The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

นวัตกรรมการสอนตามพุทธวิถีใหม่ในพระพุทธศตวรรษที่26
รศ.ดร.สิน งามประโคน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 24-Chinaporn Nakorn, 2023-06-16 11:29:06

นวัตกรรมการสอนตามพุทธวิถีใหม่ในพระพุทธศตวรรษที่26

นวัตกรรมการสอนตามพุทธวิถีใหม่ในพระพุทธศตวรรษที่26
รศ.ดร.สิน งามประโคน

236 227 ดี ไม่ใช่เพื่อมุ่งเอร็ดอร่อย อวดโก้ แสดงฐานะ สัมพันธ์กับโทรทัศน์ โดยดูเพื่อติดตามข่าวสาร แสวงหาความรู้ ส่งเสริมปัญญา มิใช่เพื่อหมกมุ่นในความสนุกสนานเพลิดเพลิน หรือเอาเป็น เครื่องมือเล่นการพนัน เป็นต้น 2. ศีลภาวนา แปลว่า พัฒนาศีล หมายถึง การพัฒนาความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม ทางสังคมให้เป็นไปด้วยดี เริ่มแต่ไม่ก่อการเบียดเบียน ไม่ทำความเดือดร้อนแก่ผู้อื่นแก่สังคม ประพฤติสิ่งที่เป็นประโยชน์เกื้อกูลต่อผู้อื่นต่อสังคม มีระเบียบวินัย ประกอบสัมมาชีพด้วย ความขยันหมั่นเพียร ฝึกฝนอบรมกายวาจาของตนให้ประณีต ปราศจากโทษก่อคุณประโยชน์ และเป็นเครื่องสนับสนุนการฝึกอบรมจิตใจยิ่ง ๆ ขึ้นไป 3. จิตตภาวนา แปลว่า พัฒนาจิต คือ พัฒนาจิตใจให้มีคุณสมบัติดีงาม พรั่งพร้อม ซึ่งอาจแบ่งออกได้เป็น 3 ด้าน คือ 3.1) คุณภาพจิต คือ ให้มีคุณธรรมต่าง ๆ ที่เสริมสร้างจิตใจให้ดีงาม เป็นจิตใจ ที่สูง ประณีต เช่น มีเมตตา มีความรัก ความเป็นมิตร มีกรุณาอยากช่วยเหลือ ปลดเปลื้อง ทุกข์ของผู้อื่น มีจาคะ คือ มีน้ำใจเผื่อแผ่ มีคารวะ มีความกตัญญู เป็นต้น 3.2) สมรรถภาพจิต คือ ให้เป็นจิตที่มีความสามารถ เช่น มีสติดี มีวิริยะ คือ ความเพียร มีขันติคืออดทน มีสมาธิคือจิตตั้งมั่นแน่วแน่ มีสัจจะคือจริงจัง มีอธิษฐาน คือ เด็ดเดี่ยวแน่วแน่ต่อจุดหมาย เป็นจิตใจที่พร้อมและเหมาะที่จะใช้งาน โดยเฉพาะทางปัญญา คือ การคิดพิจารณาให้เห็นความจริงแจ่มแจ้งชัดเจน 3.3) ภาพจิต คือ ให้เป็นจิตที่มีสุขภาพดี มีความสุขสดชื่น ร่าเริงเบิกบาน ปลอดโปร่ง สงบ ผ่องใส พร้อมที่จะยิ้มแย้มได้ มีปีติ ปราโมทย์ ไม่เครียด ไม่กระวนกระวาย ไม่คับข้อง ไม่ขุ่นมัวเศร้าหมอง ไม่หดหู่โศกเศร้า เป็นต้น 4. ปัญญาภาวนา แปลว่า พัฒนาปัญญา คือ พัฒนาความรู้ความเข้าใจให้เกิด ความรู้แจ้งเห็นจริง และใช้ความรู้แก้ปัญหาทำให้เกิดประโยชน์สุขได้ เริ่มแต่รู้เข้าใจ ศิลปวิทยาเรียนรู้ถูกต้องตามเป็นจริง ไม่บิดเบือน หรือเอนเอียงด้วยอคติ คิดวินิจฉัยใช้ ปัญญาโดยบริสุทธิ์ใจ รู้เข้าใจโลกและชีวิตตามเป็นจริง มองเห็นสิ่งทั้งหลายตามเหตุปัจจัย รู้จักแก้ไขปัญหาและทำให้สำเร็จตามแนวทางของเหตุปัจจัย ตลอดจนรู้เท่าทันธรรมดาของ สังขาร ถึงขั้นที่ทำให้มีจิตใจเป็นอิสระหลุดพ้นจากกิเลสและความทุกข์โดยสิ้นเชิง 11.10 การวัดและประเมินผลระดับพระอรหันต์ เรื่องของการวัดผลของพระอรหันต์ว่าเป็นผู้มีภาวนา 4 ในพระไตรปิฎกแสดงให้ เห็นว่า พระอรหันต์คือใคร? พระอรหันต์คือผู้มีตนอันพัฒนาแล้ว คืออย่างไร แล้วพระพุทธ องค์ทรงแยกเป็น ภาวิต 4 ซึ่งหมายถึงผู้ที่ได้ภาวนาแล้วทั้ง 4 ด้านอย่างสมบูรณ์คือ


237 228 1. ภาวิตกาย ผู้มีกายที่พัฒนาแล้ว คือ ได้พัฒนาความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทาง กายภาพ ปฏิบัติต่อโลกแห่งวัตถุอย่างได้ผลดีโดยเฉพาะด้วยอินทรีย์ทั้ง 5 คือ ตา หูจมูก ลิ้น กาย เช่น ดูเป็น ฟังเป็น ให้ได้ปัญญา และคุณค่าที่เป็นประโยชน์ 2. ภาวิตศีล ผู้มีศีลที่พัฒนาแล้ว คือ ได้พัฒนาความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทาง สังคมโดยอยู่ร่วมกับเพื่อนมนุษย์อย่างไม่เบียดเบียน แต่อยู่กันด้วยไมตรีเป็นมิตร เกื้อกูลกัน 3. ภาวิตจิต ผู้มีจิตที่พัฒนาแล้ว คือ ได้พัฒนาจิตใจให้มีคุณสมบัติที่ดีงาม มีคุณธรรม ความเข้มแข็งมั่นคง และความสุข คือพัฒนาแล้วทั้งด้านคุณภาพจิต สมรรถภาพจิต และ สุขภาพจิต 4. ภาวิตปัญญา ผู้มีปัญญาที่พัฒนาแล้ว คือ ได้พัฒนาปัญญาให้เกิดความรู้ความ เข้าใจสิ่งทั้งหลายตามเป็นจริง รู้เท่าทันความจริงของโลกและชีวิต เข้าถึงกฎธรรมชาติที่มี ความเป็นไปตามเหตุปัจจัย เป็นต้น จนทำจิตใจให้เป็นอิสระได้เบิกบานผ่องใส เป็นอยู่ด้วย ปัญญา18 จากวัดผลตามหลักภาวนา 4 แสดงให้เห็นคุณสมบัติของพระอรหันต์ที่พัฒนา สมบูรณ์ครบ 4 ด้านนี้ก็เป็นพระอรหันต์เป็นอเสขะ ผู้จบการศึกษาแล้ว19 สรุปหลักการประเมินผลการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ตามหลักพุทธศาสนาดังภาพ ต่อไปนี้ ภาพที่ 6.11 หลักการเสริมสร้างคุณลักษณะเด็กไทย ที่มา : มาจาก พระธรรมปิฎก (ป,อ ปยุตฺโต), สารัตถธรรม, (2544 : 80-81) 18เรื่องเดียวกัน หน้า 80-81. 19พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ. ปยุตฺโต), การเสริมสร้างคุณลักษณะเด็กไทย, หน้า 45-47. 1. สร้างจิตส านึกในการพัฒนาตน 2. ประเมินการพัฒนาตนเอง 3. บูรณาการหลักธรรมเข้ากับชีวิตจริง 4. ประเมินผลตามหลักภาวนา 4


238 229 สรุปภาพรวมการบูรณาการหลักพุทธธรรมสำหรับการประเมินผลการคิดสร้างสรรค์ ในการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล ดังนี้ 1. มาตรฐานสำคัญในการที่จะวัดความพัฒนาของมนุษย์ คือ ความไม่ประมาท อยู่ด้วยสติปัญญามี 2 ขั้นตอนดังนี้ ขั้นที่ 1 ใช้สติคอยตรวจตรา สติ ที่จะส่งผลกระทบต่อชีวิต ต่อครอบครัว ต่อความอยู่ดี ต่อความเจริญและความเสื่อม สติจะนึกจะระลึกถึงทุกอย่างที่จะมีผลเกี่ยวข้อง สำรวจไปทั่วและเอามาตรวจตรา ขั้นที่ 2 ส่งต่อให้ปัญญาพิจารณาแยกแยะวิเคราะห์สืบสาวเหตุปัจจัย ซึ่งผลดีก็ สร้างสรรค์โดยทำให้ตรงตามเหตุปัจจัยนั้น20 2. การพัฒนามนุษย์จนถึงอุดมคติ สำหรับอุดมคติของพระพุทธศาสนา คือ โลกที่ เป็นสุขไร้การเบียดเบียน ต่างจากอุดมคติของตะวันตกที่ว่า โลกที่มนุษย์มีชัยได้เป็นนายของ ธรรมชาติ21 3. การพัฒนาศักยภาพของมนุษย์เป็นการปฏิบัติต่อธรรมชาติทั้งโลกและชีวิตได้ ถูกต้องด้วยการรู้เข้าใจเข้าถึงกฎธรรมชาติเข้าถึงความดีงามที่เป็นคุณค่าสูงสุด22 4. การพัฒนาความต้องการของมนุษย์เป็นธรรมชาติพื้นฐานของมนุษย์ 5. การพัฒนาคุณภาพของมนุษย์ใน 2 ด้าน คือ 1) การรู้เข้าใจเข้าถึงความจริงของธรรมชาติที่จะจัดตั้งวางระบบและกฎกติกา ต่างๆ ของมนุษย์ให้สอดคล้องที่จะเกิดผลเป็นจริงตรงตามกฎธรรมชาตินั้น ด้วยความสว่าง แจ้งถูกตรงของปัญญา 2) การปฏิบัติจัดทำดำเนินการตามความรู้จริง อันตรงตามความเป็นจริงของ ธรรมชาตินั้น ให้เป็นไปตามระบบแบบแผนกฎกติกาที่บัญญัติจัดตั้งวางไว้ด้วยความดีงาม ซื่อตรงของเจตนา23 20พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต), พุทธธรรมกับปรัชญาการศึกษาไทยในยุคโลกาภิวัตน์, (นนทบุรี: SR Printing, 2539), หน้า 88-89. 21พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต), การเสริมสร้างคุณลักษณะเด็กไทย, หน้า 70. 22พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต), พุทธศาสนาในฐานะเป็นรากฐานของวิทยาศาสตร์, พิมพ์ครั้งที่ 11, (กรุงเทพมหานคร: ผลิธัมม์, 2556), หน้า 99. 23พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต), สยามสามไตร. กรุงเทพมหานคร: พิมพ์สวย, 2552, หน้า 130-131.


239 230 6. การพัฒนามนุษย์ให้มีดุลยภาพในการได้รับกับการให้ การศึกษาจะต้องพัฒนา มนุษย์ให้มีดุลยภาพในการสัมพันธ์กับวัตถุ คือคู่กับ “การได้รับ” ต้องมี “การให้”24 สรุปพุทธนวัตกรรมการวัดและประเมินผลไปสู่การปฏิบัติในยุคดิจิทัล การประเมินผลในแนวทางการศึกษาแบบพุทธนวัตกรรมการสอน จะพบว่าเน้นไป การประเมินผลตนเองของผู้เรียน เพราะพระองค์ทรงมีเป้าหมายชัดเจนในการสอน คือ การหลุดพ้นจากความทุกข์ จึงมุ่งส่งเสริมความเป็นคนดีเป็นจุดหมายปลายทางการประเมิน ซึ่งคนดีมีหลายระดับ เช่น ดีระดับปุถุชน และดีระดับอริยชน ซึ่งมีองค์ประกอบแตกต่างกัน และลักษณะการประเมินเป็นไปตามสภาพจริง เน้นการประยุกต์ใช้หรือการลงมือทำ โดยใช้ ปัญหาจากเหตุการณ์จริง เพื่อให้ผู้เรียนสะท้อนข้อมูลที่เกี่ยวกับตนเอง ซึ่งรายละเอียด ดังนี้25 1. วิเคราะห์ผู้ฟัง มีภูมิธรรม ความรู้ในระดับสติปัญญา เช่น เพศ วัย ฐานะ ความ เป็นอยู่ สภาพแวดล้อมชุมชน จารีตประเพณี อุปนิสัย ระดับสติปัญญา เป็นต้น 2. กำหนดเนื้อหาสาระที่จะทรงใช้สอน มีขั้นตอนการเลือกธรรม ที่จะนำมาสอน ทรงกำหนดเนื้อหาสาระที่มีความยากง่ายให้ตรงกับความต้องการของผู้รับฟัง 3. รูปแบบการนำเสนอของพระพุทธเจ้า ทรงมีรูปแบบในการสอนมากมาย เช่น การสนทนา การบรรยายและการตอบปัญหา เป็นต้น 4. พุทธวิธีการสอนทรงใช้วิธีการนำเสนอที่หลากหลาย เช่น บางครั้งทรงใช้วิธียก อุปมาขึ้นเปรียบเทียบ บางครั้งใช้วิธีตอบปัญหา บางครั้งใช้วิธีเล่านิทานมาประกอบ เป็นต้น 5. ลดส่วนที่เกิน เพิ่มส่วนที่พร่อง ในการแสดงธรรมของพระพุทธเจ้านั้น ทรงมุ่ง ประโยชน์เกื้อกูล และประโยชน์ต่อชาวโลก โดยอาศัยพระกรุณาธิคุณเป็นที่ตั้ง 6. การประเมินผล พระพุทธองค์ทรงใช้วิธีการประเมินผลในการแสดงธรรมทุกครั้ง เมื่อจบการสอนแล้วจะเกิดคำว่า ธัมมาภิสมโย คือ การได้บรรลุธรรมตามเหตุปัจจัย ส่วนชน ที่อยู่ในที่ประชุมนั้น ก็สามารถบรรลุคุณธรรมมากน้อยต่างกันไปตามความแก่กล้าของ อินทรีย์ 7. การติดตามผล พระพุทธองค์จะทรงติดตามผลความคืบหน้า ในเรื่องที่ทรงสอน ไปดังเช่น ทรงมอบให้พระสารีบุตรเถระ เป็นพระอุปัชฌาย์อุปสมบทแก่ราธะ ผู้บวชเมื่อ ตอนแก่ หลังจากบวชแล้วได้ไม่นาน พระสารีบุตรนำเข้าเฝ้าพระพุทธองค์ จึงได้ตรัสถามถึง 24พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต), การศึกษาเพื่ออารยธรรมที่ยั่งยืน, พิมพ์ครั้งที่ 4, กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์สหธรรมิก, 2542. 25คณาจารย์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, พุทธวิธีการสอน, (กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2555), หน้า 16-17.


240 231 ความเป็นมาของพระราธะ ซึ่งพระสารีบุตร ก็ทูลว่า พระราธะเธอเป็นผู้ว่าง่ายสอนง่าย เหลือเกิน เป็นต้น แนวทางการพัฒนาพุทธนวัตกรรมการสอนด้วยการบูรณาการแนวคิด ทฤษฎีการ เรียนการสอนกับหลักพุทธธรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความสุขประกอบด้วย 1. แนวคิดของทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนการสอน 2. แนวคิดในบริบทของประเทศ 3. หลักพุทธธรรม 4. แนวคิดจากข้อ1+2 +3 ได้กรอบแนวคิดพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอน 5. นำไปสู่การปฏิบัติ ในพื้นที่ ทดลองจริง 6. กระบวนการปฏิบัติตามขั้นตอน 7. การติดตามประเมินผลการปฏิบัติ 8. ได้นวัตกรรมการเรียนการสอนใหม่ ดังภาพประกอบการนำไปปฏิบัติได้ดังนี้ ภาพที่6.12 การพัฒนาพุทธนวัตกรรมการสอน ที่มา: แนวทางการพัฒนาพุทธนวัตกรรมการสอนด้วยการบูรณาการแนวคิด ทฤษฎีการ เรียนการสอน โดยสังเคราะห์ของผู้เขียน (2564) 5.พื้นที่การ การเรียนการ สอน 6.กระบวนการ ปฏิบัติ 7.การติดตาม ประเมินผล 8.นวัตกรรม การเรียนการ สอน 1.ทฤษฎีการเรียนการ สอน 2.บริบทของประเทศ 3.หลักพุทธธรรม 4.นวัตกรรม การเรียนการ สอน 231 ความเป็นมาของพระราธะ ซึ่งพระสารีบุตร ก็ทูลว่า พระราธะเธอเป็นผู้ว่าง่ายสอนง่าย เหลือเกิน เป็นต้น แนวทางการพัฒนาพุทธนวัตกรรมการสอนด้วยการบูรณาการแนวคิด ทฤษฎีการ เรียนการสอนกับหลักพุทธธรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความสุขประกอบด้วย 1. แนวคิดของทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนการสอน 2. แนวคิดในบริบทของประเทศ 3. หลักพุทธธรรม 4. แนวคิดจากข้อ1+2 +3 ได้กรอบแนวคิดพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอน 5. นำไปสู่การปฏิบัติ ในพื้นที่ ทดลองจริง 6. กระบวนการปฏิบัติตามขั้นตอน 7. การติดตามประเมินผลการปฏิบัติ 8. ได้นวัตกรรมการเรียนการสอนใหม่ ดังภาพประกอบการนำไปปฏิบัติได้ดังนี้ ภาพที่6.12 การพัฒนาพุทธนวัตกรรมการสอน ที่มา: แนวทางการพัฒนาพุทธนวัตกรรมการสอนด้วยการบูรณาการแนวคิด ทฤษฎีการ เรียนการสอน โดยสังเคราะห์ของผู้เขียน (2564) 5.พื้นที่การ การเรียนการ สอน 6.กระบวนการ ปฏิบัติ 7.การติดตาม ประเมินผล 8.นวัตกรรม การเรียนการ สอน 1.ทฤษฎีการเรียนการ สอน 2.บริบทของประเทศ 3.หลักพุทธธรรม 4.นวัตกรรม การเรียนการ สอน 231 ความเป็นมาของพระราธะ ซึ่งพระสารีบุตร ก็ทูลว่า พระราธะเธอเป็นผู้ว่าง่ายสอนง่าย เหลือเกิน เป็นต้น แนวทางการพัฒนาพุทธนวัตกรรมการสอนด้วยการบูรณาการแนวคิด ทฤษฎีการ เรียนการสอนกับหลักพุทธธรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความสุขประกอบด้วย 1. แนวคิดของทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนการสอน 2. แนวคิดในบริบทของประเทศ 3. หลักพุทธธรรม 4. แนวคิดจากข้อ1+2 +3 ได้กรอบแนวคิดพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอน 5. นำไปสู่การปฏิบัติ ในพื้นที่ ทดลองจริง 6. กระบวนการปฏิบัติตามขั้นตอน 7. การติดตามประเมินผลการปฏิบัติ 8. ได้นวัตกรรมการเรียนการสอนใหม่ ดังภาพประกอบการนำไปปฏิบัติได้ดังนี้ ภาพที่6.12 การพัฒนาพุทธนวัตกรรมการสอน ที่มา: แนวทางการพัฒนาพุทธนวัตกรรมการสอนด้วยการบูรณาการแนวคิด ทฤษฎีการ เรียนการสอน โดยสังเคราะห์ของผู้เขียน (2564) 5.พื้นที่การ การเรียนการ สอน 6.กระบวนการ ปฏิบัติ 7.การติดตาม ประเมินผล 8.นวัตกรรม การเรียนการ สอน 1.ทฤษฎีการเรียนการ สอน 2.บริบทของประเทศ 3.หลักพุทธธรรม 4.นวัตกรรม การเรียนการ สอน สอน สอน


241 ผู้้เขีียนได้้ประมวลแนวคิิดที่่�น่่าสนใจเกี่่�ยวกัับกระบวนการต่่าง ๆ ซึ่่�งเกี่่�ยวข้้องเรีียน การสอนพุุทธวิิถีีใหม่่มานำเสนอจำนวน 7 วิิถีีการสอนเหล่่านี้้�แม้้จะยัังไม่่ได้้นำไปทดลองใช้้ และทดสอบ พิิสููจน์์ อย่่างเป็็นระบบ แต่่ก็็เป็็นกระบวนการที่่�ใด้้รัับความสนใจจากวงการ ศึึกษาไทยเป็็นอย่่างมาก วิิถีีการสอนใหม่่ดัังกล่่าว ได้้แก่่ 1. วิิถีีการสอนใหม่่ด้้วยการแก้้ปััญหาตามหลัักอริิยสััจ 4 โดย สาโรช บััวศรีี 2. วิิถีีการสอนใหม่่ด้้วยหลัักกััลยาณมิิตร โดย สุุมน อมรวิิวััฒน์์ 3. วิิถีีการสอนใหม่่ด้้วยหลัักทางปััญญา โดย ประเวศ วะสีี 4. วิิถีีการสอนใหม่่ด้้วยการคิิด โดย ชััยอนัันต์์ สมุุทวณิิช 5. วิิถีีการสอนใหม่่ด้้วยการคิิด โดย เกรีียงศัักดิ์์� เจริิญวงศ์์ศัักดิ์์� 6. วิิถีีการสอนใหม่่ด้้วยการคิิดอย่่างมีีวิิจารณญาณ และมิิติิการคิิด โดย ทิิศนา แขมมณีี 7. วิิถีีการสอนใหม่่จากจาริิกบุุญ จารึึกธรรม : นมััสการและแสดงธรรมกถา ณ สัังเวชนีียสถาน โดยพระพรหมคุุณาภรณ์์(ป.อ.ปยุุตฺฺโต) 1. วิิถีีการสอนใหม่่ด้้วยการแก้้ปััญหาตามหลัักอริิยสััจ 4 โดย สาโรช บััวศรีี26 สาโรช บััวศรีี (2526) นัักการศึึกษาไทยผู้้มีีชื่ ่� อเสีียงและประสบการณ์์สููงในวงการศึึกษา ท่่านนี้้�เป็็นผู้้ริิเริ่่�มจุุดประกายความคิิดในการนำหลัักพุุทธธรรมมาใช้้ในการเรีียนการสอนมา นานกว่่า 20 ปีีมาแล้้ว โดยการประยุุกต์์หลัักธรรมอริิยสััจ 4 อัันได้้แก่่ ทุุกข์์ สมุุทััย นิิโรธ และมรรค มาใช้้เป็็นกระบวนการแก้้ปััญหา โดยใช้้ควบคู่่กัับแนวทางปฏิิบััติิที่่�เรีียกว่่า “กิิจ ในอริิยสััจ 4” อัันประกอบด้้วย ปริิญญา (การกำหนดรู้้) ปหานะ (การละ) สััจฉิิกิิริิยา (การ ทำให้้แจ้้ง) และภาวนา (การเจริิญหรืือการลงมืือปฏิิบััติิ) จากหลัักทั้้�งสอง ท่่านได้้เสนอแนะ การสอนกระบวนการแก้้ปััญหาไว้้เป็็นขั้้�นตอน ดัังนี้้� 1) ขั้้�นกำหนดปััญหา (ขั้้�นทุุกข์์) คืือ การให้้ผู้้เรีียนระบุุปััญหาที่่�ต้้องการแก้้ไข 2) ขั้้�นตั้้�งสมมติิฐาน (ขั้้�นสมุุทััย) คืือ การให้้ผู้้เรีียนวิิเคราะห์์หาสาเหตุุของปััญหาและ ตั้้�งสมมติิฐาน 3) ขั้้�นทดลองและเก็็บข้้อมููล (ขั้้�นนิิโรธ) คืือการให้้ผู้้เรีียนกำหนดวััตถุุประสงค์์และ วิิธีีการทดลองเพื่ ่� อพิิสููจน์์สมมติิฐานและเก็็บรวบรวมข้้อมููล 4) ขั้้�นวิิเคราะห์์ข้้อมููลและสรุุปผล (ขั้้�นมรรค) คืือการนำข้้อมููลมาวิิเคราะห์์และ 26สาโรช บััวศรีี อ้้างในทิิศนา แขมมณีี, ศาสตร์์การสอน : องค์์ความรู้้�เพื่่�อการจััดกระบวนการ เรีียนรู้้�ที่่�มีีประสิิทธิิภาพ, สำนัักพิิมพ์แ์ห่่งจุุฬาลงกรณ์์มหาวิิทยาลััย, พิิมพ์์ครั้้�งที่่� 21, 2560 หน้้า 300.


242 2. วิิถีีการสอนใหม่่ด้้วยหลัักกััลยาณมิิตร โดย สุุมน อมรวิิวััฒน์์ 27 สุุมน อมรวิวัิัฒน์์ (2524: 196-199) ราชบััณฑิิตสำนัักธรรมศาสตร์์และนัักการศึึกษา ครุุศาสตรดุุษฎีีบััณฑิิตกิิตติิมศัักดิ์์� จุุฬาลงกรณ์์มหาวิิทยาลััย และมหาวิิทยาลััยสุุโขทััย ธรรมาธิิราช ได้้อธิิบายกระบวนการกััลยาณมิิตรไว้้ว่่า เป็็นสานสััมพัันธ์์ระหว่่างบุุคคลเพื่ ่� อ จุุดมุ่่งหมาย 2 ประการ คืือ (1) ชี้้�ทางบรรเทาทุุกข์์ (2) ชี้้�สุุขเกษมศานติ์์� กระบวนการ กััลยาณมิิตรใช้้หลัักการที่่�พิิสููจน์์แล้้วว่่าเป็็นหลัักการที่่�ช่่วยให้้พ้้นทุุกข์์ได้้ คืือหลัักอริิสััจ 4 มาใช้้ควบคู่่กัับหลัักกััลยาณมิิตร 7 ในการจััดการเรีียนการสอนซึ่่�งมีีกระบวนการ 8 ขั้้�นตอน ดัังนี้้� 1. การสร้้างความไว้้ว่่างใจด้้วยหลัักกัลยาณัมิิตร 7 2. กำหนดประเด็็นปััญหาเรีียกทุุกข์์ 3. วิิเคราะห์์สาเหตุุที่่�มาของปััญหาว่่าเกิิดมาอย่่างไร เรีียกว่่าสมุุทััย 4. วิิเคราะห์์เชิงลึึ ิกของปััญหาว่่ามาจากส่่วนใดสำคััญอย่่างไรจัดัลำดับั ให้้ชััดเจนเพื่ ่� อ จะเรีียงความสำคััญยัังอยู่่ในสมุุทััย 5. กำหนดจุุดมุ่่งหมายแก้้ปััญหาตามลำดัับที่่�ได้้จััด เรีียกว่่านิิโรธ 6. ร่่วมคิิดและลงมืือปฏิิบััติิตามแนวทางได้้กำหนดไว้้ที่่�ถููก เรีียกว่่ามรรค 7. พุุทธวิิถีีใหม่่นี้้�สามารถนำไปบููรณาการสอนในรููปแบบต่่าง ๆ ในมิิติิที่่ค�ล้้าย ๆ กััน ซึ่่�งหลัักนี้้�พระพุุทธเจ้้าใช้้หลัักอริิสััจ 4 ใช้้สอนทุุกสถานการณ์์ให้้ภิิกษุุนำประยุุกต์์ใช้้ได้้ตลอด และพระพุุทธองค์์ใช้้มากที่่�สุุดเมื่ ่� ออ่่านในพระไตรปิิฎก 3. วิิถีีการสอนใหม่่ด้้วยหลัักทางปััญญา โดย ประเวศ วะสีี28 ประเวศ วะสีี (2542 ) นัักคิิดคนสำคััญของประเทศไทย ผู้้มีีบทบาทอย่่างมากในการ กระตุ้้นให้้เกิิดการปฏิิรููปการศึึกษาขึ้้�น ท่่านได้้เสนอกระบวนการทางปััญญา ซึ่่�งควรฝึึกฝนให้้ แก่่ผู้้เรีียน ประกอบด้้วยขั้้�นตอน 10 ขั้้�น ดัังนี้้� 1. ฝึึกสัังเกตให้้ผู้้เรีียนมีีโอกาสสัังเกตสิ่่�งต่่าง ๆ ให้้มาก ให้้รู้้จัักสัังเกตสิ่่�งแวดล้้อม 2. ฝึึกบัันทึึกให้้ผู้้เรีียนสัังเกตสิ่่�งต่่าง ๆ และจดบัันทึึกรายละเอีียดที่่�สัังเกตเห็็น 3. ฝึึกการนำเสนอต่่อที่่�ประชุุม เมื่ ่� อผู้้เรีียนได้้ไปสัังเกตหรืือทำอะไรหรืือเรีียนรู้้อะไร มาให้้ฝึึกนำเสนอเรื่ ่�องนั้้�นต่่อที่่�ประชุุม 27 สุุมน อมรวิวัิัฒน์์อ้้างในทิิศนา แขมมณีี, ศาสตร์์การสอน :องค์์ความรู้้�เพื่่�อการจััดกระบวนการ เรีียนรู้้�ที่่�มีีประสิิทธิิภาพ, สำนัักพิิมพ์์แห่่งจุุฬาลงกรณ์์มหาวิิทยาลััย, พิิมพ์์ครั้้�งที่่� 21, 2560 หน้้า 300. 28 ประเวศ วะสีีอ้้างในทิิศนา แขมมณีี, ศาสตร์์การสอน : องค์์ความรู้้�เพื่่�อการจััดกระบวนการ เรีียนรู้้�ที่่�มีีประสิิทธิิภาพ, สำนัักพิิมพ์์แห่่งจุุฬาลงกรณ์์มหาวิิทยาลััย, พิิมพ์์ครั้้�งที่่� 21, 2560 หน้้า 301.


243 4. ฝึึกการฟััง การฟัังผู้้อื่่�นช่่วยให้้ได้้ความรู้้มาก ผู้เ้รีียนจึึงควรได้รั้บัการฝึึกให้้แจ่่มแจ้ง้ ในเรื่ ่�องที่่�ศึึกษา รวมทั้้�งได้้ฝึึกการใช้้เหตุุผล การวิิเคราะห์์ 5. ฝึึกปุุจฉา-วิิสััชนา ให้้ผู้้เรีียนฝึึกการถาม-การตอบ 6. ฝึึกตั้้�งสมมติิฐานและตั้้�งคำถาม ให้้ผู้้เรีียนฝึึกคิิดและตั้้�งคำถาม เพราะคำถาม รอบตััว 7. ฝึึกค้้นคำตอบจากแหล่่งต่่าง ๆ เช่่น หนัังสืือ ตำรา อิินเทอร์์เน็็ต หรืือไปสอบถาม จากผู้้รู้้ 8. ฝึึกการวิิจััยเป็็นการค้้นหาคำตอบ เมื่ ่� อมีีคำถามและสมมติิฐานแล้้ว ควรให้้ผู้้วิิจััย หาคำตอบ 9. ฝึึกเชื่ ่� อมโยงบููรณาการ บููรณาการให้้เห็็นความเป็็นทั้้�งหมด 10. ฝึึกการเขีียนเรีียบเรีียงทางวิิชาการ หลัังจากที่่�ได้้เรีียนรู้้เรื่ ่� องใดแล้้ว ควรให้้ ผู้้เรีียน ฝึึกเรีียบเรีียงความรู้้ที่่�ได้้ การเรีียบเรีียงจะช่่วยให้้ความคิิดประณีีตขึ้้�นเพื่ ่� อเกิิดองค์์ ความรู้้แก่่ผู้้อ่่านต่่อไป 4. วิิถีีการสอนใหม่่ด้้วยการคิิด โดย ชััยอนัันต์์ สมุุทวณิิช29 ชััยอนัันต์์ สมุุทวณิิช (2542: 4-5) นัักรััฐศาสตร์์ ราชบััณฑิิต สำนัักธรรมศาสตร์์และ การเมืือง และผู้้บังคับัการวชิิราวุุธวิิทยาลััย นัักคิดิผู้้มีชื่ีอ ่� เสีียงของประเทศไทย ซึ่่�งหัันมาสนใจ และพััฒนางานทางด้้านการศึึกษาอย่่างจริงจัิงั ได้้แสดงความคิดิเห็็นเกี่่�ยวกับัเรื่องของ ่� การคิดิ ไว้้ว่่า การคิิดของคนเรามีีหลายรููปแบบ โดยท่่านได้้ยกเป็็นตััวอย่่างมา 4 แบบ และได้้ อธิิบายลัักษณะของนัักคิิดทั้้�ง 4 แบบไว้้ ซึ่่�งผู้้เขีียนจะขอนำมาประยุุกต์์เป็็นแนวทางในการ สอนเพื่ ่� อส่่งเสริิมความสามารถในการคิิดของผู้้เรีียนได้้ ดัังนี้้� 1) การคิิดแบบนัักวิิเคราะห์์ (analytical) ผู้้สอนสามารถช่่วยผู้้เรีียนให้้ความสามารถในการคิิดแบบนี้้�ได้้โดยการฝึึก ให้้ผู้้เรีียนแสวงหาข้้อเท็็จจริิง (fact) ดููตรรกะ(logic) หาทิิศทาง (direction) หาเหตุุผล (reason) และมุ่่งแก้้ปััญหา (problem) 2) การคิิดแบบรวบยอด (conceptual) ผู้้สอน สามารถช่่วยผู้้เรีียนสามารถในการคิิดแบบนี้้�ได้้โดยกรฝึึกให้้ผู้้เรีียนคิิดวาดภาพในสมอง สร้้างความคิิดให้้กล้้าทำ ด้้านข้้อมููลที่่�ถููกต้้องแน่่นอน หรืือมองข้้อมููลเดิิมในแง่่มุุมใหม่่ และ ส่่งเสริิมให้้ผู้้เรีียนรู้้ 29 ชััยอนัันต์์ สมุุทวณิิช อ้้างในทิิศนา แขมมณีี, ศาสตร์์การสอน : องค์์ความรู้้�เพื่่�อการจััด กระบวนการเรีียนรู้้�ที่่�มีีประสิิทธิิภาพ, สำนัักพิิมพ์์แห่่งจุุฬาลงกรณ์์มหาวิิทยาลััย, พิิมพ์์ครั้้�งที่่� 21, 2560 หน้้า 302.


244 นัักคิิดเหล่่านี้้�ล้้วนเป็็นปรมาจารย์์การศึึกษาของไทยที่่�ท่่านได้้แสดงออกสะท้้อน ความรู้้ให้้นัักวิิชาการรุ่่นใหม่่ควรคิิดต่่อยอดใหม่่ให้้มากขึ้้�นโดยเฉพาะยุุคเทคโนโลยีีและ การสร้้างนวัตักรรมที่่มุ่่ง�เพิ่่�มการสรรสร้้างมููลค่่าทางเศรษฐกิิจของชาติิและสังัคมให้้ประชาชน มีีสุุขภาพกายและจิิตที่่�งดงาม รัักษาสภาพแวดล้้อมทางธรรมชาติิ สัังคมอยู่่ร่่วมกัันแบบ พหุุวััฒนธรรม ไม่่เบีียดเบีียนกััน มีีน้้ำใจต่่อกััน 5. วิิถีีการสอนใหม่่ด้้วยการคิิด โดย เกรีียงศัักดิ์์� เจริิญวงศ์์ศัักดิ์์� 30 เกรีียงศัักดิ์์� เจริิญวงศ์์ศัักดิ์์� (2542 บ: 3-4) ผู้้อำนวยการสถาบัันอนาคตศึึกษา (ไอเอฟดีี) และนัักคิิดคนสำคััญของประเทศ ได้้อภิิปรายไว้้ว่่า การให้้ประเทศไทยพััฒนาต่่อไปได้้ ไม่่เสีียเปรีียบไม่่ถููกหลอกง่่าย และสามารถคิิด สร้้างสรรค์์สิ่่�งใหม่่ได้้ เราจำเป็็นต้้องพััฒนาให้้คนไทย “คิิดเป็็น” คืือรู้้จัักวิิธีีการคิิดที่่�ถููกต้้อง ได้้เสนอแนวทางในการจััดการเรีียนการสอนสำหรัับครููเพื่ ่� อใช้้ในการพััฒนาผู้้เรีียนดัังนี้้� 1. ความสามารถในการคิิดเชิิงวิิพากษ์์ (critical thinking) 2. ความสามารถในการคิิดเชิิงวิิเคราะห์์ (analytical thinking) 3. ความสามารถในการคิิดเชิิงสัังเคราะห์์ (synthesis type thinking) 4. ความสามารถในการคิิดเชิิงเปรีียบเทีียบ (comparative thinking) 5. ความสามารถในการคิิดเชิิงมโนทััศน์์ (conceptual thinking) 6. ความสามารถในการคิิดสร้้างสร้้างสรรค์์ (creative thinking) 7. ความสามารถในการคิิดเชิิงประยุุกต์์ (applicative thinking) 8. ความสามารถในการคิิดเชิิงกลยุุทธ์์ (Strategic thinking) 9. ความสามารถในการคิิดเชิิงบููรณาการ (integrative thinking) 10. ความสามารถในการคิิดเชิิงอนาคต (futuristic thinking) 6. วิิถีีการสอนใหม่่ด้้วยการคิิดอย่่างมีีวิิจารณญาณ และมิิติิการคิิด โดย ทิิศนา แขมมณีี31 ก. รููปแบบการเรีียนการสอนโดยยึึดผู้้เรีียนเป็็นศููนย์์กลาง: โมเดลซิิปปา (CIPPA Model) ทิิศนา แขมมณีี (2543: 17) กล่่าวได้้แก่่ 30เกรีียงศัักดิ์์� เจริิญวงศ์์ศัักดิ์์�อ้้างในทิิศนา แขมมณีี, ศาสตร์์การสอน : องค์์ความรู้้�เพื่่�อการจััด กระบวนการเรีียนรู้้�ที่่�มีีประสิิทธิิภาพ, สำนัักพิิมพ์์แห่่งจุุฬาลงกรณ์์มหาวิิทยาลััย, พิิมพ์์ครั้้�งที่่� 21, 2560 หน้้า 306. 31ทิิศนา แขมมณีี, ศาสตร์์การสอน : องค์์ความความร็็เพื่่�อการจััดกระบวนการเรีียนรู้้�ที่่�มีี ประสิิทธิิภาพ, สำนัักพิิมพ์แ์ห่่งจุุฬาลงกรณ์์มหาวิิทยาลััย, พิิมพ์์ครั้้�งที่่� 21, 2560 หน้้า 282-283.


245 (1) แนวคิิดการสร้้างความรู้้ (2) แนวคิิดเกี่่�ยวกัับระบบและการเรีียนรู้้แบบร่่วมมืือ (3) แนวคิิดเกี่่�ยวกัับความพร้้อมในการเรีียนรู้้ (4) แนวคิิดเกี่่�ยวกัับการเรีียนรู้้กระบวนการ (5) แนวคิิดเกี่่�ยวกัับการถ่่ายโอนการเรีียนรู้้ ข. วััตถุุประสงค์์ของรููปแบบ แบบนี้้มุ่่งพั�ัฒนาผู้เ้รีียนให้้เกิดิความรู้้ ความเข้้าใจในเรื่องที่่ ่� �เรีียนอย่่างแท้้จริงิให้้ผู้เ้รีียน สร้้างความรู้้ด้้วยตนเองโดยอาศััยความร่่วมมืือจากกลุ่่ม นอกจากนั้้�นพััฒนาทัักษะกระบวน การต่่าง ๆ จำนวนมาก อาทิิ กระบวนการคิิด กระบวนการปฏิิสััมพัันธ์์ทางสัังคม และ กระบวนการแสวงหาความรู้้ เป็็นต้้น ค. กระบวนการเรีียนการสอนของรููปแบบซิิปปา (CIPPA) เป็็นหลัักการซึ่่�งสามารถ นำไปใช้้เป็็นหลัักในการจััดการเรีียนรู้้ต่่าง ๆ ให้้แก่่ผู้้เรีียน การจััดกระบวนการเรีียน ขั้้�นที่่� 1 การทบทวนความรู้้�เดิิม ขั้้�นนี้้�เป็็นการดึึงความรู้้เดิิมของผู้้เรีียนในเรื่ ่�องที่่�จะเรีียน เพื่ ่� อช่่วยให้้ผู้้เรีียนมีีความ พร้อ้ มในการเชื่อ ่� มโยงความรู้้ใหม่กั่บัความรู้้เดิิมของตน ซึ่่�งผู้้สอนอาจใช้วิ้ธีิีการต่่าง ๆ ได้อย่้ ่าง หลากหลาย ขั้้�นที่่� 2 การแสวงหาความรู้้�ใหม่่ ขั้้�นนี้้�เป็็นการแสวงหาข้อมูู้ลความรู้้ใหม่ของ่ผู้เ้รีียนจากแหล่งข้่อมูู้ลหรืือแหล่ง่ความรู้้ ต่่าง ๆ ซึ่่�งครููอาจจััดเตรีียมมาให้้ผู้้เรีียนหรืือให้้คำแนะนำเกี่่�ยวกัับแหล่่งข้้อมููลต่่าง ๆ เพื่ ่� อให้้ ผู้้เรีียนไปแสวงหาก็็ได้้ ขั้้�นที่่� 3 การศึึกษาทำความเข้้าใจข้้อมููล/ความรู้้�ใหม่่ และเชื่่�อมโยงความรู้้�ใหม่่ กัับความรู้้�เดิิม ขั้้�นนี้้�เป็็นขั้้�นที่่�ผู้้เรีียนจะต้้องศึึกษาและทำความเข้้าใจกัับข้้อมููล/ความรู้้ที่่�หามาได้้ ผู้้เรีียนจะต้้องสร้้างความหมายของข้้อมููล/ประสบการณ์์ใหม่่ ๆ โดยใช้้กระบวนการต่่าง ๆ ด้้วยตนเอง เช่่น ใช้้กระบวนการคิิด และกระบวนการกลุ่่มในการอภิิปรายและสรุุปความ เข้้าใจเกี่่�ยวกัับข้้อมููลนั้้�น ๆ ซึ่่�งจำเป็็นต้้องอาศััยการเชื่ ่� อมโยงกัับความรู้้เดิิม ขั้้�นที่่� 4 การแลกเปลี่่�ยนความรู้้�ความเข้้าใจกัับกลุ่่ม ขั้้�นนี้้�เป็็นขั้้�นที่่�ผู้้เรีียนอาศััยกลุ่่มเป็็นเครื่ ่�องมืือในการตรวจสอบความรู้้ความเข้้าใจ ของตน รวมทั้้�งขยายความรู้้ความเข้้าใจของตนให้้กว้้างขึ้้�น ซึ่่�งจะช่่วยให้้ผู้้เรีียนได้้แบ่่งปััน ความรู้้ความเข้้าใจของคนแก่่ผู้้อื่่�น และได้้รัับประโยชน์์จากความรู้้ความเข้้าใจ


246 ขั้้�นที่่� 5 การสรุุปและจััดระเบีียบความรู้้� ขั้้�นนี้้�เป็็นขั้้�นของการสรุุปความรู้้ที่่�ได้้รัับทั้้�งหมด ทั้้�งความรู้้เดิิมและรู้้ใหม่่ และจััดสิ่่�ง ที่่�เรีียนให้้เป็็นระบบระเบีียบเพื่ ่� อช่่วยให้้ผู้้เรีียนจดจำสิ่่�งที่่�เรีียนผู้้อื่่�นไปพร้้อม ๆ กััน ขั้้�นที่่� 6 การปฏิิบััติิ และ/หรืือการแสดงผลงาน ข้้อความรู้้ที่่�ได้้เรีียนรู้้มาไม่่มีีการปฏิิบััติิ ขั้้�นนี้้�จะเป็็นขั้้�นที่่�ช่่วยได้้มีีโอกาสแสดง ผลงานการสร้้างความรู้้ของตนให้้ผู้้อื่่�นรัับรู้้ เป็็นการช่่วยให้้ตอกย้้ำหรืือตรวจสอบความ เข้้าใจของตนและช่่วยส่่งเสริิมให้้ผู้้เรีียนใช้้ความคิิดสร้้างสรรค์์แต่่หากต้้องมีีการปฏิิบััติิตาม ข้้อความรู้้ที่่�ได้้ ขั้้�นนี้้�จะเป็็นขั้้�นปฏิิบััติิ และมีีการแสดงผลงานก็็ได้้ปฏิิบััติิด้้วย ขั้้�นที่่� 7 การประยุุกต์์ใช้้ความรู้้� ขั้้�นนี้้�เป็็นขั้้�นของการส่่งเสริิมให้้ผู้้เรีียนได้้ฝึึกฝนการนำความรู้้ความเข้้าใจของตนไป ใช้้ในสถานการณ์์ต่่าง ๆ ที่่�หลากหลายเพื่ ่� อเพิ่่�มความชำนาญ ความเข้้าใจ ความสามารถใน การแก้้ปััญหาและความจำในเรื่ ่�องนั้้�น ๆ หลัังจากการประยุุกต์์ใช้้ความรู้้อาจมีีการนำเสนอ ผลงานจากการประยุุกต์์อีีกครั้้�งก็็ได้้ หรืืออาจไม่่มีีการนำเสนอผลงานในขั้้�นที่่� 6 แต่่นำมา รวมแสดงในตอนท้้ายหลัังขั้้�นการประยุุกต์์ใช้้ก็็ได้้เช่่นกััน ขั้้�นตอนตั้้�งแต่่ขั้้�นที่่� 1-6 เป็็นกระบวนการของการสร้้างความรู้้ (construction of knowledge) ซึ่่�งครููสามารถจััดกิิจกรรมให้้ผู้้เรีียนมีีโอกาสปฏิิสััมพัันธ์์แลกเปลี่่�อนเรีียนรู้้กััน (interaction) และฝืืกฝนทัักษะกระบวนการต่่าง ๆ (process learning) อย่่างต่่อเนื่ ่� อง เนื่ ่� องจากขั้้�นตอนแต่่ละขั้้�นตอนช่่วยให้้ผู้้เรีียนได้้ทำกิิจกรรมหลากหลายที่่�มีีลัักษณะให้้ผู้้เรีียน ได้้มีีการเคลื่ ่� อนไหวทางกาย ทางสติิปััญญา ทางอารมณ์์ และทางสัังคม อย่่างเหมาะสม ช่่วยให้้ผู้้เรีียนตื่่�นตััว (active) สามารถรัับรู้้และเรีียนรู้้ได้้อย่่างดีี จึึงกล่่าวได้้ว่่า ขั้้�นตอนที่่� 1-6 มีีคุุณสมบััติิตามหลัักการ CIPPA ส่่วนขั้้�นตอนที่่� 7 เป็็นขั้้�นตอนที่่�ช่่วยให้้ผู้้เรีียนนำความไปใช้้ (application) จึึงทำให้้รููปแบบนี้้�มีีคุุณสมบััติิครบตามหลััก CIPPA ง. ผลที่่�ผู้เ้รีียนจะได้รั้บัจากการเรีียนตามรููปแบบผู้เ้รีียนจะเกิดิความเข้้าใจในสิ่่งที่่� �เรีียน สามารถอธิิบาย ชี้้�แจง ตอบคำถามได้้นอกจากนั้้�นยัังได้้พััฒนาทัักษะในการคิิดวิิเคราะห์์ การคิิดสร้้างสรรค์์ การทำงานการสื่ ่� อสาร รวมทั้้�งเกิิดความใฝ่่รู้้ด้้วย 7. วิิถีีการสอนใหม่่จากจาริิกบุุญ จารึึกธรรม : นมััสการและแสดงธรรมกถา ณ สัังเวชนีียสถาน โดยพระพรหมคุุณาภรณ์์(ป.อ. ปยุุตฺฺโต)32 32พระพรหมคุุณาภรณ์์ (ป.อ. ปยุุตฺฺโต), จาริิกบุุญ จารึึกธรรม : นมััสการและแสดงธรรมกถา ณ สัังเวชนีียสถาน, โรงพิิมพ์์พระพุุทธศาสนาของธรรมสภา, พิิมพ์์ครั้้�ง 36, กรุุงมหานคร, 2554, สรุุปจาก 1-530.


247 พระพรหมคุุณาภรณ์์ (ป.อ. ปยุุตฺฺโต) ได้้รัับอาราธนาไปบรรยายที่่�ประเทศอิินเดีีย ในปีีพ.ศ.2538 ชื่ ่� อหนัังหนัังสืือจาริิกบุุญ จารึึกธรรม : นมััสการและแสดงธรรมกถา ณ สัังเวชนีียสถาน ได้้แก่่ สถานที่่�ประสููติิ ตรััสรู้้ แสดงธรรม และปริินิิพาน ซึ่่�งมีีความหนา ประมาณ 530 หน้้า ผู้้เขีียนขอสรุุปเพื่ ่� อเป็็นแหล่่งเรีียนรู้้ที่่�ดีีมากสำหรัับพุุทธวิิถีีใหม่่ใน การสอนที่่�วิิธีีการนำเสนอ เนื้้�อหา สื่ ่� อ อุุปกรณ์์ หลัักฐานอ้้างอิิงทางพระไตรปิิฎก และ หลัักฐานเชิิงประจัักษ์์ทางประพระพุุทธศาสนา สรุุปได้้ดัังนี้้� 1. การนำเข้้าสู่่บทเรีียนโดยเกริ่่�นนำพระพุุทธศาสนาเข้้าสู่่ประเทศไทยสมััยพระเจ้้า อโศกมหาราช ส่่งพระโสณะและพระอุุตตระผ่่านเมืืองนครปฐม (ขอให้้อ่่านรายละเอีียด หน้้า 4-6) 2. พระเจ้้าอโศกมหาราชทรงทราบว่่าพระธรรมวิินััยมีี 84,000 พระธรรมขัันธ์์ จึึงทรงสร้้างวััด 84,000 วััด ต่่อมาวััดเป็็นแหล่่งการศึึกษาที่่�สำศััญยิ่่�ง และต่่อมาก็็รวมเป็็น มหาวิิทยาลััยนาลัันทาที่่�ยิ่่�งใหญ่่ของโลก (ดููรายระเอีียดหน้้า 27-67) 3. ราชคฤห์์:ศููนย์์กลางการเผยแผ่่พระพุุทธศาสนา เป็็นเมืืองหลวงเก่่าของแคว้้นมคธ เมืืองปาตลีีบุุตรมีีความสำคััญในสมััยพุุทธกาล หลัังพุุทธกาลในฐานะเป็็นแหล่่งที่่�คำสอน ของพระพุุทธศาสนาเผยแผ่่ออกไปไปสู่่ประเทศต่่างๆ แต่่เมื่ ่� อทุุกคนอ่่านมาถึึงหน้้า 102 มหาวิิทยาลััยนาลัันทาสิ้้�นสููญอวสานก็็มาถึึงด้้วยใจสลาย (ขอให้อ่้่านรายละเอีียดหน้้า97-109) 4. มาฆบููชากัับหััวใจพระพุุทธศาสนา ราชคฤห์นั้้์ �น มีีวััดเวฬุุวััน ซึ่่�งเป็็นวััดแห่่งแรกที่่�พระเจ้้าพิิมพิิสารถวายในพระศาสนา (ขอให้้อ่่านรายละเอีียดหน้า ้ 118-141) 5. มาฆบููชากัับวาเลนไทน์์ซึ่่�งมีีความหมายว่่า (1) ให้้คนก้้าวจากความรัักที่่�ผิิดมาสู่่ ความรัักที่่�ถููก (2) เมื่ ่� อความรัักที่่�ถููกต้้องมีีน้้ำใจต่่อกัันจะได้้พััฒนาต่่อไปอีีก 6. สถานที่่�ประสููติิ ตรััสรู้้ แสดงปฐมเทศนา และปริินิิพพาน เรีียกสัังเวชนีียสถาน คติิจากสัังเวชนีียสถาน ซึ่่�งมีีความสำคััญเพราะว่่าเราต้้องการให้้เกิิดผลทางจิิตใจ สัังเวชใน ความว่่า เป็็นเครื่ ่� องกระตุ้้นเตืือนใจให้้เกิิดศรััทธาและปััญญา ตััวศรััทธาน่่าจะได้้แน่่นอนพร้อ้มกับัเกิดปิติิมีิีความปลาบปลื้้มใจ�ที่่�เป็็นผลจากศรััทธา นั้้�น แต่่ถ้้าจะได้้ผลที่่�สมบููรณ์์ต้้องเกิิดปััญญาด้้วยดัังนี้้� ปััญญาอย่่างที่่� 1 คืือ ความรู้้เข้้าใจ มองเห็็นคติิธรรมดาของสัังขาร อัันได้้แก่่ ความ ไม่่เที่่�ยง ความเป็็นทุุกข์์ เป็็นอนััตตา ตามหลัักพระไตรลัักษณ์์ ซึ่่�งจะทำให้้เราเห็็นความจริิง แล้้วโน้้มธรรมมาปฏิิบััติิในใจ ปััญญานี้้�จะโยงไปสู่่ความสว่่างชััดในธรรมดาของสัังขาร พร้้อม ทั้้�งการที่่�จะเป็็นอยู่่และทำการทั้้�งหลายด้้วยความไม่่ประมาท


248 ปััญญาอย่่างที่่� 2 คืือ จากเหตุุการณ์์และสถานที่่�นั้้�น ๆ ก็็เชื่ ่� อมโยงต่่อไปให้้เราระลึึก ถึึงคำสั่่�งสอนของพระพุุทธเจ้้า และปฏิิบััติิตามคำสอนเหล่่านั้้�น ที่่�มีีความหมายเกี่่�ยวเนื่ ่� องกัับ สถานที่่�แต่่ละแห่่ง ตลอดจนพระธรรมเทศนาต่่าง ๆ ที่่�พระพุุทธเจ้้าทรงแสดงไว้้ในโอกาสนั้้�น ๆทั้้�งหมดนี้้�เป็็นเรื่ ่� องทางปััญญา ซึ่่�งจะได้้มากได้้น้้อย ก็็อยู่่ที่่�การรู้้จัักใช้้โยนิิโสมนสิิการ คืือการ รู้้จัักคิดิ รู้้จัักพิิจารณาอย่่างเราเดิินทางมาครบ 4 แห่งนี้้ ่ � ความหมายของสังัเวชนีียสถานแต่่ละ แห่่งนั้้�น ก็็มีีต่่าง ๆ กััน ถ้้าจะประมวลสรุุปแล้้ว เราก็็ได้้แง่่คิิดหลายแบบ จะยกตััวอย่่างง่่าย ๆ ทำประโยชน์์ของตนให้้ถููกให้้ดีี จะเป็็นที่่�พึ่ ่� งของโลกได้้เริ่่�มต้้น สัังเวชนีียสถาน 4 นั้้�น เราเห็็น ชััดว่่า แห่่งแรก เป็็นเรื่ ่� องเกี่่�ยวกัับการประสููติิ คืือ การเกิิด แล้้วต่่อไป แห่่งสุุดท้้าย เกี่่�ยวกัับ การปริินิิพพาน ก็็คืือ การตาย สองอย่่างนี้้� การเกิิด กัับการตาย เป็็นของสามััญสำหรัับ ทุุกคนไม่่ใช่่เฉพาะพระพุุทธเจ้้า ใครก็็ตามที่่�มีีชีีวิิต ก็็ต้้องเริ่่�มต้้นด้้วยการเกิิดแล้้วก็็สิ้้�นสุุดด้้วย ความตาย 7. มีีโยนิิโสมนสิิการ เรื่ ่� องร้้ายก็็กลายเป็็นดีี(อ่่านหน้้า 294-325) 8. พระพุุทธเจ้้าตรััสรู้้เพราะโยนิิโสมนสิิการ (อ่่านหน้้า 295-325) 9. คนไทยอธิิษฐานเพื่ ่� อจะได้้-พระให้้อธิิษฐานเพื่ ่�อที่่�จะทำเรื่ ่� องต้้องทำความเข้้าใจ ให้้ถููกต้้อง (อ่่านหน้้า 333-355) 10. ทางสายกลางเพื่อชี ่� วิีตสัิงัคมที่่สุ�ขสุมบููรณ์์และความไม่่ประมาทคืือความสามารถ ที่่�จะไม่่เสื่ ่� อม 11. เรามีีหน้้าที่่�รู้้ทุุกข์์ แต่่เราไม่่หน้้าที่่�เป็็นทุุกข์์ สรุุปว่่าการเรีียนรู้้จาริิกบุุญ จารึึกธรรมในชมพููทวีีปประเทศอิินเดีียได้้เรีียนรู้้ ประวัติัิศาสตร์์และประวัตัพระพุุทธศาสนาตลอดถึึงคำสอนที่่ลึึ�กซึ้้ง�มองเห็็นคุุณค่่าพระรัตันตรััย และคุุณพระธรรมคำสอนที่่�สะท้้อนจากหลัักฐานเชิิงประจัักษ์์ในสัังเวชสนีียสถานที่่�แท้้จริิง ทางจิติใจและการนำเสนอที่่ดี�ีมากเป็็นขั้้�นตอนและเป็็นนวัตักรรมใหม่ที่่่ �ยากแก่่การเลีียนแบบ เจ้้าพระคุุณสมเด็็จพระพุุทธโฆษาจารย์์ (ป.อ. ปยุุตฺฺโต) เป็็นพระผู้้มีีภููมิิรู้้ภููมิิธรรมสููงมาก จึึง สามารถเสนอได้้ลึึกซึ้้�ง เป็็นพุุทธวิิถีีใหม่่ที่่�ชััดเจนซึ่่�งเป็็นต้้นแบบที่่�ดีีให้้พระสงฆ์์รุ่่นใหม่่และ คณาจารย์์ไปศึึกษาและต่่อยอดในรููปแบบต่่าง ๆ เช่่นการวิิจััย เป็็นต้้น


249 เอกสารอ้้างอิิง เกรีียงศัักดิ์์� เจริิญวงศ์์ศัักดิ์์�อ้้างในทิิศนา แขมมณีี, ศาสตร์์การสอน : องค์์ความรู้้�เพื่่�อการ จััดกระบวนการเรีียนรู้้�ที่่�มีีประสิทธิิภาพ,สำนัักพิิมพ์์แห่งจุุ่ฬาลงกรณ์์มหาวิิทยาลััย, พิิมพ์์ครั้้�งที่่� 21, 2560. คณาจารย์์ มหาวิิทยาลััยมหาจุุฬาลงกรณราชวิิทยาลััย. พุุทธวิิธีีการสอน. กรุุงเทพมหานคร: มหาวิิทยาลััยมหาจุุฬาลงกรณราชวิิทยาลััย. 2555. ชััยอนัันต์์ สมุุทวณิิช อ้้างในทิิศนา แขมมณีี, ศาสตร์์การสอน : องค์์ความรู้้�เพื่่�อการจััด กระบวนการเรีียนรู้้�ที่่�มีีประสิิทธิิภาพ, สำนัักพิิมพ์์แห่่งจุุฬาลงกรณ์์มหาวิิทยาลััย, พิิมพ์์ครั้้�งที่่� 21, 2560. ชััยวััฒน์์ สุุทธิิรััตน์์. 80 นวััตกรรมการจััดการเรีียนรู้้�ที่่�เน้้นผู้้�เรีียนเป็็นสำคััญ. พิิมพ์์ครั้้�งที่่� 8. นนทบุุรีี: พีีบาลานซ์์ดีีไซด์์แอนปริ้้�นติ้้�ง, 2561. ประเวศ วะสีีอ้้างในทิิศนา แขมมณีี, ศาสตร์์การสอน : องค์์ความรู้้�เพื่่�อการจััดกระบวน การเรีียนรู้้�ที่่�มีีประสิิทธิิภาพ, สำนัักพิิมพ์์แห่่งจุุฬาลงกรณ์์มหาวิิทยาลััย, พิิมพ์์ ครั้้�งที่่� 21, 2560. พระธรรมปิิฎก (ป.อ. ปยุุตฺฺโต). การศึึกษาเพื่่�ออารยธรรมที่่�ยั่่�งยืืน. พิิมพ์์ครั้้�งที่่� 4. กรุุงเทพมหานคร: โรงพิิมพ์์สหธรรมิิก, 2542. ______. สารััตถธรรม. กรุุงเทพมหานคร: โรงพิิมพ์์สหธรรมิิก, 2544. ______. จริิยธรรมสำหรัับคนรุ่่นใหม่่. กรุุงเทพมหานคร: มููลนิิธิิพุุทธธรรม, 2543. ______. พุุทธธรรมกัับปรััชญาการศึึกษาไทยในยุุคโลกาภิิวััตน์์. นนทบุุรีี: SR Printing, 2539. ______. เพื่่�ออนาคตของการศึึกษาไทย. กรุุงเทพมหานคร: ธรรมสภา, 2536. ______. รู้้�หลัักก่่อนแล้้วศึึกษาและสอนให้้ได้้ผล. กรุุงเทพมหานคร: ธรรมสภา, 2551. ______. หลัักแม่่บทของการพััฒนาตน. พิิมพ์์ครั้้�งที่่� 13. กรุุงเทพมหานคร: โรงพิิมพ์์ สหธรรมิิก, 2555. พระพรหมคุุณาภรณ์์ (ป.อ. ปยุุตฺฺโต). ข้้อคิิดเพื่่�อการศึึกษา. กรุุงเทพมหานคร: ศููนย์์สื่ ่� อและ สิ่่�งพิิมพ์์แก้้วเจ้้าจอม, 2551. ______. การเสริิมสร้้างคุุณลัักษณะเด็็กไทย. กรุุงเทพมหานคร: ศููนย์์สื่ ่� อและสิ่่�งพิิมพ์์ แก้้วเจ้้าจอม, 2554. ______. ข้้อคิิดเพื่่�อการศึึกษา. กรุุงเทพมหานคร: ศููนย์์สื่ ่� อและสิ่่�งพิิมพ์์แก้้วเจ้้าจอม, 2551.


250 ______. พุุทธศาสนาในฐานะเป็็นรากฐานของวิิทยาศาสตร์์. พิิมพ์์ครั้้�งที่่� 11. กรุุงเทพ มหานคร: ผลิิธััมม์์, 2556. ______. สยามสามไตร. กรุุงเทพมหานคร: พิิมพ์์สวย, 2552. ______. จาริิกบุุญ จารึึกธรรม : นมััสการและแสดงธรรมกถา ณ สัังเวชนีียสถาน, โรงพิิมพ์์ พระพุุทธศาสนาของธรรมสภา, พิิมพ์์ครั้้�งที่่� 36, กรุุงมหานคร, 2554. พระธรรมโกศาจารย์์. วิิธีีบููรณาการพระพุุทธศาสนากัับศาสตร์์สมััยใหม่. ก่รุุงเทพมหานคร: โรงพิิมพ์์มหาวิิทยาลััยมหาจุุฬาลงกรณราชวิิทยาลััย, 2553. ราชบััณฑิิตยสถาน. พจนานุุกรมฉบัับราชบััณฑิิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุุงเทพมหานคร: นานมีีบุ๊๊�คส์์พัับลิิเคชั่่�นส์์, 2546. วิิชััย วงษ์์ใหญ่่ และมารุุต พััฒผล. การประเมิินการเรีียนรู้้�อย่่างสร้้างสรรค์์ (Creative Learning Assessment). พิิมพ์ที่่์บั�ัณฑิิตวิิทยาลััย: มหาวิิทยาลััยศรีีนคริินทรวิิโรฒ. กรุุงเทพมหานคร, 2564. สิิน งามประโคน. การวิิเคราะห์์พุุทธวิิธีีการสื่่�อสารเพื่่�อการเผยแพร่่พระพุุทธศาสนา. สถาบัันวิิจััยพุุทธศาสตร์์ มหาจุุฬาลงกรณราชวิิทยาลััย, 2559. สาโรช บััวศรีี อ้้างในทิิศนา แขมมณีี, ศาสตร์์การสอน : องค์์ความรู้้�เพื่่�อการจััดกระบวน การเรีียนรู้้�ที่่�มีีประสิิทธิิภาพ, สำนัักพิิมพแห่่งจุุฬาลงกรณ์์มหาวิิทยาลััย, พิิมพ์์ ครั้้�งที่่� 21, 2560. สุุมน อมรวิิวััฒน์์อ้้างในทิิศนา แขมมณีี, ศาสตร์์การสอน : องค์์ความรู้้�เพื่่�อการจััดกระบวน การเรีียนรู้้�ที่่�มีีประสิิทธิิภาพ, สำนัักพิิมพ์์แห่่งจุุฬาลงกรณ์์มหาวิิทยาลััย, พิิมพ์์ ครั้้�งที่่� 21, 2560. Fogarty, Robin. Ten Ways to Integrate Curriculum. Educational: Leadership, 1991.


บรรณานุุกรม 1. ภาษาไทย ก. เอกสารชั้้�นปฐมภููมิิ มหาวิิทยาลััยมหาจุุฬาลงกรณราชวิิทยาลััย. พระไตรปิิฎกภาษาไทย ฉบัับมหาจุุฬาลงกรณ ราชวิิทยาลััย. กรุงุเทพมหานคร: มหาวิิทยาลััยมหาจุุฬาลงกรณราชวิิทยาลััย, 2539. ข. เอกสารทุุติิยภููมิิ (1) หนัังสืือ : กรมอนามััย กระทรวงสาธารณสุุข. คู่่มืือการปฏิิบััติิสำหรัับสถานศึึกษาในการป้้องกััน การแพร่่ระบาดของโรคโควิิด 19. กรุุงเทพมหานคร: บริิษััท คิิว แอดเวอร์์ไทซิ่่�ง จำกััด : 2563. กิิดานัันท์์ มลิิทอง. เทคโนโลยีีการศึึกษานวััตกรรม. พิิมพ์์ครั้้�งที่่� 2. กรุุงเทพมหานคร: จุุฬาลงกรณ์์มหาวิิทยาลััย, 2543. คณาจารย์์ มหาวิิทยาลััยมหาจุุฬาลงกรณราชวิิทยาลััย. พุทุธวิิธีีการสอน. พระนครศรีอยุีุธยา: โรงพิิมพ์์มหาวิิทยาลััยมหาจุุฬาลงกรณราชวิิทยาลััย, 2555. คณาจารย์์สำนัักพิิมพ์์เลี่่�ยงเชีียง. อนุุพุุทธประวััติิ : หนัังสืือเรีียนนัักธรรมชั้้�นโทฉบัับมาตร ฐานบููรณาการชีีวิิต. กรุุงเทพมหานคร: เลี่่�ยงเชีียง, 2550. คณะกรรมการปฏิิรููปประเทศด้้านการศึึกษา. แผนการปฏิิรููปประเทศด้้านการศึึกษา. เอกสาร สำนัักงานเลขาธิิการสภาการศึึกษาคณะกรรมการอิิสระเพื่ ่� อการปฏิิรููปการ ศึึกษา(กอปส.), 2565. คณะกรรมการอิิสระปฏิิรููปการศึึกษา. แผนการปฏิิรููปประเทศด้้านการศึึกษา. เอกสาร สำนัักงานเลขาธิิการสภาการศึึกษาคณะกรรมการอิิสระเพื่ ่� อการปฏิิรููปการศึึกษา (กอปส.), 2561. ชััยวััฒน์์ สุุทธิิรััตน์์. 80 นวััตกรรมการจััดการเรีียนรู้้�ที่่�เน้้นผู้้�เรีียนเป็็นสำคััญ. พิิมพ์์ครั้้�งที่่� 8. นนทบุุรีี: พีีบาลานซ์์ดีีไซด์์แอนปริ้้�นติ้้�ง, 2561. เติิมศัักดิ์์� คทวณิิช. จิิตวิิทยาทั่่�วไป. กรุุงเทพมหานคร: บริิษััทส.เอเซีียเพรส, 2546. ทิิศนา แขมมณีี. ศาสตร์์การสอน : องค์์ความรู้้�เพื่่�อการจััดกระบวนการเรีียนรู้้�ที่่�มีี ประสิิทธิิภาพ. พิิมพ์์ครั้้�งที่่� 21. กรุุงเทพมหานคร: โรงพิิมพ์์แห่่งจุุฬาลงกรณ์์ มหาวิิทยาลััย, 2560.


252 ธีีระ รุุญเจริิญ. ความเป็็นมืืออาชีีพในการจััดและบริิหารการศึึกษา ยุุคปฏิิรููปการศึึกษา. พิิมพ์์ครั้้�งที่่� 7. กรุุงเทพมหานคร: นวสาส์์นการพิิมพ์์, 2555. แผนพััฒนาเศรษฐกิิจและสัังคมแห่่งชาติิ ฉบัับที่่�สิิบสอง พ.ศ. 2560 – 2564. สำนัักงาน คณะกรรมการพััฒนาการเศรษฐกิิจและสัังคมแห่่งชาติิ สำนัักนายกรััฐมนตรีี แผนพััฒนาเศรษฐกิิจและสัังคมแห่่งชาติิ ฉบัับที่่� 13. “พลิิกโฉมประเทศไทยสู่่สัังคมก้้าวหน้้า เศรษฐกิิจสร้้างมููลค่่าอย่่างยั่่�งยืืน”. (พ.ศ. 2566 – 2570). พระธรรมโกศาจารย์์ (ประยููร ธมฺฺมจิตฺิฺโต). วิิธีีบููรณาการพระพุทุธศาสนากับัศาสตร์์สมััยใหม่่. กรุุงเทพมหานคร: โรงพิิมพ์์มหาวิิทยาลััยมหาจุุฬาลงกรณราชวิิทยาลััย, 2553. พระธรรมปิิฎก (ป.อ. ปยุุตฺฺโต). การเพิ่่�มประสิิทธิิภาพในการทำงาน. กรุุงเทพมหานคร: หจก.เอมี่่� เทรดดิ้้�ง, 2546. ______. การศึึกษาเครื่่�องมืือพััฒนาที่่�ยัังต้้องพััฒนา. พิิมพ์์ครั้้�งที่่� 2. กรุุงเทพมหานคร: โรงพิิมพ์์บริิษััทสหธรรมิิก, 2541. ______. ศาสนาและเยาวชน. พิิมพ์์ครั้้�งที่่� 3. กรุุงเทพมหานคร: โรงพิิมพ์์บริิษััทสหธรรมิิก, 2539. ______. จริิยธรรมสำหรัับคนรุ่่นใหม่่. กรุุงเทพมหานคร: มููลนิิธิิพุุทธธรรม, 2543. ______. ทางสายอิิสรภาพของการศึึกษา. พิิมพ์์ครั้้�งที่่� 2. กรุุงเทพมหานคร: โรงพิิมพ์์ สหธรรมิิก, 2541. ______. สารััตถธรรม. กรุุงเทพมหานคร: โรงพิิมพ์์สหธรรมิิก, 2544. ______. การศึึกษาเพื่่�ออารยธรรมที่่�ยั่่�งยืืน. พิิมพ์์ครั้้�งที่่� 4. กรุุงเทพมหานคร: โรงพิิมพ์์ สหธรรมิิก, 2542. ______. พุุทธธรรมกัับปรััชญาการศึึกษาไทยในยุุคโลกาภิิวััตน์์. นนทบุุรีี: SR Printing, 2539. ______. เพื่่�ออนาคตของการศึึกษาไทย. กรุุงเทพมหานคร: ธรรมสภา, 2536 ______. ภาวะผู้้�นำ : ความสำคััญต่่อการพััฒนาคน พััฒนาประเทศ. พิิมพ์์ครั้้�งที่่� 7. กรุุงเทพมหานคร: ธรรมสภา, 2545. ______. พุุทธวิิธีีในการสอน. กรุุงเทพมหานคร: โรงพิิมพ์์บริิษััทสหธรรมิิก จำกััด, 2547. พระพรหมคุุณาภรณ์์ (ป.อ. ปยุุตฺฺโต). พจนานุุกรมพุุทธศาสตร์์ ฉบัับประมวลธรรม. พิิมพ์์ครั้้�งที่่� 17. กรุุงเทพมหานคร: โรงพิิมพ์์มหาจุุฬาลงกรณราชวิิทยาลััย, 2551. ______. ปรััชญาการศึึกษาของไทย ภาคพุทุธธรรม : แก่่นนำการศึึกษา, กรุงุเทพมหานคร: สำนัักพิิมพ์์ผลิิธััมม์์, 2556.


253 ______. คู่่มืือชีีวิิต. พิิมพ์์ครั้้�งที่่� 6. กรุุงเทพมหานคร: พิิมพ์์สวย, 2548. ______. วิิธีีคิิดตามหลัักพุุทธธรรม. กรุุงเทพมหานคร: สำนัักพิิมพ์์บัันลืือธรรม, 2550. ______. การเสริิมสร้้างคุุณลัักษณะเด็็กไทย. กรุุงเทพมหานคร: ศููนย์์สื่ ่� อและสิ่่�งพิิมพ์์ แก้้วเจ้้าจอม, 2554. ______. ข้้อคิิดเพื่่�อการศึึกษา. กรุุงเทพมหานคร: ศููนย์์สื่ ่� อและสิ่่�งพิิมพ์์แก้้วเจ้้าจอม, 2551. ______. พุุทธศาสนาในฐานะเป็็นรากฐานของวิิทยาศาสตร์์. พิิมพ์์ครั้้�งที่่� 11. กรุุงเทพ มหานคร: ผลิิธััมม์์, 2556. ______. รู้้�หลัักก่่อนแล้้วศึึกษาและสอนให้้ได้้ผล. กรุุงเทพมหานคร: ธรรมสภา, 2551. ______. สยามสามไตร. กรุุงเทพมหานคร: พิิมพ์์สวย, 2552. ______. หลัักแม่่บทของการพััฒนาตน. พิิมพ์์ครั้้�งที่่� 13. กรุุงเทพมหานคร: โรงพิิมพ์์ สหธรรมิิก, 2555. พฤทธิ์์� ศิิริิบรรณพิิทัักษ์์. การพลิิกโฉมระบบการศึึกษาเพื่่�อตอบโจทย์์การพััฒนาประเทศ. กรุุงเทพมหานคร: สำนัักพิิมพ์์จุุฬาลงกรณ์์มหาวิิทยาลััย, 2565. ไพฑููรย์์ สิ้้�นลารัตน์ั ์ และคณะ. การศึึกษา 4.0 เป็็นยิ่่�งกว่่าการศึึกษา. โรงพิิมพ์์แห่งจุุ่ฬาลงกรณ์์ มหาวิิทยาลััย, 2561. ______. ก่่อนถึึงโรงเรีียน4.0 : โรงเรีียนสร้้างสรรค์์. พิิมพ์์ที่่� 3. กรุุงเทพมหานคร: โรงพิิมพ์์ แห่่งจุุฬาลงกรณ์์มหาวิิทยาลััย, 2560. ______. ปรััชญาการศึึกษาเบื้้�องต้้น. กรุุงเทพมหานคร: สำนัักพิิมพ์์แห่่งจุุฬาลงกรณ ราชวิิทยาลััย, 2555. พิิมพ์์ เดชะคุุปต์์ และพเยาว์์ ยิินดีีสุุข. การจััดการเรีียนรู้้�ในศตวรรษที่่� 21. กรุุงเทพมหานคร: โรงพิิมพ์์แห่่งจุุฬาลงกรณราชวิิทยาลััย, 2557. ราชบััณฑิิตยสถาน. พจนานุุกรมฉบัับราชบััณฑิิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุุงเทพมหานคร: นานมีีบุ๊๊�คส์์พัับลิิเคชั่่�นส์์, 2546. วิิจารณ์์พานิิช, ศ.นพ.. การเรีียนรู้้�เกิิดขึ้้�นอย่่างไร. พิิมพ์์ครั้้�งที่่� 3. กรุุงเทพมหานคร: เอส.อาร์์พริ้้�นติ้้�ง แมสโปรดัักส์์, 2562. ______. การสร้้างการเรีียนรู้้�สู้้�ศตวรรษที่่� 21. นครปฐม: ส เจริิญการพิิมพ์์, 2557. วิิจารณ์์ พานิิช และปิิยาภรณ์์ มััณฑะจิติร. การศึึกษาคุุณภาพสููงระดับัโลก. กรุงุเทพมหานคร: เอส.อาร์์.พริ้้�นติ้้�งแมสโปรดัักส์์, 2563.


254 วิิชััย วงษ์์ใหญ่่ และมารุุต พััฒผล. การประเมิินการเรีียนรู้้�อย่่างสร้้างสรรค์์ (Creative Learning Assessment). พิิมพ์ที่่์บั�ัณฑิิตวิิทยาลััย: มหาวิิทยาลััยศรีีนคริินทรวิิโรฒ. กรุุงเทพมหานคร, 2564. วิวัิัฒน์์ มีสุีุวรรณ์์. วิิจััยทางเทคโนโลยีีการศึึกษา. พิิษณุุโลก: สำนัักพิิมพ์์มหาวิิทยาลััยนเรศวร, 2561. สภานโยบายการอุุดมศึึกษา วิิทยาศาสตร์์ วิิจััยและนวััตกรรมแห่่งชาติิ, กรอบนโยบายและ ยุทุธศาสตร์์การอุุดมศึึกษา วิิทยาศาสตร์์ วิิจััยและนวััตกรรม พ.ศ. 2563 – 2570, กลุ่่มสื่ ่� อสารองค์์กร: กระทรวงการอุุดมศึึกษา วิิทยาศาสตร์์ วิิจััยและนวััตกรรม, 2565. สำนัักงานคณะกรรมการพััฒนาการเศรษฐกิิจและสัังคมแห่่งชาติิ สำนัักนายกรััฐมนตรีี. แผนพััฒนาเศรษฐกิจิและสัังคมแห่่งชาติิฉบัับที่่�สิบิสอง พ.ศ. 2560 – 2564. 2559. สำนัักงานเลขาธิิการสภาการศึึกษากระทรวงศึึกษาธิิการ. แผนการศึึกษาแห่่งชาติิ พ.ศ. 2560 – 2579. กรุุงเทพมหานคร: พริิกหวานกราฟฟิิค, 2560. ______. แนวปฏิิบััติิของการสร้้างและส่่งเสริิมการรู้้�ดิิจิิทััลสำหรัับครูู. กรุุงเทพมหานคร: พริิกหวานกราฟฟิิค, 2562. ______. แนวทางการพััฒนาแหล่่งการเรีียนรู้้�ในยุุคดิิจิิทััลที่่�เหมาะสมกัับผู้้�เรีียนปฐมวััย. กรุุงเทพมหานคร: บริิษััท 21 เซ็็นจููรี่่� จำกััด, 2563. สมศัักดิ์์� ดลประสิิทธิ์์�. ข้้อเสนอการปฏิิรููปการศึึกษาไทย (Thailand Education Reform Model : TERM). (22 กัันยายน 2557). เอกสารอััดสำเนา (2) บทความ: วััฒนาพร ระงัับทุุกข์์. คุุรุุสภาวิิทยาจารย์์ JOURNAL OF TEACHER PROFESSIONAL DEVELOPMENT. ปีีที่่� 1 ฉบัับที่่� 1 (มกราคม – เมษายน 2563): 10 (3) งานวิิจััย: สิิน งามประโคน. “การวิิเคราะห์์พุุทธวิิธีีการสื่ ่� อสารเพื่ ่� อการเผยแพร่่พระพุุทธศาสนา”. สถาบัันวิิจััยพุุทธศาสตร์์ มหาจุุฬาลงกรณราชวิิทยาลััย, 2559. ______. พุุทธวิิธีีการสอนที่่�ปรากฏในพระไตรปิิฏก. คณะครุุศาสตร์์ มหาวิิทยาลััย มหาจุุฬาลงกรณราชวิิทยาลััย พ.ศ. 2550 ได้้รัับทุุนอุุดหนุุนจากมหาวิิทยาลััย มหาจุุฬาลงกรณราชวิิทยาลััย.


255 (4) เว็็บไซต์์ : Aksorn. การเรีียนรู้้�ใหม่่ ในวิิถีี New Normal. [ออนไลน์์]. แหล่่งที่่�มา: https://www. aksorn.com/new-normal-1 [17 ตุุลาคม 2563]. Chargois. 2013. [ออนไลน์์]. แหล่่งที่่�มา: https://research.com/education/ what-is-mastery-learning [22 เมษายน 2565]. DQ Institute. What is DQ?. https://www.dqinstitute.org/what-is-dq/ดููรายละเอีียด ใน DQ Global Standards Report 2019 Common Framework for Digital Literacy, Skills and Readiness. https://www.dqinstitute.org/ wp-content/ uploads/2019/03/DQGlobalStandardsReport2019.pdf [15 ตุุลาคม 2564]. HBR.. Disruptive Technologies: Catching the Wave. Retrieved https:// hbr. org/1995/01/disruptive-technologiescatching-the-waveAccessed [15 ตุุลาคม 2564]. Puentedura, R., SAMR: A Brief Introduction, http://hippasus.com/blog/ archives/227 [15 ตุุลาคม 2564] TPACK Model. http://matt-koehler.com/tpack2/tpack-explained/ [15 ตุุลาคม 2564] การวััดและประเมิินผลในการจััดการเรีียนรู้้�โดยใช้้เทคโนโลยีีเป็็นฐาน. [ออนไลน์์]. แหล่่ง ที่่�มา: https://www.trueplookpanya.com/education/content/87884/ -teamet- [15 ตุุลาคม 2564]. ครููประถมคอทคอท, [ออนไลน์์], แหล่่งที่่�มา: https://www.krupatom.com/education _1605ทฤษฎีีการเรีียนกลุ่่ม-เกสต/ [4 สิิงหาคม 2565]. ชาติิชาย ม่่วงปฐม. [ออนไลน์์]. แหล่่งที่่�มา: http://portal5.udru.ac.th/ebook/pdf/ upload/17c59V53360FeV129B1K.pdf [4 สิิงหาคม 2565]. เป้้าหมายขององค์์กร. [ออนไลน์์]. แหล่่งที่่�มา: https://learninghubthailand.com/ okrs-in-action/ สืืบค้้น 1 มิิถุุนายน 2564 ธรรมชาติิผู้้เรีียนและความแตกต่่างระหว่่างบุุคคล, [ออนไลน์์], แหล่่งที่่�มา: http://www. eledu.ssru.ac.th/malai_pr/pluginfile.php/101/course/summary.pdf [28 สิิงหาคม 2564].


256 นวรััตน์์ หััสดีี. [ออนไลน์์]. แหล่่งที่่�มา: https://anyflip.com/zdubr/zdubr/tull/basic [28 สิิงหาคม 2564]. นวััตกรรมและเทคโนโลยีีสารสนเทศเพื่่�อการศึึกษา. [ออนไลน์์]. แหล่งที่่ ่ �มา: https://www. gotoknow.org/posts/283084 [13 มีีนาคม 2565]. บทบาทของครููในยุคุเทคโนโลยีีสารสนเทศและยุคดิุจิิตอล. [ออนไลน์์]. แหล่งที่่ ่ �มา: https:// hongyokyok. wordpress.com/64-2/ [15 ตุุลาคม 2564]. พััชรีี เทพสุุริิบููรณ์์. นวััตกรรมทางการศึึกษา. [ออนไลน์์]. แหล่่งที่่�มา: https://www. gotoknow.org/posts/553766 [27 05 2565]. เยาวพา เดชะคุุปต์์. [ออนไลน์์]. แหล่่งที่่�มา: https://yimwhanfamily.com/2018/02/22/ พหุุปััญญาอััจฉริิยะ-9-ด้้าน-[27 สิิงหาคม2564]. วิิจารณ์์ พานิิช. การสร้้างการเรีียนรู้สู่่ ้� ศตวรรษที่่� 21. [ออนไลน์์]. แหล่งที่่ ่ �มา: https://www. gotoknow.org/posts/550601 [23 กุุมภาพัันธ์์ 2565]. สถาบัันพััฒนาครูู คณาจารย์์และบุุคลากรทางการศึึกษา. [ออนไลน์์]. แหล่่งที่่�มา:www. siamhrm.com/report/article_report [22 พฤศจิิกายน 2560]. สุุพจน์์ อิิงอาจ. มติิครููเกี่่�ยวกัับผู้้�นำการศึึกษายุุค VUCA World. [ออนไลน์์]. แหล่่งที่่�มา: https://www.matichon.co.th/education/news_2578997 [21 ก.พ. 2565]. สมจิิตร ยิ้้�มสุุด. นวััตกรรมการศึึกษาและเทคโนโลยีีทางการศึึกษา. [ออนไลน์์]. แหล่่งที่่�มา: https://www.gotoknow.org/posts/401951 [6 กุุมภาพัันธ์์ 2565]. 2. ภาษาอัังกฤษ Eggen P. & Kauchak D. Strategies and Models for Teachers: Teaching Content and Thinking Skills (6th ed.). Boston: Pearson, 2012. Fogarty, Robin. Ten Ways to Integrate Curriculum. Educational: Leadership, 1991. Gredler. Learning and Instruction: Theory Into Practice. 3rd Edition. University of South Carolina: Pearson, 1997. Johnson, D.W. & Johansson, R.T. Instructional goal structure: Cooperative, competitive, or individualistic. Review of Educational Research, 1974.


ก กรรมฐาน 100, 102, 108, 114-115, 118, 121 กระทรวงศึึกษาธิิการ 10, 22, 28, 32, 41-42, 50, 78-79, 127,168 กระบวนการจััดการเรีียนรู้้ 21, 50 กระบวนการเรีียนการสอน 9, 18, 64, 171, 177, 223, กระบวนการเรีียนการสอนของรููปแบบ ทีี.เอ.ไอ. (TAI) 171 กระบวนการเรีียนการสอนของรููปแบบ แอล.ทีี (L.T.) 172 กลวิิธีีการสอน 60 กามคุุณ 5 110 การจััดการเรีียนการสอนในยุุคสถานการณ์์การ เปลี่่�ยนแปลง 64 การจััดการเรีียนการสอนในสถานการณ์์โควิิด-19 168 การถาม-ตอบ 25 การแนะนำ 113 การบููรณาการพระพุุทธศาสนา 232 การบููรณาการหลัักพุุทธธรรมเพื่ ่� อการประเมิิน การพััฒนาตนเอง 231 การประเมิินการเรีียนรู้้ในการจััดการเรีียนรู้้โดย ใช้้เทคโนโลยีีเป็็นฐาน 77 การประยุุกต์์ใช้้ทฤษฎีีสู่่การสอน 26 การประยุุกต์์ใช้้ทฤษฎีีสู่่การสอน 393 การปรัับหลัักสููตร 27 การเรีียนการสอนในยุุคดิิจิิทััล 30 การพััฒนานวััตกรรมด้้านการเรีียนการสอน 20 การพััฒนาพุุทธนวััตกรรมการสอนสู่่การปฏิิบััติิ 125 ดััชนีีคำหลััก (Index) การยอมรัับนวััตกรรม 19 การเรีียนการสอน 1, 3, 5, 7, 9, 12, 17-20, 23, 25-27, 30-32, 34, 36-42, 46, 48-49, 51- 52, 60, 64, 66-70, 73, 75, 78, 83-84, 86-87, 90-92, 113, 118, 122, 127-128, 130-131, 134-140, 156, 165, 168, 171- 172, 174, 179-180, 206-207, 221-223, 225, 228, 233, 240 การเรีียนการสอนโดยเอาใจใส่่ผู้้เรีียนเป็็นราย บุุคคล 25 การประยุุกต์์สู่่การสอน 174 การเรีียนรู้้ 1-3, 5, 7-9, 11-14, 16-17, 19, 21-26, 28-31, 33-36, 39, 42-45, 49-51, 55, 59, 61, 64, 68, 70, 73, 75-78, 80, 83-86, 91, 93-105, 107-110, 112-113, 115-118, 120-121, 123, 125-126, 128, 132, 134, 136-144, 150, 156, 159-164, 167-168, 170-183, 186, 188, 191-192, 194, 198, 200-204, 207-208, 221, 225-230, 237- 238 การเรีียนรู้้ด้้วยตนเอง 25-26, 59, 78, 95, 107, 110, 113, 115, 121, 123-124, 128, 136- 137, 144, 170-174, 177, 179-183, 186, 200-202, 228-229 การเรีียนรู้้ผสมผสานเทคโนโลยีี 70 การเรีียนรู้้อย่่างสร้้างสรรค์์ 26, 207, 225, 228- 229, 230, 237 การวััดและประเมิินผล 25, 44, 77, 78, 80-81, 90, 94, 166, 206, 236, 239 การส่่งเสริิมการเรีียนรู้้ 68 การสร้้างจิิตสำนึึกในการพััฒนาตน 231


258 การสอน 1-3, 5-7, 9, 12, 16-23, 25-28, 30-34, 36-42, 46, 48-79, 81-110, 112-113, 115- 145, 147-168, 170-172, 174, 177-183, 185-189, 191-202, 205-207, 209-225, 228-229, 233, 235, 239-245, 247, 249- 251, 254 การสอนโดยปรัับวิิธีีสอนให้้เหมาะกัับผู้้เรีียน 25, 128, 144 การสอนแบบการแนะนำ 25, 82, 105, 110, 112- 113 การสอนแบบการสาธิิต 25, 82, 100, 102, 104 การสอนแบบแนะนำ 107-109 การสอนสร้้างสรรค์์ 63 การสอนให้้เข้้าใจธรรมชาติิพื้้�นฐานของมนุุษย์์ 54 การอออกแบบการสอน 90-91, 136 เกี่่�ยวกัับตััวการสอน 58 เกี่่�ยวกัับตััวผู้้เรีียน 56 ข ขั้้�นตอนการเรีียนรู้้ของตนเอง 113 ขัันธ์์ 5 140, 186-187, 208 ค ครููในยุุคเทคโนโลยีีสารสนเทศ 127, 168 คุุณลัักษณะของนัักเรีียน 14 ด ดิิจิิทััล 6-7, 9, 30, 45, 68-70, 72-77, 79-80, 121, 124, 127, 131, 133-134, 168, 201, 238, 239 ต ตััวผู้้เรีียน 56-58, 124, 128-129, 229 ไตรลัักษณ์์ 5-6 ไตรสิิกขา 49, 54, 181 ท ทฤษฎีีการเรีียนการสอน 78, 240 ทฤษฎีีพหุุปััญญา 85-86 เทคนิิควิิธีีการสอน 60-62, 121, 210 เทคโนโลยีี 1, 3,-6, 10, 13-14, 16,-18, 20, 22, 31, 36-37, 39-41, 45, 47, 49, 51, 53, 67, 68-82, 97, 127, 131, 138-139, 167-168, 173, 206-207, 244, 251, 254-256 น นวััตกรรมการเรีียนการสอน 1, 18, 25-26, 32, 39, 46, 64, 67, 134-135, 139, 207, 223, 225, 240 นวััตกรรมด้้านหลัักสููตร 38 แนวทางการพััฒนาพุุทธนวัตักรรม 124, 170, 201, 202, 240 บ บููรณาการตััวแท้้ของวิิชาพุุทธศาสนา 234 บููรณาการธรรมะเข้้าในชีีวิิตเด็็ก 234 บููรณาการวิิชาพุุทธศาสนาเข้้ากัับชีีวิิตจริิง 233 ป ปรััชญา 11, 21-22, 24, 41-42, 45, 48, 50, 52, 79, 175, 206 ปรััชญาการศึึกษา 52, 79, 206, 238 ปาฏิิหาริิย์์ 107, 213 พ พระจููฬปัันถกเถระ 57, 100-102, 130 พระไตรปิิฎก 58, 79, 81, 86, 88-92, 123-126, 129-131, 141-142, 144-147, 149-162, 164, 167, 186-187, 189, 191-192, 194, 196, 198, 200, 204, 207, 210, 213, 216, 219-221, 223, 225, 228, 236


259 พระปิิณโฑลภารทวาชเถระ 119 พระปุุณณมัันตานีีบุุตรเถระ 113-114, 116-118 พระมหากััสสปเถระ 105, 110 พระมหาโมคคััลลานเถระ 105-106 พระราหุุลเถระ 100, 102-104, 140-141, 208 พระลกุุณฏกภััททิิยเถระ 150, 208 พระวัังคีีสเถระ 113-115 พระสารีีบุุตรเถระ 50 พระอััญญาโกณฑััญญเถระ 93-95, 116-117 พระอุุปเสนเถระ 119-121 พระอุุรุุเวลกััสสปะ 93, 95-97 พุุทธนวััตกรรม 25-26, 52, 68, 78, 81, 86, 96, 91, 94, 96-98, 100-105, 107, 109-110, 112-113, 115, 117-121, 123-125, 128- 129, 134-137, 140-145, 147-165, 170, 180, 182, 184-187, 189, 191-192, 194, 196-202, 206-207, 210, 213, 216, 219- 221, 223, 225, 228, 239, 240 พุุทธนวััตกรรมการสอน 25-26, 52, 68, 78, 81- 82, 86, 90-91, 94, 96-105, 107, 109-110, 11-115, 117-121, 123-125, 128, 136-137, 140-147, 149-165, 170, 180, 182-187, 189, 191-192, 194-202, 206-207, 210, 213, 216, 219-221, 223, 225, 228, 239- 240 พุุทธนวััตกรรมการสอนกลุ่่มอุุบาสก 274 พุุทธนวัตักรรมการสอนโดยคำนึึงถึึงความแตกต่่าง ระหว่่างบุุคคล 25 พุุทธนวััตกรรมการสอนโดยคำนึึงถึึงความพร้้อม ของผู้้เรีียนและผู้้ฟัังธรรม 25,140 พุุทธนวััตกรรมการสอนโดยปรัับวิิธีีสอนให้้เหมาะ กัับผู้้เรีียน 25, 128, 144 พุุทธนวัตักรรมการสอนโดยผู้เ้รีียนลงมืือปฏิิบัติัด้ิ้วย ตนเอง 25 พุุทธนวััตกรรมการสอนโดยให้้ผู้้เรีียนมีีส่่วนร่่วมใน การเรีียนรู้้ด้้วยตนเอง 26 พุุทธนวััตกรรมการสอนโดยเอาใจใส่่ผู้้เรีียนเป็็น รายบุุคคล 25, 128, 154 พุุทธนวััตกรรมการสอนในพระไตรปิิฎก 86, 210, 213, 216, 219-221, 223, 225, 228 พุุทธนวััตกรรมการสอนในยุุคดิิจิิทััล 201 พุุทธนวััตกรรมการสอนแบบการถาม-ตอบ 25 พุุทธนวััตกรรมการสอนแบบการแนะนำ 25 พุุทธนวััตกรรมการสอนแบบการสนทนา 25 พุุทธนวััตกรรมการสอนแบบการสาธิิต 101, 103- 104 พุุทธนวััตกรรมการสอนแบบบรรยาย 152 พุุทธวิธีิีการสื่อส ่� าร 94, 96, 98-99, 101, 103, 107, 110-111, 113-115, 117, 119-120, 123, 126, 168, 207 พุุทธศาสนา 5, 23, 26, 51-54, 61-62, 69, 81-82, 88, 94, 96-97, 99-103, 106-107, 110-115, 117-121, 123, 126, 130, 137, 143, 152, 156, 163, 168, 178, 181, 186, 191, 198, 205-207, 210, 215, 216-217, 221, 223- 224, 230, 232-234, 237-238 แพลตฟอร์์ม 30, 36, 201 ม มหาธััมมสมาทานธรรม 214 ย ยุุคของการศึึกษาไทย 15 ยุุคดิิจิิทััล 30, 68-69, 73-77, 80, 121, 124, 127, 131, 133-134, 168, 201, 238-239 ยุุทธศาสตร์์ชาติิ ระยะ 20 ปีี (พ.ศ. 2560 – 2579) 12


ร ระดัับการยอมรัับนวััตกรรม 19, 65 รููปแบบการเรีียนการสอนหลัังโควิิด-19 18, 25, 30-31 รููปแบบวิิธีีสอนแบบของพระพุุทธเจ้้า 62 ว วิิธีีการสอนที่่�เหมาะกัับยุุคโควิิด 115 วิิธีีสอน 22 ศ ศตวรรษ 1-7, 15-18, 21-23, 25-27, 29, 42-43, 49-51, 78, 81, 93-99, 101-105, 107-108, 110, 112, 115, 117-118, 120-121, 123- 125, 131-132, 135-136, 150, 156, 159, 165, 167, 170, 177, 179-180, 186-187, 189, 191-192, 194, 196, 198, 200 ศตวรรษที่่� 21 110,202 ส สัังเคราะห์์ 23, 27, 78, 81, 86, 91, 94-96, 98, 101, 103-104, 107, 109, 112 สารสนเทศ 16, 22, 39, 40, 45, 51, 76, 80-82, 127, 168, 256 ห หลัักการสอน 21, 26, 37, 50, 52-53, 55, 81, 84, 86, 99, 102, 104, 107, 109-110, 112, 115, 118, 121, 123, 129, 136, 147-148, 161, 182, 207, 210-211, 213, 219-220, 223 อ ออนไลน์์ 5, 16-17, 29-31, 33, 35-37, 39-40, 68-70, 75, 77, 89-80, 84-85, 127, 139, 168-169, 177, 179, 204, 256, 277 อาทิิตตปริิยายสููตรพระสููตร 96


Click to View FlipBook Version