The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

นวัตกรรมการสอนตามพุทธวิถีใหม่ในพระพุทธศตวรรษที่26
รศ.ดร.สิน งามประโคน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 24-Chinaporn Nakorn, 2023-06-16 11:29:06

นวัตกรรมการสอนตามพุทธวิถีใหม่ในพระพุทธศตวรรษที่26

นวัตกรรมการสอนตามพุทธวิถีใหม่ในพระพุทธศตวรรษที่26
รศ.ดร.สิน งามประโคน

136 132 ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชและปิยาภรณ์ มัณฑะจิตร2 ได้กล่าวว่าทฤษฎีการเรียนรู้ สมัยใหม่ที่มาจากหนังสือ How learning works หลักการสอนที่ดีของครู ต้องวิเคราะห์ สภาพผู้เรียนให้รู้และเข้าใจแล้วปรับการเรียนการสอนให้เป็นแบบ Active Learning เพื่อให้ผู้เรียนการนำความรู้มาลงมือปฏิบัติทันที่ กลยุทธ์นี้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง ได้รู้ถึงร้อยละ 90 เพราะเกิดกระบวนการคิดไตรตรองที่เกิดจากภายในจิตใจเรียกว่า วิธีคิด แบบโยนิโสมนสิการ ดังนั้นหลักการสอนที่ดีมี 7 ประการดังนี้ 1. ครูต้องเข้าใจเรื่องความรู้เดิมของนักเรียนเพื่อเพิ่มเติมและแก้ไขความเข้าใจผิด ให้ถูกต้องตามความเป็นจริง 2. การจัดระบบความรู้เป็นเรื่องที่สำคัญมากเพราะคนที่เรียนเก่งและฉลาดต้อง สามารถจัดระบบความรู้อย่างเป็นระบบและสามารถนำความรู้มาใช้ประโยชน์ในการดำเนิน ชีวิต แก้ปัญหาได้ดี ครูต้องมีทักษะมาก ๆ เรื่องนี้เพื่อพัฒนาและปรับเปลี่ยนทักษะการ จัดระบบความรู้ให้ถูกต้องโดยเฉพาระในโลกยุคศตวรรษที่ 21 มีปัญหาซับซ้อนมากในการ ใช้ความรู้วิเคราะห์และสังเคราะห์ให้มากขึ้น 3. ครูต้องสามารถสอนให้ผู้เรียนการสร้างแรงใจ (Motivation) ในการเรียนรู้ด้วย ตนเองให้เกิดฉันทะ คือรักในการเรียนรู้และมีความศรัทธาในการใฝ่รู้ ใฝ่เรียน ใฝ่ศึกษาจน เกิดแรงบันดาลใจ (Inspiration) ไปสู่เป้าหมายของชีวิตที่ดีในอนาคต 4. การเรียนที่ถูกต้อง ผู้เรียนต้องเรียนจนรู้จริง (Mastery Learning) เป็นการ ปรับเปลี่ยนวิธีการเรียนรู้จากแนวปฏิบัติของการเรียนรู้แบบดั้งเดิม การเรียนรู้อย่างเชี่ยวชาญ มีเป้าหมายเพื่อจัดการกับข้อจำกัดของแนวทางที่เน้นครูเป็นศูนย์กลาง ต้องการให้นักเรียน เข้าใจบทเรียนอย่างสมบูรณ์ โดยไม่คำนึงถึงเวลาและทรัพยากรที่จำเป็น ก่อนที่จะก้าวไปสู่ ระดับถัดไป3 ขอยกกรณีตัวอย่าง พุทธนวัตกรรมการสอนจะพบมากสำหรับวิธีการสอน ให้ผู้เรียนเรียนจนรู้จริง 5. การสอนให้ผู้เรียนปฏิบัติได้จริง ประเด็นนี้ผู้สอนต้องเก่งในการออกแบบการสอน กำหนดเป้าหมาย ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ถึงระดับใด เนื้อหา การวัดผลการปฏิบัติด้วยเครื่อง อะไร โดยนำผลสะท้อนกลับ (Feedback) ไปปรับปรุงและพัฒนาผู้เรียนให้เข้าถึงความจริง ด้วยการลงมือทำด้วยตนเอง (Learning by doing) 2 ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชและปิยาภรณ์ มัณฑะจิตร, การศึกษาคุณภาพสูงระดับโลก, (กรุงเทพมหานคร: เอส.อาร์.พริ้นติ้งแมสโปรดักส์, 2563) หน้า 67. 3 Chargois, 2013, [ออนไลน์], แหล่งที่มา: https://research.com/education/what-ismastery-learning. [22 เมษายน 2565].


137 133 6. พิจารณาพัฒนาการของผู้เรียนและบรรยากาศของเรียน ครูผู้สอนต้องใช้เทคนิค การสอนหลากหลายวิธีตามจิตของผู้เรียนที่มีความแตกต่างกัน ครูผู้สอนต้องมุ่งพัฒนาการ ทางอารมณ์ สังคม จิตวิญญาณ และร่างกาย ในหลักพุทธนวัตกรรมการสอนมมุ่งพัฒนาผู้เรียนตามหลักภาวนา 4 (การเจริญ, การทำให้เป็นให้มีขึ้น, การฝึกอบรม, การพัฒนา นอกจากหลักการพัฒนาผู้เรียนทาง พระพุทธศาสนาคล้ายกัน คือ 1) กายภาวนา คือ การเจริญกาย, พัฒนากาย, การฝึกอบรมกาย ให้รู้จักติดต่อ เกี่ยวข้องกับสิ่งทั้งหลายภายนอกทางอินทรีย์ทั้งห้าด้วยดี และปฏิบัติต่อสิ่งเหล่านั้นในทางที่ เป็นคุณ มิให้เกิดโทษ ให้กุศลธรรมงอกงามให้อกุศลธรรมเสื่อมสูญ, การพัฒนาความ สัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ : (physical development) 2) สีลภาวนา คือ การเจริญศีล, พัฒนาความประพฤติ, การฝึกอบรมศีล ให้ตั้งอยู่ ในระเบียบวินัย ไม่เบียดเบียนหรือก่อความเดือดร้อนเสียหาย อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ด้วยดี เกื้อกูลแก่กัน (moral development) 3) จิตภาวนา คือ การเจริญจิต, พัฒนาจิต, การฝึกอบรมจิตใจ ให้เข้มแข็งมั่นคง เจริญงอกงามด้วยคุณธรรมทั้งหลาย เช่น มีเมตตากรุณา ขยันหมั่นเพียร อดทนมีสมาธิ และ สดชื่น เบิกบาน เป็นสุขผ่องใส เป็นต้น (cultivation of the heart; emotional development) 4) ปัญญาภาวนา คือ การเจริญปัญญา, พัฒนาปัญญา, การฝึกอบรมปัญญา ให้รู้ เข้าใจสิ่งทั้งหลายตามเป็นจริง รู้เท่าทันเห็นโลกและชีวิตตามสภาวะ สามารถทำจิตใจให้เป็น อิสระ ทำตนให้บริสุทธิ์จากกิเลสและปลอดพ้นจากความทุกข์ แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้ด้วย ปัญญา4 7. ผู้ที่จะเรียนรู้ได้ดีจะต้องเป็นผู้ที่สามารถกำกับการเรียนรู้ของตนเองได้ความรู้ แบบนี้ครูสอนไม่ได้มันต้องเกิดจากการเรียนรู้ด้วยตนเองและเกิดจากประสบการณ์โดย แท้จริง สรุปได้ว่าการนำนวัตกรรมการศึกษาไปใช้การนำนวัตกรรมการศึกษาไปใช้ในการ แก้ปัญหาหรือพัฒนาการเรียนการสอนให้เกิดประโยชน์สูงสุดนั้น จำเป็นอย่างยิ่งที่ผู้สอน จะต้องพิจารณาลักษณะนวัตกรรม ต่อไปนี้ 1. เป็นนวัตกรรมที่ไม่ซับซ้อนและยุ่งยากจนเกินไป ใช้ง่าย ใช้สะดวก 2. เป็นนวัตกรรมที่ไม่เสียค่าใช้จ่ายเยอะเกินไป 3. เป็นนวัตกรรมที่สำเร็จรูป อำนวยความสะดวกในการใช้งาน 4 ดูรายละเอียดใน องฺ.ปญจก (แปล) 22/79/121.


138 134 4. เป็นนวัตกรรมที่ไม่กระทบกระเทือนบริบทเดิมมากนัก 5. เป็นนวัตกรรมที่ไม่มีคนเกี่ยวข้องมากนัก 6. เป็นนวัตกรรมที่ให้ผลชัดเจน5 เมื่อนำแนวคิดและทฤษฎีไปปฏิบัติในการจัดการเรียนรู้สามารถทำได้หลายมิติ ดังนี้ 1. ผู้สอนต้องให้ผู้เรียนตระหนักถึงเป้าหมายที่ได้จากการปฏิบัติด้วยการฝึกฝนด้วย ตนเอง 2. มีกระบวนการสาธิตเพื่อฝึกทักษะการเรียนรู้และการแก้ปัญหาได้ 3. ผู้เรียนรู้ต้องมีบทบาทในการเรียนรู้อย่างตื่นตัว โดยใช้วิธีการศึกษา สำรวจ วิเคราะห์ ทดลอง จนเกิดการเรียนรู้ 4. ผู้สอนต้องสร้างบรรยากาศในการเรียนรู้เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วย ตนเองโดยผ่าน นวัตกรรมและเทคโนโลยีใหม่ ๆ6 5. ผู้เรียนต้องมีใจรักการเรียน (ฉันทะ) ขยัน (วิริยะ) เอาใจใส่ (จิตตะ) และมั่น ติดตามการเรียน อย่างใกล้ชิด พร้อมที่จะแก้ไข ปรับปรุงตนเอง (วิมังสา) การพัฒนานวัตกรรมด้านการเรียนการสอนโดยทั่วไปนั้น มีกระบวนการหลัก ๆ ที่คล้ายคลึงกัน ดังนี้ ขั้นตอนการพัฒนานวัตกรรมของแนวคิด ชัยยงค์ พรหมวงศ์ อ้างใน วิวัฒน์ มีสุวรรณ์ ขั้นตอนสร้างนวัตกรรม มี7 ขั้นตอน7 ดังนี้ ขั้นที่ 1 ศึกษาองค์ความรู้เกี่ยวกับนวัตกรรม โดยได้จากผลการวิจัย การทบทวน วรรณกรรม การสัมภาษณ์ผู้รู้ และการศึกษาดูงาน ขั้นที่ 2 สำรวจความต้องการเกี่ยวกับนวัตกรรม เพื่อหาองค์ประกอบ ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ ขั้นตอน ขั้นที่ 3 ร่างกรอบแนวคิดเกี่ยวกับนวัตกรรม โดยเขียนกรอบแนวคิดที่ประกอบด้วย ทฤษฎีและหลักการ องค์ประกอบของ นวัตกรรม กระบวนการ การทำงานของนวัตกรรม ขั้นตอนตามลำดับ 5 ทิศนา แขมมณี, ศาสตร์การสอน : องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มี ประสิทธิภาพ, พิมพ์ครั้งที่ 21, (กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560), 419-420.6 ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์, 80 นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ, พิมพ์ครั้งที่ 8, (นนทบุรีพี: บาลานซ์แอนปริ้นติ้ง, 2561), หน้า 51. 7 วิวัฒน์ มีสุวรรณ์, วิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษา, (พิษณุโลก: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2561), หน้า 55.


139 135 ขั้นที่ 4 สอบถามความเห็นผู้เชี่ยวชาญ โดยใช้วิธีส่งแบบสอบถาม ใช้เทคนิคเดลฟาย หรือกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ ขั้นที่ 5 ยกร่างต้นแบบชิ้นงานนวัตกรรม เป็นการพัฒนาต้นแบบชิ้นงานของ นวัตกรรมตามลำดับขั้น ขั้นที่ 6 ทดสอบประสิทธิภาพและหรือรับรอง เป็นการนำร่างนวัตกรรมไปทดลอง ใช้เพื่อหาประสิทธิภาพ คือ การทดลองใช้เบื้องต้น (Tryout) และทดลองใช้จริง (Trial Run) อาจให้ผู้ทรงคุณวุฒิ 3-5 คน รับรองหลังจากการทดลองใช้หรือรับรองจากผู้ทรงคุณวุฒิแล้ว ก็ต้องเขียนรายงานผลการทดสอบประสิทธิภาพ ชั้นที่ 7 ปรับปรุงและเขียนรายงาน เป็นการเขียนรายงานผลการวิจัยผลการเนิน การพัฒนานวัตกรรม รายงานข้อค้นพบต่าง ๆ ที่ผ่านมา ตามรูปแบบของรายงานความรู้ บุคคลของนวัตกรรม เนื่องจากนวัตกรรมมีคุณสมบัติและลักษณะหลากหลายแตกต่างกันไปจึงทำให้เกิด การยอมรับนวัตกรรมนั้นมากน้อยในระดับที่แตกต่างกันไปด้วย โดยทั่วไป การยอมรับ นวัตกรรมนั้นมีอยู่ 5 ระดับคือ8 1) ระดับการรับรู้ เป็นการยอมรับในระดับตัน 2) ระดับการสนใจ เป็นการยอมรับในระดับที่มากขึ้นกว่าระดับแรก 3) ระดับการชั่งใจ เป็นการยอมรับในระดับที่สูงขึ้นกว่าการให้ความสนใจ 4) ระดับการทคลองใช้ เพื่อที่จะดูว่าจะสามารถใช้ได้จริงและได้ผลจริงมาก น้อยเพียงใด 5) ระดับการใช้นวัตกรรมการเรียนการสอนระดับใด การยอมรับนวัตกรรม Everette M. Rogers (1983)อ้างในวิวัฒน์ มีสุวรรณ์ (2561) ได้อธิบายคุณลักษณะและพฤติกรรมของผู้ยอมรับนวัตกรรม9 ดังนี้ 1) ผู้นำการยอมรับ (Innovator) เป็นคนที่สนใจในความคิดใหม่ ๆ 2) ผู้ยอมรับเร็ว (Early Adopters) เป็นคนที่กระทำด้วยความระมัดระวัง ชอบมีส่วนร่วมในกิจกรรมของสังคม 3) ผู้ยอมรับปานกลาง (Early Majority) เป็นคนที่จะพิจารณาอย่างรอบคอบ ก่อนการตัดสินใจยอมรับ 8 ทิศนา แขมมณี, ศาสตร์การสอน : องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มี ประสิทธิภาพ, หน้า 420. 9 วิวัฒน์ มีสุวรรณ์, วิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษา, หน้า 55.


140 136 4) ผู้ยอมรับค่อนข้างช้า (Late Majority) เป็นกลุ่มคนที่จะยอมรับนวัตกรรมก็ ต่อเมื่อผู้อื่น ๆ หรือคนส่วนใหญ่ได้ยอมรับนวัตกรรมนั้นแล้ว 5) ผู้ยอมรับช้า (Laggards) เป็นกลุ่มล้าหลังทางนวัตกรรม ยึดถือวิธีการหรือ สิ่งที่มีอยู่แล้วของเดิม ไม่ชอบการเปลี่ยนแปลง จากแนวคิดของทิศนา แขมมณี (2560) และ Everette M. Rogers (1983) สรุป ได้ว่าการยอมรับนวัตกรรมด้านการเรียนการสอน 1) การยอมรับองค์ความรู้ใหม่ในยุคการเปลี่ยนแปลงแปลงในสถานการณ์ปัจจุบัน เพื่อพัฒนาการสอนให้ได้ดีกว่าเดิม 2) มีกระบวนการพัฒนาที่เชื่อถือได้จากหลายมิติ เช่น การวิจัย การระดมความคิด การทบทวนแนวคิด ทฤษฎีที่ทันสมัย 3) ได้รับการทดลองใช้จัดการเรียนการสอน 4) ได้รับการประเมินผลจากกลุ่มที่ทดลองและข้อเสนอแนะจากผู้ทรงวุฒิด้าน นวัตกรรมนั้น ๆ 5) ได้นำผลการทดลองและข้อเสนอแนะไปปรับปรุงพัฒนาอย่างต่อเนื่อง พุทธนวัตกรรมการสอนโดยคำนึงถึงความพร้อมของผู้เรียนและผู้ฟังธรรมดังต่อไปนี้ 1. การประทานโอวาทแก่พระราหุล สมัยหนึ่งพระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระเชตะวัน อารามอนาถบิณฑิกเศรษฐี เขตกรุงสาวัตถี ...ครั้นเวลาเช้า พระผู้มีพระภาค ทรงครองอันตรวาสก ถือบาตรและจีวร เสด็จเข้าไปยังกรุงสาวัตถีเพื่อบิณฑบาต เสด็จกลับ จากบิณฑบาต ภายหลังเสวยพระกระยาหารเสร็จแล้ว รับสั่งเรียกท่านพราหุลมาตรัสว่า ราหุล เธอจงถือผ้านิสีทนะ (ผ้าปูนั่ง) เราจักเข้าไปผ้าป่าอันธวันเพื่อพักผ่อน กลางวัน... หลังจากนั้นพระผู้มีพระภาคจึงได้ตรัสกับท่านพระราหุลดังนี้ว่า ราหุลเธอเข้าใจ ความข้อนั้นว่าอย่างไรจักษุเที่ยงหรือไม่เที่ยง ไม่เที่ยงพระเจ้าข้า... แม้รูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ...เที่ยงหรือไม่เที่ยง ไม่เที่ยงพระพุทธเจ้าข้า ก็สิ่งใดไม่เที่ยงเป็นทุกข์ มีความแปรผันเป็น ธรรมดา ควรหรือที่จะพิจารณาเห็นสิ่งนั้นว่า นั่นของเรา เราเป็นนั่น นั่นเป็นอัตตาของเรา ข้อนั้นไม่ควรเลยพระพุทธเจ้าข้า ฯลฯ รูปแบบพุทธวิธีการสอน เป็นการสนทนาแบบถามตอบ10 สรุปพุทธนวัตกรรมการสอนการเรียนรู้ของพระราหุล เริ่มตั้งถาม และตอบคำถาม ไปเรื่อย ๆ เรื่องขันธ์ 5 คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เที่ยงหรือไม่เที่ยง...ทรงสอน 10ดูรายละเอียดใน สํ.สฬา. (แปล) 18/121/143-147.


141 137 พระราหุลคิดพิจารณาด้วยตนเองจนในที่สุดทำจิตให้เข้าใจและทำจิตให้หลุดพ้นได้ด้วย ปัญญาดังภาพต่อไปนี้ ภาพที่ 4.5 ประยุกต์พุทธนวัตกรรมการสอนพระราหุลโดยใช้กระบวนการเรียนรู้ด้วย จิตพร้อมสำหรับการสอนผู้เรียนในสถานการณ์ปัจจุบัน ที่มา : สรุปจากพระไตรปิฎก (สํ.สฬา. (แปล) 18/121/143-147)โดยสังเคราะห์ของผู้เขียน (2564) 2. เรื่องฝุ่นติดปลายเล็บพระสูตรนี้ พระผู้มีพระภาคประทับอยู่... เขตกรุงสาวัตถี ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคทรงใช้ปลายพระขนาช้อนฝุ่นขึ้นมาเล็กน้อยแล้วรับสั่งเรียกภิกษุ ทั้งหลายมาตรัสว่า “ ภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายจะเข้าใจความข้อนั้นว่า อย่างไร คือ ฝุ่น เล็กน้อยที่เราใช้ปลายเล็บช้อนขึ้นมานี้ กับมหาปฐพีนี้ อย่างไหนมากกว่ากัน ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ มหาปฐพีนี้นั้นแหละมีมากกว่า ฝุ่นเล็กน้อยที่พระองค์ทรงใช้ ปลายพระขนาช้อนขึ้นมานี้มีประมาณน้อย เมื่อเทียบกับมหาปฐพีแล้ว ฝุ่นที่พระองค์ทรงใช้ ปลายพระขนาช้อนขึ้นมามีเพียงเล็กน้อย นับไม่ได้ เทียบเคียงกันไม่ได้ไม่ถึงส่วนเสี้ยว เหล่าสัตว์ที่กลับมาเกิดในหมู่มนุษย์มีน้อย เหล่าสัตว์ที่ไปเกิดในกำเนิดอื่นนอกจาก มนุษย์มีมากกว่า ก็ฉันนั้น ภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้น “เธอทั้งหลายพึงศึกษาอย่างนี้ว่า เราทั้งหลายจักเป็นผู้ไม่ประมาทอยู่ เธอทั้งหลายพึงศึกษาอย่างนี้”11 สรุปพุทธนวัตกรรมการสอนในพระสูตรนี้พระพุทธเจ้าทรงสอน โดยพระองค์ทรงใช้ ปลายพระขนาช้อนขึ้นมานี้มีประมาณน้อย เมื่อเทียบกับมหาปฐพีแล้ว ฝุ่นที่พระองค์ทรงใช้ ปลายพระขนาช้อนขึ้นมามีเพียงเล็กน้อย นับไม่ได้ เทียบเคียงกันไม่ได้ไม่ถึงส่วนเสี้ยว พระองค์ทรงตรัสว่า เหล่าสัตว์ที่กลับมาเกิดในหมู่มนุษย์มีน้อย เหล่าสัตว์ที่ไปเกิดในกำเนิด อื่นนอกจากมนุษย์มีมากกว่า ก็ฉันนั้น ภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้น เธอทั้งหลายพึงศึกษา 11ดูรายละเอียดใน สํ.นิ. (แปล) 16/224/313. ฉันทะ • พร้อมเรียนรู้ • อยากรู้ จิตพร้อม • จิตมีสมาธิ • จิตพร้อม ปัญญา • เข้าใจชัด • เพิ่มความรู้ ชัดขึ้น จิตมีสมาธิ พร้อมเรียนรู้


142 138 อย่างนี้ว่า เราทั้งหลายจักเป็นผู้ไม่ประมาทอยู่ เธอทั้งหลายพึงศึกษาอย่างนี้ดังภาพที่ ปรากฏต่อไปนี้ ภาพที่ 4.6 ประยุกต์พุทธนวัตกรรมการสอนโดยใช้กระบวนการเรียนรู้ด้วยความพร้อมขอ ผู้เรียนเน้นการเรียนรู้สร้างบรรยากาศสภาพแวดล้อมที่สมเหมาะ ที่มา : สรุปจากพระไตรปิฎก(สํ.นิ. (แปล) 16/224/313) สู่การสอนภาคปฏิบัติในสถานการณ์ ปัจจุบันโดยสังเคราะห์ของผู้เขียน (2564) สุมน อมรวิวัฒน์ (2534 หน้า 50-51)อ้างในสริวรรณ ศรีพหล(25558 หน้า 199- 210) ได้กล่าวการประยุกต์พุทธนวัตกรรมการสอนให้ผู้เรียนคิดและปฏิบัติด้วยตนเองดังนี้ สุมน อมรวิวัฒน์ (2534หน้า50-51อ่างใน สิริวรรณ ศรพหล(25558 หน้า199- 210) ได้กล่าวถึงการประยุกต์พุทธนวัตกรรมการสอนโดยปรับวิธีสอนให้เหมาะสมกับผู้เรียน ดังนี้ 1.การเตรียมการสอนการจัดกิจกิจกรรมการเรียนรู้ดังนี้ 1.1การศร้างศรัทธาต่อผู้เรียน 1.2 การจัดบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมอย่างเหมาะสม 1.3 การสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้สอนกับผู้เรียนเพื่อเปิดโอกาศให้สนทนา และถามตอบ 1.4 ผู้สอนต้องมีบุคลิกภาพที่ดีมีสาภพกายด้วยการแต่งกายสุภาพเรียบร้อยมีปิย วาจา เป็นกัลยาณมิตรต่อกัน 1.5 เตรียมสื่อการสอนที่ทันสมัยมีการใช้สื่อที่เหมาสมแบบสมัยใหม่ๆและมีการ ประเมินผลครบทั้งพุทธพิสัย จิตพิสัยและทักษะพิสัย 2.ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 2.1ขั้นนำเข้าสู่บทเรียนที่กระตุ้นการเรียนรู้ 2.2 ขั้นสอน เริ่มเรียนจาก ค าถาม ยกตัวอย่างเรียนรู้ สภาพแวดล้อมที่ ใกล้ตัว ได้พบความจริง ด้วยปัญญา แนวการศึกษาและ ปฏิบัติโดยไม่ประมาท


143 139 -แสวงหาความรู้ -ค้นหาความรู้ -การวิเคราะห์และประเมินค่าความรู้ -พิสูจน์ความรู้ โดยใช้กระบวนการปฏิบัติตามที่มอบหมาย และนำเสนอหน้าชั้น เรียน 2.3 ขั้นสรุป -จากการนำเสนองานหน้าชั้นเรียน -นำผลงานการเรียนรู้แต่ละกลุ่มมาแลกแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้วยวิธีการต่างๆ เช่น เขียนส่ง และนำเสนอ 3. เรื่องพราหมณ์ชื่อเสละ พระสูตรนี้ พระผู้มีพระภาคทรงแสดงแก่เสละพราหมณ์ ขณะประทับอยู่ที่อาปณนิคม แคว้นอังคุตตราปะ พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ประมาณ 1,250 รูป เพื่อทรงตอบปัญหาเหตุเกิดของพระสูตรนี้จัดอยู่ในประเภท ปุจฉาวสิกะ12 รูปแบบพุทธวิธีการสอน เป็นการสนทนาแบบถาม-ตอบ พระสูตรนี้หลังจากได้ ศึกษาแล้วพบว่า พระพุทธวิธีการสอน คือ การแสดงตามความสนใจของผู้ฟัง โดยทรงแสดง เรื่องที่ผู้ฟังรู้และนับถืออยู่ก่อนแล้วทรงนำเข้าสู่หลักธรรมของพระองค์ เช่นในพระสูตรนี้ ทรงทราบว่า เกณิยชฎิลถือการบูชาไฟ และสาวิตรีฉันท์ (ฉันท์สำหรับสรรเสริญพระอาทิตย์) เมื่อทรงทำอนุโมทนาจึงตรัสคาถาเกี่ยวกับลัทธิที่เกณิยชฎิลนับถืออยู่ คือ คาถาตอนต้นที่ว่า “การบูชาไฟเป็นการบูชายัญที่ประเสริฐ ว่าด้วยเรื่องฉันท์ สาวิตรีฉันท์เป็นฉันท์อันดับแรก” แต่ในตอนท้าย พระองค์ได้ตรัสหลักธรรมของพระองค์คือ ตรัสว่า หมู่ชนผู้มุ่งแสวงบุญอยู่ มีพระสงฆ์เท่านั้น เป็นทางเจริญแห่งบุญแท้จริงของผู้บูชา”13 สรุป พุทธนวัตกรรมการสอนในพระสูตรนี้ พระพุทธองค์ทรงสอนพราหมณ์ที่มี พื้นฐานความศรัทธาเดิมแล้วให้เข้าใจและน้อมมาศรัทธาต่อพระองค์ โดยถาม-ตอบ เสนอแนะแนวทางปฏิบัติพระพุทธศาสนา โดยเอื้อเฟื้อต่อผู้ฟัง แม้จะเป็นผู้นับถือลัทธิอื่นก็ ตาม จนในที่สุดเกิดศรัทธาในแนวทางการปฏิบัติรูปแบบใหม่ตามพระอริยวินัยด้วยการบวช ในพระพุทธศาสนา ดังภาพต่อไปนี้ 12ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 13/396/491 13ดูรายละเอียดใน ม.ม. (ไทย) 13/400/499.


144 140 ภาพที่ 4.7 ประยุกต์พุทธนวัตกรรมการสอนด้วยปรับทัศนคติความเชื่อเดิมมาเป็นแบบ ใหม่ชี้แนะแนวทางปฏิบัติใหม่จนพ้นทุกข์ที่แท้จริง ที่มา:สรุปจากพระไตรปิฎก (ม.ม. (แปล) 13/396/491) สู่การสอนในสถานการณ์ปัจจุบัน ศ.นพ.นายแพทย์วิจารณ์ พาณิช ได้กล่าวถึงคุณสมบัติผู้สามารถกำกับการเรียนรู้ ด้วยตนเอง(Selt Directed Learner) ดังนี้ 1.มีทักษะในการประเมินตนเองที่จะต้องทำ 2.มีทักษะในการประเมินความรู้และทักษะของตนเองสำหรับทำงานนั้น 3.มีทักษะในการวางแผนการทำงาน 4.มีทักษะในการประเมินติดตามความก้าวหน้าของตนเอง 5.มีทักษะในการปรับปรุงยุทธศาสตร์การทำงานของตนเอง ในขณะเดียวกันการเรียนรู้ที่ดีต้องเรียนรู้3ชั้นในเวลาเดียวกันคือ(1)การเรียนรู้เนื้อหา/ ทฤษฎี 2.เรียนทักษะโดยลงมือทำ 3.เรียนวิธีเรียนเข้าใจมีทักษะในแต่ละขั้นตอนของการเรียนรู้(164) เนื้อหา กระบวนการ เข้าใจขั้นตอนการฝึกที่หรือปฏิบัติที่ถูกต้อง (มาจาก ศ.นพ.วิจารณ์ พาณิช 2562) 4.3 พุทธนวัตกรรมการสอนโดยปรับวิธีสอนให้เหมาะกับผู้เรียน พุทธนวัตกรรมการสอนโดยปรับวิธีสอนให้เหมาะกับผู้เรียนหรือผู้ฟังธรรมดังนี้ 1. เรื่องกองบ่วงดักสัตว์พระสูตรนี้ พระผู้มีพระภาคทรงแสดงแก่ภิกษุจำนวน 500 รูป ณ อาศรมของรัมมกพราหมณ์ เขตกรุงสาวัตถี เนื่องจากพระภิกษุเหล่านี้เดินทางมาพบ ท่านพระอานนท์ เพื่อขออนุญาตเข้าเฝ้าและฟังธรรมเฉพาะพระพักตร์พระผู้มีพระภาคเจ้า ท่านพระอานนท์จึงขอให้ไปนั่งรออยู่ที่อาศรมของรัมมกพราหมณ์ เมื่อมีโอกาสได้กราบทูล พระผู้มีพระภาคให้เสด็จไปโปรดพระภิกษุเหล่านี้ และเมื่อพระองค์เสด็จไปถึงทรงได้ยิน ความรู้เดิม ความรู้ใหม่ แนวปฏิบัติใหม่ ด้วยศรัทธา พบทางพ้น ทุกข์


145 141 พระภิกษุเหล่านี้สนทนาธรรมกันอยู่ ทรงพอพระทัย ประทับยืนอยู่ที่ประตูอาศรมจนภิกษุ เหล่านี้สนทนาธรรมจบลง ด้วยทรงปรารภเหตุนี้ จึงตรัสสอนเรื่องการแสวงหาที่ประเสริฐ14 ตรัสว่า การแสวงหามี 2 อย่าง คือ การแสวงหาที่ประเสริฐ และการแสวงหาที่ไม่ประเสริฐ แล้วทรงอธิบายว่า การแสวงหาที่ไม่ประเสริฐ ได้แก่ การที่บุคคลผู้มีความเกิด ความแก่ ความเจ็บ ความตาย ความเศร้าโศก และความเศร้าหมอง แต่ยังแสวงหาสิ่งที่มีความเกิด ความแก่ ความเจ็บ ความตาย ความเศร้าโศก และความเศร้าหมอง อยู่อีก15 ส่วนการแสวงหาที่ประเสริฐ ทรงอธิบายว่า ได้แก่ การที่บุคคลผู้มีความเกิด ความ แก่ ความเจ็บ ความตาย ความเศร้าโศก และความเศร้าหมอง รู้ชัดถึงโทษในสิ่งที่มีความเกิด ความแก่ ความเจ็บ ความตาย ความเศร้าโศก และความเศร้าหมอง แสวงหานิพพานที่ไม่มี ความเกิด ความแก่ ความเจ็บ ความตาย ความเศร้าโศก และความเศร้าหมอง16 สรุปรูปแบบพุทธวิธีการสอนแบบถาม-ตอบ และมีการอุปมาอุปไมยประกอบการ สอนหลายตอนและทรงสอนภิกษุที่มักมีความประสงค์อยากเข้าเฝ้า เพื่อฟังการแสดงธรรม ของพระพุทธเจ้าและพระผู้มีพระภาคทรงชี้ให้เห็นว่า การแสวงหากามเป็นการแสวงหาที่ไม่ ประเสริฐ การแสวงหาทางเพื่อพ้นไปจากกาม บรรลุถึงพระนิพพานเป็นการแสวงหาที่ ประเสริฐ แล้วทรงสอนวิธีสลัดออกจากกามคุณ 5 ด้วยการปฏิบัติสมถกัมมัฏฐานและ วิปัสสนากัมมัฏฐานเหมือนนิวาปสูตรไปประยุกต์การสอนในสถานการณ์ปัจจุบันดังภาพที่ ปรากฏดังนี้ 14ดูรายละเอียดใน ม.มู.อ. (ไทย) 2/272-274/72-77 15ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/274/296. 16ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/276/299 ผู้เรียน ตั้งใจมาเรียน ใฝ่เรียนรู้ สนทนาธรรม ครูสอน ตั้งค าถาม สนทนาการให้ ค าปรึกษา ครูอธิบาย แนวทางปฏิบัติที่ถูกต้อง ผู้เรียนมีความสุข 142 ภาพที่ 4.8 ประยุกต์พุทธนวัตกรรมการสอนกัมมัฏฐานที่เหมาะสมกับผู้เรียน ที่มา : สรุปจากพระไตรปิฎก(ม.มู.อ. 2/272-274/72-77) ไปสู่การปฏิบัติในสถานการณ์ ปัจจุบันโดยสังเคราะห์ของผู้เขียน (2564) นิวาปสูตร ว่าด้วยเรื่องเหยื่อล่อเนื้อ พระสูตรนี้ พระผู้มีพระภาคทรงแสดงแก่ภิกษุ ทั้งหลาย ขณะประทับอยู่ ณ พระเชตวัน อารามของอนาถบิณฑิกเศรษฐี โดยทรงประสงค์ ให้ภิกษุทั้งหลายข้ามพ้นโลกามิส สู่แดนที่มารไปไม่ถึง เหมือนฝูงเนื้อที่ 4 ที่พรานเนื้อและ บริวารตามไปไม่ถึง พระผู้มีพระภาคตรัสว่า พรานเนื้อที่ปลูกหญ้าไว้ในทุ่งหญ้ามิได้หวังให้ฝูง เนื้อมากินเพื่อจะได้มีอายุยืน ผิวพรรณดี มีชีวิตอยู่นาน แต่ปลูกไว้เพื่อล่อจับเนื้อนั่นเอง17 ทรงอธิบายว่า มีเนื้ออยู่ 4 ฝูง ฝูงที่ 1-3 เป็นเนื้อที่ถูกพรานเนื้อและบริวารจับได้ ส่วนฝูงเนื้อ ที่ 4 พรานเนื้อและบริวารจับไม่ได้ ทรงอธิบายเหตุที่ฝูงเนื้อที่ 1-3 ถูกพรานเนื้อและบริวารจับได้ไว้ดังนี้ - ฝูงเนื้อที่ 1 เข้าไปสู่ทุ่งหญ้าของพรานเนื้อแล้วกินหญ้าเพลินจนลืมตัว จึงถูก พรานเนื้อจับได้ - ฝูงเนื้อที่ 2 คิดว่าฝูงเนื้อที่ 1 ถูกพรานเนื้อจับได้เพราะเข้าไปกินหญ้าเพลินจนลืม ตัว จึงเห็นว่า “เราควรงดกินหญ้าในทุ่งหญ้าของพรานเนื้อ” แล้วหลีกไปอยู่ในราวป่า แต่พอ ถึงปลายฤดูร้อน หญ้าและน้ำในป่าแห้งหมด จึงกลับออกมากินหญ้าในทุ่งหญ้าของพราน เนื้อต่อไปอีกและกินเพลินจนลืมตัว จึงถูกพรานเนื้อจับได้18 - ฝูงที่ 3 คิดเปรียบเทียบพฤติกรรมของฝูงเนื้อทั้งสองแล้วเห็นว่า “เราควรซ่อนตัว อยู่ใกล้ ๆ ทุ่งหญ้าของพรานเนื้อ จะเข้าไปกินหญ้าของพรานเนื้อโดยระมัดระวังไม่กินเพลิน จนลืมตัว” แล้วซ่อนตัวหลบพรานเนื้อและบริวาร แต่ในที่สุดพรานเนื้อและบริวารใช้รั้วล้อม ทุ่งหญ้าก็จับได้19 ทรงอธิบายเหตุที่ฝูงเนื้อที่ 4 ไม่ถูกจับไว้ว่า ฝูงเนื้อที่ 4 คิดเปรียบเทียบพฤติกรรม ของเนื้อทั้ง 3 ฝูงแล้ว เห็นว่า “เราควรอาศัยอยู่ที่ที่พวกพรานเนื้อไปไม่ถึง และไม่เข้าไปสู่ทุ่ง หญ้าของพรานเนื้อ”20 17ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/261/284. 18ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/263/285. 19ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/264/285. 20ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/265/287.


146 142 ภาพที่ 4.8 ประยุกต์พุทธนวัตกรรมการสอนกัมมัฏฐานที่เหมาะสมกับผู้เรียน ที่มา : สรุปจากพระไตรปิฎก(ม.มู.อ. 2/272-274/72-77) ไปสู่การปฏิบัติในสถานการณ์ ปัจจุบันโดยสังเคราะห์ของผู้เขียน (2564) นิวาปสูตร ว่าด้วยเรื่องเหยื่อล่อเนื้อ พระสูตรนี้ พระผู้มีพระภาคทรงแสดงแก่ภิกษุ ทั้งหลาย ขณะประทับอยู่ ณ พระเชตวัน อารามของอนาถบิณฑิกเศรษฐี โดยทรงประสงค์ ให้ภิกษุทั้งหลายข้ามพ้นโลกามิส สู่แดนที่มารไปไม่ถึง เหมือนฝูงเนื้อที่ 4 ที่พรานเนื้อและ บริวารตามไปไม่ถึง พระผู้มีพระภาคตรัสว่า พรานเนื้อที่ปลูกหญ้าไว้ในทุ่งหญ้ามิได้หวังให้ฝูง เนื้อมากินเพื่อจะได้มีอายุยืน ผิวพรรณดี มีชีวิตอยู่นาน แต่ปลูกไว้เพื่อล่อจับเนื้อนั่นเอง17 ทรงอธิบายว่า มีเนื้ออยู่ 4 ฝูง ฝูงที่ 1-3 เป็นเนื้อที่ถูกพรานเนื้อและบริวารจับได้ ส่วนฝูงเนื้อ ที่ 4 พรานเนื้อและบริวารจับไม่ได้ ทรงอธิบายเหตุที่ฝูงเนื้อที่ 1-3 ถูกพรานเนื้อและบริวารจับได้ไว้ดังนี้ - ฝูงเนื้อที่ 1 เข้าไปสู่ทุ่งหญ้าของพรานเนื้อแล้วกินหญ้าเพลินจนลืมตัว จึงถูก พรานเนื้อจับได้ - ฝูงเนื้อที่ 2 คิดว่าฝูงเนื้อที่ 1 ถูกพรานเนื้อจับได้เพราะเข้าไปกินหญ้าเพลินจนลืม ตัว จึงเห็นว่า “เราควรงดกินหญ้าในทุ่งหญ้าของพรานเนื้อ” แล้วหลีกไปอยู่ในราวป่า แต่พอ ถึงปลายฤดูร้อน หญ้าและน้ำในป่าแห้งหมด จึงกลับออกมากินหญ้าในทุ่งหญ้าของพราน เนื้อต่อไปอีกและกินเพลินจนลืมตัว จึงถูกพรานเนื้อจับได้18 - ฝูงที่ 3 คิดเปรียบเทียบพฤติกรรมของฝูงเนื้อทั้งสองแล้วเห็นว่า “เราควรซ่อนตัว อยู่ใกล้ ๆ ทุ่งหญ้าของพรานเนื้อ จะเข้าไปกินหญ้าของพรานเนื้อโดยระมัดระวังไม่กินเพลิน จนลืมตัว” แล้วซ่อนตัวหลบพรานเนื้อและบริวาร แต่ในที่สุดพรานเนื้อและบริวารใช้รั้วล้อม ทุ่งหญ้าก็จับได้19 ทรงอธิบายเหตุที่ฝูงเนื้อที่ 4 ไม่ถูกจับไว้ว่า ฝูงเนื้อที่ 4 คิดเปรียบเทียบพฤติกรรม ของเนื้อทั้ง 3 ฝูงแล้ว เห็นว่า “เราควรอาศัยอยู่ที่ที่พวกพรานเนื้อไปไม่ถึง และไม่เข้าไปสู่ทุ่ง หญ้าของพรานเนื้อ”20 17ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/261/284. 18ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/263/285. 19ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/264/285. 20ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/265/287. 142 ภาพที่ 4.8 ประยุกต์พุทธนวัตกรรมการสอนกัมมัฏฐานที่เหมาะสมกับผู้เรียน ที่มา : สรุปจากพระไตรปิฎก(ม.มู.อ. 2/272-274/72-77) ไปสู่การปฏิบัติในสถานการณ์ ปัจจุบันโดยสังเคราะห์ของผู้เขียน (2564) นิวาปสูตร ว่าด้วยเรื่องเหยื่อล่อเนื้อ พระสูตรนี้ พระผู้มีพระภาคทรงแสดงแก่ภิกษุ ทั้งหลาย ขณะประทับอยู่ ณ พระเชตวัน อารามของอนาถบิณฑิกเศรษฐี โดยทรงประสงค์ ให้ภิกษุทั้งหลายข้ามพ้นโลกามิส สู่แดนที่มารไปไม่ถึง เหมือนฝูงเนื้อที่ 4 ที่พรานเนื้อและ บริวารตามไปไม่ถึง พระผู้มีพระภาคตรัสว่า พรานเนื้อที่ปลูกหญ้าไว้ในทุ่งหญ้ามิได้หวังให้ฝูง เนื้อมากินเพื่อจะได้มีอายุยืน ผิวพรรณดี มีชีวิตอยู่นาน แต่ปลูกไว้เพื่อล่อจับเนื้อนั่นเอง17 ทรงอธิบายว่า มีเนื้ออยู่ 4 ฝูง ฝูงที่ 1-3 เป็นเนื้อที่ถูกพรานเนื้อและบริวารจับได้ ส่วนฝูงเนื้อ ที่ 4 พรานเนื้อและบริวารจับไม่ได้ ทรงอธิบายเหตุที่ฝูงเนื้อที่ 1-3 ถูกพรานเนื้อและบริวารจับได้ไว้ดังนี้ - ฝูงเนื้อที่ 1 เข้าไปสู่ทุ่งหญ้าของพรานเนื้อแล้วกินหญ้าเพลินจนลืมตัว จึงถูก พรานเนื้อจับได้ - ฝูงเนื้อที่ 2 คิดว่าฝูงเนื้อที่ 1 ถูกพรานเนื้อจับได้เพราะเข้าไปกินหญ้าเพลินจนลืม ตัว จึงเห็นว่า “เราควรงดกินหญ้าในทุ่งหญ้าของพรานเนื้อ” แล้วหลีกไปอยู่ในราวป่า แต่พอ ถึงปลายฤดูร้อน หญ้าและน้ำในป่าแห้งหมด จึงกลับออกมากินหญ้าในทุ่งหญ้าของพราน เนื้อต่อไปอีกและกินเพลินจนลืมตัว จึงถูกพรานเนื้อจับได้18 - ฝูงที่ 3 คิดเปรียบเทียบพฤติกรรมของฝูงเนื้อทั้งสองแล้วเห็นว่า “เราควรซ่อนตัว อยู่ใกล้ ๆ ทุ่งหญ้าของพรานเนื้อ จะเข้าไปกินหญ้าของพรานเนื้อโดยระมัดระวังไม่กินเพลิน จนลืมตัว” แล้วซ่อนตัวหลบพรานเนื้อและบริวาร แต่ในที่สุดพรานเนื้อและบริวารใช้รั้วล้อม ทุ่งหญ้าก็จับได้19 ทรงอธิบายเหตุที่ฝูงเนื้อที่ 4 ไม่ถูกจับไว้ว่า ฝูงเนื้อที่ 4 คิดเปรียบเทียบพฤติกรรม ของเนื้อทั้ง 3 ฝูงแล้ว เห็นว่า “เราควรอาศัยอยู่ที่ที่พวกพรานเนื้อไปไม่ถึง และไม่เข้าไปสู่ทุ่ง หญ้าของพรานเนื้อ”20 17ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/261/284. 18ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/263/285. 19ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/264/285. 20ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/265/287.


147 143 ทรงอธิบายว่า แดนที่มารไปไม่ถึงได้แก่ พระนิพพาน ซึ่งเข้าถึงได้ด้วยการเจริญสมถ กัมมัฏฐานและวิปัสสนากัมมัฏฐาน จนได้สมาบัติและเข้าถึงสัญญาเวทยิตนิโรธแล้วบรรลุ อรหัตตผล21 รูปแบบพุทธวิธีการสอน เป็นบรรยายโวหารแบบมีอุปมาอุปไมยประกอบการสอน อย่างชัดเจน ทรงเปรียบเทียบนักบวชกับฝูงเนื้อ พระผู้มีพระภาคทรงแสดงพระสูตรนี้เพื่อให้ ภิกษุทั้งหลายสำเนียกว่า มีนักบวชอยู่ 4 ประเภท เปรียบด้วยเนื้อ 4 ฝูง ได้แก่ (1) นักบวช ผู้บริโภคกามซึ่งเป็นโลกามิส (2) นักบวชผู้งดเว้นจากการบริโภคกาม แล้วกลับบริโภคกาม อีก (3) นักบวชผู้งดเว้นจากการบริโภคกามได้ แต่ยังยึดติดอยู่ในทิฏฐิต่าง ๆ จึงไม่พ้นไปจาก โลกามิส (4) นักบวชผู้งดเว้นจากการบริโภคกามได้ขาดและไม่ยึดติดอยู่กับทิฏฐิใด ๆ จึงเป็น ผู้ข้ามพ้นโลกามิสได้ ไม่ตกอยู่ในอำนาจกามทั้งหลาย ผลการสอน ภิกษุทั้งหลายมีใจยินดี ต่างชื่นชมพระภาษิตของพระผู้มีพระภาค ได้ข้อคิดในการปฏิบัติธรรมที่ถูกต้อง จาก หลักการสอนนี้สามารถนำไปประยุกต์ใช้สอนในสถานการปัจจุบันได้ดังภาพที่ปรากฏ ต่อไปนี้ ภาพที่ 4.9 ประยุกต์พุทธนวัตกรรมการสอนปรับการสอนให้เหมาะสมกับผู้เรียน ที่มา : สรุปจากพระไตรปิฎก(ม.ม. (แปล) 12/267/289) สู่การปฏิบัติในสถานการณ์ปัจจุบัน โดยสังเคราะห์ของผู้เขียน (2564) พระสูตรนี้ พระผู้มีพระภาคทรงแสดงแก่ภิกษุทั้งหลาย ประทับอยู่ ณ พระเชตวัน อารามของอนาถบิณฑิกเศรษฐี เขตกรุงสาวัตถี เพื่อให้ภิกษุเหล่านี้ทราบเรื่องการสมาทาน ธรรมตามรสแห่งธรรม พระผู้มีพระภาคทรงตรัสว่า “ภิกษุทั้งหลาย โดยมากสัตว์ทั้งหลาย มีความปรารถนา มีความพอใจ มีความประสงค์อย่างนี้ว่า ทำอย่างไรหนอ ธรรมที่ไม่น่า 21ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/271/293. ผู้เรียนสงสัย เนื้อหาที่ถาม ปัญหาอุปสรรค ที่พบ ครูให้ค าปรึกษา ยกตัวอย่าง อธิบาย ชี้แนะแนวทาง ปฏิบัติ ผู้เรียนได้แนวทางปฏิบัติที่ ถูกต้องและมีความสุข


148 144 ปรารถนา ไม่น่าใคร่ ไม่น่าพอใจ จะพึงเสื่อมไป ธรรมที่น่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ จะพึง เจริญยิ่งขึ้น”22 พระพุทธองค์ตรัส การสมาทานธรรม 4 ประการคือ 1) การสมาทานธรรมที่มีทุกข์ในปัจจุบัน และมีทุกข์เป็นวิบากในอนาคต 2) การสมาทานธรรมที่มีสุขในปัจจุบัน แต่มีทุกข์เป็นวิบากในอนาคต 3) การสมาทานธรรมที่มีทุกข์ในปัจจุบัน แต่มีสุขเป็นวิบากในอนาคต 4) การสมาทานธรรมที่มีสุขในปัจจุบัน และมีสุขเป็นวิบากในอนาคต23 สรุปรูปแบบพุทธวิธีการสอน บรรยายโวหารแบบถาม-ตอบ และอุปมาอุปไมย ประกอบการอธิบายหลักธรรมได้ชัดเจน พระสูตรนี้พบว่า พุทธวิธีการสอนเป็นที่น่าสนใจ ตั้งแต่เริ่มต้น โอกาสให้ร่วมคิดในคำถามของพระองค์ที่ปรารถนาเหตุของสิ่งทั้งหลาย ไม่เป็นไปตามความปรารถนาว่า “ทำอย่างไรหนอธรรมที่ไม่น่าปรารถนา ไม่น่าใคร่ ไม่น่า พอใจ จะพึงเสื่อมไป ธรรมที่น่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ จะพึงเจริญยิ่งขึ้น” จากคำกล่าวนี้ ชี้ให้เห็นว่าพุทธนวัตกรรมการสอนให้คิดหาเหตุด้วยตนเอง นอกจากนั้นทรงสอนเปรียบเทียบธรรมสมาทานแต่ละข้อให้เข้าใจง่าย เช่น การเปรียบ เหมือนน้ำต้มขมผสมด้วยยาพิษ บุรุษที่รักชีวิต ยังไม่อยากตาย รักสุขเกลียดทุกข์...น้ำเต้า ขมนั้นก็ยังไม่ทำให้เราผู้ดื่มพอใจทั้งกลิ่น สี และรส ครั้นดื่มแล้วพึงถึงความตาย แม้ฉันใดเรา กล่าวว่า การสมาทานธรรมนี้มีทุกข์ในปัจจุบันและมีทุกข์เป็นวิบากในอนาคต มีอุปมาฉัน นั้น24 ทรงสอนลักษณะอย่างนี้ไปตลอดสูตร ชี้ให้เห็นว่า ทรงสอนไปตามลำดับจากง่าย ๆ ค่อย ๆ ลึกซึ้งยากไปตามเนื้อหาสาระ จากหลักการสอนในพระสูตรดังกล่าวข้างบนนี้สามารถนำมาประยุกต์ใช้สอนให้ เหมาะสมกับระดับผู้เรียนตามสถานการณ์ในปัจจุบันได้ดังภาพต่อไปนี้ 22ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/473. 23ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/475/516. 24ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/482/523.


149 145 ภาพที่ 4.10 ประยุกต์พุทธนวัตกรรมการสอนของพระพุทธเจ้าทรงสอนภิกษุปรับให้ เหมาะสมกับผู้เรียน และทรงยกตัวอย่างแนวทางปฏิบัติโดยการคบกัลยาณมิตร ที่มา : สรุปจากพระไตรปิฎก(ม.ม. (แปล) 12/473) สู่การประยุกต์ใช้สอนในสถานการณ์ ปัจจุบันโดยสังเคราะห์ของผู้เขียน (2564) เรื่องเกิดขึ้น ณ กรุงสาวัตถี ครั้งนั้นแล ท่านพระราธะ ฯลฯ นั่ง ณ ที่สมควรได้ กราบทูลพระผู้มีพระภาคดังนี้ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญขอประทานวโรกาส ขอพระผู้มีพระ ภาคโปรดแสดงธรรมแก่ข้าพระองค์โดยย่อ ซึ่งข้าพระองค์ได้ฟังแล้วจะพึงหลักออกไปอยู่คน เดียว ไม่ประมาท มีความเพียร อุทิศกายและใจอยู่เถิด พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ราธะสิ่งใดไม่เที่ยง เธอจึงละความพอใจในสิ่งนั้น25 ราธะ สิ่งใดเป็นทุกข์ เธอพึงละความพอใจในสิ่งนั้น26 ราธะสิ่งใดเป็นอนัตตา เธอพึงละความพอใจ ในสิ่งนั้น27 รูปแบบพุทธวิธีการสอน เป็นการบรรยายโวหารแบบถาม-ตอบ สรุปพุทธนวัตกรรมการสอนในพระสูตรนี้พบว่า พระพุทธองค์ทรงเปิดโอกาสให้พระ ราธะเข้าเฝ้ากราบทูลถามปัญหาและทรงตอบอย่างละเอียด โดยเน้นรูปไม่เที่ยง รูปเป็นทุกข์ และรูปเป็นอนัตตา และทรงสอนแนวทางปฏิบัติให้จิตหลุดพ้นตามสภาวะความจริง จากพระสูตรนี้สามารถนำมาสังเคราะห์ประยุกต์การสอนให้สอดคล้องกับ สถานการณ์ปัจจุบันได้ดังภาพที่ปรากฏดังนี้ 25ดูรายละเอียดใน สํ.สฬา. (แปล) 18/76/70. 26ดูรายละเอียดใน สํ.สฬา. (แปล) 18/77/71. 27ดูรายละเอียดใน สํ.สฬา. (แปล) 18/78/71. ปรับการสอนให้เหมาะกับผู้เรียน ผู้เรียนสงสัยเนื้อหา การเรียน พบปัญหาอุปสรรค์การปฏิบัติ ครูสอน ให้ค าปรึกษาที่ถูกต้อง น ากรณียกตัวอย่าง ประกอบการสอน ชี้แนวทางการการปฏิบัติ ครูอธิบายแนวทางแก้ปัญหา น าไปสู่การปฏิบัติที่ถูกต้อง


150 146 ภาพที่ 4.11 ประยุกต์พุทธนวัตกรรมการสอนของพระพุทธเจ้าทรงชี้แนะแนวทางปฏิบัติ เกิดความพึ่งพอใจสำหรับแนวทางปฏิบัติที่ถูกต้อง ที่มา : สรุปจากพระไตรปิฎก(สํ.สฬา. (แปล) 18/76/70) สู่การสอนในสถานการณ์ใน ยุคศตวรรษที่ 21โดยสังเคราะห์ของผู้เขียน (2564) เรื่องพระลกุณฏภัททิยะซึ่งได้รับการยกย่องจากพระศาสดาว่าเป็นผู้มีเสียง ไพเราะ สมัยหนึ่งพระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระเชตะวัน อารามของอนาถบิณฑิก เศรษฐี เขตกรุงสาวัตถี ครั้งนั้น ท่านพระลกุณฏกภัททิยะเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึง ที่ประทับ พระผู้มีพระภาคได้ทอดพระเนตรเห็นท่านกำลังเดินมาแต่ไกลแล้วรับสั่งเรียกภิกษุ ทั้งหลายมาตรัสว่า “ภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายเห็นภิกษุผู้มีผิวพรรณไม่งาม ไม่น่าดู เตี้ย เป็นผู้ถูกภิกษุทั้งหลายดูแคลน ที่กำลังเดินมานั้นหรือไม่ เห็นพระพุทธเจ้าข้า ภิกษุนั้น มีฤทธานุภาพมาก อนึ่ง สมาบัติที่เธอไม่เคยเข้า เธอก็เข้าได้โดยง่ายและเธอได้ทำให้ แจ้งประโยชน์ยอดเยี่ยมอันเป็นที่สุดแห่งพรหมจรรย์ที่เหล่ากุลบุตรออกจากเรือนบวช เป็นบรรพชิตโดยชอบต้องการด้วยปัญญาอันยิ่งเองเข้าถึงอยู่ในปัจจุบัน พระผู้มีพระภาค ผู้สุคตศาสดา ครั้นได้ตรัสเรื่องนี้แล้ว จึงได้ตรัสคาถาประพันธ์ต่อไปอีกว่า สัตว์ทั้งหลาย จำพวกหงส์ นกกระเรียน นกยูง ช้าง เนื้อฟาน ทั้งหมด ย่อมกลัวราชสีห์ ความสมดุลกันทางกายไม่มี ฉันใด บรรดาหมู่มนุษย์ก็ฉันนั้น ถ้าคนหนุ่มมีปัญญา เขาก็ย่อมเป็นใหญ่ในหมู่มนุษย์นั้น ไม่เหมือนคนพาล ซึ่งถือกายเป็นใหญ่”28 สรุปรูปแบบพุทธนวัตกรรมการสอน เป็นการสนทนาแบบถาม-ตอบเพื่อให้ผู้เรียน ตั้งคำถามในการเรียนรู้ดังภาพที่ปีรากฎดังนี้ 28ดูรายละเอียดใน สํ.นิ. (แปล) 16/240/332 ครู/อาจารย์ให้ค าปรึกษา แนะน าการสอนแก่นิสิตนักศึกษา นิสิตข้อ คําแนะนํา การเรียน ครู/อาจารย์ เปิดโอกาส ด้วย กัลยาณมิตร ถามคําถามที่ สงสัย ให้แนวทาง แก้ปัญหา นิสิตได้ แนวทาง ปฏิบัติที่ ถูกต้อง


151 147 ภาพที่ 4.12 ประยุกต์พุทธนวัตกรรมการสอนของพระพุทธเจ้าทรงสอนชี้แนะผู้เรียนด้วย การจูงใจด้วยการยกกรณีพระภิกษุตัวเตี้ยด้วยการเปรียบเทียบจนผู้เรียนได้แนวทางปฏิบัติที่ ถูกต้อง ที่มา: สรุปจากพระไตรปิฎก( สํ.นิ. (แปล) 16/240/332) สู่การสอนในสถานการณ์ปัจจุบัน โดยสังเคราะห์ของผู้เขียน (2564) สุชาตสูตร ว่าด้วยเรื่องพระสุชาต สมัยหนึ่งพระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระเชตวัน อารามของอนาถบิณฑิกเศรษฐี เขตกรุงสาวัตถี ครั้งนั้น ท่านพระสุชาต เข้าไป เฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ พระผู้มีพระภาคได้ทอดพระเนตรเห็นท่านกำลังเดินมาแต่ ไกล แล้วรับสั่งเรียกภิกษุทั้งหลายมาตรัสว่า ภิกษุทั้งหลายกุลบุตรนี้ย่อมงามด้วยสมบัติ 2 ประการ คือ 1. มีรูปงาม น่าดู น่าชม ประกอบด้วยผิวพรรณงามยิ่งนัก 2. ได้ทำให้แจ้งประโยชน์ยอดเยี่ยมอันเป็นที่สุดแห่งพรหมจรรย์ ที่เหล่ากุลบุตร ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตโดยชอบต้องการด้วยปัญญาอันยิ่งเอง เข้าถึงอยู่ในปัจจุบัน พระผู้มีพระภาคผู้สุคตศาสดา ครั้นตรัสเวยยากรณ์ภาษิตนี้แล้ว จึงได้ตรัสคาถาประพันธ์ ต่อไปอีกว่า “ภิกษุนี้งามด้วยใจที่ซื่อตรง เป็นผู้หลุดพ้น พรากได้แล้ว ดับแล้ว เพราะไม่ถือมั่น ชนะมารพร้อมทั้งกองทัพได้แล้ว ทรงไว้ซึ่งอัตภาพสุดท้าย”29 29ดูรายละเอียดใน สํ.นิ.(แปล) 16/239/331. • สงสัย • ถาม คําถามผู้เรียน • ยก กรณีศึกษา อธิบายให้ เข้าใจ ครูสอน • เปรียบเทียบ • ได้แนวทางปฏิบัติ ได้แนวทาง ปฏิบัติ


152 148 สรุปประยุกต์พุทธนวัตกรรมการสอนในพระสูตรนี้ พบว่า พระพุทธองค์ทรงยก อุทาหรณ์ พระสุชาต ที่จะเข้าเฝ้าเป็นกรณีศึกษาให้ภิกษุทั้งหลายได้ศึกษาในเรื่องความงาม ด้วยคุณสมบัติ 2 อย่าง คือ (1) รูปงาม และ (2) ปัญญางาม ทรงสรุปด้วยคาถาว่า “ ภิกษุนี้ งามด้วยใจที่ซื่อตรง รูปแบบพุทธวิธีการสอนเป็นการบรรยายโวหารแบบยกอุทาหรณ์ เป็นกรณีตัวอย่างประกอบการสอน จากพระสูตรนี้สามารถประยุกต์การสอนแก่ผู้เรียนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ ปัจจุบันตามภาพที่ปรากฏดังนี้ ภาพที่ 4.13 ประยุกต์พุทธนวัตกรรมการสอนแบบบรรยายของพระพุทธเจ้าทรงสอนภิกษุที่ ทูลถามด้วยการยกตัวอย่างประกอบการสอนถึงคุณสมบัติความงามด้วยใจซื้อตรงจะเกิดรูป งามและปัญญางาม ที่มา: สรุปจากพระไตรปิฎก( สํ.นิ.(แปล) 16/239/331) สู่การสอนในสถานการณ์ปัจจุบัน โดยสังเคราะห์ของผู้เขียน (2564) เรื่องปริพาชกชื่อทีฆนขะ พระสูตรนี้ พระผู้มีพระภาคทรงแสดงแก่ทีฆนขปริพาชก ซึ่งเป็นหลานของท่านพระสารีบุตร ขณะประทับอยู่ ณ ถ้ำสุกรขาตา ภูเขาคิชฌกูฏ เขตกรุง ราชคฤห์คัมภีย์ปปัญจสูทนีกล่าวว่า เมื่อท่านพระสารีบุตรบวชได้ครึ่งเดือน ทีฆนขปริพาชก คิดว่า ลุงของตนนับถือลัทธิอื่นได้ไม่นาน แต่เมื่อเข้าสู่พระพุทธศาสนากลับอยู่ได้นานถึงครึ่ง เดือนจึงอยากจะรู้เรื่องนั้นและหลักคำสอนของพระพุทธศาสนา เขาจึงเดินทางตามหาท่าน พระสารีบุตร จนพบพระเถระกำลังถวายงานพัดแด่พระผู้มีพระภาคเจ้าที่ถ้ำสุกรขาตา และ ได้สนทนาธรรมกับพระผู้มีพระภาค30 คือ ทรงสอนตามอัธยาศัยของผู้อื่นที่ทรงตรวจดูด้วย พระญาณก่อนเสด็จไปโปรด 30ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 2/21/150. • ยกอุทารหณ์ ประกอบการสอน • ผู้เรียนได้แนวทาง ปฏิบัติ • ยกกรณี ตัวอย่าง • ถามข้อ ปฏิบัติ ผู้เรียน เข้าพบ อาจารย์ ครูสอน ชี้แนะ/ อธิบาย ชี้แนวทาง ปฏิบัติ


153 149 พระองค์ตรัสว่า ผู้กล่าวนั้น แล้วละทิฏฐินั้นไม่ได้มีมากกว่าผู้ที่ละได้ แล้วทรงแสดง ว่ามีสมณพราหมณ์อยู่ 3 จำพวกซึ่งมีความเห็นแตกต่างกัน คือ 1. พวกที่มีความเห็นว่า “สิ่งทั้งปวงเป็นที่พอใจ” 2. พวกที่มีความเห็นว่า “สิ่งทั้งปวงไม่เป็นที่พอใจ” 3. พวกที่มีความเห็นว่า “บางสิ่งเป็นที่พอใจ บางสิ่งมาเป็นที่พอใจ” วิญญูชนตระหนักว่า การยึดความเห็นที่แตกต่างกันนั้นทำให้เกิดความทุ่มเถียงกัน ทำลายกัน เบียดเบียนกัน จึงละความเห็นเหล่านั้น31 พระพุทธเจ้าทรงสอนให้พิจารณาร่างกายว่าไม่เที่ยง เป็นทุกข์ ให้ละความพอใจใน กาย เมื่อเสวยเวทนา 3 คือ สุข ทุกข์ ไม่สุขไม่ทุกข์ ก็ให้พิจารณาว่าไม่เที่ยง ถูกปัจจัยปรุง แต่งขึ้น มีความเสื่อมสิ้นไปเป็นธรรมดา เมื่อพิจารณาเห็นเช่นนี้ ย่อมเบื่อหน่าย คลายกำหนัด และพ้นทุกข์ เมื่อหลุดพ้นแล้ว ก็ไม่ต้องทะเลาะวิวาทกับใคร โวหารใดที่ชาวโลกนิยมพูดกันก็ พูดไปตามโวหารนั้นโดยไม่ยึดมั่น32 รูปแบบพุทธนวัตกรรมการสอน เป็นแบบการบรรยายโวหารแบบถาม-ตอบ เริ่มต้น การสนทนาด้วยคำถาม พระสูตรนี้พบว่า ทรงสอนเรื่องทิฏฐิของทีฆนขะ เมื่อเห็นว่าพอ เข้าใจแล้วก็ทรงสอนเวทนา 3 ตามลำดับความง่ายไปหายากในขณะที่ทรงสอนทีฆนข ปริพาชก พระสารีบุตรที่ยืนถวายงานพัดพระพุทธองค์ก็ได้บรรลุธรรมด้วย กล่าวได้ว่าสอน อีกคนหนึ่งได้บรรลุธรรมอีกคนหนึ่งด้วย จากเทคนิคการสอนนี้สามารถนำประยุกต์สอนนักศึกษาให้สอดคล้องกับ สถานการณ์ปัจจุบันได้ดังภาพที่ปรากฏดังนี้ ภาพที่ 4.14 การประยุกต์พุทธนวัตกรรมการสอนของพระพุทธเจ้าทรงสอนทีฆนขะหลาน พระสารีบุตรซึ่งในขณะนั้นพระสารีบุตรเฝ้าพระพุทธเจ้าอยู่ที่นั้นได้บรรลุธรรมเป็นพระ อรหันต์พร้อมกับหลานก็ได้ดวงตาเห็นธรรม 31ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 13/201/240. 32ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 13/209/242. ครูสอนมุ่งหมายคนหนึ่งได้แนวทางปฏิบัติต่อไปอีกคนหนึ่งที่พบปัญหาคล้ายกัน สอนที่หนึ่ง ถามข้อ สงสัย ครูอธิบาย เนื้อหาที่ ถูกต้อง ขณะที่ สอนคน หนึ่ง กลุ่มคนอื่นได้ แนวคิดด้วย ได้แนวทาง ปฏิบัติที่ ถูกต้องเพิ่ม อีก สอนให้ ค าแนะน ากลุ่ม หนึ่งได้ผลการ ปฏิบัติร่วมกัน 149 พระองค์ตรัสว่า ผู้กล่าวนั้น แล้วละทิฏฐินั้นไม่ได้มีมากกว่าผู้ที่ละได้ แล้วทรงแสดง ว่ามีสมณพราหมณ์อยู่ 3 จำพวกซึ่งมีความเห็นแตกต่างกัน คือ 1. พวกที่มีความเห็นว่า “สิ่งทั้งปวงเป็นที่พอใจ” 2. พวกที่มีความเห็นว่า “สิ่งทั้งปวงไม่เป็นที่พอใจ” 3. พวกที่มีความเห็นว่า “บางสิ่งเป็นที่พอใจ บางสิ่งมาเป็นที่พอใจ” วิญญูชนตระหนักว่า การยึดความเห็นที่แตกต่างกันนั้นทำให้เกิดความทุ่มเถียงกัน ทำลายกัน เบียดเบียนกัน จึงละความเห็นเหล่านั้น31 พระพุทธเจ้าทรงสอนให้พิจารณาร่างกายว่าไม่เที่ยง เป็นทุกข์ ให้ละความพอใจใน กาย เมื่อเสวยเวทนา 3 คือ สุข ทุกข์ ไม่สุขไม่ทุกข์ ก็ให้พิจารณาว่าไม่เที่ยง ถูกปัจจัยปรุง แต่งขึ้น มีความเสื่อมสิ้นไปเป็นธรรมดา เมื่อพิจารณาเห็นเช่นนี้ ย่อมเบื่อหน่าย คลายกำหนัด และพ้นทุกข์ เมื่อหลุดพ้นแล้ว ก็ไม่ต้องทะเลาะวิวาทกับใคร โวหารใดที่ชาวโลกนิยมพูดกันก็ พูดไปตามโวหารนั้นโดยไม่ยึดมั่น32 รูปแบบพุทธนวัตกรรมการสอน เป็นแบบการบรรยายโวหารแบบถาม-ตอบ เริ่มต้น การสนทนาด้วยคำถาม พระสูตรนี้พบว่า ทรงสอนเรื่องทิฏฐิของทีฆนขะ เมื่อเห็นว่าพอ เข้าใจแล้วก็ทรงสอนเวทนา 3 ตามลำดับความง่ายไปหายากในขณะที่ทรงสอนทีฆนข ปริพาชก พระสารีบุตรที่ยืนถวายงานพัดพระพุทธองค์ก็ได้บรรลุธรรมด้วย กล่าวได้ว่าสอน อีกคนหนึ่งได้บรรลุธรรมอีกคนหนึ่งด้วย จากเทคนิคการสอนนี้สามารถนำประยุกต์สอนนักศึกษาให้สอดคล้องกับ สถานการณ์ปัจจุบันได้ดังภาพที่ปรากฏดังนี้ ภาพที่ 4.14 การประยุกต์พุทธนวัตกรรมการสอนของพระพุทธเจ้าทรงสอนทีฆนขะหลาน พระสารีบุตรซึ่งในขณะนั้นพระสารีบุตรเฝ้าพระพุทธเจ้าอยู่ที่นั้นได้บรรลุธรรมเป็นพระ อรหันต์พร้อมกับหลานก็ได้ดวงตาเห็นธรรม 31ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 13/201/240. 32ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 13/209/242. ครูสอนมุ่งหมายคนหนึ่งได้แนวทางปฏิบัติต่อไปอีกคนหนึ่งที่พบปัญหาคล้ายกัน สอนที่หนึ่ง ถามข้อ สงสัย ครูอธิบาย เนื้อหาที่ ถูกต้อง ขณะที่ สอนคน หนึ่ง กลุ่มคนอื่นได้ แนวคิดด้วย ได้แนวทาง ปฏิบัติที่ ถูกต้องเพิ่ม อีก สอนให้ ค าแนะน ากลุ่ม หนึ่งได้ผลการ ปฏิบัติร่วมกัน 149 พระองค์ตรัสว่า ผู้กล่าวนั้น แล้วละทิฏฐินั้นไม่ได้มีมากกว่าผู้ที่ละได้ แล้วทรงแสดง ว่ามีสมณพราหมณ์อยู่ 3 จำพวกซึ่งมีความเห็นแตกต่างกัน คือ 1. พวกที่มีความเห็นว่า “สิ่งทั้งปวงเป็นที่พอใจ” 2. พวกที่มีความเห็นว่า “สิ่งทั้งปวงไม่เป็นที่พอใจ” 3. พวกที่มีความเห็นว่า “บางสิ่งเป็นที่พอใจ บางสิ่งมาเป็นที่พอใจ” วิญญูชนตระหนักว่า การยึดความเห็นที่แตกต่างกันนั้นทำให้เกิดความทุ่มเถียงกัน ทำลายกัน เบียดเบียนกัน จึงละความเห็นเหล่านั้น31 พระพุทธเจ้าทรงสอนให้พิจารณาร่างกายว่าไม่เที่ยง เป็นทุกข์ ให้ละความพอใจใน กาย เมื่อเสวยเวทนา 3 คือ สุข ทุกข์ ไม่สุขไม่ทุกข์ ก็ให้พิจารณาว่าไม่เที่ยง ถูกปัจจัยปรุง แต่งขึ้น มีความเสื่อมสิ้นไปเป็นธรรมดา เมื่อพิจารณาเห็นเช่นนี้ ย่อมเบื่อหน่าย คลายกำหนัด และพ้นทุกข์ เมื่อหลุดพ้นแล้ว ก็ไม่ต้องทะเลาะวิวาทกับใคร โวหารใดที่ชาวโลกนิยมพูดกันก็ พูดไปตามโวหารนั้นโดยไม่ยึดมั่น32 รูปแบบพุทธนวัตกรรมการสอน เป็นแบบการบรรยายโวหารแบบถาม-ตอบ เริ่มต้น การสนทนาด้วยคำถาม พระสูตรนี้พบว่า ทรงสอนเรื่องทิฏฐิของทีฆนขะ เมื่อเห็นว่าพอ เข้าใจแล้วก็ทรงสอนเวทนา 3 ตามลำดับความง่ายไปหายากในขณะที่ทรงสอนทีฆนข ปริพาชก พระสารีบุตรที่ยืนถวายงานพัดพระพุทธองค์ก็ได้บรรลุธรรมด้วย กล่าวได้ว่าสอน อีกคนหนึ่งได้บรรลุธรรมอีกคนหนึ่งด้วย จากเทคนิคการสอนนี้สามารถนำประยุกต์สอนนักศึกษาให้สอดคล้องกับ สถานการณ์ปัจจุบันได้ดังภาพที่ปรากฏดังนี้ ภาพที่ 4.14 การประยุกต์พุทธนวัตกรรมการสอนของพระพุทธเจ้าทรงสอนทีฆนขะหลาน พระสารีบุตรซึ่งในขณะนั้นพระสารีบุตรเฝ้าพระพุทธเจ้าอยู่ที่นั้นได้บรรลุธรรมเป็นพระ อรหันต์พร้อมกับหลานก็ได้ดวงตาเห็นธรรม 31ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 13/201/240. 32ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 13/209/242. ครูสอนมุ่งหมายคนหนึ่งได้แนวทางปฏิบัติต่อไปอีกคนหนึ่งที่พบปัญหาคล้ายกัน สอนที่หนึ่ง ถามข้อ สงสัย ครูอธิบาย เนื้อหาที่ ถูกต้อง ขณะที่ สอนคน หนึ่ง กลุ่มคนอื่นได้ แนวคิดด้วย ได้แนวทาง ปฏิบัติที่ ถูกต้องเพิ่ม อีก สอนให้ ค าแนะน ากลุ่ม หนึ่งได้ผลการ ปฏิบัติร่วมกัน 149 พระองค์ตรัสว่า ผู้กล่าวนั้น แล้วละทิฏฐินั้นไม่ได้มีมากกว่าผู้ที่ละได้ แล้วทรงแสดง ว่ามีสมณพราหมณ์อยู่ 3 จำพวกซึ่งมีความเห็นแตกต่างกัน คือ 1. พวกที่มีความเห็นว่า “สิ่งทั้งปวงเป็นที่พอใจ” 2. พวกที่มีความเห็นว่า “สิ่งทั้งปวงไม่เป็นที่พอใจ” 3. พวกที่มีความเห็นว่า “บางสิ่งเป็นที่พอใจ บางสิ่งมาเป็นที่พอใจ” วิญญูชนตระหนักว่า การยึดความเห็นที่แตกต่างกันนั้นทำให้เกิดความทุ่มเถียงกัน ทำลายกัน เบียดเบียนกัน จึงละความเห็นเหล่านั้น31 พระพุทธเจ้าทรงสอนให้พิจารณาร่างกายว่าไม่เที่ยง เป็นทุกข์ ให้ละความพอใจใน กาย เมื่อเสวยเวทนา 3 คือ สุข ทุกข์ ไม่สุขไม่ทุกข์ ก็ให้พิจารณาว่าไม่เที่ยง ถูกปัจจัยปรุง แต่งขึ้น มีความเสื่อมสิ้นไปเป็นธรรมดา เมื่อพิจารณาเห็นเช่นนี้ ย่อมเบื่อหน่าย คลายกำหนัด และพ้นทุกข์ เมื่อหลุดพ้นแล้ว ก็ไม่ต้องทะเลาะวิวาทกับใคร โวหารใดที่ชาวโลกนิยมพูดกันก็ พูดไปตามโวหารนั้นโดยไม่ยึดมั่น32 รูปแบบพุทธนวัตกรรมการสอน เป็นแบบการบรรยายโวหารแบบถาม-ตอบ เริ่มต้น การสนทนาด้วยคำถาม พระสูตรนี้พบว่า ทรงสอนเรื่องทิฏฐิของทีฆนขะ เมื่อเห็นว่าพอ เข้าใจแล้วก็ทรงสอนเวทนา 3 ตามลำดับความง่ายไปหายากในขณะที่ทรงสอนทีฆนข ปริพาชก พระสารีบุตรที่ยืนถวายงานพัดพระพุทธองค์ก็ได้บรรลุธรรมด้วย กล่าวได้ว่าสอน อีกคนหนึ่งได้บรรลุธรรมอีกคนหนึ่งด้วย จากเทคนิคการสอนนี้สามารถนำประยุกต์สอนนักศึกษาให้สอดคล้องกับ สถานการณ์ปัจจุบันได้ดังภาพที่ปรากฏดังนี้ ภาพที่ 4.14 การประยุกต์พุทธนวัตกรรมการสอนของพระพุทธเจ้าทรงสอนทีฆนขะหลาน พระสารีบุตรซึ่งในขณะนั้นพระสารีบุตรเฝ้าพระพุทธเจ้าอยู่ที่นั้นได้บรรลุธรรมเป็นพระ อรหันต์พร้อมกับหลานก็ได้ดวงตาเห็นธรรม 31ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 13/201/240. 32ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 13/209/242. ครูสอนมุ่งหมายคนหนึ่งได้แนวทางปฏิบัติต่อไปอีกคนหนึ่งที่พบปัญหาคล้ายกัน สอนที่หนึ่ง ถามข้อ สงสัย ครูอธิบาย เนื้อหาที่ ถูกต้อง ขณะที่ สอนคน หนึ่ง กลุ่มคนอื่นได้ แนวคิดด้วย ได้แนวทาง ปฏิบัติที่ ถูกต้องเพิ่ม อีก สอนให้ ค าแนะน ากลุ่ม หนึ่งได้ผลการ ปฏิบัติร่วมกัน 150 ที่มา: สรุปจากพระไตรปิฎก (ม.ม. (แปล) 13/201/240) สู่การสอนตามสถานการณ์ใน ปัจจุบันได้เป็นอย่างดีโดยสังเคราะห์ของผู้เขียน (2564) 4.4 พุทธนวัตกรรมการสอนโดยเอาใจใส่ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ขอยกกรณีตัวอย่างพุทธนวัตกรรมการสอนโดยเอาใจใส่ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ดังนี้ กรณีกกจูปมสูตร ว่าด้วยเรื่อง อุปมาด้วยเลื่อย พระสูตรนี้ พระผู้มีพระภาคทรง แสดงแก่ภิกษุทั้งหลาย ขณะประทับอยู่ ณ พระเชตวัน อารามของอนาถบิณฑิกเศรษฐี เขตกรุงสาวัตถี โดยทรงปรารภความประพฤติของพระโมลิยผัคคุนะ ทรงยกกรณีพระโมลิย ผัคคุนะเป็นเหตุตรัสสอนภิกษุทั้งหลายดังต่อไปนี้ ทรงเล่าว่า ครั้งหนึ่งทรงแนะนำให้ภิกษุจำนวนหนึ่งฉันอาหารมื้อเดียว ภิกษุ เหล่านั้นก็รับไปปฏิบัติอย่างว่าง่าย ไม่ต้องทรงตักเตือนอีก ทรงอุปมาว่าเหมือนสารถีที่ขับรถ ซึ่งเทียมด้วยม้าดี จะให้แล่นไปหรือกลับ ก็ทำได้อย่างปรารถนา หมายความว่า ไม่ต้องลง แซ่ตีม้าครั้งแล้วครั้งเล่า จากนั้นทรงสอนให้ละอกุศลธรรม หมั่นประพฤติแต่กุศลธรรม ก็จะเจริญงอกงามไพบูลย์ในพระศาสนานี้ เหมือนป่าสาละอันกว้างใหญ่ ใกล้หมู่บ้านหรือ นิคมที่มีต้นละหุ่งขึ้นรก ถ้ามีคนหวังดี หวังประโยชน์ คอยบำรุงตักแต่ง ป่านั้นก็จะเจริญ งอกงาม33 ตรัสเล่าเรื่องนางเวเทหิกาว่าเป็นแม่เรือนที่ได้รับยกย่องว่าเป็นคนเรียบร้อย เจียมตัว ใจเย็น ไม่โกรธ ต่อมา หญิงรับใช้กาลีแกล้งทำให้นางโกรธเพื่อทดสอบว่า นางเป็น คนดีจริงตามคำเล่าลือหรือไม่ ปรากฏว่าไม่ดีจริง นางกาลีจึงถูกตีถูกด่าอย่างโหดร้ายทารุณ ทรงสรุปว่า จะรู้ว่าภิกษุใดสงบเยี่ยมหรือไม่ ก็ต่อเมื่อมีถ้อยคำไม่น่าพอใจมากระทบ ตรัส ต่อไปว่า ภิกษุที่เป็นคนว่าง่าย เพราะเห็นแก่ปัจจัย 4 พอไม่ได้ปัจจัย 4 ก็ไม่เป็นคนว่าง่าย ภิกษุเช่นนั้นไม่ทรงถือว่า เป็นคนว่าง่าย แล้วทรงสอนให้เคารพนับถือธรรม ผู้เคารพนับถือ ธรรมเท่านั้นที่เรียกว่า ผู้ว่าง่าย34 ทรงแนะนำให้รู้จักวิธีระงับความโกรธตามขั้นตอนดังนี้ 1. ให้รู้จักถ้อยคำที่ใช้กันซึ่งมีอยู่ 5 ประการ คือ (1) ถูกกาละ หรือไม่ถูกกาละ (2) จริงหรือไม่จริง (3) อ่อนหวานหรือหยาบคาย (4) ประกอบด้วยประโยชน์ หรือไม่ ประกอบด้วยประโยชน์ (5) พูดด้วยเมตตาจิต หรือพูดด้วยโทสจิต วิธีระงับความโกรธต่อ 33ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/225/234. 34ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/226/237.


154 150 ที่มา: สรุปจากพระไตรปิฎก (ม.ม. (แปล) 13/201/240) สู่การสอนตามสถานการณ์ใน ปัจจุบันได้เป็นอย่างดีโดยสังเคราะห์ของผู้เขียน (2564) 4.4 พุทธนวัตกรรมการสอนโดยเอาใจใส่ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ขอยกกรณีตัวอย่างพุทธนวัตกรรมการสอนโดยเอาใจใส่ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ดังนี้ กรณีกกจูปมสูตร ว่าด้วยเรื่อง อุปมาด้วยเลื่อย พระสูตรนี้ พระผู้มีพระภาคทรง แสดงแก่ภิกษุทั้งหลาย ขณะประทับอยู่ ณ พระเชตวัน อารามของอนาถบิณฑิกเศรษฐี เขตกรุงสาวัตถี โดยทรงปรารภความประพฤติของพระโมลิยผัคคุนะ ทรงยกกรณีพระโมลิย ผัคคุนะเป็นเหตุตรัสสอนภิกษุทั้งหลายดังต่อไปนี้ ทรงเล่าว่า ครั้งหนึ่งทรงแนะนำให้ภิกษุจำนวนหนึ่งฉันอาหารมื้อเดียว ภิกษุ เหล่านั้นก็รับไปปฏิบัติอย่างว่าง่าย ไม่ต้องทรงตักเตือนอีก ทรงอุปมาว่าเหมือนสารถีที่ขับรถ ซึ่งเทียมด้วยม้าดี จะให้แล่นไปหรือกลับ ก็ทำได้อย่างปรารถนา หมายความว่า ไม่ต้องลง แซ่ตีม้าครั้งแล้วครั้งเล่า จากนั้นทรงสอนให้ละอกุศลธรรม หมั่นประพฤติแต่กุศลธรรม ก็จะเจริญงอกงามไพบูลย์ในพระศาสนานี้ เหมือนป่าสาละอันกว้างใหญ่ ใกล้หมู่บ้านหรือ นิคมที่มีต้นละหุ่งขึ้นรก ถ้ามีคนหวังดี หวังประโยชน์ คอยบำรุงตักแต่ง ป่านั้นก็จะเจริญ งอกงาม33 ตรัสเล่าเรื่องนางเวเทหิกาว่าเป็นแม่เรือนที่ได้รับยกย่องว่าเป็นคนเรียบร้อย เจียมตัว ใจเย็น ไม่โกรธ ต่อมา หญิงรับใช้กาลีแกล้งทำให้นางโกรธเพื่อทดสอบว่า นางเป็น คนดีจริงตามคำเล่าลือหรือไม่ ปรากฏว่าไม่ดีจริง นางกาลีจึงถูกตีถูกด่าอย่างโหดร้ายทารุณ ทรงสรุปว่า จะรู้ว่าภิกษุใดสงบเยี่ยมหรือไม่ ก็ต่อเมื่อมีถ้อยคำไม่น่าพอใจมากระทบ ตรัส ต่อไปว่า ภิกษุที่เป็นคนว่าง่าย เพราะเห็นแก่ปัจจัย 4 พอไม่ได้ปัจจัย 4 ก็ไม่เป็นคนว่าง่าย ภิกษุเช่นนั้นไม่ทรงถือว่า เป็นคนว่าง่าย แล้วทรงสอนให้เคารพนับถือธรรม ผู้เคารพนับถือ ธรรมเท่านั้นที่เรียกว่า ผู้ว่าง่าย34 ทรงแนะนำให้รู้จักวิธีระงับความโกรธตามขั้นตอนดังนี้ 1. ให้รู้จักถ้อยคำที่ใช้กันซึ่งมีอยู่ 5 ประการ คือ (1) ถูกกาละ หรือไม่ถูกกาละ (2) จริงหรือไม่จริง (3) อ่อนหวานหรือหยาบคาย (4) ประกอบด้วยประโยชน์ หรือไม่ ประกอบด้วยประโยชน์ (5) พูดด้วยเมตตาจิต หรือพูดด้วยโทสจิต วิธีระงับความโกรธต่อ 33ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/225/234. 34ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/226/237. 150 ที่มา: สรุปจากพระไตรปิฎก (ม.ม. (แปล) 13/201/240) สู่การสอนตามสถานการณ์ใน ปัจจุบันได้เป็นอย่างดีโดยสังเคราะห์ของผู้เขียน (2564) 4.4 พุทธนวัตกรรมการสอนโดยเอาใจใส่ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ขอยกกรณีตัวอย่างพุทธนวัตกรรมการสอนโดยเอาใจใส่ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ดังนี้ กรณีกกจูปมสูตร ว่าด้วยเรื่อง อุปมาด้วยเลื่อย พระสูตรนี้ พระผู้มีพระภาคทรง แสดงแก่ภิกษุทั้งหลาย ขณะประทับอยู่ ณ พระเชตวัน อารามของอนาถบิณฑิกเศรษฐี เขตกรุงสาวัตถี โดยทรงปรารภความประพฤติของพระโมลิยผัคคุนะ ทรงยกกรณีพระโมลิย ผัคคุนะเป็นเหตุตรัสสอนภิกษุทั้งหลายดังต่อไปนี้ ทรงเล่าว่า ครั้งหนึ่งทรงแนะนำให้ภิกษุจำนวนหนึ่งฉันอาหารมื้อเดียว ภิกษุ เหล่านั้นก็รับไปปฏิบัติอย่างว่าง่าย ไม่ต้องทรงตักเตือนอีก ทรงอุปมาว่าเหมือนสารถีที่ขับรถ ซึ่งเทียมด้วยม้าดี จะให้แล่นไปหรือกลับ ก็ทำได้อย่างปรารถนา หมายความว่า ไม่ต้องลง แซ่ตีม้าครั้งแล้วครั้งเล่า จากนั้นทรงสอนให้ละอกุศลธรรม หมั่นประพฤติแต่กุศลธรรม ก็จะเจริญงอกงามไพบูลย์ในพระศาสนานี้ เหมือนป่าสาละอันกว้างใหญ่ ใกล้หมู่บ้านหรือ นิคมที่มีต้นละหุ่งขึ้นรก ถ้ามีคนหวังดี หวังประโยชน์ คอยบำรุงตักแต่ง ป่านั้นก็จะเจริญ งอกงาม33 ตรัสเล่าเรื่องนางเวเทหิกาว่าเป็นแม่เรือนที่ได้รับยกย่องว่าเป็นคนเรียบร้อย เจียมตัว ใจเย็น ไม่โกรธ ต่อมา หญิงรับใช้กาลีแกล้งทำให้นางโกรธเพื่อทดสอบว่า นางเป็น คนดีจริงตามคำเล่าลือหรือไม่ ปรากฏว่าไม่ดีจริง นางกาลีจึงถูกตีถูกด่าอย่างโหดร้ายทารุณ ทรงสรุปว่า จะรู้ว่าภิกษุใดสงบเยี่ยมหรือไม่ ก็ต่อเมื่อมีถ้อยคำไม่น่าพอใจมากระทบ ตรัส ต่อไปว่า ภิกษุที่เป็นคนว่าง่าย เพราะเห็นแก่ปัจจัย 4 พอไม่ได้ปัจจัย 4 ก็ไม่เป็นคนว่าง่าย ภิกษุเช่นนั้นไม่ทรงถือว่า เป็นคนว่าง่าย แล้วทรงสอนให้เคารพนับถือธรรม ผู้เคารพนับถือ ธรรมเท่านั้นที่เรียกว่า ผู้ว่าง่าย34 ทรงแนะนำให้รู้จักวิธีระงับความโกรธตามขั้นตอนดังนี้ 1. ให้รู้จักถ้อยคำที่ใช้กันซึ่งมีอยู่ 5 ประการ คือ (1) ถูกกาละ หรือไม่ถูกกาละ (2) จริงหรือไม่จริง (3) อ่อนหวานหรือหยาบคาย (4) ประกอบด้วยประโยชน์ หรือไม่ ประกอบด้วยประโยชน์ (5) พูดด้วยเมตตาจิต หรือพูดด้วยโทสจิต วิธีระงับความโกรธต่อ 33ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/225/234. 34ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/226/237. 151 ถ้อยคำ คือ ขณะได้ฟังธรรมของผู้อื่นให้ควบคุมจิตตามพระโอวาทข้างต้น35 ในการควบคุม จิตตามโอวาทข้างต้นให้ปฏิบัติตามอุปมาต่อไปนี้ 1.1 ทำจิตให้หนักแน่นเหมือนแผ่นดิน 1.2 ทำจิตให้ว่างเหมือนอากาศ 1.3 ทำจิตให้เย็นเหมือนน้ำ 1.4 ทำจิตให้อ่อนโยนเหมือนกระสอบหนังแมว 2. ทรงเน้นว่า ถ้าโจรใจทรามใช้เลื่อยที่มีคมทั้ง 2 ข้าง ตัดอวัยวะน้อยใหญ่ ผู้ใด โกรธคิดร้ายต่อโจร ผู้นั้นไม่ได้ชื่อว่า ทำตามพระโอวาทข้างต้น เพราะยังอดกลั้นไม่ได้ แล้ว ตรัสสอนให้ภิกษุทั้งหลายสำเหนียกตามโอวาทที่มีอุปมาด้วยเลื่อยนี้อยู่เสมอ36 พระพุทธองค์ทรงสอนอุบายระงับความโกรธ โดยยกตัวอย่างไว้ 4 ประการ ดังได้ กล่าวแล้ว ตัวอย่างการทำให้หนักแน่นเหมือนแผ่นดินว่า “เราจักทำแผ่นดินใหญ่นี้ไม่ให้เป็น แผ่นดิน” ด้วยการขุดลงตรงนั้น โกยเศษดินทิ้งลงในที่นั้น บ้วนน้ำ ถ่ายปัสสาวะลดลงในที่ นั้น ๆ แม้พูดว่า เอ็งอย่าเป็นแผ่นดิน... ได้หรือไม่ ภิกษุทั้งหลายตอบว่าไม่ได้พระพุทธเจ้าข้า ...เธอทั้งหลายควรสำเหนียกอย่างนี้ว่า จิตของเราจักไม่แปรผัน เราจักไม่เปล่งวาจาชั่วหยาบ และจักอนุเคราะห์ด้วยสิ่งอันเป็นประโยชน์ อยู่อย่างผู้มีเมตตาจิต ไม่มีโทสะ...37 สรุปคำสอนในพระสูตรนี้โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสอนคนหัวดื้อสอนยากไม่ปฏิบัติ ตามพระวินัย จึงยกกรณีพระโมลิยผัคคุนะและเรื่องนางเวเทหิกา ประกอบการสอนภิกษุ ทั้งหลาย จากพระสูตรนี้สามารถนำไปประยุกต์การสอนผู้เรียนที่มีลักษณะเป็นคนดื้อดัง ภาพที่ปรากฏดังนี้ 35ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/227/239. 36ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/233/244. 37ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/228/240. กรณีภิกษุประพฤติผิด • ดื้อสอนไม่ฟัง • เป็นรายบุคคล เชิญเข้าเฝ้า • ถามข้อเท็จจริง อธิบายวิธี ระงับความ โกรธ • 3ขั้นในการคิดและปฏิบัติ • ได้แนวทางปฏิบัติที่ถูกต้อง • อดกลั้น ขนาดถูกเลื่อยอวัยวะ 151 ถ้อยคำ คือ ขณะได้ฟังธรรมของผู้อื่นให้ควบคุมจิตตามพระโอวาทข้างต้น35 ในการควบคุม จิตตามโอวาทข้างต้นให้ปฏิบัติตามอุปมาต่อไปนี้ 1.1 ทำจิตให้หนักแน่นเหมือนแผ่นดิน 1.2 ทำจิตให้ว่างเหมือนอากาศ 1.3 ทำจิตให้เย็นเหมือนน้ำ 1.4 ทำจิตให้อ่อนโยนเหมือนกระสอบหนังแมว 2. ทรงเน้นว่า ถ้าโจรใจทรามใช้เลื่อยที่มีคมทั้ง 2 ข้าง ตัดอวัยวะน้อยใหญ่ ผู้ใด โกรธคิดร้ายต่อโจร ผู้นั้นไม่ได้ชื่อว่า ทำตามพระโอวาทข้างต้น เพราะยังอดกลั้นไม่ได้ แล้ว ตรัสสอนให้ภิกษุทั้งหลายสำเหนียกตามโอวาทที่มีอุปมาด้วยเลื่อยนี้อยู่เสมอ36 พระพุทธองค์ทรงสอนอุบายระงับความโกรธ โดยยกตัวอย่างไว้ 4 ประการ ดังได้ กล่าวแล้ว ตัวอย่างการทำให้หนักแน่นเหมือนแผ่นดินว่า “เราจักทำแผ่นดินใหญ่นี้ไม่ให้เป็น แผ่นดิน” ด้วยการขุดลงตรงนั้น โกยเศษดินทิ้งลงในที่นั้น บ้วนน้ำ ถ่ายปัสสาวะลดลงในที่ นั้น ๆ แม้พูดว่า เอ็งอย่าเป็นแผ่นดิน... ได้หรือไม่ ภิกษุทั้งหลายตอบว่าไม่ได้พระพุทธเจ้าข้า ...เธอทั้งหลายควรสำเหนียกอย่างนี้ว่า จิตของเราจักไม่แปรผัน เราจักไม่เปล่งวาจาชั่วหยาบ และจักอนุเคราะห์ด้วยสิ่งอันเป็นประโยชน์ อยู่อย่างผู้มีเมตตาจิต ไม่มีโทสะ...37 สรุปคำสอนในพระสูตรนี้โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสอนคนหัวดื้อสอนยากไม่ปฏิบัติ ตามพระวินัย จึงยกกรณีพระโมลิยผัคคุนะและเรื่องนางเวเทหิกา ประกอบการสอนภิกษุ ทั้งหลาย จากพระสูตรนี้สามารถนำไปประยุกต์การสอนผู้เรียนที่มีลักษณะเป็นคนดื้อดัง ภาพที่ปรากฏดังนี้ 35ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/227/239. 36ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/233/244. 37ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/228/240. กรณีภิกษุประพฤติผิด • ดื้อสอนไม่ฟัง • เป็นรายบุคคล เชิญเข้าเฝ้า • ถามข้อเท็จจริง อธิบายวิธี ระงับความ โกรธ • 3ขั้นในการคิดและปฏิบัติ • ได้แนวทางปฏิบัติที่ถูกต้อง • อดกลั้น ขนาดถูกเลื่อยอวัยวะ


155 151 ถ้อยคำ คือ ขณะได้ฟังธรรมของผู้อื่นให้ควบคุมจิตตามพระโอวาทข้างต้น35 ในการควบคุม จิตตามโอวาทข้างต้นให้ปฏิบัติตามอุปมาต่อไปนี้ 1.1 ทำจิตให้หนักแน่นเหมือนแผ่นดิน 1.2 ทำจิตให้ว่างเหมือนอากาศ 1.3 ทำจิตให้เย็นเหมือนน้ำ 1.4 ทำจิตให้อ่อนโยนเหมือนกระสอบหนังแมว 2. ทรงเน้นว่า ถ้าโจรใจทรามใช้เลื่อยที่มีคมทั้ง 2 ข้าง ตัดอวัยวะน้อยใหญ่ ผู้ใด โกรธคิดร้ายต่อโจร ผู้นั้นไม่ได้ชื่อว่า ทำตามพระโอวาทข้างต้น เพราะยังอดกลั้นไม่ได้ แล้ว ตรัสสอนให้ภิกษุทั้งหลายสำเหนียกตามโอวาทที่มีอุปมาด้วยเลื่อยนี้อยู่เสมอ36 พระพุทธองค์ทรงสอนอุบายระงับความโกรธ โดยยกตัวอย่างไว้ 4 ประการ ดังได้ กล่าวแล้ว ตัวอย่างการทำให้หนักแน่นเหมือนแผ่นดินว่า “เราจักทำแผ่นดินใหญ่นี้ไม่ให้เป็น แผ่นดิน” ด้วยการขุดลงตรงนั้น โกยเศษดินทิ้งลงในที่นั้น บ้วนน้ำ ถ่ายปัสสาวะลดลงในที่ นั้น ๆ แม้พูดว่า เอ็งอย่าเป็นแผ่นดิน... ได้หรือไม่ ภิกษุทั้งหลายตอบว่าไม่ได้พระพุทธเจ้าข้า ...เธอทั้งหลายควรสำเหนียกอย่างนี้ว่า จิตของเราจักไม่แปรผัน เราจักไม่เปล่งวาจาชั่วหยาบ และจักอนุเคราะห์ด้วยสิ่งอันเป็นประโยชน์ อยู่อย่างผู้มีเมตตาจิต ไม่มีโทสะ...37 สรุปคำสอนในพระสูตรนี้โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสอนคนหัวดื้อสอนยากไม่ปฏิบัติ ตามพระวินัย จึงยกกรณีพระโมลิยผัคคุนะและเรื่องนางเวเทหิกา ประกอบการสอนภิกษุ ทั้งหลาย จากพระสูตรนี้สามารถนำไปประยุกต์การสอนผู้เรียนที่มีลักษณะเป็นคนดื้อดัง ภาพที่ปรากฏดังนี้ 35ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/227/239. 36ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/233/244. 37ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/228/240. กรณีภิกษุประพฤติผิด • ดื้อสอนไม่ฟัง • เป็นรายบุคคล เชิญเข้าเฝ้า • ถามข้อเท็จจริง อธิบายวิธี ระงับความ โกรธ • 3ขั้นในการคิดและปฏิบัติ • ได้แนวทางปฏิบัติที่ถูกต้อง • อดกลั้น ขนาดถูกเลื่อยอวัยวะ 151 ถ้อยคำ คือ ขณะได้ฟังธรรมของผู้อื่นให้ควบคุมจิตตามพระโอวาทข้างต้น35 ในการควบคุม จิตตามโอวาทข้างต้นให้ปฏิบัติตามอุปมาต่อไปนี้ 1.1 ทำจิตให้หนักแน่นเหมือนแผ่นดิน 1.2 ทำจิตให้ว่างเหมือนอากาศ 1.3 ทำจิตให้เย็นเหมือนน้ำ 1.4 ทำจิตให้อ่อนโยนเหมือนกระสอบหนังแมว 2. ทรงเน้นว่า ถ้าโจรใจทรามใช้เลื่อยที่มีคมทั้ง 2 ข้าง ตัดอวัยวะน้อยใหญ่ ผู้ใด โกรธคิดร้ายต่อโจร ผู้นั้นไม่ได้ชื่อว่า ทำตามพระโอวาทข้างต้น เพราะยังอดกลั้นไม่ได้ แล้ว ตรัสสอนให้ภิกษุทั้งหลายสำเหนียกตามโอวาทที่มีอุปมาด้วยเลื่อยนี้อยู่เสมอ36 พระพุทธองค์ทรงสอนอุบายระงับความโกรธ โดยยกตัวอย่างไว้ 4 ประการ ดังได้ กล่าวแล้ว ตัวอย่างการทำให้หนักแน่นเหมือนแผ่นดินว่า “เราจักทำแผ่นดินใหญ่นี้ไม่ให้เป็น แผ่นดิน” ด้วยการขุดลงตรงนั้น โกยเศษดินทิ้งลงในที่นั้น บ้วนน้ำ ถ่ายปัสสาวะลดลงในที่ นั้น ๆ แม้พูดว่า เอ็งอย่าเป็นแผ่นดิน... ได้หรือไม่ ภิกษุทั้งหลายตอบว่าไม่ได้พระพุทธเจ้าข้า ...เธอทั้งหลายควรสำเหนียกอย่างนี้ว่า จิตของเราจักไม่แปรผัน เราจักไม่เปล่งวาจาชั่วหยาบ และจักอนุเคราะห์ด้วยสิ่งอันเป็นประโยชน์ อยู่อย่างผู้มีเมตตาจิต ไม่มีโทสะ...37 สรุปคำสอนในพระสูตรนี้โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสอนคนหัวดื้อสอนยากไม่ปฏิบัติ ตามพระวินัย จึงยกกรณีพระโมลิยผัคคุนะและเรื่องนางเวเทหิกา ประกอบการสอนภิกษุ ทั้งหลาย จากพระสูตรนี้สามารถนำไปประยุกต์การสอนผู้เรียนที่มีลักษณะเป็นคนดื้อดัง ภาพที่ปรากฏดังนี้ 35ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/227/239. 36ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/233/244. 37ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/228/240. กรณีภิกษุประพฤติผิด • ดื้อสอนไม่ฟัง • เป็นรายบุคคล เชิญเข้าเฝ้า • ถามข้อเท็จจริง อธิบายวิธี ระงับความ โกรธ • 3ขั้นในการคิดและปฏิบัติ • ได้แนวทางปฏิบัติที่ถูกต้อง • อดกลั้น ขนาดถูกเลื่อยอวัยวะ 151 ถ้อยคำ คือ ขณะได้ฟังธรรมของผู้อื่นให้ควบคุมจิตตามพระโอวาทข้างต้น35 ในการควบคุม จิตตามโอวาทข้างต้นให้ปฏิบัติตามอุปมาต่อไปนี้ 1.1 ทำจิตให้หนักแน่นเหมือนแผ่นดิน 1.2 ทำจิตให้ว่างเหมือนอากาศ 1.3 ทำจิตให้เย็นเหมือนน้ำ 1.4 ทำจิตให้อ่อนโยนเหมือนกระสอบหนังแมว 2. ทรงเน้นว่า ถ้าโจรใจทรามใช้เลื่อยที่มีคมทั้ง 2 ข้าง ตัดอวัยวะน้อยใหญ่ ผู้ใด โกรธคิดร้ายต่อโจร ผู้นั้นไม่ได้ชื่อว่า ทำตามพระโอวาทข้างต้น เพราะยังอดกลั้นไม่ได้ แล้ว ตรัสสอนให้ภิกษุทั้งหลายสำเหนียกตามโอวาทที่มีอุปมาด้วยเลื่อยนี้อยู่เสมอ36 พระพุทธองค์ทรงสอนอุบายระงับความโกรธ โดยยกตัวอย่างไว้ 4 ประการ ดังได้ กล่าวแล้ว ตัวอย่างการทำให้หนักแน่นเหมือนแผ่นดินว่า “เราจักทำแผ่นดินใหญ่นี้ไม่ให้เป็น แผ่นดิน” ด้วยการขุดลงตรงนั้น โกยเศษดินทิ้งลงในที่นั้น บ้วนน้ำ ถ่ายปัสสาวะลดลงในที่ นั้น ๆ แม้พูดว่า เอ็งอย่าเป็นแผ่นดิน... ได้หรือไม่ ภิกษุทั้งหลายตอบว่าไม่ได้พระพุทธเจ้าข้า ...เธอทั้งหลายควรสำเหนียกอย่างนี้ว่า จิตของเราจักไม่แปรผัน เราจักไม่เปล่งวาจาชั่วหยาบ และจักอนุเคราะห์ด้วยสิ่งอันเป็นประโยชน์ อยู่อย่างผู้มีเมตตาจิต ไม่มีโทสะ...37 สรุปคำสอนในพระสูตรนี้โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสอนคนหัวดื้อสอนยากไม่ปฏิบัติ ตามพระวินัย จึงยกกรณีพระโมลิยผัคคุนะและเรื่องนางเวเทหิกา ประกอบการสอนภิกษุ ทั้งหลาย จากพระสูตรนี้สามารถนำไปประยุกต์การสอนผู้เรียนที่มีลักษณะเป็นคนดื้อดัง ภาพที่ปรากฏดังนี้ 35ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/227/239. 36ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/233/244. 37ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/228/240. กรณีภิกษุประพฤติผิด • ดื้อสอนไม่ฟัง • เป็นรายบุคคล เชิญเข้าเฝ้า • ถามข้อเท็จจริง อธิบายวิธี ระงับความ โกรธ • 3ขั้นในการคิดและปฏิบัติ • ได้แนวทางปฏิบัติที่ถูกต้อง 152 • อดกลั้น ขนาดถูกเลื่อยอวัยวะ ภาพที่ 4.15 ประยุกต์พุทธนวัตกรรมการสอนวิธีการแก้ไขปัญหาพระโมลิยผัคคุนะหัวดื้อ พฤติผิดพระวินัยเป็นประจำ ชอบโกรธ จึงสอนวิธีระงับความโกรธ ยกตัวอย่างประกอบการ อธิบายจนได้แนวทางปฏิบัติที่ถูกต้อง สอนจากง่ายไปหายากและลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง ที่มา: สรุปจากพระไตรปิฎก(ม.ม. (แปล) 12/228/240) สู่การสอนในการปฏิบัติให้ สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบันของผู้เรียนโดยสังเคราะห์ของผู้เขียน (2564) สรุปการประยุกต์การจัดการเรียนการสอนแบบอริยสัจ 4 โดย สาโรช บัวศรี (2526) อ้างใน สิริวรรณ ศรีพหล (2558 หน้า 221-222)38ได้ดังนี้ 1.ขั้นกำหนดปัญหา (ผลที่เกิดขึ้นเรียกว่า ทุกข์) 2. ขั้นตั้งสมมติฐาน (สาเหตุที่ทำให้เกิดทุกข์หรือปัญหา) 3.ขั้นตอนการทอลองและเก็บข้อมูล(การค้นพบทางพ้นทุกข์ คือ นิโรธ) 4.ขั้นขั้นวิเคราะห์ข้อมูลและสรุปผล (ได้แนวทางปฏิบัติที่ถูกต้องตามความเป็นจริง เรียกว่า มรรค) จากหลักการทั้งทั้ง4 ข้อ สามารถนำไปประยุกต์ในการเรียนการสอนได้ทุก ระดับชั้นและทันสมัยและสอดคล้องกับพุทธศตวรรษ26 ซึ่งก็อยู่ช่วงศตวรรษที่ที่21 ที่เน้น ทักษะสมรรถนะการเรียนรู้ตลอดชีวิตโดยเฉพาะอย่างยิ่งในการเรีนการสอนแบบ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในปัจจุบันผู้เรียนต้องรู้จักคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์นำข้อมูลไป ประยุกต์ใช้พัฒนานวัตกรรมเพื่อมูลค้าทางเศรษฐกิจและสังคมต่อไป กรณีเรื่องเวทนาหลายประเภท พระสูตรนี้ พระผู้มีพระภาคทรงแสดงแก่พระ อานนท์ ขณะประทับอยู่ ณ พระ เชตวัน อารามของอนาถบิณฑิกเศรษฐี เขตกรุงสาวัตถี โดยทรงปรารภการสนทนาธรรมเรื่องเวทนาระหว่างท่านพระอุทายีกับช่างไม้ชื่อปัญจกังคะ ที่ท่านพระอานนท์นำเข้าไปทูลถาม เหตุเกิดของพระสูตรนี้จัดอยู่ในประเภท ปุจฉาวสิกะ ช่างไม้ชื่อปัญจกังคะกับท่านพระอุทายีสนทนากันเรื่องเวทนามีเท่าไร โดยช่างไม้ เห็นว่ามี 2 ประการ คือ (1) สุขเวทนา (2) ทุกขเวทนา ส่วนท่านพระอุทายีเห็นว่ามี 3 ประการคือ (1) สุขเวทนา (2) ทุกขเวทนา (3) อทุกขมสุขเวทนา จึงตกลงกันไม่ได้ ท่าน พระอานนท์ได้ยินเรื่องนั้นจึงนำเข้าไปทูลถามพระผู้มีพระภาค พระองค์ตรัสว่า ทรงแสดง เวทนาได้หลายประการ ขึ้นอยู่กับเหตุ คือ เวทนา 2 เวทนา 3 เวทนา 5 เวทนา 6 เวทนา 38 สิริวรรณ ศรีพหล,การจัดการเรียนการสอนวิชาพระพุทธศาสนาในสถานศึกษา,สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ,นนทบุรี ,2558 หน้า 221-222)


156 152 ภาพที่ 4.15 ประยุกต์พุทธนวัตกรรมการสอนวิธีการแก้ไขปัญหาพระโมลิยผัคคุนะหัวดื้อ พฤติผิดพระวินัยเป็นประจำ ชอบโกรธ จึงสอนวิธีระงับความโกรธ ยกตัวอย่างประกอบการ อธิบายจนได้แนวทางปฏิบัติที่ถูกต้อง สอนจากง่ายไปหายากและลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง ที่มา: สรุปจากพระไตรปิฎก(ม.ม. (แปล) 12/228/240) สู่การสอนในการปฏิบัติให้ สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบันของผู้เรียนโดยสังเคราะห์ของผู้เขียน (2564) สรุปการประยุกต์การจัดการเรียนการสอนแบบอริยสัจ 4 โดย สาโรช บัวศรี (2526) อ้างใน สิริวรรณ ศรีพหล (2558 หน้า 221-222)38ได้ดังนี้ 1.ขั้นกำหนดปัญหา (ผลที่เกิดขึ้นเรียกว่า ทุกข์) 2. ขั้นตั้งสมมติฐาน (สาเหตุที่ทำให้เกิดทุกข์หรือปัญหา) 3.ขั้นตอนการทอลองและเก็บข้อมูล(การค้นพบทางพ้นทุกข์ คือ นิโรธ) 4.ขั้นขั้นวิเคราะห์ข้อมูลและสรุปผล (ได้แนวทางปฏิบัติที่ถูกต้องตามความเป็นจริง เรียกว่า มรรค) จากหลักการทั้งทั้ง4 ข้อ สามารถนำไปประยุกต์ในการเรียนการสอนได้ทุก ระดับชั้นและทันสมัยและสอดคล้องกับพุทธศตวรรษ26 ซึ่งก็อยู่ช่วงศตวรรษที่ที่21 ที่เน้น ทักษะสมรรถนะการเรียนรู้ตลอดชีวิตโดยเฉพาะอย่างยิ่งในการเรีนการสอนแบบ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในปัจจุบันผู้เรียนต้องรู้จักคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์นำข้อมูลไป ประยุกต์ใช้พัฒนานวัตกรรมเพื่อมูลค้าทางเศรษฐกิจและสังคมต่อไป กรณีเรื่องเวทนาหลายประเภท พระสูตรนี้ พระผู้มีพระภาคทรงแสดงแก่พระ อานนท์ ขณะประทับอยู่ ณ พระ เชตวัน อารามของอนาถบิณฑิกเศรษฐี เขตกรุงสาวัตถี โดยทรงปรารภการสนทนาธรรมเรื่องเวทนาระหว่างท่านพระอุทายีกับช่างไม้ชื่อปัญจกังคะ ที่ท่านพระอานนท์นำเข้าไปทูลถาม เหตุเกิดของพระสูตรนี้จัดอยู่ในประเภท ปุจฉาวสิกะ ช่างไม้ชื่อปัญจกังคะกับท่านพระอุทายีสนทนากันเรื่องเวทนามีเท่าไร โดยช่างไม้ เห็นว่ามี 2 ประการ คือ (1) สุขเวทนา (2) ทุกขเวทนา ส่วนท่านพระอุทายีเห็นว่ามี 3 ประการคือ (1) สุขเวทนา (2) ทุกขเวทนา (3) อทุกขมสุขเวทนา จึงตกลงกันไม่ได้ ท่าน พระอานนท์ได้ยินเรื่องนั้นจึงนำเข้าไปทูลถามพระผู้มีพระภาค พระองค์ตรัสว่า ทรงแสดง เวทนาได้หลายประการ ขึ้นอยู่กับเหตุ คือ เวทนา 2 เวทนา 3 เวทนา 5 เวทนา 6 เวทนา 38 สิริวรรณ ศรีพหล,การจัดการเรียนการสอนวิชาพระพุทธศาสนาในสถานศึกษา,สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ,นนทบุรี ,2558 หน้า 221-222) 152 ภาพที่ 4.15 ประยุกต์พุทธนวัตกรรมการสอนวิธีการแก้ไขปัญหาพระโมลิยผัคคุนะหัวดื้อ พฤติผิดพระวินัยเป็นประจำ ชอบโกรธ จึงสอนวิธีระงับความโกรธ ยกตัวอย่างประกอบการ อธิบายจนได้แนวทางปฏิบัติที่ถูกต้อง สอนจากง่ายไปหายากและลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง ที่มา: สรุปจากพระไตรปิฎก(ม.ม. (แปล) 12/228/240) สู่การสอนในการปฏิบัติให้ สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบันของผู้เรียนโดยสังเคราะห์ของผู้เขียน (2564) สรุปการประยุกต์การจัดการเรียนการสอนแบบอริยสัจ 4 โดย สาโรช บัวศรี (2526) อ้างใน สิริวรรณ ศรีพหล (2558 หน้า 221-222)38ได้ดังนี้ 1.ขั้นกำหนดปัญหา (ผลที่เกิดขึ้นเรียกว่า ทุกข์) 2. ขั้นตั้งสมมติฐาน (สาเหตุที่ทำให้เกิดทุกข์หรือปัญหา) 3.ขั้นตอนการทอลองและเก็บข้อมูล(การค้นพบทางพ้นทุกข์ คือ นิโรธ) 4.ขั้นขั้นวิเคราะห์ข้อมูลและสรุปผล (ได้แนวทางปฏิบัติที่ถูกต้องตามความเป็นจริง เรียกว่า มรรค) จากหลักการทั้งทั้ง4 ข้อ สามารถนำไปประยุกต์ในการเรียนการสอนได้ทุก ระดับชั้นและทันสมัยและสอดคล้องกับพุทธศตวรรษ26 ซึ่งก็อยู่ช่วงศตวรรษที่ที่21 ที่เน้น ทักษะสมรรถนะการเรียนรู้ตลอดชีวิตโดยเฉพาะอย่างยิ่งในการเรีนการสอนแบบ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในปัจจุบันผู้เรียนต้องรู้จักคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์นำข้อมูลไป ประยุกต์ใช้พัฒนานวัตกรรมเพื่อมูลค้าทางเศรษฐกิจและสังคมต่อไป กรณีเรื่องเวทนาหลายประเภท พระสูตรนี้ พระผู้มีพระภาคทรงแสดงแก่พระ อานนท์ ขณะประทับอยู่ ณ พระ เชตวัน อารามของอนาถบิณฑิกเศรษฐี เขตกรุงสาวัตถี โดยทรงปรารภการสนทนาธรรมเรื่องเวทนาระหว่างท่านพระอุทายีกับช่างไม้ชื่อปัญจกังคะ ที่ท่านพระอานนท์นำเข้าไปทูลถาม เหตุเกิดของพระสูตรนี้จัดอยู่ในประเภท ปุจฉาวสิกะ ช่างไม้ชื่อปัญจกังคะกับท่านพระอุทายีสนทนากันเรื่องเวทนามีเท่าไร โดยช่างไม้ เห็นว่ามี 2 ประการ คือ (1) สุขเวทนา (2) ทุกขเวทนา ส่วนท่านพระอุทายีเห็นว่ามี 3 ประการคือ (1) สุขเวทนา (2) ทุกขเวทนา (3) อทุกขมสุขเวทนา จึงตกลงกันไม่ได้ ท่าน พระอานนท์ได้ยินเรื่องนั้นจึงนำเข้าไปทูลถามพระผู้มีพระภาค พระองค์ตรัสว่า ทรงแสดง เวทนาได้หลายประการ ขึ้นอยู่กับเหตุ คือ เวทนา 2 เวทนา 3 เวทนา 5 เวทนา 6 เวทนา 38 สิริวรรณ ศรีพหล,การจัดการเรียนการสอนวิชาพระพุทธศาสนาในสถานศึกษา,สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ,นนทบุรี ,2558 หน้า 221-222) 153 18 เวทนา 36 เวทนา 108 แล้วทรงแยกสุขเวทนาออกมาอธิบายเป็นตัวอย่างโดยเริ่มจาก กามสุข 5 สุขที่เกิดจากฌาน 8 และสุขคือสัญญาเวทยิตนิโรธ39 พระสูตรนี้พบว่า พุทธวิธีการสอนสนทนากับพระอานนท์พุทธอุปัฏฐานได้อย่าง ไพเราะ ตัวอย่างคำถามว่า “สุขโสมนัสที่เกิดขึ้นเพราะอาศัยกามคุณ 5 ประการนี้ เราเรียกว่า กามสุข” ชนใดพึงกล่าวอย่างนี้ว่า ชนทั้งหลายย่อมเสวยสุขโสมนัสที่สงบอย่างยิ่งนี้ เราก็ไม่ คล้อยตามคำของชมนั้น ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะยังมีสุขอื่นที่ดีกว่า และประณีตกว่าสุขนี้ สุขอื่นที่ดีกว่าและประณีตกว่าสุขนี้เป็นอย่างไร คือ ภิกษุในธรรมวินัยนี้สงัดจากกามและ อกุศลธรรมทั้งหลายแล้วบรรลุปฐมฌานที่วิตก วิจาร ปีติและสุขอันเกิดจากวิเวกอยู่ จาก คำสอนนี้พบว่า เป็นคำสอนที่สามารถ นำไปปฏิบัติให้เกิดอย่างสุขได้ตั้งแต่ระดับปุถุชน จนถึงพระอริยสงฆ์ สรุปพุทธนวัตกรรมการสอนในพระสูตรนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อทรงตอบคำถามพระ อานนท์ว่า ช่างไม้ชื่อปัญจกังคะกับท่านพระอุทายีสนทนากันเรื่องเวทนามีเท่าไร โดยช่างไม้ เห็นว่ามี 2 ประการ คือ (1) สุขเวทนา (2) ทุกขเวทนา ส่วนท่านพระอุทายีเห็นว่า มี 3 ประการคือ (1) สุขเวทนา (2) ทุกขเวทนา (3) อทุกขมสุขเวทนา จึงตกลงกันไม่ได้ พระผู้มีพระภาค พระองค์ตรัสว่า ทรงแสดงเวทนาได้หลายประการ ขึ้นอยู่กับเหตุ คือ เวทนา 2 เวทนา 3 เวทนา 5 เวทนา 6 เวทนา 18 เวทนา 36 เวทนา 108 แล้วทรงแยกสุข เวทนาออกมาอธิบายเป็นตัวอย่างโดยเริ่มจากามสุข 5 สุขที่เกิดจากฌาน 8 และ สุขคือ สัญญาเวทยิตนิโรธ จากคำสอนนี้พบว่า เป็นคำสอนที่สามารถ นำไปปฏิบัติให้เกิดอย่างสุข ได้ตั้งแต่ระดับปุถุชนจนถึงพระอริยสงฆ์ดังภาพต่อไปนี้ 39ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 13/88-89/90-91 พระพุทธเจ้า พระอานนท์ ยกกรณีปัญจ กังคะกับพระ อุทายี เวทนามี เท่าไร พระพุทธ องค์ทรง อธิบาย ทูลถามข้อสงสัย พระอานนท์ ชื่นชมพอใจ ได้แนวทางปฏิบัติ ทั้งภิกษุและ ฆราวาส 38สิิริิวรรณ ศรีีพหล,การจััดการเรีียนการสอนวิิชาพระพุทุธศาสนาในสถานศึึกษา,สำนัักพิิมพ์์ มหาวิิทยาลััยสุุโขทััยธรรมาธิิราช, นนทบุุรีี, 2558 หน้้า 221-222. 39ดููรายละเอีียดใน ม.ม. (แปล) 13/88-89/90-91


157 153 18 เวทนา 36 เวทนา 108 แล้วทรงแยกสุขเวทนาออกมาอธิบายเป็นตัวอย่างโดยเริ่มจาก กามสุข 5 สุขที่เกิดจากฌาน 8 และสุขคือสัญญาเวทยิตนิโรธ39 พระสูตรนี้พบว่า พุทธวิธีการสอนสนทนากับพระอานนท์พุทธอุปัฏฐานได้อย่าง ไพเราะ ตัวอย่างคำถามว่า “สุขโสมนัสที่เกิดขึ้นเพราะอาศัยกามคุณ 5 ประการนี้ เราเรียกว่า กามสุข” ชนใดพึงกล่าวอย่างนี้ว่า ชนทั้งหลายย่อมเสวยสุขโสมนัสที่สงบอย่างยิ่งนี้ เราก็ไม่ คล้อยตามคำของชมนั้น ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะยังมีสุขอื่นที่ดีกว่า และประณีตกว่าสุขนี้ สุขอื่นที่ดีกว่าและประณีตกว่าสุขนี้เป็นอย่างไร คือ ภิกษุในธรรมวินัยนี้สงัดจากกามและ อกุศลธรรมทั้งหลายแล้วบรรลุปฐมฌานที่วิตก วิจาร ปีติและสุขอันเกิดจากวิเวกอยู่ จาก คำสอนนี้พบว่า เป็นคำสอนที่สามารถ นำไปปฏิบัติให้เกิดอย่างสุขได้ตั้งแต่ระดับปุถุชน จนถึงพระอริยสงฆ์ สรุปพุทธนวัตกรรมการสอนในพระสูตรนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อทรงตอบคำถามพระ อานนท์ว่า ช่างไม้ชื่อปัญจกังคะกับท่านพระอุทายีสนทนากันเรื่องเวทนามีเท่าไร โดยช่างไม้ เห็นว่ามี 2 ประการ คือ (1) สุขเวทนา (2) ทุกขเวทนา ส่วนท่านพระอุทายีเห็นว่า มี 3 ประการคือ (1) สุขเวทนา (2) ทุกขเวทนา (3) อทุกขมสุขเวทนา จึงตกลงกันไม่ได้ พระผู้มีพระภาค พระองค์ตรัสว่า ทรงแสดงเวทนาได้หลายประการ ขึ้นอยู่กับเหตุ คือ เวทนา 2 เวทนา 3 เวทนา 5 เวทนา 6 เวทนา 18 เวทนา 36 เวทนา 108 แล้วทรงแยกสุข เวทนาออกมาอธิบายเป็นตัวอย่างโดยเริ่มจากามสุข 5 สุขที่เกิดจากฌาน 8 และ สุขคือ สัญญาเวทยิตนิโรธ จากคำสอนนี้พบว่า เป็นคำสอนที่สามารถ นำไปปฏิบัติให้เกิดอย่างสุข ได้ตั้งแต่ระดับปุถุชนจนถึงพระอริยสงฆ์ดังภาพต่อไปนี้ 39ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 13/88-89/90-91 พระพุทธเจ้า พระอานนท์ ยกกรณีปัญจ กังคะกับพระ อุทายี เวทนามี เท่าไร พระพุทธ องค์ทรง อธิบาย ทูลถามข้อสงสัย พระอานนท์ ชื่นชมพอใจ ได้แนวทางปฏิบัติ ทั้งภิกษุและ ฆราวาส 154 ภาพที่ 4.16 ประยุกต์พุทธนวัตกรรมการสอนแก่พระอานนท์ทูลถามสู่การปฏิบัติได้ทุก ระดับทั้งแต่ปุถุชนจนถึงพระสงฆ์ ที่มา: สรุปจากพระไตรปิฎก(ม.ม. (แปล) 13/88-89/90-91) สู่การสอนภาคปฏิบัติได้ทุก ระดับผู้เรียนโดยสังเคราะห์ของผู้เขียน (2564) กรณีเรื่องช้าง สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระเชตวัน อารามของ อนาถบิณฑิกเศรษฐี เขตกรุงสาวัตถี ครั้งนั้น ภิกษุนวกะรูปหนึ่งเข้าไปสู่ตระกูลเกิเวลา ภิกษุ ทั้งหลายกล่าวตักเตือนเธอว่า ท่านอย่าเข้าไปสู่ตระกูลเกินเวลาเลย เธอถูกภิกษุทั้งหลาย กล่าวตักเตือน จึงกล่าวอย่างนี้ว่า ภิกษุผู้เป็นพระเถระเหล่านี้จักสำคัญตนว่า ควรเข้าไปสู่ ตระกูล ทำไมเราจักเข้าไปไม่ได้ หลังจากได้เข้าเฝ้าพระผู้มีพระภาคแล้วได้กราบทูลถามปัญหาข้อนี้ พระพุทธองค์ ทรงตรัสว่า “ภิกษุทั้งหลาย เรื่องเคยมีมาแล้ว มีสระใหญ่ที่ชายป่าแห่งหนึ่ง ช้างทั้งหลาย อาศัยสระนั้นอยู่ ช้างเหล่านั้นลงสู่สระนั้นแล้ว ใช้งวงถอนเหง้าและรากบัวขึ้น ล้างให้แล้ว เคี้ยวกินเหง้าและรากบัวที่ไม่มีโคลนตม อย่างเอร็ดอร่อย การกระทำอย่างนั้น ย่อมมี (ประโยชน์) ต่อผิวพรรณและกำลังของช้างเหล่านั้น ช้างเหล่านั้นจึงไม่ถึงความตายหรือทุกข์ ปางตายเพราะการกินนั้น ส่วนลูกช้างเล็ก ๆ ทำตามช้างใหญ่เหล่านั้นเหมือนกัน พวกมันลง สู่สระนั้นแล้ว ใช้งวงถอนเหง้าและรากบัวขึ้น (แต่) ไม่ล้างให้ดี ไม่เคี้ยวให้ละเอียด กลืนทั้ง โคลนตม การกระทำอย่างนั้นย่อมไม่มี(ประโยชน์) ต่อผิวพรรณและกำลังของลูกช้างเหล่านั้น ลูกช้างเหล่านั้นจึงถึงความตายหรือความทุกข์ ปางตาย เพราะการกินนั้น ภิกษุผู้เป็นเถระในธรรมวินัยนี้ก็เหมือนกัน เวลาเช้าครองอันตรวาสกถือบาตร และจีวรเข้าไปบิณฑบาตยังบ้านหรือนิคม กล่าวธรรมในที่นั้น คฤหัสถ์ทั้งหลายผู้เลื่อมใส ทำอาการของผู้เลื่อมใส ทำอาการของผู้เลื่อมใสแก่เธอทั้งหลาย เธอทั้งหลายไม่กำหนัด ไม่ หมกมุ่น ไม่พัวพัน มีปกติเห็นโทษ มีปัญญาเครื่องสลัดออก บริโภคลาภนั้น การกระทำอย่าง นั้นย่อมมี(ประโยชน์) ต่อผิวพรรณและกำลังของภิกษุผู้เป็นเถระเหล่านั้น เธอทั้งหลายจึงไม่ ถึงความตายหรือทุกข์ปางตายเพราะการบริโภคนั้น ส่วนภิกษุทั้งหลายผู้ทำตามภิกษุผู้เป็น เถระเหล่านั้นเหมือนกัน เวลาเช้าครองอันตรวาสกถือบาตรและจีวรเข้าไปบิณฑบาต40 พุทธวิธีการสอนในพระสูตรนี้ พบว่า พระพุทธองค์ทรงตอบคำถามพระภิกษุ ทั้งหลายที่ กล่าวตักเตือนกันไม่ได้และพระองค์ทรงเปรียบเทียบ เหตุการณ์ที่เคยเป็นมา ประกอบการสอนให้ภิกษุทั้งหลายพิจารณาด้วยตนเองและทรงสรุปสุดท้ายว่า “ ภิกษุ ทั้งหลาย เพราะเหตุนั้น เธอทั้งหลายพึงศึกษาอย่างนี้ว่า เราทั้งหลายจักไม่กำหนัด ไม่ 40ดูรายละเอียดใน สํ .นิ.(แปล) 16 / 231/319.


158 154 ภาพที่ 4.16 ประยุกต์พุทธนวัตกรรมการสอนแก่พระอานนท์ทูลถามสู่การปฏิบัติได้ทุก ระดับทั้งแต่ปุถุชนจนถึงพระสงฆ์ ที่มา: สรุปจากพระไตรปิฎก(ม.ม. (แปล) 13/88-89/90-91) สู่การสอนภาคปฏิบัติได้ทุก ระดับผู้เรียนโดยสังเคราะห์ของผู้เขียน (2564) กรณีเรื่องช้าง สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระเชตวัน อารามของ อนาถบิณฑิกเศรษฐี เขตกรุงสาวัตถี ครั้งนั้น ภิกษุนวกะรูปหนึ่งเข้าไปสู่ตระกูลเกิเวลา ภิกษุ ทั้งหลายกล่าวตักเตือนเธอว่า ท่านอย่าเข้าไปสู่ตระกูลเกินเวลาเลย เธอถูกภิกษุทั้งหลาย กล่าวตักเตือน จึงกล่าวอย่างนี้ว่า ภิกษุผู้เป็นพระเถระเหล่านี้จักสำคัญตนว่า ควรเข้าไปสู่ ตระกูล ทำไมเราจักเข้าไปไม่ได้ หลังจากได้เข้าเฝ้าพระผู้มีพระภาคแล้วได้กราบทูลถามปัญหาข้อนี้ พระพุทธองค์ ทรงตรัสว่า “ภิกษุทั้งหลาย เรื่องเคยมีมาแล้ว มีสระใหญ่ที่ชายป่าแห่งหนึ่ง ช้างทั้งหลาย อาศัยสระนั้นอยู่ ช้างเหล่านั้นลงสู่สระนั้นแล้ว ใช้งวงถอนเหง้าและรากบัวขึ้น ล้างให้แล้ว เคี้ยวกินเหง้าและรากบัวที่ไม่มีโคลนตม อย่างเอร็ดอร่อย การกระทำอย่างนั้น ย่อมมี (ประโยชน์) ต่อผิวพรรณและกำลังของช้างเหล่านั้น ช้างเหล่านั้นจึงไม่ถึงความตายหรือทุกข์ ปางตายเพราะการกินนั้น ส่วนลูกช้างเล็ก ๆ ทำตามช้างใหญ่เหล่านั้นเหมือนกัน พวกมันลง สู่สระนั้นแล้ว ใช้งวงถอนเหง้าและรากบัวขึ้น (แต่) ไม่ล้างให้ดี ไม่เคี้ยวให้ละเอียด กลืนทั้ง โคลนตม การกระทำอย่างนั้นย่อมไม่มี(ประโยชน์) ต่อผิวพรรณและกำลังของลูกช้างเหล่านั้น ลูกช้างเหล่านั้นจึงถึงความตายหรือความทุกข์ ปางตาย เพราะการกินนั้น ภิกษุผู้เป็นเถระในธรรมวินัยนี้ก็เหมือนกัน เวลาเช้าครองอันตรวาสกถือบาตร และจีวรเข้าไปบิณฑบาตยังบ้านหรือนิคม กล่าวธรรมในที่นั้น คฤหัสถ์ทั้งหลายผู้เลื่อมใส ทำอาการของผู้เลื่อมใส ทำอาการของผู้เลื่อมใสแก่เธอทั้งหลาย เธอทั้งหลายไม่กำหนัด ไม่ หมกมุ่น ไม่พัวพัน มีปกติเห็นโทษ มีปัญญาเครื่องสลัดออก บริโภคลาภนั้น การกระทำอย่าง นั้นย่อมมี(ประโยชน์) ต่อผิวพรรณและกำลังของภิกษุผู้เป็นเถระเหล่านั้น เธอทั้งหลายจึงไม่ ถึงความตายหรือทุกข์ปางตายเพราะการบริโภคนั้น ส่วนภิกษุทั้งหลายผู้ทำตามภิกษุผู้เป็น เถระเหล่านั้นเหมือนกัน เวลาเช้าครองอันตรวาสกถือบาตรและจีวรเข้าไปบิณฑบาต40 พุทธวิธีการสอนในพระสูตรนี้ พบว่า พระพุทธองค์ทรงตอบคำถามพระภิกษุ ทั้งหลายที่ กล่าวตักเตือนกันไม่ได้และพระองค์ทรงเปรียบเทียบ เหตุการณ์ที่เคยเป็นมา ประกอบการสอนให้ภิกษุทั้งหลายพิจารณาด้วยตนเองและทรงสรุปสุดท้ายว่า “ ภิกษุ ทั้งหลาย เพราะเหตุนั้น เธอทั้งหลายพึงศึกษาอย่างนี้ว่า เราทั้งหลายจักไม่กำหนัด ไม่ 40ดูรายละเอียดใน สํ .นิ.(แปล) 16 / 231/319. 154 ภาพที่ 4.16 ประยุกต์พุทธนวัตกรรมการสอนแก่พระอานนท์ทูลถามสู่การปฏิบัติได้ทุก ระดับทั้งแต่ปุถุชนจนถึงพระสงฆ์ ที่มา: สรุปจากพระไตรปิฎก(ม.ม. (แปล) 13/88-89/90-91) สู่การสอนภาคปฏิบัติได้ทุก ระดับผู้เรียนโดยสังเคราะห์ของผู้เขียน (2564) กรณีเรื่องช้าง สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระเชตวัน อารามของ อนาถบิณฑิกเศรษฐี เขตกรุงสาวัตถี ครั้งนั้น ภิกษุนวกะรูปหนึ่งเข้าไปสู่ตระกูลเกิเวลา ภิกษุ ทั้งหลายกล่าวตักเตือนเธอว่า ท่านอย่าเข้าไปสู่ตระกูลเกินเวลาเลย เธอถูกภิกษุทั้งหลาย กล่าวตักเตือน จึงกล่าวอย่างนี้ว่า ภิกษุผู้เป็นพระเถระเหล่านี้จักสำคัญตนว่า ควรเข้าไปสู่ ตระกูล ทำไมเราจักเข้าไปไม่ได้ หลังจากได้เข้าเฝ้าพระผู้มีพระภาคแล้วได้กราบทูลถามปัญหาข้อนี้ พระพุทธองค์ ทรงตรัสว่า “ภิกษุทั้งหลาย เรื่องเคยมีมาแล้ว มีสระใหญ่ที่ชายป่าแห่งหนึ่ง ช้างทั้งหลาย อาศัยสระนั้นอยู่ ช้างเหล่านั้นลงสู่สระนั้นแล้ว ใช้งวงถอนเหง้าและรากบัวขึ้น ล้างให้แล้ว เคี้ยวกินเหง้าและรากบัวที่ไม่มีโคลนตม อย่างเอร็ดอร่อย การกระทำอย่างนั้น ย่อมมี (ประโยชน์) ต่อผิวพรรณและกำลังของช้างเหล่านั้น ช้างเหล่านั้นจึงไม่ถึงความตายหรือทุกข์ ปางตายเพราะการกินนั้น ส่วนลูกช้างเล็ก ๆ ทำตามช้างใหญ่เหล่านั้นเหมือนกัน พวกมันลง สู่สระนั้นแล้ว ใช้งวงถอนเหง้าและรากบัวขึ้น (แต่) ไม่ล้างให้ดี ไม่เคี้ยวให้ละเอียด กลืนทั้ง โคลนตม การกระทำอย่างนั้นย่อมไม่มี(ประโยชน์) ต่อผิวพรรณและกำลังของลูกช้างเหล่านั้น ลูกช้างเหล่านั้นจึงถึงความตายหรือความทุกข์ ปางตาย เพราะการกินนั้น ภิกษุผู้เป็นเถระในธรรมวินัยนี้ก็เหมือนกัน เวลาเช้าครองอันตรวาสกถือบาตร และจีวรเข้าไปบิณฑบาตยังบ้านหรือนิคม กล่าวธรรมในที่นั้น คฤหัสถ์ทั้งหลายผู้เลื่อมใส ทำอาการของผู้เลื่อมใส ทำอาการของผู้เลื่อมใสแก่เธอทั้งหลาย เธอทั้งหลายไม่กำหนัด ไม่ หมกมุ่น ไม่พัวพัน มีปกติเห็นโทษ มีปัญญาเครื่องสลัดออก บริโภคลาภนั้น การกระทำอย่าง นั้นย่อมมี(ประโยชน์) ต่อผิวพรรณและกำลังของภิกษุผู้เป็นเถระเหล่านั้น เธอทั้งหลายจึงไม่ ถึงความตายหรือทุกข์ปางตายเพราะการบริโภคนั้น ส่วนภิกษุทั้งหลายผู้ทำตามภิกษุผู้เป็น เถระเหล่านั้นเหมือนกัน เวลาเช้าครองอันตรวาสกถือบาตรและจีวรเข้าไปบิณฑบาต40 พุทธวิธีการสอนในพระสูตรนี้ พบว่า พระพุทธองค์ทรงตอบคำถามพระภิกษุ ทั้งหลายที่ กล่าวตักเตือนกันไม่ได้และพระองค์ทรงเปรียบเทียบ เหตุการณ์ที่เคยเป็นมา ประกอบการสอนให้ภิกษุทั้งหลายพิจารณาด้วยตนเองและทรงสรุปสุดท้ายว่า “ ภิกษุ ทั้งหลาย เพราะเหตุนั้น เธอทั้งหลายพึงศึกษาอย่างนี้ว่า เราทั้งหลายจักไม่กำหนัด ไม่ 40ดูรายละเอียดใน สํ .นิ.(แปล) 16 / 231/319. 155 หมกมุ่น ไม่พัวพัน มีปกติเห็นโทษ มีปัญญาเป็นเครื่องสลัดออกบริโภคลาภนั้น เธอทั้งหลาย พึงศึกษาอย่างนี้ ” สรุปรูปแบบพุทธวิธีการสอนเป็นการสนทนาแบบถาม-ตอบ และมีการอุปมา อุปไมย ประกอบการสอน เรื่องนี้พระพุทธเจ้าทรงสอนภิกษุเรื่องการบริโภคอาหารโดยยก กรณีช้าง หมกมุ่นการกินอาหาร ไม่สะอาดถึงปางตาย ทรงตรัสว่า“ ภิกษุทั้งหลาย เพราะ เหตุนั้น เธอทั้งหลายพึงศึกษาอย่างนี้ว่า เราทั้งหลายจักไม่กำหนัด ไม่หมกมุ่น ไม่พัวพัน มี ปกติเห็นโทษ มีปัญญาเป็นเครื่องสลัดออกบริโภคลาภนั้น เธอทั้งหลายพึงศึกษาอย่างนี้ ” เป็นข้อปฏิบัติถึงปัจจุบัน จากพระสูตรนี้สามารถนำไปประยุกต์การสอนเพื่อการปฏิบัติให้สอดคล้องกับ สถานการณ์ปัจจุบันได้ดังภาพต่อไปนี้ ภาพที่ 4.17 ประยุกต์พุทธนวัตกรรมการสอนในพระสูตรนี้พระพุทธเจ้าทรงสอนแบบการ ตอบคำถามสู่การสอนด้วยกัลยาณมิตรตามสถานการณ์ปัจจุบัน ที่มา : สรุปจากพระไตรปิฎก( สํ .นิ.(แปล) 16/231/319)การสอนด้วยกัลยาณมิตรตาม สถานการณ์ปัจจุบันโดยสังเคราะห์ของผู้เขียน (2564) สรุปพุทธนวัตกรรมการสอนในกรณีนี้สามารถนำประยุกต์สอนในยุคศตวรรษที่ 21 คือ 1. การสอนด้วยตั้งคำถาม ให้ผู้เรียนแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง 2. การใช้สื่อสมัยใหม่ในการแสวงหาความรู้ 3. การใช้พื้นที่ในการศึกษาจากกรณีที่เหมาะสมกับวัยผู้เรียน 4. ค้นหาครู อาจารย์ที่เชียวชาญในการสนทนา 5. การเรียนรู้ด้วยการลงมือทำตนเองด้วยการตั้งคำถามและแสวงหาความรู้ ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดศ.นพ. วิจารณ์ พานิช41 ด้วยการถามคำถามหลักในการออกแบบ การเรียนรู้ 41ศ.นพ. วิจารณ์ พานิช, การสร้างการเรียนรู้สู้ศตวรรษที่ 21, (นครปฐม: ส เจริญการพิมพ์, 2557), หน้า 42. ถามคําถาม ครูอธิบายพร้อม ยกตัวอย่างประกอบ ได้แนวทางปฏิบัติที่ ถูกต้อง


159 155 หมกมุ่น ไม่พัวพัน มีปกติเห็นโทษ มีปัญญาเป็นเครื่องสลัดออกบริโภคลาภนั้น เธอทั้งหลาย พึงศึกษาอย่างนี้ ” สรุปรูปแบบพุทธวิธีการสอนเป็นการสนทนาแบบถาม-ตอบ และมีการอุปมา อุปไมย ประกอบการสอน เรื่องนี้พระพุทธเจ้าทรงสอนภิกษุเรื่องการบริโภคอาหารโดยยก กรณีช้าง หมกมุ่นการกินอาหาร ไม่สะอาดถึงปางตาย ทรงตรัสว่า“ ภิกษุทั้งหลาย เพราะ เหตุนั้น เธอทั้งหลายพึงศึกษาอย่างนี้ว่า เราทั้งหลายจักไม่กำหนัด ไม่หมกมุ่น ไม่พัวพัน มี ปกติเห็นโทษ มีปัญญาเป็นเครื่องสลัดออกบริโภคลาภนั้น เธอทั้งหลายพึงศึกษาอย่างนี้ ” เป็นข้อปฏิบัติถึงปัจจุบัน จากพระสูตรนี้สามารถนำไปประยุกต์การสอนเพื่อการปฏิบัติให้สอดคล้องกับ สถานการณ์ปัจจุบันได้ดังภาพต่อไปนี้ ภาพที่ 4.17 ประยุกต์พุทธนวัตกรรมการสอนในพระสูตรนี้พระพุทธเจ้าทรงสอนแบบการ ตอบคำถามสู่การสอนด้วยกัลยาณมิตรตามสถานการณ์ปัจจุบัน ที่มา : สรุปจากพระไตรปิฎก( สํ .นิ.(แปล) 16/231/319)การสอนด้วยกัลยาณมิตรตาม สถานการณ์ปัจจุบันโดยสังเคราะห์ของผู้เขียน (2564) สรุปพุทธนวัตกรรมการสอนในกรณีนี้สามารถนำประยุกต์สอนในยุคศตวรรษที่ 21 คือ 1. การสอนด้วยตั้งคำถาม ให้ผู้เรียนแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง 2. การใช้สื่อสมัยใหม่ในการแสวงหาความรู้ 3. การใช้พื้นที่ในการศึกษาจากกรณีที่เหมาะสมกับวัยผู้เรียน 4. ค้นหาครู อาจารย์ที่เชียวชาญในการสนทนา 5. การเรียนรู้ด้วยการลงมือทำตนเองด้วยการตั้งคำถามและแสวงหาความรู้ ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดศ.นพ. วิจารณ์ พานิช41 ด้วยการถามคำถามหลักในการออกแบบ การเรียนรู้ 41ศ.นพ. วิจารณ์ พานิช, การสร้างการเรียนรู้สู้ศตวรรษที่ 21, (นครปฐม: ส เจริญการพิมพ์, 2557), หน้า 42. ถามคําถาม ครูอธิบายพร้อม ยกตัวอย่างประกอบ ได้แนวทางปฏิบัติที่ ถูกต้อง 155 หมกมุ่น ไม่พัวพัน มีปกติเห็นโทษ มีปัญญาเป็นเครื่องสลัดออกบริโภคลาภนั้น เธอทั้งหลาย พึงศึกษาอย่างนี้ ” สรุปรูปแบบพุทธวิธีการสอนเป็นการสนทนาแบบถาม-ตอบ และมีการอุปมา อุปไมย ประกอบการสอน เรื่องนี้พระพุทธเจ้าทรงสอนภิกษุเรื่องการบริโภคอาหารโดยยก กรณีช้าง หมกมุ่นการกินอาหาร ไม่สะอาดถึงปางตาย ทรงตรัสว่า“ ภิกษุทั้งหลาย เพราะ เหตุนั้น เธอทั้งหลายพึงศึกษาอย่างนี้ว่า เราทั้งหลายจักไม่กำหนัด ไม่หมกมุ่น ไม่พัวพัน มี ปกติเห็นโทษ มีปัญญาเป็นเครื่องสลัดออกบริโภคลาภนั้น เธอทั้งหลายพึงศึกษาอย่างนี้ ” เป็นข้อปฏิบัติถึงปัจจุบัน จากพระสูตรนี้สามารถนำไปประยุกต์การสอนเพื่อการปฏิบัติให้สอดคล้องกับ สถานการณ์ปัจจุบันได้ดังภาพต่อไปนี้ ภาพที่ 4.17 ประยุกต์พุทธนวัตกรรมการสอนในพระสูตรนี้พระพุทธเจ้าทรงสอนแบบการ ตอบคำถามสู่การสอนด้วยกัลยาณมิตรตามสถานการณ์ปัจจุบัน ที่มา : สรุปจากพระไตรปิฎก( สํ .นิ.(แปล) 16/231/319)การสอนด้วยกัลยาณมิตรตาม สถานการณ์ปัจจุบันโดยสังเคราะห์ของผู้เขียน (2564) สรุปพุทธนวัตกรรมการสอนในกรณีนี้สามารถนำประยุกต์สอนในยุคศตวรรษที่ 21 คือ 1. การสอนด้วยตั้งคำถาม ให้ผู้เรียนแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง 2. การใช้สื่อสมัยใหม่ในการแสวงหาความรู้ 3. การใช้พื้นที่ในการศึกษาจากกรณีที่เหมาะสมกับวัยผู้เรียน 4. ค้นหาครู อาจารย์ที่เชียวชาญในการสนทนา 5. การเรียนรู้ด้วยการลงมือทำตนเองด้วยการตั้งคำถามและแสวงหาความรู้ ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดศ.นพ. วิจารณ์ พานิช41 ด้วยการถามคำถามหลักในการออกแบบ การเรียนรู้ 41ศ.นพ. วิจารณ์ พานิช, การสร้างการเรียนรู้สู้ศตวรรษที่ 21, (นครปฐม: ส เจริญการพิมพ์, 2557), หน้า 42. ถามคําถาม ครูอธิบายพร้อม ยกตัวอย่างประกอบ ได้แนวทางปฏิบัติที่ ถูกต้อง


160 156 1. ต้องการให้นักเรียนได้ทักษะและความรู้ที่จำเป็นอะไรบ้าง 2. จัดการเรียนรู้อย่างไรให้ได้ทักษะเหล่านั้น 3. รู้ได้อย่างไรว่าทำได้ 4. ทำอย่างไรกับนักเรียนบางคนที่ทำไม่ได้ 5. ทำอย่างไรกับนักเรียนบางคนที่เรียนเก่งก้าวหน้าไปแล้ว 4.5 สรุปการพัฒนาพุทธนวัตกรรมการสอนสู่การปฏิบัติ เรื่องเหตุการณ์ในโคสิงคสาลวัน สูตรใหญ่ พระสูตรนี้ พระผู้มีพระภาคทรงแสดงแก่ พระสารีบุตร พระมหาโมคคัลลานะ พระมหากัสสปะ พระอนุรุทธะ พระเรวตะ พระอานนท์ และพระเถระผู้มีชื่อเสียงอีกหลายรูป ขณะประทับอยู่ในป่าโคสิงคสาลวัน แคว้นวัชชี โดย ทรงปรารภคำพรรณนาความงามของป่าโคสิงคสาลวันของพระเถระเหล่านั้น พระเถระทั้งหลายมีท่านพระมหาโมคคัลลานะเป็นต้น ชักชวนไปฟังธรรมจากท่าน สารีบุตร เมื่อพระเถระทั้งหลายมาถึงแล้ว ท่านพระสารีบุตรกล่าวทักทายด้วยอัธยาศัยด้วย ไมตรี แล้วตั้งปัญหาขึ้นถามว่า ป่าโคสิงคสาลวันพึงงามด้วยภิกษุเช่นไร ท่านพระอานนท์ ท่านพระเรวตะ ท่านพระอนุรุธ ท่านพระมหากัสสปะ ท่านพระ มหาโมคคัลลานะ และท่านพระสารีบุตร ต่างแสดงทรรศนะของตน ๆ ตามลำดับดังนี้ “ป่าโคสิงคสาลวันจะพึงงามด้วยภิกษุในธรรมวินัยนี้ ผู้เป็นพหูสูต ทรงสุตะ สั่งสม สุตะ ได้ฟังธรรมที่มีความงามในเบื้องต้น งามในท่ามกลาง และงามในที่สุด พร้อมทั้งอรรถ และพยัญชนะ และแสดงธรรมแก่บริษัท 4 เพื่อถอนอนุสัย”42 “ป่าโคสิงคสาลวันจะพึงงามด้วยภิกษุในธรรมวินัยผู้มีความหลีกเร้นเป็นที่มาแห่ง ความยินดี ผู้ยินดีแล้วในความหลีกเร้น หมั่นประกอบธรรมเครื่องระงับใจภายในตน ไม่ห่าง เหินจากธรรม ประกอบด้วยวิปัสสนาญาณ”43 “ป่าโคสิงคสาลวันจะพึงงามด้วยภิกษุในธรรมวินัย ผู้ตรวจดูโลกธาตุ 1,000 โลกธาตุด้วยตาทิพย์อันบริสุทธิ์เหนือมนุษย์”44 “ป่าโคสิงคสาลวันจะพึงงามด้วยภิกษุในธรรมวินัย ซึ่งตัวเองอยู่ป่าเป็นวัตร บิณฑบาตเป็นวัตร ถือผ้าบังสุกุลเป็นวัตร ถือไตรจีวรเป็นวัตร มักน้อย สันโด สงัด ไม่คลุก คลี ปรารภความเพียรเป็นวัตร สมบูรณ์ด้วยศีล สมาธิ ปัญญา วิมุตติ และวิมุตติญาณทัศนะ และกล่าวสรรเสริญคุณเช่นนั้น”45 42ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/333/367. 43ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/334/367. 44ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/335/368. 45ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/336/368.


161 157 “ป่าโคสิงคสาลวันจะพึงงามด้วยภิกษุ 2 รูป ในธรรมวินัยนี้ ผู้กล่าวอภิธรรมกถา ถามปัญหากันและกันแล้ว กล่าวแก้กันอย่างไม่หยุดพัก”46 “ป่าโคสิงคสาลวันจะพึงงามด้วยภิกษุในธรรมวินัยนี้ผู้ทำจิตให้อยู่ในอำนาจ ไม่ยอม อยู่ในอำนาจของจิต เธอหวังอยู่ด้วยจะอยู่วิหารธรรมสมาบัติในเวลาเช้า สาย บ่าย เย็น ก็อยู่ด้วยวิหารธรรมสมาบัตินั้น ตามเวลาที่ปรารถนา”47 หลังจากนั้น ท่านพระสารีบุตรและพระท่านมหาเถระเหล่านั้นได้เข้าไปเฝ้าพระผู้มี พระภาคกราบทูลเรื่องธรรมทรรศนะต่าง ๆ ให้ทรงทราบ พระศาสดาได้ตรัสสรรเสริญ ทรรศนะของพระเถระทุกรูป และได้ทรงแสดงทรรศนะว่า “ป่าโคสิงคสาลวันจะพึงงามด้วย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ผู้กลับจากบิณฑบาตภายหลังฉันภัตตาหารเสร็จแล้ว นั่งคู้บัลลังก์ ตั้ง กายตรง ดำรงสติไว้เฉพาะหน้าว่า ตราบใดที่จิตของเรายังไม่หมด ความถือมั่น (และ) ไม่ หลุดพ้นจากอาสวะ ตราบนั้น เราจักไม่ทำลายบัลลังก์”48 สรุปหลักการสอนปฏิบัติแก่พระอรหันต์เรื่องงามด้วยคุณสมบัติของภิกษุอย่างไรซึ่ง เป็นการตั้งถามของพระสารีบุตรถามว่า ป่าโคสิงคสาลวันพึงงามด้วยภิกษุเช่นไร โดยมี พระพุทธเจ้าเป็นประธานสนทนาธรรม ของพระอรหันต์ที่เป็นเลิศในโลกและได้แนวทางการ นำไปประยุกต์ใช้ในการสอนเป็นอย่างดี ซึ่งขอจำลองภาพแสดงทัศนคติดังนี้ 46ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/337/369 47ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/338/370. 48ดูรายละเอียดในม.ม. (แปล) 12/345/375. พระพุทธเจ้ารับรอง ป่างาม ด้วยพระธรรมวินัย พระมหากัปปะ พระโมลลัลลานะ พระเรวตะ พระอนุรุทธะ พระอานนท์ เลขา ฯ พระสารีบุตร ทัศนะของพระ อรหันต์ พระปฏิบัติธรรม ทําให้ป่างาม ป่ างามด้วยภิกษุมีคุณสมบัติ อย่างไร ทำความเพียรเป็นวัตร สนทนาธรรมไม่หยุด ผู้ทำจิตให้อยู่ในอำนาจ มีพหูสูต สั่งสมสุตะ วิปัสสนาญาณ ผู้ตรวจดูโลกด้วยตาทิพย์ 157 “ป่าโคสิงคสาลวันจะพึงงามด้วยภิกษุ 2 รูป ในธรรมวินัยนี้ ผู้กล่าวอภิธรรมกถา ถามปัญหากันและกันแล้ว กล่าวแก้กันอย่างไม่หยุดพัก”46 “ป่าโคสิงคสาลวันจะพึงงามด้วยภิกษุในธรรมวินัยนี้ผู้ทำจิตให้อยู่ในอำนาจ ไม่ยอม อยู่ในอำนาจของจิต เธอหวังอยู่ด้วยจะอยู่วิหารธรรมสมาบัติในเวลาเช้า สาย บ่าย เย็น ก็อยู่ด้วยวิหารธรรมสมาบัตินั้น ตามเวลาที่ปรารถนา”47 หลังจากนั้น ท่านพระสารีบุตรและพระท่านมหาเถระเหล่านั้นได้เข้าไปเฝ้าพระผู้มี พระภาคกราบทูลเรื่องธรรมทรรศนะต่าง ๆ ให้ทรงทราบ พระศาสดาได้ตรัสสรรเสริญ ทรรศนะของพระเถระทุกรูป และได้ทรงแสดงทรรศนะว่า “ป่าโคสิงคสาลวันจะพึงงามด้วย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ผู้กลับจากบิณฑบาตภายหลังฉันภัตตาหารเสร็จแล้ว นั่งคู้บัลลังก์ ตั้ง กายตรง ดำรงสติไว้เฉพาะหน้าว่า ตราบใดที่จิตของเรายังไม่หมด ความถือมั่น (และ) ไม่ หลุดพ้นจากอาสวะ ตราบนั้น เราจักไม่ทำลายบัลลังก์”48 สรุปหลักการสอนปฏิบัติแก่พระอรหันต์เรื่องงามด้วยคุณสมบัติของภิกษุอย่างไรซึ่ง เป็นการตั้งถามของพระสารีบุตรถามว่า ป่าโคสิงคสาลวันพึงงามด้วยภิกษุเช่นไร โดยมี พระพุทธเจ้าเป็นประธานสนทนาธรรม ของพระอรหันต์ที่เป็นเลิศในโลกและได้แนวทางการ นำไปประยุกต์ใช้ในการสอนเป็นอย่างดี ซึ่งขอจำลองภาพแสดงทัศนคติดังนี้ 46ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/337/369 47ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/338/370. 48ดูรายละเอียดในม.ม. (แปล) 12/345/375. พระพุทธเจ้ารับรอง ป่างาม ด้วยพระธรรมวินัย พระมหากัปปะ พระโมลลัลลานะ พระเรวตะ พระอนุรุทธะ พระอานนท์ เลขา ฯ พระสารีบุตร ทัศนะของพระ อรหันต์ พระปฏิบัติธรรม ทําให้ป่างาม ป่ างามด้วยภิกษุมีคุณสมบัติ อย่างไร ทำความเพียรเป็นวัตร สนทนาธรรมไม่หยุด ผู้ทำจิตให้อยู่ในอำนาจ มีพหูสูต สั่งสมสุตะ วิปัสสนาญาณ ผู้ตรวจดูโลกด้วยตาทิพย์ 157 “ป่าโคสิงคสาลวันจะพึงงามด้วยภิกษุ 2 รูป ในธรรมวินัยนี้ ผู้กล่าวอภิธรรมกถา ถามปัญหากันและกันแล้ว กล่าวแก้กันอย่างไม่หยุดพัก”46 “ป่าโคสิงคสาลวันจะพึงงามด้วยภิกษุในธรรมวินัยนี้ผู้ทำจิตให้อยู่ในอำนาจ ไม่ยอม อยู่ในอำนาจของจิต เธอหวังอยู่ด้วยจะอยู่วิหารธรรมสมาบัติในเวลาเช้า สาย บ่าย เย็น ก็อยู่ด้วยวิหารธรรมสมาบัตินั้น ตามเวลาที่ปรารถนา”47 หลังจากนั้น ท่านพระสารีบุตรและพระท่านมหาเถระเหล่านั้นได้เข้าไปเฝ้าพระผู้มี พระภาคกราบทูลเรื่องธรรมทรรศนะต่าง ๆ ให้ทรงทราบ พระศาสดาได้ตรัสสรรเสริญ ทรรศนะของพระเถระทุกรูป และได้ทรงแสดงทรรศนะว่า “ป่าโคสิงคสาลวันจะพึงงามด้วย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ผู้กลับจากบิณฑบาตภายหลังฉันภัตตาหารเสร็จแล้ว นั่งคู้บัลลังก์ ตั้ง กายตรง ดำรงสติไว้เฉพาะหน้าว่า ตราบใดที่จิตของเรายังไม่หมด ความถือมั่น (และ) ไม่ หลุดพ้นจากอาสวะ ตราบนั้น เราจักไม่ทำลายบัลลังก์”48 สรุปหลักการสอนปฏิบัติแก่พระอรหันต์เรื่องงามด้วยคุณสมบัติของภิกษุอย่างไรซึ่ง เป็นการตั้งถามของพระสารีบุตรถามว่า ป่าโคสิงคสาลวันพึงงามด้วยภิกษุเช่นไร โดยมี พระพุทธเจ้าเป็นประธานสนทนาธรรม ของพระอรหันต์ที่เป็นเลิศในโลกและได้แนวทางการ นำไปประยุกต์ใช้ในการสอนเป็นอย่างดี ซึ่งขอจำลองภาพแสดงทัศนคติดังนี้ 46ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/337/369 47ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/338/370. 48ดูรายละเอียดในม.ม. (แปล) 12/345/375. พระพุทธเจ้ารับรอง ป่างาม ด้วยพระธรรมวินัย พระมหากัปปะ พระโมลลัลลานะ พระเรวตะ พระอนุรุทธะ พระอานนท์ เลขา ฯ พระสารีบุตร ทัศนะของพระ อรหันต์ พระปฏิบัติธรรม ทําให้ป่างาม ป่ างามด้วยภิกษุมีคุณสมบัติ อย่างไร ทำความเพียรเป็นวัตร สนทนาธรรมไม่หยุด ผู้ทำจิตให้อยู่ในอำนาจ มีพหูสูต สั่งสมสุตะ วิปัสสนาญาณ ผู้ตรวจดูโลกด้วยตาทิพย์ 158 ภาพที่ 4.18 การจำลองภาพพุทธนวัตกรรมการสอนสำหรับการเรียนรู้แบบสนทนาหัวข้อ ธรรม เรื่องป่างามด้วยภิกษุมีคุณสมบัติอย่างไร โดยการประยุกต์หลักการสอนด้วยการ เปลี่ยนทัศนคติที่ดีต่อการเรียนรู้ ที่มา: สรุปจากพระไตรปิฎก(ม.ม. (แปล) 12/345/375) สู่การปฏิบัติการปรับทัศคติที่ดีการ เรียนรู้โดยสังเคราะห์ของผู้เขียน (2564) นอกจากนั้นขอนำกรณีพระสูตรที่เกี่ยวกับพุทธนวัตกรรมการสอนสู่การปฏิบัติ ที่ เด้นๆดังนี้ 1.เรื่องอุปมาด้วยผ้าพระสูตรนี้ พระผู้มีพระภาคทรงแสดงแก่พระภิกษุทั้งหลาย ณ พระเชตวัน อารามของอนาถบิณฑิกเศรษฐีซึ่งมีสุนทริกภารทวาชปริพาชกนั่งอยู่ด้วย และทรงทราบว่า ปริพาชกนี้เชื่อถือลัทธินหานสุทธิ คือ เชื่อว่าความบริสุทธิ์มีได้เพราะการ อาบน้ำลอยบาป จึงทรงแสดงธรรมให้เป็นไปตามอัธยาศัยของปริพาชกนี้49 พระผู้มีพระภาค ตรัสกับภิกษุทั้งหลายว่า ถ้าจิตเศร้าหมอง ก็หวังได้ว่า จะต้องไปสู่ทุคติ เหมือนผ้าสกปรกที่ ชั่งย้อมนำไปใส่ลงในน้ำย้อมสีต่าง ๆ ก็หวังได้ว่าผ้านั้นย้อมได้ไม่ดี สีไม่สดใส ส่วนจิตที่ไม่ เศร้าหมอง ก็หวังได้ว่า จะต้องไปสู่สุคติเหมือนผ้าสะอาด ที่ช่างย้อมนำไปใส่ลงในน้ำย้อมสี ต่าง ๆ ก็หวัง ๆ ได้ว่า ผ้านั้นย้อมสีได้ดี มีสีสดใส50 ทรงอธิบายว่า จิตเศร้าหมอง เพราะอุปกิเลส คือ กิเลสเครื่องเสร้าหมองมี 16 ประการ มีอภิชฌาวิสมโลภะ (ความเพ่งเล็งอยากได้ของ ๆ ผู้อื่น) เป็นต้น มีปมาทะ (ความ ประมาท) เป็นที่สุด แล้วตรัสสอว่าเมื่อภิกษุรู้ชัดว่า อุปกิเลสแต่ละประการ เป็นเครื่องเศร้า หมองของจิต ก็จะเกิดผลต่อไปนี้ (1) จะละอุปกิเลสประการนั้น ๆ ได้ เมื่อละได้จะเกิดความ เลื่อมใสอย่างแน่วแน่ในพระพุทธคุณ พระธรรมคุณ และพระสังฆคุณ (2) จะได้ความรู้แจ้ง อรรถ ความรู้แจ้งธรรมและความปราโมทย์ที่ได้เลื่อมใสในพระรัตนตรัย (3) เมื่อมีความ ปราโมทย์ก็จะมีปีติ (4) เมื่อมีปีติจิตก็สงบ (5) เมื่อจิตสงบ กายก็สงบ (6) เมื่อกายสงบ ความสุขก็เกิดขึ้น (7) เมื่อมีความสุข จิตก็ตั้งมั่นเป็นสมาธิ พระผู้มีพระภาคตรัสว่า คนที่ทำชั่วไว้แล้ว ถึงจะไปอาบที่ไหน ก็หาทำให้เกิดความ บริสุทธิ์สะอาดได้ไม่ แล้วตรัสสอนให้มาอาบน้ำในศาสนาของพระองค์ คือ 1. จงทำความปลอดภัยในสัตว์ทั้งปวง 2. ไม่พูดเท็จ 3. ไม่เบียดเบียนสัตว์ 4. ไม่ลักทรัพย์ 5. มีศรัทธา 6. ไม่ตระหนี่51 49ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 11/70/62. 50ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/70/62. 51ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 11/70/62.


162 158 ภาพที่ 4.18 การจำลองภาพพุทธนวัตกรรมการสอนสำหรับการเรียนรู้แบบสนทนาหัวข้อ ธรรม เรื่องป่างามด้วยภิกษุมีคุณสมบัติอย่างไร โดยการประยุกต์หลักการสอนด้วยการ เปลี่ยนทัศนคติที่ดีต่อการเรียนรู้ ที่มา: สรุปจากพระไตรปิฎก(ม.ม. (แปล) 12/345/375) สู่การปฏิบัติการปรับทัศคติที่ดีการ เรียนรู้โดยสังเคราะห์ของผู้เขียน (2564) นอกจากนั้นขอนำกรณีพระสูตรที่เกี่ยวกับพุทธนวัตกรรมการสอนสู่การปฏิบัติ ที่ เด้นๆดังนี้ 1.เรื่องอุปมาด้วยผ้าพระสูตรนี้ พระผู้มีพระภาคทรงแสดงแก่พระภิกษุทั้งหลาย ณ พระเชตวัน อารามของอนาถบิณฑิกเศรษฐีซึ่งมีสุนทริกภารทวาชปริพาชกนั่งอยู่ด้วย และทรงทราบว่า ปริพาชกนี้เชื่อถือลัทธินหานสุทธิ คือ เชื่อว่าความบริสุทธิ์มีได้เพราะการ อาบน้ำลอยบาป จึงทรงแสดงธรรมให้เป็นไปตามอัธยาศัยของปริพาชกนี้49 พระผู้มีพระภาค ตรัสกับภิกษุทั้งหลายว่า ถ้าจิตเศร้าหมอง ก็หวังได้ว่า จะต้องไปสู่ทุคติ เหมือนผ้าสกปรกที่ ชั่งย้อมนำไปใส่ลงในน้ำย้อมสีต่าง ๆ ก็หวังได้ว่าผ้านั้นย้อมได้ไม่ดี สีไม่สดใส ส่วนจิตที่ไม่ เศร้าหมอง ก็หวังได้ว่า จะต้องไปสู่สุคติเหมือนผ้าสะอาด ที่ช่างย้อมนำไปใส่ลงในน้ำย้อมสี ต่าง ๆ ก็หวัง ๆ ได้ว่า ผ้านั้นย้อมสีได้ดี มีสีสดใส50 ทรงอธิบายว่า จิตเศร้าหมอง เพราะอุปกิเลส คือ กิเลสเครื่องเสร้าหมองมี 16 ประการ มีอภิชฌาวิสมโลภะ (ความเพ่งเล็งอยากได้ของ ๆ ผู้อื่น) เป็นต้น มีปมาทะ (ความ ประมาท) เป็นที่สุด แล้วตรัสสอว่าเมื่อภิกษุรู้ชัดว่า อุปกิเลสแต่ละประการ เป็นเครื่องเศร้า หมองของจิต ก็จะเกิดผลต่อไปนี้ (1) จะละอุปกิเลสประการนั้น ๆ ได้ เมื่อละได้จะเกิดความ เลื่อมใสอย่างแน่วแน่ในพระพุทธคุณ พระธรรมคุณ และพระสังฆคุณ (2) จะได้ความรู้แจ้ง อรรถ ความรู้แจ้งธรรมและความปราโมทย์ที่ได้เลื่อมใสในพระรัตนตรัย (3) เมื่อมีความ ปราโมทย์ก็จะมีปีติ (4) เมื่อมีปีติจิตก็สงบ (5) เมื่อจิตสงบ กายก็สงบ (6) เมื่อกายสงบ ความสุขก็เกิดขึ้น (7) เมื่อมีความสุข จิตก็ตั้งมั่นเป็นสมาธิ พระผู้มีพระภาคตรัสว่า คนที่ทำชั่วไว้แล้ว ถึงจะไปอาบที่ไหน ก็หาทำให้เกิดความ บริสุทธิ์สะอาดได้ไม่ แล้วตรัสสอนให้มาอาบน้ำในศาสนาของพระองค์ คือ 1. จงทำความปลอดภัยในสัตว์ทั้งปวง 2. ไม่พูดเท็จ 3. ไม่เบียดเบียนสัตว์ 4. ไม่ลักทรัพย์ 5. มีศรัทธา 6. ไม่ตระหนี่51 49ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 11/70/62. 50ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/70/62. 51ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 11/70/62. 158 ภาพที่ 4.18 การจำลองภาพพุทธนวัตกรรมการสอนสำหรับการเรียนรู้แบบสนทนาหัวข้อ ธรรม เรื่องป่างามด้วยภิกษุมีคุณสมบัติอย่างไร โดยการประยุกต์หลักการสอนด้วยการ เปลี่ยนทัศนคติที่ดีต่อการเรียนรู้ ที่มา: สรุปจากพระไตรปิฎก(ม.ม. (แปล) 12/345/375) สู่การปฏิบัติการปรับทัศคติที่ดีการ เรียนรู้โดยสังเคราะห์ของผู้เขียน (2564) นอกจากนั้นขอนำกรณีพระสูตรที่เกี่ยวกับพุทธนวัตกรรมการสอนสู่การปฏิบัติ ที่ เด้นๆดังนี้ 1.เรื่องอุปมาด้วยผ้าพระสูตรนี้ พระผู้มีพระภาคทรงแสดงแก่พระภิกษุทั้งหลาย ณ พระเชตวัน อารามของอนาถบิณฑิกเศรษฐีซึ่งมีสุนทริกภารทวาชปริพาชกนั่งอยู่ด้วย และทรงทราบว่า ปริพาชกนี้เชื่อถือลัทธินหานสุทธิ คือ เชื่อว่าความบริสุทธิ์มีได้เพราะการ อาบน้ำลอยบาป จึงทรงแสดงธรรมให้เป็นไปตามอัธยาศัยของปริพาชกนี้49 พระผู้มีพระภาค ตรัสกับภิกษุทั้งหลายว่า ถ้าจิตเศร้าหมอง ก็หวังได้ว่า จะต้องไปสู่ทุคติ เหมือนผ้าสกปรกที่ ชั่งย้อมนำไปใส่ลงในน้ำย้อมสีต่าง ๆ ก็หวังได้ว่าผ้านั้นย้อมได้ไม่ดี สีไม่สดใส ส่วนจิตที่ไม่ เศร้าหมอง ก็หวังได้ว่า จะต้องไปสู่สุคติเหมือนผ้าสะอาด ที่ช่างย้อมนำไปใส่ลงในน้ำย้อมสี ต่าง ๆ ก็หวัง ๆ ได้ว่า ผ้านั้นย้อมสีได้ดี มีสีสดใส50 ทรงอธิบายว่า จิตเศร้าหมอง เพราะอุปกิเลส คือ กิเลสเครื่องเสร้าหมองมี 16 ประการ มีอภิชฌาวิสมโลภะ (ความเพ่งเล็งอยากได้ของ ๆ ผู้อื่น) เป็นต้น มีปมาทะ (ความ ประมาท) เป็นที่สุด แล้วตรัสสอว่าเมื่อภิกษุรู้ชัดว่า อุปกิเลสแต่ละประการ เป็นเครื่องเศร้า หมองของจิต ก็จะเกิดผลต่อไปนี้ (1) จะละอุปกิเลสประการนั้น ๆ ได้ เมื่อละได้จะเกิดความ เลื่อมใสอย่างแน่วแน่ในพระพุทธคุณ พระธรรมคุณ และพระสังฆคุณ (2) จะได้ความรู้แจ้ง อรรถ ความรู้แจ้งธรรมและความปราโมทย์ที่ได้เลื่อมใสในพระรัตนตรัย (3) เมื่อมีความ ปราโมทย์ก็จะมีปีติ (4) เมื่อมีปีติจิตก็สงบ (5) เมื่อจิตสงบ กายก็สงบ (6) เมื่อกายสงบ ความสุขก็เกิดขึ้น (7) เมื่อมีความสุข จิตก็ตั้งมั่นเป็นสมาธิ พระผู้มีพระภาคตรัสว่า คนที่ทำชั่วไว้แล้ว ถึงจะไปอาบที่ไหน ก็หาทำให้เกิดความ บริสุทธิ์สะอาดได้ไม่ แล้วตรัสสอนให้มาอาบน้ำในศาสนาของพระองค์ คือ 1. จงทำความปลอดภัยในสัตว์ทั้งปวง 2. ไม่พูดเท็จ 3. ไม่เบียดเบียนสัตว์ 4. ไม่ลักทรัพย์ 5. มีศรัทธา 6. ไม่ตระหนี่51 49ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 11/70/62. 50ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/70/62. 51ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 11/70/62. 158 ภาพที่ 4.18 การจำลองภาพพุทธนวัตกรรมการสอนสำหรับการเรียนรู้แบบสนทนาหัวข้อ ธรรม เรื่องป่างามด้วยภิกษุมีคุณสมบัติอย่างไร โดยการประยุกต์หลักการสอนด้วยการ เปลี่ยนทัศนคติที่ดีต่อการเรียนรู้ ที่มา: สรุปจากพระไตรปิฎก(ม.ม. (แปล) 12/345/375) สู่การปฏิบัติการปรับทัศคติที่ดีการ เรียนรู้โดยสังเคราะห์ของผู้เขียน (2564) นอกจากนั้นขอนำกรณีพระสูตรที่เกี่ยวกับพุทธนวัตกรรมการสอนสู่การปฏิบัติ ที่ เด้นๆดังนี้ 1.เรื่องอุปมาด้วยผ้าพระสูตรนี้ พระผู้มีพระภาคทรงแสดงแก่พระภิกษุทั้งหลาย ณ พระเชตวัน อารามของอนาถบิณฑิกเศรษฐีซึ่งมีสุนทริกภารทวาชปริพาชกนั่งอยู่ด้วย และทรงทราบว่า ปริพาชกนี้เชื่อถือลัทธินหานสุทธิ คือ เชื่อว่าความบริสุทธิ์มีได้เพราะการ อาบน้ำลอยบาป จึงทรงแสดงธรรมให้เป็นไปตามอัธยาศัยของปริพาชกนี้49 พระผู้มีพระภาค ตรัสกับภิกษุทั้งหลายว่า ถ้าจิตเศร้าหมอง ก็หวังได้ว่า จะต้องไปสู่ทุคติ เหมือนผ้าสกปรกที่ ชั่งย้อมนำไปใส่ลงในน้ำย้อมสีต่าง ๆ ก็หวังได้ว่าผ้านั้นย้อมได้ไม่ดี สีไม่สดใส ส่วนจิตที่ไม่ เศร้าหมอง ก็หวังได้ว่า จะต้องไปสู่สุคติเหมือนผ้าสะอาด ที่ช่างย้อมนำไปใส่ลงในน้ำย้อมสี ต่าง ๆ ก็หวัง ๆ ได้ว่า ผ้านั้นย้อมสีได้ดี มีสีสดใส50 ทรงอธิบายว่า จิตเศร้าหมอง เพราะอุปกิเลส คือ กิเลสเครื่องเสร้าหมองมี 16 ประการ มีอภิชฌาวิสมโลภะ (ความเพ่งเล็งอยากได้ของ ๆ ผู้อื่น) เป็นต้น มีปมาทะ (ความ ประมาท) เป็นที่สุด แล้วตรัสสอว่าเมื่อภิกษุรู้ชัดว่า อุปกิเลสแต่ละประการ เป็นเครื่องเศร้า หมองของจิต ก็จะเกิดผลต่อไปนี้ (1) จะละอุปกิเลสประการนั้น ๆ ได้ เมื่อละได้จะเกิดความ เลื่อมใสอย่างแน่วแน่ในพระพุทธคุณ พระธรรมคุณ และพระสังฆคุณ (2) จะได้ความรู้แจ้ง อรรถ ความรู้แจ้งธรรมและความปราโมทย์ที่ได้เลื่อมใสในพระรัตนตรัย (3) เมื่อมีความ ปราโมทย์ก็จะมีปีติ (4) เมื่อมีปีติจิตก็สงบ (5) เมื่อจิตสงบ กายก็สงบ (6) เมื่อกายสงบ ความสุขก็เกิดขึ้น (7) เมื่อมีความสุข จิตก็ตั้งมั่นเป็นสมาธิ พระผู้มีพระภาคตรัสว่า คนที่ทำชั่วไว้แล้ว ถึงจะไปอาบที่ไหน ก็หาทำให้เกิดความ บริสุทธิ์สะอาดได้ไม่ แล้วตรัสสอนให้มาอาบน้ำในศาสนาของพระองค์ คือ 1. จงทำความปลอดภัยในสัตว์ทั้งปวง 2. ไม่พูดเท็จ 3. ไม่เบียดเบียนสัตว์ 4. ไม่ลักทรัพย์ 5. มีศรัทธา 6. ไม่ตระหนี่51 49ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 11/70/62. 50ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/70/62. 51ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 11/70/62. 159 สรุปการประยุกต์พุทธนวัตกรรมการสอนของพระพุทธองค์เชื่อมโยงความเชื่อเรื่อง การลอยบาปของพระภิกษุแต่ได้กลุ่มฆราวาสด้วยในการทำจิตบริสุทธ์ตามหลัก พระพุทธศาสนา คือ พระภิกษุเน้นทำรักษาศีล สมาธิ และปัญญา สำหรับฆราวาส เน้นทำจิตบริสุทธิ์ด้วย 1. จงทำความปลอดภัยในสัตว์ทั้งปวง 2. ไม่พูดเท็จ 3. ไม่ เบียดเบียนสัตว์4. ไม่ลักทรัพย์5. มีศรัทธา 6. ไม่ตระหนี่ ดังภาพที่ปรากฏดังนี้ ภาพที่ 4.19 การประยุกต์พุทธนวัตกรรมการสอนด้วยจิตบริสุทธิ์ด้วยการลอยบาปแบบ พระพุทธศาสนาสอนคนหนึ่งได้อีกคนในเรื่องเดียวกัน ที่มา: สรุปจากพระไตรปิฎก(ม.ม. (แปล) 12/70/62) สู่การประยุกต์การสอนตาม สถานการณ์ในปัจจุบันโดยสังเคราะห์ของผู้เขียน (2564) 2.เรื่องธรรมเทสนาที่มีคาถาพระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระเชตวัน อารามของ อนาถบิณฑิกเศรษฐี เขตกรุงสาวัตถี ณ ที่นั้น พระผู้มีพระภาคได้รับสิ่งเรียกภิกษุทั้งหลายมา ตรัสว่า “ภิกษุทั้งหลาย สัตว์ทั้งหลายคบค้าสมาคมกันด้วยธาตุอย่างเดียวกัน คือ สัตว์ ทั้งหลายผู้มีอัธยาศัยเลว คบค้าสมาคมกับสัตว์ทั้งหลายผู้มีอัธยาศัยเลว แม้ในอดีต สัตว์ทั้งหลายได้คบค้าสมาคมกันโดยธาตุอย่างเดียวกัน แม้ในอนาคต สัตว์ทั้งหลายจะคบค้าสมาคมกันโดยธาตุอย่างเดียวกัน แม้ในปัจจุบันนี้ สัตว์ทั้งหลายคบค้าสมาคมกันโดยธาตุอย่างเดียวกัน คือ สัตว์ ทั้งหลายผู้มีอัธยาศัยเลว คบค้าสมาคมกับสัตว์ทั้งหลายผู้มีอัธยาศัยเลว เปรียบเหมือนคูถ (อุจจาระ) กับคูถรวมกันได้ มูตร (ปัสสาวะ) กับมูตรรวมเข้ากัน ได้ เขฬะ (น้ำลาย) กับเขฬะรวมเข้ากันได้ ปุพโพ (น้ำหนอง) กับปุพโพรวมเข้ากันได้ โลหิต ความเชื่อเดิม ความเชื่อใหม่ การเรียนรู้แบบใหม่ จิตบริสทุธิ์ ศีล สมาธิ ปัญญา สอนพระภิกษุ จิตบริสุทธ์ ลอยบาปในศาสนาพุทธ เน้นศีล สอน ฆราส


163 159 สรุปการประยุกต์พุทธนวัตกรรมการสอนของพระพุทธองค์เชื่อมโยงความเชื่อเรื่อง การลอยบาปของพระภิกษุแต่ได้กลุ่มฆราวาสด้วยในการทำจิตบริสุทธ์ตามหลัก พระพุทธศาสนา คือ พระภิกษุเน้นทำรักษาศีล สมาธิ และปัญญา สำหรับฆราวาส เน้นทำจิตบริสุทธิ์ด้วย 1. จงทำความปลอดภัยในสัตว์ทั้งปวง 2. ไม่พูดเท็จ 3. ไม่ เบียดเบียนสัตว์4. ไม่ลักทรัพย์5. มีศรัทธา 6. ไม่ตระหนี่ ดังภาพที่ปรากฏดังนี้ ภาพที่ 4.19 การประยุกต์พุทธนวัตกรรมการสอนด้วยจิตบริสุทธิ์ด้วยการลอยบาปแบบ พระพุทธศาสนาสอนคนหนึ่งได้อีกคนในเรื่องเดียวกัน ที่มา: สรุปจากพระไตรปิฎก(ม.ม. (แปล) 12/70/62) สู่การประยุกต์การสอนตาม สถานการณ์ในปัจจุบันโดยสังเคราะห์ของผู้เขียน (2564) 2.เรื่องธรรมเทสนาที่มีคาถาพระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระเชตวัน อารามของ อนาถบิณฑิกเศรษฐี เขตกรุงสาวัตถี ณ ที่นั้น พระผู้มีพระภาคได้รับสิ่งเรียกภิกษุทั้งหลายมา ตรัสว่า “ภิกษุทั้งหลาย สัตว์ทั้งหลายคบค้าสมาคมกันด้วยธาตุอย่างเดียวกัน คือ สัตว์ ทั้งหลายผู้มีอัธยาศัยเลว คบค้าสมาคมกับสัตว์ทั้งหลายผู้มีอัธยาศัยเลว แม้ในอดีต สัตว์ทั้งหลายได้คบค้าสมาคมกันโดยธาตุอย่างเดียวกัน แม้ในอนาคต สัตว์ทั้งหลายจะคบค้าสมาคมกันโดยธาตุอย่างเดียวกัน แม้ในปัจจุบันนี้ สัตว์ทั้งหลายคบค้าสมาคมกันโดยธาตุอย่างเดียวกัน คือ สัตว์ ทั้งหลายผู้มีอัธยาศัยเลว คบค้าสมาคมกับสัตว์ทั้งหลายผู้มีอัธยาศัยเลว เปรียบเหมือนคูถ (อุจจาระ) กับคูถรวมกันได้ มูตร (ปัสสาวะ) กับมูตรรวมเข้ากัน ได้ เขฬะ (น้ำลาย) กับเขฬะรวมเข้ากันได้ ปุพโพ (น้ำหนอง) กับปุพโพรวมเข้ากันได้ โลหิต ความเชื่อเดิม ความเชื่อใหม่ การเรียนรู้แบบใหม่ จิตบริสทุธิ์ ศีล สมาธิ ปัญญา สอนพระภิกษุ จิตบริสุทธ์ ลอยบาปในศาสนาพุทธ เน้นศีล สอน ฆราส 160 (เลือด) กับโลหิตรวมเข้ากันได้ อุปมานี้ฉันใด อุปมาก็ฉันนั้น สัตว์ทั้งหลายคบค้าสมาคมกัน โดยธาตุอย่างเดียวกัน คือสัตว์ทั้งหลายผู้มีอัธยาศัยเลว คบค้าสมาคมกับสัตว์ที่มีอัธยาศัยเลว สัตว์ทั้งหลายคบค้าสมาคมกันโดยธาตุอย่างเดียวกัน คือสัตว์ทั้งหลายผู้มีอัธยาศัย งาม คบค้าสมาคมกับสัตว์ทั้งหลายผู้มีอัธยาศัยงาม แม้ในอดีต สัตว์ทั้งหลายได้คบค้าสมาคมกันโดยธาตุอย่างเดียวกัน คือ สัตว์ ทั้งหลายผู้มีอัธยาศัยงาม ได้คบค้าสมาคมกับสัตว์ทั้งหลายผู้มีอัธยาศัยงาม สรุปพุทธนวัตกรรมการสอนในพระสูตรนี้ พระพุทธองค์ทรงสอนแนะนำให้ลงมือ ปฏิบัติด้วยตนเองว่า “ป่าคือ กิเลส เกิดเพราะการคลุกคลีกัน ย่อมขาดไป เพราะการไม่คลุกคลีกัน บุคคลเกาะท่อนไม้เล็กพึงจมลงในห้วงน้ำใหญ่ฉันใด แม้สาธุชนอาศัยคนเกียจคร้านก็ย่อมจมลงฉันนั้น เพราะฉะนั้น พึงเว้นคนเกียจคร้าน ผู้มีความเพียรย่อหย่อนนั้นเสีย พึงอยู่ร่วมกับบัณฑิตผู้สงัด เป็นอริยะ มีใจเด็ดเดี่ยว เพ่งพินิจ ปรารภความเพียรเป็นนิจ คนในโลกนี้มีมาตั้งแต่อดีต อนาคต และปัจจุบันก็เป็นอย่างนี้ คือ คนเลวมีอัธยาศัยเลวก็คบคนมีอัธยาศัยเลว คนงามมีอัธยาศัยงามก็คบคนมีอัธยาศัยงาม52 และทรงเปรียบเทียบคนเลวและคนงาม โดยยกตัวอย่างให้เห็นภาพชัดเจนแต่ละ กลุ่มดังกล่าวแล้ว ทรงกล่าวว่าเรื่องสัตว์ผู้มีอัธยาศัยเหมือนกันจึงคบกันได้ตั้งแต่อดีต ปัจจุบันและอนาคต ดังภาพที่ปรากฏ ดังนี้ 52ดูรายละเอียดใน สํ.นิ. (แปล) 16/100/189. คนเลว มีอัธยาสัยเลว คบกับตนเลว คนงาม มีอัธยาสัยงาม คบคนอัธยาสัยงาม คบคนบัณฑิต มีความเพียร ไม่ประมาท หนทางการ บรรลุธรรม ด้วยปัญญา หลักความจริงในโลกนี้ตั้งแต่อดีต ปัจจุบัน และอนาคต การคบคนมีลักษณะอย่างนี้


164 160 (เลือด) กับโลหิตรวมเข้ากันได้ อุปมานี้ฉันใด อุปมาก็ฉันนั้น สัตว์ทั้งหลายคบค้าสมาคมกัน โดยธาตุอย่างเดียวกัน คือสัตว์ทั้งหลายผู้มีอัธยาศัยเลว คบค้าสมาคมกับสัตว์ที่มีอัธยาศัยเลว สัตว์ทั้งหลายคบค้าสมาคมกันโดยธาตุอย่างเดียวกัน คือสัตว์ทั้งหลายผู้มีอัธยาศัย งาม คบค้าสมาคมกับสัตว์ทั้งหลายผู้มีอัธยาศัยงาม แม้ในอดีต สัตว์ทั้งหลายได้คบค้าสมาคมกันโดยธาตุอย่างเดียวกัน คือ สัตว์ ทั้งหลายผู้มีอัธยาศัยงาม ได้คบค้าสมาคมกับสัตว์ทั้งหลายผู้มีอัธยาศัยงาม สรุปพุทธนวัตกรรมการสอนในพระสูตรนี้ พระพุทธองค์ทรงสอนแนะนำให้ลงมือ ปฏิบัติด้วยตนเองว่า “ป่าคือ กิเลส เกิดเพราะการคลุกคลีกัน ย่อมขาดไป เพราะการไม่คลุกคลีกัน บุคคลเกาะท่อนไม้เล็กพึงจมลงในห้วงน้ำใหญ่ฉันใด แม้สาธุชนอาศัยคนเกียจคร้านก็ย่อมจมลงฉันนั้น เพราะฉะนั้น พึงเว้นคนเกียจคร้าน ผู้มีความเพียรย่อหย่อนนั้นเสีย พึงอยู่ร่วมกับบัณฑิตผู้สงัด เป็นอริยะ มีใจเด็ดเดี่ยว เพ่งพินิจ ปรารภความเพียรเป็นนิจ คนในโลกนี้มีมาตั้งแต่อดีต อนาคต และปัจจุบันก็เป็นอย่างนี้ คือ คนเลวมีอัธยาศัยเลวก็คบคนมีอัธยาศัยเลว คนงามมีอัธยาศัยงามก็คบคนมีอัธยาศัยงาม52 และทรงเปรียบเทียบคนเลวและคนงาม โดยยกตัวอย่างให้เห็นภาพชัดเจนแต่ละ กลุ่มดังกล่าวแล้ว ทรงกล่าวว่าเรื่องสัตว์ผู้มีอัธยาศัยเหมือนกันจึงคบกันได้ตั้งแต่อดีต ปัจจุบันและอนาคต ดังภาพที่ปรากฏ ดังนี้ 52ดูรายละเอียดใน สํ.นิ. (แปล) 16/100/189. คนเลว มีอัธยาสัยเลว คบกับตนเลว คนงาม มีอัธยาสัยงาม คบคนอัธยาสัยงาม คบคนบัณฑิต มีความเพียร ไม่ประมาท หนทางการ บรรลุธรรม ด้วยปัญญา หลักความจริงในโลกนี้ตั้งแต่อดีต ปัจจุบัน และอนาคต การคบคนมีลักษณะอย่างนี้ 160 (เลือด) กับโลหิตรวมเข้ากันได้ อุปมานี้ฉันใด อุปมาก็ฉันนั้น สัตว์ทั้งหลายคบค้าสมาคมกัน โดยธาตุอย่างเดียวกัน คือสัตว์ทั้งหลายผู้มีอัธยาศัยเลว คบค้าสมาคมกับสัตว์ที่มีอัธยาศัยเลว สัตว์ทั้งหลายคบค้าสมาคมกันโดยธาตุอย่างเดียวกัน คือสัตว์ทั้งหลายผู้มีอัธยาศัย งาม คบค้าสมาคมกับสัตว์ทั้งหลายผู้มีอัธยาศัยงาม แม้ในอดีต สัตว์ทั้งหลายได้คบค้าสมาคมกันโดยธาตุอย่างเดียวกัน คือ สัตว์ ทั้งหลายผู้มีอัธยาศัยงาม ได้คบค้าสมาคมกับสัตว์ทั้งหลายผู้มีอัธยาศัยงาม สรุปพุทธนวัตกรรมการสอนในพระสูตรนี้ พระพุทธองค์ทรงสอนแนะนำให้ลงมือ ปฏิบัติด้วยตนเองว่า “ป่าคือ กิเลส เกิดเพราะการคลุกคลีกัน ย่อมขาดไป เพราะการไม่คลุกคลีกัน บุคคลเกาะท่อนไม้เล็กพึงจมลงในห้วงน้ำใหญ่ฉันใด แม้สาธุชนอาศัยคนเกียจคร้านก็ย่อมจมลงฉันนั้น เพราะฉะนั้น พึงเว้นคนเกียจคร้าน ผู้มีความเพียรย่อหย่อนนั้นเสีย พึงอยู่ร่วมกับบัณฑิตผู้สงัด เป็นอริยะ มีใจเด็ดเดี่ยว เพ่งพินิจ ปรารภความเพียรเป็นนิจ คนในโลกนี้มีมาตั้งแต่อดีต อนาคต และปัจจุบันก็เป็นอย่างนี้ คือ คนเลวมีอัธยาศัยเลวก็คบคนมีอัธยาศัยเลว คนงามมีอัธยาศัยงามก็คบคนมีอัธยาศัยงาม52 และทรงเปรียบเทียบคนเลวและคนงาม โดยยกตัวอย่างให้เห็นภาพชัดเจนแต่ละ กลุ่มดังกล่าวแล้ว ทรงกล่าวว่าเรื่องสัตว์ผู้มีอัธยาศัยเหมือนกันจึงคบกันได้ตั้งแต่อดีต ปัจจุบันและอนาคต ดังภาพที่ปรากฏ ดังนี้ 52ดูรายละเอียดใน สํ.นิ. (แปล) 16/100/189. คนเลว มีอัธยาสัยเลว คบกับตนเลว คนงาม มีอัธยาสัยงาม คบคนอัธยาสัยงาม คบคนบัณฑิต มีความเพียร ไม่ประมาท หนทางการ บรรลุธรรม ด้วยปัญญา หลักความจริงในโลกนี้ตั้งแต่อดีต ปัจจุบัน และอนาคต การคบคนมีลักษณะอย่างนี้ 161 ภาพที่ 4.20 ประยุกต์พุทธนวัตกรรมการสอนและแนวทางการปฏิบัติธรรมของพระภิกษุ และนักปฏิบัติด้วยการเรียนรู้ตามหลักความจริงในโลกนี้ตั้งแต่อดีต ปัจจุบัน และอนาคต การคบคนมีลักษณะอย่างนี้ ที่มา: สรุปจากพระไตรปิฎก(สํ.นิ. (แปล) 16/100/189)สู่การประยุกต์การสอนตาม สถานการณ์ในปัจจุบันโดยสังเคราะห์ของผู้เขียน (2564) สรุปการพัฒนาพุทธนวัตกรรมการสอนสู่การปฏิบัติด้วยตนเองโดยภาพรวมได้ดังนี้ ภาพที่ 4.21 การพัฒนาพุทธนวัตกรรมการสอนสู่การปฏิบัติด้วยตนเองโดยภาพรวม ที่มา : มาจากสรุปการพัฒนาพุทธนวัตกรรมการสอนสู่การปฏิบัติด้วยตนเองโดยสังเคราะห์ ของผู้เขียน (2564) สรุป การประยุกต์สอนจากการสนทนาธรรมของพระอรหันต์กล่าวถึงป่างามเพราะ เหตุใด มองอย่างไรให้ความจริงที่ซ้อนในป่าแห่งนี้ได้ เมื่อนำหลักคิดจากศาสตราจารย์ เกียรติคุณดร.สิริวรรณ ศรีพหล(25558 :240)53 มาประยุกต์ใช้การจัดการเรียนการสอนสู่ ปฏิบัติในพุทธศตวรรษที่26 ได้ดังนี้ ขั้นตอนการสนอแบบสร้างทัศนคติที่ดีด้วยการสนทนาและถาม-ตอบ 1.ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1.1สวดมนต์บูชาพระรัตนตรัย (แบบ มจร) 1.2 นั่งสมาธิ (3-5 นาที) และแผ่เมตตา 1.3 ผู้สอนแจ้งจุดประสงค์การเรียนการสอน 1.4 สนทนา ซักถามเกี่ยวกับเรื่องที่จะเรียน 53 ศาสตราจารย์เกียรติคุณดร.สิริวรรณ ศรีพหล,การจัดการเรียนการสอนวิชาพระพุทธศาสนาในสถานศึกษา, ส านักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,นนทบุรี,2558,หน้า240 ความรู้เดิมที่ผิด ความรู้ใหม่ที่ถูก การลงมือปฏิบัติ พุทธนวัตกรรมการ สอนสู่การปฏิบัติ ทางพ้นทุกข์ รู้แจ้งด้วย ปัญญาของ ตนเอง


165 161 ภาพที่ 4.20 ประยุกต์พุทธนวัตกรรมการสอนและแนวทางการปฏิบัติธรรมของพระภิกษุ และนักปฏิบัติด้วยการเรียนรู้ตามหลักความจริงในโลกนี้ตั้งแต่อดีต ปัจจุบัน และอนาคต การคบคนมีลักษณะอย่างนี้ ที่มา: สรุปจากพระไตรปิฎก(สํ.นิ. (แปล) 16/100/189)สู่การประยุกต์การสอนตาม สถานการณ์ในปัจจุบันโดยสังเคราะห์ของผู้เขียน (2564) สรุปการพัฒนาพุทธนวัตกรรมการสอนสู่การปฏิบัติด้วยตนเองโดยภาพรวมได้ดังนี้ ภาพที่ 4.21 การพัฒนาพุทธนวัตกรรมการสอนสู่การปฏิบัติด้วยตนเองโดยภาพรวม ที่มา : มาจากสรุปการพัฒนาพุทธนวัตกรรมการสอนสู่การปฏิบัติด้วยตนเองโดยสังเคราะห์ ของผู้เขียน (2564) สรุป การประยุกต์สอนจากการสนทนาธรรมของพระอรหันต์กล่าวถึงป่างามเพราะ เหตุใด มองอย่างไรให้ความจริงที่ซ้อนในป่าแห่งนี้ได้ เมื่อนำหลักคิดจากศาสตราจารย์ เกียรติคุณดร.สิริวรรณ ศรีพหล(25558 :240)53 มาประยุกต์ใช้การจัดการเรียนการสอนสู่ ปฏิบัติในพุทธศตวรรษที่26 ได้ดังนี้ ขั้นตอนการสนอแบบสร้างทัศนคติที่ดีด้วยการสนทนาและถาม-ตอบ 1.ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1.1สวดมนต์บูชาพระรัตนตรัย (แบบ มจร) 1.2 นั่งสมาธิ (3-5 นาที) และแผ่เมตตา 1.3 ผู้สอนแจ้งจุดประสงค์การเรียนการสอน 1.4 สนทนา ซักถามเกี่ยวกับเรื่องที่จะเรียน 53 ศาสตราจารย์เกียรติคุณดร.สิริวรรณ ศรีพหล,การจัดการเรียนการสอนวิชาพระพุทธศาสนาในสถานศึกษา, ส านักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,นนทบุรี,2558,หน้า240 ความรู้เดิมที่ผิด ความรู้ใหม่ที่ถูก การลงมือปฏิบัติ พุทธนวัตกรรมการ สอนสู่การปฏิบัติ ทางพ้นทุกข์ รู้แจ้งด้วย ปัญญาของ ตนเอง 161 ภาพที่ 4.20 ประยุกต์พุทธนวัตกรรมการสอนและแนวทางการปฏิบัติธรรมของพระภิกษุ และนักปฏิบัติด้วยการเรียนรู้ตามหลักความจริงในโลกนี้ตั้งแต่อดีต ปัจจุบัน และอนาคต การคบคนมีลักษณะอย่างนี้ ที่มา: สรุปจากพระไตรปิฎก(สํ.นิ. (แปล) 16/100/189)สู่การประยุกต์การสอนตาม สถานการณ์ในปัจจุบันโดยสังเคราะห์ของผู้เขียน (2564) สรุปการพัฒนาพุทธนวัตกรรมการสอนสู่การปฏิบัติด้วยตนเองโดยภาพรวมได้ดังนี้ ภาพที่ 4.21 การพัฒนาพุทธนวัตกรรมการสอนสู่การปฏิบัติด้วยตนเองโดยภาพรวม ที่มา : มาจากสรุปการพัฒนาพุทธนวัตกรรมการสอนสู่การปฏิบัติด้วยตนเองโดยสังเคราะห์ ของผู้เขียน (2564) สรุป การประยุกต์สอนจากการสนทนาธรรมของพระอรหันต์กล่าวถึงป่างามเพราะ เหตุใด มองอย่างไรให้ความจริงที่ซ้อนในป่าแห่งนี้ได้ เมื่อนำหลักคิดจากศาสตราจารย์ เกียรติคุณดร.สิริวรรณ ศรีพหล(25558 :240)53 มาประยุกต์ใช้การจัดการเรียนการสอนสู่ ปฏิบัติในพุทธศตวรรษที่26 ได้ดังนี้ ขั้นตอนการสนอแบบสร้างทัศนคติที่ดีด้วยการสนทนาและถาม-ตอบ 1.ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1.1สวดมนต์บูชาพระรัตนตรัย (แบบ มจร) 1.2 นั่งสมาธิ (3-5 นาที) และแผ่เมตตา 1.3 ผู้สอนแจ้งจุดประสงค์การเรียนการสอน 1.4 สนทนา ซักถามเกี่ยวกับเรื่องที่จะเรียน 53 ศาสตราจารย์เกียรติคุณดร.สิริวรรณ ศรีพหล,การจัดการเรียนการสอนวิชาพระพุทธศาสนาในสถานศึกษา, ส านักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,นนทบุรี,2558,หน้า240 ความรู้เดิมที่ผิด ความรู้ใหม่ที่ถูก การลงมือปฏิบัติ พุทธนวัตกรรมการ สอนสู่การปฏิบัติ ทางพ้นทุกข์ รู้แจ้งด้วย ปัญญาของ ตนเอง 161 ภาพที่ 4.20 ประยุกต์พุทธนวัตกรรมการสอนและแนวทางการปฏิบัติธรรมของพระภิกษุ และนักปฏิบัติด้วยการเรียนรู้ตามหลักความจริงในโลกนี้ตั้งแต่อดีต ปัจจุบัน และอนาคต การคบคนมีลักษณะอย่างนี้ ที่มา: สรุปจากพระไตรปิฎก(สํ.นิ. (แปล) 16/100/189)สู่การประยุกต์การสอนตาม สถานการณ์ในปัจจุบันโดยสังเคราะห์ของผู้เขียน (2564) สรุปการพัฒนาพุทธนวัตกรรมการสอนสู่การปฏิบัติด้วยตนเองโดยภาพรวมได้ดังนี้ ภาพที่ 4.21 การพัฒนาพุทธนวัตกรรมการสอนสู่การปฏิบัติด้วยตนเองโดยภาพรวม ที่มา : มาจากสรุปการพัฒนาพุทธนวัตกรรมการสอนสู่การปฏิบัติด้วยตนเองโดยสังเคราะห์ ของผู้เขียน (2564) สรุป การประยุกต์สอนจากการสนทนาธรรมของพระอรหันต์กล่าวถึงป่างามเพราะ เหตุใด มองอย่างไรให้ความจริงที่ซ้อนในป่าแห่งนี้ได้ เมื่อนำหลักคิดจากศาสตราจารย์ เกียรติคุณดร.สิริวรรณ ศรีพหล(25558 :240)53 มาประยุกต์ใช้การจัดการเรียนการสอนสู่ ปฏิบัติในพุทธศตวรรษที่26 ได้ดังนี้ ขั้นตอนการสนอแบบสร้างทัศนคติที่ดีด้วยการสนทนาและถาม-ตอบ 1.ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1.1สวดมนต์บูชาพระรัตนตรัย (แบบ มจร) 1.2 นั่งสมาธิ (3-5 นาที) และแผ่เมตตา 1.3 ผู้สอนแจ้งจุดประสงค์การเรียนการสอน 1.4 สนทนา ซักถามเกี่ยวกับเรื่องที่จะเรียน 53 ศาสตราจารย์เกียรติคุณดร.สิริวรรณ ศรีพหล,การจัดการเรียนการสอนวิชาพระพุทธศาสนาในสถานศึกษา, ส านักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,นนทบุรี,2558,หน้า240 ความรู้เดิมที่ผิด ความรู้ใหม่ที่ถูก การลงมือปฏิบัติ พุทธนวัตกรรมการ สอนสู่การปฏิบัติ ทางพ้นทุกข์ รู้แจ้งด้วย ปัญญาของ ตนเอง 53ศาสตราจารย์์เกีียรติคุิุณ ดร.สิิริิวรรณ ศรีีพหล,การจััดการเรีียนการสอนวิิชาพระพุทุธศาสนา ในสถานศึึกษา, สำนัักพิิมพ์์มหาวิิทยาลััยสุุโขทััยธรรมาธิิราช, นนทบุุรีี, 2558, หน้้า 240.


166 162 1.5 ผู้สอนแจ้งวิธีการเรียน การสอน การวัดและประเมินผล 2. ขั้นการสอนหรือประกอบกิจกรรม 2.1 ผู้สอนนำเข้าสู่บทเรียนตามเนื้อหาในสไลน์ -ใช้คำถามและค้นหาความจริง -การใช้สื่อหรืออุปกรณ์การสอน -ผู้สอนกระตุ้นให้ผู้เรียนสนใจการเรียนมากขึ้นด้วยตั้งคำถามให้ช่วยกัน ตอบ/แสดงความคิดและสรุป -มอบหมายงานให้ค้นหาข้อเท็จจริงโดยให้พื้นที่สถานที่ศึกษาจริง -นำเสนองานลงพื้นที่และค้นคว้านำเสนอเป็นองค์ความรู้จากพื้นที่แต่เรื่อง เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน 2.2 ขั้นสรุปบทเรียน/เนื้อหา -เสนอองค์ความรู้ที่ได้ศึกษา -ถาม-ตอบ ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียนและผู้เรียนกับผู้เรียน -สังเกตการณ์นำเสนองานที่มอบหมาย -ส่งงานในแต่ละกลุ่มเป็นรูปเล่มหรือเป็นไฟล์ต่อไป


167 163 เอกสารอ้างอิง 1. ภาษาไทย ก. เอกสารชั้นปฐมภูมิ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณ ราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2539. ข. เอกสารทุติยภูมิ (1) หนังสือ คณาจารย์สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง. อนุพุทธประวัติ: หนังสือเรียนนักธรรมชั้นโทฉบับ มาตรฐานบูรณาการชีวิต. กรุงเทพมหานคร: เลี่ยงเชียง, 2550. ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์. 80 นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ. พิมพ์ครั้งที่ 8. นนทบุรีพี: บาลานซ์แอนปริ้นติ้ง, 2561. ทิศนา แขมมณี. ศาสตร์การสอน : องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มี ประสิทธิภาพ, พิมพ์ครั้งที่ 21. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, 2560 นโยบายและยุทธศาสตร์การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม พ.ศ. 2563 – 2570. พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). พุทธวิธีในการสอน. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์สหธรรมิก จำกัด, 2547. พระนคร ปญฺาวชิโรและคณะ. วัดงาม นามมงคล : นวัตกรรมการจัดการแหล่งท่องเที่ยว วัดนามมงคล ตามแบบอารยสถาปัตย์ในจังหวัดเชียงใหม่. สถาบันวิจัยพุทธ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2563. พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). พจนานุกรมพุทธศาสน์ฉบับประมวลศัพท์. พิมพ์ครั้ง ที่ 23. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์ผลิธรรม, 2558. วิจารณ์ พานิช, ศ.นพ. และปิยาภรณ์ มัณฑะจิตร. การศึกษาคุณภาพสูงระดับโลก. กรุงเทพมหานคร: เอส.อาร์ พริ้นติ้ง, 2563. . การสร้างการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่21. นครปฐม: ส เจริญการพิมพ์, 2557. วิวัฒน์ มีสุวรรณ์. วิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษา. พิษณุโลก: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2561.


168 164 สิน งามประโคน. การวิเคราะห์พุทธวิธีการสื่อสารเพื่อการเผยแพร่พระพุทธศาสนา . คณะครุศาสตร์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พ.ศ. 2559 ได้รับ ทุนอุดหนุนจากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. สิริวรรณ ศรีพหล,การจัดการเรียนการสอนวิชาพระพุทธศาสนาในสถานศึกษา, สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,นนทบุรี,2558 สุวรรณี. สร้อยสงค์และคณะ. องค์ความรู้และการพัฒนานวัตกรรมการป้องกันและการ เสริมสร้างสุขภาพของพระสงฆ์เกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อเรื้อรังแบบมีส่วนร่วม ของภาคีเครือข่ายในภาคเหนือ. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหา จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2563. (2) สื่อออนไลน์ : กระทรวงศึกษาธิการเตรียมความพร้อมจัด 5 รูปแบบการเรียนการสอนยุคโควิด-19 ป่วนเมือง. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://www.thairath.co.th/news/local/ 2100016 [15 ตุลาคม 2564]. กูกัลก้า ฮูล์ม และแทร็กเลอร์ Kukulska-Hulme and Traxler 2013.244-257. การออก แบบการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://fernnapassorn 088.wordpress.com /2017/03/06/ บทที่-3-การออกแบบการเรียน/ [18 ตุลาคม 2564]. ครูไทย สู่การเปลี่ยนแปลงยุค “Digital 4.0” [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://irearn2. dhas.com/ครูไทยสู่การเปลี่ยนแปล/ [15 ตุลาคม 2564]. บทบาทของครูในยุคเทคโนโลยีสารสนเทศและยุคดิจิตอล. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://hongyokyok. wordpress.com/64-2/ [15 ตุลาคม 2564]. ภูษิมา ภิญโญสินวัฒน์. จัดการเรียนการสอนอย่างไรในสถานการณ์โควิด-19 : จาก บทเรียนต่างประเทศสู่การจัดการเรียนรู้ของไทย. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://tdri.or.th/2020/05/ examples-of-teaching-and-learning-incovid-19-pandemic/ [15 ตุลาคม 2564]. สมศ.ถอดบทเรียนผลประเมินร.ร. พบ 5 วิธีการสอนที่เหมาะกับยุคโควิด-19 [ออนไลน์]. แหล่งที่มา:https://www.prachachat.net/education/news-679542 [15 ตุลาคม 2564]. สุรเชษฐ์ ตรรกโชติ. การสอนในยุคดิจิทัลครู. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://www. educathai.com/ knowledge/articles/413. [18 ตุลาคม 2564].


169 165 สุวิมล มธุรส. การจัดการศึกษาในระบบออนไลน์ในยุค. วารสารรัชตภาคย์. ปีที่ 15 ฉบับที่ 40 พฤษภาคม – มิถุนายน 2564 - TCI กลุ่มที่ 2 มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ปี 2563-2567. Chargois, 2013. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : https://research.com/education/what-ismastery-learning. [22 เมษายน 2565]


162 บทที่ 5 พุทธนวัตกรรมการสอนให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมการเรียนรู้ด้วยการพึ่งตนเอง การสอนโดยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ด้วยตนเองเป็นกลยุทธ์การสอนที่จะ ดึงสมรรถนะภาพของผู้เรียนแต่ละคนให้สะท้อนผลการเรียนได้อย่างแท้จริง ทักษะความรู้ ความสามารถและพัฒนาการเรียนรู้ให้ก้าวหน้ายิ่งขึ้น โดยเฉพาะทักษะการคิดวิเคราะห์ใน การแก้ปัญหา การแสวงหาความรู้และการรู้จักทำงานร่วมกับคนอื่นได้อย่างมีความสุข สอดคล้องกับแนวคิดการพัฒนาตนเองในศตวรรษที่ 21 คือ การเรียนรู้ตลอดชีวิต เข้าใจ ตนเองและเข้าใจคนอื่นในการช่วยแบ่งปันกันทำงานด้วยน้ำใจที่เป็นกัลยาณมิตรต่อกันใน โลกที่ต้องการสมรรถนะของคนที่มีความรู้ ทักษะและคุณธรรมที่งดงามในการทำงานและ อยู่ร่วมกันในสังคม สถานศึกษาเป็นพลังต้นแบบที่ดีให้กับผู้เรียนนำความรู้วิธีคิดไปสร้างสรรค์ นวัตกรรมแก่สังคมและประเทศชาติสอดคล้องกับพระพุทธศาสนาในการสอนให้ปฏิบัติและ กระทำเรื่องใด ๆ ให้มีเป้าหมายร่วมกันว่า กระทำด้วยความเคารพต่อตนเองและผู้อื่นด้วย กายกรรม วจีกรรมและมโนที่สุจิตสะอาด การกระทำการใด ๆ ย่อมมีความสำเร็จและมี ความสุขเพิ่มขึ้นซึ่งได้นำเสนอเนื้อหาดังนี้ 5.1 หลักการจัดการเรียนรู้ด้วยตนเอง 5.2 แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ด้วยตนเอง 5.3 การประยุกต์ใช้แนวคิดและทฤษฎีสู่การสอนโดยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการ เรียนรู้ด้วยตนเอง 5.4 พุทธนวัตกรรมการสอนโดยการเรียนรู้ด้วยตนเอง 5.5 สรุปแนวทางการพัฒนาพุทธนวัตกรรมการสอนโดยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการ เรียนรู้ด้วยตนเอง 5.1 หลักการจัดการเรียนรู้ด้วยตนเอง การสอนให้ผู้เรียนได้การเรียนรู้แบบร่วมมือ (Instructional Models of Cooperative Learning) เป็นการสอนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้แบบร่วมมือของจอห์นสัน และจอห์นสัน1 ซึ่งได้ชี้ให้เห็นว่า ผู้เรียนควรร่วมมือกันในการเรียนรู้มากกว่าการแข่งขัน 1 Johnson, D.W. & Johansson, R.T. Instructional goal structure: Cooperative. competitive, or individualistic. Review of Educational Research, 1974, P 240.


171 163 กัน เพราะการแข่งขันก่อให้เกิดสภาพการณ์ของการแพ้-ชนะ ต่างจากการร่วมมือกัน ซึ่ง ก่อให้เกิดภาพการณ์ของการชนะ-ชนะ อันเป็นสภาพการณ์ที่ดีกว่าทั้งทางด้านจิตใจและ หลักการ เรียนรู้แบบร่วมมือ 5 ประการประกอบด้วย2 1. การเรียนรู้ต้องอาศัยหลักการพึ่งพากัน (positive interdependence) โดยถือ ว่าทุกคนมีความสำคัญเท่าเทียมกันและจะต้องพึ่งพากันเพื่อความสำเร็จร่วมกัน 2. การเรียนรู้ที่ดีต้องอาศัยการหันหน้าเข้าหากัน มีปฏิสัมพันธ์กัน (face to face interaction) เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ข้อมูล และการเรียนรู้ต่าง ๆ 3. การเรียนรู้ร่วมกันต้องอาศัยทักษะทางสังคม (social skills) โดยเฉพาะทักษะ ในการทำงานร่วมกัน 4. การเรียนรู้ร่วมกันควรมีการวิเคราะห์กระบวนการกลุ่ม (group processing) ที่ใช้ในการทำงาน และ 5. การเรียนรู้ร่วมกันจะต้องมีผลงานหรือผลสัมฤทธิ์ทั้งรายบุคคลและรายกลุ่มที่ สามารถตรวจสอบและวัดประเมินได้ (individual accountability) หากผู้เรียนมีโอกาสได้ เรียนรู้แบบร่วมมือกัน นอกจากจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ทางด้านเนื้อหาสาระต่าง ๆ ได้กว้างขึ้น และลึกซึ้งขึ้นแล้วยังสามารถช่วยพัฒนาผู้เรียนทางด้านสังคมและอารมณ์มากขึ้นด้วย รวมทั้งมีโอกาสได้ฝึกฝนพัฒนาทักษะกระบวนการต่าง ๆ ที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตอีกมาก วัตถุประสงค์ของรูปแบบ รูปแบบนี้มุ่งช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เนื้อหาสาระต่าง ๆ ด้วยตนเอง และด้วยความร่วมมือและความช่วยเหลือจากเพื่อน ๆ รวมทั้งได้พัฒนาทักษะทางสังคมต่าง ๆ เช่น ทักษะการสื่อสาร ทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่น ทักษะการสร้างความสัมพันธ์รวมทั้ง ทักษะการแสวงหาความรู้ ทักษะการคิด การแก้ปัญหาและอื่น ๆ ซึ่งมีหลากหลาย กระบวนการสอนแบบมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ด้วยตนเอง เช่น ที่.เอ.ไอ. (TAI) แอล.ที (L.T) จี.ไอ. (G.I) เป็นต้น ซึ่งขอเสนอวิธีการสอนดังนี้ 1. กระบวนการเรียนการสอนของรูปแบบ ที่.เอ.ไอ. (TAI คำว่า "TAI" มาจาก "Team - Assisted Individualization"ซึ่งมีกระบวนการดังนี้ 1.1) จัดผู้เรียนเข้ากลุ่มคละความสามารถ (เก่ง-กลาง-อ่อน) กลุ่มละ 4 คน และ เรียกกลุ่มนี้ว่า กลุ่มบ้านของเรา (home group) 1.2) สมาชิกในกลุ่มบ้านของเรา ได้รับเนื้อหาสาระและศึกษาเนื้อหาสาระร่วมกัน 1.3) สมาชิกในกลุ่มบ้านของเรา จับคู่กันทำแบบฝึกหัด 2 ทิศนา แขมมณี, ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อจัดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ, พิมพ์ครั้ง ที่ 21, (กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560), หน้า 267.


172 164 - ถ้าใครทำแบบฝึกหัดได้ 75% ขึ้นไปให้ไปรับการทดสอบรวบยอดครั้ง สุดท้ายได้ - ถ้ายังทำแบบฝึกหัดได้ไม่ถึง 75% ให้ทำแบบฝึกหัดซ่อมจนกระทั่งทำได้ แล้วจึงไปรับการทดสอบรวบยอดครั้งสุดท้าย 2. กระบวนการเรียนการสอนของรูปแบบ แอล.ที(L.T) "L.T." มาจากคำว่า Learning Together ซึ่งมีกระบวนการที่ง่าย ๆ คือ 2.1) จัดผู้เรียนเข้ากลุ่มคละความสามารถ (เก่ง-กลาง-อ่อน) กลุ่มละ 4 คน 2.2) กลุ่มย่อยกลุ่มละ 4 คน ศึกษาเนื้อหาร่วมกัน โดยกำหนดให้แต่ละคนมี บทบาทหน้าที่ช่วยกลุ่มในการเรียนรู้ ตัวอย่างเช่น คนที่ 1: ศึกษาโจทย์คำถามที่ได้รับ คนที่ 2: ศึกษาแหล่งข้อมูลค้นคว้าหาคำตอบ คนที่ 3: วิเคราะห์ข้อมูลช่วยกัน คนที่ 4: ทบทวนคำตอบและปรับปรุงให้ถูกต้อง 2.3) กลุ่มสรุปคำตอบร่วมกัน และส่งคำตอบนั้นเป็นผลงานกลุ่ม 2.4) ผลงานกลุ่มได้คะแนนเท่าไร สมาชิกทุกคนในกลุ่มนั้นจะได้คะแนนนั้น เท่ากันทุกคน 3. กระบวนการเรียนการสอนของรูปแบบ จี.ไอ. (G.I) "G.I." คือ "Group Investigation" รูปแบบนี้เป็นรูปแบบที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนช่วยกัน ไปสืบค้นข้อมูลมาใช้ในการเรียนรู้ร่วมกัน โดยดำเนินการเป็นขั้นตอนดังนี้ 3.1 จัดผู้เรียนเข้ากลุ่มคละความสามารถ (เก่ง-กลาง-อ่อน) กลุ่มละ 3.2 กลุ่มย่อยศึกษาเนื้อหาสาระร่วมกัน โดย - แบ่งเนื้อหาออกเป็นหัวข้อย่อย ๆ แล้วแบ่งกันไปศึกษาหาคำตอบ - ในการเลือกเนื้อหา ควรให้ผู้เรียนอ่อน เป็นผู้เลือกก่อนเพื่อเป็นแรงจูงใจ ในการเรียน 3.3 สมาชิกแต่ละคน ไปศึกษาหาข้อมูลเพื่อตอบคำถามมาให้กลุ่ม บทบาทแต่ ละคนแสดงความคิดเห็นเป็นการกลุ่มอภิปรายร่วมกัน และสรุปผลการศึกษานำเสนอองค์ ความรู้ 3.4 กลุ่มนำเสนอองค์ความรู้ต่อหน้าชั้นเรียนต่อไป3 3 อ้างแล้ว.


173 165 ดังนั้น จึงสรุปได้ว่าหลักการเรียนรู้ด้วยตนเองผู้เรียนต้องเข้าใจตนเองและเข้าใจ ผู้อื่นในการเรียนรู้ในโลกปัจจุบันที่ต้องอาศัยซึ่งกันและกันตลอดถึงการเรียนรู้การใช้เครื่องมือ ที่ทันสมัยทางเทคโนโลยีอีกด้วย ดังนี้ 1. การเรียนรู้อย่างมีเครือข่ายซึ่งต้องอาศัยหลักการพึ่งพากัน 2. ต้องฝึกทักษะการเรียนรู้โดยใช้สื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัย 3. การเรียนรู้ด้วยการเลือกใช้ข้อมูลทาง Internet ซึ่งเป็นข้อมูลมหาศาล (Big Data) ซึ่งมีปริมาณมาก (Volume) ความหลากหลาย (Variety) และความเร็ว (Velocity) 4. ผู้เรียนต้องเก่งในการตั้งคำถามเพื่อหาคำตอบให้ตรงเป้าหมายการเรียนรู้ได้ ถูกต้อง 5. การเรียนรู้ด้วยตนเองผู้เรียนต้องมีความทักษะในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ด้วยเหตุและผลบนพื้นฐานข้อเท็จจริงดังภาพต่อไปนี้ ภาพที่ 5.1 หลักการเรียนรู้ด้วยตนเอง ที่มา : มาจาก ทิศนา แขมมณี, 2560 5.2 แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ด้วยตนเอง 1. แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของรอเจอร์ส (Rogers :1969) แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ มนุษย์จะสามารถพัฒนาตนเองได้ดีหากอยู่ใน สภาพการณ์ที่ผ่อนคลายและเป็นอิสระ การจัดบรรยากาศการเรียนที่ผ่อนคลายและเอื้อต่อ การเรียนรู้ (supportive atmosphere) และเน้นให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง (studentcentered teaching) โดยครูใช้วิธีการสอนแบบชี้แนะ (non-directive) และทำหน้าที่ อำนวยความสะดวกในการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน (facilitator) และการเรียนรู้จะเน้น ครู อาจารย์แนะน า ทักษะการใช้สื่อ เทคโนโลยี สภาพแวดล้อมทาง สังคม/เพื่อน เพิ่มศักยภาพการ เรียนรู้ด้วยตนเอง


174 166 กระบวนการสำคัญ (process learning) ซึ่งมีหลักการจัดการศึกษาและการสอนให้เกิดการ เรียนรู้ด้วยตนเองดังนี้ 1) การจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนให้อบอุ่น ปลอดภัย ไม่หวาดกลัว น่าไว้วางใจ จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี 2) ผู้เรียนแต่ละคนมีศักยภาพและแรงจูงใจที่จะพัฒนาตนเองอยู่แล้ว ครู จึงควรสอนแบบชี้แนะ (non-directive) โดยให้ผู้เรียนเป็นผู้นำทางในการเรียนรู้ด้วย ตน (self-directed) และคอยช่วยเหลือผู้เรียนให้เรียนอย่างสะดวกจนบรรลุผล 3) ในการจัดการเรียนการสอนควรเน้นการเรียนรู้กระบวนการ (process learning) เป็นสำคัญ เนื่องจากกระบวนการเรียนรู้เป็นเครื่องมือสำคัญที่บุคคลใช้ในการ ดำรงชีวิตและแสวงหาความรู้ต่อไป 2. แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของโคมส์ (Combs) ได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับการ เรียนรู้ความรู้สึกของผู้เรียนมีความสำกัญต่อการเรียนรู้มาก เพราะความรู้สึกและเจตคติของ ผู้เรียนมีอิทธิพลต่อกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยมีหลักการจัดการศึกษาและการสอน โดยการคำนึงถึงความรู้สึกของผู้เรียน การสร้างเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้เป็นสิ่งสำคัญที่ จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี 3. แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของ โนลส์ (Knowles) ได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับการ เรียนรู้ด้วยตนเองดังนี้ 1) ผู้เรียนจะเรียนรู้ได้มากหากมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ด้วยตนเอง 2) การเรียนรู้ของมนุษย์เป็นกระบวนการภายใน อยู่ในความควบคุมของ ผู้เรียนแต่ละคน ผู้เรียนจะนำประสบการณ์ ความรู้ ทักษะและค่านิยมประมวลทฤษฎีการ เรียนรู้ที่เป็นสากลและการประยุกต์สู่การสอน มาสู่การเรียนรู้ของคน 3) มนุษย์จะเรียนรู้ได้ดีหากมีอิสระที่จะเรียนในสิ่งที่ตนต้องการและด้วย วิธีการที่ตนพอใจ 4) มนุษย์ทุกคนมีลักษณะเฉพาะตน ความเป็นเอกัตบุคคลเป็นสิ่งที่มีคุณค่า มนุษย์ควรได้รับการส่งเสริมในการพัฒนาความเป็นเอกัตบุคคลของตน 5) มนุษย์เป็นผู้มีความสามารถและเสรีภาพที่จะตัดสินใจ และเลือก กระทำสิ่งต่าง ๆ ตามที่ตนพอใจ และรับผิดชอบในผลของการกระทำนั้น สรุปได้ว่าแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู้ด้วยตนเองเป็นหลักคิดการสอนที่มีคุณค่า สำหรับฝึกผู้เรียนให้รู้จักคิดวิเคราะห์เพื่อนำความรู้ที่ได้มาสร้างนวัตกรรมไปสร้างคุณค่าทาง สังคมเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจในการพัฒนาเอง สังคม วัฒนธรรมที่ดีงามประเทศได้ต่อไป


175 167 2. ทฤษฎีเกสตัลต์ (Gestalt theory)4 คำว่า “gestalt” เป็นคำศัพท์ในภาษา เยอรมัน หมายถึง รูปร่างหรือรูปแบบ (form or pattern) ทั้งที่เป็นส่วนย่อยและส่วน ทั้งหมด นักทฤษฎีในกลุ่มนี้ศึกษาว่ามนุษย์รับรู้สิ่งที่เห็นอย่างไรและเข้าใจ ความสัมพันธ์ของ ส่วนทั้งหมดกับส่วนย่อยที่ประกอบกันเป็นส่วนทั้งหมดอย่างไรนักจิตวิทยาเกสตัลต์ได้ อธิบายการเรียนรู้ว่าเกิดจากการรับรู้และการหยั่งเห็น และสร้างกฎการจัดระเบียบการรับรู้ (the laws of perceptual organization) เพื่ออธิบายการรับรู้ของมนุษย์ดังนี้ 1) กฎแห่งความสัมพันธ์(related laws) เป็นกฎที่อธิบายการรับรู้ของมนุษย์ ที่มีต่อองค์ประกอบ ย่อยที่เป็นสมาชิกของส่วนรวมหรือส่วนทั้งหมด โดยตั้งกฎการรับรู้ 4 กฎ ได้แก่ (1) กฎของความใกล้เคียง (proximity) ชี้ว่าองค์ประกอบที่ใกล้เคียงกัน ของสิ่งใดสิ่งหนึ่งมีแนวโน้มที่จะรับรู้เป็นกลุ่มเดียวกัน (2) กฎของความเหมือน (similarity) อธิบายว่า สิ่งที่มีลักษณะคล้ายกัน เช่น สีหรือ รูปร่างที่คล้ายกันมีแนวโน้มที่จะถูกจัดเข้ากลุ่มเดียวกัน (3) กฎแห่งความสมบูรณ์(closure) สมองมีแนวโน้มที่จะรับรู้ภาพของสิ่ง ที่ไม่สมบูรณ์ให้เป็นรูปที่สมบูรณ์โดยอาศัยประสบการณ์เดิม เพราะภาพปิดมีความแน่นอน ผู้เรียนจึงมีแนวโน้มที่จะ มองภาพเปิดราวกับเป็นภาพปิด (4) กฎแห่งความชัดเจน (simplicity) บุคคลรับรู้สิ่งเร้าเป็นภาพรวม มากกว่าการมอง ส่วนย่อยที่แฝงอยู่ในภาพรวมนั้น ซึ่งสอดคล้องกับทฤษฎีการสร้างความรู้ (constructivism) สนใจเป็นรายบุคคล/มีส่วนร่วมในการเรียนด้วยตนเอง 3. ทฤษฎีการสร้างความรู้ (constructivism) มีพื้นฐานมาจากปรัชญาเหตุผลนิยม (rationalism) ซึ่งเชื่อว่าเหตุผลเป็นแหล่งกำเนิดของความรู้ความจริงในโลกนี้เกิดจาก การสร้างมากกว่าการค้นพบนักปรัชญาในกลุ่มเหตุผลนิยม กล่าวว่า ความจริงในโลกไม่ได้มี ความจริงเดียวแต่ละบุคคลเป็นผู้สร้างความจริงของตัวเองขึ้นจากการรับรู้และการให้ ความหมายของสิ่งต่าง ๆ ตามประสบการณ์และสภาพแวดล้อมของประสบการณ์นั้น นอกจากนี้นักทฤษฎีในกลุ่มนี้ยังเชื่อว่าธรรมชาติของผู้เรียนนั้นมีความกระหายใคร่ เรียนรู้ ดังนั้นการเรียนรู้จึงเป็นการสร้างความรู้โดยผู้เรียนเป็นผู้ลงมือกระทำด้วย ตนเองมากกว่า การรับการถ่ายทอดความรู้จากผู้อื่น สิ่งที่เรียนรู้ขึ้นอยู่กับวิธีการที่บุคคลแต่ 4 เติมศักดิ์ คทวณิช, จิตวิทยาทั่วไป, (กรุงเทพมหานคร: บริษัทส.เอเซียเพรส, 2546), หน้า 187.


176 168 ละคนสร้างความหมายจากการรับรู้ในสิ่งนั้นแนวคิดการสร้างความรู้ สามารถแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ ดังนี้5 1) การสร้างความรู้เป็นกระบวนการทางปัญญาของแต่ละบุคคล (cognitive constructivism หรือ individual constructivism) มีที่มาจากแนวคิดของเพียเจต์ นัก ทฤษฎีคนสำคัญในฝ่ายพัฒนาการทางสติปัญญา (cognitive development) ซึ่งอธิบาย การสร้างความรู้ว่าเกิดขึ้นเมื่อบุคคลเผชิญกับประสบการณ์หรือสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติที่ ทำให้เกิดภาวะสับสน สงสัย ไม่เข้าใจหรือที่ เรียกว่าภาวะไม่สมดุล (disequilibrium) เพื่อให้เข้าสู่ภาวะหายสงสัยหรือภาวะสมดุล (equilibrium) บุคคลจำเป็นต้องปรับโครงสร้าง ทางปัญญา (schema) ด้วยกระบวนการทางปัญญา (cognitive process) ซึ่งประกอบด้วย กระบวนการรับเข้าสู่โครงสร้างทางปัญญาเดิม (assimilation) ซึ่งเกิดขึ้นเมื่อประสบการณ์ ใหม่ที่ได้รับสอดคล้องกับประสบการณ์เดิม 2) การสร้างความรู้เป็นกระบวนการทางสังคม (social constructivism) มีที่มา จากแนวคิดของไวก็อทสกี ซึ่งเป็นนักทฤษฎีทางสังคมวัฒนธรรมที่อธิบายว่าความรู้เป็น ผลิตผลจากการสะสมประสบการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมตั้งแต่บรรพบุรุษ การเรียนรู้นั้น เกิดขึ้นผ่านการมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมกับผู้อื่นโดยใช้ภาษาและสัญลักษณ์อื่น ๆ การเรียนรู้ตามทฤษฎีการสร้างความรู้สามารถนำมาสรุปเป็นหลักการสำคัญในการ เรียนรู้ ได้ดังนี้6 1) การเรียนรู้ประสบการณ์ใหม่ขึ้นกับประสบการณ์เดิมของผู้เรียน 2) การเรียนรู้คือการสร้างความหมาย ความเข้าใจของผู้เรียนจากประสบการณ์ที่ ได้รับ 3) การสร้างความเข้าใจของผู้เรียนมีพื้นฐานมาจากสิ่งที่ผู้เรียนรู้มาก่อน 4) การสร้างความเข้าใจของบุคคลเกิดจากการมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมกับผู้อื่น 5) ผู้เรียนเรียนรู้ได้ดีในสิ่งที่ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติการเรียนรู้เป็นกระบวนการเชิงรุก ไม่ใช่กระบวนการเชิงรับ 6) ประสบการณ์การเรียนรู้ที่เป็นรูปธรรมและมีความเชื่อมโยงกับสภาพจริงทำให้ ผู้เรียนมีความเข้าใจอย่างลึกซึ้งมากกกว่าสิ่งที่เป็นนามธรรมและไม่มีความเชื่อมโยงกับ สภาพจริง 5 Gredler, Learning and Instruction: Theory Into Practice, 3rd Edition, University of South Carolina: Pearson, 1997, P 57-58. 6 Eggen, P. & Kauchak, D. Strategies and Models for Teachers: Teaching Content and Thinking Skills, (6th ed.), (Boston: Pearson, 2012), P 27-29.


177 169 สรุปได้การเรียนรู้ด้วยตนเองซึ่งสอดคล้องแนวคิดของศตวรรษที่ 21 ที่ว่าการเรียนรู้ ตลอดชีวิต ดังคำกล่าวที่ว่า ผลของการกระทำเกิดจากผลของการเรียนรู้เรียนรู้อย่างไรก็ผล อย่างนั้น ในศตวรรษที่ 21 ศาสตราจารย์นายแพทย์วิจารณ์ พานิช7 ได้กล่าวในหนังสือ การสร้างการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ 21 กล่าวว่า - ครูอาจารย์ยุคใหม่ พร้อมเรียนรู้กับศิษย์และสร้างแรงจูงใจให้ศิษย์ค้นหาความรู้ ด้วยตนเอง ด้วยการเรียนพร้อมกับเพื่อนครู/อาจารย์เรียกว่าเรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติ (Professional Learning Communication-PLC) - การสร้างความรู้ขึ้นใช้เอง เพื่อทำหน้าที่ "อำนวยการ" และแลกเลี่ยนเรียนรู้กับ เพื่อนครู และเผยแพร่เป็นผลงานวิชการ - เรียนรู้แลกเลี่ยนเรียนรู้กับโลก เรื่องการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 - ลงพื้นที่ออกไปใช้ทรัพยากรการเรียนรู้ในชุมชนในสถานประกอบการ ฯลฯ และ ในโลก - จัดให้ศิษย์เรียนรู้จากชีวิตจริง.... (Project-Based Learning -PBL) เรียนรู้จาก การลงมือปฏิบัติ เรียนรู้จากปัญหาความซับซ้อน - เป็นตัวอย่างและเสวนากับศิษย์เรื่องความดี คุณธรรม จริยธรรม เชื่อมโยงกับ เหตุการณ์จริง มีชีวิตจริง ซึ่งถือว่าในศตวรรษที่ 21 มีประเด็นการเรียนรู้ด้วยตนเองอีกมาก หมายในชีวิตจริงและเป็นเรื่องจำเป็นที่ครู อาจารย์ต้องเปิดโอกาสให้ศิษย์ทุกคนเรียนรู้ด้วย ตนเองตามความต้องการและถนัดของแต่ละบุคคล 5.3 การประยุกต์ใช้แนวคิดและทฤษฎีสู่การสอนโดยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมใน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การประยุกต์การสอนทฤษฎีเกสตัลต์ (Gestalt theory) และทฤษฎีการสร้าง ความรู้ (constructivism) สู่นวัตกรรม8 ดังนี้ 1) ในการสอนควรเสนอภาพรวมให้ผู้เรียนเห็นก่อนเสนอภาพย่อย 2) การจัดระเบียบสิ่งเร้าที่ต้องการให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี ควรจัดสิ่งที่ เหมือนกันหรือคล้ายคลึงกันไว้เป็นกลุ่มเดียวกัน 7 ศ.นพ. วิจารณ์ พานิช, การสร้างการเรียนรู้สู้ศตวรรษที่ 21, (นครปฐม: ส เจริญการพิมพ์, 2557), หน้า 53. 8 ชาติชาย ม่วงปฐม, [ออนไลน์], แหล่งที่มา: http://portal5.udru.ac.th/ebook/pdf/ upload/ 17c59V53360FeV129B1K.pdf [4 สิงหาคม 2565].


178 170 3) ในการสอน ครูไม่จำเป็นต้องเสียเวลาเสนอเนื้อหาทั้งหมดที่สมบูรณ์ ครูสามารถ เสนอเนื้อหาแต่เพียงบางส่วนได้ 4) การเสนอบทเรียนหรือเนื้อหาควรจัดให้มีความต่อเนื่องกันจะช่วยให้ผู้เรียนเกิด การเรียนรู้ได้ดีและเร็ว 5) ควรส่งเสริมให้ผู้เรียนมีประสบการณ์ที่หลากหลาย กว้างขวางเพื่อให้ผู้เรียน สามารถนำประสบการณ์เหล่านั้นไปใช้ในการแก้ปัญหาแบบหยั่งเห็นได้ 6) ในการแก้ปัญหา ควรให้ผู้เรียนได้ฝึกมองปัญหาทุกแง่มุม ใช้ความคิดอย่างมี เหตุผลในการแก้ปัญหาไม่มองปัญหาโดยมีอคติ 7) การเรียนรู้ประสบการณ์ใหม่ขึ้นกับประสบการณ์เดิมของผู้เรียน ดังนั้นก่อน เรียนเรื่องใหม่ ผู้สอนควรสำรวจความรู้และประสบการณ์เดิมของผู้เรียนที่จำเป็นต่อการ เรียนรู้เรื่องใหม่ เพื่อให้ผู้เรียนได้เชื่อมโยงความรู้และประสบการณ์เดิมสู่การเรียนรู้เรื่องใหม่ ทำให้ผู้เรียนมีความเข้าใจการเรียนรู้เรื่องใหม่ได้ดีขึ้น เช่น การขี่จักรยานเป็นพื้นฐานของ การขี่จักรยานยนต์ ผู้เรียนที่สามารถขี่จักรยานได้ จะมีพื้นฐานคือการทรงตัวและ ประสบการณ์ในการใช้ถนน 8) การเรียนรู้คือการสร้างความหมาย ความเข้าใจของผู้เรียนจากประสบการณ์ที่ ได้รับ เช่น การที่ผู้เรียนเข้าใจว่าฤดูร้อน ร้อนกว่าฤดูหนาวเพราะโลกอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์ มากกว่าเสื้อโคททำให้ผู้สวมใส่อบอุ่นเพราะเสื้อโคทเป็นแหล่งกำเนิดของความร้อน เช่นเดียวกับไฟ การเข้าใจดังกล่าวนี้มาจาก การแปลความหมายจากประสบการณ์ของ ผู้เรียนเอง 9) ก่อนการจัดการเรียนรู้เรื่องใหม่ ควรตรวจสอบความรู้เดิมของผู้เรียนว่าเป็น ความรู้ที่ถูกต้องหรือไม่ หากเป็นความรู้ที่ไม่ถูกต้องหรือเป็นความเข้าใจผิดต้องแก้ไขให้ ถูกต้อง เพราะในการสร้างความเข้าใจใหม่นั้น ผู้เรียนจะแปลความหมายของสิ่งที่เรียนรู้ใหม่ จากความรู้และประสบการณ์เดิมที่มีอยู่ เช่น เวลาเอามือวางเหนือเตาไฟจะรู้สึกว่ามือร้อน ดังนั้นนักเรียนจึงสรุปว่าในฤดูร้อนที่เรารู้สึกร้อนก็เพราะโลกอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากกว่าใน ฤดูหนาวนั่นเอง 10) การเรียนรู้เป็นปฏิสัมพันธ์ทางสังคม ดังนั้นควรจัดให้ผู้เรียนได้ทำงานเป็นกลุ่ม เล็ก เพื่อให้มีโอกาสแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ระหว่างผู้เรียนด้วยกัน และผู้เรียน กับผู้สอนหรือการจัดให้ผู้เรียนได้เรียนรู้กับผู้ทรงภูมิความรู้ที่อยู่ในท้องถิ่น 11) ลดการบรรยาย จัดกิจกรรมหรือสถานการณ์ที่ท้าทายสติปัญญาและศักยภาพ ของผู้เรียนให้ผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง ฝึกปฏิบัติและประยุกต์ใช้ความรู้ ในสถานการณ์จริงและสะท้อนผลการเรียนรู้ของตนเอง


179 171 12) จัดให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากสถานการณ์และปัญหาที่เกิดขึ้นตามสภาพจริงใน สังคมเพื่อให้ผู้เรียนเห็นคุณค่าและประโยชน์ของการเรียนรู้ 13) ให้ผู้เรียนเป็นผู้รับผิดชอบการเรียนรู้ของตนเอง โดยส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนา ทักษะการเรียนรู้และทิศทางการเรียนรู้ของตนเอง ได้แก่ การวางแผนบริหารจัดการการ เรียนรู้ของตนเอง ควบคุมติดตามผลการเรียนรู้ด้วยตนเอง ประเมินผลและปรับปรุงการ เรียนรู้ของตนเองอย่างต่อเนื่อง 14) บทบาทของครู คือ ส่งเสริม สนับสนุนและให้ความช่วยเหลือชี้แนะการเรียนรู้ ให้ ผู้เรียนประสบความสำเร็จในการเรียน9 ดังนั้นการเรียนรู้ในกลุ่มเกสตัลต์สามารถนำไปประยุกต์ใช้การเรียนรู้ด้วยตนเอง สรุปได้ดังนี้ 1. การจัดการเรียนการสอนให้นำเสนอภาพรวมให้ผู้เรียนเห็นรับรู้และทำความ เข้าใจก่อนที่จะเสนอส่วนย่อยเพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เพิ่มขึ้น 2. การจัดเนื้อหาในการเรียนควรเรียงตามลำดับจากง่ายไปหายากเพื่อช่วยให้ผู้เรียน เกิดการเรียนรู้ด้วยตนเองเพิ่มเติมที่ง่ายขึ้น 3. จัดการเรียนการสอนควรให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ที่หลากหลาย ในการคิด สร้างสรรค์ด้วยการวิเคราะห์และแก้ปัญหาด้วยตนเอง 4. การเรียนการสอนจะทำอย่างไรให้เชื่อมกับความสัมพันธ์กับประสบการณ์เดิมที่ ใกล้ตัวของผู้เรียน จะได้ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดีและรวดเร็วขึ้น 5. การจัดการเรียนการสอนไม่ควรนำเสนอเนื้อหาทั้งหมดแก่ผู้เรียน อาจจะ นำเสนอเนื้อหาบางส่วนที่ใกล้ตัวจากพื้นฐานเดิมเพื่อให้ผู้เรียนนำประสบการณ์เดิมที่ตนเอง เคยได้เรียนรู้มาแล้วมาต่อยอดเรียนรู้ใหม่ได้ง่ายขึ้น ในขณะที่พิมพ์ เดชะคุปต์ และพเยาว์ ยินดีสุข10 ได้เสนอให้ครูสอนต้องเปลี่ยนกระทัศน์ใหม่ของการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21 ดังนี้ 9 ครูประถมคอทคอท, [ออนไลน์], แหล่งที่มา: https://www.krupatom.com/education _1605ทฤษฎีการเรียนกลุ่ม-เกสต/ [4 สิงหาคม 2565]. 10พิ มพ์ เดชะคุป ต์ และพ เยาว์ ยินดีสุข, การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21, (กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2557), หน้า 45.


180 172 กระบวนทัศน์เดิมของการเรียนการสอน กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนการสอน 1. การสอนแบบให้ทำตาม 1.1 ครูเป็นศูนย์กลางของการสอน 1.2 มีแบบการสอนเป็นแบบแผน เป็นมาตรฐาน เพื่อให้ได้ผลผลิตตามแบบ แผนที่กำหนด 1.3 จุดเน้นคือเร้าใจให้ผู้เรียน อยากรู้อยากเห็น เร้าใจ/กระตุ้นความ สนใจให้คิดให้กับผู้เรียนโดยตรง 1.4 การสอนเป็นกระบวนการ ส่งผ่านการอบรม 1. การเรียนรู้เพื่อสนองความ ต้องการ หรือทำให้เหมือนต้นแบบ ของ ผู้เรียนเป็นรายบุคคล 1.1 ครูเป็นผู้อำนวยความสะดวก ผู้สนับสนุน และเป็นพี่เลี้ยง 1.2 ใช้หลากหลายรูปแบบการ สอนเพื่อพัฒนาผู้เรียนได้เต็มศักยภาพ 1.3 เป็นการถ่ายทอดความรู้และ ทักษะลงมือปฏิบัติ สั่งสอน สำรวจ ตรวจ ค้นและเรียนรู้ 1.4 การสอนเป็นกระบวนการ ของการริเริ่ม อำนวยความสะดวกและให้ ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตัวเองและค้นพบ ความสามารถที่สมบูรณ์ด้วยตนเอง ต้องมีคุณสมบัติที่เอื้ออำนวยต่อการคิด ภาพที่ : 5.2 กระทัศน์ใหม่ของการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21 ที่มา : มาจาก พิมพ์ เดชะคุปต์ และพเยาว์ ยินดีสุข (2557:45) 5.4 พุทธนวัตกรรมการสอนโดยการเรียนรู้ด้วยตนเอง พระพุทธเจ้าทรงสอนมีมุ่งหมายเป้าหมายชัดเจนเพื่อให้ผู้เรียนหลุดพ้นจากความ ทุกข์โดยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ด้วยตนเอง พระองค์เป็นเพียงผู้ชี้แนวทางปฏิบัติ ให้เท่านั้น ดังคำสอนที่พระพุทธเจ้าตรัสสอนให้ภิกษุทั้งหลายก่อนออกสอนคนอื่นในครั้งแรก ว่า ภิกษุทั้งหลาย พวกเธอจงจาริกไป เพื่อประโยชน์สุขแก่ชนจำนวนมาก เพื่ออนุเคราะห์ ชาวโลก เพื่อประโยชน์เกื้อกูลและความสุขแก่ทวยเทพและมนุษย์ อย่าไปโดยทางเดียวกัน สองรูป จงแสดงธรรมมีความงามในเบื้องตัน มีความงามในท่ามกลาง และมีความงามใน ที่สุด จงประกาศพรหมจรรย์ พร้อมทั้งอรรถและพยัญชนะบริสุทธิ์บริบูรณ์ครบถ้วน สัตว์ ทั้งหลายที่มีธุลีในตาน้อย มีอยู่ ย่อมเสื่อมเพราะไม่ได้ฟังธรรม จักมีผู้รู้ธรรม ภิกษุทั้งหลาย


181 173 แม้เราก็จักไปยังตำบลอุรุเวลาเสนานิคมเพื่อแสดงธรรม11 พระพุทธเจ้าทรงสอนภิกษุผู้เป็น พระอรหันต์ออกไปประกาศหลักสอนของพระพุทธเจ้า ให้ปฏิบัติการสอนให้งดงามเบื้องต้น คือหลักศีลธรรม งามในท่ามกลาง คือ จิตใจ และงามในที่สุด คือเกิดปัญญา จุดมุ่งหมายของการสอนเพื่อพัฒนานักศึกษาตามหลักไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ ปัญญา โดยเน้นเป้าหมายการพัฒนานักศึกษาทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ (1) พัฒนากาย (ภาวิตกาย) หมายถึง ฝึกอบรมกายให้รู้จักติดต่อเกี่ยวข้องกับสิ่ง ทั้งหลายภายนอกทางอินทรีย์ทั้ง 5 ด้วยดี และปฏิบัติต่อสิ่งเหล่านี้ในทางที่เป็นคุณ มิให้เกิด โทษให้ความดีงอกงามให้ความชั่วเสื่อม โดยพัฒนาความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ (2) พัฒนาศีล (ภาวิตศีล) หมายถึง พัฒนาความประพฤติ การฝึกอบรมจิตให้ตั้งอยู่ ในระเบียบวินัย ไม่เบียดเบียนหรือก่อความเดือดร้อนเสียหาย อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ดี เกื้อกูล แก่กัน (3) พัฒนาจิต (ภาวิตจิต) หมายถึง การฝึกอบรมจิตใจให้เข็มแข็งมั่นคง เจริญงอก งามด้วยคุณธรรมทั้งหลาย เช่น มีเมตตากรุณา มีฉันทะขยันหมั่นเพียร อดทน มีสมาธิและ สดชื่น เบิกบานเป็นสุข ผ่องใส เป็นตัน (4) พัฒนาปัญญา (ภาวิตปัญญา) หมายถึง การฝึกอบรมปัญญาให้รู้เข้าใจสิ่งทั้งหลาย ตามความเป็นจริง รู้เท่าทัน เห็นแจ้งโลกและชีวิตตามสภาวะ สามารถทำจิตใจให้เป็นอิสระ ทำตนให้บริสุทธิ์จากกิเลสและปลอดพันจากความทุกข์ แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้ด้วย ปัญญา12 สรุปการเรียนรู้ด้วยตนเองตามหลักพระพุทธศาสนาพระพุทธองค์ ทรงสอนให้ เข้าใจพื้นฐานธรรมชาติของมนุษย์เกี่ยวกับจริตของผู้เรียน และสอนให้ผู้เรียนมุ่งพัฒนากาย สังคม จิตใจ และปัญญา โดยตั้งใจสอนมีความงามในเบื้องตัน ถ้าจะเปรียบเทียบการสอน มีความงามเบื้องต้นคือความรู้ด้านทฤษฎีการสอน ผู้สอนต้องมีความรู้ให้ชัดเจนด้านทฤษฎี การสอนทั้งทางตะวันตกและตะวันออก มีความงามในท่ามกลาง คือผู้สอนมีความรู้ความ เชียวชาญในการปฏิบัติการสอนให้เหมาะกับจริตและระดับสติปัญญาของผู้เรียน และมี ความงามในที่สุด คือผู้สอนสามารถนำความรู้จากภาคทฤษฎีนำไปสู่การปฏิบัติสอน ด้วยนวัตกรรมต่าง ๆ ช่วยให้ผู้เรียนสามารถเพิ่มทักษะการเรียนรู้เพิ่มมากขึ้นและมีปัญญา ให้รู้เข้าใจสิ่งทั้งหลายตามความเป็นจริง รู้เท่าทัน เห็นแจ้ง เข้าใจเข้าถึงความรู้และดำเนิน ชีวิตตามสภาวะแห่งความจริงด้วยปัญญาแห่งตนและผู้เรียนสามารถนำความรู้ไปคิด 11ดูรายละเอียดใน (วิ.ม. (ไทย) 4/32/40). 12พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม, พิมพ์ครั้ง ที่ 17, (กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรราชวิทยาลัย, 2551).


182 174 สร้างสรรค์และพัฒนานวัตกรรมการดำเนินชีวิตที่ดีงามและอยู่ร่วมกับคนอื่นได้อย่างมี ความสุข ดังกรณีตัวอย่างพุทธนวัตกรรมการสอนแบบส่วนร่วมในการเรียนรู้ด้วยตนเองดังนี้ องค์ความรู้ข้างต้นดังกล่าว การเรียนรู้ด้วยตนเองอาจมีทั้งสองแบบคือ การเรียนรู้ ด้วยตนเองโดยที่ครูมอบหมายงานให้ผู้เรียนได้ค้นคว้าเรียนรู้ตามกรอบเนื้อหาที่ครูกำหนดให้ เช่นเดียวกับพระพุทธเจ้ามอบหมายงานให้พระสาวกไปสอนประชาชนใหม่ ๆ พระสาวก ต้องเรียนรู้ด้วยตนเองและอีกกรณีหนึ่งการเรียนรู้เกิดการตั้งคำถาม แล้วค้นคว้าด้วยตนเอง ในหลายวิธีเช่น การจัดทำโครงงาน การศึกษาดูงาน การไปหาแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ หรือการ ปรึกษาสนทนาครูอาจารย์ ปราชญ์ผู้รู้ในเรื่องนั้น ๆ เพื่อให้เข้าใจเรื่องนั้นให้เข้าใจชัดเจนขึ้น อาจแบ่งเป็นชุดองค์ความรู้โดยการเรียนรู้ด้วยตนเอง ดังนี้ 1. ชุดความรู้โดยการเรียนรู้ด้วยตนเองเพื่อพัฒนาปัญญา การเรียนรู้ด้วยตนเองเพื่อพัฒนาปัญญาต้องอาศัยหลักการที่พะพุทธเจ้า พระองค์ ทรงสอนว่า "ภิกษุทั้งหลาย ธรรม ๔ ประการเหล่านี้ ย่อมเป็นไปเพื่อความเจริญแห่ง ปัญญา กล่าวคือ การคบหาสัตบุรุษ การฟังสัทธรรม โยนิโสมนสิการ ธรรมานุธรรม ปฏิบัติ"13 จากหลักการสอนด้วยการเรียนรู้ด้วยตนเองสามารถนำประยุกต์ใช้ในการดำเนิน ชีวิตเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตโดยทักษะของตนเองและเครือข่ายในกลุ่มผู้รู้ทางสังคมดังภาพ ต่อไปนี้ ภาพที่ 5.3 ชุดความรู้โดยการเรียนรู้ด้วยตนเองเพื่อพัฒนาปัญญา 13ดูรายละเอียดใน องฺ. จตุกฺก.(แปล) 21/248/368. 1.การคบหาผู้รู้ 2.การฟังค าสอนของท่าน 3.การรู้จักคิดอย่างรอบขอบ 4.การปฏิบัติตามความรู้ที่เรียนมา การเรียนรู้ด้วย ตนเอง 175 ที่มา : มาจาก: องฺ. จตุกฺก.(แปล) 21/248/368 ประยุกต์ไปสู่การสอนในศตวรรษที่ 21โดย สังเคราะห์ของผู้เขียน (2564) 2. ชุดการสอนของครูโดยครูต้องการเรียนรู้ด้วยตนเอง กรณีการสอนแก่พระอานนท์ การแสดงธรรมให้คนอื่นฟัง มิใช่สิ่งที่กระทำโดยง่าย ผู้แสดงธรรมแก่คนอื่นพึงตั้งอยู่ในหลักธรรมห้าอย่างไว้ในใจเสมอ คือ 1. เราจักกล่าวชี้แจงไปตามลำดับ 2. เราจักกล่าวชี้แจงยกเหตุผลมาแสดงให้เข้าใจ 3. เราจักแสดงด้วยอาศัยเมตตา 4. เราจักไม่แสดงด้วยเห็นแก่อามิส 5. เราจักแสดงไปโดยไม่กระทบตนและผู้อื่น14 ขอยกกรณีพุทธนวัตกรรมการสอนโดยการเรียนรู้ด้วยตนเองต่อไปนี้ 1. กรณีมหาทุกขักขันธสูตร ว่าด้วยเรื่อง กองทุกข์ สูตรใหญ่ พระผู้มีพระภาค ทรงแสดงแก่ภิกษุทั้งหลาย ขณะประทับอยู่ ณ พระเชตวัน อารามของอนาถบิณฑิก เศรษฐี เขตกรุงสาวัตถี โดยทรงปรารภคำถามของพวกอัญเดียรถีย์ปริพาชกที่ภิกษุเหล่านั้น นำมากราบทูลให้ทรงทราบ ภิกษุพวกหนึ่งเข้าไปยังอารามของพวกอัญเดียรถีย์ปริพาชกในกรุงสาวัตถี ได้รับ คำถามของนักบวชพวกนั้นมากราบทูลพระผู้มีพระภาคให้ทรงทราบ คำถามนั้นว่าดังนี้ - พระสมณโคดมบัญญัติการละกามทั้งหลาย พวกเราก็บัญญัติการละกาม ทั้งหลาย - พระสมณโคดมบัญญัติการละรูปทั้งหลาย พวกเราก็บัญญัติการละรูป ทั้งหลาย - พระสมณโคดมบัญญัติการละเวทนาทั้งหลาย พวกเราก็บัญญัติการละเวทนา ทั้งหลาย - ในข้อนี้มีความผิดแปลกแตกต่างกันอย่างไร ระหว่างคำสอนของสมณโคดม กับคำสอนของพวกเรา15 พระผู้มีพระภาคตรัสสอนให้พระภิกษุเหล่านั้นตอบโต้วาทะของนักบวชพวกนั้นโดย ให้ตั้งคำถามย้อนกลับว่า 1. อะไรเป็นเหตุแห่งกามทั้งหลาย 14ดูรายละเอียดใน องฺ.ปญฺจก. (แปล) 22/159/205. 15ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/164/166.


183 175 ที่มา : มาจาก: องฺ. จตุกฺก.(แปล) 21/248/368 ประยุกต์ไปสู่การสอนในศตวรรษที่ 21โดย สังเคราะห์ของผู้เขียน (2564) 2. ชุดการสอนของครูโดยครูต้องการเรียนรู้ด้วยตนเอง กรณีการสอนแก่พระอานนท์ การแสดงธรรมให้คนอื่นฟัง มิใช่สิ่งที่กระทำโดยง่าย ผู้แสดงธรรมแก่คนอื่นพึงตั้งอยู่ในหลักธรรมห้าอย่างไว้ในใจเสมอ คือ 1. เราจักกล่าวชี้แจงไปตามลำดับ 2. เราจักกล่าวชี้แจงยกเหตุผลมาแสดงให้เข้าใจ 3. เราจักแสดงด้วยอาศัยเมตตา 4. เราจักไม่แสดงด้วยเห็นแก่อามิส 5. เราจักแสดงไปโดยไม่กระทบตนและผู้อื่น14 ขอยกกรณีพุทธนวัตกรรมการสอนโดยการเรียนรู้ด้วยตนเองต่อไปนี้ 1. กรณีมหาทุกขักขันธสูตร ว่าด้วยเรื่อง กองทุกข์ สูตรใหญ่ พระผู้มีพระภาค ทรงแสดงแก่ภิกษุทั้งหลาย ขณะประทับอยู่ ณ พระเชตวัน อารามของอนาถบิณฑิก เศรษฐี เขตกรุงสาวัตถี โดยทรงปรารภคำถามของพวกอัญเดียรถีย์ปริพาชกที่ภิกษุเหล่านั้น นำมากราบทูลให้ทรงทราบ ภิกษุพวกหนึ่งเข้าไปยังอารามของพวกอัญเดียรถีย์ปริพาชกในกรุงสาวัตถี ได้รับ คำถามของนักบวชพวกนั้นมากราบทูลพระผู้มีพระภาคให้ทรงทราบ คำถามนั้นว่าดังนี้ - พระสมณโคดมบัญญัติการละกามทั้งหลาย พวกเราก็บัญญัติการละกาม ทั้งหลาย - พระสมณโคดมบัญญัติการละรูปทั้งหลาย พวกเราก็บัญญัติการละรูป ทั้งหลาย - พระสมณโคดมบัญญัติการละเวทนาทั้งหลาย พวกเราก็บัญญัติการละเวทนา ทั้งหลาย - ในข้อนี้มีความผิดแปลกแตกต่างกันอย่างไร ระหว่างคำสอนของสมณโคดม กับคำสอนของพวกเรา15 พระผู้มีพระภาคตรัสสอนให้พระภิกษุเหล่านั้นตอบโต้วาทะของนักบวชพวกนั้นโดย ให้ตั้งคำถามย้อนกลับว่า 1. อะไรเป็นเหตุแห่งกามทั้งหลาย 14ดูรายละเอียดใน องฺ.ปญฺจก. (แปล) 22/159/205. 15ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/164/166. 175 ที่มา : มาจาก: องฺ. จตุกฺก.(แปล) 21/248/368 ประยุกต์ไปสู่การสอนในศตวรรษที่ 21โดย สังเคราะห์ของผู้เขียน (2564) 2. ชุดการสอนของครูโดยครูต้องการเรียนรู้ด้วยตนเอง กรณีการสอนแก่พระอานนท์ การแสดงธรรมให้คนอื่นฟัง มิใช่สิ่งที่กระทำโดยง่าย ผู้แสดงธรรมแก่คนอื่นพึงตั้งอยู่ในหลักธรรมห้าอย่างไว้ในใจเสมอ คือ 1. เราจักกล่าวชี้แจงไปตามลำดับ 2. เราจักกล่าวชี้แจงยกเหตุผลมาแสดงให้เข้าใจ 3. เราจักแสดงด้วยอาศัยเมตตา 4. เราจักไม่แสดงด้วยเห็นแก่อามิส 5. เราจักแสดงไปโดยไม่กระทบตนและผู้อื่น14 ขอยกกรณีพุทธนวัตกรรมการสอนโดยการเรียนรู้ด้วยตนเองต่อไปนี้ 1. กรณีมหาทุกขักขันธสูตร ว่าด้วยเรื่อง กองทุกข์ สูตรใหญ่ พระผู้มีพระภาค ทรงแสดงแก่ภิกษุทั้งหลาย ขณะประทับอยู่ ณ พระเชตวัน อารามของอนาถบิณฑิก เศรษฐี เขตกรุงสาวัตถี โดยทรงปรารภคำถามของพวกอัญเดียรถีย์ปริพาชกที่ภิกษุเหล่านั้น นำมากราบทูลให้ทรงทราบ ภิกษุพวกหนึ่งเข้าไปยังอารามของพวกอัญเดียรถีย์ปริพาชกในกรุงสาวัตถี ได้รับ คำถามของนักบวชพวกนั้นมากราบทูลพระผู้มีพระภาคให้ทรงทราบ คำถามนั้นว่าดังนี้ - พระสมณโคดมบัญญัติการละกามทั้งหลาย พวกเราก็บัญญัติการละกาม ทั้งหลาย - พระสมณโคดมบัญญัติการละรูปทั้งหลาย พวกเราก็บัญญัติการละรูป ทั้งหลาย - พระสมณโคดมบัญญัติการละเวทนาทั้งหลาย พวกเราก็บัญญัติการละเวทนา ทั้งหลาย - ในข้อนี้มีความผิดแปลกแตกต่างกันอย่างไร ระหว่างคำสอนของสมณโคดม กับคำสอนของพวกเรา15 พระผู้มีพระภาคตรัสสอนให้พระภิกษุเหล่านั้นตอบโต้วาทะของนักบวชพวกนั้นโดย ให้ตั้งคำถามย้อนกลับว่า 1. อะไรเป็นเหตุแห่งกามทั้งหลาย 14ดูรายละเอียดใน องฺ.ปญฺจก. (แปล) 22/159/205. 15ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/164/166. 176 2. อะไรเป็นโทษแห่งกามทั้งกลาย 3. อะไรเป็นการสลัดออกจากกามทั้งหลาย 4. อะไรเป็นคุณแห่งรูปทั้งหลาย 5. อะไรเป็นโทษแห่งรูปทั้งหลาย 6. อะไรเป็นการสลัดออกจากรูปทั้งหลาย 7. อะไรเป็นคุณแห่งเวทนาทั้งหลาย 8. อะไรเป็นโทษแห่งเวทนาทั้งหลาย 9. อะไรเป็นการสลัดออกจากเวทนาทั้งหลาย หลังจากพวกอัญเดียรถีย์ปริพาชกได้กล่าวกับภิกษุทั้งหลายว่า “ท่านผู้มีอายุทั้งหลาย พระสมณโคดมบัญญัติการละกามทั้งหลาย แม้พวกเราก็บัญญัติการละกามทั้งหลาย พระ สมณโคดมบัญญัติการละรูปทั้งหลาย แม้พวกเราก็บัญญัติการละรูปทั้งหลาย พระสมณโคดม บัญญัติการละเวทนาทั้งหลาย แม้พวกเราก็บัญญัติการละเวทนาทั้งหลาย” ข้อนี้มีความ แตกต่างกันอย่างไร16 พุทธนวัตกรรมการสอนพระองค์ทรงสอนให้ภิกษุทั้งหลายตอบโต้วาทะพวก อัญเดียรถีย์ปริพาชก ทรงเสนอแนะให้ตอบคำถามแต่ละข้อดังนี้ 1. อะไรเล่าเป็นคุณแห่งกามทั้งหลายทรงแนะให้ตอบ กามคุณ 5 ประการ คือ รูป เสียง กลิ่น รส และโผฎฐัพพะ (สัมผัส) ที่น่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ เป็นเหตุให้เกิดสุข และโสมนัสได้จึงเรียกว่า กามคุณ 5 2. อะไรเป็นโทษแห่งกามทั้งหลาย พระพุทธองค์ทรงสอนว่า กามเหล่านี้เป็นเหตุให้ทำงาน ผู้ทำงานต้องได้รับความทุกข์นานาชนิด เช่น ทุกข์ จากการตรากตรำทำงาน ทุกข์จากความหนาว ความร้อน ลม แดด จากถูกสัตว์ เช่น เหลือบ ยุง ขบ กัด จากความหิว ความกระหาย นี้ชื่อว่าโทษแห่งกามทั้งหลาย ผู้ทำงานแต่ไม่ได้รับผล ก็เป็นทุกข์ ผู้ทำงานได้รับผลก็เป็นทุกข์ในการรักษาผลงาน นั้นมีให้ถูกภัยต่าง ๆ เช่น โจรภัย ราชภัย อุทกภัย นี้ชื่อว่า โทษแห่งทุกข์ทั้งหลาย นอกจากนี้ กามทั้งหลายยังเป็นเหตุให้เกิดโทษต่าง ๆ เช่น เป็นเหตุให้เกิดความ ทะเลาะวิวาทในวงการต่าง ๆ เช่น พระราชาทะเลาะกับพระราชา กษัตริย์ทะเลาะกับกษัตริย์ พราหมณ์ทะเลาะกับพราหมณ์ คหบดีทะเลาะกับคหบดี ตลอดจนการทะเลาะกันใน ครอบครัว การทะเลาะวิวาทเป็นเหตุให้ประหัตประหารฆ่ากันด้วยศาสตราวุธต่าง ๆ ซึ่ง 16ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/164/166.


184 176 2. อะไรเป็นโทษแห่งกามทั้งกลาย 3. อะไรเป็นการสลัดออกจากกามทั้งหลาย 4. อะไรเป็นคุณแห่งรูปทั้งหลาย 5. อะไรเป็นโทษแห่งรูปทั้งหลาย 6. อะไรเป็นการสลัดออกจากรูปทั้งหลาย 7. อะไรเป็นคุณแห่งเวทนาทั้งหลาย 8. อะไรเป็นโทษแห่งเวทนาทั้งหลาย 9. อะไรเป็นการสลัดออกจากเวทนาทั้งหลาย หลังจากพวกอัญเดียรถีย์ปริพาชกได้กล่าวกับภิกษุทั้งหลายว่า “ท่านผู้มีอายุทั้งหลาย พระสมณโคดมบัญญัติการละกามทั้งหลาย แม้พวกเราก็บัญญัติการละกามทั้งหลาย พระ สมณโคดมบัญญัติการละรูปทั้งหลาย แม้พวกเราก็บัญญัติการละรูปทั้งหลาย พระสมณโคดม บัญญัติการละเวทนาทั้งหลาย แม้พวกเราก็บัญญัติการละเวทนาทั้งหลาย” ข้อนี้มีความ แตกต่างกันอย่างไร16 พุทธนวัตกรรมการสอนพระองค์ทรงสอนให้ภิกษุทั้งหลายตอบโต้วาทะพวก อัญเดียรถีย์ปริพาชก ทรงเสนอแนะให้ตอบคำถามแต่ละข้อดังนี้ 1. อะไรเล่าเป็นคุณแห่งกามทั้งหลายทรงแนะให้ตอบ กามคุณ 5 ประการ คือ รูป เสียง กลิ่น รส และโผฎฐัพพะ (สัมผัส) ที่น่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ เป็นเหตุให้เกิดสุข และโสมนัสได้จึงเรียกว่า กามคุณ 5 2. อะไรเป็นโทษแห่งกามทั้งหลาย พระพุทธองค์ทรงสอนว่า กามเหล่านี้เป็นเหตุให้ทำงาน ผู้ทำงานต้องได้รับความทุกข์นานาชนิด เช่น ทุกข์ จากการตรากตรำทำงาน ทุกข์จากความหนาว ความร้อน ลม แดด จากถูกสัตว์ เช่น เหลือบ ยุง ขบ กัด จากความหิว ความกระหาย นี้ชื่อว่าโทษแห่งกามทั้งหลาย ผู้ทำงานแต่ไม่ได้รับผล ก็เป็นทุกข์ ผู้ทำงานได้รับผลก็เป็นทุกข์ในการรักษาผลงาน นั้นมีให้ถูกภัยต่าง ๆ เช่น โจรภัย ราชภัย อุทกภัย นี้ชื่อว่า โทษแห่งทุกข์ทั้งหลาย นอกจากนี้ กามทั้งหลายยังเป็นเหตุให้เกิดโทษต่าง ๆ เช่น เป็นเหตุให้เกิดความ ทะเลาะวิวาทในวงการต่าง ๆ เช่น พระราชาทะเลาะกับพระราชา กษัตริย์ทะเลาะกับกษัตริย์ พราหมณ์ทะเลาะกับพราหมณ์ คหบดีทะเลาะกับคหบดี ตลอดจนการทะเลาะกันใน ครอบครัว การทะเลาะวิวาทเป็นเหตุให้ประหัตประหารฆ่ากันด้วยศาสตราวุธต่าง ๆ ซึ่ง 16ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/164/166. 176 2. อะไรเป็นโทษแห่งกามทั้งกลาย 3. อะไรเป็นการสลัดออกจากกามทั้งหลาย 4. อะไรเป็นคุณแห่งรูปทั้งหลาย 5. อะไรเป็นโทษแห่งรูปทั้งหลาย 6. อะไรเป็นการสลัดออกจากรูปทั้งหลาย 7. อะไรเป็นคุณแห่งเวทนาทั้งหลาย 8. อะไรเป็นโทษแห่งเวทนาทั้งหลาย 9. อะไรเป็นการสลัดออกจากเวทนาทั้งหลาย หลังจากพวกอัญเดียรถีย์ปริพาชกได้กล่าวกับภิกษุทั้งหลายว่า “ท่านผู้มีอายุทั้งหลาย พระสมณโคดมบัญญัติการละกามทั้งหลาย แม้พวกเราก็บัญญัติการละกามทั้งหลาย พระ สมณโคดมบัญญัติการละรูปทั้งหลาย แม้พวกเราก็บัญญัติการละรูปทั้งหลาย พระสมณโคดม บัญญัติการละเวทนาทั้งหลาย แม้พวกเราก็บัญญัติการละเวทนาทั้งหลาย” ข้อนี้มีความ แตกต่างกันอย่างไร16 พุทธนวัตกรรมการสอนพระองค์ทรงสอนให้ภิกษุทั้งหลายตอบโต้วาทะพวก อัญเดียรถีย์ปริพาชก ทรงเสนอแนะให้ตอบคำถามแต่ละข้อดังนี้ 1. อะไรเล่าเป็นคุณแห่งกามทั้งหลายทรงแนะให้ตอบ กามคุณ 5 ประการ คือ รูป เสียง กลิ่น รส และโผฎฐัพพะ (สัมผัส) ที่น่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ เป็นเหตุให้เกิดสุข และโสมนัสได้จึงเรียกว่า กามคุณ 5 2. อะไรเป็นโทษแห่งกามทั้งหลาย พระพุทธองค์ทรงสอนว่า กามเหล่านี้เป็นเหตุให้ทำงาน ผู้ทำงานต้องได้รับความทุกข์นานาชนิด เช่น ทุกข์ จากการตรากตรำทำงาน ทุกข์จากความหนาว ความร้อน ลม แดด จากถูกสัตว์ เช่น เหลือบ ยุง ขบ กัด จากความหิว ความกระหาย นี้ชื่อว่าโทษแห่งกามทั้งหลาย ผู้ทำงานแต่ไม่ได้รับผล ก็เป็นทุกข์ ผู้ทำงานได้รับผลก็เป็นทุกข์ในการรักษาผลงาน นั้นมีให้ถูกภัยต่าง ๆ เช่น โจรภัย ราชภัย อุทกภัย นี้ชื่อว่า โทษแห่งทุกข์ทั้งหลาย นอกจากนี้ กามทั้งหลายยังเป็นเหตุให้เกิดโทษต่าง ๆ เช่น เป็นเหตุให้เกิดความ ทะเลาะวิวาทในวงการต่าง ๆ เช่น พระราชาทะเลาะกับพระราชา กษัตริย์ทะเลาะกับกษัตริย์ พราหมณ์ทะเลาะกับพราหมณ์ คหบดีทะเลาะกับคหบดี ตลอดจนการทะเลาะกันใน ครอบครัว การทะเลาะวิวาทเป็นเหตุให้ประหัตประหารฆ่ากันด้วยศาสตราวุธต่าง ๆ ซึ่ง 16ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/164/166. 177 ก่อให้เกิดการบาดเจ็บและถึงเสียชีวิตก็มี กามทั้งหลายเป็นเหตุให้มีการทำทุจริตอีกประการ ที่เป็นเหตุให้เกิดทุคติ17 3. อะไรเล่าเป็นการสลัดออกไปจากกามทั้งหลาย พระพุทธองค์ทรงสอนว่า การ กำจัดฉันทราคะ การละฉันทราคะในกามทั้งหลาย ชื่อว่าการสลัดออกจากามทั้งหลาย18 4. อะไรเล่าเป็นคุณแห่งรูปทั้งหลาย พระพุทธองค์ทรงสอนว่า ความงดงาม ความ เปล่งปลั่งแห่งรูปทั้งหลาย เป็นคุณแห่งรูปทั้งหลาย 5. อะไรเล่าเป็นโทษแห่งรูปทั้งหลาย ทรงสอนว่า ความงดงาม ความเปล่งปลั่งแห่ง รูปทั้งหลาย เลื่อมคลายไปเมื่อคราวอาพาธ เมื่อชราและร่างกายกลายเป็นซากศพเพื่อมรณะ นี่เองเป็นโทษแห่งรูปทั้งหลาย19 6. อะไรเล่าเป็นการสลัดออกไปจากรูปทั้งหลาย ทรงสอนว่า การกำจัดความ กำหนัดด้วยความพอใจ การละความกำหนัดด้วยความพอใจในรูปทั้งหลาย ชื่อว่าการสลัด ออกจากรูปทั้งหลาย20 7. อะไรเป็นคุณแห่งเวทนาทั้งหลาย ทรงสอนว่า ความไม่เบียดเบียนกันขณะอยู่ใน ปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน และจตุตฌาน เป็นคุณแห่งเวทนาทั้งหลาย21 8. อะไรเล่าเป็นโทษแห่งเวทนาทั้งหลาย ทรงตรัสว่า การที่เวทนาไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรผันไป เป็นโทษแห่งเวทนา 9. อะไรเล่าเป็นการสลัดออกไปจากเวทนาทั้งหลาย ทรงตรัสว่า การกำจัดฉันทรา คะ การละฉันทราคะในเวทนาทั้งหลาย ชื่อว่าการสลัดออกจากเวทนาทั้งหลาย สรุปพุทธนวัตกรรมการสอนในพระสูตรนี้ พระผู้มีพระภาคตรัสสอนให้ภิกษุเหล่านั้น ตอบโต้วาทะของนักบวชพวกเดียรถีย์นั้นโดยให้ตั้งคำถามย้อนกลับว่า 1. อะไรเป็นเหตุแห่งกามทั้งหลาย 2. อะไรเป็นโทษแห่งกามทั้งกลาย 3. อะไรเป็นการสลัดออกจากกามทั้งหลาย...อะไรเป็นเหตุแห่งเวทนา โทษ และการสลัดออกจากเวทนาทั้งหลาย ดังภาพต่อไปนี้ 17ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/169/170. 18ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/170/171. 19ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/171/172. 20ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/172/173. 21ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/173/175.


185 177 ก่อให้เกิดการบาดเจ็บและถึงเสียชีวิตก็มี กามทั้งหลายเป็นเหตุให้มีการทำทุจริตอีกประการ ที่เป็นเหตุให้เกิดทุคติ17 3. อะไรเล่าเป็นการสลัดออกไปจากกามทั้งหลาย พระพุทธองค์ทรงสอนว่า การ กำจัดฉันทราคะ การละฉันทราคะในกามทั้งหลาย ชื่อว่าการสลัดออกจากามทั้งหลาย18 4. อะไรเล่าเป็นคุณแห่งรูปทั้งหลาย พระพุทธองค์ทรงสอนว่า ความงดงาม ความ เปล่งปลั่งแห่งรูปทั้งหลาย เป็นคุณแห่งรูปทั้งหลาย 5. อะไรเล่าเป็นโทษแห่งรูปทั้งหลาย ทรงสอนว่า ความงดงาม ความเปล่งปลั่งแห่ง รูปทั้งหลาย เลื่อมคลายไปเมื่อคราวอาพาธ เมื่อชราและร่างกายกลายเป็นซากศพเพื่อมรณะ นี่เองเป็นโทษแห่งรูปทั้งหลาย19 6. อะไรเล่าเป็นการสลัดออกไปจากรูปทั้งหลาย ทรงสอนว่า การกำจัดความ กำหนัดด้วยความพอใจ การละความกำหนัดด้วยความพอใจในรูปทั้งหลาย ชื่อว่าการสลัด ออกจากรูปทั้งหลาย20 7. อะไรเป็นคุณแห่งเวทนาทั้งหลาย ทรงสอนว่า ความไม่เบียดเบียนกันขณะอยู่ใน ปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน และจตุตฌาน เป็นคุณแห่งเวทนาทั้งหลาย21 8. อะไรเล่าเป็นโทษแห่งเวทนาทั้งหลาย ทรงตรัสว่า การที่เวทนาไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรผันไป เป็นโทษแห่งเวทนา 9. อะไรเล่าเป็นการสลัดออกไปจากเวทนาทั้งหลาย ทรงตรัสว่า การกำจัดฉันทรา คะ การละฉันทราคะในเวทนาทั้งหลาย ชื่อว่าการสลัดออกจากเวทนาทั้งหลาย สรุปพุทธนวัตกรรมการสอนในพระสูตรนี้ พระผู้มีพระภาคตรัสสอนให้ภิกษุเหล่านั้น ตอบโต้วาทะของนักบวชพวกเดียรถีย์นั้นโดยให้ตั้งคำถามย้อนกลับว่า 1. อะไรเป็นเหตุแห่งกามทั้งหลาย 2. อะไรเป็นโทษแห่งกามทั้งกลาย 3. อะไรเป็นการสลัดออกจากกามทั้งหลาย...อะไรเป็นเหตุแห่งเวทนา โทษ และการสลัดออกจากเวทนาทั้งหลาย ดังภาพต่อไปนี้ 17ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/169/170. 18ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/170/171. 19ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/171/172. 20ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/172/173. 21ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/173/175. 177 ก่อให้เกิดการบาดเจ็บและถึงเสียชีวิตก็มี กามทั้งหลายเป็นเหตุให้มีการทำทุจริตอีกประการ ที่เป็นเหตุให้เกิดทุคติ17 3. อะไรเล่าเป็นการสลัดออกไปจากกามทั้งหลาย พระพุทธองค์ทรงสอนว่า การ กำจัดฉันทราคะ การละฉันทราคะในกามทั้งหลาย ชื่อว่าการสลัดออกจากามทั้งหลาย18 4. อะไรเล่าเป็นคุณแห่งรูปทั้งหลาย พระพุทธองค์ทรงสอนว่า ความงดงาม ความ เปล่งปลั่งแห่งรูปทั้งหลาย เป็นคุณแห่งรูปทั้งหลาย 5. อะไรเล่าเป็นโทษแห่งรูปทั้งหลาย ทรงสอนว่า ความงดงาม ความเปล่งปลั่งแห่ง รูปทั้งหลาย เลื่อมคลายไปเมื่อคราวอาพาธ เมื่อชราและร่างกายกลายเป็นซากศพเพื่อมรณะ นี่เองเป็นโทษแห่งรูปทั้งหลาย19 6. อะไรเล่าเป็นการสลัดออกไปจากรูปทั้งหลาย ทรงสอนว่า การกำจัดความ กำหนัดด้วยความพอใจ การละความกำหนัดด้วยความพอใจในรูปทั้งหลาย ชื่อว่าการสลัด ออกจากรูปทั้งหลาย20 7. อะไรเป็นคุณแห่งเวทนาทั้งหลาย ทรงสอนว่า ความไม่เบียดเบียนกันขณะอยู่ใน ปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน และจตุตฌาน เป็นคุณแห่งเวทนาทั้งหลาย21 8. อะไรเล่าเป็นโทษแห่งเวทนาทั้งหลาย ทรงตรัสว่า การที่เวทนาไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรผันไป เป็นโทษแห่งเวทนา 9. อะไรเล่าเป็นการสลัดออกไปจากเวทนาทั้งหลาย ทรงตรัสว่า การกำจัดฉันทรา คะ การละฉันทราคะในเวทนาทั้งหลาย ชื่อว่าการสลัดออกจากเวทนาทั้งหลาย สรุปพุทธนวัตกรรมการสอนในพระสูตรนี้ พระผู้มีพระภาคตรัสสอนให้ภิกษุเหล่านั้น ตอบโต้วาทะของนักบวชพวกเดียรถีย์นั้นโดยให้ตั้งคำถามย้อนกลับว่า 1. อะไรเป็นเหตุแห่งกามทั้งหลาย 2. อะไรเป็นโทษแห่งกามทั้งกลาย 3. อะไรเป็นการสลัดออกจากกามทั้งหลาย...อะไรเป็นเหตุแห่งเวทนา โทษ และการสลัดออกจากเวทนาทั้งหลาย ดังภาพต่อไปนี้ 17ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/169/170. 18ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/170/171. 19ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/171/172. 20ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/172/173. 21ดูรายละเอียดใน ม.ม. (แปล) 12/173/175.


Click to View FlipBook Version