The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน) สนับสนุนและส่งเสริมการพัฒนาชุมชนสังคมทั้งในชนบทและเมืองมาอย่างต่อเนื่องกว่าสองทศวรรษ ก่อให้เกิดชุมชนเข้มแข็ง เป็นตัวอย่างต้นแบบการพัฒนา กระจายอยู่ในพื้นที่ทั่วประเทศจ านวนมาก ประกอบกับสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (พอช.) ได้พัฒนาตัวชี้วัดชุมชนเข้มแข็ง และกำหนดนิยามความหมายนวัตกรรมชุมชนขึ้นและใช้เป็นเครื่องมือในการประเมินตนเองขององค์กรชุมชน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Tewarat Thipaut, 2023-03-17 03:01:36

การถอดองค์ความรู้การพัฒนาตำบลต้นแบบนวัตกรรมชุมชน ภาคอีสาน 10 ตำบล

สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน) สนับสนุนและส่งเสริมการพัฒนาชุมชนสังคมทั้งในชนบทและเมืองมาอย่างต่อเนื่องกว่าสองทศวรรษ ก่อให้เกิดชุมชนเข้มแข็ง เป็นตัวอย่างต้นแบบการพัฒนา กระจายอยู่ในพื้นที่ทั่วประเทศจ านวนมาก ประกอบกับสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (พอช.) ได้พัฒนาตัวชี้วัดชุมชนเข้มแข็ง และกำหนดนิยามความหมายนวัตกรรมชุมชนขึ้นและใช้เป็นเครื่องมือในการประเมินตนเองขององค์กรชุมชน

148 เข้าร่วมเป็นสมาชิกจ านวน 316 คน กองทุนแรกเริ่ม 13,600 บาท คณะกรรมการด าเนินงาน จ านวน 17 คน มีนางเพือน บรรเทิงใจ เป็นประธาน กรรมการร่วมส่วนใหญ่เป็นตัวแทนที่เป็นผู้น าชุมชนแต่ ละหมู่บ้าน มีหลวงพ่อเจ้าอาวาสวัดปทุมทอง ก านันต าบลกระหาด นายกเทศบาลต าบลกระหาด ข้าราชการเกษียณและผู้รู้ในชุมน เป็นที่ปรึกษา ปัจจุบันมีจ านวนคณะกรรมการด าเนินงาน 32 คน หลักส าคัญในการด าเนินงาน คือ การน้อมน าหลักธรรมทางพุทธศาสนามาประยุกต์ใช้ในรูปของ “บวร” โดยมุ่งเน้นการช่วยเหลือเกื้อกูลและจัดการแก้ไขปัญหาชุมชนร่วมกันบนฐานความเท่าเทียม และเสมอภาค ในการนี้ สมาชิกแต่ละคนจะสมทบเงินเข้ากองทุนปีละ 365 บาท (ระยะ 6 เดือน /1 ปี) เมื่อออมครบก าหนด 6 เดือน ก็จะได้รับสิทธิ์ในการรับสวัสดิการตามกฎระเบียบของกลุ่มที่ตกลงกัน ไว้ ซึ่งเป็นการจัดสวัสดิการให้แก่สมาชิก ตั้งแต่การเกิด การเจ็บป่วยและตายอย่างเช่น สมาชิกคลอด ลูกใหม่ ลูกจะได้เงินรับขวัญ 500 บาท หรือ กรณี การเจ็บป่วย สมาชิกจะได้รับเงินชดเชยการนอน โรงพยาบาล คืนละ 100 บาท การเสียชีวิต จะได้รับเงินช่วยจัดงานศพ 2,500-15,000 บาท และอีก ส่วนหนึ่งเป็นการช่วยเหลือกรณีสาธารณะประโยชน์ เช่น งานบุญประเพณีที่ส าคัญของชุมชน เป็น ต้น ปัจจุบัน กองบุญต าบลกระหาด มีสมาชิกจ านวน 853 คน จ าแนกตามช่วงอายุได้ดังนี้ ช่วงอายุ ระหว่าง 1-29 ปี จ านวน 123 คน คิดเป็นร้อยละ 14.42 ช่วงอายุระหว่าง 30-59 ปี จ านวน 257 คน คิดเป็นร้อยละ 30.13 และช่วงอายุ 60 ปีขึ้นไป จ านวน 473 คน คิดเป็นร้อยละ 55.45 จ านวน เงินกองทุน 1,731,326.05 บาท การได้มาซึ่งกองทุนนั้นยืนอยู่บนฐาน 3 ขา คือ เงินออมวันละบาท ของชาวบ้าน และเงินสมทบจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและรัฐบาล ในส่วนของรายจ่าย ช่วยเหลือสมาชิกจ านวน 23 ราย เป็นวงเงินจ านวน 52,100 บาทและการบริจาคช่วยเหลือสาธารณะ อาทิเช่น กรณีภัยพิบัติ เป็นต้น ตลอดระยะเวลา 10 ปี ของการขับเคลื่อนกลุ่มกองบุญคุณธรรมเพื่อจัดสวัสดิการชุมชน ต าบลกระหาด กลุ่มมีกระบวนการด าเนินการอย่างต่อเนื่องดังนี้ 1. การสื่อสารและประชาสัมพันธ์ให้สมาชิกและคนในชุมชนได้รับรู้ข้อมูล ข่าวสาร เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวและการด าเนินงานของกองบุญคุณธรรมเพื่อจัดสวัสดิการชุมชนอย่าง ต่อเนื่อง ซึ่งนอกจากจะเป็นการสร้างความรู้ ความเข้าใจให้กับสมาชิกเกี่ยวกับแนวคิด แนวปฏิบัติ และคุณค่าที่เกิดขึ้นต่อชุมชนโดยรวมแล้ว ยังเป็นขยับขยายหาสมาชิกเพิ่มอีกด้วย เหตุปัจจัยส าคัญ ประการหนึ่งที่แกนน าสะท้อน คือ คนในชุมชนบางส่วนยังยึดติดอยู่กับกรอบแนวคิดเดิมเกี่ยวกับการ รอรับการช่วยเหลือจากภาครัฐ การปรับเปลี่ยนวิธีคิดที่เน้นให้ชุมชนจัดการตนเอง โดยการประสาน ความร่วมมือกันทั้งภายในและภายนอก ยังเป็นเรื่องใหม่ ซึ่งจ าเป็นต้องอาศัยเวลาและผลลัพธ์เชิง รูปธรรมเป็นสิ่งบ่งชี้ที่จะยืนยันคุณค่าที่เกิดขึ้นต่อชุมชน กลยุทธ์ส าคัญที่กลุ่มใช้ คือ การชักชวน


149 ผู้ใหญ่บ้านสมัครเป็นสมาชิกและเป็นกรรมการกลุ่มกองบุญ ซึ่งจะท าให้การประชาสัมพันธ์กระท าได้ ง่ายขึ้น 2. การประชุมคณะกรรมการและสมาชิก มีการจัดประชุมคณะกรรมการ 2-3 เดือน ต่อ ครั้ง และอีกส่วนหนึ่ง คือ การเข้าร่วมประชุมเพื่อชี้แจงและท าความเข้าใจ พร้อมทั้งการประสาน ความร่วมมือกับฝ่ ายปกครองท้องที่ ซึ่งเป็นเวทีประชุมประจ าเดือนของก านัน ผู้ใหญ่บ้านและ หน่วยงานต่างๆ 3. การพัฒนาศักยภาพแกนน า การเสริมสร้างสติปัญญาและทักษะความสามารถให้แก่ แกนน ากลุ่มกองบุญ ส่วนใหญ่เป็นบทบาทขององค์กรภายนอกและเครือข่ายภาคี เช่น สถาบัน พัฒนาองค์กรชุมชน ขบวนสภาองค์กรชุมชนจังหวัดสุรินทร์ ซึ่งส่วนหนึ่งนั้นเป็นภารกิจที่จะต้อง ด าเนินการอยู่แล้ว เพื่อยกระดับองค์กรของชุมชนให้มีขีดความสามารถในการบริหารจัดการอย่างมี ประสิทธิภาพ อย่างเช่น การจัดท าระบบบัญชี การอบรมเรื่องการเขียนโครงการของบสมทบจาก หน่วยงานภาครัฐ เป็นต้น อีกประการหนึ่งเป็นการแลกเปลี่ยนบทเรียนประสบการณ์ รวมถึงการเติม เต็มให้แก่กันและกันในหมู่แกนน ากลุ่มองค์กร คือ เวทีการสรุปบทเรียนการขับเคลื่อนงานของขบวน สภาองค์กรชุมชนจังหวัดสุรินทร์ 4. การจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องสม ่าเสมอ ทั้งในส่วนของกิจกรรมกลุ่มและสาธารณะ ประโยชน์ การด าเนินงานของกลุ่มกองบุญคุณธรรม นอกจากกิจกรรมหลัก เช่น การสมทบเงินเข้า กองทุนของสมาชิกรายบุคคล การให้บริการเรื่องสวัสดิการตามเงื่อนไขกฎระเบียบแล้ว ประเด็นเนื้อ งานหนึ่งที่ส าคัญและเป็นการสร้างภาพลักษณ์ที่ดีของกลุ่มในแง่ของการสร้างประโยชน์ให้แก่สังคม คือ การสนับสนุนกิจกรรมสาธารณประโยชน์ ทั้งที่เป็นงานบุญประเพณีของชุมชน และการจัดค่าย เด็กเยาวชน 5. การประสานความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายและหน่วยงาน ทั้งฝ่ายท้องที่และและท้องถิ่นเพื่อเป็น แรงหนุนกระบวนการท างานของกลุ่ม ส่งผลให้กลุ่มได้รับความร่วมมือและสนับสนุนด้านทรัพยากร ในการด าเนินงานอย่างต่อเนื่อง ทั้งในแง่ของเงินทุนและการอนุเคราะห์เรื่องสถานที่และเจ้าหน้าที่ใน การช่วยด าเนินงานของกลุ่ม เป็นต้น ผลเชิงรปูธรรมที่เกิดขึ้นจากการขบัเคลื่อนงานกองบุญคณุธรรมเพื่อจดัสวสัดิการ 1. เกิดรูปแบบการจัดสวัสดิการชุมชนตั้งแต่เกิดจนตายโดยตัวชุมชนเอง ทุนเดิมที่เป็น การให้สวัสดิการในชุมชนนั้น ส่วนใหญ่เป็นเรื่องของการให้บริการสินเชื่อ เช่น กองทุนหมู่บ้าน กลุ่ม ออมทรัพย์ หรือร้านค้าสวัสดิการ และเงินสงเคราะห์ฌาปนกิจ การจัดสวัสดิการในรูปของการออม บุญหรือกองบุญคุณธรรมนั้น เป็นการจัดสวัสดิการโดยยึดหลักการช่วยเหลือเกื้อกูลและพึ่งพาอาศัย กันตามหลักธรรมในพระพุทธศาสนา


150 2. เกิดความร่วมมือและความสามัคคีของคนในชุมชน ทั้งในแง่ของตัวบุคคล (ผู้น า แกนน ากลุ่ม ชาวบ้าน) หน่วยงานและกลุ่มองค์กรชาวบ้าน ในการเข้ามีส่วนร่วมและมีบทบาทใน ฐานะแกนน ากลุ่มที่ช่วยกันรับผิดชอบเป็นรายหมู่บ้าน 3. เกิดความเชื่อมโยงความเป็นเครือข่ายเพื่อหนุนเสริมซี่งกันและกันทั้งในระดับต าบล และจังหวัด นับเป็นการเพิ่มศักยภาพของกลุ่มองค์กรในการเข้าถึงข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ต่างๆ รวมถึงการเชื่อมประสานทรัพยากรเพื่อจัดการแก้ไขปัญหาของชุมชน เช่น การเชื่อมประสาน แผนงานชุมชนกับแผนพัฒนาต าบลของเทศบาลต าบลกระหาด เป็นต้น ในส่วนของเครือข่าย จังหวัด ขบวนสภาองค์กรชุมชนจะท าหน้าที่เป็นพื้นที่กลางในการจัดการเรียนรู้ เพิ่มศักยภาพและ หนุนเสริมให้กลุ่มองค์กรด าเนินงานได้ดียิ่งขึ้น ไม่ว่าจะเป็นเวทีการสรุปบทเรียน การสอบทานการ ด าเนินงานต่างๆ เป็นต้น 4. การสร้างหลักประกันในการด าเนินชีวิตร่วมกันของชุมชน โดยการระดมทุน บริหาร จัดการทุนให้เกิดประโยชน์และบรรเทาความเดือดร้อน (สวัสดิการเกิด-ตาย / การส่งเสริมอาชีพ) อีก ทั้งการเชื่อมโยงและหนุนเสริม รวมถึงการเข้าร่วมมีอย่างบทบาทในเสริมสร้างสวัสดิการที่ไม่ใช่ตัว เงิน อย่างเช่น การจัดการทุนธรรมชาติที่เป็นป่าชุมชนเพื่อเป็นแหล่งอาหารและสมุนไพร 5. ความภาคภูมิใจ แกนน าบอกกล่าวอย่างมั่นใจว่า จากที่ช่วงแรกไม่มั่นใจว่าจะท าได้ไหม แต่เมื่อ กลุ่มกองบุญคุณธรรมได้ก่อเกิดและด าเนินงานอย่างต่อเนื่องมาตลอดระยะเวลา 10 ปี จากสมาชิก สามร้อยกว่าคนเป็นหลักประมาณพันกว่าคน และเงินกองทุนหมื่นกว่าบาทเป็นล้านกว่าบาท อยากจะสะท้อนความรู้สึกว่า สิ่งที่บังเกิดขึ้น คือ “ความภาคภูมิใจ พวกเราท าได้” อย่างไรก็ตาม ความมุ่งหวังของเราคือชาวบ้านจะต้องเข้าร่วมมากกว่านี้ อย่างน้อยก็ประมาณ 50-60 เปอร์เซ็นต์ หากเทียบสัดส่วนประชากรกับสมาชิกกองบุญคณธรรม คนเข้าร่วมเป็นสมาชิกมีเพียงร้อยละ 21.72 ของประชากรทั้งหมด 3.2 นวตักรรมชุมชน : เศรษฐกิจที่ขยายจากสวสัดิการ 1. สิ่งที่เกิดขึ้นใหม่ เกิดรูปแบบการจัดสวัสดิการชุมชนตั้งแต่เกิดจนตายโดยตัวชุมชน เอง แกนน าชุมชนที่เป็นคณะกรรมการสภาองค์กรชุมชนและกองบุญคุณธรรมเห็นร่วมกันว่า สวัสดิการที่มีอยู่ในชุมชนนั้น ส่วนใหญ่เป็นเรื่องของการให้บริการสินเชื่อ เช่น กองทุนหมู่บ้าน กลุ่ม ออมทรัพย์ เป็นต้น และเงินสงเคราะห์ฌาปนกิจ การจัดสวัสดิการในรูปของการออมบุญนั้น เป็นการ เปิดโอกาสให้ชุมชนได้เข้ามามีส่วนร่วมหรือเป็นส่วนหนึ่งในการสร้างกุศล โดยมุ่งเน้นการช่วยเหลือ เกื้อกูลและพึ่งพาอาศัยกันตามหลักธรรมในพระพุทธศาสนา นับว่าเป็นการประยุกต์หลักการท าบุญ ที่มีอยู่ในชุมชนอยู่แล้ว แต่นั้นเป็นการท าบุญบริจาคเงินถวายวัด แต่กองบุญนี้เป็นการท าบุญเพื่อ


151 ตนเองและผู้อื่น เป็นการมารวมตัวเพื่อ “แบ่งปันบุญกัน” และช่วยบรรเทาปัญหาด้านเศรษฐกิจ แม้ว่า จะเป็นตัวเงินที่ไม่มากนัก แต่สิ่งที่มากกว่าเงิน คือ “คุณค่าแห่งน ้าใจที่ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน” เป็น หลักประกันที่สมาชิกจะได้รับความช่วยเหลือตามกรอบเงื่อนไขกติกาที่ก าหนดร่วมกัน 2. เกิดจากการมีส่วนร่วม นับเป็นจุดแข็งอีกประการหนึ่งของกลุ่มกองบุญคุณธรรม ต าบลกระหาด ที่ตัวแทนภาคส่วนต่างๆไม่ว่าจะเป็นฝ่ายปกครอง ก านัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วย แกนน า กลุ่มองค์กรชาวบ้าน เช่น อสม. กองทุนหมู่บ้าน สมาชิกสภาเทศบาล และในส่วนของเจ้าหน้าที่และ ฝ่ายบริหารเทศบาลต าบลกระหาด รวมถึง พระสงฆ์ ได้เข้ามามีส่วนร่วมและมีบทบาทส าคัญในการ ขับเคลื่อน ทั้งการเป็นสมาชิก กรรมการด าเนินงานและที่ปรึกษา ตั้งแต่แรกเริ่มกระทั่งถึงปัจจุบัน อย่างต่อเนื่อง 3. ง่ายต่อความเข้าใจของชุมชน การใช้ “บุญ” เป็นเครื่องมือน าทางไปสู่การสร้าง สวัสดิการชุมชน นับว่าเป็นกุศโลบายที่ดี สอดคล้องกับวิถีวัฒนธรรมและความคิดความเชื่อของคน ในชุมชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภาคชนบท แม้ว่ากระแสสังคมปัจจุบันจะเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย สู่ “สังคมไร้พรมแดน” ที่มีการเข้าถึงและกระจายข้อมูลข่าวสารอย่างรวดเร็ว แต่กระแสของบุญยัง ด ารงอยู่คู่ชุมชนมิได้จางหายไป ต าบลกระหาดเป็นต าบลหนึ่งในพื้นที่จังหวัดสุรินทร์ ที่ได้ขับเคลื่อน งานสวัสดิการชุมชนภายใต้แนวคิดการออมบุญ “หนึ่งบาท คือ การท าบุญ” แม้ว่าช่วงระยะแรกๆคน จะคิดเชิงเปรียบเทียบกับการประกันชีวิตในเรื่องของความคุ้มค่า เมื่อผลปรากฏที่เป็นรูปธรรมจับ ต้องได้เมื่อมีการจัดสวัสดิการ คนในชุมชนก็เข้ามาร่วมเป็นสมาชิกเพิ่มมากขึ้น 4. สามารถน าไปปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง กลุ่มกองบุญคุณธรรมเพื่อจัดสวัสดิการได้ก่อเกิด และด าเนินงานอย่างต่อเนื่องมาตลอดระยะเวลา 10 ปี จากสมาชิกสามร้อยกว่าคนเป็นหลักประมาณ พันกว่าคน และเงินกองทุนหมื่นกว่าบาทเป็นล้านกว่าบาท สิ่งที่บังเกิดขึ้น คือ “ความภาคภูมิใจ การ ท าได้อย่างต่อเนื่อง” อย่างไรก็ตาม ความมุ่งหวังของแกนน าที่เป็นคณะกรรมการ คือ ชาวบ้าน จะต้องเข้าร่วมมากกว่านี้ อย่างน้อยก็ประมาณ 50-60 เปอร์เซ็นต์ หากเทียบสัดส่วนประชากรกับ สมาชิกกองบุญคณธรรม คนเข้าร่วมเป็นสมาชิกมีเพียงร้อยละ 21.72 ของประชากรทั้งหมด 5. เกิดประโยชน์ต่อส่วนรวม กองบุญคุณธรรมเพื่อจัดสวัสดิการเป็นการสร้าง หลักประกันในการด าเนินชีวิตร่วมกันของชุมชน แม้ว่าโดยหลักคิดต้อง 3 ขา คือ ชาวบ้าน อปท. และรัฐบาล แต่สิ่งหนึ่งที่ส าคัญ คือ ชุมชนไม่ได้รอรับการช่วยเหลือจากนโยบายรัฐเพียงอย่างเดียว แต่ได้ด าเนินการด้วยตัวชุมชนในการระดมทุน บริหารจัดการทุนให้เกิดประโยชน์และบรรเทาความ เดือดร้อน (สวัสดิการเกิด-ตาย / การส่งเสริมอาชีพ) อีกทั้งการเชื่อมโยงและหนุนเสริมการจัดการ สวัสดิการที่ไม่ใช่ตัวเงิน อย่างเช่น การจัดการป่าชุมชน ซึ่งเป็นธนาคารอาหารและสมุนไพรซึ่งเป็น การลดค่าใช้จ่ายครัวเรือนและสร้างเศรษฐกิจบนฐานทรัพยากรธรรมชาติ


152 6. เกิดการเปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์ เป็นการเชื่อมโยงความเป็นเครือข่ายเพื่อหนุน เสริมซี่งกันและกันทั้งในระดับต าบลและจังหวัด ภายใต้วิกฤตสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงในระดับ โลกและระดับประเทศ อันส่งผลกระทบต่อชุมชนด้วยอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ การประสานความร่วมมือ ในรูปของเครือข่ายทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ นับว่ามีความส าคัญเป็นอย่างมาก นั่น หมายถึง การเพิ่มศักยภาพของกลุ่มองค์กรในการเข้าข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ต่างๆ รวมถึงการเชื่อม ประสานทรัพยากรที่จะน าพามาสู่การจัดการปัญหาของชุมชน ทั้งในส่วนของกลุ่มองค์กรชาวบ้าน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและหน่วยงานภาครัฐ ดังเช่นปัจจุบัน กลุ่มกองบุญคุณธรรมเป็นส่วน หนึ่งที่มีบทบาทในการบูรณาการแผนชุมชนกับแผนพัฒนาต าบลของเทศบาลต าบลกระหาด ในส่วน ของภาคีเครือข่ายระดับจังหวัด ขบวนสภาองค์กรชุมชนจะเป็นพื้นที่กลางในการจัดการเรียนรู้ เพิ่ม ศักยภาพและหนุนเสริมให้กลุ่มองค์กรด าเนินงานได้ดียิ่งขึ้น ไม่ว่าจะเป็นเวทีการสรุปบทเรียน การ สอบทานการด าเนินงานต่างๆ เป็นต้น ส่วนที่ 4 ผลลัพธ์ต าบลเข้มแข็ง 4.1 สังเคราะห์ภาพรวมต าบลเข้มแข็ง ผลการศึกษาพบว่า 1. คนมีคุณภาพ กลุ่มกองบุญคุณธรรมเพื่อจัดสวัสดิการที่ด าเนินงานมาอย่างต่อเนื่อง กระทั่งถึงปัจจุบันและมีกองทุนกลุ่มอยู่ล้านกว่าบาท ปัจจัยส าคัญประการหนึ่ง คือ ความเชื่อมั่นของ สมาชิกที่มีต่อแกนน า “การท าจริง ชุมชนได้ประโยชน์เป็นรูปธรรม” นั่นหมายถึง การบ่งชี้ให้เห็นถึง ศักยภาพของแกนน าที่ขับเคลื่อนงานว่าเป็นคนที่มีความรู้ ความสามารถและมีจิตอาสาในการท างาน ให้แก่ส่วนรวม โดยยึดหลัก ร่วมรับผลประโยชน์, รับโอกาสอย่างเท่าเทียม ไม่เลือกปฏิบัติ เป็น แนวคิดหลักในการท างาน อีกทั้งการมีองค์ประกอบของบุคคลที่เป็นคณะกรรมการ ทั้งผู้น าชุมชน ข้าราชการเกษียณ ผู้รู้หรือปราชญ์ชาวบ้าน แกนน ากลุ่มองค์กรชาวบ้านและพระสงฆ์ ซึ่งบุคคล เหล่านี้โดยพื้นฐานได้รับการยอมรับจากชุมชนในฐานะผู้น าทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการอยู่ แล้ว เมื่อเข้ามาร่วมและมีบทบาทส่งผลท าให้กลุ่มกองบุญคุณธรรมได้รับการยอมรับและเชื่อมั่นมาก ขึ้น 2. ด้านคุณภาพชีวิต กองบุญคุณธรรมคือหลักประกันหนึ่งในการด าเนินชีวิต เป็นการ เสริมขวัญก าลังใจให้คนในชุมชน ยามเมื่อประสบปัญหาก็มีแหล่งพึ่งพิงอย่างน้อยก็ท าให้อุ่นใจ เป็น การธ ารงรักษาไว้ซึ่งรากเหง้าของการช่วยเหลือเกื้อกูลกันของสังคมชุมชนเกษตรกรรม แม้ว่า ปัจจุบันกระแสการพัฒนาจะเข้ามากระทั่งเปลี่ยนแปลงเป็นสังคมชนบทกึ่งเมืองมากแล้วก็ตาม อีก ส่วนหนึ่ง การรักษาแหล่งอาหารและสมุนไพรชุมชน กรณี ป่าชุมชนหนองเสม็ด แม้ว่ากองบุญฯจะ ไม่ได้เข้าไปขับเคลื่อนหรือหนุนเสริมโดยตรง แต่แกนน ากลุ่มนับเป็นส่วนหนึ่งที่มีบทบาทและร่วม


153 จัดการในฐานะของคณะกรรมการดูแลป่าชุมชน ประการส าคัญที่กลุ่มจะต้องคิดพัฒนายกระดับต่อ คือ กองทุนที่มีอยู่ล้านกว่าบาทจะน าใช้ให้เกิดประโยชน์พอกพูนแก่ชุมชนอย่างไร ไม่ว่าจะเป็นเรื่อง ของการพัฒนาทางด้านฐานอาชีพ เศรษฐกิจชุมชน หรือแม้กระทั่งเรื่องการสร้างความมั่นคงด้าน อาหารที่เกี่ยวพันการจัดการดิน น ้า ป่า ซึ่งเป็นปัจจัยส าคัญในการด ารงชีวิตและชีวิตความเป็นอยู่ ของผู้คน อีกประเด็นหนึ่ง การสร้างสังคมที่ดี ซึ่งพื้นฐานสังคมชนบทเป็นสังคมที่พัฒนาเปลี่ยนผ่าน จากสังคมเกษตรกรรมดั้งเดิมที่มีระบบการผลิตแบบพึ่งพาตนเองและวัฒนธรรมที่เกื้อกูล สู่สังคมที่ พึ่งพาภายนอกและสังคมกึ่งเมือง-ชนบท แต่สิ่งที่ยังเป็นรากฐานอันส าคัญที่ถูกบ่มเพาะมาอย่าง ยาวนาน คือ การช่วยเหลือเกื้อกูลกัน แต่ด้วยข้อจ ากัดทางด้านเศรษฐกิจ-สังคมและสภาพแวดล้อมที่ เปลี่ยนแปลง ท าให้บางอย่างบางประการขาดหายไป หรือเกิดการปรับรูปแบบ เช่น ระบบ แลกเปลี่ยนสิ่งของมาเป็นระบบเงินตราเป็นตัวกลาง การขยับขับเคลื่อนงานโดยใช้ “บุญน า” ได้ช่วย หนุนเสริมในการสร้างสังคมที่ดีดังเช่น • คนในชุมชนทุกภาคส่วนได้เข้ามามีบทบาทในการพัฒนาโดยยึดพื้นฐานชุมชนเป็น ตัวตั้ง • ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการสนับสนุนงานวัฒนธรรมประเพณีที่สืบทอดต่อเนื่องกัน มา • การน าหลักธรรมเข้ามาใช้ในการพัฒนา เช่น ค่ายธรรมะ • การหนุนเสริมเด็กนักเรียนให้เกิดขวัญก าลังใจในการศึกษาเล่าเรียน • การเปิดโอกาสให้คนเข้าถึงและจัดสวัสดิการชุมชนร่วมกันอย่างเป็นธรรมและเท่า เทียม 3. การปรับเปลี่ยนความสัมพันธ์เชิงโครงสร้าง การประสานความร่วมมือกับภาคี เครือข่ายและหน่วยงานภาครัฐ เป็นการสานพลังภายในและภายนอก เพื่อหนุนเสริมกระบวนการ ท างานของกลุ่ม สิ่งที่แกนน ากลุ่มด าเนินการได้เป็นอย่างดี ปรากฏรูปธรรมที่ชัดเจน คือ การประสาน หน่วยงานทั้งฝ่ายปกครองท้องที่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและหน่วยงานราชการ รวมถึงขบวน เครือข่ายองค์กรชุมชน ซึ่งผลของการประสานความร่วมมือ นอกเหนือจากบทบาทการเข้าร่วม ขับเคลื่อนงานในฐานะกรรมการด าเนินงานและที่ปรึกษาแล้ว ด้านทรัพยากรที่เป็นเงินทุนก็มีการ สนับสนุนหรือสมทบเข้ามา จากรายงานสถานะการเงินของกองบุญคุณธรรมเพื่อจัดสวัสดิการชุมชน ต าบลกระหาด ปี 2564 กลุ่มได้รับงบสมทบโดยรวมจากเทศบาลต าบลกระหาด 600,000 บาท และ จากรัฐบาลผ่านทางสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน 539.321 บาท และการอนุเคราะห์เรื่องสถานที่และ เจ้าหน้าที่ในการช่วยด าเนินงานของกลุ่ม เป็นต้น รวมถึงการบูรณการแผนพัฒนาต าบลกระหาด


154 4) องค์กรชุมชนมีความสามารถในการบริหารจัดการ หลักการท างานของกลุ่มกองบุญคุณธรรม คือ ร่วมรับผลประโยชน์, รับโอกาสอย่างเท่าเทียม ไม่เลือกปฏิบัติ พร้อมทั้งน าหลักธรรมาภิบาล โปร่งใส ตรวจสอบได้ มาเป็นบรรทัดฐานในการด าเนินงาน โดยมีระบบการบันทึกเอกสารที่ชัดเจน ทั้ง รายงานการเงิน รายงานการประชุมและกฎระเบียบข้อตกลงต่างๆ ส่งผลให้สมาชิกและชุมชนเกิด ความเชื่อถือและมั่นใจ กองทุนมีการเติบโตอย่างต่อเนื่องและสามารถช่วยเหลือสมาชิกได้ตาม สมควร 4.2วิธีการน าใช้ตวัชี้วดัเป็ นเครื่องพฒันาตา บลเข้มแขง ็ ผลจากการศึกษาพบว่า กองบุญคุณธรรมไม่ได้น าเกณฑ์ตัวชี้วัดต าบลเข้มแข็งเป็นเครื่องมือ ในการวางกรอบเป้าหมายที่ต้องการบรรลุและวางแผนการขับเคลื่อนงานอย่างเป็นรูปธรรม อย่างไร ก็ตาม การด าเนินงานของกลุ่มสามารถที่จะบ่งชี้ตามตัวชี้วัดต าบลเข้มแข็งหลายประการด้วยกัน คือ 1. จ านวนแกนน าและองค์ประกอบที่ร่วมเป็นคณะกรรมการ ประกอบด้วยตัวแทนจาก ภาคส่วนต่างๆ เช่น ผู้น าชุมชน แกนน ากลุ่มองค์กรสตรี สมาชิกสภาเทศบาล ข้าราชการเกษียณ ผู้รู้ หรือปราชญ์ชาวบ้าน เป็นต้น กระจายทุกหมู่บ้านจ านวน 32 คน ซึ่งชี้ให้เห็นว่าชุมชนเห็น ความส าคัญของกลุ่มแกนน าต่างๆที่จะร่วมกันพัฒนาให้กองทุนมีความเจริญก้าวหน้า 2. การจัดท าแผนชุมชนแบบบูรณาการ โดยความร่วมมือทั้งในส่วนของสภาองค์กร ชุมชน ฝ่ายปกครองท้องที่ องค์กรปกครองส่วนถิ่นและพัฒนาชุมชน เพื่อเป็นแผนพัฒนาต าบลที่ทุก ภาคส่วนสามารถหยิบใช้ประโยชน์ได้ ทั้งในระดับหมู่บ้าน ต าบลและการเชื่อมโยงสู่ระดับอ าเภอและ จังหวัด 3. การพัฒนาระบบสวัสดิการที่เชื่อมโยงกับฐานทรัพยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะกรณี ป่าชุมชน โดยมีบทบาทการเข้าร่วมในฐานะกรรมการหรือตัวแทนชุมชน ส่วนที่ 5 ข้อคิดเหน ็ และข้อเสนอแนะ แม้ว่า กระแสการพัฒนาจะเน้นไปสู่ทิศทางใดก็ตาม ปรากฏการณ์หนึ่งที่พบ คือ “ค าตอบอยู่ ในหมู่บ้าน” การจัดการสวัสดิการด้วยตนเองของชุมชน อย่างกรณี กองบุญคุณธรรมเพื่อจัด สวัสดิการต าบลกระหาด นับเป็นรูปธรรมที่เห็นชัดว่าชุมชนมีศักยภาพ สามารถเสริมสร้างสวัสดิการ ของตนเอง ในรูปของ “กองบุญคุณธรรม” อย่างไรก็ดี ภายใต้วิกฤติใหม่ที่ก าลังส่งผลกระทบอย่าง มาก ทั้งการเปลี่ยนแปลงสภาพดินฟ้าอากาศและโรคอุบัติใหม่ที่เกิดอย่างต่อเนื่อง กลุ่มกองบุญ คุณธรรมและสภาองค์กรชุมชนต าบลกระหาด


155 - ควรพัฒนายกระดับระบบการจัดสวัสดิการชุมชนภายใต้สถานการณ์ใหม่ที่ภูมินิเวศและภูมิ สังคมเปลี่ยนแปลงให้ครอบคลุมทุกมิติบนฐานปัจจัยสี่ โดยการมองภาพรวมการจัดการ ทรัพยากรต่างๆให้บังเกิดผลทั้งเชิงมูลค่าและคุณค่า - สร้างอ านาจต่อรองเพื่อผลักดันนโยบายและการเข้าถึงทรัพยากรระดับท้องถิ่น แม้ว่าปัจจุบัน จะมีการบูรณาการจัดท าแผนร่วมทั้งในส่วนของหน่วยงานภาครัฐ องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น ฝ่ายปกครองท้องที่และสภาองค์กรชุมชน แต่ก็ยังขับเคลื่อนได้อย่างจ ากัด - พัฒนาต้นแบบเศรษฐกิจที่ขยายจากสวัสดิการให้เป็นรูปธรรมที่ชัดเจน เพื่อเป็นแบบอย่างใน การขยายผลการด าเนินงานเพื่อสร้างเศรษฐกิจและทุนทั้งในระดับต าบลและเครือข่าย - เสริมสร้างและพัฒนาผู้น ารุ่นใหม่ เพื่อสานต่องานพัฒนา


156 ภาพแสดงการจัดเวทีชาวบ้าน


157 การถอดองค์ความรู้การพัฒนาต าบลต้นแบบนวัตกรรมชุมชน ตา บลดงลิง อา เภอกมลาไสย จงัหวดักาฬสินธุ์ โดย กฤติน เอกพนัธ์ 1. ข้อมูลทวั่ ไปของตา บลดงลิง 1.1 ลักษณะที่ตั้ง ต าบลดงลิง ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ของอ าเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์ ระยะทางห่างจากตัวอ าเภอประมาณ 15 กิโลเมตร และอยู่ห่างจากจังหวัดกาฬสินธุ์ ประมาณ 28 กิโลเมตร มีพื้นที่ทั้งหมด 39.50 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 24,683 ไร่ เส้นทางคมนาคมที่ ส าคัญ ได้แก่ ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 2116 เชื่อมระหว่างอ าเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด กับ อ าเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น มีอาณาเขตติดต่อกับเขตพื้นที่องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นอื่น ดังนี้ ทิศเหนือ ติดกับ ต าบลโพนงาม อ าเภอกมลาไสย ทิศใต้ ติดกับ ต าบลเจ้าท่า อ าเภอกมลาไสย ทิศตะวันออก ติดกับ ต าบลเหล่าอ้อย อ าเภอร่องค า ทิศตะวันตก ติดกับ ต าบลธัญญา อ าเภอกมลาไสย


158 1.2 ประวตัิความเป็ นมา ตามหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่พบตามแหล่งโบราณคดีและแหล่งประวัติศาสตร์ต่างๆ ตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์มาจนถึงยุคประวัติศาสตร์ พบว่าบริเวณชัยภูมิที่มีผู้คนเลือกเป็นแหล่งที่ อยู่อาศัยและที่ท ามาหากิน คือบริเวณที่มีความอุดมสมบูรณ์ใกล้แหล่งน ้า เนื่องจากเป็นพื้นที่อ านวย ต่อการด ารงชีวิต การท ามาหากิน การคมนาคม ซึ่งเดิมใช้แม่น ้าตามธรรมชาติ เป็นเส้นทาง คมนาคม ต าบลดงลิง ตั้งเมื่อประมาณปี 2456 สมัยราชการที่ 6 ซึ่งในสมัยนั้นอ าเภอกมลาไสยมี 4 ต าบล คือ กมลาไสย หนองแปน โพนงาม และต าบลดงลิง โดยมีท่านหลวงชารี สิงห์เจือ เป็นก านัน คนแรก ท่านอยู่ที่บ้านดงลิง จึงตั้งชื้อต าบล ว่าต าบลดงลิง ในยุคแรกมีทั้งหมด 21 หมูบ้าน คือบ้าน ดงลิง บ้านโจด บ้านหนองบัว บ้านหัวแฮด บ้านส้มโฮง บ้านกุดอ้อ บ้านท่ากลาง บ้านท่าเพลิง บ้าน เหมือดแอ่ บ้านหนองมะเกลือ บ้านเก่าน้อย บ้านโนนรัง บ้านเมย บ้านสวนโคก บ้านโคกล่าม บ้าน โคกศรี บ้านสีถาน บ้านโนนเมือง บ้านดอนหวาย บ้านแวง ในสมัยท่านก านันเสงี่ยม อรรถเสลา บ้านกุดค้อ ได้ย้ายไปอยู่เขตฝั่งจังหวัดร้อยเอ็ด จึงตั้ง บ้านโนนเมืองหมูที่ 8 ขึ้นแทน ในสมัยท่านก านันบุญ ช านาญการ ทางราชการได้ตั้งต าบลธัญญาขึ้น ต าบลดงลิงจึงเหลือหมู่บ้านเพียง 13 หมู่บ้าน คือ บ้านเมย บ้านสวนโคก บ้านโคกล่าม บ้านโคกศรี บ้านสีถาน บ้านโนนเมือง บ้านดอนหวาย บ้านแวง บ้านท่ากลาง บ้านท่าเพลิง บ้านเหมือดแอ่ บ้าน หนองมะเกลือ บ้านเก่าน้อยและบ้านโนนรัง ต่อมาในสมัยท่านก านันพิทักษ์ กมลเลิศ ทางอ าเภอ กมลาไสยได้ตั้งต าบลเจ้าท่าขึ้น ต าบลดงลิง จึงเหลือชุมชนเพียง 8 ชุมชน ประกอบด้วย 17 หมู่บ้าน ในปัจจุบัน 1.3 ลกัษณะภมูิประเทศ ลักษณะภูมิประเทศของต าบลดงลิง เป็นพื้นที่ราบและมีความลาดเอียงไปทางด้านทิศ ตะวันตก และมีลักษณะเป็นแอ่งเป็นที่รองรับน ้าจากล าน ้าปาวและล าน ้าชีในช่วงฤดูฝน จึงส่งผลให้ พื้นที่ปลูกข้าวของเกษตรกรได้รับความเสียหายจากน ้าท่วมเป็นประจ าทุกปี นอกจากนี้แล้วยังมี พื้นที่เนินสูงเป็นผืนป่าจ้ดเป็นเขตสงวนแห่งชาติ


159 1.4 ลกัษณะภมูิอากาศ ต าบลลดงลิง นี้มีลักษณะภูมิอากาศ 3 ฤดูกาล ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่เดือนมีนาคมถึงเดือนพฤษภาคม และร้อนจัดในเดือนเมษายน ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่เดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม ฝนจะตกชุกในเดือนสิงหาคม ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายนถึงเดือนกุมภาพันธ์ หนาวจัดในเดือนธันวาคม 1.5 ลักษณะแหล่งน ้า พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่มมีล าน ้าชี และล าน ้าปาว ซึ่งเป็นล าน ้าขนาดใหญ่มีน ้าตลอดทั้งปี ไหลผ่าน นอกจากนี้ยังมีแหล่งน ้าขนาดเล็กซึ่งบางแห่งมีน ้าตลอดทั้งปี มีระบบชลประทานคลองส่ง น ้าเขื่อนล าปาวและสถานีสูบน ้าด้วยไฟฟ้า พื้นที่ส่วนใหญ่จึงเหมาะแก่การท าการเกษตร 1.6 การใช้ที่ดิน จากข้อมูลทุติยภูมิของกรมพัฒนาที่ดิน (2559) พบว่า ต าบลดงลิงมีเนื้อที่ 24,683 ไร่ มากกว่าครึ่ง (ร้อยละ 57.60) เป็นพื้นที่นา 18,403.8 ไร่ (ร้อยละ 8.70) เป็นพื้นที่ป่า 2,150 ไร่ (ร้อย ละ 16.73) เป็นพื้นที่ชุมชน 4,130 ไร่ 1.7 ลกัษณะความเหมาะสมของดินต่อการปลูกพืช จากข้อมูลทุติยภูมิของกรมพัฒนาที่ดิน (2559) พบว่า พื้นที่ส่วนใหญ่ของต าบลนี้มีความ เหมาะสมส าหรับการปลูกข้าวในระดับสูง ร้อยละ 83 หรือ 15,274.49 ไร่ และมีความเหมาะสมปาน กลาง ร้อยละ 17 หรือ 3,128 ไร่ ซึ่งพื้นที่มีลักษณะเป็นแอ่งเสียงต่อการถูกน ้าท่วม 2. ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ 2.1 ลักษณะอาชีพหลักของประชากร การประกอบอาชีพของประชากรส่วนใหญ่ร้อยละ 80 ของประชากรทั้งหมดประกอบอาชีพ เกษตรกรรมมีกิจกรรมทางการเกษตรที่สร้างรายได้หลักได้แก่ การปลูกข้าวนาปี การปลูกข้าวนา ปรัง และการเลี้ยงโคเนื้อ ส าหรับประชาการที่อยู่ในในวัยเริ่มต้นของการท างานจะประกอบอาชีพ รับจ้างในภาคอุสาหกรรมและภาคบริการในต่างจังหวัด และประกอบอาชีพค้าขายอยู่ในท้องถิ่น นอกจากนั้นยังมีกลุ่มพ่อบ้านวัยท างานประกอบอาชีพ เป็นช่างแกะสละศิลปะ ด้านงานแกะสละลาย น ้า วิจิตรศิลป์ สร้างโบสถ์วิหารวัด ทั้งในพื้นที่และต่างจังหวัด


160 2.2 ลักษณะการรวมกลุ่มอาชีพของประชากร ในพื้นที่ต าบลดงลิง มีประชาชนรงมกลุ่มจ านวน 58 กลุ่ม โดยแบ่งเป็น กลุ่มอาชีพ 20 กลุ่ม กลุ่มออมทรัพย์ 14 กลุ่ม และกลุ่มอาชีพอื่นๆ 24 กลุ่ม ซึ่งการรวมกลุ่มประกอบอาชีพอุตสาหกรรม ในระดับครัวเครือนที่ส าคัญคือ กิจการอุตสาหกรรมจักรเย็บกระเป๋ า บ้านดอนหวาย กิจการกลุ่มเย็บ หมอนเพื่อสุขภาพ บ้านโคกล่าม หมู่ที่ 2 16 กิจการกลุ่มสตรีทอผ้าฮังกอล บ้านเมย บ้านสีถาน หมู่ที่ 5 11 กิจการกลุ่มสตรีทอกก บ้านแวง หมู่ที่ 6 และกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านสวนโคก หมู่ที่ 1 13 2.3 ข้อมูลรายได้ของครัวเรือน จากข้อมูลความจ าเป็นขั้นพื้นฐานของชุมชนในปี พ.ศ. 2563 พบว่ารายได้เฉลี่ยของ ประชากร เท่ากับ 32,500 บาท/คน/ปี ซึ่งรายได้ประชากรส่วนใหญ่ยังคงมาจากการประกอบอาชีพ ภาคการเกษตร และการรับจ้างในภาคอุตสาหกรรมและการบริการ ตามล าดับ และมีแนวโน้มว่า รายได้ของครัวเรือนจะมาจากการประกอบอาชีพรับจางในภาคอุสาหกรรมมากขึ้น 2.4 สถาบนัการเงินและสวสัดิการชุมชน ต าบลดงลิงแหล่งเงินทุน และกองทุนสวัสดิการที่ส าคัญคือ 1) กองทุนหมู่บ้าน 17 แห่ง เป็น แหล่งทุนหลักของประชาชนในชุมชน ใช้ส าหรับเป็นทุนการประกอบอาชีพ ใช้จ่ายในเวลาฉุกเฉิน และส่งเสริมการออม 2) กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต 3) กลุ่มกองทุนสวัสดิการชุมชน 2.5 ระบบการผลิตทางการเกษตร จากการศึกษาพบว่า สภาพพื้นที่ต าบลดงลิงมีความเหมาะสมกับการปลูกข้าวถึงร้อยละ 83 ของพื้นที่ท าการเกษตรทั้งหมด ประกอบกับมีสถานีสูบน ้าเพื่อการเกษตรจ านวน 4 สถานีและมี ระบบชลประทานแบบคลองเปิดครอบคลุมพื้นที่ท าการเกษตร ชาวบ้านจึงนิยมปลูกข้าวจ้าวพันธุ์ หอมมะลิ 105 และปลูกข้าวเหนียว พันธุ์ กข6 บางส่วน โดยจะเริ่มท าการเพาะปลูกข้าวในช่วงต้น เดือนพฤษภาคมและจะเก็บเกี่ยวในช่วงเดือนปลายพฤศจิกายน หลังจากการเก็บเกี่ยวข้าวนาปี ชาวบ้านจะเริ่มปลูกข้าวนาปรังในช่วยเดือนธันวาคม และจะเริ่มเก็บเกี่ยวผลผลิตในเดือนมีนาคม


161 3 ข้อมูลด้านสังคม 3.1 จ านวนครัวเรือนและประชากร ต าบลดงลิงแบ่งการปกครองออกเป็น 17 หมู่บ้าน มีครัวเรือนทั้งหมดจ านวน 2,376 ครัวเรือน มีประชากรรวมจ านวน 10,480 คน แบ่งเป็นชาย 5,231 คน หญิง 5,249 คน และจาก รายงานโครงสร้างอายุของประชากรในชุมชนต าบล ของ รพสต.สวนโคก และ รพสต.สีถาน พบว่า ประชาการที่อยู่ในวัยเด็กช่วงอายุ แรกเกิดถึง 5 ปี มีจ านวน 637 คน วัยเรียนช่วงอายุ 6 ปี ถึง 23 ปี มีจ านวน 2,367 คน วัยท างานช่วงอายุ 24 ปี ถึง 60 ปี มีจ านวน 5,811 คน และวันผู้สูงอายุ ช่วง อายุ 61 ปีขึ้นไป มีจ านวน 1,620 คน 3.2 ด้านสุขภาพ จากการรายงานประจ าปี พ.ศ. 2563 ของ รพสต.สวนโคก และ รพสต.สีถาน พบว่า ในด้าน สุขภาพของประชาชนพบว่า ชาวบ้านที่อยู่ในช่วงอายุ 40 ปี ถึง 50 ปี เริ่มมีภาวะเสี่ยงต่อการเป็น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และมีสารพิษตกค้างในร่างกาย ในช่วงอายุ 55 ปีขึ้นไปเริ่มป่วย เป็นโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และมีภาวะเสียงต่อการเป็นโรคไต และสาเหตุการเสียชีวิตของ คนในชุมชนมักจะมาจากโรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง และโรคไตวาย ตามล าดับ 3.3 ด้านการศึกษา การจัดการศึกษาของต าบลดงลิง ได้ด าเนินการตามโครงการถ่ายโอนภารกิจการจัด การศึกษาศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ในวัด จ านวน 8 แห่ง และมีโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาในเขต ต าบล จ านวน 1 แห่ง โรงเรียนระดับประถมศึกษา จ านวน 6 แห่ง และเด็กในวัยเรียนได้ไปศึกษา ต่อในระดับมัธยมศึกษาที่ อ าเภอกมลาไสย และศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาที่ จังหวัดกาฬสินธุ์ จังหวัดมหาสารคาม และจังหวัดขอนแก่น 3.4วัฒนธรรมประเพณี งานประเพณีท้องถิ่นส าคัญที่ทางต าบลดงลิงได้จัดเป็นประจ าทุกปีประกอบด้วย 1) ประเพณี แข่งเรือเล็ก ได้จัดกิจกรรมในประเพณีเดือนเมษายนของทุกปี 2) ประเพณีบุญบั้งไป ได้จัดกิจกรรม ในประเพณีช่วงเดือนพฤษภาคมและเดือนมิถุนายนของทุกปีและ 3) ประเพณีเส็งกองกิ่ง ที่ได้มีจัด กิจกรรมประเพณีช่วงเดือนเมษายนของทุกปี


162 3.5 ด้านศาสนา ประชาชนส่วนใหญ่เป็นชาวพุทธนับถือศาสนาพุทธ ให้ความส าคัญกับการท า กิจกรรมในวันส าคัญของพระพุทธศาสนา แต่ละชุมชนจะมีวัดเพื่อให้พระสงฆ์ได้พักอาศัยและเป็น สถานที่ปฏิบัติธรรมของชาวบ้าน ซึ่งต าบลดงลิงมีวัดทั้งหมดจ านวน 11 แห่ง 4. จดุเริ่มต้นของการพฒันาพื้นที่ตา บลดงลิง จากข้อมูลบริบทของต าบลดงลิง จะเห็นได้ว่าเป็นชุมชนเกษตรกรรมประชาชนจึงมีทักษะที่ดี ในด้านการประกอบอาชีพทางการเกษตร สภาพการของการอยู่อาศัย พบว่า อยู่เป็นกลุ่มเครือญาติ มีทั้งหมด 8 ชุมชน แบ่งการปกครองออกเป็น 17 หมู่บ้าน มีการบริหารจัดการพัฒนาท้องถิ่นโดย ส านักงานเทศบาลต าบลดงลิง ส าหรับด้านการพัฒนาของหน่วยงานภาครัฐที่ผ่านมาประกอบด้วย การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน ด้านสังคม ด้านเศรษฐกิจ และด้านสาธรณสุข เหมือนกับพื้นที่อื่นๆ ทั่วไป ในส่วนของสภาพปัญหาของชุมชนที่ส าคัญคือ การเผชิญปัญหาการขาดแคลนน ้าส าหรับท า นาปรังในช่วงฤดูแล้ง ประกอบกับรัฐบาลมีนโยบายให้เกษตรงดท านาปรังและหันไปปลูกพืชใช้น ้า น้อยทดแทน เช่น ถั่งลิสง ถั่วเขียว และข้าวโพด และอีกประเด็นหนึ่งคือ คนในวัยแรงงานมักจะ ออกไปรับจ้างต่างถิ่นหลังฤดูเก็บเกี่ยวข้าวนาปี ท าให้เกิดปัญหาครอบครัวเด็กไม่ได้อยู่กับพ่อแม่ ขาดความอบอุ่น ติดเกมส์ ติดยาเสพติด ซึ่งหากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และชุมชนไม่ช่วยกัน ด าเนินการแก้ไข อาจส่งผลให้ปัญหาดังกล่าวมีความรุนแรงมากขึ้น ถึงแม้ว่าต าบลดงลิงจะเผชิญกับปัญหาทางด้านเศรษฐกิจและสังคมมาโดยตลอด ยังมีกลุ่ม ผู้น าชุมชนรวมกับหน่วยงานด าเนินการแก้ไขปัญหา และหาวิธีป้องกันมาอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้คน ในชุมชนมีการรวมกลุ่มอย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการ มีทั้งหมด 58 กลุ่ม แบ่งเป็นกลุ่มอาชีพ 20 กลุ่ม กลุ่มออมทรัพย์ 14 กลุ่ม และกลุ่มอื่นๆ 14 กลุ่ม ซึ่งถือว่าเป็นจุดเริ่มต้นของการพัฒนาที่มี การขับเคลื่อนโดยใช้รูปแบบของกลุ่ม ทุนของชุมชนต่อการพัฒนาสู่ชุมชนเข้มแข็งต้นแบบ ต าบลดงลิง ที่เป็นรูปธรรมประชาชน ได้รับประโยชน์ร่วมกันคือ กองทุนหมู่บ้าน กองทุนออมทรัพย์เพื่อการผลิต กองทุนสวัสดิการชุมชน และการพัฒนากลุ่มอาชีพ ซึ่งกลุ่มที่กล่าวมานั้นยังอยู่ระหว่างการพัฒนาเพื่อสร้างความเข้มแข็ง ให้ สามารถพึ่งตนเองได้ โดยยังได้รับการสนับสนุนจากทางหน่วยงานภาครัฐอย่างต่อเนื่อง


163 5. การสนับสนุนจากสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (พอช.) ในพื้นที่ตา บลดงลิง การเข้ามาด าเนินงานของสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชนเริ่มเข้ามามีส่วนร่วมการพัฒนาต าบล ดงลิงในช่วงปี พ.ศ. 2555 เป็นต้นมาจนถึงปี พ.ศ. 2564 ย่างเข้าสู่ปีที่ 10 ของการท างาน จาก การศึกษาได้แบ่งช่วงของการด าเนินงานออกเป็น 3 ช่วง คือ 1) ช่วงการพัฒนากองทุนสวัสดิการ ชุมชนต าบลดงลิง (พ.ศ. 2555 ) 2) ช่วงการพัฒนาสภาองค์กรชุมชนต าบลดงลิง (พ.ศ. 2563) และ 3) ช่วงการพัฒนาโครงการชุมชนต้นแบบนวัตกรรมชุมชน (พ.ศ. 2564) ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ 5.1 ช่วงการพฒันากองทุนสวสัดิการชุมชนตา บลดงลิง (พ.ศ. 2555) การด าเนินงานพัฒนากองทุนสวัสดิการชุมชนต าบลดงลิง มีหน่วยงานที่เข้ามาท างาน ร่วมกันประกอบด้วย ส านักงานเทศบาลต าบลดงลิง องค์กรก านันผู้ใหญ่บ้านต าบลดงลิง และ ประชาชนต าบลดงลิงจ านวน 17 หมู่บ้าน และสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (พอช.) โดยมีวิธีการ ด าเนินงานส าคัญคือ 1) เวทีประชาคมสร้างความรู้ความเข้าใจถึงความส าคัญและประโยชน์ให้กับ ประชาชนทุกหมู่บ้านได้ทราบ 2) การจัดตั้งคณะท างานท าหน้าที่ขับเคลื่อนงานของกองทุน โดยเปิด ให้ตัวแทนทุกหมู่บ้านเข้ามีส่วนร่วมเป็นคณะท างาน 3) ใช้หลักของการมีส่วนร่วมในการด าเนินงาน คือ ร่วมวางแผน ร่วมท า และร่วมรับผลประโยชน์ 4) จัดอบพัฒนาพัฒนาศักยภาพของการเป็น ผู้บริหารจัดการกองทุนสวัสดิการให้แก่คณะท างาน 5) ระดมหาทุนจากคนในชุมชน หน่วยงาน ภาครัฐและภาคเอกชน เพื่อน ามาสนับสนุนการด าเนินกิจกรรมของของทุน จากการด าเนินงานของ กองทุนสวัสดิการชุมชนต าบลดงลิง ชาวบ้านเกิดความมั่นคงในการด ารงชีวิตโดยได้รับสวัสดิการใน เรื่อง การคลอดบุตร การรักษาพยาบาล การเกิดภัยพิบัติ การเสียชีวิต และการประกอบอาชีพ ซึ่ง ถือเป็นการพัฒนาที่ส่งผลให้ประชนชนเข้าถึงสวัสดิการของกองทุกได้ทุกคน เป็นหลักประกัน พื้นฐานของทุกคนอย่างเท่าเทียม 5.2 ช่วงการพัฒนาสภาองค์กรชุมชนตา บลดงลิง (พ.ศ.2563) 5.2.1 การเตรียมความพร้อมสภาองคก์รชุมชนตา บลดงลิง มีหน่วยงานที่เข้ามาท างานร่วมกันประกอบด้วย ส านักงานเทศบาลต าบลดงลิง องค์กรก านันผู้ใหญ่บ้านต าบลดงลิง และประชาชนต าบลดงลิงจ านวน 17 หมู่บ้าน และสถาบัน พัฒนาองค์กรชุมชน (พอช.) โดยมีวัตถุประสงค์ของการด าเนินงานเพื่อ 1) พัฒนาศักยภาพกลุ่ม องค์กรที่อยู่ในชุมชน ที่มีเป้าหมายการท างานคล้ายกันได้เข้ามาร่วมท างานในรูปแบบของสภา


164 องค์กรชุมชน 2) เพื่อให้การด าเนินงานพัฒนาท้องถิ่นมีประสิทธิภาพสร้างประโยชน์ให้กับคนใน ชุมชนทุกกลุ่ม 3) เพื่อผลักดันประเด็นสาธารณะในเชิงนโยบายให้แก่หน่วยงานภาครัฐทั้งในระดับ ท้องถิ่นและภูมิภาค 5.2.2 ขนั้ตอนการจดัตงั้สภาองคก์ารชุมชตา บลองลิง มีขั้นตอนการด าเนินงานส าคัญคือ 1) จัดเวทีประชาคมเพื่อรับฟังความคิดเห็นของ ตัวแทนชุมชนต่อการจัดตั้งสภาองค์การชุมชน 2) แต่งตั้งสภาองค์กรชุมชนต าบลดงลิง โดยหลักของ การมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในท้องถิ่น 3) พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการสภาองค์กรชุมชน โดย จัดฝึกอบรมเรื่องบทบาทหน้าที่ของสภาองค์กรชุมชน และไปศึกษาดูงานสภาองค์กรชุมชนต้นแบบ เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้การด าเนินงาน อบรมตัวแทนสมาชิกกลุ่มองค์กรเพื่อเพิ่มศักยภาพในการ ท างานให้กับองค์กรในหมู่บ้าน ถึงแม้ว่าการด าเนินงานสภาองค์กรชุมชนต าบลดงลิงนั้นอยู่ในช่วง เริ่มต้นของการด าเนินงาน แต่ก็เริ่มมีบทบาทส าคัญต่อการพัฒนาท้องถิ่นบ้างแล้ว 5.2.3 กลไกการขับเคลื่อนงานของสภาองค์กรชุมชน การขับเคลื่อนงานของสภาองค์กรชุมชนต าบลดงลิง มีกลไกส าคัญที่ประกอบไป ด้วย 1) ผู้ใหญ่บ้าน และผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน หมู่บ้านละ 1 คน 2) ตัวแทนกลุ่มอาชีพ 3) ตัวแทนกลุ่ม เด็กและเยาวชน 4) ตัวแทนกลุ่มผู้สูงอายุ 5) นักพัฒนาชุมชนเทศบาลต าบลดงลิง 6) กองทุน สวัสดิการชุมชนต าบลดงลิง 7) คณะที่ปรึกษา และ 8) สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน ซึ่งแต่ละส่วนมี บทบาทส าคัญดังนี้ 1) ผู้ใหญ่บ้านและผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านต าบลดงลิง เป็นตัวแทนของคนในชุมชนที่ได้รับ มอบหมายให้เข้ามาท าหน้าที่แทนในสภาองค์กรชุมชน ทุกเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการด าเนิน ชีวิตของคนในชุมชนเพื่อให้ได้รับการแก้ไขและพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น โดยตัวแทนชุมชนจะน า ประเด็นปัญหาและความต้องการของคนในชุมชนเข้ามาเสนอต่อสภาองค์กรชุมชน เพื่อ พิจารณาให้ความช่วยเหลือโดยจัดท าแผนการพัฒนาเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้เข้า มาช่วยด าเนินการ หากแผนงานที่สภาองค์กรชุมชนสามารถด าเนินการเองได้ก็จะใช้กลไก สภาองค์กรชุมชนเป็นผู้ด าเนินการ 2) ตัวแทนกลุ่มอาชีพต าบลดงลิง เป็นตัวแทนของกลุ่มอาชีพต่างๆ ที่ยังด าเนิน กิจกรรมของกลุ่มมาอย่างนต่อเนื่อง เข้ามาท าหน้าที่เสนอแนวทางการพัฒนาอาชีพต่างๆใน


165 ชุมชน และขับเคลื่อนงานพัฒนาอาชีพใช้เกิดรูปธรรมโดยให้สมาชิกในกลุ่มอาชีพต่างๆ มี งานมีอาชีพที่สร้างรายได้ให้แก่สมาชิกและขยายผลไปสู่คนในชุมชน โดยกลุ่มอาชีพที่เข้ามา มีส่วนร่วมคือ กลุ่มสตรีทอผ้าฮังกอล บ้านสีถาน หมู่ที่ 5 กิจการกลุ่มสตรีทอกก บ้านแวง หมู่ ที่ 6 กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านสวนโคก หมู่ที่ 1 หมู่ที่ 13 3) ตัวแทนกลุ่มเด็กและเยาวชนต าบลดงลิง เป็นตัวแทนของกลุ่มเด็กและเยาวชน ต าบลดงลิง ที่รวมตัวกันเป็นกลุ่มมีความสนใจให้ความส าคัญกับการท ากิจกรรมที่ก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อตนเองและชุมชน กิจกรรมที่กลุ่มให้ความสนใจคือการเล่นกีฬา ดนตรี และงาน บุญประเพณีต่างๆ 4) ตัวแทนกลุ่มผู้สูงอายุต าบลดงลิง กลุ่มผู้สูงอายุจะมีบทบาทส าคัญในการด าเนิน กิจกรรมทางศาสนา ประเพณีและวัฒนธรรมของชุมชนเป็นทุนเดิม ดังนั้นบทบาทของ ตัวแทนผู้สูงอายุในการการขับเคลื่อนงานสภาองค์กรชุมชนต าบลดงลิงจึงมักให้ความเห็นใน งานพัฒนาด้านการสืบทอดประประเพณีและวัฒนธรรม อย่างเช่น งานแข่งเรือยาว งานลอย กระทง นอกจากนั้นยังมีบทบาทในเรื่องของการพัฒนาด้านอาชีพเสริมของผู้สูงอายุ และงาน ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุด้วย 5) นักวิชาการพัฒนาชุมชนเทศบาลต าบลดงลิง เนื่องจากสภาองค์กรชุมชนต าบล ดงลิงอยู่ในช่วงเริ่มต้น นักวิชาการพัฒนาชุมชนเทศบาลต าบลดงลิง จึงมีบทบาทส าคัญใน การเป็นพี่เลี้ยงให้กับคณะกรรมการสภาองค์กรชุมชนต าบลดงลิงในเรื่องของการจัดตั้งสภา การจัดท าแผนพัฒนา การจัดประชุม และการจัดท าฐานข้อมูล เพื่อให้การด าเนินงานของ สภาเป็นระบบที่มีประสิทธิภาพ มีความต่อเนื่อง และยังท าหน้าที่เป็นผู้ช่วยเลขานุการใน โครงสร้างคณะกรรมการของสภาด้วย 6) กองทุนสวัสดิการชุมชนต าบลดงลิง ตามที่ได้รายงานว่าบทบาทหน้าที่กองทุน สวัสดิการชุมชนต าบลดงลิง คือเป็นแหล่งทุนที่ให้การสนับสนุนในด้านสวัสดิการเกี่ยวกับ การด าเนินชีวิตของคนในชุมชน ในเรื่องการเกิด การเจ็บป่วย การเสียชีวิต เป็นทุนเดิม และ เมื่อกองทุนได้เข้ามาร่วมเป็นกลไกการขับเคลื่อนงานพัฒนาของสภาองค์กรชุมชนจึงเพิ่ม บทบาทการช่วยเหลือชุมชนในด้านภัยพิบัติ การประกอบอาชีพ การสนับสนุนกิจกรรมด้าน ศาสนา ประเพณีและวัฒนธรรม การสนับสนุนกิจกรรมกลุ่มผู้สูงอายุ และกิจกรรมของเด็ก


166 และเยาวชน ถือได้ว่ากองทุนสวัสดิการชุมชนต าบลดงลิง มีบทบาทส าคัญต่อการขับเคลื่อน งานเป็นอย่างมาก 7) คณะที่ปรึกษาสภาองค์กรชุมชนต าบลดงลิง สภาองค์กรชุมชนต าบลดงลิงได้ ก่อตั้งในช่วงปี พ.ศ. 2563 รวมทั้งคณะกรรมการยังไม่มีประสบการณ์ร่วมกันในเรื่องการ ขับเคลื่อนงานพัฒนาชุมชนในรูปแบบของสภาองค์กรชุมชน จึงมีความจ าเป็นต้องมีผู้ที่มี ประสบการณ์ด้านการบริหารงานพัฒนาชุมชนในพื้นที่มาช่วยให้ค าแนะน าประคับประคอง ให้สภาองค์กรชุมชนต าบลดงลิงขับเคลื่อนงานไปได้ ซึ่งที่ปรึกษาของสภาคือ นายกเทศมนตรีต าบลดงลิง ก านันต าบลดงลง และตัวแทนข้าราชการเกษียณในชุมชน 5.2.4 การดา เนินงานของสภาองคก์รชุมชตา บลดงลิง สภาองค์กรชุมชต าบลดงลิงมีบทบาทส าคัญต่อการขับเคลื่อนงานพัฒนาพื้นที่คือ เป็นองค์กรที่ท างานคู่ขนานไปกับสภาเทศบาลต าบลดงลิง รับฟังความคิดเห็นจากคนในชุมชนทุก ฝ่ายเพื่อจักท าแผนพัฒนาให้ตรงกับความต้องการและสอดคล้องกับแผนของเทศบาลต าบลดงลิง และเป็นตัวแทนของทุกฝ่ายในชุมชนคอยก ากับดูแลการด าเนินงานของท้องถิ่นและท้องที่ให้เกิด ประโยชน์สูงสุดต่อคนในชุมชน ซึ่งมีกระบวนการด าเนินงานที่ส าคัญคือ 1) การจัดเวทีประชาคมในระดับหมู่บ้านเพื่อรับฟังความคิดเห็นต่อการจัดตั้งสภา องค์กรชุมชนต าบลดงลิง และแนวทางการพัฒนาชุมชน พร้อมทั้งคัดเลือกตัวแทนหมู่บ้านละ 2 คน เข้ามาเป็นคณะกรรมการสภาองค์กรชุมชนต าบลดงลิง เพื่อท าหน้าที่เป็นปากเสียง ให้กับคนในชุมชน 2) การจัดท าแผนสภาองค์กรชุมชนต าบลดงลิง ได้รับการสนับสนุนจากสถาบัน พัฒนาองค์กรชุมชน ให้ตัวแทนสภาองค์กรชุมชนต าบลดงลิงเข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการ การจัดท าแผนพัฒนาชุมชน จากการฝึกอบรมได้มีแผนงานพัฒนาออกเป็น 4 แผนงาน คือ แผนพัฒนาศักยภาพองค์กรชุมชนสภาองค์กรชุมชนต าบลดงลิง แผนพัฒนาด้านอาชีพ แผนพัฒนาด้านสุขภาพ แผนพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อม 3) การพัฒนาศักยภาพผู้น าชุมชนที่เข้ามาเป็นคณะกรรมการสภาองค์กรชุมชน ต าบลดงลิง โดยมีการจัดอบรมจ านวน 3 หลักสูตร คือ หลักสูตรการเป็นผู้น าชุมชน บทบาท หน้าที่ของสภาองค์กรชุมชน หลักการท างานแบบมีส่วนร่วม และหลักธรรมาภิบาล หลักสูตร


167 การการเป็นตัวแทนสมาชิกกลุ่มองค์กรเพื่อเพิ่มศักยภาพในการท างานให้กับองค์กรใน หมู่บ้าน และหลักสูตรการสรุปโครงการ/ข้อมูลต าบลและการสานต่อโครงการกับ อปท./ อบจ./และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 4) การติดตามและการท าแผนพัฒนาองค์กรชุมชนภายใต้สภาองค์ชุมชนต าบลดง ลิงมีขั้นตอนการติดตามงาน 4 ขั้นตอนด้วยกัน คือ การประชุมสภาองค์กรชุมชนต าบลเพื่อ พิจารณาศักยภาพของกลุ่มองค์กรในแต่ละหมู่บ้านที่มีการจดแจ้งจัดตั้งขึ้น การติดตามการ ด าเนินกิจกรรมขอองกลุ่มตามรายละเอียด ที่ระบุไว้ในแบบค าขอจดแจ้งการจัดตั้งกลุ่ม โดย มีสมาชิกสภาเป็นผู้ติดตาม การรวบรวมเอกสารรายงานการติดตามและประเมินศักยภาพ ของกลุ่มเพื่อจัดท าเป็นรายงานใช้ส าหรับเป็นฐานข้อมูลประกอบในการจัดท าแผนพัฒนา โดยมีเลขาสภาองค์กรชุมชนต าบล และการจัดท าแผนพัฒนาประจ าปีโดยใช้กลไกสภา องค์กรชุมชนในการจัดท าแผน ซึ่งน ารายงายผลของการประเมินศักยภาพของกลุ่มและ ชุมชนมาประกอบเพื่อให้ตรงกับความต้องการของชุมชน 5.3 การพัฒนาโครงการชุมชนต้นแบบนวัตกรรมชุมชน (พ.ศ. 2564) ต าบลดงลิงได้รับคัดเลือกเข้าร่วมโครงการพัฒนาชุมชนต้นแบบนวัตกรรมชุมชนในปีพ.ศ. 2564 ที่ทางสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชนจัดท าขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจในชุมชน โดยการสร้างงานสร้างรายได้ให้กับคนในชุมชน และเพื่อสร้างความมั่นคงในด้านการประกอบ การมี รายได้ต่อเนื่อง และขยายผลไปยังกลุ่มอาชีพอื่นๆ ในชุมชน ซึ่งมีสภาองค์กรชุมชนต าบลดงลิงเป็น หน่วยงานขับเคลื่อนโครงการในพื้นที่ โดยได้รับงบประมาณจ านวน 32,00 บาท จากสถาบันพัฒนา องค์กรชุมชน (พอช.) การด าเนินโครงการดังกล่าวมี กระบวนการขับเคลื่อนงาน 2 ระยะดังนี้ 1) การคัดเลือกชุมชนและกลุ่มอาชีพเป้าหมาย โดยใช้เวทีวิเคราะห์ศักยภาพชุมชน และท า การคัดเลือกกลุ่มเป้าหมายโดยใช้หลักการมีส่วนร่วม 2) การพัฒนากลุ่มอาชีพเพื่อสร้างงานสร้างรายได้ โดยอบรมกระบวนการผลิต การพัฒนา บรรจุภัณฑ์ และการอบรมการท าตลาดออนไลน์ จากการด าเนินโครงการกระตุ้นเศรษฐกิจของต าบลดงลิง มีกลุ่มวิสาหกิจชุมชนแม่บ้าน เกษตรกรบ้านสวนโคก เพี่ยงกลุ่มเดียวที่ สามารถด าเนินกิจกรรมได้ต่อเนื่อง และมีการขยาย


168 กิจกรรมการผลิตให้มีความหลากหลาย และขยายผลกิจกรรมให้กับคนในชุมชนได้รับผลประโยชน์ ด้วย 5.4 การสนับสนุนด้านงบประมาณของสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชนและหน่วยงาน ท้องถิ่น ในการพัฒนาสภาองค์กรชุมชนต าบลดงลิง ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากสถาบันองค์กร ชุมชนและเทศบาลต าบลดงลิง มาตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2555 จนถึง ปี พ.ศ. 2564 โดยมีรายละเอียดดังนี้ โครงการ ปี งบประมาณ หน่วยงานสนับสนุน โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหา ภัยพิบัติต าบลดงลิง 2555 50,000 สถาบันพัฒนาองค์กร ชุมชน โครงการพัฒนาเสริมสร้างขีด ความสามารถต าบลดงลิง 2555 30,000 สถาบันพัฒนาองค์กร ชุมชน การสมทบงบประมาณ กองทุนสวัสดิการชุมชน ครั้งที่ 1 2556 100,000 สถาบันพัฒนาองค์กร ชุมชน การสมทบงบประมาณ กองทุนสวัสดิการชุมชน ครั้งที่ 2 2557 926,735 สถาบันพัฒนาองค์กร ชุมชน การสมทบงบประมาณ กองทุนสวัสดิการชุมชน จาก อปท. 2559 30,000 เทศบาลต าบลดงลิง โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ สรุปผลการด าเนินงานของสภา องค์กรชุมชน 2564 10,000 สถาบันพัฒนาองค์กร ชุมชน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการหนุน เสริมการท างานของสภาองค์กร ชุมชน และกองทุนสวัสดิการ ชุมชน 2564 20,000 สถาบันพัฒนาองค์กร ชุมชน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ จัดท าแผนธุรกิจชุมชน 2564 45,000 สถาบันพัฒนาองค์กร ชุมชน


169 5.5 แผนพฒันาองคก์รชุมชนสภาองคก์รชุมชนตา บลดงลิง สภาองค์กรชุมชนต าบลดงลิงได้จัดตั้งขึ้นในช่วงปี พ.ศ. 2563 ซึ่งถือว่าอยู่ในระยะเริ่มต้นใน การท างานร่วมกันขององค์กรต่างๆ ดังนั้นแผนพัฒนาจึงเป็นแผนพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ สภาองค์กรชุมชน เพื่อใหเกิดทักษะการด าเนินงานในรูปแบบของการมีส่วนร่วม การบูรณาการ ผ่าน กระบวนการด าเนินงานของสภาองค์กรชุมชน ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ กิจกรรม/วิธีการ ตัวชีวัด กลไกการ ด าเนินการ งบประมาณ ระยะเวลา 1.อบรมคณะกรรมการ สภาองค์กรชุมชนเพื่อ พัฒนาศักยภาพ ความรู้ความเข้าใจ เรื่องสภาองค์กรชุมชน -แกนน าสภาองค์กร ชุมชนมีความเข้าใจ บทบาทหน้าที่และ สามารถพัฒนากลุ่ม องค์กรตนเองได้ สภาองค์กรชุมชน ต าบลดงลิง -พอช. 25,000 พ.ศ. 2564 2.อบรมตัวแทน สมาชิกกลุ่มองค์กร เพื่อเพิ่มศักยภาพใน การท างานให้กับ องค์กรในหมู่บ้าน -แกนน าองค์กรใน หมู่บ้านเข้าใจบทบาท หน้าที่และสามารถพัฒนา กลุ่มองค์กรตัวเองได้ สภาองค์กรชุมชน ต าบลดงลิง -พอช. 20,000 พ.ศ. 2564 3.การสรุปโครงการ/ ข้อมูลต าบลและการ สานต่อโครงการกับ อปท/อบจ/และ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง -เกิดการรวบรวม จัดระบบข้อมูล /ปัญหา/ แผนงาน ด าเนินกิจการ ประเมิน สรุปผลการ ด าเนินงาน สภาองค์กรชุมชน ต าบลดงลิง -พอช. 20,000 พ.ศ. 2564 โครงการพัฒนาต่อยอดธุรกิจ ชุมชนเพื่อให้เป็นชุมชนนวัตกรรม ต้นแบบ 2564 32,000 สถาบันพัฒนาองค์กร ชุมชน


170 5.7 ผลการประเมินตนเองตามตัวชี้วัดความเข้มแข็ง 4 มิติของสภาองค์กรชุมชน ตา บลดงลิง การขับเคลื่อนงานในพื้นที่ต าบลดงลิงในระยะต่อไปของสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน ได้ใช้ การประเมินความเข้มแข็งของชุมชนโดยใช้ตัวชี้วัด 4 มิติ ได้แก่ 1) คนมีคุณภาพ 2) องค์กรชุมชนมี ความเข้มแข็ง 3) คุณภาพคนในชุมชนดีขึ้น และ 4) ความสัมพันธ์กับหน่วยงานภาคี ท้องที่ ท้องถิ่น โดยได้ก าหนดเกณฑ์การให้คะแนนออกเป็น 3 ระดับ คือ 1) ต าบลต้นแบบเข้มแข็งระดับดีเยี่ยม มี คะแนนร้อยละ 90 ขึ้นไป 2) ต าบลต้นแบบเข้มแข็งระดับดีมาก มีคะแนนร้อยละ 80-89 3) ต าบล ต้นแบบเข้มแข็งระดับดี มีคะแนนร้อยละ 70-79ซึ่งผลการประเมินดังนี้ ตัวชี้วัดต าบลเข้มแข็ง 4 มิติ คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้ ร้อยละ 1) คนมีคุณภาพ 25 25 100 2) องค์กรชุมชนมีความเข้มแข็ง 30 28 93 3) คุณภาพคนในชุมชนดีขึ้น 30 20 67 4) ความสัมพันธ์กับหน่วยงานภาคี ท้องที่ ท้องถิ่น 15 14 93 ผลการประเมินตามตัวชีวัด 4 มิติ ของต าบลดงลิง ได้คะแนนรวม 87 คะแนน จัดอยู่ในกลุ่ม ของต าบลเข้มแข็งระดับดีมาก จึงได้รับการคัดเลือกให้เข้าร่วมโครงการพัฒนาต าบลต้นแบบชุมชน เข้มแข็งปีงบประมาณ 2564 ที่ทางสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชนเป็นผู้ด าเนินการและสนับสนุน งบประมาณ ส่วนที่ 2 การพัฒนาชุมชนต้นแบบนวัตกรรมชุมชน 1. บริบทชุมชนต้นแบบนวัตกรรมชุมชน บ้านสวนโคก หมู่ที่ 1 หมู่ที่ 13 เป็นชุมชนที่ได้รับการคัดเลือกเข้าร่วมโครงการชุมชน ต้นแบบนวัตกรรมชุมชน มีจ านวนครัวเรือนทั้งหมด 357 ครัวเรือน มีประชากรรวม 1,520 คน ซึ่ง ประชากรส่วนใหญ่อยู่ในวัยแรงงาน ด้วยสภาพบริบทชุมชนเกษตรกรรม ท าการเพาะปลูกข้าวนาปี และข้าวนาปรังเป็นหลัก ในช่วงว่างเว้นจากกิจกรรมการผลิตข้าว ชาวบ้านมักรวมกลุ่มกันท า กิจกรรมทางด้านสังคมเช่น การร่วมท าบุญตามประเพณี การร่วมท าบุญตามวันส าคัญทาง


171 พระพุทธศาสนา นอกจากการรวมกลุ่มดังกล่าว ยังเกิดการรวมเพื่อประกอบอาชีพเสริมของกลุ่ม ชาวบ้านในวัยท างาน กล่าวคือ ผู้ชายที่อยู่ในวัยท างานจะท าอาชีพเสริมคือการก่อโบสถ์ วิหาร ศาลา วัด ซึ่งเป็นอาชีพที่สืบทอดมาตั้งแต่บรรพบุรุต โดยจะรับงานทั่วประเทศและจะไปท างานเป็นกลุ่ม เครือญาติ พอถึงช่วงฤดูกาลเพาะปลูกและเก็บเกี่ยวผลผลิตข้าวก็จะกลับมา ส่วนชาวบ้านที่เป็น ผู้หญิงวัยท างานจะรวมกลุ่มกันเพื่อเรียนรู้กิจกรรมใหม่ๆ เพื่อเป็นอาชีพเสริมสร้างรายได้ให้แก่ ครอบครัว การรวมกลุ่มของชาวบ้านในวัยท างานเพื่อประกอบอาชีพเสริมนั้น เป็นพื้นฐานให้ชุมชนเกิด ความเข้มแข็งทางด้านเศรษฐกิจ และสังคม เกิดเป็นองค์กรในชุมชนในรูปแบบที่เป็นทางการและไม่ เป็นทางการที่เกิดจากการรวมตัวกันของคนในชุมชนเองเพื่อให้การช่วยเหลือสนับสนุนซึ่งกันและกัน นอกจากนั้นแล้วการรวมกลุ่มของคนในชุมชนยังบ่งบอกถึงศักยภาพของผู้น ากลุ่ม และผู้น าชุมชน ที่ มีความรู้ความสามารถในด้านการบริหารจัดการองค์กรและการปกครองกลุ่มและชุมชนได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ด้วยเหตุและปัจจัยดังกล่าว กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านสวนโคก จึงได้รับการคัดเลือกเข้า ร่วมโครงการ พัฒนาชุมชนต้นแบบนวัตกรรมชุมชน เพื่อเข้ารับการพัฒนาทักษะอาชีพให้เกิดรายได้ ให้กับครอบครัวละชุมชน สร้างคุณภาพชีวิตคนในชุมชนให้ดีขึ้น 2. การสนับสนุนจากสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน ในช่วงปี พ.ศ. 2563 ถึง ปี พ.ศ. 2564 ทางสภาองค์กรชุมชนต าบลดงลิง ได้รับงบประมาณ จากสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน จ านวน 32,000 บาท ให้ด าเนินโครงการพัฒนาชุมนต้นแบบ นวัตกรรมชุมชน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจชุมชน ให้คนชุมชนมีอาชีพเสริมมีรายได้ และขยายผลให้กับกลุ่มอาชีพอื่นๆ ในชุมชน โดยทางสภาองค์กรชุมชนต าบลดงลิง ใช้กระบวนการ คัดเลือกกลุ่มอาชีพเข้าร่วมโครงการ คือ 1) ประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มอาชีพต่างๆทราบถึงการสนับสนุน กลุ่มอาชีพของสภาองค์กรชุมชน 2) เปิดรับสมัครกลุ่มอาชีพที่สนในเข้ารับการสนับสนุน 3) การ ประเมินความเป็นไปได้ของการด าเนินกิจกรรมด้านอาชีพของแต่ละกลุ่มโดยพิจารณาความต่อเนื่อง การด าเนินกิจกรรมของกลุ่ม และวิเคราะห์ศักยภาพของกลุ่มอาชีพต่างๆในชุมชน 4) ท าการ คัดเลือกกลุ่มอาชีพที่มีความพร้อมและมีศักยภาพ 5) ให้กลุ่มที่ได้รับการคัดเลือกเสนอแผนพัฒนา กิจกรรมกลุ่มเสนอต่อสภาองค์กรชุมชนต าบลดงลิงเพื่อขอรับการสนับสนุน 6) กลุ่มอาชีพน า


172 งบประมาณที่ได้รับการสนับสนุนไปด าเนินกิจกรรมเพื่อให้เกิดงานและรายได้ให้กับสมาชิกกลุ่ม 7) พัฒนาศักยภาพกลุ่มโดยอบรมเพิ่มทักษะการผลิต และการสร้างตลาด 8) กลุ่มอาชีพจัดท ารายงาน ผลการด าเนินกิจกรรมให้คณะกรรมการสภาองค์กรชุมชนต าบลดงลิงทราบปัญหาและความก้าวหน้า ของกลุ่ม สภาองค์กรชุมชนต าบลดงลิง ได้มีมติให้การสนับสนุนงบประมาณให้กลุ่มอาชีพจ านวน 4 กลุ่ม ได้แก่ 1) กลุ่มสตรีทอผ้าฮังกอลบ้านสีถาน 2) กลุ่มสตรีทอกกบ้านแวง 3) กลุ่มแม่บ้าน เกษตรกรบ้านสวนโคก และ 4) กลุ่มผู้สูงอายุท าขนมไทย ในระหว่างการด าเนินกิจกรรม กลุ่มสตรี ทอผ้าฮังกอลบ้านสีถาน กลุ่มสตรีทอกกบ้านแวง กลุ่มผู้สูงอายุท าขนมไทย มีข้อจ ากัดในเรื่องของ อายุที่มาก และวัสดุในการท ากิจกรรมหายากท าให้ไม่สามารถด าเนินกิจกรรมกลุ่มได้ต่อเนื่อง จึงมี เพียงกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านสวนโคก ที่สามารถด าเนินกิจกรรมได้อย่างต่อเนื่อง โดยมีการระดม ทุนและมีการพัฒนาต่อยอดกิจกรรมเพื่อสร้างรายได้ให้กับสมาชิกอย่างสม ่าเสมอ โดยได้ด าเนิน กิจกรรมทั้งหมด 7 กิจกรรม ได้แก่ 1) การผลิตสบู่ น ้ายาเอนกประสงค์จากสมุนไพร 2) การท าขนม ถั่วตัด 3) การปลูกถั่วลิสงหลังนา 4) การท าธุงประดับ 5) การท าโคมไฟประดับ 6) การท าเครื่องจัก สาน และ 7) การท าขนมถั่วกรอบแก้ว ในอนาคตมีแผนพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนเพิ่มเติม คือ ส่งเสริม การเพาะเห็ดนางฟ้าเพื่อน ามาแปรรูป และการผลิตถั่วลิสงทอดสมุนไพร 3. การพัฒนาอาชีพของกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านสวนโคก 3.1 จดุเริ่มต้นการรวมกลุ่ม การก่อตั้งกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านสวนโคกเริ่มต้นในปี พ.ศ. 2560 โดยมีแกนน าในชุมชน มีความต้องการศึกษาเรียนรู้เพื่อหาอาชีพเสริมให้กับตนเอง ได้เข้าร่วมโครงการพัฒนาทักษะอาชีพ ที่ทางส านักงานเกษตรอ าเภอกมลาไสยได้ด าเนินการอยู่ ณ ช่วงเวลานั้น ซึ่งได้จัดฝึกอบรมที่ศูนย์ กสิกรรมธรรมชาติจังหวัดกาฬสินธุ์ โดยมีเนื้อส าคัญในการฝึกอบรมคือ การท าเกษตรตามหลัก เกษตรทฤษฎีใหม่ การผลิตปุ๋ ยหมัก การผลิตของใช้ครัวเรือน และการจจัดท าบัญชีครัวเรือน หลังจากฝึกอบรมแกนน าชุมชนบ้านสวนโคก หมู่ 1 และหมู่ 13 ได้รวมกลุ่มกันจ านวน 7 คน เพื่อท า การผลิตของใช้ในครัวเรือน เช่น สบู่ แชมพู น ้ายาเอนกประสงค์ และการท ายาหม่องสมุนไพร โดย น าสมุนไพรในชุมชนมาเป็นวัตถุดิบเป็นสวนผสมในผลิตภัณฑ์ โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อใช้ใน ครัวเรือนและจ าหน่ายในชุมชน เมื่อกลุ่มเติบโตขึ้นจะได้จดทะเบียนเป็นวิสาหกิจชุมชน ใช้ชื่อว่า


173 “วิสาหกิจชุมชนแม่บ้านเกษตรกรบ้านสวนโคก (ธรรมดีย์)” ต่อมาในช่วงปี พ.ศ. 2563 ถึง ปี พ.ศ. 2564 ได้รับคัดเลือกจากสภาองค์กรชุมชนต าบลดงลิง ให้เข้าร่วมโครงการชุมชนต้นแบบนวัตกรรม ชุมชน โดยได้รับงบประมาณสนับสนุนกิจกรรมการผลิต จาก สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน 3.2 กิจกรรมการผลิตที่เป็ นรปูธรรม รูปธรรมความส าเร็จของกลุ่มเป็น 3 ด้าน คือ ด้านการผลิตสินค้าชุมชน ด้านการตลาด และ ด้านการบริหารองค์กร ให้เป็นบทเรียนส าคัญส าหรับพื้นที่ต าบลดงลิง ซึ่งมีรายและเอียด ดังนี้ 3.2.1 รูปธรรมความส าเร็จด้านการผลิตสินค้าชุมชน 1) กิจกรรมการผลิตของใช้ในครัวเรือน การด าเนินกิจกรรมเริ่มจากแนวคิกของกลุ่มที่ต้องการผลิตของใช้ในครัวเรือนเพื่อลด ค่าใช้จ่าย และผลิตจ าหน่ายให้กับคนในชุมชน โดยมีกรรมวิธีที่ผลิตไม่ซับซ้อนคือน า มะนาว มะกรูด และมะเฟือง มาท าน ้าหมักเพื่อเป็นสารตั้งต้น แล้วน ้ามาผสมกับหัวเชื้อผลิตน ้ายาเอนกประสงค์ และ แชมพู ส าหรับการท าสบู่จะใช้พืชกกลุ่มสมุนไพร เช่น ดอกอันชัน ขมิ้น หว้านหางจระเข้ น ้าผึ้ง มี ผสมกับหัวเชื้อท าสบู่ ผลิตภัณฑ์ที่กลุ่มผลิตได้และน าใช้มาใช้ในครัวเรือนได้แก่ น ้ายาเอนกประสงค์ แชมพู สบู่ นอกจากการผลิตแล้วกลุ่มยังไปน าความรู่ไปถ่ายทอดให้กับนักเรียนในรายวิชาสาระ ท้องถิ่นที่ทางโรงเรียนจัดขึ้น ในอนาคตกลุ่มมีแผนพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ให้มีคุณภาพมากขึ้น และ พัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้ทันสมัยดึงดูความสนใจของลูกค้า และยังมีแผนการขยายกิจกรรมไปยังหมู่บ้าน อื่นๆในต าบลดงลิง 2) กิจกรรมการแปรรูปถั่วลิสง การด าเนินกิจกรรมเริ่มจากแนวคิดของกลุ่มที่ต้องการสร้างมูลค่าให้กับถั่วลิงส่งให้ คนในชุมชนเห็นเป็นตัวอย่างว่า ถั่วลิสงสามารถสร้างงานสร้างรายได้ที่สูง และมีความยั่งยืน เพื่อที่จะให้คนในชุมชนปรับเปลี่ยนการปลูกข้าวนาปรังมาปลูกถั่วลิสงมากขึ้น โดยทางกลุ่มได้ท า การแปรรูปถั่วเป็นถั่วตัดโดยเรียนจากสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ และพัฒนาเป็นสูตรของตนเอง จนได้ สูตรที่ตรงกับความต้องการของลูกค้า ซึ่งมีอยู่ด้วยกัน 4 สูตร คือ สูตรน ้าใบเตย สูตรน ้ามะตูม สูตร เนยสด และสูตรหน้าสาหร่าย นอกจากนั้นแล้วกลุ่มยังพัฒนาการแปรรูปถถั่วลิสงเป็นถั่วกรอบแก้ว และถั่วทอดสมุนไพร เพื่อจ าหน่ายให้กับลูกค้าที่เป็นกลุ่มเด็กและเยาวชน ซึ่งปัจจุบันผลิตภัณฑ์ถั่ว


174 ตัด และถั่วกรอบแก้ว เป็นที่ต้องการของตลาดอย่างต่อเนื่อง ในอนาคตกลุ่มมีแผนพัฒนาสูตรต่างๆ เพิ่มขึ้นและพัฒนาบรรจุภัณฑ์รวมทั้งกระบวนการผลิตให้ได้มาตรฐาน อย. ด้วย เพื่อจะได้เพิ่มโอกาส ช่องทางด้านการตลาดที่กว้างขึ้น ถือเป็นการขยายงานเพื่อรองรับผลผลิตถั่วลิส่งของชุมชนที่จะมีปริ มานที่เพิ่มขึ้น 3) กิจกรรมการปลูกถั่วลิสง การด าเนินกิจกรรมเริ่มจากแนวคิดของกลุ่มที่ต้องการให้คนในชุมชนมีการปลูกถั่ว ลิสงในช่วงหลังฤดูการเก็บเกี่ยวข้าวนาปี แทนการปลูกข้าวนาปรังที่เริ่มมีปัญหาขาดแคลนน ้าท านา ปรัง กลุ่มได้เสนอแผนของงบประมาณสนับสนุนจากโครงการ 1 ต าบล 1 มหาวิทยาลัย และ ส านักงานเกษตรอ าเภอกมลาไสย ได้ร่วมกันเข้ามาส่งเสริมให้สมาชิกกลุ่มท าแปลงทดลองโดย สมาชิกกลุ่มจ านวน 8 ครัวเรือน ทดลองปลูกถั่วลิสงครัวเรือนละ 2 งาน ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 เพื่อเรียนรู้การปลูกถั่วลิสงให้ได้ผลผลิตต่อไร่สูงและได้ถั่วมีคุณภาพ เพื่อน าถั่วลิสงมาแปรรูป สร้างมูลค่าเพิ่ม และสร้างงานให้กับสมาชิกกลุ่มต่อไป ในอนาคตกลุ่มมีแผนจะขยายพื้นที่ปลูกถั่ว ลิสงเพิ่มโดยจัดหาเมล็ดพันธุ์ดีให้กับเกษตรมที่สนใจ เพื่อรองรับความต้องการของตลาดที่มีแนวโน้ วสูงขึ้น 4) กิจกรรมการผลิตธุงประดับ ธุงเป็นเอกลักษ์ของอ าเภอกลลาไสย เริ่มได้รับความนิยมในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา จังหวัดกาฬสินธุ์ได้เลือกอ าเภอกมลาไสยจัดเป็นเทศการท่องเที่ยวในวันวิสาขบูชา โดยในงาน ชาวบ้านจะท าธุงขึ้นเพื่อน าไปถวาดองค์พระธาตุ ซึ่งจะปักเป็นแถวในบริเวณรอบๆองค์พระธาตุ ใน วันงานจะมีนักท่องเที่ยวจ านวนมาก และมักจะขอซื้อธุงที่ชาวบ้านท ากลับบ้านไปด้วย ด้วยเหตุนี้ กลุ่มจึงมองเห็นช่องทางการท าตลาดขายธุง คือ การจัดงานประเพณี การประดับโรงแรม อาคาร ส านักงาน ซึ่งตลาดดังกล่าวมีมูลค่าทางเศรษกิจที่สูงหากกลุ่มสามารถผลิตธุงได้ กลุ่มจึ่งได้เริ่ม ผลิตธุงโดยให้สมาชิกที่มีทักษะการท าธุงเป็นแกนน าในการผลิตและคอยถ่ายทอดทักษะให้กับ สมาชิกกลุ่มและบุคคลทั่วไป กลุ่มจะท าการผลิตตามค าสังของลูกค้า และอีกช่องการตลาดของกลุ่ม คือ การผลิตธุงให้เช่าส าหรับลูกค้าที่ต้องการน าธุงไปจัดงานส าคัญต่างๆ ท าให้กับสมาชิกกลุ่มและ ชาวบ้านทั่วไปมีรายได้อย่างต่อเนื่อง ในอนาคตกลุ่มมีแผนพัฒนาผลิตภัณฑ์เพิ่มขึ้นโดยจะน าธุงมา ประประกอบกับเครื่องจักสานและประดิษฐ์เป็นโคมไฟ เพื่อจ าหน่ายเป็นสินค้าตกแต่ภายในบ้านและ


175 ส านักงาน และยังมีแผนการถ่ายทอดความรู้ให้กับกลุ่มเยาวชน และคนว่างงานที่อยู่ในชุมชนเพื่อให้ มีรายได้ 3.2.2 รูปธรรมความส าเร็จด้านการตลาด การพัฒนาช่องทางการตลาดเพื่อจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ของกลุ่มนั้น ได้ถูกพัฒนาขึ้น จากความร่วมมือของสภาองค์กรชุมชนต าบลดงลิง ส านักงานพัฒนาชุมชนอ าเภอกมลาไสย ส านักงานพาณิชย์จังหวัดกาฬสินธุ์ และกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านสวนโคก ซึ่งได้พัฒนาช่องทาง ตลาดขึ้นมาเป็น 4 ช่องทางคือ 1) ตลาดห้างบิ๊กซีสาขากาฬสินธุ์ 2) ตลากศูนย์จ าหน่ายสินค้าโอทอป อ าเภอกมลาไสย 3) ตลาดงานประชุมสัมมนาทางวิชาการของหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน 4) ตลาดร้านค้าในชุมชน ซึ่งกลุ่มจะใช้ตราสินค้าในชื่อ “ธรรมดี” ปัจจุบัน ตราสินค้าธรรมดีเริ่มเป็นที่รู้จัก ในระดับอ าเภอและระดับจังหวัด ในอนาคตกลุ่มมีแผนจะพัฒนาศูนย์จ าหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชน และ เปิดช่องทางจ าหน่ายสินค้าออนไลน์ 3.3.4 รปูธรรมด้านการบริการองคก์ร ตามที่กลุ่มแม่บ้านเกษตรตรกรบ้านสวนโคก ได้ไปขอจดทะเบียนเป็นวิสาหกิจ ชุมชนในช่วงปี พ.ศ. 2560 รวมเป็นระยะเวลา 4 ปี จนถึงปัจจุบัน (พ.ศ. 2564) กลุ่มมีสมาชิกทั้งหมด 8 คน มีโครงสร้างการบริหารจัดการกลุ่มเหมือนกับกลุ่มอาชีพอื่นๆ ที่ทางหน่วยภาครัฐได้จัดตั้งขึ้น แต่การบริหารงานกิจกรรมการผลิตที่ทางกลุ่มได้เพื่อให้การด าเนินกิจกรรมของกลุ่มมีความต่อเนื่อง และเกิดประสิทธิภาพ กลุ่มได้แบ่งงานให้สมาชิกกลุ่มรับผิดชอบตามความถนัดของแต่ละคน โดยมี โครงสร้างการบริหารกิจกรรมการผลิตดังนี้ 1) ประธานกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านสวนโคก ท าหน้าที่บริหารจัดการกลุ่มใน ภาพรวมและให้ค าปรึกษากับสมาชิกกลุ่มที่รับผลิตชอบกิจกรรมการผลิต และเป็นตัวแทน กลุ่มเป็นคณะกรรมการสภาองค์กรชุมชนต าบลดงลิง และประสานกับหน่วยงานภาครัฐที่เข้า มาให้การสนับสนุนกลุ่ม 2) คณะกรรมการรับผิดชอบกิจกรรมการผลิตของใช้ในครัวเรือน ท าหน้าที่ก ากับ ดูแลการท ากิจกรรมการผลิตของใช้ในครัวเรือนทุกขั้นตอน รวมทั้งการจัดจ าหน่าย และการ จัดท าแผนพัฒนาผลิตภัณฑ์ และน าความรู้ไปถ่ายทอดให้กับสมาชิกภานในกลุ่มและ ชาวบ้านทั่วไปที่สนใจ


176 3) คณะกรรมการรับผิดชอบกิจกรรมการปลูกถั่วลิสง ท าหน้าที่ส่งเสริมและ สนับสนุนกิจกรรมการปลูกถั่วลิสงให้กับสมาชิก การท าแปลงทดลองเพื่อเพิ่มผลผลิตเพื่อ เป็นตัวอย่างให้กับสมาชิก จัดท าแผนการส่งเสริมการเพิ่มพื้นที่ปลูกถั่วร่วมกับหน่วยงานที่ เข้ามาสนับสนุน 4) คณะกรรมการรับผิดชอบกิจกรรมการแปรรูปถั่วลิสง ท าหน้าที่ก ากับดูแล กระบวนการแปรรูปถั่วลิสงให้ได้คุณภาพเป็นที่ต้องการของตลาด และรวมทั้งการจัด จ าหน่าย และการจัดท าแผนพัฒนาผลิตภัณฑ์ และน าความรู้ไปถ่ายทอดให้กับสมาชิกภาน ในกลุ่มและชาวบ้านทั่วไปที่สนใจ 5) คณะกรรมการรับผิดชอบกิจกรรมการผลิตธุง ท าหน้าที่ก ากับดูแลกระบวนการ ผลิตธุงให้ได้คุณภาพเป็นที่ต้องการของตลาด และออกแบบพัฒนารูปแบบใหม่ๆ ให้สวยงาม ตามความต้องการของลูกค้า และรวมทั้งการจัดจ าหน่าย และการจัดท าแผนพัฒนา ผลิตภัณฑ์ และน าความรู้ไปถ่ายทอดให้กับสมาชิกภานในกลุ่มและชาวบ้านทั่วไปที่สนใจ 3.3 ปัจจัยการขับเคลื่อนพัฒนาชุมชนต้นแบบนวัตกรรมชุมชน ในการด าเนินงานขับเคลื่อนโครงการชุมชนต้นแบบนวัตกรรมชุมชน มีปัจจัยส าคัญที่มี อิทธิพลต่อความส าเร็จสามารถจ าแนกออกได้เป็น 3 ปัจจัย คือ องค์กรและบุคลากร วิธีการท างาน แบบมีส่วนร่วม และรูปแบบการท างานแบบบูรณาการ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ 3.3.1 องค์กรและบุคลากร องค์กรและบุคลาการที่มีส่วนในการขับเคลื่อนโครงการประกอบด้วย กองทุน สวัสดิการชุมชนดงลิง สภาองค์กรชุมชนดงลิง สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน เทศบาลต าบลดงลิง และ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนแม่บ้านเกษตรกรบ้านสวนโคก ซึ่งแต่ละองค์กรมีบทบาทส าคัญดังนี้ 1) กองทุนสวัสดิการชุมชนต าบลดงลิง ท าหน้าที่ สนับสนุนเงินทุนให้กับกลุ่มอาชีพ น าไปใช้ในการลงทุนด าเนินกิจกรรมทางด้านอาชีพ เพื่อให้เกิดรายได้ให้กับกลุ่มอาชีพและ สมาชิก 2) สภาองค์กรชุมชนดงลิง ท าหน้าที่ จัดท าแผนพัฒนาให้สอดคล้องตรงกับความ ต้องการของกลุ่มอาชีพ และเป็นตัวแทนกลุ่มอาชีพ เสนอแผนพัฒนาในเชิงนโยบายให้แก่


177 เทศบาลต าบลดงลิง และหน่วยงานพัฒนาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น สถาบันพัฒนาองค์กร ชุมชน 3) เทศบาลด าบลดงลิง ท าหน้าที่ สนับสนุนการตั้งสภาองค์กรชุมชน โดย สนับสนุนงบประมาณ และบุคลากร (เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน) เป็นพี่เลี้ยงและรับผิดในการ ด าเนินงานของสภาองค์การชุมชน รวมถึง การสนับสนุนกลุ่มอาชีพต่างๆ ตามแผนของสภา องค์กรชุมชนจัดท าขึ้นเพื่อใช้ด าเนินงานแต่ละปี 4) สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน ท าหน้าที่ สนับสนุนองค์ความรู้ และ งบประมาณ เพื่อพัฒนาศักยภาพของกองทุนสวัสดิการชุมชนต าบลดงลิง สภาองค์กรชุมชน ดงลิง ให้สามารถด าเนินกิจกรรมตามบาบาทหน้าที่ขององค์กร ได้อย่างมีประสิทธิภาพและ เกิดความเข้มแข็งขององค์กร รวมทั้งสนับสนุนการด าเนินโครงการต่างๆตามนโยบายของ ภาครัฐ 5) กลุ่มวิสาหกิจชุมชนแม่บ้านเกษตรกรบ้านสวนโคก ท าหน้าที่ เสนอแผนพัฒนา ด้านอาชีพ และฝึกทักษะด้านอาชีพให้เป็นที่ยอมรับของตลาดเพื่อให้เกิดการสร้างงานสร้าง รายได้ให้กับคนในชุมชน 3.3.2 วิธีการทา งานแบบมีส่วนร่วม การด าเนินงานของโครงการชุมชนต้นแบบนวัตกรรมชุมชน ในพื้นที่ต าบลดงลิง ยึด หลักการท างานแบบมีส่วนร่วม โดยน าหลักการนี้เข้ามาใช้ตั้งแต่ขั้นตอนของการจัดตั้งกองทุน สวัสดิการชุมชน สภาองค์กรชุมชน และโครงการพัฒนากลุ่มอาชีพของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนแม่บ้าน เกษตรกรบ้านสวนโคก 3.3.3รูปแบบการท างานแบบบูรณาการ รูปแบบของการด าเนินงานแบบบูรณาการภายใต้การด าเนินโครงการชุมชนต้นแบบ นวัตกรรมชุมชน แบ่งเป็นการบูรณาการ 3 เรื่องดังนี้ 1) งบประมาณ โดย สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน เทศบาลต าบลดงลิง กองทุน สวัสดิการชุมชนต าบลดงลิง ให้การสนับสนุนงบประมาณส าหรับพัฒนาอาชีพของกลุ่ม


178 วิสาหกิจชุมชนแม่บ้านเกษตรกรบ้านสวนโคก มาอย่างต่อเนื่องและกลุ่มวิสาหกิจเองยังใช้ งบประมาณของต้นเองในการด าเนินงานด้วย 2) แผนงาน โดย สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน เทศบาลต าบลดงลิง และกลุ่ม วิสาหกิจชุมชนแม่บ้านเกษตรกรบ้านสวนโคก มีแผนพัฒนาที่มีความสอดคล้องกัน และมี วัตถุประสงค์และเป้าหมายของแผนงานร่วมกันจึงส่งผลให้การด าเนินงานเห็นผลลัพธ์ที่เป็น รูปธรรม 3) บุคลากร โดย เจ้าหน้าที่สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน เทศบาลต าบลดงลิง และ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนแม่บ้านเกษตรกรบ้านสวนโคก มีบทบาทหน้าที่ในการท างานที่มีความ เกี่ยวข้องกัน และมีกลุ่มเป้าหมายของการท างานกลุ่มเดี่ยวกัน จึงเกิดการม างานร่วมกัน ตั้งแต่ขั้นตอนการเริ่มโครงการเรื่อยมา ก่อให้เกิดความสัมพันธ์ที่ดีในลักษณเพื่อนร่วมงาน 3.4 การพิจารณานวัตกรรมจากการดา เนินโครงการพัฒนาชุมชนต้นแบบนวัตกรรม ชุมชน นวัตกรรมที่ได้จากการด าเนินโครงการพัฒนาชุมชนต้นแบบนวัตกรรมชุมชนในพื้นที่ต าบล ดงลิง ที่ทางสภาองค์กรชุมชนได้ท าการคัดเลือกกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านสวนโคกเข้าร่วมโครงการ ซึ่งมีการก าหนดข้อพิจารณาที่ได้จากเวทีการสรุปบทเรียนการท างานของกลุ่มซึ่งมีคณะกรรมการ กลุ่มเข้าร่วม จ านวน 8 คน โดยใช้วิธีเสนอร่วม พิจารณาร่วม และสรุปผลร่วม โดยมีรายละเอียด ดังนี้ ข้อพิจารณา ข้อคิดเห็น 1. มีอะไรที่ใหม่/ใหม่อย่างไร -เกิดกลุ่มกิจกรรมทางด้านอาชีพเสริม ชื่อ วิสาหกิจแม่บ้าน เกษตรกรบ้านสวนโคก (ธรรมดีย์) ที่สร้างรายได้ให้กับสมาชิก อย่างต่อเนื่อง -เกิดผลิตภัณฑ์ชุมชนที่เป็นเอกลักษ์เฉพาะ เช่น ถั่วตัด ถั่ว กรอบแก้ว ถั่วทอดสมุนไพร ธุงประดับ เป็นที่นิยมของตลาด -เกิดโครงการส่งเสริมการปลูกถั่วลิสงทดแทนการปลูกข้าวนา ปรัง


179 -เกิดตลาดสินค้าชุมชน 3 รูปแบบ คือ ตลาดร้านค้าในชุมชน นอกชุมชน ตลาดงานประชุมสัมมนา งานเทศการต่างๆ ตลาด ออนไลน์ช่างทางของเฟสบุ๊ค ชื่อ เพจถั่วธรรมดีย์ 2. เกิดการเปลี่ยนแปลง อะไรบ้าง เปลี่ยนแปลงอย่างไร - สมาชิกของกลุ่มเกิดทักษะในด้านการแปรรูปถั่วลิสง การ ปลูกถั่วลิสงให้ได้ผลผลิตต่อไร่สูงและมีคุณภาพ และ การ ผลิตธุงประดับ ซึ่งเกิดจากการการวางแผน ลงมือท า สรุป บทเรียน ปรับปรุงกระบวนการ และลงมือท า จนได้ผลิตภัณฑ์ ที่มีคุณภาพ - สมาชิกกลุ่มยังมีโอกาสเป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้ให้กับ คนในชุมชน ผ่านการส่งเสริมของหน่วยงานภาครัฐ - ประชาชนในระดับหมู่บ้าน ระดับต าบล และระดับอ าเภอ ให้ การยอมรับผลการด าเนินงานของกลุ่ม และคุณภาพผลิตภัณฑ์ ของกลุ่ม 3. คนในชุมชนมีส่วนร่วม อย่างไร ได้รับผลประโยชน์อะไร -การมีส่วนร่วมของคนในชุมชนต่อการด าเนินกิจกรรมการ ผลิต การแปรรูป ของกลุ่มยังอยู่ในวงจ ากัดเฉพาะสมาชิกกลุ่ม -การมีส่วนร่วมของคนในชุมชนต่อการเรียนรู้ การเข้ารับการ ถ่ายทอดความรู้ในด้านทักษะอาชีพ ยังอยู่ในวงจ ากัดเฉพาะ เครือญาติของสมาชิก และชาวบ้านทั่วไปที่สนใจ -คนในชุมชนการมีส่วนร่วมของในการสนับสนุน อุดหนุน ซื้อ ผลิตภัณฑ์จากถั่วลิสงเพื่อบริโภค และเป็นของฝาก ข้อพิจารณา ข้อคิดเห็น 4. น าไปถ่ายทอดต่อได้ไหม -การด าเนินกิจกรรม แปรรูปถั่วลิสง การผลิตธุงประดับ และ การปลูกถั่วลิสง ก่อให้เกิดองค์ความรู้ในด้านทักษะอาชีพใหม่ ของชุมชน สามารถท าเป็นหลักสูตรการพัฒนาใช้ส าหรับ ส่งเสริมให้กับกลุ่มเกษตรกรในชุมชนอื่นๆได้ -สมาชิกกลุ่มมีความช านาญ ในเรื่อง แปรรูปถั่วลิสง การ ผลิตธุงประดับ และการปลูกถั่วลิสง สามารถเป็นวิทยากร ถ่ายทอดองค์ความรู้ได้ 5. องค์กรบริหารจัดการอย่างไร -วิสาหกิจแม่บ้านเกษตรกรบ้านสวนโคก (ธรรมดีย์) ใช้รูปแบบ การบริหารจัดการกลุ่มแบบการกระจายอ านาจ ให้


180 คณะกรรมการรับผิดชอบกิจกรรมที่ตัวเองมีความเชียวชาญ ด าเนินการผลิต การจ าหน่ายเป็นหลัก ส่วนประธานกลุ่มจะมี บทบาทส าคัญคือ ก ากับดูแล สนับสนุนการด าเนินกิจกรรม ต่างๆ ของกลุ่ม 6. การท างานร่วมกับหน่วยงาน ของภาครัฐที่เกี่ยวข้างเป็น อย่างไร -หน่วยงานที่เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาวิสาหกิจวิสาหกิจ แม่บ้านเกษตรกรบ้านสวนโคก (ธรรมดีย์) ประกอบด้วย ส านักงานเทศบาลต าบลดงลิง ส านักงานเกษตรอ าเภอกมลา ไสย ส านักงานพัฒนาชุมชนอ าเภอกมลาไสย มมหาวิทยาลัย กาฬสินธุ์ สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน สภาองค์กรชุมชนต าบล ดงลิง มีการท างานร่วมกันในรูปแบบบูรณาการ ด้าน งบประมาณ บุคลากร และหน่วยงาน -ในส่วนของการท างานของแต่ละหน่วยงานกับวิสาหกิจ วิสาหกิจแม่บ้านเกษตรกรบ้านสวนโคก (ธรรมดีย์) จะใช้ รูปแบบการท างานแบบมีส่วนร่วม จากข้อพิจารณานวัตกรรมชุมชน กรณีของการพัฒนาวิสาหกิจวิสาหกิจแม่บ้านเกษตรกร บ้านสวนโคก (ธรรมดีย์) โดยใช้ 6 ข้อพิจารณาดังในตารางข้างต้นสามารถสรุปได้ว่า สามารถเป็น นวัตกรรมชุมชนได้ โดยมีรูปธรรมความส าเร็จ ผลการวิเคราะห์ข้อคิดเห็นของข้อพิจารณา สนับสนุน บทสรุป คือ 1) การผลิตภัณฑ์สินค้าใหม่ๆของชุมชน 2) การผลิตถั่วลิสงซึ่งเป็นพืชเศรษฐกิจชนิด ใหม่ 3) การมีช่องทางตลาดสินค้าชุมชนที่หลากหลาย 4) การมีกลุ่มอาชีพที่สามารถสร้างงานสร้าง รายได้ต่อเนื่อง 5) มีรูปแบบการท างานพัฒนาแบบบูรณาการและแบบมีส่วนร่วม 6) กลุ่มอาชีพใช้ หลักของ PDCA ในการขับเคลื่อนกิจกรรมกลุ่ม 4. ผลลัพธ์การพัฒนาชุมชนต้นแบบนวัตกรรมชุมชน ก่อการด าเนินโครงการพัฒนาชุมชนต้นแบบนวัตกรรมชุมชน สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน ได้ใช้การประเมินความเข้มแข็งของชุมชนโดยใช้ตัวชี้วัด 4 มิติ ได้แก่ 1) คนมีคุณภาพ 2) องค์กร ชุมชนมีความเข้มแข็ง 3) คุณภาพคนในชุมชนดีขึ้น และ 4) ความสัมพันธ์กับหน่วยงานภาคี ท้องที่ ท้องถิ่น ผลการประเมินตามตัวชีวัด 4 มิติ ของต าบลดงลิง ได้คะแนนรวม 87 คะแนน จากคะแนน เต็ม 100 คะแนน ซึ่งจัดอยู่ในกลุ่มของต าบลเข้มแข็งระดับดีมาก ส าหรับการสรุปรายงานผลลัพธ์การ


181 พัฒนาชุมชนต้นแบบนวัตกรรมชุมชน กรณีการพัฒนาวิสาหกิจวิสาหกิจแม่บ้านเกษตรกรบ้านสวน โคก (ธรรมดีย์) จะใช้ตัวชี้วัด 4 มิติเป็นหัวข้อในการน าเสนอผลลัพธ์เช่นเดียวกัน ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้ มิติที่1 คนมีคุณภาพ 1) เป็นนักบริหารบุคคลและองค์กรที่ดี คือ คณะกรรมการสภาองค์กรชุมชนต าบลดงลิงมี ทักษะการเป็นนักบริหารชุมชนที่ดีคนในชุมชนให้การยอมรับ 2) เป็นคนที่มีความรู้และมีความเชียวชาญเฉพาะด้าน คือ ชาวบ้านที่เข้ามาร่วมเป็นสมาชิก กลุ่มฝึกทักษะด้านอาชีพ ได้รับการฝึกฝนและลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง ท าให้สามารน าความรู้ไป ประกอบอาชีพได้ และยังสามารถเป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้ให้กับคนในชุมชนได้ 3) เกิดผู้น ารุ่นใหม่ คือ สภาองค์กรชุมชนต าบลดงลิง เปิดโอกาสให้ทุกคนในชุมชนเข้ามามี ส่วนร่วมในการพัฒนา โดยเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆที่ทางสภาให้การสนับสนุน ซึ่งเป็นกระบวนการ ท างานที่สร้างผู้น ารุ่นใหม่ที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ มิติที่2 องค์กรชุมชนมีความเข้มแข็ง 1) เกิดองค์กรพัฒนาที่มีศักยภาพ คือ การด าเนินงานของสภาองค์กรชุมชนต าบลดงลิง ท า ให้เกิดองค์กรที่มีบทบาทส าคัญในการขับเคลื่อนงานพัฒนาท้องถิ่นควบคู่ไปกับหน่วยงานในพื้นที่ ส่งผลให้ปัญหาของชาวบ้านได้รับการแก้ไข และชาวบ้านเข้าถึงสวัสดิการของชุมชนมากขึ้น 2) เกิดกลุ่มวิสาหกิจที่เข้มแข็ง คือ กลุ่มวิสาหกิจที่เข้าร่วมโครงการมีโอกาสได้รับการ สนับสนุนจากสภาองค์กรชุมชนได้ท ากิจกรรมของกลุ่ม จนสามารถสร้างผู้น าและสมาชิกกลุ่มที่มี ทักษะด้านอาชีพและการบริหารจัดการกลุ่ม เป็นต้นแบบให้กับคนในชุมชนได้ 3) เกิดกลุ่มอาชีพในชุมชน คือ เกิดการรวมกลุ่มของชาวบ้านที่มีความสนใจจะ ประกอบอาชีพเหมือนกัน ท าให้เกิดอาชีพที่มีคุณภาพสามารถด าเนินกิจกรรมกลุ่มได้อย่างต่อเนื่อง สร้างงานและได้ให้กับกลุ่มถึงแม้ว่ากิจการของกลุ่มยังอยู่ในระยะเริ่มต้น คนในชุมชนให้การยอมรับ ในผลิตภัณฑ์ของกลุ่ม


182 มิติที่3 คุณภาพคนในชุมชนดีขึ้น 1) เกิดงานเกิดรายได้ คือ สมาชิกในครอบครัวที่เข้าร่วมกิจกรรมการพัฒนาทักษะอาชีพ จะ มีโอกาสได้ฝึกทักษะการแปรรูปถั่งลิสง การท าธุงประดับ และการผลิตของใช้ในครัวเรือน และน า ความรู้ไปถ่ายทอดให้กับคนในครอบครัวช่วยผลิต แล้วน าไปจ าหน่ายสร้างรายได้ให้ครอบครัว 2) ครอบครัวมีความสมบูรณ์ คือ สมาชิกในครัวครัวมีโอกาสได้ท ากิจกรรมร่วมกัน และมี ความเข้าใจ ไว้ใจ ซึ่งกันและกัน ลดความรุนแรงของปัญหาของภายในครอบครัวลงได้ 3) ลดค่าใช้จ่ายของครัวเรือน คือ การผลิตของใช้ในครัวเรือนใช้เองช่วยลดค่าใช้จ่ายใน ครัวเรือนได้ มิติที่4 ความสัมพันธ์กบัหน่วยงานภาคีท้องที่ท้องถิ่น 1) เกิดสภาคู่ขนาดขับเคลื่อนงานท้องถิ่น คือ การสร้างมิติใหม่ของการท างานพัฒนาท้องถิ่น ที่มีองค์กร 2 องค์การที่ท างานควบคู่กับโดยไม่มีความขัดแย้ง โดยแต่ละฝ่ายให้การสนับสนุนการ ท างานซึ่งกัน 2) เกิดเครือข่ายกลุ่มอาชีพ คือ กลุ่มอาชีพที่กระจายอยู่ในต าบลดงลิง มีการด าเนินกิจกรรม ทางด้านอาชีพที่มีความสอดคล้องกันจึงมีการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ และซื้อขายผลผลิตเพื่อน ามา แปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ของแต่ละกลุ่ม โดยมีการพัฒนาถึงการวางแผนพัฒนากิจกรรมการผลิต ร่วมกัน 3) เกิดการบูรณาการการท างานของหน่วยงาน คือ การขับเคลื่อนงานพัฒนาท้องถิ่นที่มีการ พัฒนาในหลายๆด้านไปพร้อมกัน จึงมีหน่วยงานหลักที่รับผิดชอบงานในแต่ละด้านเข้ามาท างานใน พื้นที่ สภาองค์กรชุมชนต าบลดงลิงจึงมีบทบาทส าคัญในการเชื่อมประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้า มาร่วมกันท างานแบบบูรณาการ จะเห็นได้ว่าผลลัพธ์การพัฒนาชุมชนต้นแบบนวัตกรรมชุมชน กรณีการพัฒนาวิสาหกิจ วิสาหกิจแม่บ้านเกษตรกรบ้านสวนโคก (ธรรมดีย์) ในเชิงคุณภาพในภาพรวม มีความสอดคล้องกับ ผลการประเมิณศักยภาพชุมชนโดยตัวชี้วัด 4 มิติ แต่หากน าข้อคิดเห็นจากการพิจารณานวัตกรรม ชุมชนมาประกอบการประเมินด้วย โดยการเปรียบเทียบตัวชี้วัดแต่ละมิติ พบว่า มิติที่ 3 คุณภาพคน ในชุมชนดีขึ้น เกิดผลลัพธ์ในวงแคบเฉเพาะสมาชิกกลุ่มเท่านั้น ซึ่งแสดงให้เห็นว่าประชาชนส่วน


183 ใหญ่ไม่ได้รับผลประโยชน์ด้วย และมีข้อสังเกตอีกประเด็นคือ ผลผลัพธ์ที่ 4 มิติ ไม่ได้เกิดขึ้นจาก โครงการพัฒนาชุมชนต้นแบบนวัตกรรมชุมชนเพียงอย่างเดียวเท่านั้น ยังมีปัจจัยส าคัญที่เกี่ยวข้อง คือ โครงการพัฒนาต่างๆ ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และรวมทั้งการพัฒนาและเรียนรู้ด้วยตนเอง ของสมาชิกวิสาหกิจแม่บ้านเกษตรกรบ้านสวนโคก (ธรรมดีย์) ด้วย 5. ข้อคิดเหน ็ และข้อเสนอแนะ 5.1 ต าบลเข้มแข็ง: สภาองคก์รชุมชนตา บลดงลิง สภาองค์กรชุมชนต าบลดงลิง ถือเป็นหน่วยงานส าคัญต่อการพัฒนาท้องถิ่นในอนาคต แต่ การด าเนินงานของสภาองค์กรชุมชนต าบลดงลิงยังอยู่ในระยะเริ่มต้น จึงจ าเป็นต้องได้รับการ ส่งเสริมและสนับสนุนการด าเนินงานจากหน่วยงานที่มีบทบาทเป็นที่ปรึกษา เพื่อให้คณะกรรมการ ของ สภาองค์กรชุมชนต าบลดงลิงเกิดทักษะการท างานในรูปแบบของสภาและเข้าใจบทบาทหน้าที่ ของตนเอง ซึ่งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในฐานะ พี่เลี้ยงอาจก าหนดแผนการพัฒนาสภาองค์กรชุมชน ออกเป็นระยะ คือ ระยะที่ 1 การพัฒนาเตรียมความพร้อมชุมชน และคณะท างาน ระยะที่ 2 การ ทดลองท างานของสภาองค์กรชุมชน ระยะที่ 3 การท างานของสภาองค์กรชุมชนเต็มรูปแบบ อาจ ช่วยให้มีสภาองค์กรที่เข้มแข็งและปฏิบัติงานพัฒนาท้องถิ่นในรูปแบบของสภาคู่ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 5.2 กลุ่มองค์กรเข้มแข็ง: วิสาหกิจแม่บ้านเกษตรกรบ้านสวนโคก (ธรรมดีย์) เดิมทีวิสาหกิจบ้านบ้านเกษตรกรบ้านสวนโคก (ธรรมดีย์) มีพื้นฐานขององค์ความรู้ด้าน ทักษะอาชีพเป็นอย่างดี และอุปนิสัยของสมาชิกกลุ่มมีความขยันมุ่งมั่น รักการเรียนรู้ และประกอบ กับการได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานภารัฐอย่างต่อเนื่อง ซึ่งการด าเนินกิจกรรมของกลุ่มมี แนวโน้มเติบโตได้ หากกลุ่มจะพัฒนาต่อ ควรมีการพัฒนาต่อใน 5 ประเด็นที่ส าคัญคือ 1) การพัฒนา ส่งเสริมกลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตถั่วลิสงให้ได้ปริมาณที่เพี่ยงพอต่อความต้องการของตลาด โดยรับ สมาชิกกลุ่มผู้ปลูกถั่วเพิ่มและสร้างเครือข่ายกับกลุ่มผู้ปลูกถั่วลิสงในชุมชนอื่นๆ 2) เพิ่มก าลังการ แปรรูปถั่วลิสง โดยคณะกรรมการกลุ่มอาจเปิดรับสมาชิกเพิ่ม หรือจ้างงานคนในชุมชนเข้ามา ช่วยงาน จะท าให้คนในชุมชนได้รับผลประโยชน์จากโครงการมากขึ้น 3) ปรับปรุงหรือสร้างอาคาร แปรรูปถั่วลิสงให้ได้มาตรฐาน GMP และมาตรฐาน อย. เพื่อรองรับกลุ่มลูกค้าที่มีก าลังซื้อที่สูง 4)


184 ปรับปรุงบรรจุภัณฑ์ให้มีความทันสมัย สร้างความสะดวกและความง่ายให้กับลูกค้า และ 5) ส่งเสริม กิจกรรมการขายในรูปแบบใหม่โดยใช้สื่อออนไลน์ ที่ก าลังได้รับความนิยมของคนทั่วไป เพื่อเพิ่ม กลุ่มลูกค้า ............................................................................................................................ 1. วิธีการศึกษา การทอดบทเรียนโครงการพัฒนาชุมชนต้นแบบนวัตกรรมชุมชน ในพื้นที่ต าบลดงลิง อ าเภอ กมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์ ได้แบ่งกระบวนการศึกษาออกเป็น 4 ระยะ คือ 1) การรวบรวมรายงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ต าบลดงลิงจากหน่วยงานในพื้นที่ ซึ่งมี เอกสารรายงานส าคัญได้แก่ แผนพัฒนาสภาองค์กรชุมชนต าบลดงลิง แผนพัฒนา 5 ปี เทศบาล ต าบลดงลิง รายงานผลการด าเนินงานสภาองค์กรชุมชนต าบลดงลิงประจ าปี พ.ศ. 2563 และคู่มือ แนวทางพัฒนาต าบลต้นแบบชุมชนเข้มแข็ง ปีงบประมาณ 2564 2) การเรียบเรียงข้อมูลและจัดท ารายงานในส่วนของบริบทพื้นที่ และสภาพทั่วไปของสภา องค์กกรชุมชนต าบลดงลิง 3) ออกแบบประเด็นค าถาม ส าหรับถอดบทเรียนโดครงการพัฒนาวิสาหกิจแม่บ้าน เกษตรกรบ้านสวนโคก (ธรรมดีย์) 4) จัดประชุมกลุ่มย่อยวิสาหกิจแม่บ้านเกษตรกรบ้านสวนโคก (ธรรมดีย์) ประกอบด้วย สมาชิกกลุ่มจ านวน 7 คน และนักวิชาการพัฒนาชุมชนเทศบาลต าบลดงลิง 1 คน 5) จัดหมวดหมู่ และเรียบเรียงข้อมูล เพื่อจัดท ารายงานผลการศึกษาโครงการพัฒนาชุมชน ต้นแบบนวัตกรรมชุมชนในพื้นที่ต าบลดงลิง 2. รายชื่อตัวแทนชุมชนผู้เข้าร่วมประชุมกลุ่มย่อยเพื่อให้ข้อมูล 1) นางนัทลักษ์ เสนารา รองประธานสภาองค์กรชุมชนต าบลดงลิง 2) นางสุกพัฒน์ ศิริลักษ์ ตัวแทนสมาชิกกลุ่มผู้ผลิตธุงประดับ


185 3) นางประนอม มัฌโม ตัวแทนสมาชิกกลุ่มผู้ผลิตของใช้ในครัวเรือน 4) นางสมหมาย นันทสิงห์ ตัวแทนสมาชิกกลุ่มผู้แปรรูปถั่วลิสง 5) นางทองขวัญ ศรีประเสริฐ ตัวแทนสมาชิกกลุ่มผู้ปลูกถั่วลิสง 6) นางนงค์ณพัฒน์ ศรีวิเศษ ตัวแทนสมาชิกกลุ่มผู้ผลิตโคมไฟ 7) นางปรีชาภร ศรีวิเศษ ที่ปรึกษากลุ่ม 8) นางสาวนฤมล โพธิชัย ผู้ช่วยเลขานุการสภาองค์กรชุมชนต าบลดงลิง 3. ภาพบรรยากาศการจัดเวทีประชุมกลุ่มย่อย


186 4. ภ า พ กิ จ ก ร ร ม ข อ ง ก ลุ่ม


187 โครงการพฒันาและเชื่อมโยงกลุ่มธรุกิจชุมชนตา บลสวาย (การทา ผลิตภณัฑ์ตะกร้าจากก้านมะพร้าว) ต าบลสวาย อ าเภอปรางค์กู่ จังหวัดศรีสะเกษ โดย ดร.ศิริพร จันทรสกุลวงศ์ ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั ่วไปของต าบล 1) บริบทพื้นที่ ต าบลสวายเป็นต าบลที่แยกออกจากต าบลตูม ชื่อต าบลสวายตั้งตามชื่อหมู่บ้าน ซึ่งค าว่า “สวาย” ภาษาท้องถิ่นหมายถึงมะม่วง มีจ านวนหมู่บ้าน 10 หมู่บ้าน1 ประชากรจ านวน 4,158 คน จ านวนครัวเรือนทั้งหมด 790 ครัวเรือน (ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน 2563) ประชากรส่วนใหญ่พูด ภาษาไทยอีสาน (ส่วย,เมตร) ลักษณะทางเศรษฐกิจ อาชีพ ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพท านา และประกอบอาชีพอื่นๆ เช่น รับจ้าง รับ ราชการ ค้าขาย เป็นต้น ลักษณะภูมิประเทศ สภาพพื้นที่โดยทั่วไปมีลักษณะเป็นที่ราบ มีเนื้อที่ประมาณ 14.5 ไร่ เป็นพื้นที่เหมาะแก่การ ท าการเกษตร โดยเฉพาะการปลูกข้าวหอมมะลิและพืชอื่นๆ ได้แก่ มันส าปะหลัง อ้อย เป็นต้น ทิศเหนือ ติดกับ ต.เกาะแก้ว อ.ส าโรงทาบ จ.สุรินทร์ ทิศใต้ ติดกับ ต.ตูม อ.ปรางค์กู่ จ.ศรีสะเกษ ทิศตะวันออก ติดกับ ต.ตูม อ.ปรางค์กู่ จ.ศรีสะเกษ ทิศตะวันตก ติดกับ ต.เกาะแก้ว อ.ส าโรงทาบ จ.ศรีสะเกษ 1 หมู่ 1 บ้านสวาย หมู่ 2 บ้านแสนแก้ว หมู่ 3 บ้านขาม หมู่ 4 บ้านทับขอน หมู่ 5 บ้านท่าคอยนาง หมู่ 10 บ้านกระโพธิ์น้อย หมู่ 7 บ้านไผ่ หมู่ 8 บ้านสนิท หมู่ 9 บ้าน ขามเหนือ หมู่ 10 บ้านน้ำอ้อม


188 2.) ประวตัิความเป็ นมา เริ่มตั้งแต่ปี 2554 ต าบลสวายได้ร่วมกับสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (พอช.) เริ่มต้นจาก ความต้องการให้กองทุนสวัดิการส าหรับสมาชิก ผู้น าหมู่บ้านและคนในชุมชนได้พูดคุยกัน มี นักพัฒนาชุมชนให้ค าปรึกษาจนพัฒนาและจัดตั้งสภาองค์กรชุมชน จากนั้นมีการประชุมกันหลาย ครั้ง จนสามารถร่างระเบียบกองทุนสวัสดิการ และมีการด าเนินงานด้านกองทุนสวัดิการเรื่อยมา จนถึงปัจจุบัน ปัจจุบันมีการรวมกลุ่มที่เข้มแข็งในพื้นที่ทั้งหมด 54 องค์กร ดังนี้ - กองทุนหมู่บ้าน จ านวน 10 กลุ่ม - กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต จ านวน 10 กลุ่ม - กลุ่มหัตกรรมเครื่องจักสาน จ านวน 8 กลุ่ม - กลุ่มสตรี จ านวน 10 กลุ่ม - กลุ่มเลี้ยงวัน จ านวน 5 กลุ่ม - ชมรมผู้สูงอายุต าบลสวาย จ านวน 1 กลุ่ม - กลุ่มอาสาสมัครสาธารณะสุขประจ าหมู่บ้าน จ านวน 10 กลุ่ม สภาองค์กรชุมชน มีบทบาทสร้างความเข้มแข็งของชุมชน โดยท าหน้าที่รับฟังปัญหาของ คนในชุมชน ร่วมกันจัดสวัสดิการ ขับเคลื่อนแผนชุมชนในแต่ละหมู่บ้าน รวบรวมปัญหาความ ต้องการเพื่อบรรลุไว้ในแผนการพัฒนาชุมชน ปี 2562 มีการประกาศใช้ธรรมนูญต าบลสวาย จากการประชุมรับฟังความคิดเห็นจากคนใน ชุมชนและร่วมกันจัดท าธรรมนูญต าบลสวายขึ้นส าเร็จ โดยใช้เป็นข้อตกลงร่วมกัน ก าหนดเป้าหมาย อนาคต ร่วมทั้งสามารถจัดการตนเองของคนในต าบลได้ 3.) กลไกหลัก สภาองค์กรชุมชนต าบลสวาย เริ่มต้นจากความต้องการของผู้น าชุมชน น าโดยผู้ใหญ่บ้าน ประพันธ์ นาคนวล ผู้ใหญ่บ้านหมู่ 2 บ้านแสนแก้ว เดิมได้มีการจัดตั้งกองทุนหมู่บ้าน แต่ยังขาดเรื่อง การจัดสวัสดิการให้แก่สมาชิก จากนั้นจึงได้มีการรวมกลุ่ม พร้อมกับการสนับสนุนจากนักพัฒนา ชุมชนจนสามารถเข้าร่วมกับสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (พอช.) จนท าให้มีการขับเคลื่อนกองทุน สวัสดิการ และได้เริ่มให้สมาชิกออมทรัพย์และมีสวัสดิการให้แก่คนในต าบลเรื่อยมา


189 ทุนทางสังคม (เดิม) ของชุมชนต าบลสวาย ประกอบได้ด้วย • ทุนมนุษย์ ประกอบด้วยผู้มีความรู้ภายในชุมชน มีผู้น าชุมชนเข้มแข็ง โดยการ รวมกลุ่มจนเป็นสภาองค์กรชุมชนต าบลสวาย เกิดจากการริ่เริมในการรวมกลุ่มกันของผู้น าชุมชน จนสามารถรวมกลุ่มกันได้ มีพระอาจารย์หรรษา ธมมหาโส เจ้าอาวาสวัดสวาย เป็นผู้น าการพัฒนา และผู้น าทางด้านจิตวิญญาณ นอกจากนั้นมีผู้มีความรู้ ความเชี่ยวชาญในด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับ การประกอบอาชีพ ประกอบด้วย 1) ผู้รู้ด้านอาชีพจักสาน เป็นผู้มีความรู้ความช านาญในการจักสาน ตะกร้า หมวกใบตาล 2) ผู้รู้ด้านการท าขนม เป็นผู้มีความรู้ความช านาญในการท าขนม 3) ผู้รู้ด้าน การทอเสื่อกก เป็นผู้มีความรู้ความช านาญในการทอเสื่อกก 4) ผู้รู้ด้านการนวดแผนไทย เป็นผู้มี ความรู้ความช านาญในการจับเส้น นวดแผนไทย เป็นต้น การรวมกลุ่มเพื่อการประกอบอาชีพของ ชุมชน ท าให้คนในชุมชนสามารถด ารงชีพได้อย่างราบรื่น รวมทั้งมีกลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุข ที่ เป็นผู้มีความรู้ ความช านาญทางด้านสุขภาพ อนามัยของประชาชนครอบคลุมทุกหมู่บ้าน • ทุนทางสังคม เป็นการยอมรับซึ่งกันและกัน ท าให้เกิดการไว้เนื้อเชื่อใจของคนใน ชุมชน กลุ่มในชุมชนมีความสัมพันธ์อันดีต่อกัน โดยมีสภาองค์กรชุมชนที่เกิดจากการรวมกลุ่มของ ผู้น าชุมชน ร่วมกับคนในชุมชน วัด และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยสร้างความเข้มแข็งในการ ร่วมประชุมปรึกษาหารือ เกี่ยวกับปัญหาและความต้องการของคนในชุมชน จนก่อให้เกิดการ ขับเคลื่อนทางด้านแผนชุมชน โดยมีการวางเป้าหมายในอนาคตร่วมกันอย่างต่อเนื่อง • ทุนทางกายภาพ ในต าบลสวายมีสาธารณูปโภคที่ครอบคลุมและเป็นการสนับสนุน ต่อการด ารงชีพและการอยู่อาศัยของชาวบ้าน ได้แก่ ถนน ไฟฟ้า น ้าประปา การสื่อสารโทรคมนาคม เป็นต้น มีแหล่งการเรียนรู้ของชุมชน ประกอบด้วยสถาบันการศึกษา ตั้งแต่ระดับปฐมวัย จนถึง ระดับมัธยมศึกษา มีสถานพยาบาล ทั้งโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลสวาย และศูนย์สาธารณสุข มูลฐานชุมชน รวมทั้งวัด โบราณสถานที่เป็นแหล่งท่องเที่ยว และแหล่งน ้าเพื่อการเกษตร ห้วยทับ ทัน คลอง บ่อน ้าสาธารณะ รวมถึงด้านสาธารณูปโภคอื่นๆ ซึ่งอ านวยความสะดวกให้แก่คนในชุมชน • ทุนการเงิน มีการรวมกลุ่มทางด้านการเงิน ได้แก่ กลุ่มออมทรัพย์ กองทุนหมู่บ้าน และมีการตั้งกองทุนการจัดสวัสดิการชุมชน ที่ขับเคลื่อนโดยสภาองค์กรชุมชน เริ่มต้นตั้งแต่ปี 2554 เพื่อการจัดสวัสดิการในด้านการเกิด แก่ เจ็บ ตาย ให้แก่สมาชิกออมทรัพย์ต าบลสวาย โดยใช้ระบบ 3 ขาในการสมทบเข้ากองทุน ประกอบด้วย สมาชิก กองทุน และองค์การบริหารส่วนต าบล เพื่อใช้ ในการจัดสวัสดิการให้กลุ่มสมาชิก • ทุนทางปัญญาและวัฒนธรรม มีความหลากหลายทางด้านวัฒนธรรมและภูมิปัญญา มีภูมิปัญหาท้องถิ่น หลายสาขาอาชีพในชุมชน อาทิ การจักสาน การทอเสื่อกก การท าขนม และการ ปศุสัตว์โค-กระบือ การนวดแผนไทย เป็นต้น ซึ่งเป็นการน าภูมิปัญญาที่มีอยู่ของผู้มีภูมิปัญญาใน


190 ชุมชนมาพัฒนาส่งเสริมจนเกิดผลิตภัณฑ์และเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ในท้องถิ่น นอกจากนั้นมีผู้น าทาง ศาสนาที่เข้มแข็ง เป็นพระสงฆ์ที่เป็นผู้น าการพัฒนา รวมทั้งมีโบราณสถานที่เป็นแหล่งท่องเที่ยว ทางวัฒนธรรม รวมทั้งมีกลุ่มผู้สูงอายุในต าบล ที่มีบทบาทในการถ่ายทอดเรื่องราวความเป็นมาของ ชุมชน และภูมิปัญญาท้องถิ่นแก่คนรุ่นหลัง สภาองค์กรชุมชนต าบลสวาย ได้มีกระบวนการขับเคลื่อนงานในระดับต าบลโดยเป็นเวที กลางในการประสานงานเรื่องความร่วมมือกับภาคีทุกภาคส่วน ร่วมจัดท าแผนพัฒนาชุมชน บูรณา การแผนงาน 1 แผน 1 ต าบล ตามสภาพปัญหาความต้องการของชุมชน ครอบคลุมวิถีชีวิต และ บริบทของชุมชน โดยใช้ฐานข้อมูลที่ถูกต้อง เป็นปัจจุบันในการก าหนดแนวทางการพัฒนาต าบล เชื่อมโยงสู่แผนพัฒนาร่วมกับหน่วยงานในท้องถิ่น โครงสร้าง กลไก และการบริหารจัดการ ประกอบด้วย 1. นายประพันธ์ นาคนวล ประธานองค์กรชุมชนต าบลสวาย 2. นายวัน ค ามา รองประธานองค์กรชุมชนต าบลสวาย 3. นายทองศุกร์ พันธมาศ กรรมการ 4. นายสุรัน พันธมาศ กรรมการ 5. นายชล การะเกษ กรรมการ 6. นางมาลินี ฉิมพินิจ กรรมการ 7. นายสงัด สุธาอรรถ กรรมการ 8. นายไพบูรณ์ วงศ์ภักดี กรรมการ 9. นายบุญเชิด ศิลาชัย กรรมการ 10. นายสมบัติ มณีล ้า กรรมการ 11. นายสาย พันธมาศ กรรมการ 12. นายงวน ทองแสง กรรมการ 13. นายประเสริฐ แหวนวงษ์กรรมการ 14. นางสกุลสุข สุภิทิพย์ กรรมการ 15. นายสุทัศน์ นาคนวล กรรมการ 16. นายสุภา พันธมาศ กรรมการ 17. นายวีรพงษ์ ทองหล่อ กรรมการเลขานุการ 18. นายธรรมรักษ์ พันธมาศ ที่ปรึกษา 19. นางสาวสิดาวรรณ ไชยภา ผู้ประสานงานสภาองค์กรชุมชนต าบลสวาย


191 มีเป้าหมายหรือแผนงานในการด าเนินงานร่วมกันในลักษณะการจัดประชุมคณะกรรมการ สภาพองค์กรชุมชน ออกแบบและหาแนวทางในการแก้ไขปัญหาร่วมกันทั้งในระยะสั้นและระยะยาว รวมทั้งมีการส่งเสริมการอบรมร่วมกัน โดยมีวิสัยทัศน์ ยุทธศาสตร์ แผนงานพัฒนาด้านต่างๆ ที่ ครอบคลุมมิติด้านสังคม เศรษฐกิจ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ดังต่อไปนี้ วิสัยทัศน์ “เมืองน่าอยู่ เชิดชูคุณธรรม น าชุมชนเข้มแข็ง พัฒนาแหล่งเศรษฐกิจสู่คุณภาพชีวิตที่ดี” ยุทธศาสตร์คนต าบลสวาย 1. การพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก เศรษฐกิจชุมชนท้องถิ่น ครอบครัว 2. การอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 3. การพัฒนาสนับสนุนสวัสดิการชุมชน 4. การพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่น 5. การพัฒนาที่ดินที่อยู่อาศัย 6. การพัฒนาระบบเกษตรกรรมอย่างยั่งยืน 7. การพัฒนาระบบรองรับผู้สูงวัย 8. การพัฒนาคนรุ่นใหม่ เยาวชน และเด็กพิการ การเสริมสร้างความเข้มแข็งภาค พลเมืองระบอบประชาธิปไตย โดยกิจกรรมที่ถือเป็นความส าเร็จของต าบลสวาย ประกอบด้วย 1) การจัดสวัสดิการให้กับ ผู้ด้อยโอกาสและสวัสดิการให้กับสมาชิก 2) ท าเรื่องที่ดินที่ท ากินโดยการจับพิกัดส่วนที่เป็นของ ชุมชนและของรัฐร่วมกับภาคี และ3) พัฒนากลุ่มอาชีพให้มีรายได้ องค์กรท าร่วมกับภาคีท้องที่และ ท้องถิ่น 4.) ภาคีเครือข่าย ต าบลสวายได้รับการสนับสนุนทรัพยากรและองค์กรภาคีเครือข่าย อาทิ กระทรวงการ พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์สนับสนุนงบประมาณให้ในการเป็นต าบลต้นแบบ องค์การ บริหารส่วนต าบลสวาย เป็นผู้ให้การสนับสนุนในด้านการท าเอกสาร เป็นสื่อกลางในด้านการ ประสานงานกับหน่วยงานภายนอก ส านักงานพัฒนาชุมชนอ าเภอปรางค์กู่ เป็นผู้ให้ค าแนะน าและ พัฒนาผลิตภัณฑ์ในชุมชนให้ได้มาตรฐาน จังหวัดศรีสะเกษ ที่ส่งเสริมในด้านการอบรมให้ความรู้แก่ กลุ่มต่างๆ ในต าบลสวาย รวมทั้งกลุ่มประชาสังคม ขบวนองค์กรชุมชน ที่ให้ค าแนะน า ให้ค าปรึกษา ตั้งแต่เริ่มต้นให้ชาวบ้านมีความเข้าใจ ส่งเสริมให้การสนับสนุนอย่างต่อเนื่อง


192 ส่วนที่ 2 สิ่งที่พอช. สนับสนุน (Input) 1) การเสริมสร้างศกัยภาพให้ขบวนองคก์รและคนทา งาน ให้ค าแนะน า เป็นที่ปรึกษาตั้งแต่เริ่มต้นในปี 2554 ให้ผู้น า และชาวบ้านกลุ่มต่างๆ มีความ เข้าใจ ส่งเสริมให้การสนับสนุนอย่างต่อเนื่องเป็นประจ าทุกปี 2) การพัฒนาคนท างาน จัดการอบรม ผ่านกระบวนการพัฒนาศักยภาพตามหลักสูตรที่จัดโดยขบวนการองค์กร ชุมชน เครือข่าย รวมถึงหน่วยงาน ภาคีต่างๆ 3) การสนับสนุนหรือพัฒนาองค์กร ได้แก่การสร้างกลยุทธ์ แผนงาน/กิจกรรม ร่วมประชุม เพื่อปรึกษาหารือ เพื่อผลักดันให้สภาองค์กรชุมชนต าบลสวาย สามารถ ขับเคลื่อนเป้าหมายและแผนงานในการด าเนินงานร่วมกันเป็นประจ าและต่อเนื่อง 4) งบประมาณ ให้การสนับสนุนงบประมาณโครงการพัฒนาและเชื่อมโยงกลุ่มธุรกิจชุมชนต าบลสวาย (การ ท าผลิตภัณฑ์ตะกร้าจากก้านมะพร้าว) จ านวน 32,000 บาท ระยะเวลาในการด าเนิน โครงการ ตั้งแต่เดือนมกราคม 2564 – เดือนกันยายน 2564 ( 9 เดือน) 5) อื่นๆ ส่วนที่ 3 ข้อมูลสังเคราะห์ต าบลเข้มแข็ง ผลการประเมินตา บลเข้มแขง ็ 1. การประเมินด้านบริบทหรือสภาวะแวดล้อม ต าบลสวาย ประกอบด้วย 10 หมู่บ้าน ประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาไทยอีสาน (ส่วย,เขมร) ประชากรส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ 80 ประกอบอาชีพท าการเกษตรกรรม เนื่องจากพื้นที่เหมาะแก่ การท าการเกษตรโดยเฉพาะการปลูกข้าวหอมมะลิได้ผลดี และสามารถปลูกพืชที่ใช้น ้าน้อยได้ผลดี มาก เช่น ท าไร่ มันส าปะหลัง ไร่อ้อย เป็นต้น นอกจากนี้มีการท าปศุสัตว์ คือ มีการส่งเสริมการผสม เทียมโค-กระบือ เพื่อพัฒนาสายพันธุ์และให้ความรู้เรื่องการผสมเทียมอย่างต่อเนื่อง ส่วนอีกร้อยละ 20 ประกอบอาชีพอื่นๆ เช่น รับจ้าง รับราชการ ค้าขายหน่วยธุรกิจในเขตพื้นที่ต าบลสวาย ประชากรมีจ านวน 4,800 คน ถือเป็นจ านวนที่ไม่มากไม่น้อยเกินไป สามารถดูแลได้ทั่วถึง นอกจากประกอบอาชีพทางด้านการเกษตร ประชากรมีการรวมกลุ่มที่เข้มแข็งในพื้นที่หลายกลุ่ม


193 เช่น กลุ่มอาชีพสานตะกร้า หมู่ 1 กลุ่มอาชีพท าขนม หมู่ 2 กลุ่มปศุสัตว์ผสมเทียมโค-กระบือ ฯลฯ ประชากรให้ความช่วยเหลือและร่วมมือในการท ากิจกรรมในชุมชน 2. การประเมินปัจจยัเบือ้งต้นหรือปัจจยัป้อน พื้นที่ต าบลสวายมีการรวมกลุ่มกันหลายกลุ่ม โดยมีกลุ่มที่เข้มแข็งประกอบด้วย 1) สหกรณ์ร้านค้าชุมชน ริเริ่มจาก นายประพันธ์ นาคนวล ผู้ใหญ่บ้านแสนแก้วและประธานสหกรณ์ร้านค้า ชุมชน เกิดแนวคิดว่าชาวบ้านต้องใช้จ่ายซื้อของเป็นประจ า หากต้องไปซื้อของนอกชุมชนก็เป็น รายจ่ายเพียงอย่างเดียว ไม่ได้สิ่งตอบแทนใดๆ จึงได้มีการประชุมหารือและหาแนวทางในการ ก าหนดเป้าหมายของสหกรณ์ร้านค้าชุมชน เพื่อให้เป็นร้านค้าที่ให้สมาชิกเป็นเจ้าของ จึงได้หารือ กันเพื่อจัดตั้งเป็นสหกรณ์ร้านค้าชุมชนขึ้น ในปี 2548 เริ่มแรกมีสมาชิกเข้าร่วมจ านวน 38 ราย ใน ระยะแรกประสบปัญหาเรื่องความไม่เชื่อมั่นเพราะเกรงว่าสหกรณ์ร้านค้าชุมชนจะไปไม่สามารถ ด าเนินการต่อไปได้ แต่เมื่อด าเนินการผ่านไประยะหนึ่งมีเงินปันผลเข้ามา ยิ่งซื้อมากก็ได้รับเงินปัน ผลมาก ท าให้สมาชิกมีความพึงพอใจ และเกิดความเชื่อใจ ผลการด าเนินการปัจจุบันมีสมาชิก เพิ่มขึ้นเป็นจ านวน 170 ราย โดยมีเงื่อนไขในการปันผลจากสหกรณ์ร้านค้าชุมชน ทุก 6 เดือน ใน ด้านการบริหารกรรมการบริหารมีการปรับเปลี่ยนหมุนเวียนไม่มีการผูกขาด ท าให้คนในชุมชนเกิด ความรู้สึกสะดวกในการจับจ่ายใช้สอยไม่ต้องเดินทางไปนอกพื้นที่ และได้รับเงินปันผลจากการ จับจ่ายใช้สอยด้วย นอกจากนี้ยังท าให้คนในชุมชนเกิดความรู้สึกถึงความเป็นเจ้าของอีกด้วย (ประพันธ์ นาคนวล ประธานสหกรณ์ร้านค้าชุมชน,สัมภาษณ์) 2) กองทุนสวัสดิการส าหรับสมาชิก เกิดขั้นในปี 2554 หลังจากมีสหกรณ์ร้านค้าชุมชนด าเนินการได้ระยะหนึ่ง ได้รับ ผลตอบสนองที่ดี สมาชิกได้มีการปรึกษาหารือกันถึงความต้องการให้มีกองทุนสวัสดิการส าหรับ สมาชิก รวมทั้งผู้น าหมู่บ้านแต่ละหมู่บ้านและคนในชุมชนได้พูดคุยกัน จากนั้นจึงได้ขอค าปรึกษา จากนักพัฒนาชุมชน องค์การบริหารส่วนต าบลสวาย นางสาวสิดาวรรณ ไชยทา ถึงเรื่องการ ขับเคลื่อนกองทุนสวัสดิการส าหรับสมาชิก โดยได้มีการประชุมกันหลายครั้ง จนสามารถร่างระเบียบ กองทุนสวัสดิการขึ้น และได้มีการด าเนินงานด้านกองทุนสวัสดิการจนสามารถตั้งกองทุนสวัสดิการ ชุมชนต าบลสวายขึ้น


194 จากข้อก าหนดเริ่มก่อตั้งต้องมีสมาชิกอย่างน้อย 100 คน จึงจะสามารถก่อตั้งกองทุน สวัสดิการชุมชนได้ เริ่มแรกมีสมาชิกจ านวน 144 คน ปัจจุบันมีสมาชิกทั้งหมด 1,000 คน ครอบคลุม ทุกหมู่บ้านในต าบลโดยการบริหารกองทุนสวัสดิการชุมชนใช้ระบบ 3 ขาในการสมทบเข้ากองทุน ประกอบด้วยสมาชิก สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยมีการเก็บ จากสมาชิกคนละบาทต่อวัน (30 บาท/เดือน) สถาบันพัฒนาองค์การชุมชน และองค์การบริหารส่วน ต าบลสวายร่วมสมทบ เพื่อน าไปช่วยเหลือจัดสวัสดิการดูแลกันและกัน ตั้งแต่เกิดจนตาย โดย สมาชิกจะได้รับสวัสดิการ เกิด แก่ เจ็บ ตาย ประกอบด้วย (1) เกิด ได้รับ 500 บาท (2) ค่า รักษาพยาบาล 150 บาท/คืน ไม่เกิน 5 คืน/ครั้ง และไม่เกิน 5 ครั้ง/ปี และ (3) ตาย แบ่งเป็นระดับ เริ่มสมัคร ครอบครัวได้รับเงินช่วยเหลือ 2,000 บาท อายุสมาชิก 2 ปีขึ้นไป ครอบครัวได้รับเงิน ช่วยเหลือ 4,000 บาท อายุสมาชิก 4 ปีขึ้นไป ได้รับเงินช่วยเหลือ 6,000 บาท และอายุสมาชิก 5 ปี ขึ้นไป ได้รับเงินช่วยเหลือ 8,000 บาท ในการด าเนินการของกองทุนสวัสดิการส าหรับสมาชิกนี้ มีการบริการกองทุน โดย ประกอบด้วยระเบียบ/ข้อบังคับกองทุน มีโครงสร้างคณะกรรมการกองทุนและทะเบียนสมาชิก/ข้อมูล สมาชิก โดยคณะกรรมการบริหารมีการประชุมอย่างต่อเนื่อง มีการรายงานผลการด าเนินงานและ รายงานสถานะการเงินและบัญชีต่อที่ประชุมสมาชิกและผู้เกี่ยวข้อง โดยล่าสุดมีการปรับเปลี่ยน เงื่อนไขการเก็บค่าสมาชิกผ่านความเห็นของที่ประชุมร่วมกัน ให้มีการปรับเปลี่ยนจาก 30 บาท/ เดือน เป็นเก็บรายปีครั้งเดียว 360 บาทต่อปี เพื่อให้เป็นเงินก้อน และมีความเห็นร่วมกันว่าจะท าให้ สามารถด าเนินการกองทุนมีประสิทธิภาพมากขึ้น (ประพันธ์ นาคนวล ผู้ใหญ่บ้านแสนแล้ว และสิ ดาวรรณ ไชยทา,สัมภาษณ์) 3) สภาองค์กรชุมชนต าบลสวาย สภาองค์กรชุมชนต าบลสวาย เกิดขึ้นพร้อมกับกองทุนสวัสดิการส าหรับสมาชิก โดย ได้รับการสนับสนุนจากนักพัฒนาชุมชนและสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (พอช.) จากการจัด สวัสดิการชุมชนส่งผลให้เกิดการพัฒนาเชื่อมโยงกับกิจกรรมอื่นๆ ในชุมชน อยู่บนหลักแนวคิด “ชุมชนท้องถิ่นจัดการตนเอง” เนื่องจากการบริหารจัดการภาครัฐมีข้อจ ากัด ปัญหาและความ ต้องการบางอย่างของคนในชุมชนไม่สามารถรอได้ จึงท าให้เกิดการมีแนวความคิดว่าการขับเคลื่อน โดยสภาองค์กรชุมชนมีความคล่องตัวมากกว่า และจากการด าเนินการของคณะกรรมการเริ่มมีความ เข้าใจในเรื่องของการท างานและการด าเนินการด้านเอกสาร จึงได้มีการปรึกษาหารือกัน ร่วมเสนอ ตั้งสภาองค์กรชุมชนต าบลสวายขึ้นในปี 2554 เพื่อให้การด าเนินการคล่องตัวมากขึ้น อีกทั้งยัง


195 สามารถหนุนเสริมการท างานภาครัฐได้ รวมทั้งสามารถด าเนินการโครงการพัฒนาเพื่อขอ งบประมาณจากส่วนราชการอื่นๆ ได้ โดยได้รับการขับเคลื่อนจากผู้น าชุมชนทุกหมู่บ้านในต าบล และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง โดยสภาองค์กรชุมชนต าบลสวายขึ้น มีบทบาทสร้างความเข้มแข็งของชุมชน โดยท า หน้าที่รับฟังปัญหาของคนในชุมชน ร่วมกันจัดสวัสดิการ ขับเคลื่อนแผนชุมชนในแต่ละหมู่บ้าน รวบรวมปัญหาความต้องการเพื่อบรรลุไว้ในแผนการพัฒนาชุมชน ปี 2562 ได้มีการประกาศใช้ธรรมนูญต าบลสวาย จากการประชุมรับฟังความคิดเห็น จากคนในชุมชนและร่วมกันจัดท าธรรมนูญต าบลสวายขึ้นส าเร็จ โดยใช้เป็นข้อตกลงร่วมกัน ก าหนด เป้าหมายอนาคต รวมทั้งสามารถจัดการตนเองของคนในต าบลได้ โดยเกิดจากการรับฟังปัญหาของ ชุมชน ความต้องการ สิ่งใดที่รัฐไม่สามารถด าเนินการแก้ไขปัญหาหรือตอบสนองต่อปัญหาล่าช้าก็จะ ใช้พลังของชุมชนในการจัดการแก้ไขปัญหานั้น โดยหลักการของธรรมนูญต าบลสวาย จะ ประกอบด้วยแนวปฏิบัติประเพณีของชุมชน ที่มีลักษณะเฉพาะเข้ากับบริบทของพื้นที่ เช่น งานบุญ ปลอดเหล้า เป็นต้น 4) กลุ่มพัฒนาอาชีพ กลุ่มพัฒนาอาชีพในต าบลสวาย ประกอบด้วยหลายกลุ่ม อาทิกลุ่มสตรีบ้านสวาย มี จ านวนสมาชิก 30 คน เนื่องจากคนในหมู่บ้านมีอาชีพหลักคือท านา และที่ผ่านมาราคาข้าวตกต ่า กลุ่มสตรีบ้านสวายจึงมีความคิดว่าควรจะผลิตข้าวหอมมะลิคุณภาพดี ปลอดสารพิษออกจ าหน่อย จึงได้รวมกลุ่มกันผลิตข้าวกล้องออกจ าหน่าย นอกจากนี้จากในต าบลสวายมีภูมิปัญญาท้องถิ่น หลายสาขาอาชีพในชุมชน อาทิ การจักสาน การทอเสื่อกก การท าขนม และการปศุสัตว์โค-กระบือ การนวดแผนไทย เป็นต้น ท าให้เกิดการรวมกลุ่มพัฒนาอาชีพขึ้นในต าบลซึ่งในการรวมกลุ่มกันเป็น การรวมกลุ่มที่เกิดขึ้นเองตามความสมัครใจ ได้แก่ กลุ่มสานหมวกจากใบตาล ท าตะกร้าจากใบตาล บ้านแสนแก้ว หมู่ 2 กลุ่มท าตะกร้า จากไม้ไผ่ บ้านสวาย หมู่ 1 กลุ่มคัดเมล็ดพันธุ์ข้าว บ้านแสนแก้ว หมู่ 2 และผลิตสินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึกโดดเด่น ได้แก่ ข้าวหมอมะลิปลอดสาร บ้านแสนแก้ว หมู่ 2 ขนมดอกล าเจียก บ้านแสนแก้ว หมู่ 2 ซึ่งกลุ่มพัฒนาอาชีพเหล่านี้เป็นการน าภูมิปัญญาที่มีอยู่ ของผู้มีความรู้ มีภูมิปัญญาที่สืบทอดจากบรรพบุรุษมาพัฒนาส่งเสริมจนเกิดผลิตภัณฑ์และเพิ่ม มูลค่าผลิตภัณฑ์ในท้องถิ่น


196 3. การประเมินกระบวนการสร้างนวตักรรมชุมชน 1) สิ่งใหม่ที่เกิดขึ้น ในกระบวนการสร้างนวัตกรรมชุมชน สิ่งที่ท าให้เกิดการเรียนรู้ใหม่ คือการที่ชาวบ้าน ต าบลสลายเกิดการรวมกลุ่มกันท าให้ชาวบ้านมีความเข้มแข็งในการพัฒนาทักษะผ่านสภาองค์กร ชุมชน โดยมีการขับเคลื่อนแผนพัฒนาชุมชน และมีการจัดการแก้ไขปัญหาด้วยตัวเอง ยกตัวอย่าง เช่น ปัญหาเรื่องการขาดแคลนน ้าในการอุปโภคและการท าการเกษตรเนื่องจากพื้นที่แหล่งน ้า บางส่วนติดกับจังหวัดสุรินทร์ เมื่อจังหวัดสุรินทร์ด าเนินการท าฝายกั้นน ้าท าให้ต าบลสวายซึ่งเป็น ปลายน ้าไม่มีน ้าเพียงพอต่อการอุปโภคและการท าการเกษตร สภาองค์กรชุมชนจึงได้ร่วมกันเขียน โครงการเพื่อเสนอกรมชลประทานให้ช่วยด าเนินการแก้ไขปัญหาอยู่หลายปี และรวมกันผลักดันให้ เกิดการแก้ไขปัญหาในหลายเวทีแต่ไม่ได้รับการแก้ไขเนื่องจากเกิดคนละพื้นที่จังหวัด สภาองค์กร ชุมชนจึงได้ด าเนินการของบประมาณสนับสนุนจากหน่วยงานรัฐแต่ยังไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้ สภาองค์กรชุมชนจึงได้ระดมทุนเพื่อสร้างฝายชะลอน ้า ระยะทางยาว 360 เมตร เพื่อกั้นน ้าไว้ใช้ โดย มีกองอ านวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร (กอรมน) และอาจารย์จากมหาวิทยาลัย ราชภัฏศรีสะเกษมาช่วยในการด าเนินการ (ประพันธ์ นาคนวล,สัมภาษณ์) ส่วนการพัฒนาอาชีพ เป็นการน าสิ่งที่มีอยู่เดิมมาพัฒนาให้เกิดเป็นผลิตภัณฑ์รูปแบบ ใหม่ โดยเฉพาะกลุ่มสานหมวกจากใบตาล บ้านแสนแก้ว หมู่ 2 และขนมดอกล าเจียก บ้านแสนแก้ว หมู่ 2 เนื่องจากเป็นภูมิปัญหาในท้องถิ่น โดยได้รับการสนับสนุนจากขบวนองค์กรชุมชนจังหวัดศรี สะเกษ และนักพัฒนาชุมชน องค์การบริหารส่วนต าบลสวาย ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ และการ ส่งเสริมการขายโดยการประชาสัมพันธ์ผ่านทางช่องทางออนไลน์ (นางปราณี ไชยชาญ ขบวน องค์กรชุมชนจังหวัดศรีสะเกษ,สัมภาษณ์) 2) การมีส่วนร่วมของคนในชุมชน ผู้น าชุมชนทุกหมู่บ้าน และประชาชน มีการรวมกลุ่มกันอย่างเข้มแข็ง ชาวบ้านมีความ ตื่นตัวในการมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน รวมทั้งการมีส่วนร่วมในการร่วมแสดงความคิดเห็นต่อ ปัญหาและความต้องการของชุมชนเพื่อผลักดันในด้านสวัสดิการชุมชนและการพัฒนาชุมชน จนเกิด ธรรมนูญต าบลขึ้น นอกจากนี้มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นยังให้การสนับสนุนโดยตั้งงบประมาณ สนับสนุนอย่างต่อเนื่อง ท าให้กองทุนสวัสดิการชุมชนมีความเข้มแข็ง จากการรวมกลุ่มของสภา องค์กรชุมชนท าให้ขยายไปสู่การรวมกลุ่มในการพัฒนาอาชีพขึ้น ซึ่งท าให้คนในชุมชนได้ใช้เป็น


197 อาชีพเสริมจากการประกอบอาชีพทางการเกษตร นอกจากนี้จากการที่มีการรวมกลุ่มกันอย่าง เข้มแข็ง ท าให้เมื่อมีการท ากิจกรรม โครงการกับหน่วยงานภายนอก ท าให้โครงการเหล่านั้นประสบ ความส าเร็จ ยกตัวอย่างเช่น โครงการธนาคารขยะขององค์การบริหารส่วนต าบลสวาย ที่มีเป้าหมาย ในการแก้ไขปัญหาขยะในพื้นที่ จึงได้ท าโครงการเพื่อจัดการขยะจากต้นทาง ซึ่งคนในชุมชนให้ความ ร่วมมือกันอย่างแข็งขัน โดยเชื่อมโยงกับการจัดเก็บขยะต้นทางเพื่อน ามาใช้จัดสวัสดิการของชุมชน เป็นนวัตกรรมการบริหารจัดการให้สมาชิกอีกด้วย 3) ความง่ายต่อการน าไปใช้ จากการรวมกลุ่มเพื่อให้มีสวัสดิการแก่คนในชุมชน จนตั้งเป็นสภาองค์กรชุมชนต าบล สวาย นอกการการขับเคลื่อนในด้านแผนพัฒนาชุมชน เพื่อแก้ไขปัญหาหรือผลักดันแผนงานใน ชุมชนเพื่อให้คนในชุมชนได้รับการตอบสนองต่อความต้องการแล้ว สภาองค์การชุมชนต าบลสวาย ได้ขยายจากการส่งเสริมทางด้านสวัสดิการเป็นการให้การสนับสนุนทางด้านเศรษฐกิจ โดยส่งเสริม ให้มีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่เชื่อมโยงกับภูมิปัญญาที่สืบทอดกันมาและวัตถุดิบที่มีอยู่ในชุมชน ได้แก่ ดอกล าเจียก ต้นตาล และต้นไผ่ เป็นต้น เพื่อให้เกิดการพัฒนาอาชีพของคนในต าบลสวายที่มีอยู่ หลากหลายกลุ่ม โดยได้มีการพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ในชุมชนจนกลายเป็นสินค้าขึ้นชื่อ อาทิเช่นขนม ดอกล าเจียก ที่เป็นขนมโบราณเกิดจากภูมิปัญหาท้องถิ่น และมีเพียงต าบลสวายเท่านั้นที่ยังคงสืบ ทอดการท าขนมดอกล าเจียก โดยได้ปรับปรุงให้มีหลากหลายรสชาติ สีสันสวยงาม และผลิตภัณฑ์ หมวกและตะกร้าจากใบตาล ซึ่งถือเป็นนวัตกรรมชุมชนและเป็นที่ต้องการของตลาด โดยการที่สภา องค์กรชุมชนได้มีความเชื่อมโยงกับขบวนองค์กรจังหวัด โดยเข้าร่วมอบรมทักษะอย่างต่อเนื่องท า ให้เป็นช่องทางหนึ่งที่จะส่งเสริมกลุ่มพัฒนาอาชีพต่างๆ ในต าบลสวายได้มีการพัฒนาทักษะเพื่อเพิ่ม รายได้ต่อไป 4) ประโยชน์ส่วนรวม การที่ผู้น าและสมาชิกสภาองค์กรชุมชนเป็นกลุ่มเดียวกัน ท าให้ในด้านการพัฒนาและ การขับเคลื่อนในการแก้ไขปัญหา เข้าใจและมีความเห็นเป็นไปในทิศทางเดียวกัน อีกทั้งมีการสื่อสาร และการประชุมปรึกษาหารือกันตลอด ท าให้มีข้อดีในการเสริมสร้างพลังเข้มแข็งในองค์กรชุมชนได้


Click to View FlipBook Version