The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ภาวะผู้นำการเปลี่ยนผ่านทางการศึกษาตามพุทธวิถีใหม่
รศ.ดร.สิน งามประโคน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 24-Chinaporn Nakorn, 2023-06-16 11:55:44

ภาวะผู้นำการเปลี่ยนผ่านทางการศึกษาตามพุทธวิถีใหม่

ภาวะผู้นำการเปลี่ยนผ่านทางการศึกษาตามพุทธวิถีใหม่
รศ.ดร.สิน งามประโคน

90 89 กลยุทธ์ที่ 3 การเรียนรู้เชิงบูรณาการกับการทำงาน (Work Integrated Learning) การพัฒนาบัณฑิต ให้เกิดสมรรถนะเชิงวิชาการและเชิงวิชาชีพอย่างสมบูรณ์ นั้น ไม่สามารถบรรลุผลได้จากการจัดการเรียนการสอนในห้องเรียนเพียงอย่างเดียว แนวโน้มในอนาคตโลกของการทำงานมีความเปลี่ยนแปลงสูงมาก ความรู้ ทักษะใหม่ที่ เป็นประโยชน์ต่อการดำรงชีพอย่างก้าวหน้าในอนาคต จะเกิดขึ้นในโลกของการทำงานเป็น ส่วนใหญ่ รัฐจึงควรสนับสนุนการเรียนรู้เชิงบูรณาการกับการทำงาน ให้เป็นกลไกหลักใน การพัฒนาสมรรถนะของบัณฑิต และสมรรถนะเชิงวิชาการ สมรรถนะเชิงวิชาชีพ และ สมรรถนะการเป็นพลเมืองและพลโลก ทั้งนี้สถาบันอุดมศึกษาจะต้องเป็นผู้ออกแบบและ วางแผนการจัด การศึกษา โดยความร่วมมือของสถานประกอบการ ทั้งองค์กรภาครัฐ ภาคเอกชน และชุมชน การจัดการเรียนรู้ เชิงบูรณาการกับการทำงาน จึงเป็นกลไกที่ต้อง ดำเนินการ ด้วยความระมัดระวังโดยการบูรณาการการเรียนรู้ ในชั้นเรียนและการเรียนรู้ใน สถานประกอบการให้เหมาะสม กลยุทธ์ที่ 4 การยึดหลักการทฤษฎีพหุปัญญา (Multiple Intelligence Theory) หมายถึง การมุ่ง ส่งเสริมความสามารถของผู้เรียนในทุกด้าน โดยคำนึงถึง ศักยภาพของผู้เรียนที่มีความแตกต่างกัน ความสามารถ ดังกล่าว ได้แก่ ความสามารถด้าน ภาษา ความสามารถ ในการใช้เหตุผล การคิดคำนวณ ความสามารถ ด้านมิติสัมพันธ์ ความสามารถในการเคลื่อนไหวร่างกาย ความสามารถด้านดนตรี ความสามารถด้านมนุษย สัมพันธ์ ความสามารถในการเข้าใจตนเอง และความสามารถ ในการเข้าใจธรรมชาติ นักศึกษาทุกคนย่อมมีความสามารถ เฉพาะที่แตกต่างกัน สถาบันอุดมศึกษาจะต้องค้นหา และ พัฒนาให้ทุกคนได้แสดงศักยภาพที่แท้จริงอย่างเต็มที่ การพัฒนาประเทศจะมิได้ เกิดขึ้นเฉพาะผู้มีความสามารถ กลุ่มใดกลุ่มหนึ่งเท่านั้น กลยุทธ์ที่ 5 การบูรณาการสร้างศาสตร์ใหม่ ความรู้ของมนุษย์เกิดขึ้น พัฒนา และนำไปใช้ประโยชน์ อย่างต่อเนื่อง ไม่มีวันหยุด ไม่มีสิ้นสุด ความรู้เทคโนโลยี นวัตกรรมที่ เกิดจากการบูรณาการศาสตร์แขนงต่าง ๆ เป็นจุดกำเนิดของศาสตร์ใหม่ที่เร็วที่สุดและง่าย ที่สุด อุดมศึกษายุคใหม่ต้องเปิดเสรีภาพทางวิชาการสูงสุด เพื่อให้คณาจารย์แต่ละสาขาวิชา ได้ทำงานร่วมกัน พัฒนางานวิจัย นวัตกรรม และเทคโนโลยีร่วมกัน อันจะก่อให้เกิด ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ก่อให้เกิดภูมิปัญญา และ ความสามารถในการแข่งขัน ตลอดจน ความร่วมมือ ระหว่างสถาบันและความร่วมมือของนักวิชาการระหว่าง ประเทศทั่วโลก กลยุทธ์ที่ 6 การปรับเปลี่ยนกระบวนการจัดการเรียนรู้ในระบบศึกษา นับเป็น การเปลี่ยนแปลง ครั้งสำคัญที่มวลมนุษยชาติได้สร้างสรรค์กระบวนการ เรียนรู้จากวิธีการ ดั้งเดิมไปสู่วิธีการที่มีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับวิถีชีวิตและความก้าวหน้าของเทคโนโลยี ในปัจจุบันและอนาคต ซึ่งจะส่งผลกระทบกับกระบวนการ จัดการเรียนรู้ในสถาบัน


91 90 อุดมศึกษาโดยตรง การเปลี่ยนแปลง ครั้งนี้เป็นความท้าทายขีดความสามารถของคณาจารย์ ว่าจะสามารถก้าวข้ามมิติใหม่ของการเรียนรู้ในโลก ของความจริงได้หรือไม่ ยิ่งในระยะ 20 ปีข้างหน้า การเปลี่ยนแปลงจะรวดเร็วและทรงพลังต่อสติปัญญา ของมนุษย์มากยิ่งขึ้น ดังภาพที่ 3.4 ดังนี้ ภาพที่ 3.4 การพัฒนาสมรรถนะของบัณฑิตในศตวรรษที่ 21 ที่มา : สรุปการพัฒนาสมรรถนะบัณฑิตของภาวะผู้นำทางการศึกษา(สำนักนโยบายและ แผนการอุดมศึกษาสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา, 2561 : 107-110) ปรับปรุงระบบการก ากับคุณภาพ และมาตรฐาน หลักสูตร วางแผนการผลิตบัณฑิตก าลังคน การเรียนรู้เชิงบูรณาการกับการท างาน การยึดหลักการทฤษฎีพหุปัญญา การบูรณาการสร้างศาสตร์ใหม่ การปรับเปลี่ยนกระบวนการจัดการเรียนรู้ในระบบ ศึกษา กลยุทธ์ ที่ 1 กลยุทธ์ ที่ 2 กลยุทธ์ ที่ 3 กลยุทธ์ ที่ 4 กลยุทธ์ ที่ 5 กลยุทธ์ ที่ 6


92 91 3.7 ภาวะผู้นำการคิดสร้างสรรค์ที่พึงประสงค์ตามหลักพุทธวิถีใหม่ พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาแห่งการคิดสร้างสรรค์ที่แท้จริงมุ่งเป้าหมายการสอนให้ คนทั้งหลายพ้นทุกข์ อยู่ร่วมกันอย่างกัลยาณมิตร หลักคำสอนในพระไตรปิฎก จำนวน 45 เล่ม รวมคำสอน 84,000 พระธรรมขันธ์ เป็นคำสอนที่มีเหตุผลมีหลักการ มีเป้าหมาย ชัดเจนให้นำไปปฏิบัติที่ถูกต้องดีงาม หลักการปฏิบัติของภาวะผู้นำแบบสร้างสรรค์หลักใหญ่ ที่สุด คือหลักไตรสิกขาซึ่งมีองค์ประกอบชัดเจน ดังนี้1) หลักศีล เป็นหลักปฏิบัติตามศีล รวมถึงวินัย มีสาระครอบคลุมถึงการฝึกปฏิบัติ2) หลักสมาธิจิต เป็นลักษณะจิตที่งดงาม พร้อมใช้งานเป็นจุดเชื่อมของการคิดสร้างสรรค์ของภาวะผู้นำที่ดีและ 3) หลักปัญญา เป็นองค์รวมของความรู้ความสามารถสำหรับการคิดสร้างสรรค์เข้าใจความจริงที่ถูกต้องทั้ง การดำเนินชีวิตและการปฏิบัติงานให้มีความสุขในบทบาทและหน้าที่ซึ่งจะได้เสนอหลัก การบูรณาการภาวะผู้นำการคิดสร้างสรรค์กับหลักพุทธวิถีใหม่ดังนี้ 3.7.1 ภาวะผู้นำการคิดสร้างสรรค์ตามหลักพุทธธรรม 1) ภาวะผู้นำการคิดสร้างสรรค์ในทางพระพุทธศาสนา สามารถสรุปจาก ผลการวิจัยของสิน งามประโคน31 ได้ดังต่อไปนี้ ภาวะผู้นำการคิดสร้างสรรค์ในทางพระพุทธศาสนา ด้านจักขุมา (ความคิด กว้างไกล) ประกอบไปด้วย 1.1 มีวิสัยทัศน์ในการคิดไกลไปสู่เป้าหมาย 1.2 มีวิสัยทัศน์ในการศึกษาความรู้ตามหลักพระพุทธศาสนา 1.3 มีวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติและการสร้างมนุษยสัมพันธ์ในบริบทของ สังคม 2) ภาวะผู้นำแบบสร้างสรรค์ในทางพระพุทธศาสนา ด้านวิธูโร (ความรู้ ความสามารถ) ประกอบไปด้วย 2.1 ภาวะผู้นำต้องมีความรู้หลักพุทธศาสนาเป็นอย่างดี 2.2 มีความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติกรรมฐาน 2.3 มีความเชี่ยวชาญในการสอนหลากหลายรูปแบบ ตามพุทธวิธีการ การสอน 2.4 เป็นผู้มีความใฝ่เรียนรู้และใฝ่ปฏิบัติด้วยจิตศรัทธา 31สิน งามประโคน, “คุณลักษณะภาวะผู้นำของพระสงฆ์ในการเผยแพร่พระพุทธศาสนา”. รายงานการวิจัย, คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2560, หน้า 157-170.


93 92 3) ภาวะผู้นำแบบสร้างสรรค์ในทางพระพุทธศาสนาด้าน นิสสยสัมปันโน (มนุษยสัมพันธ์)ประกอบไปด้วย 3.1 มีการสร้างมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับประชาชน 3.2 มีคุณธรรมด้านพรหมวิหาร 4สังคหวัตถุ 4 และหลักกัลยาณมิตรธรรม 3.3 เป็นผู้นำทางจิตวิญญาณในการปฏิบัติตามหลักพุทธศาสนา 3.7.2 ภาวะผู้นำแบบสร้างสรรค์ด้านการสื่อสารที่มีคุณภาพ 4 ประการดังนี้ 1) สันทัสสนา อธิบายให้เห็นชัดเจนแจ่มแจ้งเหมือนจูงมือไปดูให้เห็นกับตา 1.1 มีทักษะในการการสอนโดยการสื่อสารให้ผู้ฟังเข้าใจได้อย่างชัดเจน 1.2 มีทักษะในการการสอนในหลาย ๆ รูปแบบที่เข้าใจง่าย 2) สมาทปนา ชักจูงใจให้เห็นจริงด้วยชวนให้คล้อยตามจนต้องยอมรับและ นำไปปฏิบัติเรียกว่าสอนในลักษณะเอหิปัสสิโกคือเรียกให้มาดูเองเสมือนการเชื้อเชิญ 2.1 มีทักษะในการสอนด้วยการสร้างแรงศรัทธาและความเลื่อมใสในการ ปฏิบัติ 2.2 มีความสามารถในการยกตัวอย่างประกอบในการสอนพระพุทธศาสนา ให้เข้าใจง่าย 3) สมุตเตชนา เร้าใจให้แกล้วกล้าบังเกิดกำลังใจ ปลุกให้มีอุตสาหะแข็งขัน มั่นใจว่าจะทำให้สำเร็จได้ ไม่หวั่นระย่อต่อความเหนื่อยยาก 3.1 มีทักษะในการสอนให้ผู้ฟังเข้าใจ อยากนำไปปฏิบัติด้วยตนเอง 3.2 มีทักษะในการสอน จูงใจให้เกิดศรัทธา และทำให้ผู้ไม่ศรัทธามีศรัทธา 4) สัมปหังสนา ชโลมใจให้แช่มชื่น ร่าเริง เบิกบาน ฟังไม่เบื่อ และเปี่ยมด้วย ความหวัง 4.1 มีทักษะในการสอนพระพุทธศาสนาด้วยการสื่อสารให้ผู้ฟังมีความสุข กาย สุขใจ เลื่อมใสศรัทธาในคำสอนของพระพุทธศาสนา 4.2 มีทักษะในการส่งเสริม สนับสนุน ให้ผู้ฟังใฝ่รู้และใฝ่ปฏิบัติตามหลัก พระพุทธศาสนาด้วยความสุขกาย สุขใจ 4.3 มีทักษะในการสอนพระพุทธศาสนาด้วยสร้างจิตให้มีความตระหนัก ในการเสียสละและอยากช่วยเหลือผู้อื่นให้มีความสุข 4.4 มีทักษะให้ผู้ปฏิบัติมีความสุขและสามารถแนะนำผู้อื่นให้ปฏิบัติตาม ได้ด้วย


94 93 3.7.3 คุณลักษณะภาวะผู้นำการคิดสร้างสรรค์ตามหลักพระพุทธศาสนา คุณลักษณะภาวะผู้นำของพระสงฆ์ในสมัยพุทธกาลด้านการสอนตามพระพุทธวิถี ดังนี้ 1) มีความศรัทธาในการสอนพระพุทธศาสนา 2) มีความรู้ ความสามารถ 3) มีวิสัยทัศน์ 4) มีมนุษยสัมพันธ์ 5) เป็นต้นแบบในการปฏิบัติตามหลักพุทธศาสนา 6) เป็นเอตทัคคะในทางพระพุทธศาสนา (เอตทัคคะจากพระพุทธเจ้า) ซึ่งสอดคล้อง กับคุณลักษณะภาวะผู้นำของพระสงฆ์ไทยด้านการสอนพระพุทธศาสนาดังนี้ (1) มีความศรัทธาในการสอนพระพุทธศาสนา (2) มีความรู้ ความสามารถในการประยุกต์หลักพุทธธรรมเข้ากับบริบทของ สังคมในปัจจุบัน (3) มีวิสัยทัศน์โดยมุ่งการสอนพระพุทธศาสนา (4) มีมนุษยสัมพันธ์ด้วยหลักพรหมวิหาร 4 สังคหวัตถุ 4 และเป็นกัลยาณมิตร (5) เป็นต้นแบบในการปฏิบัติตามหลักพุทธศาสนาในแต่ละสาขาที่มีความรู้ ทั้งสายวิชาการและสายปฏิบัติ (6) ได้รับสมณศักดิ์ตามความรู้ ความสามารถในการสอนพระพุทธศาสนาในแต่ ละสาขาในการสอนพระพุทธศาสนาทั้งสายวิชาการและสายปฏิบัติ 3.7.4 หลักภาวะผู้นำแบบสร้างสรรค์ตามหลักกัลยาณมิตร32 การพัฒนาภาวะผู้นำแบบสร้างสรรค์ตามหลักกัลยาณมิตร มีหลักปัจจัยของ สัมมาทิฏฐิ2 อย่าง คือ 1. ปัจจัยภายนอกคือ ปรโตโฆษะอาศัยทีมงานที่ดี บุคลากรที่มีความรู้ความสามารถ ที่หลากหลายสาขา ร่วมด้วยช่วยกัน 2. ปัจจัยภายใน คือ โยนิโสมนสิการ ความคิดแยบคาย ความรู้จักคิดพิจารณา โดยเฉพาะการสืบค้นให้ถึงต้นตอ คุณสมบัติของภาวะผู้นำแบบสร้างสรรค์ตามหลักบุพนิมิตของการศึกษา 7 ประการ คือ33 32พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตโต). ธรรมนูญชีวิต. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพมหานคร: ส านักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ, 2550, หน้า 114. 33เรื่องเดียวกัน, 112-113.


95 94 1. กัลยาณมิตตตา ความมีกัลยาณมิตร, คบหาคนหรือสื่อที่เป็นแหล่งปัญญาและ แบบอย่างที่ดี 2. สีลสัมปทา การทำศีลให้ถึงพร้อม, ตั้งตนอยู่ในวินัย และมีความประพฤติทั่วไป ดีงาม 3. ฉันทสัมปทา การทำฉันทะให้ถึงพร้อม, ความใฝ่ใจอยากทำกิจหน้าที่และสิ่งที่ เกี่ยวข้องให้ดีงาม, ความใฝ่รู้ใฝ่สร้างสรรค์ 4. อัตตสัมปทา การทำตนให้ถึงพร้อมด้วยคุณสมบัติของผู้ที่พัฒนาแล้วโดยสมบูรณ์ ทั้งด้านกาย ศีล จิต และปัญญา 5. ทิฏฐิสัมปทา การทำทิฏฐิให้ถึงพร้อม, การตั้งอยู่ในหลักความคิดความเชื่อถือที่ ถูกต้องดีงามมีเหตุผล เช่น ถือหลักความเป็นไปตามเหตุปัจจัย 6. อัปปมาทสัมปทา การทำความไม่ประมาทให้ถึงพร้อม, ความตื่นตัวกระตือรือร้น ด้วยจิตสำนึกต่อกาลเวลาและความเปลี่ยนแปลง 7. โยนิโสมนสิการสัมปทา การทำโยนิโสมนสิการให้ถึงพร้อม, ความฉลาดคิด แยบคายให้ได้ประโยชน์และเห็นความจริง ภาพที่ 3.5 ภาวะผู้นำการคิดสร้างสรรค์ตามหลักพุทธธรรม ภาวะผู้น าการ คิดสร้างสรรค์ ตามหลักพุทธ วิถีใหม่ คุณลักษณะ ภาวะผู้นการ คิดสร้างสรรค์ ตามหลักพุทธ ธรรม ภาวะผู้น าการ คิดสร้างสรรค์ ด้านการ สื่อสาร คุณลักษณะ ภาวะผู้น า แบบ สร้างสรรค์ ภาวะผู้นการ คิดสร้างสรรค์ ตามหลัก กัลยาณมิตร 94 1. กัลยาณมิตตตา ความมีกัลยาณมิตร, คบหาคนหรือสื่อที่เป็นแหล่งปัญญาและ แบบอย่างที่ดี 2. สีลสัมปทา การทำศีลให้ถึงพร้อม, ตั้งตนอยู่ในวินัย และมีความประพฤติทั่วไป ดีงาม 3. ฉันทสัมปทา การทำฉันทะให้ถึงพร้อม, ความใฝ่ใจอยากทำกิจหน้าที่และสิ่งที่ เกี่ยวข้องให้ดีงาม, ความใฝ่รู้ใฝ่สร้างสรรค์ 4. อัตตสัมปทา การทำตนให้ถึงพร้อมด้วยคุณสมบัติของผู้ที่พัฒนาแล้วโดยสมบูรณ์ ทั้งด้านกาย ศีล จิต และปัญญา 5. ทิฏฐิสัมปทา การทำทิฏฐิให้ถึงพร้อม, การตั้งอยู่ในหลักความคิดความเชื่อถือที่ ถูกต้องดีงามมีเหตุผล เช่น ถือหลักความเป็นไปตามเหตุปัจจัย 6. อัปปมาทสัมปทา การทำความไม่ประมาทให้ถึงพร้อม, ความตื่นตัวกระตือรือร้น ด้วยจิตสำนึกต่อกาลเวลาและความเปลี่ยนแปลง 7. โยนิโสมนสิการสัมปทา การทำโยนิโสมนสิการให้ถึงพร้อม, ความฉลาดคิด แยบคายให้ได้ประโยชน์และเห็นความจริง ภาพที่ 3.5 ภาวะผู้นำการคิดสร้างสรรค์ตามหลักพุทธธรรม ภาวะผู้น าการ คิดสร้างสรรค์ ตามหลักพุทธ วิถีใหม่ คุณลักษณะ ภาวะผู้นการ คิดสร้างสรรค์ ตามหลักพุทธ ธรรม ภาวะผู้น าการ คิดสร้างสรรค์ ด้านการ สื่อสาร คุณลักษณะ ภาวะผู้น า แบบ สร้างสรรค์ ภาวะผู้นการ คิดสร้างสรรค์ ตามหลัก กัลยาณมิตร 94 1. กัลยาณมิตตตา ความมีกัลยาณมิตร, คบหาคนหรือสื่อที่เป็นแหล่งปัญญาและ แบบอย่างที่ดี 2. สีลสัมปทา การทำศีลให้ถึงพร้อม, ตั้งตนอยู่ในวินัย และมีความประพฤติทั่วไป ดีงาม 3. ฉันทสัมปทา การทำฉันทะให้ถึงพร้อม, ความใฝ่ใจอยากทำกิจหน้าที่และสิ่งที่ เกี่ยวข้องให้ดีงาม, ความใฝ่รู้ใฝ่สร้างสรรค์ 4. อัตตสัมปทา การทำตนให้ถึงพร้อมด้วยคุณสมบัติของผู้ที่พัฒนาแล้วโดยสมบูรณ์ ทั้งด้านกาย ศีล จิต และปัญญา 5. ทิฏฐิสัมปทา การทำทิฏฐิให้ถึงพร้อม, การตั้งอยู่ในหลักความคิดความเชื่อถือที่ ถูกต้องดีงามมีเหตุผล เช่น ถือหลักความเป็นไปตามเหตุปัจจัย 6. อัปปมาทสัมปทา การทำความไม่ประมาทให้ถึงพร้อม, ความตื่นตัวกระตือรือร้น ด้วยจิตสำนึกต่อกาลเวลาและความเปลี่ยนแปลง 7. โยนิโสมนสิการสัมปทา การทำโยนิโสมนสิการให้ถึงพร้อม, ความฉลาดคิด แยบคายให้ได้ประโยชน์และเห็นความจริง ภาพที่ 3.5 ภาวะผู้นำการคิดสร้างสรรค์ตามหลักพุทธธรรม ภาวะผู้น าการ คิดสร้างสรรค์ ตามหลักพุทธ วิถีใหม่ คุณลักษณะ ภาวะผู้นการ คิดสร้างสรรค์ ตามหลักพุทธ ธรรม ภาวะผู้น าการ คิดสร้างสรรค์ ด้านการ สื่อสาร คุณลักษณะ ภาวะผู้น า แบบ สร้างสรรค์ ภาวะผู้นการ คิดสร้างสรรค์ ตามหลัก กัลยาณมิตร 95 ที่มา:สรุปจากภาวะผู้นำการคิดสร้างสรรค์ตามหลักพุทธธรรม โดยสังเคราะห์ของผู้เขียน (2564) 3.8 ภาวะผู้นำทางการศึกษาสำหรับคิดสร้างสรรค์ตามหลักพระพุทธวิถีใหม่ หลักพุทธธรรมเป็นหลักการส่งเสริมคุณสมบัติของภาวะผู้นำทางการศึกษาให้ คุณสมบัติสง่างามทั้งด้านการพัฒนาตนเองและการอยู่ร่วมกับสังคม ซึ่งแบ่งได้ดังนี้ ชุด.ภาวะผู้นำทางการศึกษามีความคิดสร้างสรรค์การพัฒนาตนเองให้ชีวิต สมบูรณ์เรียกว่า แสงเงินแสงทองของชีวิตที่ดีงาม มี 7 ประการดังนี้ 1. ได้กัลยาณมิตร คือ มีพ่อแม่ ครูอาจารย์ เพื่อน หนังสือ สื่อมวลชน และ สภาพแวดล้อมทางสังคมที่ดีงามเกื้อกูลต่อการพัฒนา ข้อนี้สำคัญเป็นพิเศษในวัยเริ่มแรก ของชีวิต และเมื่อเข้าสู่สังคมใหม่ จึงยกขึ้นเป็นข้อแรก ต่อจากระยะแรกนั้นแล้วเน้นการ รู้จักเลือกเข้าพบหาสืบต้นแหล่งธรรมแหล่งปัญญา 2. ชีวิตมีวินัย คือ รู้จักระเบียบและมีวินัยในการดำเนินชีวิต รักษาระเบียบวินัย ของสังคมในการอยู่ร่วมกับผู้อื่นให้มีความเกื้อกูลไม่เบียดเบียนกัน เพื่อความมีสภาพชีวิตที่ เหมาะสมเอื้อต่อการที่จะทำกิจกรรมต่าง ๆ ในการพัฒนายิ่ง ๆ ขึ้นไป 3. ใฝ่รู้ใฝ่สร้างสรรค์คือ ต้องการเข้าถึงความจริงและทำสิ่งที่ดีงามให้เกิดมีขึ้น รักสัจจะ รักงาน อันเป็นแรงจูงใจที่จะทำให้ก้าวหน้าต่อไปในการพัฒนา 4. เชื่อมั่นศักยภาพของตน คือ มั่นใจในตนเองว่ามีศักยภาพที่จะพัฒนาขึ้นไปให้ สมบูรณ์ได้ หรือเชื่อในความเป็นมนุษย์ของตนซึ่งเป็นสัตว์ที่ฝึกฝนพัฒนาให้ประเสริฐเลิศได้ และเพียรพยายามในการศึกษาพัฒนาตนยิ่งขึ้นไปให้เต็มที่สมบูรณ์ 5. มีค่านิยมและทัศนคติแนวเหตุผล คือ มีความเชื่อ ถือทัศนคติ และค่านิยมที่ดี งาม เอื้อต่อการพัฒนา โดยเฉพาะการมองสิ่งทั้งหลายตามความเป็นไปแห่งเหตุปัจจัย รับรู้ ประสบการณ์ทั้งหลายด้วยท่าทีของการเรียนรู้ 6. มีสติกระตือรือร้นทุกเวลา คือ มีจิตสำนึกต่อกาลเวลา ตื่นตัวต่อความ เปลี่ยนแปลงไวและเท่าทันต่อเหตุแห่งความเสื่อมและเหตุแห่งความเจริญ กระตือรือร้นใน การป้องกันแก้ไขเหตุแห่งความเสื่อม และสร้างสรรค์เหตุแห่งความเจริญ มีจิตสำนึกใน การศึกษา พัฒนาตนอยู่ตลอดเวลา 7. พึ่งพาตนได้ด้วยความรู้คิด คือ รู้จักคิด รู้จักใช้ปัญญาพิจารณาให้ได้ความจริง และคุณค่าหรือประโยชน์จากสิ่งทั้งหลาย สามารถคิดแยกแยะ และสืบค้นหาองค์ประกอบ และเหตุปัจจัยเป็นต้น ข้อนี้เรียกว่า โยนิโสมนสิการ รู้จักการพิจารณาโดยแยบคาย34 34ดูรายละเอียดใน ส .ม. (ไทย) 19/129–136/36–37.


96 95 ที่มา:สรุปจากภาวะผู้นำการคิดสร้างสรรค์ตามหลักพุทธธรรม โดยสังเคราะห์ของผู้เขียน (2564) 3.8 ภาวะผู้นำทางการศึกษาสำหรับคิดสร้างสรรค์ตามหลักพระพุทธวิถีใหม่ หลักพุทธธรรมเป็นหลักการส่งเสริมคุณสมบัติของภาวะผู้นำทางการศึกษาให้ คุณสมบัติสง่างามทั้งด้านการพัฒนาตนเองและการอยู่ร่วมกับสังคม ซึ่งแบ่งได้ดังนี้ ชุด.ภาวะผู้นำทางการศึกษามีความคิดสร้างสรรค์การพัฒนาตนเองให้ชีวิต สมบูรณ์เรียกว่า แสงเงินแสงทองของชีวิตที่ดีงาม มี 7 ประการดังนี้ 1. ได้กัลยาณมิตร คือ มีพ่อแม่ ครูอาจารย์ เพื่อน หนังสือ สื่อมวลชน และ สภาพแวดล้อมทางสังคมที่ดีงามเกื้อกูลต่อการพัฒนา ข้อนี้สำคัญเป็นพิเศษในวัยเริ่มแรก ของชีวิต และเมื่อเข้าสู่สังคมใหม่ จึงยกขึ้นเป็นข้อแรก ต่อจากระยะแรกนั้นแล้วเน้นการ รู้จักเลือกเข้าพบหาสืบต้นแหล่งธรรมแหล่งปัญญา 2. ชีวิตมีวินัย คือ รู้จักระเบียบและมีวินัยในการดำเนินชีวิต รักษาระเบียบวินัย ของสังคมในการอยู่ร่วมกับผู้อื่นให้มีความเกื้อกูลไม่เบียดเบียนกัน เพื่อความมีสภาพชีวิตที่ เหมาะสมเอื้อต่อการที่จะทำกิจกรรมต่าง ๆ ในการพัฒนายิ่ง ๆ ขึ้นไป 3. ใฝ่รู้ใฝ่สร้างสรรค์คือ ต้องการเข้าถึงความจริงและทำสิ่งที่ดีงามให้เกิดมีขึ้น รักสัจจะ รักงาน อันเป็นแรงจูงใจที่จะทำให้ก้าวหน้าต่อไปในการพัฒนา 4. เชื่อมั่นศักยภาพของตน คือ มั่นใจในตนเองว่ามีศักยภาพที่จะพัฒนาขึ้นไปให้ สมบูรณ์ได้ หรือเชื่อในความเป็นมนุษย์ของตนซึ่งเป็นสัตว์ที่ฝึกฝนพัฒนาให้ประเสริฐเลิศได้ และเพียรพยายามในการศึกษาพัฒนาตนยิ่งขึ้นไปให้เต็มที่สมบูรณ์ 5. มีค่านิยมและทัศนคติแนวเหตุผล คือ มีความเชื่อ ถือทัศนคติ และค่านิยมที่ดี งาม เอื้อต่อการพัฒนา โดยเฉพาะการมองสิ่งทั้งหลายตามความเป็นไปแห่งเหตุปัจจัย รับรู้ ประสบการณ์ทั้งหลายด้วยท่าทีของการเรียนรู้ 6. มีสติกระตือรือร้นทุกเวลา คือ มีจิตสำนึกต่อกาลเวลา ตื่นตัวต่อความ เปลี่ยนแปลงไวและเท่าทันต่อเหตุแห่งความเสื่อมและเหตุแห่งความเจริญ กระตือรือร้นใน การป้องกันแก้ไขเหตุแห่งความเสื่อม และสร้างสรรค์เหตุแห่งความเจริญ มีจิตสำนึกใน การศึกษา พัฒนาตนอยู่ตลอดเวลา 7. พึ่งพาตนได้ด้วยความรู้คิด คือ รู้จักคิด รู้จักใช้ปัญญาพิจารณาให้ได้ความจริง และคุณค่าหรือประโยชน์จากสิ่งทั้งหลาย สามารถคิดแยกแยะ และสืบค้นหาองค์ประกอบ และเหตุปัจจัยเป็นต้น ข้อนี้เรียกว่า โยนิโสมนสิการ รู้จักการพิจารณาโดยแยบคาย34 34ดูรายละเอียดใน ส .ม. (ไทย) 19/129–136/36–37. 95 ที่มา:สรุปจากภาวะผู้นำการคิดสร้างสรรค์ตามหลักพุทธธรรม โดยสังเคราะห์ของผู้เขียน (2564) 3.8 ภาวะผู้นำทางการศึกษาสำหรับคิดสร้างสรรค์ตามหลักพระพุทธวิถีใหม่ หลักพุทธธรรมเป็นหลักการส่งเสริมคุณสมบัติของภาวะผู้นำทางการศึกษาให้ คุณสมบัติสง่างามทั้งด้านการพัฒนาตนเองและการอยู่ร่วมกับสังคม ซึ่งแบ่งได้ดังนี้ ชุด.ภาวะผู้นำทางการศึกษามีความคิดสร้างสรรค์การพัฒนาตนเองให้ชีวิต สมบูรณ์เรียกว่า แสงเงินแสงทองของชีวิตที่ดีงาม มี 7 ประการดังนี้ 1. ได้กัลยาณมิตร คือ มีพ่อแม่ ครูอาจารย์ เพื่อน หนังสือ สื่อมวลชน และ สภาพแวดล้อมทางสังคมที่ดีงามเกื้อกูลต่อการพัฒนา ข้อนี้สำคัญเป็นพิเศษในวัยเริ่มแรก ของชีวิต และเมื่อเข้าสู่สังคมใหม่ จึงยกขึ้นเป็นข้อแรก ต่อจากระยะแรกนั้นแล้วเน้นการ รู้จักเลือกเข้าพบหาสืบต้นแหล่งธรรมแหล่งปัญญา 2. ชีวิตมีวินัย คือ รู้จักระเบียบและมีวินัยในการดำเนินชีวิต รักษาระเบียบวินัย ของสังคมในการอยู่ร่วมกับผู้อื่นให้มีความเกื้อกูลไม่เบียดเบียนกัน เพื่อความมีสภาพชีวิตที่ เหมาะสมเอื้อต่อการที่จะทำกิจกรรมต่าง ๆ ในการพัฒนายิ่ง ๆ ขึ้นไป 3. ใฝ่รู้ใฝ่สร้างสรรค์คือ ต้องการเข้าถึงความจริงและทำสิ่งที่ดีงามให้เกิดมีขึ้น รักสัจจะ รักงาน อันเป็นแรงจูงใจที่จะทำให้ก้าวหน้าต่อไปในการพัฒนา 4. เชื่อมั่นศักยภาพของตน คือ มั่นใจในตนเองว่ามีศักยภาพที่จะพัฒนาขึ้นไปให้ สมบูรณ์ได้ หรือเชื่อในความเป็นมนุษย์ของตนซึ่งเป็นสัตว์ที่ฝึกฝนพัฒนาให้ประเสริฐเลิศได้ และเพียรพยายามในการศึกษาพัฒนาตนยิ่งขึ้นไปให้เต็มที่สมบูรณ์ 5. มีค่านิยมและทัศนคติแนวเหตุผล คือ มีความเชื่อ ถือทัศนคติ และค่านิยมที่ดี งาม เอื้อต่อการพัฒนา โดยเฉพาะการมองสิ่งทั้งหลายตามความเป็นไปแห่งเหตุปัจจัย รับรู้ ประสบการณ์ทั้งหลายด้วยท่าทีของการเรียนรู้ 6. มีสติกระตือรือร้นทุกเวลา คือ มีจิตสำนึกต่อกาลเวลา ตื่นตัวต่อความ เปลี่ยนแปลงไวและเท่าทันต่อเหตุแห่งความเสื่อมและเหตุแห่งความเจริญ กระตือรือร้นใน การป้องกันแก้ไขเหตุแห่งความเสื่อม และสร้างสรรค์เหตุแห่งความเจริญ มีจิตสำนึกใน การศึกษา พัฒนาตนอยู่ตลอดเวลา 7. พึ่งพาตนได้ด้วยความรู้คิด คือ รู้จักคิด รู้จักใช้ปัญญาพิจารณาให้ได้ความจริง และคุณค่าหรือประโยชน์จากสิ่งทั้งหลาย สามารถคิดแยกแยะ และสืบค้นหาองค์ประกอบ และเหตุปัจจัยเป็นต้น ข้อนี้เรียกว่า โยนิโสมนสิการ รู้จักการพิจารณาโดยแยบคาย34 34ดูรายละเอียดใน ส .ม. (ไทย) 19/129–136/36–37.


97 96 จากข้อหลักธรรมบอกคุณลักษณะภาวะผู้นำแบบสร้างสรรค์แบ่งได้2 คุณลักษณะ ภาวะผู้นำ ดังนี้ 1) คุณลักษณะภาวะผู้นำแบบสร้างสรรค์ภายนอก ได้แก่1. ได้กัลยาณมิตร 2. ชีวิต มีวินัย 2) คุณลักษณะภาวะผู้นำแบบสร้างสรรค์ภายใน ได้แก่ 3. ใฝ่รู้ใฝ่สร้างสรรค์ 4. เชื่อมั่นศักยภาพของตน 5. มีค่านิยมและทัศนคติแนวเหตุผล 6. มีสติกระตือรือร้นทุก เวลา 7. พึ่งพาตนได้ด้วยความรู้คิด ทั้งคุณลักษณะภาวะผู้นำทั้งภายนอกและภายในจัดเป็น ปัจจัยแห่งสัมมาทิฏฐิ ที่ส่งเสริมซึ่งกันและกันให้เป็นคุณลักษณะภาวะผู้นำแบบสร้างสรรค์ อย่างแท้จริง ชุด.ภาวะผู้นำแบบสร้างสรรค์ทางการศึกษาสำหรับการพัฒนาตนที่จำเป็นต้องมี คุณสมบัติ 7 ประการในยุคปัจจุบัน ดังนี้ 1. รู้หลักและรู้จักเหตุ (ธัมมัญญุตา) คือรู้หลักการและกฎเกณฑ์ของสิ่งทั้งหลาย ที่ตนเข้าไปเกี่ยวข้องในการดำเนินชีวิต ในการปฏิบัติกิจหน้าที่และดำเนินกิจการต่าง ๆ รู้ เข้าใจสิ่งที่ตนจะต้องประพฤติปฏิบัติตามเหตุผล เช่น รู้ว่า ตำแหน่ง ฐานะ อาชีพ การงาน ของตน มีหน้าที่และความรับผิดชอบอย่างไร มีอะไรเป็นหลักการ จะต้องทำอะไรอย่างไร 2. รู้ความมุ่งหมายและรู้จักผล (อัตถัญญุตา) คือรู้ความหมาย และความมุ่งหมาย ของหลักการที่ตน ในการปฏิบัติหน้าที่ตามบทบาทของตนใน ตำแหน่ง ฐานะ การงานอย่าง นั้น ๆ ภาวะผู้นำต้องรู้จักจุดมุ่งหมายในการเป็นผู้นำทางการศึกษา 3. รู้จักตน (อัตตัญญุตา) คือ รู้ตามความเป็นจริงว่า ฐานะ ภาวะกำลัง ความรู้ ความถนัด ความสามารถ และคุณธรรม เรียกว่าทดสอบความเป็นตัวตนเองให้ชัด 4. รู้จักประมาณ (มัตตัญญุตา) คือ รู้จักพอดี เช่น รู้จักประมาณในการบริโภค ในการใช้จ่ายทรัพย์ รู้จักความพอเหมาะพอดี ในการพูด การปฏิบัติกิจและทำการต่าง ๆ ตลอดจนการพักผ่อนนอนหลับและการสนุกสนานรื่นเริงทั้งหลายในฐานะผู้นำทางการศึกษา 5. รู้จักกาล (กาลัญญุตา) คือ รู้กาลเวลาอันเหมาะสม และระยะเวลาที่พึงใช้ใน การประกอบกิจ ทำหน้าที่การงาน ปฏิบัติการต่าง ๆ และเกี่ยวข้องกับผู้อื่น โดยเฉพาะการ รู้จักกาลเวลาให้เหมาะสมกับตำแหน่ง หน้าที่ ซึ่งจะเป็นเรื่องที่สำคัญยิ่งกับการปฏิบัติงาน และเข้าสังคม 6. รู้ชุมชน (ปริสัญญุตา) คือ รู้จักถิ่น รู้จักที่ชุมนุม และชุมชน รู้การอันควรประพฤติ ปฏิบัติในถิ่นที่ชุมนุม และต่อชุมชนนั้น ๆ และหน่วยงานที่เป็นเครือข่ายในการประสานงาน พึงพาอาศัยซึ่งกันและกัน


98 97 7. รู้จักบุคคล (ปุคคลัญญุตา) คือ รู้จักและเข้าใจความแตกต่างแห่งบุคคลว่า โดยอัธยาศัย ความสามารถ และคุณธรรม เป็นต้น การเป็นผู้นำทางการศึกษามีความจำ เป็นมากในการใช้คนให้เหมาะสมกับงานและความรู้ ความสามารถที่แตกต่างกัน โดยภาวะ ผู้ทางการศึกษายิ่งต้องเรียนรู้และเปิดโอกาสให้ทุกคนพบหาได้อย่างมีกัลยาณมิตรที่ดีถือ เป็นเสน่ห์ของผู้นำที่มีอิทธิพลต่อจิตใจของผู้ใต้บังคับบัญชาที่ดีมาก35 กล่าวได้ว่า คุณสมบัติภาวะผู้นำทางการศึกษาในยุคปัจจุบันมีความจำเป็นต้อง พัฒนาตนเองอย่างสร้างสรรค์เพื่อพัฒนาองค์การไปสู่การปฏิบัติงานอย่างมีความสุขและ เอื้อเฟื้อต่อกันโดยมุ่งงานเป็นประการสำคัญ ซึ่งนอกนั้นได้มีนักวิชาการได้อย่างอาทิ พันโท อานันท์ ชินบุตร, John C. Maxwell, เหวย์ ซิ่วอิง, Daniel Goleman & Frederick Herzberg ได้กล่าวถึงการคิดอย่างสร้างสรรค์ในการพัฒนาตนเองและองค์การซึ่งสอดคล้อง กับพุทธวิถีใหม่ดังนี้ พันโท อานันท์ ชินบุตร36 ได้สรุปแนวคิดในหนังสือปลุกความยิ่งใหญ่สไตล์ 3 กูรู ซึ่งขอกล่าวโดยสรุปแต่ละคนดังนี้ คนแรก คือ แอนโทนี่ (Anthony Robbine) คนอเมริกา คนคิดสร้างสรรค์ต้องพัฒนาตนเองดังนี้ 1. การกำหนดวิสัยทัศน์และลงมือปฏิบัติอย่างจริง 2. เรียนรู้จากประสบการณ์ทุกชิ้นงานจนเก่ง 3. สร้างความแตกต่างและลงมือทำอย่างมีพลัง 4. มีใจรักในสิ่งทำเสมอ 5. สร้างเป้าหมายใหญ่แล้วย่อยลงมือปฏิบัติให้เชื่อมโยงกับความสำเร็จของงาน คนที่สองคือไปรอัน เทรซี่ (Brian Tracy) ได้กล่าวเป็นข้อคิดการคิดสร้างสรรค์ว่า “ถ้าอยากได้น้ำผึ้ง ก็อย่าเตะรังผึ้ง” หมายถึงการใช้คนทำงานต้องอย่าตำหนิ ต้องรู้จักชม รู้จักให้เกียรติ แล้วผู้นำจะได้รับกับสิ่งที่ท่านต้องการ นอกจากนั้น ไปรอัน เสนอกฎดึงดูดมี 3 ขั้น คือ ขั้นตอนแรกคือ ขอ หมายถึง ความปรารถนาที่เกิดขึ้นในอนาคต ขั้นตอนที่สองคือ เชื่อ หมายถึง เชื่อว่าจักรวาลจะจัดสรรให้โดยไม่ต้องสงสัย ขั้นตอนที่สามคือ การรับ หมายถึง ผู้นำต้องทำจิตให้เปิดรับสิ่งที่ปรารถนา ด้วยอารมณ์แห่งความสุขและ 35ดูรายละเอียดใน องฺ.สตฺตก. (ไทย) 23/65/114. 36อานันท์ ชินบุตร, พันโท, ปลุกความยิ่งใหญ่สไตล์ 3 กูรู, (กรุงเทพมหานคร: รุ่งแสงการพิมพ์, 2561), หน้า 16,144,309.


99 98 คนที่สามนโปเลียน ฮิลล์ (Napoleon Hill) กล่าวสอนขั้นตอนการคิดสร้างสรรค์ จุดมุ่งให้ความสำเร็จในการปฏิบัติงาน ดังนี้ 1. สร้างความปรารถนาในชีวิตให้ร้อนแรงขึ้นมา 2. แปลงมันเป็นจุดประสงค์ทีแน่นอน เขียนบนกระดาษให้ชัดเจน 3. แปลงมันให้เป็นแผนการปฏิบัติ 4. สร้างพันธมิตรให้เข้าใจจุดประสงค์ร่วมกันในองค์การ 5. ลงมือปฏิบัติทุกวัน ให้กลายเป็นงานอดิเรกที่ขาดไม่ได้ 6. ต้องเชื่อมันว่าคุณทำได้ แม้จะมีอุปสรรคอยู่บ้างและ 7. ปรับปรุงความรู้ของคุณอยู่ตลอดเวลา John C. Maxwell37 ได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับการคิดสร้างสรรค์ของผู้นำการ เปลี่ยนแปลงดังนี้ 1. ผู้นำการเปลี่ยนแปลงต้องรู้เห็นในสิ่งที่คนอื่นไม่รู้ ไม่ทำและไม่พูด 2. ต้องการแปลเปลี่ยนตนเองก่อนนำคนอื่นให้ทำตาม 3. ลงมือทำดีตามนิสัยที่เปลี่ยนไป 4. สร้างสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมการเปลี่ยนแปลงด้านดี 5. มุ่งมั่นที่จะสร้างเรื่องดี ๆ ร่วมกับคนอื่นในหน่วยงานหรือชุมชนของคุณ โดยเริ่ม จากบนไปสู่ล่าง เล็กไปใหญ่ หรือ ภายในไปสู่ภายนอก เหวย์ ซิ่วอิง38 ในหนังสือ ฮาร์วาร์ด มหาวิทยาลัยที่ดีแห่งหนึ่งของโลก สอนวิธีคิด เล่มที่ 2 ขอยกคำสอนการคิดสร้างสรรค์ในการพัฒนาตนของศาสตราจารย์แอบบ็อตต์แก่ นักศึกษาว่า “ความจริงแล้วมีหลายคนที่ไม่รู้จักการลงทุนเพื่ออนาคตของตัวเอง มัวแต่ ให้ความสำคัญกับผลประโยชน์ที่อยู่ตรงหน้า แต่หารู้ไม่ว่ามันเทียบไม่ได้เลยกับอนาคตที่ น่าจะสดใสกว่านี้ของตัวเอง ดังนั้นผมขอบอกพวกคุณว่า หากต้องการประสบความสำเร็จ ก็ต้องรู้จักการลงเพื่ออนาคตของตัวเอง โดยการทำวันนี้ให้ดีที่สุด” ชี้ชัดว่าการการพัฒนา ตนเองถือเป็นเรื่องสำคัญเสมอสำหรับการมองอนาคตอันยิ่งใหญ่และอีกคนหนึ่ง คือ Daniel 37John C.Maxwell (เขียน), วันดี อภิรักษ์ธนากร (แปล), ภาวะผู้นำ 5 ระดับ (ฉบับปรับปรุง), (กรุงเทพมหานคร: แอคทีฟ พริ้นท์, 2563), 231-248. 38เหวย์ ซิ่วอิง (เขียน), จิราพร เนตรสมบัติผล(แปล), ฮาร์วาร์ด มหาวิทยาลัยที่ดีแห่งหนึ่ง ของโลก สอนวิธีคิดเล่มที่2, (กรุงเทพมหานคร: แอคทีฟ พริ้นท์, 2563), หน้า166.


100 99 Goleman & Frederick Herzberg39 ในหนังสือการบริหารทรัพยากรบุคคล คัมภีร์สำหรับ ผู้บริหารจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ขอยกการคิดสร้างสรรค์ของภาวะผู้นำทางการศึกษา เพื่อพัฒนาบุคลากรและทีมงานในหน่วยงาน ดังนี้ 1. การแสวงหาจุดอ่อนและจุดแข็งของบุคลากรคืออะไร 2. ปัจจัยที่กระตุ้นการพัฒนาจุดแข็งของบุคลากรดังกล่าวคืออะไร 3. รูปแบบการเรียนรู้ของบุคลากรเป็นอย่างไร คำถามดังกล่าวมุ่งพัฒนาบุคลากรผู้ใต้บังคับบัญชาให้ตระหนักรู้ในการพัฒนาตนเอง อย่างสร้างสรรค์ นอกจากเขาได้เสนอคุณลักษณะการคิดสร้างสรรค์บนหลักพื้นฐานที่สำคัญของ ทีมงานในการปฏิบัติงาน 5 ข้อ คือ 1. ทบทวนจุดมุ่งหมายที่คนในทีมร่วมกันกำหนดขึ้นซึ่งเป็นสิ่งที่ทุกคนต้องการบรรลุ เป้าหมาย 2. กำหนดเป้าหมายของผลงานที่เฉพาะเจาะจงจากจุดมุ่งหมาย 3. ส่งเสริมทักษะความสามารถที่หลาหลายในทีมงาน 4. มีความมุ่งหมั่นอย่างแรงกล้าที่จะไปให้ถึงเป้าหมาย 5. มีความรับผิดชอบงานร่วมกัน สรุป หลักภาวะผู้นำแบบสร้างสรรค์ทีมีคุณลักษณะตามทฤษฎีและหลัก พระพุทธศาสนาสู่การปฏิบัติดังนี้การพัฒนาภาวะผู้นำแบบการคิดสร้างสรรค์ต้องพัฒนา ตนเอง คนอื่น และองค์การให้เต็มศักยภาพและคุณภาพเพื่อพัฒนานักศึกษา เสริมสร้าง ความรู้และทักษะทางอาชีพให้พร้อมรองรับการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต คือ 1. การพัฒนาตนเองสู่การพัฒนาคนอื่น 2. การพัฒนาทักษะในด้านต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง 3. การเปิดโอกาสให้เกิดความเท่าเทียมและการเข้าถึงของกลุ่มที่มีข้อจำกัด 4. การพัฒนาทักษะและความรู้ความสามารถเพื่อตอบสนองความต้องการของ ตลาดแรงงานและ การพัฒนาเศรษฐกิจในด้านการสร้างนวัตกรรมและความเป็น ผู้ประกอบการ 5. การสร้างจิตสำนึกด้านสิ่งแวดล้อมและความเป็นประชากรโลกที่มี่คุณภาพ 6. การพัฒนาศักยภาพเพื่ออนาคต 39Daniel Goleman & Frederick Herzberg (เขียน), ณัฐยา สินตระการผลและวีรวุธ มาฆะศิรานนท์ (แปลและเรียบเรียง). การบริหารทรัพยากรบุคคล คัมภีร์สำหรับผู้บริหารจาก มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด. (กรุงเทพมหานคร: แอคทีฟ พริ้นท์, 2563), หน้า 181, 345.


101 100 7. กิจกรรมนักศึกษาที่บูรณาการกับหลักสูตร 8. ความสามารถและเทคนิคในการถ่ายทอดวิชาความรู้และทักษะของอาจารย์ เพื่อให้นักศึกษาพัฒนาตนเอง 9. สร้างสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมการเปลี่ยนแปลงด้านดี 3.9 บูรณาการภาวะผู้นำกับการสร้างเครือข่ายของพระสงฆ์ในการเผยแพร่ พระพุทธศาสนาของพระสงฆ์ไทยด้วยการคิดสร้างสรรค์ขอยกกรณีงานวิจัยสิน งานประ โคน 2560 หน่า150-15340 ตารางที่ 1 บูรณาการภาวะผู้นำกับการสร้างเครือข่ายของพระสงฆ์ในการ เผยแพร่พระพุทธศาสนาของพระสงฆ์ไทยด้วยการคิดสร้างสรรค์ ภาวะผู้นำ กรณีตัวอย่างในการสร้างเครือข่ายด้วยการคิดสร้างสรรค์ ด้านจักขุมา 1) สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสโภ) (8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2446 - 8 ธันวาคม พ.ศ. 2532) สมเด็จพระราชาคณะ อดีตเจ้าอาวาสวัดมหาธาตุยุวราช รังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร ผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช นอกจากนี้ท่านยัง เป็นบุคคลแรกที่นำการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐานสี่ (หรือ แบบยุบหนอ-พองหนอ) จากพม่ามาเผยแพร่ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2495 พระ พิมลธรรม (อาจ อาสโภ) ได้ส่งพระธรรมธีรราชมหามุนี (โชดก ญาณสิทฺธิ) ขณะ เป็นพระมหาโชดกไปศึกษาวิปัสสนากรรมฐานสายของมหาสีสย่าด่อที่สำนักศา สนยิสสา ประเทศพม่า เป็นเวลา 1 ปี แล้วนำกลับมาสอน พร้อมทั้งพระพม่า สองรูป คือพระภัททันตะ อาสภเถระ ปธานกัมมัฏฐานาจริยะ และพระอินทวัง สเถระ กัมมัฏฐานาจริยะ โดยเปิดสอนครั้งแรกที่วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ ใน ปี พ.ศ. 2496 จากนั้นจึงขยายไปเปิดสอนที่สาขาอื่นทั่วราชอาณาจักร มีการตั้ง กองการวิปัสสนาธุระที่วัดมหาธาตุฯ ต่อมาถูกยกสถานะเป็นสถาบันวิปัสสนา ธุระ สังกัดมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2524 และ ได้เผยแพร่การปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานแบบยุบหนอ-พองหนอจนแพร่หลายดัง ปัจจุบัน41 ด้านวิธูโร พระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินทปญฺโญ) หรือรู้จักในนาม พุทธทาสกขุ (27 40 สิน งามประโคน ,การวิเคราะห์คุณลักษณะภาวะผู้นำของพระสงฆ์ในการเผยแพร่ พระพุทธศาสนา,2560 150-153 ครุศาสตร์ มหาจุฬาลงกรณรารชวิทยาลัย 41 พระโสภณมหาเถระ อัครมหาบัณฑิต, หลักการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน, จำรูญ ธรรมดา ผู้แปล, กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2546, หน้า 9 - 21 100 7. กิจกรรมนักศึกษาที่บูรณาการกับหลักสูตร 8. ความสามารถและเทคนิคในการถ่ายทอดวิชาความรู้และทักษะของอาจารย์ เพื่อให้นักศึกษาพัฒนาตนเอง 9. สร้างสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมการเปลี่ยนแปลงด้านดี 3.9 บูรณาการภาวะผู้นำกับการสร้างเครือข่ายของพระสงฆ์ในการเผยแพร่ พระพุทธศาสนาของพระสงฆ์ไทยด้วยการคิดสร้างสรรค์ขอยกกรณีงานวิจัยสิน งานประ โคน 2560 หน่า150-15340 ตารางที่ 1 บูรณาการภาวะผู้นำกับการสร้างเครือข่ายของพระสงฆ์ในการ เผยแพร่พระพุทธศาสนาของพระสงฆ์ไทยด้วยการคิดสร้างสรรค์ ภาวะผู้นำ กรณีตัวอย่างในการสร้างเครือข่ายด้วยการคิดสร้างสรรค์ ด้านจักขุมา 1) สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสโภ) (8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2446 - 8 ธันวาคม พ.ศ. 2532) สมเด็จพระราชาคณะ อดีตเจ้าอาวาสวัดมหาธาตุยุวราช รังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร ผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช นอกจากนี้ท่านยัง เป็นบุคคลแรกที่นำการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐานสี่ (หรือ แบบยุบหนอ-พองหนอ) จากพม่ามาเผยแพร่ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2495 พระ พิมลธรรม (อาจ อาสโภ) ได้ส่งพระธรรมธีรราชมหามุนี (โชดก ญาณสิทฺธิ) ขณะ เป็นพระมหาโชดกไปศึกษาวิปัสสนากรรมฐานสายของมหาสีสย่าด่อที่สำนักศา สนยิสสา ประเทศพม่า เป็นเวลา 1 ปี แล้วนำกลับมาสอน พร้อมทั้งพระพม่า สองรูป คือพระภัททันตะ อาสภเถระ ปธานกัมมัฏฐานาจริยะ และพระอินทวัง สเถระ กัมมัฏฐานาจริยะ โดยเปิดสอนครั้งแรกที่วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ ใน ปี พ.ศ. 2496 จากนั้นจึงขยายไปเปิดสอนที่สาขาอื่นทั่วราชอาณาจักร มีการตั้ง กองการวิปัสสนาธุระที่วัดมหาธาตุฯ ต่อมาถูกยกสถานะเป็นสถาบันวิปัสสนา ธุระ สังกัดมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2524 และ ได้เผยแพร่การปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานแบบยุบหนอ-พองหนอจนแพร่หลายดัง ปัจจุบัน41 ด้านวิธูโร พระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินทปญฺโญ) หรือรู้จักในนาม พุทธทาสกขุ (27 40 สิน งามประโคน ,การวิเคราะห์คุณลักษณะภาวะผู้นำของพระสงฆ์ในการเผยแพร่ พระพุทธศาสนา,2560 150-153 ครุศาสตร์ มหาจุฬาลงกรณรารชวิทยาลัย 41 พระโสภณมหาเถระ อัครมหาบัณฑิต, หลักการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน, จำรูญ ธรรมดา ผู้แปล, กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2546, หน้า 9 - 21 3.9 บููรณาการภาวะผู้้�นำกัับการสร้้างเครืือข่่ายของพระสงฆ์์ในการเผยแพร่่พระพุุทธ ศาสนาของพระสงฆ์์ไทยด้วยการ้คิดิสร้้างสรรค์์ขอยกกรณีีงานวิิจััยสิิน งานประโคน 2560 หน้้า 150-15340 ตารางที่่� 1 บููรณาการภาวะผู้้�นำกัับการสร้้างเครืือข่่ายของพระสงฆ์์ในการเผยแพร่่ พระพุุทธศาสนาของพระสงฆ์์ไทยด้้วยการคิิดสร้้างสรรค์์ 40สิิน งามประโคน, การวิิเคราะห์์คุุณลัักษณะภาวะผู้้�นำของพระสงฆ์์ในการเผยแพร่่พระพุุทธ ศาสนา, คณะครุุศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยมหาจุุฬาลงกรณราชวิิทยาลััย, 2560, หน้้า 150-153. 41พระโสภณมหาเถระ อััครมหาบััณฑิิต, หลัักการปฏิิบััติิวิิปััสสนากรรมฐาน, จำรููญ ธรรมดา ผู้้�แปล, กรุุงเทพฯ : มหาวิิทยาลััยมหาจุุฬาลงกรณราชวิิทยาลััย, 2546, หน้้า 9-21.


102 101 พฤษภาคม 2449 — 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2536) เป็นชาวอำเภอไชยา จังหวัดสุ ราษฎร์ธานีเกิดเมื่อปีพ.ศ. 2449 เริ่มบวชเรียนเมื่ออายุได้ 20 ปี ที่วัดบ้าน เกิด จากนั้นได้เข้ามาศึกษาพระธรรมวินัยต่อที่กรุงเทพมหานคร จนสอบได้ เป รียญ ธรรม 3 ประโยค แต่แล้วท่ านพุ ท ธท าสภิ กขุก็พ บ ว่าสังคม พระพุทธศาสนาแบบที่เป็นอยู่ในขณะนั้นแปดเปื้อนเบือนบิดไปมาก และไม่อาจ ทำให้เข้าถึงหัวใจของศาสนาพุทธได้เลย ท่านจึงตัดสินใจหันหลังกลับมาปฏิบัติ ธรรมที่อำเภอไชยา ซึ่งเป็นภูมิลำเนาเดิมของท่านอีกครั้ง พร้อมปวารณาตนเอง เป็น พุทธทาส เนื่องจากต้องการถวายตัวรับใช้พระพุทธศาสนาให้ถึงที่สุด ผลงานเด่นของทาสพุทธทาสคืองานหนังสือ อาทิ หนังสือพุทธธรรม, ตามรอย พระอรหันต์ และคู่มือมนุษย์ และเป็นสงฆ์ไทยรูปแรกที่บุกเบิกการใช้ โสตทัศนูปกรณ์สมัยใหม่สำหรับการเผยแพร่ธรรมะ และท่านมีสหายธรรมคน สำคัญ คือ ปัญญานันทภิกขุวัดชลประทานรังสฤษฎ์และท่าน บ.ช. เขมาภิรัตน์ ๒) ศาสตราจารย์พิเศษ สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์นามเดิม ประยุทธ์ อา รยางกูร ฉายา ปยุตฺโต หรือที่รู้จักกันดีทั่วไปในนามปากกา "ป. อ. ปยุตฺ โต" เกิดเมื่อวันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2481 ที่อำเภอศรีประจันต์จังหวัด สุพรรณบุรีท่านได้บรรพชาเป็นสามเณรตั้งแต่อายุ 13 ปี เมื่อ ปีพ.ศ. 2494 และเข้ามาจำพรรษาที่วัดพระพิเรนทร์กรุงเทพมหานคร จนสอบได้ นักธรรมชั้นเอกและเปรียญธรรม 9 ประโยค ขณะยังเป็นสามเณร นับเป็นรูปที่ สองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และเป็นรูปที่สี่ ในสมัยรัตนโกสินทร์โดยได้รับการอุปสมบทโดยเป็นนาคหลวงในพระบรม ราชูปถัมภ์ เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2504 ณ พัทธสีมาวัดพระศรีรัตน ศาสดาราม โดยมีสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ปลด กิตฺติ โสภโณ) เป็นพระอุปัชฌาย์สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์เป็นพระนักวิชาการนัก คิดนักเขียนผลงานทางพระพุทธศาสนารุ่นใหม่ มีผลงานทางวิชาการ พระพุทธศาสนาเป็นจำนวนมาก ผลงานของท่านที่เป็นที่รู้จัก เช่น พุทธธรรม เป็นต้น ท่านได้รับการยกย่องจากทั้งในและต่างประเทศเป็นอย่างมาก ด้วย ผลงานของท่านทำให้ท่านได้รับรางวัลและดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์จากหลาย สถาบันทั้งในและนอกประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการที่ท่านเป็นคนไทยคนแรก ที่ได้รับรางวัลการศึกษาเพื่อสันติภาพ จากยูเนสโก (UNESCO Prize for Peace Education)42 นอกจากนี้ปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ที่ท่านได้รับ 42 รายชื่อผู้ที่ได้รับรางวัลการศึกษาเพื่อสันติภาพ .เว็บไซต์องค์การยูเนสโก.๔๒รายชื่่�อผู้้�ที่่�ได้้รัับรางวััลการศึึกษาเพื่่�อสัันติิภาพ. เว็็บไซต์์องค์์การยููเนสโก.


103 102 รวมมีมากกว่า 15 สถาบัน ซึ่งนับว่าท่านเป็นพระภิกษุสงฆ์ไทยที่ได้รับการยก ย่องให้ได้รับดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์มากที่สุดในปัจจุบัน และในปี พ.ศ. 2549 มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าแต่งตั้งเป็นราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ ปัจจุบัน สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ดำรงตำแหน่งเป็นศาสตราจารย์พิเศษ ประจำ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และจำพรรษาอยู่ที่วัดญาณเวศก วัน อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ๓) ศาสตราจารย์ ดร. พระพรหมบัณฑิต (ประยูร ธมฺมจิตฺโต) เป็นพระราชา คณะเจ้าคณะรองชั้นหิรัญบัฏ ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดประยุรวงศา วาสวรวิหาร อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยรูปปัจจุบัน เจ้าคณะภาค 2 และกรรมการมหาเถรสมาคม พระพรหมบัณฑิต เป็นพระ นักวิชาการ นักบริหาร นักการศึกษา นักเทศน์และนักเขียน ผู้มีผลงานมากมาย ทั้งในภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เป็นพระสงฆ์ไทยรูปแรกที่ดำรงตำแหน่ง ศาสตราจารย์ในมหาวิทยาลัย ได้รับรางวัลและดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์จากหลาย สถาบัน และเป็นราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาปรัชญา ในฐานะเจ้าอาวาสวัด ประยุรวงศาวาสได้บูรณปฏิสังขรณ์พระบรมธาตุมหาเจดีย์ของวัดจนได้รับรางวัล ยอดเยี่ยม อันดับ 1 ด้านการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรรมจากองค์การยูเนสโก เป็นอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย 5 สมัยได้ก่อสร้าง สำนักงานใหญ่ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ที่อำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นประธานผู้ก่อตั้งสมาคมมหาวิทยาลัย พระพุทธศาสนานานาชาติและประธานผู้ก่อตั้งสภาสากลวันวิสาขบูชาโลกที่ ได้รับฐานะเป็นองค์กรที่ปรึกษาพิเศษขององค์การสหประชาชาติ43 ๔) พระมหาสมปอง ตาลปุตฺโต (นครไธสง) หรือที่รู้จักกันดีทั่วไปในนาม "พระ มหาสมปอง" เป็นพระนักเทศน์ชื่อดังอีกท่านหนึ่งของเมืองไทย ท่านเกิดเมื่อ ปีพ.ศ. 2521 และบรรพชาอุปสมบท เป็นพระภิกษุสงฆ์ เมื่อ พ.ศ. 2541 ปัจจุบันพระมหาสมปองจำพรรษาอยู่ที่วัดสร้อยทอง (พระอาราม หลวง) กรุงเทพมหานคร44 พระมหาสมปอง เป็นพระนักเผยแผ่พระพุทธศาสนา รุ่นใหม่ และนักบรรยายธรรมที่เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวาง และเป็นนักเขียนที่ 43 ศ า ส ต ร า จ า ร ย์ ด ร . พ ร ะ พ ร ห ม บั ณ ฑิ ต ( ป ร ะ ยู ร ธ มฺ ม จิ ตฺ โต ) . https://th.wikipedia.org/wiki [ออนไลน์วันที่ ๒๐ เมษายน ๒๕๖๐] 44 พระมหาสมปอง (แบบย่อ) ตาลปุตฺโต นครไธสง. เว็บไซต์ธรรมะเดลิเวอรี่. เรียกข้อมูล เมื่อ 19-6-52 102 รวมมีมากกว่า 15 สถาบัน ซึ่งนับว่าท่านเป็นพระภิกษุสงฆ์ไทยที่ได้รับการยก ย่องให้ได้รับดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์มากที่สุดในปัจจุบัน และในปี พ.ศ. 2549 มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าแต่งตั้งเป็นราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ ปัจจุบัน สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ดำรงตำแหน่งเป็นศาสตราจารย์พิเศษ ประจำ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และจำพรรษาอยู่ที่วัดญาณเวศก วัน อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ๓) ศาสตราจารย์ ดร. พระพรหมบัณฑิต (ประยูร ธมฺมจิตฺโต) เป็นพระราชา คณะเจ้าคณะรองชั้นหิรัญบัฏ ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดประยุรวงศา วาสวรวิหาร อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยรูปปัจจุบัน เจ้าคณะภาค 2 และกรรมการมหาเถรสมาคม พระพรหมบัณฑิต เป็นพระ นักวิชาการ นักบริหาร นักการศึกษา นักเทศน์และนักเขียน ผู้มีผลงานมากมาย ทั้งในภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เป็นพระสงฆ์ไทยรูปแรกที่ดำรงตำแหน่ง ศาสตราจารย์ในมหาวิทยาลัย ได้รับรางวัลและดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์จากหลาย สถาบัน และเป็นราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาปรัชญา ในฐานะเจ้าอาวาสวัด ประยุรวงศาวาสได้บูรณปฏิสังขรณ์พระบรมธาตุมหาเจดีย์ของวัดจนได้รับรางวัล ยอดเยี่ยม อันดับ 1 ด้านการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรรมจากองค์การยูเนสโก เป็นอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย 5 สมัยได้ก่อสร้าง สำนักงานใหญ่ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ที่อำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นประธานผู้ก่อตั้งสมาคมมหาวิทยาลัย พระพุทธศาสนานานาชาติและประธานผู้ก่อตั้งสภาสากลวันวิสาขบูชาโลกที่ ได้รับฐานะเป็นองค์กรที่ปรึกษาพิเศษขององค์การสหประชาชาติ43 ๔) พระมหาสมปอง ตาลปุตฺโต (นครไธสง) หรือที่รู้จักกันดีทั่วไปในนาม "พระ มหาสมปอง" เป็นพระนักเทศน์ชื่อดังอีกท่านหนึ่งของเมืองไทย ท่านเกิดเมื่อ ปีพ.ศ. 2521 และบรรพชาอุปสมบท เป็นพระภิกษุสงฆ์ เมื่อ พ.ศ. 2541 ปัจจุบันพระมหาสมปองจำพรรษาอยู่ที่วัดสร้อยทอง (พระอาราม หลวง) กรุงเทพมหานคร44 พระมหาสมปอง เป็นพระนักเผยแผ่พระพุทธศาสนา รุ่นใหม่ และนักบรรยายธรรมที่เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวาง และเป็นนักเขียนที่ 43 ศ า ส ต ร า จ า ร ย์ ด ร . พ ร ะ พ ร ห ม บั ณ ฑิ ต ( ป ร ะ ยู ร ธ มฺ ม จิ ตฺ โต ) . https://th.wikipedia.org/wiki [ออนไลน์วันที่ ๒๐ เมษายน ๒๕๖๐] 44 พระมหาสมปอง (แบบย่อ) ตาลปุตฺโต นครไธสง. เว็บไซต์ธรรมะเดลิเวอรี่. เรียกข้อมูล เมื่อ 19-6-52


104 103 ผลิตผลงานและหนังสือออกมาอย่างสม่ำเสมอในยุคปัจจุบัน จนได้รับพิจารณา ให้ได้รับรางวัลนักเผยแผ่พระพุทธศาสนาจากองค์กรต่าง ๆ มากมาย เช่นรางวัล พระราชทานรางวัลเสาเสมาธรรมจักร จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยาม บรมราชกุมารีฯ ในงานสัปดาห์พระพุทธศาสนาวิสาขบูชาประจำปี 2551 เป็น ต้น ด้านนิสสยสัมปัน โน ๑) พระโพธิญาณเถร (ชา สุภทฺโท) (17 มิถุนายน พ.ศ. 2461 - 16 มกราคม พ.ศ. 2535) ตรงกับ วันศุกร์ขึ้น 7 ค่ำ เดือน 7 ปีมะเมีย ณ บ้านจิก ก่อ หมู่ที่ 9 ตำบลธาตุอำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานีบิดาชื่อนายมา ช่วงโชติ มารดาชื่อ นางพิมพ์ ช่วงโชติ มีพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกันจำนวน 10 คน หลวงปู่ชา สุภทฺโท ขณะมีชีวิตอยู่ท่านได้อุทิศชีวิตเพื่อการปฏิบัติธรรม และเผยแผ่พุทธศาสนา ทั้งแก่ชาวไทยและชาวต่างประเทศ ซึ่งบังเกิดผลทำ ให้ผลงานที่เป็นประโยชน์อเนกอนันต์แก่พระศาสนา ทั้งที่เป็นพระธรรมเทศนา และสำนักปฏิบัติธรรมในนามวัดสาขาวัดหนองป่าพงมากมาย ซึ่งแม้ท่านจะ มรณภาพไปนานแล้ว แต่ศิษยานุศิษย์ของท่านก็ยังคงรักษาแนวทางปฏิบัติธรรม ที่ท่านได้สั่งสอนไว้จนถึงปัจจุบัน45 ๒) พระธรรมมงคลญาณ (หลวงพ่อวิริยังค์ สิรินธโร) (7 มกราคม 2463 - ปัจจุบัน) เป็นพระภิกษุฝ่ายธรรมยุติกนิกาย มีตำแหน่งเป็นพระราชาคณะชั้น ธรรมและเจ้าอาวาสวัดธรรมมงคล ปัจจุบันอายุ 97 ปี พรรษา 75 เมื่ออายุ ๑๕ ปี พุทธศักราช ๒๔๗๗ ได้บวชเป็นชีปะขาว การศึกษาเนื่องจากการบวช ตั้งแต่อายุยังน้อย จบชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ หลังจากนั้นบรรพชาแล้วเรียนจบ นักธรรมชั้นตรี นอกจากนั้น เป็นเวลาปฏิบัติกรรมฐาน เดินธุดงค์ตลอด ระยะเวลาบรรพชา และอุปสมบท46 ๓) สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก พระ นามเดิม เจริญ คชวัตร ฉายา สุวฑฺฒโน (3 ตุลาคม พ.ศ. 2456 – 24 ตุลาคม พ.ศ. 2556) เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 19 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร ทรงดำรงตำแหน่งเมื่อ พ.ศ. 2532 ในรัชกาล พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ถือเป็นสมเด็จพระสังฆราชที่ มีพระชันษามากกว่าสมเด็จพระสังฆราชทุกพระองค์ในอดีตและเป็นพระองค์ 45 พระโพธิญาณเถระ (ชา สุภทฺโท). https://th.wikipedia.org/wiki [ออนไลน์วันที่ ๒๐ เมษายน ๒๕๖๐] 46 พระธรรมมงคลญาณ (หลวงพ่อวิริยังค์ สิรินธโร). https://th.wikipedia.org/wiki [ออนไลน์วันที่ ๒๐ เมษายน ๒๕๖๐] 103 ผลิตผลงานและหนังสือออกมาอย่างสม่ำเสมอในยุคปัจจุบัน จนได้รับพิจารณา ให้ได้รับรางวัลนักเผยแผ่พระพุทธศาสนาจากองค์กรต่าง ๆ มากมาย เช่นรางวัล พระราชทานรางวัลเสาเสมาธรรมจักร จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยาม บรมราชกุมารีฯ ในงานสัปดาห์พระพุทธศาสนาวิสาขบูชาประจำปี 2551 เป็น ต้น ด้านนิสสยสัมปัน โน ๑) พระโพธิญาณเถร (ชา สุภทฺโท) (17 มิถุนายน พ.ศ. 2461 - 16 มกราคม พ.ศ. 2535) ตรงกับ วันศุกร์ขึ้น 7 ค่ำ เดือน 7 ปีมะเมีย ณ บ้านจิก ก่อ หมู่ที่ 9 ตำบลธาตุอำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานีบิดาชื่อนายมา ช่วงโชติ มารดาชื่อ นางพิมพ์ ช่วงโชติ มีพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกันจำนวน 10 คน หลวงปู่ชา สุภทฺโท ขณะมีชีวิตอยู่ท่านได้อุทิศชีวิตเพื่อการปฏิบัติธรรม และเผยแผ่พุทธศาสนา ทั้งแก่ชาวไทยและชาวต่างประเทศ ซึ่งบังเกิดผลทำ ให้ผลงานที่เป็นประโยชน์อเนกอนันต์แก่พระศาสนา ทั้งที่เป็นพระธรรมเทศนา และสำนักปฏิบัติธรรมในนามวัดสาขาวัดหนองป่าพงมากมาย ซึ่งแม้ท่านจะ มรณภาพไปนานแล้ว แต่ศิษยานุศิษย์ของท่านก็ยังคงรักษาแนวทางปฏิบัติธรรม ที่ท่านได้สั่งสอนไว้จนถึงปัจจุบัน45 ๒) พระธรรมมงคลญาณ (หลวงพ่อวิริยังค์ สิรินธโร) (7 มกราคม 2463 - ปัจจุบัน) เป็นพระภิกษุฝ่ายธรรมยุติกนิกาย มีตำแหน่งเป็นพระราชาคณะชั้น ธรรมและเจ้าอาวาสวัดธรรมมงคล ปัจจุบันอายุ 97 ปี พรรษา 75 เมื่ออายุ ๑๕ ปี พุทธศักราช ๒๔๗๗ ได้บวชเป็นชีปะขาว การศึกษาเนื่องจากการบวช ตั้งแต่อายุยังน้อย จบชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ หลังจากนั้นบรรพชาแล้วเรียนจบ นักธรรมชั้นตรี นอกจากนั้น เป็นเวลาปฏิบัติกรรมฐาน เดินธุดงค์ตลอด ระยะเวลาบรรพชา และอุปสมบท46 ๓) สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก พระ นามเดิม เจริญ คชวัตร ฉายา สุวฑฺฒโน (3 ตุลาคม พ.ศ. 2456 – 24 ตุลาคม พ.ศ. 2556) เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 19 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร ทรงดำรงตำแหน่งเมื่อ พ.ศ. 2532 ในรัชกาล พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ถือเป็นสมเด็จพระสังฆราชที่ มีพระชันษามากกว่าสมเด็จพระสังฆราชทุกพระองค์ในอดีตและเป็นพระองค์ 45 พระโพธิญาณเถระ (ชา สุภทฺโท). https://th.wikipedia.org/wiki [ออนไลน์วันที่ ๒๐ เมษายน ๒๕๖๐] 46 พระธรรมมงคลญาณ (หลวงพ่อวิริยังค์ สิรินธโร). https://th.wikipedia.org/wiki [ออนไลน์วันที่ ๒๐ เมษายน ๒๕๖๐]


105 104 แรกของไทยที่มีพระชันษา 100 ปี สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2556 เนื่องจากติดเชื้อในกระแสพระโลหิต เอกสารอ้างอิง 1. ภาษาไทย ก. เอกสารชั้นปฐมภูมิ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณ ราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2539. ข. เอกสารทุติยภูมิ (1) หนังสือ : เกสิณี ชิวปรีชา. 100 บรรทัด ร้อยใจคน ภาวะผู้นำแบบหมอกระแส. กรุงเทพมหานคร: วี.พริ้นต์, 2562. ทวีป อภิสิทธิ์. กิจกรรมส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สำหรับเด็ก และเยาวชน . กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559. ธีระ รุญเจริญ. ความเป็นมืออาชีพในการจัดและบริหารการศึกษายุคปฏิรูปการศึกษา (ฉบับปรับปรุง) เพื่อปฏิรูปรอบ 2 และประเมินภายนอกรอบ 3. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพมหานคร: บริษัทสำนักพิมพ์ข้าวฟ่าง จำกัด, 2557. ประพันธ์ศิริ สุเสารัจ. การพัฒนาการคิด. กรุงเทพมหานคร: เทคนิค พริ้นติ้ง, 2556. พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตโต). ธรรมนูญชีวิต. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพมหานคร: ส านักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ, 2550. ไพฑูรย์ สินลารัตน์ และคณะ. คิดนอกกรอบ: สอนและสร้างได้อย่างไร. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558. สิน งามประโคน, “คุณลักษณะภาวะผู้นำของพระสงฆ์ในการเผยแพร่พระพุทธศาสนา”. รายงานการวิจัย, คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2560, สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์. คิดต่าง สร้างการเปลี่ยนแปลง. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิทองเนื้อเก้า, 2563. 104 แรกของไทยที่มีพระชันษา 100 ปี สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2556 เนื่องจากติดเชื้อในกระแสพระโลหิต เอกสารอ้างอิง 1. ภาษาไทย ก. เอกสารชั้นปฐมภูมิ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณ ราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2539. ข. เอกสารทุติยภูมิ (1) หนังสือ : เกสิณี ชิวปรีชา. 100 บรรทัด ร้อยใจคน ภาวะผู้นำแบบหมอกระแส. กรุงเทพมหานคร: วี.พริ้นต์, 2562. ทวีป อภิสิทธิ์. กิจกรรมส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สำหรับเด็ก และเยาวชน . กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559. ธีระ รุญเจริญ. ความเป็นมืออาชีพในการจัดและบริหารการศึกษายุคปฏิรูปการศึกษา (ฉบับปรับปรุง) เพื่อปฏิรูปรอบ 2 และประเมินภายนอกรอบ 3. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพมหานคร: บริษัทสำนักพิมพ์ข้าวฟ่าง จำกัด, 2557. ประพันธ์ศิริ สุเสารัจ. การพัฒนาการคิด. กรุงเทพมหานคร: เทคนิค พริ้นติ้ง, 2556. พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตโต). ธรรมนูญชีวิต. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพมหานคร: ส านักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ, 2550. ไพฑูรย์ สินลารัตน์ และคณะ. คิดนอกกรอบ: สอนและสร้างได้อย่างไร. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558. สิน งามประโคน, “คุณลักษณะภาวะผู้นำของพระสงฆ์ในการเผยแพร่พระพุทธศาสนา”. รายงานการวิจัย, คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2560, สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์. คิดต่าง สร้างการเปลี่ยนแปลง. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิทองเนื้อเก้า, 2563. 104 แรกของไทยที่มีพระชันษา 100 ปี สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2556 เนื่องจากติดเชื้อในกระแสพระโลหิต เอกสารอ้างอิง 1. ภาษาไทย ก. เอกสารชั้นปฐมภูมิ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณ ราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2539. ข. เอกสารทุติยภูมิ (1) หนังสือ : เกสิณี ชิวปรีชา. 100 บรรทัด ร้อยใจคน ภาวะผู้นำแบบหมอกระแส. กรุงเทพมหานคร: วี.พริ้นต์, 2562. ทวีป อภิสิทธิ์. กิจกรรมส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สำหรับเด็ก และเยาวชน . กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559. ธีระ รุญเจริญ. ความเป็นมืออาชีพในการจัดและบริหารการศึกษายุคปฏิรูปการศึกษา (ฉบับปรับปรุง) เพื่อปฏิรูปรอบ 2 และประเมินภายนอกรอบ 3. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพมหานคร: บริษัทสำนักพิมพ์ข้าวฟ่าง จำกัด, 2557. ประพันธ์ศิริ สุเสารัจ. การพัฒนาการคิด. กรุงเทพมหานคร: เทคนิค พริ้นติ้ง, 2556. พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตโต). ธรรมนูญชีวิต. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพมหานคร: ส านักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ, 2550. ไพฑูรย์ สินลารัตน์ และคณะ. คิดนอกกรอบ: สอนและสร้างได้อย่างไร. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558. สิน งามประโคน, “คุณลักษณะภาวะผู้นำของพระสงฆ์ในการเผยแพร่พระพุทธศาสนา”. รายงานการวิจัย, คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2560, สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์. คิดต่าง สร้างการเปลี่ยนแปลง. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิทองเนื้อเก้า, 2563.


106 105 สุชาติ ไตรภพ, ชาคริต พิชญางกูร. การจัดการนวัตกรรม. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2563.สุเทพ พงศ์ศรีวัฒน์. ภาวะความเป็นผู้นำ. (กรุงเทพมหานคร: ส.เอเชียเพรส (1989), 2550. สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. แผนอุดมศึกษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561- 2580). สำนักนโยบายและแผนการอุดมศึกษา, 2561. สุวิทย์ มูลคำ. กลยุทธ์การสอนคิดบูรณาการ. กรุงเทพมหานคร: ห้างหุ้นส่วนจำกัด ภาคพิมพ์, 2551. เหวย์ ซิ่วอิง (เขียน). จิราพร เนตรสมบัติผล(แปล). ฮาร์วาร์ด มหาวิทยาลัยที่ดีแห่งหนึ่ง ของโลก สอนวิธีคิดเล่มที่2. กรุงเทพมหานคร: แอคทีฟ พริ้นท์, 2563. อานันท์ ชินบุตร, พันโท. ปลุกความยิ่งใหญ่สไตล์ 3 กูรู. กรุงเทพมหานคร: รุ่งแสงการพิมพ์, 2561. อารีย์ พันธุ์มณี. ฝึกให้คิดเป็น คิดให้สร้างสรรค์. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, 2558. (2) สื่อออนไลน์ : ทัศนวรรณ รามณรงค์, ความคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking), [ออนไลน์], แหล่งที่มา: https://www.gotoknow.org/posts/544576 [5 ตุลาคม 2565]. E. Paul Torrance. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://pumlovetoey21031.wixsite.com/ kewwalin01/about2-cw4s [4 พฤศจิกายน 2565]. Garison, (1954) [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://pumlovetoey21031.wixsite.com/ kewwalin01/about2-cw4s [4 พฤศจิกายน 2565]. 2. ภาษาอังกฤษ Amabile, T.M. (2012). Componential theory of creativity. Harvard Business School. 12 (96) : 1-10. Daniel Goleman & Frederick Herzberg (เขียน). ณัฐยา สินตระการผลและวีรวุธ มาฆะ ศิรานนท์ (แปลและเรียบเรียง). การบริหารทรัพยากรบุคคล คัมภีร์สำหรับ ผู้บริหารจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด. กรุงเทพมหานคร: แอคทีฟ พริ้นท์, 2563. Guilford, J.P. The nature of human intelligence. New York: McGraw-Hill Book Company, 1967.


107 106 Guilford and Hoepfner, R.. The Analysis of Intelligence. New York: McGrawHill Book Company, 1971. John C.Maxwell (เขียน). วันดี อภิรักษ์ธนากร (แปล). ภาวะผู้นำ 5 ระดับ (ฉบับปรับปรุง). กรุงเทพมหานคร: แอคทีฟ พริ้นท์, 2563. Newell A and Simpson. Career Education : The State of the Science. Washingon, D.C. : Office of Career Education. United States Office of Education, 1963.


บทที่ 4 การพัฒนาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง การพัฒนาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง ซึ่งเป็นหนึ่งในองค์ประกอบของบทนี้ที่สำคัญ ในการสนับสนุนให้องค์การดำเนินการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อพัฒนาตน คนและงานของผู้นำทางการศึกษาโดยการบูรณาการกับหลักพุทธวิถีไหม่ ซึ่งมีเนื้อหาในบทดังนี้ 4.1 การพัฒนาตนของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง 4.2 การบูรณาการหลักพุทธวิถีใหม่สู่การพัฒนาตนของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง 4.3 การพัฒนาคนของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษา 4.4 การบูรณาการหลักพุทธวิถีใหม่สู่การพัฒนาคนของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง 4.5 การพัฒนางานของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง 4.6 การบูรณาการหลักพุทธวิถีใหม่สู่การพัฒนางานของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง 4.1 การพัฒนาตนของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง ศาสตราจารย์ ดร.ปีเตอร์ เอฟ. ดรักเกอร์ (Peter F. Drucker) เป็นหนึ่งในบรรดา ปรมาจารย์ในลำดับต้น ๆ ที่เป็นนักบริหารและนักวิชาการด้านการบริหารจัดการทั่วโลกให้ การยอมรับ ด้วยสมญานามว่า "บิดาแห่งศาสตร์ทางด้านการบริหารจัดการ" ผู้มีอิทธิพล ทางความคิดชี้นำทิศทางการบริหารจัดการที่จะเกิดขึ้นในอนาคตอย่างสม่ำเสมอให้แก่ องค์การต่าง ๆ ทั่วโลก ยิ่งในด้านการพัฒนาตน คนและงานด้วยแล้วนับได้ว่าเขาเป็น ผู้มีคุณูปการแก่แวดวงวิชาการมากในปัจจุบันได้กล่าวถึง การบริหารจัดการตนเองว่า การพัฒนาตนเองของภาวะผู้นำทางการศึกษาในยุคการเปลี่ยนแปลงมากหมายให้ ถือว่า การมีโอกาส (opportunity) เป็นภาระหน้าที่ (responsibility) และความรับผิดชอบ (accountability) ว่าคุณจะจัดวางตนเองหรือบริหารจัดการตนเองอย่างไร เพื่อให้ทันการ เปลี่ยนแปลงทางการศึกษาอย่างแท้จริง และต้องเข้าใจตนเองว่า เรื่องที่ภาวะผู้นำต้องการ


109 103 อะไร คุณจะเรียนรู้และทำงานร่วมกับคนอื่น ๆ ได้อย่างไรและคุณจะเป็นพลเมืองอันแข็ง กล้าให้กับองค์การได้อย่างไร1 “ความสำเร็จในสภาวะเศรษฐกิจที่พึ่งพิงความรู้ย่อมเป็นของ ผู้ที่รู้จักตัวเอง ทั้งด้านจุดแข็ง ค่านิยม และวิธีการทำงานที่ดีที่สุด” เมื่อได้ศึกษาแนวคิดการพัฒนาตนในเชิงธุรกิจมาปรับใช้กับการพัฒนาภาวะนำ ทางการศึกษาเพราะผู้นำทางการศึกษาต้องผลิตนิสิตและนักศึกษาไปเป็นผู้ประกอบการใน อุตสาหกรรมและหน่วยงาน องค์การทั้งภาครัฐและเอกชนในอนาคต พบว่า เมื่อได้ศึกษา ผลการวิจัยที่ผ่านมาของ Wharton School จากกลุ่มประชากรที่เป็น ผู้บริหารระดับสูง กว่า 20,000 คน ทําให้สามารถระบุทักษะ ความสามารถการพัฒนาตน 6 ประการ ได้แก่ (1) ความสามารถในการคาดการณ์ล่วงหน้า (2) การแสดงข้อคิดเห็น (3) การตีความหมาย (4) การตัดสินใจ (5) การปรับตัวให้เหมาะสม และ (6) การเรียนรู้ซึ่งมีรายละเอียดที่ปรับ จากแนวคิดของ Linda A. Hill & Nina A. Bowman2 ดังนี้ 1. ความสามารถในการคาดการณ์ล่วงหน้า 1) พูดคุยกับทีมงานในองค์การ เพื่อให้เข้าใจปัญหาและอุปสรรคของพวกเขา 2) ทําการวิจัยตลาดและจําลองสถานการณ์การเปลี่ยนทางการศึกษาเพื่อให้ เข้าใจมุมมองของคู่แข่ง ประเมินการตอบสนองที่เป็นไปได้ และบริการใหม่ที่อาจทําให้เกิด การเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ 3) ทําการวางแผนด้วยสถานการณ์ (scenario planning) เพื่อให้เห็นภาพ ของอนาคตที่เป็นไปได้ และเตรียมพร้อมรับมือ กับสิ่งที่ไม่คาดคิด 4) พิจารณาคู่แข่งที่เติบโตอย่างรวดเร็ว และวิเคราะห์ว่าการกระทําใด ๆ ของ คู่แข่งที่อาจทําให้คุณต้องตกอยู่ในสถานการณ์ที่ยากลําบาก 5) ระบุผู้เรียนที่ลดลง และพยายามหาสาเหตุ 6) เข้าร่วมงานประชุมสัมมนากับองค์การศึกษาหรือหน่วยงานอื่น 2. การท้าทายทางความคิด การพัฒนาความสามารถในการแสดงข้อคิดเห็นได้โดย 1 Peter F. Drucker, (เขียน), วีรวุธ มาฆะศิรานนท์(แปล), สุดยอดปรมาจารย์ด้านบริหาร จัดการ, (กรุงเทพมหานคร: เอ็กซเปอร์เน็ท จำกัด, 2563), หน้า 17-18. 2 Linda A. Hill & Nina A. Bowman เขียน, ผู้แปล ณัฐยา สินตระการผล, ผู้เรียบเรียง วีรวุธ มาฆะศิรานนท, คัมภีร์กลยุทธ์สำหรับผู้นำ จากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด, (กรุงเทพมหานคร: เอ็กซเปอร์ เน็ท, 2563) หน้า 29-42.


110 104 1) ให้ความสนใจกับสาเหตุที่แท้จริงของปัญหา ไม่ใช่อาการของปัญหา โดย นําแนวคิดเรื่อง “การตั้งคําถาม 5 ทําไม (Five whys)” ของซาคิชิ โตโยดะ (Sakichi Toyoda) ซึ่ง เป็นผู้ก่อตั้งบริษัท Toyota มาใช้ (เช่น “จํานวนสินค้าที่ถูกส่งคืนเพิ่มขึ้น 5% ในเดือนนี้” “ทําไมจึงเป็นอย่างนั้น” - “เพราะสินค้าใช้งานได้บ้างไม่ได้บ้าง” “แล้วทําไม จึงเป็น เช่นนั้น” แล้วตั้งคําถามแบบนี้ต่อไปจนครบห้าครั้ง) 2) ระบุสมมติฐานที่มีมานานเกี่ยวกับด้านใดด้านหนึ่งของ ธุรกิจ (เช่น “ต้นทุนการเปลี่ยนซัพพลายเออร์ที่สูง ช่วยป้องกันไม่ให้ลูกค้าของเราเปลี่ยนไปหาคนอื่น ๆ แล้วถามคนหลากหลายกลุ่มว่าสมมติฐานนี้ยังเป็นจริงอยู่หรือไม่ 3) ส่งเสริมให้เกิดการถกเถียงกันโดยจัดการประชุม “ในพื้นที่ปลอดภัย” ที่เปิดโอกาสให้ทุกคนแสดงความคิดเห็นได้อย่างเต็มที่ และเต็มใจเปิดรับความคิดเห็นที่ ขัดแย้งกัน 4) สร้างตําแหน่งงานที่มีการผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนคนเข้ามาทํา เพื่อให้เกิด การตั้งคําถามเกี่ยวกับสถานภาพปัจจุบัน 5) ให้คนที่มักแสดงความไม่เห็นด้วยเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินใจ เพื่อให้ได้ความคิดเห็นที่ขัดแย้งตั้งแต่เนิ่น ๆ 6) ขอความเห็นจากคนที่ไม่ได้รับผลกระทบจากการตัดสินใจโดยตรง แต่อาจ มีมุมมองที่น่าสนใจเกี่ยวกับผลกระทบจาก การตัดสินใจดังกล่าว 3. ตีความหมาย คุณสามารถพัฒนาความสามารถในการตีความหมายได้โดย 1) เมื่อต้องวิเคราะห์ข้อมูลที่ไม่ชัดเจน ให้เขียนคําอธิบายที่เป็นไปได้อย่าง น้อย 3 ข้อเกี่ยวกับสิ่งที่คุณสังเกตเห็นแล้ว ขอความเห็นจากผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย หลากหลายกลุ่ม 2) บังคับตัวเองให้สนใจรายละเอียดก่อน แล้วค่อยมองในภาพรวม 3) คอยมองหาข้อมูลที่ขาดหายไปและหลักฐานที่จะมาหักล้างสมมติฐาน ของคุณ 4) นําการวิเคราะห์เชิงปริมาณเข้ามาใช้สนับสนุนข้อสังเกตของคุณ 5) หยุดคิด แล้วออกไปเดินเล่น ชมงานศิลปะ ฟังเพลง หรือเล่นปิงปอง เพื่อให้เปิดรับความคิดใหม่เข้ามา 4. การตัดสินใจ (Decision) คุณสามารถพัฒนาความสามารถในการตัดสินใจได้โดย : 1) กําหนดกรอบการตัดสินใจใหม่ โดยแทนที่จะมีแค่สองทางให้เลือก คุณควร ถามทีมงานอย่างชัดเจนว่า “เรามีทาง เลือกอื่นอีกหรือไม่ ?”


111 105 2) แบ่งการตัดสินใจที่สําคัญออกเป็นส่วนย่อย แล้วทําความ เข้าใจองค์ประกอบ แต่ละส่วนของการตัดสินใจ เพื่อให้เห็นผลลัพธ์ที่ไม่ได้ตั้งใจจะให้เกิดได้อย่างชัดเจนยิ่งขึ้น 3) กําหนดเกณฑ์การตัดสินให้เหมาะสมกับลักษณะโครงการ โดยแบ่งเป็น โครงการระยะยาวและระยะสั้น 4) บอกให้คนอื่นรู้ว่าคุณอยู่ที่ขั้นตอนใดในกระบวนการ ตัดสินใจ เช่น คุณยังคง มองหาความคิดที่แตกต่างและ ความเห็นโต้แย้ง หรือกําลังเข้าสู่การสรุปขั้นสุดท้ายก่อน ทําการตัดสินใจ 5) กําหนดว่าใครต้องมีส่วนเกี่ยวข้องโดยตรง และอาจมีอิทธิพลต่อผลสําเร็จ ของการตัดสินใจของคุณ 6) พิจารณาทําโครงการนําร่องหรือโครงการทดลองก่อนจะทุ่มหมดหน้าตัก และตกลงดําเนินการทีละขั้น 5. การปรับตัวให้เหมาะสม คุณสามารถพัฒนาความสามารถในการปรับตัวให้เหมาะสมได้โดย : 1) สื่อสารกับคนในองค์กรตั้งแต่เนิ่น ๆ และบ่อยครั้ง เพื่อป้องกันข้อร้องเรียนที่ เกิดขึ้นประจําอย่าง “ไม่มีใครถามฉัน เลย” และ “ไม่มีใครเคยบอกฉันเลย” 2) ระบุกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่สําคัญทั้งภายในและภายนอกองค์กร แล้ว วิเคราะห์จุดยืนของแต่ละกลุ่มเกี่ยวกับโครงการ ของคุณ มองหาจุดที่มีการขัดแย้งกันของ ผลประโยชน์ โดยมองหาเป้าหมายหรือความร่วมมือที่ซ่อนอยู่ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียแต่ละ กลุ่ม 3) สนทนากันตามหัวข้อที่กําหนดโดยมีผู้ช่วยดําเนินการสนทนา เพื่อให้เห็นจุด ที่ยังมีความเข้าใจผิดหรือการต่อต้านอยู่ 4) เข้าหาคนที่ต่อต้านความคิดโดยตรง เพื่อทําความเข้าใจเกี่ยวกับสิ่งที่พวกเขา เป็นกังวลและหาทางแก้ไข 5) จับตามองจุดยืนของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียแต่ละกลุ่มในช่วงที่มีการเริ่มดําเนิน โครงการหรือกลยุทธ์ของคุณ 6) ให้คําชื่นชมหรือรางวัลแก่เพื่อนร่วมงานที่ช่วยสนับสนุนการปรับทีมให้ เหมาะสม 6. การเรียนรู้ (Learning) คุณสามารถพัฒนาความสามารถในการเรียนรู้ได้โดย : 1) ทําการประเมินผลหลังการปฏิบัติ บันทึกบทเรียนที่ได้จากการตัดสินใจหรือ ความก้าวหน้าครั้งใหญ่ (รวมถึงการล้ม เลิกโครงการที่ประสบความล้มเหลว) และสื่อสารสิ่ง ที่ได้เรียนรู้กับคนทั่วทั้งองค์กร


112 106 2) ให้รางวัลแก่ผู้บริหารที่พยายามทําเรื่องที่น่าชื่นชม แต่ได้ผลลัพธ์ไม่น่าพอใจ 3) ตรวจสอบการเรียนรู้ประจําปี เพื่อให้รู้จุดบกพร่องในการตัดสินใจและการมี ปฏิสัมพันธ์ภายในทีม 4) ระบุโครงการหรือกิจกรรมที่ไม่ก่อให้เกิดผลลัพธ์ตามที่คาดหวัง และตรวจสอบ หาสาเหตุที่แท้จริง 5) สร้างวัฒนธรรมองค์กรที่เห็นคุณค่าของการตั้งคําถาม และ มองความ ผิดพลาดที่เกิดขึ้นว่าเป็นโอกาสในการเรียนรู้ ซึ่งสามารถสรุปเป็นภาพประกอบภาวะผู้นำ การพัฒนาตนที่ 4.1 ได้ดังนี้ ภาพที่ 4.1 แนวคิดภาวะผู้นำการพัฒนาตน ที่มา : มาจาก แนวคิดของ Linda A. Hill & Nina A. Bowman, 2563 : 42 2.1.1 คิดแบบผู้นำในการพัฒนา การคิดแบบผู้นำต้องมุ่งเป้าหมายการกระทำให้เกิดผลลัพธ์ที่มีความหมาย เมื่อคน ในองค์การคิด จะทําให้เกิดประโยชน์ที่สําคัญดังนี้ 1) คุณกําหนดทิศทางของทีมงานที่สอดคล้องกับกลยุทธ์ขององค์กร และทํางาน ประจําวันที่เป็นไปตามทิศทางดังกล่าว 2) คุณทําการตัดสินใจในเรื่องที่ส่งผลระยะยาวได้อย่างชาญฉลาด โดยเป็นการ ตัดสินใจที่ส่งเสริมและสอดคล้องกับการตัดสินใจของคนอื่นในองค์กร 3) คุณทําให้ผู้ใต้บังคับบัญชามีความมุ่งมั่นที่จะสนับสนุนการตัดสินใจของคุณ 4) คุณทําให้สมาชิกในทีมมีผลการปฏิบัติงานที่ดีขึ้น และทําให้เกิดผลสําเร็จ ทางการปฏิบัติงานขั้นสูงสุด 5) คุณสามารถเน้นความสนใจไปกับการทํางานประจําวันตามลําดับความสําคัญ และมีส่วนช่วยองค์กรได้มากที่สุด ซึ่งสามารถสรุปเป็นภาพประกอบความคิดแบบผู้นำใน การพัฒนาตนเองที่ 4.2 ดังนี้ ความสามารถในการ คาดการณ์ล่วงหน้า การท้าทายทาง ความคิด ตีความหมาย การตัดสินใจ การปรับตัวให้ เหมาะสม การเรียนรู้ แนวคิดการ พัฒนาตน


113 107 ภาพที่ 4.2 คิดแบบผู้นำในการพัฒนาตนเอง ที่มา : มาจาก แนวคิดของ Linda A. Hill & Nina A. Bowman, 2563 : 16 4.1.2 การพัฒนาตนเองสู่เป้าหมาย (Drive) การขับเคลื่อนสู่เป้าหมายนั้น จําเป็นต้องพัฒนาคุณสมบัติต่าง ๆ โดยพิจารณาว่า ในแต่ละเป้าหมายนั้น จะต้องมีแนวทาง มีแผนอย่างไรบ้าง ซึ่งสามารถใช้โมเดล “ฉันจะโต” (1-GROW) ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ 1) Individual's area of Improvement คือ ประเด็นหรือปัญหาที่ต้องการ พัฒนาของตนเอง 2) Goals หรือTarget คือเป้าหมายที่ต้องการพัฒนาตนเองให้ตรงตามภาพที่ ต้องการ 3) Reality คือ สภาพความเป็นจริงในปัจจุบันเป็นอย่างไร เมื่อเปรียบเทียบ กับเป้าหมายที่ต้องการแล้ว ยังมีช่องว่างอะไรอีกบ้างที่ต้องการการพัฒนา 4) Options คือ มีทางเลือกอะไรบ้างที่จะปิดช่องว่างนั้น ๆ แต่ละทางเลือก มีข้อดี ข้อเสียอย่างไร 5) Will คือ จะวางแผนการปฏิบัติการอย่างไรเพื่อให้ทางเลือกนั้นบรรลุผล อย่างเป็นรูปธรรมตรงตามภาพที่พัฒนาแล้ว มีวิสัยทัศน์ กล้าตัดสินใจ ร่วมมือ กระตือรือร้น คิดแบบผู้นําในการ พัฒนาตนเอง


114 108 จากโมเดล “ฉันจะโต (1-GROW )” ผู้นำต้องพัฒนาสมรรถนะ ทักษะ ความรู้ ทัศนคติ ให้เป็นคนเด่นให้กับตนเอง ซึ่งการสร้างแบรนด์ให้กับตัวเองมีคุณค่าเฉพาะตัวของ บุคคลแต่ละคนนั้นแตกต่างกัน แต่โดยภาพรวมนั้นสามารถสรุปสั้น ๆ ได้ดังนี้ 1) ไม่ปล่อยตัวเองให้พึ่งพาองค์การแต่อย่างเดียว ฝากชีวิตให้คนอื่นดูแล ซึ่งไม่มี ความยั่งยืนในระยะยาว 2) ทําให้ไม่ติดกับดักชีวิต ทํางานแบบไร้แรงบันดาลใจ หลงอยู่ในความสะดวกสบาย ติดอยู่ใน Comfort Zone 3) รองรับการใช้ชีวิตหลังอายุ 60 ปี ซึ่งผู้คนจะยังให้ความสําคัญกับคนที่มีแบรนด์ ที่โดดเด่น 4) ป้องกันความท้อถอยในชีวิต เพราะการมีเป้าหมายชีวิตจะเป็นการกระตุ้นการ พัฒนาตนเองอย่างสม่ำเสมอ3 ภาพที่4.3 การพัฒนาตนเองสู่เป้าหมาย (Drive) ที่มา : มาจากแนวคิดของจตุพร สังขวรรณ, 2557: 60-61 4.1.3 ความสําคัญของบุคลิกภาพ บุคลิกภาพจึงสําคัญที่มีวิธีการง่าย ๆ สำหรับการถามคําถามตัวเองก่อนจะออกจาก บ้านไปทำงานดังต่อไปนี้ 1) ท่านเคารพตัวท่านเองมากแค่ไหน? เพราะสิ่งที่เรากําลังจะสื่อออกไปแก่ผู้คน ด้วยตัวของเราเอง คือสิ่งที่เรียกว่าบุคลิกภาพซึ่งเป็นภาพลักษณ์ของเรา 2) ท่านเคารพผู้ที่ท่านกําลังจะไปพบมากแค่ไหน? เพราะนั่นหมายถึงการให้เกียรติ ซึ่งกันและกัน 3) ท่านเคารพสถานที่ที่ท่านจะไปมากแค่ไหน? เพราะนั่นหมายถึงการเตรียมพร้อม 3 จตุพร สังขวรรณ, ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์, (กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2557), หน้า 60-61. เข้าใจ ปัญหา มีเป้าหมาย เข้าใจความ เป็นจริง รู้จักเลือก วางแผนการ ปฏิบัติ การพัฒนา ตนเองสู่ เป้าหมาย 000


115 109 รับกับสายตาผู้คนที่อยู่ ณ สถานที่นั้น ๆ รวมถึงสถานที่ทํางานขององค์กรด้วย 4) ท่านเคารพองค์การต้นสังกัดของท่านมากแค่ไหน? เพราะเมื่อทุกคนออกไป ทำงานพร้อมเครื่องแบบ พร้อมนามบัตร พร้อมกับคําตอบ การรับรู้และประเมินของผู้คน เกี่ยวกับบุคลิกภาพที่มีต่อผู้อื่นนั้น เกิด ขึ้นภายในเวลาเพียง 1 – 7 วินาทีเท่านั้นซึ่งเรียกว่า ความประทับใจเมื่อแรกพบ (First Impression) ดังผลการสำรวจบุคลิกภาพสำหรับการ แต่งกายเป็นสิ่งสําคัญมากที่สุดต่อความประทับใจคิดเป็นร้อยละ55 รองลงมาคือน้ำเสียงคิด เป็นร้อยละ 36 และคําพูดคิดเป็นร้อยละ 9 ตามลำดับ ภาพที่ 4.4 ความสำคัญของบุคลิกภาพที่ส่งภาวะผู้นำทางการศึกษา ที่มา : มาจากแนวคิดของจตุพร สังขวรรณ, 2557 : 60-61 4.1.4 การพัฒนาบุคลิกภาพของผู้นำทางการศึกษา เมื่อผู้นำเห็นความสำคัญต่อการพัฒนาบุคลิกภาพที่มีผลต่อการบริหารองค์การควร มีการประเมินการพัฒนาบุคลิกภาพและยอมรับการพัฒนาตามองค์ประกอบ 4 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 การประเมินบุคลิกภาพซึ่งขั้นตอนนี้เราสามารถประเมินตนเองหรือให้ ผู้อื่นที่เรารู้จักสนิทสนมประเมินให้ก็ได้ โดยประเมินองค์ประกอบ 3 อย่างที่สร้างความ ประทับเมื่อแรกพบข้างต้น รวมถึงทัศนคติของเราด้วย ขั้นตอนที่ 2 การปรับปรุงบุคลิกภาพ เมื่อได้รับผลการประเมินแล้วให้ ทําการ ปรับปรุงบุคลิกภาพที่ได้รับการประเมินมา สําหรับแนวทางที่ถูกต้องจะกล่าว ถึงในหัวข้อ ถัดไป ขั้นตอนที่ 3 การแสดงออกขั้นตอนนี้เป็นสิ่งสําคัญด้วยเช่นเดียวกันกับขั้นตอนอื่นๆ เพราะหลายคนเมื่อได้รับผลการประเมิน ต้องยอมรับการปรับปรุงแก้ไขแล้ว เพื่อนําไปสู่ขั้น ต่อไป ขั้นตอนที่ 4 การประเมินหลังการปรับปรุง ขั้นตอนนี้ทําเพื่อให้ทราบว่าสิ่งที่เรา ปรับปรุงไปแล้วนั้นดีแล้วหรือยัง หรือยังต้องปรับปรุงเพิ่มเติมอีกนั่นเองจากขั้นตอนในการ พัฒนาบุคลิกภาพและองค์ประกอบของบุคลิกภาพข้างต้น เคารพตนเอง เคารพผู้อื่น เคารพสถานที่ เคารพองค์กร ความสําคัญ ของบุคลิกภาพ บุคลิกภาพ กายและใจ ของผู้นำ


116 110 ภาพที่4.5 การพัฒนาบุคลิกภาพของผู้นำทางการศึกษา ที่มา : มาจากแนวคิดของจตุพร สังขวรรณ, 2557 : 69 4.1.6 การพัฒนาตนของภาวะผู้นำการเปลี่ยนทางการศึกษา 1) การค้นหาตัวตนให้พบ 2) ความคิดสร้างสรรค์ 3) คิดหาความเชื่อมโยงและเพิ่มเติมความคิดใหม่ 4) มีความงดงามที่เรียบง่าย 5) มีเป้าหมายการทำงาน4 เช่น เอดิสัน ตั้งเป้าหมายว่าจะสร้างสิ่งประดิษฐ์ ให้ได้หนึ่งชิ้นทุกสิบวัน ซึ่งเขามีผลถึง 1,093 ชิ้น แต่ที่ดังที่สุดคือการประดิษฐ์หลอดไฟฟ้า กรณีศึกษาการพัฒนาตนของภาวะผู้นำการเปลี่ยนทางการศึกษาของประเทศ ซึ่งถือว่าได้พัฒนาการจัดการศึกษาอยู่ในระดับแนวหน้าของโลก อย่างประเทศสิงคโปร์ แคนนาดา ฟินแลนด์ จีน และ ออสเตรเลีย ซึ่งได้สังเคราะห์จากปัจจัยที่ส่งผลต่อ ความสำเร็จในการจัดการศึกษาที่สอดคล้องกัน5 คือ 1) การพัฒนาสมรรถนะภาวะผู้นำ 2) การปรับวิสัยทัศน์ของภาวะผู้นำ 3) การพัฒนาสมรรถนะครู 4) การพัฒนาสมรรถนะนักเรียน 5) การพัฒนาหลักสูตร 6) การเรียนการสอน ในขณะที่ บรูนา มาร์ตินุซซี ได้กล่าวถึงคุณสมบัติภาวะผู้นำหรือความเป็นผู้นำสาม อันดับแรกที่จะมีความสำคัญในอนาคตข้างหน้านี้ได้แก่ 4 Robert Hromas (เขียน), ผู้แปล: ชัชวนันท์ สันธิเดช, เหนือกว่าลูกน้องแบบไอน์สไตน์ คือ เจ้านายอัจฉริยะ, (กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน), 2562), หน้า 27. 5 วิจารณ์ พานิช, วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่21, (กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิสด ศรีสฤษดิ์วงศ์, 2562), หน้า 36. การประเมิน บุคลิกภาพ ปรับปรุง บุคลิกภาพ การ แสดงออก การประเมิน หลังการ ปรับปรุง การพัฒนา บุคลิกภาพ ของผู้นําทาง การศึกษา


117 111 1) ความสามารถสร้างแรงจูงใจให้พนักงานคิดเป็นร้อยละ35 2) ความสามารถทำงานได้ดีในวัฒนธรรมหลากหลายคิดเป็นร้อยละ34 3) ความสามารถเอื้ออำนวยให้เกิดการเปลี่ยนแปลงคิดเป็นร้อยละ32 คุณสมบัติทั้งสามนี้ต้องอาศัยความสามารถปรับตัว ดังสุภาษิตจีนที่ว่า “คนฉลาด ย่อมปรับตัวเข้ากับสถานการณ์ เหมือนน้ำที่ปรับรูปร่างตามเหยือกน้ำ” ยุคปัจจุบันที่ ความสามารถปรับตัวจะมีความสำคัญมาก หรือความสามารถในการเปลี่ยนแปลงทาง การศึกษา เพื่อให้เข้ากับสถานการณ์ใหม่ ๆ เป็นทักษะจำเป็นสำหรับผู้นำ6 ดังนั้นการพัฒนาภาวะผู้นำที่จะก้าวให้ทันการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษาจะเป็น แบบเดิม คิดแบบเดิม และทำแบบเดิมไม่ได้ ถ้าต้องการประสบความสำเร็จในโลกของการ เปลี่ยนแปลง ดังภาพต่อไปนี้ ภาพที่ 4.6 การพัฒนาตนของภาวะผู้นำการเปลี่ยนทางการศึกษา ที่มา : มาจากจอห์น ซี. แม็กซ์เวล (John C.Maxwell) 4.1.6 การพัฒนาตนเองต้องรู้จักตนเองให้ชัดเจนด้วยการตั้งคำถามนำต่อวิธีการ 1) จุดแข็งของของตนเอง คืออะไร เป็นสิ่งสำคัญที่สุดที่คุณจะต้องรู้ เมื่อรู้แล้ว ให้ปฏิบัติดังนี้ (1.1) จงทุ่มเป้าไปที่จุดแข็งของตนเอง ขอให้วางตัวเองไว้ในจุดที่เป็นจุดแข็ง 6 John C. Maxwell (เขียน), วันดี อภิรักษ์ธนากร (แปล), The 5 Levels of Leadership ภาวะผู้นำ 5 ระดับ (ฉบับปรับปรุง), (กรุงเทพมหานคร: แอคทีฟ พริ้นท์, 2563), หน้า 5. การพัฒนาตนของภาวะ ผู้นำการเปลี่ยนทาง การศึกษา ปรับวิสัยทัศน์ ค้นหาตัวตน ค้นหาจุดแข็งของตน ตั้งเป้าหมายการทำงาน


118 112 (1.2) จงทุ่มเทปรับปรุงจุคแข็งเหล่านั้น การวิเคราะห์จะชี้ให้คุณเห็นอย่าง รวดเร็วว่า มีจุดไหนบ้างที่คุณจำเป็นต้องพัฒนาทักษะและจุดไหนที่คุณต้องการทักษะใหม่ๆ มันยังจะชี้ให้เห็นถึงช่องว่างทางความรู้สร้างผลลัพธ์ที่ดีได้ (1.3) จงค้นหาจุดที่ความหยิ่งทะนงทางปัญญาทำให้ตนเองเกิดความละเลย ไม่ใส่ใจ และจงเอาชนะมันให้ได้ ยกตัวอย่างเช่น ครู อาจารย์บางคนภาคภูมิใจในการสอน จนละเลยคุณธรรม นักบริหารบางคนภาคภูมิใจในผลงานจนละเลยต่อการทำบัญชีการเงิน การภาคภูมิในความละเลยไม่ใส่ใจนั้นคือการทำลายตัวเองในการเป็นผู้บริหาร ครู อาจารย์ เมื่อเกิดปัญหา ดังนั้นการพัฒนาตนเองต้องใช้ทักษะ และความรู้ที่เป็นจุดแข็งพร้อมกับการแก้ไข นิสัยที่ไม่ดีของตนเอง ที่เป็นปัญหาในการทำงาน ยกตัวอย่างเช่น นักวางแผนอาจจะพบว่า แผนงานอันยอดเยี่ยมของเขาล้มเหลว ก็เพราะเขาไม่ได้ทำตามแผนอย่างถึงที่สุด7 ในขณะที่ Pat Flynn ได้กล่าวว่าการเป็นคนเก่งมี 2 แบบ8 คือ 1) การเป็นคนเก่งกว้างมี 5 ข้อ ดังต่อไปนี้ (1.1) เรียนทักษะหลายๆ ด้านเพื่อใช้ร่วมกัน ดีกว่าเก่งด้านเดียวเป็นพิเศษ (1.2) จงเป็นคนเก่งลึกในระยะสั้น (1.3) เก่งแค่ 80% ก็พอ (1.4) โฟกัสแต่ทักษะจำเป็นตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ (1.5) หมั่นฝึกฝนและเพิ่มระดับความยาก 2) การเป็นคนเก่งลึก (2.1) ต้องเก่งเรื่องนั้นมากกว่าร้อยละ 80 ถือว่าอยู่ในโลกของคนเก่งลึก (2.2) คุณสมบัติของคนเก่งลึกคือ การใส่ใจทำบางอย่างเพื่อพัฒนาทักษะให้ดีขึ้น (2.3) การเป็นคนเก่งลึกต้องใช้ความพยายามจะทำบางอย่างให้เก่งที่สุด (2.4) การเป็นคนเก่งลึกต้องค้นหาความสำเร็จและความสุขจากการเป็นคนเก่ง ที่สุดได้ 2.5) ผู้ที่เป็นคนเก่งลึกอาจมีคุณสมบัติพิเศษอย่าง "ความเชี่ยวชาญ" ในระยะยาว อย่างเช่น นักกีฬาแต่ละประเภทที่ฝึกฝนจนเป็นเก่งที่สุดในโลก และคนเก่งกีฬาบางอย่าง 7 Peter F. Drucker. Peter F. Drucker, (เขียน), วีรวุธ มาฆะศิรานนท์ (แปล), สุดยอด ปรมาจารย์ด้านบริหารจัดการ, หน้า. 20-21. 8 Pat Flynn (เขียน), ปฏิภาณ กุลวพันธ์(แปล), วิถีผู้ชนะฉบับคนเก่งแบบเป็ด : How to be Better at (Almost) Everything, (กรุงเทพมหานคร: วารา พับลิชชิ่ง, 2020), หน้า 41.


119 113 อาจต้องแลกกับร่างกาย เช่น นักยกน้ำหนักเสี่ยงกับกระดูกสันหลังบาดเจ็บ นักกายกรรม อาจบาดเจ็บกับข้อศอกผิดรูป เป็นต้น ดังนั้นคนเก่งกว้างจะต้อง "เรียนทักษะใหม่ให้มาก ฝึกฝนทักษะเก่าให้น้อย และคน เก่งกว้างก็คือคนเก่งลึกในระยะสั้นสำหรับคนเก่งลึกต้องมีวินัยในตนเองเพื่อเอาชนะสิ่งที่ เป็นอุปสรรคในการฝึกฝนเรื่องนั้นอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่องจนเกิดความเชี่ยวชาญ ซึ่งเห็นได้ชัดว่าคนเก่งทั้ง 2 ลักษณะดังกล่าวมีคุณสมบัติเดียวกัน คือ 1) ต้องมีเป้าหมายการทำงาน 2) การฝึกฝนพัฒนาตนเองในเรื่องนั้นอย่างมีวินัย 3) ความสุขและความพอใจในสิ่งที่ตนเองกระทำ และ 4) ต้องฝึกทักษะใหม่ๆ สม่ำเสมอ 5) สุดท้ายต้องรู้จักช่วยเหลือคนอื่น 2) ธรรมชาติของความเป็นภาวะผู้นำที่จะต้องพัฒนาตนเอง (2.1) ทุกคนเรียนรู้ที่จะเป็นผู้นำและเรียนรู้ที่จะนำให้ดีกว่าเดิมได้ (2.2) ปรับปรุงและพัฒนาจุดแข็งของตัวเอง (2.3) คนทุกคนเป็นผู้นำได้ (2.4) การพัฒนาจุดแข็งของตนเอง ที่เป็นเอกลักษณ์ฉพาะตัว (2.5) ทักษะผู้นำเป็นกีฬาที่เล่นเป็นทีม (2.6) สร้างความแตกต่างเพื่อพัฒนาตัวเองและองค์กร (2.7) หาสภาพแวดล้อมที่เหมาะกับคุณในการใช้จุดแข็งอันเป็นเอกลักษณ์ เฉพาะตัวให้เกิดประโยชน์สูงสุด (2.8) ทักษะเรื่องคนและเรื่องการเมืองจะมีความสำคัญมากขึ้นในระดับอาวุโส เช่นการเลื่อนตำแหน่ง (2.9) กฎแห่งการเป็นผู้นำเปลี่ยนแปลงเป็นไปตามแต่ละระดับขององค์กร (2.10) ต้องรับผิดชอบต่อผลการทำงานและอาชีพ9 ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของ สุวัชชวีร์สุวรรณสวัสดิ์10 เป็นนักวิชาการและนักบริหารที่จบปริญญาเอกจากมหาวิทยาลัย อันดับที่ 1 ของโลก คือ Massachusetts Institute of Technology (MIT) กล่าวถึงการ พัฒนาภาวะผู้นำตนเองว่า 9 Jo Owen (เขียน), กัลศลา วนันโท, (แปล). How to Lead คิดและทำ นำคนให้แตกต่าง. (กรุงเทพมหานคร: แพค เพรส, 2563), หน้า 27-28. 10สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์, คิดต่าง สร้างการเปลี่ยนแปลง, พิมพ์ครั้งที่ 3, กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิทองเนื้อเก้า, 2563, หน้า 88.


120 114 1) ทัศนคติที่ดีต่อชีวิตมีความสำคัญเป็นอันดับหนึ่ง ชีวิตต้องมีคุณค่าและคุณค่า ของคนอยู่ที่ผลของงาน 2) ใฝ่หาความรู้ และความรับผิดชอบ 3) ความอดทนและความพยายาม 4) ต้องขยัน เมื่อรู้ว่าตนเองไม่เก่งต้องใช้ความอดทนและขยัน ทำอะไรต้องทำ ให้เต็มที่เพื่อสร้างความเปลี่ยนแปลง 5) ต้องเป็นคนเหมือนน้ำไม่เต็มแก้ว ต้องแสวงหาความรู้สม่ำเสมอเรียกว่าใฝ่ เรียนรู้ 6) ต้องรู้จักหาความสุขกับสิ่งง่าย ๆ เมื่อรู้ตัวเองว่าไม่ใช่คนเก่ง ดังนั้นสิ่งที่จะทำให้ประสบความสำเร็จได้คือ ความพยายาม (ศ.ดร.สุวัชชวีร์สุวรรณสวัสดิ์2564) สรุปภาวะผู้นำทางการศึกษาต้องยกระดับการพัฒนาตนเองให้ก้าวทันการ เปลี่ยนแปลง 11 ดังนี้ 1. จากความก้าวหน้าภายนอกสู่ความก้าวหน้าภายใน 2. จากความก้าวหน้าทุกเรื่อง สู่ความก้าวหน้าเฉพราะเรื่องสำคัญสองสามเรื่อง 3. ความก้าวหน้าแบบมีกรอบเวลากับความก้าวหน้าที่ไม่มีกำหนดเส้นชัย โดยใช้ วิธีการพัฒนาตนให้เป็นคนมุ้งเน้นความก้าวหน้าอย่างมีความเชื่อมั่นตนเองดังนี้ 1) ยอมรับการเปลี่ยนแปลง 2) ทำตัวเป็นคนสอนได้ 3) รักการเรียนรู้ให้มากกว่ากลัวล้มเหลว 4) พัฒนาความสัมพันธ์กับคนอื่นที่ก้าวหน้า 5) พัฒนาความอ่อนน้อมถ่อมตนให้มาก 6) เชื่อมั่นตนเอง 7) เปิดรับการเรียนรู้แบบเพิ่มพูน 11John C. Maxwell (เขียน), วันดี อภิรักษ์ธนากร (แปล), ภาวะผู้นำ 5 ระดับ (ฉบับปรับปรุง), หน้า 47-49.


121 115 ภาพที่ 4.7 ภาวะผู้นำในการพัฒนาตนเอง ที่มา : มาจากแนวคิดของ จอห์น ซี. แม็กซ์เวล, 2563 : 52-60 4.2 การบูรณาการหลักพุทธวิถีใหม่สู่การพัฒนาตนของภาวะผู้นำการ เปลี่ยนแปลง การพัฒนาตนตามหลักพุทธวิถีใหม่อยู่บนพื้นฐานความจริงตามหลักคำสอนของ พระสัมมาพุทธเจ้าต้องมีหลักการ กระบวนการ เป้าหมายที่ชัดเจนดังนี้ 4.2.1 การพัฒนาตนให้มีภาวะผู้นำอย่างไร 4.2.2 การปฏิบัติตนให้เป็นผู้นำได้อย่างไร 4.2.3 เป้าหมายการพัฒนาตนให้เป็นผู้นำได้อย่างไร ภาวะผู้นำในการพัฒนาตนเอง เข้าใจบริบทสังคมโลกในศตวรรษที่ 21 รู้จักตนเอง ภาวะผู้นำการเปลี่ยนทางการศึกษา ภาวะผู้นำทางการศึกษา ให้ความสําคัญกับบุคลิกภาพ พัฒนาตนเองสู่เป้าหมาย คิดแบบผู้นำ 115 ภาพที่ 4.7 ภาวะผู้นำในการพัฒนาตนเอง ที่มา : มาจากแนวคิดของ จอห์น ซี. แม็กซ์เวล, 2563 : 52-60 4.2 การบูรณาการหลักพุทธวิถีใหม่สู่การพัฒนาตนของภาวะผู้นำการ เปลี่ยนแปลง การพัฒนาตนตามหลักพุทธวิถีใหม่อยู่บนพื้นฐานความจริงตามหลักคำสอนของ พระสัมมาพุทธเจ้าต้องมีหลักการ กระบวนการ เป้าหมายที่ชัดเจนดังนี้ 4.2.1 การพัฒนาตนให้มีภาวะผู้นำอย่างไร 4.2.2 การปฏิบัติตนให้เป็นผู้นำได้อย่างไร 4.2.3 เป้าหมายการพัฒนาตนให้เป็นผู้นำได้อย่างไร ภาวะผู้นำในการพัฒนาตนเอง เข้าใจบริบทสังคมโลกในศตวรรษที่ 21 รู้จักตนเอง ภาวะผู้นำการเปลี่ยนทางการศึกษา ภาวะผู้นำทางการศึกษา ให้ความสําคัญกับบุคลิกภาพ พัฒนาตนเองสู่เป้าหมาย คิดแบบผู้นำ


122 116 4.2.1 การพัฒนาตนให้มีภาวะผู้นำอย่างไร การพัฒนาภาวะผู้นำของตนให้มีภาวะผู้นำตามหลักพุทธธรรมได้ดังนี้ ขอยกกรณีพระสัมมาสัมพุทธเจ้าก่อนตรัสรู้โดยย่อ ๆ เพื่อเรียนรู้การพัฒนาตน ของพระพุทธเจ้าสะท้อนให้เห็นความจริงของผู้นำทุกระดับในการที่จะนำความรู้ วิธีการ กระบวนการไปพัฒนาตนเองได้ ขอแบ่งเป็น 3 ขั้นตอนคือ 1. ก่อนตรัสรู้มีหลักการพัฒนาตนเองอย่างไร จึงได้ชื่อว่าเป็นศาสดาเอกของ โลกเป็นศาสดาของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย (สตฺถา เทวมนุสฺสานํ) เมื่อเจ้าชายสิทธัตถะ แห่งเมืองกบิลพัสดุ์ประเทศอินเดีย เมื่อพระชนมายุ 29 พรรษา เริ่มมองเห็นความทุกข์ยาก ของมวลมนุษย์ ยิ่งได้สัมผัสกับชีวิตของโลกภายนอกกำแพงวัง ก็ยิ่งแน่ใจขึ้นว่า มนุษย์เรานี้ ขาดความสุขที่แท้จริง พระองค์จึงได้สละพระราชวังและพระนางยโสธรา ราหุล ไม่ทรงหวง ใยต่อราชสมบัติ เกียรติยศอันสูงศักดิ์ เสด็จสู่ถิ่นที่สงบในป่า ได้ทรงอธิษฐานเพศเป็น บรรพชิต เสด็จไปสู่แคว้นมคธ พระเจ้าพิมพิสารแห่ง แคว้นมคธ ได้พบและทราบว่าเป็น เจ้าชายแห่งแคว้นสักกะ จึงชักชวนให้สละเพศแล้วประทับอยู่ด้วย จะแบ่งราชสมบัติและ พระราชทานยศให้ แต่พระองค์ทรงปฏิเสธ แคว้นมคธเป็นแคว้นที่เจริญ และมีนักปราชญ์ จำนวนมาก พระองค์จึงเสด็จไปศึกษา ณ สำนักของอาจารย์ 2 ท่าน คือ อาฬารดาบส และ อุทกดาบส หลังพระสิทธัตถะประเมินองค์ความรู้ของตนจากอาจารย์ทั้งสองพบว่ายังไม่ใช่ หนทางตรัสรู้ที่เป็นเพียงแหล่งต้องการเรียนรู้ในเบื้องต้น 2. กระบวนการพัฒนาตนให้ได้บรรลุธรรมที่แท้จริง เมื่อสำเร็จการศึกษาจากสำนักของอาฬารดาบส และอุทกดาบส ทรงเห็นว่า มิใช่ทางที่จะตรัสรู้ จึงลาอาจารย์ไปสู่ตำบลอุรุเวลาเสนานิคม เลือกทำเลที่เหมาะสม ณ ริมฝั่งแม่น้ำเนรัญชราเป็นที่ทำความเพียรเรียกว่าบำเพ็ญทุกรกิริยา คือทำความเพียรอย่าง หนัก วิธีหนึ่งที่พระองค์ทรงใช้ เสวยอาหารที่น้อยๆ จนถึงอดอาหาร จนพระวรกายซูบผอม พระฉวีวรรณเหี่ยวแห้ง เวลาเสด็จลุกขึ้นก็ซวนเซ ก็ยังมิได้ตรัสรู้ จึงทรงเลิกการทรมานตน หันไปเสวยอาหารและบำเพ็ญเพียรทางจิต คือทำสมาธิและวิปัสสนา พิจารณาตามเหตุผล ณ วันนั้น เวลาเช้า นางสุชาดา ได้นำข้าวมธุปายาส ไปไหว้เทวดา ไปพบพระองค์อยู่ใต้ ต้นไม้ใหญ่ เข้าใจว่าเป็นเทวดา จึงถวายด้วยความดีใจ เมื่อเสวยแล้วทรงลอยถาดในแม่น้ำ เนรัญชรา ตอนบ่ายจึงเสด็จไปที่ริมฝั่งน้ำ ประทับนั่งภายใต้ต้นโพธิ์ ผินพระพักตร์ไปทางทิศ ตะวันออก วันนั้นเป็นวันพระจันทร์เต็มดวง พอพระอาทิตย์ตกดิน พระจันทร์โผล่ขึ้นจาก ขอบฟ้าทางทิศตะวันออก แสงจันทร์กระทบกับผิวน้ำ เป็นธรรมชาติที่สวยงามยิ่งนัก ณ ราตรีนั้น มหาบุรุษมีความมุ่งหวังตั้งปณิธานที่จะทำงานอันยิ่งใหญ่ ตั้งพระทัยเด็ดเดี่ยวว่า “ถ้ายังไม่ได้บรรลุสัมมาสัมโพธิญาณ จักไม่ลุกขึ้น แม้เนื้อและเลือดจะเหือดแห้งไปเหลือแต่ เอ็นและกระดูกก็ตามที”ซึ่งตรงนี้ชี้ให้เห็นความเด็ดเดียวในการปฏิบัติอย่างจริงจังของ


123 117 พระองค์ในที่สุด พระพุทธองค์ก็ได้บรรลุญาณ 3 (วิชชา 3) รู้แจ้งในอริยสัจ 4 หมายถึง หลักความจริงอันประเสริฐมี 4 ประการ คือ 1) ทุกข์ หมายถึง ความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ หรือสภาพที่บีบคั้นจิตใจให้ ทนได้ยาก 2) สมุทัย (ทุกขสมุทัย) หมายถึง ต้นเหตุที่ทำให้เกิดทุกข์ ได้แก่ ตัณหา 3 ประการ คือ กามตัณหา ภวตัณหา และวิภวตัณหา 3) นิโรธ (ทุกนิโรธ) หมายถึง ความดับทุกข์หรือสภาวะที่ปราศจากทุกข์ 4) มรรค (ทุกขนิโรธคามินีปฎิปทา) หมายถึง ทางดับทุกข์ หรือข้อปฏิบัติให้ถึง ความดับทุกข์ ได้แก่มัชฌิมาปฏิปทา หรืออริยมรรคมีองค์ 8 ซึ่งสรุปลงในไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ ปัญญา มรรคเป็นสภาวะที่ต้องลงมือปฏิบัติด้วยตนเองจึงจะไปสู่ความดับทุกข์ได้และ ทางสายกลาง คือ มรรคมีองค์ 8 เป็นทางสายเดียว(เอกายนมคฺค) แต่ประกอบด้วยองค์ 8 อย่าง สามารถให้ผู้ใช้เป็นเครื่องเดินทางถึงความดับทุกข์ได้ 3. เป้าหมายพัฒนาตนเพื่ออะไร หลังจากได้ตรัสรู้แล้ว พระองค์ทรงพิจารณาว่า จะทรงแสดงธรรมแก่ใครดีเบื้องแรก ทรงพิจารณาถึงอาจารย์ทั้ง 2 แต่ท่านได้สิ้นชีวิตไปแล้ว ก็ทรงนึกถึงปัญจวัคคีย์ ผู้ละการครองเรือนออกบำเพ็ญเพียรติดตามพระองค์มาตั้งแต่แรก พระองค์เสด็จไปยัง ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน เพื่อแสดงธรรมแก่ปัญจวัคคีย์หลังจากการได้ ศึกษาพุทธประวัติสามารถวิเคราะห์หลักการพัฒนาตนของพระพุทธเจ้าก่อนตรัสรู้และข้อ ปฏิบัติหลังตรัสรู้เพื่อเป็นแนวทางนำไปเป็นปฏิบัติสำหรับการพัฒนาตน จากแนวทางฝึกหัดปฏิบัติของพระสิทธัตถะสำหรับพัฒนาตนของพระองค์ก่อน ตรัสรู้สามารถสรุปประเด็นที่จะนำมาศึกษาและปฏิบัติดังนี้ 1. การตั้งคำถาม แสวงหาคำตอบ 2. เลือกสถานศึกษา อย่างพระสิทธัตถะเลือกสำนักเรียนที่ดีที่สุดในขณะนั้น 3. แสวงหาครูเก่งและเรียนรู้ 4. ตั้งใจเรียนรู้ ฝึกหัดอย่างจริงจัง 5. ประเมินตนเองตลอดเวลา 6. เปลี่ยนแปลงการเรียนรู้ใหม่ 7. ลงมือปฏิบัติด้วยลองผิดลองถูกเพื่อพิสูจน์ตนเอง 8. เลือกสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาตน 4.2.2 หลักพุทธธรรมสำหรับการพัฒนาตน การพัฒนาตนให้เป็นคนดี คนเก่งและมีความสุข เพื่อทำประโยชน์ให้แก่ตนเองและ ช่วยเหลือคนอื่นได้ตามหน้าที่ของแต่ละคน


124 118 การตั้งคำว่าการพัฒนาตนให้เป็นอย่างไร ดังนี้ หลักคำสอนในทางพระพุทธศาสนานั้น คิดจากพระไตรปิฎกมี 3 คัมภีร์ คือ พระ วินัย พระสูตรและพระอภิธรรม รวมคำสอนเป็น 84,000 พระธรรมขันธ์ เพื่อให้เหมาะสมกับ การปฏิบัติสามารถนำไปบูรณาการกับการพัฒนาตนได้3 ชุด ดังนี้ 1. ชุดการพัฒนาตนให้เป็นดีด้านศีล 2. ชุดการพัฒนาตนให้เป็นคนมีความสุขด้านจิต 3. ชุดการพัฒนาตนให้เป็นคนเก่งด้านปัญญา 1. ชุดการพัฒนาตนด้านศีลสำหรับผู้นำทางการศึกษา การพัฒนาตนเองเบื้องต้นของผู้นำทางการศึกษาต้องมีหลักศีล 5 ซึ่งมีองค์ประกอบ ของข้อปฏิบัติในการเว้นจากความชั่ว, การควบคุมตนให้ตั้งอยู่ในความไม่เบียดเบียน (the Five Precepts; rules of morality) ดังนี้ 1) ปาณาติปาตา เวรมณีเว้นจากการปลงชีวิต 2) อทินฺนาทานา เวรมณีเว้นจากการถือเอาของที่เขามิได้ให้ 3) กาเมสุมิจฺฉาจารา เวรมณีเว้นจากการล่วงละเมิดสิ่งที่ผู้อื่นรักใคร่หวง แหน 4) มุสาวาทา เวรมณีเว้นจากการพูดเท็จ 5) สุราเมรยมชฺชปมาทฏฺฐานา เวรมณีเว้นจากดามน้ำเมา สุราอันเป็นที่ตั้ง แห่งความประมาท12 เมื่อรักษาความดีด้านพฤติกรรมภายนอกด้วยศีลได้แล้ว ชุดคุณธรรมที่เกิดในจิตใจ ของผู้นำทางการศึกษาเกิดขึ้นพร้อมกัน คือ หลักเบญจธรรม หรือ เบญจกัลยาณธรรม คือ ธรรมอันดีงาม คู่กับเบญจศีล เป็นธรรมเกื้อกูลแก่การรักษาเบญจศีล ซึ่งมีองค์ประกอบ ดังนี้ 1) เมตตาและกรุณา ความรักใคร่ปรารถนาให้มีความสุขความเจริญ และความ สงสารคิดช่วยให้พ้นทุกข์คู่กับศีลข้อที่ 1 2) สัมมาอาชีวะ การหาเลี้ยงชีพในทางสุจริต คู่กับศีลข้อที่ 2 3) กามสังวร ความสังวรในกาม, ความสำรวมระวังรู้จักยับยั้งควบคุมตนในทาง กามารมณ์ไม่ให้หลงใหลในรูป เสียง กลิ่น รส และสัมผัส คู่กับศีลข้อที่ 3 4) สัจจะ ความสัตย์ความซื่อตรง คู่กับศีลข้อที่ 4 12ดูรายละเอียดใน ที.ปา.11/286/247; องฺ.ปญฺจก.22/172/227; 264/307; อภิ.วิ.35/767/ 388,


125 119 5) สติสัมปชัญญะ ระลึกได้และรู้ตัวอยู่เสมอ คือ ฝึกตนให้เป็นคนรู้จักยั้งคิด รู้สึกตัวเสมอว่า สิ่งใดควรทำ และไม่ควรทำ ระวังมิให้เป็นคนมัวเมาประมาท คู่กับศีลข้อ ที่ 513 หลักการพัฒนาตนให้มีพฤติกรรมที่เหมาะสมกับการดำเนินแบบฆราวาสธรรม 4 คือ หลักการครองชีวิตของคฤหัสถ์มีองค์ประกอบดังนี้ 1) สัจจะ คือ ความจริง, ซื่อตรง ซื่อสัตย์ จริงใจ พูดจริง ทำจริง (truth and honesty) 2) ทมะ คือ การฝึกฝน, การข่มใจ ฝึกนิสัย ปรับตัว, รู้จักควบคุมจิตใจ ฝึกหัด ดัดนิสัย (taming and training oneself; adjustment; self-development) 3) ขันติ คือ ความอดทน, ตั้งหน้าทำหน้าที่การงานด้วยความขยันหมั่นเพียร เข้มแข็ง ทนทาน ไม่ท้อถอย (tolerance; forbearance; perseverance) 4) จาคะ คือ ความเสียสละ, สละกิเลส สละความสุขสบายและผลประโยชน์ ส่วนตนได้ ใจกว้างพร้อมที่จะรับฟังความทุกข์ ความคิดเห็น และความต้องการของผู้อื่น พร้อมที่จะร่วมมือ ช่วยเหลือ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ (liberality; generosity) ดังภาพต่อไปนี้ ภาพที่ 4.8 ชุดการพัฒนาตนของผู้นำทางการศึกษาด้านศีล ที่มา : มาจากชุดการพัฒนาตนของผู้นำทางการศึกษาตามหลักพุทธวิถีใหม่ โดยสังเคราะห์ ของผู้เขียน (2564) 13ดูรายละเอียดใน องฺ.อฏฺฐก.23/131/25, พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต), พจนานุกรม พุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม, พิมพ์ครั้ง 34, 2559) การพัฒนาตนด้าน พฤติกรรมภายนอก ชุดนเบญจศีล-ธรรม และคุณธรรม การพัฒนาตนเป็นคน ดีของภาวะผู้นําทาง การศึกษา


126 120 2. ชุดการพัฒนาตนให้เป็นคนมีความสุขด้านจิตของผู้นำทางการศึกษา การพัฒนาตนด้านจิตของผู้นำทางการศึกษาเพื่อสร้างและพัฒนาคุณสมบัติภาวะ ผู้นำการเปลี่ยนเปลี่ยนทางการศึกษา สำหรับคุณธรรมในชุดการพัฒนาจิตใจที่ดีงามของ ภาวะผู้นำทางการศึกษา คือชุดธรรมคุ้มครองโลกซึ่งมีองค์ประกอบของธรรมที่ช่วยให้โลกมี ความเป็นระเบียบเรียบร้อย ไม่เดือดร้อนและสับสนวุ่นวายมี2 อย่าง คือ 1) หิริความละอายบาป, ละอายใจต่อการทำความชั่ว 2) โอตตัปปะ ความกลัวบาป, เกรงกลัวต่อความชั่ว14 เมื่อพัฒนาตนให้เป็นคนมีระเบียบเรียบร้อยได้ต้องเสริมด้วยหลักธรรมอันทำให้งาม ซึ่งมีองค์ประกอบของธรรมอันทำให้งาม 2 อย่างคือ 1) ขันติ ความอดทน, อดได้ทนได้เพื่อบรรลุความดีงามและความมุ่งหมาย อันชอบ 2) โสรัจจะ ความสงบเสงี่ยม อัธยาศัยงาม รักความประณีตหมดจดเรียบร้อย งดงาม15 ช่วยเสริมด้วยคุณธรรมมีอุปการะมาก 2 อย่าง คือ ธรรมที่เกื้อกูลในกิจหรือในการ ทำความดีทุกอย่าง ได้แก่ 1) สติความระลึกได้, นึกได้, สำนึกอยู่ไม่เผลอ 2) สัมปชัญญะ ความรู้ชัด, รู้ชัดสิ่งที่นึกได้, ตระหนัก, เข้าใจชัดตามความเป็น จริง16 การพัฒนาตนส่งเสริมให้จิตใจมีความซื้อสัตย์สุจริตซึ่งมีองค์ประกอบ 3 ประการคือ 1) กายสุจริต ความประพฤติชอบด้วยกาย มีปัจจัยสนับสนุน 3 คือ งดเว้น และประพฤติตรงข้ามกับ ปาณาติบาต อทินนาทาน และกาเมสุมิจฉาจาร 2) วจีสุจริต ความประพฤติชอบด้วยวาจา มี 4 คือ งดเว้นและประพฤติตรง ข้ามกับ มุสาวาท ปิสุณาวาจา ผรุสวาจา และสัมผัปปลาปะ 3) มโนสุจริต ความประพฤติชอบด้วยใจ17 หลักธรรมที่ช่วยส่งเสริมให้การพัฒนาตน ซึ่งมีองค์ประกอบของหลักพรหมวิหาร 4 สำหรับทุกคนในการอาศัยอยู่ร่วมกันเป็นสังคม ซึ่งผู้นำจำเป็นต้องมี เพื่อแสดงให้เห็น 14ดูรายละเอียดใน องฺ.ทุก.20/255/65; ขุ.อิติ. 25/220/257. 15ดูรายละเอียดใน องฺ.ทุก. 20/410/118. 16ดูรายละเอียดใน ที.ปา.11/378/290; องฺ.ทุก.20/424/119. 17ดูรายละเอียดใน ที.ปา. 11/228/227; อภิ.สํ.34/840/327. 120 2. ชุดการพัฒนาตนให้เป็นคนมีความสุขด้านจิตของผู้นำทางการศึกษา การพัฒนาตนด้านจิตของผู้นำทางการศึกษาเพื่อสร้างและพัฒนาคุณสมบัติภาวะ ผู้นำการเปลี่ยนเปลี่ยนทางการศึกษา สำหรับคุณธรรมในชุดการพัฒนาจิตใจที่ดีงามของ ภาวะผู้นำทางการศึกษา คือชุดธรรมคุ้มครองโลกซึ่งมีองค์ประกอบของธรรมที่ช่วยให้โลกมี ความเป็นระเบียบเรียบร้อย ไม่เดือดร้อนและสับสนวุ่นวายมี2 อย่าง คือ 1) หิริความละอายบาป, ละอายใจต่อการทำความชั่ว 2) โอตตัปปะ ความกลัวบาป, เกรงกลัวต่อความชั่ว14 เมื่อพัฒนาตนให้เป็นคนมีระเบียบเรียบร้อยได้ต้องเสริมด้วยหลักธรรมอันทำให้งาม ซึ่งมีองค์ประกอบของธรรมอันทำให้งาม 2 อย่างคือ 1) ขันติ ความอดทน, อดได้ทนได้เพื่อบรรลุความดีงามและความมุ่งหมาย อันชอบ 2) โสรัจจะ ความสงบเสงี่ยม อัธยาศัยงาม รักความประณีตหมดจดเรียบร้อย งดงาม15 ช่วยเสริมด้วยคุณธรรมมีอุปการะมาก 2 อย่าง คือ ธรรมที่เกื้อกูลในกิจหรือในการ ทำความดีทุกอย่าง ได้แก่ 1) สติความระลึกได้, นึกได้, สำนึกอยู่ไม่เผลอ 2) สัมปชัญญะ ความรู้ชัด, รู้ชัดสิ่งที่นึกได้, ตระหนัก, เข้าใจชัดตามความเป็น จริง16 การพัฒนาตนส่งเสริมให้จิตใจมีความซื้อสัตย์สุจริตซึ่งมีองค์ประกอบ 3 ประการคือ 1) กายสุจริต ความประพฤติชอบด้วยกาย มีปัจจัยสนับสนุน 3 คือ งดเว้น และประพฤติตรงข้ามกับ ปาณาติบาต อทินนาทาน และกาเมสุมิจฉาจาร 2) วจีสุจริต ความประพฤติชอบด้วยวาจา มี 4 คือ งดเว้นและประพฤติตรง ข้ามกับ มุสาวาท ปิสุณาวาจา ผรุสวาจา และสัมผัปปลาปะ 3) มโนสุจริต ความประพฤติชอบด้วยใจ17 หลักธรรมที่ช่วยส่งเสริมให้การพัฒนาตน ซึ่งมีองค์ประกอบของหลักพรหมวิหาร 4 สำหรับทุกคนในการอาศัยอยู่ร่วมกันเป็นสังคม ซึ่งผู้นำจำเป็นต้องมี เพื่อแสดงให้เห็น 14ดูรายละเอียดใน องฺ.ทุก.20/255/65; ขุ.อิติ. 25/220/257. 15ดูรายละเอียดใน องฺ.ทุก. 20/410/118. 16ดูรายละเอียดใน ที.ปา.11/378/290; องฺ.ทุก.20/424/119. 17ดูรายละเอียดใน ที.ปา. 11/228/227; อภิ.สํ.34/840/327.


127 121 ศักยภาพที่จะสร้างสรรค์สังคมและธำรงรักษาสังคมไว้ เป็นธรรมประจำใจของผู้ที่มีจิตใจ ยิ่งใหญ่ ของผู้นำในสถานการณ์ทั้ง 4 อย่าง 1) เมตตา-ในสถานการณ์ที่เป็นอยู่ปกติ ผู้นำเพียงแต่ส่งความรักปรารถนาดี อยากให้เขามีความสุข ความเจริญ 2) กรุณา-ในสถานการณ์ที่เขาตกต่ำกำลังเดือดร้อน ซึ่งผู้นำให้ความรู้สึกร่วม ในความรู้สึกเขา และต้องการลงมือช่วยเหลือให้เขาผลจากความเดือดร้อนหรือทุกข์นั้น 3) มุทิตา-ในสถานการณ์ที่เขาได้รับความก้าวหน้ามีความสุข ผู้นำร่วมแสดง ความยินดี ชื่นชมด้วยใจจริง และคอยสนับสนุนความก้าวหน้านั้น 4) อุเบกขา-ในสถานการณ์ที่เขาผิดพลาดหรือผิดหลักธรรม เมื่อเขาได้ล่วง ละเมิดหลักการความถูกต้อง ทำลายกติกาที่ชอบธรรม เสียหายในธรรม ผู้นำต้องมีความ ปล่อยวาง ไม่ลำเอียงเข้าข้าง แต่ต้องยึดหลักธรรม สิ่งที่ถูกต้องดีงามเป็นใหญ่ เพื่อรักษา ธรรม รักษาหลักการ กฎกติกาที่ชอบธรรมไว้18 กล่าวได้ว่าหลักธรรมที่ผู้นำทางการศึกษาต้องปรับเปลี่ยนแปลงทัศนคติเพื่อให้ สามารถพัฒนาจิตใจตนเองให้มีพลังความดีทางจิตที่เข้งแข็งพร้อมปฏิบัติหน้าที่ในการนำ องค์การของการบริหารการศึกษาบรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพดังภาพที่ 4.9 ภาพที่ 4.9 ชุดการพัฒนาตนให้เป็นคนมีความสุขด้านจิตของผู้นำทางการศึกษา ที่มา : มาจากชุดการพัฒนาตนของผู้นำทางการศึกษาตามหลักพุทธวิถีใหม่ โดยสังเคราะห์ ของผู้เขียน (2564) ชุดเครื่องวัดความก้าวหน้าของการพัฒนาความสุขของตนตามหลักพุทธวิถี ได้แก่ 18ดูรายละเอียดใน องฺ.ปญฺจก 22/192/252; อภิ.สํ.34/190/75; วิสุทฺธิ. 2/124. การพัฒนาตนด้าน พฤติกรรมภายใน ชุดพุทธธรรมการ พัฒนาตนด้านจิตใจ การพัฒนาตนให้เป็นคนมี ความสุขด้านจิตใจของ ภาวะผู้นําทางการศึกษา


128 122 1. ปราโมทย์ คือ ความร่าเริงเบิกบานใจ 2. ปีติ คือ ความอิ่มใจ ปลื้มใจ 3. ปัสสัทธิ คือ ความผ่อนคลาย เรียบรื่น สงบเย็น ไม่เครียดในการปฏิบัติงาน 4. สุข คือ ความฉ่ำชื่นรื่นใจ พอมีปัสสัทธิผ่อนคลายแล้ว คนมีความสุข แล้ว ความสุขก็เป็นตัวเอื้อเปิดโอกาสให้จิตเป็นสมาธิ 5. สมาธิ คือ ภาวะจิตตั้งมั่น แน่ว อยู่ตัว ไม่มีอะไรรบกวน จะคิดจะพิจารณา จะทำอะไร ใจก็อยู่กับเรื่องนั้น ไม่ฟุ้งซ่าน19 ตามด้วยหลักภาวนา 4 คือ 1) กายภาวนา คือ การพัฒนาความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ 2) สีลภาวนา อยู่ร่วมกับผู้อื่น ได้ด้วยดี มีควาสุข 3) จิตภาวนา จิตสดชื่น เบิกบาน เป็นสุขผ่องใส 4) ปัญญาภาวนา คือรู้เท่าทันเห็น โลกและชีวิตตามสภาวะความเป็นจริง สามารถตรวจสอบระดับความสุขของตนได้ในตาราง ที่ 4.1 ดังนี้ ตารางที่ 4.1 การวัดระดับความสุข 5 ระดับ ได้ด้วยตนเองตามหลักภาวนา 4 ที่ ภาวะนา 4 ปราโมทย์ ร่าเริงเบิก บานใจ ปีติความ อิ่มใจ ปัสสัทธิ ผ่อนคลาย กาย ใจ ความสุข โปร่งโล่งใจ สมาธิ สภาวะจิต มั่นคง 1 1 กายภาวนา การพัฒนา ความสัมพันธ์กับ สิ่งแวดล้อมทาง กายภาพ 2 2 สีลภาวนา อยู่ ร่วมกับผู้อื่น ได้ ด้วยดี 3 3 จิตภาวนา สดชื่น เบิกบาน เป็นสุข ผ่องใส ปัญญาภาวนา 4 19พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต), ธรรมนูญชีวิต, (พิมพ์ครั้งที่ 4), (กรุงเทพมหานคร: สํานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ, 2550), หน้า 20.


129 123 4 รู้เท่าทันเห็นโลก และชีวิตตาม สภาวะความจริง จากตารางที่ 4.1 ผู้นำทางการศึกษาสามารถตรวจสอบการวัดระดับความสุข 5 ระดับ ได้ด้วยตนเองตามหลักภาวนา 4 ด้วยการขีดในช่วง ( ✓) จะต้องพัฒนาข้อใดบ้าง ด้วยตนเอง 3. ชุดการพัฒนาตนให้เป็นคนเก่งด้านปัญญาของภาวะผู้นำทางการศึกษา พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต) พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม คำว่า ปัญญา หมายถึง ความรอบรู้, รู้ทั่ว, เข้าใจ, หลักปัญญา 3 ระดับประกอบด้วย 1.จินตามยปัญญา คือ ปัญญาเกิดจากการคิดพิจารณาด้วยเหตุและผล 2.สุตมยปัญญา คือ ปัญญาเกิดจากการสดับเล่าเรียน 3.ภาวนามยปัญญา คือ ปัญญาเกิดจากการปฏิบัติด้วยตนเองและปัญญาสืบ เนื่องมาจากปัญญาที่เป็นผลในสองข้อแรกดังกล่าว คือการรู้จักคิดและการศึกษาเล่าเรียน20 คุณธรรมที่ส่งเสริมให้เกิดปัญญาด้วยการคิดและอธิษฐานธรรม คือ ธรรมเป็นที่มั่น ซึ่งเป็นธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจซึ่งมีองค์ประกอบ 4 ประการ คือ 1) ปัญญา ความรู้ชัด คือ หยั่งรู้ในเหตุผล พิจารณาให้เข้าใจในสภาวะของสิ่ง ทั้งหลายจนเข้าถึงความจริง 2) สัจจะ ความจริง คือ ดำรงมั่นในความจริงที่รู้ชัดด้วยปัญญา 3) จาคะ ความสละ คือ สละสิ่งอันเคยชิน ข้อที่เคยยึดถือไว้ และสิ่งทั้งหลาย อันผิดพลาดจากความจริงเสียได้ 4) อุปสมะ ความสงบ คือ ระงับโทษข้อขัดข้องมัวหมองวุ่นวายอันเกิดจาก กิเลสทั้งหลาย แล้วทำจิตใจให้สงบได้21 นอกจากนั้นยังมีหลักพุทธธรรมอีกจำนวนมากสำหรับการส่งเสริมด้วยปัญญาให้มี ความแข็งแรงตามหลักพละ 5 หมายถึง ธรรมที่เป็นใหญ่ในกิจของตน ได้แก่ 1) สัทธา (พลังความเชื่อ) 2) วิริยะ (พลังความเพียร) 3) สติ (พลังความระลึกได้) 4) สมาธิ (พลังความตั้งจิตมั่น) 20ดูรายละเอียดใน ที.ปา.11/228/231; อภิ.วิ.35/804/438. 21ดูรายละเอียดใน ที.ปา. 11/254/241; ม.อุ.14/682/437, พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม, 2559.


130 124 5) ปัญญา (พลังความรู้ทั่วชัด) 22 กล่าวว่าคุณธรรมที่ช่วยส่งเสริมการพัฒนาตนด้านปัญญาของภาวะผู้นำการเปลี่ยน เปลี่ยนทางการศึกษาปฏิบัติงานได้อย่างมีความสุขและเกิดประสิทธิผลต้องอาศัยความรู้ ความสามารถและทักษะความคิดวิเคราะห์อย่างสร้างสรรค์ในการบริหารการศึกษาให้ สอดคล้องบริบทความต้องการของการพัฒนาการศึกษาของประเทศชาติในยุคศตวรรษที่ 21 ดังภาพต่อไปนี้ ภาพที่ 4.10 ชุดการพัฒนาตนของผู้นำทางการศึกษาด้านปัญญา ที่มา : มาจากชุดการพัฒนาตนของผู้นำทางการศึกษาตามหลักพุทธวิถีใหม่ โดยสังเคราะห์ ของผู้เขียน (2564) สรุปหลักพุทธธรรมกับการพัฒนาภาวะผู้นำทางการศึกษาสำหรับตนเอง ภาวะผู้นำทางการศึกษาสำหรับคฤหัสถ์มีหลักความประพฤติพื้นฐาน เป็น หลักประกันของชีวิต ได้แก่ การปฏิบัติตามสิงคาลกสูตร ที่เรียกว่าวินัยของคฤหัสถ์ ได้แก่ เว้นความชั่ว 14 ประการ แล้วเตรียมชีวิตด้วยการปฏิบัติตามหลักสังคหวัตถุ เป็นการวาง ฐานดีอย่างนี้แล้วก็ดำเนินเข้าถึงจุดหมาย ทั้งในขั้นประโยชน์ที่ตามองเห็น ประโยชน์ที่ตา มองไม่เห็น และประโยชน์สูงสุด เข้าถึงอิสรภาพของชีวิต ก็เป็นอันเพื่อความสะดวกในการ ทบทวนและใช้เป็นแนวปฏิบัติ 22ดูรายละเอียดใน สํ.ม.19/843–900/256–271; 1061–1069/310–312; ขุ.ปฏิ. 31/423– 463/300–344, พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม, 2559). การพัฒนาตนด้าน ศีลของภาวะผู้นํา การพัฒนาตนด้าน สมาธิของภาวะผู้นํา การพัฒนาตนให้เป็นคน เก่งด้านปัญญาของภาวะ ผู้นําทางการศึกษา


131 125 ก. วางฐานชีวิตให้มั่นคง ด้วยวินัยของคฤหัสถ์23 1. ทำชีวิตให้สะอาด โดยหลีกเว้นความชั่วเสียหาย 1. 1 เว้นกรรมกิเลส คือความประพฤติมัวหมอง 4 อย่าง 1.2 เว้นอคติ คือ ความลำเอียงประพฤติคลาดจากธรรม 4 อย่าง 1.3 เว้นอบายมุข คือ ช่องทางแห่งความเสื่อมทรัพย์ 2. เตรียมชีวิตให้พร้อมที่จะก้าวหน้า โดยสร้างทุนที่ดีทั้งทางเศรษฐกิจและสังคม 2. 1 รู้จักแยกคน โดยหลีกเว้นมิตรเทียม 4 จำพวก และคบหามิตรแท้ 4 ประเภท 2.2 จัดสรรทรัพย์ วางแผนการใช้จ่ายให้เรียบร้อยเป็นที่มั่นใจ 3. อยู่ร่วมในสังคม โดยมีชีวิตที่ดีงาม และช่วยสร้างสรรค์ 3. 1 ทำหน้าที่ถูกต้องสมบูรณ์ ต่อบุคคลรอบด้าน ในทิศฐานทั้ง 6 3.2 ยึดเหนี่ยวใจคน และประสานสามัคคีของหมู่ชนให้สังคมมีเอกภาพ ด้วยสังคหวัตถุ 4 ข. นำพาชีวิตไปให้ถึงจุดหมาย จุดหมายของชีวิต 2 ระดับ ดังนี้ 1. ทิฏฐธัมมิกัตถะ ประโยชน์เฉพาะหน้าทันตาเห็น เป็นรูปธรรมในปัจจุบัน ซึ่งทำให้พึ่งตัวได้ในทางเศรษฐกิจและเป็นที่ยอมรับนับถือในสังคม 2. สัมปรายิกัตถะ ประโยชน์ข้างหน้าเลยตาเห็น เป็นนามธรรม ซึ่งชี้ถึงคุณค่า ของชีวิตที่จะมีสืบต่อไป กล่าวคือ ความดีงาม ความสุขทางจิตใจ ความเป็นอิสระแห่งชีวิต สรุปเป็นภาพได้ดังนี้ 23 พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต), การศึกษา : พัฒนาการหรือบูรณาการ, (กรุงเทพมหานคร: สหธรรมิก, 2540), หน้า 8-26. หลักพุทธธรรมกับการ พัฒนาภาวะผู้นํา สําหรับตนเอง การพัฒนาตนให้มีภาวะผู้นํา การปฏิบัติตนให้เป็นผู้นํา เป้าหมายการพัฒนาตนให้เป็นผู้นํา หลักพุทธธรรม 125 ก. วางฐานชีวิตให้มั่นคง ด้วยวินัยของคฤหัสถ์23 1. ทำชีวิตให้สะอาด โดยหลีกเว้นความชั่วเสียหาย 1. 1 เว้นกรรมกิเลส คือความประพฤติมัวหมอง 4 อย่าง 1.2 เว้นอคติ คือ ความลำเอียงประพฤติคลาดจากธรรม 4 อย่าง 1.3 เว้นอบายมุข คือ ช่องทางแห่งความเสื่อมทรัพย์ 2. เตรียมชีวิตให้พร้อมที่จะก้าวหน้า โดยสร้างทุนที่ดีทั้งทางเศรษฐกิจและสังคม 2. 1 รู้จักแยกคน โดยหลีกเว้นมิตรเทียม 4 จำพวก และคบหามิตรแท้ 4 ประเภท 2.2 จัดสรรทรัพย์ วางแผนการใช้จ่ายให้เรียบร้อยเป็นที่มั่นใจ 3. อยู่ร่วมในสังคม โดยมีชีวิตที่ดีงาม และช่วยสร้างสรรค์ 3. 1 ทำหน้าที่ถูกต้องสมบูรณ์ ต่อบุคคลรอบด้าน ในทิศฐานทั้ง 6 3.2 ยึดเหนี่ยวใจคน และประสานสามัคคีของหมู่ชนให้สังคมมีเอกภาพ ด้วยสังคหวัตถุ 4 ข. นำพาชีวิตไปให้ถึงจุดหมาย จุดหมายของชีวิต 2 ระดับ ดังนี้ 1. ทิฏฐธัมมิกัตถะ ประโยชน์เฉพาะหน้าทันตาเห็น เป็นรูปธรรมในปัจจุบัน ซึ่งทำให้พึ่งตัวได้ในทางเศรษฐกิจและเป็นที่ยอมรับนับถือในสังคม 2. สัมปรายิกัตถะ ประโยชน์ข้างหน้าเลยตาเห็น เป็นนามธรรม ซึ่งชี้ถึงคุณค่า ของชีวิตที่จะมีสืบต่อไป กล่าวคือ ความดีงาม ความสุขทางจิตใจ ความเป็นอิสระแห่งชีวิต สรุปเป็นภาพได้ดังนี้ 23 พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต), การศึกษา : พัฒนาการหรือบูรณาการ, (กรุงเทพมหานคร: สหธรรมิก, 2540), หน้า 8-26. หลักพุทธธรรมกับการ พัฒนาภาวะผู้นํา สําหรับตนเอง การพัฒนาตนให้มีภาวะผู้นํา การปฏิบัติตนให้เป็นผู้นํา เป้าหมายการพัฒนาตนให้เป็นผู้นํา หลักพุทธธรรม 125 ก. วางฐานชีวิตให้มั่นคง ด้วยวินัยของคฤหัสถ์23 1. ทำชีวิตให้สะอาด โดยหลีกเว้นความชั่วเสียหาย 1. 1 เว้นกรรมกิเลส คือความประพฤติมัวหมอง 4 อย่าง 1.2 เว้นอคติ คือ ความลำเอียงประพฤติคลาดจากธรรม 4 อย่าง 1.3 เว้นอบายมุข คือ ช่องทางแห่งความเสื่อมทรัพย์ 2. เตรียมชีวิตให้พร้อมที่จะก้าวหน้า โดยสร้างทุนที่ดีทั้งทางเศรษฐกิจและสังคม 2. 1 รู้จักแยกคน โดยหลีกเว้นมิตรเทียม 4 จำพวก และคบหามิตรแท้ 4 ประเภท 2.2 จัดสรรทรัพย์ วางแผนการใช้จ่ายให้เรียบร้อยเป็นที่มั่นใจ 3. อยู่ร่วมในสังคม โดยมีชีวิตที่ดีงาม และช่วยสร้างสรรค์ 3. 1 ทำหน้าที่ถูกต้องสมบูรณ์ ต่อบุคคลรอบด้าน ในทิศฐานทั้ง 6 3.2 ยึดเหนี่ยวใจคน และประสานสามัคคีของหมู่ชนให้สังคมมีเอกภาพ ด้วยสังคหวัตถุ 4 ข. นำพาชีวิตไปให้ถึงจุดหมาย จุดหมายของชีวิต 2 ระดับ ดังนี้ 1. ทิฏฐธัมมิกัตถะ ประโยชน์เฉพาะหน้าทันตาเห็น เป็นรูปธรรมในปัจจุบัน ซึ่งทำให้พึ่งตัวได้ในทางเศรษฐกิจและเป็นที่ยอมรับนับถือในสังคม 2. สัมปรายิกัตถะ ประโยชน์ข้างหน้าเลยตาเห็น เป็นนามธรรม ซึ่งชี้ถึงคุณค่า ของชีวิตที่จะมีสืบต่อไป กล่าวคือ ความดีงาม ความสุขทางจิตใจ ความเป็นอิสระแห่งชีวิต สรุปเป็นภาพได้ดังนี้ 23 พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต), การศึกษา : พัฒนาการหรือบูรณาการ, (กรุงเทพมหานคร: สหธรรมิก, 2540), หน้า 8-26. หลักพุทธธรรมกับการ พัฒนาภาวะผู้นํา สําหรับตนเอง การพัฒนาตนให้มีภาวะผู้นํา การปฏิบัติตนให้เป็นผู้นํา เป้าหมายการพัฒนาตนให้เป็นผู้นํา หลักพุทธธรรม 126 ภาพที่ 4.11 หลักพุทธธรรมกับการพัฒนาภาวะผู้นำสำหรับตนเอง ที่มา : สรุปจากหลักพุทธธรรมกับการพัฒนาภาวะผู้นำสำหรับตนเอง โดยสังเคราะห์ของ ผู้เขียน (2564) สรุปคุณลักษณะการพัฒนาตนสำหรับภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษา ตามหลักพุทธวิถีใหม่ได้ดังนี้ 1. ภาวะผู้นำที่สัมพันธ์กับคุณสมบัติภายใน ประกอบด้วย 1.1 สติปัญญาดี 1.2 มีคุณธรรม 1.3 ชนะใจตนเอง 1.4 สร้างความสามัคคีในหมู่คณะ 1.5 เข้าใจความต้องการของคนอื่น 1.6 เสียสละและกล้าเสี่ยงนำคนอื่น 1.7 เชื่อมั่นตนเอง 2. ภาวะผู้นำที่สัมพันธ์กับคุณสมบัติภายนอกประกอบด้วย 2.1 สุขภาพแข็งแรง 2.2 สังคมให้เคารพและศรัทธา 2.3 สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการทำงาน 2.4 การได้รับความสนับสนุนของผู้ตามหรือผู้ร่วมด้วยดี 4.3 การพัฒนาคนของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษา การพัฒนาคนให้เป็นผู้มีคุณลักษณะอย่างไร ในยุคการเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากความ เจริญด้านอุตสาหกรรม ลองดูบุคลคยุคใหม่ที่โลกต้องการจากหนังสือการปฏิวัตอุตสาหกรรม ครั้งที่ 4 ส่งผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงต่อชีวิตคนเราอย่างใหญ่หลวง บุคลากรผู้มี ความคิดสร้างสรรค์ที่จะชักนํา การเปลี่ยนแปลงจึงสําคัญต่อเราทุกคน คําถามคือบุคลากร ผู้มีคุณสมบัติ แบบไหนบ้างจะเป็นที่ต้องการของตลาดแรงในอนาคตต้องศึกษาบริบทของ โลกดังนี้ 1) การพัฒนาทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 การพัฒนาทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 ที่ทั่วโลกตั้งเป้าหมายสร้างให้ได้และไป ให้ถึงความต้องการกำลังคนยุค 4.0 ผลจากการเปลี่ยนแปลงระบบเศรษฐกิจ สังคม และ สถานการณ์สังคมสูงวัยในสถานการณ์ปัจจุบัน ส่งผลให้ทุกประเทศทั่วโลกกำหนดทิศทางการ ผลิตและพัฒนากำลังคนของประเทศให้มีทักษะและสมรรถนะระดับสูง มีความสามารถ


132 126 ภาพที่ 4.11 หลักพุทธธรรมกับการพัฒนาภาวะผู้นำสำหรับตนเอง ที่มา : สรุปจากหลักพุทธธรรมกับการพัฒนาภาวะผู้นำสำหรับตนเอง โดยสังเคราะห์ของ ผู้เขียน (2564) สรุปคุณลักษณะการพัฒนาตนสำหรับภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษา ตามหลักพุทธวิถีใหม่ได้ดังนี้ 1. ภาวะผู้นำที่สัมพันธ์กับคุณสมบัติภายใน ประกอบด้วย 1.1 สติปัญญาดี 1.2 มีคุณธรรม 1.3 ชนะใจตนเอง 1.4 สร้างความสามัคคีในหมู่คณะ 1.5 เข้าใจความต้องการของคนอื่น 1.6 เสียสละและกล้าเสี่ยงนำคนอื่น 1.7 เชื่อมั่นตนเอง 2. ภาวะผู้นำที่สัมพันธ์กับคุณสมบัติภายนอกประกอบด้วย 2.1 สุขภาพแข็งแรง 2.2 สังคมให้เคารพและศรัทธา 2.3 สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการทำงาน 2.4 การได้รับความสนับสนุนของผู้ตามหรือผู้ร่วมด้วยดี 4.3 การพัฒนาคนของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษา การพัฒนาคนให้เป็นผู้มีคุณลักษณะอย่างไร ในยุคการเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากความ เจริญด้านอุตสาหกรรม ลองดูบุคลคยุคใหม่ที่โลกต้องการจากหนังสือการปฏิวัตอุตสาหกรรม ครั้งที่ 4 ส่งผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงต่อชีวิตคนเราอย่างใหญ่หลวง บุคลากรผู้มี ความคิดสร้างสรรค์ที่จะชักนํา การเปลี่ยนแปลงจึงสําคัญต่อเราทุกคน คําถามคือบุคลากร ผู้มีคุณสมบัติ แบบไหนบ้างจะเป็นที่ต้องการของตลาดแรงในอนาคตต้องศึกษาบริบทของ โลกดังนี้ 1) การพัฒนาทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 การพัฒนาทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 ที่ทั่วโลกตั้งเป้าหมายสร้างให้ได้และไป ให้ถึงความต้องการกำลังคนยุค 4.0 ผลจากการเปลี่ยนแปลงระบบเศรษฐกิจ สังคม และ สถานการณ์สังคมสูงวัยในสถานการณ์ปัจจุบัน ส่งผลให้ทุกประเทศทั่วโลกกำหนดทิศทางการ ผลิตและพัฒนากำลังคนของประเทศให้มีทักษะและสมรรถนะระดับสูง มีความสามารถ 127 เฉพาะทางมากขึ้น ส่วนความต้องการกำลังแรงงานที่ไร้ฝีมือ และมีทักษะต่ำจะถูกแทนที่ ด้วยหุ่นยนต์และเทคโนโลยีใหม่ ๆ ขอทบทวนแนวทางการพัฒนาคนในศตวรรษที่ 21 มีดังนี้ ทักษะสำคัญจำเป็นของคนในโลกศตวรรษที่ 21 ประกอบด้วยทักษะที่เรียกตาม คำย่อว่า 3Rs + 8Cs24 ดังนี้ 3Rs ประกอบด้วย 1. อ่านออก (Reading) 2. เขียนได้ (WRiting) 3. คิดเลขเป็น (ARithmetics) สำหรับทักษะของคนในสามข้อแรกถือสำคัญ มากเพราะต้องเป็นทักษะที่จำเป็นของระดับผู้นำทางการศึกษาที่ต้องสามารถใช้ทักษะการ อ่าน การเขียน การคิดเลขเป็นในระดับใช้ประโยชน์ชั้นสูงนำไปใช้สร้างนวัตกรรมทางการ จัดการศึกษาและเพิ่มทักษะอีก 8Cs ประกอบด้วย 1. ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา (Critical Thinking and Problem Solving) 2. ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation) 3. ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross – cultural Understanding) 4. ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ (Collaboration Teamwork and Leadership) 5. ทักษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ (Communications, Information and Media Literacy) 6. ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Computing and ICT Literacy) 7. ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning Skills) 8. ความมีเมตตา กรุณา วินัย คุณธรรม จริยธรรม (Compassion) ประเทศไทยดังเป้าหมายชัดเจนว่าจะพัฒนาคนให้เป็นคนมีคุณภาพ จึงได้สร้าง วิสัยทัศน์(Vision) ว่า “คนไทยทุกคนได้รับการศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ ดำรงชีวิตอย่างเป็นสุข สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง และการเปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษที่ 21” 24วิจารณ์ พานิช, การสร้างการเรียนรู้สู้ศตวรรษที่21, (นครปฐม: ส เจริญการพิมพ์, 2557), หน้า 16-17.


133 127 เฉพาะทางมากขึ้น ส่วนความต้องการกำลังแรงงานที่ไร้ฝีมือ และมีทักษะต่ำจะถูกแทนที่ ด้วยหุ่นยนต์และเทคโนโลยีใหม่ ๆ ขอทบทวนแนวทางการพัฒนาคนในศตวรรษที่ 21 มีดังนี้ ทักษะสำคัญจำเป็นของคนในโลกศตวรรษที่ 21 ประกอบด้วยทักษะที่เรียกตาม คำย่อว่า 3Rs + 8Cs24 ดังนี้ 3Rs ประกอบด้วย 1. อ่านออก (Reading) 2. เขียนได้ (WRiting) 3. คิดเลขเป็น (ARithmetics) สำหรับทักษะของคนในสามข้อแรกถือสำคัญ มากเพราะต้องเป็นทักษะที่จำเป็นของระดับผู้นำทางการศึกษาที่ต้องสามารถใช้ทักษะการ อ่าน การเขียน การคิดเลขเป็นในระดับใช้ประโยชน์ชั้นสูงนำไปใช้สร้างนวัตกรรมทางการ จัดการศึกษาและเพิ่มทักษะอีก 8Cs ประกอบด้วย 1. ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา (Critical Thinking and Problem Solving) 2. ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation) 3. ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross – cultural Understanding) 4. ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ (Collaboration Teamwork and Leadership) 5. ทักษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ (Communications, Information and Media Literacy) 6. ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Computing and ICT Literacy) 7. ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning Skills) 8. ความมีเมตตา กรุณา วินัย คุณธรรม จริยธรรม (Compassion) ประเทศไทยดังเป้าหมายชัดเจนว่าจะพัฒนาคนให้เป็นคนมีคุณภาพ จึงได้สร้าง วิสัยทัศน์(Vision) ว่า “คนไทยทุกคนได้รับการศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ ดำรงชีวิตอย่างเป็นสุข สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง และการเปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษที่ 21” 24วิจารณ์ พานิช, การสร้างการเรียนรู้สู้ศตวรรษที่21, (นครปฐม: ส เจริญการพิมพ์, 2557), หน้า 16-17. 127 เฉพาะทางมากขึ้น ส่วนความต้องการกำลังแรงงานที่ไร้ฝีมือ และมีทักษะต่ำจะถูกแทนที่ ด้วยหุ่นยนต์และเทคโนโลยีใหม่ ๆ ขอทบทวนแนวทางการพัฒนาคนในศตวรรษที่ 21 มีดังนี้ ทักษะสำคัญจำเป็นของคนในโลกศตวรรษที่ 21 ประกอบด้วยทักษะที่เรียกตาม คำย่อว่า 3Rs + 8Cs24 ดังนี้ 3Rs ประกอบด้วย 1. อ่านออก (Reading) 2. เขียนได้ (WRiting) 3. คิดเลขเป็น (ARithmetics) สำหรับทักษะของคนในสามข้อแรกถือสำคัญ มากเพราะต้องเป็นทักษะที่จำเป็นของระดับผู้นำทางการศึกษาที่ต้องสามารถใช้ทักษะการ อ่าน การเขียน การคิดเลขเป็นในระดับใช้ประโยชน์ชั้นสูงนำไปใช้สร้างนวัตกรรมทางการ จัดการศึกษาและเพิ่มทักษะอีก 8Cs ประกอบด้วย 1. ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา (Critical Thinking and Problem Solving) 2. ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation) 3. ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross – cultural Understanding) 4. ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ (Collaboration Teamwork and Leadership) 5. ทักษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ (Communications, Information and Media Literacy) 6. ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Computing and ICT Literacy) 7. ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning Skills) 8. ความมีเมตตา กรุณา วินัย คุณธรรม จริยธรรม (Compassion) ประเทศไทยดังเป้าหมายชัดเจนว่าจะพัฒนาคนให้เป็นคนมีคุณภาพ จึงได้สร้าง วิสัยทัศน์(Vision) ว่า “คนไทยทุกคนได้รับการศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ ดำรงชีวิตอย่างเป็นสุข สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง และการเปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษที่ 21” 24วิจารณ์ พานิช, การสร้างการเรียนรู้สู้ศตวรรษที่21, (นครปฐม: ส เจริญการพิมพ์, 2557), หน้า 16-17.


134 128 จากแนวคิดดังกล่าวแผนการจัดการศึกษาแห่งชาติได้ตั้งวัตถุประสงค์ในการจัด การศึกษา 4 ประการ คือ 1. เพื่อพัฒนาระบบและกระบวนการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ 2. เพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นพลเมืองดี มีคุณลักษณะทักษะและสมรรถนะที่ สอดคล้องกับบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ และยุทธศาสตร์ชาติ 3. เพื่อพัฒนาสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ และคุณธรรม จริยธรรม รู้รัก สามัคคี และร่วมมือผนึกกำลังมุ่งสู่การพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง และ 4. เพื่อนำประเทศไทยก้าวข้ามกับดักประเทศที่มีรายได้ปานกลาง และความ เหลื่อมล้ำภายในประเทศลดลง เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์และจุดมุ่งหมายในการจัดการศึกษา ของชาติและการปรับเปลี่ยนประเทศไปสู่ประเทศไทย 4.0 โดยการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ ของประเทศ จากประเทศที่มีความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบด้าน “ความหลากหลายเชิง วัฒนธรรม (Cultural Diversity)”เพื่อสร้างความมั่งคั่งอย่างยั่งยืนให้กับประเทศไทย ใน ศตวรรษที่ 21 โดยการปรับเปลี่ยนโครงสร้างทางเศรษฐกิจของประเทศไปสู่เศรษฐกิจที่ ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมและการสร้างมูลค่าเพิ่ม (Value-based Economy) ที่มีลักษณะ สำคัญ 3 ประการ คือ 1) เปลี่ยนการผลิตสินค้า “โภคภัณฑ์” ไปสู่สินค้าเชิงนวัตกรรม 2) เปลี่ยนจากการขับเคลื่อนประเทศด้วยภาคอุตสาหกรรมไปสู่การขับเคลื่อน ด้วยเทคโนโลยีความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรมและ 3) เปลี่ยนจากเน้นภาคการผลิตสินค้าไปสู่การเน้นภาคการบริการมากขึ้น โดย กำหนดรูปแบบและองค์ประกอบการเปลี่ยนผ่าน (สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ, 2560, น. 3) ดังนี้ (1) เปลี่ยนจากการเกษตรแบบดั้งเดิม ไปสู่การเกษตรสมัยใหม่ ที่เน้นการ บริหารจัดการและเทคโนโลยีเป็นเกษตรกรแบบผู้ประกอบการ (2) เปลี่ยนจากธุรกิจขนาดย่อมแบบเดิม (SMEs) ไปสู่การเป็นธุรกิจที่ใช้ เทคโนโลยีดิจิทัล (Smart Enterprises) และผู้ประกอบการเทคโนโลยีรายใหม่ (Startups) ที่มีศักยภาพสูง (3) เปลี่ยนจากธุรกิจบริการแบบเดิมที่มีการสร้างมูลค่าที่ค่อนข้างต่ำไปสู่ ธุรกิจบริการที่มีมูลค่าสูง


135 129 (4) เปลี่ยนจากแรงงานทักษะต่ำไปสู่แรงงานที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญ และทักษะสูง ดังตาราง 4.2 การเปรียบเทียมรูปแบบงานเดิมกับงานใหม่ในการพัฒนาคน รอรับ ตารางที่ 4.2 รูปแบบงานเดิมและใหม่ องค์ประกอบการเปลี่ยนผ่าน ในการพัฒนาคนรองรับ รูปแบบงานเดิม รูปแบบงามใหม่ คุณลักษณะคนใหม่ 1. การเกษตรแบบ ดั้งเดิม การเกษตรสมัยใหม่ ที่เน้นการ บริหารจัดการและเทคโนโลยี เป็นเกษตรกรแบบ ผู้ประกอบการ เรียนรู้นวัตกรรมและ เทคโนโลยี 2. เปลี่ยนจากธุรกิจ ขนาดย่อมแบบเดิม (SMEs) การเป็นธุรกิจที่ใช้เทคโนโลยี ดิจิทัล (Smart Enterprises) และผู้ประกอบการเทคโนโลยี รายใหม่ (Startups) ที่มี ศักยภาพสูง คนต้องมีทักษะการใช้ เทคโนโลยีดิจิทัลที่มีศักยภาพ สูง คนมีความคิดสร้างสรรค์งาน ได้ 3. เปลี่ยนจากธุรกิจ บริการแบบเดิมที่มี การสร้างมูลค่าที่ ค่อนข้างต่ำ สร้างธุรกิจบริการที่มีมูลค่าสูง คนต้องสามารถเพิ่มทักษะใช้ นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อ เพิ่มมูลค้าดี มีคุณภาพ 4. เปลี่ยนจากแรงงาน ทักษะต่ำ คัดเลือกแรงงานที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และทักษะสูง พัฒนาแรงงานที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และทักษะสูง จากตารางข้างต้นชี้ชัดว่า ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษาต้องเรียนรู้ บริบทความต้องการของตลาดแรงงานว่า งานต้องการคนลักษณะใดเพื่อเตรียมพร้อมการ พัฒนาคนให้สอดคล้องกันโดยเฉพาะการใช้ทักษะด้านเทคโนโลยี การสร้างนวัตกรรมและ การคิดสร้างสรรค์ แนวคิดการปฏิวัติดิจิทัลการเปลี่ยนแปลงสู่อุตสาหกรรม 4.0 และการปรับเปลี่ยน ประเทศไปสู่ประเทศไทย 4.0 จะเป็นแรงผลักดันให้ประชากรสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร และแหล่งเรียนรู้ที่ไร้ขีดจำกัด สามารถพัฒนาองค์ความรู้และสร้างปัญญาที่เพิ่มขึ้นเป็น ทวีคูณ มีการนำเทคโนโลยีการสื่อสาร และระบบการเรียนรู้แบบเคลื่อนที่ (Mobile learning) มาใช้มากขึ้น


136 130 ดังนั้น การจัดการศึกษาของไทยจำเป็นต้องกำหนดเป้าหมายการพัฒนาทรัพยากร มนุษย์ วางแผนพัฒนาและเตรียมกำลังคนที่จะเข้าสู่ตลาดงานเมื่อสำเร็จการศึกษาในระดับ ต่าง ๆ ปรับหลักสูตรและวิธีการเรียนการสอนที่มีความยืดหยุ่นหลากหลาย เพื่อพัฒนา ศักยภาพและขีดความสามารถของทรัพยากรมนุษย์ให้มีทักษะ ความรู้ความสามารถ และ สมรรถนะที่พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงและการแข่งขันอย่างเสรีแบบไร้พรมแดนในยุค เศรษฐกิจและสังคม 4.025 จากแนวคิดการแนวคิดการปฏิวัติดิจิทัลการเปลี่ยนแปลงสู่อุตสาหกรรม 4.0 และ การปรับเปลี่ยนประเทศไปสู่ประเทศไทย 4.0 จะเป็นแรงผลักดันให้ประชากรสามารถ เข้าถึงข้อมูลข่าวสารและแหล่งเรียนรู้ที่ไร้ขีดจำกัดนี้คือภาพของการจัดการศึกษาของ ประเทศ แต่เมื่อพิจารณาผลผลิตที่เป็นนิสิตและนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาเข้าสู่ตลาดแรงงาน จะต้องมีคุณลักษณะลอดคล้องกันกับความต้องการของอุตสาหกรรม และหน่วยงานทั้ง ภาครัฐและเอกชน ดังนี้ 1. ความรู้ความสามารถ 2. มีทักษะความรู้ 3. มีความยืดหยุ่น 4. มีศักยภาพและขีดความสามารถของทรัพยากรมนุษย์ 5. สมรรถนะที่พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงและการแข่งขัน 6. มีความรับผิดชอบต่อสังคม 7.มีทักษะการใช้เทคโนโลยี สรุปเป็นภาพที่ 4.12 25สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, แผนการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2560 – 2579, (กรุงเทพมหานคร: สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา,2560), หน้า4. ลักษณะคนที่ต้องการ ของตลาดแรงงาน การใช้ เทคโนโลยี สมรรถนะ ความรู้ 130 ดังนั้น การจัดการศึกษาของไทยจำเป็นต้องกำหนดเป้าหมายการพัฒนาทรัพยากร มนุษย์ วางแผนพัฒนาและเตรียมกำลังคนที่จะเข้าสู่ตลาดงานเมื่อสำเร็จการศึกษาในระดับ ต่าง ๆ ปรับหลักสูตรและวิธีการเรียนการสอนที่มีความยืดหยุ่นหลากหลาย เพื่อพัฒนา ศักยภาพและขีดความสามารถของทรัพยากรมนุษย์ให้มีทักษะ ความรู้ความสามารถ และ สมรรถนะที่พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงและการแข่งขันอย่างเสรีแบบไร้พรมแดนในยุค เศรษฐกิจและสังคม 4.025 จากแนวคิดการแนวคิดการปฏิวัติดิจิทัลการเปลี่ยนแปลงสู่อุตสาหกรรม 4.0 และ การปรับเปลี่ยนประเทศไปสู่ประเทศไทย 4.0 จะเป็นแรงผลักดันให้ประชากรสามารถ เข้าถึงข้อมูลข่าวสารและแหล่งเรียนรู้ที่ไร้ขีดจำกัดนี้คือภาพของการจัดการศึกษาของ ประเทศ แต่เมื่อพิจารณาผลผลิตที่เป็นนิสิตและนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาเข้าสู่ตลาดแรงงาน จะต้องมีคุณลักษณะลอดคล้องกันกับความต้องการของอุตสาหกรรม และหน่วยงานทั้ง ภาครัฐและเอกชน ดังนี้ 1. ความรู้ความสามารถ 2. มีทักษะความรู้ 3. มีความยืดหยุ่น 4. มีศักยภาพและขีดความสามารถของทรัพยากรมนุษย์ 5. สมรรถนะที่พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงและการแข่งขัน 6. มีความรับผิดชอบต่อสังคม 7.มีทักษะการใช้เทคโนโลยี สรุปเป็นภาพที่ 4.12 25สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, แผนการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2560 – 2579, (กรุงเทพมหานคร: สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา,2560), หน้า4. ลักษณะคนที่ต้องการ ของตลาดแรงงาน การใช้ เทคโนโลยี สมรรถนะ ความรู้ 130 ดังนั้น การจัดการศึกษาของไทยจำเป็นต้องกำหนดเป้าหมายการพัฒนาทรัพยากร มนุษย์ วางแผนพัฒนาและเตรียมกำลังคนที่จะเข้าสู่ตลาดงานเมื่อสำเร็จการศึกษาในระดับ ต่าง ๆ ปรับหลักสูตรและวิธีการเรียนการสอนที่มีความยืดหยุ่นหลากหลาย เพื่อพัฒนา ศักยภาพและขีดความสามารถของทรัพยากรมนุษย์ให้มีทักษะ ความรู้ความสามารถ และ สมรรถนะที่พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงและการแข่งขันอย่างเสรีแบบไร้พรมแดนในยุค เศรษฐกิจและสังคม 4.025 จากแนวคิดการแนวคิดการปฏิวัติดิจิทัลการเปลี่ยนแปลงสู่อุตสาหกรรม 4.0 และ การปรับเปลี่ยนประเทศไปสู่ประเทศไทย 4.0 จะเป็นแรงผลักดันให้ประชากรสามารถ เข้าถึงข้อมูลข่าวสารและแหล่งเรียนรู้ที่ไร้ขีดจำกัดนี้คือภาพของการจัดการศึกษาของ ประเทศ แต่เมื่อพิจารณาผลผลิตที่เป็นนิสิตและนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาเข้าสู่ตลาดแรงงาน จะต้องมีคุณลักษณะลอดคล้องกันกับความต้องการของอุตสาหกรรม และหน่วยงานทั้ง ภาครัฐและเอกชน ดังนี้ 1. ความรู้ความสามารถ 2. มีทักษะความรู้ 3. มีความยืดหยุ่น 4. มีศักยภาพและขีดความสามารถของทรัพยากรมนุษย์ 5. สมรรถนะที่พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงและการแข่งขัน 6. มีความรับผิดชอบต่อสังคม 7.มีทักษะการใช้เทคโนโลยี สรุปเป็นภาพที่ 4.12 25สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, แผนการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2560 – 2579, (กรุงเทพมหานคร: สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา,2560), หน้า4. ลักษณะคนที่ต้องการ ของตลาดแรงงาน การใช้ เทคโนโลยี สมรรถนะ ความรู้ 131 ภาพที่ 4.12 ลักษณะคนที่ตลาดแรงงานต้องการในศตวรรษที่ 21 ที่มา : มาจาก แนวคิดการปฏิวัติดิจิทัลการเปลี่ยนแปลงสู่อุตสาหกรรม 4 ในขณะที่สัญญาประชาคมโลก : จากเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ 2558 (Millennium Development Goals : MDGs 2015) สู่เป้าหมายการพัฒนาที่ ยั่งยืนขององค์การสหประชาชาติ 2573 (Sustainable Development Goals : SDGs 2030) ดังภาพต่อไปนี้ ภาพที่ 4.13 เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนขององค์การสหประชาชาติ (The Global Goals) ที่มา : มาจากแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 จากภาพที่ 4.13 ของสำนักงานปลัดกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ มนุษย์เชื่อมโยงยุทธศาสตร์กระทรวง พ.ศ. 2560 – 2564 ถึงเป้าหมายการพัฒนาที่ ยั่งยืน Sustainable Development Goals (SDGs) มาปรับในการพัฒนาประเทศดังนี้ เป้าหมายที่ 1 ขจัดความยากจนในทุกรูปแบบ ทุกที่ เป้าหมายที่ 2 ขจัดความหิวโหย บรรลุเป้าความมั่นคงทางอาหารและโภชนาการที่ ดีขึ้น และส่งเสริมเกษตรกรรมยั่งยืน เป้าหมายที่ 3 ทำให้แน่ใจถึงการมีสุขภาวะในการดำรงชีวิต และส่งเสริมความ เป็นอยู่ที่ดีของทุกคนในทุกช่วงอายุ เป้าหมายที่ 4 ทำให้แน่ใจถึงการได้รับการศึกษาที่ได้คุณภาพอย่างเท่าเทียมและ ทั่วถึง และส่งเสริมโอกาสในการเรียนรู้ตลอดชีวิตแก่ทุกคน


137 131 ภาพที่ 4.12 ลักษณะคนที่ตลาดแรงงานต้องการในศตวรรษที่ 21 ที่มา : มาจาก แนวคิดการปฏิวัติดิจิทัลการเปลี่ยนแปลงสู่อุตสาหกรรม 4 ในขณะที่สัญญาประชาคมโลก : จากเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ 2558 (Millennium Development Goals : MDGs 2015) สู่เป้าหมายการพัฒนาที่ ยั่งยืนขององค์การสหประชาชาติ 2573 (Sustainable Development Goals : SDGs 2030) ดังภาพต่อไปนี้ ภาพที่ 4.13 เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนขององค์การสหประชาชาติ (The Global Goals) ที่มา : มาจากแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 จากภาพที่ 4.13 ของสำนักงานปลัดกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ มนุษย์เชื่อมโยงยุทธศาสตร์กระทรวง พ.ศ. 2560 – 2564 ถึงเป้าหมายการพัฒนาที่ ยั่งยืน Sustainable Development Goals (SDGs) มาปรับในการพัฒนาประเทศดังนี้ เป้าหมายที่ 1 ขจัดความยากจนในทุกรูปแบบ ทุกที่ เป้าหมายที่ 2 ขจัดความหิวโหย บรรลุเป้าความมั่นคงทางอาหารและโภชนาการที่ ดีขึ้น และส่งเสริมเกษตรกรรมยั่งยืน เป้าหมายที่ 3 ทำให้แน่ใจถึงการมีสุขภาวะในการดำรงชีวิต และส่งเสริมความ เป็นอยู่ที่ดีของทุกคนในทุกช่วงอายุ เป้าหมายที่ 4 ทำให้แน่ใจถึงการได้รับการศึกษาที่ได้คุณภาพอย่างเท่าเทียมและ ทั่วถึง และส่งเสริมโอกาสในการเรียนรู้ตลอดชีวิตแก่ทุกคน


138 132 เป้าหมายที่ 5 บรรลุถึงความเท่าเทียมทางเพศ และเสริมสร้างพลังให้แก่สตรีและ เด็กหญิงทุกคน เป้าหมายที่ 6 ทำให้แน่ใจว่าเรื่องน้ำและการสุขาภิบาลได้รับการจัดการอย่างยั่งยืน และมีสภาพพร้อมใช้สำหรับทุกคน เป้าหมายที่ 7 ทำให้แน่ใจว่าทุกคนสามารถเข้าถึงพลังงานที่ทันสมัย ยั่งยืน เชื่อถือ ได้ตามกำลังซื้อของตน เป้าหมายที่ 8 ส่งเสริมการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่ยั่งยืนและทั่วถึงให้เป็นไป อย่างยั่งยืน ส่งเสริมศักยภาพการมีงานทำและการจ้างงานเต็มที่ และงานที่มีคุณค่าสำหรับ ทุกคน เป้าหมายที่ 9 พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง ส่งเสริมการ ปรับตัวให้เป็นอุตสาหกรรมอย่างยั่งยืนและทั่วถึง และสนับสนุนนวัตกรรม เป้าหมายที่ 10 ลดความเหลื่อมลำทั้งภายในและระหว่างประเทศ เป้าหมายที่ 11 ทำให้เมืองและการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์มีความปลอดภัย ทั่วถึง พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงและยั่งยืน เป้าหมายที่ 12 ทำให้แน่ใจถึงการมีแบบแผนการผลิตและการบริโภคที่ยั่งยืน เป้าหมายที่ 13 ดำเนินการอย่างเร่ง ด่วนเพื่อต่อสู้กับการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศและผลกระทบที่เกิดขึ้น เป้าหมายที่ 14 อนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากมหาสมุทร ทะเล และทรัพยากรทาง ทะเลสำหรับการพัฒนาที่ยั่งยืน ให้เป็นไปอย่างยั่งยืน เป้าหมายที่ 15 พิทักษ์บูรณะ และส่งเสริมการใช้ประโยชน์ที่ยั่งยืนของระบบนิเวศ บนบก จัดการป่าไม้อย่างยั่งยืน ต่อสู้กับการแปรสภาพเป็นทะเลทราย หยุดยั้งและฟื้นฟู ความเสื่อมโทรมของที่ดิน และหยุดยั้ง การสูญเสีย ความหลากหลายทางชีวภาพ เป้าหมายที่ 16 ส่งเสริมให้สังคมมีความเป็นปกติสุข ไม่แบ่งแยก เพื่อการพัฒนาที่ ยั่งยืน มีการเข้าถึงความยุติธรรมโดยถ้วนหน้า และสร้างให้เกิดสถาบันอันเป็นที่พึ่งของ ส่วนรวม มีประสิทธิผล และเป็นที่ยอมรับในทุกระดับ เป้าหมายที่ 17 เสริมสร้างความเข้มแข็งในวิธีการปฏิบัติให้เกิดผล และสร้างพลัง แห่งการเป็นหุ้นส่วนความร่วมมือระดับสากลต่อการพัฒนาที่ยั่งยืน มาจากยุทธศาสตร์ กระทรวง พ.ศ. 2560 – 2564 และ ยุทธศาสตร์สำนักงานปลัดกระทรวง พ.ศ. 2560 – 2564 : 5 (ที่มา : United Nations) ผลการประชุมผู้นำอาเซียน ครั้งที่ 9 เมื่อปีพุทธศักราช 2546 นำไปสู่การลงนามใน ปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมืออาเซียน (Declaration of ASEAN Concord II หรือ Bali Concord II) ที่ประเทศสมาชิก 10 ประเทศ ได้เห็นชอบให้มีการจัดตั้งประชาคมอาเซียน


139 133 (ASEAN Community) ซึ่งมีผลตั้งแต่วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 โดยประชาคมอาเซียน ประกอบด้วย 3 เสาหลัก ดังแผนภาพ 4.14 ภาพที่4.14 กลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ ที่มา : มาจากแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 ภาพที่ 4.15 ประชาคมอาเซียนประกอบด้วย 3 เสาหลัก 133 (ASEAN Community) ซึ่งมีผลตั้งแต่วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 โดยประชาคมอาเซียน ประกอบด้วย 3 เสาหลัก ดังแผนภาพ 4.14 ภาพที่4.14 กลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ ที่มา : มาจากแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 ภาพที่ 4.15 ประชาคมอาเซียนประกอบด้วย 3 เสาหลัก 133 (ASEAN Community) ซึ่งมีผลตั้งแต่วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 โดยประชาคมอาเซียน ประกอบด้วย 3 เสาหลัก ดังแผนภาพ 4.14 ภาพที่4.14 กลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ ที่มา : มาจากแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 ภาพที่ 4.15 ประชาคมอาเซียนประกอบด้วย 3 เสาหลัก 133 (ASEAN Community) ซึ่งมีผลตั้งแต่วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 โดยประชาคมอาเซียน ประกอบด้วย 3 เสาหลัก ดังแผนภาพ 4.14 ภาพที่4.14 กลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ ที่มา : มาจากแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 ภาพที่ 4.15 ประชาคมอาเซียนประกอบด้วย 3 เสาหลัก 134 ที่มา : มาจากแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 เมื่อนำแนวคิดและเป้าหมายของประชาคมอาเซียนมาศึกษาจะพบวิสัยทัศน์ ชัดเจนต่อการพัฒนาคน สามารถขยายความได้ดังนี้ 1. ประชาคมการเมืองความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political-Security Community หรือ APSC) ดังนี้ 1.1 สร้างประชาคมให้มีค่านิยมร่วมกันในเรื่องของการเคารพ และส่งเสริมให้ ประชาชนเป็นศูนย์กลางของนโยบายและกิจกรรมภายใต้เสาการเมืองและความมั่นคง 1.2 ให้อาเซียนสามารถเผชิญกับภัยคุกคามความมั่นคงในรูปแบบเดิมและ รูปแบบใหม่และส่งเสริมความมั่นคงของมนุษย์ 1.3 ให้อาเซียนมีปฎิสัมพันธ์ที่แน่นแฟ้นและสร้างสรรค์กับประชาคมโลก โดย อาเซียนมีบทบาทเป็นผู้นำในภูมิภาค และจะช่วยส่งเสริมความมั่นคงของภูมิภาค ประเทศ สมาชิกอาเซียนจะมีกลไกและเครื่องมือที่ครอบคลุมและมีประสิทธิภาพในการแก้ไขปัญหาที่ เกี่ยวกับความมั่นคงต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นปัญหาความขัดแย้งด้านการเมืองระหว่างรัฐสมาชิก กับรัฐสมาชิกด้วยกันเอง โดยมีความคิดว่าประเทศใดประเทศหนึ่งไม่สามารถแก้ไขได้โดย ลำพัง เช่น การก่อการร้าย การลักลอบค้ายาเสพติด ปัญหาโจรสลัด และอาชญากรรม ข้ามชาติ เป็นต้น 2. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community หรือ AEC) บริบททางเศรษฐกิจ การค้าและการลงทุนระหว่างประเทศที่มีการแข่งขันสูง อันส่งผลให้ประเทศต่าง ๆ ต้องปรับตัวเองเพื่อให้ได้รับประโยชน์จากระบบเศรษฐกิจโลก รวมถึงการ รวมกลุ่มการค้ากันของประเทศต่าง ๆ อาทิ สหภาพยุโรป และเขตการค้าเสรี อเมริกาเหนือ ผู้นำประเทศสมาชิกอาเซียนได้เห็นชอบ ให้จัดตั้ง “ประชาคมเศรษฐกิจของ อาเซียน” ภายในปี 2558 มีประสงค์ที่จะให้ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีความมั่นคง มั่งคั่ง และสามารถแข่งขันกับภูมิภาคอื่นๆ ได้ดังนี้ 2.1 มุ่งที่จะจัดตั้งให้อาเซียนเป็นตลาดเดียวและเป็นฐานการผลิตร่วมกัน 2.2 มุ่งให้เกิดการเคลื่อนย้ายเงินทุน สินค้า การบริการ การลงทุน แรงงาน ฝีมือระหว่างประเทศสมาชิกโดยเสรี 2.3 ให้ความช่วยเหลือแก่ประเทศสมาชิกใหม่ของอาเซียน (กัมพูชา ลาว พม่า และเวียดนาม หรือ CLMV) เพื่อลดช่องว่างของระดับการพัฒนาของประเทศสมาชิกอาเซียน และช่วยให้ประเทศสมาชิกเหล่านี้ เข้าร่วมในกระบวนการรวมตัวทางเศรษฐกิจของอาเซียน


Click to View FlipBook Version