร่วมกัน เชน่ การ ดา้ นการเกษตร ซ่ึงโดยหลักใหญ่ ไดแ้ ก่ การกสกิ รรม

ใหก้ ยู้ มื เงนิ ผ่านกองทนุ ของสถาบนั การเงนิ และสัตวบ์ าล อย่าง นอ้ ยท่สี ดุ กย็ งั ต้องอาศยั วชิ าการ

17.1.2 การพฒั นาการทอ่ งเท่ียวชมุ ชน ชุมชนทด่ี ำเนนิ ตาม ดา้ นวทิ ยาศาสตร์ วศิ วกรรมศาสตร์ และเศรษฐศาสตร์

โครงการตามพระราชดำริ หลายโครงการมคี วามสวยงาม ความ สหกรณ์เขา้ ช่วยด้วย ทุกคนซ่ึงเป็นผูท้ ีจ่ ะใชว้ ิชาการ ใน

น่าสนใจ แสดงถึงเสนห่ แ์ หง่ วถิ ไี ทย และมศี กั ยภาพในการตอ้ นรับ การพฒั นาบ้านเมอื งต่อไป ควรทราบให้ถ่องแท้วา่ ใน

นกั ทอ่ งเทย่ี ว ซ่ึงเป็นการสง่ เสริมการทอ่ งเทย่ี วใหเ้ กิดข้นึ ชมุ ชน การน้ันจำเปน็ ท่ีสดุ ท่ีจะต้องใชว้ ิชาการทำงานรว่ มมอื กนั
โดยการทอ่ งเทยี่ วมีสว่ นเขา้ มาเสรมิ ให้ชมุ ชนอย่แู บบพง่ึ พาตวั เอง ใหป้ ระสานสอดคลอ้ งทกุ ฝ่าย...”

ไดด้ ีย่งิ ข้นึ ชว่ ยเสริมรายไดส้ ู่ชุมชน รวมถงึ การสร้างอาชีพให้กับ พระบรมราโชวาทพระราชทานแก่บัณฑิตของ

คนในชมุ ชน ทำใหช้ ุมชนมโี อกาสการเตบิ โตอย่างแขง็ แกรง่ มหาวิทยาลยั เกษตร ศาสตร์ เม่ือวันท่ี ๒๐ กรกฎาคม

พ.ศ. ๒๕๑๕

โครงการพัฒนาระบบการตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพ้ืนทต่ี ามแนวทางความค้มุ คา่ ของการจัดการงบประมาณ 167
มลู นิธปิ ดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

18. มีตลาดทมี่ ่นั คงและยง่ั ยืน

กิจกรรมของปิดทอง จดุ เด่นของปิดทอง พระราชดำรัส

18.1 มตี ลาดท่ีมนั่ คง 18.1.1 มเี ครือข่ายการตลาด การคา้ และ “...ในการปฏบิ ตั ิงานเกษตรนนั้ นักวชิ าการเกษตรควรจะศกึ ษา สังเกตให้
และยัง่ ยืน ทราบชดั วา่ เกษตรกรรมย่อมเป็นไป หรือดําเนินไปอยา่ งต่อเนอ่ื งเปน็ วงจร
ธุรกจิ เปน็ การสรา้ งเครือขา่ ยทม่ี ี และเปน็ สว่ นหนง่ึ ของวงจร ธรรมชาติ ซง่ึ มกี ารเกิดสืบเน่อื งทดแทนกนั อยา่ ง
วัตถุประสงค์เพอ่ื การคา้ การตลาด และ พิสดาร จากปัจจัยหน่ึง เชน่ พันธพ์ุ ชื เมอ่ื ไดอ้ าศัยปัจจัยอ่ืนๆ มีดนิ นำ้
อากาศ เปน็ ต้น เข้าปรงุ แตง่ ทำใหเ้ กษตรกรไดพ้ ชื ผลข้นึ มา พืชผลท่ไี ดม้ าน้นั
ธรุ กจิ โดยเฉพาะ เพ่ือใหม้ ตี ลาดที่แนน่ อนและ เมื่อนำไปบริโภคเปน็ อาหาร ทำให้ไดพ้ ลงั งานมาทํางาน เม่ือนำออกจำหนา่ ย
กท็ ำให้เกดิ ผลทางเศรษฐกจิ ขน้ึ ทัง้ แก่ผซู้ อ้ื และผ้ผู ลิต คือผู้ซือ ยอ่ มนําไปทำ
ย่งั ยนื ในระยะยาว เช่น การเช่ือมโยงผลผลติ ผลประโยชนใ์ ห้งอกเงยตอ่ ไปได้ ผู้ผลิตกไ็ ด้เงนิ ทองมาจบั จา่ ยใช้สอยยงั ชีพ
รวมทัง้ ซอื้ หาปัจจยั สาํ หรบั สนับสนุนการผลติ ของตนให้เกดิ ผลหมุนเวยี น
ชมุ ชนกบั ตลาดขนาดใหญภ่ ายนอก เพมิ่ เตมิ ขน้ึ เห็นไดว้ ่า แม้เพยี งงานเกษตรอยา่ งเดียว ยังจาํ เป็นตอ้ งเกย่ี วพนั
กบั งานตา่ ง ๆ กบั เหตปุ ัจจัยตา่ ง ๆ มากมายหลายขอบขา่ ย ท้งั ต้องเกย่ี วกนั
(Modern Trade) หรอื การนำผลผลิตจาก อาศัยกนั อยา่ งถกู ต้องสมดลุ อกี ดว้ ย....”
พระบรมราโชวาทที่พระราชทานแก่ผูส้ าํ เรจ็ การศึกษาจากสถาบนั
ชุมชนไปวางจำหน่ายทีห่ ้าง ซุปเปอรม์ าร์เกต็ เทคโนโลยีการเกษตรแมโ่ จ้ ณ วันที่ ๑๙ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๒๕
“...มวี ัตถปุ ระสงค์เพือ่ ให้เป็นศูนยศ์ ึกษาและทดลองงานพัฒนาการเกษตร
หรอื ตลาดเครอื ขา่ ย ตา่ งๆ ตามความเหมาะสม สำหรับเป็นตัวอย่างแก่เกษตรกรในการนำไป
ปฏิบตั ิในพ้ืนทีข่ องตน ตลอดจนเพอื่ ดำเนินกจิ การด้านเกษตรอุตสาหกรรม
18.1.2 การเผยแพรผ่ ลการดำเนนิ งานของ โดยเฉพาะสง่ เสริมการปลูกพืชตระกูลถวั่ สำหรับแปรรูปเป็นสนิ ค้า
อุตสาหกรรม...”
สถาบนั ฯ และเผยแพรแ่ นวพระราชดำริ มี พระราชดำรสั ณ ศนู ยศ์ ึกษาการพัฒนาภพู าน อันเนอื่ งมาจากพระราชดำริ

วัตถปุ ระสงค์เพื่อใหค้ วามรู้ตามแนว ตามพระราชดำรัส เมอ่ื วนั ท่ี 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2526

พระราชดำริ หรือกิจกรรมของสถาบนั ทเ่ี กดิ

จากการปฏิบัตงิ านและเห็นผลจรงิ ในพน้ื ที่

ได้เผยแพรไ่ ปยงั ผสู้ นใจอย่างกวา้ งขวาง

รวมถงึ การนำส่ือมวลชนศึกษาเรยี นรแู้ นว

พระราชดำริ และเพื่อใหเ้ กษตรกรและ

ประชาชนมีความเข้าใจอยา่ งถกู ตอ้ ง สามารถ

นำไปประยกุ ต์ใช้ในการประกอบอาชพี และ

ดำรงชีวติ ใหม้ คี วามม่ันคงและย่งั ยืน

19. ชุมชนย่งั ยนื (เศรษฐกิจ/สงั คม/สิ่งแวดล้อม)

กิจกรรมของปดิ ทอง จุดเดน่ ของปิดทอง พระราชดำรัส

19.1 ชุมชนยง่ั ยืน 19.1.1 ชุมชนมคี วามย่งั ยืน คือการสร้างความยงั่ ยืน “…ทสี่ ำคัญ โครงการพัฒนาแหล่งน้ำอันเน่อื งมาจากพระราชดำริ
(เศรษฐกจิ /สังคม/ ไมว่ า่ จะอย่ใู นภูมภิ าคใด จะต้องเหมาะสมกบั สภาพภูมปิ ระเทศ
ส่ิงแวดล้อม) ใหก้ ับชุมชน ให้ชุมชนสามารถดำเนินการพฒั นาได้ดว้ ย สภาพสังคมและวถิ ีชีวติ ของคนในภาคนนั้ เสมอ…”
ตนเอง หรอื เป็นผขู้ บั เคล่ือนการพฒั นา มีการจัดทำแผน พระบรมราโชวาทในพธิ ีพระราชทานปริญญาบัตรแกบ่ ัณฑติ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เมอื่ วนั ท่ี ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๑๗
ชมุ ชนเพ่อื แกป้ ัญหาแบบบูรณาการ โดยการประยกุ ต์ใช้ "...งานดา้ นการศึกษา ศิลปวัฒนธรรม นน้ั คือ งานสร้างสรรค์
ความเจริญทางปญั ญา และทางจิตใจ ซง่ึ เปน็ ท้ังต้นเหตทุ ัง้
หลักการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และ องคป์ ระกอบที่ขาดไม่ได้ ของความเจริญ ดา้ นอ่นื ๆ ท้ังหมด และ
ตามหลักวชิ าการ เพอ่ื แก้ปัญหาในระยะยาว ทัง้ ดา้ น เปน็ ปัจจัยท่จี ะชว่ ยให้เรา รักษาและดำรงความเปน็ ไทย ไดส้ บื ไป
..."
เศรษฐกิจ สังคม และส่งิ แวดลอ้ ม พระบรมราโชวาท ในพิธพี ระราชทานปริญญาบัตรของ
มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร ณ วงั ทา่ พระ วันที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๑๓
19.1.2 การอนรุ ักษ์วฒั นธรรมทอ้ งถน่ิ เปน็ การปลุก “...ประเพณีทัง้ หลายยอ่ มมปี ระโยชน์ในการดำเนิน ชวี ติ ของแต่
จติ สำนึกใหค้ นในท้องถิน่ ถงึ คณุ คา่ และความสำคญั ของ ละคนเรามปี ระเพณี ของชาติไทยเปน็ สมบตั ิ เราควรจะยนิ ดี
อย่างย่งิ และชว่ ยกนั ส่งเสรมิ รักษาไว้ เพอ่ื ความเจริญก้าว หน้า
ภูมปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ ด้วยการส่งเสรมิ และสนับสนนุ การจัด ของประเทศ...”

กิจกรรมตามประเพณีและวัฒนธรรม รว่ มกันอนรุ ักษ์ภูมิ
ปญั ญาและเอกลักษณ์ทางวฒั นธรรมของทอ้ งถ่ิน ซึ่งมผี ล

ทำใหเ้ กิดความเป็นระเบียบร้อย มคี วามสามัคคกี ลม
เกลียว ตลอดจนการมีศีลธรรมอันดี ตวั อยา่ งเชน่

วัฒนธรรมไทยเปน็ วฒั นธรรมแบบเกษตรกรรม คนไทย

สว่ นใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม โดยเฉพาะการ
เพาะปลูกข้าว ซง่ึ เป็นอาชีพหลักของคนไทย ทำให้มี

168 โครงการพฒั นาระบบการตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผลการพัฒนาพน้ื ท่ีตามแนวทางความคมุ้ คา่ ของการจัดการงบประมาณ
มูลนิธิปดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

กจิ กรรมของปิดทอง จดุ เดน่ ของปิดทอง พระราชดำรัส

วัฒนธรรมและประเพณที ่ีเกีย่ วขอ้ ง เช่น พธิ แี รกนา พระบรมราโชวาท ในพิธพี ะราชทานปริญญาบัตรของ
ขวญั พธิ สี ู่ขวญั ขา้ ว เป็นตน้ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ณ หอประชมุ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั

วันที่ ๒๑ เมษายน ๒๕๐๓

3.8.4 สรปุ การถา่ ยทอดองค์ความรู้ให้กับบุคลากรของมลู นธิ ปิ ิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระดำริ

นอกเหนือจากการพัฒนาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพื้นที่ตามแนวทาง
ความคุม้ คา่ ของการจดั การงบประมาณ ท่ีสอดคลอ้ งกบั ภารกจิ วัตถปุ ระสงคแ์ ละวิธปี ฏบิ ัตงิ านของมูลนธิ ิปดิ
ทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริแล้ว คณะที่ปรกึ ษาฯ ได้ให้ความสำคญั กบั การมีส่วนร่วม ผ่านการ
ถ่ายทอดองค์ความรทู้ ั้งในรูปแบบของการฝึกอบรม การปรึกษาหารือ การศึกษาดูงานและการสัมมนาเชิง
ปฏิบัติการให้กับบุคลากรของมูลนิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริอย่างต่อเนื่อง โดยสรุป
กจิ กรรมการถ่ายทอดองคค์ วามร้ทู สี่ ำคญั ไว้ดงั ต่อไปน้ี ทง้ั น้ีรายละเอยี ดของการถา่ ยทอดองค์ความรู้ให้กับ
บคุ ลากรของมูลนธิ ปิ ิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ ทงั้ เนื้อหา องค์ความรู้ ผลท่ีได้รับมีระบุไว้ใน
เลม่ ที่ 3

3.8.4.1 การประชุมหารือแนวทางการบูรณาการระบบและข้อมลู เพื่อการวางแผน จัดสรร ติดตาม
และประเมินผลการปฏบิ ตั ิงาน

หวั ขอ้ “แนวทางการบรู ณาการระบบและข้อมูลเพ่ือการวางแผน จัดสรร ติดตามและประเมินผล
การปฏิบตั งิ าน”

รายละเอียด วันท่ี 11 และ 23 ธันวาคม 2562 ณ สำนักงาน
ผูเ้ ขา้ ร่วม ทีมงานส่วนกลาง (วันท่ี 11 ธนั วาคม 2562) และ

ทมี งานส่วนกลางและทีมข้อมลู จากพนื้ ท่ี 9 จงั หวัด (วนั ที่ 23 ธันวาคม 2562)
วตั ถุประสงค์ เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้และหาแนวทางในการบูรณาการระบบข้อมูล เพือ่ การวางแผน

จัดสรร ตดิ ตามและประเมินผลการปฏบิ ตั งิ าน ใหก้ บั บคุ ลากรจากฝ่ายตา่ งๆของมูลนิธิปิด
ทองหลังพระ สบื สานแนวพระราชดำริ
บรรยากาศ

โครงการพฒั นาระบบการตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผลการพัฒนาพนื้ ทต่ี ามแนวทางความค้มุ คา่ ของการจัดการงบประมาณ 169
มลู นิธิปิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

3.8.4.2 การสัมมนาเชงิ ปฏิบตั กิ ารเพอื่ จดั ทำแผนการพัฒนาพน้ื ทีป่ ระจำปีงบประมาณ 2563
หัวข้อ “การวางแผนงานระดับพื้นท”่ี
รายละเอียด วันที่ 21 มกราคม 2563 ณ สำนกั งาน
ผู้เขา้ รว่ ม ท่ีปรกึ ษา ผบู้ รหิ าร ทีมงานส่วนกลางและทมี งานทกุ พนื้ ทีต่ น้ แบบ
วัตถุประสงค์ เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ในการจัดทำแผนการพัฒนาพื้นที่ประจำปีงบประมาณ 2563

ใหก้ ับบุคลากรของมลู นิธปิ ดิ ทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ
บรรยากาศ

3.8.4.3 การสัมมนาเชงิ ปฏบิ ตั ิการเพ่ือพัฒนาระบบการติดตามประเมนิ ผลของสถาบนั ฯ
หวั ข้อ “การพฒั นาระบบการติดตามประเมนิ ผลของสถาบันฯ”
รายละเอยี ด วันที่ 28-29 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ พน้ื ทต่ี น้ แบบจังหวัดขอนแกน่
ผู้เขา้ ร่วม ที่ปรึกษา ทีมงานสว่ นกลางและทีมงานทกุ พนื้ ทต่ี น้ แบบ
วตั ถุประสงค์ เพื่อเรียนรู้การปฏิบัติงานพัฒนาของทุกพื้นที่ และถ่ายทอดแนวคิดในการติดตาม

ประเมนิ ผลของสถาบนั ฯ
บรรยากาศ

170 โครงการพัฒนาระบบการตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพื้นทตี่ ามแนวทางความค้มุ ค่าของการจดั การงบประมาณ
มลู นิธปิ ดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

3.8.4.4 การประชมุ ทำความเขา้ ใจและสอบทานกรอบและเครือ่ งมือการติดตามประเมนิ ผล
หัวข้อ “กรอบและเครอ่ื งมอื การตดิ ตามประเมินผล”

รายละเอยี ด วันที่ 23-25 มถิ ุนายน 2563 ณ จงั หวัดอุดรธานแี ละจังหวัดขอนแกน่

ผ้เู ขา้ รว่ ม ทป่ี รกึ ษา ทมี งานสว่ นกลางและทมี งานพน้ื ท่ีตน้ แบบจังหวดั อุดรธานี-ขอนแก่น-กาฬสินธ์ุ

วตั ถปุ ระสงค์ เพื่อทำความเข้าใจและสอบทานกรอบและเครื่องมอื การติดตามประเมินผลเบื้องต้น กับ
เจ้าหน้าทขี่ องพนื้ ที่ต้นแบบจังหวดั อดุ รธาน-ี ขอนแก่น-กาฬสนิ ธ์ุ

บรรยากาศ

3.8.4.5 การประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำตัวชี้วัด เครื่องมือและวิธีการติดตามประเมินผลการ
ดำเนนิ งาน

หัวขอ้ “การจัดทำตวั ชว้ี ัด เครือ่ งมอื และวิธีการติดตามประเมินผลการดำเนนิ งาน”
รายละเอยี ด วันท่ี 14-15 กรกฎาคม 2563 ณ บางแสน จงั หวัดชลบรุ ี
ผู้เขา้ รว่ ม ท่ีปรกึ ษา ทมี งานสว่ นกลางและทมี งานทกุ พื้นทต่ี ้นแบบ
วตั ถปุ ระสงค์ เพอื่ ถ่ายทอดองคค์ วามรู้ในการจัดทำตัวช้ีวัด เครือ่ งมือและวธิ กี ารตดิ ตามประเมินผลการ

ดำเนนิ งาน
1. การประเมนิ และรายงานผลความค้มุ ค่าเชงิ งบประมาณ (Fiscal Report)

โครงการพัฒนาระบบการตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผลการพัฒนาพืน้ ทตี่ ามแนวทางความคุ้มค่าของการจดั การงบประมาณ 171
มูลนิธปิ ดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

2. การประเมินและรายงานผลการพัฒนาตามแนวพระราชดำริ (Wisdom Report)
3. การติดตาม ประเมินและรายงานผลการดำเนนิ โครงการ (Project Financing Report)

บรรยากาศ

3.8.4.6 การจัดทำแผนพ้นื ท่ี ประจำปี 2564-2565
หวั ขอ้ “การจัดทำแผนพนื้ ที่ประจำปี 2564-2565”
รายละเอียด วนั ท่ี 29-30 กรกฎาคม 2563 ณ พื้นท่ีต้นแบบจังหวัดนา่ น

วนั ท่ี 1 สิงหาคม 2563 ณ สำนักงาน และ
วันท่ี 5 สิงหาคม 2563 ณ สำนักงาน
ผู้เขา้ รว่ ม ผ้อู ำนวยการ ทป่ี รึกษา ทมี งานสว่ นกลางและทีมงานทุกพ้นื ทต่ี ้นแบบ
วัตถุประสงค์ เพื่อถ่ายทอดองคค์ วามรู้ในการประมวลและนำผลการดำเนินงานของพื้นที่ มาใช้ในการ
วางแผนการดำเนินงานของพน้ื ที่ในปี 2564-2565
บรรยากาศ

172 โครงการพฒั นาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพฒั นาพ้นื ทตี่ ามแนวทางความค้มุ คา่ ของการจดั การงบประมาณ
มลู นธิ ิปิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

3.8.4.7 ประชุมเชงิ ปฏบิ ัติการเพื่อจัดทำตัวช้ีวดั ผลการดำเนินงาน
หัวขอ้ “หลกั คิดและวธิ ีการจดั ทำตวั ช้ีวดั ผลการดำเนินงาน”

รายละเอยี ด วันท่ี 11 กันยายน 2563 ณ จังหวัดเพชรบุรี

ผเู้ ข้าร่วม ผ้อู ำนวยการ ทีป่ รึกษา ทีมงานสว่ นกลางและทมี งานทกุ พน้ื ทีต่ ้นแบบ

วัตถปุ ระสงค์ เพื่อถ่ายทอดองคค์ วามรแู้ ละใหท้ ุกพน้ื ทมี่ ที กั ษะในการวเิ คราะห์ตัวชวี้ ดั ผลการดำเนนิ งาน
บรรยากาศ

3.8.4.8 การนำเสนอผลการศกึ ษา “กา้ วใหมก่ ารพฒั นาชนบทตามแนวพระราชดำร”ิ
หัวข้อ การรว่ มนำเสนอผลการศึกษา “ก้าวใหมก่ ารพฒั นาชนบทตามแนวพระราชดำร”ิ
รายละเอยี ด งานเสวนาเร่อื ง “ไมท่ อ้ ไม่ถอย-พระราชดำริค้ำจุนสงั คม” ทจ่ี ัดขน้ึ ขน้ึ เน่ืองในโอกาสวัน

คล้ายวันสวรรคตวนั ท่ี 13 ตุลาคม ในวันท่ี 12 กนั ยายน 2563 ณ สยามสมาคม
ผูเ้ ข้ารว่ ม 6 ภาคีพัฒนาชนบทตามแนวพระราชดำริ ได้แก่

(1) กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม
(นายจตพุ ร บุรุษพัฒน์ ปลัดกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม)

(2) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
(นายทองเปลว กองจันทร์ ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณก์ ารเกษตร)

โครงการพัฒนาระบบการติดตาม ประเมนิ และรายงานผลการพัฒนาพื้นทต่ี ามแนวทางความคุ้มค่าของการจดั การงบประมาณ 173
มลู นธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

วัตถุประสงค์ (3) กระทรวงมหาดไทย (นายฉตั รชยั พรหมเลศิ ปลดั กระทรวงมหาดไทย)
บรรยากาศ (4) สำนกั นายกรฐั มนตรี

(นายทองเปลว กองจนั ทร์ ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์การเกษตร)
(5) สำนักงานคณะกรรมการพเิ ศษเพ่ือประสานงานโครงการอนั เน่อื งมาจากพระราชดำริ

(นายดนชุ า สินธวานนท์ เลขาธิการคณะกรรมการพเิ ศษเพอื่ ประสานงานโครงการอนั
เนือ่ งมา จากพระราชดำริ (กปร.)) และ
(6) มูลนิธิปิดทองหลังพระ สบื สานแนวพระราชดำริ
(หม่อมราชวงศ์ดิศนัดดา ดิศกุล เลขาธิการมูลนิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนว
พระราชดำร)ิ
เพื่อรว่ มนำเสนอผลการดำเนินงานของปิดทองหลังพระฯ ท่ีมีการประเมนิ ผลแบ่งออกเป็น
สามด้าน ครอบคลุมมิติความคุ้มคา่ เชิงงบประมาณ (Fiscal Report) มิติการพัฒนาท่ยี ดึ
ตามแนวพระราชดำริทฤษฎใี หม่ (Wisdom Report) และมิตคิ วามคมุ้ ค่าของโครงการและ
กจิ กรรม

174 โครงการพฒั นาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพฒั นาพื้นทตี่ ามแนวทางความคมุ้ คา่ ของการจดั การงบประมาณ
มูลนธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

3.8.4.9 การประชมุ เชิงปฏิบัตกิ ารวเิ คราะห์โมเดลธรุ กิจ (Business Model)
หัวขอ้ “การวิเคราะห์โมเดลธรุ กิจ (Business Model)”

รายละเอยี ด วันที่ 13 กันยายน 2563 ณ สำนักงาน

ผ้เู ขา้ ร่วม ผอู้ ำนวยการ ทีป่ รึกษา ทมี งานส่วนกลางและทีมงานทุกพ้ืนทต่ี น้ แบบ

วัตถุประสงค์ เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้และฝึกปฏิบัติให้ทุกพื้นที่มีทักษะในการวิเคราะห์โมเดลธุรกิจ
(Business Model) ของพนื้ ที่ตนเอง

บรรยากาศ

โครงการพัฒนาระบบการตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผลการพัฒนาพนื้ ทตี่ ามแนวทางความคุ้มคา่ ของการจดั การงบประมาณ 175
มูลนธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

4 ระบบการติดตามประเมนิ ผล

4.1 หลักการวดั ผลและรายงานผลเพ่ือการพฒั นา (Developmental Evaluation)

การวัดผลและรายงานผลเพื่อการพัฒนา หรือ การประเมินผลเพื่อการพัฒนา (Developmental
Evaluation) เปน็ กรอบแนวคิดการติดตามและประเมนิ ผลทม่ี ีวัตถุประสงค์เพื่อนำผลการประเมินไปสู่การ
พัฒนาการดำเนนิ งาน โดยมหี ลกั การสำคัญ ได้แก่

1) เปนK การประเมินผลทมี่ องภาพเชงิ ระบบ (System Approach) กลFาวคอื จะไมFวางขอบเขตการ
ประเมนิ ผลเปนK สFวนๆ เชนF การประเมินผลตามตวั ชีว้ ดั ทกี่ ำหนดไวเ^ ทFานั้น แตFจะต^องมองภาพ
ระบบการดำเนนิ งานทง้ั หมดกFอนแล^วจึงทำการประเมิน

2) เปนK การประเมินผลทน่ี ำผลการประเมนิ ผลไปใช^ในการพฒั นาทันที (Utilization Focus with
Timely Feedback) โดยไมตF อ^ งรอใหก^ ารประเมนิ ผลแลว^ เสร็จทง้ั หมด โดยมุงF หวงั วาF ผลการ
ประเมนิ จะสร^างการเปล่ียนแปลงไดท^ นั ที และเปนK ระบบ

3) เปKนการประเมินผลทมี่ ุFงหาเหตแุ ละผลของประเดน็ ท่ีพบ กลาF วคือไมไF ด^เนน^ การประเมินวาF สำเรจ็
หรอื ไมสF ำเร็จ แตจF ะต^องวิเคราะหแD ละขยายขอบเขตการศึกษาไปในระดับทสี่ ามารถเขา^ ใจสาเหตุ
และผลลพั ธDของประเดน็ ที่พบ

4) เปKนการประเมินผลทที่ ำเกดิ การเรยี นรส^ู องชั้น (Double Loop Learning) กลFาวคือ มใิ ชกF าร
ประเมินโดยองิ เปาÄ หมายทกี่ ำหนดไวต^ ามแผนเทาF นน้ั แตยF งั ควรประเมนิ วาF เปาÄ หมายท่ตี ้ังไวน^ น้ั มี
ความถูกต^องเหมาะสมหรอื ไมF เพียงใด ซง่ึ หมายความวFาหากการกำหนดเปาÄ หมายตามแผนน้ัน
ไมFเหมาะสม กอ็ าจจะไมFจำเปนK ตอ^ งประเมินโดยอา^ งอิงความสำเร็จตามเปÄาหมายทีถ่ ูกตงั้ ไว^

5) ผป^ู ระเมินอาจเปนK สFวนหนึ่งของทมี งานผูด^ ำเนินงานเอง (Evaluator as team member) หรอื
เปKนบคุ คลนอกทสี่ ามารถเข^าใจและทำการประเมินควบคFไู ปกับการดำเนนิ งาน โดยไมFตอ^ งรอให^
การดำเนินงานแลว^ เสรจ็ กFอนแล^วจงึ ทำการประเมิน

การประเมินผลเพ่อื การพัฒนาน้ีเหมาะสมกบั การประเมนิ การดำเนนิ งานท่ีมีลักษณะดงั ตอ่ ไปนี้

1) งานพัฒนา คือ งานท่เี กยี่ วข^องกบั การพฒั นาองคDกร พฒั นาพ้ืนท่ี หรอื พัฒนางานประจำให^มี
คณุ ภาพสูงข้ึน มีประสทิ ธิภาพและประสทิ ธิผลสงู ขน้ึ

2) งานนวัตกรรม คอื งานทส่ี ร^างสรรคสD ง่ิ ใหมทF ง้ั กระบวนการทำงานใหมF ผลิตภณั ฑDใหมF บรกิ าร
ใหมF และอน่ื ๆ

3) งานที่มีความไมFแนFนอน/ความเสี่ยงสงู คอื งานทด่ี ำเนินงานภายใตค^ วามเสี่ยงหรอื ความไมF
แนนF อน มโี อกาสสูงทอ่ี าจจะไมสF ามารถบรรลเุ ปาÄ หมายทก่ี ำหนดไว^ตามแผน/เปาÄ หมาย

176 โครงการพฒั นาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพืน้ ทีต่ ามแนวทางความคุ้มค่าของการจัดการงบประมาณ
มลู นิธิปิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ


Click to View FlipBook Version