The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการพัฒนาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพื้นที่

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by prpidthong1, 2022-01-23 21:39:41

โครงการพัฒนาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพื้นที่

โครงการพัฒนาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพื้นที่

Keywords: โครงการพัฒนาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพื้นที่

4) งานที่มพี ลวตั สูง คอื งานทมี่ กี ารเปลี่ยนแปลงเกิดข้ึนอยูFตลอดเวลา โดยเปKนการเปลยี่ นแปลง
จากปจq จยั ภายนอก หรอื ปqจจยั ท่อี ยนFู อกเหนอื การควบคมุ ของผู^ดำเนินงาน

5) งานสรา^ งการเปล่ยี นแปลง คือ งานทมี่ เี ปÄาหมายทจ่ี ะใหเ^ กิดการเปลย่ี นแปลงอยาF งมีนยั สำคญั
จากสถานะเปKนอยFู เปKนเปาÄ หมายทีท่ ำให^เกดิ การยกระดบั คณุ ภาพ ประสทิ ธิภาพประสิทธิผล
ของการดำเนินงานใหแ^ ตกตาF งไปจากเดิม

ความแตกต่างระหว่างกรอบแนวคิดการประเมินผลเพื่อการพัฒนา (Developmental
Evaluation) และกรอบแนวคิดการประเมินผลแบบดั้งเดมิ ทวั่ ไป (Traditional Evaluation) มีดังนี้

ตารางที่ 4.1 การเปรียบเทียบระหวาF งการประเมนิ ผลแบบดง้ั เดมิ และการประเมนิ ผลเพอื่ การพฒั นา

การประเมินผลแบบด้ังเดิม การประเมินผลเพื่อการพัฒนา

(Traditional Evaluation) (Developmental Evaluation)

วัตถุประสงค์ - เพอื่ การวัดคณุ คาF ของการดำเนินงาน - เพ่อื นำผลการประเมนิ ไปสกูF าร
วาF มคี วามคม^ุ คาF หรอื ไมF มี พฒั นาการดำเนินงานให^ดขี นึ้ โดย
ประสิทธิภาพหรือไมF มีความ อาจไมไF ด^ใหค^ วามสำคญั กบั การ
เหมาะสมหรือไมF ผFานหลกั เกณฑทD ่ี ตัดสินคุณคาF หรอื ความสำเรจ็

กำหนดหรอื ไมF ฯลฯ

- เพอื่ ใชต^ ัดสินใจดำเนินการตอF ไป เชFน
ควรยตุ กิ ารดำเนนิ งาน ควรขยายผล
การดำเนินงาน การชะลอการ
ดำเนินงาน

เงื่อนไข - เหมาะสมสำหรบั การประเมนิ ผลการ - เหมาะสมกับการประเมินผลการ
ดำเนินงานในสถานการณทD ่ีมพี ลวัต
ดำเนนิ งานท่ีมสี ถานการณปD กติ ความเส่ยี งสูง และสรา^ งการ
(Stable Situation) ไมFมคี วามเส่ยี ง เปลีย่ นแปลงอยFางมนี ยั สำคญั
มากจนเกินไป

- ปกติจะเปKนการประเมนิ โดย - ผปู^ ระเมินอาจเปKนบคุ คลในทมี ผู^

บุคคลภายนอก บคุ คลทสี่ าม เพื่อมิให^ ดำเนนิ งาน หรอื เปKนบคุ คลภายนอก
เกิดการทบั ซ^อนของผลประโยชนD ทมี่ คี วามเขา^ ใจและทำงานใกลช^ ิดกบั

(Conflict of Interests) ผ^ทู ำงาน โดยไมFตอ^ งเกรงวาF จะเกิด
ผลประโยชนDทับซ^อน เน่อื งจากไมไF ด^
เนน^ การตัดสนิ ความสำเรจ็ หรอื

ตัดสินคุณคFาของการดำเนินงาน

โครงการพัฒนาระบบการตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผลการพัฒนาพน้ื ทต่ี ามแนวทางความคมุ้ คา่ ของการจดั การงบประมาณ 177
มูลนธิ ิปิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

การประเมนิ ผลแบบดั้งเดมิ การประเมนิ ผลเพ่ือการพัฒนา

(Traditional Evaluation) (Developmental Evaluation)

จุดเนน้ ของการ - เนน^ การประเมินผลลัพธDของการ - เนน^ การประเมินเพื่อหาสาเหตแุ ละ
ดำเนนิ งานโดยเปรียบเทยี บกบั รากฐานของเหตทุ ที่ ำใหเ^ กดิ ผลการ
ประเมนิ หลกั เกณฑD หรอื เปาÄ หมายที่กำหนด ดำเนนิ งาน และเปรียบเทยี บกบั

- เนน^ การให^ผร^ู บั ผิดชอบได^ทราบวาF เกิด เปาÄ หมายทค่ี วรจะเปKน ซ่ึงอาจจะ
ไมFใชFเปาÄ หมายที่กำหนดไว^
ผลสำเรจ็ หรอื ไมF โดยมFงุ หวังใหเ^ กดิ
การปรับปรงุ การดำเนินงานในการ - เนน^ ให^เกดิ การปรบั ปรงุ การ

ดำเนนิ งานครงั้ ตอF ไป ดำเนนิ งานทันที โดยไมFตอ^ งรอให^
การดำเนนิ งานปqจจุบันแลว^ เสรจ็

วธิ ีการประเมิน - เปKนการประเมนิ ตามกรอบและ - เปKนการประเมนิ ผลทผ่ี สมผสาน
ประเดน็ การประเมนิ ทถ่ี ูกกำหนด ระหวาF งกรอบและประเดน็ การ
ประเมินทถี่ ูกกำหนดมาแล^ว และ
มาแล^วเปKนอยาF งดี (Top-down ประเด็นทีไ่ ด^เรียนรจู^ ากการประเมนิ

approach) โดยมผี ป^ู ระเมนิ เปนK
ผใ^ู ช^เครอื่ งมอื การประเมินตามกรอบ (Top-down และ Bottom-up)
และประเด็นดงั กลาF ว - เน^นการวเิ คราะหDในลักษณะ

- เนน^ การวิเคราะหDแบบ linear model Complex system กลFาวคอื อาจมี

คอื หากเหตแุ ละผลจากส่ิงที่พบเปนK หลายสาเหตุ และหลายผลกระทบที่
สำคญั ผูกเชือ่ มโยงกันแบบซับซอ^ นกวาF

- เปKนการประเมินแบบเรยี นรู^ช้นั เดยี ว และไมสF ามารถวเิ คราะหเD หตุและผล
แบบเดีย่ วได^
(Single Loop Learning)
- เปนK การประเมนิ แบบเรียนรส^ู องชั้น

(Double loop learning)

178 โครงการพัฒนาระบบการตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการพฒั นาพน้ื ท่ตี ามแนวทางความคมุ้ คา่ ของการจัดการงบประมาณ
มลู นธิ ิปิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

รปู ที่ 4.1 ลกั ษณะสำคญั ของการประเมนิ ผลเพ่ือการพฒั นา (Developmental Evaluation)

ทีม่ า: Michael Quinn Patton

การประเมินผลเพื่อการพัฒนา (Developmental Evaluation) นั้นทำไปเพื่อการให้คำแนะนำ
เพื่อการพัฒนาการดำเงินงานต่อ ซึ่งหมายถึงการเน้นไปที่การสร้างการเปลี่ยนแปลงของผู้ดำเนินงาน
(Actor) มากกว่าการประเมินผลแบบทั่วไปที่เน้นการสรุป (Summative) นอกจากนี้การประเมินผลเพื่อ
การพฒั นายงั มีกรอบการประเมินท่ีมพี ลวตั กล่าวคอื กรอบการประเมนิ ผลอาจเปลย่ี นแปลงหรอื พฒั นาไปได้
ตามสถานการณ์และข้อมูลใหม่ที่พบ โดยไม่จำเป็นต้องยึดติดกับกรอบหรือเป้าหมายของการประเมินที่
กำหนดไวล้ ว่ งหน้า แต่เนน้ การใหเ้ กิดการปรบั ปรุงการดำเนินงานไปพร้อมกบั การประเมินผล

จากการวิเคราะห์สถานการณ์และวัตถุประสงค์ของการดำเนินงานพบว่า งานพัฒนาพื้นที่ของ
มลู นธิ ิปดิ ทองฯเปน็ งานท่ีมีคุณลักษณะดงั กล่าว กลา่ วคอื เปน็ งานท่เี นน้ สรา้ งการเปลยี่ นแปลงให้เกิดกับพนื้ ที่
และชุมชน เป็นงานที่เน้นการพัฒนาให้เกิดการยกระดับทางเศรษฐกจิ สังคมและทรัพยากรธรรมชาตขิ อง
พื้นที่ เป็นงานที่มีพลวัตสูงเกิดการเปลย่ี นแปลงที่ควบคุมไม่ได้ จากปัจจัยภายนอกอยู่ตลอดเวลาและเป็น
การดำเนินงานที่ควบคู่ไปกับการสร้างนวัตกรรมทางสังคม (Social Innovation) ฉะนั้นจึงอาจเป็น
ประโยชน์ที่จะนำเอาหลักการสำคัญของการวัดผลและรายงานผลเพื่อการพัฒนา (Developmental
Evaluation) ไปใช้ในการออกแบบการดำเนินงานได้อย่างเหมาะสม

ฉะนั้นการติดตามและประเมินผลของกาพัฒนาพื้นที่ของมูลนิธิปิดทองฯ จึงควรออกแบบให้มี
คุณลักษณะและกรอบแนวคิดในลักษณะการประเมนิ ผลเพ่ือการพัฒนา (Developmental Evaluation)
ตามหลักการที่ได้นำเสนอนี้ จีงจะทำให้เป็นการประเมินผลทีส่ ่งเสริมการสรา้ งการเปลี่ยนแปลง และการ
พัฒนาพื้นท่ไี ด้อยา่ งเต็มท่ีและเกดิ ประสิทธิภาพสูงสดุ

โครงการพฒั นาระบบการตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผลการพัฒนาพนื้ ทต่ี ามแนวทางความคุม้ คา่ ของการจัดการงบประมาณ 179
มูลนธิ ปิ ิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

4.2 หลกั การติดตามประเมนิ ผลของมลู นธิ ิปดิ ทองหลังพระฯ

มูลนิธิปิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ โดยสถาบนั สง่ เสรมิ และพฒั นากจิ กรรมปดิ ทองหลงั
พระ สืบสานแนวพระราชดำริ มวี สิ ัยทัศน์ “เป็นองค์กรขบั เคล่ือนการพฒั นาทย่ี ่ังยืนของประเทศไทย ขยาย
ผลแนวพระราชดำริ ให้เกดิ ประโยชนท์ ยี่ ั่งยนื แก่ประชาชน” โดยมพี นั ธกจิ หลักเพือ่ “การจัดการความรแู้ ละ
การส่งเสริมการพัฒนาตามแนวพระราชดำริอยา่ งเปน็ ระบบ กว้างขวางจนเป็นแนวทางการพัฒนาหลักของ
ประเทศ” ตลอด 10 ปีที่ผ่านมาสถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระ สืบสานแนว
พระราชดำริ ดำเนนิ กิจกรรมในพืน้ ทีต่ น้ แบบ เพอ่ื พฒั นาประชาชนและชมุ ชนควบคกู่ ันไปใน 3 ดา้ น ทงั้ ดา้ น
เศรษฐกิจ ด้านสงั คม และดา้ นทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม

พฒั นาด้านสงั คม พฒั นาด้านเศรษฐกิจ

องค์ความรู้

สถาบนั สง่ เสรมิ และ ส่งเสรมิ การพัฒนาตามแนวพระราชดำริ หนว่ ยปฏิบัตงิ าน ครวั เรือนเข้าร่วมโครงการ
พฒั นากจิ กรรมปดิ ทอง ในพืน้ ทข่ี องปดิ ทองฯ

หลงั พระฯ

พฒั นาดา้ นทรัพยากรและส่งิ แวดล้อม

ระดบั ปา่ แหล่งน้ำ อาชีพ การรวมกลุ่ม การบูรณาการ การฝกึ อบรมเพ่อื พฒั นา
กองทุน การบรหิ ารจดั การ ภาคส่วนตา่ งๆ ทรพั ยากรมนษุ ย์

• ฟน้ื ฟูและ • พฒั นาและฟ้นื ฟู • สง่ เสริมให้เกดิ การ • ส่งเสริมใหช้ ุมชน • สง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ การ • แสวงหาความรว่ มมือ • พฒั นาใหช้ มุ ชนมีความ
พฒั นาเพ่ิม แหลง่ น้ำธรรมชาติ รวมกลุ่มอาชพี รจู้ กั การบริหาร วางกฎกติกาและ ระหวา่ งหน่วยงาน/ เขา้ ใจในการพฒั นา
พื้นทีป่ ่าใน • จดั ให้มกี ารบริหาร เพื่อพัฒนา จดั การการเงิน การบรหิ ารจัดการ องค์กรทง้ั ภาครัฐและ และดำเนินชีวติ อย่างมี
แหลง่ ต้นนำ้ จดั การให้เกดิ มาตรฐาน/ ร่วมกนั เพือ่ เพมิ่ กล่มุ รว่ มกนั อยา่ งมี เอกชน เพอ่ื เข้า คณุ ภาพอยา่ งย่งั ยนื
ชมุ ชน และ ประโยชนส์ งู สุด คณุ ภาพ/ปรมิ าณ ประสิทธภิ าพและ ประสทิ ธภิ าพ มาร่วมพัฒนาชมุ ชน ตามแนวทางเศรษฐกจิ

ทรัพยากร- อยา่ งท่ัวถงึ ผลผลติ และ ภูมคิ ุ้มกนั ผ่าน ในมติ ิเศรษฐกิจ สังคม พอเพียง
ธรรมชาติ การตลาดเพ่อื กลไกทางการเงิน และสงิ่ แวดลอ้ ม
ความยั่งยืน
• ส่งเสริมการบรหิ าร • สง่ เสริมการ • สง่ เสริมให้ • ส่งเสริมให้ • พัฒนาให้ประชาชนใน
จดั การนำ้ ใหเ้ กดิ ประกอบอาชีพเพอ่ื ครัวเรอื นรจู้ ักการมี ครัวเรือนรูจ้ กั การ ครวั เรือนเพิ่มทกั ษะใน
ประโยชนส์ งู สุดใน การบริโภคและ ระเบยี บในการใช้ บริหารจัดการ การประกอบอาชพี
ครวั เรอื น การอุปโภค บรโิ ภค เพ่มิ รายไดอ้ ย่าง จ่ายเงินเพอ่ื ทรพั ยากรธรรม- บริหารจัดการ

และประกอบ ย่ังยืน ประโยชน์สว่ นรวม ชาตขิ องชมุ ชน ทรพั ยากรและการเงนิ
อาชพี รว่ มกนั ตามแนวพระราชดำริ

รปู ที่ 4.2 ภารกจิ ของมลู นธิ ปิ ดิ ทองฯ ในการส่งเสรมิ และสบื สานแนวพระราชดำริในระดบั พนื้ ท่ี

กิจกรรมของสถาบันฯ จะดำเนินโครงการ/กิจกรรมการพัฒนาครัวเรือนเข้าร่วมโครงการ ตาม
นโยบาย/ยุทธศาสตร์ ผ่านหน่วยปฏิบัติงานในพื้นที่ต้นแบบ ซึ่งครอบคลุม 98 หมู่บ้านในพื้นที่ต้นแบบ

180 โครงการพัฒนาระบบการติดตาม ประเมนิ และรายงานผลการพฒั นาพน้ื ที่ตามแนวทางความคุ้มค่าของการจัดการงบประมาณ
มูลนธิ ิปดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

จงั หวดั นา่ น จงั หวัดอุดรธานี จังหวัดเพชรบุรี จงั หวดั อทุ ัยธานี จงั หวดั กาฬสินธ์ุ จังหวัดขอนแกน่ และพื้นท่ี
ต้นแบบ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ (จงั หวดั ยะลา จงั หวัดนราธวิ าส จงั หวดั ปัตตานี)

ประชาชนในพนื้ ท่ี 1 Fiscal Report
ทีไ่ ม่ได้ร่วมโครงการและไม่ไดร้ บั ประโยชน์
ประเมินและรายงานผลความค้มุ ค่าเชงิ งบประมาณ
ผรู้ บั ประโยชน์ เงินงบประมาณ (Investment) vs ผลตอบแทน (Return)
(นำ้ )
2 Wisdom Report
ผู้เขา้ ร่วมโครงการ
(ป่า+น้ำ+อาชีพ+ ประเมินและรายงานผลการพฒั นาตามแนวพระราชดำริ
ทฤษฎีใหม่
กลุ่ม)
3 Project Financing Report

ตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการดำเนนิ งานต้งั แต่ต้นจนถึง
ปจั จุบนั ของการพฒั นาโครงการ/การผลิตสนิ คา้

เกบ็ ขอ้ มลู 100% สุ่มตัวอย่าง

รปู ท่ี 4.3 ปรชั ญาของการติดตามประเมนิ ผล

แนวคิดในการติดตามประเมินผลการดำเนินงาน ที่สอดคล้องกับการพัฒนาตามแนวพระราชดำริ
ภารกจิ ของมลู นิธิปิดทองหลังพระฯ และหลักการตดิ ตามประเมินผลทส่ี ำคัญ จะวัดผลการปฏิบตั ิงานใน 3
มิติ ประกอบดว้ ย

1. การประเมินผลความคมุ้ คา่ ในการใช้จ่ายงบประมาณ (Fiscal Report)

เป็นการตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผลความคุ้มคา่ เชงิ งบประมาณ จากเงินงบประมาณที่สนบั สนุน
ผา่ นโครงการ/กจิ กรรมการพฒั นาตา่ งๆ (Investment) เทียบกับผลตอบแทนท่ีเกิดขนึ้ ในมิติตา่ งๆ (Return)
โดยมีเป้าหมายของมูลนิธิฯ เพื่อสืบสานแนวพระราชดำริให้ขยายผลสู่ชุมชน/ท้องถิ่นอย่างกวา้ งขวาง เพ่อื
จัดการความรู้ เพื่อส่งเสริมการพัฒนาอยา่ งเป็นระบบ และเพื่อบูรณาการและประสานงานกับหน่วยงาน
ต่างๆ

เปา้ หมายของมูลนิธิฯ สบื สานแนวพระราชดำริใหข้ ยายผลสูช่ มุ ชน/ทอ้ งถ่ินอยา่ งกว้างขวาง ผ่านการ
จัดการความรู้ การส่งเสริมการพัฒนาอย่างเป็นระบบ ตลอดจนบูรณาการและประสานงานกับ
หน่วยงานต่างๆ
หลักสำคญั ในการพิจารณา:
1. ประสทิ ธิผล (Effectiveness) ผลการดำเนินงานเป็นไปตามเปา้ หมายของมูลนธิ ิปดิ ทองฯ หรอื ไม่

อย่างไร

โครงการพัฒนาระบบการตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผลการพัฒนาพื้นทตี่ ามแนวทางความคมุ้ คา่ ของการจัดการงบประมาณ 181
มลู นธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

2. การประเมินผลการพฒั นาพ้ืนที่ตามแนวพระราชดำริ (Wisdom Report)

เป็นการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาตามแนวพระราชดำริในด้านเศรษฐกิจ สังคม
สง่ิ แวดล้อม และคน/ชุมชน โดยมีเปา้ หมายของมูลนธิ ิฯ เพอ่ื ให้เกิดแนวทางในการแก้ไขปญั หาและพัฒนาท่ี
สอดคล้องกับมิติการพัฒนาตามแนวพระราชดำริ

เปา้ หมายของมูลนธิ ฯิ (ระดับครวั เรือน) สนับสนนุ และส่งเสรมิ ในการแก้ไขปัญหา/พัฒนาทส่ี อดคลอ้ ง
กับมติ กิ ารพัฒนาตามแนวพระราชดำรเิ พือ่ ใหป้ ระชาชนมชี ีวิตความเป็นอยูท่ ่ดี ีขนึ้
เป้าหมายของมูลนิธิฯ (ระดับชุมชน) สนับสนุนและส่งเสริมใหเ้ กิดการพัฒนาตามแนวพระราชดำริ
เพื่อใหป้ ระชาชนมีชีวิตความเปน็ อยู่ทีด่ ขี ้ึน และส่งเสรมิ ให้เกดิ การบรู ณาการภารกจิ และกจิ กรรมของ
สถาบนั /รฐั /เอกชน/หน่วยงานตา่ งๆ
หลกั สำคัญในการพิจารณา

1. ความสำเร็จตามแนวพระราชดำริ (Relevance) ความสำเร็จสอดคล้องกับการพัฒนาตาม
แนวพระราชดำริ

2. ผลกระทบ (Impact) ผลกระทบของโครงการ/กิจกรรมที่มูลนิธิได้พัฒนาในมิติต่างๆ ทั้งใน
ระยะสั้นและระยะยาว

3. ความย่งั ยืน (Sustainability) ความยั่งยืนของโครงการ/กจิ กรรมทมี่ ูลนธิ ไิ ด้พฒั นาข้ึนในชมุ ชน
3. การประเมินและทบทวนโครงการ (Project Financing Report)

เป็นการติดตาม ประเมินและรายงานผลการดำเนินงานตั้งแต่ต้นจนถึงปัจจุบัน ของการพัฒนา
โครงการ/การผลิตสินคา้ หนึ่งๆ โดยมเี ปา้ หมายของมูลนธิ ิฯ ในระดับครวั เรือนเพ่ือสนบั สนุนและส่งเสริมใน
การแก้ไขปัญหาและพัฒนาการดำเนินงานที่สอดคล้องกับมิติการพัฒนาตามแนวพระราชดำริเพื่อให้
ประชาชนมีชีวิตความเป็นอยูท่ ีด่ ีขึน้ และระดับชุมชนเพือ่ สนับสนุนและสง่ เสริมให้เกิดการพัฒนาตามแนว
พระราชดำริเพื่อให้ประชาชนมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดขี ึน้ และเพื่อส่งเสริมให้เกิดการบูรณาการภารกจิ และ
กิจกรรมของสถาบัน/รฐั /เอกชน/หนว่ ยงานต่างๆ

เป้าหมายของมูลนิธิฯ เกิดแนวทางในการแกไ้ ขปญั หาและพัฒนาทีส่ อดคลอ้ งกับมิตกิ ารพัฒนาตาม
แนวพระราชดำริ
หลกั สำคัญในการพจิ ารณา

1. ประสทิ ธภิ าพ (Efficiency) ความคมุ้ คา่ ของโครงการ/กจิ กรรม

182 โครงการพฒั นาระบบการตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการพฒั นาพื้นที่ตามแนวทางความคุ้มคา่ ของการจดั การงบประมาณ
มูลนธิ ปิ ิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

Project Evaluation / Report

ประสทิ ธภิ าพ (Efficiency) Wisdom Evaluation / Report

ความคุ้มค่าของโครงการ/กิจกรรม § ความสำเร็จตามแนวพระราชดำริ

สถาบนั ฯ นโยบาย/ยุทธศาสตร์ หนว่ ย โครงการ/กิจกรรม (Relevance) : ความสำเรจ็ ตาม
สนับสนุนทรัพยากร ปฏิบตั ิงาน การพัฒนา แนวพระราชดำริ
ในพื้นท่ี ครวั เรือนเข้าร่วมโครงการ §ผลกระทบ (Impact) : ผลกระทบ
ของโครงการ/กจิ กรรมท่ีมูลนธิ ไิ ด้
พฒั นาในมิติต่างๆ ทั้งในระยะส้ันและ
ระยะยาว
ประสทิ ธิผล (Effectiveness) Fiscal Evaluation / Report §ความยงั่ ยืน (Sustainability) :
ผลการดำเนินงานเปน็ ไปตามเป้าหมายของมูลนธิ ฯิ
ความย่งั ยนื ของโครงการ/กิจกรรมที่
มลู นธิ ไิ ดพ้ ัฒนาขึ้นในชุมชน

รูปที่ 4.4 แนวคิดในการตดิ ตามประเมนิ ผล

มิติ : การดำเนนิ ภารกิจ 1 ระบบขอ้ มูล 2 มิติ : การขบั เคล่ือน
เพ่ือการวางแผน ตดิ ตามและ
ของมูลนิธิปิดทองฯ ประเมินผลการปฏบิ ัตงิ าน เศรษฐกิจพอเพียง

เปา้ หมายของมูลนธิ ิฯ 3 2.1 2.2
สืบสานแนวพระราชดำริใหข้ ยายผลสู่
ชุมชน/ทอ้ งถิน่ อยา่ งกวา้ งขวาง มิติ : ความสำเร็จ ระดับครวั เรือน ระดับชุมชน
Ø จดั การความรู้ ของโครงการรเิ ร่มิ
Ø ส่งเสรมิ การพัฒนาอย่างเปน็ ระบบ เป้าหมายของมลู นิธิฯ เปา้ หมายของมูลนธิ ิฯ
Ø บรู ณาการและประสานงานกบั เป้าหมายของมลู นิธิฯ Ø สนับสนนุ และส่งเสริมในการ Ø สนบั สนุนและส่งเสรมิ ให้เกดิ การ
เกดิ แนวทางในการแก้ไขปญั หาและพฒั นาท่ี
หน่วยงานต่างๆ สอดคล้องกับมิตกิ ารพัฒนาตามแนวพระราชดำริ แกไ้ ขปญั หาและพัฒนาการ พฒั นาตามแนวพระราชดำรเิ พ่ือให้
ดำเนนิ งานท่สี อดคล้องกับมติ ิ ประชาชนมีชีวิตความเปน็ อย่ทู ่ดี ีขึน้
Fiscal Report Project Financing Report การพฒั นาตามแนว Ø ส่งเสริมให้เกดิ การบรู ณาการภารกจิ
พระราชดำริเพ่ือให้ประชาชน และกิจกรรมของสถาบนั /รฐั /
มีชวี ิตความเปน็ อยู่ท่ีดขี ้ึน เอกชน/หน่วยงานต่างๆ

Wisdom Report

รูปท่ี 4.5 เปา้ หมายของมลู นิธฯิ ในการวางแผนติดตามและประเมนิ ผลการดำเนนิ งานใน 3 มติ ิ

1 2 3

มิติ : การดำเนนิ ภารกิจของมลู นธิ ปิ ิดทองฯ มติ ิ : การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพยี ง มติ ิ : ความสำเร็จของโครงการริเร่มิ

[ข้อมลู การดำเนนิ งานของมลู นิธ]ิ 2.1 2.2 [ขอ้ มลู โครงการ]

งบประมาณ ผลการดำเนนิ งาน ระดบั ครัวเรือน ระดบั ชุมชน กลุ่มเป้าหมาย ผลผลิต
Ø งบบุคลากร Ø ส่วนกลาง [ขอ้ มลู ระดับครวั เรอื น] [ขอ้ มลู ระดับชมุ ชน] Ø ผ้เู ขา้ ร่วม Ø วัตถดุ ิบ
Ø งบดำเนินงาน Ø พืน้ ที่ Ø ทรัพยากรธรรมชาติ Ø กล่มุ Ø ปรมิ าณ
Ø งบอุดหนุน Ø เกษตรกรมีผลผลลิต Ø ครัวเรอื นอยรู่ อด Ø ตลาด
พอกินตลอดปี พอเพียง ยั่งยนื
กิจกรรมใน Ø อาชพี ทสี่ รา้ งรายได้ การเงนิ
พน้ื ที่ Ø การรวมกลมุ่ Ø ทรัพยากรธรรมชาติ Ø เงินลงทุน
Ø หน้ีสิน Ø พน้ื ที่การเกษตร/เกษตร Ø รายได้
Ø รายไดต้ อ่ ปี พ้นเสน้ Ø ผลตอบแทน IRR (%)
ความยากจน ชลประทาน
Ø การฝกึ อบรม/การ Ø อาชพี ท่สี รา้ งรายได้
เรียนรู้ Ø รายได้
Ø หน้ีสิน
Ø การรวมกลมุ่

รปู ที่ 4.6 ระบบข้อมลู เพอ่ื การวางแผน ตดิ ตามและประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิงาน (3 มติ ิ) 183

โครงการพฒั นาระบบการตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผลการพัฒนาพื้นทตี่ ามแนวทางความคมุ้ ค่าของการจัดการงบประมาณ
มลู นธิ ปิ ิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

4.3 การประเมินผลความคมุ้ ค่าในการใชจ้ า่ ยงบประมาณ (Fiscal Report)

ในกรอบการประเมินผลความคุ้มค่าในการใช้จ่ายงบประมาณ (Fiscal Report) นั้น จะให้
ความสำคัญกับการวัดผลประสิทธิผล (Effectiveness) ซึ่งก็คือผลการดำเนินงานที่เกิดขึ้นว่าเป็นไปตาม
เปา้ หมายของมูลนิธิฯ หรอื ไม่ มคี วามคุ้มค่าในเชิงงบประมาณหรือไม่ โดยจะวดั ผลทีเ่ กดิ ขึน้ จากการดำเนิน
กจิ กรรมทัง้ จากทส่ี ่วนกลางและสว่ นพืน้ ทใ่ี นการพฒั นา/สง่ เสรมิ ในพื้นท่ี รวมท้ังผลที่เกิดข้นึ จากการดำเนิน
กิจกรรมอ่ืนๆ ตามเป้าหมายของสถาบนั ฯ ด้วยเช่นกนั

ผลผลติ ของกจิ กรรมที่สว่ นกลางลงไปพัฒนา/สง่ เสรมิ ในระดับพน้ื ที่

ส่วนกลาง ส่งเสริม/สนับสนนุ ส่วนพืน้ ที่ สง่ เสริม/สนบั สนนุ ผลลพั ธ/์ ผลกระทบ
----------------- โครงการ/กิจกรรม ----------------- โครงการ/กจิ กรรม จากการส่งเสริม
งบประมาณในระดับพ้ืนที่ งบประมาณในระดับ และพัฒนา
มูลนิธิปดิ ทองฯ มลู นิธิปิดทองฯ โครงการ/กิจกรรม ครัวเรอื นเข้าร่วมโครงการ
ผลลพั ธ/์ ผลกระทบ
งบประมาณสว่ นกลาง ของกิจกรรมท่ีไดร้ ับ
การสง่ เสริมและพฒั นา
ผลผลติ ของกิจกรรมท่ีถูกพฒั นา (Wisdom Report)
เชน่ จำนวนครวั เรือนท่ีเข้าร่วม อาชีพท่เี พ่ิมขึน้
รายไดช้ ุมชนท่เี พิ่มข้ึน ปรมิ าณผลผลิตท่ีเพิม่ ข้นึ

รปู ท่ี 4.7 การประเมนิ ผลความคมุ้ ค่าในการใชจ้ ่ายงบประมาณ (Fiscal Report)

ส่วนกลาง กิจกรรมและงบประมาณ งปม. ร§วมผลงาน
ที่ใช้ในการบริหารจดั การ
§
§

ระดับพืน้ ท่ีโครงการ/กิจกรรม โครงการ/กจิ กรรมท่สี ่วนกลางลงไปส่งเสรมิ และ
ทีพ่ ้ืนทีส่ ่งเสริมและพัฒนา พัฒนาในระดบั พ้นื ท/่ี แต่ละมติ ิโดยตรง

กิจกรรมและ ผลผลติ ของโครงการ/กจิ กรรม กจิ กรรมและ ผลผลิตของโครงการ/กจิ กรรม
งบประมาณทีใ่ ช้ งบประมาณทใ่ี ชใ้ น
ในการปฏบิ ตั งิ าน งปม. ผลงาน งปม. ผลงาน
ในแต่ละโครงการ/ การปฏิบัตงิ าน
ในแตล่ ะพ้ืนที่ § ในแตล่ ะ §
กิจกรรม ภารกิจของ §
§ สว่ นกลาง §

§ 28

รปู ท่ี 4.8 โครงสรา้ งของ Fiscal Report

ในการรายงานผลความค้มุ ค่าในการปฏบิ ัติงานของมลู นิธิปดิ ทองฯ จะยดึ การรายงานผลการพัฒนา
พื้นที่ใน 3 ส่วนหลักท่ีได้ปฏิบัติจริงในพื้นที่ คือ การพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ผ่านการ

พัฒนาเร่ืองน้ำและปา่ การพัฒนาเศรษฐกิจ ผา่ นการส่งเสริมอาชพี เกษตร โครงสรา้ งพ้ืนฐานดา้ นอาชีพเพื่อ

184 โครงการพฒั นาระบบการตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพื้นท่ีตามแนวทางความคุ้มค่าของการจัดการงบประมาณ
มูลนิธปิ ดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

บรกิ ารชมุ ชน และรายได้ และสว่ นทส่ี ำคญั ท่สี ุดคอื การพัฒนาคน ผ่านการฝกึ อบรม การใหอ้ งค์ความรู้ การ
รวมกล่มุ

อาชีพเกษตร

การพัฒนาทรพั ยากรธรรมชาติ นำ้ รายไดG การพัฒนาเศรษฐกิจ
และสงิ่ แวดลอG ม

การบรู ณาการ

ป@า การปฏบิ ตั ิงานของมลู นิธปิ 2ดทองฯ โครงสราG งพ้ืนฐานดาG นอาชีพ
เพ่ือบริการชมุ ชน

องคSความรูG การรวมกลุ=ม

การฝ;กอบรม ครัวเรอื นเข้ารว่ มโครงการ

การพัฒนาคน

รูปท่ี 4.9 องคป์ ระกอบการรายงานผลความคมุ้ คา่ ในการปฏิบัติงานของมลู นิธปิ ดิ ทองฯ (Fiscal Report)

เคร่ืองมอื การติดตามและการประเมินผลความคมุ้ ค่าในการใชจ้ ่ายงบประมาณ (Fiscal Report) จะ
เน้นวัดผลความคุ้มค่าเชิงงบประมาณ จากงบประมาณเทียบกับผลตอบแทนที่เกิดขึ้น โดยใช้เกณฑ์

Benefit/Cost ratio (B/C ratio) เพื่อสะท้อนความคุ้มค่าเชิงงบประมาณท่ีเกิดขึ้น ทั้งนีผ้ ลการประเมินจะ

เปน็ การประมวลผลการดำเนนิ งานของสว่ นกลางและพ้นื ที่ตน้ แบบตา่ งๆ ที่ได้รบั มาจากการประเมินผลการ

พัฒนาพื้นที่ตามแนวพระราชดำริ (Wisdom Report) และการประเมินและทบทวนโครงการ (Project
Report) โดยสรุปผลการประเมินความคุ้มค่าเชิงงบประมาณ โดยมีรายละเอียดเพิ่เมตมิ ทั้งวัตถุประสงค์

แนวทางการประเมิน และแบบฟอร์มการประเมินในรายงานเลม่ ท่ี 2 คู่มอื การติดตามประเมินผล

การประเมนิ ผลความคมุ้ คา่ เชิงงบประมาณ จะแบ่งเป็น 5 ส่วน ประกอบด้วย

ส่วนที่ 1 ข้อมลู ครัวเรอื นในพนื้ ที่ตน้ แบบ

เพื่อตรวจสอบข้อมูลครัวเรือนในพื้นที่ต้นแบบ และวิเคราะห์สถานภาพของครัวเรือนที่เข้าร่วม
โครงการ และพน้ื ทีเ่ กษตรของครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการ ตลอดจนงบประมาณที่จดั สรรลงในพื้นที่
ต้นแบบเพ่อื ดำเนินกิจกรรมตา่ ง ๆ

ส่วนที่ 2 การพฒั นาทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม

เพื่อวิเคราะห์และประเมินผลความคุ้มค่าในการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

โดยเฉพาะทรพั ยากรแหล่งน้ำ เช่น การกกั เกบ็ น้ำ พืน้ ที่เกษตรที่รับประโยชน์ และครัวเรือนที่ได้รับ

ประโยชน์ ตลอดจนทรัพยากรปา่ ในพ้นื ที่ตน้ แบบ

โครงการพฒั นาระบบการติดตาม ประเมนิ และรายงานผลการพัฒนาพ้ืนทต่ี ามแนวทางความคุ้มคา่ ของการจดั การงบประมาณ 185
มูลนธิ ปิ ิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

สว่ นที่ 3 การพัฒนาเศรษฐกจิ

เพ่อื วเิ คราะหแ์ ละประเมนิ ผลความค้มุ คา่ ในการพฒั นาเศรษฐกิจ ซงึ่ เกดิ จากการพัฒนาของมูลนธิ ิปิด
ทองหลงั พระฯ โดยเฉพาะประเดน็ ท่ีเกี่ยวกบั รายได้ครัวเรือน การส่งเสรมิ อาชีพตา่ ง ๆ การก่อสร้าง
โครงสรา้ งพืน้ ฐานด้านอาชพี เพื่อบรกิ ารชมุ ชน และการพัฒนามาตรฐานผลติ ภัณฑ์

สว่ นที่ 4 การพัฒนาคน

เพื่อวิเคราะห์และประเมินผลความคุ้มค่าในการพัฒนาคนด้านต่าง ๆ ซึ่งเกิดจากการพัฒนาของ
มลู นิธิปิดทองหลังพระฯ ไดแ้ ก่ การรวมกล่มุ ของสมาชิกกลุม่ ต่าง ๆ การฝึกอบรมคนท้ังในพื้นท่ีและ
นอกพนื้ ท่ี ตลอดจนการตรวจสอบองคค์ วามรู้

สว่ นที่ 5 การบรู ณาการในการดำเนนิ โครงการรว่ มกันกบั ภาคสว่ นต่างๆ

เพอื่ วิเคราะห์และประเมนิ ผลความคมุ้ ค่าในการบรู ณาการในการดำเนนิ โครงการร่วมกนั กบั ภาคส่วน
ตา่ งๆ ไดแ้ ก่ ภาคเอกชน ภาครฐั ภาคการศึกษา และมลู นธิ ิ/องค์กรไมแ่ สวงหากำไร เป็นต้น ซ่ึงต้อง
พจิ ารณาถึงความรว่ มมือท่ีเกดิ ข้ึนเปน็ รปู ธรรมอยา่ งต่อเน่อื ง

การประเมินผลความคุ้มค่าในการใชจ้ ่ายงบประมาณ (Fiscal Report) สามารถประเมนิ ไดท้ ง้ั ในสว่ น
ของส่วนของพื้นที่ ส่วนกลางและภาพรวมองค์กร โดยวัดผลและรายงานผลความคุ้มค่าในการใช้จ่าย
งบประมาณ ผ่านตัวชี้วัดสัดส่วนผลที่ได้รับต่องบประมาณ (Benefit to Cost ratio : B/C ratio) เพื่อ
สะท้อนความคุ้มค่าของงบประมาณท่ีสนบั สนุนเทียบกอ่ ให้เกิดผลตอบแทนท่ีได้รบั กเ่ี ทา่ สามารถสรุปการ
รายงานผลความคุม้ คา่ ในการใชจ้ า่ ยงบประมาณ

186 โครงการพัฒนาระบบการติดตาม ประเมนิ และรายงานผลการพัฒนาพน้ื ทตี่ ามแนวทางความคุ้มคา่ ของการจัดการงบประมาณ
มูลนธิ ิปดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

รูปท่ี 4.10 ตวั อย่างการรายงานผลการปฏบิ ัติงานของมลู นิธปิ ิดทองฯ

4.4 การประเมินผลการพัฒนาพน้ื ทต่ี ามแนวพระราชดำริ (Wisdom Report)

การติดตามและประเมินผลการพัฒนาตามแนวพระราชดำริ (Wisdom Report) จะประเมินและ

รายงานผลการพฒั นาในด้านต่างๆ ทั้งในระดับครวั เรือนและระดบั ชุมชนใน 5 เร่อื ง ประกอบดว้ ย (1) การ

บรหิ ารจัดการนำ้ ให้มีใช้ตลอดปี (2) เกษตรกรมีปริมาณผลผลติ พอกนิ ตลอดปี (3) อาชีพหลัก 2 อาชีพขึ้น
ไป (4) รายได้เพยี งพอและสมำ่ เสมอ และหน้ีสนิ ลดลง และ (5) เศรษฐกิจท่ียง่ั ยนื ของชุมชน ดงั นี้

1. การบริหารจัดการนำ้ ใหม้ ีใช้ตลอดปี

เพ่อื สรา้ งความมน่ั คงพน้ื ฐานในการดำรงชวี ิตให้กบั ประชาชน ว่าจะมีนำ้ ใชเ้ พียงพอต่อการอปุ โภค

บริโภค ตลอดจนเพื่อให้ทราบสถานการณ์น้ำที่ครัวเรือนมีใช้ในการประกอบอาชีพว่าเพียงพอ
ตลอดปหี รือไม่ อนั จะนำไปสู่การวางแผนในการเพ่ิมปริมาณนำ้ เพ่อื การประกอบอาชีพ และ/หรอื

การปรับแผนการประกอบอาชีพให้สอดคลอ้ งกบั จำนวนเดือนที่มีน้ำในการประกอบอาชีพตอ่ ไป

° นำ้ อุปโภคบรโิ ภค “จำนวนเดอื นท่ีมีนำ้ อุปโภคบริโภค (เดอื น/ป)ี ”

โครงการพัฒนาระบบการตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผลการพัฒนาพืน้ ทตี่ ามแนวทางความค้มุ คา่ ของการจดั การงบประมาณ 187
มลู นิธิปิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

° นำ้ เพอ่ื การประกอบอาชพี “จำนวนเดือนทีม่ นี ำ้ เพอื่ การประกอบอาชีพ (เดอื น/ปี)”

ตัวอย่างแนวพระราชดำริท่เี ก่ยี วขอ้ ง
ระบบชลประทาน

• การบริหารให้มนี ้ำใชอ้ ยา่ งเพยี งพอ เพื่อการเกษตรกรรม อตุ สาหกรรม และการบรโิ ภค
• การทำบ่อน้ำเพ่ือเก็บนำ้ ไว้ใชใ้ นแปลงเกษตร
• ความขยนั และมีความรู้ในการจัดการ
• การพัฒนาใหม้ ีแหลง่ นำ้ สำรองซ่ึงตอ้ งควบคุมท้ังปรมิ าณและคณุ ภาพ เพ่อื ใชต้ ลอดปี
• การพฒั นาอา่ งเก็บนำ้ ใหญ่ เพอื่ เติมอา่ งเก็บนำ้ ขนาดเล็ก
การใช้ประโยชน์
• การรวมกล่มุ เพอื่ การบรหิ ารจัดการน้ำและการใชป้ ระโยชนร์ ่วมกนั
• ความสามัคคี ความร่วมมือกันและการแบง่ สว่ นงานในการจดั การนำ้
การบำรงุ รกั ษา
• การทำใหน้ ้ำในพ้นื ทเี่ ป้าหมายเพม่ิ มากขึ้น โดยการปลกู ตน้ ไม้ ซง่ึ จะชว่ ยบรรเทาปัญหา

ขาดแคลนน้ำ

2. เกษตรมปี ริมาณผลผลติ พอกินตลอดปี “สัดส่วนผลผลิตทพ่ี อกินตลอดปี (ร้อยละ)”

เพื่อสร้างความมั่นคงพื้นฐานในการดำรงชีวิตให้กับประชาชน ว่าครัวเรือนจะมีผลผลิตทาง
การเกษตรเพียงพอตอ่ การบริโภค อันจะเปน็ การสร้างภูมิคุม้ กนั ทางอาหารใหก้ ับประชาชน หาก
เกิดเหตกุ ารณ์ไมค่ าดคดิ เช่น ตกงานกะทนั หัน ราคาผลผลิตทางการเกษตรตกต่ำ โรคระบาดหรอื
ปดิ เมือง ประชาชนก็ยังสามารถมีผลผลิตเพียงพอต่อการดำรงชพี ได้

° เกษตรมีปรมิ าณผลผลติ พอกนิ ตลอดปี “สัดส่วนผลผลติ ท่พี อกินตลอดปี (ร้อยละ)”

ตวั อย่างแนวพระราชดำริทเี่ กย่ี วขอ้ ง
• ทำตามลำดบั ข้ัน
• สรา้ งพน้ื ฐาน ความพอมี พอกนิ พอใช้ ของประชาชนสว่ นใหญก่ ่อน

188 โครงการพฒั นาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพฒั นาพ้นื ทีต่ ามแนวทางความคมุ้ ค่าของการจดั การงบประมาณ
มูลนธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

รายการการกำหนดตัวชว้ี ัด “เกษตรกรมผี ลผลิตพอกินตลอดป”ี
พอกนิ ลำดับ คิดเปน็ % ค่าน้ำหนกั
(เดอื น) ความสำคัญ (เดอื น/12) (%)
1. ข้าว
2. พชื /ผัก รวม
3. ผลไม้
4. เน้อื สตั ว์
5. ไขไ่ ก่

รูปที่ 4.11 กรอบการพจิ ารณาปริมาณผลผลิตพอกินตลอดปี

รายการ การกำหนดตัวชีว้ ัด รวม ผ่านเกณฑ์ 75%
1. ขา้ ว เกษตรกรมผี ลผลติ พอกนิ ตลอดปี (%) ผา่ น ไมผ่ า่ น
2. พชื /ผกั พอกิน คิดเปน็ % ค่าน้ำหนัก 40.0% ผ่าน -
3. ผลไม้ (เดอื น) (เดอื น/12) (%) 15.0% ผา่ น -
4. เน้อื สัตว์ 12 100% 40% 3.3% - ไม่ผา่ น
5. ไขไ่ ก่ 12 100% 15% 12.5% - ไมผ่ า่ น
4 33% 10% 10.0% ผ่าน -
6 50% 25% 80.8%
12 100% 10% ผ่าน

รวม 100%

“เกษตรกรจะอยู่รอดไดเ้ มอ่ื ภาพรวมผลผลติ มีพอกนิ ตลอดปี มากกว่า 75%”

รปู ที่ 4.12 ตัวอย่างการพจิ ารณาปรมิ าณผลผลติ พอกินตลอดปี

3. อาชีพหลัก 2 อาชีพข้ึนไป

เพื่อให้มั่นใจว่าประชาชนจะมีหลายอาชีพ (อย่างน้อย 2 อาชีพ) มีรายได้หลายทาง อาจสร้าง

รายได้ไมส่ งู แตค่ ่อนข้างสม่ำเสมอ ลดความเสี่ยงจากการพ่ึงพาพืชเชิงเดี่ยว มรี ายจา่ ยไมส่ งู ลงทุน

ไม่มาก ไมเ่ ป็นหนี้ และได้อยู่กับครอบครวั อันจะเป็นผลให้เกดิ ภมู คิ ้มุ กันตามแนวพระราชดำริให้
สามารถรองรบั การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกจิ ทีม่ พี ลวัตได้

° อาชีพหลกั ท่สี รา้ งรายได้ “จำนวนอาชีพทีส่ ร้างรายได้ (อาชพี )”

ตัวอย่างแนวพระราชดำริที่เกีย่ วข้อง
การวิจยั /จัดหาพันธ์ุ - พันธ์ุทีด่ ีสำหรับการเพาะปลูก
เทคนิคการเพาะปลกู - วิชาการดา้ นต่าง ๆ และต้องมคี วามรู้ในประกอบอาชีพเกษตรที่อาศยั

การพ่ึงพาธรรมชาติ/ความรปู้ รบั ปรงุ ดัดแปลงธรรมชาติ

โครงการพฒั นาระบบการตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพนื้ ทต่ี ามแนวทางความคุ้มค่าของการจัดการงบประมาณ 189
มลู นิธปิ ิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

การตลาด` - ผลผลิตมีคณุ ภาพและจำนวนสม่ำเสมอ
- การแปรรูป หรือแปรสภาพวตั ถดุ ิบเป็นสินคา้

- ความอดทนและมีวนิ ัย

- ความสามัคคใี นหม่คู ณะ

- ความรดู้ า้ นการขาย/การตลาด
- การใชค้ วามรูห้ รือการหาความรู้เพื่อสรา้ งมูลค่าเพ่ิมใหก้ ับผลติ ภณั ฑ์

4. รายไดเ้ พียงพอและสมำ่ เสมอ และหน้สี นิ ลดลง

เพ่ือใหม้ ีรายได้ที่สม่ำเสมอ มคี วามม่ันคง เพียงพอต่อการดำรงชพี รวมทัง้ เพอื่ วเิ คราะหห์ นี้สนิ ของ

ครัวเรือนว่ามีหนี้สินมากน้อยเพียงใด สัมพันธ์กับรายได้อย่างไร โดยแยกหนี้สินที่เกิดจาการ
บริโภคและหน้สี นิ ทเ่ี กดิ จากการลงทนุ

° รายได้ครัวเรอื น “จำนวนเดอื นท่ีมีรายได้ (เดือน/ปี)”

° สัดสว่ นหน้สี นิ ครัวเรือน “สดั สว่ นหน้สี นิ รวมต่อรายได้ (ร้อยละ)”

“สดั สว่ นหน้สี นิ ที่เกิดจากการบริโภคตอ่ หนีส้ ินทัง้ หมด (รอ้ ยละ)”

“สัดส่วนหนสี้ นิ ทเี่ กดิ จากการลงทุนตอ่ หน้ีสนิ ทงั้ หมด (ร้อยละ)”

ตัวอยา่ งแนวพระราชดำริทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง
• สนบั สนุนประชาชนในการประกอบอาชพี และต้งั ตวั ให้มคี วามพอกินพอใชก้ อ่ นอื่น เป็น
พืน้ ฐาน
• มรี ายได้เพียงพอต่อการทำการเกษตร
• มีแหล่งจำหน่ายผลผลิตรองรับใหเ้ กษตรกร

• ทำนาและปลูกพืชหลังนา เพ่ือเพิ่มรายไดแ้ ละปรบั ปรงุ ดนิ สำหรับจะทำนาในฤดูตอ่ ไป

5. ธรุ กจิ ท่ยี ั่งยืนของชมุ ชน

เพอื่ สรา้ งความม่ันใจว่าประชาชน/ชุมชนมีความย่ังยืน สามารถดำเนินการและดำเนินธุรกิจของ
กลมุ่ ไดอ้ ยา่ งต่อเนอื่ งและม่นั คง

° ธุรกิจทยี่ ่ังยนื ของชมุ ชน
“สรา้ งรายได้อยา่ งต่อเนื่อง”
“ดำเนนิ ธุรกจิ โดยชมุ ชน/มชี ุมชนเปน็ เจ้าของ”
“ดำเนินธรุ กจิ เองไดแ้ มไ้ มไ่ ด้รับการอดุ หนนุ จากหนว่ ยงานภายนอก”

ตวั อย่างแนวพระราชดำริทเ่ี กยี่ วขอ้ ง
• ธรุ กจิ เปน็ ส่วนหน่งึ ของชุมชน

190 โครงการพฒั นาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพืน้ ท่ตี ามแนวทางความค้มุ คา่ ของการจัดการงบประมาณ
มลู นิธิปดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

• การทํางานร่วมกัน การบริหารจัดการที่จะเป็นรากฐานที่ดีของระบอบประชาธิปไตย
สอนให้คนรู้จักรับผิดชอบร่วมกัน ให้มีการเลือกตัวแทนเข้าไปบริหาร ตลอดจนให้รู้ถงึ
คุณคา่ ของประโยชน์อนั จะไดร้ ว่ มกนั เปน็ สว่ นรวม

• ความเสียสละ ซอื่ สตั ย์ โปร่งใส

และท้ายสดุ จากการสำรวจและวิเคราะห์ข้อมูลครวั เรือนตามตัวชี้วัดท้ัง 5 ข้อ จะให้ทราบว่าแต่ละ

ครัวเรือนอยูใ่ นสถานะ “อยู่ไมร่ อด” “อยรู่ อด” “พอเพยี ง” หรือ “ยงั่ ยืน” เป็นจำนวนก่ีครัวเรือน คิดเป็น

สดั ส่วนเท่าใด ข้อมูลนี้จะทำให้ทราบสถานะของท้งั พื้นท่ีตน้ แบบได้เช่นกันว่า “อยูไ่ ม่รอด” กี่ครัวเรือน คิด

เป็นร้อยละเท่าใด และ “อยู่รอด-พอเพียง-ยั่งยืน” กี่ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละเท่าใด โดยข้อมูลเหล่าน้ีจะ

เป็นประโยชน์อย่างมากต่อการบริหารจัดการและวางแผนการส่งเสริมรายครัวเรือนได้ตรงจุดและมี

ประสทิ ธภิ าพยิง่ ข้ึน

ตวั ชีว้ ัดผลการพฒั นาตามแนวพระราชดำริ ขน้ั ท่ี 1 ขน้ั ที่ 2 ข้นั ท่ี 3

อยรู่ อด พอเพียง ยง่ั ยืน

1. การบรหิ ารจัดการน้ำ ให้มใี ช้ตลอดปี üüü

2. เกษตรกรมีปรมิ าณผลผลติ พอกนิ ตลอดปี üüü

3. อาชีพหลกั 2 อาชพี ข้นึ ไป üü

4. รายไดเ้ พียงพอและสม่ำเสมอ และหนสี้ นิ ลดลง üü

5. ธรุ กจิ ทีย่ ั่งยืนของชุมชน ü

(ตวั อย'าง) สรุปสถานะครวั เรือน ภาพรวม

… ครัวเรือน อยรู่ อด ..%
(..%) และสงู กกว่า
อยไู่ มร่ อด ..%
… ครวั เรือน … ครวั เรือน … ครัวเรือน
(..%) (..%) (..%)

อยไู่ มร่ อด อยู่รอด พอเพยี ง ยง่ั ยนื

รปู ท่ี 4.13 สรุปสถานะครวั เรอื น 191

โครงการพัฒนาระบบการตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพื้นทต่ี ามแนวทางความคุ้มค่าของการจัดการงบประมาณ
มูลนิธิปดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

นอกจากนี้ คณะที่ปรึกษาฯ ออกแบบรูปแบบการรายงานผลการพัฒนาพื้นท่ีตามแนวพระราชดำริ
ตามตวั ชว้ี ดั ข้างตน้ โดยมตี ัวอยา่ งขอ้ มูลและรูปแบบการรายงานผลดงั ตอ่ ไปน้ี

รูปที่ 4.14 ตวั อยา่ งการรายงานผลการพฒั นาพ้ืนท่ีตามแนวพระราชดำริ (การบรหิ ารจัดการน้ำ)
รูปท่ี 4.15 ตัวอย่างการรายงานผลการพฒั นาพ้นื ทต่ี ามแนวพระราชดำริ (เกษตรกรมีผลผลิตพอกนิ ตลอดปี)

รปู ท่ี 4.16 ตวั อยา่ งการรายงานผลการพฒั นาพ้นื ที่ตามแนวพระราชดำริ (อาชีพหลัก)

รปู ท่ี 4.17 ตวั อย่างการรายงานผลการพฒั นาพ้นื ท่ีตามแนวพระราชดำริ (รายไดเ้ พียงพอและสม่ำเสมอ)

192 โครงการพัฒนาระบบการตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผลการพฒั นาพนื้ ท่ตี ามแนวทางความคุม้ ค่าของการจัดการงบประมาณ
มูลนธิ ิปิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

รปู ท่ี 4.18 ตัวอย่างการรายงานผลการพฒั นาพน้ื ท่ีตามแนวพระราชดำริ (หนสี้ ินครวั เรือน)

4.5 การประเมนิ และทบทวนโครงการ (Project Financing Report)

การประเมินและรายงานผลความสำเร็จของการพัฒนาโครงการของมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ
ครอบคลุมขอบเขตของโครงการ/กิจกรรมต่าง ๆ ซึ่งมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ ริเริ่มและดำเนินการอย่าง
ต่อเนื่อง เพื่อพัฒนาพื้นที่ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงให้เกิดผลสัมฤทธิ์อย่างเป็นรูปธรรม อันจะ
นำไปสู่ความอยู่ดีมีสุขของประชาชนในทุกพื้นที่อย่างยั่งยืน ทั้งนี้ การประเมินจะครอบคลุมถึง ผลลัพธ์
ผลผลิต ประสิทธิผล และประสิทธิภาพจากการดำเนินโครงการ/กิจกรรมในพื้นท่ีโดยมูลนิธิปิดทอง
หลังพระฯ รูปแสดงถึงภาพรวมและความสัมพันธ์ของการประเมินและรายงานผลความสำเร็จของการ
พฒั นา ซ่ึงเรม่ิ จากหน่วยปฏบิ ัติงานในพื้นทีใ่ หก้ ารสนับสนนุ ทรพั ยากร เพ่ือดำเนนิ โครงการ/กิจกรรมในพ้นื ท่ี
ในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อการพฒั นาในมิติเศรษฐกิจ สงั คม และธรรมชาติ/สิ่งแวดลอ้ มของแต่ละพืน้ ที่ ทงั้ น้ี แต่
ละพื้นที่จะมีจำนวนครัวเรอื นเข้าร่วมโครงการ/กิจกรรมแตกต่างกันไปตามความพร้อมของแต่ละพื้นที่ จึง
ต้องติดตามความสำเรจ็ ของโครงการ/กจิ กรรมทดี่ ำเนินการในแต่ละพืน้ ท่วี ่ากอ่ ให้เกดิ ผลผลิตอย่างไร และ
นำไปสูผ่ ลลัพธใ์ นแตล่ ะพ้นื ท่อี ย่างไร

โครงการพัฒนาระบบการติดตาม ประเมนิ และรายงานผลการพัฒนาพน้ื ทต่ี ามแนวทางความค้มุ คา่ ของการจดั การงบประมาณ 193
มูลนธิ ิปดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

ประสทิ ธิภาพ (Efficiency) ผลลัพธ์ (Results)

ของการใช้จ่ายงบประมาณ ผลลพั ธ์ของการดําเนินโครงการ/กิจกรรม

หนว่ ย สนับสนุน โครงการ/กิจกรรม ผลผลติ /ผลลัพธ์
ปฏิบตั ิงาน ทรพั ยากร เพอื่ การพฒั นาในมติ ิ ของการดําเนิน
ในพืน้ ท่ี เศรษฐกิจ สงั คมและ โครงการ/กิจกรรม
ทรพั ยากรธรรมชาต/ิ
ครัวเรือนเข้าร่วม
สง่ิ แวดล้อม ในแตล่ ะโครงการ/กิจกรรม

ประสทิ ธผิ ล (Effectiveness)

ผลสาํ เร็จของการดาํ เนนิ งานพฒั นาในพื้นท่ตี ามเปา้ หมาย

รปู ที่ 4.19 การประเมินและรายงานผลความสำเรจ็ ของการพฒั นาโครงการ/กจิ กรรมในพ้นื ท่ี
Project Financing Evaluation and Report

การดำเนนิ โครงการ/กจิ กรรมในพ้ืนทขี่ องมลู นธิ ปิ ิดทองหลังพระฯ ส่งเสรมิ ให้เกดิ การพัฒนาเชิงพนื้ ท่ี
ในมิตสิ ำคัญไดแ้ ก่ มติ ิเศรษฐกจิ มิตสิ งั คม และมติ ิธรรมชาติ/สิง่ แวดลอ้ ม จึงกำหนดขอบเขตการประเมินให้
ครอบคลมุ ทง้ั 3 มติ ดิ งั กลา่ ว อกี ทง้ั มูลนิธิปดิ ทองหลงั พระฯ ไดด้ ำเนินโครงการ/กจิ กรรมมาอย่างตอ่ เนือ่ งซึ่ง
แต่ละโครงการ/กจิ กรรมมลี กั ษณะการลงทนุ เพือ่ การพฒั นาแตกต่างกนั เชน่ (1) โครงการ/กจิ กรรมเสร็จสน้ิ
การสนับสนุนและไม่มีการลงทุนเพิ่มเติม (2) โครงการ/กิจกรรมอยู่ในระหว่างการพัฒนาและยังคงมีการ
ลงทุนเพิ่มเติมและ (3) โครงการ/กิจกรรมเรม่ิ การพัฒนาและมกี ารลงทุน ท้งั นี้ แตล่ ะโครงการ/กจิ กรรมจึงมี
จดุ เน้นการตดิ ตามประเมินผลทแี่ ตกต่างกนั ตามชว่ งเวลาและลักษณะการลงทุนพัฒนา

หน่วย มติ ิประเภทของโครงการ/กิจกรรม
ปฏิบัติงาน
ในพืน้ ท่ี เศรษฐกิจ สงั คม ทรพั ยากรธรรมชาติ จดุ เนน้ ของ
และส่ิงแวดล้อม การติดตามประเมนิ ผล

มิติ เสรจ็ สิ้นการสนบั สนุน/ไม่ เนน้ การติดตามดูความยัง่ ยืน ผลลัพธ์
ช่วงเวลา มีการลงทุนเพมิ่ เตมิ ผลกระทบท่ีเกดิ จากโครงการ/กจิ กรรม

และ อยใู่ นระหวา่ งการพัฒนา/ เน้นการติดตามดูความก้าวหน้า ผลผลติ
การลงทนุ ยงั คงมกี ารลงทนุ เพ่ิมเติม ผลลัพธ์ และการบริหารจดั การ
พัฒนา กระบวนการผลติ ของชุมชน
เรม่ิ การพฒั นา/
มีการลงทนุ เน้นการตดิ ตามดูความก้าวหนา้ และการ
บริหารจัดการกระบวนการผลิตของชุมชน

รปู ที่ 4.20 มติ ขิ องการตดิ ตามและประเมินผลการพัฒนาโครงการ/กจิ กรรมในพน้ื ท่ี

พบว่ามากกว่า 95% ของโครงการ/กิจกรรมในพ้ืนที่ที่ขบั เคลื่อนโดยมูลนิธปิ ิดทองฯ จะครอบคลมุ
โครงการ/กิจกรรม 4 ประเภท ประกอบด้วย (1) การส่งเสรมิ อาชีพ (2) การพฒั นาแหลง่ น้ำ/ระบบกระจาย
น้ำส่แู ปลงเกษตร (3) การฟนื้ ฟแู ละอนุรักษ์ป่า และ (4) การจดั การองคค์ วามรู้

194 โครงการพัฒนาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพืน้ ที่ตามแนวทางความคุ้มค่าของการจัดการงบประมาณ
มูลนธิ ิปดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

โดยทวั่ ไปในทกุ โครงการ/กจิ กรรมของมลู นิธปิ ดิ ทองฯ จะเป็น “การพฒั นาแบบองคร์ วม” กล่าวคือ
โครงการพัฒนานั้น ไม่ว่าจะเป็นโครงการที่เกี่ยวข้องกับน้ำ ป่า อาชีพหรือองค์ความรู้ จะมีกิจกรรมที่

ครอบคลมุ ใน 4 มิติ คือ มติ ิเศรษฐกจิ มิตสิ ังคม มิตทิ รัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม และมิติบูรณาการ

ภาคส่วนต่างๆ ควบคูก่ นั ไป

4 มิติการพัฒนา โครงการมูลนธิ ปิ ดิ ทองฯ

“องค์ประกอบของโครงการ” ปา่ น้ำ อาชีพ องคค์ วามรู้

มติ เิ ศรษฐกจิ

อาชีพ การตลาด
โครงสร้างพืน้ ฐาน

มิตสิ ังคม

การรวมกลมุ่ การฝกึ อบรม
การพฒั นา/ต่อยอดองคค์ วามรใู้ หม่

มติ ิทรัพยากรธรรมชาต/ิ สิง่ แวดล้อม

ดิน น้ำ ปา่

อผงมูเ้ คชิต่ยี์คววิกชาามารญรบ/ู้ รู ณปจั าจกัยากรารภผาลคิตสว่ งนบปตร่าะงมๆาณ

รูปท่ี 4.21 ขอบเขตการดำเนนิ โครงการ/กจิ กรรมของมลู นิธปิ ดิ ทองฯ
เพื่อให้การนำหลักการเชิงวิชาการไปใช้ในการติดตามและประเมินผลไดค้ รบทุกมิติของการพัฒนา
โดยคำนึงถงึ ธรรมชาติของการดำเนินโครงการ/กจิ กรรมในแตล่ ะพ้ืนที่ซง่ึ มลู นธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระฯ รับผดิ ชอบ
จึงพจิ ารณาจำแนกโครงการใหเ้ กิดความเหมาะสม ซงึ่ คำนึงถึงมติ กิ ารพฒั นาและลกั ษณะการลงทุนพัฒนา
ยิ่งไปกว่านั้น ในแต่ละกลุ่ม E1, E2, E3, S1, S2, S3, N1, N2 และ N3 จะมีการติดตามและประเมินผลที่
แตกตา่ งกันไปดังตวั อย่างในรปู ท่ี 4.23 เช่น E1 เปน็ การติดตามและประเมนิ ผลทางเศรษฐกิจ ไดแ้ ก่ รายได้
การตลาด และผลตอบแทน ในขณะที่ E2 เป็นการติดตามและประเมินความก้าวหน้าและความคุ้มค่า
วิเคราะหผ์ ลตอบแทนโครงการ ตลอดจนระบุและติดตามปัจจยั ความสำเร็จและความเสี่ยง เป็นตน้

โครงการ/กจิ กรรมพฒั นาในระดบั พื้นท่ี ปงี บประมาณ 2563

มติ ิการพัฒนา โครงการ/กจิ กรรมเดิม โครงการ/กจิ กรรมใหม่

ไมม่ กี ารลงทนุ เพิ่มเติม อยู่ในระหว่างการพฒั นา เรม่ิ การพัฒนาและมกี ารลงทุน
เนน้ การติดตามและบรหิ ารจัดการ ยงั คงมีการลงทุนเพ่ิมเตมิ

เศรษฐกจิ 1. E1 1. E2 1. E3
2. 2. 2.
3. 3. 3.

สงั คม 1. S1 1. S2 1. S3
2. 2. 2.
3. 3. 3.

ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ 1. N1 1. N2 1. N3
สิ่งแวดล้อม 2. 2. 2.
3. 3. 3.
59

รูปที่ 4.22 ภาพรวมโครงการ/กจิ กรรมพฒั นาในระดบั พน้ื ที่ ประจำปงี บประมาณ 2563

โครงการพฒั นาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพนื้ ทต่ี ามแนวทางความคุม้ คา่ ของการจัดการงบประมาณ 195
มลู นธิ ิปดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

มติ ิการ กจิ กรรมพฒั นาในระดับพนื้ ที่ ปงี บประมาณ 2563
พัฒนา
กจิ กรรมเดิม กจิ กรรมใหม่

ไม่มกี ารลงทุนเพ่ิมเตมิ อย่ใู นระหว่างการพฒั นา ยงั คงมกี ารลงทนุ เพิม่ เติม เริม่ การพฒั นาและมกี ารลงทนุ
เนน้ การตดิ ตามและบริหารจดั การ

เศรษฐกิจ → ตดิ ตามผลทางเศรษฐกจิ → ตดิ ตามและรายงานความกา้ วหนา้ และความคมุ้ คา่ → วเิ คราะห์แผนงาน/แผนงบประมาณ
→ รายได้ → วิเคราะห์แผนงาน/แผนงบประมาณ และ และผลตอบแทนโครงการ
→ การตลาด
→ ผลตอบแทน ผลตอบแทนโครงการ → ระบปุ จั จยั ความสําเร็จและความเสยี่ ง
→ ระบุและติดตามปจั จยั ความสาํ เร็จและความเสย่ี ง

สังคม → ติดตามและรายงานผล → ตดิ ตามและรายงานผลความกา้ วหน้าตามเปา้ หมาย → วเิ คราะห์แผนงาน/แผนงบประมาณ
ตามเป้าหมายและตัวช้วี ดั และตัวชีว้ ดั → ระบเุ ป้าหมายและตวั ชว้ี ดั ความสําเร็จ
→ ระบปุ ัจจัยความสาํ เรจ็ และความเสย่ี ง
ทรัพยากร → วเิ คราะหแ์ ผนงาน/แผนงบประมาณ
ธรรมชาตแิ ละ → ระบแุ ละตดิ ตามปัจจยั ความสาํ เรจ็ และความเสี่ยง
ส่ิงแวดล้อม

รปู ท่ี 4.23 การติดตามและประเมนิ ผลโครงการ/กจิ กรรมพฒั นาในระดบั พื้นที่ ประจำปงี บประมาณ 2563

การวางแผน ติดตามและประเมินผลสำเร็จของโครงการ/กิจกรรมในพื้นที่ของมูลนิธิปิดทอง
หลังพระฯ ต้องคำนึงถงึ ขอบเขตและธรรมชาตขิ องงานทดี่ ำเนนิ การแตล่ ะโครงการ/กจิ กรรมตามการพัฒนา
ในแต่ละลำดับขั้น ดังเช่น โครงการด้านการส่งเสริมอาชีพ จะต้องวางแผน ติดตามและประเมนิ ผลสำเร็จ
โดยวิเคราะห์ขอบเขตงานที่ดำเนินงานในแต่ละห้วงเวลา (Stage) หรือช่วงเวลาในการดำเนินโครงการ/
กิจกรรม ซ่งึ สามารถแบ่งเป็น 5 ชว่ งไดแ้ ก่

ชว่ งที่ 1 การเตรยี มการพฒั นาอาชีพ มงี านสำคัญไดแ้ ก่ การวิจยั และพฒั นาเพื่อเลือกอาชีพ การบูร
ณาการความเชี่ยวชาญ การศึกษาความเป็นไปได้และความคุ้มค่า และการชักชวน
ครวั เรือนเขา้ รว่ ม

ชว่ งที่ 2 การลงทุนระยะเรมิ่ ตน้ งานสำคัญได้แก่ การจัดทำแผนการลงทุน และการจดั ทำแผนและ
ปฏบิ ตั งิ านในมิติต่าง ๆ

ชว่ งท่ี 3 การจัดเกบ็ รายไดแ้ ละประเมินผลระยะแรก มีงานสำคญั ไดแ้ ก่ การติดตามและประเมินผล
การปฏิบัติงานในระยะแรกในมิติต่างๆ ประกอบด้วย มิติการผลิต มิติการตลาด มิติ
การเงนิ และมติ ิการรวมกลุ่ม

ช่วงท่ี 4 การขยายปริมาณการผลิต มีงานสำคัญได้แก่ มาตรการเพื่อเพิ่มปริมาณการผลิต การ
จัดทำแผนการยกระดับปริมาณการผลติ ตลอดจนการปฏิบตั กิ าร ตดิ ตามและประเมินผล
การยกระดบั ปริมาณการผลติ

ช่วงที่ 5 การยกระดับสู่การแปรรูปผลผลิตระดับชุมชน มีงานสำคัญได้แก่ ปริมาณการผลิตมาก
เพียงพอ และมีตลาดที่จะรองรับการแปรรูป และการเริ่มโครงการใหม่เพื่อการแปรรูป
ผลผลิต

196 โครงการพฒั นาระบบการติดตาม ประเมนิ และรายงานผลการพัฒนาพ้นื ท่ตี ามแนวทางความค้มุ ค่าของการจัดการงบประมาณ
มูลนธิ ิปิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

ช่วงที่ 1 ชว่ งที่ 2 ช่วงท่ี 3 ชว่ งที่ 4 ช่วงที่ 5
จัดเกบ็ รายได้และ ขยายปรมิ าณการผลติ ยกระดบั ส่กู ารแปรรปู
การเตรยี มการ การลงทนุ ประเมินผลระยะแรก ผลผลิตระดบั ชุมชน
พฒั นาอาชพี ระยะเรม่ิ ตน้

1. ทํา R&D เพอื่ เลือก 1. จดั ทาํ แผนการลงทนุ 1. ติดตามและประเมินผล 1. มาตรการเพ่อื เพิ่ม 1. ปรมิ าณการผลิตมาก
อาชีพ 2. จดั ทาํ แผนและ การปฏบิ ตั งิ านใน ปริมาณการผลติ เพียงพอ และมตี ลาดที่จะ
2. บรู ณาการความ ปฏบิ ตั งิ านในมติ ิต่างๆ ระยะแรกในมติ ติ า่ งๆ 2. จัดทําแผนการยกระดับ รองรบั การแปรรูป
เชย่ี วชาญ → มิตกิ ารผลิต → มติ ิการผลติ ปรมิ าณการผลติ 2. เริม่ โครงการใหม่เพื่อการ
3. ศกึ ษาความเปน็ ไปได้ → มิติการตลาด → มติ กิ ารตลาด 3. ปฏิบตั กิ าร ตดิ ตามและ แปรรปู ผลผลติ
และความคมุ้ ค่า → มิตกิ ารเงนิ → มิติการเงิน ประเมนิ ผลการยกระดบั
4. ชักชวนครัวเรือนเขา้ รว่ ม → มติ ิการรวมกล่มุ → มติ กิ ารรวมกลุม่ ปรมิ าณการผลิต
ร่วม

รปู ที่ 4.24 กรอบการวางแผน ติดตามและประเมนิ ผลสำเรจ็ โครงการ/กจิ กรรมดา้ นการสง่ เสรมิ อาชีพ

ทั้งนี้ การขับเคลื่อนโครงการ/กิจกรรม จะต้องมีการกำหนดประเด็นกำกับในการวางแผน ติดตาม
และประเมินผลสำเร็จโครงการ/กิจกรรมด้านการส่งเสริมอาชีพตามกรอบที่กำหนดข้างต้นทั้ง 5 ช่วงดัง
รายละเอยี ดต่อไปน้ี

ช่วงท่ี 1 ช่วงท่ี 2 ช่วงท่ี 3 ชว่ งที่ 4 ชว่ งที่ 5
การเตรยี มการพัฒนาอาชพี การลงทนุ ระยะเรม่ิ ตน้ จัดเก็บรายไดแ้ ละประเมินผล ขยายปรมิ าณการผลติ ยกระดับสู่การแปรรปู ผลผลติ
ระยะแรก
ระดับชุมชน

→ อาชีพ/ความเช่ยี วชาญที่จะ → จํานวนครัวเรือนทเี่ ขา้ ร่วม → จดั เกบ็ ผลผลติ ในระยะแรก → กําหนดมาตรฐานการผลติ → เร่มิ โครงการใหม่เพ่ือการแปรรปู ผลผลิต
ส่งเสรมิ โครงการ → วเิ คราะห์รายได้ กําไร/ขาดทุน • ขนาดผลผลิต/ปัจจยั การ เม่อื :
→ ครัวเรือนผู้สนใจเข้าร่วม → ปรมิ าณการผลิตเริม่ ตน้ ของแต่ จากการขายผลผลติ ในระยะแรก ผลิต สถานภาพการผลิต
→ ผูม้ ีสว่ นเกี่ยวข้องหลักจากภาค ละครวั เรือน → ประเมินผลสาํ เรจ็ โครงการในมิติ • ขนาดโครงสร้างพื้นฐาน • ปริมาณผลผลิตมากเพยี งพอ
ส่วนตา่ งๆ → แหลง่ เงินทุนของแตล่ ะ ต่างๆในระยะแรก • ขนาดของเงนิ ลงทนุ • ผลผลิตได้มาตรฐาน
→ กาํ หนดมาตรฐานการลงทนุ ครวั เรอื น • มิตมิ าตรฐานการผลิต • ความคุม้ ค่าในการลงทุน • มีตลอดรองรับอยา่ งแนน่ อน
• ขนาดผลผลติ • พฒั นาโครงสรา้ งพื้นฐานการ • มติ ผิ ลตอบแทนทางการเงนิ → ความแน่นอนดา้ นการตลาด • มีกล่มุ การผลติ ทเ่ี ขม้ แขง็
• ขนาดโครงสร้างพืน้ ฐาน ผลติ • มิติความเขม้ แข็งของกลมุ่ ผลิต → การจัดการปจั จยั การผลติ ที่ • มรี ะบบการจดั การปจั จัยการผลิตท่ี
• มาตรฐานกระบวนการผลติ • ลงทนุ ปจั จยั การผลติ → ตดั สินใจทางเลือกในการดาํ เนนิ ครบวงจร ครบวงจร
• มูลค่าการลงทนุ → ติดตามความกา้ วหน้าของ โครงการ → ความสามารถของครัวเรือน การรวมกลุ่ม
• ข้อมูลการตลาด ผลผลิต • ยกเลกิ การสนับสนนุ ในการจัดการการผลิต • ครัวเรือนเห็นความสําคัญและ
→ ประเมินความคมุ้ ค่าการลงทุน → ตรวจสอบมาตรฐานการผลติ • รักษาระดบั การผลติ → การตดิ ตามและประเมนิ ผล ตอ้ งการรวมกลมุ่ (ระเบิดจากขา้ งใน)
→ กําหนดแผนปฏบิ ตั งิ านใน → ตรวจสอบด้านการตลาด • ขยายปริมาณผลผลิต การผลิตในมติ ติ า่ งๆ • มปี ระสบการณใ์ นการบริหารกลมุ่
ระยะแรก (1-2 ป)ี → สร้างกลมุ่ การผลิต

รูปที่ 4.25 ประเดน็ การวางแผน ติดตามและประเมินผลสำเรจ็ โครงการ/กจิ กรรมด้านการสง่ เสรมิ อาชีพ

มูลนิธิปิดทองหลังพระฯ ดำเนินโครงการด้านการส่งเสริมอาชีพ ที่มีความซับซ้อนและมีวิธีการ
ดำเนินการที่แตกต่างกันไปตามห้วงเวลาหรือช่วงเวลาในการดำเนินงาน โดยมีกิจกรรมและวิธีการ
ดำเนนิ การกบั ผูม้ สี ว่ นได้เสยี เพือ่ การสง่ เสริมอาชีพกับเกษตรกรกลุ่มเป้าหมาย ที่เรมิ่ จาก

± การวางแผนการดำเนนิ งานและการจดั การองคค์ วามรู้ ตลอดจนการวางแผนงบประมาณของ
มูลนิธิปิดทองในพนื้ ท่ี

± การประสานงานกับผู้เชี่วยชาญเพื่อให้ความรูแ้ ละสร้างความเข้าใจเพื่อจูงใจใหเ้ กษตรกรเห็น
ความสำคญั และเข้ารว่ มโครงการ

โครงการพัฒนาระบบการตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพน้ื ทต่ี ามแนวทางความค้มุ คา่ ของการจดั การงบประมาณ 197
มลู นิธปิ ดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

± การวิเคราะห์ตลาด ซึ่งหมายรวมถึงการจัดหาตลาดให้กับผลผลิตของเกษตรกรไปในคราว
เดียวกนั

± การส่งเสริม/สนับสนุนให้เกษตรกรประกอบอาชีพที่เหมาะสม และดำเนินกิจกรรมในแต่ละ
อาชพี อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพและยั่งยนื

± การสง่ เสรมิ /สนบั สนนุ ใหเ้ กษตรกรเกิดการรวมกลุม่ และการตง้ั กองทุนร่วมกัน เป็นต้น
± การเข้าไปติดตาม วิเคราะห์และประเมินผลการประกอบอาชีพของเกษตร ว่ามีส่วนใดท่ี

สามารถเพิม่ ประสทิ ธภิ าพได้ หรือส่วนใดควรสรา้ งความเขม้ แข็ง เป็นต้น

จะเห็นได้ว่าโครงการ/กิจกรรมด้านการส่งเสริมอาชีพที่มูลนิธิปิดทองหลังพระฯ ดำเนินการน้ัน
มีความเกีย่ วพันธ์กบั ผู้มสี ่วนได้เสียหลายกลุ่ม ซึ่งมีวิธีการดำเนนิ กิจกรรมกับแต่ละกลุ่มแตกตา่ งกัน มีห้วง
เวลาในการดำเนินการที่แตกต่างกัน มีผลผลิต/ผลลัพธ์ที่ได้แตกต่างกัน แต่ท้ายที่สุด คือ เป้าหมายของ
โครงการ/กิจกรรมมุ่งหวังพฒั นาพื้นที่ตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เพื่อความอยูด่ ีมสี ขุ ของประชาชน
ในทุกพื้นที่อย่างยั่งยืน จึงต้องเก็บรวบรวมข้อมูลโครงการส่งเสริมอาชีพในพื้นท่ีให้ครบทุกคุณลักษณะ
ทกุ ภารกจิ /กจิ กรรม ทุกครัวเรือน/กลมุ่ เปา้ หมาย และทุกส่วนหลักทเี่ ก่ียวขอ้ ง

สง่ เสริม/สนับสนนุ

ประสาน ให้ความรู้ การรวมกลมุ่
กองทนุ
งบประมาณ ผูเ้ ช่ียวชาญ
จัดการขอ้ มลู ความร/ู้
การวางแผน สง่ เสรมิ /สนับสนุน ความเช่ียวชาญ
และติดตาม ความคมุ้ คา่ /
ประเมินผล มูลนิธิปิดทองในพ้ืนที่ เกษตรกรเขา้ รว่ มโครงการ ผลตอบแทน
จัดการองค์
วิเคราะห/์ ประกอบ การลงทุน
ความรู้ ติดตาม/ อาชพี
ประเมินผล ผลผลติ / รายได้
ราคาขาย ตลาด
วิเคราะห/์ จัดหา เงินลงทนุ รายจ่าย

รูปท่ี 4.26 บรบิ ทโครงการสง่ เสรมิ /สนบั สนุนอาชีพ

198 โครงการพฒั นาระบบการตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพื้นท่ตี ามแนวทางความคมุ้ คา่ ของการจัดการงบประมาณ
มูลนิธิปิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

คณุ ลกั ษณะ ภารกจิ ของมูลนธิ ิปิดทองฯ เกษตรกร/ครัวเรือน ผ้มู ีส่วนเกี่ยวขอ้ งหลกั อื่นๆ
→ ประเภท → สร้าง/ทดลองตน้ แบบ เข้ารว่ มโครงการ → การตลาด
→ จัดหาความร้คู วามเชีย่ วชาญ → จาํ นวนครัวเรือน → แหลง่ ความรูค้ วามเช่ียวชาญ
- อาชพี → ฝกึ อบรมครวั เรือน → ปรมิ าณผลผลิตในระดับ → แหลง่ ปจั จยั การผลติ
- ผลผลติ → สนบั สนนุ ปจั จัยการผลิต ครวั เรอื น/รวมท้ังโครงการ → อ่นื ๆ
→ ลักษณะ → จดั ตงั้ กองทนุ → มาตรฐานการผลติ
- วิจัย/พฒั นา → จัดหาตลาด → เงินลงทุน/คา่ ใชจ้ า่ ย
- ทดลองต้นแบบ → จดั เก็บและวิเคราะหข์ อ้ มูล - โครงสรา้ งพ้ืนฐานการผลติ
- ขยายผล - ปัจจัยการผลิต
- ยกระดบั โครงการ → แหล่งเงนิ ทนุ
→ บรู ณาการความร่วมมอื กบั ภาค → รายได้
- ผลผลิต
สว่ นตา่ งๆ - ราคาผลผลิต
→ ระยะเวลา/งบประมาณโครงการ → ผลตอบแทนการลงทุน
→ การจดั ต้งั และการรวมกลุ่ม

รปู ท่ี 4.27 ข้อมลู โครงการส่งเสริมอาชีพในพื้นท่ี

เพือ่ ใหก้ ารประเมนิ ผลความสำเรจ็ ของการพัฒนาผ่านโครงการ/กจิ กรรมของมูลนิธปิ ิดทองหลงั พระฯ
มีความชัดเจน เปน็ ระบบ อยบู่ นหลักวิชาการ คณะทีป่ รกึ ษาฯ ได้ออกแบบโครงสรา้ งแบบฟอร์มข้อมูลเพื่อ
การวางแผน ติดตามและประเมินผลโครงการ/กิจกรรมเปน็ 3 ระดับ (รายละเอียดระบุไว้ในภาคผนวก ก)
ประกอบด้วย

ระดับท่ี 1 เพอ่ื ตรวจสอบภาพรวมทศิ ทาง/ขอบเขตของโครงการ (Project Direction)
แบบฟอรม์ 1.0 การวางแผนและทบทวนขอบเขตโครงการ

ระดับท่ี 2 เพอื่ ตรวจสอบทม่ี า เปา้ หมายและขอบเขตการดำเนินโครงการ/กจิ กรรมในมติ ิต่างๆ
(Project Scope)

แบบฟอรม์ 1.1 การสง่ เสริมอาชพี
แบบฟอร์ม 1.2 การพฒั นาแหลง่ น้ำ/ระบบกระจายน้ำสแู่ ปลงเกษตร
แบบฟอรม์ 1.3 การฟื้นฟแู ละอนรุ ักษ์ปา่
แบบฟอรม์ 1.4 การจดั การองคค์ วามรู้

ระดับที่ 3 เพ่อื จัดเกบ็ และวิเคราะหข์ อ้ มูลในการติดตาม ตรวจสอบความสำเรจ็ และความค้มุ คา่ ใน
การพฒั นาใหเ้ กดิ ความย่ังยืน

แบบฟอรม์ 1.1.1 เทคนิคการวเิ คราะห์ “การส่งเสริมอาชีพ”
แบบฟอร์ม 1.1.2 เทคนิคการวเิ คราะห์ “โครงสร้างพืน้ ฐานดา้ นอาชีพเพ่อื บรกิ ารชุมชน”
แบบฟอร์ม 1.2.1 เทคนคิ การวเิ คราะห์ “การพฒั นาแหลง่ นำ้ /ระบบกระจายน้ำส่แู ปลงเกษตร”

โครงการพฒั นาระบบการติดตาม ประเมนิ และรายงานผลการพัฒนาพื้นทตี่ ามแนวทางความคุ้มคา่ ของการจัดการงบประมาณ 199
มลู นธิ ิปดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

โครงสรา& งแบบฟอร,มข&อมลู เพือ่ การวางแผน ติดตามและประเมินผลโครงการ/กจิ กรรม

Level 1 แบบฟอร์ม 1.0

ภาพรวมทิศทาง/ขอบเขตของ การวางแผนและทบทวน
โครงการ ขอบเขตโครงการ

(Project Direction)

Level 2 แบบฟอรม์ 1.1 แบบฟอรม์ 1.2 แบบฟอร์ม 1.3 แบบฟอร์ม 1.4
การพฒั นาแหล่งน้ำ/ การฟืน้ ฟูและอนุรกั ษป์ ่า
เปา้ หมายและขอบเขต การสง่ เสริมอาชพี ระบบกระจายน้ำสู่แปลงเกษตร การจัดการ
การดำเนินโครงการ องค์ความรู้

ในมติ ติ า่ งๆ
(Project Scope)

Level 3 แบบฟอร์ม 1.1.1 แบบฟอรม์ 1.1.2 แบบฟอร์ม 1.2.1

เทคนิคการวเิ คราะห์และการ เทคนคิ การวิเคราะห์ เทคนิคการวเิ คราะห์ เทคนิคการวเิ คราะห์
ประเมนิ ผล การส่งเสรมิ อาชพี โครงสร้างพ้ืนฐานด้านอาชีพเพ่ือบรกิ ารชมุ ชน การพฒั นาแหล่งน้ำ/
ระบบกระจายน้ำส่แู ปลงเกษตร
(Project Analysis)

รูปที่ 4.28 โครงสร้างแบบฟอร์มข้อมูลเพ่อื การวางแผน ตดิ ตามและประเมนิ ผลโครงการ/กิจกรรม

4.6 คู่มือการติดตามประเมนิ ผล

เพื่อให้การติดตามประเมินผลการดำเนินงานมีความชัดเจน และสามารถใช้งานได้อย่างทันท่วงที
คณะที่ปรึกษาฯ จึงได้แยกส่วนของการติดตามประเมินผลการดำเนินงานออกเป็น “คู่มือการติดตาม
ประเมินผล” ซึ่งเป็นเอกสารประกอบรายงานฉบบั สมบูรณ์ เล่มที่ 2 คู่มือฉบับน้ีพัฒนาขึ้นตามกรอบการ
ประเมนิ ผลใน 3 มิติ ประกอบด้วยการประเมินผลความคุม้ ค่าในการใช้จ่ายงบประมาณ (Fiscal Report)
การประเมินผลการพัฒนาพื้นที่ตามแนวพระราชดำริ (Wisdom Report) และการประเมินและทบทวน
โครงการ (Project Financing Report) โดยระบุหลักเกณฑ์ ตัวชี้วัด วัตถุประสงค์ แนวทางการประเมนิ
ตลอดจนแบบฟอร์มทใ่ี ช้ประกอบการตดิ ตามประเมนิ ผลในแต่ละมิติ

คู่มือการติดตามประเมนิ ผลนี้ จะสนับสนนุ ให้มูลนิธิปิดทองหลังพระฯ โดยสถาบนั ส่งเสรมิ และพฒั นา
กจิ กรรมปิดทองหลังพระฯ มมี าตรฐานการติดตามประเมนิ ผลอย่างเปน็ ระบบ สามารถวดั ผลการดำเนนิ งาน
ตามพันธกิจได้อย่างเป็นรปู ธรรม และสามารถตอบสนองต่อความคาดหวังของผู้มีส่วนไดส้ ่วนเสียได้อย่าง
ชดั เจน

200 โครงการพัฒนาระบบการติดตาม ประเมนิ และรายงานผลการพัฒนาพนื้ ท่ตี ามแนวทางความคมุ้ คา่ ของการจัดการงบประมาณ
มลู นธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

รปู ที่ 4.29 ตวั อย่างคู่มอื การติดตามประเมนิ ผล

โครงการพัฒนาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพ้นื ทตี่ ามแนวทางความคุ้มค่าของการจดั การงบประมาณ 201
มูลนธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

4.7 ข้อเสนอแนะมาตรฐานการรายงานผล

ท้ายสุด จากการพฒั นาระบบการติดตาม ประเมนิ และรายงานผลการพฒั นาพ้ืนทีต่ ามแนวทางความ
คุ้มคา่ ของการจัดการงบประมาณ คณะท่ีปรึกษาฯ มีข้อเสนอแนะสำคญั เพ่ือพัฒนามาตรฐานการรายงานผล
การดำเนินงานของมลู นธิ ิและสถาบันฯ ดังน้ี

1. ระบบการติดตามประเมนิ ผล ได้พัฒนาขึ้นโดยวัดผลการปฏิบัติงานใน 3 มิติ ประกอบด้วย การ
ประเมนิ ผลความคมุ้ ค่าในการใชจ้ า่ ยงบประมาณ (Fiscal Report) การประเมนิ ผลการพัฒนาพนื้ ทตี่ ามแนว
พระราชดำริ (Wisdom Report) และการประเมินและทบทวนโครงการ (Project Financing Report)

1.1 การประเมินผลความคุ้มค่าในการใช้จ่ายงบประมาณ (Fiscal Report) เป็นการติดตาม
ประเมินและรายงานผลความคุ้มค่าเชิงงบประมาณ จากเงินงบประมาณที่สนับสนุนผ่าน
โครงการ/กิจกรรมการพัฒนาต่างๆ กบั ผลท่เี กิดข้นึ ในมติ ิตา่ งๆ

1.2 การประเมินผลการพัฒนาพื้นที่ตามแนวพระราชดำริ (Wisdom Report) เป็นการติดตาม
ประเมินและรายงานผลการพัฒนาตามแนวพระราชดำรแิ ละทฤษฎีใหม่

1.3 การประเมนิ และทบทวนโครงการ (Project Financing Report) เปน็ การติดตาม ประเมนิ และ
รายงานผลการดำเนินงานต้ังแตต่ น้ จนถึงปจั จุบนั ของการพฒั นาโครงการ/การผลิตสนิ คา้

2. การพัฒนาระบบสารสนเทศกลางเพื่อการวางแผน บริหารจัดการ และการติดตามประเมินผล
เพ่อื ทำใหม้ น่ั ใจวา่ องคก์ รมขี ้อมลู ที่ต้องการ เปน็ ขอ้ มูลทถี่ ูกต้องมีคุณภาพ ถกู ต้องตามหลักการ สามารถใช้
ข้อมูลไดต้ ลอดเวลา ขอ้ มูลมคี วามม่นั คงปลอดภยั โดยมอี งค์ประกอบในการพฒั นาทงั้ ระบบ บุคลากร และ
การใชเ้ ทคโนโลยเี พ่ือสนับสนนุ ให้เกิด Data Governance ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

3. การประมวลองค์ความรู้ที่พบจากการติดตามและประเมินผล สามารถนำไปสู่การจัดการองค์
ความรู้เพื่อการขยายผลสู่ภาคส่วนต่างๆต่อไปได้ รวมทั้งโครงสร้างการจัดการองค์ความรู้ โครงสร้าง
หลักสตู รการพัฒนาบุคลากรของมูลนิธปิ ดิ ทองหลงั พระฯ ภาครฐั และภาคประชาชน

4. การพัฒนาระบบการบริหารงานพัฒนาพื้นท่ีเชิงยุทธศาสตร์ ตั้งแต่การวางแผน ติดตามและ
ประเมินผลโครงการ ซึ่งเป็นการต่อยอดผลงานจากการติดตามและประเมินผลของโครงการนี้ ไปสู่การ
วางแผนเพ่ือใหก้ ารบรหิ ารงานพ้นื ทีไ่ ด้อย่างครบวงจร

5. การปรับปรุงโครงสร้างและรูปแบบการดำเนินงานขององคก์ ร เพื่อให้สามารถบรรลุพันธกจิ และ
วัตถปุ ระสงคข์ ององค์กร และนำไปสู่ความยงั่ ยืนทางการเงินต่อไป

202 โครงการพฒั นาระบบการตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผลการพฒั นาพื้นทตี่ ามแนวทางความคมุ้ คา่ ของการจัดการงบประมาณ
มูลนิธปิ ดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

5 เอกสารอ้างอิง

แหล่งขอ้ มูลอเิ ล็กทรอนกิ ส์

Anderson, D., 2019. Quantitative vs qualitative performance reviews: Advantages and
disadvantages of each evaluation method. Available at:

https://www.reviewsnap.com/blog/quantitative-vs-qualitative-performance-reviews-

advantages-disadvantages-evaluation-method/, Accessed April 2020.

Busch, M., Notte, A. L., Laporte, V. & Erhard, M., 2011. Potentials of quantitative and
qualitative approaches to assessing ecosystem services. Ecological Indicators.

Competitive Advantage (1985), Michael E. Porter

D'Errico, S., 2016. Effective evaluation for the Sustainable Development Goals. Available

at: https://www.iied.org/effective-evaluation-for-sustainable-development-goals,
Accessed April 2020.

Gielen, S., Dochy, F. & Dierick, S., 2003. Evaluating the consequential validity of new

modes of assessment: The influence of assessment on learning, including pre-,
post-, and true assessment effects. In: Optimising new modes of assessment: In

search of qualities and standards. Dordrecht: Springer, pp. 37-54.

Krishna, Anirudh, and Elizabeth Shrader. 1999. "Social Capital Assessment Tool." The

Conference on Social Capital and Poverty Reduction. Washington, D.C.: The World
Bank.

Sachs, J. D., 2012. From Millennium Development Goads to Sustainable Development
Goals. Lancet, 9 June, Volume 379, pp. 2206-2211.

Sheate, W. R. & Partidário, M. R., 2009. Strategic approaches and assessment techniques—
Potential for knowledge brokerage towards sustainability. Environmental Impact

Assessment Review, pp. 278-288.

Srithongrung, Arwiphawee. 2009. "The Effects of Results-Oriented Budgeting on 203

Government Spending Patterns in Thailand." International Public Management
Review 10 (1): 59-89.

โครงการพัฒนาระบบการตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผลการพัฒนาพ้ืนทต่ี ามแนวทางความคุม้ ค่าของการจัดการงบประมาณ
มลู นธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

The Organisation for Economic Co-operation and Development (OECD)
Better Criteria for Better Evaluation Revised Evaluation Criteria Definitions and
Principles for Use, OECD/DAC Network on Development Evaluation (November 2019)

United Nations, 2020.
Press Release: UNECE launches dashboard to track regional progress on SDGs.
Available at: https://www.un.org/sustainabledevelopment/blog/2020/03/unece-
launches-sdg-dashboard/, Accessed 26 April 2020.
Sustainable Development Goals: SDGs
https://sustainabledevelopment.un.org/sdgs

Vanclay, Frank. 2003. "International Principles for Social Impact Assessment." Impact
Assessment and Project Appraisal 1471-5465.

ยทุ ธศาสตรช์ าติ
https://www.nesdb.go.th/download/document/SAC/NS_SumPlanOct2018.pdf

แผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติ
http://nscr.nesdb.go.th/แผนแมบ่ ทภายใตย้ ุทธศาสต/

แผนการปฏริ ูปประเทศ
http://nscr.nesdb.go.th/แผนการปฏิรูปประเทศ/

แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 12 พ.ศ.2560 - 2564
https://www.nesdb.go.th/ewt_dl_link.php?nid=6422

เศรษฐกจิ พอเพียงและทฤษฎใี หม่
https://www.nesdb.go.th/main.php?filename=sufficient_economy
https://www.chaipat.or.th/site_content/item/19-2009-10-30-07-44-57.html

ระบบงบประมาณแบบมุ่งเนน้ ผลงานตามยุทธศาสตร,์ สำนักงบประมาณ
www.bb.go.th
คู่มือการกำหนดเป้าหมาย ผลผลิต/โครงการ กิจกรรม และตัวชี้วัด ผลสำเร็จของส่วนราชการ
รัฐวสิ าหกิจ และหน่วยงานอ่นื ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2560
เอกสารงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562

รหสั กจิ กรรม
https://project-management-knowledge.com/definitions/a/activity-code/

204 โครงการพัฒนาระบบการติดตาม ประเมนิ และรายงานผลการพฒั นาพื้นทตี่ ามแนวทางความคมุ้ คา่ ของการจัดการงบประมาณ
มลู นธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ


Click to View FlipBook Version