The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการพัฒนาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพื้นที่

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by prpidthong1, 2022-01-23 21:39:41

โครงการพัฒนาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพื้นที่

โครงการพัฒนาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพื้นที่

Keywords: โครงการพัฒนาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพื้นที่

ตารางที่ 3.21 ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง กับ การพัฒนาอย่างยง่ั ยืน (SDGs)

ตัวชวี้ ัด เปา้ หมายตัวชวี้ ัด เป้าหมาย SDGs ตัวชี้วัด SDGs

1. การบริหาร สามารถบริหารจัดการ Goal 6 6.4.2 Level of water stress:
จดั การน้ำ ให้มีใช้ นำ้ ในพื้นทีช่ ุมชนได้ การบรหิ ารจัดการน้ำเป็นประเดน็ สำคัญหนง่ึ freshwater withdrawal as a
อยา่ งมีประสิทธภิ าพ มี ของสถานการณ์โลก โดยเป้าหมายหลกั ของ proportion of available
ตลอดปี นำ้ อปุ โภคบริโภคใช้ใน สหประชาชาติ คือใหค้ นทุกหม่เู หล่า ทุกพน้ื ท่ี freshwater resources
ครวั เรือนตลอดปีและมี มนี ้ำใช้อยา่ งท่ัวถึง ไมเ่ พยี งแต่การมีน้ำใช้
น้ำสำรองเพื่อใช้ใน เทา่ น้ัน แตต่ ้องเป็นนำ้ สะอาด ถกู สุขอนามยั
การเกษตรตลอดปี ดว้ ย ซงึ่ รวมถึงการรักษา ฟ้นื ฟรู ะบบนิเวศน์

แหล่งนำ้ สง่ เสริมความร่วมมือในการบรหิ าร
จัดการน้ำของชมุ ชน

2. เกษตรกรมี มีผลผลติ ทเี่ พยี งพอใช้ Goal 2 2.2.2 End all forms of

ปรมิ าณผลผลิตพอ กินอยูภ่ ายใน จากความขัดแย้งในการพัฒนาเมือง การ malnutrition

กินตลอดปี ครอบครวั ตลอดปี เปล่ียนแปลงทางสภาพอากาศ ปัญหาทาง

(ข้าว/พชื /ผัก/ผลไม้/ เศรษฐกิจ และภาวะโรคระบาดในปัจจบุ นั

เน้ือสตั ว/์ ไข่ไก)่ สง่ ผลใหผ้ คู้ นมากมายมคี วามเสยี่ งต่อการขาด

แคลนอาหารเพื่อยังชีพ การพฒั นาหลกั ประกนั

ทางด้านอาหาร (food security) โดย

สนบั สนุนการพัฒนาผลผลติ การเกษตร การ

ลงทนุ โครงสร้างพื้นฐานทางเกษตรในชนบท

ซ่ึงช่วยสร้างความเขม้ แขง็ และมีความสามารถ

ในการปรับตวั ตอ่ การเปลย่ี นแปลงตา่ งๆ ไดด้ ี

3. อาชพี หลัก 2 ครัวเรอื นมีอาชีพท่ี Goal 8 8.1.1 Annual growth rate of real
อาชพี ขึ้นไป
สรา้ งรายไดห้ ลกั อย่าง การเตบิ โตทางเศรษฐกิจอย่างยั่งยนื โดย GDP per capita

ตอ่ เน่อื ง ม่ันคง สนบั สนุนผลผลิตทางเศรษฐกิจทีใ่ ชเ้ ทคโนโลยี 8.2.1 Annual growth rate of real

และนวัตกรรม และการสร้างมูลค่าเพิ่ม GDP per employed person

สนบั สนุนความคดิ สร้างสรรค์ การสรา้ งงานที่ 8.5.1 Average hourly earnings of

มั่นคง การสร้างผู้ประกอบการระดบั ชมุ ชน female and male employees (all

ขนาดเล็ก ถึงขนาดกลาง ใหเ้ ขา้ ถึงการบริการ occupations)

ทางการเงิน และความชว่ ยเหลือด้านการค้า

4. รายได้เพียงพอ มีรายได้หลกั อยา่ ง Goal 10 10.1.1 Growth rates of

และสม่ำเสมอ และ ตอ่ เนอ่ื ง ตลอดปี และ การเตบิ โตทางรายไดอ้ ย่างย่งั ยนื ของคนยากจน household expenditure or

หน้สี ินลดลง มีหนสี้ ินลดลง ลดความเหลื่อมล้ำทางรายได้ สร้างความเท่า income per capita

เทียมในการเข้าถึงการดแู ลทางสังคม ค่าแรง 10.c.1 Remittance costs as a

proportion of the amount

remitted

86 โครงการพัฒนาระบบการตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการพฒั นาพื้นทต่ี ามแนวทางความคมุ้ คา่ ของการจัดการงบประมาณ
มูลนธิ ปิ ิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

ตวั ชว้ี ัด เปา้ หมายตัวชวี้ ัด เป้าหมาย SDGs ตัวชี้วัด SDGs

5. เศรษฐกิจทย่ี ั่งยืน เกิดเศรษฐกจิ ทีย่ งั่ ยืน Goal 1 1.1.1 (b) Employed population

ของชุมชน ของชมุ ชน สามารถ ลดความยากจน โดยใหค้ นยากจนมีโอกาส (aged 15-24 years) below

สร้างรายไดอ้ ย่าง อย่างเท่าเทียมในการเขา้ ถงึ ทรัพยากรทาง international poverty line

ตอ่ เนื่อง เปน็ ที่พึ่งของ เศรษฐกิจ ระบบบริการขน้ั พื้นฐาน การมีที่ดิน 1.1.1 (c) Employed population

คนในชุมชน และเปน็ ทำกิน ทรพั ยากรธรรมชาติ บรกิ ารทางการเงิน (aged 25+ years) below

ธุรกจิ ท่ชี ุมชนเป็น และเทคโนโลยีใหม่ๆ เพื่อยตุ คิ วามยากจนใน international poverty line

เจ้าของและบริการ ทกุ มติ ิ 1.2.1 Proportion of population

จดั การรว่ มกัน living below the national

poverty line, all areas

3.6.4 ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ชาติ/แผนของภาครัฐเกี่ยวกับมูลนิธิปิดทองหลังพระสืบสานแนว
พระราชดำริ

ยุทธศาสตร์ชาติ/นโยบายของภาครัฐเกี่ยวกับมูลนิธิปิดทองหลังพระสืบสานแนวพระราชดำริ และ
สถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระฯ มีด้วยกันหลายฉบับ โดยฉบับที่สำคัญและมีความ
เก่ยี วข้องโดยตรงกบั การดำเนินงานคอื ยทุ ธศาสตรช์ าติ (พ.ศ. 2561 - 2580) แผนแม่บทภายใตย้ ทุ ธศาสตร์
ชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580) แผนการปฏริ ูปประเทศ และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 12
พ.ศ. 2560 - 2564

A vพ.ร.บ.แผนและขัน้ ตอนการดำเนินการปฏริ ปู ประเทศ พ.ศ.2560 มาตรา 18 (4) กำหนดตัวชีว้ ดั ผลสมั ฤทธิข์ องการดำเนินการตาม
แผนปฏริ ูปประเทศ เพอ่ื ใหKหนวL ยงานของรฐั ทีเ่ กย่ี วขKองกบั การดำเนนิ การตามแผนการปฏิรปู ประเทศใชใK นการประเมนิ ผล
B vระเบียบการติดตามประเมนิ ผลตามยทุ ธศาสตรEชาติและแผนปฏริ ูปประเทศ พ.ศ.2562 ขอK 6 ใหหK วั หนาK หนLวยงานของรัฐทกุ แหงL

ดำเนนิ การใหมK กี ารรายงานผลการดาเนินการตามยทุ ธศาสตรRชาติและแผนการปฏิรูปประเทศในระบบตามรายการและภายในระยะเวลาท่ี
สำนักงานกำหนด

รปู ท่ี 3.29 ยทุ ธศาสตรช์ าติ/นโยบายของภาครัฐเกยี่ วกับมลู นธิ ิปดิ ทองหลงั พระสบื สานแนวพระราชดำริ
และสถาบนั สง่ เสริมและพฒั นากจิ กรรมปดิ ทองหลงั พระฯ

โครงการพัฒนาระบบการติดตาม ประเมนิ และรายงานผลการพฒั นาพนื้ ทต่ี ามแนวทางความคุ้มค่าของการจดั การงบประมาณ 87
มลู นิธปิ ดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

โดยเนื้อความสำคัญที่มีความเกี่ยวข้องกับการติดตาม ประเมินและรายงานผลการดำเนินงานของ
มูลนธิ ฯิ และสถาบันฯ มดี ังน้ี

พระราชบัญญตั แิ ผนและขนั้ ตอนการดาํ เนนิ การปฏริ ูปประเทศ พ.ศ. ๒๕๖๐

มาตรา ๑๘ เพื่อประโยชน์ในการดําเนินการปฏิรูปประเทศ ให้ที่ประชุมร่วมมีหน้าที่และ
อํานาจ ดังตอ่ ไปนี้

(๑) กําหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการจัดทําร่างแผนการปฏิรูป
ประเทศโดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการยทุ ธศาสตรช์ าติ

(๒) พิจารณาให้ความเหน็ ชอบร่างแผนการปฏริ ูปประเทศตามมาตรา ๑๑ (๑)
(๓) กาํ หนดวิธีการการมสี ว่ นรว่ มของประชาชนและหนว่ ยงานของรัฐทเ่ี กี่ยวข้อง

ในการจดั ทาํ แผนการปฏริ ูปประเทศ และการมสี ว่ นรว่ มในการตดิ ตาม การ
ตรวจสอบ และการประเมินผลการดาํ เนนิ การ ตามแผนการปฏริ ปู ประเทศ
และมาตรการส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนทุกภาคส่วนดําเนินการ
ใหส้ อดคล้องกบั แผนการปฏิรปู ประเทศ
(๔) เสนอความเหน็ ต่อคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติเพื่อเสนอแนะต่อรัฐสภา
คณะรัฐมนตรี หรือหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้อง ในเรื่องเกี่ยวกับการ
ดาํ เนินการตามแผนการปฏิรูปประเทศ
(๕) กําหนดตัวชี้วัดผลสัมฤทธ์ิของการดําเนินการตามแผนการปฏิรูปประเทศ
เพื่อให้หน่วยงาน ของรัฐทีเ่ ก่ียวขอ้ งกับการดําเนินการตามแผนการปฏริ ูป
ประเทศใชใ้ นการประเมินผล
(๖) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่น หรอื
ตามท่ีคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติมอบหมาย

ระเบียบว่าด้วยการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดำเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติและ
แผนการปฏริ ปู ประเทศ พ.ศ. ๒๕๖๒

ข้อ ๖ ให้หัวหน้าหนว่ ยงานของรัฐทุกแห่งดำเนินการให้มกี ารรายงานผลการดำเนินการตาม
ยุทธศาสตร์ชาติและแผนการปฏิรูปประเทศในระบบตามรายการและภายในระยะเวลาท่ี
สำนักงานกำหนด ทั้งนี้ สำนักงานจะกำหนดรายการท่ีหน่วยงานของรัฐแต่ละแห่งจะต้อง
รายงานให้แตกต่างกนั ตามความเหมาะสมเพอ่ื ให้การติดตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผลการ
ดำเนินการตามยทุ ธศาสตรช์ าติและแผนการปฏิรูปประเทศ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพกไ็ ด้
รายการตามวรรคหนง่ึ อยา่ งนอ้ ยต้องประกอบด้วย

(๑) ข้อมลู เกยี่ วกบั รายละเอยี ดแผนงาน โครงการ หรอื การดำเนินงาน

88 โครงการพัฒนาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพนื้ ที่ตามแนวทางความคมุ้ คา่ ของการจดั การงบประมาณ
มลู นิธปิ ิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

(๒) ความสอดคล้องกับการดำเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติและแผนการปฏิรูป
ประเทศ

(๓) ความกา้ วหนา้ และผลสมั ฤทธ์ิของการดำเนนิ การ
(๔) ปญั หาหรืออปุ สรรค
(๕) ขอ้ เสนอแนะหรือแนวทางแก้ไขในการดำเนินงาน

ในกรณีที่หัวหน้าหน่วยงานของรัฐไม่รายงานผลการดำเนินการตามวรรคหนึ่งภายใน
ระยะเวลาท่ีกำหนด หรือรายงานไม่ครบถ้วนตามรายการที่กำหนด ให้สำนักงานแจ้งให้
รัฐมนตรีเจ้าสังกัด หรือหัวหน้าองค์กรในฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายตุลาการ องค์กรอิสระ และ
องคก์ รอัยการทราบพรอ้ มด้วยเหตุผลโดยเร็ว

อย่างไรกด็ ี ยทุ ธศาสตรช์ าติ/นโยบายของภาครัฐเก่ยี วกบั สถาบันส่งเสริมและพฒั นากิจกรรมปิดทอง
หลังพระสืบสานแนวพระราชดำริ มีด้วยกันอยู่หลายยุทธศาสตร์/แผน ซึ่งเรียงระดับของแผนตามมติ
คณะรัฐมนตรี ท่ีแจง้ ใหส้ ว่ นราชการรับทราบโดยทว่ั กนั ไว้ดังน้ี

รปู ท่ี 3.30 ระดบั ของแผนตามมติคณะรฐั มนตรี

โดยจะเห็นได้ว่า ยุทธศาสตร์ชาติ/นโยบายของภาครัฐเกี่ยวกับของสถาบันส่งเสริมและพัฒนา
กิจกรรมปิดทองหลังพระสืบสานแนวพระราชดำริ หลักๆ มีอยู่ 4 ยุทธศาสตร์/แผนด้วยกัน ประกอบด้วย
(1) ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 - 2580 (2) แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580) (3)
แผนการปฏิรปู ประเทศ และ (4) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 - 2564
ดงั รายละเอยี ดตอ่ ไปน้ี

โครงการพฒั นาระบบการตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผลการพฒั นาพนื้ ทต่ี ามแนวทางความคมุ้ คา่ ของการจดั การงบประมาณ 89
มลู นิธปิ ิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

3.6.4.1 ยทุ ธศาสตรช์ าติ (พ.ศ. 2561 – 2580) และ แผนแมบ่ ทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ (พ.ศ. 2561 -
2580)

ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 – 2580) ภายใต้วิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน
เป็นประเทศพัฒนาแล้วด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ประกอบไปด้วย
ยุทธศาสตรท์ ัง้ 6 ด้าน คอื ด้านความมน่ั คง ด้านการสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขัน ดา้ นการพัฒนาและ
เสริมสรา้ งศักยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์ ด้านการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม ด้านการสรา้ งการ
เตบิ โตบนคณุ ภาพชวี ิตทเ่ี ป็นมิตรต่อสงิ่ แวดล้อม และด้านการปรบั สมดลุ และพฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการ
ภาครัฐ ตามลำดบั โดยระบเุ ป้าหมายและตัวช้ีวดั ไว้ยทุ ธศาสตร์แต่ละด้านดังนี้

รูปที่ 3.31 ยทุ ธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 - 2580

90 โครงการพฒั นาระบบการติดตาม ประเมนิ และรายงานผลการพฒั นาพนื้ ท่ตี ามแนวทางความคมุ้ คา่ ของการจัดการงบประมาณ
มลู นธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

ทั้งนี้ ยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับสถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระสืบสานแนว
พระราชดำริ มีอยูด่ ้วยกัน 3 ยุทธศาสตร์ คอื ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 ยุทธศาสตร์ดา้ นความมั่นคง ยุทธศาสตร์ที่ 3
ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ และยุทธศาสตร์ที่ 4 ด้านการสร้างโอกาสและ
ความเสมอภาคทางสงั คม โดยมีรายละเอียดท่ีเก่ยี วข้องในแต่ละยทุ ธศาสตร์ดังน้ี

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1 ยทุ ธศาสตร์ด้านความมนั่ คง

เปา้ หมาย
1. ประชาชนอยู่ดี กนิ ดี และมีความสุข
2. บ้านเมอื งมีความมั่นคงในทุกมิติและทกุ ระดับ
3. กองทัพ หน่วยงานด้านความม่ันคง ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน มคี วามพรอ้ ม
ในการป้องกนั และแกไ้ ขปญั หาความม่ันคง
4. ประเทศไทยมีบทบาทด้านความมั่นคงเป็นที่ชื่นชมและได้รับการยอมรับโดยประชาคม
ระหวา่ งประเทศ
5. การบรหิ ารจัดการความม่นั คงมผี ลสำเรจ็ ทเ่ี ปน็ รูปธรรมอย่างมปี ระสิทธิภาพ

ตวั ชีว้ ดั
1. ความสุขของประชากรไทย
2. ความม่ันคงปลอดภัยของประเทศ
3. ความพร้อมของกองทัพ หน่วยงานด้านความมั่นคง และการมีส่วนร่วมของภาครัฐ
ภาคเอกชน และภาคประชาชนในการปอ้ งกันและแก้ไขปัญหาความมัน่ คง
4. บทบาทและการยอมรับในด้านความมั่นคงของไทยในประชาคมระหว่างประเทศ
5. ประสิทธิภาพการบริหารจัดการความมัน่ คงแบบองคร์ วม

ประเด็นยุทธศาสตร์ชาตดิ า้ นความมนั่ คง

๔.๑ การรักษาความสงบภายในประเทศ เพื่อสร้างเสริมความสงบเรียบร้อยและสันติสุขให้เกดิ
ขึ้นกับประเทศชาติบ้านเมือง ให้สถาบนั หลักมคี วามมัน่ คง เป็นจุดศูนย์รวมจิตใจอย่างย่ังยนื
ประชาชนอยู่ดีมีสุข มีความ มั่นคงปลอดภัยทั้งในชีวิตและทรัพย์สิน สังคมมีความเข้มแขง็
สามคั คีปรองดอง และเออื้ เฟอ้ื เผ่อื แผก่ ันพร้อมที่จะร่วมแกไ้ ขปัญหาของชาติ
๔.๑.๑ การพฒั นาและเสริมสร้างคนในทกุ ภาคสว่ นให้มคี วามเขม้ แข็งมีความพร้อมตระหนัก
ในเรื่องความมน่ั คง และมีสว่ นร่วมในการแกไ้ ขปญั หา
๔.๑.๒ การพัฒนาและเสรมิ สร้างความจงรกั ภกั ดตี อ่ สถาบันหลกั ของชาติ
... โดยปลูกฝังและสร้างความตระหนักรู้ถึงความสาคัญ ของสถาบันหลักของชาติ
รณรงค์เสรมิ สรา้ งความรักและภาคภูมิใจในความเป็นคนไทยและชาติไทย ผ่านทาง
กลไกตา่ ง ๆ รวมถึงการศึกษาประวัติศาสตร์ในเชิงสร้างสรรค์ น้อมนำและเผยแพร่

โครงการพัฒนาระบบการติดตาม ประเมนิ และรายงานผลการพัฒนาพนื้ ทตี่ ามแนวทางความคมุ้ คา่ ของการจัดการงบประมาณ 91
มลู นธิ ิปดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

ศาสตร์พระราชา หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง รวมถงึ แนวทางพระราชดำริ
ต่าง ๆ ให้เกิดความเข้าใจอย่างถ่องแท้ และนำไปประยุกต์ ปฏิบัติใช้อย่าง
กว้างขวาง จัดกจิ กรรมเฉลมิ พระเกียรตแิ ละพระราชกรณียกจิ อย่างสมา่ เสมอ
๔.๑.๓ การพัฒนาและเสริมสร้างการเมืองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์
ทรงเป็นประมขุ ทม่ี เี สถียรภาพและมธี รรมาภิบาล เห็นแกป่ ระโยชนข์ องประเทศชาติ
มากกวา่ ประโยชน์สว่ นตน
๔.๑.๔ การพัฒนาและเสริมสรา้ งกลไกทีส่ ามารถป้องกันและขจดั สาเหตุของประเด็นปัญหา
ความมน่ั คงที่สำคัญ

๔.๒ การป้องกันและแก้ไขปัญหาท่ีมีผลกระทบต่อความมั่นคง เพื่อแก้ไขปัญหาเดิมที่มีอยู่อยา่ ง
ตรงประเด็นจนหมดไปอย่างรวดเร็ว และป้องกันไม่ให้ปัญหาใหม่เกิดขึ้นอันจะส่งผลให้การ
บริหารจัดการและการพัฒนาประเทศในทุก ๆ ด้าน ดำเนินการไปได้อย่างต่อเนื่องและ
ราบรื่นตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ซ่ึงเปน็ กญุ แจสำคญั ที่จะนำไปสู่การบรรลุ
เป้าหมายการพัฒนาที่ยงั่ ยนื
๔.๒.๑ การแก้ไขปัญหาความมนั่ คงในปัจจบุ นั
๔.๒.๒ การติดตาม เฝา้ ระวัง ปอ้ งกนั และแก้ไขปญั หาทอี่ าจอุบตั ขิ นึ้ ใหม่
๔.๒.๓ การสร้างความปลอดภยั และความสนั ตสิ ุขอยา่ งถาวรในพนื้ ท่ีจังหวดั ชายแดนภาคใต้
...มีการส่งเสริมให้ภาคประชาสังคม ร่วมมือกับภาครัฐในการพัฒนาพื้นที่อย่าง
เข้มแข็ง ต่อเน่ือง และสอดคล้องกับความต้องการของทุกกลุ่ม ประชาชน
โดยเฉพาะเยาวชน ตามยุทธศาสตร์พระราชทาน “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” หลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง รวมทั้งศาสตร์พระราชา รวมถึงการสร้างเสริม
โอกาสในการเขา้ ถงึ การบริการต่าง ๆ ของรฐั ใหท้ ัดเทียมกบั ภมู ิภาคอน่ื ๆ...
๔.๒.๔ การรักษาความมั่นคงและผลประโยชน์ทางทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม ทั้ง
ทางบกและทางทะเล
. . . ส ร ้ า ง ค วา ม ต ร ะ ห น ั ก ร ้ ู ใ ห ้ แ ก ่ ป ร ะ ชา ชน ใ น เ รื่ อ ง ก า ร ใ ห ้ ค วา ม ส ำ ค ั ญ ก ั บ ฐ า น
ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมของประเทศ การจัดสรรทรัพยากรอย่างเป็น
ธรรม ตลอดถึงแนวพระราชดำริในการอนุรักษ์ พัฒนา ฟื้นฟู ป้องกัน และดูแล
รักษาทรัพยากรธรรมชาติ จนเกิดความรัก หวงแหน และมีส่วนร่วมในการ
ดำเนินการตา่ ง ๆ อย่างเขม้ แข็งยง่ั ยนื ...

๔.๓ การพัฒนาศักยภาพของประเทศให้พรอ้ มเผชิญภัยคุกคามทกี่ ระทบต่อความมั่นคงของชาติ
เพ่ือยกระดับขีดความสามารถของกองทัพและหน่วยงานด้านความมั่นคงทั้งระบบของ
ประเทศ ให้มีความพร้อม ในการป้องกันและรักษาอธิปไตยของประเทศ รวมท้ังสามารถ
ตดิ ตาม ป้องกัน แก้ไข และรบั มือกบั ปัญหา ความม่ันคงทกุ มติ ิทุกรูปแบบและทุกระดับแบบ

92 โครงการพฒั นาระบบการติดตาม ประเมนิ และรายงานผลการพฒั นาพื้นทตี่ ามแนวทางความคุ้มค่าของการจดั การงบประมาณ
มลู นธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

บรู ณาการใหม้ ีความพร้อมและเพยี งพอต่อการปอ้ งกันภัยคุกคาม ทกุ มิติ ทุกรูปแบบ และทุก
ระดบั ความรุนแรง
๔.๓.๑ การพัฒนาระบบงานข่าวกรองแหง่ ชาตแิ บบบูรณาการอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ
๔.๓.๒ การพัฒนาและผนึกพลังอำนาจแห่งชาติ กองทัพและหน่วยงานความม่ันคง รวมท้ัง

ภาครัฐและภาคประชาชน ให้พร้อมป้องกันและรักษาอธิปไตยของประเทศ และ
เผชญิ กับภยั คุกคามได้ทกุ มิติ ทกุ รูปแบบและทกุ ระดบั
๔.๓.๓ การพัฒนาระบบเตรียมพร้อมแห่งชาติและการบริหารจัดการภัยคุกคามให้มี
ประสทิ ธิภาพ

๔.๔ การบูรณาการความร่วมมอื ด้านความมั่นคงกับอาเซียนและนานาชาติ รวมถึงองคก์ รภาครัฐ
และที่มิใช่ภาครัฐ เพ่ือสร้างเสริมความสงบ สันติสุข ความมั่นคง และความเจริญก้าวหน้า
ให้กบั ประเทศชาติ ภูมภิ าค และโลก อยา่ งยง่ั ยืน รวมทั้งส่งเสริมใหเ้ กดิ ความร่วมมือระหว่าง
ประเทศทจ่ี ะรองรบั ปญั หาร่วมกันได้
๔.๔.๑ การเสริมสรา้ งและรกั ษาดุลยภาพสภาวะแวดลอ้ มระหว่างประเทศ
๔.๔.๒ การเสริมสรา้ งและธำรงไวซ้ ึ่งสันติภาพและความมนั่ คงของภมู ิภาค
...ตลอดจนผลักดนั และเผยแพรก่ ารพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
และศาสตรพ์ ระราชา ให้เป็นท่ีเข้าใจและมกี ารนำไปประยุกต์ใช้อย่างกวา้ งขวาง
และต่อเนื่องในภูมิภาค อันจะนำไปสู่การบรรลุ เป้าหมายการพัฒนาอย่างย่ังยืน
รว่ มกนั ต่อไป...
๔.๔.๓ การร่วมมือทางการพัฒนากับประเทศเพื่อนบ้าน ภูมิภาค โลก รวมถึงองค์กรภาครัฐ
และท่ีมิใชภ่ าครฐั

๔.๕ การพัฒนากลไกการบริหารจัดการความมั่นคงแบบองคร์ วม เพ่ือใหก้ ลไกสำคญั ต่างๆทำงาน
ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ สามารถสง่ เสริมและสนบั สนนุ การบริหารและพัฒนาประเทศได้อย่าง
แทจ้ รงิ เป็นรูปธรรม มกี ารใชห้ ลักธรรมาภบิ าล และการบังคบั ใช้กฎหมายอยา่ งเคร่งครัดและมี
ประสิทธภิ าพ สามารถขจัดปัญหา การทุจริตและประพฤติมิชอบอย่างจรงิ จงั เกิดความม่ันใจ
ไดว้ า่ หนว่ ยงานรบั ผิดชอบท้ังหลักและรองพร้อมรบั มือกับภยั คกุ คามทกุ รปู แบบทั้งในปัจจุบัน
และอนาคต
๔.๕.๑ การพัฒนากลไกให้พร้อมสำหรับการติดตาม เฝ้าระวัง แจ้งเตือน ป้องกนั และแก้ไข
ปญั หาความมั่นคงแบบองค์รวมอย่างเปน็ รูปธรรม
๔.๕.๒ การบรหิ ารจัดการความมนั่ คงใหเ้ อ้ืออำนวยตอ่ การพฒั นาประเทศในมติ อิ ืน่ ๆ
๔.๕.๓ การพัฒนากลไกและองคก์ รขบั เคลอ่ื นยทุ ธศาสตร์ชาตดิ ้านความมนั่ คง

โครงการพัฒนาระบบการตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพน้ื ทตี่ ามแนวทางความค้มุ ค่าของการจดั การงบประมาณ 93
มลู นิธิปดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 ดา้ นการพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพทรพั ยากรมนุษย์

เป้าหมาย
1. คนไทยเป็นคนดี คนเกง่ มคี ณุ ภาพ พรอ้ มสำหรบั วิถีชวี ิตในศตวรรษที่ ๒๑
2. สังคมไทยมสี ภาพแวดลอ้ มที่เอื้อและสนบั สนุนต่อการพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต

ตัวชีว้ ดั
1. การพฒั นาคณุ ภาพชวี ิต สุขภาวะ และความเป็นอยทู่ ดี่ ขี องคนไทย
2. ผลสัมฤทธทิ์ างการศึกษาและการเรยี นรตู้ ลอดชีวิต
3. การพฒั นาสังคมและครอบครัวไทย

ประเดน็ ยุทธศาสตร์ชาตดิ ้านการพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์

๔.๑ การปรับเปล่ียนค่านิยมและวัฒนธรรม มุ่งเน้นให้สถาบันทางสังคมร่วมปลูกฝังค่านิยม
วัฒนธรรม ท่ีพึงประสงค์ โดยบูรณาการร่วมระหว่าง “ครอบครัว ชุมชน ศาสนา การศึกษา
และสื่อ” ในการหล่อหลอมคนไทย ให้มีคุณธรรม จริยธรรม ในลักษณะที่เป็น ‘วิถี’ การ
ดำเนนิ ชีวิต
๔.๑.๑ การปลกู ฝังค่านิยมและวัฒนธรรมผา่ นการเล้ยี งดใู นครอบครวั
โดยสง่ เสริมใหค้ รอบครัวมีความอบอุ่น ดำเนนิ ชีวิตโดยยึดมนั่ ในคุณธรรม จรยิ ธรรม
มัธยสั ถ์ อดออม ซอ่ื สัตย์ และแนวปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง มกี ารจัดกจิ กรรม
ที่ช่วยเสรมิ สร้างคณุ ลักษณะดงั กล่าว รวมทง้ั การพัฒนาพอ่ แมใ่ ห้เป็นแบบอยา่ งที่ดใี น
การดำเนินชีวิต
๔.๑.๒ การบรู ณาการเรอ่ื งความซอ่ื สัตย์ วนิ ัย คณุ ธรรม จริยธรรมในการจดั การเรยี นการสอน
ในสถานศกึ ษา
๔.๑.๓ การสรา้ งความเข้มแขง็ ในสถาบนั ทางศาสนา
๔.๑.๔ การปลูกฝังค่านยิ มและวฒั นธรรมโดยใชช้ มุ ชนเป็นฐาน
๔.๑.๕ การสร้างค่านิยมและวฒั นธรรมทพี่ ึงประสงค์จากภาคธรุ กจิ
๔.๑.๖ การใชส้ ือ่ และสอ่ื สารมวลชนในการปลูกฝังค่านยิ มและวฒั นธรรมของคนในสังคม
๔.๑.๗ การส่งเสริมให้คนไทยมีจิตสาธารณะและมคี วามรบั ผิดชอบต่อสว่ นรวม

๔.๒ การพัฒนาศักยภาพคนตลอดชว่ งชวี ติ มุง่ เน้นการพฒั นาคนเชิงคุณภาพในทกุ ช่วงวยั ตงั้ แต่ชว่ ง
การต้ังครรภ์ ปฐมวัย วัยเด็ก วัยรุ่น วัยเรียน วัยผู้ใหญ่ วัยแรงงานและวัยผู้สูงอายุ เพื่อสร้าง
ทรพั ยากรมนษุ ย์ ท่ีมศี กั ยภาพ มีทักษะความรู้ เป็นคนดี มีวินัย เรยี นรูไ้ ดด้ ้วยตนเองในทุกช่วง
วัย มีความรอบรู้ทางการเงิน มีความสามารถในการวางแผนชวี ติ และการวางแผนทางการเงิน
ที่เหมาะสมในแต่ละช่วงวัย และความสามารถในการดำรงชีวิตอย่างมีคุณค่า รวมถึงการ

94 โครงการพฒั นาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพฒั นาพืน้ ท่ตี ามแนวทางความคุ้มค่าของการจัดการงบประมาณ
มลู นิธปิ ิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

พัฒนาและปรับทัศนคตใิ หค้ นทกุ ชว่ งวัยท่ีเคยกระทำผดิ ได้กลับมาใชช้ วี ติ ในสังคมไดอ้ ย่างสงบ
สุขและเป็นกำลังสำคัญในการพฒั นาประเทศ
๔.๒.๑ ช่วงการตงั้ ครรภ/์ ปฐมวัย
๔.๒.๒ ช่วงวัยเรียน/วัยรุ่น
๔.๒.๓ ช่วงวัยแรงงาน
๔.๒.๔ ชว่ งวยั ผสู้ งู อายุ

๔.๓ ปฏริ ูปกระบวนการเรยี นรทู้ ตี่ อบสนองตอ่ การเปลย่ี นแปลงในศตวรรษที่ ๒๑ โดยมงุ่ เน้นผเู้ รยี น
ให้มีทักษะการเรยี นรู้และมีใจใฝเ่ รียนรู้ตลอดเวลา มีการออกแบบระบบการเรยี นรู้ใหม่ การ
เปลยี่ นบทบาทครู การเพม่ิ ประสทิ ธิภาพระบบบรหิ ารจัดการศกึ ษา และการพัฒนาระบบการ
เรียนรู้ตลอดชีวิต การสร้างความต่ืนตัวให้คนไทยตระหนกั ถึงบทบาท ความรับผดิ ชอบ และ
การวางตำแหน่งของประเทศไทยในภมู ภิ าคเอเชยี อาคเนย์ และประชาคมโลก การวางพนื้ ฐาน
ระบบรองรับการเรียนรู้โดยใช้ดิจทิ ัลแพลตฟอร์ม และการสร้างระบบการศึกษาเพอื่ เป็นเลิศ
ทางวิชาการระดบั นานาชาติ
๔.๓.๑ การปรับเปลย่ี นระบบการเรยี นรูใ้ ห้เอือ้ ต่อการพฒั นาทักษะสำหรับศตวรรษท่ี ๒๑
๔.๓.๒ การเปล่ยี นโฉมบทบาท ‘ครู’ ให้เป็นครยู คุ ใหม่
๔.๓.๓ การเพม่ิ ประสิทธภิ าพระบบบรหิ ารจดั การศึกษาในทุกระดับ ทุกประเภท
๔.๓.๔ การพฒั นาระบบการเรียนรู้ตลอดชวี ติ
๔.๓.๕ การสร้างความต่ืนตัวให้คนไทยตระหนักถึงบทบาท ความรับผิดชอบ และการวาง
ตำแหนง่ ของประเทศไทยในภูมิภาคเอเชียอาคเนยแ์ ละประชาคมโลก
๔.๓.๖ การวางพนื้ ฐานระบบรองรับการเรียนรู้โดยใช้ดิจทิ ัลแพลตฟอร์ม
๔.๓.๗ การสรา้ งระบบการศึกษาเพอื่ เปน็ เลิศทางวิชาการระดบั นานาชาติ

๔.๔ การตระหนกั ถึงพหปุ ญั ญาของมนษุ ย์ทีห่ ลากหลาย อาทิ ภาษา ตรรกะและคณติ ศาสตร์ ด้าน
ทัศนะและมิติดนตรี กีฬาและการเคลื่อนไหวของร่างกาย การจัดการตนเอง มนุษยสัมพันธ์
รวมถึงผู้มคี วามสามารถอันโดดเด่นด้านใดดา้ นหนงึ่ หรือหลายด้าน โดยการพัฒนาและรักษา
กลุ่มผู้มีความสามารถพิเศษ ของพหุปญั ญาแตล่ ะประเภท การสรา้ งสภาพแวดลอ้ มและระบบ
สนบั สนนุ ประชากรไทยมีอาชพี บนฐาน พหุปญั ญา การสร้างเสริมศกั ยภาพผ้มู คี วามสามารถ
พิเศษใหส้ ามารถต่อยอดการประกอบอาชพี ได้อยา่ งมน่ั คง
๔.๔.๑ การพัฒนาและส่งเสริมพหุปัญญาผ่านครอบครัว ระบบสถานศึกษา สภาพแวดล้อม
รวมทัง้ สอ่ื
๔.๔.๒ การสร้างเส้นทางอาชีพ สภาพแวดล้อมการทำงาน และระบบสนับสนุนที่เหมาะสม
สำหรบั ผู้มคี วามสามารถพิเศษผ่านกลไกตา่ ง ๆ

โครงการพฒั นาระบบการตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการพฒั นาพน้ื ทตี่ ามแนวทางความคุ้มค่าของการจัดการงบประมาณ 95
มูลนธิ ปิ ิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

๔.๔.๓ การดึงดูดกลมุ่ ผู้เชยี่ วชาญต่างชาติและคนไทยท่ีมีความสามารถในต่างประเทศ ให้มา
สรา้ งและพฒั นาเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมใหก้ บั ประเทศ

๔.๕ การเสริมสรา้ งให้คนไทยมสี ขุ ภาวะทด่ี ี ครอบคลุมทั้งด้านกายใจสตปิ ัญญาและสังคมมุ่งเนน้
การเสริมสร้างการจัดการสุขภาวะในทุกรูปแบบ ที่นำไปสู่การมีศักยภาพในการจัดการสุข
ภาวะที่ดีได้ด้วยตนเอง พร้อมท้ังสนับสนุนให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการสร้างเสริมให้คน
ไทยมีสขุ ภาวะทดี่ ี และมที ักษะดา้ นสุขภาวะท่เี หมาะสม
๔.๕.๑ การสร้างความรอบรูด้ ้านสุขภาวะ
๔.๕.๒ การปอ้ งกันและควบคมุ ปัจจัยเสย่ี งที่คกุ คามสุขภาวะ
๔.๕.๓ การสร้างสภาพแวดล้อมที่เออื้ ต่อการมสี ุขภาวะท่ดี ี
๔.๕.๔ การพัฒนาระบบบริการสขุ ภาพทท่ี นั สมัยสนับสนนุ การสร้างสุขภาวะท่ีดี
๔.๕.๕ การส่งเสรมิ ใหช้ มุ ชนเปน็ ฐานในการสร้างสุขภาวะทด่ี ใี นทุกพ้นื ท่ี

๔.๖ การสรา้ งสภาพแวดล้อมท่เี อ้ือต่อการพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ มุ่งเน้น
การสร้างความอย่ดู มี สี ุขของครอบครัวไทย การส่งเสริมบทบาทในการมสี ่วนร่วมของภาครฐั
ภาคเอกชน ครอบครัวและชุมชนในการพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ย์ การปลกู ฝงั และพัฒนาทกั ษะ
นอกห้องเรยี น และการพัฒนา ระบบฐานขอ้ มูลเพอ่ื การพฒั นาทรัพยากรมนษุ ย์
๔.๖.๑ การสรา้ งความอยู่ดมี ีสขุ ของครอบครวั ไทย
๔.๖.๒ การส่งเสริมบทบาทการมีส่วนร่วมของภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วน
ทอ้ งถ่ิน ครอบครัวและชมุ ชนในการพัฒนาทรัพยากรมนษุ ย์
๔.๖.๓ การปลูกฝงั และพัฒนาทักษะนอกห้องเรียน
๔.๖.๔ การพัฒนาระบบฐานข้อมลู เพ่ือการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์

๔.๗ การเสริมสร้างศักยภาพการกีฬาในการสร้างคุณค่าทางสังคมและพัฒนาประเทศ โดยมุ่ง
ส่งเสริมการใช้กิจกรรมนันทนาการและกีฬาเป็นเครื่องมือในการเสริมสร้างสุขภาวะของ
ประชาชนอย่างครบวงจร และมีคุณภาพมาตรฐาน การสร้างนิสัยรักกีฬาและมีน้ำใจเป็น
นกั กฬี า และการใชก้ ีฬาและนนั ทนาการในการ พฒั นาจิตใจ สร้างความสามคั คขี องคนในชาติ
หล่อหลอมการเป็นพลเมืองดี พัฒนาคุณภาพชีวิต รวมท้ังการพัฒนาทักษะดา้ นกีฬาส่คู วาม
เป็นเลิศและกีฬาเพ่ือการอาชีพในระดับนานาชาติในการสร้างช่ือเสียงและเกียรติภูมิ ของ
ประเทศชาตเิ พอ่ื รองรับอตุ สาหกรรมกีฬา
๔.๗.๑ การสง่ เสรมิ การออกกำลังกาย และกฬี าขน้ั พนื้ ฐานให้กลายเปน็ วิถชี ีวติ
๔.๗.๒ การส่งเสรมิ ใหป้ ระชาชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมออกกำลงั กาย กฬี าและนนั ทนาการ
๔.๗.๓ การสง่ เสรมิ การกฬี าเพอื่ พฒั นาส่รู ะดบั อาชีพ

96 โครงการพฒั นาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพฒั นาพนื้ ทตี่ ามแนวทางความคุ้มคา่ ของการจัดการงบประมาณ
มลู นิธิปิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

๔.๗.๔ การพัฒนาบุคลากรด้านการกีฬาและนันทนาการเพื่อรองรับการเติบโตของ
อตุ สาหกรรมกฬี า

ยุทธศาสตร์ที่ 4 ดา้ นการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม

เป้าหมาย
1. สร้างความเป็นธรรม และลดความเหลอื่ มลา้ ในทกุ มติ ิ
2. กระจายศูนยก์ ลางความเจริญทางเศรษฐกิจและสังคม เพิ่มโอกาสให้ทุกภาคส่วนเข้ามา
เป็นกาลงั ของการพัฒนาประเทศในทกุ ระดับ
3. เพม่ิ ขดี ความสามารถของชมุ ชนท้องถ่นิ ในการพฒั นา การพง่ึ ตนเองและการจัดการตนเอง
เพ่ือสรา้ งสังคมคุณภาพ

ตัวช้ีวัด
1. ความแตกต่างของรายไดแ้ ละการเข้าถึงบริการภาครฐั ระหว่างกล่มุ ประชากร
2. ความก้าวหนา้ ของการพัฒนาคน
3. ความก้าวหนา้ ในการพัฒนาจังหวัดในการเป็นศูนย์กลางความเจริญทางเศรษฐกิจ สังคม
และเทคโนโลยี
4. คณุ ภาพชีวิตของประชากรสูงอายุ

ประเด็นยุทธศาสตร์ชาตดิ า้ นการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม

๔.๑ การลดความเหล่ือมล้า สร้างความเป็นธรรมในทกุ มติ ิ
๔.๑.๑ ปรับโครงสรา้ งเศรษฐกิจฐานราก
๔.๑.๒ ปฏริ ูประบบภาษแี ละการคมุ้ ครองผบู้ ริโภค
๔.๑.๓ กระจายการถือครองทด่ี ินและการเขา้ ถึงทรพั ยากร
๔.๑.๔ เพิ่มผลิตภาพและคมุ้ ครองแรงงานไทยใหเ้ ปน็ แรงงานฝมี ือทีม่ ีคุณภาพและความริเริ่ม
สร้างสรรค์ มีความปลอดภัยในการทำงาน
๔.๑.๕ สร้างหลกั ประกันทางสังคมทคี่ รอบคลมุ และเหมาะสมกับคนทุกช่วงวัย ทุกเพศภาวะ
และทุกกลุม่
๔.๑.๖ ลงทุนทางสังคมแบบมุ่งเป้าเพื่อช่วยเหลือกลุ่มคนยากจนและกลุ่มผู้ด้อยโอกาส
โดยตรง
๔.๑.๗ สร้างความเป็นธรรมในการเขา้ ถงึ บริการสาธารณสขุ และการศกึ ษา โดยเฉพาะสำหรบั
ผู้มรี ายได้นอ้ ยและกลุ่มผดู้ ้อยโอกาส
๔.๑.๘ สร้างความเปน็ ธรรมในการเข้าถงึ กระบวนการยตุ ธิ รรมอย่างทวั่ ถงึ

๔.๒ การกระจายศูนยก์ ลางความเจรญิ ทางเศรษฐกจิ สงั คมและเทคโนโลยี
๔.๒.๑ พัฒนาศนู ยก์ ลางความเจริญทางเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยีในภมู ภิ าค

โครงการพฒั นาระบบการตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผลการพฒั นาพน้ื ทตี่ ามแนวทางความคุ้มคา่ ของการจัดการงบประมาณ 97
มูลนิธิปดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

๔.๒.๒ กำหนดแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของแตล่ ะกลุม่ จงั หวัดในมิตติ ่าง ๆ
๔.๒.๓ จัดระบบเมืองท่เี อ้ือตอ่ การสร้างชีวิตและสังคมที่มีคณุ ภาพและปลอดภัย ให้สามารถ

ตอบสนองต่อสังคมสงู วัยและแนวโนม้ ของการขยายตัวของเมืองในอนาคต
๔.๒.๔ ปรบั โครงสร้างและแกไ้ ขกฎหมายระเบียบบริหารราชการแผน่ ดนิ เพอ่ื วางระบบและ

กลไกการบรหิ ารงานในระดบั ภาค กลุ่มจงั หวัด
๔.๒.๕ สนับสนุนการพฒั นาพื้นทบ่ี นฐานข้อมลู ความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรม
๔.๒.๖ การพัฒนากำลังแรงงานในพ้ืนท่ี

๔.๓ การเสรมิ สรา้ งพลงั ทางสังคม
๔.๓.๑ สร้างสงั คมเข้มแข็งทแ่ี บง่ ปัน ไมท่ อดทง้ิ กนั และมคี ณุ ธรรม
๔.๓.๒ การรองรับสังคมสูงวัยอยา่ งมีคุณภาพ
๔.๓.๓ สนับสนุนความร่วมมือระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน ภาควิชาการ ภาคประชาสังคม
และภาคประชาชน
๔.๓.๔ สง่ เสริมความเสมอภาคทางเพศและบทบาทของสตรใี นการสรา้ งสรรค์สงั คม
๔.๓.๕ สนับสนนุ การพฒั นาบนฐานทนุ ทางสังคมและวฒั นธรรม
๔.๓.๖ สนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสร้างสรรค์ เพื่อรองรับสังคมยุค
ดิจทิ ัล

๔.๔ การเพ่มิ ขดี ความสามารถของชุมชนทอ้ งถนิ่ ในการพฒั นาการพึ่งตนเองและการจัดการตนเอง
๔.๔.๑ ส่งเสริมการปรับพฤติกรรมในระดับครัวเรือน ให้มีขีดความสามารถในการจัดการ
วางแผนชวี ิต สขุ ภาพ ครอบครัว การเงินและอาชีพ
โดยใช้ข้อมลู ความรู้ และการยกระดบั การเรยี นรู้ ของครัวเรอื น ทง้ั ในกลุ่มครัวเรือน
ภาคเกษตรและอาชพี อ่ืน ๆ เพอื่ ปรับการคิดเชิงระบบ การวางแผนอนาคต การออม
และการลงทุน การดแู ลสุขภาพความเป็นอยู่ของสมาชิกในครอบครัว เพมิ่ ทักษะทาง
การเงินและการวางแผนการจัดการที่ดิน ที่อยู่อาศัยและระบบการผลิตด้านอาชีพ
เพิม่ ความสามารถในการประกอบการธุรกจิ การบรหิ ารจดั การ ตลอดจนพัฒนาผู้นำ
การเปลย่ี นแปลงในระดับชุมชนและท้องถิ่น อันเป็นการสร้างการเรยี นรู้จากภายใน
เพอ่ื สร้างคนที่มรี ะบบคิดทม่ี เี หตผุ ลและพึง่ ตนเองได้ตามแนวทางหลักปรชั ญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง
๔.๔.๒ เสริมสรา้ งศักยภาพของชมุ ชนในการพ่งึ ตนเองและการพ่งึ พากนั เอง
๔.๔.๓ สร้างการมีสว่ นรว่ มของภาคส่วนตา่ ง ๆ เพอ่ื สร้างประชาธิปไตยชมุ ชน
๔.๔.๔ สร้างภมู ิคุม้ กันทางปญั ญาใหก้ บั ชมุ ชน

98 โครงการพฒั นาระบบการตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการพฒั นาพื้นที่ตามแนวทางความคุม้ คา่ ของการจดั การงบประมาณ
มลู นิธปิ ดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

หากทบทวนแผนแมบ่ ทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติ ท้งั 23 ฉบบั พบว่าแผนแมบ่ ทท่ีมคี วามเกี่ยวข้องกับ
ภารกิจของสถาบันฯ มีจำนวน 6 ประเด็นด้วยกันประกอบด้วย ประเด็นความมั่นคง ประเด็นการเกษตร
ประเด็นพื้นที่และเมืองน่าอยู่อัจฉริยะ ประเด็นผู้ประกอบการและวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมยคุ
ใหม่ ประเด็นศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต และประเด็นเศรษฐกิจฐานราก ซึ่งแต่ละประเด็นแสดงความ
เช่ือมโยงกบั แตล่ ะยทุ ธศาสตรไ์ วด้ ังน้ี

ยทุ ธศาสตร9ชาตแิ ละแผนแม%บทภายใตย/ ทุ ธศาสตร9ชาตทิ ่ีเกี่ยวกับมูลนธิ ปิ Cดทองหลังพระสืบสานแนวพระราชดำริ

ยุทธศาสตร9 ยุทธศาสตรทT ่ี 1 ยทุ ธศาสตรT ยุทธศาสตรทT ่ี 2 ยุทธศาสตรT ยทุ ธศาสตรTที่ 3 ยทุ ธศาสตรTดGาน ยุทธศาสตรทT ่ี 4 ยทุ ธศาสตรดT าG น ยุทธศาสตรTที่ 5 ยุทธศาสตรดT าG น ยุทธศาสตรTที่ 6 ยทุ ธศาสตรTดาG น
ชาติ ดาG นความม่นั คง ดGานการสรGางความสามารถใน การพฒั นาและเสริมสราG ง การสรGางโอกาสความเสมอภาค การสรGางการเติบโตบนคณุ ภาพ การปรับสมดุลและพัฒนาระบบ
ตัวชว้ี ัด ศักยภาพทรัพยากรมนุษยT ชีวติ ทีเ่ ป\นมิตรกบั สงิ่ แวดลGอม
การแขง? ขัน ตวั ชีว้ ดั และเทา? เทียมกันทางสังคม การบรหิ ารจัดการภาครัฐ
ตวั ชวี้ ดั ตัวชวี้ ดั ตัวชว้ี ัด ตวั ช้วี ดั

แผนแมบ% ท
ที่เกีย่ วข/อง

1. ประเด็น ความมั่นคง

3. ประเดน็ การเกษตร

6. ประเด็น พ้ืนทแี่ ละเมืองนา? อย?ู
อัจฉรยิ ะ

8. ประเด็น ผปูG ระกอบการ
และวิสาหกิจขนาดกลางและ

ขนาดย?อมยุคใหม?
11. ประเดน็ ศกั ยภาพคนตลอด

ช?วงชวี ิต

16. ประเด็น เศรษฐกิจฐานราก

แผนแม?บทอนื่ ๆ

รูปท่ี 3.32 ยทุ ธศาสตรช์ าติ และแผนแมบ่ ทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580)

3.6.4.2 แผนการปฏริ ปู ประเทศ

ภายใตแ้ ผนปฏิรปู ประเทศ ทัง้ 11 ด้าน ประกอบดว้ ย ด้านการเมือง ดา้ นการบริหารราชการแผน่ ดิน
ด้านกฎหมาย ด้านกระบวนการยุติธรรม ด้านเศรษฐกิจ ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ด้าน
สาธารณสุข ด้านสื่อสารมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านสังคม ด้านพลังงาน และด้านการป้องกันและ
ปราบปรามการทุจริตและประพฤตมิ ิชอบ มดี า้ นที่เกี่ยวขอ้ งกับภารกจิ ของสถาบันฯ คือดา้ นเศรษฐกิจและ
ดา้ นสังคม ดงั รายละเอียดตอ่ ไปน้ี

แผนการปฏิรปู ประเทศด้านเศรษฐกจิ
เป้าหมายรวม
๑) มีผลติ ภาพสูงข้ึน (higher productivity)
๒) มคี วามสามารถในการแข่งขนั ในระดบั ประเทศสงู ข้ึน (more competitive)
๓) มกี ารเติบโตอยา่ งครอบคลุมทั่วทุกภาคสว่ น (more inclusive)
๔) มีการเติบโตอยา่ งย่ังยนื (more sustainable)
๕) สถาบันทางเศรษฐกิจมสี มรรถนะสูง (high performance economic institution)

โครงการพฒั นาระบบการตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผลการพฒั นาพื้นทตี่ ามแนวทางความคมุ้ คา่ ของการจดั การงบประมาณ 99
มูลนธิ ิปดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

หวั ข้อท่ี ๒ : การปฏิรปู ด้านความเท่าเทยี มและการเติบโตอยา่ งมสี ่วนรว่ ม
หวั ขอ้ ยอ่ ย ๒.๑ การยกระดับรายไดแ้ ละคุณภาพชวี ติ ในระดบั บุคคล
๒.๑ เรื่องและประเด็นการปฏิรูปที่ ๑: การขยายผลโครงการในพระราชดำริกว่า

๔,๐๐๐ โครงการท่ัวประเทศ
โครงการในพระราชดำริกว่า ๔,๐๐๐ โครงการ รวมถึงหลักคิดเกษตรทฤษฎีใหม่
เป็นแนวทางที่จะช่วยเพิ่มคุณภาพชีวิตให้เกษตรกรได้อย่างย่ังยืน ตามหลักเศรษฐกิจ
พอเพียงของในหลวงรัชกาลที่ ๙ ประเดน็ ปฏิรูปนมี้ งุ่ ท่ีจะสง่ เสริมให้เกิดการเรียนรู้อย่างมี
ส่วนร่วมของเกษตรกร เพื่อให้เกษตรกรท่ัวประเทศมีความเข้าใจและไดน้ ำแนวคิดเหล่าน้ี
ไปใช้ในการทำการเกษตรกรรมอยา่ งย่ังยืน
สว่ นสำคัญของประเดน็ ปฏิรปู นจ้ี ึงรวมถึงการให้ความสำคญั กับการถ่ายทอดแนวคิด
อย่างมีส่วนร่วม ซึ่งก็รวมถึงการสรรหาบุคลากรที่มีคุณภาพ ประสบการณ์ และน่าเช่อื ถอื
ในท้องถ่ิน การจัดตงั้ ศูนย์การเรยี นรู้ทวั่ ประเทศ เพอ่ื ใหก้ ารถา่ ยทอดเป็นไปอยา่ งมสี ่วนร่วม
ตามบริบทจริงของแต่ละพ้ืนท่เี พาะปลูก
๒.๑.๑ เป้าหมายหรือผลอนั พึงประสงคแ์ ละผลสมั ฤทธ์ิ
๑) ประชาชนมีคุณภาพชวี ติ ท่ีดีขน้ึ จากการนอ้ มนำโครงการในพระราชดำรไิ ปปฏิบัติ
๒) ประเทศมกี ารพฒั นาอย่างยั่งยืน เข้มแข็งจากฐานราก
๓) เกษตรกรท่ัวประเทศเขา้ ใจ และหนั มาทำการเกษตรทฤษฎใี หมเ่ พิม่ ขน้ึ
๒.๑.๒ กรอบระยะเวลาในการดำเนนิ การ ๑๒ เดือน
๒.๑.๓ ตัวชว้ี ดั
๑) จำนวนประชาชนที่น้อมนำโครงการในพระราชดำรไิ ปปฏบิ ัติ
๒) จำนวนประชาชนทม่ี คี ณุ ภาพชีวติ ท่ดี ีขึ้นจากการนอ้ มนำโครงการในพระราชดำริไป
ปฏิบตั ิ
๓) จำนวนโครงการและพนื้ ทีท่ ่มี ีการพฒั นาตามแนวพระราชดำริ
๔) จำนวนเกษตรกรทีเ่ ข้าใจ และหันมาทำการเกษตรทฤษฎีใหม่
๕) จำนวนประชาชนทมี่ ีคณุ ภาพชวี ติ ท่ีดีข้ึน
๒.๑.๔ วงเงินและแหล่งเงนิ อยรู่ ะหว่างการตอบกลบั จากหน่วยงาน

แผนการปฏิรูปประเทศด้านสังคม
เปา้ หมายรวม
๑) คนไทยมีหลักประกันทางรายไดใ้ นวยั เกษียณทเ่ี พยี งพอต่อการดำรงชีวิตอยา่ งมีคุณภาพ
๒) สังคมไทยเป็นสงั คมแหง่ โอกาสและไมแ่ บ่งแยก
๓) ภาครัฐมีขอ้ มลู และสารสนเทศด้านสงั คมทบ่ี ูรณาการทุกหนว่ ยงานและเปดิ โอกาส ให้ประชาชน

สามารถเขา้ ถึงได้

100 โครงการพัฒนาระบบการตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพนื้ ทีต่ ามแนวทางความค้มุ ค่าของการจดั การงบประมาณ
มลู นธิ ปิ ิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

๔) ชมุ ชน/ท้องถ่นิ มคี วามเข้มแขง็ โดยสามารถจัดการกนั เองและทำงานร่วมกบั ภาคสว่ นต่างๆ ได้
๕) คนไทยมกี ารปรับเปล่ียนพฤติกรรมไปสู่การมจี ิตสาธารณะเพิม่ ข้นึ
ตวั ชี้วดั
๑) อัตราทดแทนรายได้ของระบบบำนาญ (Replacement Rate) มากกวา่ รอ้ ยละ ๓๐
๒) สดั สว่ นของกลุม่ ผเู้ สยี เปรียบในสังคมทมี่ ศี กั ยภาพ สามารถประกอบอาชพี ได้ และมีคุณภาพชีวิต

ท่ีดขี น้ึ
๓) จำนวนชุดข้อมูลที่ได้มีการบูรณาการระหว่างหน่วยงานและเปิดเผยให้ประชาชนนำไปใช้

ประโยชนไ์ ด้
๔) ร้อยละของชมุ ชนท่ีมปี ญั หาการมสี ่วนร่วมในระดับมากและปานกลางลดลงอย่างตอ่ เนื่อง
๕) การใช้เวลาของประชากรในการให้บริการชมุ ชนเพ่ิมขน้ึ

3.6.4.3 แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 12 พ.ศ. 2560 - 2564

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ได้จัดทำแผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่12 เพื่อเป็นทิศทางในการพัฒนาประเทศ ประกอบไปด้วย 10
ยุทธศาสตร์และมวี ัตถปุ ระสงค์ในระยะ พ.ศ.2560-2564 ดงั นี้

วตั ถปุ ระสงค์
1. เพื่อวางรากฐานให้คนไทยเป็นคนที่สมบูรณ์ มีคุณธรรมจริยธรรม มีระเบียบ วินัย ค่านิยมที่ดี

มจี ติ สาธารณะและมคี วามสขุ
2. เพือ่ ให้คนไทยมีความมน่ั คงทางเศรษฐกจิ และสังคม ได้รบั ความเป็นธรรมในการเข้าถึงทรัพยากร

และบรกิ ารทางสงั คมท่มี คี ุณภาพ
3. เพื่อให้เศรษฐกิจเข้มแข็ง แข่งขันได้ มีเสถียรภาพและมีความย่ังยืน สร้างความเข้มแข็งของฐาน

การผลติ และบริการเดิมและขยายฐานใหมโ่ ดยการใชน้ วตั กรรมท่เี ขม้ ข้นมากขึ้น
4. เพอื่ รกั ษาและฟ้นื ฟทู รพั ยากรธรรมชาติและคณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ มให้สามารถสนับสนุนการเติบโตท่ี

เปน็ มิตรกบั ส่งิ แวดล้อม
5. เพ่ือใหก้ ารบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ มปี ระสทิ ธภิ าพ โปรง่ ใส ทนั สมัย และมกี ารทำงานเชิงบรู ณาการ

ของภาคกี ารพฒั นา
6. เพื่อให้มีการกระจายความเจริญไปสู่ภูมิภาค เพื่อรองรับการพัฒนายกระดับฐานการผลิตและ

บรกิ าร
7. เพื่อผลักดนั ใหป้ ระเทศไทยมีความเชอ่ื มโยงกับประเทศตา่ งๆ ท้งั ในระดับอนุภูมิภาค ภูมิภาคและ

นานาชาติได้อยา่ งสมบรู ณแ์ ละมีประสิทธภิ าพ

ยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาประเทศ
ยุทธศาสตรท์ ี่ 1 การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทนุ มนุษย์

โครงการพฒั นาระบบการตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการพฒั นาพนื้ ทตี่ ามแนวทางความคมุ้ ค่าของการจดั การงบประมาณ 101
มลู นธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

ยทุ ธศาสตร์ที่ 2 การสรา้ งความเป็นธรรมและลดความเหล่ือมล้ำในสงั คม
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 การสรา้ งความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขนั ไดอ้ ย่างยัง่ ยืน
ยุทธศาสตรท์ ่ี 4 การเตบิ โตท่เี ปน็ มิตรกับสงิ แวดล้อมเพื่อการพฒั นาอย่างยงั่ ยืน
ยุทธศาสตรท์ ี่ 5 การเสริมสร้างความม่นั คงแห่งชาติ เพอ่ื การพฒั นาประเทศสคู่ วามม่นั คงและยั่งยืน
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 6 การบรหิ ารจัดการในภาครฐั การปอ้ งกนั การทุจรติ ประพฤติมชิ อบและธรรมาภิบาล

ในสังคมไทย
ยุทธศาสตร์ท่ี 7 การพฒั นาโครงสรา้ งพน้ื ฐานและระบบโลจิสตกิ ส์
ยุทธศาสตรท์ ี่ 8 การพัฒนาวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจยั และนวตั กรรม
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 9 การพัฒนาภาค เมือง และพน้ื ที่เศรษฐกิจ
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 10 ความร่วมมอื ระหวา่ งประเทศเพื่อการพัฒนา

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 2 การสร้างความเป็นธรรมและลดความเหลอื่ มล้าในสังคม

วตั ถปุ ระสงค์
1. เพอื่ ขยายโอกาสทางเศรษฐกจิ และสังคมใหแ้ กก่ ลมุ่ ประชากรรอ้ ยละ ๔๐ ท่ีมีรายไดต้ ำ่ สดุ
2. เพอ่ื ให้คนไทยทุกคนเข้าถึงบรกิ ารทางสงั คมท่มี ีคณุ ภาพได้อย่างทว่ั ถงึ
3. เพอื่ สร้างความเข้มแข็งใหช้ ุมชน

เป้าหมายการพัฒนา
1. ลดปัญหาความเหล่อื มลำ้ ด้านรายได้ของกลมุ่ คนทม่ี ีฐานะทางเศรษฐกิจสงั คมที่แตกตา่ งกนั
และแก้ไขปญั หาความยากจน
2. เพิม่ โอกาสการเข้าถึงบริการพื้นฐานทางสงั คมของภาครัฐ
3. เพิ่มศักยภาพชุมชนและเศรษฐกิจฐานรากให้มคี วามเข้มแข็ง เพื่อให้ชุมชนพึ่งพาตนเอง
และไดร้ ับส่วนแบ่งผลประโยชนท์ างเศรษฐกจิ มากข้นึ

ยุทธศาสตร์ท่ี 3 การสรา้ งความเข้มแข็งทางเศรษฐกจิ และแขง่ ขนั ไดอ้ ยา่ งยงั่ ยนื

วัตถุประสงค์
1. สรา้ งความเขม็ แข็งใหเ้ ศรษฐกิจขยายตวั อยา่ งมเี สถยี รภาพและย่งั ยนื
2. สรา้ งความเขม้ แขง็ ใหก้ บั เศรษฐกจิ รายสาขา เพ่ือยกระดับขดี ความสามารถในการแข่งขัน
ของภาคเกษตร อุตสาหกรรม บริการ และการคา้ การลงทุน

เป้าหมายการพัฒนา
1. เศรษฐกจิ ขยายตวั อย่างมีเสถียรภาพและยงั่ ยืน
2. การสร้างความเข้มแขง็ ใหเ้ ศรษฐกิจรายสาขา

102 โครงการพฒั นาระบบการตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพน้ื ทต่ี ามแนวทางความคมุ้ คา่ ของการจดั การงบประมาณ
มูลนิธปิ ิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

ยุทธศาสตร์ที่ 5 การเสริมสร้างความมั่นคงแห่งชาติ เพื่อการพัฒนาประเทศสู่ความมั่งคั่งและ
ยั่งยืน

วตั ถุประสงค์
1. เพื่อปกป้องสถาบันพระมหากษัตริย์และเสริมสร้างความมั่นคงภายใน รวมทั้งป้องกัน
ปัญหาภัยคกุ คามท่เี ป็นอปุ สรรคต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ สงั คม และการเมอื งของชาติ
2. เพื่อสร้างความพร้อมและผนึกกำลังของทกุ ภาคส่วน ให้มีขีดความสามารถในการบริหาร
จัดการด้านความมั่นคง และมศี กั ยภาพในการป้องกันและแก้ไขสถานการณ์ที่เกิดจากภัย
คุกคามท้ังภัยทางทหารและภัยคกุ คามอ่นื ๆ
3. เพื่อเสริมสร้างความร่วมมือด้านความมั่นคงกับมิตรประเทศในการสนับสนุนการรักษา
ความสงบสุขและผลประโยชนข์ องชาติ
4. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารนโยบายด้านความมั่นคงและนโยบายทางเศรษฐกิจ
สงั คมทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ มให้มีความเปน็ เอกภาพ

เป้าหมายการพฒั นา
1. ปกป้องและเชดิ ชสู ถาบันพระมหากษตั ริย์ให้เป็นสถาบันหลักของประเทศ
2. สังคมมคี วามสมานฉนั ท์ ผเู้ หน็ ตา่ งทางความคิดของคนในชาติสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่าง
สนั ติ ประชาชนมสี ่วนร่วมปอ้ งกันแก้ไขปัญหาความมน่ั คง
3. ประชาชนในจังหวัดชายแดนภาคใต้มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินมีโอกาสใน
การศกึ ษาและการประกอบอาชพี ท่สี รา้ งรายได้เพมิ่ ข้ึน
4. ประเทศไทยมีความสัมพันธ์และความร่วมมือด้านความมั่นคงในกลุ่มประเทศสมาชิก
อาเซียน มิตรประเทศ และนานาประเทศในการปอ้ งกนั ภยั คกุ คามในรูปแบบตา่ ง ๆ ควบคู่
ไปกับการรกั ษาผลประโยชน์ของชาติ
5. ประเทศไทยมคี วามพรอ้ มตอ่ การรบั มือภัยคกุ คามทง้ั ภัยคุกคามทางทหารและภัยคุกคาม
อ่นื ๆ
6. แผนงานดา้ นความม่นั คงมกี ารบรู ณาการสอดคลอ้ งกับนโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม
ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม

ยทุ ธศาสตร์ที่ 9 การพัฒนาภาค เมือง และพื้นทเี่ ศรษฐกิจ

วัตถุประสงค์
1. เพ่อื กระจายความเจริญและโอกาสทางเศรษฐกิจไปสู่ภูมิภาคอยา่ งท่ัวถงึ มากขึ้น
2. เพ่ือพัฒนาเมอื งศูนย์กลางของจงั หวดั ใหเ้ ป็นเมืองนา่ อยูส่ ำหรับคนทกุ กล่มุ
3. เพอ่ื พฒั นาและฟืน้ ฟพู ้นื ทีฐ่ านเศรษฐกิจหลักให้ขยายตวั อยา่ งเปน็ มิตรตอ่ ส่งิ แวดล้อม และ
เพ่มิ คณุ ภาพชวี ติ ของคนในชมุ ชน

โครงการพฒั นาระบบการตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพน้ื ทต่ี ามแนวทางความคมุ้ ค่าของการจดั การงบประมาณ 103
มลู นิธิปิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

4. เพอ่ื พฒั นาพน้ื ที่เศรษฐกิจใหม่ให้สนับสนนุ การเพม่ิ ขดี ความสามารถในการแขง่ ขันและการ
พัฒนาในพ้นื ทอี่ ยา่ งยัง่ ยนื

เป้าหมายการพฒั นา
1. ลดชอ่ งว่างรายไดร้ ะหว่างภาคและมกี ารกระจายรายไดท้ ีเ่ ป็นธรรมมากขนึ้
2. เพม่ิ จำนวนเมอื งศูนย์กลางของจงั หวัดเปน็ เมอื งนา่ อยูส่ ำหรบั คนทกุ กลุ่มในสังคม
3. พน้ื ท่ีฐานเศรษฐกจิ หลกั มรี ะบบการผลติ ทมี่ ีประสทิ ธิภาพสูงและเป็นมิตรตอ่ ส่ิงแวดล้อม
4. เพม่ิ มูลคา่ การลงทนุ ในพืน้ ที่เศรษฐกจิ ใหม่บรเิ วณชายแดน

3.6.4.4 โดยสรุป

ภาพรวมยทุ ธศาสตรช์ าติ/นโยบายของภาครฐั จากยุทธศาสตรช์ าติ (พ.ศ. 2561 - 2580) แผนแมบ่ ท
ภายใต้ยทุ ธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580) แผนการปฏริ ปู ประเทศ และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564 ท่ีเกี่ยวกับสถาบนั สง่ เสริมและพฒั นากิจกรรมปิดทองหลังพระสืบ
สานแนวพระราชดำริ สรุปไดด้ งั นี้

ความสำเร็จในการพัฒนามลู นิธิปAดทองหลงั พระสบื สานแนวพระราชดำริ

ดา" นเศรษฐกจิ ดา" นสังคม ดา" นสงิ่ แวดล"อม ดา" นวัฒนธรรม ดา" นการมีสว: นรว: ม

ยุทธศาสตรชL าติ q ยทุ ธศาสตร*ท่ี 1 ยุทธศาสตร*ด0านความม่นั คง
(6 ยทุ ธศาสตร)L q ยุทธศาสตรท* ่ี 3 ยุทธศาสตรก* ารพฒั นาและเสรมิ สรา0 งศักยภาพทรพั ยากรมนษุ ย*
q ยุทธศาสตร*ท่ี 4 ยทุ ธศาสตร*ด0านการสร0างโอกาสความเสมอภาคและเทEาเทยี มกันทางสงั คม
แผนแม:บท
(23 แผน) q 1. ประเด็น ความมั่นคง
q 36.. ปปรระะเเดด็็นน พกา้ืนรทเกี่แษลตะเรมืองนEาอยูอE จั ฉริยะ
q 8. ประเดน็ ผูป0 ระกอบการและวิสาหกจิ ขนาดกลางและขนาดยEอมยคุ ใหมE
q 1116.. ปปรระะเเดดน็็น เศศกั รยษภฐากพจิ คฐนานตรลาอกดชEวงชวี ติ
q
q

แผนปฏริ ปู q แผนการปฏิรปู ประเทศดา0 นเศรษฐกิจ (โครงการพระราชดำริ)
(11 ดา" น) q แผนการปฏริ ปู ประเทศดา0 นสังคม

แผน 12ฯ q ยทุ ธศาสตรท* ่ี 2 การสรา0 งความเปนQ ธรรมและลดความเหลอื่ มลา0 ในสังคม
(10 ยทุ ธศาสตร)L q ยุทธศาสตร*ที่ 3 การสร0างความเข0มแขง็ ทางเศรษฐกจิ และแขงE ขันได0อยEางย่ังยนื
q ยทุ ธศาสตร*ท่ี 5 การเสริมสร0างความม่นั คงแหEงชาตเิ พอื่ การพฒั นาประเทศสูEความมง่ั คัง่ และยงั่ ยืน
q ยุทธศาสตร*ที่ 9 การพฒั นาภาค เมือง และพืน้ ที่เศรษฐกจิ

รูปที่ 3.33 ภาพรวมยุทธศาสตร์/นโยบายของภาครัฐเกีย่ วกบั มลู นธิ ปิ ิดทองหลงั พระ สบื สานแนว
พระราชดำริ

นอกจากน้ี คณะท่ปี รกึ ษาฯ ยังได้ถอดตัวชวี้ ัดความสำเรจ็ ในการพัฒนาที่เก่ียวขอ้ งกับเก่ียวกับมูลนิธิ

ปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ จากยุทธศาสตร์/แผนต่างๆข้างต้นไว้ในด้านต่างๆ ทั้งด้าน

เศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านวัฒนธรรมและด้านการมสี ่วนร่วม โดยแยกออกมาเปน็ ตัวช้ีวัด
ระดบั ผลลิตและตัวชว้ี ดั ระดบั ผลลัพธ์ ดังรายละเอยี ดต่อไปนี้

104 โครงการพัฒนาระบบการตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผลการพฒั นาพนื้ ทต่ี ามแนวทางความคมุ้ คา่ ของการจดั การงบประมาณ
มลู นธิ ปิ ิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

ทศิ ทาง ตัวชีว้ ดั ความสำเรจ็ ในการพัฒนาท่เี กย่ี วข>องกับเก่ยี

ดา> นเศรษฐกจิ

ยทุ ธศาสตรN ± ความก&าวหน&าในการพฒั นาจงั หวัดในการเปน3 ศูนย7กลางความเจรญิ ทางเศรษฐกิจ สงั คมและเทคโนโลยี (ย.4) ± ความสุข
ชาติ ± การพัฒ

(6 ยทุ ธศาสตรN) ของคน
± การพัฒ
แผนแมบL ท ± อัตราผลติ ภาพการผลติ ของภาคเกษตร (เฉลี่ยเพิ่มขน้ึ รอ& ยละ 1.2) (ผ.3) ± ดัชนชี ีว้
(23 แผน) ± อัตราการขยายตัวของมูลคQาของสินค&าเกษตรปลอดภยั (เฉลยี่ ร&อยละ 3) (ผ.3)
± อัตราการขยายตัวของมลู คาQ ของสินคา& เกษตรชวี ภาพ (เฉลยี่ ร&อยละ 3) (ผ.3) (ผ.1)
± จำนวนวิสาหกจิ การเกษตรขนาดกลางและเลก็ และผลติ ภัณฑจ7 ากฐานชวี ภาพ (1 ตำบล 1 วสิ าหกิจ) (ผ.3) ± จำนวนเ
± อัตราการขยายตวั ของมูลคาQ สนิ ค&าเกษตรแปรรปู และผลติ ภณั ฑ7 (เฉลี่ยรอ& ยละ 3) (ผ.3)
± ผลผลติ ตอQ หนวQ ยของฟาร7มหรอื แปลงทม่ี กี ารใชเ& ทคโนโลยสี มัยใหมQ/อัจฉรยิ ะ (เฉลีย่ รอ& ยละ 10) (ผ.3) เศรษฐก
± มลู คQาผลผลิตสนิ คา& เกษตรตQอหนวQ ย (เฉลีย่ รอ& ยละ 10) (ผ.3) ± จำนวนเ
± สถาบันเกษตรกร (สหกรณ7 วสิ าหกจิ ชมุ ชน และกลมุQ เกษตรกร) ทีข่ ้ึนทะเบยี นกบั กระทรวงเกษตรและสหกรณ7 ± ดชั นกี า
± ดัชนคี ร
มคี วามเขม& แขง็ ในระดบั มาตรฐาน (เฉลย่ี ร&อยละ) (ผ.3)
± สัดสวQ นผลติ ภณั ฑ7มวลรวมของวิสาหกจิ ขนาดกลางและขนาดยQอมตอQ ผลิตภัณฑม7 วลรวมในประเทศ (รอ& ยละ 45) (ผ.8)
± อตั ราการขยายตวั จำนวนการกอQ ต้ังวิสาหกิจเร่ิมต&น (เฉลย่ี ขยายตวั ร&อยละ 10) (ผ.8)
± การขยายตัวของมลู คาQ พาณิชย7อิเล็กทรอนิกส7ของวสิ าหกจิ ขนาดกลางและขนาดยQอม (เพม่ิ ขน้ึ 1 เทาQ ) (ผ.8)
± อัตราการเตบิ โตของรายได&ของกลมQุ ประชากรร&อยละ 40 ทม่ี ีรายไดต& ำ่ สดุ (ไมตQ ำ่ กวQาร&อยละ 15 ตQอปf) (ผ.16)
± อัตราการเติบโตของมลู คาQ เศรษฐกิจฐานรากของมูลคQาสนิ คา& OTOP (อยQางน&อยรอ& ยละ 30 ของปฐf าน) (ผ.16)

แผนปฏิรูป ± บทบาทและความรบั ผิดชอบในหนQวยงานของรฐั ให&ชดั เจน (ป.ศก.) ± จำนวนป
(11 ด>าน) ± มลู คาQ เพม่ิ ของอตุ สาหกรรมการเกษตร (ป.ศก.) ปฏบิ ัติ
± กระบวนการสนับสนุนสงQ เสริมการขายสินค&าทางการเกษตร (ป.ศก.)
± มีกลไกในการเสริมสร&างความเขม& แข็งในการพัฒนาเศรษฐกจิ ของชุมชน (ป.สค) ± จำนวนป
โครงกา

± จำนวนโ
พระราช

± จำนวนเ
ใหมQ (ป

± จำนวนป

± มลู คาQ สินคา& ชุมชนเพมิ่ ขน้ึ (ย.2) ± สัดสQวน
แผน 12ฯ ± รายไดต& อQ หวั ไมตQ ำ่ กวQา 8,200 ดอลลาร7 สรอ. ณ ส้ินแผนพัฒนาฯ ฉบบั ที่ 12 (ปf 2564) และรายได&สทุ ธขิ องรฐั บาลตQอมลู คาQ ± ดัชนีชุม
(10 ผลติ ภัณฑ7มวลรวมในประเทศไมตQ ่ำกวQาร&อยละ 19.0 (ย.3) ± จำนวนก

ยทุ ธศาสตร)N ± รายได&เงนิ สดสทุ ธทิ างการเกษตรเพ่ิมขึน้ เปน3 59,460 บาทตQอครัวเรือนในปf 2564 (ย.3) พระมห
± สมั ประสิทธ์ิการกระจายรายได&ระดับภาคลดลง (ย.9) ± จำนวนก
± เมอื งศูนยก7 ลางของจงั หวัดท่ไี ดร& ับการพฒั นาเปน3 เมืองนาQ อยูQเพิ่มข้ึน (ย.9)
พระราช

รปู ท่ี 3.34 สรุปตวั ชี้วัดความสำเรจ็ ในการพัฒนาทเ่ี ก่ยี วข้องก

โครงการพัฒนาระบบการติดตาม ประเมนิ และรายงานผลการพฒั นาพ้ืนทตี่ ามแนวทางความคมุ้ คา่ ของการจัดการงบประมาณ
มูลนธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

ยวกับมลู นธิ ปิ ดE ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

ด>านสงั คม ดา> นสง่ิ แวดล>อม ด>านวัฒนธรรม ดา> นการมีสLวนรวL ม

ขของประชากรไทย (ย.1) ± N/A ± N/A ± N/A
ฒนาคุณภาพชวี ติ สุขภาวะ และความเป3นอยูทQ ีด่ ี
นไทย (ย.3)
ฒนาสังคมและครอบครัวไทย (ย.3)

วดั ความสขุ ของประชากรไทย (อันดบั 1 ใน 35) ± จำนวนเมอื งคณุ ภาพ ± อตั ราการขยายตวั ของมลู คQาของ ± N/A
เมอื งศนู ย7กลางทางเศรษฐกจิ ท่ีมีการพัฒนาศนู ย7 ส่งิ แวดล&อมภายใน สินค&าเกษตรอัตลักษณพ7 ืน้ ถ่ิน
กิจ แหลQงทอี่ ยูQอาศัย และพืน้ ทเ่ี ฉพาะ (ผ.6) เมอื งอยูใQ นเกณฑ7 (เฉลย่ี รอ& ยละ 3) (ผ.3)
เมืองขนาดกลางทไ่ี ด&รับการพฒั นา (ผ.6) มาตรฐาน (ผ.6) ± พื้นท่ีทม่ี กี ารดำเนินการสงวน
ารพัฒนามนุษย7 (คาQ คะแนน 0.79) (ผ.11) รกั ษา อนุรกั ษ7ฟmนn ฟู และพฒั นา
รอบครวั อบอQุน (ร&อยละ 75) (ผ.11) ทรพั ยากรธรรมชาติ มรดกทาง
สถาปตp ยกรรม และ
ศลิ ปวฒั นธรรม อตั ลักษณ7 และ
วิถีชีวิตพนื้ ถ่นิ บนฐานธรรมชาติ
และฐานวฒั นธรรมอยQางย่งั ยนื
ในพ้ืนท่ี (อยาQ งนอ& ยใน ๓
จังหวัด ของ ๑ ภาค) (ผ.6)

ประชาชนทน่ี อ& มนำโครงการในพระราชดำรไิ ป ± มีกลไกใหช& มุ ชน ± N/A ± รอ& ยละของชุมชนทีม่ ปี ญp หา
(ป.ศก.) สามารถจัดการ การมสี วQ นรวQ มในระดับมาก
ประชาชนทีม่ ีคณุ ภาพชวี ิตท่ดี ีข้ึนจากการนอ& มนำ ทรัพยากรและทนุ และปานกลางลดลงอยาQ ง
ารในพระราชดำริไปปฏิบัติ (ป.ศก.) ชมุ ชนโดยชุมชน ตQอเนอ่ื ง (ป.สค)
โครงการและพืน้ ที่ที่มีการพฒั นาตามแนว (ป.สค)
ชดำริ (ป.ศก.) ± พน้ื ท่ีการเรยี นร&ใู นชุมชน
เกษตรกรทเี่ ขา& ใจ และหนั มาทำการเกษตรทฤษฎี ได&รบั การพฒั นาใหม& ชี ีวติ
ป.ศก.) และกระจายตัวอยูใQ นทว่ั
ประชาชนท่มี คี ณุ ภาพชีวิตทีด่ ขี ึน้ (ป.ศก.) ภมู ิภาคของประเทศไทย
(ป.สค)
นครวั เรอื นทเี่ ข&าถงึ แหลQงเงินทุนเพิ่มขึ้น (ย.2) ± พน้ื ทก่ี ารทำ ± N/A
มชนเขม& แขง็ เพมิ่ ขึน้ ในทกุ ภาค (ย.2) เกษตรกรรมยง่ั ยืน ± N/A
กิจกรรมเทิดพระเกยี รติและเชิดชูสถาบัน
หากษัตริยเ7 พิม่ ขึ้น (ย.5) เพ่มิ ขน้ึ เปน3
กจิ กรรมทีม่ คี วามเก่ียวขอ& งกับโครงการ 5,000,000 ไรQ ในปf
ชดำรเิ พิ่มข้ึน (ย.5) 2564 (ย.3)

กบั เกย่ี วกบั มลู นธิ ิปดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

ณ 105 105

ทศิ ทาง ตัวชีว้ ดั ความส

ดา? นเศรษฐกจิ

ยทุ ธศาสตร* ± ความก&าวหน&าในการพัฒนาจังหวัดในการเป3นศูนย7กลางความเจรญิ ทางเศรษฐกจิ สังคมและเทคโนโลยี (ย.4) ±ค
ชาติ ±ก

(6 ยุทธศาสตร)* ด
±ก
± อัตราผลติ ภาพการผลิตของภาคเกษตร (เฉลย่ี เพ่มิ ข้ึนร&อยละ 1.2) (ผ.3) ±ด
± อัตราการขยายตัวของมลู คาQ ของสนิ ค&าเกษตรปลอดภัย (เฉลยี่ ร&อยละ 3) (ผ.3)
± อตั ราการขยายตัวของมลู คาQ ของสนิ คา& เกษตรชวี ภาพ (เฉล่ยี รอ& ยละ 3) (ผ.3) 3
± จำนวนวิสาหกิจการเกษตรขนาดกลางและเลก็ และผลิตภณั ฑ7จากฐานชวี ภาพ (1 ตำบล 1 วสิ าหกจิ ) (ผ.3) ±ด
± อตั ราการขยายตวั ของมูลคQาสินคา& เกษตรแปรรูปและผลิตภัณฑ7 (เฉลี่ยร&อยละ 3) (ผ.3) ±ด

± ผลผลิตตอQ หนวQ ยของฟารม7 หรอื แปลงทม่ี ีการใชเ& ทคโนโลยีสมัยใหม/Q อจั ฉรยิ ะ (เฉลีย่ รอ& ยละ 10) (ผ.3)
± มลู คาQ ผลผลิตสนิ ค&าเกษตรตQอหนวQ ย (เฉล่ียรอ& ยละ 10) (ผ.3)
แผนแมบ5 ท ± สถาบันเกษตรกร (สหกรณ7 วิสาหกจิ ชุมชน และกลมุQ เกษตรกร) ที่ขนึ้ ทะเบียนกบั กระทรวงเกษตรและสหกรณ7
(23 แผน)
มคี วามเข&มแข็งในระดับมาตรฐาน (เฉลี่ยร&อยละ) (ผ.3)
± สดั สวQ นผลติ ภัณฑ7มวลรวมของวสิ าหกิจขนาดกลางและขนาดยอQ มตอQ ผลติ ภณั ฑม7 วลรวมในประเทศ (รอ& ยละ 45)
(ผ.8)
± อตั ราการขยายตัวจำนวนการกอQ ตง้ั วิสาหกิจเริม่ ต&น (เฉลยี่ ขยายตวั ร&อยละ 10) (ผ.8)
± การขยายตวั ของมลู คาQ พาณชิ ยอ7 เิ ลก็ ทรอนกิ ส7ของวสิ าหกิจขนาดกลางและขนาดยอQ ม (เพมิ่ ขึน้ 1 เทาQ ) (ผ.8)
± อัตราการเติบโตของรายไดข& องกลมQุ ประชากรรอ& ยละ 40 ท่ีมรี ายได&ตำ่ สดุ (ไมQต่ำกวQารอ& ยละ 15 ตQอปf) (ผ.16)
± อตั ราการเติบโตของมลู คาQ เศรษฐกิจฐานรากของมลู คาQ สนิ คา& OTOP (อยQางนอ& ยร&อยละ 30 ของปfฐาน) (ผ.16)

± มลู คาQ เพิ่มของอตุ สาหกรรมการเกษตร (ป.ศก.) ±จ
แผนปฏิรปู น
(11 ดา? น)
±จ


±จ

± มลู คQาสนิ ค&าชุมชนเพม่ิ ขนึ้ (ย.2) ±ด
± รายไดต& QอหัวไมQต่ำกวQา 8,200 ดอลลาร7 สรอ. ณ ส้นิ แผนพฒั นาฯ ฉบับท่ี 12 (ปf 2564) และรายได&สทุ ธิของ
แผน 12ฯ รฐั บาลตQอมูลคาQ ผลติ ภัณฑม7 วลรวมในประเทศไมตQ ่ำกวาQ รอ& ยละ 19.0 (ย.3)
(10
± รายไดเ& งินสดสทุ ธทิ างการเกษตรเพิม่ ขน้ึ เปน3 59,460 บาทตอQ ครวั เรือนในปf 2564 (ย.3)
ยทุ ธศาสตร*) ± สมั ประสิทธก์ิ ารกระจายรายได&ระดบั ภาคลดลง (ย.9)

รูปที่ 3.35 สรุปตวั ชีว้ ัดคว

106

สำเร็จระดบั Outcome ด?านสิ่งแวดลอ? ม ด?านวฒั นธรรม ด?านการมีส5วนร5วม

ดา? นสังคม

ความสุขของประชากรไทย (ย.1) ± N/A ± N/A ± N/A
การพฒั นาคณุ ภาพชีวิต สขุ ภาวะ และความเปน3 อยูQที่
ดขี องคนไทย (ย.3)
การพัฒนาสังคมและครอบครวั ไทย (ย.3)

ดัชนชี ี้วัดความสุขของประชากรไทย (อันดับ 1 ใน ± จำนวนเมอื ง ± อัตราการขยายตวั ของมลู คาQ ± N/A
35) (ผ.1) คณุ ภาพ ของสนิ ค&าเกษตรอัตลกั ษณ7
ดัชนีการพฒั นามนุษย7 (คQาคะแนน 0.79) (ผ.11) ส่งิ แวดลอ& มภายใน พื้นถน่ิ (เฉลี่ยรอ& ยละ 3) (ผ.3)
ดัชนคี รอบครวั อบอQุน (รอ& ยละ 75) (ผ.11) เมอื งอยใQู นเกณฑ7
มาตรฐาน (ผ.6)

จำนวนประชาชนท่ีมคี ุณภาพชีวติ ทด่ี ีขนึ้ จากการ ± N/A ± ร&อยละของชมุ ชนทีม่ ี
น&อมนำโครงการในพระราชดำริไปปฏบิ ัติ (ป.ศก.) ปญp หาการมีสวQ นรวQ มใน
จำนวนเกษตรกรทเี่ ข&าใจ และหนั มาทำการเกษตร ระดบั มากและปานกลาง
ทฤษฎใี หมQ (ป.ศก.) ลดลงอยQางตQอเน่อื ง
จำนวนประชาชนทีม่ คี ุณภาพชวี ิตท่ีดขี ึน้ (ป.ศก.) (ป.สค)

ดัชนีชมุ ชนเข&มแขง็ เพมิ่ ข้นึ ในทกุ ภาค (ย.2) ± พ้ืนทกี่ ารทำ ± N/A ± N/A
เกษตรกรรมยัง่ ยนื
เพิม่ ข้นึ เปน3
5,000,000 ไรQ ใน
ปf 2564 (ย.3)

วามสำเรจ็ ระดบั ผลลพั ธ์

โครงการพฒั นาระบบการตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผลการพฒั นาพ้ืนทตี่ ามแนวทางความคุม้ ค่าของการจดั การงบประมาณ
มูลนิธิปดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

ทิศทาง ดา? นเศรษฐกิจ ตวั ชี้วดั ความ

ยทุ ธศาสตร* ± N/A ±N
ชาติ
± จำ
(6 ยทุ ธศาสตร*) ศนู
(ผ
± N/A
± จำ
แผนแม5บท
(23 แผน)

± บทบาทและความรับผิดชอบในหนAวยงานของรัฐใหMชดั เจน (ป.ศก.) ± จำ
± กระบวนการสนับสนุนสAงเสริมการขายสนิ คMาทางการเกษตร (ป.ศก.) ไป
แผนปฏริ ปู ± มกี ลไกในการเสริมสรMางความเขMมแข็งในการพฒั นาเศรษฐกิจของชุมชน (ป.สค)
(11 ด?าน) ± จำ

แผน 12ฯ ± เมอื งศนู ย0กลางของจังหวดั ทไี่ ดMรับการพัฒนาเปนc เมืองนAาอยAเู พม่ิ ขน้ึ (ย.9)
(10 ± สดั
± จำ
ยุทธศาสตร*)

± จำ



รปู ที่ 3.36 สรุปตัวชีว้ ัดคว

โครงการพัฒนาระบบการตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพน้ื ทต่ี ามแนวทางความคุ้มคา่ ของการจัดการงบประมาณ
มลู นิธิปดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

มสำเรจ็ ระดบั Output ด?านสงิ่ แวดล?อม ดา? นวัฒนธรรม ด?านการมีส5วนร5วม

ดา? นสงั คม ± N/A ± N/A ± N/A

N/A

ำนวนเมอื งศูนย0กลางทางเศรษฐกจิ ท่ีมกี ารพัฒนา ± N/A ± พ้นื ทท่ี ่ีมกี ารดำเนนิ การสงวน ± N/A
นย0เศรษฐกิจ แหลงA ท่ีอยอAู าศัย และพ้นื ที่เฉพาะ รกั ษา อนุรักษฟ0 RนS ฟู และ
ผ.6) พัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ
ำนวนเมอื งขนาดกลางที่ไดรM บั การพฒั นา (ผ.6) มรดกทางสถาปตY ยกรรม และ
ศิลปวัฒนธรรม อัตลกั ษณ0
และวิถีชีวิตพืน้ ถนิ่ บนฐาน
ธรรมชาตแิ ละฐานวัฒนธรรม
อยาA งยงั่ ยืนในพืน้ ท่ี (อยาA ง
นอM ยใน ๓ จงั หวดั ของ ๑
ภาค) (ผ.6)

ำนวนประชาชนท่นี อM มนำโครงการในพระราชดำริ ± มีกลไกใหชM ุมชน ± N/A ± พนื้ ทก่ี ารเรยี นรใMู นชมุ ชน
ปปฏิบัติ (ป.ศก.) สามารถจดั การ ไดMรบั การพัฒนาใหมM ีชีวติ
ำนวนโครงการและพื้นท่ที ่มี กี ารพัฒนาตามแนว ทรัพยากรและทุน และกระจายตวั อยูAในท่ัว
พระราชดำริ (ป.ศก.) ชมุ ชนโดยชมุ ชน ภมู ิภาคของประเทศไทย
(ป.สค) (ป.สค)

ดสAวนครวั เรือนที่เขMาถงึ แหลAงเงินทุนเพ่มิ ขึน้ (ย.2) ± N/A ± N/A ± N/A
ำนวนกิจกรรมเทดิ พระเกยี รตแิ ละเชิดชสู ถาบัน
พระมหากษัตรยิ 0เพ่มิ ขึ้น (ย.5)
ำนวนกจิ กรรมทมี่ ีความเกีย่ วขMองกบั โครงการ
พระราชดำริเพิ่มขนึ้ (ย.5)

วามสำเรจ็ ระดบั ผลผลิต

ณ 107 107

3.7 การพัฒนาระบบสารสนเทศกลางเพือ่ การวางแผน บริหารจดั การ และการตดิ ตามประเมนิ ผล

3.7.1 ความสำคัญของข้อมูลเพอื่ ประกอบการตดั สนิ ใจ

คณะท่ปี รึกษาได้ออกแบบแบบฟอรม์ เพื่อใช้ในการทบทวนขอ้ มูลสำคัญของการพัฒนาพื้นท่ีต้นแบบ
ทง้ั 7 แห่ง (จังหวดั นา่ น อดุ รธานี ขอนแกน่ กาฬสนิ ธ์ุ อทุ ยั ธานี เพชรบุรี และ 3 จงั หวัดชายแดนภาคใต้) ทม่ี ี
รายละเอียดใน 4 เรื่องหลัก ประกอบด้วย (1) ข้อมูลครัวเรือน (2) การพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม ทั้งเรื่องน้ำและป่า (3) การพัฒนาเศรษฐกิจ ทั้งเร่ืองรายได้ครัวเรือน การรวมกลุ่ม มาตรฐาน
ผลิตภัณฑ์ และ (4) การพัฒนาทรพั ยากรมนุษย์ โดยมีตัวอย่างขอ้ มูลสำคัญทีพ่ บในภาพรวมของทั้งหมด 7
พ้นื ท่ตี ้นแบบ ข้อมลู ชุดน้จี ะช่วยให้เหน็ ภาพรวมจดุ สำคัญของการพฒั นาพื้นทใ่ี นภาพรวม เพอื่ ประกอบการ
ตัดสินใจและทศิ ทางในการจดั ทำแผนการพฒั นา ซง่ึ นำไปสูก่ ารนำไปใช้ประกอบการจัดทำ “แผนปฏบิ ัติการ
ด้านการบูรณาการขับเคลื่อนการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ระยะที่ 3 (พ.ศ.2564-2565)
ของมูลนิธิปิดทองหลงั พระสืบสานแนวพระราชดำริ และ สถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลงั
พระสบื สานแนวพระราชดำริ” และได้รบั การอนมุ ตั ิจากคณะรัฐมนตรี เมือ่ วนั ที่ 25 สิงหาคม 2563 ดงั นี้

108 โครงการพัฒนาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพฒั นาพ้ืนทต่ี ามแนวทางความคุ้มคา่ ของการจัดการงบประมาณ
มลู นิธิปดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

รูปท่ี 3.37 แบบทดลองรายงานในพื้นทต่ี ้นแบบ 7 แหง่ (ข้อมลู ปี 2561)

โครงการรอ้ ยใจรักษ์ นา่ น สรปุ ภาพรวมการพฒั นาของมลู นธิ ปิ ด5 ทองฯ ใน 7 พ้ืนที่ตนA แบบ

(ประจำปH 2561)

4 จังหวดั ภาคเหนือ อดุ รธานี กาฬสินธ์ุ ครัวเรอื นท่ีเขAารPวมโครงการ 4,631 ครวั เรอื น
(เชยี งใหม่ เชียงราย
แมฮ่ ่องสอน พะเยา)
ขอนแก่น พน้ื ที่เกษตรของครัวเรือนท่ีเขAารวP มโครงการ 56,404 ไร่
อุทยั ธานี

เพชรบรุ ี พ้ืนที่ปSาเพม่ิ ขนึ้ สะสม 81,402 ไร่

รายไดAเฉล่ยี ตอP ครัวเรือนทเ่ี ขาA รวP มโครงการ 350,309 บาทต่อปี

รายไดAเฉลี่ยตอP ครัวเรอื นทไ่ี มไP ดAเขAารPวมโครงการ 215,419 บาทตอ่ ปี

สวP นตาP งรายไดเA ฉลย่ี ตอP ครวั เรือน +134,890 บาทต่อปี

3 จงั หวดั ชายแดนภาคใต้ 63% คิดเป็น
(ยะลา นราธิวาส ปัตตาน)ี 67 กลมุ่
2,150 ครัวเรือน
ลำดับการพัฒนาพ้นื ทตี่ ้นแบบ จำนวนกลมPุ 47 ชนดิ
จำนวนสมาชกิ ของกลมุP 543 ใบ/ราย
เพชรบรุ ี อทุ ยั ธานี ขอนแก่น 4 จงั หวัดภาคเหนือ จำนวนมาตรฐานสินคาA /ผลิตภณั ฑ^
จำนวนใบรับรอง
2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563

น่าน อุดรธานี กาฬสนิ ธ์ุ 3 จงั หวัดชายแดนภาคใต้

รูปที่ 3.38 ตัวอยา่ งการประมวลข้อมลู มาสรปุ ภาพรวมการพฒั นาเพอ่ื ประกอบการตดั สินใจ

โครงการพฒั นาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพฒั นาพ้นื ทต่ี ามแนวทางความคุ้มค่าของการจัดการงบประมาณ 109
มูลนธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

3.7.2 ระบบสารสนเทศกลางเพื่อการวางแผน บรหิ ารจดั การ และการติดตามประเมินผล

จากการทบทวนสถานการณ์ดา้ นสารสนเทศของมลู นธิ ิปดิ ทองหลังพระฯ ในปจั จบุ นั พบวา่ มกี ารเก็บ
ข้อมลู การดำเนนิ งานจำนวนมาก แต่อาจยังขาดระบบสารสนเทศเพ่ือการจดั การ (MIS) เพอ่ื กรวางแผน การ
บริหารจัดการ และการติดตามประเมินผลที่มีประสิทธิภาพและสามารถให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการ
ตัดสนิ ใจของสว่ นงานตา่ งๆอย่างครบถว้ น รวมท้ังประเดน็ สำคญั อืน่ ๆ ได้แก่

1. ทุกส่วนงานมีหน้าที่จัดเก็บข้อมูลการดำเนินงานของปิดทอง แต่ละส่วนงาน มีวิธีการ
กระบวนการ ปฏทิ ินการดำเนนิ งาน ความพร้อม และขอบเขตของการเก็บขอ้ มลู ตา่ งกนั มี
ทั้งข้อมูลปฐมภมู ิ ขอ้ มูลทุตยภมู ิ ขอ้ มลู จากการศกึ ษาวจิ ัยในพื้นที่ ฯลฯ

2. ยังไม่มีการกำหนดมาตรฐานข้อมูลที่ชัดเจน เช่น การกำหนดโครงสร้างข้อมูลมาตรฐาน
การกำหนดนิยามขอ้ มลู หนว่ ยนบั วิธีจดั เก็บ คำอธิบายขอ้ มลู ฯลฯ

3. กำลงั พฒั นาระบบสารสนเทศกลางเพ่อื จัดการขอ้ มลู อย่างเปน็ ระบบ

4. อาจควรเริ่มคิดเรื่องระบบธรรมาภิบาลข้อมูล/สารสนเทศ (Data/Information
Governance System) ไปพรอ้ มกับการพฒั นาระบบสารสนเทศ

5. ยงั มขี อ้ มูลอน่ื ๆท่ยี ังมิได้นำมาใชป้ ระโยชนเ์ พอ่ื การจดั การและตัดสินใจ

แหลง2 ขอ" มูล ผูใ" ช"ข"อมลู

ข"อมูลพน้ื ท่ี ข"อมลู จาก กขิจ"อกมรรูลม ภายในองคก: ร ภายนอก
หนว2 ยงานอ่นื ภายในองค:กร องค:กร

รปู ท่ี 3.39 ข้อมลู สารสนเทศเพ่ือการพฒั นาพ้ืนที่

หลักการสำคัญของระบบสารสนเทศกลางเพื่อการวางแผน บริหารจัดการ และการติดตาม
ประเมินผล ของสถาบนั ส่งเสรมิ และพฒั นากจิ กรรมปดิ ทองหลงั พระสืบสานแนวพระราชดำริ

1. ใช้หลกั การ Fit for Purpose คือ ตอ้ งกำหนดความต้องการของผู้ใชข้ ้อมลู ให้ชัดเจนก่อน แลว้
จึงนำไปสู่การเกบ็ ขอ้ มูลท่ีต้องการ

2. ใช้ขอ้ มูลจากหน่วยงานทจี่ ัดเกบ็ ขอ้ มูล โดยมีการกำหนดมาตรฐานการจำแนกข้อมลู รว่ มกัน
3. มีระบบการกำกับการนำเข้า การประมวล และใช้ข้อมูล (system governance) เพื่อให้ได้

ข้อมูลทม่ี คี ณุ ภาพ และมีความปลอดภยั

110 โครงการพัฒนาระบบการตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผลการพฒั นาพ้นื ทีต่ ามแนวทางความค้มุ คา่ ของการจัดการงบประมาณ
มลู นธิ ิปดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

4. ควรมอบหมายให้มีส่วนงานรับผิดชอบระบบสารสนเทศฯ นี้เฉพาะ โดยเป็นหน่วยงานที่มี
ภารกจิ หลักในการจดั การระบบฯ น้ี

5. อาจตอ้ งมีการ workflow การทำงานท่เี กยี่ วขอ้ ง เพ่อื ให้หน่วยงานทร่ี ับผดิ ชอบข้อมูลนำข้อมลู
เข้าระบบอย่างมีประสิทธิภาพ และมีหน่วยกลางรับผิดชอบประสานข้อมูล และกำกับเรื่อง
Data Governance

#ูผใช#ข#อ ูมล • รมดวาิเำาคยเสนรงาานิระนางหยาผแ<ปนลลOรกะาายรไตร • วขบเิอรคิหงรสาาถระจาหบดั < วกันาาฯงรแคผา, ในชแ#จล,าะย • ทพำัฒงนานาองค<ความรจู# ากการ • แวาตงล, แะผพนนื้ กทา่ี รทำงานใน • ปแสถอ่ืระลสมงาขวรสลา, วาขธ#อามรูลณเพะอื่ กกาารร • ขดสรบั,งำอเเทงสนสรรนิ ถาิมงบากาบกนาันารรแฯทลำะงารนว, ม • อ่ืนๆ
• กปารระดมำวเลนผนิ ลงสาัมนฤทธข์ิ อง • พนรับำฒั คผนวดิ าาชพมอน้ืรบ#ทูทีไ่ี่ทด่ี เ# พือ่ • ตรวจสอบการทำงาน
สำนักอำนวยการ ฝส8าำยนบักรงหิ าานร ฝ8าแยลสะ่อื ภสาาครีสสัมาธพาันรธณ< ะ อนื่ ๆ
ฝา8 ยจดั การองค< ฝา8 ยสพ,งฒั เสนรามิ การ ปสราะธชาารชณนะ/

ระบบสารสนเทศกลางเพ่อื การจัดการและตัดสนิ ใจ

แหล,งข#อ ูมล

รายได#/กำไรค ัรวเ ืรอน
ค,าใ #ชจ,ายค ัรวเ ืรอน
ห ้ีน ิสนค ัรวเ ืรอน
(คุณ #ขสอม ูมบัลติก/ารค,จ#าาตงองบาแนทน)
#ขอ ูมพัลแฒหน ,ลางแ ้นหำ ,ลงแ ้นลำะการ
#ขอ ูมล ิกจกขรอรงมพ้ืทนาง่ีทเศรษฐ ิกจ
#ขอ ูมปลระี่ทโดิยนชแ <นล ่ีทะดิกานรใ #ช
#ขอ ูมลกากรา ,สรงรเวสมิรกม ,ุลอมา ีชพและ
#ขอค ูม ัรลวเท ืระเอบีนยแลนระาคษนฎ <ร
#ขอ ูมลรายบุคคลของสมา ิชก
ระดับการืมศึอกขษอางแคลนะ ัทกษะ `ฝ
องค<แคลวะาแม ู#รนเวศพรรษะฐร ิกาจชพดำอเิรพียง
องค<คสวถาามบั #ูรนกฯารปXพัดทฒอนงาของ
กรณีศึกษา (Case)
นโยบายเแปeลาะหแมผานย)( ิทศทาง
งบประมาณ การเงิน
ข#อมูลองคก< ร
ข#อมูลผลการดำเนินงาน ขอ# มลู กจิ กรรมในพืน้ ที่ ขอ# มลู ครัวเรอื น ขอ# มลู องค<ความร#ู (ปXดทอง)
กรมการพฒั นาชมุ ชน/ การวจิ ัยเพ่ือ นกั พฒั นาของปXดทอง ทะเบียนราษฎร</ นักวชิ าการจัดการองค< เจา# หนา# ที่
ประเมินผลการดำเนินงาน (ปXดทอง) นกั พัฒนาของปXดทอง สถาบนั ฯ
ความร#ู

รูปที่ 3.40 กรอบแนวคดิ ของระบบสารสนเทศกลางเพอื่ การวางแผน บรหิ ารจดั การ และการติดตาม
ประเมินผล

การดำเนนิ การใหเ้ กิดระบบสารสนเทศ เพอื่ การวางแผน บรหิ ารจดั การ และการตดิ ตามประเมินผล
นั้น มีสิ่งที่ต้องดำเนินการอยา่ งน้อย 3 ส่วน ภายใต้การมีแผนแม่บทการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการ
วางแผน บริหารจัดการและตดิ ตามประเมินผลกำกับ ประกอบดว้ ย

สว่ นท่ี 1 กำหนด Purpose ของการใช้ข้อมูล โครงสร้างข้อมูลมาตรฐานที่มีความเชื่อมโยงกนั
ระหวา่ งข้อมลู ครวั เรอื น ขอ้ มลู กิจกรรมในพนื้ ที่ ขอ้ มลู ผลการดำเนนิ งานและขอ้ มูลอนื่ ๆ
อย่างเปน็ ระบบ

ส่วนที่ 2 พัฒนาระบบสารสนเทศกลางเพอ่ื การจัดการ (Management Information System:
MIS) เพื่อการวางแผน การบริหารจัดการ และการติดตามประเมนิ ผล (ทั้ง Software

และ Hardware)

สว่ นท่ี 3 ปรับบทบาท workflow และแนวทางการบริหารจัดการและการใช้ประโยชน์ระบบ
สารสนเทศกลางของสว่ นงานท่เี ก่ยี วขอ้ ง

โครงการพฒั นาระบบการติดตาม ประเมนิ และรายงานผลการพัฒนาพนื้ ทตี่ ามแนวทางความคมุ้ ค่าของการจดั การงบประมาณ 111
มลู นิธปิ ดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

สวM นท่ี 1 สวM นที่ 2 สMวนที่ 3
กำหนด Purpose ของการใชT พัฒนาระบบสารสนเทศกลางเพ่อื ปรบั บทบาท workflow และ
การจัดการ (MIS) เพอื่ การวางแผน แนวทางการบรหิ ารจัดการและการ
ขอT มูล โครงสราT งขอT มูล กปารรบะเรมิหินาผรลจดั (กทาง้ั รSแoลftะwกaารreตดิ แตลาะม ใชปT รขะโอยงชสนวM Wรนะงบาบนสทา่ีเกรสีย่ วนขเทอT ศงกลาง
มระาหตรวฐาM างนขTอทมมี่ ลูีคควราวัมเเรชอื อื่ นมโขยอT งมกลูนั
กจิ กรรมในพื้นท่ี ขTอมูลผลการ Hardware)

ดำเนินงานและขอT มลู อ่ืนๆ
อยMางเปcนระบบ

ควรมกี ารจดั ทำ

แผนแมMบทการพัฒนาระบบสารสนเทศเพอื่ การวางแผน บริหารจัดการและติดตามประเมนิ ผล

รปู ที่ 3.41 แนวทางการขบั เคลอ่ื นใหเ้ กิดระบบสารสนเทศกลางเพ่ือการวางแผน บรหิ ารจัดการ และการ
ตดิ ตามประเมนิ ผล

Data Governance

เป็นกรอบการวางแผนและบริหารจัดการข้อมูลเพื่อทำให้มั่นใจว่าองค์กรมี
ข้อมูลท่ีตอ้ งการ เป็นขอ้ มลู ท่ีถูกต้องมคี ุณภาพ ถกู ตอ้ งตามหลักการ สามารถใช้
ขอ้ มูลได้ตลอดเวลา ข้อมูลมีความมนั่ คงปลอดภัย ซ่งึ องคก์ รจะต้องมกี ารพฒั นา
1) ระบบ 2) บุคลากร และ 3) การใช้เทคโนโลยีเพื่อสนับสนุนให้เกิด Data
Governance ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ

วัตถุประสงค์และประโยชน์ของระบบสารสนเทศกลางเพื่อการวางแผน บริหารจัดการ และการ
ตดิ ตามประเมินผล ประกอบด้วย

Fit for Purpose คือ ตรงตามความต้องการ
ควรกำหนดความตอ้ งการของผูใ้ ชข้ อ้ มลู ให้ชัดเจนกอ่ น แลว้ จงึ นำไปสู่
การเก็บข้อมลู ท่ตี ้องการ

Data Availability คอื มฐี านข้อมลู พรอ้ มใช้งานเสมอ
เม่ือใดท่มี คี วามต้องการใช้ข้อมลู เกิดขน้ึ สามารถเรียกใช้ข้อมลู ไดท้ ันที
หรือเมือ่ ใดทีม่ ีการปรับปรุงข้อมูล ผู้อืน่ จะต้องได้รบั ข้อมูลที่ปรับปรุง
แลว้ ในทันทีเช่นกนั

Data Integrity คือ ความถูกต้องสมบูรณ์ของขอ้ มูล

การรักษาความถกู ต้องของข้อมูล ความสามารถทีจ่ ะตรวจสอบได้ว่า

ข้อมูลทไ่ี ด้รับมคี วามถกู ตอ้ ง ครบถ้วนสมบูรณ์ และไม่ถูกเปลี่ยนแปลง
แกไ้ ขใดๆ ไปจากเดิม โดยผู้ที่ไมไ่ ด้รบั อนุญาต

112 โครงการพฒั นาระบบการตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผลการพัฒนาพ้ืนที่ตามแนวทางความคมุ้ ค่าของการจดั การงบประมาณ
มูลนธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

Data Consistency คือ ความสมำ่ เสมอของขอ้ มลู
คา่ ของข้อมลู นัน้ ควรมีคำนิยามเดยี วกันในการจดั เก็บ เพอ่ื ให้ได้ขอ้ มลู

ที่สม่ำเสมอ และสามารถเปรียบเทียบกันได้ และไม่ว่าจะเรียกใช้

ขอ้ มลู ด้วยวิธใี ดๆ จะต้องใหค้ า่ เดมิ เสมอ เน่อื งจากข้อมูลถกู จดั เก็บอยู่

ในที่เดียวกัน ดังนัน้ ไม่ว่าจะทำการแก้ไข ปรับปรุงข้อมลู หรอื สืบคน้
ข้อมูล ค่าของข้อมูลทไ่ี ด้จะต้องเป็นข้อมูลเดียวกัน

Data Security คอื ความปลอดภยั ของข้อมลู

การปอ้ งกันผูไ้ ม่มสี ิทธเิ ขา้ ใชห้ รอื แก้ไขข้อมลู การควบคุมความพร้อม

กันในการเรียกใช้ข้อมูลเดียวกัน รวมถึงการรักษาความถูกต้อง
ครบถว้ นสมบรู ณข์ องข้อมูล

ลักษณะของการมี Data Governance ที่ดี ประกอบไปดว้ ย 5 องค์ประกอบคือ
(1) เจา้ ของและผ้รู ับผิดชอบข้อมูล (ownership)
(2) การเข้าถึงและสิทธิข์ องการดำเนนิ การกับขอ้ มลู (accessibility)
(3) ระบบข้อมลู ที่มคี วามมัน่ คง (security)
(4) มาตรฐานและคุณภาพขอ้ มูล (quality)
(5) การวเิ คราะห์และประมวลข้อมูลเพอ่ื ใหเ้ กิดเปน็ องคค์ วามรู้ (knowledge)

มกี ารวเิ คราะหแY ละประมวลข(อมลู เพื่อให(เกิดเปนj กำหนดเจา( ของและผูร( บั ผดิ ชอบขอ( มูลทีช่ ดั เจน รวมถึง
ความรแู( ละบทเรียนท่ีมคี ณุ คาA สามารถนำไปใชใ( น การกำหนดความรับผิดรับชอบตอA ข(อมูล
การปฏบิ ตั ิงานขององคกY ร และเพ่ือการพฒั นา (Accountability assignment)
ระบบขอ( มูลให(เกดิ ประโยชนYยง่ิ ขึน้ ตอA ไป
กำหนดการเขา( ถงึ และสิทธขิ์ องการดำเนินการกับ
ขอ( มลู ทุกสวA นทีส่ อดคลอ( งกบั บทบาทและความ
รับผดิ ชอบ

มีการกำหนดมาตรฐานข(อมูล กระบวนการนำเข(า การ ระบบข(อมลู มคี วามมัน่ คง สามารถรบั มอื เหตุการณเY สีย่ ง ได(
ตรวจสอบและรบั รองคณุ ภาพข(อมูล โดยยึดโยงกบั ความรบั อยAางมปี ระสิทธภิ าพ เชนA อาชญากรรมไซเบอรY การเข(าถึง
ผิดรับชอบ (Accountability) และ Data Ownership ปรบั เปลีย่ นและทำลายข(อมลู อยาA งไมถA ูกตอ( ง

รปู ท่ี 3.42 ลักษณะของการมี Data Governance ทีด่ ี

โครงการพฒั นาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพืน้ ทตี่ ามแนวทางความคมุ้ คา่ ของการจดั การงบประมาณ 113
มูลนธิ ิปิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

3.7.3 โครงสร้างรหสั มาตรฐานเพ่อื การพฒั นาพืน้ ทข่ี องมูลนิธิปดิ ทองฯ (Coding)

รหัสขอ้ มลู หรอื รหสั กิจกรรม (Activity code)7 ถูกกำหนดขนึ้ เพ่ือระบุลักษณะเฉพาะของงาน หรือ
จดั กลมุ่ งาน/กจิ กรรมท่ีอยู่ในแผนงาน ซงึ่ สามารถใช้ในการกรองขอ้ มลู และจดั ลำดบั กจิ กรรมและงานต่างๆ
โดยเฉพาะกับข้อมูลท่มี จี ำนวนมากๆ เพอ่ื ชว่ ยในการจดั ทำรายงานและการตัดสินใจ ดงั นน้ั รหัสของแต่ละ
ข้อมูล หรือแต่ละกิจกรรมจะตอ้ งไมซ่ ้ำกัน มีลักษณะเฉพาะของกิจกรรมนั้นๆ และมีวตั ถุประสงคห์ ลักเพื่อ
การติดตามงาน และการรายงานผล

รหสั ขอ้ มลู สามารถประกอบดว้ ย ตัวเลข (เช่น 37647), ตวั อักษรหรอื ขอ้ ความ (เชน่ BUDGET) ที่สื่อ
ถึงความสัมพันธ์ของกิจกรรมนั้นๆ กับงานอ่ืนๆ ที่ต้องการนำข้อมูลไปใช้งาน หรือสามารถผสมกันระหวา่ ง
ตัวเลขและตัวอักษรและสญั ลักษณ์ตา่ งๆ ได้ (เชน่ AR-564)

ประโยชน์ของการใชร้ หัสขอ้ มลู เปน็ ท่ียอมรบั อยา่ งกวา้ งขวาง โดยเฉพาะเม่อื มกี ารอ้างองิ ถึงกิจกรรมท่ี
มีจำนวนมากจากหลายหมวดหมู่ของงาน ซึ่งอาจมีชื่อกิจกรรมทีค่ ลา้ ยคลึงกนั หรือใช้แทนชื่อกิจกรรมท่มี ี
ความยาวเกินกว่าจะจดจำได้ การใช้งานรหสั ข้อมูลเหล่านี้ ช่วยให้ผู้ดูแลโครงการ นักบริหารงาน สามารถ
จดั ทำและวเิ คราะหข์ อ้ มลู ไดง้ ่ายขึ้น ลดความสับสนของงานในแต่ละหมวดหมู่ และชอื่ กิจกรรม

การกำหนดรหัสขอ้ มูล รหสั กจิ กรรม หรือรหัสตวั ชวี้ ดั ยงั ไมม่ มี าตรฐานทช่ี ัดเจนวา่ ควรเป็นเชน่ ไร แต่
เมื่อกำหนดแลว้ ทั้งระบบจะตอ้ งมีโครงสรา้ งเปน็ ไปในแนวทางเดียวกัน เพื่อใหส้ ามารถใช้อ้างองิ และสอบ
ทานย้อนกลบั ได้

เพือ่ ใหก้ ารประเมนิ และตดิ ตามผลของปดิ ทองฯ มคี วามเป็นระบบ และสามารถบนั ทกึ ผลการประเมนิ
ของแต่ละกิจกรรมไดอ้ ยา่ งสะดวก รวดเรว็ การกำหนดรหัสข้อมูล เข่น รหัสกจิ กรรม และรหสั ตัวชวี้ ัด จึงมี
ความจำเป็นอยา่ งมาก ในส่วนนีเ้ ป็นตัวอย่างการกำหนดรหสั ตัวชว้ี ดั ทีส่ ามารถนำไปประยกุ ตก์ บั งานของปิด
ทองฯ ได้ ตวั อย่างการกำหนดชุดรหสั ขอ้ มลู มีดังน้ี

รหสั ตวั ชี้วัด: B01012

ระดบั ของตัวชี้วัด หวั ขอ้ ยอ่ ยระดบั ที่ 1 หมายเลขตวั ชว้ี ดั

B 01 0 1 2

มูลนิธิปิดทองฯ มีพื้นที่พัฒนาหลายแห่ง แต่ละแห่งส่งเสริมชาวบ้านในชุมชนให้ทำการพัฒนา มี

กิจกรรม ผลิตภัณฑ์และบริการของชุมชนทีห่ ลากหลาย จึงควรจัดทำกรอบมาตรฐานการบันทึกข้อมูลการ
พัฒนาพืน้ ที่ และใชป้ ระโยชน์จากผลการประเมิน กรอบมาตรฐานนีจ้ ะกำหนดประเภทของกจิ กรรม ผลงาน

ความเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ขององค์กร พื้นทีด่ ำเนินการและหน่วยงานรับผิดชอบ ตลอดจนรายละเอียด

7 ท่มี า : https://project-management-knowledge.com/definitions/a/activity-code/

114 โครงการพฒั นาระบบการติดตาม ประเมนิ และรายงานผลการพฒั นาพื้นท่ตี ามแนวทางความคุ้มค่าของการจดั การงบประมาณ
มูลนธิ ิปดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

มาตรฐานของการวัดผลของแต่ละส่วน เช่น หน่วยการวิเคราะห์ ทรัพยากรที่ต้องใช้ ต้นทุน กระบวนการ/
ขัน้ ตอน อตั ราผลผลติ มาตรฐาน ผลประโยชน/์ กำไร (benefit/profit) ฯลฯ

เพื่อให้การติดตาม ประเมินและรายงานผลการดำเนินงานเป็นระบบ เชื่อมโยงตั้งแต่ต้นน้ำจนถึง
ปลายน้ำ การออกแบบโครงสร้างรหัสมาตรฐาน ที่เชื่อมโยงมิติกิจกรรม มิติหน่วยงาน มิติพื้นที่ มิติ
ยุทธศาสตร์/แผนงาน/โครงการและมิติผลงาน จะช่วยให้ผู้ปฏบิ ตั ิงานสามารถบันทกึ กิจกรรมที่ดำเนนิ การ
ตั้งแต่ก่อนเริม่ ดำเนนิ งาน และง่ายต่อการติดตาม ประเมินและรายงานผลหลังจากการดำเนินงานเสรจ็ สน้ิ
โครงสร้างรหัสมาตรฐานท่ีเช่ือมโยงกันใน 5 มิติดังนี้

xxxxมติ กิ จิ กรรม [รหัส .xx.xx.xxxx.xxxx]

เพื่อให้ทราบวา่ กิจกรรมท่ีหนว่ ยปฏบิ ตั /ิ พืน้ ที่ ท่ีจะดำเนนิ การ

1 สอดคลอ้ งกับภารกิจของปิดทองหรอื ไม่
เช่อื มโยงกบั ยุทธศาสตร/์ แผนงานและโครงการอยา่ งไร

xxมติ ิหนว่ ยงาน 2 การดำเนนิ งาน 4 ม[ริตหสัิยxทุ xxธxศ.xxา.xสxต.xรx์ แxผxน.xxงxาx]นและโครงการ
เพ่อื ตอบความเชือ่ มโยงที่มีกบั ยุทธศาสตร์
[รหัส xxxx. .xx.xxxx.xxxx] แผนงานและโครงการ (ระยะ 5 ป)ี
เพอื่ เปน็ หน่วยรบั ผิดชอบในการดำเนินงาน รวมทง้ั แผนปฏบิ ัติการ (ประจำป)ี ขององคก์ ร
รวมท้งั การติดตามประเมินผลการดำเนินงาน

และการใชจ้ า่ ยงบประมาณ

xxมิติพืน้ ที่ มติ ผิ ลงาน

[รหัส xxxx.xx. .xxxx.xxxx] [รหัส xxxx.xx.xx.xxxx.
เพ่ือประโยชนใ์ นการตดิ ตามประเมนิ ผลสำเรจ็ 3 xxxx5 ]

ของการพัฒนาในแตล่ ะพ้ืนที่ เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความชดั เจนวา่ กจิ กรรมที่ดำเนนิ การ ก่อให้เกดิ
ผลสำเรจ็ ในระดบั ผลผลิตและผลลพั ธอ์ ย่างไร

รปู ท่ี 3.43 มติ ขิ องการบนั ทึกขอ้ มลู และการใช้ประโยชนจ์ ากผลการประเมิน

มติ กิ จิ กรรม – รหัสชุดท่ี 1 (รหัส 4 ตัว)
เปน็ รหสั สำหรับกจิ กรรมที่จะดำเนินการ เพ่อื ให้ทราบว่ากิจกรรมทหี่ นว่ ยปฏิบัติ/พื้นท่ีจะดำเนินการ
นั้นเป็นกิจกรรมอะไร สอดคล้องกบั ภารกิจของปดิ ทองหรือไม่ มีเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์/แผนงาน
และโครงการอยา่ งไร

มิติหน่วยงาน – รหัสชุดท่ี 2 (รหสั 2 ตวั )
เป็นรหสั สำหรับหน่วยงานท่ีจะดำเนนิ กจิ กรรมน้นั ว่าหน่วยงานใดภายในองค์กรเปน็ หน่วยรบั ผิดชอบ
ในการดำเนินกจิ กรรม รวมท้ัง การตดิ ตามประเมินผลการดำเนินงานและการใช้จ่ายงบประมาณ

มิตพิ น้ื ที่ – รหสั ชดุ ที่ 3 (รหัส 2 ตัว)
เป็นรหัสสำหรบั พน้ื ทที่ ่ีจะดำเนนิ กิจกรรม (ถ้ามี) เพอื่ ระบพุ ้นื ทเ่ี ปา้ หมายให้ชัดเจนและเปน็ ประโยชน์
ในการตดิ ตามประเมนิ ผลสำเร็จของการพฒั นาในภาพรวมของแต่ละพืน้ ท่ี

โครงการพัฒนาระบบการตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพน้ื ทตี่ ามแนวทางความคมุ้ คา่ ของการจัดการงบประมาณ 115
มูลนธิ ปิ ิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

มติ ยิ ทุ ธศาสตร์ แผนงานและโครงการ – รหสั ชุดที่ 4 (รหัส 4 ตัว)
เป็นรหสั สำหรบั การระบุยทุ ธศาสตร์ แผนงานและโครงการตามแผนยุทธศาสตร์ฯ/แผนปฏิบัตกิ ารฯ
ขององคก์ ร ว่ากจิ กรรมท่จี ะดำเนินการมคี วามเชอ่ื มโยงกับยุทธศาสตร์
แผนงานและโครงการ (ระยะ 5 ปี) รวมท้ังแผนปฏิบตั กิ าร (ประจำป)ี ขององคก์ รอย่างไร

มิตผิ ลงาน – รหสั ชุดท่ี 5 (รหัส 4 ตวั )
เป็นรหัสสำหรบั ระบุผลการดำเนนิ งาน ทง้ั ในระดับผลผลติ /ผลลัพธท์ ี่เกดิ ข้ึนจากการดำเนินกิจกรรม
นั้น เพ่ือให้เกิดความชดั เจนว่ากจิ กรรมทด่ี ำเนินการ กอ่ ให้เกิดผลสำเร็จในระดับผลผลิตและผลลัพธ์
อย่างไร

มติ ทิ ่ี 1 : กิจกรรม เพ่ือให้ทราบว่ากิจกรรมทห่ี นว่ ยปฏบิ ตั /ิ พ้นื ท่ี จะดำเนินการ

สอดคล้องกบั ภารกิจของปิดทองหรือไม่ เชือ่ มโยงกับยทุ ธศาสตร/์ แผนงานและโครงการอยา่ งไร

มิตทิ ่ี 2 : หนว่ ยงาน เพื่อระบุหนว่ ยงานภายในสถาบนั ฯ ท่ีรับผิดชอบในการดำเนนิ กจิ กรรม

มิติที่ 3 : พ้ืนที่ เพอื่ ระบพุ น้ื ท่ีในการดำเนนิ กิจกรรม และการตดิ ตามประเมินผลสำเร็จของการพฒั นาแต่ละพืน้ ที่

มิตทิ ี่ 4 : ยุทธศาสตร์ แผนงานและโครงการ

มติ ทิ ี่ 5 : ผลงาน เพอื่ ตอบความเช่ือมโยงท่ีมกี ับยทุ ธศาสตร์ แผนงานและโครงการ
(ระยะ 5 ปี) และแผนปฏบิ ัตกิ าร (ประจำป)ี ขององค์กร

รหัสมาตรฐาน xxxx.xx.xx.xxxx.xxxx เพื่อให้เกดิ ความชัดเจนว่ากิจกรรมท่ีดำเนินการ ก่อใหเ้ กิด
ผลสำเรจ็ ในระดับผลผลิตและผลลัพธ์อยา่ งไร

รูปท่ี 3.44 โครงสร้างรหสั มาตรฐาน

รหัสชุดท่ี 1 - มติ กิ ิจกรรม (โครงสรา้ งกจิ กรรม)

ระดับที่ 1 กลมุ่ กจิ กรรม (เลขลำดบั ที่ 1)

ประกอบดว้ ย 6 กลมุ่ กิจกรรม คอื ดิน-น้ำ-ปา่ การส่งเสริมอาชพี การพฒั นาคนและเครอื ข่าย การ
จัดการองคค์ วามรู้ การสอ่ื สารประชาสัมพนั ธ์ และการบริหารจดั การ กลุ่มกจิ กรรมนจ้ี ะเป็นรหัส
แรกของโครงสร้างกิจกรรม

ระดบั ที่ 2 กิจกรรมหลกั (เลขลำดบั ที่ 2)

เป็นกิจกรรมหลักภายใต้กลุ่มกิจกรรม เช่น ดิน น้ำ ป่า ภายใต้กลุ่มกิจกรรม ดิน-น้ำ-ป่า โดย
กิจกรรมหลกั น้ีจะเปน็ รหัสลำดับที่ 2 ของโครงสรา้ งกจิ กรรม

ระดับที่ 3 กิจกรรม (เลขลำดับท่ี 3-4)

เปน็ กจิ กรรมท่หี นว่ ยปฏิบัตดิ ำเนินการ ภายใตก้ ิจกรรมหลกั เชน่ การปรบั ปรงุ ดนิ ภายใตก้ จิ กรรม
หลกั เรอื่ งดนิ และกลมุ่ กจิ กรรม ดนิ -น้ำ-ปา่ โดยกจิ กรรมหลกั น้จี ะเป็นรหสั ลำดับที่ 3 และ 4 ของ
โครงสร้างกจิ กรรม

116 โครงการพัฒนาระบบการติดตาม ประเมนิ และรายงานผลการพฒั นาพ้นื ทต่ี ามแนวทางความค้มุ ค่าของการจดั การงบประมาณ
มูลนธิ ปิ ิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

ตารางท่ี 3.22 สรปุ (ตวั อยา่ ง) มาตรฐานกิจกรรมของสถาบนั ฯ

กลุม่ กจิ กรรม กจิ กรรมหลกั
1 ดิน-น้ำ-ปา่
1 ดนิ
2 น้ำ

2 การส่งเสรมิ อาชพี 3 ป่า
1 การผลิตภาคเกษตร

2 การผลติ นอกภาคเกษตร

3 การแปรรปู และกระจายผลผลติ
4 มาตรฐานผลิตภัณฑ์

โครงการพฒั นาระบบการตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการพฒั นาพนื้ ทต่ี ามแนวทางความคมุ้ คา่ ของการจัดการงบประมาณ
มลู นธิ ปิ ิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

กจิ กรรม รหสั
01 ปรบั ปรงุ ดนิ 1101
01 พฒั นาแหล่งน้ำ 1201
02 พัฒนาการกระจายน้ำเข้าสพู่ น้ื ที่ 1202
03 พฒั นาระบบนำ้ ภายในแปลง 1203
04 พัฒนาระบบนำ้ เพอ่ื การอปุ โภคบรโิ ภคครัวเรอื น 1204
05 พฒั นาระบบน้ำบาดาล 1205
01 รกั ษาปา่ 1301
02 เพ่ิมพ้นื ทป่ี า่ 1302
01 ส่งเสริมการผลิตพืช 2101
02 สง่ เสริมการผลติ ปศสุ ัตว์ 2102
03 สง่ เสรมิ เกษตรปลอดภัย/ปลอดสารพษิ 2103
04 ส่งเสริมเกษตรอนิ ทรยี ์ 2104
05 ส่งเสรมิ เกษตรผสมผสาน 2105
01 ส่งเสริมการทอ่ งเที่ยวชมุ ชน 2201
02 พัฒนาสนิ คา้ ชมุ ชน 2202
01 สง่ เสริมการแปรรปู 2301
02 พฒั นาแหล่งรวบรวม/กระจายผลผลิต 2302
01 สง่ เสริมมาตรฐานฟารม์ 2401

ณ 117

กลมุ่ กิจกรรม กิจกรรมหลกั

3 การพฒั นาคนและเครอื ขา่ ย 1 การฝกึ อบรม

2 สหกรณ์/วสิ าหกจิ ชมุ ชน/กลุ่ม/กอ

3 เครือข่าย

4 ตลาดผรู้ บั ซ้อื ผลผลิต
118

กจิ กรรม รหัส
02 ส่งเสริมมาตรฐานผลิตภัณฑ์ (GAP/GMP/อ.ย.) 2402
03 สรา้ งแบรนดช์ ุมชน 2403

01 สรา้ งหลักสูตร 3101
02 ฝกึ อบรม/ใหค้ วามรู้ 3102
03 เวทแี ลกเปล่ียนเรยี นรู้ 3103
04 ศกึ ษาดงู านในพืน้ ทีอ่ น่ื 3104
05 ศกึ ษาดูงานจากบุคคลภายนอก 3105
องทุน 01 รเิ รม่ิ /ชักชวนรวมกล่มุ 3201
02 จัดตั้งกล่มุ 3202
03 สง่ เสริมการบริหารจดั การกลมุ่ 3203
04 มีกจิ กรรมขบั เคลือ่ นกลุ่ม 3204
05 มีกจิ กรรมยกระดบั กลุ่ม 3205
01 รว่ มมือกบั เครอื ข่ายองค์ความรู้ 3301
02 ร่วมมอื กบั เครอื ขา่ ยส่วนราชการในพน้ื ท่ี 3302
03 ร่วมมอื กบั เครอื ขา่ ยหน่วยงานกลาง 3303
04 ร่วมมือกบั เครือขา่ ยภาคเอกชน 3304
05 รว่ มมอื กบั เครอื ข่ายพื้นทีอ่ น่ื 3305
01 รักษาตลาดเดมิ 3401
02 เพมิ่ ตลาดใหม่ 3402

โครงการพฒั นาระบบการตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผลการพฒั นาพ้นื ที่ตามแนวทางความคุ้มคา่ ของการจดั การงบประมาณ
มลู นิธิปิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

กลุ่มกจิ กรรม กจิ กรรมหลัก
4 การจัดการองคค์ วามรู้ 5 ศลิ ปวฒั นธรรมชมุ ชน
1 การรวบรวมองค์ความรู้

2 การขยายผลองคค์ วามรู้

5 การสื่อสารประชาสมั พันธ์ 3 การสรา้ งองคค์ วามร้ใู หม่

1 พ้ืนทีต่ ้นแบบ

2 ส่ือมวลชน
3 สาธารณชน

6 การบริหารจัดการ 1 แผนยุทธศาสตร์/แผนงาน

โครงการพัฒนาระบบการติดตาม ประเมนิ และรายงานผลการพฒั นาพ้นื ทตี่ ามแนวทางความคมุ้ คา่ ของการจัดการงบประมาณ
มูลนธิ ิปิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

กจิ กรรม รหัส
01 รกั ษาศลิ ปวฒั นธรรมเดิมของชุมชน 3501
4101
01 วางโครงสรา้ ง/จัดระเบยี บองคค์ วามรู้ 4102
02 จดั เกบ็ องค์ความรู้ (บทเรยี น/กรณศี ึกษา/ค่มู ือ) 4103
03 จดั ทำสอ่ื เพ่ือเผยแพร่องค์ความรู้ 4201
01 นำองค์ความรู้ไปใช้ในการพฒั นาพนื้ ทอี่ น่ื ของปดิ ทอง
4202
สื่อสารกบั กลมุ่ เป้าหมาย/หน่วยงานภายนอกเพื่อ
02 เผยแพรอ่ งค์ความรู้ 4203
4301
เผยแพร่องคค์ วามรสู้ ู่กลุม่ เป้าหมายภายนอก/ 4302
03 สาธารณชน 5101
01 ปรับปรงุ โมเดลการพฒั นาใหด้ ขี น้ึ 5102
02 ตอ่ ยอดองคค์ วามรใู้ หม่ 5201
5301
01 ประชาสมั พนั ธใ์ นพนื้ ท่ีต้นแบบ 5302
02 ประชาสมั พันธพ์ ื้นทต่ี ้นแบบสภู่ ายนอก 5303
01 นำสอ่ื มวลชนศกึ ษาเรียนรแู้ นวพระราชดำริ 5304
01 ผลิตสอื่ ประชาสมั พนั ธ์ 6101
02 เผยแพรแ่ นวพระราชดำริ
03 เผยแพร่ผลการดำเนนิ งานของสถาบนั ฯ
04 ตดิ ตามประเมินผลการประชาสมั พันธ์

01 จดั ทำแผน

ณ 119

กลุ่มกจิ กรรม กิจกรรมหลกั
2 การปฏบิ ตั ิงานภายในสำนกั งาน
3 การเพม่ิ ประสทิ ธิภาพการปฏบิ ตั งิ า

120

กจิ กรรม รหสั
02 เก็บข้อมลู 6102
03 ตดิ ตามประเมินผล 6203
01 บรหิ ารทว่ั ไป 6201
02 การเงนิ การบญั ชแี ละบญั ชเี งินเดอื น 6202
03 จัดซ้ือ, ควบคุมทรพั ยส์ ินและออกตว๋ั เดนิ ทาง 6203
าน 01 บรหิ าร/พฒั นาระบบขอ้ มลู สารสนเทศ 6301
02 ตรวจสอบและควบคุมภายใน 6302

โครงการพฒั นาระบบการตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพื้นท่ีตามแนวทางความคุ้มค่าของการจดั การงบประมาณ
มูลนิธปิ ดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

รหสั ชุดที่ 2 - มติ หิ นว่ ยงาน เพือ่ ระบหุ น่วยงานภายในสถาบนั ฯ ทร่ี บั ผดิ ชอบในการดำเนนิ กจิ กรรม
นั้นๆ ประกอบด้วยรหสั มาตรฐานจำนวน 2 ตวั ดังน้ี

รหัส 01 สำนักผอู้ ำนวยการ
รหสั 02 ฝา่ ยจดั การความรู้
รหัส 03 ฝ่ายสง่ เสริมการพัฒนา
รหสั 04 ฝา่ ยสื่อสารสาธารณะและภาคีสัมพันธ์
รหัส 05 ฝา่ ยบรหิ ารสำนักงาน
รหัส 06 แผนกบริหารทวั่ ไป
รหัส 07 แผนกการเงิน การบัญชแี ละบัญชีเงนิ เดือน
รหสั 08 แผนกจดั ซอื้ ควบคุมทรพั ยส์ นิ และออกตว๋ั เดนิ ทาง

คณะกรรมการสถาบัน

ผู/อำนวยการ คณะทีป่ รึกษาด/านต8าง ๆ
ของสถาบันฯ

01 สำนักผู/อำนวยการ

02 ฝา5 ยจัดการความรู/ 03ฝา5 ยส8งเสริมการพัฒนา ฝา5 ยสอ่ื สารสาธารณะ ฝา5 ยบรหิ ารสำนกั งาน

04 และภาคสี มั พันธN 05

0แ6ผนกบรหิ ารทัว่ ไป แผนกการเงินการบัญชี แผนกจดั ซ้ือ ควบคุมทรพั ยสN ิน

07 และบญั ชีเงนิ เดือน 08 และออกตว๋ั เดนิ ทาง

รปู ที่ 3.45 รหัสชดุ ท่ี 2 - รหสั หนว่ ยงานตามโครงสรา้ งสถาบนั สง่ เสริมและพฒั นากิจกรรมปิดทองหลงั พระฯ

รหสั ชุดที่ 3 – มติ ิพ้นื ท่ี เพือ่ ระบพุ ื้นทตี่ น้ แบบ (หากมี) ทร่ี บั ผดิ ชอบในการดำเนินกจิ กรรมนั้นๆ หาก
เป็นหน่วยงานจากส่วนกลาง ไม่มีพื้นที่ต้นแบบ ก็จะไม่ระบุรหัสในส่วนนี้ ประกอบด้วยรหัสมาตรฐาน
จำนวน 2 ตวั คือ

ภาคเหนอื จงั หวดั น่าน 1. โครงการพฒั นาพืน้ ที่ต้นแบบบรู ณาการแกไ้ ขปัญหาและพฒั นาพนื้ ทจ่ี ังหวัดน่าน ตาม รหสั 01
แนวพระราชดำริ
ภาค จงั หวดั อดุ รธานี รหสั 02
ตะวันออก 2. โครงการบรหิ ารจดั การนำ้ อยา่ งยง่ั ยนื อ่างเกบ็ นำ้ ห้วยคล้ายอันเนื่องมาจากแนว
เฉยี งเหนือ จังหวดั กาฬสนิ ธุ์ พระราชดำริ (บ้านโคกล่าม-แสงอร่าม) รหสั 03
จังหวดั ขอนแกน่ รหสั 04
ภาคกลาง จงั หวดั อทุ ยั ธานี 3. โครงการพัฒนาแกม้ ลงิ หนองเลิงเปือย อันเนอื่ งมาจากแนวพระราชดำริ รหัส 05
ภาคตะวันตก จงั หวัดเพชรบุรี 4. โครงการพฒั นาและจัดหานำ้ ในตำบลทุ่งโปง่ อ.อุบลรัตน์ รหสั 06
5. โครงการพ้นื ท่ีตน้ แบบบรู ณาการแก้ไขปัญหาและพฒั นาพน้ื ท่ี ต.แกน่ มะกรดู อ.บา้ นไร่
ภาคใต้ จังหวัดปัตตานี 6. แผนพัฒนาชนบทเชิงพื้นที่ประยุกต์ ตามพระราชดำรบิ ้านโป่งลกึ บางกลอย รหสั 07
จังหวัดยะลา รหสั 08
จงั หวดั นราธิวาส อ.แก่งกระจาน รหสั 09
7. โครงการพฒั นาพน้ื ที่ตน้ แบบจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ประยกุ ตต์ ามแนวพระราชดำริ
8. โครงการพฒั นาพน้ื ทต่ี น้ แบบจงั หวดั ชายแดนภาคใตป้ ระยกุ ตต์ ามแนวพระราชดำริ
9. โครงการพัฒนาพ้ืนทต่ี น้ แบบจงั หวัดชายแดนภาคใต้ประยุกต์ตามแนวพระราชดำริ

รปู ที่ 3.46 รหสั ชุดท่ี 3 – รหัสพน้ื ที่ตน้ แบบ

โครงการพฒั นาระบบการตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพ้นื ทีต่ ามแนวทางความคมุ้ ค่าของการจดั การงบประมาณ 121
มูลนธิ ิปดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

รหสั ชดุ ท่ี 4 – มิติยุทธศาสตร์ แผนงานและโครงการ ประกอบด้วยรหสั มาตรฐานจำนวน 4 ตัวดงั น้ี

ระดับที่ 1 ยุทธศาสตร์ (เลขลำดบั ท่ี 1)

อา้ งองิ จากแผนยทุ ธศาสตรร์ ะยะท่ี 3 (พ.ศ.2564-2568) ประกอบด้วย 3 ยทุ ธศาสตร์ คือ ยุทธศาสตร์
ที่ 1 การเสริมสร้างความเข้มแข็งของพ้ืนที่ตน้ แบบเดมิ ให้ไปสูค่ วามย่ังยนื ยุทธศาสตร์ที่ 2 ส่งเสริม
การประยุกต์ใช้แนวพระราชดำริในพื้นที่ที่มีปัญหาความม่ันคง และยุทธศาสตร์ที่ 3 การบริหาร
จัดการเพอ่ื ขยายผลการพฒั นาตามแนวพระราชดำริ

ระดบั ท่ี 2 แผนงาน (เลขลำดบั ท่ี 2)

แผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 3 ประกอบไปด้วย 10 แผนงาน เป็นแผนงานภายใต้ยุทธศาสตร์ที่ 1
จำนวน 4 แผนงาน ภายใต้ยุทธศาสตร์ที่ 2 จำนวน 2 แผนงานและภายใต้ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 จำนวน 4
แผนงาน

ระดับท่ี 3 โครงการ (เลขลำดบั ท่ี 3-4)

เป็นโครงการภายใตแ้ ผนงาน รวม 37 โครงการ กระจายอยภู่ ายใตท้ ้ัง 10 แผนงาน

แผนยทุ ธศาสตร์ ระยะท่ี ๓ (พ.ศ.๒๕๖๔-๒๕๖๘)
ของมลู นธิ ปิ ิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

สว่ นท่ี ๑ สาระสำคญั ของแผน ส่วนท่ี ๒ รายละเอียดโครงการ
๑ หลกั การและเหตุผล และผลการดำเนินงานระยะท่ีผา่ นมา
๒ นโยบายที่เก่ยี วขอ้ ง และจุดเน้นการพัฒนาในแผนยทุ ธศาสตรร์ ะยะท่ี ๓ 2 ยทุ ธศาสตร์ที่ ๒
๓ แผนยทุ ธศาสตร์ระยะท่ี ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๘)
๔ แผนงาน โครงการ ตามยุทธศาสตร์ระยะที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๘) ส่งเสรมิ การประยกุ ตใ์ ชแ้ นวพระราชดำรใิ นพื้นที่ท่มี ปี ัญหาความม่ันคง
๕ การแปลงยุทธศาสตรส์ กู่ ารปฏบิ ตั ิ

1ยุทธศาสตร์ 3 ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๓
ยุทธศาสตร์ท่ี ๑
การบริหารจดั การเพือ่ ขยายผลการพัฒนาตามแนวพระราชดำริ
การเสริมสรา้ งความเขม้ แขง็ ของพน้ื ทีต่ น้ แบบเดมิ ให้ไปสคู่ วามย่ังยนื 2 1 2 34

1 2 34 1 แผนงานท่ี ๑ แผนงานที่ ๒ แผนงานท่ี ๓ แผนงานท่ี ๔
แผนงานท่ี ๑ แผนงานที่ ๒ แผนงานที่ ๓ แผนงานท่ี ๔ แผนงานท่ี ๑ แผนงานท่ี ๒
การพัฒนาชุมชน การเชอื่ มโยง การสนับสนุน โครงการเพมิ่ ประสทิ ธิภาพการผลติ การประยุกต์ใช้แนวพระราชดำรใิ น แผนงานดา้ นการ แผนงานส่ือสาร แผนงานดา้ น แผนงานบริหาร
การพฒั นา และบริหาร
จัดการงาน
แผนงาน ครวั เรอื น การพฒั นา

01 01พึ่งตนเองได้ ตาม
01 01(อยูร่ อด) ยทุ ธศาสตร์
01 01 01 011. โครงการสง่ เสริม
02 02 02ประสิทธิภาพการ
02 02บริหารจดั การ

โครงการ 03 03 03 03 01ทรพั ยากรน้ำ ดิน

03ปา่
02 02 04 042. โครงการส่งเสริม

02 04พฒั นาอาชพี
03 04 05 02ทางเลือก
03 03 03 053. โครงการเสริม
06ประสิทธภิ าพการ
06 05 06บริหารจดั การ

ครวั เรือน
รวมกลุม่ พงึ่ พา สภู่ ายนอก สนิ ค้าเกษตรใหม้ ีคณุ ภาพตามศาสตร์ พื้นทที่ ม่ี ปี ัญหาการคา้ และการลำเลยี ง จัดการความรแู้ ละ สาธารณะ ภาคีสัมพนั ธ์ จดั การและ
กันเองได้ พระราชาในจังหวดั ชายแดนภาคใต้ ยาเสพติด บรเิ วณชายแดนภาคเหนือ ประเมนิ ผล 1. การจดั การศกึ ษาดงู านเพื่อ 1. เครือขา่ ยปราชญ์ สนบั สนนุ การ
(ยง่ั ยืน) (ทเุ รียนคณุ ภาพ) 1. การเรียนรู้ประสบการณ์การประยกุ ตใ์ ชแ้ นว 1. การปรบั ปรุงระบบขอ้ มลู สร้างการรบั รูแ้ ละเขา้ ใจในแนว สบื สานแนว ขยายผลการ
(พอเพียง) 1. โครงการ พระราชดำริ “โครงการรอ้ ยใจรกั ษ”์ 2. ทางการพฒั นาทย่ี ั่งยืน พระราชดำริ พฒั นา
1. โครงการพัฒนาและ สนบั สนุน 1. โครงการพัฒนาศักยภาพประชาชนในพน้ื ท่ี และสารสนเทศเพื่อการ การผลติ และเผยแพรส่ ื่อ สร้างความเขา้ ใจ
เพ่ิมผลิตภาพการ นวตั กรรม 2. โครงการสนบั สนุนการพัฒนาโครงสรา้ งพน้ื ฐาน 2. การฝกึ ปฏบิ ัติดา้ นการประยกุ ต์ใช้เศรษฐกจิ บริหาร 2. ประชาสัมพันธแ์ นว 2. ทด่ี ตี ่อการดาเนิน 1. สนบั สนุนการ
พอเพยี งขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่น พระราชดำริ งานของโครงการ ขยายผลการ
ผลิต เทคโนโลยีเพื่อ น้ำ ดิน การตดิ ตามประเมนิ ผลและ พฒั นาร่วมกับ
3. โครงการถา่ ยทอดความรแู้ ละจดั ตงั้ กองทุน 3. สนับสนนุ กิจกรรมการพฒั นาเพอ่ื แก้ไขปญั หา พฒั นาองคค์ วามรู้ หนว่ ยงานภาคี
(Productivity) พฒั นาฐานการ เร่งดว่ น (Quick win) 3. การสง่ เสรมิ และพฒั นา 3. การจดั กิจกรรมสบื สานงาน 3. สรา้ งความร่วมมอื
2. โครงการยกระดับ ผลิตชุมชน ปัจจัยการผลิต 4. การติดตามนิเทศงานองค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ 4. กอคาสวราพเมช.ร่ือู้ใมหโ้แยกง่เอจง้าคห์คนว้าาทมี่ รแู้ ละ45.. พระราชดำริ เพ่ือดำเนิน 2. เพิ่มประสทิ ธภิ าพ
การผลติ และการ 2. โครงการพฒั นา 4. โครงการพฒั นาและเสรมิ ศกั ยภาพการรวบรวม ให้แก่พืน้ ท่ีต้นแบบและ สอ่ื มวลชนสัมพนั ธ์ กิจกรรมพิเศษ การบรหิ ารจดั การ
พัฒนาศกั ยภาพ แผนชุมชน ท่ไี ดม้ าเรียนรกู้ ารประยุกตใ์ ชแ้ นวพระราชดำริและ การเผยแพร่การประยุกตแ์ นว องคก์ ร
ทนุ เดมิ ของชุมชน 3. โครงการขยายผล และกระจายผลผลิต ประเมินผล พระราชดำรเิ พ่อื การพัฒนา
3. โครงการพัฒนา การพัฒนาตาม 5. โครงการแปรรูปและเพมิ่ มูลค่าผลผลติ ทาง 5. การสง่ เสรมิ องคค์ วามรู้ด้านการพฒั นาแหล่งน้ำให้
เจา้ หนา้ ทข่ี อง อปท. พนื้ ทข่ี ยายผล พืน้ ที่
มาตรฐานการ แนวพระราชดำริ การเกษตร 6. การประชมุ คณะอนุกรรมการดำเนินงาน 5. จดั ระบบการอบรมเพ่ือ 6. ประเมินผลการประชาสมั พันธ์
บรหิ ารจัดการ 6. โครงการพฒั นาสหกรณก์ ารเกษตร การจดั ตงั้ / สรา้ งนกั พฒั นาชนบทตาม และทศั นคติ และพัฒนาแนว
คณะอนกุ รรมการอบรมฯ คณะทำงานกล่ันกรอง แนวพระราชดำริ ทางการดาเนินงาน
จดทะเบียน กลุ่มเกษตรกรเปน็ สหกรณ์ โครงการฯ และการประชมุ อ่นื ๆท่เี กยี่ วข้อง
การเกษตร

รปู ท่ี 3.47 รหสั ชดุ ที่ 4 - รหสั มติ ยิ ทุ ธศาสตร์ แผนงานและโครงการ

รหัสชุดที่ 5 – มิติผลงาน (โครงสร้างตัวช้ีวัด) ตัวชี้วัด (KPIs) เป็นดัชนีหรือหน่วยวัดความสำเร็จ
ของการปฏบิ ตั ิงานทก่ี ำหนดขน้ึ โดยเปน็ หน่วยวัดท่แี สดงถึงผลสมั ฤทธิข์ องหนว่ ยงาน/โครงการ/งาน รวมถึง
ใช้ในการประเมนิ ผลการปฏิบตั ิงานของแตล่ ะหน่วยงานได้ ทีค่ วรมีผลเป็นตัวเลขท่ีนับได้จริง การกำหนด
ตัวชี้วัดที่เหมาะสม สอดคล้องกับเป้าหมาย วัตถุประสงค์และผลลัพธ์ท่ีคาดว่าจะได้รับ จึงเป็นขั้นตอนที่

122 โครงการพัฒนาระบบการตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพน้ื ที่ตามแนวทางความคุม้ ค่าของการจัดการงบประมาณ
มลู นธิ ปิ ิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

สำคญั มากสำหรบั การประเมินผลการปฏิบตั งิ าน หากตัวชว้ี ัดไม่สอดรับกบั เป้าหมาย หรือมีความท้าทายท่ี
นอ้ ยเกินไปเมอื่ เทียบกบั ความสำเรจ็ กอ็ าจส่งผลใหก้ ารประเมินน้ันๆ มคี ณุ คา่ ทน่ี อ้ ยลง ไมเ่ กดิ แรงผลกั ดันให้
เกิดการพัฒนาในปีต่อไป หรือหากกำหนดตัวชี้วัดที่สูงเกินไป โดยอาจเกิดจากความคาดหวังที่เกินกว่า
เป้าหมาย เปน็ ตน้ ผลทไี่ ดร้ ับกม็ คี วามเสี่ยงทจ่ี ะทำให้หนว่ ยงานนั้นๆ มผี ลการประเมินท่ตี กต่ำกว่าที่ตั้งเป้า
ไว้ได้

ผลผลติ (output) หมายถึง ผลที่เกดิ ข้ึนจากการดำเนนิ งานตามกิจกรรม ซึ่งอาจจะเป็นสินคา้
(product) หรอื การให้บริการ (service) กไ็ ด้

ผลลพั ธ์ (outcome) หมายถึง ผลประโยชน์ คุณประโยชน์ คุณค่า คุณลักษณะที่เกิดข้ึนกับกลมุ่
เป้าหมายเฉพาะหรอื ลูกค้าทรี่ บั บรกิ ารหรือใช้ประโยชนจ์ ากผลผลิต

การวัดผลสำเรจ็ ของผลผลติ และผลลพั ธ์ โดยใชต้ วั ชี้วดั สามารถวดั ได้ทง้ั 4 มิติ คือ ปริมาณ คุณภาพ
เวลาและคา่ ใชจ้ า่ ย ดงั รายละเอียดต่อไปนี้

(1) ปริมาณ หมายถึง การกำหนดเป้าหมายในการผลิต/การดำเนินโครงการด้านปริมาณ โดย
กำหนดในรูปของสิ่งที่สามารถวัดได้ด้วยเชิงปริมาณ ซึ่งระบุเป็นตัวเลขชัดเจนและสามารถ
แสดงความก้าวหน้าในการดำเนนิ งานได้

(2) คุณภาพ หมายถงึ การกำหนดเป้าหมายคณุ ภาพของผลผลติ /โครงการ โดยมี 2 ลักษณะ ได้แก่

(2.1) คุณภาพของผลผลติ หรอื ส่ิงของท่ใี หบ้ รกิ าร/โครงการนน้ั เปน็ ไปตามมาตรฐานท่ีส่วน
ราชการ รฐั วิสาหกจิ และหน่วยงานอนื่ กำหนดไวห้ รอื ไม่

(2.2) คุณภาพของวิธกี ารนำส่งผลผลิตหรอื วธิ กี ารใหบ้ ริการ/การดำเนนิ โครงการ ได้แก่ การวัด
ความพึงพอใจของกลมุ่ เป้าหมายท่มี ีต่อกระบวนการผลติ

(3) ระยะเวลา หมายถึง ระยะเวลาที่กำหนดในกระบวนการผลิต/การดำเนินโครงการเพื่อให้ได้
ผลผลติ /โครงการ

(4) คา่ ใช้จา่ ย/ตน้ ทนุ หมายถึง ค่าใชจ้ ่ายหรอื ต้นทุนผลผลิต/โครงการ

รหัสชดุ ที่ 5 คอื รหัสมิติผลงาน เพื่อระบผุ ลงานที่คาดวา่ จะไดร้ บั จากการดำเนินกจิ กรรม ผ่านการระบุ
เป็นตัวชีว้ ดั ในระดับผลผลิตหรือผลลพั ธ์ ประกอบด้วยรหสั มาตรฐานจำนวน 4 ตัว คอื

ระดบั ท่ี 1 ดา้ น (เลขลำดบั ท่ี 1)

รหัสลำดับแรกคอื ความสำเรจ็ ใน 5 ด้านประกอบด้วย ดา้ นเศรษฐกฐิ กิจ ดา้ นสงั คม ดา้ นสงิ่ แวดล้อม
ด้านความมัน่ คงและการบรหิ ารจัดการ

ระดบั ท่ี 2 เรอื่ ง (เลขลำดบั ท่ี 2)

โครงการพัฒนาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพนื้ ทต่ี ามแนวทางความค้มุ คา่ ของการจัดการงบประมาณ 123
มูลนิธปิ ิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ

เป็นเรื่องสำคญั ในแต่ละดา้ น ประกอบด้วย 13 เร่ืองใน 5 ด้าน โดยเรอื่ งนจ้ี ะเปน็ รหัสลำดบั ท่ี 2 ของ
โครงสรา้ งกิจกรรม

ระดับท่ี 3 ตวั ชีว้ ัด (เลขลำดับท่ี 3-4)

รหสั ลำดบั ท่ี 3 และ 3 เปน็ ตวั ชว้ี ดั ท่ีประสงค์จะบรรลุจากการดำเนนิ กิจกรรม ซง่ึ จะเป็นตัวชว้ี ัดท้ังใน
ระดบั ผลผลติ และ/หรือ ระดบั ผลลพั ธ์

124 โครงการพัฒนาระบบการตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผลการพฒั นาพ้นื ที่ตามแนวทางความคมุ้ คา่ ของการจัดการงบประมาณ
มูลนธิ ิปดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

ตารางท่ี 3.23 สรุป (ตวั อย่าง) มาตรฐานตวั ช้วี ัดของสถาบนั ฯ

ด้าน เรือ่ ง ตวั ชว้ี ดั ระดับผลผลิต หนว่ ย

1 ด้านเศรษฐกิจ 1 อาชพี 01 พน้ื ที่เกษตรที่ร่วมโครงการ ไร่
กิโลกรมั
02 จำนวนผลผลติ การเกษตรทีส่ ่งเสริม ชนิด/กโิ ลกรัม/
ครวั เรือน
03 จำนวนผลผลติ การเกษตรท่ไี ดร้ ับมาตรฐาน ช้ิน/ครั้ง
กิโลกรัม/ชิ้น
GAP/GMP/อ่ืนๆ
ช่องทาง
04 จำนวนผลผลติ นอกภาคเกษตรทีส่ ่งเสรมิ

05 จำนวนผลติ ภณั ฑแ์ ปรรูป

2 การตลาด 01 จำนวนช่องทางการขายท่ีเพิ่มขนึ้

3 รายได้

2 ดา้ นสงั คม 1 พื้นที่ 01 จำนวนครัวเรอื นที่เข้ารว่ มโครงการ ครวั เรือน

2 องค์ความรู้ 01 การฝกึ อบรม/ถ่ายทอดความร/ู้ ศกึ ษาดงู านของคน ครั้ง/คน

ในพืน้ ท่ี ครงั้ /คน
กลมุ่
02 คนนอกพน้ื ทเ่ี ขา้ มาศกึ ษาดูงาน

3 การ 01 จำนวนกล่มุ

รวมกลุ่ม

โครงการพัฒนาระบบการตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผลการพฒั นาพ้ืนที่ตามแนวทางความคุ้มคา่ ของการจดั การงบประมาณ
มลู นธิ ปิ ิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ

รหสั ตวั ช้วี ัดระดับผลลัพธ์ หนว่ ย รหสั

1101 06 ผลผลิตตอ่ ไร่ของผลผลติ การเกษตรทส่ี ง่ เสรมิ กโิ ลกรัมต่อไร่ 1106

1102 07 เกษตรกรมกี ำไรของผลผลติ ทีส่ ง่ เสรมิ เพิ่มขน้ึ บาทตอ่ ไร่ 1107

1103 08 สัดสว่ นผลผลติ การเกษตรที่ได้รับมาตรฐาน GAP/GMP/อนื่ ๆ ตอ่ ร้อยละ 1108

ผลผลติ ทั้งหมด

1104 09 จำนวนผลิตภัณฑแ์ ปรรปู ใหม่ ชนดิ 1109

1105

1201 02 รายได้/กำไร/ขาดทุนจากชอ่ งทางการขายทเี่ พ่ิมขน้ึ บาท 1202

03 ร้อยละของสนิ ค้าทไี่ ด้มาตรฐานตามความตอ้ งการของตลาด (หรอื รอ้ ยละ 1203

ถกู ตีกลับ)

01 รายไดเ้ ฉลยี่ ตอ่ ครัวเรอื นที่เขา้ ร่วมโครงการ บาทตอ่ ปี 1301

02 รายได้เฉลี่ยภาคเกษตรของครวั เรือนทเี่ ขา้ ร่วมโครงการ บาทต่อปี 1302

03 สัดส่วนรายได้เฉลี่ยครัวเรอื นทเ่ี ขา้ ร่วมโครงการตอ่ ครัวเรอื นท่ีไม่ได้ เทา่ 1303

เขา้ รว่ มโครงการ

04 ครัวเรอื นท่มี ีรายได้ผา่ นเกณฑข์ ัน้ ต่ำ 30,000 บาทต่อคนตอ่ ปี ครวั เรอื น 1304

(102,000 บาท/ครวั เรือน/ป)ี

05 ร้อยละของครัวเรอื นท่รี ายได้ผา่ นเกณฑ์ขัน้ ต่ำ ตอ่ ครัวเรอื นทั้งหมด ร้อยละ 1305

2101 02 จำนวนครัวเรือนที่ปฏบิ ัตติ ามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ครวั เรอื น 2102

03 จำนวนครัวเรือนปลอดหนเี้ พม่ิ ขึน้ ครัวรอื น 2103

04 ความพงึ พอใจของครัวเรอื นที่มีกับผลท่เี กดิ ข้ึนในพืน้ ที่ต้นแบบ ร้อยละ 2104

2201 03 จำนวนครัวเรือนทน่ี ำความรู้ท่ีไดร้ ับไปใชป้ ระโยชน์ ครัวเรือน 2203

2202 2304

2301 04 รอ้ ยละครวั เรอื นทีเ่ ข้ารว่ มการรวมกลมุ่ เม่ือเทยี บกับจำนวนครัวเรือน รอ้ ยละ
ทงั้ หมด

ณ 125

ด้าน เรื่อง ตวั ชวี้ ดั ระดบั ผลผลติ หนว่ ย
ครวั เรือน
02 จำนวนสมาชิกรวม

3 ด้าน 1 นำ้ 03 เงนิ ทุนหมุนเวียนรวม บาท
สงิ่ แวดล้อม 01 ปริมาณการกกั เก็บน้ำจากการพฒั นาของปดิ ทองฯ ลบ.ม.

2 ดิน 02 ปริมาณการกระจายน้ำเข้าสู่พ้ืนท่ี เมตร
03 พื้นท่ีรับประโยชน์ ครวั เรือน/ไร่
3 ป่า 04 พ้ืนที่พฒั นาระบบนำ้ ภายในแปลง (นำ้ หยด บอ่ ไร่

4 ด้านความ 1 อาชีพ บาดาล) ไร่
01 พน้ื ทีเ่ กษตรไดร้ ับการอนรุ ักษ์ ปรับปรงุ และฟ้นื ฟู
มั่นคง ไร่
คณุ ภาพดิน ครัวเรือน
5 ด้านการบริหาร 1 เครอื ขา่ ย 01 พ้นื ท่ีปา่ จากการพัฒนาของปดิ ทองฯ เพม่ิ ขึน้
องคก์ ร
01 ครวั เรือนในจงั หวัดชายแดนภาคใต้ที่ไดร้ บั การ
สง่ เสรมิ อาชีพด้านการเกษตร

01 จำนวนองค์กรเครอื ขา่ ย

จดั การ

2 แผน 01 การจัดทำแผนงานไดต้ ามเป้าหมายท่ีกำหนด แผนงาน

3 การจดั การ 01 การบริหารจดั การภายในสำนักงานไดต้ ามเปา้ หมาย เรือ่ ง

ทก่ี ำหนด

02 การบันทึกและใช้ข้อมลู เพือ่ การพฒั นาชุมชนตาม ร้อยละ

แนวพระราชดำริไดท้ ันต่อเวลา

126

รหัส ตัวชว้ี ดั ระดับผลลัพธ์ หนว่ ย รหัส
2302 05 จำนวนกองทนุ ท่ยี กระดบั เป็นวิสาหกจิ ชมุ ชนหรอื สหกรณ์ วสิ าหกิจ/ 2305
สหกรณ์
2303 06 การเตบิ โตของเงนิ ทนุ หมุนเวียนเม่อื เทยี บกบั ปีที่แล้ว ร้อยละต่อปี 2306
3101 05 ปริมาณการเกก็ กกั น้ำจากการพัฒนาของปดิ ทองในช่วงหน้าแลง้ 3105
ลบ.ม.

3102 06 ปรมิ าณน้ำใช้สอยภายในครัวเรอื น ลบ.ม. 3106
รอ้ ยละ 3107
3103 07 รอ้ ยละของครวั เรือนทม่ี ีนำ้ ใช้ตลอดปี
3104

3201

3301 บาทต่อปี 4102
องคก์ ร 5102
4101 02 รายได้เฉล่ียครวั เรือนในจังหวัดชายแดนภาคใต้ท่ีเขา้ รว่ มโครงการ
เพ่ิมข้ึน

5101 02 จำนวนองคก์ รเครอื ขา่ ยทไ่ี ดท้ ำงานรว่ มกนั (แบบ Project Base)

03 จำนวนองค์กรเครือข่ายทีไ่ ดท้ ำงานร่วมกัน (แบบ Partnership) องคก์ ร 5103
5201 ร้อยละ 5303
5301 03 ขอ้ มูลเพอื่ การพัฒนาชมุ ชนตามแนวพระราชดำริ ทเี่ ชื่อถือได้

5302

โครงการพัฒนาระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผลการพัฒนาพน้ื ที่ตามแนวทางความคมุ้ คา่ ของการจดั การงบประมาณ
มลู นิธปิ ิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ


Click to View FlipBook Version