The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

นวัตกรรมการสอนตามพุทธวิถีใหม่ในพระพุทธศตวรรษที่26
รศ.ดร.สิน งามประโคน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 24-Chinaporn Nakorn, 2023-06-16 11:29:06

นวัตกรรมการสอนตามพุทธวิถีใหม่ในพระพุทธศตวรรษที่26

นวัตกรรมการสอนตามพุทธวิถีใหม่ในพระพุทธศตวรรษที่26
รศ.ดร.สิน งามประโคน

86 84 จากแนวคิดดังกล่าวสามารถนำทฤษฎีพหุปัญญามาประยุกต์ใช้ในการเรียนการ สอนได้หลากหลายวิธีตามระดับพื้นฐานของผู้เรียนดังนี้6 1) เมื่อผู้เรียนแต่ละคนมีเชาวน์ปัญญาแต่ละด้านไม่เหมือนกัน ดังนั้นในการจัดการ เรียนการสอนควรมีกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลายที่สามารถส่งเสริมปัญญาหลาย ๆ ด้าน เพื่อช่วยให้ผู้เรียนทุกคนมีโอกาสที่จะพัฒนาตนเองอย่างรอบด้าน 2) พุทธนวัตกรรมการสอนจะพบว่า พุทธองค์ทรงใช้กิจกรรมการเรียนการสอน แตกต่างกัน 3) เนื่องจากผู้เรียนแต่ละคนมีเชาวน์ปัญญาแต่ละด้านไม่เหมือนกัน เมื่อนำแนวคิดทฤษฎีตะวันตกมาพิจารณากับพุทธนวัตกรรมการสอน ใน พระไตรปิฎกพบว่าพระพุทธองค์ทรงใช้หลักการสอนลึกซึ้งกว่านั้นอีก คือพระพุทธองค์ทรง ใช้พุทธวิถีสอนคนที่มีจริตแตกต่างกันและภูมิหลังและภูมิปัญญาที่แตกต่างกันโดยทรง เปรียบเทียบคนเหมือนดอกบัว 4 ประเภท ซึ่งสามารถสังเคราะห์นำไปประยุกต์ใช้ในการ เรียนการสอนในสถานศึกษา และสถานที่อื่น ในสังคมปัจจุบัน ได้เป็น 5 ประเด็นอย่าง ชัดเจนดังนี้ 1. ครูผู้สอนต้องคำนึงถึงอัธยาศัยของผู้เรียนแต่ละบุคคลและกลุ่มบุคคลซึ่งมี ลักษณะดังนี้ 1) สอนโดยพิจารณาถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล 2) สอนให้เหมาะสมกับภูมิหลังและภูมิปัญญาของผู้เรียน 3) สอนโดยคำนึงถึงความพร้อมของบุคคล 4) สอนให้ผู้เรียนลงมือทำด้วยตนเอง 5) สอนให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น 6) สอนเอาใจใส่เป็นรายบุคคล 7) สอนช่วยเหลือผู้มีปัญหาพิเศษ 2. ด้านเนื้อหาหรือเรื่องที่สอนให้สอดคล้องกับปัญหาและความต้องการของ ผู้เรียนแต่ละบุคคลและกลุ่มบุคคล ซึ่งแยกเป็นกลุ่มพระภิกษุ และกลุ่มฆราวาส โดยมี หลักการดังนี้ 1) จัดเนื้อหาให้เหมาะสมกับผู้เรียน 2) สอนเรื่องง่ายไปหายาก 3) สอนเนื้อหาสิ่งที่อยู่ใกล้ตัวไปหาสิ่งที่อยู่ไกลตัวและสามารถสัมผัสได้ด้วยตา หู จมูก ลิ้น กาย ด้วยประสบการณ์โดยตรง 6 เรื่องเดียวกัน, หน้า 88-89.


87 85 4) สอนมีเหตุผลและสอนสิ่งที่มีความหมายสามารถเรียนรู้และเข้าใจได้ด้วย ตนเอง 5) สอนเท่าที่จำเป็นพอดีเหมาะสมกับวัยของผู้เรียนที่สามารถรับรู้และเข้าใจ ได้ตามระดับสติปัญญา ไม่ใช่สอนแสดงภูมิว่าผู้สอนมีความรู้มาก 3. การกำหนดรูปแบบการสอนให้สอดคล้องเนื้อหา ปัญหา ความต้องการ และ อัธยาศัยของผู้เรียน ซึ่งประกอบด้วย 1) การสอนแบบสนทนา ถาม-ตอบ 2) การบรรยาย 3) การตอบปัญหาและการวางกฎระเบียบข้อปฏิบัติให้สอดคล้องกับปัญหา และความต้องการของอัธยาศัยของผู้เรียน 4. การเลือกใช้เทคนิคและศิลปะการสอนให้สอดคล้องกับปัญหาและความต้องการ ของผู้เรียน เพื่อให้การเรียนการสอนมีบรรยากาศที่ดีและบรรลุวัตถุประสงค์ได้ง่ายซึ่งมี องค์ประกอบแต่ละด้าน คือ ด้านเทคนิคการสอนสามารถเลือกใช้ได้ดังนี้ 1) การเปรียบเทียบด้วยข้ออุปมาอุปไมย 2) การเล่าเรื่อง 3) การยกอุทาหรณ์ 4) การสื่ออุปกรณ์ธรรมชาติ 5) การใช้เหตุการณ์ปัจจุบันหรืออดีต 6) กรณีตัวอย่าง 5. การปฏิบัติเป็นแบบอย่างและการเลือกใช้ศิลปะการสอนให้เหมาะสมกับความ ต้องการของผู้เรียนดังนี้ 1) สอนให้ร่าเริงเบิกบาน 2) พาไปดูตัวอย่าง 3) เร้าใจให้เกิดกำลังใจ 4) อธิบายให้แจ่มแจ้งเหมือนจูงมือไปดูด้วยตา 5) สร้างแรงจูงใจชวนให้ปฏิบัติตามได้รับประโยชน์สูงสุด ประเมินผลการเรียนโดยผู้เรียนประเมินตนเองและประเมินผลโดยผู้สอน จาก 5 ประเด็นที่ผู้เรียบเรียง สรุปมางานวิจัย สิน งามประโคน (2557) กำหนด เนื้อหาหรือเรื่องที่สอนให้สอดคล้องกับปัญหาและความต้องการของผู้เรียน ในสังคมปัจจุบัน ในการแสดงพระธรรมเทศนาการปาฐกถา มีการกำหนดเนื้อหาที่จะแสดง ในสถานศึกษา ส่วนมากมีการกำหนดเนื้อหาที่จะสอน ตามอัธยาศัยของผู้เรียนแต่ละบุคคลและกลุ่มบุคคล ในการแสดงธรรมหรือแสดงปาฐกถา บางแห่งจัดประชาชนมาฟังธรรมโดยจัดเด็กนักเรียน


88 86 ครูผู้ปกครองนักเรียนและนักการภารโรงมาฟังรวมกัน ผู้สอนอาจมิได้พิจารณาถึงความ แตกต่างระหว่างบุคคล แสดงธรรมตามความถนัดของตนมากกว่า ในส่วนนี้ต้องปรับความ เข้าใจทั้งฝ่ายผู้จัดประชาชนมาฟังและพระภิกษุผู้แสดงธรรม การสอนให้เหมาะสมกับภูมิหลังและภูมิปัญญาของผู้เรียน ในการแสดงธรรมหรือ แสดงปาฐกถาในปัจจุบัน รวมไปถึงการสอนในสถานศึกษา พระภิกษุผู้สอน มีบ้างที่มิได้ แสดงหรือสอนให้เหมาะสมกับภูมิหลังและภูมิปัญญาของผู้เรียน ซึ่งอาจจะมากด้วย และก็มี บ้างที่คำนึงในเรื่องนี้ ควรที่ผู้สอนจะต้องเรียนรู้ในเรื่องนี้ การสอนของพระพุทธเจ้า เนื่องจาก พระองค์ทรงมีพระญาณที่สามารถกำหนดรู้ภูมิหลังและภูมิปัญญาของหมู่สัตว์ พระองค์จึง สามารถแสดงธรรมได้เหมาะสมกับภูมิหลังและภูมิปัญญาของผู้ฟัง ในปัจจุบันพระภิกษุผู้ แสดงธรรมไม่มีญาณกำหนดรู้ แต่ก็สามารถกำหนดภูมิหลังและภูมิปัญญาของผู้ฟังได้ตาม กลุ่มบุคคล ตามการศึกษาและหน้าที่การงาน การสอนโดยคำนึงถึงความพร้อมของบุคคลนั้น ในพระไตรปิฎกหมายถึงความพร้อม ที่จะบรรลุธรรมเป็นพระอริยบุคคล ในปัจจุบันดูเป็นเรื่องยากแต่ก็สามารถประยุกต์ได้ โดย คำนึงถึงความพร้อมของบุคคลที่จะฟังธรรมและพร้อมที่จะน้อมนำไปประพฤติปฏิบัติตาม สมควรแก้ฐานะของแต่ละบุคคล การสอนให้ผู้เรียนลงมือทำด้วยตนเองนั้น ในพระไตรปิฎก ส่วนมากพระพุทธเจ้าให้ ผู้ฟังโดยเฉพาะที่เป็นพระภิกษุสงฆ์ลงมือปฏิบัติ เพราะการสอนในครั้งพุทธกาล เหตุการณ์ สถานที่บุคคล อำนวยให้ลงมือปฏิบัติได้ การแสดงธรรมหรือแสดงปาฐกถาในปัจจุบัน พระภิกษุแสดงส่วนมากก็ชักจูงให้นำไปปฏิบัติ แต่ปัจจัยหลายอย่างไม่ค่อยอำนวยให้นำไป ปฏิบัติ เช่นเป็นการฟังธรรมที่เป็นเพียงพิธีการ การสอนที่มีการปฏิบัติคู่กันไปส่วนมากเป็น การเข้าปฏิบัติกัมมัฏฐานในสำนักปฏิบัติ หรือการจัดอบรมปฏิบัติธรรม แต่จากการที่ได้ยิน ได้ฟังก็มีพระภิกษุที่แสดงธรรมบางเรื่องชักนำให้ลงมือปฏิบัติ เช่นสอนเรื่องโทษของสิ่งเสพติด ชักนำให้ผู้ติดบุหรี่ปฏิญาณตนเลิกสูบบุหรี่ ก็ได้ผลเป็นที่ปรากฏอยู่ เรื่องนี้ผู้สอนต้องศึกษา วิธีการจากพระไตรปิฎกแล้วนำมาใช้ให้เหมาะสมกับปัจจุบัน การสอนให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นนั้น ส่วนมากพระภิกษุ ผู้สอนหรืออาจารย์ที่สอนธรรม จะใช้กับนักเรียนที่เข้าค่ายคุณธรรม และใช้กับนักเรียนที่ เรียนในสถานศึกษา เช่นนักเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตย์ อาจารย์สอนวิชาธรรมในวิทยาลัย มหาวิทยาลัยใช้มาก ส่วนในการแสดงธรรมปาฐกถาธรรมใช้ไม่สะดวก ซึ่งในพระไตรปิฎก ถ้าพระพุทธเจ้าแสดงธรรมในธรรมสภาที่มีประชาชนมาชุมนุมกันจำนวนมาก พระองค์ก็ทรง แสดงไปตามลำดับซึ่งพิจารณาจากเนื้อธรรมเทศนาแล้วก็ไม่มีการแสดงความเห็นเห็นใน ระหว่าง ในเรื่องนี้ก็พึงประยุกต์ใช้ตามเหมาะสม


89 87 การสอนเอาใจใส่เป็นรายบุคคลนั้น เป็นการสอนแบบเฉพาะบุคคล ไม่ได้แสดงแก่ กลุ่มบุคคลจำนวนมาก ในพระไตรปิฎกปรากฏมาก และเป็นการสอนที่ได้ผลเป็นรายบุคคล ในสังคมไทยปัจจุบันไม่ค่อยถือว่าเป็นการสอน แต่ก็มีพระเถระสอนพระภิกษุ และพระภิกษุ ที่สอนคฤหัสถ์ เป็นรายบุคคลอยู่บ้าง ผู้สอนต้องศึกษาทำความเข้าใจวิธีการที่พระพุทธเจ้า ทรงใช้แล้วนำมาประยุกต์ใช้สอนผู้ที่ตนประสบพบปะสนทนาด้วย การสอนช่วยเหลือผู้มีปัญหาพิเศษนั้น ในพระไตรปิฎกก็เป็นการสอนรายบุคคล ในปัจจุบันก็พอมีที่พระภิกษุสอนแนะนำผู้ที่มีปัญหาแล้วมาปรึกษา ก็ได้ผลตามเหมาะสมแก่ ปัญหาที่ผู้ฟังมีอยู่ การกำหนดรูปแบบการสอนให้สอดคล้องเนื้อหา ปัญหา ความต้องการ และ อัธยาศัยของผู้เรียน คือ 1. การสอนแบบสนทนา ถาม-ตอบ ซึ่งในพระไตรปิฎก ปรากฏมาก การสอนวิธีนี้ ในปัจจุบัน ไม่ถือเป็นรูปแบบการสอน ถ้าจะมีการสนทนากันระหว่างพระภิกษุกับคฤหัสถ์ มักจะสนทนากันเรื่องปัญหาโลก ๆ เช่นเรื่องการบ้านการเมือง และอื่น ๆ แต่ก็มีการสนทนา ธรรม โดยคฤหัสถ์มีปัญหาในการดำเนินชีวิต พระภิกษุก็นำหลักธรรมมาประกอบการสนทนา แนะนำให้ประพฤติปฏิบัติตามเหมาะสม เรื่องนี้ควรที่จะศึกษาวิธีการในพระไตรปิฎก แล้วน้อมนำมาใช้ให้มากยิ่งขึ้น การสอนแบบสนทนาถาม-ตอบในพระไตรปิฎก เป็นการสอน ที่ตรงประเด็นปัญหาชีวิตของคฤหัสถ์ 2. การสอนแบบการบรรยายนั้น ในปัจจุบันใช้มาก การประยุกต์วิธีการใน พระไตรปิฎกมาใช้นั้น ก็อยู่ที่ตัวผู้สอนที่จะต้องศึกษาเนื้อหาข้อธรรมเลือกให้เหมาะสม ปัจจุบันประชาชนปฏิบัติเพื่อบรรลุมรรคผลนิพพานไหวหรือไม่ สอนแต่ให้ปฏิบัติธรรมให้ สละโลก ประชาชนเขาสละไม่ได้ ก็ต้องหลักธรรมที่เขาพึงปฏิบัติในวิถีชีวิตของคฤหัสถ์ จึงจะเป็นเหมือนนายแพทย์ที่จัดยาตรงกับอาการป่วยที่คนไข้เป็นอยู่ 3. การตอบปัญหาและการวางกฎระเบียบข้อปฏิบัติให้สอดคล้องกับปัญหาและ ความต้องการของอัธยาศัยของผู้เรียน เป็นวิธีการที่กำหนดใช้ในสถานศึกษาเป็นส่วนมาก ผู้สอนต้องศึกษาหลักการที่จะนำมาแก้ปัญหาทางธรรม ซึ่งชาวโลกส่วนมากก็มีความสงสัย คลายกับประชาชนในยุคพุทธกาล ข้อมูลที่จะใช้ศึกษาโดยตรงก็มีหนังสือมิลินทปัญหาและ หนังสือพระสงฆ์ผู้ทรงความรู้เรียบเรียงไว้ 4. การเลือกใช้เทคนิคและศิลปะการสอนให้สอดคล้องกับปัญหาและควา ม ต้องการของผู้เรียน การเปรียบเทียบด้วยข้ออุปมาอุปไมย การเล่าเรื่อง การยกอุทาหรณ์ การสื่ออุปกรณ์ธรรมชาติ การใช้เหตุการณ์ปัจจุบันหรืออดีต กรณีตัวอย่าง ในพระไตรปิฎก ปรากฏว่า พระพุทธเจ้าทรงใช้สื่อที่เป็นสิ่งแวดล้อมพระองค์เป็นสื่อธรรมชาติประกอบการ แสดงธรรมแก่บริษัท ในปัจจุบันนี้การใช้เทคนิคในการสอนมีมาก


90 88 5. การประเมินผลการเรียนโดยผู้เรียนประเมินตนเองและประเมินผลโดยผู้สอนนั้น ในพระไตรปิฎกปรากฏว่า พระพุทธเจ้าทรงประเมินบุคคลผู้ที่ฟังธรรมเป็น 4 กลุ่ม คือ 5.1 บุคคลผู้เป็นอุคฆฏิตัญญูผู้บรรลุธรรมพร้อมกับเวลาที่ท่านยกหัวข้อขึ้น แสดง 5.2 บุคคลผู้เป็นวิปจิตัญญู ผู้เมื่อเขาอธิบายเนื้อความแห่งภาษิตโดยย่อให้ พิสดาร จึงบรรลุธรรม 5.3 บุคคลผู้เป็นเนยยะ ผู้บรรลุธรรมโดยลำดับ คือ โดยการแสดง การถาม การมนสิการโดยแยบคาย การเสพ การคบ การเข้าไปนั่งใกล้กัลยาณมิตร 5.4 บุคคลผู้เป็นปทปรมะ ผู้ฟังก็มาก กล่าวก็มาก ทรงจำก็มาก บอกสอน ก็มาก แต่ไม่ได้บรรลุธรรมในชาตินั้น7 บุคคล 4 กลุ่มนี้ พระพุทธเจ้าทรงประเมินจากกลุ่มบุคคลที่ฟังธรรมของพระองค์ เป็นการประเมินโดยผู้สอน ในพระไตรปิฎกไม่ปรากฏการที่บุคคลผู้ฟังประเมินตนเอง ไม่มี รูปแบบอย่างนี้ ปัจจุบันวิธีการเรียนการสอนได้กำหนดรูปแบบที่ต่างออกไป ถือว่าเป็นความ เจริญก้าวหน้าในการเรียนการสอนในสถานศึกษา ดังนั้นการประยุกต์ใช้วิธีการสอนจากพระไตรปิฎกมาใช้ในสังคมปัจจุบันนั้น ผู้เรียบเรียงนำเสนอในส่วนที่ควรเพิ่มเติมในสังคมปัจจุบัน และเลือกใช้ตามความเหมาะ กับสถานการณ์ที่ผู้สอนถนัด ดังกรณีตัวอย่างพุทธนวัตกรรมการสอนต่อไปนี้ 3.1.2 พุทธนวัตกรรมการสอนสู่ความเป็นเลิศด้วยปัญญา การออกแบบการสอนของพระพุทธเจ้าครั้งแรกด้วยการแสดงธรรมให้แก่ปัญจ วัคคีย์ทั้ง 5 คน ซึ่งพระพุทธองค์ทรงใช้ยุทธวิธีหลากหลายแบบ เริ่มจากรู้ภูมิหลัง รู้ภูมิธรรม ของผู้เรียน กำหนดเนื้อหาการสอนให้เหมาะสมกับผู้เรียน ทรงใช้วิธีการสอน รูปแบบการ สอน สื่อประกอบการสอน ความพร้อมของผู้เรียน และประเมินผลการสอนด้วย พระองค์เอง หลังจากทรงพิจารณาเป้าหมายการสอนทุกคน ซึ่งผู้เรียบเรียงขอยกตัวอย่าง รูปแบบพุทธนวัตกรรมการสอนพระสาวกที่สำคัญในสมัยนั้นเพราะเป็นผู้เลิศด้วยปัญญามา ประกอบการนำเสนอดังต่อไปนี้ เมื่อจะกล่าวถึงการสอน จะมีองค์ประกอบที่สำคัญ คือ สอนใคร คือผู้เรียน สอนอะไร คือเนื้อหาการสอน สอนอย่างไร คือ วิธีการสอนหรือรูปแบบการสอน ใช้สื่อ อะไรช่วยสอน และผลการสอนเป็นอย่างไร คือการวัดและประเมินผล สุดท้ายผู้เรียนได้รับ ความรู้และนำความรู้ไปสร้างประโยชน์อะไรให้กับตนเองและคนอื่นอย่างไร ดังนั้นการ สอนให้มีเป้าหมายชัดเจนคือ การหลุดพ้นจากความทุกข์ได้พบความจริง ดังที่กล่าวว่า มืด 7 ดูรายละเอียดใน อภิ.ปุ. (ไทย) 36/148-151/186-187.


91 89 มาก็สว่างไป หรือจุดไฟในมืดให้สว่างไสว ถ้าครูทำได้อย่างนี้กล่าวว่าสุดยอดการสอนที่ดีดัง ภาพประกอบการออกแบบการสอนดังนี้ ภาพที่ 3.1 การออกแบบการสอนสู่การพัฒนาปัญญาและมีความสุข ที่มา : สรุปพระไตรปิฎก อภิ.ปุ. (ไทย) 36/148-151/186-187 ประยุกต์นำไปสู่การสอนให้ ผู้เรียนมีความสุขและอยากเรียนวิชานั้นด้วยความกระตือรือร้นด้วยใจเปิกบาน โดย สังเคราะห์ของผู้เขียน (2564) สรุปสุมน อมรวิวัฒน์ (2530) 8 ชัยวัฒน์ สุทธิวัฒน์ (2561) 9 แนวทาวการจัดการ เรียนรู้มี มี 3 ขั้น 1.ชั้นนำ 2.ขั้นสอน 3.ขั้นสรุปซึ่งมีรายละเอียดดังต่อต่อไปนี้ 1.ขั้นนำ การสร้างทัศคติให้ถูกต้องของครูในการจัดการเรียนการสอน ก.การจัดบรรยากาศในชั้นเรียนให้เหมาะสม 1.1 เลือกพิจารณาระดับชั้นเรียน 8 สุมน อมรวิวัฒน์, การโดยสร้างศรัทธาและโยนิโสมนสิการ,กรุงเทพฯ โอ เอสพริ้นติ้งเฮ้าส์ (2530) 9 ชัยวัฒน์ สุทธิวัฒน์ ,๘๐ นวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนรั้เน้นผู้เรียนเป็น เป็นสำคัญ, พี บาลานซ์ดีไซด์ แอนปริ้นติ้ง ผลนนทบุบุรี พิมพ์ครั้งที่๘ ๒๕๖๑ หน้า๑๕๔ พุทธนวัตกรรม การสอน ผลการสอน และการนำความรู้ไปสร้างสรรค์ ประโยชน์ วิธีการสอน/รูปแบบการสอน/ สื่อการเสนอ/วัดและการประเมนผล พัฒนาปัญญา/ ความสุข เข้าใจธรรมชาติ ผู้เรียน


92 90 1.2 วัยของผู้เรียน 1.3 วิธีการเรียนการสอนที่เหมาะสมกับชั้นเรียน 1.4 เนื้อหาสาระที่จะสอน ข.การพัฒนาบคลิกภาพครู อาจารย์ และสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างครูกับศิษย์ 1.บุคลิกภาพทางกายภาพ มีความสะอาด สว่าง สงบ 2.มีสุขภาพจิตดี 3.ครู อาจารย์ ต้องเป็นกัลยาณมิตรที่ดีด้วยเมตตา สร้างศรัทธา ให้ผู้เรียนใคร่อยาก เรียนรู้ ค.เสนอสิ่งเร้าและแรงจูงใจแก่ผูเรียน 1.ใช้สื่อการสอนที่ทันสมัยเหมะสมกับวัยและระดับชั้นเรียน 2.จัดกิจกรรมที่ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม น่าสนใจตามเนื้อหา 3.ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองในช่องทางที่ถนัดอย่างเหมาะสมกับวัยตามระดับชั้น เรียน 2.ขั้นสอน 1.ครู อาจารย์เสนอปัญหาที่ผ้เรียนสนใจและทันสมัย 2. ครู อาจารย์แนะนำแหล่งข้อแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย 3.จัดกิจกรรมที่เร้าใจให้เกิดการความคิดคิดด้วยวิธีการที่หลากหลายในเรียนรู้ ต่อยอดในรูปแบบต่างๆ 4.ควรให้ผู้เรียนลงชื่อในการเรียนรูด้วยตนเอง 5.สรุปประเด็นในการนำเสนอเพื่อเปิดฝดอกาสให้การแปลเปลียนเรียนรู้ซึ่งกัน และกัน 6.ประเมินผลงานและการนำเสนอเพื่อเปิดโอกาสให้ผูเรียนได้แสดงความ คิดเห็นแลกเปลียนเรียนรู้ต่อกัน 3.ขั้นสรุป ให้ผู้ทรงคุณวุฒิหรือ ครู อาจารย์ ผู้สอนเสนอแนะจากผลงานการนำเสนอ ของผูเรียนได้ไปปรับอ้างมราปรุงเนื้อหาสาระเพิ่ม หรือภาพประกอยกิจกรรมให้ชัด ตลอด ถึงการอ้างอิงให้ถูกต้องโดยเฉพาะทฤษฏี หรือ แนวคิด พร้อมกับบูรณาการกับหลักพุทธ ธรรมชุดใดก็ให้อ้างที่มาในพระไตรปิฎกเบื้องต้นในปฐมภูมิเพื่อนำไปสู่การปฏิบัติจริงที่ สมบูรณ์ต่อไป


93 91 3.2 พุทธวิถีการสอนโดยเข้าใจธรรมชาติของผู้เรียน ขอยกกรณีพระสาวกที่เป็นเลิศทางปัญญาที่พระพุทธเจ้าทรงสอนด้วยพระองค์เอง เป็นแบบอย่างของพุทธวิถีการสอนโดยเข้าใจธรรมชาติผู้เรียนอาทิเช่น พระอัญญาโกณฑัญญ เถระ พระอุรุเวลกัสสปะและพระสารีบุตรเถระ จากผลการวิจัยของ สิน งามประโคน ซึ่งสอดคล้องกับหลักคิดการสอนในศตวรรษที่21ด้วยการเรียนรู้ตลอดชีวิต ดังนี้ กรณีที่ 1 พระอัญญาโกณฑัญญะเถระได้ชื่อว่า เป็นพระสงฆ์องค์แรกในโลก เดิมท่านเป็นบุตรพราหมณ์มหาศาลเกิดในบ้านโทณวัตถุกรุงกบิลพัสดุ์มีความรู้ด้านไตรเพท และเชี่ยวชาญในลักษณมนต์คือมนต์ทำนายลักษณะเมื่อเจ้าชายสิทธัตถราชกุมารประสูติได้ 5 วัน พระเจ้าสุทโทนะโปรดให้เชิญพราหมณ์108 คนมาเลี้ยงโภชนาหารในพระราชพิธี ทำนายพระลักษณะและขนานพระนามตามขัตติยราชประเพณีแล้วรับสั่งให้เลือกพราหมณ์ 8 คนจากพราหมณ์ทั้งหมดเพื่อทำนายพระลักษณะสมัยนั้น พระอัญญาโกณฑัญญะเถระเป็นนักบวชปัญจวัคคีย์ตั้งใจฟังธรรมเทศนาโดยความ เคารพพระพุทธองค์จึงแสดงพระธรรมเทศนาชื่อ ธัมมจักกัปปวัตตนสูตรซึ่งเป็นเทศนา กัณฑ์แรก ได้ดวงตาเห็นธรรม ด้วยเนื้อหาที่ว่า “สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งนั้นทั้งหมดย่อมมีความดับไปเป็นธรรมดา”10 ผลการสอนหลังจากที่พระอัญญาโกณฑัญญะได้บรรลุธรรมเป็นพระอรหันต์ 1. เป็นพุทธสาวกคนแรกที่บรรลุอริยธรรม 2. เป็นภิกษุสาวกผู้เลิศด้วยรู้ราตรีนาน (รัตตัญญู) ดังที่ตรัสว่า “ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บรรดาภิกษุสาวกของเราผู้รัตตัญญูผู้รู้ราตรีนานอัญญาโกณฑัญญะเป็นเลิศ”11 ดังนี้ 3. เป็นผู้ถ่อมตนไม่มีมานะ (ความถือตน) 12 4. ท้าวสักกเทวราช ประกาศความเลื่อมใสของพระองค์ต่อพระเถระภายหลังฟัง ธรรมของท่านว่า “ข้าพเจ้าได้ฟังธรรมมีรสอันประเสริฐจึงเกิดความเลื่อมใสอย่างยิ่งธรรมอัน คลายความกำหนัดเพราะไม่ยึดถือมั่นโดยประการทั้งปวงพระผู้เป็นเจ้าได้แสดงแล้ว”13 จากการฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าของพระอัญญาโกณฑัญญะนั้นท่านได้ใช้ ประสาทสัมผัสในการรับฟังและการเรียนรู้ด้วยความสนใจ ตั้งใจฟังซึ่งเป็นส่วนสำคัญของการ 10ดูรายละเอียดใน วิ.ม. 4 (ไทย) 4/10-24/15-31, องฺ.เอกก. (ไทย) 20/188/25, วิ.ม.อ. (ไทย) 3/10-24/21-25, องฺ.เอกก.อ. (ไทย) 1/188/157-170, ขุ.เถร.อ. (ไทย) 2/358-370. 11ดูรายละเอียดใน องฺ.เอกก. (ไทย) 20/188/25. 12ดูรายละเอียดใน ขุ.เถร. (ไทย) 26/1255-1257/544. 13ดูรายละเอียดในขุ.เถร. (ไทย) 26/673/455 91 3.2 พุทธวิถีการสอนโดยเข้าใจธรรมชาติของผู้เรียน ขอยกกรณีพระสาวกที่เป็นเลิศทางปัญญาที่พระพุทธเจ้าทรงสอนด้วยพระองค์เอง เป็นแบบอย่างของพุทธวิถีการสอนโดยเข้าใจธรรมชาติผู้เรียนอาทิเช่น พระอัญญาโกณฑัญญ เถระ พระอุรุเวลกัสสปะและพระสารีบุตรเถระ จากผลการวิจัยของ สิน งามประโคน ซึ่งสอดคล้องกับหลักคิดการสอนในศตวรรษที่21ด้วยการเรียนรู้ตลอดชีวิต ดังนี้ กรณีที่ 1 พระอัญญาโกณฑัญญะเถระได้ชื่อว่า เป็นพระสงฆ์องค์แรกในโลก เดิมท่านเป็นบุตรพราหมณ์มหาศาลเกิดในบ้านโทณวัตถุกรุงกบิลพัสดุ์มีความรู้ด้านไตรเพท และเชี่ยวชาญในลักษณมนต์คือมนต์ทำนายลักษณะเมื่อเจ้าชายสิทธัตถราชกุมารประสูติได้ 5 วัน พระเจ้าสุทโทนะโปรดให้เชิญพราหมณ์108 คนมาเลี้ยงโภชนาหารในพระราชพิธี ทำนายพระลักษณะและขนานพระนามตามขัตติยราชประเพณีแล้วรับสั่งให้เลือกพราหมณ์ 8 คนจากพราหมณ์ทั้งหมดเพื่อทำนายพระลักษณะสมัยนั้น พระอัญญาโกณฑัญญะเถระเป็นนักบวชปัญจวัคคีย์ตั้งใจฟังธรรมเทศนาโดยความ เคารพพระพุทธองค์จึงแสดงพระธรรมเทศนาชื่อ ธัมมจักกัปปวัตตนสูตรซึ่งเป็นเทศนา กัณฑ์แรก ได้ดวงตาเห็นธรรม ด้วยเนื้อหาที่ว่า “สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งนั้นทั้งหมดย่อมมีความดับไปเป็นธรรมดา”10 ผลการสอนหลังจากที่พระอัญญาโกณฑัญญะได้บรรลุธรรมเป็นพระอรหันต์ 1. เป็นพุทธสาวกคนแรกที่บรรลุอริยธรรม 2. เป็นภิกษุสาวกผู้เลิศด้วยรู้ราตรีนาน (รัตตัญญู) ดังที่ตรัสว่า “ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บรรดาภิกษุสาวกของเราผู้รัตตัญญูผู้รู้ราตรีนานอัญญาโกณฑัญญะเป็นเลิศ”11 ดังนี้ 3. เป็นผู้ถ่อมตนไม่มีมานะ (ความถือตน) 12 4. ท้าวสักกเทวราช ประกาศความเลื่อมใสของพระองค์ต่อพระเถระภายหลังฟัง ธรรมของท่านว่า “ข้าพเจ้าได้ฟังธรรมมีรสอันประเสริฐจึงเกิดความเลื่อมใสอย่างยิ่งธรรมอัน คลายความกำหนัดเพราะไม่ยึดถือมั่นโดยประการทั้งปวงพระผู้เป็นเจ้าได้แสดงแล้ว”13 จากการฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าของพระอัญญาโกณฑัญญะนั้นท่านได้ใช้ ประสาทสัมผัสในการรับฟังและการเรียนรู้ด้วยความสนใจ ตั้งใจฟังซึ่งเป็นส่วนสำคัญของการ 10ดูรายละเอียดใน วิ.ม. 4 (ไทย) 4/10-24/15-31, องฺ.เอกก. (ไทย) 20/188/25, วิ.ม.อ. (ไทย) 3/10-24/21-25, องฺ.เอกก.อ. (ไทย) 1/188/157-170, ขุ.เถร.อ. (ไทย) 2/358-370. 11ดูรายละเอียดใน องฺ.เอกก. (ไทย) 20/188/25. 12ดูรายละเอียดใน ขุ.เถร. (ไทย) 26/1255-1257/544. 13ดูรายละเอียดในขุ.เถร. (ไทย) 26/673/455


94 92 บรรลุธรรมของท่าน ผู้เรียบเรียงจึงสังเคราะห์พุทธนวัตกรรมการสอนสามารถนำไปประยุกต์ การสอนได้ ดังภาพที่ 3.2 ต่อไปนี้ การเรียนรู้ผ่าน อายตนะภายใน การเรียนรู้ผ่าน อายตนะภายนอก เนื้อหาสาระ/กิจกรรม การสอน/สื่อการสอน/ การวัดและประเมินผล ผลการเรียนรู้ จักขุ (ตา) รูป(รูป) เนื้อหา/วิชาที่สอน/สื่อ การสอน/เทคนิคการสอน ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วย ตนเองผ่านอายนะ ภายในและนอก โดย ครู อาจารย์เป็นโค้ช ค่อยให้คำปรึกษา แนะนำให้ ผู้เรียนมีความสุข โสตะ(หู) สัททะ (เสียง) ฆานะ (จมูก) คันธะ (กลิ่น) ชิวหา (ลิ้น) รส (รส) กาย (กาย) โผฏฐัพพะ (สิ่งต้องกาย) มโน (ใจ) ธรรมารมณ์ (อารมณ์ที่ เกิดกับใจหรือสิ่งที่ใจรู้) ภาพที่ 3.2 ประยุกต์จากพุทธวิถีการสอนโดยเข้าใจธรรมชาติของพระอัญญาโกณฑัญญะ ที่มา: มาจากผลการวิจัยของ สิน งามประโคน, การวิเคราะห์พุทธวิธีการสื่อสารเพื่อการ เผยแพร่พระพุทธศาสนา (พ.ศ. 2559 : 89) พุทธวิถีการสอนโดยเข้าใจธรรมชาติของผู้เรียนของพระพุทธเจ้า 1. พระอัญญาโกณฑัญญะได้เรียนรู้ใช้อายตนะภายในด้านมโน (ใจ) รับรู้ผ่าน ธรรมารมณ์ (อารมณ์ที่เกิดกับใจหรือสิ่งที่ใจรู้) 2. พิจารณาธรรมคือ ธัมมจักกัปปวัตนสูตร โดยมีผลที่เกิดคือได้ ธรรมจักษุ (ดวงตา เห็นธรรม) ได้เกิดแก่โกณฑัญญะว่า “สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดาสิ่งนั้นทั้งหมด ย่อมมีความดับไปเป็นธรรมดา” 3. เกิดปัญญาแจ่มแจ้งในความจริงภายในจิตของพระอัญญาโกณฑัญญะ พุทธนวัตกรรมการสอนจะเห็นชัดว่าเริ่มจากการสร้างศรัทธากับผู้เรียน กระบวน การเรียนจะเกิดกับผู้เรียนคือ ตั้งใจฟัง เข้าใจชัดตามเนื้อหาที่สอน พิจารณาด้วยเหตุและผล เกิดปัญญาแจ่มแจ้งในเนื้อหาตามความจริงแท้ เมื่อนำพุทธวิถีการสอนพระอัญญาโกณฑัญญะมาประยุกต์ใช้สอนในยุคศตวรรษที่ 21 92 บรรลุธรรมของท่าน ผู้เรียบเรียงจึงสังเคราะห์พุทธนวัตกรรมการสอนสามารถนำไปประยุกต์ การสอนได้ ดังภาพที่ 3.2 ต่อไปนี้ การเรียนรู้ผ่าน อายตนะภายใน การเรียนรู้ผ่าน อายตนะภายนอก เนื้อหาสาระ/กิจกรรม การสอน/สื่อการสอน/ การวัดและประเมินผล ผลการเรียนรู้ จักขุ (ตา) รูป(รูป) เนื้อหา/วิชาที่สอน/สื่อ การสอน/เทคนิคการสอน ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วย ตนเองผ่านอายนะ ภายในและนอก โดย ครู อาจารย์เป็นโค้ช ค่อยให้คำปรึกษา แนะนำให้ ผู้เรียนมีความสุข โสตะ(หู) สัททะ (เสียง) ฆานะ (จมูก) คันธะ (กลิ่น) ชิวหา (ลิ้น) รส (รส) กาย (กาย) โผฏฐัพพะ (สิ่งต้องกาย) มโน (ใจ) ธรรมารมณ์ (อารมณ์ที่ เกิดกับใจหรือสิ่งที่ใจรู้) ภาพที่ 3.2 ประยุกต์จากพุทธวิถีการสอนโดยเข้าใจธรรมชาติของพระอัญญาโกณฑัญญะ ที่มา: มาจากผลการวิจัยของ สิน งามประโคน, การวิเคราะห์พุทธวิธีการสื่อสารเพื่อการ เผยแพร่พระพุทธศาสนา (พ.ศ. 2559 : 89) พุทธวิถีการสอนโดยเข้าใจธรรมชาติของผู้เรียนของพระพุทธเจ้า 1. พระอัญญาโกณฑัญญะได้เรียนรู้ใช้อายตนะภายในด้านมโน (ใจ) รับรู้ผ่าน ธรรมารมณ์ (อารมณ์ที่เกิดกับใจหรือสิ่งที่ใจรู้) 2. พิจารณาธรรมคือ ธัมมจักกัปปวัตนสูตร โดยมีผลที่เกิดคือได้ ธรรมจักษุ (ดวงตา เห็นธรรม) ได้เกิดแก่โกณฑัญญะว่า “สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดาสิ่งนั้นทั้งหมด ย่อมมีความดับไปเป็นธรรมดา” 3. เกิดปัญญาแจ่มแจ้งในความจริงภายในจิตของพระอัญญาโกณฑัญญะ พุทธนวัตกรรมการสอนจะเห็นชัดว่าเริ่มจากการสร้างศรัทธากับผู้เรียน กระบวน การเรียนจะเกิดกับผู้เรียนคือ ตั้งใจฟัง เข้าใจชัดตามเนื้อหาที่สอน พิจารณาด้วยเหตุและผล เกิดปัญญาแจ่มแจ้งในเนื้อหาตามความจริงแท้ เมื่อนำพุทธวิถีการสอนพระอัญญาโกณฑัญญะมาประยุกต์ใช้สอนในยุคศตวรรษที่ 21


95 93 ภาพที่3.3 ประยุกต์พุทธวิถีการสอนใช้สำหรับการสอนในยุคศตวรรษที่ 21 มาจาก : พุทธวิถีการสอนพระอัญญาโกณฑัญญะ โดยสังเคราะห์ของผู้เขียน (2564) สรุป พุทธวิถีการสอนพระอัญญาโกณฑัญญะมาประยุกต์ใช้สอนในยุคศตวรรษ ที่21 1. ครูสอนต้องตระหนักถึง ภูมิรู้ ภูมิธรรมของผู้เรียนเดิมเพื่อปรับสู่ความรู้ใหม่ 2. ตั้งเป้าหมายให้ตรงความต้องการของผู้เรียนที่คาดหวังจากเนื้อหาการเรียนใน แต่ละระดับชั้น 3. เลือกสถานที่และสื่อที่เหมาะสมกับยุคสมัยในปัจจุบัน 4. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนถามคำถามและแสดงทัศนะ 5. ประเมินการสอนด้วยการสังเกตพฤติกรรมผู้เรียน 6. นำผลการประเมินช่วยพัฒนาผู้เรียนเป็นรายบุคคล 7. คุณค่าที่สำคัญยิ่งของครูในศตวรรษที่ 21 คือ การทำหน้าที่ตรวจสอบความ เข้าใจผิด ๆ ของนักศึกษาเพื่อหาทางพัฒนาความรู้ใหม่ที่ถูกต้องในอนาคต14 กรณีที่ 2 พระอุรุเวลกัสสปะเป็นพี่น้องร่วมสายโลหิตเดียวกันทั้ง 3 คนพี่น้องโดย อุรุเวลกัสสปะมีบริวารมากจำนวน 500 คน นทีกัสสปะมีบริวาร 300 คน คยากัสสปะมี บริวาร 200 คน รวมเป็นจำนวน 1,003 คน พระพุทธเจ้าได้ทรงประทับอยู่อาศรมของอุรุเวลกัสสปะนี้เป็นเวลา 2 เดือนเต็ม แล้วได้ทรงแสดงฤทธิ์ต่าง ๆ นานา เพื่อทำลายทิฏฐิความถือตัวของอุรุเวลกัสสปะ แต่ไม่ได้ ผลเพราะว่าพระองค์จะแสดงฤทธิ์อย่างไร อุรุเวลากัสสปะก็ยังถือตัวอยู่อย่างเดิมพระ 14ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช, การเรียนรู้เกิดขึ้นอย่างไร, พิมพ์ครั้งที่ 3, (กรุงเทพมหานคร: เอส.อาร์ พริ้นติ้ง แมสโปรดักส์, 2562), หน้า 26. ครูสอนต้องตระหนักถึง ภูมิรู้ ภูมิธรรมของผู้เรียน เนื้อหาที่เหมาะสม กับระดับชั้นเรียน เทคนิคการสอน การเรียนรู้ด้วยตนเอง ผ่านแหล่งเรียนรู้ อายตนะภายใน นอก เข้าถึงข้อมูล จริงด้วย ปัญญา


96 94 พุทธองค์จึงได้ตรัสเตือนตรงๆว่า “อุรุเวลกัสสปะท่านหาได้เป็นพระอรหันต์ไม่และลัทธิที่นับ ถืออยู่นี้ก็ยังห่างไกลความเป็นพระอรหันต์ยิ่งนัก ถึงกระนั้นท่านก็ยังดื้อดึงหลอกตัวเองและ ผู้อื่นว่าเป็นพระอรหันต์แต่ถ้าหากท่านจักเชื่อฟังและปฏิบัติตามคำของเราไม่นานก็จะได้ บรรลุอรหันต์แน่นอน” อุรุเวลกัสสปะได้ฟังดังนั้นแล้วก็เกิดความสลดสังเวชใจก้มลงกราบ แทบพระบาทแล้วพาบริวารถอดชฎาและบริขารพร้อมเครื่องอุปกรณ์บูชาไฟลอยลงแม่น้ำ แล้วทูลขออุปสมบท พระพุทธเจ้าทรงแสดงพระธรรมชื่ออาทิตตปริยายสูตรสูตรที่ว่าด้วย การอุปมากิเลสเหมือนไฟที่เผาลนจิตใจซึ่งเหมาะกับอุปนิสัยของชฏิลที่นับถือการบูชาไฟ ภิกษุเหล่านั้นส่งใจไปตามกระแส่แห่งพระธรรมเทศนาจิตก็หลุดพ้นจากกิเลสอาสวะสำเร็จ เป็นพระอรหันต์พร้อมกันทั้งหมด15 ผลการสอนพระอุรุเวลกัสสปะเถระ16 พบว่า เป็นผู้เลิศ ทางมีบริษัทบริวารมาก จากการฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าของพระอุรุเวลกัสสปะเถระนั้นท่านได้ใช้ ประสาทในการรับฟังซึ่งเป็นส่วนสำคัญของการบรรลุธรรมของท่าน ผู้เรียบเรียงสังเคราะห์ พุทธนวัตกรรมการสอนได้ดังภาพที่ 3.4 ดังนี้ การเรียนรู้ผ่าน อายตนะภายใน การเรียนรู้ผ่าน อายตนะภายนอก เนื้อหาสาระ/กิจกรรม/ สื่อการสอน/วัดผลและ ประเมินผล ผลการเรียนรู้ จักขุ (ตา) รูป(รูป) เนื้อหาวิชา/วิธีการสอน/ เทคนิคการสอนโดยเน้น ผู้เรียนที่มีประสบการณ์การ ทำงานแบบเดิม เสริมกับ เทคนิคแบบใหม่ทำให้ผู้เรียน เข้าใจง่ายขึ้น ใช้อายตนะคือจักขุ (นัยน์ตา) โสตะ (หู) ฆานะ (จมูก) ชิวหา (ลิ้น) โผฏฐัพพะ (อารมณ์ที่พึงถูกต้อง ด้วยกาย) มโน (ใจ) เป็นกระบวนการ พัฒนาการเรียนรู้ให้ ทันสมัยใหม่ง่ายขึ้น โสตะ(หู) สัททะ (เสียง) ฆานะ (จมูก) คันธะ (กลิ่น) ชิวหา (ลิ้น) รส (รส) กาย (กาย) โผฏฐัพพะ (สิ่งต้องกาย) มโน (ใจ) ธรรมารมณ์ (อารมณ์ที่ เกิดกับใจหรือสิ่งที่ใจรู้) ภาพที่ 3.4 ประยุกต์จากพุทธนวัตกรรมการสอนแก่พระอุรุเวลกัสสปะ ที่มา : มาจาก สิน งามประโคน, การวิเคราะห์พุทธวิธีการสื่อสารเพื่อการเผยแพร่ พระพุทธศาสนา (พ.ศ. 2559 : 92) ประยุกต์ใช้ในการสอนยุคศตวรรษที่ 21 15ดูรายละเอียดใน วิ.ม. (ไทย) 4/37-54/47-65. 16ดูรายละเอียดใน องฺ.เอกก. (ไทย) 20/224/29.


97 95 สรุป พุทธนวัตกรรมการสอนของพระพุทธเจ้าที่ได้แสดงแก่พระอุรุเวลกัสสปะ เถระมาประยุกต์ใช้สอนในยุคศตวรรษที่ 21 1. เกิดการเรียนรู้ผ่านการใช้อายตนะภายในด้านมโน (ใจ) รับรู้ผ่านธรรมารมณ์ (อารมณ์ที่เกิดกับใจหรือสิ่งที่ใจรู้) 2. พิจารณาธรรมคือ อาทิตตปริยายสูตร โดยมีผลที่เกิดคือได้บรรลุพระอรหันต์ ด้วยการพิจารณาสิ่งทั้งปวงคือจักขุ (นัยน์ตา) โสตะ (หู) ฆานะ (จมูก) ชิวหา (ลิ้น) โผฏฐัพพะ (อารมณ์ที่พึงถูกต้องด้วยกาย) มโน (ใจ) เป็นของร้อน ร้อนเพราะไฟคือราคะ โทสะและ โมหะร้อนด้วยทุกข์มีชาติชราและมรณะเป็นต้น 3. พุทธนวัตกรรมนี้พบว่า พระพุทธเจ้าทรงสอนตามความรู้พื้นฐานเดิมที่พวกเขา เชื้อให้เห็นความแตกต่างที่เห็นคุณค่าดีกว่าเดิมจนทำให้ผู้เรียน เกิดศรัทธา และตั้งใจฟังการ สอน พิจารณาด้วยเหตุและผล เข้าใจชัดด้วยปัญญาตนเอง 4. พุทธนวัตกรรมการสอนชุดนี้สามารถนำไปสร้างเนื้อหาโดยใช้เทคโนโลยีมาช่วย สอนกลุ่มนักศึกษาระดับมหาบัณฑิตและดุษฎีบัณฑิตซึ่งบางสาขา พบว่าผู้เรียนมีความรู้ พื้นฐานจากประสบการณ์ดีมาก อาจารย์ผู้สอนต้องเลือกเทคนิคการสอนที่ทันสมัย โดยการ ประยุกต์พุทธนวัตกรรมชุดนี้ที่พระพุทธองค์ทรงสอนคนระดับอาจารย์ที่เก่งสมัยนั้นมาเป็น ทางเลือกสอนในสมัยนี้ได้เป็นอย่างดีซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของ ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช เสนอว่าครูในศตวรรษที่ 21 กรณีที่ความรู้เดิมของนักศึกษาไม่ถูกต้องสมบูรณ์ต้องปฏิบัติดังนี้ 1. ประเมินความรู้เดิมของนักศึกษา ตรวจหาความรู้เดิมที่ผิดพลาดในส่วนที่ เกี่ยวข้องกับรายวิชาที่นักศึกษากำลังเรียน 2. กระตุ้นความรู้เดิมที่ถูกต้องของนักศึกษาเพื่อปรับจูนทัศคติใหม่ 3. ตรวจสอบความรู้เดิมที่ยังบกพร่องถึงสาเหตุและเสนอแนวทางใหม่ 4. ช่วยนักศึกษาหลีกเลี่ยงการประยุกต์ความรู้เดิมผิด ๆ คือไม่เหมาะสม ต่อบริบท 5. เสนอแนวทางใหม่ช่วยให้นักศึกษาแก้ไขความรู้ผิด ๆ ของตน กรณีที่3 พระสารีบุตรเถระเป็นพระมหาสาวกผู้ที่มีบทบาทสำคัญอีกรูปหนึ่งคือเป็น พระอัครสาวกเบื้องขวาและเป็นแม่ทัพในการประกาศพระพุทธศาสนามีปัญญาแตกฉาน และมีความรอบรู้ในธรรมจนได้รับยกย่องให้เป็นเอตทัคคะด้านผู้มีปัญญามากและเป็นพระ ธรรมเสนาบดีและพระสารีบุตรเคารพพระอัสสชิผู้เป็นอาจารย์เป็นแบบอย่างของศิษย์ที่ดีถึง ปัจจุบัน ผลจากที่พระสารีบุตรเถระได้ฟังธรรมจากพระพุทธเจ้า ดังนี้ 1. เป็นผู้แสดงธรรมาก รองจากพระสัมมาสัมพุทธเจ้า 96 2. เป็นผู้ริเริ่มการจัดหมวดหมู่แห่งธรรมไม่ให้กระจัดกระจายเพื่อสะดวกการจดจำ อันเป็นแนวทางการสังคายนาในกาลต่อมา (สังคีติสูตร ว่าด้วยการสังคายนา17 ทสุตตร สูตร ว่าด้วยธรรม 1 ถึง 10 ประการ18) 3. เป็นคนแรกที่ฟังอภิธรรม 7 คัมภีร์จากพระศาสดาและถ่ายทอดธรรมนั้นแก่ เหล่าศิษย์ของท่าน19 4. เป็นผู้ที่สงฆ์สมมติให้ประกาศถึงความไม่เกี่ยวข้องระหว่างพระเทวทัตกับพระ ศาสนาหลังจาก พระเทวทัตกราบทูลขอเป็นผู้ปกครองสงฆ์ทั้งหมดแทนพระพุทธเจ้าและ ร่วมกับพระโมคคัลลานะนำภิกษุ500 รูปที่ติดตามพระเทวทัตกลับพระเวฬุวันมหาวิหาร สำเร็จ 5. เป็นผู้มีความกตัญญูดังจะเห็นได้จากการรับเป็นอุปัชฌาย์ให้กับพระราธะผู้เคย ถวายบิณฑบาตแก่ท่านหนึ่งทัพพีและการแสดงธรรมแก่มารดา 6. พระศาสดาทรงยกย่องพระสารีบุตรว่า “ดูก่อนภิกษุทั้งหลายสารีบุตรเป็นบัณฑิต เป็นผู้มีปัญญามากเป็นผู้มีปัญญากว้างขวางเป็นผู้มีปัญญาร่าเริงเป็นผู้มีปัญญาว่องไวเป็นผู้มี ปัญญาแหลมคมเป็นผู้มีปัญญาเครื่องชำแรกกิเลส” จากการฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าของพระสารีบุตรเถระนั้นท่านได้ใช้ประสาทใน การรับฟังซึ่งเป็นส่วนสำคัญของการบรรลุธรรมของท่าน ผู้เรียบเรียงสังเคราะห์พุทธ นวัตกรรมการสอนเสนอไปประยุกต์ใช้ในการสอนในสถานการณ์ปัจจุบันได้ดังภาพที่ 3.5 ดังนี้ การเรียนรู้ผ่าน อายตนะภายใน การเรียนรู้ผ่าน อายตนะภายนอก เนื้อหาสาระ/กิจกรรม/ สื่อการสอน/วัดผลและ ประเมินผล ผลการเรียนรู้ จักขุ (ตา) รูป(รูป) เนื้อหา สอนอะไร มีวิธีการ สอนอย่างไร จึงทำให้ ผู้เรียน อยากเรียนรู้ ใช้สื่อ การสอนอะไร คนเก่ง จึง พอใจ ครู อาจารย์สอนด้วย การนำเสนอคำถาม ให้ผู้เรียนแสวงหา คำตอบด้วยตนเอง ผู้สอนเป็นโค้ชให้ คำแนะนำ ผลการ โสตะ(หู) สัททะ (เสียง) ฆานะ (จมูก) คันธะ (กลิ่น) ชิวหา (ลิ้น) รส (รส) กาย (กาย) โผฏฐัพพะ (สิ่งต้องกาย) มโน (ใจ) ธรรมารมณ์ (อารมณ์ที่ 17ดูรายละเอียดใน ที.ปา. (ไทย) 11/296-349/247-366. 18ดูรายละเอียดใน ที.ปา. (ไทย) 11/350-360/368-438. 19ดูรายละเอียดใน อภิ.สงฺ.อ. (ไทย) 75/38-40.


98 96 2. เป็นผู้ริเริ่มการจัดหมวดหมู่แห่งธรรมไม่ให้กระจัดกระจายเพื่อสะดวกการจดจำ อันเป็นแนวทางการสังคายนาในกาลต่อมา (สังคีติสูตร ว่าด้วยการสังคายนา17 ทสุตตร สูตร ว่าด้วยธรรม 1 ถึง 10 ประการ18) 3. เป็นคนแรกที่ฟังอภิธรรม 7 คัมภีร์จากพระศาสดาและถ่ายทอดธรรมนั้นแก่ เหล่าศิษย์ของท่าน19 4. เป็นผู้ที่สงฆ์สมมติให้ประกาศถึงความไม่เกี่ยวข้องระหว่างพระเทวทัตกับพระ ศาสนาหลังจาก พระเทวทัตกราบทูลขอเป็นผู้ปกครองสงฆ์ทั้งหมดแทนพระพุทธเจ้าและ ร่วมกับพระโมคคัลลานะนำภิกษุ500 รูปที่ติดตามพระเทวทัตกลับพระเวฬุวันมหาวิหาร สำเร็จ 5. เป็นผู้มีความกตัญญูดังจะเห็นได้จากการรับเป็นอุปัชฌาย์ให้กับพระราธะผู้เคย ถวายบิณฑบาตแก่ท่านหนึ่งทัพพีและการแสดงธรรมแก่มารดา 6. พระศาสดาทรงยกย่องพระสารีบุตรว่า “ดูก่อนภิกษุทั้งหลายสารีบุตรเป็นบัณฑิต เป็นผู้มีปัญญามากเป็นผู้มีปัญญากว้างขวางเป็นผู้มีปัญญาร่าเริงเป็นผู้มีปัญญาว่องไวเป็นผู้มี ปัญญาแหลมคมเป็นผู้มีปัญญาเครื่องชำแรกกิเลส” จากการฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าของพระสารีบุตรเถระนั้นท่านได้ใช้ประสาทใน การรับฟังซึ่งเป็นส่วนสำคัญของการบรรลุธรรมของท่าน ผู้เรียบเรียงสังเคราะห์พุทธ นวัตกรรมการสอนเสนอไปประยุกต์ใช้ในการสอนในสถานการณ์ปัจจุบันได้ดังภาพที่ 3.5 ดังนี้ การเรียนรู้ผ่าน อายตนะภายใน การเรียนรู้ผ่าน อายตนะภายนอก เนื้อหาสาระ/กิจกรรม/ สื่อการสอน/วัดผลและ ประเมินผล ผลการเรียนรู้ จักขุ (ตา) รูป(รูป) เนื้อหา สอนอะไร มีวิธีการ สอนอย่างไร จึงทำให้ ผู้เรียน อยากเรียนรู้ ใช้สื่อ การสอนอะไร คนเก่ง จึง พอใจ ครู อาจารย์สอนด้วย การนำเสนอคำถาม ให้ผู้เรียนแสวงหา คำตอบด้วยตนเอง ผู้สอนเป็นโค้ชให้ คำแนะนำ ผลการ โสตะ(หู) สัททะ (เสียง) ฆานะ (จมูก) คันธะ (กลิ่น) ชิวหา (ลิ้น) รส (รส) กาย (กาย) โผฏฐัพพะ (สิ่งต้องกาย) มโน (ใจ) ธรรมารมณ์ (อารมณ์ที่ 17ดูรายละเอียดใน ที.ปา. (ไทย) 11/296-349/247-366. 18ดูรายละเอียดใน ที.ปา. (ไทย) 11/350-360/368-438. 19ดูรายละเอียดใน อภิ.สงฺ.อ. (ไทย) 75/38-40. 96 2. เป็นผู้ริเริ่มการจัดหมวดหมู่แห่งธรรมไม่ให้กระจัดกระจายเพื่อสะดวกการจดจำ อันเป็นแนวทางการสังคายนาในกาลต่อมา (สังคีติสูตร ว่าด้วยการสังคายนา17 ทสุตตร สูตร ว่าด้วยธรรม 1 ถึง 10 ประการ18) 3. เป็นคนแรกที่ฟังอภิธรรม 7 คัมภีร์จากพระศาสดาและถ่ายทอดธรรมนั้นแก่ เหล่าศิษย์ของท่าน19 4. เป็นผู้ที่สงฆ์สมมติให้ประกาศถึงความไม่เกี่ยวข้องระหว่างพระเทวทัตกับพระ ศาสนาหลังจาก พระเทวทัตกราบทูลขอเป็นผู้ปกครองสงฆ์ทั้งหมดแทนพระพุทธเจ้าและ ร่วมกับพระโมคคัลลานะนำภิกษุ500 รูปที่ติดตามพระเทวทัตกลับพระเวฬุวันมหาวิหาร สำเร็จ 5. เป็นผู้มีความกตัญญูดังจะเห็นได้จากการรับเป็นอุปัชฌาย์ให้กับพระราธะผู้เคย ถวายบิณฑบาตแก่ท่านหนึ่งทัพพีและการแสดงธรรมแก่มารดา 6. พระศาสดาทรงยกย่องพระสารีบุตรว่า “ดูก่อนภิกษุทั้งหลายสารีบุตรเป็นบัณฑิต เป็นผู้มีปัญญามากเป็นผู้มีปัญญากว้างขวางเป็นผู้มีปัญญาร่าเริงเป็นผู้มีปัญญาว่องไวเป็นผู้มี ปัญญาแหลมคมเป็นผู้มีปัญญาเครื่องชำแรกกิเลส” จากการฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าของพระสารีบุตรเถระนั้นท่านได้ใช้ประสาทใน การรับฟังซึ่งเป็นส่วนสำคัญของการบรรลุธรรมของท่าน ผู้เรียบเรียงสังเคราะห์พุทธ นวัตกรรมการสอนเสนอไปประยุกต์ใช้ในการสอนในสถานการณ์ปัจจุบันได้ดังภาพที่ 3.5 ดังนี้ การเรียนรู้ผ่าน อายตนะภายใน การเรียนรู้ผ่าน อายตนะภายนอก เนื้อหาสาระ/กิจกรรม/ สื่อการสอน/วัดผลและ ประเมินผล ผลการเรียนรู้ จักขุ (ตา) รูป(รูป) เนื้อหา สอนอะไร มีวิธีการ สอนอย่างไร จึงทำให้ ผู้เรียน อยากเรียนรู้ ใช้สื่อ การสอนอะไร คนเก่ง จึง พอใจ ครู อาจารย์สอนด้วย การนำเสนอคำถาม ให้ผู้เรียนแสวงหา คำตอบด้วยตนเอง ผู้สอนเป็นโค้ชให้ คำแนะนำ ผลการ โสตะ(หู) สัททะ (เสียง) ฆานะ (จมูก) คันธะ (กลิ่น) ชิวหา (ลิ้น) รส (รส) กาย (กาย) โผฏฐัพพะ (สิ่งต้องกาย) มโน (ใจ) ธรรมารมณ์ (อารมณ์ที่ 17ดูรายละเอียดใน ที.ปา. (ไทย) 11/296-349/247-366. 18ดูรายละเอียดใน ที.ปา. (ไทย) 11/350-360/368-438. 19ดูรายละเอียดใน อภิ.สงฺ.อ. (ไทย) 75/38-40. 97 เกิดกับใจหรือสิ่งที่ใจรู้) เรียนรู้ได้ผลดีมาก ภาพที่ 3.5 ประยุกต์จากพุทธนวัตกรรมการสอนแก่พระสารีบุตรเถระ ที่มา : มาจาก สิน งามประโคน, การวิเคราะห์พุทธวิธีการสื่อสารเพื่อการเผยแพร่ พระพุทธศาสนา, (พ.ศ. 2559 : 97) ประยุกต์ไปสู่การปฏิบัติจริงสำหรับการสอนในยุค ศตวรรษที่ 21 สรุป หลักการสอนของพระพุทธเจ้ามาสู่การปฏิบัติจริงในยุคพุทธศตวรรษ 26 ปัจจุบัน ก. ครูผู้สอน 1. การสอนที่ดีต้องเริ่มการสร้างศรัทธากับผู้เรียน 2. ครู อาจารย์ต้องมีความรู้ดีในเนื้อหาที่สอนอย่างแท้จริง 3. นวัตกรรมการสอนต้องสอดคล้องกับจริตผู้เรียนตามสถานการณ์ปัจจุบัน 4. ครู อาจารย์ต้องสร้างสภาพแว้ดลอดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียน 5. ครู อาจารย์ต้องเข้าใจความต้องการหรือความคาดหวังของผู้เรียน 6. ประเมินผลผู้เรียนจากการสังเกต การสนทนาและแสดงทัศนคติ 7. นำผลการประเมินมาพัฒนาผู้เรียนเป็นรายบุคคลอย่างจริงจัง ข. ผู้เรียน 1. มีศรัทธาพร้อมเรียน 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. ตั้งใจเรียนด้วยความเคารพ 4. ตั้งคำถามในการเรียนรู้ 5. สภาพแวดล้อมเอื้อต่อการเรียนรู้ซึ่งสอดคล้องกับความคิดของศ.นพ.วิจารณ์ พานิช20 เสนอว่าครูในศตวรรษที่ 21 ต้องสอนนักศึกษาได้เรียนรู้“วิธีการจัดระเบียบ ความรู้ ซึ่งมีผลต่อการเรียนรู้การจัดระเบียบความรู้ (Knowledge Organization) เป็น ส่วนหนึ่งของการเรียนรู้ สมองของนักศึกษาหรือมือใหม่ด้านความรู้ จะมีความรู้กระจัด กระจาย ไม่หนาแน่น ยังไม่ค่อยมีการจัดระบบ และการเชื่อมต่อระหว่างความรู้แต่ละชิ้นก็ ยังไม่ดีไม่คล่องแคล่วต่างจากสมองของผู้เชี่ยวชาญที่มีความรู้หนาแน่น จัดเป็นระบบที่มี ความหมาย (Meaningful) และการเชื่อมต่อระหว่างชิ้นความรู้ก็สะดวก ทำให้ผู้เชี่ยวชาญ 20ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช, การเรียนรู้เกิดขึ้นได้อย่างไร, หน้า 96. 96 2. เป็นผู้ริเริ่มการจัดหมวดหมู่แห่งธรรมไม่ให้กระจัดกระจายเพื่อสะดวกการจดจำ อันเป็นแนวทางการสังคายนาในกาลต่อมา (สังคีติสูตร ว่าด้วยการสังคายนา17 ทสุตตร สูตร ว่าด้วยธรรม 1 ถึง 10 ประการ18) 3. เป็นคนแรกที่ฟังอภิธรรม 7 คัมภีร์จากพระศาสดาและถ่ายทอดธรรมนั้นแก่ เหล่าศิษย์ของท่าน19 4. เป็นผู้ที่สงฆ์สมมติให้ประกาศถึงความไม่เกี่ยวข้องระหว่างพระเทวทัตกับพระ ศาสนาหลังจาก พระเทวทัตกราบทูลขอเป็นผู้ปกครองสงฆ์ทั้งหมดแทนพระพุทธเจ้าและ ร่วมกับพระโมคคัลลานะนำภิกษุ500 รูปที่ติดตามพระเทวทัตกลับพระเวฬุวันมหาวิหาร สำเร็จ 5. เป็นผู้มีความกตัญญูดังจะเห็นได้จากการรับเป็นอุปัชฌาย์ให้กับพระราธะผู้เคย ถวายบิณฑบาตแก่ท่านหนึ่งทัพพีและการแสดงธรรมแก่มารดา 6. พระศาสดาทรงยกย่องพระสารีบุตรว่า “ดูก่อนภิกษุทั้งหลายสารีบุตรเป็นบัณฑิต เป็นผู้มีปัญญามากเป็นผู้มีปัญญากว้างขวางเป็นผู้มีปัญญาร่าเริงเป็นผู้มีปัญญาว่องไวเป็นผู้มี ปัญญาแหลมคมเป็นผู้มีปัญญาเครื่องชำแรกกิเลส” จากการฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าของพระสารีบุตรเถระนั้นท่านได้ใช้ประสาทใน การรับฟังซึ่งเป็นส่วนสำคัญของการบรรลุธรรมของท่าน ผู้เรียบเรียงสังเคราะห์พุทธ นวัตกรรมการสอนเสนอไปประยุกต์ใช้ในการสอนในสถานการณ์ปัจจุบันได้ดังภาพที่ 3.5 ดังนี้ การเรียนรู้ผ่าน อายตนะภายใน การเรียนรู้ผ่าน อายตนะภายนอก เนื้อหาสาระ/กิจกรรม/ สื่อการสอน/วัดผลและ ประเมินผล ผลการเรียนรู้ จักขุ (ตา) รูป(รูป) เนื้อหา สอนอะไร มีวิธีการ สอนอย่างไร จึงทำให้ ผู้เรียน อยากเรียนรู้ ใช้สื่อ การสอนอะไร คนเก่ง จึง พอใจ ครู อาจารย์สอนด้วย การนำเสนอคำถาม ให้ผู้เรียนแสวงหา คำตอบด้วยตนเอง ผู้สอนเป็นโค้ชให้ คำแนะนำ ผลการ โสตะ(หู) สัททะ (เสียง) ฆานะ (จมูก) คันธะ (กลิ่น) ชิวหา (ลิ้น) รส (รส) กาย (กาย) โผฏฐัพพะ (สิ่งต้องกาย) มโน (ใจ) ธรรมารมณ์ (อารมณ์ที่ 17ดูรายละเอียดใน ที.ปา. (ไทย) 11/296-349/247-366. 18ดูรายละเอียดใน ที.ปา. (ไทย) 11/350-360/368-438. 19ดูรายละเอียดใน อภิ.สงฺ.อ. (ไทย) 75/38-40.


99 97 เกิดกับใจหรือสิ่งที่ใจรู้) เรียนรู้ได้ผลดีมาก ภาพที่ 3.5 ประยุกต์จากพุทธนวัตกรรมการสอนแก่พระสารีบุตรเถระ ที่มา : มาจาก สิน งามประโคน, การวิเคราะห์พุทธวิธีการสื่อสารเพื่อการเผยแพร่ พระพุทธศาสนา, (พ.ศ. 2559 : 97) ประยุกต์ไปสู่การปฏิบัติจริงสำหรับการสอนในยุค ศตวรรษที่ 21 สรุป หลักการสอนของพระพุทธเจ้ามาสู่การปฏิบัติจริงในยุคพุทธศตวรรษ 26 ปัจจุบัน ก. ครูผู้สอน 1. การสอนที่ดีต้องเริ่มการสร้างศรัทธากับผู้เรียน 2. ครู อาจารย์ต้องมีความรู้ดีในเนื้อหาที่สอนอย่างแท้จริง 3. นวัตกรรมการสอนต้องสอดคล้องกับจริตผู้เรียนตามสถานการณ์ปัจจุบัน 4. ครู อาจารย์ต้องสร้างสภาพแว้ดลอดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียน 5. ครู อาจารย์ต้องเข้าใจความต้องการหรือความคาดหวังของผู้เรียน 6. ประเมินผลผู้เรียนจากการสังเกต การสนทนาและแสดงทัศนคติ 7. นำผลการประเมินมาพัฒนาผู้เรียนเป็นรายบุคคลอย่างจริงจัง ข. ผู้เรียน 1. มีศรัทธาพร้อมเรียน 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. ตั้งใจเรียนด้วยความเคารพ 4. ตั้งคำถามในการเรียนรู้ 5. สภาพแวดล้อมเอื้อต่อการเรียนรู้ซึ่งสอดคล้องกับความคิดของศ.นพ.วิจารณ์ พานิช20 เสนอว่าครูในศตวรรษที่ 21 ต้องสอนนักศึกษาได้เรียนรู้“วิธีการจัดระเบียบ ความรู้ ซึ่งมีผลต่อการเรียนรู้การจัดระเบียบความรู้ (Knowledge Organization) เป็น ส่วนหนึ่งของการเรียนรู้ สมองของนักศึกษาหรือมือใหม่ด้านความรู้ จะมีความรู้กระจัด กระจาย ไม่หนาแน่น ยังไม่ค่อยมีการจัดระบบ และการเชื่อมต่อระหว่างความรู้แต่ละชิ้นก็ ยังไม่ดีไม่คล่องแคล่วต่างจากสมองของผู้เชี่ยวชาญที่มีความรู้หนาแน่น จัดเป็นระบบที่มี ความหมาย (Meaningful) และการเชื่อมต่อระหว่างชิ้นความรู้ก็สะดวก ทำให้ผู้เชี่ยวชาญ 20ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช, การเรียนรู้เกิดขึ้นได้อย่างไร, หน้า 96. 97 เกิดกับใจหรือสิ่งที่ใจรู้) เรียนรู้ได้ผลดีมาก ภาพที่ 3.5 ประยุกต์จากพุทธนวัตกรรมการสอนแก่พระสารีบุตรเถระ ที่มา : มาจาก สิน งามประโคน, การวิเคราะห์พุทธวิธีการสื่อสารเพื่อการเผยแพร่ พระพุทธศาสนา, (พ.ศ. 2559 : 97) ประยุกต์ไปสู่การปฏิบัติจริงสำหรับการสอนในยุค ศตวรรษที่ 21 สรุป หลักการสอนของพระพุทธเจ้ามาสู่การปฏิบัติจริงในยุคพุทธศตวรรษ 26 ปัจจุบัน ก. ครูผู้สอน 1. การสอนที่ดีต้องเริ่มการสร้างศรัทธากับผู้เรียน 2. ครู อาจารย์ต้องมีความรู้ดีในเนื้อหาที่สอนอย่างแท้จริง 3. นวัตกรรมการสอนต้องสอดคล้องกับจริตผู้เรียนตามสถานการณ์ปัจจุบัน 4. ครู อาจารย์ต้องสร้างสภาพแว้ดลอดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียน 5. ครู อาจารย์ต้องเข้าใจความต้องการหรือความคาดหวังของผู้เรียน 6. ประเมินผลผู้เรียนจากการสังเกต การสนทนาและแสดงทัศนคติ 7. นำผลการประเมินมาพัฒนาผู้เรียนเป็นรายบุคคลอย่างจริงจัง ข. ผู้เรียน 1. มีศรัทธาพร้อมเรียน 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. ตั้งใจเรียนด้วยความเคารพ 4. ตั้งคำถามในการเรียนรู้ 5. สภาพแวดล้อมเอื้อต่อการเรียนรู้ซึ่งสอดคล้องกับความคิดของศ.นพ.วิจารณ์ พานิช20 เสนอว่าครูในศตวรรษที่ 21 ต้องสอนนักศึกษาได้เรียนรู้“วิธีการจัดระเบียบ ความรู้ ซึ่งมีผลต่อการเรียนรู้การจัดระเบียบความรู้ (Knowledge Organization) เป็น ส่วนหนึ่งของการเรียนรู้ สมองของนักศึกษาหรือมือใหม่ด้านความรู้ จะมีความรู้กระจัด กระจาย ไม่หนาแน่น ยังไม่ค่อยมีการจัดระบบ และการเชื่อมต่อระหว่างความรู้แต่ละชิ้นก็ ยังไม่ดีไม่คล่องแคล่วต่างจากสมองของผู้เชี่ยวชาญที่มีความรู้หนาแน่น จัดเป็นระบบที่มี ความหมาย (Meaningful) และการเชื่อมต่อระหว่างชิ้นความรู้ก็สะดวก ทำให้ผู้เชี่ยวชาญ 20ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช, การเรียนรู้เกิดขึ้นได้อย่างไร, หน้า 96. 98 สามารถดึงเอาความรู้ที่เหมาะสมมาใช้งานได้อย่างถูกต้องรวดเร็ว” จากแนวคิดดังกล่าว สามารถสรุปได้ดังนี้ 1. ครูต้องสอนวิธีการจัดระเบียบความรู้ตามหน้าที่ในแต่ละรายวิชาเชิงบูรณาการ 2. การจัดระบบวิธีคิดเชิงโครงสร้างตามหลักวิธีการเรียนเชิงพุทธตามหลักอริสัจ 4 คือ รู้ปัญหา สาเหตุเกิดปัญหา รู้หลักว่าทำอย่างไรให้แก้ปัญหาได้ และวิธีการปฏิบัติที่ในการ เรียนรู้ที่ถูกต้อง 3. ระบบความรู้ต้องสามารถเชื่อมโยงศาสตร์ได้อย่างหลากหลายสาขาให้เป็นเรื่อง เดียวกันได้ 4. ครูต้องสามารถเพิ่มทักษะการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการคิดสร้างสรรค์ พัฒนานวัตกรรมและแก้ปัญหาในการปฏิบัติหน้าที่ได้ถูกต้อง 5. หลักจิตวิทยาชี้ว่าสมองจะจัดระเบียบความรู้ตามเป้าหมายการใช้งานเป็นหลัก 3.3 พุทธนวัตกรรมการสอนแบบการสาธิต การสอนโดยมุ่งเป้าหมายชัดเจนด้วยการสอนแบบการสาธิตการปฏิบัติธรรมให้กับ พระสาวก ซึ่งในสมัยพุทธกาลได้เรียนรู้และการสาธิตการปฏิบัติธรรมจากพระพุทธเจ้า ขอนำกรณีพระจูฬปันถกเถระและพระราหุลเถระ ผู้เป็นสาวกมีปัญญาเป็นเลิศ ดังต่อไปนี้ กรณีพระจูฬปันถกเถระเป็นบุตรของธิดาเศรษฐีบิดาของท่านเป็นคนรับใช้เศรษฐี มีพี่ชายคนหนึ่งชื่อว่ามหาปันถก เมื่อยังเล็กบิดามารดาได้นำไปอยู่กับเศรษฐีผู้เป็นตาและ ได้รับการอบรมเลี้ยงดูมาอย่างดีพร้อมกับพี่ชาย เมื่อมหาปันถกพี่ชายออกบวชและบรรลุ พระอรหัตตผลแล้วต้องการให้น้องชายได้บรรลุธรรมบ้าง จึงไปขออนุญาตจากเศรษฐีให้ จูฬปันถกออกบวชในพระพุทธศาสนาซึ่งเศรษฐีไม่ขัดข้อง พระจูฬปันถกเมื่อบวชแล้ว พระมหาปันถกเถระได้ให้ท่านท่องจำคาถาพรรณา พุทธคุณเพียงบทเดียวท่านใช้เวลาท่องอยู่ 4 เดือนเต็ม ก็ยังไม่สามารถจำได้จึงถูกพระ มหาปันถกไล่ออกจากสำนักและไม่ให้รับกิจมนต์ท่านเกิดความน้อยเนื้อต่ำใจจึงคิดจะสึกเสีย ขณะนั้นพระพุทธเจ้าประทับจงกรมอยู่ทอดพระเนตรเห็นท่านเดินไป จึงตรัสถาม เมื่อทรงทราบความจริงแล้วได้พาไปยังที่ประทับแล้วประทานผ้าขาวบริสุทธิ์ให้ผืนหนึ่งตรัส แนะนำให้ลูบคลำพร้อมบริกรรมว่า “รโชหรณํรโชหรณํ” ไปเรื่อยๆ ในที่สุดผ้าขาวผืนนั้นก็ เริ่มเศร้าหมองมีสีคล้ำพระจูฬปันถกจึงคิดว่าผ้านี้เดิมเป็นสีขาวบริสุทธิ์แต่พอถูกต้องกับ


100 98 สามารถดึงเอาความรู้ที่เหมาะสมมาใช้งานได้อย่างถูกต้องรวดเร็ว” จากแนวคิดดังกล่าว สามารถสรุปได้ดังนี้ 1. ครูต้องสอนวิธีการจัดระเบียบความรู้ตามหน้าที่ในแต่ละรายวิชาเชิงบูรณาการ 2. การจัดระบบวิธีคิดเชิงโครงสร้างตามหลักวิธีการเรียนเชิงพุทธตามหลักอริสัจ 4 คือ รู้ปัญหา สาเหตุเกิดปัญหา รู้หลักว่าทำอย่างไรให้แก้ปัญหาได้ และวิธีการปฏิบัติที่ในการ เรียนรู้ที่ถูกต้อง 3. ระบบความรู้ต้องสามารถเชื่อมโยงศาสตร์ได้อย่างหลากหลายสาขาให้เป็นเรื่อง เดียวกันได้ 4. ครูต้องสามารถเพิ่มทักษะการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการคิดสร้างสรรค์ พัฒนานวัตกรรมและแก้ปัญหาในการปฏิบัติหน้าที่ได้ถูกต้อง 5. หลักจิตวิทยาชี้ว่าสมองจะจัดระเบียบความรู้ตามเป้าหมายการใช้งานเป็นหลัก 3.3 พุทธนวัตกรรมการสอนแบบการสาธิต การสอนโดยมุ่งเป้าหมายชัดเจนด้วยการสอนแบบการสาธิตการปฏิบัติธรรมให้กับ พระสาวก ซึ่งในสมัยพุทธกาลได้เรียนรู้และการสาธิตการปฏิบัติธรรมจากพระพุทธเจ้า ขอนำกรณีพระจูฬปันถกเถระและพระราหุลเถระ ผู้เป็นสาวกมีปัญญาเป็นเลิศ ดังต่อไปนี้ กรณีพระจูฬปันถกเถระเป็นบุตรของธิดาเศรษฐีบิดาของท่านเป็นคนรับใช้เศรษฐี มีพี่ชายคนหนึ่งชื่อว่ามหาปันถก เมื่อยังเล็กบิดามารดาได้นำไปอยู่กับเศรษฐีผู้เป็นตาและ ได้รับการอบรมเลี้ยงดูมาอย่างดีพร้อมกับพี่ชาย เมื่อมหาปันถกพี่ชายออกบวชและบรรลุ พระอรหัตตผลแล้วต้องการให้น้องชายได้บรรลุธรรมบ้าง จึงไปขออนุญาตจากเศรษฐีให้ จูฬปันถกออกบวชในพระพุทธศาสนาซึ่งเศรษฐีไม่ขัดข้อง พระจูฬปันถกเมื่อบวชแล้ว พระมหาปันถกเถระได้ให้ท่านท่องจำคาถาพรรณา พุทธคุณเพียงบทเดียวท่านใช้เวลาท่องอยู่ 4 เดือนเต็ม ก็ยังไม่สามารถจำได้จึงถูกพระ มหาปันถกไล่ออกจากสำนักและไม่ให้รับกิจมนต์ท่านเกิดความน้อยเนื้อต่ำใจจึงคิดจะสึกเสีย ขณะนั้นพระพุทธเจ้าประทับจงกรมอยู่ทอดพระเนตรเห็นท่านเดินไป จึงตรัสถาม เมื่อทรงทราบความจริงแล้วได้พาไปยังที่ประทับแล้วประทานผ้าขาวบริสุทธิ์ให้ผืนหนึ่งตรัส แนะนำให้ลูบคลำพร้อมบริกรรมว่า “รโชหรณํรโชหรณํ” ไปเรื่อยๆ ในที่สุดผ้าขาวผืนนั้นก็ เริ่มเศร้าหมองมีสีคล้ำพระจูฬปันถกจึงคิดว่าผ้านี้เดิมเป็นสีขาวบริสุทธิ์แต่พอถูกต้องกับ99 อัตภาพแล้วกลับเป็นผ้าเศร้าหมองไปเสียแล้วเจริญวิปัสสนากรรมฐานไปตามลำดับจิตก็ หลุดพ้นจากอาสวกิเลสบรรลุพระอรหัตตผลสำเร็จเป็นพระอริยบุคคลในพระพุทธศาสนา21 ผลจากพระจูฬปันถกเถระได้ดูการสาธิตการปฏิบัติธรรมจากพระพุทธเจ้า ดังนี้ 1. เป็นผู้เลิศทางเจโตวิวัฏฏะ (การออกจากวัฏฏะด้วยอำนาจจิตหรือสมาธิ) 2. ท่านกล่าวว่าท่านออกบวชขณะมีอายุมาก 3. หลังจากท่านบรรลุอรหัตแล้วท่านไปสู่นิเวศน์ของหมอชีวกทางอากาศ 4. ท่านจูฬปันถกะเป็นผู้ฉลาดในสมาธิเป็นผู้ฉลาดในการเปลี่ยนแปลงทางใจส่วน ท่านพระมหาปันกถกะเป็นผู้ฉลาดในทางวิปัสสนาจึงฉลาดในการเปลี่ยนแปลงทางปัญญา 5. ผู้เลิศกว่าผู้อื่นในการนิรมิตกายที่สำเร็จด้วยใจคือ สามารถนิรมิตเป็น 2 คนหรือ พันคนแล้วทำให้ร่างกายไม่เหมือนกันได้22 จากการสาธิตการปฏิบัติธรรมจากพระพุทธเจ้าของพระจูฬปันถกเถระนั้นท่านได้ ใช้ประสาทสำหรับการเรียนรู้ซึ่งสามารถสังเคราะห์ไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ปัจจุบันได้ ดังภาพที่ 3.6 ดังนี้ อายตนะภายใน อายตนะภายนอก เนื้อหาสาระ/ กิจกรรม/สื่อการสอน/ วัดผลและประเมินผล ผลที่เกิดจากเรียนรู้ จักขุ (ตา) รูป (รูป) เนื้อหาสาระในรายวิชา ใช้พื้นที่ที่เหมาะสมกับ เนื้อหาในการเรียนรู้และ ลงมือปฏิบัติและ นำเสนอผลงาน ผู้เรียนมีความพอใจที่ได้ เห็นตัวอย่างที่ดีในการ เรียนรู้และสามารถนำ ความรู้ไปปฏิบัติ เพื่อ สร้างและพัฒนาต่อยอด เป็นนวัตกรรม โสตะ(หู) สัททะ (เสียง) ฆานะ (จมูก) คันธะ (กลิ่น) ชิวหา (ลิ้น) รส (รส) กาย (กาย) โผฏฐัพพะ (สิ่งต้อง กาย) มโน (ใจ) ธรรมารมณ์ (อารมณ์ ที่เกิดกับใจหรือสิ่งที่ ใจรู้) ภาพที่ 3.6 ประยุกต์จากพุทธนวัตกรรมการสอนแบบสาธิตแก่พระจูฬปันถกเถระ 21คณาจารย์สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง. อนุพุทธประวัติ: หนังสือเรียนนักธรรมชั้นโทฉบับ มาตรฐานบูรณาการชีวิต. (กรุงเทพมหานคร : เลี่ยงเชียง, 2550), หน้า 166-169. 22วิ.มหา. (ไทย) 2/153-154/326-328, องฺ.เอกก. (ไทย) 20/198-199/26-27, ขุ.เถร (ไทย) 26/557-566/436-437, ขุ.เถร.อ. (ไทย) 2/272-284, องฺ.เอกก.อ. (ไทย) 1/198-199/229-238, ขุ.ธ.อ. (ไทย) 1/228-242.


101 99 อัตภาพแล้วกลับเป็นผ้าเศร้าหมองไปเสียแล้วเจริญวิปัสสนากรรมฐานไปตามลำดับจิตก็ หลุดพ้นจากอาสวกิเลสบรรลุพระอรหัตตผลสำเร็จเป็นพระอริยบุคคลในพระพุทธศาสนา21 ผลจากพระจูฬปันถกเถระได้ดูการสาธิตการปฏิบัติธรรมจากพระพุทธเจ้า ดังนี้ 1. เป็นผู้เลิศทางเจโตวิวัฏฏะ (การออกจากวัฏฏะด้วยอำนาจจิตหรือสมาธิ) 2. ท่านกล่าวว่าท่านออกบวชขณะมีอายุมาก 3. หลังจากท่านบรรลุอรหัตแล้วท่านไปสู่นิเวศน์ของหมอชีวกทางอากาศ 4. ท่านจูฬปันถกะเป็นผู้ฉลาดในสมาธิเป็นผู้ฉลาดในการเปลี่ยนแปลงทางใจส่วน ท่านพระมหาปันกถกะเป็นผู้ฉลาดในทางวิปัสสนาจึงฉลาดในการเปลี่ยนแปลงทางปัญญา 5. ผู้เลิศกว่าผู้อื่นในการนิรมิตกายที่สำเร็จด้วยใจคือ สามารถนิรมิตเป็น 2 คนหรือ พันคนแล้วทำให้ร่างกายไม่เหมือนกันได้22 จากการสาธิตการปฏิบัติธรรมจากพระพุทธเจ้าของพระจูฬปันถกเถระนั้นท่านได้ ใช้ประสาทสำหรับการเรียนรู้ซึ่งสามารถสังเคราะห์ไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ปัจจุบันได้ ดังภาพที่ 3.6 ดังนี้ อายตนะภายใน อายตนะภายนอก เนื้อหาสาระ/ กิจกรรม/สื่อการสอน/ วัดผลและประเมินผล ผลที่เกิดจากเรียนรู้ จักขุ (ตา) รูป (รูป) เนื้อหาสาระในรายวิชา ใช้พื้นที่ที่เหมาะสมกับ เนื้อหาในการเรียนรู้และ ลงมือปฏิบัติและ นำเสนอผลงาน ผู้เรียนมีความพอใจที่ได้ เห็นตัวอย่างที่ดีในการ เรียนรู้และสามารถนำ ความรู้ไปปฏิบัติ เพื่อ สร้างและพัฒนาต่อยอด เป็นนวัตกรรม โสตะ(หู) สัททะ (เสียง) ฆานะ (จมูก) คันธะ (กลิ่น) ชิวหา (ลิ้น) รส (รส) กาย (กาย) โผฏฐัพพะ (สิ่งต้อง กาย) มโน (ใจ) ธรรมารมณ์ (อารมณ์ ที่เกิดกับใจหรือสิ่งที่ ใจรู้) ภาพที่ 3.6 ประยุกต์จากพุทธนวัตกรรมการสอนแบบสาธิตแก่พระจูฬปันถกเถระ 21คณาจารย์สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง. อนุพุทธประวัติ: หนังสือเรียนนักธรรมชั้นโทฉบับ มาตรฐานบูรณาการชีวิต. (กรุงเทพมหานคร : เลี่ยงเชียง, 2550), หน้า 166-169. 22วิ.มหา. (ไทย) 2/153-154/326-328, องฺ.เอกก. (ไทย) 20/198-199/26-27, ขุ.เถร (ไทย) 26/557-566/436-437, ขุ.เถร.อ. (ไทย) 2/272-284, องฺ.เอกก.อ. (ไทย) 1/198-199/229-238, ขุ.ธ.อ. (ไทย) 1/228-242. 99 อัตภาพแล้วกลับเป็นผ้าเศร้าหมองไปเสียแล้วเจริญวิปัสสนากรรมฐานไปตามลำดับจิตก็ หลุดพ้นจากอาสวกิเลสบรรลุพระอรหัตตผลสำเร็จเป็นพระอริยบุคคลในพระพุทธศาสนา21 ผลจากพระจูฬปันถกเถระได้ดูการสาธิตการปฏิบัติธรรมจากพระพุทธเจ้า ดังนี้ 1. เป็นผู้เลิศทางเจโตวิวัฏฏะ (การออกจากวัฏฏะด้วยอำนาจจิตหรือสมาธิ) 2. ท่านกล่าวว่าท่านออกบวชขณะมีอายุมาก 3. หลังจากท่านบรรลุอรหัตแล้วท่านไปสู่นิเวศน์ของหมอชีวกทางอากาศ 4. ท่านจูฬปันถกะเป็นผู้ฉลาดในสมาธิเป็นผู้ฉลาดในการเปลี่ยนแปลงทางใจส่วน ท่านพระมหาปันกถกะเป็นผู้ฉลาดในทางวิปัสสนาจึงฉลาดในการเปลี่ยนแปลงทางปัญญา 5. ผู้เลิศกว่าผู้อื่นในการนิรมิตกายที่สำเร็จด้วยใจคือ สามารถนิรมิตเป็น 2 คนหรือ พันคนแล้วทำให้ร่างกายไม่เหมือนกันได้22 จากการสาธิตการปฏิบัติธรรมจากพระพุทธเจ้าของพระจูฬปันถกเถระนั้นท่านได้ ใช้ประสาทสำหรับการเรียนรู้ซึ่งสามารถสังเคราะห์ไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ปัจจุบันได้ ดังภาพที่ 3.6 ดังนี้ อายตนะภายใน อายตนะภายนอก เนื้อหาสาระ/ กิจกรรม/สื่อการสอน/ วัดผลและประเมินผล ผลที่เกิดจากเรียนรู้ จักขุ (ตา) รูป (รูป) เนื้อหาสาระในรายวิชา ใช้พื้นที่ที่เหมาะสมกับ เนื้อหาในการเรียนรู้และ ลงมือปฏิบัติและ นำเสนอผลงาน ผู้เรียนมีความพอใจที่ได้ เห็นตัวอย่างที่ดีในการ เรียนรู้และสามารถนำ ความรู้ไปปฏิบัติ เพื่อ สร้างและพัฒนาต่อยอด เป็นนวัตกรรม โสตะ(หู) สัททะ (เสียง) ฆานะ (จมูก) คันธะ (กลิ่น) ชิวหา (ลิ้น) รส (รส) กาย (กาย) โผฏฐัพพะ (สิ่งต้อง กาย) มโน (ใจ) ธรรมารมณ์ (อารมณ์ ที่เกิดกับใจหรือสิ่งที่ ใจรู้) ภาพที่ 3.6 ประยุกต์จากพุทธนวัตกรรมการสอนแบบสาธิตแก่พระจูฬปันถกเถระ 21คณาจารย์สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง. อนุพุทธประวัติ: หนังสือเรียนนักธรรมชั้นโทฉบับ มาตรฐานบูรณาการชีวิต. (กรุงเทพมหานคร : เลี่ยงเชียง, 2550), หน้า 166-169. 22วิ.มหา. (ไทย) 2/153-154/326-328, องฺ.เอกก. (ไทย) 20/198-199/26-27, ขุ.เถร (ไทย) 26/557-566/436-437, ขุ.เถร.อ. (ไทย) 2/272-284, องฺ.เอกก.อ. (ไทย) 1/198-199/229-238, ขุ.ธ.อ. (ไทย) 1/228-242. 100 ที่มา : มาจาก สิน งามประโคน, การวิเคราะห์พุทธวิธีการสื่อสารเพื่อการเผยแพร่ พระพุทธศาสนา, (พ.ศ. 2559 : 102) ประยุกต์ไปสู่การปฏิบัติจริงสำหรับการสอนในยุค ศตวรรษที่ 21 สรุป หลักการสอนของพระพุทธเจ้ามาสู่การปฏิบัติจริงในยุคพุทธศตวรรษ 26 ปัจจุบัน 1. พุทธนวัตกรรมการสอนแบบการสาธิต พระจูฬปันถกเถระท่านได้ใช้อายตนะ ภายในด้านมโน (ใจ) รับรู้ผ่านธรรมารมณ์ (อารมณ์ที่เกิดกับใจหรือสิ่งที่ใจรู้) และ 2. กาย (กาย) สิ่งกระทบร่างกาย พิจารณาธรรมโดยการปฏิบัติกรรมฐานตามแบบ ของพระมหาปันถกะโดยผลที่ได้คือบรรลุพระอรหัตตผล 3. ฝึกปฏิบัติด้วยการทำซ้ำๆ จนเกิดความชำชาญเพิ่มทักษะใหม่ๆ 4. ใช้สื่อการสอนช่วยให้เกิดการเรียนรู้ใหม่ได้เร็วขึ้น 5. เปลี่ยนสถานที่ในการเรียนรู้ด้วยการไปศึกษาดูงาน 6. ผู้เรียนต้องลงมือปฏิบัติด้วยตนเองและ 7. สร้างแรงจูงใจด้วยการขอคำแนะนำจากครู อาจารย์ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของ ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช23 กล่าวว่า แรงจูงใจต่อการเรียนเกิดจากปฏิสัมพันธ์ระหว่าง 3 ปัจจัย ของนักศึกษา คือ 1. เป้าหมาย 2. ความเชื่อมั่นว่าเรียนวิชานั้นได้สำเร็จ 3. มีสภาพแวดล้อม ที่เอื้อต่อการเรียนได้สำเร็จ ซึ่งสอดคล้องกับหลักอิทธิบาท 4 ทำอย่างไรให้นักศึกษา 1. รัก การเรียน 2. ขยันมั่นเพียร 3. เอาใจใส่ในการเรียน 4. มั่นทบทวนสม่ำเสมอเพื่อปรับปรุง และพัฒนาตนเองอย่างสม่ำเสมอ กรณีพระราหุลเถระประสูติในศากยราชตระกูลเป็นพระโอรสของเจ้าชายสิทธัตถะ กับพระนางยโสธรา (พิมพา) และเป็นพระราชนัดดาของพระเจ้าสุทโธทนะผู้ครองกรุง กบิลพัสดุ์เมื่อประสูติได้7 ปีขณะที่พระพุทธเจ้าเสด็จนิวัติกรุงกบิลพัสดุ์ตามคำทูลเชิญของ พระเจ้าสุทโธทนะประทับณนิโครธารามที่พระประยูรญาติสร้างถวายพระมารดาได้รับสั่งให้ ไปทูลขอราชสมบัติกับพระพุทธเจ้าราหุลกุมารได้ติดตามทูลขอทรัพย์สมบัติไปถึงที่ประทับ ในนิโครธารามพระพุทธองค์ทรงพระดำริว่า “ราหุลกุมารนี้ปรารถนาโลกิยทรัพย์ซึ่งเป็นสิ่งที่ ไม่มั่นคงถาวรเราจักให้อริยทรัพย์7 ประการอันประเสริฐซึ่งจะทำให้ราหุลกุมารเป็นเจ้าของ โลกุตตรทรัพย์ให้ได้จากนั้นจึงมีพระดำรัสให้พระสารีบุตรเถระบวชให้ราหุลกุมาร 23ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช, การเรียนรู้เกิดขึ้นได้อย่างไร, หน้า 66.


102 100 ที่มา : มาจาก สิน งามประโคน, การวิเคราะห์พุทธวิธีการสื่อสารเพื่อการเผยแพร่ พระพุทธศาสนา, (พ.ศ. 2559 : 102) ประยุกต์ไปสู่การปฏิบัติจริงสำหรับการสอนในยุค ศตวรรษที่ 21 สรุป หลักการสอนของพระพุทธเจ้ามาสู่การปฏิบัติจริงในยุคพุทธศตวรรษ 26 ปัจจุบัน 1. พุทธนวัตกรรมการสอนแบบการสาธิต พระจูฬปันถกเถระท่านได้ใช้อายตนะ ภายในด้านมโน (ใจ) รับรู้ผ่านธรรมารมณ์ (อารมณ์ที่เกิดกับใจหรือสิ่งที่ใจรู้) และ 2. กาย (กาย) สิ่งกระทบร่างกาย พิจารณาธรรมโดยการปฏิบัติกรรมฐานตามแบบ ของพระมหาปันถกะโดยผลที่ได้คือบรรลุพระอรหัตตผล 3. ฝึกปฏิบัติด้วยการทำซ้ำๆ จนเกิดความชำชาญเพิ่มทักษะใหม่ๆ 4. ใช้สื่อการสอนช่วยให้เกิดการเรียนรู้ใหม่ได้เร็วขึ้น 5. เปลี่ยนสถานที่ในการเรียนรู้ด้วยการไปศึกษาดูงาน 6. ผู้เรียนต้องลงมือปฏิบัติด้วยตนเองและ 7. สร้างแรงจูงใจด้วยการขอคำแนะนำจากครู อาจารย์ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของ ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช23 กล่าวว่า แรงจูงใจต่อการเรียนเกิดจากปฏิสัมพันธ์ระหว่าง 3 ปัจจัย ของนักศึกษา คือ 1. เป้าหมาย 2. ความเชื่อมั่นว่าเรียนวิชานั้นได้สำเร็จ 3. มีสภาพแวดล้อม ที่เอื้อต่อการเรียนได้สำเร็จ ซึ่งสอดคล้องกับหลักอิทธิบาท 4 ทำอย่างไรให้นักศึกษา 1. รัก การเรียน 2. ขยันมั่นเพียร 3. เอาใจใส่ในการเรียน 4. มั่นทบทวนสม่ำเสมอเพื่อปรับปรุง และพัฒนาตนเองอย่างสม่ำเสมอ กรณีพระราหุลเถระประสูติในศากยราชตระกูลเป็นพระโอรสของเจ้าชายสิทธัตถะ กับพระนางยโสธรา (พิมพา) และเป็นพระราชนัดดาของพระเจ้าสุทโธทนะผู้ครองกรุง กบิลพัสดุ์เมื่อประสูติได้7 ปีขณะที่พระพุทธเจ้าเสด็จนิวัติกรุงกบิลพัสดุ์ตามคำทูลเชิญของ พระเจ้าสุทโธทนะประทับณนิโครธารามที่พระประยูรญาติสร้างถวายพระมารดาได้รับสั่งให้ ไปทูลขอราชสมบัติกับพระพุทธเจ้าราหุลกุมารได้ติดตามทูลขอทรัพย์สมบัติไปถึงที่ประทับ ในนิโครธารามพระพุทธองค์ทรงพระดำริว่า “ราหุลกุมารนี้ปรารถนาโลกิยทรัพย์ซึ่งเป็นสิ่งที่ ไม่มั่นคงถาวรเราจักให้อริยทรัพย์7 ประการอันประเสริฐซึ่งจะทำให้ราหุลกุมารเป็นเจ้าของ โลกุตตรทรัพย์ให้ได้จากนั้นจึงมีพระดำรัสให้พระสารีบุตรเถระบวชให้ราหุลกุมาร 23ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช, การเรียนรู้เกิดขึ้นได้อย่างไร, หน้า 66. 100 ที่มา : มาจาก สิน งามประโคน, การวิเคราะห์พุทธวิธีการสื่อสารเพื่อการเผยแพร่ พระพุทธศาสนา, (พ.ศ. 2559 : 102) ประยุกต์ไปสู่การปฏิบัติจริงสำหรับการสอนในยุค ศตวรรษที่ 21 สรุป หลักการสอนของพระพุทธเจ้ามาสู่การปฏิบัติจริงในยุคพุทธศตวรรษ 26 ปัจจุบัน 1. พุทธนวัตกรรมการสอนแบบการสาธิต พระจูฬปันถกเถระท่านได้ใช้อายตนะ ภายในด้านมโน (ใจ) รับรู้ผ่านธรรมารมณ์ (อารมณ์ที่เกิดกับใจหรือสิ่งที่ใจรู้) และ 2. กาย (กาย) สิ่งกระทบร่างกาย พิจารณาธรรมโดยการปฏิบัติกรรมฐานตามแบบ ของพระมหาปันถกะโดยผลที่ได้คือบรรลุพระอรหัตตผล 3. ฝึกปฏิบัติด้วยการทำซ้ำๆ จนเกิดความชำชาญเพิ่มทักษะใหม่ๆ 4. ใช้สื่อการสอนช่วยให้เกิดการเรียนรู้ใหม่ได้เร็วขึ้น 5. เปลี่ยนสถานที่ในการเรียนรู้ด้วยการไปศึกษาดูงาน 6. ผู้เรียนต้องลงมือปฏิบัติด้วยตนเองและ 7. สร้างแรงจูงใจด้วยการขอคำแนะนำจากครู อาจารย์ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของ ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช23 กล่าวว่า แรงจูงใจต่อการเรียนเกิดจากปฏิสัมพันธ์ระหว่าง 3 ปัจจัย ของนักศึกษา คือ 1. เป้าหมาย 2. ความเชื่อมั่นว่าเรียนวิชานั้นได้สำเร็จ 3. มีสภาพแวดล้อม ที่เอื้อต่อการเรียนได้สำเร็จ ซึ่งสอดคล้องกับหลักอิทธิบาท 4 ทำอย่างไรให้นักศึกษา 1. รัก การเรียน 2. ขยันมั่นเพียร 3. เอาใจใส่ในการเรียน 4. มั่นทบทวนสม่ำเสมอเพื่อปรับปรุง และพัฒนาตนเองอย่างสม่ำเสมอ กรณีพระราหุลเถระประสูติในศากยราชตระกูลเป็นพระโอรสของเจ้าชายสิทธัตถะ กับพระนางยโสธรา (พิมพา) และเป็นพระราชนัดดาของพระเจ้าสุทโธทนะผู้ครองกรุง กบิลพัสดุ์เมื่อประสูติได้7 ปีขณะที่พระพุทธเจ้าเสด็จนิวัติกรุงกบิลพัสดุ์ตามคำทูลเชิญของ พระเจ้าสุทโธทนะประทับณนิโครธารามที่พระประยูรญาติสร้างถวายพระมารดาได้รับสั่งให้ ไปทูลขอราชสมบัติกับพระพุทธเจ้าราหุลกุมารได้ติดตามทูลขอทรัพย์สมบัติไปถึงที่ประทับ ในนิโครธารามพระพุทธองค์ทรงพระดำริว่า “ราหุลกุมารนี้ปรารถนาโลกิยทรัพย์ซึ่งเป็นสิ่งที่ ไม่มั่นคงถาวรเราจักให้อริยทรัพย์7 ประการอันประเสริฐซึ่งจะทำให้ราหุลกุมารเป็นเจ้าของ โลกุตตรทรัพย์ให้ได้จากนั้นจึงมีพระดำรัสให้พระสารีบุตรเถระบวชให้ราหุลกุมาร 23ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช, การเรียนรู้เกิดขึ้นได้อย่างไร, หน้า 66. 101 ในขณะนั้นราหุลกุมารมีอายุเพียง 7 ปีเท่านั้นไม่สามารถที่จะบวชเป็นภิกษุได้พระ พุทธองค์จึงรับสั่งให้พระสารีบุตรบวชราหุลกุมารเป็นสามเณรด้วยการรับไตรสรณคมน์ ดังนั้นท่านจึงได้ชื่อว่าเป็นสามเณรรูปแรกให้พระพุทธศาสนา พระราหุลเถระเป็นผู้ใคร่ในการศึกษามีความพากเพียรขวนขวายหมั่นสดับรับฟัง คำสั่งสอนของพระอุปัชฌาย์สม่ำเสมอดังจะเห็นได้จากหลังจากตื่นขึ้นมาในตอนเช้าใช้มือ กอบทรายจนเต็มแล้วอธิษฐานว่าขอให้ได้ฟังธรรมคำสั่งสอนจากพระพุทธองค์และอุปัชฌาย์ เท่าจำนวนเม็ดทรายในมือนี้และมักสนทนาธรรมกับเพื่อนสหธรรมิกเพื่อความรู้เป็นประจำ ดังนั้นพระพุทธเจ้าจึงทรงยกย่องแต่งตั้งเป็นเอตทัคคะในด้านผู้ใคร่ในการศึกษา หลังจากพระราหุลเถระได้ดูการสาธิตการปฏิบัติธรรมจากพระพุทธเจ้า 1. ราหุลเป็นสามเณรรูปแรกในพระพุทธศาสนาเป็นภิกษุผู้เลิศทางใคร่การศึกษา 2. เป็นผู้เคารพในพระศาสดา พระธรรมและพระสงฆ์ 3. พระราหุลเถระกล่าวถึงสถานะของท่านในความเป็นพระโอรสและความเป็น พระอรหันต์24 จากการสาธิตการปฏิบัติธรรมจากพระพุทธเจ้าของพระราหุลเถระนั้นท่านได้ใช้ ประสาทในการรับฟังซึ่งสามารถสังเคราะห์ไปประยุกต์ใช้สำหรับการสอนให้เหมาะสมกับ สถานการณ์ในยุคศตวรรษที่ 21 ได้ดังภาพที่ 3.7 ดังนี้ อายตนะภายใน อายตนะภายนอก เนื้อหาสาระ/ กิจกรรม/สื่อการสอน/ วัดผลและประเมินผล ผลการเรียนรู้ จักขุ (ตา) รูป(รูป) กำหนดเนื้อหาตาม วัตถุประสงค์ มีครูหรือ ผู้เชียวชาญอธิบายให้ ผู้เรียน ได้สอบถามและ นำความรู้ไปลงมือ ปฏิบัติ และนำเสนอ ผลงาน การพิจารณาด้วยอายตนะ ภายในและภายนอก เพื่อ เรียนรู้ตามเนื้อหาสาระที่ แสวงหาคำตอบและนำ ความรู้ลงมือปฏิบัติและ แสดงผลการเรียนรู้ต่อ ครู อาจารย์และต่อยอดการ พัฒนานวัตกรรมตามที่ ต้องการ โสตะ(หู) สัททะ (เสียง) ฆานะ (จมูก) คันธะ (กลิ่น) ชิวหา (ลิ้น) รส (รส) กาย (กาย) โผฏฐัพพะ (สิ่งต้อง กาย) มโน (ใจ) ธรรมารมณ์ (อารมณ์ที่ เกิดกับใจหรือสิ่งที่ใจรู้) 24ดูรายละเอียดใน วิ.มหา. (ไทย) 2/49-51/238-239, วิ.ม. (ไทย) 4/105/164-168, ม.ม. (ไทย) 13/107-112/117-124, ม.อุ. (ไทย) 14//,องฺ.เอกก. (ไทย) 20/209/28,องฺ.เอกก.อ. (ไทย) 1/269-276, ขุ.ธ.อ. (ไทย) 1/108-118, ขุ.ธ.อ. (ไทย) 1/108-111, ขุ.เถร.อ. (ไทย) 2/30-35)


103 101 ในขณะนั้นราหุลกุมารมีอายุเพียง 7 ปีเท่านั้นไม่สามารถที่จะบวชเป็นภิกษุได้พระ พุทธองค์จึงรับสั่งให้พระสารีบุตรบวชราหุลกุมารเป็นสามเณรด้วยการรับไตรสรณคมน์ ดังนั้นท่านจึงได้ชื่อว่าเป็นสามเณรรูปแรกให้พระพุทธศาสนา พระราหุลเถระเป็นผู้ใคร่ในการศึกษามีความพากเพียรขวนขวายหมั่นสดับรับฟัง คำสั่งสอนของพระอุปัชฌาย์สม่ำเสมอดังจะเห็นได้จากหลังจากตื่นขึ้นมาในตอนเช้าใช้มือ กอบทรายจนเต็มแล้วอธิษฐานว่าขอให้ได้ฟังธรรมคำสั่งสอนจากพระพุทธองค์และอุปัชฌาย์ เท่าจำนวนเม็ดทรายในมือนี้และมักสนทนาธรรมกับเพื่อนสหธรรมิกเพื่อความรู้เป็นประจำ ดังนั้นพระพุทธเจ้าจึงทรงยกย่องแต่งตั้งเป็นเอตทัคคะในด้านผู้ใคร่ในการศึกษา หลังจากพระราหุลเถระได้ดูการสาธิตการปฏิบัติธรรมจากพระพุทธเจ้า 1. ราหุลเป็นสามเณรรูปแรกในพระพุทธศาสนาเป็นภิกษุผู้เลิศทางใคร่การศึกษา 2. เป็นผู้เคารพในพระศาสดา พระธรรมและพระสงฆ์ 3. พระราหุลเถระกล่าวถึงสถานะของท่านในความเป็นพระโอรสและความเป็น พระอรหันต์24 จากการสาธิตการปฏิบัติธรรมจากพระพุทธเจ้าของพระราหุลเถระนั้นท่านได้ใช้ ประสาทในการรับฟังซึ่งสามารถสังเคราะห์ไปประยุกต์ใช้สำหรับการสอนให้เหมาะสมกับ สถานการณ์ในยุคศตวรรษที่ 21 ได้ดังภาพที่ 3.7 ดังนี้ อายตนะภายใน อายตนะภายนอก เนื้อหาสาระ/ กิจกรรม/สื่อการสอน/ วัดผลและประเมินผล ผลการเรียนรู้ จักขุ (ตา) รูป(รูป) กำหนดเนื้อหาตาม วัตถุประสงค์ มีครูหรือ ผู้เชียวชาญอธิบายให้ ผู้เรียน ได้สอบถามและ นำความรู้ไปลงมือ ปฏิบัติ และนำเสนอ ผลงาน การพิจารณาด้วยอายตนะ ภายในและภายนอก เพื่อ เรียนรู้ตามเนื้อหาสาระที่ แสวงหาคำตอบและนำ ความรู้ลงมือปฏิบัติและ แสดงผลการเรียนรู้ต่อ ครู อาจารย์และต่อยอดการ พัฒนานวัตกรรมตามที่ ต้องการ โสตะ(หู) สัททะ (เสียง) ฆานะ (จมูก) คันธะ (กลิ่น) ชิวหา (ลิ้น) รส (รส) กาย (กาย) โผฏฐัพพะ (สิ่งต้อง กาย) มโน (ใจ) ธรรมารมณ์ (อารมณ์ที่ เกิดกับใจหรือสิ่งที่ใจรู้) 24ดูรายละเอียดใน วิ.มหา. (ไทย) 2/49-51/238-239, วิ.ม. (ไทย) 4/105/164-168, ม.ม. (ไทย) 13/107-112/117-124, ม.อุ. (ไทย) 14//,องฺ.เอกก. (ไทย) 20/209/28,องฺ.เอกก.อ. (ไทย) 1/269-276, ขุ.ธ.อ. (ไทย) 1/108-118, ขุ.ธ.อ. (ไทย) 1/108-111, ขุ.เถร.อ. (ไทย) 2/30-35) 101 ในขณะนั้นราหุลกุมารมีอายุเพียง 7 ปีเท่านั้นไม่สามารถที่จะบวชเป็นภิกษุได้พระ พุทธองค์จึงรับสั่งให้พระสารีบุตรบวชราหุลกุมารเป็นสามเณรด้วยการรับไตรสรณคมน์ ดังนั้นท่านจึงได้ชื่อว่าเป็นสามเณรรูปแรกให้พระพุทธศาสนา พระราหุลเถระเป็นผู้ใคร่ในการศึกษามีความพากเพียรขวนขวายหมั่นสดับรับฟัง คำสั่งสอนของพระอุปัชฌาย์สม่ำเสมอดังจะเห็นได้จากหลังจากตื่นขึ้นมาในตอนเช้าใช้มือ กอบทรายจนเต็มแล้วอธิษฐานว่าขอให้ได้ฟังธรรมคำสั่งสอนจากพระพุทธองค์และอุปัชฌาย์ เท่าจำนวนเม็ดทรายในมือนี้และมักสนทนาธรรมกับเพื่อนสหธรรมิกเพื่อความรู้เป็นประจำ ดังนั้นพระพุทธเจ้าจึงทรงยกย่องแต่งตั้งเป็นเอตทัคคะในด้านผู้ใคร่ในการศึกษา หลังจากพระราหุลเถระได้ดูการสาธิตการปฏิบัติธรรมจากพระพุทธเจ้า 1. ราหุลเป็นสามเณรรูปแรกในพระพุทธศาสนาเป็นภิกษุผู้เลิศทางใคร่การศึกษา 2. เป็นผู้เคารพในพระศาสดา พระธรรมและพระสงฆ์ 3. พระราหุลเถระกล่าวถึงสถานะของท่านในความเป็นพระโอรสและความเป็น พระอรหันต์24 จากการสาธิตการปฏิบัติธรรมจากพระพุทธเจ้าของพระราหุลเถระนั้นท่านได้ใช้ ประสาทในการรับฟังซึ่งสามารถสังเคราะห์ไปประยุกต์ใช้สำหรับการสอนให้เหมาะสมกับ สถานการณ์ในยุคศตวรรษที่ 21 ได้ดังภาพที่ 3.7 ดังนี้ อายตนะภายใน อายตนะภายนอก เนื้อหาสาระ/ กิจกรรม/สื่อการสอน/ วัดผลและประเมินผล ผลการเรียนรู้ จักขุ (ตา) รูป(รูป) กำหนดเนื้อหาตาม วัตถุประสงค์ มีครูหรือ ผู้เชียวชาญอธิบายให้ ผู้เรียน ได้สอบถามและ นำความรู้ไปลงมือ ปฏิบัติ และนำเสนอ ผลงาน การพิจารณาด้วยอายตนะ ภายในและภายนอก เพื่อ เรียนรู้ตามเนื้อหาสาระที่ แสวงหาคำตอบและนำ ความรู้ลงมือปฏิบัติและ แสดงผลการเรียนรู้ต่อ ครู อาจารย์และต่อยอดการ พัฒนานวัตกรรมตามที่ ต้องการ โสตะ(หู) สัททะ (เสียง) ฆานะ (จมูก) คันธะ (กลิ่น) ชิวหา (ลิ้น) รส (รส) กาย (กาย) โผฏฐัพพะ (สิ่งต้อง กาย) มโน (ใจ) ธรรมารมณ์ (อารมณ์ที่ เกิดกับใจหรือสิ่งที่ใจรู้) 24ดูรายละเอียดใน วิ.มหา. (ไทย) 2/49-51/238-239, วิ.ม. (ไทย) 4/105/164-168, ม.ม. (ไทย) 13/107-112/117-124, ม.อุ. (ไทย) 14//,องฺ.เอกก. (ไทย) 20/209/28,องฺ.เอกก.อ. (ไทย) 1/269-276, ขุ.ธ.อ. (ไทย) 1/108-118, ขุ.ธ.อ. (ไทย) 1/108-111, ขุ.เถร.อ. (ไทย) 2/30-35) 102 ภาพที่ 3.7 ประยุกต์จากพุทธนวัตกรรมการสอนแบบสาธิตพระราหุลเถระ ที่มา : มาจาก สิน งามประโคน, การวิเคราะห์พุทธวิธีการสื่อสารเพื่อการเผยแพร่ พระพุทธศาสนา, (พ.ศ. 2559 : 105) ประยุกต์ไปสู่การปฏิบัติจริงสำหรับการสอนในยุค ศตวรรษที่ 21 สรุป หลักการสอนของพระพุทธเจ้ามาสู่การปฏิบัติจริงในยุคพุทธศตวรรษ 26 ปัจจุบัน 1. พุทธนวัตกรรมการสอนแบบการสาธิต พระราหุลเถระ ท่านได้ใช้อายตนะ ภายในและอายตนะภายนอกทุกด้านรับธรรมคือ จูฬราหุโลวาทสูตร 2. ผลที่ได้คือบรรลุพระอรหัตตผล ด้วยการพิจารณาอายตนะภายในว่าเป็นสิ่งที่ ไม่เทียงแท้แน่นอน ซึ่งพระพุทธองค์ได้สรุปไว้ว่าอริยสาวกผู้ได้สดับและเห็นอย่างนี้แล้ว ย่อมเบื่อหน่ายคลายกำหนัดในสิ่งเหล่านี้ เมื่อเบื่อหน่ายคลายกำหนัดจึงหลุดพ้นและรู้ชัดว่า ตนได้หลุดพ้นแล้ว อยู่จบพรหมจรรย์แล้ว 3. วิธีการสอนเด็กและมีสติปัญญาเป็นเลิศ 4. การใช้สื่อที่เหมาะสมกับเนื้อหาและเหมาะสมกับสถานการณ์ 5. เน้นการปฏิบัติด้วยตนเองและพิจารณาเรียนรู้จากกิจกรรมที่มอบหมาย 6. เลือกสถานที่แหล่งเรียนรู้ที่ส่งเสริมการเรียนรู้ 7. เลือกบุคคลตัวอย่างที่เป็นต้นแบบแต่ละสาขามากระตุ้นแรงจูงใจในอยาก เรียนรู้ตามสาขาวิชานั้น ๆ เช่น สาขาแพทย์ วิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ฯลฯ ดังภาพ ต่อไปนี้ ภาพที่3.8 ประยุกต์จากพุทธนวัตกรรมการสอนแบบการสาธิตสู่การปฏิบัติ บุคคลตัวอย่าง แต่ละสาขา สร้างทัศคติ เพิ่มแรงจูงใจ เรียนรู้ด้วยตนเอง ผลิตนวัตกรไป สร้างนวัตกรรม


104 103 ที่มา : มาจากพุทธนวัตกรรมการสอนแบบสาธิตของพระราหุลเถระ ประยุกต์ไปสู่การ ปฏิบัติจริงสำหรับการสอนในยุคศตวรรษที่ 21 โดยสังเคราะห์ของผู้เขียน (2564) ในขณะเดียวกันสอดคล้องแนวคิดของศ.นพ.วิจารณ์ พานิช25 กล่าวถึงการพัฒนา การเรียนรู้จริง (Mastery Learning) กล่าวสรุปได้ดังนี้ 1. การสอนแบบประยุกต์(แบบไม่สอน) โดยต้องช่วยให้นักศึกษาเรียนรู้โครงสร้าง ความรู้อย่างลึกซึ้ง 2. เรียนรู้หลักการที่อยู่เบื้องหลัง เรียนรู้ในบริบทการประยุกต์ 3. ใช้วิธีที่แตกต่างหลากหลาย ช่วยให้นักศึกษาเชื่อมโยงความรู้และทักษะที่ตนมี เข้ากับบริบทใหม่ที่จะใช้ความรู้และทักษะ 4. ครูในศตวรรษที่ 21 ต้องทำหน้าที่เป็นโค้ช ของการเรียนรู้ของศิษย์จริง ๆ นอกจากนั้นการเรียนรู้จริงมีองค์ประกอบ 3 ส่วน คือ 1. เรียนทักษะองค์ย่อยของ เรื่องนั้น ๆ 2. เรียนรู้วิธีการบูรณาการองค์ประกอบย่อยเข้าด้วยกัน 3. เรียนรู้การบูรณาการ ให้ได้รูปแบบที่เหมาะสมต่อสถานการณ์ในการนำไปใช้ประโยชน์จริง 3.4 พุทธนวัตกรรมการสอนแบบการแนะนำ พุทธนวัตกรรมการสอนของพระพุทธเจ้าในสมัยพุทธกาลนั้น พระพุทธเจ้าได้ทรง แนะนำการปฏิบัติให้พระสาวกได้บรรลุธรรมด้วยตนเอง พระพุทธเจ้าได้ทรงใช้อุบายในการ แนะนำให้พระสาวกได้ปฏิบัติตาม ขอยกกรณีตัวอย่าง 3 องค์คือ พระมหาโมคคัลลานเถระ พระอนุรุทธเถระและพระมหากัสสปเถระเป็นต้นแบบที่ดี ซึ่งผู้เรียบเรียงได้ศึกษาและค้นคว้า ดังต่อไปนี้ กรณีพระโมคคัลลานะบังเกิดในตระกูลพราหมณ์เป็นบุตรของนางโมคคัลลีพราหมณี หมู่บ้านโกลิตคามไม่ไกลจากกรุงราชคฤห์ส่วนการฟังธรรมออกบวชและบรรลุธรรมนั้นพึง ทราบจากเรื่องพระสารีบุตรเถระ วันหนึ่งอุปติสสะผู้เป็นสหายของท่านได้พบและฟังธรรม จากพระอัสสชิเถระจนได้ดวงตาเห็นธรรมและได้นำธรรมกลับมาแสดงแก่ท่านเมื่อฟังธรรม จบก็ได้ดวงตาเห็นธรรมเช่นกัน จากนั้นทั้งสองจงพากันไปทูลของอุปสมบทกับพระพุทธเจ้า พระพุทธเจ้าประทานให้อุปสมบท หลังจากบวชได้7 วันพระมหาโมคคัลลานะกราบทูลลาไปบำเพ็ญความเพียร ณ กัลลวาลมุตตคาม แคว้นมคธในขณะที่กำลังทำความเพียรอยู่นั้นเองถูกถินมิทธะ คือ ความ 25ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช, การเรียนรู้เกิดขึ้นได้อย่างไร, หน้า 87-88. 102 ภาพที่ 3.7 ประยุกต์จากพุทธนวัตกรรมการสอนแบบสาธิตพระราหุลเถระ ที่มา : มาจาก สิน งามประโคน, การวิเคราะห์พุทธวิธีการสื่อสารเพื่อการเผยแพร่ พระพุทธศาสนา, (พ.ศ. 2559 : 105) ประยุกต์ไปสู่การปฏิบัติจริงสำหรับการสอนในยุค ศตวรรษที่ 21 สรุป หลักการสอนของพระพุทธเจ้ามาสู่การปฏิบัติจริงในยุคพุทธศตวรรษ 26 ปัจจุบัน 1. พุทธนวัตกรรมการสอนแบบการสาธิต พระราหุลเถระ ท่านได้ใช้อายตนะ ภายในและอายตนะภายนอกทุกด้านรับธรรมคือ จูฬราหุโลวาทสูตร 2. ผลที่ได้คือบรรลุพระอรหัตตผล ด้วยการพิจารณาอายตนะภายในว่าเป็นสิ่งที่ ไม่เทียงแท้แน่นอน ซึ่งพระพุทธองค์ได้สรุปไว้ว่าอริยสาวกผู้ได้สดับและเห็นอย่างนี้แล้ว ย่อมเบื่อหน่ายคลายกำหนัดในสิ่งเหล่านี้ เมื่อเบื่อหน่ายคลายกำหนัดจึงหลุดพ้นและรู้ชัดว่า ตนได้หลุดพ้นแล้ว อยู่จบพรหมจรรย์แล้ว 3. วิธีการสอนเด็กและมีสติปัญญาเป็นเลิศ 4. การใช้สื่อที่เหมาะสมกับเนื้อหาและเหมาะสมกับสถานการณ์ 5. เน้นการปฏิบัติด้วยตนเองและพิจารณาเรียนรู้จากกิจกรรมที่มอบหมาย 6. เลือกสถานที่แหล่งเรียนรู้ที่ส่งเสริมการเรียนรู้ 7. เลือกบุคคลตัวอย่างที่เป็นต้นแบบแต่ละสาขามากระตุ้นแรงจูงใจในอยาก เรียนรู้ตามสาขาวิชานั้น ๆ เช่น สาขาแพทย์ วิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ฯลฯ ดังภาพ ต่อไปนี้ ภาพที่3.8 ประยุกต์จากพุทธนวัตกรรมการสอนแบบการสาธิตสู่การปฏิบัติ บุคคลตัวอย่าง แต่ละสาขา สร้างทัศคติ เพิ่มแรงจูงใจ เรียนรู้ด้วยตนเอง ผลิตนวัตกรไป สร้างนวัตกรรม 103 ที่มา : มาจากพุทธนวัตกรรมการสอนแบบสาธิตของพระราหุลเถระ ประยุกต์ไปสู่การ ปฏิบัติจริงสำหรับการสอนในยุคศตวรรษที่ 21 โดยสังเคราะห์ของผู้เขียน (2564) ในขณะเดียวกันสอดคล้องแนวคิดของศ.นพ.วิจารณ์ พานิช25 กล่าวถึงการพัฒนา การเรียนรู้จริง (Mastery Learning) กล่าวสรุปได้ดังนี้ 1. การสอนแบบประยุกต์(แบบไม่สอน) โดยต้องช่วยให้นักศึกษาเรียนรู้โครงสร้าง ความรู้อย่างลึกซึ้ง 2. เรียนรู้หลักการที่อยู่เบื้องหลัง เรียนรู้ในบริบทการประยุกต์ 3. ใช้วิธีที่แตกต่างหลากหลาย ช่วยให้นักศึกษาเชื่อมโยงความรู้และทักษะที่ตนมี เข้ากับบริบทใหม่ที่จะใช้ความรู้และทักษะ 4. ครูในศตวรรษที่ 21 ต้องทำหน้าที่เป็นโค้ช ของการเรียนรู้ของศิษย์จริง ๆ นอกจากนั้นการเรียนรู้จริงมีองค์ประกอบ 3 ส่วน คือ 1. เรียนทักษะองค์ย่อยของ เรื่องนั้น ๆ 2. เรียนรู้วิธีการบูรณาการองค์ประกอบย่อยเข้าด้วยกัน 3. เรียนรู้การบูรณาการ ให้ได้รูปแบบที่เหมาะสมต่อสถานการณ์ในการนำไปใช้ประโยชน์จริง 3.4 พุทธนวัตกรรมการสอนแบบการแนะนำ พุทธนวัตกรรมการสอนของพระพุทธเจ้าในสมัยพุทธกาลนั้น พระพุทธเจ้าได้ทรง แนะนำการปฏิบัติให้พระสาวกได้บรรลุธรรมด้วยตนเอง พระพุทธเจ้าได้ทรงใช้อุบายในการ แนะนำให้พระสาวกได้ปฏิบัติตาม ขอยกกรณีตัวอย่าง 3 องค์คือ พระมหาโมคคัลลานเถระ พระอนุรุทธเถระและพระมหากัสสปเถระเป็นต้นแบบที่ดี ซึ่งผู้เรียบเรียงได้ศึกษาและค้นคว้า ดังต่อไปนี้ กรณีพระโมคคัลลานะบังเกิดในตระกูลพราหมณ์เป็นบุตรของนางโมคคัลลีพราหมณี หมู่บ้านโกลิตคามไม่ไกลจากกรุงราชคฤห์ส่วนการฟังธรรมออกบวชและบรรลุธรรมนั้นพึง ทราบจากเรื่องพระสารีบุตรเถระ วันหนึ่งอุปติสสะผู้เป็นสหายของท่านได้พบและฟังธรรม จากพระอัสสชิเถระจนได้ดวงตาเห็นธรรมและได้นำธรรมกลับมาแสดงแก่ท่านเมื่อฟังธรรม จบก็ได้ดวงตาเห็นธรรมเช่นกัน จากนั้นทั้งสองจงพากันไปทูลของอุปสมบทกับพระพุทธเจ้า พระพุทธเจ้าประทานให้อุปสมบท หลังจากบวชได้7 วันพระมหาโมคคัลลานะกราบทูลลาไปบำเพ็ญความเพียร ณ กัลลวาลมุตตคาม แคว้นมคธในขณะที่กำลังทำความเพียรอยู่นั้นเองถูกถินมิทธะ คือ ความ 25ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช, การเรียนรู้เกิดขึ้นได้อย่างไร, หน้า 87-88.


105 103 ที่มา : มาจากพุทธนวัตกรรมการสอนแบบสาธิตของพระราหุลเถระ ประยุกต์ไปสู่การ ปฏิบัติจริงสำหรับการสอนในยุคศตวรรษที่ 21 โดยสังเคราะห์ของผู้เขียน (2564) ในขณะเดียวกันสอดคล้องแนวคิดของศ.นพ.วิจารณ์ พานิช25 กล่าวถึงการพัฒนา การเรียนรู้จริง (Mastery Learning) กล่าวสรุปได้ดังนี้ 1. การสอนแบบประยุกต์(แบบไม่สอน) โดยต้องช่วยให้นักศึกษาเรียนรู้โครงสร้าง ความรู้อย่างลึกซึ้ง 2. เรียนรู้หลักการที่อยู่เบื้องหลัง เรียนรู้ในบริบทการประยุกต์ 3. ใช้วิธีที่แตกต่างหลากหลาย ช่วยให้นักศึกษาเชื่อมโยงความรู้และทักษะที่ตนมี เข้ากับบริบทใหม่ที่จะใช้ความรู้และทักษะ 4. ครูในศตวรรษที่ 21 ต้องทำหน้าที่เป็นโค้ช ของการเรียนรู้ของศิษย์จริง ๆ นอกจากนั้นการเรียนรู้จริงมีองค์ประกอบ 3 ส่วน คือ 1. เรียนทักษะองค์ย่อยของ เรื่องนั้น ๆ 2. เรียนรู้วิธีการบูรณาการองค์ประกอบย่อยเข้าด้วยกัน 3. เรียนรู้การบูรณาการ ให้ได้รูปแบบที่เหมาะสมต่อสถานการณ์ในการนำไปใช้ประโยชน์จริง 3.4 พุทธนวัตกรรมการสอนแบบการแนะนำ พุทธนวัตกรรมการสอนของพระพุทธเจ้าในสมัยพุทธกาลนั้น พระพุทธเจ้าได้ทรง แนะนำการปฏิบัติให้พระสาวกได้บรรลุธรรมด้วยตนเอง พระพุทธเจ้าได้ทรงใช้อุบายในการ แนะนำให้พระสาวกได้ปฏิบัติตาม ขอยกกรณีตัวอย่าง 3 องค์คือ พระมหาโมคคัลลานเถระ พระอนุรุทธเถระและพระมหากัสสปเถระเป็นต้นแบบที่ดี ซึ่งผู้เรียบเรียงได้ศึกษาและค้นคว้า ดังต่อไปนี้ กรณีพระโมคคัลลานะบังเกิดในตระกูลพราหมณ์เป็นบุตรของนางโมคคัลลีพราหมณี หมู่บ้านโกลิตคามไม่ไกลจากกรุงราชคฤห์ส่วนการฟังธรรมออกบวชและบรรลุธรรมนั้นพึง ทราบจากเรื่องพระสารีบุตรเถระ วันหนึ่งอุปติสสะผู้เป็นสหายของท่านได้พบและฟังธรรม จากพระอัสสชิเถระจนได้ดวงตาเห็นธรรมและได้นำธรรมกลับมาแสดงแก่ท่านเมื่อฟังธรรม จบก็ได้ดวงตาเห็นธรรมเช่นกัน จากนั้นทั้งสองจงพากันไปทูลของอุปสมบทกับพระพุทธเจ้า พระพุทธเจ้าประทานให้อุปสมบท หลังจากบวชได้7 วันพระมหาโมคคัลลานะกราบทูลลาไปบำเพ็ญความเพียร ณ กัลลวาลมุตตคาม แคว้นมคธในขณะที่กำลังทำความเพียรอยู่นั้นเองถูกถินมิทธะ คือ ความ 25ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช, การเรียนรู้เกิดขึ้นได้อย่างไร, หน้า 87-88. 104 ง่วงเหงาเข้าครอบงำนั่งสัปหงกง่วงอยู่ จิตใจกระสับกระส่ายไม่เป็นสมาธิและไม่สามารถทำ ความเพียรได้ ขณะนั้นพระพุทธเจ้าประทับอยู่ณสวนเภสกลาวันกรุงสุงสุมารคิรีแคว้นภัคคะทรง ทราบด้วยพระญาณจึงเสด็จไปประทับบนพุทธอาสน์ข้างหน้าของท่านแล้วตรัสถามว่า “เธอง่วงหรือโมคคัลลานะ” พระมหาโมคคัลลานะกราบทูลว่า “อย่างนั้นพระพุทธเจ้าข้า” พระพุทธองค์จึงตรัสบอกอุบายสำหรับแก้ง่วง 7 ข้อว่า 1. โมคคัลลานะเมื่อเธอมีสัญญาอย่างไรความง่วงย่อมครอบงำได้เธอควรทำในใจถึง สัญญานั้นให้มาก 2. เธอควรตรึกตรองพิจารณาถึงธรรมตามที่ได้ฟังธรรมและได้เรียนมาแล้วให้มาก 3. เธอควรสาธยายธรรมตามที่ได้ฟังและเรียนมาแล้วโดยพิสดาร 4. เธอควรยอน (แยง) หูทั้งสองข้างและลูบตัวด้วยฝ่ามือ 5. เธอควรลุกขึ้นยืนใช้น้ำลูบตาเหลียงดูทิศทั้งหลายแหงนดูดาวนักขัตฤกษ์ 6. เธอควรทำในใจถึงสัญญาคือความสำคัญในแสงสว่างตั้งความสำคัญว่ากลางวัน ไว้ในใจโดยทำให้เป็นเหมือนกันทั้งกลางวันและกลางคืนมีจิตใจแจ่มใสไม่มีอะไรห่อหุ้มทำใจ ให้มีแสงสว่างเกิดขึ้น 7. เธอควรอธิษฐานจงกรมโดยกำหนดว่าจักเดินกลับไปกลับมาสำรวมอินทรีย์ไม่คิด ฟุ้งซ่านไปข้างนอก 8. เธอควรสำเร็จสีหไสยาสน์คือ นอนตะแคงข้างขวาให้เท้าเหลื่อมเท้ามีสติสัมปชัญญะ ตั้งใจว่าจะลุกขึ้นตลอดเวลาพอตื่นขึ้นก็ควรรีบลุกโดยเร็ว (สติสัมปชัญญะตั้ง) และทรงสอน ให้ท่านสำเหนียกในใจอีก 3 ข้อว่า 1) เราจักไม่ชูงวงคือถือตัวเข้าไปสู่สกุล 2) เราจักไม่พูดคำอันเป็นเหตุให้คนเถียงกันเข้าใจผิดกันหรือคำอันเป็นเหตุให้ พูดมาก 3) เราจักไม่คลุกคลีด้วยหมู่คณะควรหลีเร้นอยู่ตามวิสัยของสมณะ พระมหาโมคคัลลานะน้อมรับพระดำรัสพิจารณาด้วยสติปัญญาแล้วปฏิบัติตามที่ ทรงตรัสสอนจนได้บรรลุอรหัตตผลสำเร็จเป็นพระอริยบุคคลในพระพุทธศาสนาในวันนั้นเอง พระมหาโมคคัลลานเถระเป็นผู้มีฤทธิ์มากสามารถเหาะเหินเดินไปมาบนอากาศได้ ดังนั้นพระพุทธเจ้าจึงยกย่องแต่งตั้งให้เป็นเอตทัคคะผู้มีฤทธิ์มาก26 26ดูรายละเอียดใน ขุ.ธ.อ. (ไทย) 2/298-300 และพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต), 2558, น. 401, วิ.ม. (ไทย) 4/60-63/72-79, องฺ.เอกก. (ไทย) 20/190/25, องฺ.เอกก.อ. (ไทย) 1/190/170-183, ขุ.ธ.อ. 1/84-107, 576-578, ขุ.เถร.อ. (ไทย) 2/701-740.


106 104 ง่วงเหงาเข้าครอบงำนั่งสัปหงกง่วงอยู่ จิตใจกระสับกระส่ายไม่เป็นสมาธิและไม่สามารถทำ ความเพียรได้ ขณะนั้นพระพุทธเจ้าประทับอยู่ณสวนเภสกลาวันกรุงสุงสุมารคิรีแคว้นภัคคะทรง ทราบด้วยพระญาณจึงเสด็จไปประทับบนพุทธอาสน์ข้างหน้าของท่านแล้วตรัสถามว่า “เธอง่วงหรือโมคคัลลานะ” พระมหาโมคคัลลานะกราบทูลว่า “อย่างนั้นพระพุทธเจ้าข้า” พระพุทธองค์จึงตรัสบอกอุบายสำหรับแก้ง่วง 7 ข้อว่า 1. โมคคัลลานะเมื่อเธอมีสัญญาอย่างไรความง่วงย่อมครอบงำได้เธอควรทำในใจถึง สัญญานั้นให้มาก 2. เธอควรตรึกตรองพิจารณาถึงธรรมตามที่ได้ฟังธรรมและได้เรียนมาแล้วให้มาก 3. เธอควรสาธยายธรรมตามที่ได้ฟังและเรียนมาแล้วโดยพิสดาร 4. เธอควรยอน (แยง) หูทั้งสองข้างและลูบตัวด้วยฝ่ามือ 5. เธอควรลุกขึ้นยืนใช้น้ำลูบตาเหลียงดูทิศทั้งหลายแหงนดูดาวนักขัตฤกษ์ 6. เธอควรทำในใจถึงสัญญาคือความสำคัญในแสงสว่างตั้งความสำคัญว่ากลางวัน ไว้ในใจโดยทำให้เป็นเหมือนกันทั้งกลางวันและกลางคืนมีจิตใจแจ่มใสไม่มีอะไรห่อหุ้มทำใจ ให้มีแสงสว่างเกิดขึ้น 7. เธอควรอธิษฐานจงกรมโดยกำหนดว่าจักเดินกลับไปกลับมาสำรวมอินทรีย์ไม่คิด ฟุ้งซ่านไปข้างนอก 8. เธอควรสำเร็จสีหไสยาสน์คือ นอนตะแคงข้างขวาให้เท้าเหลื่อมเท้ามีสติสัมปชัญญะ ตั้งใจว่าจะลุกขึ้นตลอดเวลาพอตื่นขึ้นก็ควรรีบลุกโดยเร็ว (สติสัมปชัญญะตั้ง) และทรงสอน ให้ท่านสำเหนียกในใจอีก 3 ข้อว่า 1) เราจักไม่ชูงวงคือถือตัวเข้าไปสู่สกุล 2) เราจักไม่พูดคำอันเป็นเหตุให้คนเถียงกันเข้าใจผิดกันหรือคำอันเป็นเหตุให้ พูดมาก 3) เราจักไม่คลุกคลีด้วยหมู่คณะควรหลีเร้นอยู่ตามวิสัยของสมณะ พระมหาโมคคัลลานะน้อมรับพระดำรัสพิจารณาด้วยสติปัญญาแล้วปฏิบัติตามที่ ทรงตรัสสอนจนได้บรรลุอรหัตตผลสำเร็จเป็นพระอริยบุคคลในพระพุทธศาสนาในวันนั้นเอง พระมหาโมคคัลลานเถระเป็นผู้มีฤทธิ์มากสามารถเหาะเหินเดินไปมาบนอากาศได้ ดังนั้นพระพุทธเจ้าจึงยกย่องแต่งตั้งให้เป็นเอตทัคคะผู้มีฤทธิ์มาก26 26ดูรายละเอียดใน ขุ.ธ.อ. (ไทย) 2/298-300 และพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต), 2558, น. 401, วิ.ม. (ไทย) 4/60-63/72-79, องฺ.เอกก. (ไทย) 20/190/25, องฺ.เอกก.อ. (ไทย) 1/190/170-183, ขุ.ธ.อ. 1/84-107, 576-578, ขุ.เถร.อ. (ไทย) 2/701-740. 104 ง่วงเหงาเข้าครอบงำนั่งสัปหงกง่วงอยู่ จิตใจกระสับกระส่ายไม่เป็นสมาธิและไม่สามารถทำ ความเพียรได้ ขณะนั้นพระพุทธเจ้าประทับอยู่ณสวนเภสกลาวันกรุงสุงสุมารคิรีแคว้นภัคคะทรง ทราบด้วยพระญาณจึงเสด็จไปประทับบนพุทธอาสน์ข้างหน้าของท่านแล้วตรัสถามว่า “เธอง่วงหรือโมคคัลลานะ” พระมหาโมคคัลลานะกราบทูลว่า “อย่างนั้นพระพุทธเจ้าข้า” พระพุทธองค์จึงตรัสบอกอุบายสำหรับแก้ง่วง 7 ข้อว่า 1. โมคคัลลานะเมื่อเธอมีสัญญาอย่างไรความง่วงย่อมครอบงำได้เธอควรทำในใจถึง สัญญานั้นให้มาก 2. เธอควรตรึกตรองพิจารณาถึงธรรมตามที่ได้ฟังธรรมและได้เรียนมาแล้วให้มาก 3. เธอควรสาธยายธรรมตามที่ได้ฟังและเรียนมาแล้วโดยพิสดาร 4. เธอควรยอน (แยง) หูทั้งสองข้างและลูบตัวด้วยฝ่ามือ 5. เธอควรลุกขึ้นยืนใช้น้ำลูบตาเหลียงดูทิศทั้งหลายแหงนดูดาวนักขัตฤกษ์ 6. เธอควรทำในใจถึงสัญญาคือความสำคัญในแสงสว่างตั้งความสำคัญว่ากลางวัน ไว้ในใจโดยทำให้เป็นเหมือนกันทั้งกลางวันและกลางคืนมีจิตใจแจ่มใสไม่มีอะไรห่อหุ้มทำใจ ให้มีแสงสว่างเกิดขึ้น 7. เธอควรอธิษฐานจงกรมโดยกำหนดว่าจักเดินกลับไปกลับมาสำรวมอินทรีย์ไม่คิด ฟุ้งซ่านไปข้างนอก 8. เธอควรสำเร็จสีหไสยาสน์คือ นอนตะแคงข้างขวาให้เท้าเหลื่อมเท้ามีสติสัมปชัญญะ ตั้งใจว่าจะลุกขึ้นตลอดเวลาพอตื่นขึ้นก็ควรรีบลุกโดยเร็ว (สติสัมปชัญญะตั้ง) และทรงสอน ให้ท่านสำเหนียกในใจอีก 3 ข้อว่า 1) เราจักไม่ชูงวงคือถือตัวเข้าไปสู่สกุล 2) เราจักไม่พูดคำอันเป็นเหตุให้คนเถียงกันเข้าใจผิดกันหรือคำอันเป็นเหตุให้ พูดมาก 3) เราจักไม่คลุกคลีด้วยหมู่คณะควรหลีเร้นอยู่ตามวิสัยของสมณะ พระมหาโมคคัลลานะน้อมรับพระดำรัสพิจารณาด้วยสติปัญญาแล้วปฏิบัติตามที่ ทรงตรัสสอนจนได้บรรลุอรหัตตผลสำเร็จเป็นพระอริยบุคคลในพระพุทธศาสนาในวันนั้นเอง พระมหาโมคคัลลานเถระเป็นผู้มีฤทธิ์มากสามารถเหาะเหินเดินไปมาบนอากาศได้ ดังนั้นพระพุทธเจ้าจึงยกย่องแต่งตั้งให้เป็นเอตทัคคะผู้มีฤทธิ์มาก26 26ดูรายละเอียดใน ขุ.ธ.อ. (ไทย) 2/298-300 และพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต), 2558, น. 401, วิ.ม. (ไทย) 4/60-63/72-79, องฺ.เอกก. (ไทย) 20/190/25, องฺ.เอกก.อ. (ไทย) 1/190/170-183, ขุ.ธ.อ. 1/84-107, 576-578, ขุ.เถร.อ. (ไทย) 2/701-740. 105 ผลหลังจากพระมหาโมคคัลลานะเถระได้รับการแนะนำการปฏิบัติธรรมจาก พระพุทธเจ้า ดังนี้ 1. เป็นผู้เลิศทางอิทธิฤทธิ์มาก 2. ร่วมกับพระสารีบุตรแสดงธรรมกลับใจหมู่ภิกษุศิษย์พระเทวทัตโดยใช้ อิทธิปาฏิหาริย์อาเทสนาปาฏิหาริย์และอนุสาสนีปาฏิหาริย์27 3. พระธรรมเทศนาที่พระศาสดาแสดงกับพระมหาโมคคัลลานะที่โดดเด่นก็คือ อุบายแก้ง่วง 8 ประการ28 จากการแนะนำจากพระพุทธเจ้าของพระมหาโมคคัลลานะนั้นท่านได้ใช้ประสาท ในการรับฟังซึ่งสามารถสังเคราะห์นำไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ปัจจุบันได้ดังภาพที่ 3.9 ดังนี้ อายตนะภายใน อายตนะภายนอก เนื้อหาสาระ/กิจกรรม/ สื่อการสอน/วัดผลและ ประเมินผล ผลที่เกิดจากการเรียนรู้ จักขุ (ตา) รูป(รูป) กำหนดจุดประสงค์ตาม เนื้อหา ใช้กิจกรรมให้ลง มือทำด้วยตนเอง (Learning by doing) จนผู้เรียนสามารถเรียนรู้ ด้วยตนเองได้โดยอาศัย ครูแนะนำ ผู้เรียนเกิดทักษะการ เรียนรู้ด้วยตนเอง ครู อาจารย์เป็นเพียงผู้นำ แนะนำและปรึกษา และ ผู้เรียนมีความสุขที่ได้ ประสบการณ์เรียนรู้ด้วย ตนเอง โสตะ(หู) สัททะ (เสียง) ฆานะ (จมูก) คันธะ (กลิ่น) ชิวหา (ลิ้น) รส (รส) กาย (กาย) โผฏฐัพพะ (สิ่งต้องกาย) มโน (ใจ) ธรรมารมณ์ (อารมณ์ที่ เกิดกับใจหรือสิ่งที่ใจรู้) ภาพที่ 3.9 ประยุกต์จากพุทธนวัตกรรมการสอนแบบแนะนำพระมหาโมคคัลลานะ 27ดูรายละเอียดใน ม.มู. (ไทย) 12/181/186. 28ดูรายละเอียดใน องฺ.สตฺตก. (ไทย) 23/61/116-119.


107 105 ผลหลังจากพระมหาโมคคัลลานะเถระได้รับการแนะนำการปฏิบัติธรรมจาก พระพุทธเจ้า ดังนี้ 1. เป็นผู้เลิศทางอิทธิฤทธิ์มาก 2. ร่วมกับพระสารีบุตรแสดงธรรมกลับใจหมู่ภิกษุศิษย์พระเทวทัตโดยใช้ อิทธิปาฏิหาริย์อาเทสนาปาฏิหาริย์และอนุสาสนีปาฏิหาริย์27 3. พระธรรมเทศนาที่พระศาสดาแสดงกับพระมหาโมคคัลลานะที่โดดเด่นก็คือ อุบายแก้ง่วง 8 ประการ28 จากการแนะนำจากพระพุทธเจ้าของพระมหาโมคคัลลานะนั้นท่านได้ใช้ประสาท ในการรับฟังซึ่งสามารถสังเคราะห์นำไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ปัจจุบันได้ดังภาพที่ 3.9 ดังนี้ อายตนะภายใน อายตนะภายนอก เนื้อหาสาระ/กิจกรรม/ สื่อการสอน/วัดผลและ ประเมินผล ผลที่เกิดจากการเรียนรู้ จักขุ (ตา) รูป(รูป) กำหนดจุดประสงค์ตาม เนื้อหา ใช้กิจกรรมให้ลง มือทำด้วยตนเอง (Learning by doing) จนผู้เรียนสามารถเรียนรู้ ด้วยตนเองได้โดยอาศัย ครูแนะนำ ผู้เรียนเกิดทักษะการ เรียนรู้ด้วยตนเอง ครู อาจารย์เป็นเพียงผู้นำ แนะนำและปรึกษา และ ผู้เรียนมีความสุขที่ได้ ประสบการณ์เรียนรู้ด้วย ตนเอง โสตะ(หู) สัททะ (เสียง) ฆานะ (จมูก) คันธะ (กลิ่น) ชิวหา (ลิ้น) รส (รส) กาย (กาย) โผฏฐัพพะ (สิ่งต้องกาย) มโน (ใจ) ธรรมารมณ์ (อารมณ์ที่ เกิดกับใจหรือสิ่งที่ใจรู้) ภาพที่ 3.9 ประยุกต์จากพุทธนวัตกรรมการสอนแบบแนะนำพระมหาโมคคัลลานะ 27ดูรายละเอียดใน ม.มู. (ไทย) 12/181/186. 28ดูรายละเอียดใน องฺ.สตฺตก. (ไทย) 23/61/116-119. 105 ผลหลังจากพระมหาโมคคัลลานะเถระได้รับการแนะนำการปฏิบัติธรรมจาก พระพุทธเจ้า ดังนี้ 1. เป็นผู้เลิศทางอิทธิฤทธิ์มาก 2. ร่วมกับพระสารีบุตรแสดงธรรมกลับใจหมู่ภิกษุศิษย์พระเทวทัตโดยใช้ อิทธิปาฏิหาริย์อาเทสนาปาฏิหาริย์และอนุสาสนีปาฏิหาริย์27 3. พระธรรมเทศนาที่พระศาสดาแสดงกับพระมหาโมคคัลลานะที่โดดเด่นก็คือ อุบายแก้ง่วง 8 ประการ28 จากการแนะนำจากพระพุทธเจ้าของพระมหาโมคคัลลานะนั้นท่านได้ใช้ประสาท ในการรับฟังซึ่งสามารถสังเคราะห์นำไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ปัจจุบันได้ดังภาพที่ 3.9 ดังนี้ อายตนะภายใน อายตนะภายนอก เนื้อหาสาระ/กิจกรรม/ สื่อการสอน/วัดผลและ ประเมินผล ผลที่เกิดจากการเรียนรู้ จักขุ (ตา) รูป(รูป) กำหนดจุดประสงค์ตาม เนื้อหา ใช้กิจกรรมให้ลง มือทำด้วยตนเอง (Learning by doing) จนผู้เรียนสามารถเรียนรู้ ด้วยตนเองได้โดยอาศัย ครูแนะนำ ผู้เรียนเกิดทักษะการ เรียนรู้ด้วยตนเอง ครู อาจารย์เป็นเพียงผู้นำ แนะนำและปรึกษา และ ผู้เรียนมีความสุขที่ได้ ประสบการณ์เรียนรู้ด้วย ตนเอง โสตะ(หู) สัททะ (เสียง) ฆานะ (จมูก) คันธะ (กลิ่น) ชิวหา (ลิ้น) รส (รส) กาย (กาย) โผฏฐัพพะ (สิ่งต้องกาย) มโน (ใจ) ธรรมารมณ์ (อารมณ์ที่ เกิดกับใจหรือสิ่งที่ใจรู้) ภาพที่ 3.9 ประยุกต์จากพุทธนวัตกรรมการสอนแบบแนะนำพระมหาโมคคัลลานะ 27ดูรายละเอียดใน ม.มู. (ไทย) 12/181/186. 28ดูรายละเอียดใน องฺ.สตฺตก. (ไทย) 23/61/116-119. 105 ผลหลังจากพระมหาโมคคัลลานะเถระได้รับการแนะนำการปฏิบัติธรรมจาก พระพุทธเจ้า ดังนี้ 1. เป็นผู้เลิศทางอิทธิฤทธิ์มาก 2. ร่วมกับพระสารีบุตรแสดงธรรมกลับใจหมู่ภิกษุศิษย์พระเทวทัตโดยใช้ อิทธิปาฏิหาริย์อาเทสนาปาฏิหาริย์และอนุสาสนีปาฏิหาริย์27 3. พระธรรมเทศนาที่พระศาสดาแสดงกับพระมหาโมคคัลลานะที่โดดเด่นก็คือ อุบายแก้ง่วง 8 ประการ28 จากการแนะนำจากพระพุทธเจ้าของพระมหาโมคคัลลานะนั้นท่านได้ใช้ประสาท ในการรับฟังซึ่งสามารถสังเคราะห์นำไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ปัจจุบันได้ดังภาพที่ 3.9 ดังนี้ อายตนะภายใน อายตนะภายนอก เนื้อหาสาระ/กิจกรรม/ สื่อการสอน/วัดผลและ ประเมินผล ผลที่เกิดจากการเรียนรู้ จักขุ (ตา) รูป(รูป) กำหนดจุดประสงค์ตาม เนื้อหา ใช้กิจกรรมให้ลง มือทำด้วยตนเอง (Learning by doing) จนผู้เรียนสามารถเรียนรู้ ด้วยตนเองได้โดยอาศัย ครูแนะนำ ผู้เรียนเกิดทักษะการ เรียนรู้ด้วยตนเอง ครู อาจารย์เป็นเพียงผู้นำ แนะนำและปรึกษา และ ผู้เรียนมีความสุขที่ได้ ประสบการณ์เรียนรู้ด้วย ตนเอง โสตะ(หู) สัททะ (เสียง) ฆานะ (จมูก) คันธะ (กลิ่น) ชิวหา (ลิ้น) รส (รส) กาย (กาย) โผฏฐัพพะ (สิ่งต้องกาย) มโน (ใจ) ธรรมารมณ์ (อารมณ์ที่ เกิดกับใจหรือสิ่งที่ใจรู้) ภาพที่ 3.9 ประยุกต์จากพุทธนวัตกรรมการสอนแบบแนะนำพระมหาโมคคัลลานะ 27ดูรายละเอียดใน ม.มู. (ไทย) 12/181/186. 28ดูรายละเอียดใน องฺ.สตฺตก. (ไทย) 23/61/116-119. 106 ที่มา : มาจาก สิน งามประโคน, การวิเคราะห์พุทธวิธีการสื่อสารเพื่อการเผยแพร่ พระพุทธศาสนา, (พ.ศ. 2559 : 110) ประยุกต์ไปสู่การปฏิบัติจริงสำหรับการสอนในยุค ศตวรรษที่ 21 สรุป หลักการสอนของพระพุทธเจ้ามาสู่การปฏิบัติจริงในยุคพุทธศตวรรษ 26 ปัจจุบัน 1. พระมหาโมคคัลลานะ ท่านได้ใช้อายตนะภายในด้านมโน (ใจ) รับรู้ผ่าน ธรรมารมณ์(อารมณ์ที่เกิดกับใจหรือสิ่งที่ใจรู้) และ กาย (กาย) สิ่งกระทบร่างกาย 2. พิจารณาอุบายสำหรับแก้ง่วงในการเรียนรู้ 3. ใช้เพื่อนเป็นแหล่งเรียนรู้คู่กัน 4. ใช้สื่อที่เหมาะสม 5. ลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง 6. ให้ผู้เรียนใช้ประสบการณ์ของตนเป็นแรงบันดาลใจ ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของ ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช29 ยุทธศาสตร์การสอนแบบแนะนำให้นักศึกษาสามารถนำความรู้ ไปปฏิบัติงานได้จริง 1) เปิดโอกาสให้นักศึกษาประยุกต์ใช้ทฤษฎีในหลากหลายบริบทและรู้จัก ปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงความรู้ในบริบทใหม่ที่แตกต่างกันออกไป 2) ให้นักศึกษาตีความและยกระดับความเข้าใจสู่หลักการที่ถูกต้อง 3) ใช้การเปรียบเทียบเพื่อให้นักศึกษาเข้าใจได้ลึกซึ้ง 4) กำหนดสถานการณ์เพื่อให้นักศึกอธิบายได้ว่าจะใช้ความรู้และทักษะใด เหมาะสมกับสถานการณ์นั้น ๆ และ กรณีพระอนุรุทธเถระ พระเจ้าสุทโธทนมหาราชทรงประชุมศากยสกุลทั้งหลาย ตรัสว่า ถ้าบุตรของเราครองเรือนจักเป็นพระเจ้าจักรพรรดิประกอบด้วย 7 แม้ราหุลกุมาร นัดดาของเราจักแวดล้อมพระเจ้าจักรพรรดินั้นเที่ยวไปกับหมู่กษัตริย์แต่บัดนี้บุตรของ เราทรงเป็นพระพุทธเจ้าแล้ว ขัตติยกุมารจงเป็นบริวารของพระองค์เถิดพวกท่านจงให้ทารก คนหนึ่งจากตระกูลหนึ่ง ๆ ครั้นพระเจ้าสุทโธทนะตรัสอย่างนี้แล้วขัตติยกุมารถึงพันองค์จึง ออกผนวชโดยพระดำรัสครั้งเดียวเท่านั้น เจ้าชายอนุรุทธะได้ฟังคำของพระเชษฐาแล้วพิจารณาเห็นว่าการครองเรือนเป็น สิ่งที่ทำได้ยากมีแต่ความลำบากเดือนร้อน จึงคิดว่าจะขอบวชแทนแล้วไปขออนุญาตจาก พระมารดา แต่พระมารดากลับตั้งข้อแม้ว่า ถ้าหากจะบวชต้องไปชวนพระเจ้าภัททิยราชาให้ 29ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช, การเรียนรู้เกิดขึ้นได้อย่างไร, หน้า 100-102.


108 106 ที่มา : มาจาก สิน งามประโคน, การวิเคราะห์พุทธวิธีการสื่อสารเพื่อการเผยแพร่ พระพุทธศาสนา, (พ.ศ. 2559 : 110) ประยุกต์ไปสู่การปฏิบัติจริงสำหรับการสอนในยุค ศตวรรษที่ 21 สรุป หลักการสอนของพระพุทธเจ้ามาสู่การปฏิบัติจริงในยุคพุทธศตวรรษ 26 ปัจจุบัน 1. พระมหาโมคคัลลานะ ท่านได้ใช้อายตนะภายในด้านมโน (ใจ) รับรู้ผ่าน ธรรมารมณ์(อารมณ์ที่เกิดกับใจหรือสิ่งที่ใจรู้) และ กาย (กาย) สิ่งกระทบร่างกาย 2. พิจารณาอุบายสำหรับแก้ง่วงในการเรียนรู้ 3. ใช้เพื่อนเป็นแหล่งเรียนรู้คู่กัน 4. ใช้สื่อที่เหมาะสม 5. ลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง 6. ให้ผู้เรียนใช้ประสบการณ์ของตนเป็นแรงบันดาลใจ ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของ ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช29 ยุทธศาสตร์การสอนแบบแนะนำให้นักศึกษาสามารถนำความรู้ ไปปฏิบัติงานได้จริง 1) เปิดโอกาสให้นักศึกษาประยุกต์ใช้ทฤษฎีในหลากหลายบริบทและรู้จัก ปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงความรู้ในบริบทใหม่ที่แตกต่างกันออกไป 2) ให้นักศึกษาตีความและยกระดับความเข้าใจสู่หลักการที่ถูกต้อง 3) ใช้การเปรียบเทียบเพื่อให้นักศึกษาเข้าใจได้ลึกซึ้ง 4) กำหนดสถานการณ์เพื่อให้นักศึกอธิบายได้ว่าจะใช้ความรู้และทักษะใด เหมาะสมกับสถานการณ์นั้น ๆ และ กรณีพระอนุรุทธเถระ พระเจ้าสุทโธทนมหาราชทรงประชุมศากยสกุลทั้งหลาย ตรัสว่า ถ้าบุตรของเราครองเรือนจักเป็นพระเจ้าจักรพรรดิประกอบด้วย 7 แม้ราหุลกุมาร นัดดาของเราจักแวดล้อมพระเจ้าจักรพรรดินั้นเที่ยวไปกับหมู่กษัตริย์แต่บัดนี้บุตรของ เราทรงเป็นพระพุทธเจ้าแล้ว ขัตติยกุมารจงเป็นบริวารของพระองค์เถิดพวกท่านจงให้ทารก คนหนึ่งจากตระกูลหนึ่ง ๆ ครั้นพระเจ้าสุทโธทนะตรัสอย่างนี้แล้วขัตติยกุมารถึงพันองค์จึง ออกผนวชโดยพระดำรัสครั้งเดียวเท่านั้น เจ้าชายอนุรุทธะได้ฟังคำของพระเชษฐาแล้วพิจารณาเห็นว่าการครองเรือนเป็น สิ่งที่ทำได้ยากมีแต่ความลำบากเดือนร้อน จึงคิดว่าจะขอบวชแทนแล้วไปขออนุญาตจาก พระมารดา แต่พระมารดากลับตั้งข้อแม้ว่า ถ้าหากจะบวชต้องไปชวนพระเจ้าภัททิยราชาให้ 29ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช, การเรียนรู้เกิดขึ้นได้อย่างไร, หน้า 100-102. 106 ที่มา : มาจาก สิน งามประโคน, การวิเคราะห์พุทธวิธีการสื่อสารเพื่อการเผยแพร่ พระพุทธศาสนา, (พ.ศ. 2559 : 110) ประยุกต์ไปสู่การปฏิบัติจริงสำหรับการสอนในยุค ศตวรรษที่ 21 สรุป หลักการสอนของพระพุทธเจ้ามาสู่การปฏิบัติจริงในยุคพุทธศตวรรษ 26 ปัจจุบัน 1. พระมหาโมคคัลลานะ ท่านได้ใช้อายตนะภายในด้านมโน (ใจ) รับรู้ผ่าน ธรรมารมณ์(อารมณ์ที่เกิดกับใจหรือสิ่งที่ใจรู้) และ กาย (กาย) สิ่งกระทบร่างกาย 2. พิจารณาอุบายสำหรับแก้ง่วงในการเรียนรู้ 3. ใช้เพื่อนเป็นแหล่งเรียนรู้คู่กัน 4. ใช้สื่อที่เหมาะสม 5. ลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง 6. ให้ผู้เรียนใช้ประสบการณ์ของตนเป็นแรงบันดาลใจ ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของ ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช29 ยุทธศาสตร์การสอนแบบแนะนำให้นักศึกษาสามารถนำความรู้ ไปปฏิบัติงานได้จริง 1) เปิดโอกาสให้นักศึกษาประยุกต์ใช้ทฤษฎีในหลากหลายบริบทและรู้จัก ปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงความรู้ในบริบทใหม่ที่แตกต่างกันออกไป 2) ให้นักศึกษาตีความและยกระดับความเข้าใจสู่หลักการที่ถูกต้อง 3) ใช้การเปรียบเทียบเพื่อให้นักศึกษาเข้าใจได้ลึกซึ้ง 4) กำหนดสถานการณ์เพื่อให้นักศึกอธิบายได้ว่าจะใช้ความรู้และทักษะใด เหมาะสมกับสถานการณ์นั้น ๆ และ กรณีพระอนุรุทธเถระ พระเจ้าสุทโธทนมหาราชทรงประชุมศากยสกุลทั้งหลาย ตรัสว่า ถ้าบุตรของเราครองเรือนจักเป็นพระเจ้าจักรพรรดิประกอบด้วย 7 แม้ราหุลกุมาร นัดดาของเราจักแวดล้อมพระเจ้าจักรพรรดินั้นเที่ยวไปกับหมู่กษัตริย์แต่บัดนี้บุตรของ เราทรงเป็นพระพุทธเจ้าแล้ว ขัตติยกุมารจงเป็นบริวารของพระองค์เถิดพวกท่านจงให้ทารก คนหนึ่งจากตระกูลหนึ่ง ๆ ครั้นพระเจ้าสุทโธทนะตรัสอย่างนี้แล้วขัตติยกุมารถึงพันองค์จึง ออกผนวชโดยพระดำรัสครั้งเดียวเท่านั้น เจ้าชายอนุรุทธะได้ฟังคำของพระเชษฐาแล้วพิจารณาเห็นว่าการครองเรือนเป็น สิ่งที่ทำได้ยากมีแต่ความลำบากเดือนร้อน จึงคิดว่าจะขอบวชแทนแล้วไปขออนุญาตจาก พระมารดา แต่พระมารดากลับตั้งข้อแม้ว่า ถ้าหากจะบวชต้องไปชวนพระเจ้าภัททิยราชาให้ 29ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช, การเรียนรู้เกิดขึ้นได้อย่างไร, หน้า 100-102. 107 ออกบวชด้วย ท่านจึงไปบวช พระเจ้าภัททิยราชาจนทรงยินยอม จากนั้นได้เดินทางไปเฝ้า พระพุทธเจ้าที่อนุปิยอัพวัน แคว้นมัลละพร้อมด้วยเจ้าชายอานนท์, เจ้าชายภคุ, เจ้าชาย กิมพิละ, เจ้าชายเทวทัตและอุบาลี(นายภูษามาลา) ทั้งหมดได้ทูลขออุปสมบทพระพุทธเจ้า ทรงประทานให้ด้วยบวชวิธีเอหิภิกขุอุปสัมปทาโดยอุบาลีเป็นผู้บวชก่อนจากนั้นทั้งหมดจึง ได้อุปสมบทในพระธรรมวินัย หลังอุปสมบทแล้วพระอนุรุทธะได้เรียนกรรมฐานจากสำนักพระสารีบุตรเถระแล้ว ลาไปพักอยู่ ณ ปาจีนวังสทายวันแคว้นเจตีในที่นั้น ท่านได้พิจารณามหาปุริสวิตก 7 ข้อ ได้แก่ 1. ธรรมนี้เป็นของผู้มักน้อยไม่ใช่ของผู้มักมาก 2. ธรรมนี้เป็นของผู้สันโดษไม่ใช่ของผู้ไม่สันโดษ 3. ธรรมนี้เป็นของผู้สงัดแล้วไม่ใช่ของผู้ยินดีในหมู่คณะ 4. ธรรมนี้เป็นของผู้ปรารภความเพียรไม่ใช่ของผู้เกียจคร้าน 5. ธรรมนี้เป็นของผู้มีสติมั่นคงไม่ใช่ของผู้มีสติหลง 6. ธรรมนี้เป็นของผู้มีใจมั่นคงไม่ใช่ของผู้มีใจไม่มั่นคง 7. ธรรมนี้เป็นของผู้มีปัญญาดีไม่ใช่ของผู้มีปัญญาทราม ขณะนั้นพระพุทธเจ้าทรงทราบจึงมีพระดำรัสอนุโมทนาแล้วตรัสให้ตรึกอีก ข้อหนึ่ง คือ 8. ธรรมนี้เป็นของผู้ยินดีในธรรมที่ไม่เนิ่นช้าไม่ใช่ของผู้ยินดีในธรรมที่เนิ่นช้า30 หลังจากที่บรรลุธรรมแล้วท่านเป็นผู้เชียวชาญมักตรวจดูสัตว์โลกด้วยทิพยจักขุ (ตาทิพย์) เสมอพระพุทธองค์จึงทรงยกย่องไว้ในตำแหน่งเอตทัคคะด้านผู้มีทิพย์จักขุญาณ พระอนุรุทธเถระดำรงชีวิตอยู่มาจนถึงหลังพุทธปรินิพพานในวันที่พระพุทธเจ้าปรินิพพานที่ สาลวโนทยานเมืองกุสินาราท่านก็อยู่ที่นั้นเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการจัดพิธีถวายพระเพลิง พระบรมศพและร่วมในการทำปฐมสังคายนาด้วยจากนั้นไม่นานท่านก็ได้นิพพานภายใต้ร่ม ไผ่ในหมู่บ้านเวฬุวะแคว้นวัชชี จากการแนะนำจากพระพุทธเจ้าของพระอนุรุทธะเถระนั้นท่านได้ใช้ประสาทใน การรับฟังการเรียนซึ่งหลักการสอนและการเรียนรู้นี้สามารถสังเคราะห์นำไปประยุกต์สอน ในสถานการณ์ปัจจุบันได้เป็นอย่างดีตามภาพที่ 3.10 ดังนี้ อายตนะภายใน อายตนะภายนอก เนื้อหาสาระ/กิจกรรม/สื่อ การสอน/วัดผลและ ผลที่เกิดจากการเรียนรู้ 30ดูรายละเอียดใน วิ.จู. (ไทย) 7/330-332/167-173, องฺ.เอกก. (ไทย) 20/192/25, องฺ.อฏฺฐก. (ไทย) 23/30/278-286, องฺ.เอกก.อ. (ไทย) 1/204-212, ขุ.เถร.อ. (ไทย) 2/488-505.


109 107 ออกบวชด้วย ท่านจึงไปบวช พระเจ้าภัททิยราชาจนทรงยินยอม จากนั้นได้เดินทางไปเฝ้า พระพุทธเจ้าที่อนุปิยอัพวัน แคว้นมัลละพร้อมด้วยเจ้าชายอานนท์, เจ้าชายภคุ, เจ้าชาย กิมพิละ, เจ้าชายเทวทัตและอุบาลี(นายภูษามาลา) ทั้งหมดได้ทูลขออุปสมบทพระพุทธเจ้า ทรงประทานให้ด้วยบวชวิธีเอหิภิกขุอุปสัมปทาโดยอุบาลีเป็นผู้บวชก่อนจากนั้นทั้งหมดจึง ได้อุปสมบทในพระธรรมวินัย หลังอุปสมบทแล้วพระอนุรุทธะได้เรียนกรรมฐานจากสำนักพระสารีบุตรเถระแล้ว ลาไปพักอยู่ ณ ปาจีนวังสทายวันแคว้นเจตีในที่นั้น ท่านได้พิจารณามหาปุริสวิตก 7 ข้อ ได้แก่ 1. ธรรมนี้เป็นของผู้มักน้อยไม่ใช่ของผู้มักมาก 2. ธรรมนี้เป็นของผู้สันโดษไม่ใช่ของผู้ไม่สันโดษ 3. ธรรมนี้เป็นของผู้สงัดแล้วไม่ใช่ของผู้ยินดีในหมู่คณะ 4. ธรรมนี้เป็นของผู้ปรารภความเพียรไม่ใช่ของผู้เกียจคร้าน 5. ธรรมนี้เป็นของผู้มีสติมั่นคงไม่ใช่ของผู้มีสติหลง 6. ธรรมนี้เป็นของผู้มีใจมั่นคงไม่ใช่ของผู้มีใจไม่มั่นคง 7. ธรรมนี้เป็นของผู้มีปัญญาดีไม่ใช่ของผู้มีปัญญาทราม ขณะนั้นพระพุทธเจ้าทรงทราบจึงมีพระดำรัสอนุโมทนาแล้วตรัสให้ตรึกอีก ข้อหนึ่ง คือ 8. ธรรมนี้เป็นของผู้ยินดีในธรรมที่ไม่เนิ่นช้าไม่ใช่ของผู้ยินดีในธรรมที่เนิ่นช้า30 หลังจากที่บรรลุธรรมแล้วท่านเป็นผู้เชียวชาญมักตรวจดูสัตว์โลกด้วยทิพยจักขุ (ตาทิพย์) เสมอพระพุทธองค์จึงทรงยกย่องไว้ในตำแหน่งเอตทัคคะด้านผู้มีทิพย์จักขุญาณ พระอนุรุทธเถระดำรงชีวิตอยู่มาจนถึงหลังพุทธปรินิพพานในวันที่พระพุทธเจ้าปรินิพพานที่ สาลวโนทยานเมืองกุสินาราท่านก็อยู่ที่นั้นเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการจัดพิธีถวายพระเพลิง พระบรมศพและร่วมในการทำปฐมสังคายนาด้วยจากนั้นไม่นานท่านก็ได้นิพพานภายใต้ร่ม ไผ่ในหมู่บ้านเวฬุวะแคว้นวัชชี จากการแนะนำจากพระพุทธเจ้าของพระอนุรุทธะเถระนั้นท่านได้ใช้ประสาทใน การรับฟังการเรียนซึ่งหลักการสอนและการเรียนรู้นี้สามารถสังเคราะห์นำไปประยุกต์สอน ในสถานการณ์ปัจจุบันได้เป็นอย่างดีตามภาพที่ 3.10 ดังนี้ อายตนะภายใน อายตนะภายนอก เนื้อหาสาระ/กิจกรรม/สื่อ การสอน/วัดผลและ ผลที่เกิดจากการเรียนรู้ 30ดูรายละเอียดใน วิ.จู. (ไทย) 7/330-332/167-173, องฺ.เอกก. (ไทย) 20/192/25, องฺ.อฏฺฐก. (ไทย) 23/30/278-286, องฺ.เอกก.อ. (ไทย) 1/204-212, ขุ.เถร.อ. (ไทย) 2/488-505. 107 ออกบวชด้วย ท่านจึงไปบวช พระเจ้าภัททิยราชาจนทรงยินยอม จากนั้นได้เดินทางไปเฝ้า พระพุทธเจ้าที่อนุปิยอัพวัน แคว้นมัลละพร้อมด้วยเจ้าชายอานนท์, เจ้าชายภคุ, เจ้าชาย กิมพิละ, เจ้าชายเทวทัตและอุบาลี(นายภูษามาลา) ทั้งหมดได้ทูลขออุปสมบทพระพุทธเจ้า ทรงประทานให้ด้วยบวชวิธีเอหิภิกขุอุปสัมปทาโดยอุบาลีเป็นผู้บวชก่อนจากนั้นทั้งหมดจึง ได้อุปสมบทในพระธรรมวินัย หลังอุปสมบทแล้วพระอนุรุทธะได้เรียนกรรมฐานจากสำนักพระสารีบุตรเถระแล้ว ลาไปพักอยู่ ณ ปาจีนวังสทายวันแคว้นเจตีในที่นั้น ท่านได้พิจารณามหาปุริสวิตก 7 ข้อ ได้แก่ 1. ธรรมนี้เป็นของผู้มักน้อยไม่ใช่ของผู้มักมาก 2. ธรรมนี้เป็นของผู้สันโดษไม่ใช่ของผู้ไม่สันโดษ 3. ธรรมนี้เป็นของผู้สงัดแล้วไม่ใช่ของผู้ยินดีในหมู่คณะ 4. ธรรมนี้เป็นของผู้ปรารภความเพียรไม่ใช่ของผู้เกียจคร้าน 5. ธรรมนี้เป็นของผู้มีสติมั่นคงไม่ใช่ของผู้มีสติหลง 6. ธรรมนี้เป็นของผู้มีใจมั่นคงไม่ใช่ของผู้มีใจไม่มั่นคง 7. ธรรมนี้เป็นของผู้มีปัญญาดีไม่ใช่ของผู้มีปัญญาทราม ขณะนั้นพระพุทธเจ้าทรงทราบจึงมีพระดำรัสอนุโมทนาแล้วตรัสให้ตรึกอีก ข้อหนึ่ง คือ 8. ธรรมนี้เป็นของผู้ยินดีในธรรมที่ไม่เนิ่นช้าไม่ใช่ของผู้ยินดีในธรรมที่เนิ่นช้า30 หลังจากที่บรรลุธรรมแล้วท่านเป็นผู้เชียวชาญมักตรวจดูสัตว์โลกด้วยทิพยจักขุ (ตาทิพย์) เสมอพระพุทธองค์จึงทรงยกย่องไว้ในตำแหน่งเอตทัคคะด้านผู้มีทิพย์จักขุญาณ พระอนุรุทธเถระดำรงชีวิตอยู่มาจนถึงหลังพุทธปรินิพพานในวันที่พระพุทธเจ้าปรินิพพานที่ สาลวโนทยานเมืองกุสินาราท่านก็อยู่ที่นั้นเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการจัดพิธีถวายพระเพลิง พระบรมศพและร่วมในการทำปฐมสังคายนาด้วยจากนั้นไม่นานท่านก็ได้นิพพานภายใต้ร่ม ไผ่ในหมู่บ้านเวฬุวะแคว้นวัชชี จากการแนะนำจากพระพุทธเจ้าของพระอนุรุทธะเถระนั้นท่านได้ใช้ประสาทใน การรับฟังการเรียนซึ่งหลักการสอนและการเรียนรู้นี้สามารถสังเคราะห์นำไปประยุกต์สอน ในสถานการณ์ปัจจุบันได้เป็นอย่างดีตามภาพที่ 3.10 ดังนี้ อายตนะภายใน อายตนะภายนอก เนื้อหาสาระ/กิจกรรม/สื่อ การสอน/วัดผลและ ผลที่เกิดจากการเรียนรู้ 30ดูรายละเอียดใน วิ.จู. (ไทย) 7/330-332/167-173, องฺ.เอกก. (ไทย) 20/192/25, องฺ.อฏฺฐก. (ไทย) 23/30/278-286, องฺ.เอกก.อ. (ไทย) 1/204-212, ขุ.เถร.อ. (ไทย) 2/488-505. 108 ประเมินผล จักขุ (ตา) รูป(รูป) กระบวนการสอนด้วยการ แนะนำรูปแบบนี้ กำหนด ประเด็นให้ผู้เรียนไปค้นคว้า เรียนรู้ด้วยตนเอง โดยมีครู อาจารย์ให้แนะนำแล้วนำผล การเรียนรู้มาเสนอตาม ขั้นตอน หน้าที่ผู้เรียนนำประเด็นที่ ได้รับมอบหมายไปค้นคว้า เรียนรู้ด้วยตนเอง ผ่าน ทักษะอายตนะทั้งสองด้วย กระบวนการเรียนรู้ด้วยสื่อ สมัยใหม่แล้วนำเสนอ ผลงานด้วยความรู้สึก ภาคภูมิใจของผู้เรียน โสตะ(หู) สัททะ (เสียง) ฆานะ (จมูก) คันธะ (กลิ่น) ชิวหา (ลิ้น) รส (รส) กาย (กาย) โผฏฐัพพะ (สิ่งต้อง กาย) มโน (ใจ) ธรรมารมณ์ (อารมณ์ ที่เกิดกับใจหรือสิ่งที่ ใจรู้) ภาพที่ 3.10 พุทธนวัตกรรมการสอนแบบแนะนำพระอนุรุทธะเถระ ที่มา : มาจาก สิน งามประโคน, การวิเคราะห์พุทธวิธีการสื่อสารเพื่อการเผยแพร่ พระพุทธศาสนา, (พ.ศ. 2559 : 113) ประยุกต์ไปสู่การปฏิบัติจริงสำหรับการสอนในยุค ศตวรรษที่21 สรุป หลักการสอนของพระพุทธเจ้ามาสู่การปฏิบัติจริงในยุคพุทธศตวรรษที่ 26 ปัจจุบัน 1. พุทธนวัตกรรมการสอนแบบการแนะนำของพระพุทธเจ้าได้ใช้อายตนะภายใน ด้านมโน (ใจ) รับรู้ผ่านธรรมารมณ์ (อารมณ์ที่เกิดกับใจหรือสิ่งที่ใจรู้) 2. สร้างแรงจูงใจในการเรียนตามบริบทของกระแสสังคม 3. จัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยตนเอง 4. จัดโครงการสร้างนักศึกษาให้เป็นนวัตกรรุ่นใหม่ไปเป็นผู้สร้างนวัตกรรมในแต่ละ สาขาให้ตอบโจทย์การพัฒนาประเทศ ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของ ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช31 เทคนิคการให้คำแนะนำป้อนกลับให้นักศึกษาสามารถนำความรู้ไปปฏิบัติงานได้จริง ดังนี้ 1. ครูสังเกตหาแบบแผนของความเข้าใจผิดหรือทำผิดซ้ำหลายคนของนักศึกษา 2. ครูต้องจัดลำดับความสำคัญของคำแนะนำป้อนกลับ 3. ครูต้องสร้างดุลยภาพระหว่างจุดแข็งกับจุดอ่อนในการให้คำแนะนำป้อนกลับ 4. ครูต้องออกแบบให้มีโอกาสให้คำแนะนำป้อนกลับบ่อย ๆ 5. ครูต้องให้คำแนะนำป้อนกลับในระดับกลุ่ม 6. ครูต้องให้คำแนะนำป้อนกลับจากเพื่อน 31ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช, การเรียนรู้เกิดขึ้นได้อย่างไร, หน้า 120-123.


110 108 ประเมินผล จักขุ (ตา) รูป(รูป) กระบวนการสอนด้วยการ แนะนำรูปแบบนี้ กำหนด ประเด็นให้ผู้เรียนไปค้นคว้า เรียนรู้ด้วยตนเอง โดยมีครู อาจารย์ให้แนะนำแล้วนำผล การเรียนรู้มาเสนอตาม ขั้นตอน หน้าที่ผู้เรียนนำประเด็นที่ ได้รับมอบหมายไปค้นคว้า เรียนรู้ด้วยตนเอง ผ่าน ทักษะอายตนะทั้งสองด้วย กระบวนการเรียนรู้ด้วยสื่อ สมัยใหม่แล้วนำเสนอ ผลงานด้วยความรู้สึก ภาคภูมิใจของผู้เรียน โสตะ(หู) สัททะ (เสียง) ฆานะ (จมูก) คันธะ (กลิ่น) ชิวหา (ลิ้น) รส (รส) กาย (กาย) โผฏฐัพพะ (สิ่งต้อง กาย) มโน (ใจ) ธรรมารมณ์ (อารมณ์ ที่เกิดกับใจหรือสิ่งที่ ใจรู้) ภาพที่ 3.10 พุทธนวัตกรรมการสอนแบบแนะนำพระอนุรุทธะเถระ ที่มา : มาจาก สิน งามประโคน, การวิเคราะห์พุทธวิธีการสื่อสารเพื่อการเผยแพร่ พระพุทธศาสนา, (พ.ศ. 2559 : 113) ประยุกต์ไปสู่การปฏิบัติจริงสำหรับการสอนในยุค ศตวรรษที่21 สรุป หลักการสอนของพระพุทธเจ้ามาสู่การปฏิบัติจริงในยุคพุทธศตวรรษที่ 26 ปัจจุบัน 1. พุทธนวัตกรรมการสอนแบบการแนะนำของพระพุทธเจ้าได้ใช้อายตนะภายใน ด้านมโน (ใจ) รับรู้ผ่านธรรมารมณ์ (อารมณ์ที่เกิดกับใจหรือสิ่งที่ใจรู้) 2. สร้างแรงจูงใจในการเรียนตามบริบทของกระแสสังคม 3. จัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยตนเอง 4. จัดโครงการสร้างนักศึกษาให้เป็นนวัตกรรุ่นใหม่ไปเป็นผู้สร้างนวัตกรรมในแต่ละ สาขาให้ตอบโจทย์การพัฒนาประเทศ ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของ ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช31 เทคนิคการให้คำแนะนำป้อนกลับให้นักศึกษาสามารถนำความรู้ไปปฏิบัติงานได้จริง ดังนี้ 1. ครูสังเกตหาแบบแผนของความเข้าใจผิดหรือทำผิดซ้ำหลายคนของนักศึกษา 2. ครูต้องจัดลำดับความสำคัญของคำแนะนำป้อนกลับ 3. ครูต้องสร้างดุลยภาพระหว่างจุดแข็งกับจุดอ่อนในการให้คำแนะนำป้อนกลับ 4. ครูต้องออกแบบให้มีโอกาสให้คำแนะนำป้อนกลับบ่อย ๆ 5. ครูต้องให้คำแนะนำป้อนกลับในระดับกลุ่ม 6. ครูต้องให้คำแนะนำป้อนกลับจากเพื่อน 31ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช, การเรียนรู้เกิดขึ้นได้อย่างไร, หน้า 120-123. 108 ประเมินผล จักขุ (ตา) รูป(รูป) กระบวนการสอนด้วยการ แนะนำรูปแบบนี้ กำหนด ประเด็นให้ผู้เรียนไปค้นคว้า เรียนรู้ด้วยตนเอง โดยมีครู อาจารย์ให้แนะนำแล้วนำผล การเรียนรู้มาเสนอตาม ขั้นตอน หน้าที่ผู้เรียนนำประเด็นที่ ได้รับมอบหมายไปค้นคว้า เรียนรู้ด้วยตนเอง ผ่าน ทักษะอายตนะทั้งสองด้วย กระบวนการเรียนรู้ด้วยสื่อ สมัยใหม่แล้วนำเสนอ ผลงานด้วยความรู้สึก ภาคภูมิใจของผู้เรียน โสตะ(หู) สัททะ (เสียง) ฆานะ (จมูก) คันธะ (กลิ่น) ชิวหา (ลิ้น) รส (รส) กาย (กาย) โผฏฐัพพะ (สิ่งต้อง กาย) มโน (ใจ) ธรรมารมณ์ (อารมณ์ ที่เกิดกับใจหรือสิ่งที่ ใจรู้) ภาพที่ 3.10 พุทธนวัตกรรมการสอนแบบแนะนำพระอนุรุทธะเถระ ที่มา : มาจาก สิน งามประโคน, การวิเคราะห์พุทธวิธีการสื่อสารเพื่อการเผยแพร่ พระพุทธศาสนา, (พ.ศ. 2559 : 113) ประยุกต์ไปสู่การปฏิบัติจริงสำหรับการสอนในยุค ศตวรรษที่21 สรุป หลักการสอนของพระพุทธเจ้ามาสู่การปฏิบัติจริงในยุคพุทธศตวรรษที่ 26 ปัจจุบัน 1. พุทธนวัตกรรมการสอนแบบการแนะนำของพระพุทธเจ้าได้ใช้อายตนะภายใน ด้านมโน (ใจ) รับรู้ผ่านธรรมารมณ์ (อารมณ์ที่เกิดกับใจหรือสิ่งที่ใจรู้) 2. สร้างแรงจูงใจในการเรียนตามบริบทของกระแสสังคม 3. จัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยตนเอง 4. จัดโครงการสร้างนักศึกษาให้เป็นนวัตกรรุ่นใหม่ไปเป็นผู้สร้างนวัตกรรมในแต่ละ สาขาให้ตอบโจทย์การพัฒนาประเทศ ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของ ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช31 เทคนิคการให้คำแนะนำป้อนกลับให้นักศึกษาสามารถนำความรู้ไปปฏิบัติงานได้จริง ดังนี้ 1. ครูสังเกตหาแบบแผนของความเข้าใจผิดหรือทำผิดซ้ำหลายคนของนักศึกษา 2. ครูต้องจัดลำดับความสำคัญของคำแนะนำป้อนกลับ 3. ครูต้องสร้างดุลยภาพระหว่างจุดแข็งกับจุดอ่อนในการให้คำแนะนำป้อนกลับ 4. ครูต้องออกแบบให้มีโอกาสให้คำแนะนำป้อนกลับบ่อย ๆ 5. ครูต้องให้คำแนะนำป้อนกลับในระดับกลุ่ม 6. ครูต้องให้คำแนะนำป้อนกลับจากเพื่อน 31ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช, การเรียนรู้เกิดขึ้นได้อย่างไร, หน้า 120-123. 109 7. การเรียนสู่การปฏิบัติและการให้คำแนะป้อนกลับเป็นเรื่องดี กรณีพระมหากัสสปเถระเป็นพระสาวกผู้ใหญ่ที่มีบทบาทสำคัญในการประกาศ พระพุทธศาสนา ตอนเป็นฆราวาสได้แต่งงานกับนางภัททกาปิลานีไม่มีความต้องการในเรื่อง กามราคะเลย แต่ก็ไม่สามารถที่จะขัดใจบิดามารดาได้และเมื่อบิดามารดาทั้งสองกำหนด วันเรียบร้อยแล้ว ครั้นแต่งงานแล้วทั้งสองก็ไม่มีความยินดีอภิรมย์ในเรื่องกามคุณ ดังนั้นเวลาเข้า นอนจึงใช้พวงมาลัยคั่นกลางไว้ต่อมาสองสามีภรรยาได้รับสืบทอดสมบัติทุกอย่างของบิดา มารดาที่เสียชีวิตไป จากนั้นไม่นานพิจารณาเห็นว่าการอยู่ครองเรือนเป็นทุกข์มีแต่คอยรับ บาปจากการงานที่คนอื่นทำไว้จึงปรึกษากันว่า จักออกบวชเพื่ออุทิศตนต่อพระอรหันต์ในโลก เมื่อบวชแล้วได้แยกกันไปคนละทิศ ฝ่ายนางภัททกาปิลานีเดินไปทางซ้ายจนลุถึง สำนักภิกษุณีของพระปชาบดีโคต มีเถรีจึงขอบวชแล้วประพฤติธรรม จนบรรลุพระอรหัตตผล และได้รับยกย่องว่าให้เป็นเอตทัคคะฝ่ายภิกษุณีด้านผู้มีบุพเพนิวาสานุสสติญาณ ส่วนปิปผลิเดินไปทางขวาจนลุถึงต้นพหุปุตตนิโครธ (ต้นไทร) ซึ่งตั้งอยู่ระหว่างเขต กรุงราชคฤห์กับเขตนาลันทาต่อกัน ครั้นเข้าไปใกล้แล้วเห็นพระบรมศาสดาประทับนั่งอยู่ เกิดความเลื่อมใสจึงเข้าไปกราบถวายบังคมและทูลขออุปสมบทในพระธรรม วินัยพระพุทธ องค์ประทานให้ด้วยวิธีโอวาทปฏิคคหณูปสัมปทาคือให้รับเอาพระโอวาท 3 ข้อได้แก่ 1. กัสสปะเธอพึงศึกษาอย่างนี้ว่า “เราจักเข้าไปตั้งความละอายและความเกรงใจไว้ ในภิกษุทั้งที่เป็นผู้เฒ่าทั้งที่เป็นผู้ใหม่ทั้งที่เป็นผู้ปานกลางอย่างแรงกล้า” 2. กัสสปะเธอพึงศึกษาอย่างนี้ว่า “เราจักฟังธรรมบทใดบทหนึ่งซึ่งประกอบด้วย กุศลเราจักเงี่ยหูลงฟังธรรมแล้วพิจารณาเนื้อความแห่งธรรมนั้น” 3. กัสสปะเธอพึงศึกษาอย่างนี้ว่า “เราจักไม่ละสติที่ไปในกายคือพิจารณาร่างกาย เป็นอารมณ์” พระมหากัสสปะกล่าวกับพระอานนท์ในภายหลังว่า “ดูก่อนผู้มีอายุเราเป็นหนี้ บริโภคก้อนข้าวของราษฎรถึง 1 สัปดาห์วันที่ 8 พระอรหัตตผลจึงบังเกิดขึ้น” พระมหากัส สเถระพระพุทธองค์ทรงแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งเอตทัคคะด้านผู้ทรงธุดงค์คุณ พระมหากัสสปะเถระได้เป็นกำลังสำคัญในการประกาศพระพุทธศาสนาจน ประดิษฐ์ฐานมั่นคงมาถึงทุกวันนี้และบทบาทที่สำคัญที่สุดคือเป็นผู้ริเริ่มและเป็นประธานใน การทำปฐมสังคายนาณถ้ำสัตตบรรณคูหาข้างภูเขาเวภารบรรพตกรุงราชคฤห์ เป็นการทำ สังคายนาครั้งแรกนี้ปรารภเหตุที่พระสุภัททวุฑฒบรรพชิตกล่าวจ้วงจาบพระธรรมวินัยใน คราวที่ท่านเดินทางมาจากกรุงกุสินารา พระเถระดำริว่าพระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธปรินิพพาน เพียง 7 เท่านั้นยังมีภิกษุกล่าวจ้วงจาบพระธรรมวินัยต่อไปจักเป็นอันตรายต่อพระศาสนา


111 109 7. การเรียนสู่การปฏิบัติและการให้คำแนะป้อนกลับเป็นเรื่องดี กรณีพระมหากัสสปเถระเป็นพระสาวกผู้ใหญ่ที่มีบทบาทสำคัญในการประกาศ พระพุทธศาสนา ตอนเป็นฆราวาสได้แต่งงานกับนางภัททกาปิลานีไม่มีความต้องการในเรื่อง กามราคะเลย แต่ก็ไม่สามารถที่จะขัดใจบิดามารดาได้และเมื่อบิดามารดาทั้งสองกำหนด วันเรียบร้อยแล้ว ครั้นแต่งงานแล้วทั้งสองก็ไม่มีความยินดีอภิรมย์ในเรื่องกามคุณ ดังนั้นเวลาเข้า นอนจึงใช้พวงมาลัยคั่นกลางไว้ต่อมาสองสามีภรรยาได้รับสืบทอดสมบัติทุกอย่างของบิดา มารดาที่เสียชีวิตไป จากนั้นไม่นานพิจารณาเห็นว่าการอยู่ครองเรือนเป็นทุกข์มีแต่คอยรับ บาปจากการงานที่คนอื่นทำไว้จึงปรึกษากันว่า จักออกบวชเพื่ออุทิศตนต่อพระอรหันต์ในโลก เมื่อบวชแล้วได้แยกกันไปคนละทิศ ฝ่ายนางภัททกาปิลานีเดินไปทางซ้ายจนลุถึง สำนักภิกษุณีของพระปชาบดีโคต มีเถรีจึงขอบวชแล้วประพฤติธรรม จนบรรลุพระอรหัตตผล และได้รับยกย่องว่าให้เป็นเอตทัคคะฝ่ายภิกษุณีด้านผู้มีบุพเพนิวาสานุสสติญาณ ส่วนปิปผลิเดินไปทางขวาจนลุถึงต้นพหุปุตตนิโครธ (ต้นไทร) ซึ่งตั้งอยู่ระหว่างเขต กรุงราชคฤห์กับเขตนาลันทาต่อกัน ครั้นเข้าไปใกล้แล้วเห็นพระบรมศาสดาประทับนั่งอยู่ เกิดความเลื่อมใสจึงเข้าไปกราบถวายบังคมและทูลขออุปสมบทในพระธรรม วินัยพระพุทธ องค์ประทานให้ด้วยวิธีโอวาทปฏิคคหณูปสัมปทาคือให้รับเอาพระโอวาท 3 ข้อได้แก่ 1. กัสสปะเธอพึงศึกษาอย่างนี้ว่า “เราจักเข้าไปตั้งความละอายและความเกรงใจไว้ ในภิกษุทั้งที่เป็นผู้เฒ่าทั้งที่เป็นผู้ใหม่ทั้งที่เป็นผู้ปานกลางอย่างแรงกล้า” 2. กัสสปะเธอพึงศึกษาอย่างนี้ว่า “เราจักฟังธรรมบทใดบทหนึ่งซึ่งประกอบด้วย กุศลเราจักเงี่ยหูลงฟังธรรมแล้วพิจารณาเนื้อความแห่งธรรมนั้น” 3. กัสสปะเธอพึงศึกษาอย่างนี้ว่า “เราจักไม่ละสติที่ไปในกายคือพิจารณาร่างกาย เป็นอารมณ์” พระมหากัสสปะกล่าวกับพระอานนท์ในภายหลังว่า “ดูก่อนผู้มีอายุเราเป็นหนี้ บริโภคก้อนข้าวของราษฎรถึง 1 สัปดาห์วันที่ 8 พระอรหัตตผลจึงบังเกิดขึ้น” พระมหากัส สเถระพระพุทธองค์ทรงแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งเอตทัคคะด้านผู้ทรงธุดงค์คุณ พระมหากัสสปะเถระได้เป็นกำลังสำคัญในการประกาศพระพุทธศาสนาจน ประดิษฐ์ฐานมั่นคงมาถึงทุกวันนี้และบทบาทที่สำคัญที่สุดคือเป็นผู้ริเริ่มและเป็นประธานใน การทำปฐมสังคายนาณถ้ำสัตตบรรณคูหาข้างภูเขาเวภารบรรพตกรุงราชคฤห์ เป็นการทำ สังคายนาครั้งแรกนี้ปรารภเหตุที่พระสุภัททวุฑฒบรรพชิตกล่าวจ้วงจาบพระธรรมวินัยใน คราวที่ท่านเดินทางมาจากกรุงกุสินารา พระเถระดำริว่าพระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธปรินิพพาน เพียง 7 เท่านั้นยังมีภิกษุกล่าวจ้วงจาบพระธรรมวินัยต่อไปจักเป็นอันตรายต่อพระศาสนา 110 จึงชักชวนภิกษุสาวกให้ร่วมทำสังคายนาในวันเพ็ญเดิน 10 หลังพระพุทธเจ้าปรินิพพานได้ 3 เดือนโดยพระอุบาลีรับหน้าที่เป็นผู้วิสัชนาพระวินัยและพระอานนท์รับหน้าที่เป็นผู้วิสัชนา พระธรรมใช้เวลารวม 7 เดือนจึงสำเร็จมีภิกษุเข้าร่วมประมาณ 500 รูปพระเจ้าอชาต ศัตรูทรงเป็นผู้อุปถัมภ์ พระมหากัสสปะเถระได้บำเพ็ญประโยชน์ในพระพุทธศาสนามาจนสิ้นอายุขัยก่อน นิพพาน 1 วัน ท่านได้กล่าวให้โอวาทแก่ภิกษุสงฆ์และพุทธบริษัทไม่ให้ประมาทในการทำ ความเพียรและไม่ต้องโศกเศร้าเสียใจแล้วจึงนิพพาน ณ กุกุกฏสัปปาตบรรพต กรุงราชคฤห์ รวมอายุได้120 ปี32 ผลการจากพระมหากัสสปะเถระได้รับการแนะนำการปฏิบัติธรรมจาก พระพุทธเจ้า ดังนี้ 1. เป็นภิกษุสาวกผู้เลิศทางธุดงค์ 2. เป็นประธานสังคายนาธรรมวินัยเป็นครั้งแรกในโลก 3. เป็นผู้ที่พระศาสดาทรงยกย่องว่าเป็นผู้สันโดษในปัจจัย 4. ท่านปรินิพพานเมื่ออายุ120 ปี จากการแนะนำการปฏิบัติธรรมจากพระพุทธเจ้าของพระมหากัสสปะเถระนั้นท่าน ได้ใช้ประสาทในการรับฟังซึ่งเป็นส่วนสำคัญของการบรรลุธรรมของท่านสามารถสังเคราะห์ ได้ดังภาพที่ 3.11 ดังนี้ อายตนะภายใน อายตนะภายนอก เนื้อหาสาระ/กิจกรรม/สื่อ การสอน/วัดผลและ ประเมินผล ผลที่เกิดจาก การเรียนรู้ จักขุ (ตา) รูป(รูป) กำหนดจุดประสงค์การเรียน ให้เปลี่ยนพฤติกรรมผู้เรียน ได้ ใช้กิจกรรมให้เรียนรู้ด้วย ตนเองด้วยเทคนิคต่าง ๆ ที่ ทันสมัย ครูเป็นที่ปรึกษา เรียนรู้พร้อมกับศิษย์ ผู้เรียนได้ตรึกตรอง ด้วยสติปัญญา จาก กิจกรรมการเรียนด้วย ตนเอง แล้วนำเสนอ ผลการเรียนต่อครูที่ ปรึกษา และผู้เรียนมี ความสุขกับการเรียน โสตะ(หู) สัททะ (เสียง) ฆานะ (จมูก) คันธะ (กลิ่น) ชิวหา (ลิ้น) รส (รส) กาย (กาย) โผฏฐัพพะ (สิ่งต้องกาย) มโน (ใจ) ธรรมารมณ์ (อารมณ์ที่ เกิดกับใจหรือสิ่งที่ใจรู้) ภาพที่ 3.11 ประยุกต์จากพุทธนวัตกรรมการสื่อสารแบบแนะนำพระมหากัสสปะเถระ 32สิน งามประโคน, การวิเคราะห์พุทธวิธีการสื่อสารเพื่อการเผยแพร่พระพุทธศาสนา, คณะครุศาสตร์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2559), หน้า 118. 110 จึงชักชวนภิกษุสาวกให้ร่วมทำสังคายนาในวันเพ็ญเดิน 10 หลังพระพุทธเจ้าปรินิพพานได้ 3 เดือนโดยพระอุบาลีรับหน้าที่เป็นผู้วิสัชนาพระวินัยและพระอานนท์รับหน้าที่เป็นผู้วิสัชนา พระธรรมใช้เวลารวม 7 เดือนจึงสำเร็จมีภิกษุเข้าร่วมประมาณ 500 รูปพระเจ้าอชาต ศัตรูทรงเป็นผู้อุปถัมภ์ พระมหากัสสปะเถระได้บำเพ็ญประโยชน์ในพระพุทธศาสนามาจนสิ้นอายุขัยก่อน นิพพาน 1 วัน ท่านได้กล่าวให้โอวาทแก่ภิกษุสงฆ์และพุทธบริษัทไม่ให้ประมาทในการทำ ความเพียรและไม่ต้องโศกเศร้าเสียใจแล้วจึงนิพพาน ณ กุกุกฏสัปปาตบรรพต กรุงราชคฤห์ รวมอายุได้120 ปี32 ผลการจากพระมหากัสสปะเถระได้รับการแนะนำการปฏิบัติธรรมจาก พระพุทธเจ้า ดังนี้ 1. เป็นภิกษุสาวกผู้เลิศทางธุดงค์ 2. เป็นประธานสังคายนาธรรมวินัยเป็นครั้งแรกในโลก 3. เป็นผู้ที่พระศาสดาทรงยกย่องว่าเป็นผู้สันโดษในปัจจัย 4. ท่านปรินิพพานเมื่ออายุ120 ปี จากการแนะนำการปฏิบัติธรรมจากพระพุทธเจ้าของพระมหากัสสปะเถระนั้นท่าน ได้ใช้ประสาทในการรับฟังซึ่งเป็นส่วนสำคัญของการบรรลุธรรมของท่านสามารถสังเคราะห์ ได้ดังภาพที่ 3.11 ดังนี้ อายตนะภายใน อายตนะภายนอก เนื้อหาสาระ/กิจกรรม/สื่อ การสอน/วัดผลและ ประเมินผล ผลที่เกิดจาก การเรียนรู้ จักขุ (ตา) รูป(รูป) กำหนดจุดประสงค์การเรียน ให้เปลี่ยนพฤติกรรมผู้เรียน ได้ ใช้กิจกรรมให้เรียนรู้ด้วย ตนเองด้วยเทคนิคต่าง ๆ ที่ ทันสมัย ครูเป็นที่ปรึกษา เรียนรู้พร้อมกับศิษย์ ผู้เรียนได้ตรึกตรอง ด้วยสติปัญญา จาก กิจกรรมการเรียนด้วย ตนเอง แล้วนำเสนอ ผลการเรียนต่อครูที่ ปรึกษา และผู้เรียนมี ความสุขกับการเรียน โสตะ(หู) สัททะ (เสียง) ฆานะ (จมูก) คันธะ (กลิ่น) ชิวหา (ลิ้น) รส (รส) กาย (กาย) โผฏฐัพพะ (สิ่งต้องกาย) มโน (ใจ) ธรรมารมณ์ (อารมณ์ที่ เกิดกับใจหรือสิ่งที่ใจรู้) ภาพที่ 3.11 ประยุกต์จากพุทธนวัตกรรมการสื่อสารแบบแนะนำพระมหากัสสปะเถระ 32สิน งามประโคน, การวิเคราะห์พุทธวิธีการสื่อสารเพื่อการเผยแพร่พระพุทธศาสนา, คณะครุศาสตร์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2559), หน้า 118.


112 110 จึงชักชวนภิกษุสาวกให้ร่วมทำสังคายนาในวันเพ็ญเดิน 10 หลังพระพุทธเจ้าปรินิพพานได้ 3 เดือนโดยพระอุบาลีรับหน้าที่เป็นผู้วิสัชนาพระวินัยและพระอานนท์รับหน้าที่เป็นผู้วิสัชนา พระธรรมใช้เวลารวม 7 เดือนจึงสำเร็จมีภิกษุเข้าร่วมประมาณ 500 รูปพระเจ้าอชาต ศัตรูทรงเป็นผู้อุปถัมภ์ พระมหากัสสปะเถระได้บำเพ็ญประโยชน์ในพระพุทธศาสนามาจนสิ้นอายุขัยก่อน นิพพาน 1 วัน ท่านได้กล่าวให้โอวาทแก่ภิกษุสงฆ์และพุทธบริษัทไม่ให้ประมาทในการทำ ความเพียรและไม่ต้องโศกเศร้าเสียใจแล้วจึงนิพพาน ณ กุกุกฏสัปปาตบรรพต กรุงราชคฤห์ รวมอายุได้120 ปี32 ผลการจากพระมหากัสสปะเถระได้รับการแนะนำการปฏิบัติธรรมจาก พระพุทธเจ้า ดังนี้ 1. เป็นภิกษุสาวกผู้เลิศทางธุดงค์ 2. เป็นประธานสังคายนาธรรมวินัยเป็นครั้งแรกในโลก 3. เป็นผู้ที่พระศาสดาทรงยกย่องว่าเป็นผู้สันโดษในปัจจัย 4. ท่านปรินิพพานเมื่ออายุ120 ปี จากการแนะนำการปฏิบัติธรรมจากพระพุทธเจ้าของพระมหากัสสปะเถระนั้นท่าน ได้ใช้ประสาทในการรับฟังซึ่งเป็นส่วนสำคัญของการบรรลุธรรมของท่านสามารถสังเคราะห์ ได้ดังภาพที่ 3.11 ดังนี้ อายตนะภายใน อายตนะภายนอก เนื้อหาสาระ/กิจกรรม/สื่อ การสอน/วัดผลและ ประเมินผล ผลที่เกิดจาก การเรียนรู้ จักขุ (ตา) รูป(รูป) กำหนดจุดประสงค์การเรียน ให้เปลี่ยนพฤติกรรมผู้เรียน ได้ ใช้กิจกรรมให้เรียนรู้ด้วย ตนเองด้วยเทคนิคต่าง ๆ ที่ ทันสมัย ครูเป็นที่ปรึกษา เรียนรู้พร้อมกับศิษย์ ผู้เรียนได้ตรึกตรอง ด้วยสติปัญญา จาก กิจกรรมการเรียนด้วย ตนเอง แล้วนำเสนอ ผลการเรียนต่อครูที่ ปรึกษา และผู้เรียนมี ความสุขกับการเรียน โสตะ(หู) สัททะ (เสียง) ฆานะ (จมูก) คันธะ (กลิ่น) ชิวหา (ลิ้น) รส (รส) กาย (กาย) โผฏฐัพพะ (สิ่งต้องกาย) มโน (ใจ) ธรรมารมณ์ (อารมณ์ที่ เกิดกับใจหรือสิ่งที่ใจรู้) ภาพที่ 3.11 ประยุกต์จากพุทธนวัตกรรมการสื่อสารแบบแนะนำพระมหากัสสปะเถระ 32สิน งามประโคน, การวิเคราะห์พุทธวิธีการสื่อสารเพื่อการเผยแพร่พระพุทธศาสนา, คณะครุศาสตร์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2559), หน้า 118. 111 ที่มา : มาจาก สิน งามประโคน, การวิเคราะห์พุทธวิธีการสื่อสารเพื่อการเผยแพร่ พระพุทธศาสนา, (2559) ประยุกต์ไปสู่การปฏิบัติจริงสำหรับการสอนในยุคศตวรรษที่ 21 สรุป หลักการสอนของพระพุทธเจ้ามาสู่การปฏิบัติจริงในยุคพุทธศตวรรษที่ 26 ปัจจุบัน 1. พุทธนวัตกรรมการสอนแบบการแนะนำของพระพุทธเจ้าที่ได้แสดงแก่พระ มหากัสสปะเถระ ท่านได้ใช้อายตนะภายในด้านมโน (ใจ) รับรู้ผ่านธรรมารมณ์ (อารมณ์ที่ เกิดกับใจหรือสิ่งที่ใจรู้) และกาย (กาย) 2. มอบหมายงานให้เรียนรู้ด้วยตนเอง 3. จัดกิจกรรมให้ทำงานเป็นทีมและรายงานความรู้ในชั้นเรียน 4. จัดโครงการสร้างนักศึกษาให้เป็นนวัตกรรุ่นใหม่ไปเป็นผู้สร้างนวัตกรรมในแต่ละ สาขาให้ตอบโจทย์การพัฒนาประเทศ 5. เปิดโอกาสให้ตั้งคำถามและแสดงความคิดเห็นอย่างมีส่วนร่วมในการเรียน ในขณะที่ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช33 กล่าวถึงการสอนแบบการแนะนำให้นักศึกษา เรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Directed Learner) ต้องรู้ขั้นตอนของการเรียนรู้ที่ถูกต้อง และมี ทักษะในการตรวจสอบขั้นตอนการเรียนรู้ของตนเองมี 5 ขั้นตอน คือ 1. มีทักษะในการประเมินตัวงานที่จะต้องทำ 2. มีทักษะในการประเมินความรู้และทักษะของตนเองสำหรับงานนั้น 3. มีทักษะในการวางแผนการทำงาน 4. มีทักษะในการติดตามประเมินความก้าวหน้าของตนเอง 5. มีทักษะในการปรับปรุงยุทธศาสตร์การทำงานของตน ทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเองเป็นชุดการฝึกปฏิบัติการเรียนในศตวรรษที่ 21 เพื่อ การเรียนรู้ตลอดชีวิตซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของศาสตราจารย์ ดร.สิริวรรณ ศรีพหล (2558) ได้กล่าวถึงการเรียนการสอนเป็นกระบวนการหาความรู้ ความจริง และวิธี แก้ปัญหาด้วยกระบวนการตั้งคำถาม ด้วยกระบวนการวิทยาศาสตร์ทั้งทางโลกและทาง ธรรม34 33ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช, การเรียนรู้เกิดขึ้นได้อย่างไร, หน้า 153. 34 ศาสตราจารย์ ดร.สิริวรรณ ศรีพหล (2558), การจัดการเรียนการสอนวิชาพระพุทธศาสนา ในสถานศึกษา, นนทบุรี : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2558, หน้า 255.


113 111 ที่มา : มาจาก สิน งามประโคน, การวิเคราะห์พุทธวิธีการสื่อสารเพื่อการเผยแพร่ พระพุทธศาสนา, (2559) ประยุกต์ไปสู่การปฏิบัติจริงสำหรับการสอนในยุคศตวรรษที่ 21 สรุป หลักการสอนของพระพุทธเจ้ามาสู่การปฏิบัติจริงในยุคพุทธศตวรรษที่ 26 ปัจจุบัน 1. พุทธนวัตกรรมการสอนแบบการแนะนำของพระพุทธเจ้าที่ได้แสดงแก่พระ มหากัสสปะเถระ ท่านได้ใช้อายตนะภายในด้านมโน (ใจ) รับรู้ผ่านธรรมารมณ์ (อารมณ์ที่ เกิดกับใจหรือสิ่งที่ใจรู้) และกาย (กาย) 2. มอบหมายงานให้เรียนรู้ด้วยตนเอง 3. จัดกิจกรรมให้ทำงานเป็นทีมและรายงานความรู้ในชั้นเรียน 4. จัดโครงการสร้างนักศึกษาให้เป็นนวัตกรรุ่นใหม่ไปเป็นผู้สร้างนวัตกรรมในแต่ละ สาขาให้ตอบโจทย์การพัฒนาประเทศ 5. เปิดโอกาสให้ตั้งคำถามและแสดงความคิดเห็นอย่างมีส่วนร่วมในการเรียน ในขณะที่ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช33 กล่าวถึงการสอนแบบการแนะนำให้นักศึกษา เรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Directed Learner) ต้องรู้ขั้นตอนของการเรียนรู้ที่ถูกต้อง และมี ทักษะในการตรวจสอบขั้นตอนการเรียนรู้ของตนเองมี 5 ขั้นตอน คือ 1. มีทักษะในการประเมินตัวงานที่จะต้องทำ 2. มีทักษะในการประเมินความรู้และทักษะของตนเองสำหรับงานนั้น 3. มีทักษะในการวางแผนการทำงาน 4. มีทักษะในการติดตามประเมินความก้าวหน้าของตนเอง 5. มีทักษะในการปรับปรุงยุทธศาสตร์การทำงานของตน ทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเองเป็นชุดการฝึกปฏิบัติการเรียนในศตวรรษที่ 21 เพื่อ การเรียนรู้ตลอดชีวิตซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของศาสตราจารย์ ดร.สิริวรรณ ศรีพหล (2558) ได้กล่าวถึงการเรียนการสอนเป็นกระบวนการหาความรู้ ความจริง และวิธี แก้ปัญหาด้วยกระบวนการตั้งคำถาม ด้วยกระบวนการวิทยาศาสตร์ทั้งทางโลกและทาง ธรรม34 33ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช, การเรียนรู้เกิดขึ้นได้อย่างไร, หน้า 153. 34 ศาสตราจารย์ ดร.สิริวรรณ ศรีพหล (2558), การจัดการเรียนการสอนวิชาพระพุทธศาสนา ในสถานศึกษา, นนทบุรี : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2558, หน้า 255. 112 3.5 พุทธนวัตกรรมการสอนแบบการถาม-ตอบ การถาม-ตอบในการเผยแพร่พุทธศาสนาของพระพุทธเจ้านั้นได้ทรงใช้การถามตอบเป็นการสื่อสารให้ผู้ฟังได้เข้าใจในหลักธรรม ผู้เรียบเรียงขอยกตัวอย่างการถาม-ตอบ ของพระพุทธเจ้ากับพระสาวกในการสื่อสารของพระวังคีสเถระและพระปุณณมันตานีบุตร เถระ เป็นพระสาวกตัวอย่างที่ดี35 ดังนี้ กรณีพระวังคีสะเถระเกิดในตระกูลพราหมณ์มีความเชี่ยวชาญในมนต์ทำนาย ลักษณะคนที่ตายแล้ว (ฉวสีมนต์) ซึ่งเมื่อสาธยายมนต์นี้แล้วเคาะกะโหลกศีรษะจะทำให้รู้ว่า เจ้าของกะโหลกนั้นไปเกิดในที่ไหนจึงได้อาศัยมนต์นี้ทำมาหาเลี้ยงชีพเรื่อยมา ต่อมาศิษย์ของวังคีสะเห็นว่าหากปล่อยให้มหาชนไปเฝ้าพระบรมศาสดากันหมดก็คง จะไม่มีใครมาบริจาคทรัพย์สินให้เหมือนเดิมอีกต่อไปจึงกล่าวชักชวนให้มาดูวังคีสะดีกว่าเพราะ สามารถรู้ได้ว่าคนตายแล้วจะเกิดเป็นอะไรและเกิดที่ไหนผู้วิเศษกว่าวังคีสะไม่มีอีกแล้วจน เกิดโต้เถียงจนตกลงกันไม่ได้จึงพากันไปเฝ้าพระพุทธเจ้าพร้อมกับวังคีสะณเชตวันมหาวิหาร พระพุทธเจ้ามีพระดำรัสสั่งให้นำกะโหลกศีรษะคนตายมาตั้งเรียงรายไว้ตามลำดับ 5 กะโหลกได้แก่ 1. กะโหลกคนที่ไปเกิดในนรก 2. กะโหลกคนที่ไปเกิดในสวรรค์3. กะโหลก คนที่ไปเกิดเป็นสัตว์เดรัจฉาน 4. กะโหลกคนที่ไปเกิดเป็นมนุษย์5. กะโหลกของพระอรหันต์ จากนั้นพระพุทธเจ้ารับสั่งให้วังคีสะเคาะแล้วตรัสถามถึงสถานที่จะไปเกิดของ กะโหลกศีรษะทั้ง 5 ทีละกะโหลกวังคีสะเคาะแล้วสามารถรู้ได้เพียงแค่กะโหลกที่ 1 – 4 คือ กะโหลกคนที่จะไปเกิดในนรกสวรรค์สัตว์เดรัจฉานและมนุษย์เท่านั้น ครั้นพระพุทธองค์ตรัสถามถึงกะโหลกที่ 5 ซึ่งเป็นของพระอรหันต์วังคีสะร่ายมนต์ แล้วเคาะกะโหลกเท่าไรก็ไม่อาจรู้ได้จึงนิ่งเสียพระพุทธองค์ตรัสว่า “วังคีสะเธอไม่รู้หรือ” วังคีสะจึงกราบทูลว่า “ข้าพระองค์ไม่รู้พระเจ้าข้า” พระพุทธองค์ตรัสว่า “ตถาคต รู้” วังคีสะจึงถามต่ออีกว่า “พระองค์รู้ด้วยอะไร” พระพุทธองค์จึงตรัสตอบว่า “รู้ด้วยกำลัง มนต์” เมื่อวังคีสะได้ฟังเช่นนั้นแล้วเกิดความสนใจอยากเรียนมนต์นั้นบ้างจึงกราบทูลขอ เรียนแต่พระพุทธองค์ตรัสว่าคนที่ไม่ได้บวชไม่สามารถเรียนได้วังคีสะคิดว่า “ถ้าเราได้เรียน มนต์แล้วจักได้เป็นใหญ่ในชมพูทวีป อีกทั้งจะเป็นประโยชน์แก่อาชีพของตนด้วย” จึงบอก ให้พราหมณ์ผู้เป็นสหายเหล่านั้นรออยู่สัก 2-3 วัน แล้วได้ออกบวชในพระพุทธศาสนาโดย หวังจะได้เรียนมนต์วิเศษเพื่อใช้เป็นเครื่องเลี้ยงชีพต่อไป หลังจากบวชแล้วพระพุทธองค์ได้ตรัสสอนกรรมฐานแล้วให้พิจารณาอาการ 32 เป็นอารมณ์ท่านเล่าเรียนและสาธยายไปไม่นานก็บรรลุอรหัตตผลสำเร็จเป็นพระอริยบุคคล 35สิน งามประโคน, การวิเคราะห์พุทธวิธีการสื่อสารเพื่อการเผยแพร่พระพุทธศาสนา, หน้า 118. 111 ที่มา : มาจาก สิน งามประโคน, การวิเคราะห์พุทธวิธีการสื่อสารเพื่อการเผยแพร่ พระพุทธศาสนา, (2559) ประยุกต์ไปสู่การปฏิบัติจริงสำหรับการสอนในยุคศตวรรษที่ 21 สรุป หลักการสอนของพระพุทธเจ้ามาสู่การปฏิบัติจริงในยุคพุทธศตวรรษที่ 26 ปัจจุบัน 1. พุทธนวัตกรรมการสอนแบบการแนะนำของพระพุทธเจ้าที่ได้แสดงแก่พระ มหากัสสปะเถระ ท่านได้ใช้อายตนะภายในด้านมโน (ใจ) รับรู้ผ่านธรรมารมณ์ (อารมณ์ที่ เกิดกับใจหรือสิ่งที่ใจรู้) และกาย (กาย) 2. มอบหมายงานให้เรียนรู้ด้วยตนเอง 3. จัดกิจกรรมให้ทำงานเป็นทีมและรายงานความรู้ในชั้นเรียน 4. จัดโครงการสร้างนักศึกษาให้เป็นนวัตกรรุ่นใหม่ไปเป็นผู้สร้างนวัตกรรมในแต่ละ สาขาให้ตอบโจทย์การพัฒนาประเทศ 5. เปิดโอกาสให้ตั้งคำถามและแสดงความคิดเห็นอย่างมีส่วนร่วมในการเรียน ในขณะที่ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช33 กล่าวถึงการสอนแบบการแนะนำให้นักศึกษา เรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Directed Learner) ต้องรู้ขั้นตอนของการเรียนรู้ที่ถูกต้อง และมี ทักษะในการตรวจสอบขั้นตอนการเรียนรู้ของตนเองมี 5 ขั้นตอน คือ 1. มีทักษะในการประเมินตัวงานที่จะต้องทำ 2. มีทักษะในการประเมินความรู้และทักษะของตนเองสำหรับงานนั้น 3. มีทักษะในการวางแผนการทำงาน 4. มีทักษะในการติดตามประเมินความก้าวหน้าของตนเอง 5. มีทักษะในการปรับปรุงยุทธศาสตร์การทำงานของตน ทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเองเป็นชุดการฝึกปฏิบัติการเรียนในศตวรรษที่ 21 เพื่อ การเรียนรู้ตลอดชีวิตซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของศาสตราจารย์ ดร.สิริวรรณ ศรีพหล (2558) ได้กล่าวถึงการเรียนการสอนเป็นกระบวนการหาความรู้ ความจริง และวิธี แก้ปัญหาด้วยกระบวนการตั้งคำถาม ด้วยกระบวนการวิทยาศาสตร์ทั้งทางโลกและทาง ธรรม34 33ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช, การเรียนรู้เกิดขึ้นได้อย่างไร, หน้า 153. 34 ศาสตราจารย์ ดร.สิริวรรณ ศรีพหล (2558), การจัดการเรียนการสอนวิชาพระพุทธศาสนา ในสถานศึกษา, นนทบุรี : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2558, หน้า 255. 112 3.5 พุทธนวัตกรรมการสอนแบบการถาม-ตอบ การถาม-ตอบในการเผยแพร่พุทธศาสนาของพระพุทธเจ้านั้นได้ทรงใช้การถามตอบเป็นการสื่อสารให้ผู้ฟังได้เข้าใจในหลักธรรม ผู้เรียบเรียงขอยกตัวอย่างการถาม-ตอบ ของพระพุทธเจ้ากับพระสาวกในการสื่อสารของพระวังคีสเถระและพระปุณณมันตานีบุตร เถระ เป็นพระสาวกตัวอย่างที่ดี35 ดังนี้ กรณีพระวังคีสะเถระเกิดในตระกูลพราหมณ์มีความเชี่ยวชาญในมนต์ทำนาย ลักษณะคนที่ตายแล้ว (ฉวสีมนต์) ซึ่งเมื่อสาธยายมนต์นี้แล้วเคาะกะโหลกศีรษะจะทำให้รู้ว่า เจ้าของกะโหลกนั้นไปเกิดในที่ไหนจึงได้อาศัยมนต์นี้ทำมาหาเลี้ยงชีพเรื่อยมา ต่อมาศิษย์ของวังคีสะเห็นว่าหากปล่อยให้มหาชนไปเฝ้าพระบรมศาสดากันหมดก็คง จะไม่มีใครมาบริจาคทรัพย์สินให้เหมือนเดิมอีกต่อไปจึงกล่าวชักชวนให้มาดูวังคีสะดีกว่าเพราะ สามารถรู้ได้ว่าคนตายแล้วจะเกิดเป็นอะไรและเกิดที่ไหนผู้วิเศษกว่าวังคีสะไม่มีอีกแล้วจน เกิดโต้เถียงจนตกลงกันไม่ได้จึงพากันไปเฝ้าพระพุทธเจ้าพร้อมกับวังคีสะณเชตวันมหาวิหาร พระพุทธเจ้ามีพระดำรัสสั่งให้นำกะโหลกศีรษะคนตายมาตั้งเรียงรายไว้ตามลำดับ 5 กะโหลกได้แก่ 1. กะโหลกคนที่ไปเกิดในนรก 2. กะโหลกคนที่ไปเกิดในสวรรค์3. กะโหลก คนที่ไปเกิดเป็นสัตว์เดรัจฉาน 4. กะโหลกคนที่ไปเกิดเป็นมนุษย์5. กะโหลกของพระอรหันต์ จากนั้นพระพุทธเจ้ารับสั่งให้วังคีสะเคาะแล้วตรัสถามถึงสถานที่จะไปเกิดของ กะโหลกศีรษะทั้ง 5 ทีละกะโหลกวังคีสะเคาะแล้วสามารถรู้ได้เพียงแค่กะโหลกที่ 1 – 4 คือ กะโหลกคนที่จะไปเกิดในนรกสวรรค์สัตว์เดรัจฉานและมนุษย์เท่านั้น ครั้นพระพุทธองค์ตรัสถามถึงกะโหลกที่ 5 ซึ่งเป็นของพระอรหันต์วังคีสะร่ายมนต์ แล้วเคาะกะโหลกเท่าไรก็ไม่อาจรู้ได้จึงนิ่งเสียพระพุทธองค์ตรัสว่า “วังคีสะเธอไม่รู้หรือ” วังคีสะจึงกราบทูลว่า “ข้าพระองค์ไม่รู้พระเจ้าข้า” พระพุทธองค์ตรัสว่า “ตถาคต รู้” วังคีสะจึงถามต่ออีกว่า “พระองค์รู้ด้วยอะไร” พระพุทธองค์จึงตรัสตอบว่า “รู้ด้วยกำลัง มนต์” เมื่อวังคีสะได้ฟังเช่นนั้นแล้วเกิดความสนใจอยากเรียนมนต์นั้นบ้างจึงกราบทูลขอ เรียนแต่พระพุทธองค์ตรัสว่าคนที่ไม่ได้บวชไม่สามารถเรียนได้วังคีสะคิดว่า “ถ้าเราได้เรียน มนต์แล้วจักได้เป็นใหญ่ในชมพูทวีป อีกทั้งจะเป็นประโยชน์แก่อาชีพของตนด้วย” จึงบอก ให้พราหมณ์ผู้เป็นสหายเหล่านั้นรออยู่สัก 2-3 วัน แล้วได้ออกบวชในพระพุทธศาสนาโดย หวังจะได้เรียนมนต์วิเศษเพื่อใช้เป็นเครื่องเลี้ยงชีพต่อไป หลังจากบวชแล้วพระพุทธองค์ได้ตรัสสอนกรรมฐานแล้วให้พิจารณาอาการ 32 เป็นอารมณ์ท่านเล่าเรียนและสาธยายไปไม่นานก็บรรลุอรหัตตผลสำเร็จเป็นพระอริยบุคคล 35สิน งามประโคน, การวิเคราะห์พุทธวิธีการสื่อสารเพื่อการเผยแพร่พระพุทธศาสนา, หน้า 118.


114 112 3.5 พุทธนวัตกรรมการสอนแบบการถาม-ตอบ การถาม-ตอบในการเผยแพร่พุทธศาสนาของพระพุทธเจ้านั้นได้ทรงใช้การถามตอบเป็นการสื่อสารให้ผู้ฟังได้เข้าใจในหลักธรรม ผู้เรียบเรียงขอยกตัวอย่างการถาม-ตอบ ของพระพุทธเจ้ากับพระสาวกในการสื่อสารของพระวังคีสเถระและพระปุณณมันตานีบุตร เถระ เป็นพระสาวกตัวอย่างที่ดี35 ดังนี้ กรณีพระวังคีสะเถระเกิดในตระกูลพราหมณ์มีความเชี่ยวชาญในมนต์ทำนาย ลักษณะคนที่ตายแล้ว (ฉวสีมนต์) ซึ่งเมื่อสาธยายมนต์นี้แล้วเคาะกะโหลกศีรษะจะทำให้รู้ว่า เจ้าของกะโหลกนั้นไปเกิดในที่ไหนจึงได้อาศัยมนต์นี้ทำมาหาเลี้ยงชีพเรื่อยมา ต่อมาศิษย์ของวังคีสะเห็นว่าหากปล่อยให้มหาชนไปเฝ้าพระบรมศาสดากันหมดก็คง จะไม่มีใครมาบริจาคทรัพย์สินให้เหมือนเดิมอีกต่อไปจึงกล่าวชักชวนให้มาดูวังคีสะดีกว่าเพราะ สามารถรู้ได้ว่าคนตายแล้วจะเกิดเป็นอะไรและเกิดที่ไหนผู้วิเศษกว่าวังคีสะไม่มีอีกแล้วจน เกิดโต้เถียงจนตกลงกันไม่ได้จึงพากันไปเฝ้าพระพุทธเจ้าพร้อมกับวังคีสะณเชตวันมหาวิหาร พระพุทธเจ้ามีพระดำรัสสั่งให้นำกะโหลกศีรษะคนตายมาตั้งเรียงรายไว้ตามลำดับ 5 กะโหลกได้แก่ 1. กะโหลกคนที่ไปเกิดในนรก 2. กะโหลกคนที่ไปเกิดในสวรรค์3. กะโหลก คนที่ไปเกิดเป็นสัตว์เดรัจฉาน 4. กะโหลกคนที่ไปเกิดเป็นมนุษย์5. กะโหลกของพระอรหันต์ จากนั้นพระพุทธเจ้ารับสั่งให้วังคีสะเคาะแล้วตรัสถามถึงสถานที่จะไปเกิดของ กะโหลกศีรษะทั้ง 5 ทีละกะโหลกวังคีสะเคาะแล้วสามารถรู้ได้เพียงแค่กะโหลกที่ 1 – 4 คือ กะโหลกคนที่จะไปเกิดในนรกสวรรค์สัตว์เดรัจฉานและมนุษย์เท่านั้น ครั้นพระพุทธองค์ตรัสถามถึงกะโหลกที่ 5 ซึ่งเป็นของพระอรหันต์วังคีสะร่ายมนต์ แล้วเคาะกะโหลกเท่าไรก็ไม่อาจรู้ได้จึงนิ่งเสียพระพุทธองค์ตรัสว่า “วังคีสะเธอไม่รู้หรือ” วังคีสะจึงกราบทูลว่า “ข้าพระองค์ไม่รู้พระเจ้าข้า” พระพุทธองค์ตรัสว่า “ตถาคต รู้” วังคีสะจึงถามต่ออีกว่า “พระองค์รู้ด้วยอะไร” พระพุทธองค์จึงตรัสตอบว่า “รู้ด้วยกำลัง มนต์” เมื่อวังคีสะได้ฟังเช่นนั้นแล้วเกิดความสนใจอยากเรียนมนต์นั้นบ้างจึงกราบทูลขอ เรียนแต่พระพุทธองค์ตรัสว่าคนที่ไม่ได้บวชไม่สามารถเรียนได้วังคีสะคิดว่า “ถ้าเราได้เรียน มนต์แล้วจักได้เป็นใหญ่ในชมพูทวีป อีกทั้งจะเป็นประโยชน์แก่อาชีพของตนด้วย” จึงบอก ให้พราหมณ์ผู้เป็นสหายเหล่านั้นรออยู่สัก 2-3 วัน แล้วได้ออกบวชในพระพุทธศาสนาโดย หวังจะได้เรียนมนต์วิเศษเพื่อใช้เป็นเครื่องเลี้ยงชีพต่อไป หลังจากบวชแล้วพระพุทธองค์ได้ตรัสสอนกรรมฐานแล้วให้พิจารณาอาการ 32 เป็นอารมณ์ท่านเล่าเรียนและสาธยายไปไม่นานก็บรรลุอรหัตตผลสำเร็จเป็นพระอริยบุคคล 35สิน งามประโคน, การวิเคราะห์พุทธวิธีการสื่อสารเพื่อการเผยแพร่พระพุทธศาสนา, หน้า 118. 113 ในพระพุทธศาสนา พระวังคีสะเป็นผู้ชำนาญในการผูกคาถากล่าวเป็นบทต่าง ๆ โดยเฉพาะ เวลาเข้าเฝ้ามักกล่าวคาถาสรรเสริญพระพุทธเจ้าทุกคราวไป ดังนั้นพระพุทธองค์จึงแต่งให้ เป็นเอตทัคคะในด้านผู้มีปฏิภานในการผูกคาถา ผลหลังจากพระวังคีสะเถระได้รับการถาม-ตอบจากพระพุทธเจ้า ดังนี้ 1. เป็นผู้เลิศทางมีปฏิภาณ 2. ไม่สามารถทำนายศีรษะของพระอรหันต์ผู้นิพพานแล้ว36 3.พระวังคีสะเถระเป็นผู้มีเชาว์เฉียบแหลมได้ภาษิตคาถาไว้ถึง 71 คาถา37 จากการถามตอบธรรมจากพระพุทธเจ้าของพระวังคีสเถระนั้นท่านได้ใช้อายตนะ ภายในและภายนอกเป็นส่วนสำคัญของการเรียนรู้ด้วยตนเอง ผู้เรียบเรียงสังเคราะห์ใช้สอน ตามเนื้อหาให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบันได้ดังภาพที่ 3.12 ดังนี้ อายตนะภายใน อายตนะภายนอก เนื้อหาสาระ/กิจกรรม/สื่อ การสอน/วัดผลและ ประเมินผล ผลที่เกิดจาก การเรียนรู้ จักขุ (ตา) รูป(รูป) กำหนดจุดประสงค์ให้ เหมาะสมกับภูมิผู้เรียนเรียน ตามเนื้อหาสาระให้เกิดการ เรียนรู้ด้วยตนเองตามจริต และครูเป็นที่ปรึกษา และให้ นำเสนอผลงานตามขั้นตอน การเรียน ผู้เรียนมีแรงจูงในใน การเรียนรู้ และมีความ ต้องการเรียนรู้สูง โดย หวังผลจากการเรียนรู้ เพื่อสร้างนวัตกรรมเพิ่ม มูลค้าทางเศรษฐกิจได้ เป็นอย่างดี โสตะ(หู) สัททะ (เสียง) ฆานะ (จมูก) คันธะ (กลิ่น) ชิวหา (ลิ้น) รส (รส) กาย (กาย) โผฏฐัพพะ (สิ่งต้องกาย) มโน (ใจ) ธรรมารมณ์ (อารมณ์ที่ เกิดกับใจหรือสิ่งที่ใจรู้) ภาพที่ 3.12 ประยุกต์จากพุทธนวัตกรรมการสอนแบบถาม-ตอบพระวังคีสเถระ ที่มา : มาจาก สิน งามประโคน, การวิเคราะห์พุทธวิธีการสื่อสารเพื่อการเผยแพร่พระ พุทธศาสนา, 2559 : 123) ประยุกต์ไปสู่การปฏิบัติจริงสำหรับการสอนในยุคศตวรรษที่ 21 สรุป หลักการสอนของพระพุทธเจ้ามาสู่การปฏิบัติจริงในยุคพุทธศตวรรษ 26 ปัจจุบัน 1. พุทธนวัตกรรมการสอนแบบถาม-ตอบพระพุทธเจ้าได้ทรงใช้วิธีการถาม-ตอบ กรรมฐานกับพระวังคีสเถระแล้วให้พิจารณาอาการ 32 ท่านได้ใช้อายตนะภายในและ ภายนอก จักขุ (ตา) เห็นรูป โสตะ (หู) ฟังเสียง กาย (กาย) สัมผัสและมโน (ใจ) รับรู้ผ่าน 36ดูรายละเอียดใน ขุ.อป. (ไทย) 9/361-36 37ดูรายละเอียดใน องฺ.เอกก. (ไทย) 20/212/28, ขุ.เถร. (ไทย) 26/1218-1288/538-549, องฺ.เอกก.อ. (ไทย) 1/216/294-297, ขุ.ธ.อ. (ไทย) 2/659-662, ขุ.เถร.อ. (ไทย) 2/741-799 113 ในพระพุทธศาสนา พระวังคีสะเป็นผู้ชำนาญในการผูกคาถากล่าวเป็นบทต่าง ๆ โดยเฉพาะ เวลาเข้าเฝ้ามักกล่าวคาถาสรรเสริญพระพุทธเจ้าทุกคราวไป ดังนั้นพระพุทธองค์จึงแต่งให้ เป็นเอตทัคคะในด้านผู้มีปฏิภานในการผูกคาถา ผลหลังจากพระวังคีสะเถระได้รับการถาม-ตอบจากพระพุทธเจ้า ดังนี้ 1. เป็นผู้เลิศทางมีปฏิภาณ 2. ไม่สามารถทำนายศีรษะของพระอรหันต์ผู้นิพพานแล้ว36 3.พระวังคีสะเถระเป็นผู้มีเชาว์เฉียบแหลมได้ภาษิตคาถาไว้ถึง 71 คาถา37 จากการถามตอบธรรมจากพระพุทธเจ้าของพระวังคีสเถระนั้นท่านได้ใช้อายตนะ ภายในและภายนอกเป็นส่วนสำคัญของการเรียนรู้ด้วยตนเอง ผู้เรียบเรียงสังเคราะห์ใช้สอน ตามเนื้อหาให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบันได้ดังภาพที่ 3.12 ดังนี้ อายตนะภายใน อายตนะภายนอก เนื้อหาสาระ/กิจกรรม/สื่อ การสอน/วัดผลและ ประเมินผล ผลที่เกิดจาก การเรียนรู้ จักขุ (ตา) รูป(รูป) กำหนดจุดประสงค์ให้ เหมาะสมกับภูมิผู้เรียนเรียน ตามเนื้อหาสาระให้เกิดการ เรียนรู้ด้วยตนเองตามจริต และครูเป็นที่ปรึกษา และให้ นำเสนอผลงานตามขั้นตอน การเรียน ผู้เรียนมีแรงจูงในใน การเรียนรู้ และมีความ ต้องการเรียนรู้สูง โดย หวังผลจากการเรียนรู้ เพื่อสร้างนวัตกรรมเพิ่ม มูลค้าทางเศรษฐกิจได้ เป็นอย่างดี โสตะ(หู) สัททะ (เสียง) ฆานะ (จมูก) คันธะ (กลิ่น) ชิวหา (ลิ้น) รส (รส) กาย (กาย) โผฏฐัพพะ (สิ่งต้องกาย) มโน (ใจ) ธรรมารมณ์ (อารมณ์ที่ เกิดกับใจหรือสิ่งที่ใจรู้) ภาพที่ 3.12 ประยุกต์จากพุทธนวัตกรรมการสอนแบบถาม-ตอบพระวังคีสเถระ ที่มา : มาจาก สิน งามประโคน, การวิเคราะห์พุทธวิธีการสื่อสารเพื่อการเผยแพร่พระ พุทธศาสนา, 2559 : 123) ประยุกต์ไปสู่การปฏิบัติจริงสำหรับการสอนในยุคศตวรรษที่ 21 สรุป หลักการสอนของพระพุทธเจ้ามาสู่การปฏิบัติจริงในยุคพุทธศตวรรษ 26 ปัจจุบัน 1. พุทธนวัตกรรมการสอนแบบถาม-ตอบพระพุทธเจ้าได้ทรงใช้วิธีการถาม-ตอบ กรรมฐานกับพระวังคีสเถระแล้วให้พิจารณาอาการ 32 ท่านได้ใช้อายตนะภายในและ ภายนอก จักขุ (ตา) เห็นรูป โสตะ (หู) ฟังเสียง กาย (กาย) สัมผัสและมโน (ใจ) รับรู้ผ่าน 36ดูรายละเอียดใน ขุ.อป. (ไทย) 9/361-36 37ดูรายละเอียดใน องฺ.เอกก. (ไทย) 20/212/28, ขุ.เถร. (ไทย) 26/1218-1288/538-549, องฺ.เอกก.อ. (ไทย) 1/216/294-297, ขุ.ธ.อ. (ไทย) 2/659-662, ขุ.เถร.อ. (ไทย) 2/741-799


115 113 ในพระพุทธศาสนา พระวังคีสะเป็นผู้ชำนาญในการผูกคาถากล่าวเป็นบทต่าง ๆ โดยเฉพาะ เวลาเข้าเฝ้ามักกล่าวคาถาสรรเสริญพระพุทธเจ้าทุกคราวไป ดังนั้นพระพุทธองค์จึงแต่งให้ เป็นเอตทัคคะในด้านผู้มีปฏิภานในการผูกคาถา ผลหลังจากพระวังคีสะเถระได้รับการถาม-ตอบจากพระพุทธเจ้า ดังนี้ 1. เป็นผู้เลิศทางมีปฏิภาณ 2. ไม่สามารถทำนายศีรษะของพระอรหันต์ผู้นิพพานแล้ว36 3.พระวังคีสะเถระเป็นผู้มีเชาว์เฉียบแหลมได้ภาษิตคาถาไว้ถึง 71 คาถา37 จากการถามตอบธรรมจากพระพุทธเจ้าของพระวังคีสเถระนั้นท่านได้ใช้อายตนะ ภายในและภายนอกเป็นส่วนสำคัญของการเรียนรู้ด้วยตนเอง ผู้เรียบเรียงสังเคราะห์ใช้สอน ตามเนื้อหาให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบันได้ดังภาพที่ 3.12 ดังนี้ อายตนะภายใน อายตนะภายนอก เนื้อหาสาระ/กิจกรรม/สื่อ การสอน/วัดผลและ ประเมินผล ผลที่เกิดจาก การเรียนรู้ จักขุ (ตา) รูป(รูป) กำหนดจุดประสงค์ให้ เหมาะสมกับภูมิผู้เรียนเรียน ตามเนื้อหาสาระให้เกิดการ เรียนรู้ด้วยตนเองตามจริต และครูเป็นที่ปรึกษา และให้ นำเสนอผลงานตามขั้นตอน การเรียน ผู้เรียนมีแรงจูงในใน การเรียนรู้ และมีความ ต้องการเรียนรู้สูง โดย หวังผลจากการเรียนรู้ เพื่อสร้างนวัตกรรมเพิ่ม มูลค้าทางเศรษฐกิจได้ เป็นอย่างดี โสตะ(หู) สัททะ (เสียง) ฆานะ (จมูก) คันธะ (กลิ่น) ชิวหา (ลิ้น) รส (รส) กาย (กาย) โผฏฐัพพะ (สิ่งต้องกาย) มโน (ใจ) ธรรมารมณ์ (อารมณ์ที่ เกิดกับใจหรือสิ่งที่ใจรู้) ภาพที่ 3.12 ประยุกต์จากพุทธนวัตกรรมการสอนแบบถาม-ตอบพระวังคีสเถระ ที่มา : มาจาก สิน งามประโคน, การวิเคราะห์พุทธวิธีการสื่อสารเพื่อการเผยแพร่พระ พุทธศาสนา, 2559 : 123) ประยุกต์ไปสู่การปฏิบัติจริงสำหรับการสอนในยุคศตวรรษที่ 21 สรุป หลักการสอนของพระพุทธเจ้ามาสู่การปฏิบัติจริงในยุคพุทธศตวรรษ 26 ปัจจุบัน 1. พุทธนวัตกรรมการสอนแบบถาม-ตอบพระพุทธเจ้าได้ทรงใช้วิธีการถาม-ตอบ กรรมฐานกับพระวังคีสเถระแล้วให้พิจารณาอาการ 32 ท่านได้ใช้อายตนะภายในและ ภายนอก จักขุ (ตา) เห็นรูป โสตะ (หู) ฟังเสียง กาย (กาย) สัมผัสและมโน (ใจ) รับรู้ผ่าน 36ดูรายละเอียดใน ขุ.อป. (ไทย) 9/361-36 37ดูรายละเอียดใน องฺ.เอกก. (ไทย) 20/212/28, ขุ.เถร. (ไทย) 26/1218-1288/538-549, องฺ.เอกก.อ. (ไทย) 1/216/294-297, ขุ.ธ.อ. (ไทย) 2/659-662, ขุ.เถร.อ. (ไทย) 2/741-799 113 ในพระพุทธศาสนา พระวังคีสะเป็นผู้ชำนาญในการผูกคาถากล่าวเป็นบทต่าง ๆ โดยเฉพาะ เวลาเข้าเฝ้ามักกล่าวคาถาสรรเสริญพระพุทธเจ้าทุกคราวไป ดังนั้นพระพุทธองค์จึงแต่งให้ เป็นเอตทัคคะในด้านผู้มีปฏิภานในการผูกคาถา ผลหลังจากพระวังคีสะเถระได้รับการถาม-ตอบจากพระพุทธเจ้า ดังนี้ 1. เป็นผู้เลิศทางมีปฏิภาณ 2. ไม่สามารถทำนายศีรษะของพระอรหันต์ผู้นิพพานแล้ว36 3.พระวังคีสะเถระเป็นผู้มีเชาว์เฉียบแหลมได้ภาษิตคาถาไว้ถึง 71 คาถา37 จากการถามตอบธรรมจากพระพุทธเจ้าของพระวังคีสเถระนั้นท่านได้ใช้อายตนะ ภายในและภายนอกเป็นส่วนสำคัญของการเรียนรู้ด้วยตนเอง ผู้เรียบเรียงสังเคราะห์ใช้สอน ตามเนื้อหาให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบันได้ดังภาพที่ 3.12 ดังนี้ อายตนะภายใน อายตนะภายนอก เนื้อหาสาระ/กิจกรรม/สื่อ การสอน/วัดผลและ ประเมินผล ผลที่เกิดจาก การเรียนรู้ จักขุ (ตา) รูป(รูป) กำหนดจุดประสงค์ให้ เหมาะสมกับภูมิผู้เรียนเรียน ตามเนื้อหาสาระให้เกิดการ เรียนรู้ด้วยตนเองตามจริต และครูเป็นที่ปรึกษา และให้ นำเสนอผลงานตามขั้นตอน การเรียน ผู้เรียนมีแรงจูงในใน การเรียนรู้ และมีความ ต้องการเรียนรู้สูง โดย หวังผลจากการเรียนรู้ เพื่อสร้างนวัตกรรมเพิ่ม มูลค้าทางเศรษฐกิจได้ เป็นอย่างดี โสตะ(หู) สัททะ (เสียง) ฆานะ (จมูก) คันธะ (กลิ่น) ชิวหา (ลิ้น) รส (รส) กาย (กาย) โผฏฐัพพะ (สิ่งต้องกาย) มโน (ใจ) ธรรมารมณ์ (อารมณ์ที่ เกิดกับใจหรือสิ่งที่ใจรู้) ภาพที่ 3.12 ประยุกต์จากพุทธนวัตกรรมการสอนแบบถาม-ตอบพระวังคีสเถระ ที่มา : มาจาก สิน งามประโคน, การวิเคราะห์พุทธวิธีการสื่อสารเพื่อการเผยแพร่พระ พุทธศาสนา, 2559 : 123) ประยุกต์ไปสู่การปฏิบัติจริงสำหรับการสอนในยุคศตวรรษที่ 21 สรุป หลักการสอนของพระพุทธเจ้ามาสู่การปฏิบัติจริงในยุคพุทธศตวรรษ 26 ปัจจุบัน 1. พุทธนวัตกรรมการสอนแบบถาม-ตอบพระพุทธเจ้าได้ทรงใช้วิธีการถาม-ตอบ กรรมฐานกับพระวังคีสเถระแล้วให้พิจารณาอาการ 32 ท่านได้ใช้อายตนะภายในและ ภายนอก จักขุ (ตา) เห็นรูป โสตะ (หู) ฟังเสียง กาย (กาย) สัมผัสและมโน (ใจ) รับรู้ผ่าน 36ดูรายละเอียดใน ขุ.อป. (ไทย) 9/361-36 37ดูรายละเอียดใน องฺ.เอกก. (ไทย) 20/212/28, ขุ.เถร. (ไทย) 26/1218-1288/538-549, องฺ.เอกก.อ. (ไทย) 1/216/294-297, ขุ.ธ.อ. (ไทย) 2/659-662, ขุ.เถร.อ. (ไทย) 2/741-799 114 ธรรมารมณ์ (อารมณ์ที่เกิดกับใจหรือสิ่งที่ใจรู้) และกาย (กาย) เล่าเรียนและสาธยาย ผลที่ ได้คือ บรรลุพระอรหัตตผล 2. ครูต้องมีข้อมูลภูมิรู้ ภูมิธรรมพื้นฐานของผู้เรียนเป็นอย่างดี 3. ครูสอนต้องเปิดโอกาสให้ตั้งคำถามเพื่อแสวงหาความรู้ 4. ครูต้องหาพื้นที่ให้นักศึกษาแสวงหาความรู้ หาคำตอบที่สงสัย 5. ครูสอนต้องมีจิตวิทยาการสอนสามารถเพิ่มความรู้ใหม่และศักยภาพผู้เรียน 6. นักศึกษาต้องกล้าแสดงออกในการตั้งคำถามและแสดงความคิดได้ ในขณะที่ ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช38 กล่าวว่า การเรียนรู้ที่ดีต้องเรียน 3 ชั้นในเวลา เดียวกัน คือ 1. เรียนรู้เนื้อหาหรือสาระ หรือทฤษฎี 2. เรียนรู้ทักษะโดยการลงมือทำ และ 3. เรียนวิธีเรียนเข้าใจและมีทักษะในแต่ละขั้นตอนของการเรียนรู้ สรุปโดยภาพดังนี้ ภาพที่ 3.13 การเรียนรู้ที่ดีต้องเรียน 3 ชั้น มาจาก : ปรับจากศ.นพ.วิจารณ์ พานิช (2562) เพื่อประยุกต์ใช้ในการสอนจริง กรณีพระปุณณมันตานีบุตรเถระเกิดในตระกูลพราหมณ์มหาศาล ณ หมู่บ้านโทณ วัตถุในกรุงกบิลพัสดุ์เดิมชื่อว่า “ปุณณะ” และเป็นหลานของพระอัญญาโกณฑัญญเถระซึ่ง มารดาของท่านเป็นน้องสาวของพระเถระ ปุณณมันตานีบุตรออกบวชโดยการชักนำของ พระอัญญาโกณฑัญญะผู้เป็นลุง ครั้งหนึ่งพระสงฆ์บริวารของท่าน 500 รูป เดินทางมาเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้า ซึ่งประทับ อยู่กรุงราชคฤห์พระพุทธองค์ตรัสถามว่า “ภิกษุรูปไหนที่เพื่อนภิกษุทั้งหลายยกย่องสรรเสริญ ว่าตั้งมั่นอยู่ในคุณธรรม 10 ข้อได้แก่ 1) มักน้อย2) สันโดษ 3) ชอบความสงัด 4) ไม่คลุกคลี 38ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช, การเรียนรู้เกิดขึ้นได้อย่างไร, หน้า 164. การเรียนรู้ที่ดีเพิ่ม ทักษะใหม่ เรียน ขั้นตอน การฝึก เรียน กระบวน การฝึก เรียนฝึก


116 114 ธรรมารมณ์ (อารมณ์ที่เกิดกับใจหรือสิ่งที่ใจรู้) และกาย (กาย) เล่าเรียนและสาธยาย ผลที่ ได้คือ บรรลุพระอรหัตตผล 2. ครูต้องมีข้อมูลภูมิรู้ ภูมิธรรมพื้นฐานของผู้เรียนเป็นอย่างดี 3. ครูสอนต้องเปิดโอกาสให้ตั้งคำถามเพื่อแสวงหาความรู้ 4. ครูต้องหาพื้นที่ให้นักศึกษาแสวงหาความรู้ หาคำตอบที่สงสัย 5. ครูสอนต้องมีจิตวิทยาการสอนสามารถเพิ่มความรู้ใหม่และศักยภาพผู้เรียน 6. นักศึกษาต้องกล้าแสดงออกในการตั้งคำถามและแสดงความคิดได้ ในขณะที่ ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช38 กล่าวว่า การเรียนรู้ที่ดีต้องเรียน 3 ชั้นในเวลา เดียวกัน คือ 1. เรียนรู้เนื้อหาหรือสาระ หรือทฤษฎี 2. เรียนรู้ทักษะโดยการลงมือทำ และ 3. เรียนวิธีเรียนเข้าใจและมีทักษะในแต่ละขั้นตอนของการเรียนรู้ สรุปโดยภาพดังนี้ ภาพที่ 3.13 การเรียนรู้ที่ดีต้องเรียน 3 ชั้น มาจาก : ปรับจากศ.นพ.วิจารณ์ พานิช (2562) เพื่อประยุกต์ใช้ในการสอนจริง กรณีพระปุณณมันตานีบุตรเถระเกิดในตระกูลพราหมณ์มหาศาล ณ หมู่บ้านโทณ วัตถุในกรุงกบิลพัสดุ์เดิมชื่อว่า “ปุณณะ” และเป็นหลานของพระอัญญาโกณฑัญญเถระซึ่ง มารดาของท่านเป็นน้องสาวของพระเถระ ปุณณมันตานีบุตรออกบวชโดยการชักนำของ พระอัญญาโกณฑัญญะผู้เป็นลุง ครั้งหนึ่งพระสงฆ์บริวารของท่าน 500 รูป เดินทางมาเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้า ซึ่งประทับ อยู่กรุงราชคฤห์พระพุทธองค์ตรัสถามว่า “ภิกษุรูปไหนที่เพื่อนภิกษุทั้งหลายยกย่องสรรเสริญ ว่าตั้งมั่นอยู่ในคุณธรรม 10 ข้อได้แก่ 1) มักน้อย2) สันโดษ 3) ชอบความสงัด 4) ไม่คลุกคลี 38ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช, การเรียนรู้เกิดขึ้นได้อย่างไร, หน้า 164. การเรียนรู้ที่ดีเพิ่ม ทักษะใหม่ เรียน ขั้นตอน การฝึก เรียน กระบวน การฝึก เรียนฝึก 114 ธรรมารมณ์ (อารมณ์ที่เกิดกับใจหรือสิ่งที่ใจรู้) และกาย (กาย) เล่าเรียนและสาธยาย ผลที่ ได้คือ บรรลุพระอรหัตตผล 2. ครูต้องมีข้อมูลภูมิรู้ ภูมิธรรมพื้นฐานของผู้เรียนเป็นอย่างดี 3. ครูสอนต้องเปิดโอกาสให้ตั้งคำถามเพื่อแสวงหาความรู้ 4. ครูต้องหาพื้นที่ให้นักศึกษาแสวงหาความรู้ หาคำตอบที่สงสัย 5. ครูสอนต้องมีจิตวิทยาการสอนสามารถเพิ่มความรู้ใหม่และศักยภาพผู้เรียน 6. นักศึกษาต้องกล้าแสดงออกในการตั้งคำถามและแสดงความคิดได้ ในขณะที่ ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช38 กล่าวว่า การเรียนรู้ที่ดีต้องเรียน 3 ชั้นในเวลา เดียวกัน คือ 1. เรียนรู้เนื้อหาหรือสาระ หรือทฤษฎี 2. เรียนรู้ทักษะโดยการลงมือทำ และ 3. เรียนวิธีเรียนเข้าใจและมีทักษะในแต่ละขั้นตอนของการเรียนรู้ สรุปโดยภาพดังนี้ ภาพที่ 3.13 การเรียนรู้ที่ดีต้องเรียน 3 ชั้น มาจาก : ปรับจากศ.นพ.วิจารณ์ พานิช (2562) เพื่อประยุกต์ใช้ในการสอนจริง กรณีพระปุณณมันตานีบุตรเถระเกิดในตระกูลพราหมณ์มหาศาล ณ หมู่บ้านโทณ วัตถุในกรุงกบิลพัสดุ์เดิมชื่อว่า “ปุณณะ” และเป็นหลานของพระอัญญาโกณฑัญญเถระซึ่ง มารดาของท่านเป็นน้องสาวของพระเถระ ปุณณมันตานีบุตรออกบวชโดยการชักนำของ พระอัญญาโกณฑัญญะผู้เป็นลุง ครั้งหนึ่งพระสงฆ์บริวารของท่าน 500 รูป เดินทางมาเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้า ซึ่งประทับ อยู่กรุงราชคฤห์พระพุทธองค์ตรัสถามว่า “ภิกษุรูปไหนที่เพื่อนภิกษุทั้งหลายยกย่องสรรเสริญ ว่าตั้งมั่นอยู่ในคุณธรรม 10 ข้อได้แก่ 1) มักน้อย2) สันโดษ 3) ชอบความสงัด 4) ไม่คลุกคลี 38ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช, การเรียนรู้เกิดขึ้นได้อย่างไร, หน้า 164. การเรียนรู้ที่ดีเพิ่ม ทักษะใหม่ เรียน ขั้นตอน การฝึก เรียน กระบวน การฝึก เรียนฝึก 115 ด้วยหมู่ 5) มีความเพียร 6) สมบูรณ์ด้วยศีล 7) สมบูรณ์ด้วยสมาธิ8) สมบูรณ์ด้วยปัญญา 9) สมบูรณ์ด้วยวิมุตติ10) สมบูรณ์ด้วยวิมุตติญาณทัสสนะ พระปุณณมันตานีบุตรเถระเป็นพระพุทธเจ้าจึงทรงยกย่องแต่งตั้งให้เป็นเอตทัคคะ ในด้านผู้เป็นพระธรรมกถึก ธรรมกถึก ผู้กล่าวสอนธรรมคือผู้แสดงธรรมหรือนักเทศน์ซึ่งต้องประกอบด้วยองค์ คุณสมบัติ5 ประการได้แก่ 1. แสดงธรรมไปตามลำดับไม่ตัดลัดใจความ 2. อ้างเหตุผลแนะนำให้ผู้ฟังเข้าใจ 3. ตั้งเมตตาจิตปรารถนาให้เป็นประโยชน์แก่ผู้ฟัง 4. ไม่แสดงธรรมเพราะเห็นแก่ลาภ 5. ไม่แสดงธรรมกระทบตนและผู้อื่นคือไม่ยกตนเสียดสีผู้อื่น39 ผลจากพระปุณณมันตานีเถระได้รับการถาม-ตอบจากพระพุทธเจ้าดังนี้ 1. เป็นหลานชายของพระอัญญาโกณฑัญญะ 2. เป็นภิกษุผู้เลิศทางแสดงธรรม (ธรรมกถึก) ศึกษาได้จากการสนทนากับพระสารี บุตร 3. เป็นอาจารย์พระอานนท์แสดงธรรมให้พระอานท์ฟังจนพระอานนท์บรรลุเป็น พระโสดาบัน จากการถามตอบธรรมจากพระพุทธเจ้าของพระปุณณมันตานีเถระนั้น ท่านได้ใช้ อายตนะภายในและภายนอกเป็นส่วนสำคัญ ผู้เรียบเรียงนำแนวทางการสอนนี้มา สังเคราะห์ไปประยุกต์ใช้ในสอนผู้เรียนในสถานการณ์ปัจจุบัน ได้ดังภาพที่ 3.14 ดังนี้ อายตนะภายใน อายตนะภายนอก เนื้อหาสาระ/กิจกรรม/ สื่อการสอน/วัดผลและ ประเมินผล ผลที่เกิดจากการเรียนรู้ จักขุ (ตา) รูป(รูป) กำหนดเนื้อหาการสอนให้ ถูกจริตผู้เรียนที่มีภูมิ ผู้เรียนได้มีโอกาสเรียนรู้ โสตะ(หู) สัททะ (เสียง) 39ดูรายละเอียดใน องฺ.เอกก. (ไทย) 20/212/28, ขุ.เถร. (ไทย) 26/1218-1288/538-549, องฺ.เอกก.อ. (ไทย) 1/216/294-297, ขุ.ธ.อ. (ไทย) 2/659-662, ขุ.เถร.อ. (ไทย) 2/741-799.


117 assdssf 115 ด้วยหมู่ 5) มีความเพียร 6) สมบูรณ์ด้วยศีล 7) สมบูรณ์ด้วยสมาธิ8) สมบูรณ์ด้วยปัญญา 9) สมบูรณ์ด้วยวิมุตติ10) สมบูรณ์ด้วยวิมุตติญาณทัสสนะ พระปุณณมันตานีบุตรเถระเป็นพระพุทธเจ้าจึงทรงยกย่องแต่งตั้งให้เป็นเอตทัคคะ ในด้านผู้เป็นพระธรรมกถึก ธรรมกถึก ผู้กล่าวสอนธรรมคือผู้แสดงธรรมหรือนักเทศน์ซึ่งต้องประกอบด้วยองค์ คุณสมบัติ5 ประการได้แก่ 1. แสดงธรรมไปตามลำดับไม่ตัดลัดใจความ 2. อ้างเหตุผลแนะนำให้ผู้ฟังเข้าใจ 3. ตั้งเมตตาจิตปรารถนาให้เป็นประโยชน์แก่ผู้ฟัง 4. ไม่แสดงธรรมเพราะเห็นแก่ลาภ 5. ไม่แสดงธรรมกระทบตนและผู้อื่นคือไม่ยกตนเสียดสีผู้อื่น39 ผลจากพระปุณณมันตานีเถระได้รับการถาม-ตอบจากพระพุทธเจ้าดังนี้ 1. เป็นหลานชายของพระอัญญาโกณฑัญญะ 2. เป็นภิกษุผู้เลิศทางแสดงธรรม (ธรรมกถึก) ศึกษาได้จากการสนทนากับพระสารี บุตร 3. เป็นอาจารย์พระอานนท์แสดงธรรมให้พระอานท์ฟังจนพระอานนท์บรรลุเป็น พระโสดาบัน จากการถามตอบธรรมจากพระพุทธเจ้าของพระปุณณมันตานีเถระนั้น ท่านได้ใช้ อายตนะภายในและภายนอกเป็นส่วนสำคัญ ผู้เรียบเรียงนำแนวทางการสอนนี้มา สังเคราะห์ไปประยุกต์ใช้ในสอนผู้เรียนในสถานการณ์ปัจจุบัน ได้ดังภาพที่ 3.14 ดังนี้ อายตนะภายใน อายตนะภายนอก เนื้อหาสาระ/กิจกรรม/ สื่อการสอน/วัดผลและ ประเมินผล ผลที่เกิดจากการเรียนรู้ จักขุ (ตา) รูป(รูป) กำหนดเนื้อหาการสอนให้ ถูกจริตผู้เรียนที่มีภูมิ ผู้เรียนได้มีโอกาสเรียนรู้ โสตะ(หู) สัททะ (เสียง) 39ดูรายละเอียดใน องฺ.เอกก. (ไทย) 20/212/28, ขุ.เถร. (ไทย) 26/1218-1288/538-549, องฺ.เอกก.อ. (ไทย) 1/216/294-297, ขุ.ธ.อ. (ไทย) 2/659-662, ขุ.เถร.อ. (ไทย) 2/741-799. 115 ด้วยหมู่ 5) มีความเพียร 6) สมบูรณ์ด้วยศีล 7) สมบูรณ์ด้วยสมาธิ8) สมบูรณ์ด้วยปัญญา 9) สมบูรณ์ด้วยวิมุตติ10) สมบูรณ์ด้วยวิมุตติญาณทัสสนะ พระปุณณมันตานีบุตรเถระเป็นพระพุทธเจ้าจึงทรงยกย่องแต่งตั้งให้เป็นเอตทัคคะ ในด้านผู้เป็นพระธรรมกถึก ธรรมกถึก ผู้กล่าวสอนธรรมคือผู้แสดงธรรมหรือนักเทศน์ซึ่งต้องประกอบด้วยองค์ คุณสมบัติ5 ประการได้แก่ 1. แสดงธรรมไปตามลำดับไม่ตัดลัดใจความ 2. อ้างเหตุผลแนะนำให้ผู้ฟังเข้าใจ 3. ตั้งเมตตาจิตปรารถนาให้เป็นประโยชน์แก่ผู้ฟัง 4. ไม่แสดงธรรมเพราะเห็นแก่ลาภ 5. ไม่แสดงธรรมกระทบตนและผู้อื่นคือไม่ยกตนเสียดสีผู้อื่น39 ผลจากพระปุณณมันตานีเถระได้รับการถาม-ตอบจากพระพุทธเจ้าดังนี้ 1. เป็นหลานชายของพระอัญญาโกณฑัญญะ 2. เป็นภิกษุผู้เลิศทางแสดงธรรม (ธรรมกถึก) ศึกษาได้จากการสนทนากับพระสารี บุตร 3. เป็นอาจารย์พระอานนท์แสดงธรรมให้พระอานท์ฟังจนพระอานนท์บรรลุเป็น พระโสดาบัน จากการถามตอบธรรมจากพระพุทธเจ้าของพระปุณณมันตานีเถระนั้น ท่านได้ใช้ อายตนะภายในและภายนอกเป็นส่วนสำคัญ ผู้เรียบเรียงนำแนวทางการสอนนี้มา สังเคราะห์ไปประยุกต์ใช้ในสอนผู้เรียนในสถานการณ์ปัจจุบัน ได้ดังภาพที่ 3.14 ดังนี้ อายตนะภายใน อายตนะภายนอก เนื้อหาสาระ/กิจกรรม/ สื่อการสอน/วัดผลและ ประเมินผล ผลที่เกิดจากการเรียนรู้ จักขุ (ตา) รูป(รูป) กำหนดเนื้อหาการสอนให้ ถูกจริตผู้เรียนที่มีภูมิ ผู้เรียนได้มีโอกาสเรียนรู้ โสตะ(หู) สัททะ (เสียง) 39ดูรายละเอียดใน องฺ.เอกก. (ไทย) 20/212/28, ขุ.เถร. (ไทย) 26/1218-1288/538-549, องฺ.เอกก.อ. (ไทย) 1/216/294-297, ขุ.ธ.อ. (ไทย) 2/659-662, ขุ.เถร.อ. (ไทย) 2/741-799. 116 ฆานะ (จมูก) คันธะ (กลิ่น) ความรู้ที่เหมาะสมตาม ระดับชั้นเรียนและเปิด โอกาสให้มีส่วนร่วมใน การคิดวิเคราะห์ กำหนด กิจกรรมการเรียนอย่าง สร้างสรรค์ อย่างมีส่วนร่วมด้วยการ ผ่านปฏิสัมพันธ์กับ กิจกรรมที่หลากหลาย และมีความสุขในการ เรียนรู้ ชิวหา (ลิ้น) รส (รส) กาย (กาย) โผฏฐัพพะ (สิ่งต้องกาย) มโน (ใจ) ธรรมารมณ์ (อารมณ์ที่ เกิดกับใจหรือสิ่งที่ใจรู้) ภาพที่ 3.14 ประยุกต์จากพุทธนวัตกรรมการสอนแบบถาม-ตอบพระปุณณมันตานีเถระ ที่มา : มาจาก สิน งามประโคน, การวิเคราะห์พุทธวิธีการสื่อสารเพื่อการเผยแพร่พระพุทธ ศาสนา, (2559: 127) ประยุกต์ไปสู่การปฏิบัติจริงสำหรับการสอนในยุคศตวรรษที่ 21 สามารถประยุกต์ขั้นตอนการสอนแบบถาม-ตอบตามแนวพุทธวิถีใหม่(สิริวรรณ ศรีพหล,2558 หน้า 257) 40 ได้ปรับการสอนไว้ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 การตั้งคำถามเมื่อเห็นปัญหาและวิเคราะห์ปัญหา (ทุกข์) ขั้นตอนที่ 2 การเสนอสภาพปัญหาตามความเป็นจริง ในรูปแบบการตั้งสมมติฐาน(สมุทัย) ขั้นตอนที่ 3 การลงมือปฏิบัติเพื้อเก็บรวบรวมข้อมูลตามความเป็นจริง (นิโรธ) ขั้นตอนที่ 4 การลงมือวิเคราะห์ข้อมูลตามความเป็นจริง แล้วนำไปสู่การสรุปผล ได้ผลนำไป ปฏิบัติต่อไป(มรรค) ขั้นตอนที่ 5 นำผลการวิเคราะห์ สังเคราะห์ร่วมกันระหว่างครูกับศิษย์จัดสร้าวนวัตกรรม เพื่อเป็นชุดนวัตกรรมการสนอที่ที่ดีได้ทุกระกับชั้นและวัยในการเรียนรู้ในรูปแบบใหม่ๆตาม ความเป็นจริง สรุป หลักการสอนของพระพุทธเจ้ามาสู่การปฏิบัติจริงในยุคพุทธศตวรรษ 26 ปัจจุบัน 1. พุทธนวัตกรรมการสอน พระพุทธเจ้าได้ทรงใช้วิธีการถาม-ตอบ กับพระปุณณ มันตานีเถระเรื่องวิปัสสนากรรมฐาน ท่านได้ใช้อายตนะภายในและภายนอก ปฏิบัติ วิปัสสนากัมมัฏฐาน ผลที่ได้คือ บรรลุพระอรหัตตผล 2. ครูต้องมีข้อมูลภูมิรู้ ภูมิธรรมพื้นฐานของผู้เรียนเป็นอย่างดี 3. ครูสอนต้องเปิดโอกาสให้ตั้งคำถามเพื่อแสวงหาความรู้ 4. ครูต้องหาพื้นที่ให้นักศึกษาแสวงหาความรู้ หาคำตอบที่สงสัย 5. ครูสอนต้องมีจิตวิทยาการสอนสามารถเพิ่มความรู้ใหม่ 40 สิริวรรณ ศรีพพหล,การจัดการเรียนการสอนวิชาพระพุทธศาสนาในสถานศึกษา,สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,นนทบุรี,25558 หน้า115 39ดููรายละเอีียดใน องฺฺ.เอกก. (ไทย) 20/212/28, ขุุ.เถร. (ไทย) 26/1218-1288/538-549, องฺฺ.เอกก.อ. (ไทย) 1/216/294-297, ขุุ.ธ.อ. (ไทย) 2/659-662, ขุุ.เถร.อ. (ไทย) 2/741-799.


118 116 ฆานะ (จมูก) คันธะ (กลิ่น) ความรู้ที่เหมาะสมตาม ระดับชั้นเรียนและเปิด โอกาสให้มีส่วนร่วมใน การคิดวิเคราะห์ กำหนด กิจกรรมการเรียนอย่าง สร้างสรรค์ อย่างมีส่วนร่วมด้วยการ ผ่านปฏิสัมพันธ์กับ กิจกรรมที่หลากหลาย และมีความสุขในการ เรียนรู้ ชิวหา (ลิ้น) รส (รส) กาย (กาย) โผฏฐัพพะ (สิ่งต้องกาย) มโน (ใจ) ธรรมารมณ์ (อารมณ์ที่ เกิดกับใจหรือสิ่งที่ใจรู้) ภาพที่ 3.14 ประยุกต์จากพุทธนวัตกรรมการสอนแบบถาม-ตอบพระปุณณมันตานีเถระ ที่มา : มาจาก สิน งามประโคน, การวิเคราะห์พุทธวิธีการสื่อสารเพื่อการเผยแพร่พระพุทธ ศาสนา, (2559: 127) ประยุกต์ไปสู่การปฏิบัติจริงสำหรับการสอนในยุคศตวรรษที่ 21 สามารถประยุกต์ขั้นตอนการสอนแบบถาม-ตอบตามแนวพุทธวิถีใหม่(สิริวรรณ ศรีพหล,2558 หน้า 257) 40 ได้ปรับการสอนไว้ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 การตั้งคำถามเมื่อเห็นปัญหาและวิเคราะห์ปัญหา (ทุกข์) ขั้นตอนที่ 2 การเสนอสภาพปัญหาตามความเป็นจริง ในรูปแบบการตั้งสมมติฐาน(สมุทัย) ขั้นตอนที่ 3 การลงมือปฏิบัติเพื้อเก็บรวบรวมข้อมูลตามความเป็นจริง (นิโรธ) ขั้นตอนที่ 4 การลงมือวิเคราะห์ข้อมูลตามความเป็นจริง แล้วนำไปสู่การสรุปผล ได้ผลนำไป ปฏิบัติต่อไป(มรรค) ขั้นตอนที่ 5 นำผลการวิเคราะห์ สังเคราะห์ร่วมกันระหว่างครูกับศิษย์จัดสร้าวนวัตกรรม เพื่อเป็นชุดนวัตกรรมการสนอที่ที่ดีได้ทุกระกับชั้นและวัยในการเรียนรู้ในรูปแบบใหม่ๆตาม ความเป็นจริง สรุป หลักการสอนของพระพุทธเจ้ามาสู่การปฏิบัติจริงในยุคพุทธศตวรรษ 26 ปัจจุบัน 1. พุทธนวัตกรรมการสอน พระพุทธเจ้าได้ทรงใช้วิธีการถาม-ตอบ กับพระปุณณ มันตานีเถระเรื่องวิปัสสนากรรมฐาน ท่านได้ใช้อายตนะภายในและภายนอก ปฏิบัติ วิปัสสนากัมมัฏฐาน ผลที่ได้คือ บรรลุพระอรหัตตผล 2. ครูต้องมีข้อมูลภูมิรู้ ภูมิธรรมพื้นฐานของผู้เรียนเป็นอย่างดี 3. ครูสอนต้องเปิดโอกาสให้ตั้งคำถามเพื่อแสวงหาความรู้ 4. ครูต้องหาพื้นที่ให้นักศึกษาแสวงหาความรู้ หาคำตอบที่สงสัย 5. ครูสอนต้องมีจิตวิทยาการสอนสามารถเพิ่มความรู้ใหม่ 40 สิริวรรณ ศรีพพหล,การจัดการเรียนการสอนวิชาพระพุทธศาสนาในสถานศึกษา,สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,นนทบุรี,25558 หน้า115 116 ฆานะ (จมูก) คันธะ (กลิ่น) ความรู้ที่เหมาะสมตาม ระดับชั้นเรียนและเปิด โอกาสให้มีส่วนร่วมใน การคิดวิเคราะห์ กำหนด กิจกรรมการเรียนอย่าง สร้างสรรค์ อย่างมีส่วนร่วมด้วยการ ผ่านปฏิสัมพันธ์กับ กิจกรรมที่หลากหลาย และมีความสุขในการ เรียนรู้ ชิวหา (ลิ้น) รส (รส) กาย (กาย) โผฏฐัพพะ (สิ่งต้องกาย) มโน (ใจ) ธรรมารมณ์ (อารมณ์ที่ เกิดกับใจหรือสิ่งที่ใจรู้) ภาพที่ 3.14 ประยุกต์จากพุทธนวัตกรรมการสอนแบบถาม-ตอบพระปุณณมันตานีเถระ ที่มา : มาจาก สิน งามประโคน, การวิเคราะห์พุทธวิธีการสื่อสารเพื่อการเผยแพร่พระพุทธ ศาสนา, (2559: 127) ประยุกต์ไปสู่การปฏิบัติจริงสำหรับการสอนในยุคศตวรรษที่ 21 สามารถประยุกต์ขั้นตอนการสอนแบบถาม-ตอบตามแนวพุทธวิถีใหม่(สิริวรรณ ศรีพหล,2558 หน้า 257) 40 ได้ปรับการสอนไว้ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 การตั้งคำถามเมื่อเห็นปัญหาและวิเคราะห์ปัญหา (ทุกข์) ขั้นตอนที่ 2 การเสนอสภาพปัญหาตามความเป็นจริง ในรูปแบบการตั้งสมมติฐาน(สมุทัย) ขั้นตอนที่ 3 การลงมือปฏิบัติเพื้อเก็บรวบรวมข้อมูลตามความเป็นจริง (นิโรธ) ขั้นตอนที่ 4 การลงมือวิเคราะห์ข้อมูลตามความเป็นจริง แล้วนำไปสู่การสรุปผล ได้ผลนำไป ปฏิบัติต่อไป(มรรค) ขั้นตอนที่ 5 นำผลการวิเคราะห์ สังเคราะห์ร่วมกันระหว่างครูกับศิษย์จัดสร้าวนวัตกรรม เพื่อเป็นชุดนวัตกรรมการสนอที่ที่ดีได้ทุกระกับชั้นและวัยในการเรียนรู้ในรูปแบบใหม่ๆตาม ความเป็นจริง สรุป หลักการสอนของพระพุทธเจ้ามาสู่การปฏิบัติจริงในยุคพุทธศตวรรษ 26 ปัจจุบัน 1. พุทธนวัตกรรมการสอน พระพุทธเจ้าได้ทรงใช้วิธีการถาม-ตอบ กับพระปุณณ มันตานีเถระเรื่องวิปัสสนากรรมฐาน ท่านได้ใช้อายตนะภายในและภายนอก ปฏิบัติ วิปัสสนากัมมัฏฐาน ผลที่ได้คือ บรรลุพระอรหัตตผล 2. ครูต้องมีข้อมูลภูมิรู้ ภูมิธรรมพื้นฐานของผู้เรียนเป็นอย่างดี 3. ครูสอนต้องเปิดโอกาสให้ตั้งคำถามเพื่อแสวงหาความรู้ 4. ครูต้องหาพื้นที่ให้นักศึกษาแสวงหาความรู้ หาคำตอบที่สงสัย 5. ครูสอนต้องมีจิตวิทยาการสอนสามารถเพิ่มความรู้ใหม่ 40 สิริวรรณ ศรีพพหล,การจัดการเรียนการสอนวิชาพระพุทธศาสนาในสถานศึกษา,สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,นนทบุรี,25558 หน้า115 117 6. ครูต้องหากลยุทธ์ให้นักศึกษากล้าแสดงออกในการตั้งคำถามและแสดงความคิด ได้ 7. ครูประเมินการเรียนรู้จากประสบการณ์ผู้เรียนเพื่อช่วยพัฒนาศักยภาพให้สูงขึ้น 8. ครูต้องสามารถพัฒนาศักยภาพนักศึกษาให้เป็นนวัตกรให้มากที่สุด ซึ่งสอดคล้อง กับแนวคิดของศ.นพ.วิจารณ์ พานิช41 กล่าวว่าหัวใจของทักษะเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 คือ 1. ทักษะสร้างแรงบันดาลใจตนเอง 2. ทักษะในการเรียนรู้ 3. ทักษะความร่วมมือ 4. ทักษะ ความมีวินัยในตนเอง ซึ่งสอดคล้องทักษะการเรียนให้มีความสุขตามหลักอิทธิบาท 4 คือ ฉันทะ คือ ความรักเรียน 2. วิริยะ คือ ขยันเรียน 3. จิตตะ คือ เอาใจใส่ในการเรียน 4. วิมังสา คือ มั่นทบทวนพิจารณาให้เข้าถึงความรู้ที่แท้จริง 3.6 พุทธนวัตกรรมการสอนแบบการสนทนา รูปแบบพุทธวิธีการสอนแบบการสนทนาธรรมของพระพุทธเจ้าและพระสาวกนั้น พระองค์ทรงใช้วิธีการสนทนาธรรมระหว่างพระองค์กับพุทธสาวกเพื่อเป็นการสื่อสาร หลักธรรมให้พระสาวกเข้าใจและสามารถนำไปปฏิบัติได้ การสนทนาธรรมของพระพุทธเจ้า กับพระสาวก ขอยกกรณี พระอุปเสนเถระ และพระปิณโฑลภารทวาชเถระ42 ดังต่อไปนี้ กรณีพระอุปเสนเถระเดิมที่ชื่อว่า “อุปเสนะ” ท่านถือกำเนิดในตระกูลพราหมณ์ บิดาเป็นนายบ้านตำบลนาลันทามารดาชื่อว่าสารีพราหมณีท่านเป็นน้องชายคนที่สองของ พระสารีบุตรเมื่อเจริญวัยขึ้นพอแก่การศึกษาบิดามารดาได้ส่งไปศึกษาจบไตรเพทตามลัทธิ พราหมณ์ เมื่อพี่ชายคือพระสารีบุตรออกบวชแล้วก็มีจิตคิดจะออกบวชตามพี่ชายบ้างวันหนึ่ง ได้มีโอกาสเข้าฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าเกิดความเลื่อมใสจึงกราบทูลขออุปสมบทในพระ ธรรมวินัยพระพุทธองค์ประทานอุปสมบทให้ด้วยวิธีเอหิภิกขุอุปสัมปทา หลังบวชได้เพียง พรรษาเดียวท่านได้ตั้งตนเป็นพระอุปัชฌาย์บวชให้กุลบุตรแล้วพามาเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้า หวังจะได้รับคำชมเชยแต่พระพุทธองค์ทรงตำหนิอย่างรุนแรงว่าการกระทำของท่านเป็น การกระทำที่ไม่เหมาะสมเพราะตัวท่านเองยังเป็นผู้ใหม่ไม่รู้จักพระธรรมวินัยดีแล้วจะตั้งตน เป็นอาจารย์สอนคนอื่นได้อย่างไร อาศัยเหตุดังกล่าวนี้พระพุทธเจ้าจึงทรงบัญญัติสิกขาบท 41ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช, การเรียนรู้เกิดขึ้นได้อย่างไร, หน้า 171. 42สิน งามประโคน, การวิเคราะห์พุทธวิธีการสื่อสารเพื่อการเผยแพร่พระพุทธศาสนา, หน้า 132. 40สิิริิวรรณ ศรีีพพหล, การจััดการเรีียนการสอนวิิชาพระพุุทธศาสนาในสถานศึึกษา, สำนัักพิิมพ์์มหาวิิทยาลััยสุุโขทััยธรรมาธิิราช, นนทบุุรีี, 2558 หน้้า 115. 41ศ.นพ.วิิจารณ์์ พานิิช, การเรีียนรู้้�เกิิดขึ้้�นได้้อย่่างไร, หน้้า 171.


119 117 6. ครูต้องหากลยุทธ์ให้นักศึกษากล้าแสดงออกในการตั้งคำถามและแสดงความคิด ได้ 7. ครูประเมินการเรียนรู้จากประสบการณ์ผู้เรียนเพื่อช่วยพัฒนาศักยภาพให้สูงขึ้น 8. ครูต้องสามารถพัฒนาศักยภาพนักศึกษาให้เป็นนวัตกรให้มากที่สุด ซึ่งสอดคล้อง กับแนวคิดของศ.นพ.วิจารณ์ พานิช41 กล่าวว่าหัวใจของทักษะเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 คือ 1. ทักษะสร้างแรงบันดาลใจตนเอง 2. ทักษะในการเรียนรู้ 3. ทักษะความร่วมมือ 4. ทักษะ ความมีวินัยในตนเอง ซึ่งสอดคล้องทักษะการเรียนให้มีความสุขตามหลักอิทธิบาท 4 คือ ฉันทะ คือ ความรักเรียน 2. วิริยะ คือ ขยันเรียน 3. จิตตะ คือ เอาใจใส่ในการเรียน 4. วิมังสา คือ มั่นทบทวนพิจารณาให้เข้าถึงความรู้ที่แท้จริง 3.6 พุทธนวัตกรรมการสอนแบบการสนทนา รูปแบบพุทธวิธีการสอนแบบการสนทนาธรรมของพระพุทธเจ้าและพระสาวกนั้น พระองค์ทรงใช้วิธีการสนทนาธรรมระหว่างพระองค์กับพุทธสาวกเพื่อเป็นการสื่อสาร หลักธรรมให้พระสาวกเข้าใจและสามารถนำไปปฏิบัติได้ การสนทนาธรรมของพระพุทธเจ้า กับพระสาวก ขอยกกรณี พระอุปเสนเถระ และพระปิณโฑลภารทวาชเถระ42 ดังต่อไปนี้ กรณีพระอุปเสนเถระเดิมที่ชื่อว่า “อุปเสนะ” ท่านถือกำเนิดในตระกูลพราหมณ์ บิดาเป็นนายบ้านตำบลนาลันทามารดาชื่อว่าสารีพราหมณีท่านเป็นน้องชายคนที่สองของ พระสารีบุตรเมื่อเจริญวัยขึ้นพอแก่การศึกษาบิดามารดาได้ส่งไปศึกษาจบไตรเพทตามลัทธิ พราหมณ์ เมื่อพี่ชายคือพระสารีบุตรออกบวชแล้วก็มีจิตคิดจะออกบวชตามพี่ชายบ้างวันหนึ่ง ได้มีโอกาสเข้าฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าเกิดความเลื่อมใสจึงกราบทูลขออุปสมบทในพระ ธรรมวินัยพระพุทธองค์ประทานอุปสมบทให้ด้วยวิธีเอหิภิกขุอุปสัมปทา หลังบวชได้เพียง พรรษาเดียวท่านได้ตั้งตนเป็นพระอุปัชฌาย์บวชให้กุลบุตรแล้วพามาเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้า หวังจะได้รับคำชมเชยแต่พระพุทธองค์ทรงตำหนิอย่างรุนแรงว่าการกระทำของท่านเป็น การกระทำที่ไม่เหมาะสมเพราะตัวท่านเองยังเป็นผู้ใหม่ไม่รู้จักพระธรรมวินัยดีแล้วจะตั้งตน เป็นอาจารย์สอนคนอื่นได้อย่างไร อาศัยเหตุดังกล่าวนี้พระพุทธเจ้าจึงทรงบัญญัติสิกขาบท 41ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช, การเรียนรู้เกิดขึ้นได้อย่างไร, หน้า 171. 42สิน งามประโคน, การวิเคราะห์พุทธวิธีการสื่อสารเพื่อการเผยแพร่พระพุทธศาสนา, หน้า 132. 117 6. ครูต้องหากลยุทธ์ให้นักศึกษากล้าแสดงออกในการตั้งคำถามและแสดงความคิด ได้ 7. ครูประเมินการเรียนรู้จากประสบการณ์ผู้เรียนเพื่อช่วยพัฒนาศักยภาพให้สูงขึ้น 8. ครูต้องสามารถพัฒนาศักยภาพนักศึกษาให้เป็นนวัตกรให้มากที่สุด ซึ่งสอดคล้อง กับแนวคิดของศ.นพ.วิจารณ์ พานิช41 กล่าวว่าหัวใจของทักษะเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 คือ 1. ทักษะสร้างแรงบันดาลใจตนเอง 2. ทักษะในการเรียนรู้ 3. ทักษะความร่วมมือ 4. ทักษะ ความมีวินัยในตนเอง ซึ่งสอดคล้องทักษะการเรียนให้มีความสุขตามหลักอิทธิบาท 4 คือ ฉันทะ คือ ความรักเรียน 2. วิริยะ คือ ขยันเรียน 3. จิตตะ คือ เอาใจใส่ในการเรียน 4. วิมังสา คือ มั่นทบทวนพิจารณาให้เข้าถึงความรู้ที่แท้จริง 3.6 พุทธนวัตกรรมการสอนแบบการสนทนา รูปแบบพุทธวิธีการสอนแบบการสนทนาธรรมของพระพุทธเจ้าและพระสาวกนั้น พระองค์ทรงใช้วิธีการสนทนาธรรมระหว่างพระองค์กับพุทธสาวกเพื่อเป็นการสื่อสาร หลักธรรมให้พระสาวกเข้าใจและสามารถนำไปปฏิบัติได้ การสนทนาธรรมของพระพุทธเจ้า กับพระสาวก ขอยกกรณี พระอุปเสนเถระ และพระปิณโฑลภารทวาชเถระ42 ดังต่อไปนี้ กรณีพระอุปเสนเถระเดิมที่ชื่อว่า “อุปเสนะ” ท่านถือกำเนิดในตระกูลพราหมณ์ บิดาเป็นนายบ้านตำบลนาลันทามารดาชื่อว่าสารีพราหมณีท่านเป็นน้องชายคนที่สองของ พระสารีบุตรเมื่อเจริญวัยขึ้นพอแก่การศึกษาบิดามารดาได้ส่งไปศึกษาจบไตรเพทตามลัทธิ พราหมณ์ เมื่อพี่ชายคือพระสารีบุตรออกบวชแล้วก็มีจิตคิดจะออกบวชตามพี่ชายบ้างวันหนึ่ง ได้มีโอกาสเข้าฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าเกิดความเลื่อมใสจึงกราบทูลขออุปสมบทในพระ ธรรมวินัยพระพุทธองค์ประทานอุปสมบทให้ด้วยวิธีเอหิภิกขุอุปสัมปทา หลังบวชได้เพียง พรรษาเดียวท่านได้ตั้งตนเป็นพระอุปัชฌาย์บวชให้กุลบุตรแล้วพามาเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้า หวังจะได้รับคำชมเชยแต่พระพุทธองค์ทรงตำหนิอย่างรุนแรงว่าการกระทำของท่านเป็น การกระทำที่ไม่เหมาะสมเพราะตัวท่านเองยังเป็นผู้ใหม่ไม่รู้จักพระธรรมวินัยดีแล้วจะตั้งตน เป็นอาจารย์สอนคนอื่นได้อย่างไร อาศัยเหตุดังกล่าวนี้พระพุทธเจ้าจึงทรงบัญญัติสิกขาบท 41ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช, การเรียนรู้เกิดขึ้นได้อย่างไร, หน้า 171. 42สิน งามประโคน, การวิเคราะห์พุทธวิธีการสื่อสารเพื่อการเผยแพร่พระพุทธศาสนา, หน้า 132. 117 6. ครูต้องหากลยุทธ์ให้นักศึกษากล้าแสดงออกในการตั้งคำถามและแสดงความคิด ได้ 7. ครูประเมินการเรียนรู้จากประสบการณ์ผู้เรียนเพื่อช่วยพัฒนาศักยภาพให้สูงขึ้น 8. ครูต้องสามารถพัฒนาศักยภาพนักศึกษาให้เป็นนวัตกรให้มากที่สุด ซึ่งสอดคล้อง กับแนวคิดของศ.นพ.วิจารณ์ พานิช41 กล่าวว่าหัวใจของทักษะเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 คือ 1. ทักษะสร้างแรงบันดาลใจตนเอง 2. ทักษะในการเรียนรู้ 3. ทักษะความร่วมมือ 4. ทักษะ ความมีวินัยในตนเอง ซึ่งสอดคล้องทักษะการเรียนให้มีความสุขตามหลักอิทธิบาท 4 คือ ฉันทะ คือ ความรักเรียน 2. วิริยะ คือ ขยันเรียน 3. จิตตะ คือ เอาใจใส่ในการเรียน 4. วิมังสา คือ มั่นทบทวนพิจารณาให้เข้าถึงความรู้ที่แท้จริง 3.6 พุทธนวัตกรรมการสอนแบบการสนทนา รูปแบบพุทธวิธีการสอนแบบการสนทนาธรรมของพระพุทธเจ้าและพระสาวกนั้น พระองค์ทรงใช้วิธีการสนทนาธรรมระหว่างพระองค์กับพุทธสาวกเพื่อเป็นการสื่อสาร หลักธรรมให้พระสาวกเข้าใจและสามารถนำไปปฏิบัติได้ การสนทนาธรรมของพระพุทธเจ้า กับพระสาวก ขอยกกรณี พระอุปเสนเถระ และพระปิณโฑลภารทวาชเถระ42 ดังต่อไปนี้ กรณีพระอุปเสนเถระเดิมที่ชื่อว่า “อุปเสนะ” ท่านถือกำเนิดในตระกูลพราหมณ์ บิดาเป็นนายบ้านตำบลนาลันทามารดาชื่อว่าสารีพราหมณีท่านเป็นน้องชายคนที่สองของ พระสารีบุตรเมื่อเจริญวัยขึ้นพอแก่การศึกษาบิดามารดาได้ส่งไปศึกษาจบไตรเพทตามลัทธิ พราหมณ์ เมื่อพี่ชายคือพระสารีบุตรออกบวชแล้วก็มีจิตคิดจะออกบวชตามพี่ชายบ้างวันหนึ่ง ได้มีโอกาสเข้าฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าเกิดความเลื่อมใสจึงกราบทูลขออุปสมบทในพระ ธรรมวินัยพระพุทธองค์ประทานอุปสมบทให้ด้วยวิธีเอหิภิกขุอุปสัมปทา หลังบวชได้เพียง พรรษาเดียวท่านได้ตั้งตนเป็นพระอุปัชฌาย์บวชให้กุลบุตรแล้วพามาเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้า หวังจะได้รับคำชมเชยแต่พระพุทธองค์ทรงตำหนิอย่างรุนแรงว่าการกระทำของท่านเป็น การกระทำที่ไม่เหมาะสมเพราะตัวท่านเองยังเป็นผู้ใหม่ไม่รู้จักพระธรรมวินัยดีแล้วจะตั้งตน เป็นอาจารย์สอนคนอื่นได้อย่างไร อาศัยเหตุดังกล่าวนี้พระพุทธเจ้าจึงทรงบัญญัติสิกขาบท 41ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช, การเรียนรู้เกิดขึ้นได้อย่างไร, หน้า 171. 42สิน งามประโคน, การวิเคราะห์พุทธวิธีการสื่อสารเพื่อการเผยแพร่พระพุทธศาสนา, หน้า 132. 118 ห้ามไม่ให้ภิกษุที่มีพรรษาหย่อน 10 ทำการอุปสมบทให้แก่กุลบุตรและปรับอาบัติทุกกฎแก่ ภิกษุผู้ละเมิด ท่านเกิดความสลดสังเวชใจที่ถูกติเตียน จึงกราบทูลลาแล้วไปทำความเพียรในที่ แห่งหนึ่งจากนั้นไม่นานก็ได้บรรลุพระอรหัตตผลสำเร็จเป็นพระอริยบุคคล ในพระพุทธศาสนา แล้วสมาทานถือธุดงค์13 อย่างเคร่งครัดจากนั้นท่านได้เป็นอุปัชฌาย์บวชให้กุลบุตร 500 คน และอบรมจนได้บรรลุพระอรหัตตผลทั้งหมดภายหลังได้เข้าเฝ้าพระศาสดาพร้อมภิกษุ บริวารพระพุทธองค์ทรงตรัสชมเชยเป็นอเนกประการ อาศัยเหตุที่ท่านถือธุดงค์13 และปฏิบัติอย่างเคร่งครัดทำให้กุลบุตรเลื่อมใสและ ออกบวชตามเป็นจำนวนมากพระพุทธองค์จึงทรงยกย่องแต่งตั้งเป็นเอตทัคคะด้านผู้นำมา ซึ่งความเลื่อมใส พระอุปเสนเถระเป็นกำลังสำคัญในการประกาศเผยแพร่พระพุทธศาสนา อีกท่านหนึ่งในบรรดาสาวกของพระพุทธเจ้า ครั้นดำรงอายุสังขารพอสมควรแก่อัตภาพแล้ว ก็ได้ดับขันธ์นิพพาน ผลหลังจากพระอุปเสนเถระได้รับการสนทนาธรรมจากพระพุทธเจ้า ดังนี้ 1. เป็นผู้เลิศทางเป็นที่เลื่อมใสไปทั่ว 2. ท่านพระเถระนี้เป็นน้องชายของพระสารีบุตรเถระ สมาทานธุดงค์เริ่มวิปัสสนา ไม่นานนักก็ได้บรรลุอภิญญา 6 พร้อมปฏิสัมภิทา 3. พระศาสดาตรัสสรรเสริญท่านอุปเสนะว่า “บริษัทของเธอน่าเลื่อมใสเธอแนะนำ อย่างไร?” 4. ท่านพระอุปเสนะปรินิพพานที่ป่าสีตะวันเงื้อมเขาสัปปโสณฑิกะกรุงราชคฤห์ ท่าน ถูกงูกัดที่ป่าขณะนั่งเย็บผ้านุ่งก่อนปรินิพพานท่านสนทนาธรรมกับพระสารีบุตรเถระด้วย43 จากการสนทนาธรรมของพระอุปเสนเถระนั้นท่านได้ใช้อายตนะภายในและ ภายนอกเป็นส่วนสำคัญของการบรรลุธรรมของท่าน สามารถสังเคราะห์ได้ดังภาพที่ 3.15 ดังนี้ อายตนะภายใน อายตนะภายนอก เนื้อหาสาระ/กิจกรรม/สื่อ การสอน/วัดผลและ ประเมินผล ผลที่เกิดจากการเรียนรู้ จักขุ (ตา) รูป(รูป) การสอนแบบสนทนา ระหว่างผู้ครูกับผู้เรียนเป็น การเปิดโอกาสให้มีการ การสอนแบบสนทนา ระหว่างครูกับผู้เรียนเป็น รูปแบบการสอนที่ โสตะ(หู) สัททะ (เสียง) ฆานะ (จมูก) คันธะ (กลิ่น) 43ดูรายละเอียดใน วิ.มหา. (ไทย) 2/565-567/89-93, สํ.สฬา. (ไทย) 18/69/58-59, องฺ.เอกก. (ไทย) 20/213/28, ขุ.เถร. (ไทย) 26/577-586/439-450, องฺ.เอกก.อ. (ไทย) 1/213/286-288, สํ.สฬา.อ. (ไทย) 3/69/, ขุ.เถร.อ. (ไทย) 2/282-300.


120 118 ห้ามไม่ให้ภิกษุที่มีพรรษาหย่อน 10 ทำการอุปสมบทให้แก่กุลบุตรและปรับอาบัติทุกกฎแก่ ภิกษุผู้ละเมิด ท่านเกิดความสลดสังเวชใจที่ถูกติเตียน จึงกราบทูลลาแล้วไปทำความเพียรในที่ แห่งหนึ่งจากนั้นไม่นานก็ได้บรรลุพระอรหัตตผลสำเร็จเป็นพระอริยบุคคล ในพระพุทธศาสนา แล้วสมาทานถือธุดงค์13 อย่างเคร่งครัดจากนั้นท่านได้เป็นอุปัชฌาย์บวชให้กุลบุตร 500 คน และอบรมจนได้บรรลุพระอรหัตตผลทั้งหมดภายหลังได้เข้าเฝ้าพระศาสดาพร้อมภิกษุ บริวารพระพุทธองค์ทรงตรัสชมเชยเป็นอเนกประการ อาศัยเหตุที่ท่านถือธุดงค์13 และปฏิบัติอย่างเคร่งครัดทำให้กุลบุตรเลื่อมใสและ ออกบวชตามเป็นจำนวนมากพระพุทธองค์จึงทรงยกย่องแต่งตั้งเป็นเอตทัคคะด้านผู้นำมา ซึ่งความเลื่อมใส พระอุปเสนเถระเป็นกำลังสำคัญในการประกาศเผยแพร่พระพุทธศาสนา อีกท่านหนึ่งในบรรดาสาวกของพระพุทธเจ้า ครั้นดำรงอายุสังขารพอสมควรแก่อัตภาพแล้ว ก็ได้ดับขันธ์นิพพาน ผลหลังจากพระอุปเสนเถระได้รับการสนทนาธรรมจากพระพุทธเจ้า ดังนี้ 1. เป็นผู้เลิศทางเป็นที่เลื่อมใสไปทั่ว 2. ท่านพระเถระนี้เป็นน้องชายของพระสารีบุตรเถระ สมาทานธุดงค์เริ่มวิปัสสนา ไม่นานนักก็ได้บรรลุอภิญญา 6 พร้อมปฏิสัมภิทา 3. พระศาสดาตรัสสรรเสริญท่านอุปเสนะว่า “บริษัทของเธอน่าเลื่อมใสเธอแนะนำ อย่างไร?” 4. ท่านพระอุปเสนะปรินิพพานที่ป่าสีตะวันเงื้อมเขาสัปปโสณฑิกะกรุงราชคฤห์ ท่าน ถูกงูกัดที่ป่าขณะนั่งเย็บผ้านุ่งก่อนปรินิพพานท่านสนทนาธรรมกับพระสารีบุตรเถระด้วย43 จากการสนทนาธรรมของพระอุปเสนเถระนั้นท่านได้ใช้อายตนะภายในและ ภายนอกเป็นส่วนสำคัญของการบรรลุธรรมของท่าน สามารถสังเคราะห์ได้ดังภาพที่ 3.15 ดังนี้ อายตนะภายใน อายตนะภายนอก เนื้อหาสาระ/กิจกรรม/สื่อ การสอน/วัดผลและ ประเมินผล ผลที่เกิดจากการเรียนรู้ จักขุ (ตา) รูป(รูป) การสอนแบบสนทนา ระหว่างผู้ครูกับผู้เรียนเป็น การเปิดโอกาสให้มีการ การสอนแบบสนทนา ระหว่างครูกับผู้เรียนเป็น รูปแบบการสอนที่ โสตะ(หู) สัททะ (เสียง) ฆานะ (จมูก) คันธะ (กลิ่น) 43ดูรายละเอียดใน วิ.มหา. (ไทย) 2/565-567/89-93, สํ.สฬา. (ไทย) 18/69/58-59, องฺ.เอกก. (ไทย) 20/213/28, ขุ.เถร. (ไทย) 26/577-586/439-450, องฺ.เอกก.อ. (ไทย) 1/213/286-288, สํ.สฬา.อ. (ไทย) 3/69/, ขุ.เถร.อ. (ไทย) 2/282-300. 118 ห้ามไม่ให้ภิกษุที่มีพรรษาหย่อน 10 ทำการอุปสมบทให้แก่กุลบุตรและปรับอาบัติทุกกฎแก่ ภิกษุผู้ละเมิด ท่านเกิดความสลดสังเวชใจที่ถูกติเตียน จึงกราบทูลลาแล้วไปทำความเพียรในที่ แห่งหนึ่งจากนั้นไม่นานก็ได้บรรลุพระอรหัตตผลสำเร็จเป็นพระอริยบุคคล ในพระพุทธศาสนา แล้วสมาทานถือธุดงค์13 อย่างเคร่งครัดจากนั้นท่านได้เป็นอุปัชฌาย์บวชให้กุลบุตร 500 คน และอบรมจนได้บรรลุพระอรหัตตผลทั้งหมดภายหลังได้เข้าเฝ้าพระศาสดาพร้อมภิกษุ บริวารพระพุทธองค์ทรงตรัสชมเชยเป็นอเนกประการ อาศัยเหตุที่ท่านถือธุดงค์13 และปฏิบัติอย่างเคร่งครัดทำให้กุลบุตรเลื่อมใสและ ออกบวชตามเป็นจำนวนมากพระพุทธองค์จึงทรงยกย่องแต่งตั้งเป็นเอตทัคคะด้านผู้นำมา ซึ่งความเลื่อมใส พระอุปเสนเถระเป็นกำลังสำคัญในการประกาศเผยแพร่พระพุทธศาสนา อีกท่านหนึ่งในบรรดาสาวกของพระพุทธเจ้า ครั้นดำรงอายุสังขารพอสมควรแก่อัตภาพแล้ว ก็ได้ดับขันธ์นิพพาน ผลหลังจากพระอุปเสนเถระได้รับการสนทนาธรรมจากพระพุทธเจ้า ดังนี้ 1. เป็นผู้เลิศทางเป็นที่เลื่อมใสไปทั่ว 2. ท่านพระเถระนี้เป็นน้องชายของพระสารีบุตรเถระ สมาทานธุดงค์เริ่มวิปัสสนา ไม่นานนักก็ได้บรรลุอภิญญา 6 พร้อมปฏิสัมภิทา 3. พระศาสดาตรัสสรรเสริญท่านอุปเสนะว่า “บริษัทของเธอน่าเลื่อมใสเธอแนะนำ อย่างไร?” 4. ท่านพระอุปเสนะปรินิพพานที่ป่าสีตะวันเงื้อมเขาสัปปโสณฑิกะกรุงราชคฤห์ ท่าน ถูกงูกัดที่ป่าขณะนั่งเย็บผ้านุ่งก่อนปรินิพพานท่านสนทนาธรรมกับพระสารีบุตรเถระด้วย43 จากการสนทนาธรรมของพระอุปเสนเถระนั้นท่านได้ใช้อายตนะภายในและ ภายนอกเป็นส่วนสำคัญของการบรรลุธรรมของท่าน สามารถสังเคราะห์ได้ดังภาพที่ 3.15 ดังนี้ อายตนะภายใน อายตนะภายนอก เนื้อหาสาระ/กิจกรรม/สื่อ การสอน/วัดผลและ ประเมินผล ผลที่เกิดจากการเรียนรู้ จักขุ (ตา) รูป(รูป) การสอนแบบสนทนา ระหว่างผู้ครูกับผู้เรียนเป็น การเปิดโอกาสให้มีการ การสอนแบบสนทนา ระหว่างครูกับผู้เรียนเป็น รูปแบบการสอนที่ โสตะ(หู) สัททะ (เสียง) ฆานะ (จมูก) คันธะ (กลิ่น) 43ดูรายละเอียดใน วิ.มหา. (ไทย) 2/565-567/89-93, สํ.สฬา. (ไทย) 18/69/58-59, องฺ.เอกก. (ไทย) 20/213/28, ขุ.เถร. (ไทย) 26/577-586/439-450, องฺ.เอกก.อ. (ไทย) 1/213/286-288, สํ.สฬา.อ. (ไทย) 3/69/, ขุ.เถร.อ. (ไทย) 2/282-300. 119 ชิวหา (ลิ้น) รส (รส) สอบถามเนื้อหาสาระในการ นำไปสู่การปฏิบัติแล้วพบ ปัญหา อุปสรรคในการ เรียนรู้เชิงลึกเพื่อสร้างและ พัฒนานวัตกรรมต่าง ๆ เช่น การทำวิจัย ทำโครงงาน เป็นต้น เหมาะสมกับกลุ่มขนาด เล็ก หรือเป็นรายบุคคล อย่างการทำโครงงาน สาร นิพนธ์ วิทยานิพนธ์ อุษฎี นิพนธ์เป็นต้นช่วย แก้ปัญหาได้ดี มีความสุข ในการเรียน กาย (กาย) โผฏฐัพพะ (สิ่งต้อง กาย) มโน (ใจ) ธรรมารมณ์ (อารมณ์ ที่เกิดกับใจหรือสิ่งที่ ใจรู้) ภาพที่ 3.15 ประยุกต์พุทธนวัตกรรมการสอนแบบสนทนาธรรมของพระอุปเสนเถระ ที่มา : มาจาก สิน งามประโคน, การวิเคราะห์พุทธวิธีการสื่อสารเพื่อการเผยแพร่พระพุทธ ศาสนา, 2559 : 132) ประยุกต์ไปสู่การปฏิบัติจริงสำหรับการสอนในยุคศตวรรษที่ 21 สรุป หลักการสอนของพระพุทธเจ้ามาสู่การปฏิบัติจริงในยุคพุทธศตวรรษที่ 26 ปัจจุบัน 1. พุทธนวัตกรรมการสอนสนทนาธรรมกับพระอุปเสนเถระแนะนำให้ท่าน ปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฏฐาน ท่านได้ใช้อายตนะภายในและภายนอก ผลที่ได้คือ บรรลุพระอรหัตตผลแล้วสมาทานถือธุดงค์ 13 อย่าง เคร่งครัด 2. สร้างศรัทธาในการเรียนรู้ต่อนักศึกษา 3. เคารพ กฎระเบียบของสถานศึกษาด้วยใจ 4. สร้างแรงจูงใจจากผู้เป็นต้นแบบในการเรียน เช่น ครอบครัว รุ่นพี่ ครู อาจารย์ ฯลฯ 5. สร้างกิจกรรมด้วยการเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างจริงจัง ซึ่งสอดคล้องกับ ไพฑูรย์ สินลารัตน์และกำธร ไพจิตต์44 กล่าวถึงคุณลักษณะนักศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21 มี 4 ทักษะ คือ 1. ทักษะการคิดวิเคราะห์ 2. ทักษะการคิดสร้างสรรค์ 3. ทักษะการสื่อสาร 4. ทักษะค้นคว้าหาความรู้ จากหลักคิดนี้ครู อาจารย์ผู้สอนต้องหาเทคนิควิธีการสอนให้ สอดคล้องกับการพัฒนาคุณลักษณะนักศึกษาให้เรียนรู้ด้วยตนเองตามสถานการณ์ปัจจุบัน คือการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลที่สามารถเรียนรู้ได้ทุกที่ตลอดเวลา (Anywhere and Anytime) กรณีพระปิณโฑลภารทวาชเถระ ท่านมาบังเกิดในตระกูลพราหมณ์มหาศาลในกรุง ราชคฤห์พระปิณโฑลภารทวาชเถระกำเนิดในตระกูลพราหมณ์มหาศาลภารทวาชโคตร บิดาของท่านเป็นปุโรหิตของพระเจ้าอุเทนผู้ครองเมืองโกสัมพีแคว้นวังสะศึกษาจบไตรเพท 44ไพฑูรย์ สินลารัตน์และคณะ, ก่อนถึงโรงเรียน4.0 : โรงเรียนสร้างสรรค์, พิมพ์ที่ 3, (โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร, 2560), หน้า 17. assdssf 43ดููรายละเอีียดใน วิิ.มหา. (ไทย) 2/565-567/89-93, สํํ.สฬา. (ไทย) 18/69/58-59, องฺฺ.เอกก. (ไทย) 20/213/28, ขุุ.เถร. (ไทย) 26/577-586/439-450, องฺฺ.เอกก.อ. (ไทย) 1/213/286-288, สํํ.สฬา.อ. (ไทย) 3/69/, ขุุ.เถร.อ. (ไทย) 2/282-300.


121 119 ชิวหา (ลิ้น) รส (รส) สอบถามเนื้อหาสาระในการ นำไปสู่การปฏิบัติแล้วพบ ปัญหา อุปสรรคในการ เรียนรู้เชิงลึกเพื่อสร้างและ พัฒนานวัตกรรมต่าง ๆ เช่น การทำวิจัย ทำโครงงาน เป็นต้น เหมาะสมกับกลุ่มขนาด เล็ก หรือเป็นรายบุคคล อย่างการทำโครงงาน สาร นิพนธ์ วิทยานิพนธ์ อุษฎี นิพนธ์เป็นต้นช่วย แก้ปัญหาได้ดี มีความสุข ในการเรียน กาย (กาย) โผฏฐัพพะ (สิ่งต้อง กาย) มโน (ใจ) ธรรมารมณ์ (อารมณ์ ที่เกิดกับใจหรือสิ่งที่ ใจรู้) ภาพที่ 3.15 ประยุกต์พุทธนวัตกรรมการสอนแบบสนทนาธรรมของพระอุปเสนเถระ ที่มา : มาจาก สิน งามประโคน, การวิเคราะห์พุทธวิธีการสื่อสารเพื่อการเผยแพร่พระพุทธ ศาสนา, 2559 : 132) ประยุกต์ไปสู่การปฏิบัติจริงสำหรับการสอนในยุคศตวรรษที่ 21 สรุป หลักการสอนของพระพุทธเจ้ามาสู่การปฏิบัติจริงในยุคพุทธศตวรรษที่ 26 ปัจจุบัน 1. พุทธนวัตกรรมการสอนสนทนาธรรมกับพระอุปเสนเถระแนะนำให้ท่าน ปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฏฐาน ท่านได้ใช้อายตนะภายในและภายนอก ผลที่ได้คือ บรรลุพระอรหัตตผลแล้วสมาทานถือธุดงค์ 13 อย่าง เคร่งครัด 2. สร้างศรัทธาในการเรียนรู้ต่อนักศึกษา 3. เคารพ กฎระเบียบของสถานศึกษาด้วยใจ 4. สร้างแรงจูงใจจากผู้เป็นต้นแบบในการเรียน เช่น ครอบครัว รุ่นพี่ ครู อาจารย์ ฯลฯ 5. สร้างกิจกรรมด้วยการเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างจริงจัง ซึ่งสอดคล้องกับ ไพฑูรย์ สินลารัตน์และกำธร ไพจิตต์44 กล่าวถึงคุณลักษณะนักศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21 มี 4 ทักษะ คือ 1. ทักษะการคิดวิเคราะห์ 2. ทักษะการคิดสร้างสรรค์ 3. ทักษะการสื่อสาร 4. ทักษะค้นคว้าหาความรู้ จากหลักคิดนี้ครู อาจารย์ผู้สอนต้องหาเทคนิควิธีการสอนให้ สอดคล้องกับการพัฒนาคุณลักษณะนักศึกษาให้เรียนรู้ด้วยตนเองตามสถานการณ์ปัจจุบัน คือการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลที่สามารถเรียนรู้ได้ทุกที่ตลอดเวลา (Anywhere and Anytime) กรณีพระปิณโฑลภารทวาชเถระ ท่านมาบังเกิดในตระกูลพราหมณ์มหาศาลในกรุง ราชคฤห์พระปิณโฑลภารทวาชเถระกำเนิดในตระกูลพราหมณ์มหาศาลภารทวาชโคตร บิดาของท่านเป็นปุโรหิตของพระเจ้าอุเทนผู้ครองเมืองโกสัมพีแคว้นวังสะศึกษาจบไตรเพท 44ไพฑูรย์ สินลารัตน์และคณะ, ก่อนถึงโรงเรียน4.0 : โรงเรียนสร้างสรรค์, พิมพ์ที่ 3, (โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร, 2560), หน้า 17. 119 ชิวหา (ลิ้น) รส (รส) สอบถามเนื้อหาสาระในการ นำไปสู่การปฏิบัติแล้วพบ ปัญหา อุปสรรคในการ เรียนรู้เชิงลึกเพื่อสร้างและ พัฒนานวัตกรรมต่าง ๆ เช่น การทำวิจัย ทำโครงงาน เป็นต้น เหมาะสมกับกลุ่มขนาด เล็ก หรือเป็นรายบุคคล อย่างการทำโครงงาน สาร นิพนธ์ วิทยานิพนธ์ อุษฎี นิพนธ์เป็นต้นช่วย แก้ปัญหาได้ดี มีความสุข ในการเรียน กาย (กาย) โผฏฐัพพะ (สิ่งต้อง กาย) มโน (ใจ) ธรรมารมณ์ (อารมณ์ ที่เกิดกับใจหรือสิ่งที่ ใจรู้) ภาพที่ 3.15 ประยุกต์พุทธนวัตกรรมการสอนแบบสนทนาธรรมของพระอุปเสนเถระ ที่มา : มาจาก สิน งามประโคน, การวิเคราะห์พุทธวิธีการสื่อสารเพื่อการเผยแพร่พระพุทธ ศาสนา, 2559 : 132) ประยุกต์ไปสู่การปฏิบัติจริงสำหรับการสอนในยุคศตวรรษที่ 21 สรุป หลักการสอนของพระพุทธเจ้ามาสู่การปฏิบัติจริงในยุคพุทธศตวรรษที่ 26 ปัจจุบัน 1. พุทธนวัตกรรมการสอนสนทนาธรรมกับพระอุปเสนเถระแนะนำให้ท่าน ปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฏฐาน ท่านได้ใช้อายตนะภายในและภายนอก ผลที่ได้คือ บรรลุพระอรหัตตผลแล้วสมาทานถือธุดงค์ 13 อย่าง เคร่งครัด 2. สร้างศรัทธาในการเรียนรู้ต่อนักศึกษา 3. เคารพ กฎระเบียบของสถานศึกษาด้วยใจ 4. สร้างแรงจูงใจจากผู้เป็นต้นแบบในการเรียน เช่น ครอบครัว รุ่นพี่ ครู อาจารย์ ฯลฯ 5. สร้างกิจกรรมด้วยการเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างจริงจัง ซึ่งสอดคล้องกับ ไพฑูรย์ สินลารัตน์และกำธร ไพจิตต์44 กล่าวถึงคุณลักษณะนักศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21 มี 4 ทักษะ คือ 1. ทักษะการคิดวิเคราะห์ 2. ทักษะการคิดสร้างสรรค์ 3. ทักษะการสื่อสาร 4. ทักษะค้นคว้าหาความรู้ จากหลักคิดนี้ครู อาจารย์ผู้สอนต้องหาเทคนิควิธีการสอนให้ สอดคล้องกับการพัฒนาคุณลักษณะนักศึกษาให้เรียนรู้ด้วยตนเองตามสถานการณ์ปัจจุบัน คือการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลที่สามารถเรียนรู้ได้ทุกที่ตลอดเวลา (Anywhere and Anytime) กรณีพระปิณโฑลภารทวาชเถระ ท่านมาบังเกิดในตระกูลพราหมณ์มหาศาลในกรุง ราชคฤห์พระปิณโฑลภารทวาชเถระกำเนิดในตระกูลพราหมณ์มหาศาลภารทวาชโคตร บิดาของท่านเป็นปุโรหิตของพระเจ้าอุเทนผู้ครองเมืองโกสัมพีแคว้นวังสะศึกษาจบไตรเพท 44ไพฑูรย์ สินลารัตน์และคณะ, ก่อนถึงโรงเรียน4.0 : โรงเรียนสร้างสรรค์, พิมพ์ที่ 3, (โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร, 2560), หน้า 17. 120 แล้วได้เป็นอาจารย์สอนไตรเพทบริโภคอาหารตะกละตะกรามและแสวงหาอาหารในทางไม่ ชอบจึงถูกศิษย์ทั้งหลายทอดทิ้งทำให้เป็นอยู่อย่างลำบากย้ายมาตั้งสำนักสอนไตรเพทใน กรุงราชคฤห์ ครั้งนั้น พระพุทธเจ้าประทับประกาศพระศาสนาอยู่ในกรุงราชคฤห์มีประชาชนให้ ความเคารพนับถือเลื่อมใสเป็นอันมาก ลาภสักการะก็อุดมสมบูรณ์ปิณโฑลภารทวาชะ ทราบข่าว จึงคิดออกบวชเพื่ออาศัยพระพุทธศาสนาเลี้ยงชีพ แต่เมื่อได้ฟังธรรมจากพระ บรมศาสดาแล้วเกิดความเลื่อมใสจึงกราบทูลขออุปสมบทพระพุทธองค์ประทานอุปสมบท ให้ด้วยวิธีเอหิภิกขุอุปสัมปทา จากนั้นท่านได้ขวนขวายพากเพียรพยายามปฏิบัติวิปัสสนา กรรมฐานไม่นานนักก็ได้บรรลุพระอรหัตตผล ในสมัยหนึ่งพระพุทธเจ้าประทับอยู่ที่พระเวฬุวันกรุงราชคฤห์มีเศรษฐีหนึ่งอยาก ทราบว่าพระอรหันต์ในโลกนี้มีจริงหรือไม่ จึงสั่งให้บริวารนำบาตรไม้จันทร์แดงไปแขวนไว้ที่ ปลายยอดไม้สูง 15 วา แล้วป่าวประกาศว่า หากพระอรหันต์จึงมีจริงในโลกขอให้เหาะมา เอาบาตรที่แขวนไว้ภายใจ 7 วันหากไม่มีก็จะได้รู้ว่าพระอรหันต์ไม่มีในโลก ครั้งนั้น ครูทั้ง 6 ได้มาทำเล่ห์หลอกหวังจะให้เศรษฐียกบาตรให้แต่ก็ไม่สำเร็จจน ล่วงเลยถึงวันที่ 7 ขณะนั้นพระโมคคัลลานะกับพระปิณโฑลภารทวาชะ กำลังห่มจีวรเพื่อ เข้าไปบิณฑบาต ได้ยินนักเลงพูดถึงเรื่องดังกล่าว จึงได้ปรึกษากันว่าจะปล่อยให้หมู่คนมาดู ถูกพระอริยบุคคลในพระพุทธศาสนาไม่ได้จึงต้องแสดงให้คนได้เห็นว่า พระอรหันต์นั้นมีจริง จึงให้พระปิณโฑลภารทวาชะเหาะไปเอาบาตร เศรษฐีเห็นเช่นนั้นแล้วเกิดความเลื่อมใสจึง แสดงตนเป็นอุบาสกประกาศยอมรับนับถือพระรัตนตรัยเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต พระปิณโฑลภารทวาชะมักบันลือสีหนาท (เปล่งวาจาด้วยเสียงดังเหมือนราชสีห์) ในท่านกลางสงฆ์ว่า “ผู้ใดมีความสงสัยในมรรคหรือผลผู้นั้นจงถามเราเถิด” ภิกษุสงฆ์ต่าง กล่าวยกย่องสรรเสริญท่านเป็นอเนกประการและพระพุทธองค์ทรงทราบจึงตรัสสรรเสริญ แล้วยกย่องแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งเอตทัคคะด้านผู้บันลือสีหนาท พระปิณโฑลภารทวาชะ เป็นหนึ่งในพระสาวกผู้ใหญ่ 80 องค์ที่มีบทบาทสำคัญในการประกาศเผยแพร่พระพุทธศาสนา ทำให้ประดิษฐานมั่นคงมาจนถึงทุกวันนี้เมื่อดำรงอายุสังขารพอสมควรแก่อัตภาพแล้วก็ให้ นิพพานไป45 45ดูรายละเอียดใน สํ.ม. (ไทย) 19/519/331-332, องฺ.เอกก. (ไทย) 20/195/26, องฺ.เอกก.อ. (ไทย) 1/195/216-219, ขุ.ธ.อ. (ไทย) 2/189-215, ขุ.เถร. (ไทย) 26/123-124/38, ขุ.เถร.อ. (ไทย) 1/478-482.


122 120 แล้วได้เป็นอาจารย์สอนไตรเพทบริโภคอาหารตะกละตะกรามและแสวงหาอาหารในทางไม่ ชอบจึงถูกศิษย์ทั้งหลายทอดทิ้งทำให้เป็นอยู่อย่างลำบากย้ายมาตั้งสำนักสอนไตรเพทใน กรุงราชคฤห์ ครั้งนั้น พระพุทธเจ้าประทับประกาศพระศาสนาอยู่ในกรุงราชคฤห์มีประชาชนให้ ความเคารพนับถือเลื่อมใสเป็นอันมาก ลาภสักการะก็อุดมสมบูรณ์ปิณโฑลภารทวาชะ ทราบข่าว จึงคิดออกบวชเพื่ออาศัยพระพุทธศาสนาเลี้ยงชีพ แต่เมื่อได้ฟังธรรมจากพระ บรมศาสดาแล้วเกิดความเลื่อมใสจึงกราบทูลขออุปสมบทพระพุทธองค์ประทานอุปสมบท ให้ด้วยวิธีเอหิภิกขุอุปสัมปทา จากนั้นท่านได้ขวนขวายพากเพียรพยายามปฏิบัติวิปัสสนา กรรมฐานไม่นานนักก็ได้บรรลุพระอรหัตตผล ในสมัยหนึ่งพระพุทธเจ้าประทับอยู่ที่พระเวฬุวันกรุงราชคฤห์มีเศรษฐีหนึ่งอยาก ทราบว่าพระอรหันต์ในโลกนี้มีจริงหรือไม่ จึงสั่งให้บริวารนำบาตรไม้จันทร์แดงไปแขวนไว้ที่ ปลายยอดไม้สูง 15 วา แล้วป่าวประกาศว่า หากพระอรหันต์จึงมีจริงในโลกขอให้เหาะมา เอาบาตรที่แขวนไว้ภายใจ 7 วันหากไม่มีก็จะได้รู้ว่าพระอรหันต์ไม่มีในโลก ครั้งนั้น ครูทั้ง 6 ได้มาทำเล่ห์หลอกหวังจะให้เศรษฐียกบาตรให้แต่ก็ไม่สำเร็จจน ล่วงเลยถึงวันที่ 7 ขณะนั้นพระโมคคัลลานะกับพระปิณโฑลภารทวาชะ กำลังห่มจีวรเพื่อ เข้าไปบิณฑบาต ได้ยินนักเลงพูดถึงเรื่องดังกล่าว จึงได้ปรึกษากันว่าจะปล่อยให้หมู่คนมาดู ถูกพระอริยบุคคลในพระพุทธศาสนาไม่ได้จึงต้องแสดงให้คนได้เห็นว่า พระอรหันต์นั้นมีจริง จึงให้พระปิณโฑลภารทวาชะเหาะไปเอาบาตร เศรษฐีเห็นเช่นนั้นแล้วเกิดความเลื่อมใสจึง แสดงตนเป็นอุบาสกประกาศยอมรับนับถือพระรัตนตรัยเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต พระปิณโฑลภารทวาชะมักบันลือสีหนาท (เปล่งวาจาด้วยเสียงดังเหมือนราชสีห์) ในท่านกลางสงฆ์ว่า “ผู้ใดมีความสงสัยในมรรคหรือผลผู้นั้นจงถามเราเถิด” ภิกษุสงฆ์ต่าง กล่าวยกย่องสรรเสริญท่านเป็นอเนกประการและพระพุทธองค์ทรงทราบจึงตรัสสรรเสริญ แล้วยกย่องแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งเอตทัคคะด้านผู้บันลือสีหนาท พระปิณโฑลภารทวาชะ เป็นหนึ่งในพระสาวกผู้ใหญ่ 80 องค์ที่มีบทบาทสำคัญในการประกาศเผยแพร่พระพุทธศาสนา ทำให้ประดิษฐานมั่นคงมาจนถึงทุกวันนี้เมื่อดำรงอายุสังขารพอสมควรแก่อัตภาพแล้วก็ให้ นิพพานไป45 45ดูรายละเอียดใน สํ.ม. (ไทย) 19/519/331-332, องฺ.เอกก. (ไทย) 20/195/26, องฺ.เอกก.อ. (ไทย) 1/195/216-219, ขุ.ธ.อ. (ไทย) 2/189-215, ขุ.เถร. (ไทย) 26/123-124/38, ขุ.เถร.อ. (ไทย) 1/478-482. 120 แล้วได้เป็นอาจารย์สอนไตรเพทบริโภคอาหารตะกละตะกรามและแสวงหาอาหารในทางไม่ ชอบจึงถูกศิษย์ทั้งหลายทอดทิ้งทำให้เป็นอยู่อย่างลำบากย้ายมาตั้งสำนักสอนไตรเพทใน กรุงราชคฤห์ ครั้งนั้น พระพุทธเจ้าประทับประกาศพระศาสนาอยู่ในกรุงราชคฤห์มีประชาชนให้ ความเคารพนับถือเลื่อมใสเป็นอันมาก ลาภสักการะก็อุดมสมบูรณ์ปิณโฑลภารทวาชะ ทราบข่าว จึงคิดออกบวชเพื่ออาศัยพระพุทธศาสนาเลี้ยงชีพ แต่เมื่อได้ฟังธรรมจากพระ บรมศาสดาแล้วเกิดความเลื่อมใสจึงกราบทูลขออุปสมบทพระพุทธองค์ประทานอุปสมบท ให้ด้วยวิธีเอหิภิกขุอุปสัมปทา จากนั้นท่านได้ขวนขวายพากเพียรพยายามปฏิบัติวิปัสสนา กรรมฐานไม่นานนักก็ได้บรรลุพระอรหัตตผล ในสมัยหนึ่งพระพุทธเจ้าประทับอยู่ที่พระเวฬุวันกรุงราชคฤห์มีเศรษฐีหนึ่งอยาก ทราบว่าพระอรหันต์ในโลกนี้มีจริงหรือไม่ จึงสั่งให้บริวารนำบาตรไม้จันทร์แดงไปแขวนไว้ที่ ปลายยอดไม้สูง 15 วา แล้วป่าวประกาศว่า หากพระอรหันต์จึงมีจริงในโลกขอให้เหาะมา เอาบาตรที่แขวนไว้ภายใจ 7 วันหากไม่มีก็จะได้รู้ว่าพระอรหันต์ไม่มีในโลก ครั้งนั้น ครูทั้ง 6 ได้มาทำเล่ห์หลอกหวังจะให้เศรษฐียกบาตรให้แต่ก็ไม่สำเร็จจน ล่วงเลยถึงวันที่ 7 ขณะนั้นพระโมคคัลลานะกับพระปิณโฑลภารทวาชะ กำลังห่มจีวรเพื่อ เข้าไปบิณฑบาต ได้ยินนักเลงพูดถึงเรื่องดังกล่าว จึงได้ปรึกษากันว่าจะปล่อยให้หมู่คนมาดู ถูกพระอริยบุคคลในพระพุทธศาสนาไม่ได้จึงต้องแสดงให้คนได้เห็นว่า พระอรหันต์นั้นมีจริง จึงให้พระปิณโฑลภารทวาชะเหาะไปเอาบาตร เศรษฐีเห็นเช่นนั้นแล้วเกิดความเลื่อมใสจึง แสดงตนเป็นอุบาสกประกาศยอมรับนับถือพระรัตนตรัยเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต พระปิณโฑลภารทวาชะมักบันลือสีหนาท (เปล่งวาจาด้วยเสียงดังเหมือนราชสีห์) ในท่านกลางสงฆ์ว่า “ผู้ใดมีความสงสัยในมรรคหรือผลผู้นั้นจงถามเราเถิด” ภิกษุสงฆ์ต่าง กล่าวยกย่องสรรเสริญท่านเป็นอเนกประการและพระพุทธองค์ทรงทราบจึงตรัสสรรเสริญ แล้วยกย่องแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งเอตทัคคะด้านผู้บันลือสีหนาท พระปิณโฑลภารทวาชะ เป็นหนึ่งในพระสาวกผู้ใหญ่ 80 องค์ที่มีบทบาทสำคัญในการประกาศเผยแพร่พระพุทธศาสนา ทำให้ประดิษฐานมั่นคงมาจนถึงทุกวันนี้เมื่อดำรงอายุสังขารพอสมควรแก่อัตภาพแล้วก็ให้ นิพพานไป45 45ดูรายละเอียดใน สํ.ม. (ไทย) 19/519/331-332, องฺ.เอกก. (ไทย) 20/195/26, องฺ.เอกก.อ. (ไทย) 1/195/216-219, ขุ.ธ.อ. (ไทย) 2/189-215, ขุ.เถร. (ไทย) 26/123-124/38, ขุ.เถร.อ. (ไทย) 1/478-482. 121 จากการสนทนาธรรมของพระปิณโฑลภารทวาชเถระนั้นท่านได้ใช้อายตนะภายใน และภายนอกเป็นส่วนสำคัญของการจัดการเรียนการสอนและสามารถสังเคราะห์นำไป ประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ปัจจุบันได้ดังภาพที่ 3.16 ดังนี้ อายตนะภายใน อายตนะภายนอก เนื้อหาสาระ/ กิจกรรม/สื่อการสอน/ วัดผลและประเมินผล ผลที่เกิดจาก การเรียนรู้ จักขุ (ตา) รูป(รูป) การกำหนดจุดประสงค์ การสอนเพื่อให้ผู้เรียน เปลี่ยนพฤติกรรมการ เรียนรู้ด้วยตนเองใน ภาคปฏิบัติอาจเป็น รายบุคคลหรือเป็นกลุ่ม การเรียนรู้ด้วยการ ปฏิบัติเพื่อแก้ปัญหา เฉพาะเป็นรายบุคคล หรือกลุ่มคนในการ เรียนรู้ด้วยตนเอง ครู/ อาจารย์เป็นที่ปรึกษา ผู้เรียนมีความสุขได้ผลดี มาก โสตะ(หู) สัททะ (เสียง) ฆานะ (จมูก) คันธะ (กลิ่น) ชิวหา (ลิ้น) รส (รส) กาย (กาย) โผฏฐัพพะ (สิ่งต้องกาย) มโน (ใจ) ธรรมารมณ์ (อารมณ์ที่ เกิดกับใจหรือสิ่งที่ใจรู้) ภาพที่ 3.16 ประยุกต์จากพุทธนวัตกรรมการสอนแบบสนทนาธรรมพระปิณโฑลภารทวาช เถระ ที่มา: มาจาก สิน งามประโคน, การวิเคราะห์พุทธวิธีการสื่อสารเพื่อการเผยแพร่ พระพุทธศาสนา, (พ.ศ. 2559 : 135) ประยุกต์ไปสู่การปฏิบัติจริงสำหรับการสอนในยุค ศตวรรษที่ 21 สรุป หลักการสอนของพระพุทธเจ้ามาสู่การปฏิบัติจริงในยุคพุทธศตวรรษที่ 26 ปัจจุบัน ได้ดังนี้


123 121 จากการสนทนาธรรมของพระปิณโฑลภารทวาชเถระนั้นท่านได้ใช้อายตนะภายใน และภายนอกเป็นส่วนสำคัญของการจัดการเรียนการสอนและสามารถสังเคราะห์นำไป ประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ปัจจุบันได้ดังภาพที่ 3.16 ดังนี้ อายตนะภายใน อายตนะภายนอก เนื้อหาสาระ/ กิจกรรม/สื่อการสอน/ วัดผลและประเมินผล ผลที่เกิดจาก การเรียนรู้ จักขุ (ตา) รูป(รูป) การกำหนดจุดประสงค์ การสอนเพื่อให้ผู้เรียน เปลี่ยนพฤติกรรมการ เรียนรู้ด้วยตนเองใน ภาคปฏิบัติอาจเป็น รายบุคคลหรือเป็นกลุ่ม การเรียนรู้ด้วยการ ปฏิบัติเพื่อแก้ปัญหา เฉพาะเป็นรายบุคคล หรือกลุ่มคนในการ เรียนรู้ด้วยตนเอง ครู/ อาจารย์เป็นที่ปรึกษา ผู้เรียนมีความสุขได้ผลดี มาก โสตะ(หู) สัททะ (เสียง) ฆานะ (จมูก) คันธะ (กลิ่น) ชิวหา (ลิ้น) รส (รส) กาย (กาย) โผฏฐัพพะ (สิ่งต้องกาย) มโน (ใจ) ธรรมารมณ์ (อารมณ์ที่ เกิดกับใจหรือสิ่งที่ใจรู้) ภาพที่ 3.16 ประยุกต์จากพุทธนวัตกรรมการสอนแบบสนทนาธรรมพระปิณโฑลภารทวาช เถระ ที่มา: มาจาก สิน งามประโคน, การวิเคราะห์พุทธวิธีการสื่อสารเพื่อการเผยแพร่ พระพุทธศาสนา, (พ.ศ. 2559 : 135) ประยุกต์ไปสู่การปฏิบัติจริงสำหรับการสอนในยุค ศตวรรษที่ 21 สรุป หลักการสอนของพระพุทธเจ้ามาสู่การปฏิบัติจริงในยุคพุทธศตวรรษที่ 26 ปัจจุบัน ได้ดังนี้ 122 1. พุทธนวัตกรรมการสอนสนทนาธรรมกับพระปิณโฑลภารทวาชเถระแนะนำให้ ท่านปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฏฐาน ท่านได้ใช้อายตนะภายในและภายนอก ผลที่ได้คือ บรรลุ พระอรหัตตผล 2. สร้างศรัทธาในการเรียนรู้ต่อนักศึกษา 3. สร้างกระแสการประชาสัมพันธ์ตามสื่อสมัยใหม่ให้นักศึกษาสนใจอยากเรียน 4. สร้างแรงจูงใจจากผู้เป็นต้นแบบในการเรียน เช่น ครอบครัว รุ่นพี่ ครู อาจารย์ ฯลฯ 5. ครู อาจารย์ต้องตั้งเป้าหมายการสอนด้วยสร้างนวัตกรหลากหลายสาขา 6. ครู อาจารย์ ต้องส่งเสริมพื้นที่ อุปกรณ์ สำหรับการทดลอง เรียนรู้ได้เติมเต็ม ศักยภาพผู้เรียน สรุป แนวทางการพัฒนาพุทธนวัตกรรมการสอนไปประยุกต์ใช้สำหรับการสอน ในสถานการณ์ปัจจุบันยุคพุทธศตวรรษที่26 พุทธนวัตกรรมการสอนจากพระไตรปิฎกของ พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต) พอที่จะประมวลหลักพุทธนวัตกรรมการสอนได้ทั้ง 3 ประการ ดังได้กล่าวไว้ในตารางที่ 3.1 ดังนี้ ตารางที่ 3.1 ประยุกต์พุทธนวัตกรรมการสอนจากพระไตรปิฎกสู่การสอนจริงในพุทธ ศตวรรษที่ 26 1. หลักเกี่ยวกับเนื้อหาในการสอน 2. หลักเกี่ยวกับตัวผู้เรียน 3. หลักเกี่ยวกับผู้สอนสอน 1.1 สอนสิ่งที่เข้าใจง่ายไปหาสิ่ง ที่เข้าใจยาก 2.1 สอนโดยพิจารณาความ แตกต่างระหว่างบุคคลของ ผู้เรียน 3.1 สร้างความสนใจแก่ ผู้เรียนหรือผู้ฟัง 1.2 สอนเนื้อหาที่ค่อย ๆ ลุ่มลึก ลงไปตามลำดับชั้น 2.2 สอนโดยปรับวิธีสอนให้ เหมาะกับบุคคล 3.2 สร้างบรรยากาศใน การสอนให้ปลอดโปร่ง เพลิดเพลิน 1.3 สอนให้เกิดการเรียนรู้ด้วย ตนเอง 2.3 สอนให้คำนึงถึงความ พร้อมของบุคคลแต่ละคน 3.3 สอนมุ่งเนื้อหา 1.4 สอนตรงตามเนื้อหา 2.4 สอนให้ผู้เรียนลงมือทำ ด้วยตนเอง 3.4 สอนโดยเคารพและ ตั้งใจสอน


124 122 1. พุทธนวัตกรรมการสอนสนทนาธรรมกับพระปิณโฑลภารทวาชเถระแนะนำให้ ท่านปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฏฐาน ท่านได้ใช้อายตนะภายในและภายนอก ผลที่ได้คือ บรรลุ พระอรหัตตผล 2. สร้างศรัทธาในการเรียนรู้ต่อนักศึกษา 3. สร้างกระแสการประชาสัมพันธ์ตามสื่อสมัยใหม่ให้นักศึกษาสนใจอยากเรียน 4. สร้างแรงจูงใจจากผู้เป็นต้นแบบในการเรียน เช่น ครอบครัว รุ่นพี่ ครู อาจารย์ ฯลฯ 5. ครู อาจารย์ต้องตั้งเป้าหมายการสอนด้วยสร้างนวัตกรหลากหลายสาขา 6. ครู อาจารย์ ต้องส่งเสริมพื้นที่ อุปกรณ์ สำหรับการทดลอง เรียนรู้ได้เติมเต็ม ศักยภาพผู้เรียน สรุป แนวทางการพัฒนาพุทธนวัตกรรมการสอนไปประยุกต์ใช้สำหรับการสอน ในสถานการณ์ปัจจุบันยุคพุทธศตวรรษที่26 พุทธนวัตกรรมการสอนจากพระไตรปิฎกของ พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต) พอที่จะประมวลหลักพุทธนวัตกรรมการสอนได้ทั้ง 3 ประการ ดังได้กล่าวไว้ในตารางที่ 3.1 ดังนี้ ตารางที่ 3.1 ประยุกต์พุทธนวัตกรรมการสอนจากพระไตรปิฎกสู่การสอนจริงในพุทธ ศตวรรษที่ 26 1. หลักเกี่ยวกับเนื้อหาในการสอน 2. หลักเกี่ยวกับตัวผู้เรียน 3. หลักเกี่ยวกับผู้สอนสอน 1.1 สอนสิ่งที่เข้าใจง่ายไปหาสิ่ง ที่เข้าใจยาก 2.1 สอนโดยพิจารณาความ แตกต่างระหว่างบุคคลของ ผู้เรียน 3.1 สร้างความสนใจแก่ ผู้เรียนหรือผู้ฟัง 1.2 สอนเนื้อหาที่ค่อย ๆ ลุ่มลึก ลงไปตามลำดับชั้น 2.2 สอนโดยปรับวิธีสอนให้ เหมาะกับบุคคล 3.2 สร้างบรรยากาศใน การสอนให้ปลอดโปร่ง เพลิดเพลิน 1.3 สอนให้เกิดการเรียนรู้ด้วย ตนเอง 2.3 สอนให้คำนึงถึงความ พร้อมของบุคคลแต่ละคน 3.3 สอนมุ่งเนื้อหา 1.4 สอนตรงตามเนื้อหา 2.4 สอนให้ผู้เรียนลงมือทำ ด้วยตนเอง 3.4 สอนโดยเคารพและ ตั้งใจสอน 123 1.5 สอนมีเหตุผล 2.5 สอนให้ผู้เรียนมีส่วน ร่วมในการสนทนา โต้ตอบได้ 3.5 ใช้ภาษาสุภาพและ ง่ายในการสื่อสาร 1.6 สอนเท่าที่จำเป็นจะต้องรู้ ในแต่ละระดับชั้น 2.6 สอนเอาใจใส่เป็น รายบุคคลให้ถูกกาลเทศะ 3.6 การเลือกสื่อ ทันสมัยประกอบการสอน ในยุคดิจิทัล 1.7 สอนสิ่งที่มีความหมายและ เป็นประโยชน์แก่ผู้เรียน 2.7 สอนช่วยเหลือเอาใจใส่ คนผู้ที่เรียนอ่อนเป็นพิเศษ 3.7 การสอนในยุค ดิจิทัลเรียนได้ทุกเวลา สถานที่ จากตารางที่ 3.1 พุทธนวัตกรรมการสอนในสถานศึกษาในยุคศตวรรษที่ 26 พบว่า เรื่อง/เนื้อหาการสอนต้องพิจารณาให้เหมาะสมกับวัยผู้เรียนในแต่ละชั้นโดยครูต้อง เรียนรู้เทคนิคการสอนโดยใช้ทั้งภาคทฤษฎีและลงมือปฏิบัติจริงนำมาเสนอในชั้นเรียนเพื่อ การเรียนรู้ร่วมกัน นอกจากนั้นพุทธนวัตกรรมการสอนสามารถสรุปเป็นภาพประกอบได้ดังนี้ ภาพที่3.17 พุทธนวัตกรรมการสอน ที่มา : สรุปพุทธนวัตกรรมการสอนจากพระไตรปิฎกสู่ไปการสอนจริงในพุทธศตวรรษที่ 26 โดยสังเคราะห์ของผู้เขียน (2564)


125 123 1.5 สอนมีเหตุผล 2.5 สอนให้ผู้เรียนมีส่วน ร่วมในการสนทนา โต้ตอบได้ 3.5 ใช้ภาษาสุภาพและ ง่ายในการสื่อสาร 1.6 สอนเท่าที่จำเป็นจะต้องรู้ ในแต่ละระดับชั้น 2.6 สอนเอาใจใส่เป็น รายบุคคลให้ถูกกาลเทศะ 3.6 การเลือกสื่อ ทันสมัยประกอบการสอน ในยุคดิจิทัล 1.7 สอนสิ่งที่มีความหมายและ เป็นประโยชน์แก่ผู้เรียน 2.7 สอนช่วยเหลือเอาใจใส่ คนผู้ที่เรียนอ่อนเป็นพิเศษ 3.7 การสอนในยุค ดิจิทัลเรียนได้ทุกเวลา สถานที่ จากตารางที่ 3.1 พุทธนวัตกรรมการสอนในสถานศึกษาในยุคศตวรรษที่ 26 พบว่า เรื่อง/เนื้อหาการสอนต้องพิจารณาให้เหมาะสมกับวัยผู้เรียนในแต่ละชั้นโดยครูต้อง เรียนรู้เทคนิคการสอนโดยใช้ทั้งภาคทฤษฎีและลงมือปฏิบัติจริงนำมาเสนอในชั้นเรียนเพื่อ การเรียนรู้ร่วมกัน นอกจากนั้นพุทธนวัตกรรมการสอนสามารถสรุปเป็นภาพประกอบได้ดังนี้ ภาพที่3.17 พุทธนวัตกรรมการสอน ที่มา : สรุปพุทธนวัตกรรมการสอนจากพระไตรปิฎกสู่ไปการสอนจริงในพุทธศตวรรษที่ 26 โดยสังเคราะห์ของผู้เขียน (2564)


126 124 เอกสารอ้างอิง 1. ภาษาไทย ก. เอกสารชั้นปฐมภูมิ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณ ราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2539. ข. เอกสารทุติยภูมิ (1) หนังสือ คณาจารย์สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง. อนุพุทธประวัติ: หนังสือเรียนนักธรรมชั้นโทฉบับ มาตรฐานบูรณาการชีวิต. กรุงเทพมหานคร: เลี่ยงเชียง, 2550. ทิศนา แขมมณี. ศาสตร์การสอน : องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มี ประสิทธิภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 21. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, 2560. พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). พุทธวิธีในการสอน. กรุงเทพมหานคร: สหธรรมิก จำกัด, 2547. ไพฑูรย์ สิ้นลารัตน์ และคณะ. ก่อนถึงโรงเรียน4.0 : โรงเรียนสร้างสรรค์. พิมพ์ที่ 3. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560. พระนคร ปญฺาวชิโรและคณะ. วัดงาม นามมงคล : นวัตกรรมการจัดการแหล่งท่องเที่ยว วัดนามมงคล ตามแบบอารยสถาปัตย์ในจังหวัดเชียงใหม่. สถาบันวิจัยพุทธ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2563. พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). พจนานุกรมพุทธศาสน์ฉบับประมวลศัพท์. พิมพ์ครั้ง ที่ 23. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ผลิธรรม, 2558. วิจารณ์ พานิช, ศ.นพ. การเรียนรู้เกิดขึ้นอย่างไร. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: เอส.อาร์พริ้น ติ้ง แมสโปรดักส์, 2562. สิน งามประโคน. การวิเคราะห์พุทธวิธีการสื่อสารเพื่อการเผยแพร่พระพุทธศาสนา . คณะครุศาสตร์,รายงานการวิจัย, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พ.ศ. 2559 ได้รับทุนอุดหนุนจากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.


127 125 . พุทธวิธีการสอนที่ปรากฏในพระไตรปิฏก.รายงานการวิจัย, คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2550 ได้รับทุนอุดหนุนจาก มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2) สื่อออนไลน์ : กระทรวงศึกษาธิการเตรียมความพร้อมจัด 5 รูปแบบการเรียนการสอนยุคโควิด-19 ป่วนเมือง. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://www.thairath.co.th/news/local/ 2100016 [15 ตุลาคม 2564]. นวรัตน์ หัสดี. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://anyflip.com/zdubr/zdubr/tull/basic [28 สิงหาคม 2564]. บทบาทของครูในยุคเทคโนโลยีสารสนเทศและยุคดิจิตอล. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://hongyokyok. wordpress.com/64-2/ [15 ตุลาคม 2564]. เยาวพา เดชะคุปต์. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://yimwhanfamily.com/2018/02/22/ พหุปัญญาอัจฉริยะ 9 ด้าน. [27 สิงหาคม2564]. สุรเชษฐ์ ตรรกโชติ. การสอนในยุคดิจิทัลครู. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://www. educathai.com/ knowledge/articles/413. [18 ตุลาคม 2564].


124 บทที่ 4 การพัฒนาและกลยุทธ์พุทธนวัตกรรมการจัดการเรียนการสอน การจัดการเรียนการสอนเป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ที่เป็นหัวใจสำคัญ คือ การพัฒนา นวัตกรรมบูรณาการกับหลักพุทธธรรมสู่การปฏิบัติจริงเพื่อพัฒนานักศึกษาให้มีคุณภาพเพิ่ม สมรรถนะสอดคล้องกับแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 เพื่อการพัฒนาศักยภาพ คนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต ซึ่งเนื้อหาในบทนี้ประกอบด้วย 4.1 การพัฒนาพุทธนวัตกรรมการจัดการเรียนการสอน 4.2 พุทธนวัตกรรมการสอนให้ผู้เรียนคิดและลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง 4.3 พุทธนวัตกรรมการสอนโดยปรับวิธีสอนให้เหมาะกับผู้เรียน 4.4 พุทธนวัตกรรมการสอนโดยเอาใจใส่ผู้เรียนเป็นรายบุคคล 4.5 สรุปการพัฒนาพุทธนวัตกรรมการสอนสู่การปฏิบัติซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ 4.1 การพัฒนาพุทธนวัตกรรมการจัดการเรียนการสอน การจัดการเรียนการสอนเป็นการเปิดโลกกว้างให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เรื่องใหม่เกี่ยวกับ ศาสตร์สาขาของตนให้เข้าใจแต่ละบริบทของเรื่องนั้น ๆ จนสามารถนำความรู้ที่ได้เรียนรู้นั้น มาสร้างสรรค์สิ่งใหม่เพื่อพัฒนาตน สังคมและประเทศชาติต่อไป ก่อนเสนอแนวทางการสร้างพุทธนวัตกรรมการสอนสู่การปฏิบัติขอสรุปการสอน โดยคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างผู้เรียนด้วยการเรียนรู้กรณีพุทธวิถีการสอน เริ่มจาก องค์ประกอบการสอน ดังนี้ 1. เนื้อหาหรือเรื่องที่สอน 1.1 สอนในเรื่องที่เข้าใจง่ายไปหาเรื่องที่เข้าใจยาก ตัวอย่างที่เห็นชัดคือ สอน เรื่องอริยสัจ 4 ซึ่งเริ่มต้นจาก ทุกข์ ที่อยู่ในตัวผู้เรียนทุกคนรู้จักเป็นอย่างดี เป็นต้น 1.2 สอนเนื้อหาที่ค่อย ๆ ลุ่มลึกลงไปตามลำดับชั้น ตัวอย่าง การสอนเรื่อง อนุปุพพิกถา ไตรสิขา พุทธโอวาท เป็นต้น 1.3 สอนให้เกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง 1.4 สอนตรงเนื้อหา ตรงเรื่อง ไม่วกวน ไม่ไขว้เขว ไม่ออกนอกเรื่อง 1.5 สอนมีเหตุผล


129 125 1.6 สอนเท่าที่จำเป็นพอดีตามระดับผู้เรียน ตัวอย่างเหมือนอย่างที่พระพุทธเจ้า เมื่อประทับอยู่ในป่าประดู่ลาย ใกล้เมืองโกสัมพี ได้ทรงหยิบไม้ประดู่ลายในพระหัตถ์ และ ตรัสถามภิกษุทั้งหลายว่า ใบประดู่ลายในพระหัตถ์กับใบประดู่ลายในป่า อันไหนจะมากกว่า กัน ภิกษุทั้งหายกราบทูลว่า ในป่ามากกว่า จึงตรัสว่า สิ่งที่พระองค์ตรัสรู้แต่มิได้ทรงสอน เหมือนใบประดู่ลายในป่า ส่วนที่ทรงสั่งสอนน้อยเหมือนไปประดู่สายในพระหัตถ์เป็นต้น1 1.7 สอนสิ่งที่มีความหมาย ควรที่จะเรียนรู้และเข้าใจ เป็นประโยชน์แก่ผู้เรียนหรือ ผู้ฟัง จากกรณีศึกษาพุทธนวัตกรรมการสอนที่เลือกมาศึกษาการสอนโดยคำนึงถึงความ แตกต่างระหว่างผู้เรียน พบว่า หลักการสอนตามเนื้อหาหลักธรรมที่พระพุทธองค์ทรงสอน ตรงตามจริตคนซึ่งถือเป็นเรื่องที่ทรงคุณค่ามากสำหรับการนำไปประยุกต์ใช้ในการสอนได้ ทุกระดับผู้เรียนหรือผู้ฟังในสถานการณ์ปัจจุบัน การสอนที่เหมาะสมกับเนื้อหาใน พระไตรปิฎกขอให้นิสิตและครู อาจารย์ หรือผู้สนใจได้ไปศึกษาเพิ่มในพระไตรปิฎกได้ทั้ง ฉบับภาษไทยและบาลี 2. ผู้เรียน หรือ ผู้ฟัง ผู้สอนต้องรู้ว่าจะต้องสอนบุคคลใด มีภูมิปัญญาอย่างไร ซึ่งขอแยกประเด็นเกี่ยวกับ ตัวผู้เรียนได้ดังนี้ 2.1 สอนให้เหมาะสมตามความแตกต่างระหว่างบุคคล เช่น คำนึงถึงหลักจริต 6 ได้แก่ ราคจริต โทสจริต โมหจริต ศรัทธาจริต พุทธจริต และวิตกจริต และลักษณะบุคคล 4 ประเภทที่พระพุทธองค์ตรัสไว้ คือ (1) อุคฆฎิตัญญูหมายถึง บุคคลผู้รู้เข้าใจได้ฉับพลัน แต่พอยกหัวข้อแสดง ขึ้นเท่านั้นก็รู้และเข้าใจได้ เทียบได้กับบัวพ้นน้ำ พอบัวสัมผัสแสงพระอาทิตย์ก็พร้อมที่จะ บาน ณ วันนั้น (2) วิปจิตัญญู หมายถึง บุคคลผู้สามารถรู้เข้าใจได้ เมื่อท่านอธิบายความ พิสดารออกไป เทียบกับบัวปริ่มน้ำ จักบานต่อวันรุ่งขึ้น (3) ไนยยะ หมายถึง บุคคลผู้พอจะหาทางค่อยชี้แจง แนะนำ ให้เข้าใจได้ ต่อไป เทียบกับบัวงามใต้พื้นน้ำจักบานในวันต่อ ๆ ไป (4) ปทปรมะ หมายถึง บุคคลผู้อับปัญญา มีปัญญาน้อย มีดวงตามืดมิด ยังไม่อาจให้บรรลุคุณวิเศษได้ในชาตินี้ เทียบกับบัวจมใต้น้ำ อาจจะเป็นอาหารปลาและเต่า 2.2 ปรับวิธีสอนให้เหมาะกับบุคคล แม้จะสอนเรื่องเดียวกันแต่ต่างบุคคล อาจ ใช้ต่างวิธีสอน 1 ดูรายละเอียดใน สํ.ม. (ไทย) 19/1101/613.


130 126 2.3 สอนให้คำนึงถึงความพร้อม ความสุกงอมของผู้เรียนแต่ละบุคคลเป็นราย ๆ ไปด้วย โดยพิจารณาว่าในแต่ละคราวหรือเมื่อถึงเวลานั้น ๆ เขาควรจะได้เรียนอะไรและ เรียนได้แค่ไหน หรือว่าสิ่งที่ต้องการให้เขารู้นั้น ควรให้เขาเรียนได้หรือยัง เป็นต้น 2.4 สอนให้ผู้เรียนลงมือทำด้วยตนเอง ซึ่งจะช่วยให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ชัดเจน แม่นยำและได้ผลจริง เช่น สอนจูฬปันถกผู้โง่เขลาด้วยการให้นำผ้าขาวไปลูบคลำ เป็นต้น 2.5 สอนให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมกัน ในการแสดงความคิดเห็นได้อย่างเสรี โดย หลักการนี้ พระพุทธองค์ทรงใช้เป็นประจำในรูปแบบการสนทนาถาม-ตอบ ซึ่งแยกลักษณะ การสอนแบบนี้ได้ดังนี้ 1) กระตุ้นให้ผู้เรียนแสดงความคิดเห็น ส่งเสริมให้เขาคิด และให้ผู้เรียนเป็น ผู้วินิจฉัยความรู้นั้นเอง ผู้สอนเป็นเพียงผู้นำชี้ช่องทางสู่ความรู้ 2) มีการแสดงความคิดเห็นโต้ตอบอย่างเสรี แต่มุ่งหาความรู้ ไม่ใช่มุ่งแสดง ภูมิหรือข่มผู้อื่น 2.6 สอนเอาใจใส่บุคคลที่ควรได้รับความสนใจพิเศษเป็นราย ๆ ไป ตามควรแก่ กาละเทศะและเหตุการณ์ 2.7 สอนช่วยเหลือเอาใจใส่คนที่ด้อยละมีปัญหา เช่น เรื่องพระจูฬปันถก เป็นต้น จากกรณีศึกษาในพระไตรปิฎกสู่การสอนในปัจจุบัน พบว่า พระพุทธเจ้าทรง พิจารณาด้วยญาณของพระองค์ ยั่งรู้จริตของผู้เรียนและสถานภาพผู้เรียนเป็นอย่างดี พระพุทธองค์จึงทรงสามารถสอนทุกคนได้อย่างมีประสิทธิผล เหมาะสมอย่างยิ่งที่ครู อาจารย์ นิสิต นักเผยแพร่พระพุทธศาสนาทั้งในและต่างประเทศในปัจจุบันนำไปศึกษา ต่อยอดและเรียนรู้เพิ่มในพระไตรปิฎกนำมาสร้างนวัตกรรมผ่านกระบวนวิจัยมาปรับใช้ใน การเรียนการสอนในยุคนี้ได้เป็นอย่างดี 3. การสอน 3.1 สร้างความสนใจในการนำเข้าสู่เนื้อหา โดยปกติพระองค์จะเริ่มสนทนากับผู้ ทรงพบหรือผู้มาเฝ้า ด้วยเรื่องที่เขารู้เข้าใจดี หรือสนใจอยู่แล้ว เช่น สนทนากับคราญช้างก็ ทรงเริ่มสนทนาด้วยเรื่องวิธีฝึกช้าง พบชาวนาก็สนทนาเรื่องการทำนา พบพราหมณ์ก็สนทนา เรื่องไตรเพทหรือธรรมของพราหมณ์เป็นต้น 3.2 สร้างบรรยากาศในการสอนให้ปลอดโปร่งเพลิดเพลิน ไม่ให้ตึงเครียด ไม่ให้ เกิดความอึดอัดใจและให้เกียรติแก่ผู้เรียน ให้เขาภูมิใจในตนเอง เช่น เรื่องพราหมณ์โสณฑะ กับคณะไปเข้าเฝ้า เป็นต้น 3.3 สอนมุ่งเนื้อหา มุ่งให้เกิดความรู้ความเข้าใจในสิ่งที่สอนเป็นสำคัญ ไม่กระทบ ตนและผู้อื่น ไม่มุ่งยกตน และไม่มุ่งเสียดสีใคร ๆ


131 127 3.4 สอนโดยเคารพและตั้งใจสอนด้วยความรู้สึกว่า เป็นเรื่องจริงจัง มีคุณค่า มองเห็นความสำคัญของผู้เรียน ไม่คิดว่าผู้เรียนโง่เขลาหรือเห็นเป็นคนในกลุ่มวรรณะใด 3.5 ใช้ภาษาสุภาพ นุ่มนวล ไม่หยาบคาย ชวนให้อยากฟัง ภาษาสละสลวย เข้าใจง่าย จากกรณีศึกษาในพระไตรปิฎกมาสู่การสอนในสถานการณ์ปัจจุบัน เริ่มจากครู อาจารย์ต้องมีคุณสมบัติความเป็นครูที่แท้จริง ว่าผู้สอนต้องมีความรู้ความสามารถและ ปฏิบัติดีด้วยซึ่งในยุคศตวรรษที่ 21 และยุคประเทศไทย 4.0 ครูต้องเรียนรู้การใช้เทคโนโลยี ที่ทันสมัยเพื่อให้สามารถใช้ประโยชน์ได้ในหลายมิติ เช่น การสื่อสาร การเรียนการสอน การประชุม การสอบ การให้คำปรึกษาผ่านระบบแอปพลิเคชั่นต่าง ๆ (Application form) โดยเฉพาะในยุคดิจิทัล ดังนั้นครูต้องสามารถเรียนรู้สื่อการสอนยุคใหม่ ช่องทาง internet computer and Technology ฯลฯ ดังภาพที่ปรากฏดังนี้ ภาพที่ 4.1 องค์ประกอบการสอน ที่มา : สรุปองค์ประกอบการสอนในยุคดิจิทัลโดยสังเคราะห์ของผู้เขียน (2564) เนื้อหาการ สอน • สอนจากง่ายไปหาเรื่องที่ลุ่มลึก • สอนให้เรียนรู้ด้วยตนเอง ฯลฯ ผู้เรียน • ความแตกต่างของผู้เรียน • สอนให้คิดและปฏิบัติ ฯลฯ ผู้สอน • สร้างบรรยากาศที่ดี • ให้เกียรติผู้เรียน ฯลฯ แอปพลิเค ชัน องค์ประกอบ การสอน


132 128 4. เนื้อหาการสอน เนื้อหาการสอน ควรปรับให้สอดคล้องกับสถานการณ์โลกในศตวรรษที่ 21 ความรู้ นั้นต้องสามารถนำไปสู่การปฏิบัติได้ เนื้อหามุ่งสอนให้เหมาะสมกับเพศ วัย สามารถนำไป ปฏิบัติได้จริง ผลการปฏิบัติการเรียนรู้ในเนื้อหานั้นเพื่อเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมผู้เรียนได้ อย่างถาวร ดังภาพประกอบที่ 4.2 ดังนี้ ภาพที่ 4.2 เนื้อหาการสอน ความรู้ พัฒนาจิต ปัญญา และปฏิบัติได้ด้วยตนเอง ที่มา : สรุปเนื้อหาการสอน ความรู้ พัฒนาจิต ปัญญา และปฏิบัติได้ด้วยตนเองโดย สังเคราะห์ของผู้เขียน (2564) 5. เทคนิคการสอน การสอนยุคนี้ต้องใช้เทคนิคที่ดีและหลากหลายมิติจนสามารถทำให้ผู้เรียนเข้าใจ เนื้อหาได้เร็ว เริ่มจากการสอนง่าย ๆ ตามลำดับจนถึงเรื่องลุ่มลึกเข้าใจเนื้อหาได้อย่างแท้จริง ดังภาพที่ 4.3 ดังนี้ เนื้อหา การสอน ความรู้ จิตใจงดงาม ปฏิบัติได้ด้วยตนเอง เกิดปัญญา


133 129 ภาพที่ 4.3 เทคนิคการสอนที่สามารถนำไปประยุกต์สอนได้ในยุคดิจิทัล ที่มา : สรุปเทคนิคการสอนที่สามารถนำไปประยุกต์สอนได้ในยุคดิจิทัลโดยสังเคราะห์ของ ผู้เขียน (2564) เทคนิค การสอน ท านามธรรมให้ เป็นรูปธรรม ท าตนเป็น ตัวอย่าง ใช้ถ้อยค าที่ เหมาะสม สอนเป็น รายบุคคล รู้จังหวะและ โอกาส ยืดหยุ่นการ สอน การเสริมแรง ใช้อุปมาอุปไมย ยกอุทาหรณ์ ใช้สื่อการสอน


134 130 6. การประเมินผล การประเมินผลการสอนโดยผู้สอนประเมินตัวเองและผู้เรียนเป็นผู้ประเมินตนเอง ดังภาพที่ 4.4 ดังนี้ ภาพที่ 4.4 การประเมินผลการสอนในยุคดิจิทัล ที่มา : สรุปการประเมินผลการสอนในยุคดิจิทัลโดยสังเคราะห์ของผู้เขียน (2564) สรุปการประยุกต์การเรียนการสอนโดยปรับจากแนวคิด สิริวรรณ ศรีพหล ,25558,หน้า 240 ขั้นตอนการสอนแบบการพัฒนาพุทธนวัตกรรมการเรียนการสอนมีขั้นตอนที่สำคัญ ดังนี้ 1.ขั้นการนำเข้าสู่บทเรียน 1.1 การนำบูชาพระรัตรัย(การสอนชั่วแรกของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย) 1.2 ทำสมาธิฝึก3-5 นาที เพื่อทำจิตให้สงบ 1.3 แผ่เมตตาเมตตาเมตตา 1.4 ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้เรื่องนี้ แนะนำการเรียนเบื้องต้น วัด และ ประเมินผล 1.5 สนทนา ตั้งคำถามเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียน 2.ขั้นสอนหรือประกอบกิจกรรมการสอน ครูสอนประเมิน ตนเอง ผู้เรียนประเมิน ตนเอง •เป้าหมาย •ความก้าวหน้า ของผู้เรียน •ผลสัมฤทธ์การ เรียน •ศรัทธาในการ เรียน •ประเมินความ เข้าใจตนเอง ปัญญาและความสุข


135 131 2.1 ผู้สอนใช้สไลน์นำสู่บทเรียนตามเนื้อหาและตั้งคำถามกระตุ้นให้ผู้เรียนช่วยกัน คิด -คำถามที่ผู้เรียนอยากเรียนรู้ -ครู อาจารย์เปิดโอกาสให้เพื่อนช่วยตอบคำถามและผู้สอนเสริม -ครู อาจารย์ใช้กรณีตัวอย่างในเหตุการณ์ปัจจุบันเสริมการเรียนและใช้สื่อช่วยสอน ประกอบการอธิบายให้เข้าใจ 2.2 ผู้สอนใช้สื่อที่ทันสมัยเป็นการกระตุ้นให้ผู้เรียนตั้งคำถามและตอบคำถาม เรียนรู้พร้อมกัน 3.ขั้นสรุปบทเรียน -เมื่อผู้เรียนเข้าใจเนื้อหาสาระได้ชัดเจนแล้วช่วยกันสรุปเป็นข้อๆ เพื่อเสนอเป็น องค์ความรู้จากชุดกิจกรรมการเรียนเรื่องนี้ 4.2 พุทธนวัตกรรมการสอนให้ผู้เรียนคิดและลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง หลักการพัฒนาการสอนที่ดีและทันต่อการเปลี่ยนแปลงของกระแสโลกในยุค ศตวรรษที่ 21 ได้มีครู อาจารย์ได้ทำวิจัยหลายพันเรื่องเพื่อตอบโจทย์การพัฒนาผู้เรียน โดยไม่มีเด็กคนใดถูกทิ้งให้ล้าหลัง (No child left behind) ปัจจัยสำคัญที่ครูและโรงเรียน ต้องเตรียมความพร้อมสำหรับการพัฒนาผู้เรียนที่มีความต้องการช่วยเหลือ ครูต้องวิเคราะห์ สภาพปัญหาการเรียนการสอนโดยผ่านกระบวนการวิจัย การแลกเปลี่ยนเรียนรู้หลากหลาย ช่องทาง เช่น ผลการวิจัย ผลการอบรมสัมมนา หรือ ศึกษาดูงานสถานศึกษาที่เป็นต้นแบบ เพื่อหาวิธีการพัฒนาการเรียนการสอนที่ดีกว่าเดิม ดังนี้ 1. ครูทุกคนต้องถูกฝึกให้มีทักษะวินิจฉัยลักษณะเด็กที่ต้องการความช่วยเหลือและ มีทักษะความเป็นครูที่มีกัลยาณมิตรพร้อมหาโอกาสช่วยสอนพิเศษในช่วงนอกเวลาเรียน เช่น จัดเป็นคลินิกสอนพิเศษ 2. โรงเรียนมีครูพิเศษที่มีทักษะช่วยเหลือเด็กที่หล้าหลังในการเรียนเพื่อช่วยครู ประจำชั้น 3. ผู้บริหาร ครูประจำชั้น ครูพิเศษและนักจิตวิทยา ผู้ปกครอง ประชุมกันสม่ำเสมอ เพื่อประเมินความก้าวหน้า และกิจกรรมการช่วยเหลือเด็กให้ได้คุณภาพ 4. โรงเรียนมีทีมบริหารบริการสุขภาพ ร่วมดูแลพัฒนาการของนักเรียน 1) กลยุทธ์การพัฒนาพุทธนวัตกรรมการเรียนการสอน


Click to View FlipBook Version