The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน) สนับสนุนและส่งเสริมการพัฒนาชุมชนสังคมทั้งในชนบทและเมืองมาอย่างต่อเนื่องกว่าสองทศวรรษ ก่อให้เกิดชุมชนเข้มแข็ง เป็นตัวอย่างต้นแบบการพัฒนา กระจายอยู่ในพื้นที่ทั่วประเทศจ านวนมาก ประกอบกับสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (พอช.) ได้พัฒนาตัวชี้วัดชุมชนเข้มแข็ง และกำหนดนิยามความหมายนวัตกรรมชุมชนขึ้นและใช้เป็นเครื่องมือในการประเมินตนเองขององค์กรชุมชน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Tewarat Thipaut, 2023-03-17 03:01:36

การถอดองค์ความรู้การพัฒนาตำบลต้นแบบนวัตกรรมชุมชน ภาคอีสาน 10 ตำบล

สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน) สนับสนุนและส่งเสริมการพัฒนาชุมชนสังคมทั้งในชนบทและเมืองมาอย่างต่อเนื่องกว่าสองทศวรรษ ก่อให้เกิดชุมชนเข้มแข็ง เป็นตัวอย่างต้นแบบการพัฒนา กระจายอยู่ในพื้นที่ทั่วประเทศจ านวนมาก ประกอบกับสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (พอช.) ได้พัฒนาตัวชี้วัดชุมชนเข้มแข็ง และกำหนดนิยามความหมายนวัตกรรมชุมชนขึ้นและใช้เป็นเครื่องมือในการประเมินตนเองขององค์กรชุมชน

1 รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) การถอดองค์ความรู้การพัฒนาต าบลต้นแบบนวัตกรรมชุมชน ภาคอีสาน 10 ต าบล สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (พอช.) ศูนย์ประชาสังคมและการจัดการองค์กรเอกชนสาธารณะประโยชน์ (ศปส.) คณะมนุษยศาสตรแ ์ ละสงัคมศาสตร ์ มหาวิทยาลยัขอนแก่น


ก ค าน า สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน) สนับสนุนและส่งเสริมการพัฒนาชุมชนสังคม ทั้งในชนบทและเมืองมาอย่างต่อเนื่องกว่าสองทศวรรษ ก่อให้เกิดชุมชนเข้มแข็ง เป็นตัวอย่าง ต้นแบบการพัฒนา กระจายอยู่ในพื้นที่ทั่วประเทศจ านวนมาก ประกอบกับสถาบันพัฒนาองค์กร ชุมชน (พอช.) ได้พัฒนาตัวชี้วัดชุมชนเข้มแข็ง และก าหนดนิยามความหมายนวัตกรรมชุมชนขึ้น และใช้เป็นเครื่องมือในการประเมินตนเองขององค์กรชุมชน เพื่อสังเคราะห์กระบวนการท างานพัฒนาชุมชนที่ผ่านมา ให้เป็นองค์ความรู้การพัฒนา ต าบลต้นแบบและนวัตกรรมชุมชน พอช. จึงได้ประสานความร่วมมือกับศูนย์ประชาสังคมและการ จัดการองค์กรเอกชนสาธารณะประโยชน์ (ศปส.) คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ด าเนินการถอดองค์ความรู้การพัฒนาต าบลต้นแบบนวัตกรรมชุมชน ภาค อีสาน ประจ าปี 2564 จ านวน 10 ต าบล โดยสังเคราะห์กระบวนการท างานพัฒนาที่ผ่านมา ตามมิติ ชุมชนเข้มแข็ง 4 มิติ และเปรียบเทียบกับองค์ประกอบนวัตกรรมชุมชน เพื่อน าไปใช้เป็นองค์ความรู้ ขับเคลื่อนการด าเนินงานพัฒนาชุมชนเข้มแข็งของ พอช. และเผยแพร่ขยายผลพื้นที่ต้นแบบการ ด าเนินงานพัฒนาชุมชนเข้มแข็งสู่สาธารณะต่อไป ทีมนักวิชการ ศปส. ได้ด าเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล 10 ต าบลเป้าหมาย และจัดท าเป็น รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) เสร็จเรียบร้อยแล้ว ขอขอบคุณขบวนองค์กรชุมชนจังหวัด สภาอองค์กรชุมชน และเจ้าหน้าที่สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชนทั้งส่วนกลาง และเจ้าหน้าที่ภาคอีสาน รวมทั้งผู้น ากลุ่มองค์กรชุมชน ที่ร่วมกันให้ข้อมูล จนสามารถสังเคราะห์รูปแบบการท างาน และสรุป เป็นรายงานฉบับสมบูรณ์จนแล้วเสร็จ ศูนย์ประชาสังคมและการจัดการองค์กรเอกชนสาธารณะประโยชน์ (ศปส.) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 31 กรกฎาคม 2564


ข สารบัญ หน้า ค าน า ก สารบัญ ข สรุปสังเคราะห์ภาพรวมข้อมูลรายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) 10 ต าบล 1 ถอดองค์ความรู้การพัฒนาต าบลต้นแบบและนวัตกรรมชุมชน 15 1) ต าบลเสนางคนิคม อ าเภอเสนางคนิคม จังหวัดอ านาจเจริญ 15 2) ต าบลบึงโขงหลง อ าเภอบึงโขงหลง จังหวัดบึงกาฬ 40 3) ต าบลเย้ยปราสาท อ าเภอหนองกี่ จังหวัดบุรีรัมย์ 68 4) ต าบลโพธิ์ตาก อ าเภอโพธิ์ตาก จังหวัดหนองคาย 82 5) ต าบลบ้านกลาง อ าเภอเมือง จังหวัดนครพนม 101 6) ต าบลเขี่อน อ าเภอโกสุมพิสัย จังหวัดมหาสารคาม 120 7) ต าบลกระหาด อ าเภอจอมพระ จังหวัดสุรินทร์ 144 8) ต าบลดงลิง อ าเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์ 157 9) ต าบลสวาย อ าเภอปรางค์กู่ จังหวัดศรีสะเกษ 187 10) ต าบลโคกสี อ าเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร 203


1 สรุปสังเคราะห์ภาพรวมข้อมูลรายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) 10 ต าบล โดย รศ.ดร.บวัพนัธ์พรหมพกัพิง ความเข้มแข็งของชุมชนกับต าบลต้นแบบ ‘ต าบลต้นแบบ” เป็นต าบลที่ก าหนดขึ้น ภายใต้การท างานของ พอช. เพื่อให้เป็น “ต้นแบบ” ของการพัฒนา ในช่วงประมาณ 2 ปีที่ผ่านมา พอช. ได้มีการพัฒนาตัวชี้วัดการพัฒนา ภายใต้กรอบ คิด “ความเข้มแข็งของชุมชน” การพัฒนาตัวชี้วัดดังกล่าวนี้ เน้นกระบวนการจากข้างล่าง คือมีกรอบ คิดทางวิชาการ และในขณะเดียวกัน ก็มีการปรึกษาหารือกับเครือข่าย และผู้ที่เกี่ยวข้อง ตัวชี้วัด ความเข้มแข็ง ประกอบด้วยกรอบหลัก ๆ 4 มิติ คือ มิติคุณภาพของคน มิติคุณภาพชีวิต มิติ ความสามารถในการเชื่อมโยงเครือข่ายในระดับล่าง และการยกระดับให้เป็นนโยบายสาธารณะ รวมทั้งมิติด้านสมรรถนะขององค์กร ซึ่งรายละเอียด ทาง พอช. ได้น าเสนอและชี้แจงไว้หลายวาระ แล้ว ค าว่าความเข้มแข็งของชุมชน เป็นค าที่ใช้ในวงการพัฒนาและนโยบาย ส าหรับในทาง วิชาการ ประเด็นที่จ าเป็นจะต้องนิยามให้ชัดคือ ค าว่า “ชุมชน” ประเด็นดังกล่าวยังมีข้อถกเถียงกัน อยู่บ้าง อย่างไรก็ตามในประเทศไทย ค าว่าชุมชน มักจะหมายถึงชุมชนหมู่บ้าน ซึ่งมีการตั้ง บ้านเรือนเป็นกลุ่ม ผู้คนที่อาศัยอยู่ในชุมชนมีความสัมพันธ์และมีการกระท าระหว่างกัน ภายใต้ กรอบของสถาบัน ประเพณี ปทัสถาน หลายรูปแบบ ขอบเขตของชุมชนหมู่บ้านในชนบท สามารถที่ จะระบุ และจ าแนกให้เห็นความแตกต่างได้ชัดเจน อย่างไรก็ตาม เมื่อใช้ค าว่า ชุมชน กับสังคมเกิด ใหม่ อย่างเช่นสังคมเมือง การประกอบกันเข้ามาเป็นชุมชนมีความสลับซับซ้อน ในงาน พอช. ที่เรา ก าลังจะกล่าวต่อไปนี้ เป้าหมายหลักของ พอช. อยู่ที่หน่วยต าบลเป็นหลัก ดังนั้นการประยุกต์ใช้ แนวคิดในเรื่องความเข้มแข็งของชุมชน โดยมองชุมชนในระดับต าบล จึงจ าเป็นต้องตระหนักว่า ความเป็นชุมชนของ “ต าบล” มีความแตกต่างออกไปจากหมู่บ้านอยู่พอสมควร อย่างน้อยก็เรื่อง ขอบเขตทางกายภาพที่มีขนาดใหญ่กว่า และหากเรามองว่า ลักษณะของความเป็นชุมชนด้านหนึ่ง เกี่ยวกับความเป็น “เครือข่าย” คือพื้นที่ทางกายภาพของชุมชนอาจจะไม่ชัดเจน มีความซ้อนทับกัน หลายชุมชน มีความลื่นไหล การมองต าบลให้เป็น “ชุมชน” ก็น่าจะสอดคล้อง


2 การน าเอาตัวชี้ที่สร้างขึ้นโดย พอช ไปส่งเสริมหรือขับเคลื่อน เพื่อให้บรรลุตามเป้าหมายนั้น เกี่ยวข้องกับกลุ่มคน (ผู้กระท าการ หรือ actors) อย่างน้อย 4 กลุ่ม กลุ่มแรกคือสถาบันพัฒนา องค์กรชุมชน ซึ่งได้รับการจัดตั้งขึ้นมา ภายใต้ พ.ร.บ. องค์การมหาชน และ พระราชกฤษฎีกา การ จัดตั้งสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน ตามกฎหมายทั้งสองฉบับนี้ ได้ท าให้ พอช. มีสถานะเป็นองค์การ มหาชน และมีระเบียบการบริหารหรือการปฏิบัติของตนเอง ที่ก าหนดขึ้นภายใต้กฤษฎีกา ประเด็นที่ จะต้องกล่าวในที่นี้คือ แม้ว่า พอช. จะไม่ใช่หน่วยงานราชการ (หมายถึงกระทรวง ทบวง กรม ต่าง ๆ) แต่ก็ปฏิเสธไม่ได้ว่า อยู่ภายใต้การก ากับของรัฐ โดยเฉพาะการพึ่งพางบประมาณ ที่กล่าวไว้ เช่นนี้ ไม่ได้หมายความว่า การอยู่ภายใต้การก ากับของรัฐ จะเป็น “ข้อจ ากัด” เพียงอย่างเดียว ถ้า หากว่ามีการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ ก็อาจจะเพิ่มความสามารถ (enabling) มีพลังท าให้ สามารถแก้ปัญหาต่าง ๆ ให้ลุล่วงได้ และจะต้องกล่าวด้วยว่า ตัวชี้วัดที่พัฒนาขึ้นมานี้ มีสถาบัน พัฒนาองค์กรชุมชนเป็นเจ้าภาพ แม้ว่าในกระบวนการการท างาน จะประกอบด้วยหลายภาคส่วนก็ ตาม ผู้กระท าการหรือกลุ่มบุคคลกลุ่มที่สอง คือ “องค์กรชุมชน” และ “ชุมชน” ที่จัดตั้งขึ้น ตาม พระราชบัญญัติสภาองค์กรชุมชน ปี พ.ศ. 2551 พ.ร.บ. ดังกล่าวนี้ ได้ก าหนดนิยาม ความหมาย องค์ประกอบของสภาองค์กรชุมชนในระดับต าบล สมาชิก หรือเครือข่าย หน้าที่ของสภาองค์กร ชุมชนในระดับต าบล และที่ประชุมระดับจังหวัดของสภาองค์กรชุมชนระดับต าบล ในหมวดที่ 4 คือ มาตรา 34 และ 35 ของพระราชบัญญัติฉบับนี้ ก าหนดให้สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน รับผิดชอบ ส่งเสริมกิจการขององค์กรต่าง ๆ ที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติฉบับนี้ ส าหรับชื่อ หรือภาษาที่ใช้ใน การสื่อสารในการท างานของ พอช. เรียกกลุ่มองค์กรเหล่านี้ว่า “ขบวนองค์กรชุมชน” ทั้งนี้ เพื่อให้ เห็นว่า มีความแตกต่างออกมาจากการบริหารงานประจ าของ พอช. กลุ่มที่สามคือส่วนราชการประจ าในระดับจังหวัด รัฐธรรมนูญฉบับปี พ.ศ. 2550 ก าหนดให้ มีแผนพัฒนาจังหวัด โดยการจัดท าแผน ต้องให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม ซึ่งก าหนดกระบวนการ และวิธีการต่าง ๆ ไว้ในพระราชบัญญัติการบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 (ซึ่งก าหนดให้มี คณะกรรมการ และก าหนดให้มีตัวแทนภาคประชาสังคมเข้าไปอยู่ในกรรมการดังกล่าวด้วย) และ นอกจากนี้ หน่วยราชการมีระเบียบ กฎหมายต่าง ๆ มากมายยากที่จะสรุปให้เข้าใจง่าย แต่ที่จะเน้น ให้เห็นก็คือหน่วยราชการเหล่านี้ มีพื้นที่ท างานอยู่ในระดับจังหวัด อ าเภอ และต าบล ซึ่งเป็ นพื้นที่ เดียวกับที่ พอช. และขบวนองค์กรชุมชนได้รับการก่อตั้งขึ้นมา ที่ส าคัญ นอกจากหน่วย


3 ราชการเหล่านี้ มีงบประมาณแล้ว ยังมีบุคคลากรที่ได้รับการฝึกอบรมตามสาขามาเป็นอย่างดี และ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งมีทั้งบุคคลากรและงบประมาณ ก็ควรจัดอยู่ในกลุ่มเดียวกันด้วย กลุ่มที่สี่คือ ภาคีเครือข่ายองค์กรภาคประชาสังคม องค์กรพัฒนาเอกชน หรือ NGOs โดยเฉพาะโครงการหรือกิจกรรมต่าง ๆ ที่ได้รับทุนจาก สสส. สช สกสว. และอื่น ๆ โครงการหรือ กิจกรรมเหล่านี้ มิใช่งานของหน่วยราชการโดยตรง การท างานมีลักษณะที่คล้ายกับ พอช. หรือใน หลายกรณี กลุ่มที่ท างานโครงการหรือกิจกรรมระดับพื้นที่ ก็ท างานให้หลายกลุ่มผู้สนับสนุน การกล่าวถึงกลุ่มผู้กระท าการต่าง ๆ ในที่นี้ก็เพื่อตระหนักว่า มีผ้ทูี่ทา งานเพื่อส่งเสริมให้ เกิดความเข้มแขง ็ ของชุมชนในระดบัพื้นที่อยู่หลายกลุ่ม และเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด การพฒันา การปรบั ปรงุการขบัเคลื่อนตวัชี้วดันี้จา เป็ นต้องคา นึงถึง “นิเวศ” ของวาระอนันี้ ด้วย หากจะมองโดยรวม ๆ ค าว่าความเข้มแข็งของชุมชน เป็นความคิดที่ได้รับการสนับสนุนจาก เครือข่ายที่ท างานด้านสุภาพ ส าหรับ พอช. และขบวนองค์กรชุมชน ได้สนับสนุนความคิดในเรื่อง จังหวัดหรือชุมชนจัดการตนเอง วัตถุประสงค์ ส าหรับงานที่เราก าลังจะน าเสนอต่อไป ภายหลังจากการประสานงานและการปรึกษาหารือ ระหว่างผู้ที่รับผิดชอบ ทางทีมวิชาการที่ท าการประเมินได้ก าหนดวัตถุประสงค์ของงานไว้ดังนี้ • ศึกษาบริบทของต าบล ที่ได้รับการคัดเลือกให้เป็นต าบลต้นแบบ • ค้นหาประเด็นการพัฒนา ที่ท าให้ต าบลได้รับการคัดเลือกให้เป็นต าบลต้นแบบ และศึกษา กระบวนการนวตกรรมที่เกิดขึ้น ภายใต้การพัฒนาประเด็นนั้น ๆ • สังเคราะห์ความเข้มแข็งของต าบล ตามกรอบตัวชี้วัดความเข้มแข็งชุมชนของ พอช. และ วิเคราะห์กระบวนการน าเอากรอบตัวชี้วัดนี้ไปใช้ให้เกิดการท างาน กล่าวอย่างรวบรับก็คือ การท างานครั้งนี้ เป็นการถอดบทเรียนของต าบลที่ได้รับการ คัดเลือกให้เป็นต าบลต้นแบบ จ านวน 10 ต าบลในภาคอีสาน (แผนที่ข้างล่าง)


4 ภาพที่1 แผนที่ต าบลต้นแบบ 10 ต าบล กรอบคิดและขนั้ตอนการทา งาน สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน ได้พัฒนากรอบตัวชี้วัด ต าบลต้นแบบชุมชนเข้มแข็ง ซึ่งเป็น เป้าหมายของการท างานของ พอช. ที่จะส่งมอบให้แก่ กพร. ตามระเบียบของทางราชการ กรอบ ตัวชี้วัดดังกล่าวนี้ แบ่งออกเป็น 4 ด้านได้แก่ 1. คนมีคุณภาพ ประกอบด้วยผู้น ามีทักษะ มีความสามารถในการพัฒนาชุมชน และมีส่วนร่วม ด าเนินกิจกรรมสาธารณะในต าบล 2. องค์กรชุมชนมีความเข้มแข็ง ประกอบด้วย มีการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล มี ระบบ/ กลไกในการบริหารจัดการชุมชน เพื่อแก้ไขปัญหา/พัฒนาชุมชนท้องถิ่น 3. คุณภาพชีวิตคนในชุมชนดีขึ้น ประกอบด้วย เช่น ครัวเรือนผู้มีรายได้น้อยมีความมั่นคงในที่ อยู่อาศัยและที่ดินท ากิน มีสถาบัน/องค์กรการเงิน มีอาชีพ/รายได้ทางเศรษฐกิจเพิ่มขึ้น 4. ชุมชนมีความร่วมมือกับหน่วยงานต่าง ๆ สามารถผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิง นโยบายได้ ประกอบด้วย ชุมชนได้รับการสนับสนุนงบประมาณ หรือทรัพยากรจาก หน่วยงานตามปัญหาความ ต้องการของชุมชน


5 เมื่อได้มีการส่งตัวชี้วัดดังกล่าวให้แก่ กพร. สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน ได้ด าเนินการ ติดตามการท างานของต าบลต่าง ๆ ที่ได้รับการสนับสนุนจาก พอช. โดยใช้กรอบตัวชี้วัดดังกล่าว ข้างต้น 4 กรอบ แต่ได้ก าหนดตัวชี้วัดย่อยในเชิงปริมาณ ดังรายละเอียดดังนี้ 1. คนมีคุณภาพ • จ านวนผู้น าองค์กรชุมชนในต าบล/เมือง ที่ผ่านกระบวนการพัฒนาศักยภาพตาม หลักสูตรที่จัดโดย ขบวนองค์กรชุมชน/เครือข่าย รวมถึงหน่วยงาน/ภาคีต่างๆ ในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา (พ.ศ. 2561-2563) • จ านวนผู้น ารุ่นใหม่ที่เข้าร่วมกระบวนการพัฒนาชุมชนท้องถิ่น ในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา (พ.ศ. 2561-2563) • จ านวนผู้น าองค์กรชุมชนในต าบล/เมืองในปัจจุบัน ที่มีทัศนคติ/ความเชื่อมั่นในแนว ทางการพัฒนาที่องค์กรชุมชนเป็นแกนหลัก รวมถึงมีทักษะในการบริหารจัดการงาน พัฒนาชุมชนท้องถิ่น เช่น การจัดท า แผนการพัฒนาระบบข้อมูล การประสานงาน เป็น ต้น • สัดส่วนของครัวเรือนในต าบล/เมือง ที่มีส่วนร่วม ด าเนินกิจกรรมสาธารณะด้านการ พัฒนาใน ชุมชน 2. องค์กรชุมชนมีความเข้มแข็ง • จ านวนกลุ่มองค์กรชุมชนในต าบล/เมือง ที่มีบทบาท ส าคัญในการด าเนินกิจกรรมการ พัฒนาชุมชนท้องถิ่น อย่างต่อเนื่อง และเกิดผลการด าเนินงานอย่างเป็นรูปธรรม ไม่ น้อยกว่า 3 ปี • สัดส่วนขององค์กรชุมชนที่เป็นสมาชิกสภาองค์กรชุมชน มีระบบการบริหารจัดการตาม หลักธรรมาภิบาล (มีการจัดกลไกการท างาน แ ล ะก า ร แ บ่ ง บ ท บ า ท ห น้ า ที่ ที่ ชั ด เ จ น / มีกฎระเบียบ-กติกาของกลุ่มที่ชัดเจน/ มีการ ประชุมอย่างต่อเนื่อง/มีการ รายงานผลการ ด าเนินงาน-รายงานการเงินให้สมาชิกทราบ ตามข้อตกลง ฯลฯ) • มีแผนการพัฒนาภาคชุมชนในระดับต าบล/เมือง ระยะ 3 – 5 ปี ที่เกิดจากการมีส่วนร่วม ของกลุ่ม/ องค์กรต่างๆ รวมถึงมีการบูรณาการงานพัฒนาพื้นที่ ทุกมิติ • มีกลไก/เครือข่าย เชื่อมโยงการขับเคลื่อนงานพัฒนา ร่วมระหว่างกลุ่ม/องค์กรชุมชน ต่างๆ ในต าบล/เมือง


6 • มีกติการ่วม/ธรรมนูญ/ข้อบัญญัติชุมชน ที่เป็นลายลักษณ์อักษร หรือที่สมาชิกในชุมชน รับรู้ ซึ่งเกิดขึ้น จากการก าหนดร่วมกันของคนในชุมชนท้องถิ่น • องค์กรชุมชนมีบทบาทหลักในการแก้ไขปัญหาที่ เกิดขึ้นในต าบล/เมืองอย่างต่อเนื่อง และเกิดผลต่อ การแก้ไขปัญหา หรือช่วยคลี่คลายปัญหาในพื้นที่ ให้ลดลงได้อย่างเป็น รูปธรรม • จ านวนองค์กร/หน่วยงาน ที่มาศึกษาเรียนรู้งาน พัฒนาชุมชนท้องถิ่นโดยองค์กรชุมชน เป็นแกนหลักใน พื้นที่ต าบล ในรอบปีที่ผ่านมา 3. คุณภาพชีวิตของคนในชุมชน • มีกองทุนสวัสดิการชุมชน หรือระบบสวัสดิการอย่าง อื่นในต าบล/เมืองที่จัดการโดย ชุมชน และดูแลคนใน ต าบล/เมืองทุกช่วงวัย กลุ่มคนด้อยโอกาส/กลุ่ม เปราะบาง ตั้งแต่ เกิดจนตาย • มีกลุ่มออมทรัพย์หรือองค์กรการเงินในระดับชุมชน/ หมู่บ้าน (ยกเว้นกองทุนหมู่บ้าน และชุมชนเมือง) • มีการเชื่อมโยง หรือบูรณาการกองทุนกลุ่มออมทรัพย์หรือองค์กรการเงินระดับชุมชน/ หมู่บ้าน เป็น เครือข่ายระดับต าบล/เมือง หรือยกระดับเป็นสถาบัน การเงินชุมชนระดับ ต าบล/เมือง • ร้อยละของผู้เดือดร้อนด้านที่อยู่อาศัยในต าบล/เมือง เมื่อเทียบกับจ านวนครัวเรือน ทั้งหมด • ร้อยละของครัวเรือนที่มีข้าว/อาหารบริโภคไม่เพียงพอตลอดปี • ร้อยละของครัวเรือนที่มีรายได้ไม่เพียงพอกับการด ารงชีพ • ต าบล/เมืองมีระบบ และกลไกการจัดการภัยพิบัติ(ภัยแล้ง น ้าท่วม ดินโคลนถล่ม แผ่นดินไหว ไฟไหม้หมอกควัน มลภาวะ) โดยองค์กรชุมชนจัดการเอง • ในต าบล/เมือง มีแหล่งก าเนิดมลพิษ หรือไม่ • ความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมของชุมชน • คนในต าบล/ เมืองมีความปลอดภัยในการ ด ารงชีวิต และทรัพย์สิน • คนในต าบล/เมืองมีสุขภาพที่ดี • ระบบการเกษตร และการผลิตอาหารที่ปลอดภัยใน ต าบล/เมือง


7 4. ความสัมพันธ์กับหน่วยงานภาคีท้องถิ่น • จ านวนกิจกรรม/โครงการ ที่หน่วยงาน/ภาคีเข้าร่วม สนับสนุนการด าเนินงานของกลุ่ม/ องค์กรชุมชน ในช่วง 1 ปีที่ผ่านมา • จ านวนกิจกรรม/โครงการของชุมชนที่ได้รับ งบประมาณสนับสนุน หรือทรัพยากรอื่นๆ (เช่น บุคลากร ห้องประชุม สถานที่ตั้งองค์กรชุมชน ฯลฯ) จากหน่วยงานภาคี ในช่วง 1 ปีที่ผ่านมา • มีแผนงาน/โครงการของภาคชุมชนที่ได้รับการบรรจุ ในแผนของท้องถิ่น/หน่วยงาน/ ภาคี ในช่วง 2 ปีที่ผ่าน มา • จ านวนกลไก (คณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการ/ คณะท างาน) ที่มีผู้แทนจากองค์กร ชุมชนในต าบล/ เมืองเข้าร่วม โดยแต่งตั้งจากหน่วยงาน/ภาคีระดับ ต าบล/อ าเภอ/ จังหวัด • การปรับเปลี่ยนนโยบาย/ระเบียบ/กลไกโครงสร้าง ของหน่วยงาน/ แนวปฏิบัติที่ เอื้ออ านวยต่อการแก้ไข ปัญหาและการพัฒนาในต าบล/เมือง ในช่วง 3 ปีที่ ผ่านมา • ความสัมพันธ์ขององค์กรชุมชนกับองค์กรปกครอง ท้องถิ่น รวมถึงหน่วยงานราชการใน ท้องถิ่น การศึกษาและถอดบทเรียนต าบลชุมชนเข้มแข็งที่เราจะได้น าเสนอในตอนต่อไป ไม่ได้ยึด เอารายละเอียดตัวชี้วัดย่อยที่ก าหนดไว้ทั้งหมด แต่ได้น าเอากรอบทั้ง 4 ด้านมาเป็นแนวทาง การยก เอารายละเอียดของตัวชี้วัด มาแสดงไว้ในที่นี้ ก็เพื่อให้เป็นแนวส าหรับที่เราจะได้สะท้อน หรือ สังเคราะห์ผลที่เราจะสรุปในตอนต่อไป ทีมถอดบทเรียนต าบลชุมชนเข้มแข็ง ได้ตกลงร่วมกันกันในการประชุมว่า จะใช้กรอบใน การศึกษา ดังที่ได้แสดงไว้ในแผนภูมิข้างล่างนี้


8 ภาพที่2 กรอบการศึกษา อย่างไรก็ตาม เมื่อเริ่มต้นท างานได้มีการปรับกรอบความคิดนี้ไปอีกเล็กน้อย โดยในแง่ของ กระบวนการ เพื่อให้มีความชัดเจนขึ้น ทางทีมได้แนะน าให้สมาชิกของทีมถอดองค์ความรู้ มองหา “ประเด็นเด่น” ที่เกิดขึ้นในต าบล เพราะมองว่า ประเด็นเด่นนี้ น่าจะเป็นเหตุผลที่ท าให้ต าบลดังกล่าว ได้รับการคัดเลือกให้เป็นต าบลต้นแบบ และการเน้นไปที่ความส าเร็จของต าบล น่าจะง่ายในการท า ความเข้าใจกระบวนการการท างานในระดับต าบล ส าหรับขั้นในการท างานนั้น เนื่องด้วยข้อจ ากัดทั้งทางด้านงบประมาณ และสถานการณ์การ แพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า2019 (COVID-19) ได้ท าให้แต่ละทีมต้องหาช่องทางที่เป็นไปได้ ของแต่ละคน ในการที่จะได้ข้อมูล แต่โดยหลัก ๆ แล้ว ข้อมูลที่จะน าเสนอต่อไปมาจาก 1) พอช. ส่วนกลางและส านักงานภูมิภาค อ านวยและสนับสนุนข้อมูล จากการประเมินทางด้านปริมาณ และ ข้อมูลรายงานต่าง ๆ ของต าบลเป้าหมาย ซึ่งมีอยู่แล้ว 2) นักวิชาการที่ประเมินในแต่ละต าบล เดินทางลงไปเยี่ยม และประชุมกลุ่มย่อยกับต าบลเป้าหมาย หรือบางครั้งก็มีการสัมภาษณ์เพิ่มเติม ทางโทรศัพท์ ส าหรับรายงานจะแบ่งออกเป็นสองส่วน ส่วนแรกเป็นการสรุปและสังเคราะห์ข้อค้นพบหลัก ๆ ที่ได้จากการถอดบทเรียน และส่วนที่สอง จะเป็นรายงานแต่ละต าบล ที่ด าเนินการถอดบทเรียน


9 จ านวน 10 ต าบล โดยแต่ละกรณี หรือแต่ละต าบล ก็พยายามให้ครอบคลุมหรือตอบวัตถุประสงค์ การศึกษาทั้ง 3 ประเด็น ในส่วนต่อไป จะได้สรุปผลการสังเคราะห์รวม ทั้ง 10 ต าบล จากสังเคราะห์จากประเด็นเด่นของต าบล และการพิจารณาเทียบกับตัวชี้วัดทั้ง 4 ด้าน ได้ ข้อสรุปที่ส าคัญ หลายประการดังนี้ 1. การสนับสนุนของ พอช. มีความส าคัญต่อความส าเร็จขององค์กรชุมชนในระดับต าบล โดยเฉพาะการจัดตั้งสภาองค์กรชุมชนในระดับต าบล การลงไปติดตาม เพื่อพิจารณาความเข้มแข็งขององค์กรชุมชนในระดับต าบล พบว่า ผู้ให้ ข้อมูลในทุกต าบล ล้วนแต่กระหนักถึงการสนับสนุนของ พอช. ต่อต าบล จนท าให้เกิดประเด็นเด่น หรือความส าเร็จของต าบลขึ้นมา อย่างไรก็ตาม ภายในต าบลเองก็มี “ทุนเดิม” อยู่แล้ว อย่างเช่นทุน ทรัพยากรธรรมชาติ ทุนทางสังคม ทุนมนุษย์ เช่นเดียวกับต าบลหรือพื้นที่อื่น ๆ ต าบลเหล่านี้ ผ่าน ประสบการณ์การพัฒนาด้านต่าง ๆ มานานพอสมควร มีทั้งความส าเร็จ และความล้มเหลว การเข้า มาสนับสนุนของ พอช. ไม่ใช่การเริ่มต้นนับหนึ่ง แต่เป็ นการสร้างหรือเดินต่อจาก ประสบการณ์ที่ต าบลเหล่านี้ สั ่งสมมาก่อนแล้ว สิ่งที่ พอช. ให้การสนับสนุนและถือว่า มีผลต่อ การขับเคลื่อนอยู่ในปัจจุบันก็คือ การจัดตั้งสภาพัฒนาองค์กรชุมชนในระดับต าบล ซึ่งได้เริ่มมี บทบาทเป็น “กลไก” ขับเคลื่อนการท างานขององค์กรภาคประชาสังคมในระดับท้องถิ่นมากขึ้น สภา องค์กรชุมชนในระดับต าบล จัดตั้งขึ้นมาในช่วงเวลาที่แตกต่างกัน และมีบทบาทหรือมีความเข้มแข็ง ที่แตกต่างกันออกไป เรามองว่า การเป็นกลไกประสาน องค์กรชุมชนในระดับต าบลของสภาองค์กร ชุมชนในระดับต าบล มีทิศทางที่จะเติบโตและจะมีความส าคัญต่อไปข้างหน้า 2. กลุ่มสวัสดิการหรือกลุ่มออมทรัพย์ เป็นรากฐานส าคัญให้เกิดความเข้มแข็งขององค์กรชุมชน จากการลงไปถอดบทเรียนขององค์กรชุมชนในระดับต าบล เราพบว่า ความเด่นหรือ ความส าเร็จของต าบล จ านวน 3 หรือ 4 ต าบล เกี่ยวข้องกับการสร้างกลุ่มสวัสดิการ หรือความ เข้มแข็งของกลุ่มสวัสดิการหรือกลุ่มออมทรัพย์ โดยเฉพาะการเกิดกลุ่มอาชีพ หรือกลุ่มผลิตภัณฑ์ อย่างไรก็ตาม การเกิดขยายตัวของกลุ่มใหม่ ๆ ที่มีรากฐานมาจากกลุ่มอาชีพ ไม่ได้แสดงให้เห็นถึง “ความเติบโต” หรือ growth ของกลุ่มออมทรัพย์ การขยายตัวเหล่านี้ เกิดจากการที่กรรมการหรือ สมาชิกกลุ่มออมทรัพย์ ที่ได้รับการพัฒนามาก่อน และมองเห็นโอกาสในการสร้างกิจกรรมใหม่ ๆ ขึ้นมา บางกรณี การขยายตัวก็เกิดจากการส่งเสริมของ พอช. (คือ พอช. เอาโครงการไปให้ท า) และ


10 เพื่อให้มั่นใจว่า โครงการเหล่านั้นจะส าเร็จ ภาระในการรับผิดชอบโครงการใหม่ จึงตกอยู่ที่กรรมการ และสมาชิกกลุ่มออมทรัพย์ ที่เสียสละ สภาพเช่นนี้ ท าให้เรามองเห็นทั้งที่เป็น “ความเข้มแข็ง” หรือเป็น “ข้อจ ากัด” ขององค์กร ชุมชน โดยเฉพาะกลุ่มออมทรัพย์ ที่ท าการจัดตั้งขึ้นมา ด้านที่เป็ นความเข้มแข็ง แสดงให้ เหน ็ ด้วยการขยายตวัหรือความเติบโตของกลุ่มสวสัดิการ ออกไปสู่กลุ่มอื่น ๆ แต่ด้านที่เป็ น ข้อจา กดัเห ็ นได้ชดัว่า การเติบโตไปในลกัษณะนี้ไม่ใช่การเติบโตในเชิงสถาบนักลุ่มออม ทรพัย์ยงัคงยึดติดอยู่กบัการระดมทรพัยากร เพื่อสร้างให้“บริการชุมชน” (community services) ที่เกี่ยวกบัการเกิด แก่เจบ ็ ตาย สถานการณ์เช่นนี้ มีพลวัตรและมีการเปลี่ยนแปลงไป มากแล้ว อย่างเช่น ประชาชนทุกคนสามารถเข้าถึงบริการสุขภาพ ได้ดีขึ้นกว่าแต่เดิม เมื่อมีการเริ่ม ความคิดเรื่องสวัสดิการชุมชน (เริ่มมาตั้งแต่ช่วงโครงการ SIF หรือก่อนหน้านั้น หรือแม้แต่ในเรื่อง การบริโภค รัฐก็มีบัตรคนจน ถึงแม้ว่าโครงการแบบนี้ อาจจะเป็นเพียงชั่วคราว ไม่มีความแน่นอน แต่ก็เห็นได้ว่า สถานการณ์ในเรื่องสวัสดิการชุมชนเองก็มีพลวัตร มีการเปลี่ยนแปลงไปมาก โจทย์ที่ ท้าทายขึ้นก็คือ กลุ่มออมทรัพย์จะสามารถผลิตบริการใหม่ ๆ ขึ้นมาตอบสนองต่อความต้องการของ สมาชิกได้อย่างไรบ้าง ค าถามเช่นนี้ อาจจะดูเหมือนว่า ไม่เกี่ยวข้องกับกรอบตัวชี้วัด ที่เราท าการถอดบทเรียนใน ครั้งนี้โดยตรง อย่างไรก็ตาม ในกรอบตัวชี้วัดที่ 3 เรื่องคุณภาพชีวิต ได้ก าหนดตัวชี้วัดย่อยตัวหนึ่ง ไว้คือ “ต าบล/เมืองมีระบบ และกลไกการจัดการภัยพิบัติ(ภัยแล้ง น ้าท่วม ดินโคลนถล่ม แผ่นดินไหว ไฟไหม้หมอกควัน มลภาวะ) โดยองค์กรชุมชนจัดการเอง” ถ้าหากกลุ่มออมทรัพย์สามารถยกระดับ ขึ้นไปเสนอบริการใหม่ ๆ อย่างเช่นการท าหน้าที่ประกันน ้าท่วม ฝนแล้ง หรือประกันราคาผลผลิต บางตัว ก็จะเป็นเรื่องท้าทายมากขึ้น 3. เศรษฐกิจฐานราก อยู่ในล าดับความส าคัญต้น ๆ ของการท างานขององค์กรชุมชน เศรษฐกิจฐานรากเป็นประเด็นที่ถือได้ว่าองค์กรชุมชนในระดับต าบลประสบความส าเร็จ จ านวนหนึ่ง เป็นองค์กรชุมชนที่จับงาน หรือให้ความส าคัญกับปัญหาเศรษฐกิจฐานราก โดยเฉพาะ กลุ่มอาชีพ กลุ่มผลิตภัณฑ์ หรือกลุ่มวิสาหกิจชุมชน หรือการท่องเที่ยวชุมชน ข้อสรุปดังกล่าวนี้ ชี้ให้เห็นว่า นอกจากผลิตภัณฑ์หรือบริการ ที่มีความส าคัญที่จะต้องพัฒนาขึ้นมาแล้ว การถอด บทเรียนใน 10 ต าบล ชี้ว่า เศรษฐกิจฐานราก มีโอกาสและความท้าทายที่ส าคัญดังนี้


11 • การเชื่อมโยงกลับด้านหลัง และการเชื่อมไปข้างหน้า (backward/ forward linkage) คือ การเชื่อมโยงกลับไปก่อนที่จะเกิดผลิตภัณฑ์ (ซึ่งส่วนใหญ่ได้แก่วัตถุดิบในท้องถิ่นและ ทักษะ) และการเชื่อมโยงภายหลังจากการเกิดผลิตภัณฑ์ (ซึ่งรวมถึงตลาด การจ้างงาน รายได้ ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และอื่น ๆ) • การเชื่อมกับธุรกิจขนาดใหญ่ เศรษฐกิจฐานรากมักจะมีข้อจ ากัด โดยเฉพาะการจัดการ กับปัญหาใหญ่ ๆ อย่างเช่นปัญหาเทคนิคด้านการผลิต เพื่อให้ผลิตภัณฑ์มีมาตรฐาน หรือมีคุณภาพ การจัดการตลาด เป็นต้น ดังนั้น การร่วมงานกับธุรกิจขนาดใหญ่ ก็เป็น ทางออกอย่างหนึ่ง อย่างไรก็ตาม มีรายงานวิจัยเกี่ยวกับการเกษตรแบบพันธะสัญญา จ านวนมากที่ชี้ว่า เกษตรกรรายย่อยมักจะถูกเอารัดเอาเปรียบจากธุรกิจขนาดใหญ่ เกษตรกรรายย่อยมักจะไปไม่รอด • การพยายามพัฒนาปัจจัยการผลิต อย่างเช่น การผลิตเมล็ดพันธุ์ หรือปุ๋ ยอินทรีย์ขึ้นมา ใช้เอง ความส าเร ็ จและความล้มเหลว จากการท างานของเศรษฐกิจฐานราก ที่ นอกเหนือจาก 10 ต าบลที่เราลงไปถอดบทเรียน มีตัวอย่างให้เห็นเป็ นจ านวนมาก แน่นอน ที่สุดว่า ปัญหาความท้าทายที่ส าคัญ ยังเป็ นเรื่องระดับโครงสร้าง หรือระดับนโยบาย (อย่างเช่นการไม่เอาจริงเอาจงักบั ปัญหาสารเคมีในภาคเกษตร นโยบายที่เป็ นคณุกบัธุรกิจ เกษตรขนาดใหญ่ ขณะที่เกษตรกรรายย่อย ที่เป็ นผ้แูสดงหลกัในเศรษฐกิจฐานราก มกัจะ ถูกละเลย) แต่ประเด็นที่อยากจะชี้ให้เห็นก็คือ “เศรษฐกิจฐานราก” ไม่ได้มีน ้าหนักในตัวชี้วัดทั้ง 4 กรอบที่ พอช. เสนอไว้ มีเพียงประเด็นเล็ก ๆ ประเด็นเดียวที่ถือได้ว่า อาจจะเกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจ ฐานรากคือ ระบบเกษตรและอาหารที่ปลอดภัยในต าบล ถ้าหากว่า ความพยายามของเครือข่ายหรือ องค์กรชุมชนในระดับต าบลที่ส าคัญอย่างหนึ่งก็คือ การแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจฐานราก เราจ าเป็นต้อง พิจารณา และวางน ้าหนักของประเด็นดังกล่าวนี้ ไว้ในตัวชี้วัดให้เหมาะสม 4. การตอบสนองต่อความโอกาสใหม่ ๆ การถอดบทเรียนในครั้งนี้ พบว่าองค์กรชุมชนในระดับต าบลบางแห่ง ได้พยายามใช้ ประโยชน์จากสิ่งใหม่ ๆ ที่เกิดขึ้นในเศรษฐกิจสังคมวงกว้าง อย่างเช่นการแพร่กระจายของ เทคโนโลยีการสื่อสาร หรือเทคโนโลยีดิจิตอล หรือการเติบโตของเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ซึ่งท าให้เกิด


12 การส่งเสริมและการขยายตัวของการท่องเที่ยวเมืองรอง องค์กรชุมชนบางแห่ง ก้าวไปสู่ความ พยายาม จะน าเอาสื่อโซเชียลมีเดีย มาใช้ประโยชน์เพื่อขยายตลาดของผลิตภัณฑ์ หรือตลาดการ ท่องเที่ยว อย่างไรก็ตาม ความส าเร็จในเรื่องนี้ ยังไม่อาจจะประเมินได้อย่างชัดเจน แต่เห็นได้ชัดว่า การตอบสนองต่อโอกาสใหม่ ๆ ที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะการแพร่กระจายของเทคโนโลยีดิจิตอล จะ น าไปสู่ความเข้มแข็งของชุมชนที่ส าคัญ 5. องค์กรชุมชนในระดับต าบล ไม่ได้ใช้ตัวชี้วัดเป็นเครื่องมือในการท างาน ที่ท าให้เกิด “ประเด็นเด่น” โดยตรง ถึงแม้ว่า กรอบตัวชี้วัดทั้ง 4 กรอบที่น ามาใช้ จะสามารถสะท้อน (relevancy) ความเข้มแข็ง ขององค์กรชุมชน แต่การถอดบทเรียนของต าบลน าร่อง ทั้ง 10 ต าบล ไม่พบว่า มีการน าตัวชี้วัดมา เป็นเครื่องมือ ไปใช้ในการท างานอย่างชัดเจน ตลอดจนไม่ปรากฏว่ามีการถ่ายทอดตัวชี้วัดเหล่านี้ จาก พอช. หรือทีมที่ท าการพัฒนา ลงไปสู่องค์กรพัฒนาชุมชนในระดับต าบลอย่างจริงจัง ข้อสรุปในประเด็นดังกล่าวนี้ ท าให้เราต้องย้อนกลับไปตั้งค าถามว่า ตัวชี้วัดดังกล่าวนี้ ใคร ควรจะเป็นคนใช้ และควรจะใช้อย่างไร ค าถามเช่นนี้ อาจจะไม่เป็นประเด็นมากนัก หากพัฒนาขึ้น มาโดยองค์กรอื่น ๆ แต่ความเป็นสถาบัน (institution) ของ พอช. มีความเหลื่อมซ้อนกันอยู่ระหว่าง “พอช.” และ “ขบวนองค์กรชุมชน” ทั้งโดยกฎหมายและโดยอุดมการณ์ ถ้าหากจะกล่าวโดยย่อก็คือ ตัวชี้วัดความส าเร็จของ พอช. เกี่ยวข้องโดยตรงกับความเข้มแข็งขององค์กรชุมชน แต่ความส าเร็จ ของขบวนองค์กรชุมชน คือการแก้ปัญหาการด ารงชีวิตของสมาชิกหรือคนในชุมชน (และเครือข่าย) ถ้าหากเราจะโต้แย้งว่า ความเข้มแข็งขององค์กรชุมชน กับความสามารถในการแก้ไขปัญหาให้แก่ สมาชิกและเครือข่ายขององค์กรกชุมชน เป็นเรื่องเดียวกัน เราก็จ าเป็นจะต้องค านึงถึงเรื่อง “วิธีการ” ที่จะใช้ตัวชี้วัดนี้ โจทย์หรือค าถามตรงนี้ก ็ คือ เราจะใช้ตัวชี้วดัเหล่านี้อย่างไร เพื่อให้เกิด ประสิทธิภาพสูงสุด ในการขบัเคลื่อนการท างานขององค์กรชุมชนในระดบัต าบลและใน ระดับจังหวัด การถอดบทเรียนในครั้งนี้ ยังไม่มีรายละเอียด และมีข้อมูลเพียงพอที่จะให้ ข้อเสนอแนะตรงนี้ ที่เจาะจง 6. ควรมีการจัดจ าแนกตัวชี้วัดย่อย โดยใช้แนวคิดเชิงระบบ หรือกระบวนการบริหารจัดการ ของ พอช. เป็นกรอบในการจ าแนก เพื่อให้มองเห็น “วิธีการ” ที่จะน าเอาตัวชี้วัดนี้ไปใช้ได้ ชัดเจนขึ้น


13 การจัดกลุ่มตัวชี้วัดออกเป็น 4 กลุ่ม มีความครอบคลุม และท าให้เข้าใจตัวชี้วัดย่อยใน รายละเอียด อย่างไรก็ตามทีมถอดบทเรียนพยายามท าความเข้าใจตัวชี้วัดในแง่ของระบบ แต่ไม่มี ความมั่นใจ ตรงตามความตั้งใจหรือแนวคิดของการสร้างตัวชี้วัดนี้ขึ้นมาหรือไม่ ทีมถอดบทเรียน เสนอว่า ควรจ าแนกประเภทตัวชี้วัดย่อยให้ชัดเจนว่า เป็นผลลัพธ์หรือผลกระทบสุดท้าย เป็นปัจจัย น าเข้า เป็นกระบวนการ หรือเป็นผลลัพธ์ การจ าแนกประเภทตัวชี้วัด และมองในเชิงระบบ โดย เฉพาะที่เกี่ยวข้องหรือสะท้อนการบริหารจัดการของ พอช. โดยตรง เป็นวิธีการหนึ่งที่จะท าให้ สามารถก าหนดวิธีการน าเอาตัวชี้วัดเหล่านี้ไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ การเสนอไว้ในกรอบ แนวคิดว่า ตัวชี้วัดความเข้มแข็งของชุมชน เป็นผลลัพธ์ หรือการสร้างนวัตกรรมการแก้ปัญหาเป็น กระบวนการ ที่เราแสดงไว้ในกรอบแนวคิดนั้น อาจจะยังไม่ละเอียดพอ อย่างเช่น ตัวชี้วัดย่อย เกี่ยวกับคุณภาพของคนส่วนหนึ่งอาจจะอยู่ที่ inputs หรือ processes บางส่วนอาจจะเป็น outputs เป็นต้น 7. ควรมีการทบทวนตัวชี้วัดในกรอบคุณภาพชีวิต และองค์กรชุมชนมีความเข้มแข็ง การถอดบทเรียนทั้ง 10 ต าบลพบว่า ตัวชี้วัดในกรอบคุณภาพชีวิต และองค์กรชุมชน เข้มแข็ง แม้ว่าจะมีตัวชี้วัดย่อยที่ละเอียด แต่พบว่า มีความคลุมเครือ ทีมวิชาการที่ลงไปทบทวน ไม่ สามารถบอกได้อย่างชัดเจน กล่าวคือไม่แน่ใจว่า สิ่งที่ปรากฏจริง เป็นภาพสะท้อน “คุณภาพชีวิต” หรือ “ความเข้มแข็งขององค์กร” หรือไม่ ที่ส าคัญคือไม่อาจจะบอกได้โดยง่ายว่า ภาพที่เห็นเป็นผล มาจากอะไร (การที่คนมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีข้าวบริโภคตลอดปี เป็นผลมาจากการท างานของ พอช. และขบวนองค์กรชุมชน หรือว่าเป็นผลมาจากอย่างอื่น) ซึ่งตัวชี้วัดทั้งสองต้องมีการทบทวน ทีมวิชาการถอดบทเรียนในครั้งนี้เสนอว่า ตัวชี้วัดในกรอบคุณภาพชีวิต และความเข้มแข็ง ขององค์กรชุมชน ควรจะเน้นไปที่ตัวชี้วัดที่เป็นปัจจัยน าเข้าและกระบวนการ โดยกรอบตัวชี้วัดเรื่อง คุณภาพชีวิต ควรจะเน้นไปที่ความพยายามในการตอบสนองต่อโอกาสใหม่ ๆ ที่น าไปสู่การจ้างงาน และการมีรายได้ ผสมกับความรู้สึกภายในของคน คือความภูมิใจในท้องถิ่นของตนเอง หรือความ มั่นใจในการด าเนินชีวิต ส่วนตัวชี้วัดความเข้มแข็งของชุมชน ควรจะเน้นไปที่ “ชุด” ของ ความสามารถในการจัดการตนเอง อย่างเช่น ความสามารถในการแก้ปัญหาภายใน ความสามารถ ในแง่ของการบริหารจัดการ หรือการทบทวนประเมินตนเองเป็นประจ า สม ่าเสมอ ด้วยการมีส่วน ร่วมของสมาชิก เป็นต้น


14 ประการสุดท้ายที่ควรจะมีการทบทวนคือ ตัวชี้วัดย่อย ที่อยู่ภายใต้กรอบคิดหลักทั้ง 4 ด้าน หลายตัวมีลักษณะซ ้าซ้อนหรือต่อเนื่องกัน (อย่างเช่นขีดความสามารถของกลุ่มสวัสดิการ ควรจะ มองว่าเป็นความเข้มแข็งขององค์กร หรือเป็นคุณภาพชีวิต – ซึ่งเป็นผลสืบเนื่องจากความเข้มแข็ง ขององค์กร) ความเกี่ยวเนื่องหรือความซ ้าซ้อนเช่นนี้ อาจจะขจัดได้ หากฝ่ายบริหารตัดสินใจได้ว่า ตัวชี้วัดตัวใด หรือประเด็นใด เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแล้ว จะมีน ้าหนัก หรือ leverage และท าให้ ตัวชี้วัดอื่น ๆ เปลี่ยนแปลงไปด้วย


15 ถอดองค์ความรู้การพัฒนาต าบลต้นแบบและนวัตกรรมชุมชน ตา บลเสนางคนิคม อา เภอเสนางคนิคม จงัหวดัอา นาจเจริญ โดย ผศ.บุญทิวา พ่วงกลดั ส่วนที่1 บริบทพื้นที่(context) กล่าวได้ว่าภาคประชาชนในจังหวัดอ านาจเจริญมีความเข้มแข็งจังหวัดหนึ่งในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ เห็นได้จากพัฒนาการของเครือข่ายประชาชนฅนอ านาเจริญ ที่ท างาน ขับเคลื่อนให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในปัญหาความเหลื่อมล ้าตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันสามารถแบ่งได้ เป็น ช่วงดังนี้ (1) ช่วงทศวรรษ 2500 ที่ประชาชนบางกลุ่มเข้าร่วมกับพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศ ไทยเพื่อต่อสู้กับรัฐบาลเรียกร้องความเป็นธรรมให้กับพื้นที่ (2) ช่วงทศวรรษ 2520-2539 หลัง รัฐบาลเปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมกับพรรคคอมมิวนิสต์ออกจากป่าเข้าร่วมพัฒนาชาติไทย ท าให้เกิด กลุ่มองค์กรชาวบ้านขึ้นจ านวนมาก (3) ช่วงทศวรรษ 2540 กลุ่มแกนน าต่างๆ ที่ร่วมท างานพัฒนา ท้องถิ่น เริ่มเข้าร่วมท างานพัฒนากับหน่วยงานภาครัฐเพิ่มมากขึ้น (4) ช่วงปีพ.ศ.2544-2546 เป็น การท างานกับองค์กรพัฒนาเอกชนและองค์กรภาครัฐอย่างต่อเนื่อง (5) ช่วงปีพ.ศ. 2547-2549 การ พัฒนากลไกขบวนองค์กรชุมชนระดับจังหวัดและเชิงประเด็นร่วมกับพอช. (6) ช่วงปีพ.ศ. 2550- 2552 การด าเนินการฟื้นฟูชุมชนท้องถิ่น การด าเนินงานแนวใหม่ที่มีการจัดโครงสร้างความสัมพันธ์ แนวราบ ใช้มติที่ประชุมในการตัดสินใจ (7) ช่วงปีพ.ศ. 2553-2554 มีการสรุปบทเรียนที่ผ่านมาและ ได้ข้อสรุปร่วมกันในการพัฒนาเชิงพื้นที่ให้ความส าคัญกับ “พื้นที่จัดการตนเอง” ตามความต้องการ ของชุมชนท้องถิ่น และ (8) ช่วงปี พ.ศ.2555 เป็นต้นไป จังหวัดอ านาจเจริญได้มีการประกาศ “ธรรมนูญประชาชนฅนอ านาจเจริญ” เพื่อเป็นข้อตกลงร่วมกันของภาคประชาชนในการจัดการ ตนเองเป็นจังหวัดแรกของประเทศไทย แนวคิดเรื่องจังหวัดจัดการตัวเองของจังหวัดอ านาจเจริญจัด ได้ว่าเป็นทุนทางสังคมที่ส าคัญประการหนึ่งของจังหวัดที่อยู่บนฐานคิดหลัก 3 ประการคือ ชุมชน ท้องถิ่นจัดการตนเองในทุกมิติทั้งในเมืองและชนบทจากขบวนองค์กรชุมชน โดยเน้นที่กระบวนการ มีส่วนร่วมทั้งภายในและภายนอกชุมชน มุ่งเน้นการขับเคลื่อนงานพัฒนาที่เปลี่ยนแปลง ความสัมพันธ์เชิงอ านาจระหว่างชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในทุกระดับ และกระบวนการ ท างานมุ่งเสริมสร้างความเข้มแข็งและพึ่งตนเองของชุมชนโดยรวม (คณะท างานสนับสนุนการ


16 ขับเคลื่อนธรรมนูญประชาชนฅนอ านาจสู่เมืองธรรมเกษตร, 2556, น.18-23 และน.24) และทุนทาง สังคมนี้ก็มีอยู่พื้นที่ต าบลเสนางคนิคมด้วยเช่นกัน ต าบลเสนางคนิคมเองมีความเข้มแข็งของภาคประชาชน จากสภาพภูมิศาสตร์ที่บ้านบก บ้านหนองทับม้า อยู่ในเขตชนบทชายแดนจึงท าให้คนในพื้นที่มีความตื่นตัวในทางการเมืองและการ จัดการพัฒนาตนเองอย่างมาก ก่อนการจัดตั้งสภาองค์กรชุนชนเทศบาลต าบลเสนางคนิคมในปี พ.ศ. 2551 พื้นที่มีการขับเคลื่อนและมีการรวมตัวกันเพื่อจัดการพัฒนาก่อนแล้วตั้งแต่ปี พ.ศ.2508 ยกตัวอย่างเช่น กลุ่มพัฒนาบ้านเฮาที่ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2533 และมีกลุ่มคนที่เข้าร่วมหลากหลาย อาชีพทั้ง ครู แพทย์ พยาบาล และประชาชน อาจกล่าวได้ว่าภาคประชาชนในแต่ละพื้นที่ของจังหวัด อ านาจเจริญ รวมถึงพื้นที่ต าบลเสนางคนิคมมีผู้น าตามธรรมชาติร่วมกันท าประเด็นต่างๆด้านการ พัฒนา รวมถึงมีแนวคิดเรื่องการจัดการตนเองอยู่เดิมแล้วเป็นพื้นฐานจนน าไปสู่การขับเคลื่อนการ ประกาศธรรมนูญในระดับจังหวัด พื้นที่ต าบลเสนางคนิยมก็มีลักษณะผู้น าโดยธรรมชาติที่ หลากหลาย เช่น กลุ่มพัฒนาบ้านเฮามีแนวคิดเรื่องการจัดการตนเอง ต้องการเห็นพื้นที่อยู่ดีมีสุข มี ความเอื้ออาทรกัน ชีวิตไม่เร่งรีบและเรียบง่าย เหตุเพราะพื้นที่เล็งเห็นว่าการบริหารจัดการภาครัฐ นั้นไม่สอดคล้องกับปัญหาและความต้องการของพื้นที่ ทั้ง ๆ ที่มีการจัดสรรงบประมาณจ านวนมาก แต่ปัญหาต่างๆ ก็ยังไม่ได้รับการแก้ไข กลุ่มเน้นที่เรื่องการศึกษาโดยเริ่มจากกิจกรรมหา ทุนการศึกษาให้กับเด็กที่ไม่มีทุนเรียน นอกจากนั้นยังมีการจัดตั้งกลุ่มเยาวชนรักนกรักป่า การจัด ค่ายพัฒนาเยาวชนรักนกรักป่า มีการขยายเครือข่ายกลุ่มเยาชนออกไป 6 หมู่บ้านและน าไปสู่การ ขยายแนวคิดการจัดตั้งป่าชุมชนในเขตอ าเภอเสนางคนิคม อย่างไรก็ตาม จากการติดตามและประเมินผลกิจกรรม กลุ่มตระหนักว่าประเด็นความ ยากจนมีสาเหตุที่ซับซ้อนเกินกว่าจะแก้ไขปัญหาที่ปลายเหตุด้วยการหาทุนการศึกษาให้กับเด็กที่มา จากครอบครัวยากจน ในปีพ.ศ.2551 จังหวัดอ านาจเจริญได้มีการประชุมร่วมกันและเห็นตรงกันว่า การท างานในภาคประชาชนที่ไม่ได้รับการหนุนเสริมจากภาครัฐจะท าให้งานไม่บรรลุผลส าเร็จ จึง เกิดการเคลื่อนให้เกิดสภาองค์กรชุมชนให้เต็มทุกพื้นที่จังหวัดอ านาจเจริญ ในพื้นที่เสนางนิคมมีการ พูดคุยกันในกลุ่มเล็กๆ ก่อนจนเกิดการจัดตั้งสภาองค์กรฯ 22 ธค.51 โดยเห็นชอบร่วมกันของคนใน ชุมชน โดยเน้นที่การแก้ปัญหาความยากจนและชีวิตความเป็นอยู่ของคนในพื้นที่ ยิ่งไปกว่านั้นใน พื้นที่ยังเห็นถึงคุณูปการของรัฐธรรมนูญปีพศ. 2540 ที่เปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในด้าน ต่างๆ มากขึ้น สะท้อนให้เห็นถึงความตื่นตัวในทางการเมืองของประชาชนในพื้นที่ได้เป็นอย่างดี นอกจากนั้น จะเห็นได้ว่าการจัดตั้งสภาองค์กรชุนชนเทศบาลต าบลเสนางคนิคมก็เกิดจากการ รวมตัวของทุนทางสังคมที่มีอยู่เดิมแล้วจากตัวแทนกลุ่มต่างๆ ในชุมชนที่มีการรวมกลุ่มกันเพื่อ ด าเนินกิจกรรมต่างๆ ของกลุ่มอยู่เดิมแล้ว ได้แก่ กลุ่มเกษตรอินทรีย์ กองทุนเงินล้าน กลุ่มพัฒนา


17 บทบาทสตรี ฌาปนกิจสงเคราะห์ เลี้ยงโคเนื้อ และกลุ่มรักโลกรักป่า ซึ่งกลุ่มต่างๆเหล่านี้เป็นกลจักร ที่ส าคัญในการขับเคลื่อนการท างานของสภาองค์กรชุมชนต าบลเสนางคนิคมหลังจากมีการจัดตั้ง สภาองค์กรชุมชนขึ้นอย่างเป็นทางการ พื้นที่ต าบลเสนางคนิคมและจังหวัดอ านาจเจริญมีทุนทางสังคมและทุนมนุษย์ในลักษณะ ผู้น าตามธรรมชาติและจิตอาสาในการขับเคลื่อนประเด็นการพัฒนาเพื่อท้องถิ่นและชุมชนอย่าง ต่อเนื่อง นับตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน ทุนทางสังคมและทุนมนุษย์นี้เองเป็นปัจจัยหนึ่งที่ส าคัญที่ท าให้ พื้นที่ต าบลเสนางคนิคมมีความเข้มแข็งในการขับเคลื่อนกิจกรรมต่างๆ เพื่อท าให้ชุมชนพัฒนา สอดคล้องกับเป้าหมายที่ว่า “การท าให้ประชาชนทุกคนมีความสุขมีรายได้ที่เพียงพอจากการ ด ารงชีวิต มีสุขภาพที่ดี มีทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อที่เอื้ออ านวยต่อการประกอบอาชีพ” ในมิติด้านสังคมการเมือง มีการจัดท า"ธรรมนูญประชาชนคนอ านาจเจริญ" ขึ้นเพื่อเป็น ข้อตกลงร่วมกันของชุมชนในพื้นที่จังหวัดที่ใช้ร่วมกัน โดยมุ่งหวังท าให้เกิดสังคมที่อยู่เย็นเป็นสุข ทั้ง ด้านปัจจัยพื้นฐานของมนุษย์ การจัดสรรทรัพยากรที่เป็นธรรม อีกทั้งเกิดสมดุลในการพัฒนาด้าน เศรษฐกิจ สังคม และการเมือง บนพื้นฐานของภูมิปัญญา ขนบธรรมเนียมประเพณีของจังหวัด อ านาจเจริญ และหลักคิดการพึงตนเองตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง (คณะท างานสนับสนุนการ ขับเคลื่อนธรรมนูญประชาชนฅนอ านาจสู่เมืองธรรมเกษตร, 2556, น.30) และหลังจากการ ประกาศใช้ธรรมนูญก็เป็นจุดเริ่มต้นของการขับเคลื่อนอ านาจเจริญสู่เมืองธรรมเกษตร เครือข่าย ประชาชนคนอ านาจเจริญร่วมกับ องค์การบริหารส่วนจังหวัดอ านาจเจริญ ได้ประกาศทิศทางการ พัฒนาจังหวัดอ านาจเจริญสู่ "เมืองธรรมเกษตร" เมื่อวันที่ 18 มีนาคม 2556 เพื่อขับเคลื่อนให้เป็น วาระของจังหวัดต่อไป (สภาเกษตรกรจังหวัดอ านาจเจริญ, 2559) พื้นที่ต าบลเสนางคนิคมมีเทศบาลต าบลเสนางคนิคมบริหารงานในเขตพื้นที่ โดยได้รับการ ยกฐานะมาจากสุขาภิบาลในวันที่ 25 พฤษภาคม 2542 ตามพ.ร.บ. เปลี่ยนแปลงฐานะสุขาภิบาล เป็นเทศบาล พ.ศ. 2542 วิสัยทัศน์ เทศบาลต าบลเสนางคนิคม คือ “ต าบลแห่งความสุข สงบ และ ร่มเย็น” เป้าหมายการพัฒนาของเทศบาลได้แก่ “การท าให้ประชาชนทุกคนมีความสุขมีรายได้ที่ เพียงพอจากการด ารงชีวิต มีสุขภาพที่ดี มีทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อที่เอื้ออ านวยต่อการ ประกอบอาชีพ” ยุทธศาสตร์ในการพัฒนาของเทศบาลต าบลเสนางคนิคมประกอบไปด้วย 6 ยุทธศาสตร์ที่ส าคัญได้แก่ (1) พัฒนาระบบเกษตรอินทรีย์ (2) พัฒนาคุณภาพชีวิต (3) พัฒนาระบบ เศรษฐกิจและทุนชุมชน (4) พัฒนาระบบสวัสดิการชุมชน (5) พัฒนาการเมืองภาคพลเมือง และ(6) พัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จะเห็นถึงความสอดคล้องกันของแนวคิดและนโยบาย


18 การพัฒนาจากธรรมนูญจังหวัดที่ได้แทรกซึมเข้าไปสู่แนวทางการพัฒนาของเทศบาลต าบลเสนางค นิคมที่มุ่งเน้นความสงบสุข คุณภาพชีวิต และระบบเกษตรอินทรีย์ จากการขับเคลื่อนธรรมนูญประชาชนฅนอ านาจสู่เมืองธรรมเกษตรที่มีการส่งเสริมการท า เกษตรอินทรีย์ พื้นที่ต าบลเสนางคนิคมก็ร่วมกันขับเคลื่อนท าให้เกิด “ธรรมนูญประชาชนต าบลเส นางคนิคม ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2561” (สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน.(ม.ป.ป.) ซึ่งก็มีการกล่าวถึงการลดใช้ สารเคมีในไร่นาและการท าเกษตรอินทรีย์ รวมถึงนโยบายเกษตรแปลงใหญ่ ท าให้ต าบลเสนางค นิคมมีการจัดตั้งกลุ่มต่างๆ ที่เกี่ยวกับการเกษตรและเกษตรอินทรีย์ ได้แก่ กลุ่มวิสาหกิจข้าวอินทรีย์ บ้านบกเป็นการรวมหุ้นกันประกอบการวิสาหกิจชุมชน กลุ่มนาแปลงใหญ่เพื่อรวมกลุ่มเกษตรกร และกลุ่มวิสาหกิจชุมชนปลูกกล้วยอินทรีย์รวมตัวกันเพื่อปลูกกล้วยอินทรีย์ ส่วนมิติด้านเศรษฐกิจและการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน สภาองค์กรชุมชนต าบล เสนางคนิคมยังมีการด าเนินกิจกรรมต่างๆ อีกเป็นจ านวนมากเพื่อเสริมสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีของคน ในชุมชน เช่น กองบุญสวัสดิการชุมชน ที่เกิดจากการขับเคลื่อนของสภาองค์กรชุมชนต าบลเสนางค นิคมตั้งแต่ปีพ.ศ. 2552 มีสมาชิกเริ่มแรกเมื่อเริ่มก่อตั้ง ประมาณ 350 คน ปัจจุบันมีสมาชิกถึง 1,990 คน เงินทุนประมาณ 1,500,000 บาท การท างานมีลักษณะเป็นจิตอาสาและคนรุ่นใหม่เข้า มาด าเนินกิจกรรม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนคนในชุมชน เรื่องการเกิด เจ็บ เสียชีวิต และ ทุนการศึกษาบุตรของสมาชิก ระดมทุนเพื่อส่งเสริมกลุ่มอาชีพในชุมชนและการศึกษา เป็นสื่อกลาง ในการพัฒนาคนด้านจิตใจให้มีคุณธรรมจริยธรรม อีกทั้งเป็นองค์กรที่ประสานองค์กรอื่นที่เกี่ยวกับ ด้านการเงินและงบประมาณเพื่อให้คนในชุมชนได้สานต่องาน งบประมาณที่ใช้ในการด าเนินงาน กองบุญได้มาจากสมาชิก พอช. และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การช่วยเหลือของกองบุญฯ ให้แก่ สมาชิกขึ้นอยู่สถานะทางการเงินและจ านวนผู้เจ็บป่วยและเสียชีวิตทั้งนี้หากมีการเปลี่ยนแปลงด้าน การช่วยเหลือแก่สมาชิกจะต้องมีการสื่อสารและท าความเข้าใจกับสมาชิกก่อน กลุ่มเกษตรอินทรีย์กลุ่มวิสาหกิจเพิ่มพลังชุมชน เสนางคนิคม มีแนวคิดที่จะอนุรักษ์การท า นาและการเลี้ยงสัตว์ โดยมีวิสัยทัศน์คือ “เกษตรกรมีอาชีพมั่นคง ชุมชนเข้มแข็ง น าเทคโนโลยี เชื่อมโยงภาคี พัฒนาสู่มาตรฐานสากล” กลุ่มมีการรวมตัวกันเพื่อพูดคุยตั้งแต่ปี 2547 เพราะมองเห็น ถึงกลุ่มต่างๆ ในพื้นที่ต่างคนต่างท าเป็นเครือข่ายของแต่ละกลุ่ม ในปี พ.ศ.2549 เริ่มจดจัดตั้งเป็น วิสาหกิจ ในตอนเริ่มต้นมีทั้งการปลูกข้าวทั่วไป (ข้าวเคมี) และข้าวอินทรีย์ โดยมีผู้ปลูกข้าวอินทรีย์ ประมาณ 10 ราย แต่ในปัจจุบันมีผู้ปลูกข้าวอินทรีย์เพิ่มขึ้นเป็น 80 ราย ได้มาตรฐานการรับรองจาก ประเทศเยอรมัน การขยายตัวของจ านวนสมาชิกเกษตรอินทรีย์เกิดจากนโยบายเกษตรอินทรีย์ล้าน ไร่ นอกจากนี้ กลุ่มจะได้สมาชิกที่เข้าร่วมโครงการข้าวล้านไร่กับภาครัฐอีก 55 ราย ในปัจจุบัน กลุ่ม วิสาหกิจเพิ่มพลังชุมชน เสนางคนิคม มีสมาชิกรวม 300 คน 25 ราย ขอรับรองมาตรฐานสากล มีทั้ง


19 ผู้ที่ปลูกข้าวโดยใช้ปุ๋ ยเคมีและปลูกข้าวอินทรีย์ โดยผลผลิตข้าวอินทรีย์จะน าไปขายให้กับกลุ่มที่ผลิต และจ าหน่ายข้าวอินทรีย์อีกต่อหนึ่ง เป้าหมายการเพิ่มจ านวนสมาชิกต่อไปคือ เกษตรกรที่ท า อินทรีย์แต่ไม่ขอรับรองมาตรฐาน รวมถึงคนที่กลับจากกรุงเทพฯ เนื่องจากสถานการณ์โควิด 19 เพราะมีแนวโน้มว่าคนเหล่านี้จะไม่กลับไปท างานที่กรุงเทพฯ กลุ่มจึงต้องการที่จะชักชวนให้เข้าร่วม กลุ่มเพื่อขับเคลื่อนเกษตรอินทรีย์และหาแนวทางการประกอบอาชีพในชุมชนต่อไป กลุ่มผู้สูงอายุเป็นการรวมกลุ่มกันเพื่อขับเคลื่อนกิจกรรมด้านสังคม ด้วยการจัดตั้งกองทุนที่ แยกออกมาจากกองบุญสวัสดิการที่ได้กล่าวข้างต้น โดยมีวัตถุประสงค์หลัก 3 ประการคือ เป็นเวที แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ช่วยเหลือผู้สูงอายุ และจัดกิจกรรมส่งเสริมด้านสังคม ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี สุขภาพ สวัสดิการ เศรษฐกิจความเป็นอยู่ กิจกรรที่ส่งเสริมได้แก่ การท าบุญ การอบรมให้ ผู้สูงอายุตระหนักถึงความส าคัญของการออกก าลังกายอย่างสม ่าเสมอ ด้านเศรษฐกิจกลุ่มจะท าการ ประสานกับกลุ่มเศรษฐกิจเพื่อให้ผู้สูงอายุมีรายได้เสริม กลุ่มวิสาหกิจชุมชนกล้วยอินทรีย์เป็นกลุ่มที่ด าเนินกิจกรรมด้านเศรษฐกิจ ส่งเสริมให้ ชาวบ้านหันมาปลูกกล้วยอินทรีย์ตั้งแต่ปี 2561 และได้มีการส่งเสริมการแปรรูปกล้วยที่ปลูกเพื่อ ไม่ให้กล้วยล้นตลาด โดยเชิญวิทยากรมาอบรมให้ความรู้ในการแปรรูป มีผลิตภัณฑ์ เช่น กล้วยฉาบ กล้วยเบรกแตก ข้าวแต๋น ข้าวบดเป็นผง กล้วยตาก กล้วยอบน ้าผึ้ง ชาใบข้าว เป็นต้น โดยใช้ ทรัพยากรที่เป็นทุนในพื้นที่ คือ ข้าวจากกลุ่มทุ่งรวงทองและแหมสุขออร์แกนนิค และกล้วยอินทรีย์ จากกลุ่มกล้วยอินทรีย์ กลุ่มปลูกป่ า เป็นกลุ่มเยาวชน ปราชญ์ชุมชน และคนในชุมชน ร่วมท างานเพื่อเสริมสร้าง จิตส านึกเรื่องการอนุรักษ์ป่าและทรัพยากรธรรมชาติโดยมีสภาองค์กรชุมชนต าบลเสนางคนิคมเป็น ที่ปรึกษา กิจกรรมหลักของกลุ่มคือ ท าการส ารวจพื้นที่ปาในเทศบาลต าบลเสนางคนิคม ปลูกต้นไม้ และท าแนวกันไฟ กลุ่มเยาวชนรักโลกรักป่ า เป็นกลุ่มที่ก่อตั้งแต่เมื่อ 20 ปีที่แล้ว โดยมีคุณวานิชย์ บุตรี เป็นผู้ ก่อตั้งกลุ่ม กิจกรรมที่ส าคัญได้แก่ กิจกรรมการเดินป่า และเรียนรู้ภูมิปัญญาพื้นบ้าน และการจัดท า สื่อต่างๆ เกี่ยวกับกิจกรรมกลุ่ม โดยมีรุ่นพี่ที่เคยเข้าร่วมกิจกรรมกับกลุ่มเป็นพี่เลี้ยงให้กับสมาชิกรุ่น หลัง กลุ่มสัจจะสะสมทรัพย์เป็นกลุ่มด้านการออมอีกกลุ่มที่ได้รับการตอบรับที่ดีจากชุมชน เนื่องจากใช้แนวคิดการออมวันละหนึ่งบาท และสามารถซื้อหุ้นได้เพื่อรับเงินปันผลทุกปี สมาชิกส่วน


20 ใหญ่เป็นผู้สูงอายุ กองทุนสัจจะสะสมทรัพย์จัดตั้งเมื่อปีพ.ศ.2554 สมาชิกประมาณ 100คน มีเงินทุน 200,000 บาท นอกจากนั้นพื้นที่บ้านหนองทับม้า อ.เสนางคนิคม ยังเป็นหนึ่งในพื้นที่น าร่องของ โครงการวิจัยเพื่อพัฒนาพื้นที่และแก้ไขปัญหาความยากจนแบบเบ็ดเสร็จและแม่นย า จังหวัด อ านาจเจริญ ด าเนินการวิจัยโดยมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ภายใต้การสนับสนุนจากหน่วยบริหาร และจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.) ตั้งแต่ปี 2563 โครงการและชุมชนได้ฟื้นฟูระบบ ธนาคารข้าวที่เรียกว่า “กองบุญข้าวปันสุข” ขึ้นเพื่อระดมทุนจากทุกภาคส่วนจัดหาข้าวให้กับคนจน ควบคู่ไปกับการจับคู่คนจนกับหน่วยงานในพื้นที่ เช่น ท้องถิ่น พอช.เพื่อซ่อมที่อยู่อาศัยให้กับคน ยากจนในพื้นที่ (บ้านเมือง, 2563) พื้นที่ต าบลเสนางคนิคมเป็นพื้นที่ที่มีความเข้มแข็งในการรวมกลุ่มทั้งกลุ่มด้านสังคมและ อาชีพ สรุปได้ ตามข้อมูลในตารางด้านล่างนี้(สภาองค์กรชุมชนเทศบาลต าบลเสนางคนิคม, 2564, หน้า 7-8) กลุ่มองค์กรทางสังคม ล าดับ ชื่อกลุ่ม ชื่อผู้ประสานงาน เบอร์โทร ลักษณะกลุ่ม 1 สภาองค์กรชุมชน เทศบาลต าบล เสนางคนิคม นายวานิชย์ บุตรี 089-424- 7693 รับรองตามกฎหมาย พรบ.สภาองค์กร ชุมชน 2 กองบุญสวัสดิการ ชุมชนเทศบาล ต าบลเสนางคนิคม นางสาวประภากร สืบ สิน 090-832- 9078 สมทบเงินเพื่อจ่าย สวัสดิการแก่สมาชิก กลุ่ม 3 ชมรมผู้สูงอายุ เทศบาลต าบลเส นางคนิคม สมาชิก กลุ่ม 577 คน นายสมบูรณ์ บุพศิริ 091-006- 1859 กองทุนสงเคราะห์ สมทบ 50 บาท พัฒนาคุณภาพชีวิต 4 กลุ่มพัฒนาบทบาท สตรีจ านวน 2 ชุมชน นางเยี่ยม สุริยะศรี - กู้ยืมประกอบอาชีพ 5 กลุ่มฌาปนกิจ สงเคราะห์ นายบุญร่วม พุทธขันธ์ นายเหลี่ยม จันธิมา 082-373- 8455 สมทบ 20 บาท สมทบ 30 บาท


21 ล าดับ ชื่อกลุ่ม ชื่อผู้ประสานงาน เบอร์โทร ลักษณะกลุ่ม จ านวน 3 กลุ่ม นายสมปอง พุทธขันธ์ 089-213- 8439 086-865- 3915 สมทบ 40 บาท 6 กองทุนหมู่บ้าน นายชาตรี ศรีจันทร์ 090-265- 0120 ทุนกู้ยืม 8 กองทุนเงินล้าน นายประกอบ มุทุกันต์ - ทุนกู้ยืม 9 กลุ่มสัจจะสะสมทรัพย์ 7 ชุมชน นายเหลี่ยม จันธิมา 089-213- 8439 ทุนกู้ยืม,การออม ทรัพย์ กลุ่มองค์กรด้านอาชีพ ล าดับ ชื่อกลุ่ม ชื่อผู้ประสานงาน เบอร์โทร ลักษณะกลุ่ม 1 กลุ่มวิสาหกิจข้าว อินทรีย์บ้านบก นายสิริศักดิ์ ทองแก้ว 085-447- 4696 รวมหุ้นกันเป็น วิสาหกิจชุมชน 2 กลุ่มนาแปลงใหญ่ นายศิริศักดิ์ ทองแก้ว 085-447- 4696 รวมกลุ่มเกษตรกร 3 กลุ่มวิสาหกิจชุมชน ปลูกกล้วยอินทรีย์ นายวิจิตร บุตรี 087-251- 7150 รวมตัวกันปลูก กล้วยอินทรีย์ 4 กลุ่มเลี้ยงโคเนื้อ นพค.51 จ านวน 2 กลุ่ม นางสมใจ มารักษ์ นายบุญร่วม พุทธขันธ์ - 082-373- 8445 เลี้ยงโคเนื้อ จ าหน่าย,เป็นพ่อ พันธุ์ 5 กลุ่มเพิ่มพลังชุมชน นายวิไล ภูวงค์ 094-573- 9111 รวมกลุ่มเกษตรกร ท านาอินทรีย์ ส่วนที่ 2 การสนับสนุนจาก พอช. (input) สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (พอช.) เริ่มเข้าไปมีบทบาทในพื้นที่หลังจากมีพระราชบัญญัติ สภาองค์กรชุมชน พ.ศ.2551 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เนื่องจากบทบาทหน้าที่ส าคัญของพอช.


22 คือ การขับเคลื่อนงานสภาองค์กรชุมชนให้เครือข่ายองค์กรชุมชนทุกระดับ ส่งเสริมการจดแจ้งการ จัดตั้งสภาองค์กรชุมชน สนับสนุนให้สภาองค์กรชุมชนที่จัดตั้งแล้ว เป็นเวทีกลางในการเชื่อมโยง งานพัฒนาด้านต่าง ๆ ของชุมชนในระดับต าบลและจังหวัด อีกทั้งส่งเสริมให้การด าเนินงานของสภา องค์กรชุมชนให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ในพื้นที่เองมองว่าพระราชบัณญัตินี้ช่วยหนุนเสริมให้ ชุมชนเกิดความเข็มแข็งมากขึ้น โดยพอช.ท างานร่วมกับชุมชนผ่านสภาองค์กรชุมชนระดับต าบล ด้วยการเข้าไปช่วยหนุนเสริมและขับเคลื่อนประเด็นต่างๆ ในพื้นที่ เช่น ประเด็น เกษตรปลอด สารพิษ ข้าวอินทรีย์ ด้านอาชีพ กองทุนสวัสดิการ การร่วมประชุมเพื่อพัฒนาแผนพัฒนาชุมชน ท้องถิ่น แผนขับเคลื่อนชุมชนเพื่อท าให้คนในพื้นที่ต าบลเสนางคนิคมมีข้าวพอกิน เนื่องจากในพื้นที่ ประสบปัญหาข้าวไม่เพียงพอต่อการบริโภคภายในชุมชนจากปัญหาภัยแล้ง น ้าท่วม รวมถึงการมี เนื้อที่ถือครองที่ดินทางการเกษตรจ านวนไม่เพียงพอ การสนับสนุนการด าเนินงานขบวนองค์กร ชุมชนของสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน สามารถแบ่งได้ดังนี้ 1. ขบวนองคก์รชุมชนจงัหวดัอา นาจเจริญ ขบวนองค์กรชุมชนจังหวัดอ านาจเจริญเป็ นองค์กรแบบหลวมๆเชิงราบ มาจากผู้ ประสานงานจากอ าเภอๆ ละ 2-3 คน ซึ่งผู้ประสานจากอ าเภอจะมีพื้นที่ท างานและมีประเด็นความ ช านาญต่างกันมารวมกัน เช่น ส านักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) สภาองค์กร ชุมชน เครือข่ายต่างๆ เช่น เครือข่ายเยาวชน เครือข่ายงานด้านสตรี เครือข่ายด้านป่า เครือข่าย ด้านน ้า เครือข่ายด้านการเกษตร เป็นต้น ขบวนองค์กรชุมชนจังหวัดอ านาจเจริญมีจ านวน 25 คน ประกอบด้วย ผู้จัดการ 1 คน ท าหน้าที่คอยประสานงาน ทีมกองเลขา ดูแลส่งงาน ติตามงานจาก พื้นที่ต าบล รวมถึงงานด้านการประสานภาคีจากส่วนกลางทั้งพอช. สสส. สช. ฯลฯ และด้าน งบประมาณ ผู้ประสานท าหน้าที่ประสานทีมงานต าบลจากอ าเภอตนเอง เสริมความเข้มแข็งให้กับ สภาองค์การชุมชนต่างๆ ในอ าเภอ 2. การจัดท าแผนงานประจ าปี สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน) สนับสนุนให้ขบวนองค์กรชุมชนจังหวัด อ านาจเจริญจัดท าแผนปฎิบัติการประจ าปี ดังนี้ 2.1 เจ้าหน้าที่พอช.จะมาให้ข้อมูลกรอบ/เกณฑ์/ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้ขององคกรในแต่ละปี


23 2.2 หลังจากนั้นขบวนองค์กรชุมชนจังหวัดอ านาจเจริญจะคุยกันภายใต้กรอบเกณฑ์ดังกล่าวว่า จะสามารถน ากรอบและเกณฑ์เหล่านั้นมาเป็นเครื่องมือในการเคลื่อนสู่เป้าหมายของเมือง ธรรมเกษตรได้อย่างไรบ้าง 2.3 เมื่อสิ้นกระบวนการในข้อสองแล้วขบวนองค์กรชุมชนจังหวัดอ านาจเจริญจะจัดท าโครงการ เพื่อน าเข้าสู่กระบวนการกลั่นกรองและพิจารณาโครงการ โดยจะมี เจ้าหน้าที่ สถาบันพัฒนา องค์กรชุมชน ส านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด องค์การบริหารส่วน จังหวัด ส านักงานสาธารณสุขจังหวัด แกนน าขบวนองค์กรชุมชนจังหวัดอ านาจเจริญ ร่วม พิจารณากลั่นกรองโครงการ 3. การสนับสนุนงบประมาณ การสนับสนุนด้านงบประมาณในช่วง 2-3 ปีแรกหลังการจัดตั้งสภาองค์กรชุมชนต าบล พอช. ให้งบประมาณสนับสนุนปีละหนึ่งหมื่นบาท เพื่อประชุมพูดคุยท าความเข้าใจถึงแนวทางการท างาน ร่วมกันเนื่องจากสภาองค์กรชุมชนต าบลเพิ่งเริ่มจัดตั้งขึ้นและจัดท าแผนพัฒนาตนเอง เพื่อให้สมาชิก แต่ละคนซึ่งท างานแตกต่างกันไปในแต่ละประเด็นของตนเอง ให้สามารถหาจุดร่วมเพื่อขับเคลื่อน งานพัฒนาชุมชนร่วมกันได้ นอกจากนั้น พอช.ยังมีการจัดสรรงบประมาณประจ าปีเพื่อสนับสนุนให้กับสภาองค์กรชุมชน ต าบลเสนางคนิคม แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ งบเสริมสร้าง ใช้ส าหรับการพัฒนาความเข้มแข็งของ สภาองค์กรชุมชนต าบล และงบสมทบ ใช้ส าหรับสนับสนุนกิจกรรมพัฒนาในต าบล เช่น งบสมทบ กองทุนสวัสดิการต าบล และงบสร้างบ้านพอเพียง เป็นต้น โดยสภาองค์กรชุมชนต าบลเสนางคนิคม จะบริหารจัดการงบประมาณซึ่งแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ (1) งบประมาณส าหรับพัฒนาความเข้มแข็งของ สภาองค์กรชุมชน และ (2) งบประมาณส าหรับส่งเสริมพัฒนากลุ่มองค์กรชุมชนให้เข้มแข็ง ในแต่ละปีสภาองค์กรชุมชนแต่ละต าบล จะได้รับงบประมาณพัฒนาสภาองค์กรชุมชนไม่ เท่ากัน ขึ้นอยู่กับการประเมินความเข้มแข็งของขบวนองค์กรชุมชนจังหวัด และมีงบประมาณ สนับสนุนไม่ครอบคลุมทุกพื้นที่ ขบวนองค์กรชุมชนจังหวัดมีการประเมินการท างานของสภาองค์กร ชุมชน และจัดสรรงบประมาณพัฒนาสภาองค์กรชุมชนประจ าปี โดยแบ่งตามล าดับขั้นความเข้มแข็ง ดังนี้


24 งบประมาณ/ต าบล วัตถุประสงค์ 10,000 บาท เพื่อสนับสนุนให้สภาองค์กรชุมชนต าบลทบทวนการท างานที่ผ่านมา 20,000 บาท เพื่อสนับสนุนให้สภาองค์กรชุมชนต าบลท าแผนงานไปเชื่อมโยงภาคีความ ร่วมมือ 32,000 บาท เพื่อสนับสนุนให้สภาองค์กรชุมชนต าบลจัดท าแผนธุรกิจชุมชน 45,000 บาท เพื่อสนับสนุนให้สภาองค์กรชุมชนต าบลพัฒนาต่อยอดธุรกิจชุมชนให้เป็น ตัวอย่างต้นแบบ นอกจากนั้นพอช.และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในท้องถิ่นได้สนับสนุนงบประมาณการ ด าเนินงานโครงการต่างๆ ให้กับสภาองค์กรชุมชนต าบลทต.เสนางคนิคมอีก ตัวอย่างเช่น จากข้อมูล แผนพัฒนาสภาองค์กรชุมชนเทศบาลตาบลเสนางคนิคม ปี 2559 ได้รับงบประมาณสนับสนุน โครงการต่างๆ เช่น โครงการการพัฒนาศักยภาพสภาองค์กรชุมชนต าบลทต.เสนางคนิคม โครงการ ส่งเสริมการประกอบอาชีพเกษตรของต าบลทต.เสนางคนิคม โครงการสนับสนุนการจัดสวัสดิการ ชุมชนต าบลทต.เสนางคนิคม โครงการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติปลูกป่ าในพื้นที่ป่ าชุมชน โครงการส่งเสริมและสนับสนุนกลุ่มอาชีพของสภาองค์กรชุมชนต าบลทต.เสนางคนิคม และ โครงการการจัดการและดูแลทรัพยากรธรรมชาติต าบลทต.เสนางคนิคม (สภาองค์กรชุมชนเทศบาล ต าบลเสนางคนิคม, 2559, หน้า 21-22) ในปี 2563 มีการจัดท าโครงการต าบลรูปธรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตเทศบาลต าบลเสนางค นิคม ได้แก่ โครงการพัฒนาที่อยู่อาศัย เพื่อท าการส ารวจข้อมูลผู้ยากไร้ และเสนอขอรับการ ช่วยเหลือจากหน่วยงานองค์กรต่างๆ เช่น บ้านมั่นคง บ้านพอเพียง บ้านกาชาด ฯลฯ ได้รับการ สนับสนุนงบประมาณจ านวน 200,000 บาท จากองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น พอช. และ สภากาชาด (สภาองค์กรชุมชนเทศบาลต าบลเสนางคนิคม, 2563, หน้า 11-20) 4. การติดตามสนับสนุน บทบาทในการหนุนเสริมการท างานของสภาองค์กรชุมชนต าบลทต.เสนางคนิคม พอช.มี การลงพื้นที่ปฏิบัติการ รวมถึงติดตามประเมินผลทั้งระดับจังหวัดและระดับต าบลอย่างต่อเนื่องทุก เดือน ในพื้นที่เทศบาลต าบลเสนางคนิคม พอช.มีการจัดอบรมผ่านเวทีต่างๆ เช่น แนวคิดธรรมนูญ การเกษตร การจัดการน ้า การอบรมการจัดสวัสดิการ การอบรมแกนน า การอบรมโปรแกรมเพื่อจัด


25 สวัสดิการ (ท าให้มีความโปร่งใส ตรวจสอบสถานะการเงินได้) การจัดท าแผนพัฒนาชุมชนตนเอง โดยหัวข้อการอบรมเป็นไปตามความต้องการและภาระงานหลักของพื้นที่เป็นส าคัญ ตัวอย่างที่ส าคัญของการหนุนเสริมจากพอช.ให้กับสภาองค์กรชุมชนต าบลทต.เสนางคนิคม คือ การประสานความร่วมมือที่เกิดจากพื้นที่มีการประเมินตนเองและพบว่า การด าเนินงานของ พื้นที่ที่ผ่านมาขาดทิศทางในการด าเนินงานด้านวิชาการ พอช. ประสานทีมนักวิชาการ จาก มหาวิทยาลัยสารคาม มหาวิทยาลัยขอนแก่น และมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี โดยเป็นการประสาน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาคีระดับอ าเภอ เทศบาล พอช. พัฒนาชุมชน มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี และส านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุผาย์ (พมจ.) จนน าไปสู่ความร่วมมือโครงการวิจัย กับมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ในการพัฒนาพื้นที่และแก้ไขปัญหาความยากจนแบบเบ็ดเสร็จและ แม่นย าจังหวัดอ านาจเจริญเพื่อแก้ไขปัญหาความยากจนในพื้นที่จนเกิด “กองบุญข้าวปันสุข” ขึ้น (สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน, 2564, หน้า1) 5. โครงการพัฒนาศักยภาพแกนน าชุมชน เพื่อผลิตสินค้าและทา การตลาด ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน ได้มีแนวทางการสนับสนุน โครงการพัฒนาและเชื่อมโยงกลุ่มธุรกิจชุมชน เพื่อสนับสนุนเศรษฐกิจชุมชนด้วยการให้การส่งเสริม กลุ่มธุรกิจชุมชนให้จัดท าแผนธุรกิจที่สอดคล้องกับศักยภาพของกลุ่มและทุนในชุมชน เพื่อเสริมสร้าง ให้พื้นที่ต้นแบบชุมชนท้องถิ่นมีความเข็มแข็งสามารถจัดการตนเองได้ พื้นที่จึงได้เห็นถึงโอกาสใน การพัฒนาศักยภาพธุรกิจชุมชน เนื่องจากได้มีการวิเคราะห์ถึงสภาพปัญหาในพื้นที่ว่า ประชากร ส่วนใหญ่ในพื้นที่เทศบาลต าบลเสนางคนิคมมีอาชีพหลักคือ การท านา และมีอาชีพเสริมคือการ ปลูกพืชเลี้ยงสัตว์แม้ในพื้นที่จะมีการจัดตั้งกลุ่มต่างๆ จ านวนมากทั้งกลุ่มทางการเงิน กลุ่มการผลิต ด้านการเกษตรและกลุ่มสินค้า OTOP แต่กลุ่มต่างๆ ก็ยังแยกกันผลิตและจ าหน่ายสินค้า แม้จะเป็น ผู้ผลิตและมีผลิตภัณฑ์แต่ก็ขาดอ านาจในการต่อรองและถูกเอาเปรียบด้านราคาจากกลุ่มพ่อค้าอยู่ เสมอ ด้วยเหตุนี้เองพื้นที่จึงได้มีการจัดเวทีพูดคุยกันของกลุ่มเกษตรกรในสภาองค์กรชุมชนต าบลเส นางคนิคม จากการส ารวจข้อมูลพบว่ามีกลุ่มอาชีพที่อยู่ในชุมชนที่มีกิจกรรมในการด าเนินงานผลิต สินค้าน ามาจ าหน่ายในชุมชน จ านวน 15 กลุ่ม และมีกลุ่มที่ด าเนินงานอย่างต่อเนื่องและมีความ เข้มแข็ง สามารถสร้างระบบเศรษฐกิจและรายได้ในชุมชนได้จ านวน 5 กลุ่ม ซึ่งกลุ่มต่างๆ มีการ ด าเนินงานอย่างต่อเนื่อง และสร้างสินค้าเพื่อใช้ในการบริโภคทั้งจ าหน่ายในชุมชนและนอกพื้นที่ ชุมชน สภาองค์กรชุมชนเทศบาลต าบลเสนาคนิคม จึงได้ชักชวนกลุ่มต่างๆ เหล่านี้มาร่วมวิเคราะห์ เพื่อหาแนวทางในการด าเนินธุรกิจเพื่อเพิ่มมูลค่าและเพิ่มรายได้ให้แก่สมาชิกกลุ่มและคนในชุมชน


26 ได้อย่างไร แต่เดิมนั้นเกษตรกรเมื่อได้ผลผลิตแล้วก็น าไปจ าหน่าย ไม่ได้มีการแปรรูปเป็นสินค้าอื่น หรือเมื่อมีการแปรรูปแล้วก็มองไม่ออกว่าจะ “สร้างตลาด” “สร้างแบรนด์” อย่างไรให้เกิดการพัฒนา และความยั่งยืน ดังนั้นสภาองค์กรชุมชนจึงได้จัดท า “โครงการพัฒนาศักยภาพแกนน าชุมชนเพื่อ ผลิตสินค้าและท าการตลาด” เพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (พอช.) จ านวน 32,000 บาท เพื่อให้เกิดความต่อเนื่องในการด าเนินงานในพื้นที่ อีกทั้งเล็งเห็น โอกาสในการขับเคลื่อนงานด้วยการใช้ข้อมูลเป็นเครื่องมือในการน าทางเพื่อเจรจาต่อรอง และจัดท า แผนปฏิบัติการในการเชื่อมโยงไปสู่ธุรกิจของกลุ่มต่างๆได้ และที่ส าคัญจะต้องรวมกลุ่มวิสาหกิจ ชุมชน ที่มีในต าบลมาจัดท าโครงการผลิตสินค้าแปรรูปผลิตภัณฑ์ชุมชน และได้จัดท าตลาดชุมชน ตลาดออนไลน์ เพื่อเพิ่มรายได้จากสินค้า ส่วนที่ 3 นวัตกรรมและกระบวนการ (process) เมื่อพิจารณานวัตกรรมชุมชนกรณี “โครงการพัฒนาศักยภาพแกนน าชุมชนเพื่อผลิตสินค้า และท าการตลาด” สามารถพิจารณาเป็นรายประเด็นได้ 6 ประเด็นดังต่อไปนี้ 1. ประเดน ็ ความใหม่หรือไม่ของสิ่งที่เกิดขึ้นในพื้นที่ พบว่ามีทั้งที่ไม่ใช่สิ่งใหม่และเป็นสิ่งใหม่เกิดขึ้นในพื้นที่ สิ่งที่ทั้งสี่กลุ่มที่ร่วมโครงการท าอยู่ เดิมแล้วคือ กลุ่มวิสาหกิจทุ่งรวงทอง กลุ่มเห็มสุขออร์แกนิค กลุ่มเกษตรพอเพียง แม่อนันต์นคร และ กลุ่มวิสาหกิจกล้วยอินทรีย์ มีการแปรรูปผลผลิตออกจ าหน่ายแล้ว แต่การแปรรูปนั้นเป็นแปรรูปที่ อาศัยองค์ความรู้ที่เคยปฏิบัติมาตามความเคยชิน ดังนั้นการอบรมเรื่องการแปรรูปท าให้ ผู้ประกอบการเกิดความรู้และความเชี่ยวชาญเรื่องการแปรรูปสินค้า ที่ถูกต้องตามหลักวิชาการการ สิ่งที่เกิดขึ้นใหม่ ได้แก่ การอบรมเพื่อสร้างช่องทางเพื่อขายสินค้าผ่านระบบออนไลนด์ ได้แก่ เว็บ ไซด์ เฟสบุ๊ค และไลน์ และการท าโลโก้แบรนสินค้า จังหวัดอ านาจเจริญมีเฟสบุ๊คประชาสัมพันธ์ขาย สินค้าของจังหวัดคือhttps://www.facebook.com/ตลาดสินค้าเมืองธรรมเกษตร-110164404621438 แต่ยังไม่ใช่ช่องทางจ าหน่ายสินค้าของกลุ่มโดยตรง และปัจจุบันกลุ่มอยู่ระหว่างการพัฒนาเพจชื่อว่า “แคทตาล๊อกโอท๊อปเสนาง”


27 ภาพที่3.1 ตราสินค้าผลิตภัณฑ์แปรรูปจากข้าวและกล้วยอินทรีย์ ภาพที่3.2 ตราสินค้าผลิตภัณฑ์แปรรูปจากข้าวและกล้วยอินทรีย์


28 ภาพที่3.3 ตราสินค้าผลิตภัณฑ์แปรรูปจากข้าวและกล้วยอินทรีย์ 2. ประเดน ็ การมีส่วนร่วมของชุมชนในการริเริ่ม จะเห็นได้ว่าการเกิดโครงการท าให้เกิดการมีส่วน่วมของคนในชุมชนตั้งแต่เริ่มต้น จากการ วิเคราะห์สภาพปัญหาและแนวทางการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นเทศบาลต าบลเสนางคนิคมร่วมกันของ พื้นที่ ที่มองเห็นปัญหาด้านรายได้ที่น้อยของเกษตรกรในพื้นที่ ราคาสินค้าทางการเกษตรตกต ่า เกษตรกรไม่สามารถก าหนดราคาสินค้าการเกษตรได้เอง และคนในชุมชนไม่มีงานท าหลังฤดูกาล เก็บเกี่ยว ดังนั้นการรวมกลุ่มแปรรูปสินค้าการเกษตรเพื่อก าหนดราคาเองได้จึงเป็นทางออกหนึ่งที่ จะช่วยแก้ไขปัญหาดังกล่าวข้างต้น แผนธุรกิจเพื่อชุมชนเทศบาลต าบลเสนางคนิคม อ าเภอเสนาค นิคม จังหวัดอ านาจเจริญ จึงเกิดขึ้นจากการจัดเวทีพูดคุยกัน ของกลุ่มเกษตรกรในสภาองค์กร ชุมชน ฯ รวมถึงการวางแผนร่วมกันในการส ารวจข้อมูลกลุ่มอาชีพที่อยู่ในชุมชน ที่มีกิจกรรมในการ ด าเนินงานผลิตสินค้าจ าหน่ายในชุมชนมีจ านวน 15 กลุ่ม และมีกลุ่มที่ด าเนินงานอย่างต่อเนื่องและ มีความเข้มแข็ง สามารถสร้างระบบเศรษฐกิจและรายได้ในชุมชนได้จ านวน 5 กลุ่ม ซึ่งทั้ง 5 กลุ่มนี้ มีการด าเนินงานอย่างต่อเนื่อง และผลิตสินค้าเพื่อใช้จ าหน่ายทั้งภายในและนอกชุมชน สภาองค์กร ชุมชนเทศบาลต าบลเสนาคนิคม จึงได้ชวนกลุ่มร่วมกันวิเคราะหาแนวทางในการด าเนินธุรกิจเพื่อ เพิ่มมูลค่า เพิ่มรายได้ ให้แก่สมาชิกกลุ่มแก่คนในชุมชนได้อย่างไร ซึ่งเดิมเกษตรกรเมื่อได้ผลผลิต แล้วก็น าไปจ าหน่าย ไม่ได้มีการแปรรูปหรือหากมีการแปรรูปก็ยังมองไม่เห็นแนวทางในการ “สร้าง ตลาด” “สร้างแบรนด์” และพัฒนาต่อไปอย่างไร สภาองค์กรชุมชนเทศบาลต าบลเสนางคนิคมจึง จัดท า “โครงการพัฒนาศักยภาพแกนน าชุมชน เพื่อผลิตสินค้าและท าการตลาด” ไปขอรับการ


29 สนับสนุนงบประมาณจากสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (พอช.) จ านวน 32,000 บาท เพื่อด าเนิน กิจกรรมตามโครงการ จะเห็นได้ว่าสภาองค์กรชุมชนเทศบาลต าบลเสนางคนิคมมีบทบาทน าในการ ชวนคนในพื้นที่ให้มีส่วนร่วมในการคิดวิเคราะห์ปัญหา ออกแบบวางแผนและด าเนินกิจกรรม โครงการร่วมกัน กิจกรรมส าคัญที่กลุ่มมีการด าเนินการโดยเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนได้เข้ามามีส่วน ร่วมสามารถสรุปได้ดังนี้ 1. การประชุมเพื่อวิเคราะห์ปัญหาของชุมชนและแนวทางการแก้ไขและการพัฒนา และ สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการและการด าเนินโครงการให้กับคนในพื้นที่ 2. การส ารวจ/ค้นหากลุ่มเป้าหมายที่ท าการผลิต แปรรูป จ าหน่ายทางการเกษตร 3. ประชุมกลุ่มเป้าหมาย เพื่อท าความเข้าใจเกี่ยวกับการด าเนินงานโครงการอีกครั้ง รวมถึงส ารวจทุนด้านต่างๆ ของกลุ่มเป้าหมาย ทั้งทุนด้านคน เงินทุน และทุนด้าน ความรู้ 4. การอบรมการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากข้าวและกล้วย โดยทั้งสี่กลุ่มข้างต้นเข้าร่วมการ อบรม มีการฝึกทดลองท าการแปรรูปหลายครั้งจนทักษะการแปรรูปพัฒนาในระดับที่น่า พอใจ จึงได้มีการจัดงานในพื้นที่เพื่อให้คนกลุ่มต่างๆ เข้าร่วมได้ชิมผลิตภัณฑ์ ซึ่งก็ ได้รับการตอบรับเป็นอย่างดี 5. กิจกรรมพัฒนาบรรจุภัณฑ์และสัญลักษณ์ (logo) สินค้า กลุ่มมีสินค้าหลัก 4 ชิ้นที่เป็น สินค้าน าร่องได้แก่ ข้าวแต๋น กล้วยฉาบ กล้วยเบรกแตก และกล้วยตาก ผลผลิตอื่นที่ เหลือก็มีการพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์เสริม เช่น ชาใบข้าว กล้วยผงออร์แกนิค ที่ผลิตเพื่อ ส่งจ าหน่ายให้กับผู้บริโภคนอกพื้นที่ เนื่องจากเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีราคาสูงและเป็น ผลิตภัณฑ์ที่มีลูกค้าเฉพาะกลุ่ม เช่น กลุ่มคนในเมืองที่มีรายได้ค่อนข้างสูง 6. การอบรมการค้าผ่านระบบหน้าร้านและออนไลน์ การสร้างเว็บเพจเพื่อน าเสนอ ผลิตภัณฑ์และขายออนไลน์ นอกจากการขายสินค้าในชุมชน ตัวอย่างเช่น มีการ ประชาสัมพันธ์สินค้าในหน้าเพจเฟสบุ๊คตลาดสินค้าเมืองธรรมเกษตร และขณะนี้กลุ่ม ก าลังพัฒนาเพจเพื่อขายผลิตภัณฑ์ของกลุ่มเองด้วย นอกจากนั้น การจัดตั้งตลาดเพื่อ จ าหน่ายสินค้าในชุมชนได้มีการประชุมร่วมกันภายในชุมชนว่าจะต้องมีร้านค้าขายของ ของตนเอง โดยมีการเสนอให้มีการปรับปรุงและเข้าไปใช้ร้านค้าชุมชนเก่าที่เคย ด าเนินงานตั้งแต่ปี 2547 โดยจัดตั้งเป็นร้านค้าวิสาหกิจชุมชนครึ่งหนึ่งและอีกครึ่งให้ เป็นส านักงานของสภาองค์กรชุมชนต าบลเสนางคนิคม เนื่องจากสภาองค์กรชุมชนนั้น ยังไม่ส านักงานที่ชัดเจน


30 จากการสัมภาษณ์คุณวาณิชย์ บุตรี พบว่า ชุมชนให้ความส าคัญกับตลาดและร้านค้าใน ชุมชนไม่น้อยกว่าการขายสินค้าออนไลน์ เห็นได้จาก มีการฟื้นตลาดนัดเกษตรปลอดภัยขึ้นมาใหม่ โดยส านักงานเกษตรอ าเภอเสนางคนิคมให้วัสดุอุปกรณ์แก่ชุมชนมาและคนในชุมชนต้องออกแรง สร้างและปรับปรุงพื้นที่เพื่อท าเป็นตลาดนัดเกษตรปลอดภัย โดยไม่มีค่าจ้างหรือค่าตอบแทนให้กับ คนที่มาช่วยงาน ตลาดนัดเกษตรปลอดภัยเปิดขายอีกครั้งเมื่อวันที่ 1 กันยายน 2564 หลังจากปิดไป เนื่องจากการแพร่ระบาดของโควิด 19 ตลาดนัดเกษตรปลอดภัยเป็นตลาดเปิดที่ขายทุกวัน ที่คนใน พื้นที่สามารถน าผลผลิตทางการเกษตรที่ไม่ใช้สารเคมีมาขายได้โดยไม่เสียค่าแผงค้า รวมถึง สามารถฝากบุคคลอื่นน าผลผลิตมาขายได้เช่นกัน และหากขายผลผลิตไม่หมดในวันนั้นๆ ก็สามารถ ฝากไว้ที่ร้านค้าวิสาหกิจชุมชนเพื่อลดภาระในการขนย้ายสินค้าไปมาของผู้ขาย นอกจากผลผลิตทาง การเกษตรแล้วตลาดยังมีอาหารจ าหน่ายด้วย โดยมีข้อก าหนดว่าทางร้านจะต้องใช้วัตถุดิบในการ ประกอบอาหารบางส่วนที่มีจ าหน่ายในตลาดเกษตรปลอดภัย ในส่วนของร้านค้าวิสาหกิจชุมชนจ าหน่ายสินค้าชุมชนที่คนในพื้นที่มาฝากขายโดยจะมีการ หักเปอร์เซ็นต์ไม่เกินร้อยละ 20 รวมถึงสินค้าที่ใช้ในชีวิตประจ าวันที่ใช้ระบบเงินเชื่อจากความเชื่อใจ ของคนภายนอกชุมชน เนื่องจากร้านค้าวิสาหกิจชุมชนยังไม่มีเงินทุนเพื่อซื้อสินค้าเงินสดได้ จะเห็น ได้ว่าโครงการยังเป็นการส่งเสริมและสนับสนุนให้คนในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมกับโครงการทั้ง ทางตรงและทางอ้อม จากการที่คนในชุมชนสามารถน าผลผลิตต่างๆ มาขายยังตลาดนัดเกษตร ปลอดภัยและร้านค้าสวัสดิการชุมชนที่เปิดขายทุกวัน รวมถึงคนในชุมชนที่ไม่ใช่ผู้ค้าก็มีร้านค้าและ ตลาดนัดที่สามารถซื้อสินค้าและอาหารที่ใช้ในการอุปโภคและบริโภคในชีวิตประจ าวัน ท าให้เกิด ระบบเศรษฐกิจหมุนเวียนภายในชุมชน ภาพที่4 ร้านค้าสวัสดิการชุมชน


31 3. ประเด็นความยากง่ายในการเข้าถึงและการท าความเข้าใจ พบว่าสิ่งที่เกิดขึ้นมีทั้งที่เข้าและเข้าถึงได้ไม่ยากแต่ก็มีส่วนที่เข้าถึงได้ค่อนข้างยากเช่นกัน ดังนี้สิ่งที่เข้าใจและเข้าถึงได้ไม่ยากคือ เทคนิควิธีการแปรรูปจากข้าวและกล้วยอินทรีย์ จากการ สอบถามถึงการอบรมวิธีการแปรรูปที่พัฒนาชุมชนว่าจ้างวิทยากรมาอบรมให้ว่า สิ่งที่อบรมนั้นมี ความเหมือนหรือต่างจากการแปรรูปที่เคยท าอย่างไร พื้นที่กล่าวว่าวิทยากรสอนในรายละเอียด ปลีกย่อยและเทคนิคที่แตกต่างกัน ผู้เข้าอบรมจึงต้องกลับไปทดลอง ฝึกฝนและปรับเทคนิควิธีการ ให้เหมาะสมกับแต่ละบุคคล แต่โดยภาพรวมท าให้การแปรรูปสินค้าดีขึ้นกว่าเดิมที่เคยท ามา สิ่งที่ค่อนข้างยากต่อการเข้าใจส าหรับพื้นที่คือ เรื่องของการพัฒนาเว็บเพจเพื่อน าเสนอขาย สินค้าผ่านระบบออนไลน์ ที่ต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญในการสร้างเว็บเพจ นอกจากนั้นการใช้เว็บเพจที่ ก าลังพัฒนาขึ้นอาจเป็นเรื่องที่กลุ่มคนรุ่นเก่าเข้าใจและเข้าถึงได้อยาก เพราะกลุ่มมีคนรุ่นใหม่ที่ใข้ งานได้อยู่ที่ประมาณ 4-5 คน 4. ประเด็นความต่อเนื่อง ความต่อเนื่องหรือไม่นั้นขึ้นอยู่กับว่าผลผลิตและตลาด กล่าวคือ ปัจจุบันพื้นที่มีการสั่งซื้อ กล้วยบางส่วนจากพื้นที่ใกล้เคียง ดังนั้นความต่อเนื่องในการด าเนินธุรกิจขึ้นกับจ านวนผลผลิตทั้ง ข้าวและกล้วยในพื้นที่และผลผลิตที่สั่งซื้อจากนอกพื้นที่ว่าจะมีจ านวนเพียงพอเพื่อน าไปแปรรูปเพื่อ ขายหรือไม่ อีกทั้งขึ้นกับว่ามีความต้องการสั่งซื้อสินค้า กรณีค าสั่งซื้อสินค้าจ านวนมาก นอกจาก ปัญหาด้านผลผลิตที่อาจไม่เพียงพอแล้ว ยังรวมถึงปัญหาแรงงานและความสามารถในการแปรรูป สินค้าให้ทันกับค าสั่งซื้อ และหากค าสั่งซื้อสินค้าไม่มากพอก็ส่งผลกระทบให้ธุรกิจไม่สามารถด าเนิน ต่อไปได้เช่นกันเนื่องจากขาดทุน นอกจากนั้น จากการสัมภาษณ์นายวานิชย์ บุตรี ยังกล่าวถึงแนวทางที่วางแผนไว้เพื่อให้ การด าเนินธุรกิจเกิดความต่อเนื่อง คือ ผลิตภัณฑ์หลักที่เคยผลิตจะยังคงอยู่และจะเพิ่มจ านวน ประเภทสินค้าให้มากขึ้น โดยใช้วัตถุดิบอื่นมาแปรรูป เช่น เผือกฉาบ มันเทศฉาง กล้วยตากเคลือบ ช็อคโกแลต กล้วยตากอบน ้าผึ้ง กล้วยกวน เป็นต้น สิ่งที่ท้าทายส าหรับชุมชนอีกประการคือ ความ ต่อเนื่องในการด าเนินธุรกิจร้านค้าวิสาหกิจชุมชน แนวทางในการพัฒนาเพื่อความต่อเนื่องคือ การ จูงใจให้มีการน าสินค้าภายในชุมชนมาจ าหน่ายยังร้านค้าสวัสดิการชุมชนให้หลากหลายมากขึ้น โดย ตั้งเป้าหมายให้มีสัดส่วนของสินค้าตลาดทั่วไปกับสินค้าชุมชนที่ 50%/50% และเมื่อสินค้าชุมชนไป ได้ดีก็จะลดสัดส่วนสินค้าตลาดลง


32 5. ประเดน ็ การเกิดประโยชน์ต่อส่วนรวม จะเห็นได้ว่า “โครงการพัฒนาศักยภาพแกนน าชุมชนเพื่อผลิตสินค้าและท าการตลาด” ก่อให้เกิดประโยชน์ทั้งเฉพาะกลุ่มและต่อส่วนรวม ประโยชน์ที่เกิดกับเฉพาะกลุ่มคือ กลุ่มวิสาหกิจ ทุ่งรวงทอง กลุ่มเห็มสุขออร์แกนิค กลุ่มเกษตรพอเพียง แม่อนันต์นคร และกลุ่มวิสาหกิจกล้วย อินทรีย์ที่แปรรูปผลผลิตจากข้าวและกล้วยอินทรีย์ออกจ าหน่าย ที่ได้รับการยกระดับศักยภาพของ ทั้งกับผู้น าและกลุ่มทางเศรษฐกิจ พร้อมกันนั้นคนในชุมชนก็ได้รับประโยชน์จากการซื้อ-ขายสินค้า ในตลาดเกษตรปลอดภัยและร้านค้าสวัสดิการชุมชน เป็นการสร้างชุมชนอาหารปลอดภัยที่สามารถ หาซื้อสินค้าปลอดภัยจากสารเคมีได้ภายในชุมชน อีกทั้งยังงสอดคล้องกับเจตนารมณ์ในการ สนับสนุนการพัฒนา “เศรษฐกิจชุมชน” ให้เกิดขึ้นด้วย ตามนิยมาของ “เศรษฐกิจชุมชน” ที่กล่าวไว้ ว่าเป็น “วิถีการผลิตของกินของใช้ หรือสินค้าและบริการของคนในชุมชน เพื่อตอบสนองความ จ าเป็นในการด ารงชีพ (Need) และความต้องการ หรือความอยาก (Want) ของมนุษย์” (สถาบัน พัฒนาองค์กรชุมชน. 2558, หน้า 6) 6. ประเด็นการเปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์ จากการสนทนากลุ่มและการสัมภาษณ์พบว่า สภาองค์กรชุมชนเทศบาลต าบลเสนางคนิคม ได้รับการสนับสนุนทั้งด้านงบประมาณและวัสดุอุปกรณ์จากหลายหน่วยงาน เช่น พอช. ขบวน องค์กรชุมชนจังหวัดอ านาจเจริญ เทศบาลต าบลเสนางคนิคม และจากผู้ค้านอกชุมชน ยกตัวอย่าง เช่น ในการขับเคลื่อน“โครงการพัฒนาศักยภาพแกนน าชุมชนเพื่อผลิตสินค้าและท าการตลาด” เทศบาลช่วยหนุนเสริมในด้านจัดสรรพื้นที่ของเทศบาลให้เป็นตลาดนัดเกษตรปลอดภัย อย่างไรก็ ตาม ในอนาคติหากมีการถอนหนังสือส าคัญส าหรับที่หลวง (นสล.) ในพื้นที่ดังกล่าว เทศบาลก็ อาจจะเข้าใช้ประโยชน์ในพื้นที่ดังกล่าวซึ่งคงจะต้องมีการพูดคุยกันอีกครั้งถึงพื้นที่ตั้งตลาดนัด เกษตรปลอดภัย ส่วนความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานภาคีนอกพื้นที่ ผู้ค้านอกชุมชนยอมให้พื้นที่ เชื่อสินค้าเพื่อน ามาจ าหน่ายในชุมชนก่อนโดยที่ยังไม่ต้องจ่ายเงิน อย่างไรก็ตาม ยังไม่มีการ ปรับเปลี่ยนในเชิงกฎระเบียบเพื่อท าให้การด าเนินงานของสภาองค์กรชุมชนเทศบาลต าบลเสนางค นิคมมีความสะดวกและเข้าถึงทรัพยากรต่างๆ ได้ง่ายยิ่งขึ้น ส่วนที่ 4 ผลลัพธ์ต าบลเข้มแข็ง (product) การวิเคราะห์ภาพรวมความเข้มแข็งของต าบลเสนางคนิคม โดยพิจารณาจากกระบวนการ การด าเนินงานของสภาองค์กรเทศบาลต าบลเสนางคนิคมและกลุ่มต่างๆ ในต าบล สามารถใช้ ตัวชี้วัดชุมชนเข้มแข็ง 4 มิติ (องค์กรพัฒนาชุมชน, 2563, หน้า 2-12) ได้ดังต่อไปนี้


33 มิติที่1 คนมีคณุภาพ ด้านมิติคนมีคุณภาพประกอบไปด้วยตัวชี้วัด 3 ตัวชี้วัด ที่น ามาใช้ในการวิเคราะห์ คือ (1) ผู้น ารุ่นใหม่ที่เข้าร่วมกระบวนการพัฒนาชุมชนท้องถิ่น (2) ผู้น าองค์กรชุมชนในต าบลเสนางคนิคม ในปัจจุบัน ที่มีทัศนคติ/ความเชื่อมั่นในแนวทางการพัฒนาที่องค์กรชุมชนเป็นแกนหลัก รวมถึงมี ทักษะในการบริหารจัดการงานพัฒนาชุมชนท้องถิ่น และ (3) ครัวเรือนในต าบลเสนางคนิคา ที่มีส่วน ร่วมด าเนินกิจกรรมสาธารณะด้านการพัฒนาในชุมชน และการมีส่วนร่วมท ากิจกรรมสาธารณะ ตัวชี้วัดผู้น ารุ่นใหม่ที่เข้าร่วมกระบวนการพัฒนาชุมชนท้องถิ่น จากการเก็บข้อมูลพบว่า เยาวชนที่เคยร่วมท ากิจกรรมกับกลุ่มเยาวชนรักโลกรักป่า ปัจจุบันกลับมาท าหน้าที่เป็นพี่เลี้ยงให้กับ เด็กและเยาชนรุ่นปัจจุบันเพื่อสานต่อการท างานของกลุ่มดังกล่าว นอกจากนั้นในการจัดท าเว็บไซด์ เพื่อขายสินค้าแปรรูปผ่านช่องทางออนไลน์ก็มีคนรุ่นใหม่ประมาณ 4-5 คนเข้ามาช่วยบริหารจัดการ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและงานด้านคอมพิวเตอร์ จะเห็นได้ว่าขบวนชุมชนเปิดรับและสร้างคนรุ่น ใหม่เข้ามาท างานเพื่อให้คนเหล่านี้ได้พัฒนาความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการสานงานงานด้าน ต่างๆ ต่อจากคนรุ่นเดิม อีกทั้งยังช่วยน าทักษะและความรู้ด้านเทคโนโลยีเข้ามาช่วยสนับสนุนงาน ของชุมชนให้มีความทันสมัยขึ้น ตัวชี้วัดผู้น าองค์กรชุมชนในต าบลเสนางคนิคมในปัจจุบัน ที่มีทัศนคติ/ความเชื่อมั่นในแนว ทางการพัฒนาที่องค์กรชุมชนเป็นแกนหลัก รวมถึงมีทักษะในการบริหารจัดการงานพัฒนาชุมชน ท้องถิ่น ตัวชี้วัดนี้จะเห็นได้จากกิจกรรมโครงการที่ด าเนินการโดยสภาองค์กรชุมชนต าบลเทศบาล ต าบลเสนางคนิคมให้เห็นเป็นรูปธรรมอย่างต่อเนื่อง เช่น โครงการส่งเสริมการประกอบอาชีพเกษตร ของต าบลเทศบาลต าบลเสนางคนิคม ด้วยการอบรมและสนับสนุนอุปกรณ์ในการท าเกษตรอินทรีย์ โครงการสนับสนุนการจัดสวัสดิการชุมชนต าบลทต.เสนางคนิคม และโครงการส่งเสริมและสนับสนุน กลุ่มอาชีพของสภาองค์กรชุมชนต าบลทต.เสนางคนิคมเพื่อพัฒนาคุณภาพสินค้าจากชุมชน โครงการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติปลูกป่าในพื้นที่ป่าชุมชนเป็นต้น ตัวชี้วัดครัวเรือนในต าบลเสนางคนิคา ที่มีส่วนร่วมด าเนินกิจกรรมสาธารณะด้านการพัฒนา ในชุมชน และการมีส่วนร่วมท ากิจกรรมสาธารณะ กล่าวได้ว่าคนในพื้นที่มีส่วนร่วมในงานด้าน พัฒนาและการท ากิจกรรมสาธารณะเป็นอย่างมาก ยกตัวอย่างเช่น โครงการบ้านพอเพียงชนบท ที่ สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน(พอช.) จัดสรรงบประมาณให้สภาองค์กรชุมชนที่มีความพร้อมจัดท า โครงการเพื่อขอรับงบประมาณในการซ่อมแซมบ้านผู้ที่ประสบปัญหาด้านที่อยู่อาศัยที่ทรุดโทรมและ ไม่มั่นคง สภาองค์กรชุมชนได้ขอความร่วมมือจาก ช่างชุมชน ช่างไม้ ช่างปูน ช่างไฟฟ้า อีกทั้งผู้น า ในท้องที่ ผู้ใหญ่บ้าน ก านัน สมาชิกสภาองค์กรปกครองท้องถิ่น และผู้มีจิตอาสาในพื้นที่มาช่วย ระดมแรงงานกันจนสามารถซ่อมแซมบ้านได้แล้วเสร็จจ านวน 23 หลัง ในปี พ.ศ. 2560 และเมื่อไม่


34 นานมานี้พื้นที่มีการฟื้นตลาดนัดเกษตรปลอดภัยขึ้นมาใหม่ โดยส านักงานเกษตรอ าเภอเสนางค นิคมให้วัสดุอุปกรณ์แก่ชุมชนมาและคนในชุมชนช่วยกันออกแรงสร้างและปรับปรุงพื้นที่เพื่อท าเป็น ตลาดนัดเกษตรปลอดภัย โดยไม่มีค่าจ้างหรือค่าตอบแทนให้กับคนที่มาช่วยงาน มิติที่2 องคก์รชุมชนมีความเข้มแข็ง ด้านมิติองค์กรชุมชนมีความเข้มแข็ง ประกอบไปด้วยตัวชี้วัด 5 ตัวชี้วัด ที่น ามาใช้ในการ วิเคราะห์ คือ (1) จ านวนกลุ่มองค์กรชุมชนในต าบลเสนางคนิคม ที่มีบทบาทส าคัญในการด าเนิน กิจกรรมการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นอย่างต่อเนื่อง และเกิดผลการด าเนินงานอย่างเป็นรูปธรรม (2) มี แผนการพัฒนาภาคชุมชนในระดับต าบลเสนางคนิคม ระยะ 3 – 5 ปี ที่เกิดจากการมีส่วนร่วมของ กลุ่ม/องค์กรต่างๆ รวมถึงมีการบูรณาการงานพัฒนาพื้นที่ทุกมิติ (3) มีกลไก/เครือข่าย เชื่อมโยงการ ขับเคลื่อนงานพัฒนาร่วมระหว่างกลุ่ม/องค์กรชุมชนต่างๆ ในต าบลเสนางคนิคม (4) มีกติการ่วม/ ธรรมนูญ/ข้อบัญญัติชุมชน ที่เป็นลายลักษณ์อักษร หรือที่สมาชิกในชุมชนรับรู้ ซึ่งเกิดขึ้นจากการ ก าหนดร่วมกันของคนในชุมชนท้องถิ่น และ (5) องค์กรชุมชนมีบทบาทหลักในการแก้ไขปัญหาที่ เกิดขึ้นในต าบล/เมืองอย่างต่อเนื่อง และเกิดผลต่อการแก้ไขปัญหา หรือช่วยคลี่คลายปัญหาในพื้นที่ ให้ลดลงได้อย่างเป็นรูปธรรม ตัวชี้วัดจ านวนกลุ่มองค์กรชุมชนในต าบลเสนางคนิคม ที่มีบทบาทส าคัญในการด าเนิน กิจกรรมการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นอย่างต่อเนื่อง และเกิดผลการด าเนินงานอย่างเป็นรูปธรรม พื้นที่ ต าบลเสนางคนิคมเป็นพื้นที่ที่มีความเข้มแข็งในการรวมกลุ่มทั้งกลุ่มด้านสังคมและอาชีพ กลุ่ม องค์กรทางสังคม ได้แก่ กองบุญสวัสดิการชุมชนเทศบาลต าบลเสนางคนิคม ชมรมผู้สูงอายุเทศบาล ต าบลเสนางคนิคม กลุ่มฌาปนกิจสงเคราะห์ กองทุนหมู่บ้าน กองทุนเงินล้าน และกลุ่มสัจจะสะสม ทรัพย์ (ทุนกู้ยืม,การออมทรัพย์) กลุ่มองค์กรด้านอาชีพ ได้แก่ กลุ่มวิสาหกิจข้าวอินทรีย์บ้านบก (รวมหุ้นกันเป็นวิสาหกิจชุมชน) กลุ่มนาแปลงใหญ่ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนปลูกกล้วยอินทรีย์ กลุ่มเลี้ยง โคเนื้อ นพค.51 และกลุ่มเพิ่มพลังชุมชน (รวมกลุ่มเกษตรกรท านาอินทรีย์) ตัวชี้วัดการมีแผนการพัฒนาภาคชุมชนในระดับต าบลเสนางคนิคม ระยะ 3 – 5 ปี ที่เกิดจาก การมีส่วนร่วมของกลุ่ม/องค์กรต่างๆ รวมถึงมีการบูรณาการงานพัฒนาพื้นที่ทุกมิติยกตัวอย่างเช่น พื้นที่ต าบลเสนางคนิคมมีการจัดท าแผนพันาคุณภาพชีวิตของคนในเทศบาลต าบลเสนางคนิคมปี 2563 ที่เป็นการพัฒนาชุมชนในหลายมิติ ได้แก่ มิติด้านอาชีพด้วยการส่งเสริมการจัดตั้งกลุ่มเกษตร อินทรีย์ พัฒนาตลาดนัดเกษตรปลอดภัย มิติด้านการเมืองภาคพลเมือง ได้แก่ โครงการพัฒนาผู้น า การเปลี่ยนแปลงรุ่นใหม่ โครงการขับเคลื่อนธรรมนูญต าบลให้เป็นจริง ด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิต ได้แก่ โครงการอบรมปฏิบัติการดูแลผู้สูงอายุ โครงการจัดสวัสดิการชุมชน เป็นต้น มิติด้าน


35 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้แก่ พัฒนาระบบการจัดการขยะด้วยการคัดแยกขยะจากต้น ทางถึงปลายทาง โครงการปลูกป่าทดแทน เป็นต้น และมิติเศรษฐกิจและทุนชุมชน ได้แก่ พัฒนา ระบบการแปรรูปสินค้าทางการเกษตร เพื่อให้มีการบริหารจัดการแปรรูปและจัดจ าหน่ายที่ดี ตัวชี้วัดมีกลไก/เครือข่ายเชื่อมโยงการขับเคลื่อนงานพัฒนาร่วมระหว่างกลุ่ม/องค์กรชุมชน ต่างๆ ในต าบลเสนางคนิคม จากแผนงานโครงการที่กล่าวถึงในตัวชี้วัดการมีแผนการพัฒนาภาค ชุมชนในระดับต าบล จะเห็นได้ว่า การด าเนินกิจกรรมโครงการจะมีหน่วยงานหลักที่เข้ามาหนุนเสริม การด าเนินโครงการที่หลากหลาย เช่น สภาองค์กรชุมชนต าบลเทศบาลเสนางคนิคม เทศบาลต าบล เสนางคนิคม พัฒนาชุมชนอ าเภอเสนางคนิคม สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน อุตสาหกรรมจังหวัด กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ก านัน/ผู้ใหญ่บ้าน กรมทรัพยากรจังหวัด กรมทรัพยากรน ้าบาดาล เป็นต้น ตัวชี้วัดมีกติการ่วม/ธรรมนูญ/ข้อบัญญัติชุมชน ที่เป็นลายลักษณ์อักษร หรือที่สมาชิกใน ชุมชนรับรู้ ซึ่งเกิดขึ้นจากการก าหนดร่วมกันของคนในชุมชนท้องถิ่น “ธรรมนูญประชาชนคนเส นางคนิคม” เริ่มต้นนับจากปี 2555 เรียกว่า “ธรรมนูญประชาชนบ้านบก-บ้านหนองทับม้า ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555” โดยแนวทางการด าเนินงานและโครงการต่างๆ ของพื้นที่ต าบลเสนางคนิคมจะสอดคล้อ กับธรรมนูญต าบล เช่น “ธรรมนูญประชาชนต าบลเสนางคนิคม” ฉบับปี พ.ศ. 2561 ที่มีจุดเน้นอยู่ที่ การท าการเกษตรอินทรีย์ลดการใช้สารเคมีในแปลงการเกษตร การดูแลสุขภาพ อาหารสะอาด ปลอดภัย ผ่านระบบการจัดการตลาดนัดเกษตรปลอดภัย เป็นต้น ก็จะเห็นได้ว่าในพื้นที่ได้ ขับเคลื่อนทั้งในการรวมกลุ่มการท าเกษตรอินทรีย์ การจัดตลาดนัดเกษตรปลอดภัย รวมถึงการ จัดตั้งกองทุนสวัสดิการต่างๆ ให้กับคนในชุมชน เช่น กลุ่มสัจจะออมทรัพย์ กลุ่มกองทุนสวัสดิการ เป็นต้น ตัวชี้วัดองค์กรชุมชนมีบทบาทหลักในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในต าบล/เมืองอย่างต่อเนื่อง และเกิดผลต่อการแก้ไขปัญหา หรือช่วยคลี่คลายปัญหาในพื้นที่ ให้ลดลงได้อย่างเป็นรูปธรรม รูปธรรมที่เห็นชัดเจนมากที่สุดในพื้นที่ในตัวชี้วัดนี้ได้แก่ การที่ชุมชนมีการจัดตั้งกองทุนสวัสดิการ ชุมชน เทศบาลต าบลเสนางคนิคม ซึ่งก่อตั้งในปีพ.ศ. 2552 เพื่อให้สมาชิกในชุมชนทุกช่วงวัยมี คุณภาพชีวิตที่ดี โดยการจัดสวัสดิการแบ่งเป็น 1)การจัดสวัสดิการกรณีเสียชีวิต 2) การจัดสวัสดิการ ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับงานศพ 3) การจัดสวัสดิการเพื่อการศึกษา 4) การจัดสวัสดิการประเพณีวัฒนธรรม 5) การจัดสวัสดิการพัฒนาศักยภาพคนท างาน 6) การจัดสวัสดิการอนุรักษ์วังปลา 7) การจัด สวัสดิการแนวกันไฟ 8) การจัดสวัสดิการเพื่อพัฒนาอาชีพ และ 9) การจัดสวัสดิการผู้สูงอายุ ซึ่งการ เกิดกองทุนสวัสดิการชุมชนนี้ท าให้ชาวบ้านในพื้นที่มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น จากการส่งเสริมการท า เกษตรอินทรีย์และแปรรูปผลผลิตเพื่อจ าหน่ายท าให้คนในพื้นที่มีเงินออมเพิ่มมากขึ้น


36 มิติที่3 คณุภาพชีวิตคนในชุมชนดีขึ้น ด้านมิติคุณภาพชีวิตคนในชุมชนดีขึ้น ประกอบไปด้วยตัวชี้วัด 4 ตัวชี้วัด ที่น ามาใช้ในการ วิเคราะห์ คือ (1) มีกองทุนสวัสดิการชุมชน หรือระบบสวัสดิการอย่างอื่นในต าบล/เมืองที่จัดการโดย ชุมชน และดูแลคนในต าบล/เมืองทุกช่วงวัย กลุ่มคนด้อยโอกาส/กลุ่มเปราะบาง ตั้งแต่เกิดจนตาย (2) มีกลุ่มออมทรัพย์ หรือองค์กรการเงินในระดับชุมชน/หมู่บ้าน (ยกเว้นกองทุนหมู่บ้านและชุมชน เมือง) (3 ต าบลเสนางคนิคมมีระบบการเกษตร และการผลิตอาหารที่ปลอดภัย โดยมองถึงการผลิต เพื่อการบริโภคเองการผลิตเพื่อท ามาค้าขาย และการแบ่งปันให้คนอื่นด้วย และ (4) ระบบ การเกษตรและการผลิตอาหารที่ปลอดภัยในต าบลเสนางคนิคม ตัวชี้วัดมีกองทุนสวัสดิการชุมชน หรือระบบสวัสดิการอย่างอื่นในต าบล/เมืองที่จัดการโดย ชุมชน และดูแลคนในต าบล/เมืองทุกช่วงวัย กลุ่มคนด้อยโอกาส/กลุ่มเปราะบาง ตั้งแต่เกิดจนตาย ในเทศบาลต าบลเสนางคนิคม มีการจัดตั้งกองทุนสวัสดิการชุมชนเทศบาลต าบลเสนางคนิคม ตั้งแต่ ปีพ.ศ. 2552 ซึ่งประกอบด้วยทั้งสงฆ์และฆราวาสที่มาจากภาคส่วนต่างๆ เป็นคณะกรรมการ ด าเนินงาน จ านวนสมาชิกแรกตั้งจ านวน 367 คน ในปีพ.ศ.2552 และจ านวนสมาชิกเพิ่มขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง เนื่องจากเห็นผลส าเร็จในการด าเนินงานของกองทุน ในปี พ.ศ.2562 มีจ านวนสมาชิก 1,892 คน และข้อมูลในปี พ.ศ.2563 มีจ านวนสมาชิก 2,051 คน เงินกองทุนแรกตั้งจ านวน 11,010 บาท และเงินกองทุนสวัสดิการชุมชนปี 2563จ านวน 4,551,521.07 บาท จะเห็นได้ว่าจ านวนสมาชิก และเงินกองทุนสวัสดิการชุมชนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องตลอด 12 ปีที่ด าเนินงานมา สะท้อนให้เห็นว่า ชาวบ้านในพื้นที่มีความเชื่อถือในการด าเนินงานและได้รับประโยชน์จากกองทุนอย่างแท้จริง ตัวชี้วัดการมีกลุ่มออมทรัพย์ หรือองค์กรการเงินในระดับชุมชน/หมู่บ้าน (ยกเว้นกองทุน หมู่บ้านและชุมชนเมือง) ในพื้นที่มีการจัดตั้งกลุ่มสัจจะสะสมทรัพย์ในปีพ.ศ. 2554 วัตถุประสงค์ให้ สมาชิกออมเงินและกู้ยืมทั้งการกู้ยืมระยะสั้นและระยะยาวในอัตราดอกเบี้ยที่ต ่ากว่าธนาคารพาณิชย์ และได้รับเงินปันผลตอนสิ้นปี จากเงินเริ่มต้นในการก่อตั้ง 2,500 บาท สมาชิกประมาณ 100คน มี เงินทุน 200,000 บาท ตัวชี้วัดระบบการเกษตรและการผลิตอาหารที่ปลอดภัยในต าบลเสนางคนิคม เห็นได้จากใน พื้นที่มีกลุ่มเกษตรกรบางส่วนที่ท าเกษตรอินทรีย์สอดคล้องกับการขับเคลื่อนจังหวัดอ านาจเจริญสู่ เมืองธรรมเกษตร นอกจากนั้นชุมชนมีตลาดนัดผักปลอดภัยเพื่อให้เกษตรกรที่ท าเกษตรอินทรีย์และ เกษตรปลอดภัยน าผลผลิตมาจ าหน่ายให้กับคนในพื้นที่ได้บริโภคอาหารปลอดภัยจากสารเคมี มิติที่4 ความสมัพนัธก์บัหน่วยงานภาคีท้องที่ท้องถิ่น ด้านมิติความสัมพันธ์กับหน่วยงานภาคี ท้องที่ ท้องถิ่น ประกอบไปด้วยตัวชี้วัด 3 ตัวชี้วัด ที่น ามาใช้ในการวิเคราะห์ คือ (1) จ านวนกิจกรรม/โครงการ ที่หน่วยงาน/ภาคีเข้าร่วมสนับสนุนการ


37 ด าเนินงานของกลุ่ม/องค์กรชุมชน (2) จ านวนกิจกรรม/โครงการของชุมชนที่ได้รับงบประมาณ สนับสนุน หรือทรัพยากรอื่นๆ (เช่น บุคลากร ห้องประชุม สถานที่ตั้งองค์กรชุมชน ฯลฯ) จาก หน่วยงานภาคี และ (3) ความสัมพันธ์ขององค์กรชุมชนกับองค์กรปกครองท้องถิ่น รวมถึงหน่วยงาน ราชการในท้องถิ่น ตัวชี้วัดจ านวนกิจกรรม/โครงการ ที่หน่วยงาน/ภาคีเข้าร่วมสนับสนุนการด าเนินงานของ กลุ่ม/องค์กรชุมชน พื้นที่ต าบลเสนางคนิคมมีการจัดท าแผนพันาคุณภาพชีวิตของคนในเทศบาล ต าบลเสนางคนิคมในหลายมิติและได้รับการสนับสนุนการด าเนินงานจากภาคีเครือข่ายต่างๆ รวม ทั้งสิ้น 6 โครงการ และ 18 โครงการ ในปี พ.ศ. 2559 และปีพ.ศ. 2563 ตามล าดับ หน่วยงานภาค ราชการที่เข้ามาส่งเสริมและสนับสนุนการด าเนินโครงการมีหลากหลาย ได้แก่ สถาบันพัฒนาองค์กร ชุมชน ส านักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดอ านาจเจริญ สภากาชาดไทย กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ส านักงานทรัพยากรธรรมชาติจังหวัด ส านักงานชลประทานจังหวัดอ านาจเจริญ ส านักงาน อุตสาหกรรมจังหวัด ส่วนทรัพยากรน ้า (ส านักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด อ านาจเจริญ) พัฒนาชุมชนอ าเภอเสนางคนิคม สาธารณสุขอ าเภอเสนางคนิคม การศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอเสนางคนิคม (กศน.) และส านักทรัพยากรน ้าบาดาล เขต 11 ตัวชี้วัดความสัมพันธ์ขององค์กรชุมชนกับองค์กรปกครองท้องถิ่น รวมถึงหน่วยงานราชการ ในท้องถิ่นในการด าเนินกิจกรรมโครงการต่างๆ ในพื้นที่นอกจากได้รับการหนุนเสริมและสนับสนุน จากหน่วยงานราชการตามที่กล่าวข้างต้นและจากองค์กรชุมชนในพื้นที่ต าบลเสนางคนิคมแล้ว องค์กรปกครองท้องถิ่นได้แก่ เทศบาลต าบลเสนางคนิคม และเทศบาลต าบลสิริเสนางค์ ก็เป็น หน่วยงานส าคัญที่ช่วยในการขับเคลื่อนงานในพื้นที่เช่นกัน ตัวอย่างที่เป็นรูปธรรม เช่น การจัดสรร งบประมาณให้กับสภาองค์กรชุมชนในการด าเนินโครงการต่างๆ และการจัดสรรพื้นที่ของเทศบาล บางส่วนเพื่อจัดตั้งตลาดเกษตรปลอดภัย เป็นต้น ข้อสังเกตการน าตัวชี้วัดไปใช้เป็นเครื่องการพัฒนาต าบลเข้มแข็ง ข้อสังเกตการใช้ตัวชี้วัด 4 มิติ 29 ตัวชี้วัด มี 3 ประการ คือ ประการที่หนึ่ง ตัวชี้วัด 29 ตัวชี้วัดมีตัวชี้วัดบางตัวที่ควรจะเป็นตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ เนื่องจากเป็นตัวชี้วัดที่ต้องมีการอธิบาย ให้ค าจ ากัดความ หรือนิยามให้ชัดเจน ได้แก่ ในมิติด้าน คุณภาพชีวิตคนในชุมชนดีขึ้น เช่น ตัวชี้วัดครัวเรือนที่มีรายได้ไม่เพียงพอ แหล่งก าเนิดมลพิษ ความปลอดภัยในการด ารงชีวิตและทรัพย์สิน สุขภาพที่ดี เป็นต้น ประการที่สอง ตัวชี้วัดเชิงปริมาณในข้อที่ 1 คือ จ านวนผู้น าองค์กรชุมชนที่ผ่าน กระบวนการพัฒนาศักยภาพตามหลักสูตรที่จัดโดยขบวนองค์กรชุมชน ฯลฯ ซึ่งจ านวนคนที่เข้าร่วม


38 กระบวนการพัฒนาศักยภาพตามหลักสูตรอาจจะไม่ใช่ตัวชี้วัดถึงการมีคุณภาพของผู้น า จนกว่าจะ สามารถเห็นการน าองค์ความรู้ที่ได้จากการอบรมไปใช้ในทางปฏิบัติ ประการที่สาม ตัวชี้วัดชุมเข้มแข็ง 4 มิติ เสนอให้ปรับเปลี่ยนตัวชี้วัด 3 มิติ ได้แก่ มิติด้าน ผู้น าและการบริหารจัดการชุมชน มิติด้านเศรษฐกิจ และมิติด้านคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม เพราะ มีความคิดเห็นว่าตัวชี้วัดมิติที่ 1 ด้านคนมีคุณภาพสามารถรวมกับตัวชี้วัดด้านการบริหารจัดการ ชุมชนที่เสนอใหม่ และมิติที่ 4 ความสัมพันธ์กับหน่วยงานภาคท้องที่ท้องถิ่น ไม่ควรจะเป็นปัจจัย รองที่ควรประเมินผลอีกทั้งสามารถประเมินผลควบคู่ไปกับมิติด้านผู้น าและการบริหารจัดการชุมชน ได้ และประเด็นการประเมินย่อยจ านวน 29 ข้อ สามารถที่จะตัดและปรับประเด็นประเมินในแต่ละข้อ และแต่ละมิติได้ให้เข้ากับตัวชี้วัด 3 มิติที่กล่าวข้างต้น นอกจากนั้น ควรปรับเพิ่มตัวชี้วัดเน้นที่รูปแบบการออมแบบใดแบบหนึ่งของคนในชุมชน ด้วยนอกจากตัวชี้วัดว่าชุมชนมีการจัดสวัสดิการชุมชน/กลุ่มออมทรัพย์/องค์กรการเงิน ในชุมชน หรือไม่ (พิภพ อุดร, 2563) ส่วนที่5 ข้อคิดเหน ็ และข้อเสนอแนะ ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะแบ่งเป็น 2 ประเด็นที่ส าคัญคือ (1) ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการ หนุนเสริม“โครงการพัฒนาศักยภาพแกนน าชุมชน เพื่อผลิตสินค้าและท าการตลาด” และ (2) ข้อเสนอในการขับเคลื่อนเพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน 1. ข้อเสนอและความคิดเหน ็ในการหนุนเสริม “โครงการพัฒนาศักยภาพแกนน าชุมชน เพื่อผลิตสินค้าและทา การตลาด” การส่งเสริมด้านธุรกิจชุมชนควรมีการส่งเสริมการด าเนินธุรกิจแบบครบวงจร โดยทางพื้นที่ เสนอให้มีการอบรมและให้ความรู้กับพื้นในด้านอื่นๆ เพิ่มเติม ได้แก่ • การอบรมการท าบัญชี • การอบรมด้านบรรจุภัณฑ์เพื่อท าให้ผลิตภัณฑ์มีคุณภาพและมีรูปลักษณ์ที่ดึงดูดความ สนใจของผู้ซื้อ • การอบรมให้ความรู้ด้านการท าโฆษณาประชาสัมพันธ์สินค้า


39 นอกจากนั้นเห็นว่า พื้นที่ควรได้รับการอบรมหรือให้องค์ความรู้เรื่องการจัดการองค์การและ การท าธุรกิจ การสร้างเครือข่าย การส่งเสริมด้านการตลาดและเงินทุนหากกลุ่มต้องการขยายกิจการ ต่อไป ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความต้องการและความพร้อมของพื้นที่เป็นส าคัญด้วย 2. ข้อเสนอและความคิดเหน ็ในการขบัเคลื่อนเพื่อสร้างความเข้มแขง ็ให้กบัชุมชน จากการสัมภาษณ์และการเก็บข้อมูลในพื้นที่ พบว่าสภาองค์กรชุมชนเทศบาลต าบลเสนางค นิคมมีความเข้มแข็ง เห็นจากการด าเนินกิจกรรมโครงการต่างๆ มาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ก่อนที่จะมี การจัดตั้งสภาองค์กรชุมชน ดังนั้นสิ่งที่พื้นที่ต้องการได้รับการสนับสนุนเป็นอย่างมากคือ การหนุน เสริมด้านความรู้และงบประมาณในด้านต่างๆ ตามความต้องการของชุมชน ทั้งนี้เนื่องจากทั้งผู้น า และคนในพื้นที่ที่ศักยภาพที่จะสามารถพัฒนากิจกรรมและโครงการต่างๆ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และความเข้มแข็งของชุมชนตนเองได้ ในส่วนของการหนุนเสริมความเข้มแข็งของสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน เห็นว่า ทางพอช. ควรจะมีระบบฐานข้อมูลการท างานต่างๆ ของชุมชน เพื่อให้เกิดการรับรู้ สานต่อการท างานและ เข้าใจถึงบริบทของชุมชนของเจ้าหน้าที่ที่เข้ามารับผิดชอบดูแลพื้นที่จังหวัดอ านาจเจริญ เนื่องจาก ในการสอบถามและขอข้อมูลกับทางเจ้าหน้าที่พอช. ที่รับผิดชอบพื้นที่เพื่อขอข้อมูลต่างๆ เกี่ยวกับ สภาองค์กรชุมชน และกิจกรรมโครงการต่างๆที่ได้รับการสนับสนุนจากทางพอช. ทางเจ้าหน้าที่แจ้ง ว่าให้สอบถามทางผู้น าและพื้นที่ เนื่องจากเจ้าหน้าที่แจ้งว่าเพิ่งจะเข้ารับผิดชอบในพื้นที่ได้ไม่นานจึง ไม่ทราบข้อมูล


40 ถอดองค์ความรู้การพัฒนาต าบลต้นแบบและนวัตกรรมชุมชน ต าบลบึงโขงหลง อ าเภอบึงโขงหลง จังหวัดบึงกาฬ โดย อนุวฒัน์พลทิพย์ 1. ข้อมูลทั ่วไปของต าบล 1.1 บริบทพื้นที่ ต าบลบึงโขงหลง อ าเภอบึงโขงหลง จังหวัดบึงกาฬ เป็นต าบลที่อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียง ใต้ของจังหวัด มีระยะห่างจากตัวจังหวัดบึงกาฬประมาณ 88.5 กิโลเมตร (ส าหรับเส้นทางจากอ าเภอ บึงกาฬ-ศรีวิไล-พรเจริญ-เซกา-บึงโขงหลง) และระยะทางประมาณ 99.9 กิโลเมตร (ส าหรับเส้นทาง เลียบแม่น ้าโขงจากอ าเภอบึงกาฬ-บุ่งคล้า-ดงบัง-บึงโขงหลง) ขนาดพื้นที่ของต าบลทั้งหมดประมาณ 13.20 ตารางกิโลเมตร สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ราบลุ่มกว่าร้อยละ 80 ของพื้นที่ทั้งหมด มี อาณาเขตติดต่อกับพื้นที่อื่น ดังนี้ ทิศเหนือ ติอต่อกับ เทศบาลต าบลบึงงาม ทิศใต้ ต่อต่อกับ องค์การบริหารส่วนต าบลโพธิ์หมากแข้ง ทิศตะวันออก ต่อต่อกับ องค์การบริหารส่วนต าบลโพธิ์หมากแข้ง ทิศตะวันตก ต่อต่อกับ เทศบาลต าบลบึงงาม และองค์การบริหารส่วนต าบลโพธิ์หมากแข้ง แผนที่ลักษณะทางกายภาพและอาณาเขตของต าบลบึงโขงหลง


41 พื้นที่ส่วนใหญ่ของต าบลบึงโขงหลงติดกับอ่าง เก็บน ้าบึงโขงหลงซึ่งได้ขึ้นทะเบียนเป็นแหล่งชุ่มน ้า ระดับโลก (Wetland of International Importance) เมื่อ ปี2525 โดยมีรายชื่ออยู่ในล าดับที่ 1,098 ของโลก ถือ เป็นแหล่งอาศัยของสัตว์น ้าและพืชน ้านานาชนิด เช่น นกชนิดต่าง ๆ กว่า 100 ชนิด โดยเป็นนกอพยพราว 50 ชนิด และนกประจ าถิ่น รวมทั้ง ปลานานาชนิด ซึ่งมีอยู่ ประมาณ 80 ชนิด มีปลาที่หาดูยากและใกล้จะสูญพันธุ์ คือ ปลาบู่แคระ ด้วยเอกลักษณ์เฉพาะของพื้นที่จึงเป็น ที่มาของการตั้งชื่อต าบล คือ “ต าบลบึงโขงหลง” ตาม ลักษณะทางภูมินิเวศที่โดดเด่น นอกจากนี้ ต าบลบึงโขง หลงยังห่างจากแม่น ้าโขงซึ่งเป็นแม่น ้าระดับนานาชาติ17 กิโลเมตร สภาพทางสังคมของต าบลมีหมู่บ้านจ านวน 12 หมู่บ้าน มีจ านวนครัวเรือน 3,074 ครัวเรือน จ านวนประชากร 9,840 คน จ าแนกเป็นชาย 4,839 คน เป็นหญิง 5,001 คน ครัวเรือนส่วนใหญ่ รวมทั้งพื้นที่ท าการเกษตรและสถานที่ราชการของต าบลบึงโขงหลงอยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติ ซึ่ง ปัจจุบันไม่มีสภาพเหลือเป็นพื้นที่ป่าแล้ว ประชากรส่วนใหญ่ครอบครองพื้นที่มานานกว่า 10 ปีแล้ว และมีการเรียกร้องเอกสารสิทธิ์ ทว่าที่ดินดังกล่าวไม่อยู่ในหลักเกณฑ์ที่สามารถออกเอกสารสิทธิ์ได้ ในด้านความคิดความเชื่อของคนในพื้นที่ต าบลบึงโขงหลงถือว่ายังสามารถด ารงประเพณีและ วัฒนธรรมส าคัญเฉพาะพื้นที่ อาทิ พิธีบรวงสวงปู่อือลือ ประเพณีแห่นางเทียน ประเพณีแข่งเรือยาว ลอยกระทง เป็นต้น และบุญประจ าปี ได้แก่ บุญเดือนยี่ คือ บุญคูณลาน บุญเดือนสาม คือ บุญข้าวจี่ บุญเดือนสี่ คือ บุญมหาชาติ(บุญผะเหวด) บุญเดือนหก คือ บุญบั้งไฟ บุญเดือนเก้า คือ บุญกอง ข้าว บุญประทายข้าวเปลือก (บุญข้าวประดับดิน) เป็นต้น ซึ่งเป็นความเชื่อที่ยืดถือและปฏิบัติมา ตั้งแต่อดีตและสืบเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน นอกจากนี้ ยังมีกิจกรรมการรวมกลุ่มทางสังคมส าหรับ ผู้สูงอายุ คือ การจัดตั้งโรงเรียนผู้สูงวัยรัตภานครศึกษา เพื่อเป็นพื้นที่กลางในการท ากิจกรรมร่วมกัน ของผู้สูงอายุและหลีกเลี่ยงภาวะอยู่ติดบ้านติดเตียงหรือโดดเดี่ยวซึมเศร้าจากการอยู่ตามล าพังของ ผู้สูงอายุ ส่วนทางด้านเศรษฐกิจ พบว่า ประชากรส่วนใหญ่ในพื้นที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรรม ได้แก่ ท านาและท าสวนยางพาราเป็นหลัก อาชีพเสริม คือ รับจ้างทั่วไปทั้งในภาคเกษตรและนอก ภาคเกษตร นอกจากนี้ต าบลบึงโขงหลงยังส่งเสริมการพัฒนาอาชีพในรูปแบบกลุ่มวิสาหกิจชุมชน เพื่อสร้างสินค้าและผลิตภัณฑ์ที่เป็นเอกลักษณ์ของชุมชน ได้แก่ กลุ่มทอผ้าพื้นเมือง กลุ่มผลิตไข่เค็ม


42 กลุ่มธนาคารขยะ กลุ่มแปรรูปพลาสติก กลุ่ม นาแปลงใหญ่ กลุ่มปลูกผักปลอดสารเคมี กลุ่มผลิตไม้กวาด กลุ่มหัตถกรรม ได้แก่ ผลิตภัณฑ์จากไม้ ไม้ไผ่ หวาย งานแกะสลัก เครื่องหนังและจักสาน กลุ่มแปรรูปอาหาร ได้แก่ น ้าพริก อาหารพื้นบ้าน เครื่องดื่ม สมุนไพร ผลไม้ตาก ทอด อบแห้ง ขนมไทย ขนมอบ ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากปลาน ้าจืด เป็ นต้น ปั จจุบันกลุ่มเหล่านี้ยังมีความ เข้มแข็งอยู่ โดยพิจารณาจากยังมีการด าเนินกิจกรรมกลุ่มอย่างต่อเนื่อง มีจ านวนสมาชิกชัดเจน มี รายได้หมุนเวียนภายในกลุ่ม หรือบางกลุ่มมีโครงสร้างและบทบาทหน้าที่การด าเนินงานที่ชัดเจน เป็นต้น ความโดดเด่นและเป็นเอกลักษณ์ของต าบล คือ การมีทรัพยากรธรรมชาติโดยเฉพาะแหล่ง น ้าที่หลากหลายและอุดมสมบูรณ์ สามารถหล่อเลี้ยงคนในพื้นที่และต าบลข้างเคียงทั้งในภาคเกษตร และประโยชน์อื่นได้อย่างดี โดยมีแหล่งน ้าส าคัญหลัก ๆ ได้แก่ “บึงโขงหลง” ซึ่งเป็นแหล่งน ้าจืด ขนาดใหญ่ มีเนื้อที่ประมาณ 11,318 ไร่ 2 งาน 7 ตารางวา มีน ้าขังตลอดปีและลักษณะเหมือนแม่น ้า โขง จึงได้ชื่อว่า “บึงโขงหลง” ซึ่งเป็นบึงน ้าที่อุดมไปด้วยปลาน ้าจืดหลากชนิด และเมื่อปี 2520 กรม ชลประทานได้ด าเนินโครงการเก็บกักน ้าเพื่อการเกษตรในฤดูแล้งและก าหนดให้เป็นเขตห้ามล่าสัตว์ ป่าด้วย ดังนั้น บึงโขงหลงจึงเป็นแหล่งน ้าที่หล่อเลี้ยงชีวิตผู้คนในต าบลนี้และต าบลใกล้เคียงได้ตลอด ปีอาทิ พื้นที่คาบเกี่ยวกับเขตอ าเภอเซกา จังหวัดบึงกาฬ ประชาชนในพื้นที่ใช้ประโยชน์ส าหรับท า การประมง ท าการเกษตร เป็นแหล่งอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น ้าและเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศเพื่อการ พักผ่อนหย่อนใจ คือ หาดค าสมบูรณ์ “หนองสิม” เป็นแหล่งน ้าขนาดเล็กใช้ส าหรับการเกษตรและ บริโภคในครัวเรือน และ “ล าห้วยทราย” เป็นล าห้วยขนาดเล็กกว้างประมาณ 10 เมตร ทอดเป็น แนวยาวประมาณ 15 กิโลเมตร อยู่ระหว่างต าบลบึงโขงหลงและต าบลโพธิ์หมากแข้ง ประชาชนใช้


43 ประโยชน์เพื่อการเกษตรและประมงในครัวเรือน นอกจากนี้ ยังมีแหล่งน ้าน้อยใหญ่อื่น ๆ อีกจ านวน มาก จ าแนกเป็นล าห้วย 2 แห่ง ห้วย 6 แห่ง หนองน ้า 3 แห่ง อ่างเก็บน ้า 2 แห่ง ฝาย 2 แห่ง อาทิ หนองบัว หนองกุ้ง หนองยาว ล าห้วยน ้าพ่น ล าห้วยค า ล าห้วยกลอง ล าห้วยโปร่ง ล าห้วยหนองฮ้าง 1.2 ความเป็นมาและการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ สภาองค์กรชุมชนต าบลถือว่าเป็นเครื่องมือและกลไกที่ส าคัญในการขับเคลื่อนงานร่วมกับ ขบวนองค์กรชุมชนจังหวัด โดยการสนับสนุนของสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน) และความร่วมมือของ เครือข่ายขบวนองค์กรชุมชนจังหวัด หน่วยงานภาคีการพัฒนา ส่วนราชการ อ าเภอและจังหวัด เป้าหมายการพัฒนามุ่งเน้นการสร้าง “พื้นที่กลาง” ให้กับคนในต าบลให้สามารถ มาท างานร่วมกันของกลุ่มองค์กรต่าง ๆ โดยเฉพาะการสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน ร่วมคิด ร่วม ค้น ร่วมท า ตามแนวทางที่เหมาะสมสู่การแก้ไขปัญหาและผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิง โครงสร้างในพื้นที่ เช่น ด้านความคิด วิถีชีวิต ระบบการผลิต ขยายผลเพื่อต่อยอดและเสริมพลังการ ท างานเชื่อมโยงระหว่างกลุ่มองค์กรกับภาคีพัฒนาต่าง ๆ กรณี สภาองค์กรชุมชนต าบลบึงโขงหลง จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติสภาองค์กรชุมชน พ.ศ.2551 เพื่อส่งเสริมให้สภาองค์กรชุมชนต าบลมีบทบาทในการเชื่อมโยงกลุ่ม องค์กร เครือข่าย ตลอดจนหน่วยงาน ภาคีต่าง ๆ เพื่อร่วมปรึกษาหารือ ก าหนดทิศทางและเป้าหมายการพัฒนาพื้นที่ ตลอดจนวางแผนการแก้ไขปัญหาและปฏิบัติการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นในทุกด้าน เป็นการวางระบบ การมีส่วนร่วมการบริหารจัดการโดยประชาชนและขยายขอบเขตการท างานกว้างขวางขึ้นทั้งใน ระดับหมู่บ้าน ต าบลและจังหวัด เพื่อให้เกิดระบบการท างานที่เชื่อมโยงให้สามารถท าให้คนทุกกลุ่ม ได้ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจและร่วมบริหารจัดการตามบริบทพื้นที่ต่าง ๆ อย่างกว้างขวางและทั่วถึง ดังนั้น การเกิดขึ้นของสภาองค์กรชุมชนต าบลบึงโขงหลงจึงมีเป้าหมายที่ไม่แตกต่างจากสภาองค์กร ชุมชนต าบลอื่น ๆ ทั่วประเทศ โดยมีพัฒนาการการท างาน ดังตารางที่ 1 ตารางที่ 1 พัฒนาการและเหตุการณ์การเปลี่ยนแปลงที่ส าคัญของต าบลบึงโขงหลง ปี พ.ศ. เหตุการณ์การเปลี่ยนแปลงที่ส าคัญของต าบล 2552 - 2553 ▪ จัดตั้งสภาองค์กรชุมชนต าบลบึงโขงหลง ตามพระราชบัญญัติสภาองค์กรชุมชน พ.ศ. 2551 โดยการสนับสนุนของสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน) แต่กลไกการท างานไม่ชัดเจน โดยเฉพาะคณะกรรมการ บทบาท หน้าที่และ ความรับผิดชอบ และได้รับการตรวจสอบกระบวนการท างานโดยเทศบาลต าบล บึงโขงหลง


44 ปี พ.ศ. เหตุการณ์การเปลี่ยนแปลงที่ส าคัญของต าบล 2554 - 2555 ▪ ทบทวนกระบวนการจัดตั้งสภาองค์กรชุมชนต าบลบึงโขงหลง (ใหม่) โดย ก าหนดให้มีคณะกรรมการ บทบาท หน้าที่และความรับผิดชอบที่ชัดเจนขึ้น ▪ จัดตั้งกองทุนสวัสดิการชุมชนต าบลบึงโขงหลง โดยการสนับสนุนของสถาบัน พัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน) ส านักงานภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งมี การขับเคลื่อนงานสวัสดิการชุมชนจนถึงปัจจุบัน มีการจัดสวัสดิการแล้วกว่า 13 ประเภท 2556 ▪ สภาองค์กรชุมชนต าบลบึงโขงหลงด าเนินการเสนอโครงการการแก้ไขปัญหา ที่ดินท ากินและที่อยู่อาศัยต่อสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน) ส านักงานภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณในการ แก้ไขปัญหา 2558 ▪ เก็บข้อมูลผู้เดือดร้อนและจัดตั้งกองทุนที่ดิน พร้อมทั้งขอรับการสนับสนุน งบประมาณจากสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน) ประจ าปี งบประมาณ 2559-2560 เพื่อแก้ไขปัญหาที่ดินต่อเนื่องให้กับครัวเรือนในพื้นที่ที่ ประสบปัญหาและเดือดร้อน 2559 - 2560 ▪ ส ารวจพิกัดลักษณะทางภูมิศาสตร์สารสนเทศ (GIS) ได้แก่ ลักษณะที่ตั้งที่อยู่ อาศัย/บ้านเรือน/สิ่งปลูกสร้าง พื้นที่ท าการเกษตร พื้นที่ป่าสาธารณะ ฯลฯ ▪ ได้รับการสนับสนุนงบประมาณซ่อมสร้างตามโครงการบ้านพอเพียงชนบท โดย การสนับสนุนของสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน) 2563 ▪ สภาองค์กรชุมชนต าบลร่วมกับขบวนองค์กรชุมชนจังหวัดยื่นหนังสือเพื่อให้มีการ แก้ไขปัญหาที่ดินที่อยู่อาศัยให้กับกรรมาธิการด้านการแก้ไขปัญหาที่ดิน โดยได้ เสนอแนวทางแก้ไข คือ ยกเลิกแนวเขตป่ าสงวนและป่ าสาธารณะ จากนั้นมี กรรมาธิการลงพื้นที่ติดตามเพื่อแก้ไขปัญหาในพื้นที่จังหวัดบึงกาฬ แต่ปัญหายัง ไม่ได้รับการแก้ไข 2563 – 2565 ▪ สภาองค์กรชุมชนต าบลบึงโขงหลงมีแผนงานขับเคลื่อนงานต าบลด้านเศรษฐกิจ ชุมชน โดยเฉพาะแผนพัฒนาด้านการท่องเที่ยวชุมชนกับเทศบาลต าบลบึงโขง หลงและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ตามโครงการท่องเที่ยวชุมชนและพัฒนากลุ่ม อาชีพสินค้าเพื่อสนับสนุนการท่องเที่ยวร่วมกับส านักงานพัฒนาชุมชนอ าเภอและ จังหวัด


45 ปี พ.ศ. เหตุการณ์การเปลี่ยนแปลงที่ส าคัญของต าบล 2561 - 2565 ▪ มีการจัดท าแผนพัฒนาต าบลบึงโขงหลง โดยมีหน่วยงานภาคีเข้ามามีส่วนร่วมใน การจัดท าแผนพัฒนาพร้อมได้เสนอแผนต่อท้องถิ่นและสามารถบรรจุใน แผนพัฒนาท้องถิ่น 4 ปี (พ.ศ.2561 - 2565) ในยุทธศาสตร์การพัฒนาท้องถิ่นด้าน การเกษตรและการพัฒนาคุณภาพชีวิต แผนงานที่ 2.4 งานสังคมสงเคราะห์และ ได้รับการสนับสนุนงบประมาณด าเนินการ จ านวน 120,000 บาท ที่มา: รายงานผลการด าเนินงานของสภาองค์กรชุมชนเทศบาลต าบลบึงโขงหลง อ าเภอบึงโขงหลง จังหวัดบึงกาฬ (2564) การท างานของสภาองค์กรชุมชนต าบลบึงโขงหลงสร้างประโยชน์ต่อพื้นที่มาอย่างต่อเนื่อง กว่าทศวรรษ มีรูปธรรมการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากกระบวนการขับเคลื่อนงานสู่ความเป็นต าบล เข้มแข็ง ดังนี้ 1. เกิดการแก้ไขปัญหาด้านที่อยู่อาศัย โดยเฉพาะครัวเรือนผู้มีรายได้น้อย และด้อยโอกาสในต าบลผ่านโครงการบ้านพอเพียงชนบท ซึ่งสภาองค์กรชุมชนต าบลบึงโขงหลง สามารถแก้ไขปัญหาด้านที่อยู่อาศัยให้กับครัวเรือนที่เดือดร้อนได้ตั้งแต่ปี 2561 - 2564 จ านวนกว่า 25 ครัวเรือน ทั้งนี้ ยังสามารถเชื่อมโยงแผนพัฒนาด้านที่อยู่อาศัยกับหน่วยงานทั้งในระดับท้องถิ่น คือ เทศบาลต าบลบึงโขงหลง ที่บรรจุประเด็นปัญหาที่อยู่อาศัยทั้งการซ่อมแซมบ้านให้กับผู้ยากไร้ และประสบปัญหาความไม่มั่นคงในที่อยู่อาศัยไว้ในแผนพัฒนาต าบล ประจ าปีงบประมาณ 2561 - 2565 หรือหน่วยงานภายนอก คือ ส านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดบึงกาฬ ผ่านศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง โดยประสานข้อมูลและความร่วมมือด้วยการบูรณาการแก้ไขปัญหา เรื่องที่อยู่อาศัยให้กับผู้พิการและผู้ด้อยโอกาสโดยในช่วงปี 2561 – 2562 สามารถช่วยเหลือเรื่องที่


46 อยู่อาศัยให้กับผู้พิการและผู้ด้อยโอกาสแล้ว จ านวน 4 ครัวเรือน ทั้งนี้ สภาองค์กรชุมชนต าบลบึงโขง หลงยังด าเนินการขับเคลื่อนงานในเชิงความร่วมมือเช่นนี้ต่อเนื่องถึงปัจจุบัน 2. เกิดการเชื่อมโยงแผนพฒันาท้องถิ่น การจัดท าแผนพัฒนาต าบลบึงโขง หลงมีผู้แทนของสภาองค์กรชุมชนต าบลและหน่วยงานภาคีที่เกี่ยวข้องเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดท า แผนพัฒนาต าบล พร้อมทั้งได้เสนอแนะสาระส าคัญที่ต้องการในกระบวนการจัดท าแผนพัฒนาต่อ หน่วยงาน และสามารถเชื่อมโยงบรรจุในแผนพัฒนาท้องถิ่น 4 ปี (พ.ศ.2561 - 2565) ของเทศบาล ต าบลบึงโขงหลง โดยระบุชัดเจนในยุทธศาสตร์การพัฒนาท้องถิ่นด้านการเกษตรและการพัฒนา คุณภาพชีวิต แผนงานที่ 2.4 งานสังคมสงเคราะห์ ซึ่งเป็นจุดเด่นที่สภาองค์กรชุมชนต าบลได้เข้าไป มีส่วนร่วมในการเสนอแนะปัญหาและความต้องการของชุมชน ร่วมผลักดันจนน าไปสู่การแก้ไข ปัญหาให้กับประชาชนเพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น โดยข้อเสนอหลักของสภาองค์กรชุมชนต าบล คือ ขอรับการสนับสนุนงบประมาณเพื่อแก้ไขปัญหาและต่อยอดงาน 2 โครงการ ได้แก่ 2.1 โครงการบ้านมั ่นคงชนบทเพื่อสร้างซ่อมบ้านผู้ด้อยโอกาส มี วัตถุประสงค์เพื่อแก้ไขปัญหาด้านที่อยู่อาศัยให้แก่ผู้ด้อยโอกาส โดยการซ่อม/สร้างที่อยู่อาศัยให้กับ ผู้ด้อยโอกาส ด้านสวัสดิการชุมชน การพัฒนากลุ่มอาชีพ โดยได้รับการบรรจุงบประมาณสนับสนุน จ านวน 160,000 บาท 2.2 โครงการท่องเที่ยวชุมชนและพัฒนากลุ่มอาชีพสินค้าการ ท่องเที่ยว มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ชุมชนมีอาชีพและมีรายได้จากการส่งเสริมกิจกรรมการท่องเที่ยว ชุมชน ทั้งการผลิตสินค้า ของฝาก อาหารและของกินต่าง ๆ โดยได้รับการบรรจุงบประมาณ สนับสนุนจ านวน 100,000 บาท


47 ตารางที่ 2 ยุทธศาสตร์การพัฒนาท้องถิ่นด้านการเกษตรและการพัฒนาคุณภาพชีวิต (งานสังคม สงเคราะห์) 3. มีแนวทางการส่งเสริมและผลกัดนัเศรษฐกิจชุมชน ในระยะที่ผ่านมา สภาองค์กรชุมชนต าบลบึงโขงหลงได้ส่งเสริมให้เกิดการรวมกลุ่มหรือจัดตั้งเป็นองค์กรชุมชน เพื่อ ส่งเสริมให้เกิดกระบวนการรวมกลุ่มอาชีพ สร้างรายได้และสวัสดิการของสมาชิกในชุมชน ซึ่งจะ น าไปสู่การสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนอย่างยั่งยืน โดยตั้งแต่ปี 2560 เป็นต้นมา ผลการ ด าเนินงาน พบว่า เกิดกลุ่มหรือองค์กรชุมชนในพื้นที่กว่า 65 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มธุรกิจชุมชน/อาชีพ 39 กลุ่ม กลุ่มองค์กรทางการเงิน 13 กลุ่ม กลุ่มสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรและที่อยู่อาศัย 6 กลุ่ม กลุ่ม สวัสดิการชุมชน 5 กลุ่ม กลุ่มความร่วมมือภาคีเฉพาะประเด็น 2 กลุ่ม นอกจากนี้ ในระยะต่อไปสภาองค์กรชุมชนต าบลบึงโขงหลงมีแผนงานพัฒนาต าบล คือ การหนุนเสริมให้ชุมชนในเขตเทศบาลต าบลบึงโขงหลงทั้ง 12 ชุมชน เป็นหมู่บ้าน OTOP นวัต วิถี เนื่องจากจากการศึกษาข้อมูลและการถอดบทเรียนงานพัฒนาที่ผ่านมาท าให้พบว่าชุมชนในเขต เทศบาลต าบลบึงโขงหลงมีทุนและศักยภาพที่โดดเด่นทุกชุมชน จึงควรที่จะได้รับการพัฒนาที่


Click to View FlipBook Version